Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้

แผนการจัดการเรียนรู้

Description: แผนการจัดการเรียนรู้

Search

Read the Text Version

34516 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรง กับระดับคะแนน การมี ลาดับที่ ชือ่ –สกลุ การแสดง การ การทางาน ความมี ส่วนรว่ ม รวม ของนกั เรยี น ความ ยอมรบั ฟัง ตามที่ น้าใจ ในการ 15 คดิ เห็น ไดร้ ับ ปรบั ปรุง คะแนน คนอน่ื ผลงาน มอบหมาย กลมุ่ 321321321321321 ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน ............./.................../...............

35427 เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสมาํ่ เสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครง้ั ให้ 1 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางคร้งั เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 14–15 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่าํ กว่า 8 ปรบั ปรงุ

35438 16 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16 เรือ่ ง คลื่นแม่เหล็กไฟฟา้

สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ 335449 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 4 คล่ืน แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 16 เร่ือง คล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟา้ รายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) ปีการศกึ ษา 2564 เวลา 3 ช่ัวโมง 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชีว้ ัด มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจําวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟา้ รวมทงั้ นําความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ว 2.3 ม.5/9 สงั เกตและอธบิ ายการเกิดอีเอม็ เอฟ รวมทงั้ ยกตวั อย่างการนําความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ ว 2.3 ม.5/10 สังเกตและอธิบายการทํางานของแผ่นกรองแสงสี การผสมแสงสี การผสมสารสี และการ นําไปใชป้ ระโยชน์ในชีวติ ประจําวัน ว 2.3 ม.5/11 สืบค้นข้อมูลและอธิบายคล่ืนแมเ่ หล็กไฟฟ้าส่วนประกอบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และหลักการ ทํางานของอุปกรณบ์ างชนดิ ทอ่ี าศัยคลื่นแมเ่ หล็กไฟฟา้ 2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. นักเรียนสามารถอธบิ ายการเกิดอเี อ็มเอฟ รวมท้งั ยกตัวอย่างการนําความรไู้ ปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ (K) 2. นกั เรยี นสามารถอธิบายแรงเข้มและแรงอ่อนได้ (K) 3. นักเรียนสามารถสังเกตการเกิดอีเอ็มเอฟ รวมทั้งยกตัวอย่างการนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ( P) 4. นกั เรียนสามารถปฏบิ ตั กิ ารสบื คน้ ข้อมูลแรงเข้มและแรงอ่อนได้ (P) 5. นักเรยี นมคี วามสนใจใฝร่ ู้หรอื อยากรู้อยากเห็น และทาํ งานร่วมกบั ผู้อนื่ อย่างสร้างสรรค์ (A) 3. สาระสาคัญ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic waves) เกิดจากการเหนี่ยวนําแม่เหล็กไฟฟ้า กล่าวคือ เม่ือ มีการเปลี่ยนแปลงของสนามแม่เหล็กหรือการเปลี่ยนแปลงของสนามไฟฟ้า สนามทั้งสองจะเหนี่ยวนําซึ่งกัน และกัน ทําให้เกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าขึ้น เจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์ ( James Clerk Maxwell)

335550 นักวิทยาศาสตร์คนสําคัญที่ทําการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องนี้ แล้วรวบรวมขึ้นเป็นสมการทางคณิตศาสตร์ที่ เรยี กว่า สมการของแมกซ์เวลล์ (Maxwell’s equation) คลนื่ แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าสามารถแผ่กระจายไปได้ทุกท่ีไม่วา่ จะเป็นทวี่ า่ งเปล่า หรอื ในตวั กลางใด ๆ จัดเป็นคลื่น ตามขวางทไี่ มอ่ นภุ าคตวั กลางในการเคลื่อนที่หรือถา่ ยโอนพลังงาน สเปกตรัมของคลนื่ แม่เหล็กไฟฟ้า หมายถึง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความต่อเนื่องกันตั้งแต่ความถ่ีตํ่าสุดจนถึงความถ่ีสูงสุด ประกอบด้วย คลืน่ วทิ ยุ คล่ืน โทรทัศน์ คลืน่ ไมโครเวฟ รังสีอินฟาเรด แสง รังสอี ัลตราไวโอเลต รังสเี อกซ์ และรังสีแกมมา 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ดา้ นความรู้ (K) - ลกั ษณะสาํ คญั ของคลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ - การเกดิ คล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้า - ความแตกต่างระหวา่ งแสงสปี ฐมภมู กิ บั สารสปี ฐมภูมิ 4.2 ด้านทกั ษะ (P) - สเปกตรมั ของคล่นื แม่เหลก็ ไฟฟ้า 4.3 คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A)  1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  2. ซือ่ สตั ยส์ จุ รติ  3. มีวินัย  4. ใฝเ่ รยี นรู้  5. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง  6. ม่งุ ม่ันในการทํางาน  7. รักความเป็นไทย  8. มจี ติ สาธารณะ 5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น  1. ความสามารถในการสื่อสาร  2. ความสามารถในการคิด  3. ความสามารถในการแก้ปญั หา  4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต  5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 6. ชน้ิ งาน/ภาระงาน 6.1 ใบงานที่ 4.3 เร่ือง คลืน่ แมเ่ หล็กไฟฟา้ 6.2 แบบฝกึ หัด เร่อื ง คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า จากแบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟสิ กิ ส์) ม.5 6.3 ผงั มโนทศั น์ เรอื่ ง แสง

335561 7. กิจกรรมการเรยี นรู้  แนวคิด/รปู แบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนคิ : สบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ช่วั โมงที่ 1-2 ข้นั นํา กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครสู นทนากบั นักเรยี นเก่ียวกับการเกิดสนามแม่เหลก็ การเกดิ กระแสไฟฟ้าเหน่ยี วนําในขดลวดตวั นํา คลื่นและสมบตั ิของคล่ืน เพื่อทบทวนความรูข้ องนักเรียนก่อนเขา้ สู่กจิ กรรมการจัดการเรียนรู้ 2. ครูตั้งคําถามให้เป็นเป้าหมายสําหรับนักเรียน โดยเมื่อจบกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ นักเรียนจะต้อง ตอบคําถามนี้ได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และตรงประเด็น เช่น “คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคืออะไร เกิดขึ้นได้ อย่างไร และคลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟา้ มสี มบตั ิเหมือนคล่นื กลท่ีได้ศึกษามาแล้วหรือไม่ อยา่ งไร” 3. ครแู จง้ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ให้นักเรยี นทราบ 4. ครูถามคําถามกระตุ้นความสนใจกับนักเรียน โดยใช้คําถาม Prior Knowledge จากหนังสือเรียน ว่า “คล่ืนแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ ต่างจากคล่นื กล อย่างไร” (แนวตอบ : คลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟ้าเป็นคล่ืนชนดิ หน่งึ ท่ีไม่อาศยั อนภุ าคตวั กลางในการเคล่ือนที่หรือถ่ายโอน พลังงาน ซึ่งต่างจากคลื่นกล เช่น เสียง ที่ต้องอาศัยอนุภาคตัวกลางในการเคลื่อนที่หรือถ่ายโอน พลงั งาน) ขน้ั สอน สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครูให้นักเรียนจับคู่กับเพื่อนที่นั่งข้าง ๆ จากนั้นร่วมกันศึกษา เรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ในหัวข้อ ลักษณะของคลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟา้ และสเปกตรัมของคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟา้ จากหนงั สอื เรียน 2. ครูให้นกั เรียนศึกษาข้อมลู เพิ่มเติมจากส่ือดจิ ิทัล โดยครใู หน้ ักเรียนนําสมาร์ตโฟนข้ึนมาแล้วนําไปสแกน QR Code เรื่อง คลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ จากหนงั สือเรียน 3. ครแู นะนําใหน้ กั เรยี นคน้ คว้าข้อมูลเพ่ิมเตมิ จากอนิ เทอร์เน็ต และรวบรวมขอ้ มูลทีเ่ กี่ยวกบั สเปกตรัมของ คล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟา้ ให้ได้มากทส่ี ดุ จากนั้นรว่ มกันสนทนาแล้วอภปิ รายผลการศึกษารว่ มกนั 4. ครใู หน้ ักเรียนแตล่ ะคู่ร่วมกันศกึ ษา เร่อื ง แสง จากหนังสอื เรยี น

335572 5. ครใู หน้ กั เรียนค้นควา้ ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ สเปกตรัมของแสงขาวตามความยาวคล่ืน จากอนิ เทอร์เน็ต โดย พยายามรวบรวมขอ้ มลู ท่ีเกยี่ วข้องให้ไดม้ ากทสี่ ุด 6. ครูถามคําถามกับนักเรียนว่า “นักเรียนทราบหรือไม่ว่าตาของมนุษย์มีส่วนประกอบอะไรบ้าง และทํา หนา้ ท่อี ะไร” (แนวตอบ : ตาของมนุษย์มีส่วนประกอบมากมาย และส่วนประกอบต่าง ๆ ก็มีหน้าที่แตกต่างกันไป เชน่ กระจกตา ทาํ หน้าทเ่ี ป็นทางผา่ นของแสงเข้าสตู่ า มา่ นตา ทําหน้าท่คี วบคุมปริมาณแสงท่ีจะผ่านไปสู่ เลนสต์ า) 7. ครอู าจถามคําถามต่อว่า “การทม่ี นุษยม์ องเหน็ วัตถุเป็นสีตา่ ง ๆ เกิดจากอะไร” (แนวตอบ : เกิดจากการท่ีแสงตกกระทบจอตา ซึ่งมีเซลล์รับแสงอยู่ ทําให้มนุษยม์ องเห็นวตั ถุเปน็ สีต่าง ๆ ได)้ 8. ครูให้นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับ การมองเห็นภาพ จากหนังสือเรียน จากนั้นครูอาจสุ่มนักเรียนให้ยืนขึ้น แลว้ อธบิ ายการมองเหน็ ภาพของมนษุ ย์จากที่ได้ศึกษามาแลว้ 9. ครูสนทนากับนักเรียนเกีย่ วกับการมองเหน็ ภาพ จากนั้นครแู บ่งนักเรยี นออกเป็นกลุม่ โดยใช้เกณฑ์การ แบง่ ตามความผิดปกติทางสายตา ไดแ้ ก่ สายตาปกติ สายตาส้ัน สายตายาว สายตาเอียง แล้วให้นักเรียน แยกเขา้ กลมุ่ ของตนเอง 10. ครใู ห้แต่ละกลุ่มรว่ มกนั ศกึ ษาเกีย่ วกบั ความผิดปกติทางสายตา จากหนงั สอื เรยี น 11. สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันสนทนาและอภิปรายผลการศึกษาร่วมกัน จากนั้นครูกําหนดให้แต่ละกลุ่มส่ง ตัวแทนออกมานําเสนอผลการศึกษาของกลมุ่ ตนเองหน้าชั้นเรียน 12. ครูถามคําถามกับนักเรียนว่า “นอกจากความผิดปกติทางสายตาที่ได้ศึกษามาแล้ว ยังมีความผิดปกติ หรือความบกพรอ่ งอะไรอีกบา้ งท่ีเก่ียวกบั การมองเหน็ ” (แนวตอบ : ความบกพรอ่ งของการมองเห็นส)ี 13. ครใู ห้นักเรียนแตล่ ะกลุม่ รว่ มกนั ศึกษาเก่ยี วกบั ความบกพรอ่ งของการมองเห็นสี จากหนังสอื เรียน อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูนาํ ตัวอยา่ งแผ่นทดสอบการบอดสอี ิชิฮารามาแสดงให้นักเรยี นดู 2. ครูให้นักเรียนออกมาหน้าชั้นเรียนแล้วทดสอบการบอดสีทีละ 1 คน จนครบทุกคน เพื่อเป็นการ ตรวจสอบความบกพรอ่ งของการมองเห็นสีของตนเอง 3. ครูสนทนากับนักเรียนเก่ียวกับสเปกตรมั ของแสงขาวตามความยาวคลนื่ โดยครอู าจสมุ่ นักเรยี นให้ อธิบายว่าชว่ งแสงแตล่ ะสีอยู่ในชว่ งความยาวคลนื่ ใดบา้ ง 4. ครแู ละนกั เรียนร่วมกันอธิบายความรูเ้ กีย่ วกับ ตากบั การมองเหน็

335583 ชั่วโมงท่ี 3 ข้นั นาํ สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครูสนทนากับนักเรียน โดยเปิดประเด็นว่า การที่มนุษย์เรามองเห็นภาพ เกิดจากแสงไปกระทบกับบน จอตาซงึ่ มเี ซลลร์ บั แสงอยู่ ทําให้เรามองเหน็ ภาพต่าง ๆ แลว้ นักเรยี นทราบหรอื ไมว่ า่ สขี องวตั ถุหรอื แสงสี ตา่ ง ๆ นนั้ เกดิ ขึ้นไดอ้ ย่างไร 2. ครูให้นักเรียนศึกษา เรื่อง การผสมแสงสแี ละการใชป้ ระโยชน์ จากหนังสือเรียน 3. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละประมาณ 6 คน โดยคละความสามารถของนักเรียนตาม ผลสมัฤทธิ์ (เก่ง ปานกลาง อ่อน) ให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน เพื่อร่วมกันศึกษากิจกรรม การผสมแสงสีบน ฉากขาว จากหนังสือเรียน โดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่มกําหนดให้สมาชิกแต่ละคนมีบทบาทหน้าที่ของ ตนเอง เชน่ • สมาชิกคนที่ 1 : เตรยี มวัสดอุ ุปกรณ์ • สมาชิกคนท่ี 2 : อา่ นและศึกษาวิธีปฏิบัตกิ ิจกรรม แล้วนํามาอธิบายสมาชิกในกลมุ่ • สมาชิกคนที่ 3 : บนั ทึกผลการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม • สมาชิกคนที่ 4-5 : คน้ ควา้ เพ่ิมเติม หาแหลง่ ข้อมูลอา้ งอิงเพ่ือสนบั สนุนการปฏบิ ตั ิกิจกรรม • สมาชิกคนที่ 6 : นําเสนอผลการปฏิบตั กิ ิจกรรม 4. ครชู ีแ้ จงจดุ ประสงค์ของกจิ กรรมใหน้ กั เรียนทราบ เพ่ือเป็นแนวทางการปฏิบตั ทิ ี่ถูกต้อง 5. ครใู หค้ วามรเู้ พม่ิ เติมหรอื เทคนิคเกีย่ วกบั การปฏิบตั กิ ิจกรรม จากนั้นใหน้ กั เรยี นทุกกลุ่มลงมือปฏิบัติตาม ขั้นตอน 6. นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ ร่วมกนั พดู คยุ วเิ คราะหผ์ ลการปฏิบตั ิกิจกรรม แลว้ อภปิ รายผลร่วมกนั 7. ครูเน้นยํ้าให้นักเรียนตอบคําถามท้ายกิจกรรม จากหนังสือเรียน ลงในสมุดบันทึกประจําตัว เพื่อนําส่งครู เปน็ การตรวจสอบความเข้าใจจากการปฏบิ ตั ิกิจกรรม 8. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษา เรื่อง การผสมสารสีและการใช้ประโยชน์ จากนั้นแต่ละกลุ่ม ร่วมกันอภปิ รายผลการศึกษาภายในกลมุ่ อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครใู ห้แตล่ ะกลมุ่ ส่งตวั แทนออกมาหน้าชั้นเรียน เพื่อนาํ เสนอผลการปฏิบตั กิ ิจกรรม

3549 2. ครูสุ่มนกั เรียนเพ่ือถามคาํ ถามที่เกีย่ วข้องกบั กิจกรรม เพ่ือตรวจสอบความเขา้ ใจหลังปฏิบัติกิจกรรม 3. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันอภิปรายผลทา้ ยกจิ กรรมและสรปุ ความรูร้ ่วมกนั ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 6. ครนู ําอภิปรายสรปุ เนอ้ื หาโดยเปิด PowerPoint เรอ่ื งที่สอนควบคูไ่ ปดว้ ย 7. ครูใหน้ กั เรยี นทาํ สรุปผงั มโนทศั น์ (Concept Mapping) เรือ่ ง แสง ลงในกระดาษ A4 (หมายเหตุ : ครเู รมิ่ ประเมนิ นกั เรียน โดยใช้แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน) 8. ครสู ุ่มเลอื กนกั เรียนออกไปนําเสนอผงั มโนทัศน์ของตนเองหน้าชั้นเรียน (หมายเหตุ : ครเู ริม่ ประเมินนกั เรียน โดยใชแ้ บบประเมินการนาํ เสนอผลงาน) 9. ครูแจกใบงานท่ี 4.3 เร่อื ง คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า ใหน้ กั เรยี นนาํ กลับไปศึกษาเปน็ การบา้ น 10. ครูมอบหมายการบ้านให้นักเรียนทําแบบฝึกหัด เรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จากแบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์ กายภาพ 2 (ฟสิ ิกส์) ม.5 มาส่งครูในชวั่ โมงถัดไป ขน้ั สรปุ ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. นักเรียนและครูรว่ มกนั สรุปความรเู้ กยี่ วกบั ลักษณะของคลื่นแม่เหล็กไฟฟา้ สเปกตรมั คลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้า แสง เพ่อื ใหน้ กั เรยี นทุกคนได้มีความเขา้ ใจในเนื้อหาที่ได้ศึกษามาแลว้ ไปในทางเดยี วกัน และเปน็ ความ เขา้ ใจท่ีถกู ต้อง โดยครใู ห้นักเรยี นเขียนสรปุ ความร้ลู งในสมุดบันทกึ ประจําตวั 2. ครูตรวจสอบผลจากการทําใบงานท่ี 4.3 เรื่อง คลืน่ แม่เหลก็ ไฟฟา้ 3. ครูตรวจสอบแบบฝึกหัด เรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จากแบบฝึกหัด รายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ กายภาพ 2 (ฟสิ ิกส์) ม.5 4. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานรายบุคคล และการ ทํางานกลุ่ม 5. ครวู ดั และประเมินผลจากช้ินงานการสรุปเนอื้ หา เร่ือง แสง ท่นี ักเรยี นได้สร้างขน้ึ จากขนั้ ขยายความ เขา้ ใจเป็นรายบคุ คล

36505 8. สอื่ /แหล่งการเรยี นรู้ 8.1 ส่อื การเรียนรู้ 1) หนงั สือเรยี น วิทยาศาสตรก์ ายภาพ 2 (ฟสิ ิกส์) ม.5 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 คลน่ื 2) แบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟสิ กิ ส์) ม.5 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 4 คลื่น 3) ใบงานที่ 4.3 เร่ือง คลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า 4) PowerPoint เรื่อง คล่ืนแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ 5) แผน่ ทดสอบการบอดสีอิชิฮารา 8.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1) หอ้ งเรยี น 2) หอ้ งสมุด 3) แหล่งขอ้ มลู สารสนเทศ 9. การวัดและประเมนิ ผล รายการวดั วิธีวัด เครอ่ื งมือ เกณฑก์ ารประเมิน 9.1 การประเมินชนิ้ งาน/ - ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง - แบบประเมนิ ชน้ิ งาน/ - ระดับคุณภาพ 2 ภาระงาน แสง ภาระงาน ผา่ นเกณฑ์ 9.2 การประเมินระหว่าง - ตรวจใบงานท่ี 4.3 - ใบงานท่ี 4.3 - รอ้ ยละ 60 ผา่ เกณฑ์ ระหวา่ งเรยี น - ตรวจแบบฝกึ หัด - แบบฝึกหดั - ร้อยละ 60 ผา่ เกณฑ์ 1) คลนื่ แม่เหล็กไฟฟา้ 2) การนาํ เสนอผลงาน - ประเมนิ การนําเสนอ - แบบประเมินการ - ระดับคุณภาพ 2 ผลงาน นําเสนอผลงาน ผา่ นเกณฑ์ 3) พฤติกรรมการทาํ งาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกต - ระดับคุณภาพ 2 รายบุคคล (สมรรถนะของ การทาํ งานรายบุคคล พฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์ ผู้เรยี น) รายบคุ คล 4) พฤติกรรมการทาํ งาน - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกต - ระดบั คณุ ภาพ 2 กลุม่ การทาํ งานกลุ่ม พฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์ การทํางานกลุ่ม

336516 รายการวัด วธิ วี ดั เคร่อื งมอื เกณฑก์ ารประเมิน 5) คณุ ลกั ษณะอนั พึง - สังเกตความมวี นิ ัย - แบบประเมนิ - ระดบั คณุ ภาพ 2 ประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และมุง่ มัน่ คณุ ลกั ษณะ ผ่านเกณฑ์ ในการทํางาน อนั พึงประสงค์ 10. กจิ กรรมเสนอแนะ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 11. บนั ทกั ผลหลังการสอน สรปุ ผลการเรยี นการสอน นกั เรยี นทัง้ หมดจานวน.............คน จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ จานวนนกั เรียนทผี่ า่ น จานวนนกั เรียนที่ไม่ผ่าน จานวน (คน) ร้อยละ จานวน (คน) ร้อยละ 12. ปัญหา/อปุ สรรค/การแกไ้ ข .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 13. ข้อเสนอแนะ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

336527 ลงชื่อ................................................................ () ตําแหนง่ ครวู ทิ ยฐานะ....................................... ลงชอ่ื ................................................................ () หัวหน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ลงชื่อ................................................................ () รองผู้อํานวยการกล่มุ บริหารงานวชิ าการ ความคดิ เหน็ ของหัวหนา้ สถานศกึ ษา ได้ทําการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ.................................................................... ...........แล้วมีความ คิดเหน็ ดงั นี้ 1. เปน็ แผนการเรยี นรู้ที่  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรุง 2. การจดั กจิ กรรมไดน้ าํ เอากระบวนการเรียนรู้  เน้นผ้เู รยี นเปน็ สาํ คญั มาใช้ในการสอนไดอ้ ย่างเหมาะสม  ยงั ไมเ่ น้นผูเ้ รียนเปน็ สาํ คญั ควรปรบั ปรุงพฒั นาตอ่ ไป 3. ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................................ () ผอู้ ํานวยการโรงเรียน.......................................

36538 ใบงานท่ี 4.3 เรื่อง คล่นื แมเ่ หล็กไฟฟ้า คาชีแ้ จง : ใหน้ ักเรยี นเติมคาหรือขอ้ ความในช่องวา่ งเพอ่ื ใหป้ ระโยคมีความสมบรู ณ์ 1. แมกซ์เวลล์ได้รวบรวมกฎต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวกับแม่เหล็กไฟฟ้า เขาได้ทํานายว่า สนามไฟฟ้าท่ีเปลี่ยนแปลงตาม เวลาทําให้เกิดสนามแม่เหล็ก และขณะเดียวกันสนามแม่เหล็กที่เปลี่ยนแปลงตามเวลาทําให้เกิด สนามไฟฟ้าด้วย โดยสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหลก็ ตา่ งมีทศิ 2. ไฮน์ริช รูดอล์ฟ เฮิรตซ์ ( ) ได้ทําการทดลองจนได้ข้อสรุปว่า โดยคลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟ้าที่เฮิรตซ์ค้นพบในตอนนัน้ คอื 3. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคลื่นที่มีความถี่ต่าง ๆ มากมาย และเป็นความถี่ต่อเนื่องกันเป็นช่วงกว้าง โดยคล่ืน แมเ่ หล็กไฟฟ้าทุกยา่ นความถ่ีรวมกนั เรียกว่า โดยสามารถเขียนเปน็ ภาษาอังกฤษไดว้ ่า 4. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ ในสเปกตรัม แม้มีแหล่งกําเนิดและการตรวจวัดที่แตกต่างกัน แต่ทุกคลื่นก็มี สมบัตทิ สี่ ําคัญเหมอื นกนั คอื 5. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเคลื่อนท่ีด้วยความเร็ว ซึ่งมีขนาดเทา่ กับ 6. คลื่น เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าท่ีมีความยาวคล่ืนตั้งแต่ เมตร (m) หรืออยู่ในช่วงความถี่ต้ังแต่ 3×108 - 3×1011 เฮิรตซ์ 7. แสงเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่โดยประมาณตั้งแต่ เฮิรตซ์ หรือ มีความยาวคล่ืนอยู่ในช่วง นาโนเมตร ซึ่งประสาทตาของมนุษย์ไว ต่อคลื่นแมเ่ หล็กไฟฟา้ ช่วงนี้มาก 8. การมองเห็นวัตถเุ ป็นสตี า่ ง ๆ น้นั เกดิ จากการทแ่ี สงตกกระทบบน () 9. จอตามเี ซลล์รับแสงท่ีประกอบด้วย ทําหน้าท่ีรับรู้เกี่ยวกับความเข้มแสงและ การเคลื่อนไหว และ ทําหน้าที่ในการมองเห็นในที่มีแสงสว่าง มองเห็นท้ัง ภาพขาวดําและภาพสี

336549 10. (color blindness) เป็นความบกพรอ่ งในการมองเห็นสีท่ีเกิดจากการขาดหายไปของ 1) บนจอตา ความบกพร่องน้ีแบ่งออกเปน็ แบบ ได้แก่ 2) 3)

3650 เฉลยใบงานท่ี 4.3 เร่ือง คลนื่ แม่เหล็กไฟฟา้ คาชีแ้ จง : ให้นกั เรียนเตมิ คาหรอื ขอ้ ความในชอ่ งว่างเพอ่ื ให้ประโยคมคี วามสมบูรณ์ 1. แมกซ์เวลล์ได้รวบรวมกฎต่าง ๆ ที่เก่ียวกับแม่เหล็กไฟฟ้า เขาได้ทาํ นายว่า สนามไฟฟ้าท่ีเปลี่ยนแปลงตาม เวลาทําให้เกิดสนามแม่เหล็ก และขณะเดียวกันสนามแม่เหล็กที่เปลี่ยนแปลงตามเวลาทําให้เกิด สนามไฟฟา้ ด้วย โดยสนามไฟฟ้าและสนามแมเ่ หลก็ ตา่ งมที ศิ ตง้ั ฉากกนั 2. ไฮน์ริช รูดอล์ฟ เฮิรตซ์ ( Heinrich Rudolf Hertz ) ได้ทําการทดลองจนได้ข้อสรุปว่า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีอยู่จรงิ ในธรรมชาติ โดยคลืน่ แมเ่ หล็กไฟฟ้าท่ีเฮิรตซ์ค้นพบในตอนนั้น คือ คลน่ื วิทยุ 3. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคลื่นที่มีความถี่ต่าง ๆ มากมาย และเป็นความถี่ต่อเนื่องกันเป็นช่วงกว้าง โดยคล่ืน แม่เหล็กไฟฟา้ ทุกย่านความถร่ี วมกนั เรียกวา่ สเปกตรมั ของคลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟา้ โดยสามารถเขยี นเป็นภาษาองั กฤษไดว้ ่า electromagnetic spectrum 4. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ ในสเปกตรัม แม้มีแหล่งกําเนิดและการตรวจวัดที่แตกต่างกัน แต่ทุกคลื่นก็มี สมบตั ทิ ่สี ําคญั เหมอื นกนั คอื ไมอ่ าศยั อนุภาคตัวกลางในการเคล่ือนทหี่ รอื ถา่ ยโอนพลังงาน 5. คล่นื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ เคลอ่ื นทดี่ ้วยความเรว็ เทา่ กบั ความเรว็ ของแสงในสุญญากาศ ซึง่ มีขนาดเทา่ กับ 3×108 เมตรตอ่ วินาที 6. คล่นื ไมโครเวฟ เปน็ คลื่นแม่เหล็กไฟฟา้ ท่ีมีความยาวคลนื่ ตั้งแต่ 0.001 – 1 เมตร (m) หรือ อย่ใู นชว่ งความถตี่ งั้ แต่ 3×108 - 3×1011 เฮริ ตซ์ 7. แสงเป็นคล่นื แม่เหล็กไฟฟ้าทม่ี ีความถ่ีโดยประมาณต้งั แต่ 3.8×1014 - 7.5×1014 เฮิรตซ์ หรือ มคี วามยาวคลืน่ อยใู่ นช่วง 380 – 750 นาโนเมตร ซึ่งประสาทตาของมนุษย์ไวต่อคล่ืน แม่เหล็กไฟฟ้าช่วงนี้มาก 8. การมองเห็นวตั ถเุ ป็นสตี ่าง ๆ น้ัน เกดิ จากการท่แี สงตกกระทบบน จอตา ( retina )

3661 9. จอตามเี ซลล์รบั แสงที่ประกอบด้วย เซลล์รูปแทง่ ทาํ หนา้ ท่ีรับรูเ้ ก่ยี วกับความเข้มแสงและ การเคล่ือนไหว และ เซลล์รูปกรวย ทําหน้าที่ในการมองเห็นในที่มีแสงสว่าง มองเหน็ ท้ังภาพขาวดาํ และภาพสี 10. การบอดสี (color blindness) เป็นความบกพรอ่ งในการมองเห็นสที ่ีเกิดจากการขาดหายไปของ เซลล์รูปกรวย บนจอตา ความบกพรอ่ งนแี้ บง่ ออกเป็น 3 แบบ ไดแ้ ก่ 1) การบอดสีแดง 2) การบอดสเี ขียว 3) การบอดสนี ํ้าเงนิ

336672 แบบประเมนิ ผลงานผังมโนทศั น์ คาช้ีแจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กําหนด แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรงกับ ระดบั คะแนน ลาดบั ที่ รายการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ 4 3 21 1 ความสอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์ 2 ความถกู ตอ้ งของเน้ือหา 3 ความคิดสร้างสรรค์ 4 ความเปน็ ระเบียบ รวม ลงชื่อ ................................................... ผปู้ ระเมนิ ............../................./................

3683 เกณฑป์ ระเมนิ ผงั มโนทศั น์ ประเด็นท่ปี ระเมนิ ระดับคะแนน 1. ผลงานตรงกบั 432 1 จดุ ประสงค์ท่ี กาหนด ผลงานสอดคลอ้ งกบั ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคลอ้ งกับ ผลงานไม่สอดคลอ้ ง กบั จุดประสงค์ 2. ผลงานมคี วาม จุดประสงค์ทุก จุดประสงค์เป็นส่วน จดุ ประสงคบ์ าง ถกู ต้องสมบูรณ์ เน้อื หาสาระของ ประเดน็ ใหญ่ ประเด็น ผลงานไมถ่ ูกต้องเปน็ 3. ผลงานมคี วามคดิ ส่วนใหญ่ สรา้ งสรรค์ เน้อื หาสาระของ เนือ้ หาสาระของ เน้อื หาสาระของ ผลงานไม่แสดง แนวคดิ ใหม่ ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้องเปน็ ผลงานถกู ต้องเป็น ครบถ้วน ส่วนใหญ่ บางประเด็น ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมแี นวคดิ ผลงานมคี วาม ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหมแ่ ต่ยงั ไม่ น่าสนใจ แตย่ งั ไม่มี แปลกใหมแ่ ละเป็น เปน็ ระบบ แนวคดิ แปลกใหม่ ระบบ 4. ผลงานมีความ ผลงานมคี วามเปน็ ผลงานสว่ นใหญม่ ี ผลงานมีความเปน็ ผลงานส่วนใหญ่ไม่ เปน็ ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง ความเป็นระเบียบแต่ ระเบียบแตม่ ี เป็นระเบยี บและมี ความประณีต ยังมี ข้อบกพร่องบางสว่ น ข้อบกพร่องมาก ข้อบกพร่องเลก็ น้อย เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14–16 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตา่ํ กวา่ 8 ปรบั ปรงุ

3649 แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน คาช้ีแจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรง กบั ระดบั คะแนน ลาดับที่ รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1 32 1 ความถูกตอ้ งของเนอ้ื หา   2 ความคิดสร้างสรรค์   3 วิธกี ารนําเสนอผลงาน   4 การนําไปใช้ประโยชน์   5 การตรงต่อเวลา   รวม ลงช่ือ ................................................... ผู้ประเมิน ............/................./.................. เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมินสมบูรณช์ ัดเจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมินเป็นสว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมินบางส่วน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14 – 15 ดมี าก 11 – 13 ดี 8 – 10 พอใช้ ตาํ่ กวา่ 8 ปรับปรงุ

336750 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล คาช้ีแจง : ให้ผู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหว่างเรยี น แลว้ ขดี ✓ลงในชอ่ งทีต่ รงกับระดบั คะแนน สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น รวม 15 ลาดบั ชื่อ-สกุลของนักเรียน ความสามารถใน ความสามารถใน ความสามารถใน คะแนน การสือ่ สาร การคิด การแก้ปัญหา 5432 1 5432 1 5 4 3 2 1 ลงช่ือ ................................................... ผปู้ ระเมิน ............/.................../................

337616 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนสมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน พฤติกรรมบ่งช้ี ระดับคะแนน 1. ความสามารถ 5 (ดีมาก) 4 (ดี) 3 (ปานกลาง) 2 (พอใช)้ 1 (ปรับปรงุ ) ในการส่อื สาร ไมม่ ีความสามารถ มคี วามสามารถใน มีความสามารถใน มคี วามสามารถใน มคี วามสามารถใน ในการสือ่ สาร 2. ความสามารถ ในการคดิ การส่ือสาร การสอ่ื สาร การสอ่ื สาร การส่อื สาร ไมม่ ีความสามารถ ในการคดิ การ 3. ความสามารถ ออกมาไดด้ เี ยี่ยม ออกมาได้ดี ชัด ออกมาไดร้ ะดับ ออกมาได้ระดับ ตดั สนิ ใจ เกยี่ วกับ ในการ ปัญหาของตนเอง แกป้ ญั หา ชดั เจน เจร ปานกลาง ไม่ ปานกลาง ควร ไม่สามารถ ชัดเจน ปรบั ปรุง แก้ปญั หาเฉพาะ หนา้ ได้ มีความสามารถใน มีความสามารถใน มคี วามสามารถใน มคี วามสามารถ การคิดอย่าง การคิดตัดสินใจ การคิด ตัดสนิ ใจ ตดั สินใจเก่ียวกับ สร้างสรรค์ เกี่ยวกับปัญหา เก่ยี วกบั ปญั หา ปญั หาของตนได้ ตดั สนิ ใจเก่ียวกบั ของตนได้ดี ของตนเองได้ ไมด่ เี ท่าที่ควร ปัญหาของตนเอง ไดเ้ หมาะสม มีความสามารถ มีความสามารถ มคี วามสามารถ มีความสามารถ แก้ปญั หาเฉพาะ แกป้ ัญหาเฉพาะ แกป้ ัญหาเฉพาะ แก้ปัญหาเฉพาะ หน้าไดท้ ุก หนา้ ไดเ้ กือบทุก หนา้ ไดบ้ าง หนา้ ได้ยงั ไม่ดี สถานการณ์ สถานการณ์ สถานการณ์ เท่าทคี่ วร เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14 – 15 ดีมาก 11 – 13 ดี 8 – 10 พอใช้ ต่าํ กวา่ 8 ปรับปรงุ

36727 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรง กับระดับคะแนน การมี ลาดับที่ ชือ่ –สกลุ การแสดง การ การทางาน ความมี ส่วนรว่ ม รวม ของนกั เรยี น ความ ยอมรบั ฟัง ตามที่ น้าใจ ในการ 15 คดิ เห็น ไดร้ ับ ปรบั ปรุง คะแนน คนอน่ื ผลงาน มอบหมาย กลมุ่ 321321321321321 ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน ............./.................../...............

37638 เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสมาํ่ เสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครง้ั ให้ 1 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางคร้งั เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 14–15 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่าํ กว่า 8 ปรบั ปรงุ

336794 17 แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 17 เร่อื ง ประโยชน์ของคลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟา้

สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 3750 ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 5 หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 4 คลน่ื แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 17 เรอื่ ง คล่นื แม่เหลก็ ไฟฟา้ รายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟิสกิ ส์) ปกี ารศึกษา 2564 เวลา 3 ช่ัวโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชีว้ ัด มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจําวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคลืน่ แม่เหลก็ ไฟฟ้า รวมทง้ั นําความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ ว 2.3 ม.5/11 สืบค้นขอ้ มลู และอธิบายคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า สว่ นประกอบคลื่นแมเ่ หล็กไฟฟ้า และหลักการ ทํางานของอปุ กรณบ์ างชนดิ ท่อี าศัยคลืน่ แม่เหล็กไฟฟา้ ว 2.3 ม.5/12 สืบค้นข้อมูลและอธิบายการส่ือสาร โดยอาศัยคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าในการส่งผ่านสารสนเทศ และเปรยี บเทียบการสอ่ื สารดว้ ยสัญญาณแอนะลอ็ กกับสัญญาณดิจิทลั 2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้า ส่วนประกอบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และหลักการทํางานของ อุปกรณ์บางชนดิ ท่ีอาศัยคล่ืนแมเ่ หลก็ ไฟฟ้าได้ (K) 2. นักเรียนสามารถอธิบายการสื่อสาร โดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในการส่งผ่านสารสนเทศและ เปรยี บเทยี บการส่ือสารด้วยสญั ญาณแอนะลอ็ กกับสญั ญาณดิจิทลั ได้ (K) 3. นักเรียนสามารถปฏิบัติการสืบค้นข้อมูลคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ส่วนประกอบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และ หลกั การทํางานของอุปกรณ์บางชนิดที่อาศยั คลื่นแม่เหลก็ ไฟฟา้ ได้ (P) 4. นักเรียนสามารถปฏิบัติการสืบค้นข้อมูลการสื่อสาร โดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในการส่งผ่าน สารสนเทศและเปรียบเทียบการสอ่ื สารดว้ ยสัญญาณแอนะล็อกกบั สัญญาณดจิ ิทัลได้ (P) 5. นักเรียนมคี วามสนใจใฝร่ ้หู รอื อยากรอู้ ยากเหน็ และทาํ งานร่วมกบั ผอู้ ่นื อย่างสรา้ งสรรค์ (A)

3716 3. สาระสาคัญ ปัจจุบันอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ทํางานโดยอาศัยหลักการคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้านําไปใช้ประโยชน์ในด้านต่ าง ๆ มากมาย เช่น อุปกรณ์ควบคุมระยะไกล เครื่องถ่ายภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ เครื่องถ่ายภาพการสั่นพ้อง แม่เหล็ก รวมถึงการใชค้ ลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในการสื่อสารหรือส่งผา่ นข้อมูลมากมาย ที่จะต้องทําการแปลงข้อมลู หรือสารสนเทศให้เป็นสัญญาณไฟฟ้า เรียกว่า สัญญาณข้อมูล ก่อนท่ีจะส่งผ่านสื่อกลางในการส่งข้อมูล โดย สัญญาณข้อมูลที่ใช้ในการสื่อสาร แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ สัญญาณแอนะล็อก และสัญญาณดิจิทัล นอกจากน้ีการสื่อสารข้อมลู ต้องอาศัยส่ือกลางในการส่งผ่านข้อมลู เพอ่ื นําเขา้ ข้อมูลไปยังจุดหมายปลายทาง โดย ส่ือกลางในการสือ่ สารขอ้ มลู แบ่งเป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ ส่ือกลางแบบใช้สาย และสอ่ื กลางแบบไรส้ าย 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ดา้ นความรู้ (K) - อุปกรณท์ ่มี ีการทํางานโดยอาศยั คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า 4.2 ดา้ นทักษะ (P) - ความรเู้ กย่ี วกบั คลื่นแม่เหลก็ ฟ้าไปอธิบายสถานการณ์ทีเ่ กี่ยวข้องกบั ชีวิตประจาํ วัน 4.3 คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (A)  1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  2. ซ่ือสัตย์สจุ รติ  3. มวี นิ ัย  4. ใฝ่เรยี นรู้  5. อยูอ่ ย่างพอเพยี ง  6. มงุ่ มนั่ ในการทํางาน  7. รักความเป็นไทย  8. มีจิตสาธารณะ 5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น  1. ความสามารถในการสอื่ สาร  2. ความสามารถในการคิด  3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา  4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ  5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. ชิน้ งาน/ภาระงาน 6.1 แบบฝกึ หดั เร่อื ง คลน่ื แม่เหล็กไฟฟา้ จากแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟิสกิ ส)์ ม.5 6.2 แบบทดสอบหลงั เรยี น หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 4 เรอ่ื ง คล่ืน 6.3 ตรวจผงั มโนทัศน์ เรือ่ ง ประโยชนข์ องคลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟา้

3727 7. กจิ กรรมการเรยี นรู้  แนวคิด/รปู แบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ชว่ั โมงที่ 1-2 ขนั้ นํา กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครสู นทนากบั นกั เรียนทบทวนความรูเ้ ก่ยี วกับคลนื่ แม่เหล็กไฟฟา้ 2. ครูถามคําถามกับนักเรียนว่า “นักเรียนทราบหรือไม่ว่าในชีวิตประจําวันของนักเรียน มีอะไรบ้างท่ี สามารถอธิบายไดด้ ว้ ยความร้เู กี่ยวกบั คล่นื แมเ่ หล็กไฟฟา้ ” ครูทิ้งช่วงเวลาใหน้ กั เรียนคิด จากน้ันครูอาจ สมุ่ นกั เรียนเพ่อื ให้นักเรยี นไดแ้ สดงความคดิ เหน็ ของตนเอง ข้ันสอน สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกันอย่างอิสระ กลุ่มละ 4-5 คน จากนั้นครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษา เร่อื ง ประโยชน์ของคลน่ื แม่เหล็กไฟฟา้ จากหนังสือเรยี น 2. ครจู ัดเตรยี มสลากหมายเลข 1-4 ใสไ่ ว้ในกล่องทบึ แสง 3. ครูให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมาหน้าชั้นเรียน จากนั้นให้ตัวแทนจับสลากทีละ 1 คน โดยหยิบแล้ว เปิดดูวา่ ได้หมายเลขอะไรใหจ้ าํ เอาไว้ แลว้ เกบ็ กลับไปไว้ในกล่องเชน่ เดิม จนครบทกุ คน 4. ครูแจง้ ให้นกั เรยี นทราบวา่ แตล่ ะหมายเลขท่ีแต่ละกลุ่มได้ไปนนั้ หมายถงึ อะไร ดังน้ี • หมายเลข 1 อปุ กรณ์ควบคมุ ระยะไกล • หมายเลข 2 เครื่องถ่ายภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ • หมายเลข 3 เครอ่ื งถา่ ยภาพการสั่นพอ้ งแม่เหลก็ • หมายเลข 4 การใช้คลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้าในการสื่อสารข้อมลู 5. ครูมอบหมายให้แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวกับหัวข้อที่กลุ่มตนเองได้ โดยพยายาม รวบรวมข้อมูลให้ได้มากที่สุด จากนั้นร่วมกันสนทนาและอภิปรายผลการศึกษาภายในกลุ่ม แล้วนํา ข้อมูลทีไ่ ด้มาเขียนเปน็ รายงานลงในกระดาษ A4 นาํ ส่งครูทา้ ยชั่วโมง

3783 6. ในขณะที่นักเรียนกําลังร่วมกันศึกษาและจัดทํารายงาน ครูเดินสังเกตการณ์และให้คําปรึกษาเม่ือ นกั เรยี นเกดิ ปัญหาหรอื มีข้อสงสยั 7. ครูถามคําถามกับนักเรียนเก่ียวกับเรื่องท่ีนกั เรียนกําลังศึกษา โดยอาจเป็นแนวทางในการศึกษาค้นควา้ ข้อมลู ของนกั เรยี นแต่ละกล่มุ เช่น • อปุ กรณ์ควบคุมระยะไกลแบ่งตามชนิดของคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟา้ ทใ่ี ช้เปน็ ส่ือกลางในการส่งสัญญาณ มีกีช่ นิด อะไรบ้าง (แนวตอบ : 2 ชนดิ ไดแ้ ก่ รโี มตอนิ ฟาเรด และรีโมตคล่นื วทิ ย)ุ • ขอ้ ไดเ้ ปรียบของรีโมตคลนื่ วทิ ยทุ ่เี หนือกว่ารโี มตอินฟาเรดคืออะไร เพราะเหตใุ ด (แนวตอบ : ระยะทําการ เพราะรีโมตคลื่นวิทยุส่งสัญญาณได้ไกลถึง 100 ฟุต และสัญญาณวิทยุ สามารถทะลผุ ่านผนังและตู้กระจกได)้ • ความพเิ ศษของเครื่องถ่ายภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ทเ่ี คร่ืองเอกซเรย์ธรรมดาไมส่ ามารถทําได้คือ อะไร (แนวตอบ : เครื่องถ่ายภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์สามารถสร้างภาพภาคตัดขวางของลําตัวผู้รับ การตรวจ ทําให้ได้ภาพอวัยวะเป็นชัน้ ๆ) • เครอ่ื งถ่ายภาพการสน่ั พอ้ งแมเ่ หลก็ มีสว่ นประกอบสําคญั 4 สว่ น ประกอบดว้ ยอะไรบ้าง (แนวตอบ : แม่เหล็กกําลังสูง ขดลวดสร้างสนามแม่เหล็กค่าลดหลั่น ขดลวดส่งและรับคลื่นวิทยุ และคอมพวิ เตอร์) • สัญญาณข้อมลู คืออะไร และแบ่งไดเ้ ป็นกี่ชนิด อะไรบา้ ง (แนวตอบ : การนําข้อมูลหรือสารสนเทศซึง่ ไม่สารมารถส่งไปในระยะทางไกลด้วยความเร็วสูงได้ จึงตอ้ งนําขอ้ มูลและสารสนเทศน้ันมาแปลงเปน็ สัญญาณไฟฟ้า ซงึ่ เรียกวา่ สัญญาณขอ้ มูล แบ่งได้ เปน็ 2 ชนิด ไดแ้ ก่ สัญญาณแอนะลอ็ ก และสญั ญาณดจิ ทิ ัล) • สอ่ื กลางในการสง่ ผ่านขอ้ มูลแบบใชส้ ายหมอื นหรอื แตกต่างกบั ส่ือกลางแบบไรส้ าย อยา่ งไร (แนวตอบ : แตกตา่ งกนั คือ ส่ือกลางแบบใช้สายจะสง่ ข้อมูลผา่ นสายนาํ สัญญาณไฟฟ้าด้วยระดับ สัญญาณไฟฟ้าที่แตกต่างกัน แต่สื่อกลางแบบไร้สายจะใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในการส่งผ่านหรือ สือ่ สารข้อมูล เช่น อินฟาเรด ใชเ้ ป็นสื่อกลางในการส่ือสารระยะใกล้โดยไม่มีส่ิงกีดขวางระหว่างผู้ สง่ กบั ผูร้ ับ)

3794 อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครแู ละนักเรียนร่วมกันสนทนาเก่ยี วกับประโยชน์ของคลน่ื แม่เหล็กไฟฟ้า จากหนงั สอื เรยี น 2. ครูสุ่มสมาชิกตัวแทนกลุ่ม จากกลุ่มที่ได้สลากหมายเลข 1 ออกมาหน้าชั้นเรียน จากนั้นให้นําเสนอ รายงานของกลุม่ ตนเอง 3. ครูสุ่มสมาชิกตัวแทนกลุ่มต่อไป จากกลุ่มที่ได้สลากหมายเลข 2 ออกมานําเสนอรายงาน จากนั้นครูสุ่ม จนครบ 4 หมายเลข 4. ครูและนักเรียนร่วมกันอธิบายความรู้ เรื่อง ประโยชน์ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า หรือการนําความรู้ เกย่ี วกบั คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจําวัน 5. ครูมอบหมายให้นักเรียนทําแบบฝึกหัดจาก Topic Question เรื่อง คลื่นแม่เหลก็ ไฟฟา้ จากหนงั สือเรียน ลง ในสมุดบันทึกประจาํ ตัว และรวบรวมส่งครทู ้ายช่ัวโมง ชวั่ โมงที่ 3 ข้ันสอน ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครูนาํ อภปิ รายสรปุ เน้อื หาโดยเปิด PowerPoint เรอ่ื งทีส่ อนควบคูไ่ ปดว้ ย 2. ครูให้นักเรียนทําสรุปผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) เรื่อง ประโยชน์ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ลง ในกระดาษ A4 (หมายเหตุ : ครูเร่มิ ประเมินนักเรยี น โดยใชแ้ บบประเมินชนิ้ งาน/ภาระงาน) 3. ครูอธิบายสรุปความรู้ เร่ือง คลน่ื อกี คร้งั โดยให้นักเรยี นดู Summary จากหนังสอื เรียน 4. ครูสุม่ เลอื กนักเรียนออกไปนําเสนอผังมโนทัศน์ของตนเองหนา้ ชัน้ เรยี น (หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมนิ นักเรียน โดยใชแ้ บบประเมนิ การนําเสนอผลงาน) 5. ครูให้นักเรียนตรวจสอบความเข้าใจของตนเอง ด้วยกรอบ Self Check เรื่อง คลื่น จากหนังสือเรียน ลง ในสมุดบันทึกประจาํ ตวั 6. ครูมอบหมายให้นักเรียนทําแบบฝึกหัดจาก Unit Question หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 คลื่น จาก หนังสือเรียน เป็นการบ้าน โดยทําลงในสมุดบันทึกประจําตัว แล้วรวบรวมส่งครูเพื่อตรวจสอบและให้ คะแนน 7. ครูมอบหมายการบ้านให้นักเรียนทําแบบฝึกหัด เรื่อง ประโยชน์ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จากแบบฝึกหัด วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ 2 (ฟสิ กิ ส์) ม.5 มาส่งครูในช่ัวโมงถดั ไป

37850 8. ครใู ห้นกั เรยี นทําแบบทดสอบหลงั เรยี น เพื่อตรวจสอบความเข้าใจหลงั เรยี นของนักเรียน ขนั้ สอน ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. นกั เรยี นและครรู ว่ มกันสรุปความรเู้ กีย่ วกับ ประโยชน์ของคลน่ื แม่เหล็กไฟฟ้า เพ่ือให้นักเรยี นทกุ คนได้ มีความเข้าใจในเน้ือหาท่ีไดศ้ ึกษามาแลว้ ไปในทางเดียวกัน และเป็นความเข้าใจที่ถกู ต้อง โดยครใู ห้ นกั เรยี นเขียนสรุปความร้ลู งในสมุดบันทึกประจาํ ตวั 2. ครูตรวจสอบผลการทาํ แบบทดสอบหลงั เรยี น เพื่อตรวจสอบความเขา้ ใจหลังเรียนของนักเรียน 3. ครูตรวจสอบผลจากการทํารายงาน เร่อื ง ประโยชนข์ องคลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า 4. ครูตรวจแบบฝึกหดั จาก Topic Question เรื่อง คล่นื แม่เหล็กไฟฟ้า ในสมดุ บันทกึ ประจําตวั 5. ครตู รวจสอบผลการตรวจสอบความเขา้ ใจของตนเอง Self Check เรื่อง คลื่น จากหนังสือเรยี น ในสมดุ บันทกึ ประจําตัว 6. ครตู รวจแบบฝกึ หดั จาก Unit Question หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 4 คลนื่ ในสมดุ บันทึกประจาํ ตัว 7. ครูตรวจสอบแบบฝึกหดั เรื่อง ประโยชน์ของคลื่นแมเ่ หล็กไฟฟา้ จากแบบฝึกหัด วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ 2 (ฟสิ กิ ส)์ ม.5 8. ครูประเมนิ ผล โดยการสงั เกตพฤติกรรมการตอบคําถาม พฤติกรรมการทาํ งานรายบุคคล และการ ทํางานกลุม่ 9. ครวู ดั และประเมนิ ผลจากชน้ิ งานการสรุปเนอื้ หา เร่ือง ประโยชนข์ องคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้า ที่นกั เรยี นได้ สรา้ งขึ้นจากขั้นขยายความเข้าใจเป็นรายบุคคล 8. ส่อื /แหล่งการเรยี นรู้ 8.1 ส่อื การเรียนรู้ 1) หนงั สือเรียน วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 (ฟิสิกส์) ม.5 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 4 คลื่น 2) แบบฝึกหัด วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ 2 (ฟิสิกส์) ม.5 หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 4 คลื่น 3) แบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยการเรียนรทู่ ่ี 4 คล่นื 4) PowerPoint เรื่อง คลื่นแมเ่ หล็กไฟฟ้า 8.2 แหลง่ การเรียนรู้ 1) ห้องเรยี น 2) หอ้ งสมุด 3) แหล่งขอ้ มลู สารสนเทศ

37861 9. การวดั และประเมินผล วธิ ีวดั เครอ่ื งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ รายการวดั 9.1 การประเมนิ ชน้ิ งาน/ - ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง - แบบประเมินชิ้นงาน/ - ระดบั คุณภาพ 2 ภาระงาน ป ร ะ โ ย ช น ์ ข อ ง ค ลื่ น ภาระงาน ผ่านเกณฑ์ แมเ่ หล็กไฟฟ้า 9.2 การประเมินระหวา่ ง - ตรวจแบบฝึกหดั - แบบฝึกหัด - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ การจดั กจิ กรรม 1) คล่ืนแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า 2) การนาํ เสนอผลงาน - ประเมินการนาํ เสนอ - แบบประเมนิ การ ระดบั คุณภาพ 2 ผลงาน นาํ เสนอผลงาน ผา่ นเกณฑ์ 3) พฤติกรรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - ระดบั คณุ ภาพ 2 ทํางานรายบุคคล การทาํ งานรายบุคคล รายบคุ คล ผ่านเกณฑ์ (สมรรถนะของผู้เรยี น) 4) พฤติกรรมการ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2 ทํางานกลุ่ม การทาํ งานกลุ่ม การทาํ งานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์ 5) คณุ ลกั ษณะอนั พึง - สงั เกตความมวี นิ ัย - แบบประเมิน - ระดบั คณุ ภาพ 2 ประสงค์ ใฝเ่ รยี นรู้ และมุ่งมั่น คณุ ลักษณะ ผ่านเกณฑ์ ในการทํางาน อนั พึงประสงค์ 9.3 การประเมินหลัง - ตรวจแบบทดสอบหลัง - แบบทดสอบหลงั เรียน - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ เรยี น เรยี น - แ บ บ ท ด ส อ บ ห ลั ง เรียน หน่วยการ เรียนรู้ที่ 4 เรื่อง คลนื่

338727 10. กจิ กรรมเสนอแนะ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 11. บนั ทกั ผลหลงั การสอน สรปุ ผลการเรยี นการสอน นักเรยี นทง้ั หมดจานวน.............คน จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ จานวนนักเรียนท่ีผ่าน จานวนนักเรยี นทไ่ี ม่ผา่ น จานวน (คน) ร้อยละ จานวน (คน) ร้อยละ 12. ปญั หา/อุปสรรค/การแก้ไข .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 13. ข้อเสนอแนะ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

37883 ลงชอ่ื ................................................................ () ตําแหนง่ ครูวิทยฐานะ....................................... ลงชอ่ื ................................................................ () หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ลงช่ือ................................................................ () รองผอู้ าํ นวยการกลมุ่ บริหารงานวิชาการ ความคดิ เห็นของหัวหน้าสถานศึกษา ได้ทําการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ...............................................................................แล้วมีความ คดิ เหน็ ดงั น้ี 1. เปน็ แผนการเรยี นรู้ท่ี  ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรงุ 2. การจัดกจิ กรรมไดน้ าํ เอากระบวนการเรียนรู้  เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สําคัญมาใชใ้ นการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม  ยังไม่เน้นผ้เู รียนเป็นสําคญั ควรปรบั ปรงุ พัฒนาตอ่ ไป 3. ข้อเสนอแนะอืน่ ๆ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ................................................................ () ผู้อาํ นวยการโรงเรียน........................................

38749 แบบทดสอบหลังเรยี น หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 4 คาชแ้ี จง : ใหน้ ักเรียนเลือกคาตอบท่ีถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว 1. องค์การอนามัยโลก ได้กําหนดระดับของความเข้มเสียงที่ปลอดภัยต่อหูและจิตใจของผู้ฟังไว้ไม่เกินกี่เดซิ เบล และได้ยินติดต่อกันไม่เกินก่ีช่ัวโมง 1. ไมเ่ กิน 75 เดซิเบล และไดย้ นิ ตอ่ เน่อื งไม่เกนิ 7 ชั่วโมง 2. ไม่เกิน 85 เดซิเบล และได้ยินต่อเนื่องไม่เกิน 7 ชวั่ โมง 3. ไมเ่ กนิ 75 เดซิเบล และไดย้ นิ ต่อเนอ่ื งไมเ่ กิน 8 ชว่ั โมง 4. ไม่เกิน 85 เดซิเบล และไดย้ นิ ต่อเนื่องไมเ่ กนิ 8 ชวั่ โมง 5. ไมเ่ กนิ 75 เดซิเบล และไดย้ ินต่อเนื่องไม่เกิน 9 ชั่วโมง 2. ข้อใดตอ่ ไปนี้ มคี วามถนี่ อ้ ยที่สดุ 1. คลื่นแสง 2. คลนื่ วทิ ยุ 3. รงั สีแกมมา 4. รงั สีอินฟาเรด 5. คล่นื ไมโครเวฟ 3. เพราะเหตุใดจึงใช้คลื่นไมโครเวฟในการสอ่ื สารระยะไกลแทนการใช้คลืน่ วทิ ยุ 1. คล่ืนวทิ ยเุ คล่ือนทีไ่ ดใ้ นระยะใกล้เทา่ นั้น 2. คลื่นวทิ ยไุ ม่สะทอ้ นในชนั้ ไอโอโนสเฟยี ร์ 3. คลื่นไมโครเวฟมีความถส่ี ูงกว่าคล่ืนวิทยุ 4. คลน่ื ไมโครเวฟไม่สะทอ้ นในชน้ั บรรยากาศ 5. คลน่ื วทิ ยมุ ีอตั ราเร็วน้อยกว่าคล่นื ไมโครเวฟ

3850 4. ข้อใดตอ่ ไปนเ้ี รียงลําดับความถ่จี ากมากไปน้อยได้ถกู ต้อง 1. คลื่นวิทยุ แสง รงั สเี อกซ์ รังสีแกมมา 2. แสง คล่นื วิทยุ รังสเี อกซ์ รงั สีอนิ ฟาเรด 3. รังสีเอกซ์ รังสอี ินฟราเรด แสง รังสแี กมมา 4. คลื่นวทิ ยุ รงั สีเอกซ์ รงั สีแกมมา รังสีอัลตราไวโอเลต 5. รงั สีเอกซ์ รงั สีอลั ตราไวโอเลต รังสอี ินฟราเรด คลืน่ วิทยุ 5. ขอ้ ใดต่อไปนี้ มคี วามถีม่ ากท่สี ดุ 1. คลืน่ แสง 2. คลื่นวิทยุ 3. รังสีแกมมา 4. รงั สีอินฟาเรด 5. คล่นื ไมโครเวฟ 6. คลื่น A เป็นคลื่นที่มีความยาวคลื่นน้อย สามารถทําให้แผ่นฟิล์มที่ห่อกระดาษไว้เป็นรอยได้ สมมติฐานของคลื่น A ในขอ้ ใดถูกต้อง 1. เป็นคลื่นกล 2. เป็นคล่นื แสง 3. เป็นคลื่นวทิ ยุ 4. เปน็ รงั สแี กมมา 5. เป็นคลื่นไมโครเวฟ 7. คล่ืนกลตามยาวและคล่นื กลตามขวางถูกนิยามขึน้ โดยพจิ ารณาจากปัจจัยใดเปน็ หลัก 1. ความยาวคล่นื 2. คาบการสน่ั ของคลื่น 3. ประเภทของแหล่งกําเนิด 4. ทิศทางการเคลอื่ นทข่ี องคลนื่ 5. ทิศทางการสัน่ ของอนุภาคตวั กลาง

338861 8. คลนื่ รปู ไซนข์ วนหนึ่ง เคล่อื นที่ไปไดร้ ะยะทาง 50 เมตร มกี ารกระจดั 20 เมตร แอมพลิจูดของคล่ืนมขี นาดเทา่ ไร 1. 10 เมตร 2. 20 เมตร 3. 30 เมตร 4. 40 เมตร 5. 50 เมตร 9. ลวดสปริงชนิดหนึ่งสั่นด้วยความถี่ 100 เฮิรตซ์ เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 0.02 เมตรต่อวินาที จงหาความยาวของ คล่นื ในลวดสปรงิ น้ี 1. 2 มิลลิเมตร 2. 0.2 มิลลเิ มตร 3. 0.02 มลิ ลิเมตร 4. 0.002 มลิ ลิเมตร 5. 0.0002 มิลลิเมตร 10. ปัจจบุ ันนิยมใชค้ ลื่นชนิดใดในการตรวจอวัยวะภายในร่างกายของมนษุ ย์ 1. คลื่นกล 2. รังสีเอกซ์ 3. รงั สอี นิ ฟาเรด 4. คลื่นเหนอื แสง 5. คลืน่ เหนือเสยี ง เฉลย 1. 4 2. 2 3. 4 4. 5 5. 3 6. 4 7. 5 8. 2 9. 2 10. 5

338872 แบบประเมนิ ผลงานผังมโนทศั น์ คาช้ีแจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนตามรายการที่กําหนด แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรงกับ ระดบั คะแนน ลาดบั ที่ รายการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ 4 3 21 1 ความสอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์ 2 ความถกู ตอ้ งของเน้ือหา 3 ความคิดสร้างสรรค์ 4 ความเปน็ ระเบียบ รวม ลงชื่อ ................................................... ผปู้ ระเมนิ ............../................./................

3883 เกณฑป์ ระเมนิ ผงั มโนทศั น์ ประเด็นท่ปี ระเมนิ ระดับคะแนน 1. ผลงานตรงกบั 432 1 จดุ ประสงค์ท่ี กาหนด ผลงานสอดคลอ้ งกบั ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคลอ้ งกับ ผลงานไม่สอดคลอ้ ง กบั จุดประสงค์ 2. ผลงานมคี วาม จุดประสงค์ทุก จุดประสงค์เป็นส่วน จดุ ประสงคบ์ าง ถกู ต้องสมบูรณ์ เน้อื หาสาระของ ประเดน็ ใหญ่ ประเด็น ผลงานไมถ่ ูกต้องเปน็ 3. ผลงานมคี วามคดิ ส่วนใหญ่ สรา้ งสรรค์ เน้อื หาสาระของ เนือ้ หาสาระของ เน้อื หาสาระของ ผลงานไม่แสดง แนวคดิ ใหม่ ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้องเปน็ ผลงานถกู ต้องเป็น ครบถ้วน ส่วนใหญ่ บางประเด็น ผลงานแสดงออกถึง ผลงานมแี นวคดิ ผลงานมคี วาม ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหมแ่ ต่ยงั ไม่ น่าสนใจ แตย่ งั ไม่มี แปลกใหมแ่ ละเป็น เปน็ ระบบ แนวคดิ แปลกใหม่ ระบบ 4. ผลงานมีความ ผลงานมคี วามเปน็ ผลงานสว่ นใหญม่ ี ผลงานมีความเปน็ ผลงานส่วนใหญ่ไม่ เปน็ ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง ความเป็นระเบียบแต่ ระเบียบแตม่ ี เป็นระเบยี บและมี ความประณีต ยังมี ข้อบกพร่องบางสว่ น ข้อบกพร่องมาก ข้อบกพร่องเลก็ น้อย เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14–16 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตา่ํ กวา่ 8 ปรบั ปรงุ

3849 แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน คาช้ีแจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรง กบั ระดบั คะแนน ลาดับที่ รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1 32 1 ความถูกตอ้ งของเนอ้ื หา   2 ความคิดสร้างสรรค์   3 วิธกี ารนําเสนอผลงาน   4 การนําไปใช้ประโยชน์   5 การตรงต่อเวลา   รวม ลงช่ือ ................................................... ผู้ประเมิน ............/................./.................. เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมินสมบูรณช์ ัดเจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมินเป็นสว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมินบางส่วน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14 – 15 ดมี าก 11 – 13 ดี 8 – 10 พอใช้ ตาํ่ กวา่ 8 ปรับปรงุ

338950 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล คาช้ีแจง : ให้ผู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหว่างเรยี น แลว้ ขดี ✓ลงในชอ่ งทีต่ รงกับระดบั คะแนน สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น รวม 15 ลาดบั ชื่อ-สกุลของนักเรียน ความสามารถใน ความสามารถใน ความสามารถใน คะแนน การสือ่ สาร การคิด การแก้ปัญหา 5432 1 5432 1 5 4 3 2 1 ลงช่ือ ................................................... ผปู้ ระเมิน ............/.................../................

339816 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนสมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน พฤติกรรมบ่งช้ี ระดับคะแนน 1. ความสามารถ 5 (ดีมาก) 4 (ดี) 3 (ปานกลาง) 2 (พอใช)้ 1 (ปรับปรงุ ) ในการส่อื สาร ไมม่ ีความสามารถ มคี วามสามารถใน มีความสามารถใน มคี วามสามารถใน มคี วามสามารถใน ในการสือ่ สาร 2. ความสามารถ ในการคดิ การส่ือสาร การสอ่ื สาร การสอ่ื สาร การส่อื สาร ไมม่ ีความสามารถ ในการคดิ การ 3. ความสามารถ ออกมาไดด้ เี ยี่ยม ออกมาได้ดี ชัด ออกมาไดร้ ะดับ ออกมาได้ระดับ ตดั สนิ ใจ เกยี่ วกับ ในการ ปัญหาของตนเอง แกป้ ญั หา ชดั เจน เจร ปานกลาง ไม่ ปานกลาง ควร ไม่สามารถ ชัดเจน ปรบั ปรุง แก้ปญั หาเฉพาะ หนา้ ได้ มีความสามารถใน มีความสามารถใน มคี วามสามารถใน มคี วามสามารถ การคิดอย่าง การคิดตัดสินใจ การคิด ตัดสนิ ใจ ตดั สินใจเก่ียวกับ สร้างสรรค์ เกี่ยวกับปัญหา เก่ยี วกบั ปญั หา ปญั หาของตนได้ ตดั สนิ ใจเก่ียวกบั ของตนได้ดี ของตนเองได้ ไมด่ เี ท่าที่ควร ปัญหาของตนเอง ไดเ้ หมาะสม มีความสามารถ มีความสามารถ มคี วามสามารถ มีความสามารถ แก้ปญั หาเฉพาะ แกป้ ัญหาเฉพาะ แกป้ ัญหาเฉพาะ แก้ปัญหาเฉพาะ หน้าไดท้ ุก หนา้ ไดเ้ กือบทุก หนา้ ไดบ้ าง หนา้ ได้ยงั ไม่ดี สถานการณ์ สถานการณ์ สถานการณ์ เท่าทคี่ วร เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14 – 15 ดีมาก 11 – 13 ดี 8 – 10 พอใช้ ต่าํ กวา่ 8 ปรับปรงุ

38927 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรง กับระดับคะแนน การมี ลาดับที่ ชือ่ –สกลุ การแสดง การ การทางาน ความมี ส่วนรว่ ม รวม ของนกั เรยี น ความ ยอมรบั ฟัง ตามที่ น้าใจ ในการ 15 คดิ เห็น ไดร้ ับ ปรบั ปรุง คะแนน คนอน่ื ผลงาน มอบหมาย กลมุ่ 321321321321321 ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน ............./.................../...............

39838 เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสมาํ่ เสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครง้ั ให้ 1 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางคร้งั เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 14–15 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่าํ กว่า 8 ปรบั ปรงุ

39ค4 บรรณานกุ รม Ananya Riddle. (13 พฤศจิกายน 2564). เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://pubhtml5.com/owhq/pxml เอ้ืออนุช เพยี รขุนทด. (15 พฤศจิกายน 2564). เขา้ ถึงได้จาก PHYSICS: https://sites.google.com/a/bpn.ac.th/physics/phaenkar-cadkar-reiyn-ru-raywicha-fisiks- phun-than-1 สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธกิ าร. (10 พฤศจิกายน 2564). เข้าถงึ ไดจ้ าก phy.c2560.0t.pdf: http://www.krukird.com/phy.c2560.0t.pdf อักษร อนิ สไปร์ จาํ กดั . (13 พฤศจกิ ายน 2564). AKSORK. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก AKSORK: https://www.aksorn.com/store/2/product-details-691 อักษร อนิ สไปร์ จํากดั . (15 พฤศจกิ ายน 2564). AKSORN. เข้าถงึ ไดจ้ าก https://www.aksorn.com/download/basic-education- th?level_class[0]=14&level_class[1]=15&level_class[2]=16&media_type[0]=8&product_typ e[0]=2&product_type[1]=3&product_type[2]=4&product_type[3]=5&q=&subject_group[0] =30&type[0]=1&type[1]=2&type[2]=3&type[3]=4

395 “ความพยายาม จะนําพาสู่ความสาํ เรจ็ ” จัดทําโดย นางสาวนติ พิ ร ถนิ่ พบิ ลู ย์ เลขที่ 19 หมู่เรียน D4


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook