Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2565_ประวัติพระพุทธศาสนา ร่างแรก PDF รวมไฟล์

2565_ประวัติพระพุทธศาสนา ร่างแรก PDF รวมไฟล์

Published by banchongmcu_surin, 2022-05-11 07:51:05

Description: 2565_ประวัติพระพุทธศาสนา ร่างแรก PDF รวมไฟล์

Search

Read the Text Version

คำ� ถามทา้ ยบท ตอนท่ี ๑ คำ� ช้ีแจง : ขอ้ สอบมีลกั ษณะเป็นแบบอตั นยั มีทง้ั หมด ๑๒ ขอ้ ใหน้ ิสติ ทำ� ทกุ ขอ้ ดงั ต่อไปน้ี ๑. อะไรเป็นสาเหตสุ ำ� คญั ทำ� ใหเ้กดิ องคก์ รสงฆใ์ หม่ ๆ ในสงั คมไทยจงอธบิ าย ๒. จงอธบิ ายแนวคดิ กจิ กรรม และผลกระทบต่อสงั คมของสำ� นกั สวนโมกขพลาราม ๓. จงอธบิ ายแนวคดิ กจิ กรรม และผลกระทบต่อสงั คมของสำ� นกั สนั ตอิ โศก ๔. จงอธบิ ายแนวคดิ กจิ กรรม และผลกระทบต่อสงั คมของสำ� นกั วดั พระธรรมกาย ๕. จงอธบิ ายแนวคดิ กจิ กรรม และผลกระทบต่อสงั คมของสำ� นกั วดั หนองป่าพง ๖. จงอธบิ ายแนวคดิ กจิ กรรม และผลกระทบต่อสงั คมของสำ� นกั วดั นาป่าพง ๗. จงอธบิ ายอะไรเป็นสาเหตสุ ำ� คญั ทำ� ใหเ้กดิ องคก์ รสงฆใ์ หม่ ๆ ในต่างประเทศ ๘. จงอธบิ ายแนวคดิ กจิ กรรม และผลกระทบต่อสงั คมของทเิ บต ๙. จงอธบิ ายแนวคดิ กจิ กรรม และผลกระทบต่อสงั คมของสมาคมมหาโพธ์ิ ๑๐. จงอธบิ ายแนวคดิ กจิ กรรม และผลกระทบต่อสงั คมของชมุ ชนหมบู่ า้ นพลมั ตอนท่ี ๒ คำ� ช้ีแจง : ขอ้ สอบมีลกั ษณะเป็นแบบปรนยั ใหน้ ิสติ ทำ� เคร่อื งหมาย กากบาท (X) ทบั ขอ้ ก ข ค หรอื ง ท่ถี กู ตอ้ งท่สี ดุ เพยี งขอ้ เดียว ดงั ต่อไปน้ี ๑. อะไรเป็นสาเหตสุ ำ� คญั ทำ� ใหเ้กดิ องคก์ รสงฆใ์ หม่ ๆ ในสงั คมไทย ก. ดำ� เนนิ การใหช้ วี ติ ความเป็นอยู่ การกระทำ� ของพระภกิ ษุใหเ้ป็นไปตามหลกั ของพระธรรมวนิ ยั ข. ตอ้ งการสรา้ งสำ� นกั เพอ่ื หาผลประโยชน์ ค. ตอ้ งการมชี ่อื เสยี งในสงั คมปจั จบุ นั ง. ตอ้ งการหาหนทางไปนพิ พาน ๒. อะไรเป็นสาเหตสุ ำ� คญั ทำ� ใหเ้กดิ องคก์ รสงฆใ์ หมๆ่ ในต่างประเทศ ก. ตอ้ งการสรา้ งศาสนทายาทในพระพทุ ธศาสนา ข. ตอ้ งการเผยแผ่หลกั คำ� สอนและเครอื ขา่ ยของพระพทุ ธศาสนา ค. ตอ้ งการมชี อ่ื เสยี งในสงั คมปจั จบุ นั ง. ตอ้ งการหาหนทางไปนพิ พาน ๓. ชมุ ชนหมบู่ า้ นพลมั เกดิ ข้นึ จากสาเหตใุ ด ก. ตอ้ งการมชี อ่ื เสยี งในสงั คมปจั จบุ นั ข. ตอ้ งการเผยแผ่หลกั คำ� สอนของสำ� นกั ตนเอง ค. ตอ้ งการนำ� หลกั ปฏบิ ตั ใิ นการดำ� เนินชวี ติ เพอ่ื การดำ� รงอยู่อย่างเป็นสุขในสงั คม ง. ตอ้ งการหาหนทางไปนพิ พาน 08. - 8 (265-290).indd 286 5/10/2022 12:59:21 PM

287 ๔. ดา้ นผลกระทบต่อสงั คมของสมาคมมหาโพธ์มิ ผี ลดตี ่อพระพทุ ธศาสนาอย่างไร ก. เป็นสมาคมทม่ี กี ารส่งเสรมิ พระพทุ ธศาสนา ข. เป็นสมาคมทป่ี ้องกนั ภยั ใหภ้ ยั พระพทุ ธศาสนา ค. เป็นสมาคมทม่ี กี ารปลกุ ระดมชาวพทุ ธเพอ่ื สนั ตภิ าพ ง. เป็นผูจ้ ดุ ประกายรเิ ร่มิ ใหช้ าวพทุ ธและชาวอนิ เดยี หนั มาเอาใจใส่และฟ้ืนฟูพทุ ธสถานทส่ี ำ� คญั ของ พระพทุ ธองค์ ๕. หลกั คำ� สอนของสำ� นกั สวนโมกขพลารามเป็นอย่างไร ก. หลกั ความสงบ ข. หลกั อหงิ สา ค. หลกั สนั ตภิ าพ ง. ธรรมะ ๙ ตา ๖. หลกั คำ� สอนของสำ� นกั สนั ตอิ โศกมผี ลกระทบกบั พระพทุ ธศาสนาอย่างไร ก. แนวคำ� สอนและปฏปิ ทาของสำ� นกั สนั ตอิ โศกเป็นมจิ ฉาทฏิ ฐิ ข. แนวคำ� สอนของสนั ตอิ โศกเนน้ วริ ตั ติ ่อสงั คม ค. หลกั คำ� สอนเนน้ การเคร่งปฏบิ ตั ติ นเพอ่ื หลดุ พน้ ง. หลกั คำ� สอนเนน้ เร่อื งประชาธปิ ไตยกบั การเมอื ง ๗. หลกั คำ� สอนของสำ� นกั วดั พระธรรมกายเก่ยี วกบั เร่อื งอะไร ก. แนวการปฏบิ ตั ติ นเพอ่ื บรรลพุ ระอรหนั ต์ ข. แนวการปฏบิ ตั เิ พอ่ื บรรลวุ ชิ ชาธรรมกาย ค. แนวการปฏบิ ตั ติ นเพอ่ื เป็นพระโพธสิ ตั ว ์ ง. แนวการปฏบิ ตั ติ นเพอ่ื ลาภสกั การะ ๘. หลกั คำ� สอนของสำ� นกั วดั หนองป่าพงมหี ลกั การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาอย่างไร ก. ทำ� ตนใหม้ ปี ระโยชนต์ ่อพระพทุ ธศาสนา ข. ทำ� ตนใหเ้ป็นทพ่ี งึ ของบคุ คลอน่ื ค. ทำ� ตนใหต้ งั้ อยู่ในคณุ ธรรมสมควรเสยี ก่อน แลว้ จงึ สอนคนอน่ื ทหี ลงั ง. ทำ� ตนใหเ้คร่งครดั ในกฎระเบยี บ ๙. หลกั คำ� สอนของสำ� นกั วดั นาป่าพงมผี ลกระทบต่อพระพทุ ธศาสนาอย่างไร ก. มกี ารตคี วามพระวนิ ยั แบบใหม่ ข. มกี ารปฏบิ ตั ทิ เ่ี ป็นปรปกั ษก์ บั พระพทุ ธศาสนา 08. - 8 (265-290).indd 287 5/10/2022 12:59:21 PM

288 ค. มกี ารโฆษณาทเ่ี กนิ ความเป็นจรงิ ง. มปี ญั หาในทเ่ี กดิ ข้นึ ในพระศาสนาคอื มกี ารบญั ญตั คิ ำ� ศพั ทใ์ หม่ ๑๐. อะไรเป็นสาเหตสุ ำ� คญั ทำ� ใหเ้กดิ องคก์ รสงั คมของชมุ ชนหมบู่ า้ นพลมั ก. ตอ้ งการสรา้ งสำ� นกั ใหม้ นั่ คง ข. ตอ้ งการเผยแผ่หลกั ความหลดุ พน้ ค. ตอ้ งการใหป้ ระชาชนมคี วามสุข ง. มงุ่ มนั่ เนน้ สนั ตภิ าพโลกโดยปลกุ จติ สำ� นกึ คนทวั่ โลก 08. - 8 (265-290).indd 288 5/10/2022 12:59:21 PM

เอกสารอา้ งองิ ประจำ� บท คนงึ นติ ย์ จนั ทบตุ ร. สถานะและบทบาทของพระพทุ ธศาสนาในประเทศไทย. กรงุ เทพมหานคร : หจก.ภาพพมิ พ,์ ๒๕๓๒. จนิ ดา จนั ทรแ์ กว้ . องคก์ รสงฆใ์ นปจั จุบนั . กรุงเทพมหานคร : มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๓๒. จนิ ดา จนั ทรแ์ กว้ . ศาสนาปจั จุบนั . กรุงเทพมหานคร : มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๓๒. พระยุทธนา รมณียธมโฺ ม (แกว้ กนั หา). การศึกษาเชิงวเิ คราะหก์ ารจดั องคก์ รคณะสงฆใ์ นสมยั พทุ ธกาล. บณั ฑติ วทิ ยาลยั : มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๕๖. พระมหาสมจนิ ต์ สมมฺ าปญฺโ. พระพทุ ธศาสนามหายานพฒั นาการและสารตั ถะ. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์ มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๔๓. พระเทพเวที (ประกอบ ธมมฺ เสฏฺโ). พระราชบญั ญตั ิคณะสงฆแ์ ละกฎมหาเถรสมาคม. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พบ์ รษิ ทั สหธรรมกิ จำ� กดั , ๒๕๔๑. พระประชา ปสนฺนธมโฺ ม (สมั ภาษณ์). อตั ชีวประวตั ิของท่านพทุ ธทาส เล่าไวเ้ ม่ือวยั สนธยา. พทุ ธทาสภกิ ข.ุ อตมั มยตาประยกุ ต.์ กรุงเทพมหานคร : ธรรมสภา, ๒๕๔๕. พระไพสาล วสิ าโล. พระพทุ ธศาสนาไทยในอนาคตแนวโนว้ และทางออกวกิ กฤต. กรุงเทพมหานคร : มลู นิธิ สดศร-ี สฤษด์วิ งศ,์ ๒๕๔๖. พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). กรณีธรรมกาย บทเรยี นเพ่อื ศึกษาพระพทุ ธศาสนาและสรา้ งสรรคส์ งั คมไทย, ๒๕๔๘. พระราชธรรมมนุ ี (เกยี รติ สุกติ ตฺ )ิ . จดหมายเลา่ เร่อื งอนาคารกิ ธรรมปาละ. กรุงเทพมหานคร : ม.ป.พ., ๒๕๔๓. ภทั รพร สริ กิ าญจน. องคก์ รทางศาสนากบั ปญั หาสงั คมปจั จุบนั . กรุงเทพมหานคร : มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร,์ ๒๕๓๖. มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั . พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบบั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั . กรุงเทพ- มหานคร : โรงพมิ พม์ หาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๓๙. มลู นิธธิ รรมสนั ต.ิ แสงสูญ ปีท่ี ๑๒ ฉบบั ท่ี ๔๖ กรกฎาคม-กนั ยายน. ๒๕๓๔. แมช่ กี ฤษณา รกั ษาโฉม. การศึกษาเชิงวเิ คราะหบ์ ทบาทของพระวนิ ยั ธรในพระไตรปิ ฎก : ศึกษาเฉพาะกรณี พระอบุ าลเี ถระและพระปฏาจาราเถร,ี บณั ฑติ วทิ ยาลยั : มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๔๕. ราจฟี เมหโ์ รตระ. เขา้ ใจทะไลลามะมหาสมทุ รแหง่ ปญั ญา. แปลโดย กฤตศรี สามะพทุ ธ.ิ กรุงเทพมหานคร : สำ� นกั พมิ พส์ งวนเงนิ มมี า, ๒๕๔๙. 08. - 8 (265-290).indd 289 5/10/2022 12:59:21 PM

290 รชั ววี รรณ ชยั วรศิลป์. รกั แท้ : การฝึกปฏบิ ตั เิ พอ่ื หวั ใจท่เี บกิ บาน. พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๖. กรุงเทพมหานคร : บรษิ ทั อมั รนิ ทร์ พร้นิ ต้งิ แอนดพ์ บั ลชิ ่งิ จำ� กดั , ๒๕๕๒. ราชบณั ฑติ ยสถาน. พจนานุกรม ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรงุ เทพมหานคร : นานมบี คุ๊ พบั ลเิ คชนั่ ส,์ ๒๕๔๖. ศ.น.พ.ประเวศ วะส.ี สวนโมกข์ ธรรมกาย สนั ติอโศก. พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๘ กรุงเทพมหานคร : หมอชาวบา้ น, ๒๕๓๘. สุจติ รา พนู พพิ ฒั น.์ บทบาทของวดั พระธรรมกายในสงั คมไทยปจั จุบนั , ๒๕๕๓. เสถยี รพงษ์ วรรณปก. พทุ ธสาวก พทุ ธสาวกิ า.พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๒.กรุงเทพมหานคร : สำ� นกั พมิ พธ์ รรมสภาและสถาบนั บนั ลอื ธรรม, ๒๕๔๘. หมิ วรรณ รกั แต่งาม. การศึกษาวิเคราะหก์ ารตีความตามหลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนาของติช นัท ฮนั . บณั ฑติ วทิ ยาลยั : มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๔๑. มตชิ นรายวนั ฉบบั วนั องั คารท ่ี ๔ มถิ นุ ายน ๒๕๕๖. นิตยสารอกั ษรสาร ฉบบั เดอื นมกราคม ๒๕๕๒. นิตยสารอกั ษรสาร ฉบบั เดอื นมกราคม ๒๕๕๒. [ออนไลน]์ , แหลง่ ทม่ี า : http://www.mcu.ac.th/site/history.php [๒๗ สงิ หาคม ๒๕๕๖]. [ออนไลน]์ , แหลง่ ทม่ี า : วดั นาป่าพง. https://th.wikipedia.org/wiki/, [๒๙ ตลุ าคม ๒๕๖๔]. [ออนไลน]์ , แหลง่ ทม่ี า : http://www.dhammathai.org/meditationguide/dbview.php [๒๙ ตลุ าคม ๒๕๖๔]. [ออนไลน]์ , แหลง่ ทม่ี า : https://www.posttoday.com/dhamma/๖๕๖๒๗ [๒๙ ตลุ าคม ๒๕๖๔]. Mgronline.com,หนงั สอื พมิ พผ์ ูจ้ ดั การสุดสปั ดาห,์ วา่ ดว้ ยเร่อื ง “พระคกึ ฤทธ์”ิ กบั วาทะ “ปาฏโิ มกข์ ๑๕๐-๒๒๗ ขอ้ ” เผยแพร่วนั ท่ี ๒๓ สงิ หาคม ๒๕๕๗, (๒๐ มกราคม ๒๕๖๕). 08. - 8 (265-290).indd 290 5/10/2022 12:59:21 PM

บทท่ี ๙ บทบาทคณะสงฆไ์ ทยกบั การสบื สานพระพทุ ธศาสนา ผศ.บรรจง โสดาดี ผศ.ดร.เสฐยี ร ทงั่ ทองมะดนั วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรูป้ ระจำ� บท เมอ่ื ศึกษาเน้ือหาในบทน้ีแลว้ ผูศ้ ึกษาสามารถ ๑. อธบิ ายบทบาทคณะสงฆไ์ ทยกบั การสบื สานพระพทุ ธศาสนาในสมยั สุโขทยั และลา้ นนาได้ ๒. อธบิ ายบทบาทคณะสงฆไ์ ทยกบั การสบื สานพระพทุ ธศาสนาในสมยั อยุธยาได้ ๓. วเิ คราะหบ์ ทบาทคณะสงฆไ์ ทยกบั การสบื สานพระพทุ ธศาสนาในสมยั ธนบรุ ไี ด้ ๔. วเิ คราะหบ์ ทบาทคณะสงฆไ์ ทยกบั การสบื สานพระพทุ ธศาสนาในสมยั รตั นโกสนิ ทรไ์ ด้ ๕. วเิ คราะหบ์ ทบาทคณะสงฆไ์ ทยกบั การสบื สานพระพทุ ธศาสนาในยุคโลกาภวิ ตั นไ์ ด้ ขอบข่ายเน้ือหา  ความนำ�  บทบาทคณะสงฆไ์ ทยกบั การสบื สานพระพทุ ธศาสนาในสมยั สุโขทยั และลา้ นนา  บทบาทคณะสงฆไ์ ทยกบั การสบื สานพระพทุ ธศาสนาในสมยั อยุธยา  บทบาทคณะสงฆไ์ ทยกบั การสบื สานพระพทุ ธศาสนาในสมยั ธนบรุ ี  บทบาทคณะสงฆไ์ ทยกบั การสบื สานพระพทุ ธศาสนาในสมยั รตั นโกสนิ ทร์  บทบาทคณะสงฆไ์ ทยกบั การสบื สานพระพทุ ธศาสนาในยุคโลกาภวิ ตั น์ 09. - 9 (291-313).indd 291 5/10/2022 12:59:51 PM

292 ประวตั พิ ระพทุ ธศาสนา ๙.๑ ความน�ำ การศึกษาบทบาทคณะสงฆไ์ ทยกบั การสบื สานพระพทุ ธศาสนา แบ่งประเด็นศึกษาได้ ๕ หวั ขอ้ หลกั ไดแ้ ก่ บทบาทคณะสงฆไ์ ทยกบั การสบื สานพระพทุ ธศาสนาในสมยั สุโขทยั และลา้ นนา บทบาทคณะสงฆไ์ ทยกบั การสบื สานพระพทุ ธศาสนาในสมยั อยุธยา บทบาทคณะสงฆไ์ ทยกบั การสบื สานพระพทุ ธศาสนาในสมยั ธนบรุ ี บทบาทคณะสงฆไ์ ทยกบั การสบื สานพระพทุ ธศาสนาในสมยั รตั นโกสนิ ทร์และบทบาทคณะสงฆไ์ ทยกบั การสบื สาน พระพทุ ธศาสนาในยุคโลกาภวิ ตั น์ ในการนำ� เสนอเน้ือหาดำ� เนินตามลำ� ดบั เวลาเป็นสำ� คญั ขอ้ มลู มกี ารผสมผสาน ระหวา่ งขอ้ มลู เก่า ในเอกสารวชิ าประวตั พิ ระพทุ ธศาสนา กบั ขอ้ มลู ทเ่ี พม่ิ เตมิ มาใหม่ ขอ้ มลู สว่ นใหญ่ยงั เป็นขอ้ มลู จากเอกสารเลม่ แรกทม่ี กี ารปรบั ปรุงปี ๒๕๕๘ สง่ิ ทค่ี วรเขา้ ใจเบ้อื งตน้ คือ พ้นื ทป่ี ระเทศไทยเป็นพ้นื ทเ่ี ช่อื มต่อ ระหว่างอารยธรรมอนิ เดยี กบั จนี ซง่ึ เป็นเสน้ ทางการคา้ ในสมยั โบราณ ดงั นนั้ การไหลบ่าของกระแสวฒั นธรรม ทง้ั สองในแต่ละยุคสมยั จงึ เขา้ สู่ดนิ แดนเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใตโ้ ดยงา่ ย ดงั จะพบวา่ ช่วงพทุ ธศาสนาเถรวาท แบบอโศกเจริญข้นึ ก็ส่งผลถงึ ดินแดนแถบน้ี ช่วงมหายานจากอินเดียใตร้ ุ่งเรืองก็ส่งผลถงึ ผนื แผ่นดินตรงน้ี เป็นตน้ และสงั เกตไดว้ า่ การขยายตวั ของศาสนาพทุ ธเขา้ มาในอษุ าคเนยอ์ าศยั พระสมณทูตเป็นแกนหลกั โดยผา่ น เสน้ ทางการคา้ ดงั กลา่ ว ศาสนพทุ ธแต่ละครงั้ แต่ละคลน่ื ทข่ี ยายตวั มายงั เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใตแ้ ตกต่างกนั ไปตามพฒั นาการแหง่ พระพทุ ธศาสนา เช่น ในช่วงประมาณพทุ ธศตวรรษท่ี ๓ พทุ ธศาสนาในอนิ เดยี ตอนกลางสมยั พระเจา้ อโศกมหาราช เจรญิ ข้นึ ถกู ส่งตรงมาในดนิ แดนสุวรรณภมู ิ ประมาณพทุ ธศตวรรษท่ี ๖ พทุ ธศาสนารุ่งเรอื งในอนิ เดยี เหนือยุค พระเจา้ กนษิ กะแห่งแควน้ กษุ าณะ พทุ ธศาสนาไหลบา่ ไปยงั เอเชยี กลางและกระจายไปยงั ประเทศจนี แลว้ กระจาย มาถงึ กลมุ่ คนไทยทอ่ี าศยั ในจนี ตอนใตส้ มยั ขนุ หลวงเมา้ และปรากฎหลกั ฐานชดั เจนใน “ราชอาณาจกั รน่านเจา้ ”1 ประมาณพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๐-๑๒ พทุ ธศาสนาเจรญิ รุ่งเรอื งในอาณาจกั รปาละ อนิ เดยี ตอนใตท้ ำ� ใหศ้ าสนาพทุ ธ และพทุ ธศิลปะแบบมหายานขยายเขา้ มายงั เกาะชวาเช่ือมต่อเขา้ ไปยงั อาณาจกั รเขมรโบราณแลว้ กระจายเขา้ สู่ ประเทศไทย กระแสลา่ สุดเป็นพทุ ธศาสนาแบบลงั กาเจรญิ ข้นึ ในยคุ พระเจา้ ปรกรมพาหปุ ระมาณ พ.ศ.๑๖๐๐ ทำ� ให้ พทุ ธศาสนาแบบลงั กาขยายอทิ ธพิ ลเขา้ มายงั ดนิ แดนเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใตแ้ ละไดร้ บั ความนยิ มอย่างมากในยุค ต่อมา ซง่ึ พฒั นาการของพทุ ธศาสนาแต่ละยุคมผี ลต่อพ้นื ทเ่ี อเชยี ตะวนั ออกเฉียงใตเ้ ป็นอย่างไร จะไดน้ ำ� เสนอ รายละเอยี ดต่อไป 1 พระราชวงศเ์ ธอ กรมหมน่ื พยิ ลาภพฤฒยิ ากร, ประวตั พิ ทุ ธศาสนาในสยาม, (กรุงเทพมหานคร: มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั , ๒๕๑๗), หนา้ ๔. 09. - 9 (291-313).indd 292 5/10/2022 12:59:51 PM

บทท่ี ๙ บทบาทคณะสงฆไ์ ทยกบั การสบื สานพระพทุ ธศาสนา 293 ภาพท่ี ๙.๑ แผนทอ่ี ารยธรรมก่อนยุคสุโขทยั ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ ท่มี า : แผนทม่ี โนวทิ ยา ไครเส เครอโซเนอโซส สุวรรณทวปี สุวรรณภมู ิ ยวาทวปี ะ <EJeab Academies> ภาพท่ี ๙.๑ แสดงใหเ้หน็ อารยธรรมทเ่ี คยรุ่งเรอื ง ก่อนการอพยพเคลอ่ื นยา้ ยของกลมุ่ คนไทยจากตอนใต้ ของจีนลงมาสรา้ งบา้ นแปงเมอื งในภูมภิ าคน้ี ประกอบดว้ ย อารยธรรมพกุ าม อยู่ในพ้นื ท่ปี ระเทศเมยี นมาร์ ในปจั จบุ นั เช่น สะเทมิ ศรเี กษตร พกุ าม เป็นตน้ อารยธรรมทวารวดี มพี ้นื ทอ่ี ยู่ตรงกลางของประเทศไทย ในปจั จบุ นั เช่น อู่ทอง ศรเี ทพ เสมา เป็นตน้ อารยธรรมขอม อยู่ในพ้นื ทป่ี ระเทศกมั พชู าในปจั จบุ นั เช่น ออกแกว้ 09. - 9 (291-313).indd 293 5/10/2022 12:59:52 PM

294 ประวตั พิ ระพทุ ธศาสนา อีศานปุระ ศรียโสธรปุระ เป็นตน้ อารยธรรมจามปา มพี ้นื ท่ใี นเวยี ดนามในปจั จุบนั เช่น มเิ ซนิ ดงเตือง บญิ ดญิ เป็นตน้ และอารยธรรมศรีวชิ ยั มศี ูนยก์ ลางอยู่ทางภาคใตข้ องประเทศไทยและประเทศอนิ โดนีเซยี เช่น แหลมโพธ์ิ สุมาตรา ชวา เป็นตน้ ๙.๒ บทบาทคณะสงฆไ์ ทยกบั การสบื สานพระพทุ ธศาสนาในสมยั สโุ ขทยั อาณาจกั รโบราณของกลมุ่ คนไทยมคี วามเป็นมาอย่างไร ในเอกสารประวตั พิ ทุ ธศาสนาในสยามใหข้ อ้ มลู วา่ “...คนไทยไดอ้ พยพลงมาทางใตเ้ป็นสาย ๆ ...ไดแ้ ก่ พวกไทยใหญ่ทล่ี งไปตง้ั ในดนิ แดนลา้ นนา อกี พวกลงมา ทางตงั เกยี๋ แลว้ ตง้ั ถน่ิ ฐานทเ่ี มอื งแถน(เดยี นเบยี นฟู) แลว้ แยกยา้ ยตง้ั ถน่ิ ฐานทอ้ งทท่ี ใ่ี กลเ้คียง...บรรดาชาตไิ ทย เหลา่ น้ีถอื ลทั ธเิ ถรวาท...ในราวพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๘ ไดต้ งั้ เป็นรฐั ต่าง ๆ อาทิ รฐั เชยี งราย พเยาว์ และอน่ื ๆ”2 ในเอกสารชดุ เดยี วกนั ไดใ้ หข้ อ้ มลู เก่ียวกบั การตงั้ หลกั ปกั ฐานเกิดอาณาจกั รสำ� คญั ของคนไทยในสมยั ต่อมาว่า “ไทยล้อื จำ� พวกหน่ึงตงั้ ถน่ิ ฐานบา้ นเรือนข้นึ ระหว่างลุ่มนำน้ ยมและนำน้ น่านซ่งึ เป็นราชอาณาจกั รกมั พูชา...เมอ่ื พน้ สมยั พระเจา้ อนุรุธแหง่ พกุ ามแลว้ ไทยลา้ นนากต็ ง้ั ตนเป็นอสิ ระ และไทยทล่ี งมาทางแมน่ ำน้ ยมแมน่ ำน้ น่านกถ็ อื โอกาส สลดั แอกกมั พชู า ตงั้ เป็นรฐั อสิ ระเรยี กวา่ สุโขทยั ”3 จากนน้ั มารฐั สุโขทยั กม็ พี ฒั นาการอย่างต่อเน่ือง และมคี วาม เจรญิ รุ่งเรอื งอย่างมากในรชั สมยั พอ่ ขนุ รามคำ� แหงและพระยาลไิ ทย ภายใตว้ ฒั นธรรมแหง่ พทุ ธศาสนาผสมผสาน กบั คตคิ วามเช่อื ผี การศึกษาบทบาทคณะสงฆไ์ ทยกบั การสบื สานพระพทุ ธศาสนาในสมยั สุโขทยั แบ่งประเดน็ ศึกษาเป็น ๓ หวั ขอ้ ไดแ้ ก่ สภาพสงั คมทวั่ ไปของสุโขทยั การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาในสุโขทยั และบทบาทของ คณะพระสงฆใ์ นสุโขทยั ดงั น้ี ๙.๒.๑ สภาพสงั คมทวั่ ไปของสโุ ขทยั ปฏเิ สธไม่ไดว้ ่าอาณาจกั รสุโขทยั เป็นอาณาจกั รชาวพทุ ธท่มี คี ามเจริญมนั่ คงเขม้ แขง็ แห่งหน่ึงของไทย ในทร่ี าบลมุ่ ตอนกลางของประเทศไทย แต่ขอ้ สนั นิษฐานของประวตั ศิ าสตรจ์ ารตี (บอกเลา่ /อนุรกั ษ/์ กระแสหลกั ) ทว่ี ่ากรุงสุโขทยั คือราชธานีแห่งแรกของไทยเร่มิ มคี วามน่าเช่อื ถอื ลดตำต่ ลง เพราะเมอ่ื มกี ารศึกษาประวตั ศิ าสตร์ เชงิ วเิ คราะหจ์ ะพบวา่ อาณาจกั รต่าง ๆ ของกลมุ่ คนไทยในกรอบเวลา (Period) เดยี วกนั น้มี มี ากแลว้ ดงั นนั้ เพดาน ความคิดทเ่ี คยตดิ ตนั ว่า สุโขทยั เป็นอาณาจกั รแรกของไทยนนั้ ถูกทะลุทะลวงออกแลว้ ชดุ ความรูเ้ ชงิ ประจกั ษ์ ก่อนทอ่ี าณาจกั รสุโขทยั จะถกู สถาปนาใหเ้ป็นอาณาจกั รแรกเร่มิ นน้ั กลุม่ คนทอ่ี าศยั อยู่ในเขตพ้นื ทป่ี ระเทศไทย ในปจั จบุ นั ไดพ้ ฒั นาบา้ นเมอื งเป็นอาณาจกั รต่าง ๆ มาก่อนแลว้ เช่น อาณาจกั รละโว้พมิ าย ลา้ นนา กำ� แพงเพชร เพชรบรุ ี เป็นตน้ รฐั อสิ ระเหลา่ น้ีเร่มิ เขม้ แขง็ มนั่ คงข้นึ หลงั “พกุ ามและกมั พชู าเสอ่ื มอำ� นาจลง”4 มลี กั ษณะเป็น 2 พระราชวงศเ์ ธอ กรมหมน่ื พยิ ลาภพฤฒยิ ากร, ประวตั พิ ทุ ธศาสนาในสยาม, หนา้ ๕. 3 พระราชวงศเ์ ธอ กรมหมน่ื พยิ ลาภพฤฒยิ ากร, ประวตั พิ ทุ ธศาสนาในสยาม, หนา้ ๖. 4 พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตโฺ ต), พระพทุ ธศาสนาในอาเชีย, (กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา, ๒๕๔๐), หนา้ ๑๔๖. 09. - 9 (291-313).indd 294 5/10/2022 12:59:52 PM

บทท่ี ๙ บทบาทคณะสงฆไ์ ทยกบั การสบื สานพระพทุ ธศาสนา 295 “รฐั เครือญาติ”5 เป็นเครือข่ายเช่ือมโยงถงึ กนั หมด และกลายเป็นอาณาจกั รชาวพุทธท่สี ำ� คญั ในเวลาต่อมา แทนอารยธรรมก่อนหนา้ คอื อารยธรรมจามปา อารยธรรมขอม อารยธรรมทวารวดี อารยธรรมพกุ าม อายธรรม โบราณเหลา่ น้ีมอี ทิ ธิพลต่อรฐั สมยั ใหม่ในยุคหลงั ไม่ว่าจะเป็นการวางผงั เมอื งเป็นรูปสเ่ี หลย่ี มและพทุ ธศาสนา มหายานจากเขมรโบราณ ความเช่อื วฒั นธรรมทางพทุ ธศาสนาเถรวาทแบบทวารวดี เป็นตน้ สงั คมสมยั อาณาจกั รสโุ ขทยั อดุ มสมบูรณด์ งั ปรากฏในศลิ าจารกึ ทว่ี า่ “เมอ่ื ชวั่ พอ่ ขนุ รามคำ� แหง เมอื งสโุ ขทยั น้ีดี ในนำน้ มปี ลา ในนามขี า้ ว เจา้ เมอื งบเ่ อาจกอบในไพร่ลูท่าง เพอ่ื นจูงววั ไปคา้ ขม่ี า้ ไปขาย ใครจกั ใคร่คา้ ชา้ งคา้ ... ไพร่ฟ้าหนา้ ใส”6 เป็นจริงหรือไม่เพยี งใด เป็นประเด็นท่ถี ูกนำ� มาวเิ คราะหว์ พิ ากษก์ นั มากข้นึ เพราะในดา้ น ภูมิประวตั ิศาสตรส์ ุโขทยั ท่ีพรรณนาในจารึกกบั สภาพความจริงเชิงประจกั ษม์ ีความขดั แยง้ กนั พอสมควร แต่ประเด็นน้ีไม่สูเ้ ก่ียวขอ้ งกบั เน้ือหาหลกั ขอผ่านไป ประเด็นท่นี ่าสนใจคือ อาณาจกั รสุโขทยั เป็นอุดมรฐั แห่ง พทุ ธศาสนารฐั หน่ึง เพราะเตม็ ไปดว้ ยวดั วาอาราม หากเอาทรรศนะของยอช เซเดส์ เก่ยี วกบั การลม่ สลายของ อารยธรรมขอมทว่ี า่ “ปราสาทหนิ ของเขมรนนั้ เป็นสถานทส่ี รา้ งข้นึ เพอ่ื ประโยชนส์ ่วนตวั ของกษตั รยิ แ์ ต่ละองค์ หรอื ของชนชนั้ ปกครองคนใดคนหน่ึงเพยี งคนเดยี ว…พวกมฤตกเทวาลยั ของพระเจา้ ชยั วรมนั ท่ี ๗ มมี ากมาย หลายรอ้ ยแห่ง...กองทพั ของคนงานจะมขี นาดใหญ่สกั เพยี งไรจงึ จะเพยี งพอสำ� หรบั การสกดั หนิ ฉุดลาก ช่างก่อ ช่างสลกั กองทพั มดของแรงงานเหลา่ น้ตี อ้ งทำ� งานอยา่ งเหน่อื ยยาก...ประชาชนเขมรยคุ นครหลวงไดไ้ ต่ข้นึ ไปจนถงึ จุดยอดสุดของพลงั อำ� นาจของเขา แลว้ ก็กล้งิ ตกลงมา ถูกบดขย้อี ยู่ภายใตค้ วามหนกั อ้งึ แห่งความทะยานใน เกียรตยิ ศของกษตั ริยข์ องเขาอง”7 ทรรศนะดงั กลา่ วไม่เพยี งแต่ดอ้ ยค่าผลงานของกษตั ริยเ์ ขมรโบราณเท่านน้ั ยงั ทำ� ลายความน่าเช่ือถอื พทุ ธศาสนามหายานอกี ดว้ ย ในขณะเดยี วกนั ไดใ้ หค้ ุณค่าช่ืนชมพทุ ธศาสนาเถรวาท ทไ่ี ดร้ บั ความนิยมในช่วงเวลาถดั มาวา่ เป็นศาสนาแบบชาวบา้ น เรยี บงา่ ย ไมฟ่ ้งุ เฟ้อ แต่ภายหลงั ต่อมา เมอ่ื พทุ ธ- ศาสนาเถรวาทไดเ้ขา้ ไปมบี ทบาทต่อทางราชสำ� นกั พบวา่ มกี ารสรา้ งวดั วาอารามศาสนวตั ถจุ ำ� นวนมากในอาณาจกั ร ชาวพทุ ธในเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ แมไ้ มใ่ หญ่โตเท่ากบั ศาสนสถานขอมโบราณ แต่มปี รมิ าณและคตกิ ารสรา้ ง มลี กั ษณะใกลเ้คียงกนั หากยอรช์ เซเดส์ ตง้ั คำ� ถามว่าศาสนสถานทห่ี ลายสรา้ งเพอ่ื อะไร มปี ระโยชนแ์ ค่ไหน ก็ตอ้ งตงั้ คำ� ถามทงั้ สองลทั ธินิกาย ส่งิ ท่ปี ราชญท์ ่านน้ีชวนคิดวเิ คราะหใ์ นแง่มมุ น้ี น่าจะเกิดประโยชนต์ ่อชาว พทุ ธไทยในการมองเหน็ คุณค่าและคติการสรา้ งศาสนาไดห้ ลากหลายมติ ิย่งิ ข้นึ ซ่งึ คติในการสรา้ งและคุณค่า ของศาสนสถานของชาวเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตม้ หี ลายมติ ิมากกว่าคติการสรา้ งและคุณค่าของศาสนสถาน ตะวนั ตกทต่ี อบสนองในดา้ นความเป็นศูนยก์ ลางชมุ ชนดงั ท่ี เซ เดส์ นำ� มาวเิ คราะหเ์ ทยี บเคยี ง 5 พเิ ศษ เจอื จนั ทรพ์ งษ,์ การเมืองเร่อื ง ‘เครอื ญาต’ิ ในประวตั ศิ าสตรส์ โุ ขทยั เม่ือรฐั ในอดุ มคตไิ ม่ใช่ราชธานีแหง่ แรก, มตชิ นออนไลน,์ [ออนไลน]์ , แหลง่ ทม่ี า : <https://shorturl.asia/MIYEF>, [๑๑ สงิ หาคม ๒๕๖๒]. 6 กรมศิลปากร, จารกึ สมยั สโุ ขทยั , (กรุงเทพมหานคร: กองวรรณคดแี ละประวตั ศิ าสตร์ กรมศิลปากร, ๒๕๒๖), หนา้ ๒๐. 7 จติ ร ภมู ศิ กั ด์,ิ ตำ� นานแหง่ นครวดั , พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๖; (กรุงเทพมหานคร: สำ� นกั พมิ พอ์ มรนิ ทร,์ ๒๕๕๔), หนา้ ๓๔-๔๑. 09. - 9 (291-313).indd 295 5/10/2022 12:59:52 PM

296 ประวตั พิ ระพทุ ธศาสนา ๙.๒.๒ การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาในสโุ ขทยั จากหลกั ฐานเดิมเช่ือว่าช่วงประมาณ พ.ศ. ๑๘๐๐-๑๘๕๐ พุทธศาสนาแบบลงั กาวงศเ์ ร่ิมตน้ ตงั้ แต่ สมยั พ่อขนุ รามคำ� แหงมหาราช ดงั ปรากฏตามศิลาจารึกว่า “กลางเมอื งสุโขทยั น้ี มพี หิ าร มพี ระพทุ ธรูปทอง มพี ระอฏั ฐารศ มพี ระพทุ ธรูป...มปี ู่ครูนิสยั มตุ ก์ มเี ถร มมี หาเถร...มอี ไรญกิ พอ่ ขนุ รามคำ� แหงกระทำ� โอยทานแก่ มหาเถร สงั ฆราชปราชญเ์ รยี นจบไตร หลวก กวา่ ปู่ครูในเมอื งน้ี ทกุ คนลกุ แต่เมอื งศรธี รรมราชมา”8 ในประเดน็ น้ี มกี ารคน้ ควา้ ของผูร้ ูด้ า้ นประวตั ศิ าสตรศ์ ิลป์พบหลกั ฐานใหมแ่ ละไดเ้สนอมมุ มองใหมว่ า่ “ปลายพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๘ ตน้ ๑๙ สมยั พระเจา้ ศรนี ทรวรมนั เมอื งแถบลมุ่ นำน้ เจา้ พระยาเรม่ิ ประกาศอสิ ระข้นึ เช่น ละโว้อโยธยา เพชรบรุ ี เป็นตน้ ...เมอ่ื อำ� นาจทางการเมอื งของเขมรเร่มิ เสอ่ื มลง อำ� นาจทางศาสนาก็เสอ่ื มตามลงไปดว้ ย...เปิดโอกาสให้ พทุ ธศาสนาเถรวาททเ่ี คยเป็นทน่ี บั ถอื ในกลมุ่ มอญโบราณเขา้ มาแทนท่ี ตง้ั แต่นนั้ เป็นตน้ มาพทุ ธเถรวาทกม็ อี ทิ ธพิ ล ต่อประชาชนในแถบเอเชยี อาคเนย์ เถรวาททเ่ี จรญิ รุ่งเรอื งในสมยั นนั้ ไมม่ คี วามสมั พนั ธก์ บั เถรวาทในลงั กาเลย”9 ขอ้ มูลชุดน้ีสะทอ้ นใหค้ วามเห็นว่าพุทธศาสนาเถรวาทท่ีเจริญตง้ั แต่ตน้ สุโขทยั ไปจนถงึ สมยั พระยาลไิ ทยนน้ั เป็นพทุ ธศาสนาเถรวาทแบบอุษาคเนยท์ ่ไี ดร้ บั ฟ้ืนฟูต่อจากอารยธรรมทวารวดนี นั้ เอง พทุ ธศาสนาแบบลงั กา พง่ึ แผ่ขยายเขา้ มาในพทุ ธศตวรรษท่ี ๒๐ โดยผ่านทางเมาะตะมะมไิ ดผ้ ่านนครศรีธรรมราช ดงั ทรรศนะท่วี ่า “ช่วงเวลา พ.ศ. ๑๙๐๔ พระยาลไิ ทยอารธนาพระมหาสามสี งั ฆราช มาจากนครพนั (เมาะตะมะ) ใหม้ าสถติ ทส่ี ุโขทยั เป็นการเร่มิ ตน้ ของคณะสงฆม์ หาวหิ ารวาสนิ แบบลงั กา”10 ในประเดน็ น้ีพออนุมานไดว้ า่ พทุ ธศาสนาเถรวาทแบบ ทวารวดเี จรญิ ควบคู่กบั พทุ ธศาสนามหายานแบบขอม และมพี ฒั นาการต่อเน่ืองมนั่ คงมาโดยตลอด แทรกซมึ อยู่ ในวถิ ชี วี ติ ประจำ� วนั วดั กลายเป็นศูนยก์ ลางกจิ กรรมของชมุ ชน ความเคารพเชอ่ื ถอื ต่อหลกั คำ� สอน พระภกิ ษุสงฆ์ สามเณร ศาสนสถาน ศาสนพธิ ี นบั ตง้ั แต่พระมหากษตั ริยล์ งมา ถอื ว่าเป็นยุคท่ชี าวพทุ ธไทยนำ� เอาอุดมคติ พทุ ธศาสนามาเป็นรากฐานสำ� คญั ในการดำ� เนินชวี ติ อย่างไดผ้ ล ดงั ปรากฏหลกั ฐานชดั เจนว่า “ในวนั สำ� คญั ๆ ทางพทุ ธศาสนาไมว่ า่ จะเป็น วนั พระ วนั เขา้ พรรษา วนั ออกพรรษา วนั มหาปวารณา วนั ทอดกฐนิ เป็นตน้ กษตั รยิ ์ และประชาชนจะใหค้ วามสำ� คญั อย่างมาก”11 สมยั พระเจา้ ลไิ ท ถอื ว่าเป็นยุคทองของพทุ ธศาสนา พระองค์ ไดอ้ ปุ ถมั ภบ์ ำ� รุงพทุ ธศาสนาอย่างยง่ิ ยวด สนบั สนุนใหม้ กี ารศึกษาทางพทุ ธศาสนาอย่างกวา้ งขวาง มกี ารประชมุ นกั ปราชญร์ าชบณั ฑติ เรยี บเรยี งหนงั สอื “เตภมู กิ ถา” ข้นึ ถอื วา่ เป็นหนงั สอื เลม่ แรกทส่ี ะทอ้ นภมู ธิ รรมภมู ปิ ญั ญา ของคนไทยในดา้ นพทุ ธศาสนาทล่ี กึ ซ้งึ ซง่ึ หนงั สอื ดงั กลา่ วน้มี อี ทิ ธพิ ลต่อแนวคดิ ความเชอ่ื ถอื ของคนไทยมาจนถงึ ปจั จบุ นั ในยุคน้ีพทุ ธศาสนาทร่ี ุ่งเรอื งอย่างมากในกรุงสุโขทยั และเป็นทน่ี ิยมข้นึ ไดข้ ยายออกไปยงั เมอื งต่าง ๆ 8 กรมศิลปากร, จารกึ สมยั สโุ ขทยั , หนา้ ๑๓-๑๔. 9 พชิ ญา สุ่มจนิ ดา ตอน “พราหมณประตมิ าระหวา่ งพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๕ - ๑๙ และพทุ ธปฏมิ าในนกิ ายเถรวาท คณะสงฆ์ มหายานสถวริ ะ”, [ออนไลน]์ , แหลง่ ทม่ี า : https://www.youtube.com/watch?v=zXHzzqumXg๐ [๔ มนี าคม ๒๕๖๓] 10 พชิ ญา สุ่มจนิ ดา ตอน “พราหมณประตมิ าระหวา่ งพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๕ - ๑๙ และพทุ ธปฏมิ าฯ” 11 คน้ ควา้ เพม่ิ เตมิ ใน พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตโฺ ต), พทุ ธศาสนาในอาเซีย, หนา้ ๑๔๖-๑๔๘. 09. - 9 (291-313).indd 296 5/10/2022 12:59:53 PM

บทท่ี ๙ บทบาทคณะสงฆไ์ ทยกบั การสบื สานพระพทุ ธศาสนา 297 หลายแห่ง สมยั พระเจา้ ลไิ ท พทุ ธศาสนาในอาณาจกั รสุโขทยั รุ่งเรอื งขดี สุด คณะสงฆแ์ บง่ เป็น ๒ คณะ ไดแ้ ก่ คณะคามวาสแี ละคณะอรญั วาสี พทุ ธศาสนาเป็นปจั จยั หลกั ทำ� ใหเ้กิดความเจรญิ และพฒั นาการในดา้ นต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นดา้ นการศึกษา ดา้ นศิลปะ ดา้ นพทุ ธศิลป์ ดา้ นวฒั นธรรมประเพณีต่าง ๆ ถอื เป็นอุดมคติพทุ ธ กรุงสุโขทยั เรอื งอำ� นาจอยู่ประมาณสองรอ้ ยปี ก็เสอ่ื มลง อาณาจกั รกรุงศรอี ยุธยาเขม้ แขง็ ข้นึ และมอี ำ� นาจเหนือ ภมู ภิ าคน้ีทง้ั หมดรวมทง้ั ราชอาณาจกั รกมั พชู าดว้ ย ศูนยก์ ลางพทุ ธศาสนาไดย้ า้ ยฐานทม่ี นั่ ไปอยู่ทก่ี รุงศรอี ยุธยา ซง่ึ จะไดก้ ลา่ วในหวั ขอ้ ต่อไป ในสงั คมร่วมสมยั ทอ่ี าณาจกั รสุโขทยั รุ่งเรอื งนน้ั อาณาจกั รทางเหนือคอื “อาณาจกั ร ลา้ นนา” กม็ คี วามรุ่งเรอื งเคยี งคู่กนั ๙.๒.๓ บทบาทของคณะพระสงฆใ์ นสโุ ขทยั พทุ ธศาสนาสมยั สุโขไทย (พ.ศ. ๑๗๙๓ – ๑๙๘๑) ยุคเร่ิมตน้ ของพทุ ธศาสนาในประวตั ิศาสตรไ์ ทย นบั เอาตง้ั แต่สุโขทยั นกั ประวตั ิศาสตรไ์ ทยส่วนใหญ่ยดึ เอาการก่อตง้ั กรุงสุโขทยั เป็นประวตั ิศาสตรห์ นา้ แรก ของไทย โดยการประกาศอสิ รภาพจากอทิ ธพิ ลขอม ในยุคดงั กลา่ วมอี าณาจกั รทางตอนเหนือเกดิ ข้นึ และเจรญิ รุ่งเรอื งในระยะเวลาใกลเ้คยี ง คอื อาณาจกั รลา้ นนา ดงั นนั้ ในหวั ขอ้ น้ีจงึ กลา่ วถงึ พทุ ธศาสนาประดษิ ฐานมนั่ คง ในอาณาจกั รสุโขทยั และอาณาจกั รลา้ นนาสบื ต่อกนั ไป (๑) พทุ ธศาสนาในอาณาจกั รสุโขทยั ประมาณ พ.ศ. ๑๗๐๐ – ๑๘๐๐ นบั ตง้ั แต่พอ่ ขนุ ศรอี นิ ทราทติ ยป์ ฐมกษตั รยิ ไ์ ดป้ ระกาศอสิ รภาพจากขอม ประมาณพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๘ สภาพการณ์ความเช่อื ทางศาสนาของคนในสมยั น้ีนบั ถอื ผสมปนเปมที ง้ั พทุ ธศาสนาเถรวาททส่ี บื มาจากทวารวดี พทุ ธศาสนาเถรวาททข่ี ยายลงมาจากพกุ าม พทุ ธศาสนามหายานแบบจนี ทต่ี ดิ มากบั กลมุ่ คนไทยทห่ี ลงั่ ไหลลงมา จากตอนใตข้ องจนี พทุ ธมหายานแบบขอมทผ่ี สมปนเปกบั ศาสนาพราหมณห์ รอื ฮนิ ดูทม่ี ศี ูนยก์ ลางอยู่ทเ่ี สยี มราฐ ทก่ี ำ� ลงั เสอ่ื มอำ� นาจลง ผนวกกบั ความเช่อื ถอื ดงั้ เดมิ ของกลุม่ คนไทยคือความเช่อื เร่ืองผี พระเมธีธรรมาภรณ์ ใหท้ ศั นะว่า “หลงั จากอาณาจกั รพกุ ามและกมั พูชาเส่อื มอำ� นาจลง คนไทยจงึ ไดต้ ง้ั ตวั เป็นอสิ ระ... อาณาจกั ร ลา้ นนามศี ูนยก์ ลางอยู่ท่จี งั หวดั เชียงใหม่และอาณาจกั รสุโขทยั มศี ูนยก์ ลางอยู่ท่จี งั หวดั สุโขทยั ในปจั จุบนั ... ก่อนการเผยแผพ่ ทุ ธศาสนาลทั ธลิ งั กาวงศน์ นั้ กรงุ สุโขทยั มพี ระสงฆฝ์ ่ายหนิ ยาน(เถรวาท)อยู่ก่อนแลว้ ซง่ึ ศิลาจารกึ เรยี กวา่ “ปู่ครู” อนั หมายถงึ “พระครู” นนั่ เอง12 จากการเขา้ มาของลทั ธลิ งั กาวงศท์ ำ� ใหม้ พี ทุ ธนิกายใหมข่ ้นึ ใน ภมู ภิ าคแห่งน้ี พทุ ธเถรวาทแบบลงั กาไดร้ บั ความนิยมจากชนชน้ั ปกครองแลว้ ขยายวงกวา้ งลงสู่ชมุ ชนระดบั ลา่ ง เน่ืองจากคณะสงฆแ์ บบลงั กา นิยมสรา้ งวดั ตามป่าห่างจากชมุ ชนพอประมาณ จงึ ถกู ขนานนามวา่ “คณะอรญั วาส”ี หรอื ทเ่ี รยี กวา่ วดั ป่า คณะสงฆด์ งั้ เดมิ ซง่ึ เป็นวดั ทต่ี งั้ อยู่ในท่ามกลางชมุ ชน จงึ ไดช้ ่อื วา่ “คณะคามวาส”ี เรยี กวา่ วดั บา้ น ตง้ั นน้ั มาคณะสงฆใ์ นสุโขทยั มสี องลกั ษณะคอื วดั บา้ นกบั วดั ป่าทท่ี ำ� หนา้ ทส่ี รา้ งสรรคส์ งั คมไทยสมยั สุโขทยั ใหม้ คี วามสงบสุขร่มเยน็ ในยุคน้ีมกี ารรวบรวมหนงั สอื ข้นึ เลน่ หน่ึง คอื “สุภาษติ พระร่วง” 12 พระเมธธี รรมาภรณ์ (ประยูร ธมมฺ จติ โฺ ต), การปกครองคณะสงฆไ์ ทย, พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๙, (กรุงเทพมหานคร: มลู นธิ ิ พทุ ธธรรม, ๒๕๓๙), หนา้ ๑๒. 09. - 9 (291-313).indd 297 5/10/2022 12:59:53 PM

298 ประวตั พิ ระพทุ ธศาสนา ๙.๓ บทบาทคณะสงฆไ์ ทยกบั การสบื สานพระพทุ ธศาสนาในสมยั ลา้ นนา ดงั ทก่ี ลา่ วในหวั ขอ้ ทแ่ี ลว้ วา่ การอพยพเคลอ่ื นทข่ี องกลมุ่ คนไทยลงทางใตส้ องสาย สายทล่ี งไปทางตะวนั ตก เฉียงใตไ้ ดต้ งั้ อาณาจกั รลา้ นนา ซง่ึ เป็นเขตอำ� นาจของอาณาจกั รพกุ าม คนกลมุ่ น้ีจงึ ไดร้ บั อทิ ธพิ ลของพระพทุ ธ- ศาสนาแบบพกุ ามผสมผสานปนเปกบั ความเช่อื ถอื ดงั้ เดมิ คือผี กาลต่อมาไดม้ พี ฒั นาการดา้ นศาสนา การเมอื ง เศรษฐกจิ และสงั คม เป็นเครอื ขา่ ยเชอ่ื มโยงระหวา่ งรฐั ในลกั ษณะแบบรฐั เครอื ญาติ โดยมวี ฒั นธรรมพทุ ธศาสนา เถรวาทเป็นพ้นื ฐาน การศึกษาบทบาทคณะสงฆไ์ ทยกบั การสบื สานพระพทุ ธศาสนาในสมยั สุโขทยั แบง่ ประเดน็ ศึกษาเป็น ๓ หวั ขอ้ ไดแ้ ก่ สภาพสงั คมทวั่ ไปของสุโขทยั การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาในสุโขทยั และบทบาทของ คณะพระสงฆใ์ นสุโขทยั ดงั น้ี ๙.๓.๑ สภาพสงั คมทวั่ ไปของลา้ นนา คำ� วา่ ลา้ นนา หมายถงึ ดนิ แดนทางตอนเหนือของประเทศไทยทง้ั หมด ครอบคลมุ พ้นื ทจ่ี งั หวดั ต่าง ๆ ในปจั จบุ นั ไดแ้ ก่ แมฮ่ ่องสอน เชยี งใหม่ ลำ� พนู ลำ� ปาง เชยี งราย พะเยา แพร่ และน่าน การขดุ คน้ ทางโบราณคดี ทำ� ใหท้ ราบวา่ “พ้นื ทต่ี อนเหนอื ของประเทศไทยเป็นอกี แหง่ หน่งึ ทพ่ี บหลกั ฐานโบราณคดสี ำ� คญั หลายสมยั หลกั ฐาน เหล่าน้ีแสดงการอยู่อาศยั ของมนุษยม์ ายาวนาน ตง้ั แต่สมยั ก่อนประวตั ิศาสตรจ์ นถงึ สมยั ประวตั ิศาสตร.์ ..”13 ภมู ปิ ระเทศส่วนใหญ่เป็นทร่ี าบเชงิ เขาในดา้ นประวตั ศิ าสตร์ ลา้ นนาเป็นรฐั อสิ ระของชาวไทยรฐั หน่ึงทส่ี ถาปนาข้นึ โดยพระยามงั ราย (สบื เชอ่ื สายมาราชวงศล์ วจงั กราชป่เู จา้ ลาวจก แหง่ หริ ญั นครเงนิ ยาง) ในช่วงตน้ มกี ารยา้ ยราชธานี อยู่หลายแห่ง เร่มิ ตง้ั แต่เชยี งราย เวยี งฝาง เวยี งกมุ กาม และสุดทา้ ยเชยี งใหม่ (พ.ศ. ๑๘๓๙–๒๓๑๘) “อาณาจกั ร ลา้ นนาไมม่ อี ทิ ธพิ ลในการปกครองมากนกั เน่ืองดว้ ยปญั หาการคมนาคมทย่ี ากลำ� บากของรฐั ในบรเิ วณทร่ี าบสูง สง่ ผลใหท้ อ่ งถน่ิ ปกครองตนเองอยา่ งอสิ ระ”14 การเลอื กทต่ี ง้ั ของอาณาจกั รลา้ นนาอยูบ่ น “ลานตะพกั ลำ� ำน้ (Terrace Deposits)”15 ซง่ึ เป็นทร่ี าบเชงิ เขา มกี ารวางผงั เมอื งเป็นรูปสเ่ี หลย่ี มลอ้ มรอบดว้ ยคูนำน้ คนั ดนิ เช่นเดยี วกบั เมอื ง พระนคร เมอื งสุโขทยั อย่างไรกด็ ลี า้ นนาหลงั จากยา้ ยราชธานีมาทน่ี พบรุ ศี รนี ครพงิ คเ์ ชยี งใหมแ่ ลว้ กม็ พี ฒั นาการ สบื เน่อื งไมข่ าดสายจนกระทงั่ ปจั จบุ นั มวี ฒั นธรรมทโ่ี ดดเดน่ เป็นเอกลกั ษณ์ อาณาจกั รแหง่ น้รี ่งุ เรอื งในยคุ เดยี วกนั กบั อาณาจกั รสโุ ขทยั และอยธุ ยา อาณาจกั รลา้ นนาเป็นรฐั ชาวพทุ ธทน่ี ่าสนใจ เพราะความเจรญิ ร่งุ เรอื งแหง่ พระพทุ ธ- ศาสนาถอื เป็นดชั นชี ้วี ดั ความเจรญิ รุ่งเรอื งดา้ นอน่ื ของราชอาณาจกั รได้ไมว่ า่ จะเป็นความมนั่ คงทางดา้ นเศรษฐกจิ การเมอื ง และสงั คม อาจสรุปไดว้ า่ สงั คมลา้ นนาโบราณเป็นสงั คมพทุ ธศาสนาอย่างเบด็ เสรจ็ กว็ า่ ได้ พทุ ธศาสนา เป็นตวั แปรสำ� คญั ในการสรา้ งฐานทม่ี นั่ คงใหก้ บั กจิ กรรมดา้ นอน่ื ๆ ดงั นน้ั กษตั รยิ ท์ กุ พระองคท์ ค่ี รองนครแห่งน้ี จงึ ใหค้ วามสำ� คญั ต่อกจิ การพระพทุ ธศาสนาเป็นอนั ดบั แรก 13 สุพจน์ พรหมมาโนช, โบราณคดีลมุ่ แม่น้�ำปิงตอนบน, (กรุงเทพมหานคร: กรมศิลปากร กองโบราณคด,ี ๒๕๓๔), หนา้ คำ� นำ� . 14 สรสั วดี ออ๋ งสกลุ ประวตั ศิ าสตรล์ า้ นนา, พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๖, (กรุงเทพมหานคร: สำ� นกั พมิ พอ์ มรนิ ทร,์ ๒๕๕๘), หนา้ ๒๗๒. 15 ประวตั ศิ าสตรน์ อกตำ� รา, “เปิดปมเวยี งกมุ กามลม่ สลายกลายเป็นอดตี ทถ่ี กู ฝงั กลบใตผ้ นื ปฐพ”ี , [ออนไลน]์ , แหลง่ ทม่ี า: <https://www.youtube.com/watch?v=zXHzzqumXg๐> [๗ ธนั วาคม ๒๕๖๔]. 09. - 9 (291-313).indd 298 5/10/2022 12:59:53 PM

บทท่ี ๙ บทบาทคณะสงฆไ์ ทยกบั การสบื สานพระพทุ ธศาสนา 299 ๙.๓.๒ การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาในลา้ นนา พทุ ธศาสนาสมยั ลา้ นนา (พ.ศ. ๑๘๓๙-๒๑๐๑) ในขณะทอ่ี าณาจกั รสโุ ขทยั กำ� ลงั เรอื งอำ� นาจและพทุ ธศาสนา แนวใหมจ่ ากลงั กากำ� ลงั ไดร้ บั ความนิยม รฐั อสิ ระต่าง ๆ ในเขตพ้นื ทท่ี างตอนเหนือของไทยถกู รวบรวมเขา้ เป็น อาณาจกั รลา้ นนาโดยพ่อขนุ เมง็ ราย (มงั ราย) พทุ ธศาสนาทเ่ี คยปรากฏมาก่อนในแถบน้ีไดแ้ ก่พทุ ธศาสนาแบบ ทวารวดที พ่ี ระนางจามเทวนี ำ� ข้นึ ไปจากละโวข้ ้นึ ไปยงั หรภิ ญุ ไชย ตง้ั แต่ประมาณพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๒ กบั พทุ ธศาสนา แบบพกุ ามทแ่ี ผ่ขยายมาจากพกุ ามประเทศสมยั พระเจา้ อนุรุธ ประมาณพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๖ ลกั ษณะดงั กลา่ ว ทำ� ใหป้ ระชาชนในภูมภิ าคน้ีมคี วามเช่ือถอื ในหลายลทั ธินิกาย ประเสริฐ ณ นคร ใหท้ ศั นะว่า เมอ่ื “พระเจา้ เมง็ ราย”16 ไดส้ ถาปนาเชยี งใหมเ่ ป็นราชธานีในปี พ.ศ. ๑๘๒๙ ทรงนำ� พระเสตงั คมณี (พระแกว้ ขาว) จากเมอื ง หรภิ ญุ ชยั มาประดษิ ฐานทว่ี หิ ารวดั เชยี งมนั่ กาลลว่ งถงึ สมยั พระเจา้ กอื นา(ต้อื นา)แหง่ ลา้ นนา (พ.ศ. ๑๙๑๐-๑๙๓๑) ไดน้ ำ� พทุ ธศาสนาเถรวาทแบบลงั กาโดยนิมนต์ “พระสุมนเถระ”17 และพระอโนมสั สเี ถระมาจากสุโขทยั ทรงให้ สรา้ งเจดยี ว์ ดั สวนดอกและพระสถูปดอยสุเทพ ต่อมาสมยั พระเจา้ แสนเมอื งมา โปรดใหส้ รา้ งวดั พระสงิ หเ์ พอ่ื ประดษิ ฐานพระพทุ ธสหิ งิ ค์ พทุ ธศาสนาในลา้ นนามพี ฒั นาการทด่ี ตี ามลำ� ดบั มพี ระเถระชาวเชยี งใหมห่ ลายรูปไป อปุ สมบทใหมใ่ นอทุ กสมี าแห่งสำ� นกั พระวนั รตั และไดร้ บั การศึกษาจากประเทศศรลี งั กา ส่งผลใหเ้กดิ พทุ ธศาสนา ในอาณาจกั รลา้ นนา ๓ นิกาย ดว้ ยกนั คอื นิกายเดมิ ไดแ้ ก่สายคณะสงฆท์ ส่ี บื เน่ืองกนั มาตง้ั แต่ก่อนยุคพระเจา้ เมง็ ราย นิกายลงั กาวงศเ์ ก่าสบื ทอดมาจากสุโขทยั สมยั พระเจา้ กือนา และนิกายลงั กาวงศใ์ หม่สบื ทอดมาจาก คณะสงฆท์ บ่ี วชในอทุ กสมี า ในสมยั พระเจา้ ตโิ ลกราช รชั กาลทเ่ี กา้ แห่งลา้ นนา พทุ ธศาสนาไดร้ บั การอปุ ถมั ภบ์ ำ� รุง อย่างมาก มกี ารทำ� สงั คายนาข้นึ ท่วี ดั เจ็ดยอด(วดั โพธารามมหาวหิ าร) โดยมพี ระธรรมทนิ นเถระเป็นประธาน ถอื ว่าเป็นสงั คายนาครง้ั แรกในประเทศไทย ในยุคดงั กลา่ วน้ีการศึกษาพทุ ธศาสนาในลา้ นนาเจรญิ กา้ วหนา้ มาก ทำ� ใหเ้ กิดปราชญท์ างพุทธศาสนาหลายท่านท่ีมคี วามสามารถแต่งคมั ภีรท์ ง้ั ภาษาไทยและบาลมี ากมาย เช่น พระสริ มิ งั คลาจารย์ พระญาณกติ ติ พระรตั นปญั ญา พระโพธริ งั สี พระนนั ทาจารย์ พระสุวรรณรงั สี เป็นตน้ พทุ ธศาสนาในลา้ นนามคี วามรุ่งเรืองต่อเน่ืองมาประมาณหา้ ทศวรรษก็เร่ิมเส่อื มเมอ่ื บา้ นเมอื งตกเป็นเมอื งข้นึ ของพมา่ บา้ ง กรุงศรอี ยุธยาบา้ ง จนกระทงั่ ถกู ผนวกเป็นส่วนหน่ึงของไทยในทส่ี ุด ๙.๓.๓ บทบาทของคณะพระสงฆใ์ นลา้ นนา บทบาทของคณะพระสงฆใ์ นลา้ นนามหี ลกั ฐานชดั เจนในสมยั พระเจา้ กือนา (๑๘๙๘-๑๙๒๘) พระองค์ ปฏริ ูปพทุ ธศาสนาดว้ ยการนำ� พทุ ธศาสนาแบบลงั กาเขา้ มาสู่อาณาจกั รลา้ นนา โดยมพี ระเถระผูใ้ หญ่ ๒ รูป ชาวสุโขทยั คอื พระสุมนเถระและพระอโนมทสั สเี ถระ เป็นพระสมณะทูต กลา่ ววา่ ในครงั้ นน้ั มกี ารนำ� พระบรม สารีริกธาตุไปประดิษฐานบนดอยสุเทพ สมยั พญาแสนเมืองมา (๑๙๒๘-๑๙๔๔) พระองคโ์ ปรดใหส้ รา้ ง 16 พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตโฺ ต), พทุ ธศาสนาในอาเซีย, หนา้ ๑๔๘. 17 พระรตั นปญั ญาเถระ, ชินกาลมาลปี กรณ์, แปลโดย แสง มนวทิ ูร; (กรุงเทพมหานคร, กรมศิลปากร, ๒๕๐๑), หนา้ ๙๗. 09. - 9 (291-313).indd 299 5/10/2022 12:59:54 PM

300 ประวตั พิ ระพทุ ธศาสนา พระเจดยี ห์ ลวงกลางเมอื งเชยี งใหม่ แต่ยงั ไมท่ นั แลว้ เสรจ็ ดกี ส็ วรรคต ต่อมาพญาสามฝงั่ แกน (๑๙๕๔-๑๙๘๔) มกี ารสถาปนานิกายสงฆใ์ หมค่ อื นิกายลงั กาวงศ์ มลู เหตเุ กดิ จาก พญาแสนเมอื งมา รบิ กลั ปนาค่าส่วยสำ� หรบั พระสงฆไ์ ปใหว้ ดั บรุ ณฉนั ท์ พระสงฆบ์ างกลมุ่ จงึ พากนั ออกไปจากเมอื งเชยี งใหมไ่ ปศึกษาพระธรรมทเ่ี มอื งลงั กา ขากลบั ในปี พ.ศ. ๑๙๗๓ มพี ระภกิ ษุชาวลงั กามาดว้ ย ๒ รูป ช่ือพระมหาวกิ รมพาหุ และพระอุดมปญั ญา ตง้ั สำ� นกั อยู่ ณ รตั นมหาวหิ าร (ป่าแดงหลวง) แลว้ เดนิ ทางไปบวชกลุ บตุ ร “อทุ กสมี า” ตามทต่ี ่าง ๆ เช่น เขลางค์ นคร เมอื งเชยี งแสน เป็นตน้ ผลจากทพ่ี ระภกิ ษุจากลงั กามาสบื ศาสนาในลา้ นนาครง้ั น้ี ทำ� ใหบ้ รรดาพระภกิ ษุ ต่ืนตวั ศึกษาปริยตั ิธรรมจนแตกฉานมากมาย จนสามารถแต่งคมั ภรี ไ์ ดท้ งั้ ปริมาณและคุณภาพส่งผลต่อการ ศึกษาสงฆส์ มยั ต่อมา ในปี พ.ศ. ๑๙๗๙ ณ เมอื งเชยี งราย เกิดอสั นีบาตรฟาดพระพทุ ธรูป ต่อมาจงึ พบว่า เป็นแกว้ มรกตทง้ั องค์ พระเจา้ แสนเมอื งมาใหอ้ ญั เชญิ ไปไวท้ เ่ี มอื งเชยี งใหม่ แต่มเี หตใุ หน้ ำ� ไปประดษิ ฐานยงั ลำ� ปาง รชั กาลพระเจา้ ตโิ ลกราช (พ.ศ. ๑๙๕๒–๒๐๓๐) พระองคม์ พี ลานุภาพมากทส่ี ุดแผ่ขยายอำ� นาจราชธานีเชยี งใหม่ ไปทวั่ ๕๗ หวั เมอื งข้นึ เอกสาร “หมงิ สอ่ื ลู”่ บนั ทกึ วา่ จกั รพรรด์จิ นี ยกย่องใหพ้ ระเจา้ ตโิ ลกราชเป็น “ตาวหลา่ นนา” หรอื ทา้ วลา้ นนาและพระราชทานเคร่อื งประกอบเกยี รตยิ ศมากมายนอกจากน้ยี งั สถาปนาพระเกยี รตยิ ศเป็นลำ� ดบั ”สอง” รองจากองคจ์ กั รพรรดจิ นี พระองคท์ รงเป็นเอกอคั รศาสนูปถมั ภก ทำ� ใหร้ ชั กาลของพระองคพ์ ระพทุ ธศาสนา รุ่งเรอื งสุดขดี พระราชกิจดา้ นพระศาสนาทส่ี ำ� คญั เช่น พ.ศ. ๑๙๙๐ ออกผนวชโดยใหพ้ ระมารดาว่าราชการ แทนพระองค์ พ.ศ. ๑๙๙๘ โปรดใหส้ รา้ งวดั โพธารามวหิ าร (เจด็ ยอด)ต่อมาก็มสี งั คายนาครงั้ ท่ี ๘ (ครงั้ ท่ี ๑ ในประเทศไทย) ทว่ี ดั แหง่ น้ี ในปี พ.ศ. ๒๐๒๐ ทรงบำ� เพญ็ พระราชกศุ ลบวชกลุ บตุ รเป็นพระภกิ ษุจำ� นวน ๕๐๐ รูป ในอทุ กสมี า เป็นตน้ กลา่ วไดว้ ่าในสมยั พระเจา้ ตโิ ลกราช พทุ ธศาสนาไดร้ บั การอปุ ถมั ภบ์ ำ� รุงอย่างมาก ทำ� ให้ มคี วามเจรญิ มนั่ คงถงึ ขดี สดุ พระสงฆท์ เ่ี ป็นปราชญใ์ นยคุ ดงั กลา่ วน้ี เช่น “พระสริ มิ งั คลาจารย์ แต่งคมั ภรี ม์ งั คลตั ถ- ทปี นี เวสสนั ตรทปี นี จกั รวาลทปี นี สงั ขยา ปกสกฎกี า พระญาณกติ ติ แต่งโยชนาวนิ ยั โยชนาอภธิ รรม เป็นตน้ พระรตั นปญั ญา แต่งวชริ สารตั ถสงั คหะ และชนิ กาลมาลนิ ีปกรณ์ พระโพธริ งั สี แต่งจามเทววี งศ์ พระนนั ทาจารย์ แต่งสารตั ถะสงั คหะ พระสุวรรณรงั สี แต่งปฐมสมโพธสงั เขป เป็นตน้ ”18 กลา่ วไดว้ ่าในสมยั อาณาจกั รลา้ นนา พระสงฆไ์ ดแ้ สดงบทบาทดา้ นการเป็นผูน้ ำ� ทางการศึกษาหรอื เป็นครูของชมุ ชนอย่างโดดเด่น ดงั ปรากฎวา่ มกี าร แต่งคมั ภรี ท์ ง้ั ภาษาไทยและบาลที ม่ี มี าตรฐานสูง ส่งผลต่อการศึกษาสงฆจ์ วบจนปจั จบุ นั ๙.๔ บทบาทคณะสงฆไ์ ทยกบั การสบื สานพระพทุ ธศาสนาในสมยั อยธุ ยา การศึกษาบทบาทคณะสงฆไ์ ทยกบั การสบื สานพระพทุ ธศาสนาในสมยั อยุธยา แบง่ ประเดน็ ศึกษาเป็น ๓ หวั ขอ้ ไดแ้ ก่ สภาพสงั คมทวั่ ไปของอยุธยา การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาในอยุธยา และบทบาทของคณะพระสงฆ์ ในอยุธยา ดงั น้ี 18 พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตโฺ ต), พทุ ธศาสนาในอาเซีย, หนา้ ๑๕๐. 09. - 9 (291-313).indd 300 5/10/2022 12:59:54 PM

บทท่ี ๙ บทบาทคณะสงฆไ์ ทยกบั การสบื สานพระพทุ ธศาสนา 301 ๙.๔.๑ สภาพสงั คมทวั่ ไปสมยั อยธุ ยา อาณาจกั รอยุธยาตงั้ อยู่บนเกาะ พ้นื ทร่ี าบลมุ่ สายนำ�้ มแี มน่ ำ�้ หลายสายไหลมาบรรจบกนั เป็นจดุ เช่อื มต่อ การคมนาคมเสน้ ทางนำ�้ ในสมยั โบราณ ดว้ ยลกั ษณะทางภมู ศิ าสตรด์ งั กลา่ วจงึ เชอ่ื มโยงรฐั ต่าง ๆ ดงั นน้ั อาณาจกั ร นอกจากเป็นอู่ขา้ วอู่นำ�้ มคี วามอดุ มสมบูรณท์ างดา้ นการเกษตรแลว้ ยงั เป็นศูนยก์ ลางการคา้ แห่งยุคสมยั ทำ� ให้ อยุธยามนั่ คงและมงั่ คงั่ ในเวลารวดเร็วและยนื ยาว การวางผงั เมอื งมคี วามแตกต่างไปจากอาณาจกั รสุโขทยั และ ลา้ นนาอย่างส้นิ เชงิ เพราะทำ� เลทต่ี ง้ั อยู่บน “สนั ดนิ ธรรมชาตลิ ำ� นำ�้ (Natural Levee)”19 เช่นเดยี วกบั เมอื งพมิ าย เมอื งลพบุรี เวยี งกุมกาม อาณาจกั รอยุธยาถูกสถาปนาข้นึ จากสองอาณาจกั รคือละโวก้ บั สุพรรณร่วมมอื กนั ซง่ึ เป็นรฐั เครอื ญาติ ปฐมกษตั รยิ แ์ หง่ กรงุ ศรอี ยธุ ยาคอื พระรามาธบิ ดที ่ี ๑ มเี ช้อื สายจากทางละโว้ดงั นน้ั พฒั นาการ แห่งกรุงศรอี ยุธยาช่วงตน้ จงึ มคี วามใกลช้ ดิ กบั อารยธรรมขอม ไม่ว่าจะเป็นดา้ นระเบยี บแบบแผนการปกครอง คติความเช่ือทางศาสนาท่ีสะทอ้ นผ่านดา้ นพุทธศิลปะ เช่น สถาปตั ยกรรม พระปรางค์ ในดา้ นเศรษฐกิจ ดว้ ยลกั ษณะภมู ศิ าสตรท์ เ่ี ก้อื หนุนใหอ้ ยธุ ยาเป็นเมอื งทา่ ทส่ี ำ� คญั ในช่วงเวลานนั้ มคี วามมงั่ คงั่ จากการเป็นศูนยก์ ลาง การคา้ โลก ดงั มขี อ้ มูลว่า “กรุงศรีอยุธยา คือ ศูนยก์ ลางความแห่งหน่ึงของภูมภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ เป็นเมอื งท่าคา้ ขายทม่ี พี ่อคา้ วานิชหลายชนชาตเิ ขา้ มาคา้ ขายและตง้ั หลกั แหลง่ เกิดผูค้ นพลเมอื งทม่ี าจารกการ ผสมผสานของคนหลายเผ่าพนั ธุม์ ากมาย ผูค้ นเหลา่ น้ีคอื คนไทยหรอื คนสยามนนั่ เอง”20 เมอ่ื เศรษฐกจิ ดสี ่งผล ต่อความเจรญิ มนั่ คงทกุ ดา้ นของรฐั กลา่ วเฉพาะดา้ นพระพทุ ธศาสนามกี ารส่งเสรมิ ศาสนถานจำ� นวนมาก วดั วา อารามเกดิ ข้นึ มากมายในยคุ น้ี มคี ตกิ ารสรา้ งวดั ประจำ� ตระกูลวา่ “เมอ่ื บา้ นเมอื งดี เขาสรา้ งวดั ไวใ้ หล้ ูกหลานเลน่ ”21 คติดงั กล่าวมไิ ดห้ มายความว่ากลุ่มคนสรา้ งวดั แลว้ จะสงวนสทิ ธ์ิเฉพาะกลุ่มตนเอง แต่กลบั เปิดกวา้ งสำ� หรบั ทกุ คนในการใชป้ ระโยชนจ์ ากวดั และกลมุ่ คนหรอื ชมุ ชนนน้ั ๆ ช่วยกนั ดูแลรกั ษาเสมอื นวา่ เป็นศาสนสมบตั กิ ลาง ทำ� นองมงุ่ หมายเพอ่ื ประโยชนต์ นแต่ทกุ คนไดพ้ ง่ึ พา การแย่งชงิ อำ� นาจของชนชน้ั ผูป้ กครอง ตน้ กรุงเป็นการช่วงชงิ ระหวา่ งสายตระกูลทม่ี าจากละโวก้ บั สุพรรณบรุ ี ทา้ ยสุดราชบรรลงั กต์ กเป็นของราชวงศส์ ุพรรณภมู สิ บื ต่อยาวนาน จนทำ� ใหอ้ ยุธยามคี วามมนั่ คงเขม้ แขง็ ในทกุ ๆ ดา้ น ตลอดระเวลา ๔๑๗ ปี แห่งกรุงศรอี ยุธยา มรี าชวงศป์ กครอง ๖ ราชวงศ์ มกี ษตั รยิ ท์ งั้ หมด ๓๔ รชั กาล กษตั รยิ ท์ กุ พระองคม์ คี วามศรทั ธามนั่ คงสนบั สนุนส่งเสรมิ พทุ ธศาสนา ใหม้ คี วามเจรญิ มนั่ คงอย่างมาก มวี ดั อารามทใ่ี หญ่โตโอ่อ่าสรา้ งโดยกษตั รยิ ข์ า้ ราชบรพิ ารและประชาชนเตม็ ทวั่ ทกุ พ้นื ท่ี ชวี ติ ผูค้ นในสงั คมอยุธยาตง้ั แต่แรกสรา้ งจนลม่ สลาย เป็นชวี ติ ทผ่ี ูกตดิ ไวก้ บั เร่อื งราวกจิ กรรมทางศาสนา 19 ประวตั ิศาสตรน์ อกตำ� รา, “เปิ ดปมเวียงกุมกามล่มสลายกลายเป็ นอดีตท่ีถูกฝงั กลบใตผ้ ืนปฐพี”, [ออนไลน]์ , แหลง่ ทม่ี า : <https://www.youtube.com/watch?v=Tx-kG8eRxFo> [๗ ธนั วาคม ๒๕๖๔]. 20 ศรศี กั ด์ิ วลั ลโิ ภดม, ความรูเ้ ร่อื งเมืองไทย : พฒั นาการทางสงั คม-วฒั นธรรมไทย ความเป็ นชนชาติไทย ชีวติ - ประวตั ศิ าสตรช์ าวนาสยาม, สำ� นกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธกิ าร, ประจำ� ปีงบประมาณ ๒๕๓๗-๘), หนา้ ๕๖. 21 พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตโฺ ต), พทุ ธศาสนาในอาเซีย, หนา้ ๑๕๒. 09. - 9 (291-313).indd 301 5/10/2022 12:59:55 PM

302 ประวตั พิ ระพทุ ธศาสนา เหตกุ ารณส์ ำ� คญั ๆ ทส่ี ะทอ้ นในประเดน็ น้ีดงั กรณีสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ (๑๙๙๘) “...ทรงสละราชสมบตั ิ ออกผนวช ณ วดั จฬุ ามณีเป็นเวลา ๘ เดอื น...พ.ศ. ๒๐๒๗ โปรดใหพ้ ระราชโอรสกบั พระราชนดั ดาผนวชเป็น สามเณร”22 อาณาจกั รอยุธยานบั เป็นอาณาจกั รชาวพทุ ธทม่ี คี วามเขม้ แขง็ และมอี ทิ ธพิ ลทางการเมอื งสูงมาก ทำ� ให้ ขยายขอบเขตไดก้ วา้ งไกล ๙.๔.๒ การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาในสมยั อยธุ ยา พทุ ธศาสนาดงั้ เดมิ ในอาณาจกั รอยุธยามลี กั ษณะเดยี วกบั สมยั สุโขทยั ทก่ี ลา่ วมาแลว้ ในชนิ กาลมาลปี กรณ์ กล่าวถงึ การขยายตวั ของพุทธศาสนาจากสุโขทยั ไปยงั ลา้ นนาโดยพูดถงึ บทบาทสำ� คญั ของพระสุมนเถระว่า “ครงั้ นน้ั พระสุมนเถรชาวเมอื งสุโขทยั ไปเมอื งอโยชฌปรุ ะ แลว้ เลา่ เรยี นพระธรรมในสำ� นกั ครูหลายครู...ครง้ั นน้ั ทา่ นมหาสามชี อ่ื อทุ มุ พรมาจากลงั กาทวปี สูร่ มั มนะประเทศ...พระสุมนเถรและพระภกิ ษุผูเ้ป็นสหายไดไ้ ปบวชเรยี น อกี ครง้ั ในสำ� นกั ของพระอุทุมพรมหาสาม”ี 23 จากนน้ั ท่านจงึ เดนิ ทางกลบั มาเผยแผ่พทุ ธศาสนาในสุโขทยั และ ลา้ นนา ดูจากเสน้ ทางและเวลาของพระสุมนเถระแลว้ พออนุมานไดว้ า่ อโยธยา เป็นแหลง่ เรยี นรูท้ ส่ี ำ� คญั แห่งหน่ึง ในประเดน็ น้มี คี วามเชอ่ื มโยงกบั พงศาวดารโยนกทว่ี า่ พญาเมง็ รายพญาร่วงแห่งสุโขทยั และพญางำ� เมอื งแห่งเมอื ง พะเยาเป็นพระสหายกนั เดนิ ทางจากหวั เมอื งเหนอื ไปศึกษาวชิ าท่ี “สำ� นกั สุกทนั ตมหาฤาษที เ่ี ขาสมอคอนแถบเมอื ง ละโวซ้ ่งึ อยู่ภายใตว้ ฒั นธรรมเขมร”24 ขอ้ มูลขา้ งตน้ ชวนคิดวเิ คราะหไ์ ดว้ ่า กลุ่มคนไทยท่อี พยพมาสรา้ งบา้ น แปงเมอื งใหม่ ไดม้ กี ารเดนิ ทางไปเรยี นรูใ้ นบา้ นเมอื งทม่ี คี วามเจรญิ มาก่อน เร่อื งพระพทุ ธศาสนาก็เช่นเดยี วกนั เขา้ ใจวา่ พทุ ธศาสนาเถรวาทแบบทวารวดใี นบรเิ วณราบลมุ่ เจา้ พระยาไดร้ บั การฟ้ืนฟูหลงั การเสอ่ื มของอำ� นาจขอม ดงั ทอ่ี ธบิ ายแลว้ ในหวั ขอ้ ๙.๒.๒ ในช่วงเวลาเดยี วกนั น้ีพทุ ธศาสนานกิ ายเถรวาทแบบลงั กากเ็ ร่มิ ไดร้ บั ความนิยม มากข้นึ พทุ ธศาสนามอี ทิ ธิพลต่อชวี ติ ของคนอย่างมาก ดงั เช่นขอ้ กฎหมายบางอย่างไดร้ บั การยกเวน้ สำ� หรบั ผูท้ ่ี บวชเป็นพระ หรอื แมแ้ ต่เขตกำ� แพงวดั ในรศั มี ๑ วากเ็ ป็นเขตอภยั ทาน ในแผ่นดนิ สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช ปรากฏวา่ มผี ูห้ นีทหารไปบวชจนตอ้ งมกี ารชำ� ระความบรสิ ุทธ์โิ ดยการสอบความรู้ พระสงฆด์ ำ� รงอยู่ในสถานะเป็น กลางของสงั คมเชอ่ื มโยงวถิ ชี วี ติ ของผูค้ นทกุ ระดบั เขา้ ดว้ ยกนั มบี ทบาทอย่างมากในสงั คม ไมว่ า่ จะเป็นผูน้ ำ� ดา้ น จติ ปญั ญาใหก้ บั ชมุ ชน ตลอดถงึ มบี ทบาทเป็นทป่ี รกึ ษาของกษตั รยิ ์ ต่อมาประมาณ พ.ศ. ๒๒๗๕-๒๓๑๐ ในรชั สมยั สมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั บรมโกศ พวกขนุ นางจะมบี รรดาศกั ด์ิ ตอ้ งผ่านการบวชเรียนก่อน ในยุคน้ีพุทธศาสนาในลงั กาเส่ือมลงไม่มพี ระเหลอื อยู่จึงมานำ� พุทธศาสนาจาก กรงุ ศรอี ยธุ ยาเขา้ ไปประดษิ ฐานยงั ลงั กา ซง่ึ ครงั้ นน้ั นำ� โดยพระอบุ าลเี ป็นหวั หนา้ ทำ� ใหพ้ ทุ ธศาสนาในลงั กาไมข่ าดสูญ และเกิดเป็นนิกายสยามวงศห์ รืออบุ าลวี งศใ์ นลงั กาตราบจนปจั จบุ นั ความอ่อนแอเสอ่ื มโทรมของพทุ ธศาสนา 22 พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตโฺ ต), พทุ ธศาสนาในอาเซีย, หนา้ ๑๕๑. 23 พระรตั นปญั ญาเถระ, ชินกาลมาลปี กรณ์, หนา้ ๙๗. 24 ประวตั ศิ าสตรน์ อกตำ� รา, “เปิดปมเวยี งกมุ กามลม่ สลายกลายเป็นอดีตท่ถี กู ฝงั กลบใตผ้ ืนปฐพ”ี . 09. - 9 (291-313).indd 302 5/10/2022 12:59:55 PM

บทท่ี ๙ บทบาทคณะสงฆไ์ ทยกบั การสบื สานพระพทุ ธศาสนา 303 ในกรุงศรีอยุธยา พฒั นาควบคู่ไปกบั สถานการณ์บา้ นเมอื ง ซ่งึ ในช่วงปลายแห่งกรุงศรีอยุธยาเกิดเหตุวุ่นวาย หลายประการ จนนำ� ไปสู่การสูญเสยี เอกราชใหก้ บั พมา่ เป็นครง้ั ทส่ี อง ในปี พ.ศ. ๒๓๑๐ จากการทก่ี รุงศรอี ยุธยา แตกมคี นไทยหลายกลมุ่ รวมตวั กนั ต่อสูข้ บั ไลพ่ มา่ ซง่ึ หน่งึ ในจำ� นวนน้มี กี ลมุ่ พระสงฆบ์ างกลมุ่ จบั อาวธุ สู ้แต่ในทส่ี ดุ พระเจา้ ตากสนิ กส็ ามารถกอบกูเ้อกราชและรวบรวมกลมุ่ คนไทยใหเ้ป็นปรกึ แผ่นไดอ้ กี ครงั้ หน่งึ แลว้ ตง้ั กรุงธนบรุ ี เป็นราชธานี ในยุคน้ี พระเทพเวที ตง้ั ขอ้ สงั เกตวา่ “ปรากฏหลกั ฐานวา่ อน่ึง ตอนปลายสมยั น้ี มคี วามเช่อื หมกมนุ่ ในเร่อื งโชคลางและไสยาศาสตรม์ าก ซง่ึ แสดงถงึ ความไม่สงบของเหตกุ ารณ์บา้ นเมอื ง และอาจเป็นสาเหตขุ อง ความอ่อนแอของชาติไดอ้ ย่างหน่ึง ต่อมากรุงศรีอยุธยาก็ไดเ้ สยี แก่พม่าเม่อื พ.ศ.๒๓๑๐”25 ในช่วงอยุธยา ตอนปลายปรากฏวา่ ประชาชนมคี วามเช่อื ในโชคลางคาถาอาคม เลน่ แร่แปรธาตุ เวทยม์ นตค์ าถาต่าง ๆ เฟ่ืองฟูข้นึ ทำ� ใหข้ าดความเขม้ แขง็ ทางความคดิ และการปฏบิ ตั ทิ ถ่ี กู ตอ้ งตามหลกั การทางพทุ ธศาสนา อนั นำ� ไปสูค่ วามอ่อนแอ ทกุ ดา้ น เป็นเหตใุ หเ้สยี กรุงศรอี ยุธยาอยุธยาตอนปลาย : ความมงั่ คงั่ จากความเป็นศูนยก์ ลางการคา้ โลก ส่งผล ต่อศาสนสถานทเ่ี ขม้ แขง็ มนั่ คง ๙.๔.๓ บทบาทของคณะพระสงฆใ์ นสมยั อยธุ ยา พระสงฆใ์ นสมยั อยุธยามบี ทบาทในสงั คมหลากหลายมติ ิ เช่น เป็นทป่ี รกึ ษาพระเจา้ แผ่นดนิ เป็นผูน้ ำ� ดา้ น จิตวญิ ญาณ เป็นครูของสงั คม เป็นหวั หนา้ ศาลตดั สนิ คดีความ เป็นนกั สงั คมสงเคราะห์ ฯลฯ ยุคอยุธยา เป็นราชธานี ศาสนาการเมอื งเรอ่ื งเดยี วกนั “พระมหากษตั รยิ แ์ ละทางราชการอาศยั สถาบนั สงฆแ์ ละวดั ในการจดั การ ดา้ นการเมอื งและวฒั นธรรม...กษตั รยิ ค์ อื องคอ์ คั รศาสนูปถมั ภก ทรงมที ง้ั พระราชอำ� นาจและพระเมตตาในการ ดูแลอปุ ถมั ภพ์ ระสงฆแ์ ละการสรา้ งวดั ”26 เหตกุ ารณท์ ส่ี ะทอ้ นบทบาททางการเมอื งกบั พระสงฆใ์ นสมยั อยุธยา เช่น การผนวชของสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ ในปี พ.ศ. ๑๙๙๘ ซง่ึ เป็นช่วงของการแขง่ บญุ บารมขี องสองกษตั รยิ ์ ผูย้ ่ิงใหญ่แห่งอาณาจกั รอยุธยากบั อาณาจกั รลา้ นนาต่อมาช่วงอยุธยาตอนกลางพระเทยี รราชาบวชหลบหลกี ภยั ทางการเมอื ง ในคราวท่เี จา้ แม่อยู่หวั ศรีสุดาจนั ทรป์ ฏวิ ตั ิ แต่เมอ่ื พน้ ภยั ภายหลงั ก็เสด็จข้นึ เถลงิ สมบตั ิเป็น พระมหาจกั รพรรดิ (๒๐๙๑-๒๑๑๑) เหตกุ ารณ์ช่วงพระนเรศกอบกูบ้ า้ นเมอื ง(๒๑๓๓-๒๑๔๘) ขนุ ศึกแม่ทพั นายกองทำ� การผดิ พลาดตอ้ งอาญาแผ่นดนิ โทษอกุ ฉกรรจ์ พระสงฆช์ นั้ ผูใ้ หญ่ไดเ้ ขา้ ไปขอบณิ ฑบาตชวี ติ นกั รบ เหลา่ นน้ั จนพน้ ภยั แลว้ กลบั ไปปฏบิ ตั หิ นา้ ทช่ี ดใชค้ วามผดิ ทำ� ใหบ้ า้ นเมอื งมคี วามเขม้ แขง็ ข้นึ จากนนั้ มาช่วงหลงั รชั สมยั พระเจา้ เอกาทศรถ พระพมิ ลธรรมเป็นสงฆช์ น้ั ผูใ้ หญ่สนั นิษฐานวา่ น่าจะเป็นชนชน้ั ปกครองทม่ี สี ทิ ธธิ รรม ในราชบลั ลงั ก์ เม่อื มกี ารปฏวิ ตั ิไดล้ าสขิ าจากพระแลว้ ข้นึ ครองราชยเ์ ป็นพระเจา้ ทรงธรรม (๒๑๕๔-๒๑๗๑) เหตกุ ารณท์ พ่ี ระเพทราชาปฏวิ ตั ริ ฐั ประหารในแผ่นดนิ สมเดจ็ พระนารายณ์ (๒๑๙๙-๒๒๔๖) มกี ารบนั ทกึ วา่ มกี าร บวชพระใหแ้ ก่ขา้ ราชบรพิ ารของพระนารายณใ์ หพ้ น้ ภยั เป็นตน้ ในสมยั อยุธยาพทุ ธศาสนาไดร้ บั การยอมรบั และ 25 พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตโฺ ต), พทุ ธศาสนาในอาเซีย, หนา้ ๑๑๙. 26 ศรศี กั ด์ิ วลั ลโิ ภดม, ความรูเ้ ร่อื งเมืองไทย : พฒั นาการทางสงั คม-วฒั นธรรมไทยฯ, หนา้ ๖๐. 09. - 9 (291-313).indd 303 5/10/2022 12:59:55 PM

304 ประวตั พิ ระพทุ ธศาสนา เป็นรากฐานของสงั คม วดั นอกจากจะเป็นสถาบนั อดุ มคตสิ ูงสดุ ของชวี ติ ทต่ี ง้ั อยูใ่ นทา่ มกลางชมุ ชนแลว้ ยงั มบี ทบาท ต่อสงั คมหลายประการ เช่น เป็นสถานประกอบศาสนพธิ ี เป็นโรงพยาบาล เป็นโรงมหรสพ เป็นสถาบนั การศึกษา เป็นตน้ ในบทบาทดา้ นการศึกษานน้ั เป็นท่สี งั เกตว่าวดั ทำ� หนา้ ท่ใี หก้ ารศึกษาสรรพวทิ ยา ไม่ว่าจะเป็นตำ� รา พชิ ยั สงคราม ศิลปะวชิ าชพี ต่าง ๆ ชนชนั้ ผูป้ กครองกอ็ าศยั อารามฝึกหดั ขดั เกลา บทบาทดา้ นการบรหิ ารกจิ การ คณะสงฆใ์ นอาณาจกั รอยุธยา พระไพศาล วสิ าโล ใหท้ ศั นะวา่ “ถงึ แมว้ า่ ไทยจะมที ำ� เนียบการปกครองคณะสงฆ์ มาแต่สมยั อยุธยา แต่ในทางปฏบิ ตั แิ ลว้ “องคก์ รคณะสงฆม์ อี ยู่แต่ในทำ� เนียบเท่านน้ั ” พระสงฆใ์ นทอ้ งถน่ิ ต่าง ๆ จงึ เป็นตวั ของตวั เองในแงท่ เ่ี ป็นอสิ ระจากส่วนกลาง...”27 การบรหิ ารจดั การองคก์ รสงฆม์ ลี กั ษณะแบบเดยี วกบั อาณาจกั รสุโขทยั คอื แบง่ เป็นคณะมอี สิ ระจากกนั โดยมเี จา้ ผูค้ รองนครเป็นผูบ้ รหิ ารจดั การสูงสุด ทแ่ี ตกต่างไป คอื ในกรุงศรอี ยุธยามี ๓ คณะใหญ่ ไดแ้ ก่ (๑) คณะคามวาสฝี ่ายซา้ ย มสี มเดจ็ พระอรยิ วงศญาณเป็นเจา้ คณะ ปกครองดูแลหวั เมอื งฝ่ายเหนอื (๒) คณะคามวาสฝี ่ายขวา (คณะป่าแกว้ ) มสี มเดจ็ พระวนั รตั เป็นเจา้ คณะ ปกครอง ดูแลหวั เมอื งฝ่ายใต้ และ (๓) คณะอรญั วาสี มสี มเดจ็ พระพทุ ฒาจารยเ์ ป็นเจา้ คณะ ดูแลฝ่ายอรญั วาสที ง้ั ใน หวั เมอื งฝ่ายเหนอื และฝ่ายใต้ฝ่ายอาณาจกั รเขา้ มากำ� กบั องคก์ รสงั ฆะโดยสถาปนาสมเดจ็ พระสงั ฆราชข้นึ องคห์ น่งึ ใหญ่กวา่ พระสงั ฆราช หรอื สงั ฆราชาทกุ องค์ ตง้ั พระครูในราชธานขี ้นึ เป็นพระสงั ฆ ราชาคณะ ใหพ้ เิ ศษกวา่ พระครู ทวั่ ไปแต่เดมิ แต่มาเรยี กสนั้ ๆ วา่ พระราชาคณะ ในสมยั อยุธยาจงึ มสี งั ฆปรณิ ายกเป็น ๓ ชน้ั คอื (๑) สมเดจ็ พระสงั ฆราช (๒) พระสงั ฆราชา (๓) พระครู เพอ่ื ใหม้ กี ารบงั คบั บญั ชากนั ไดต้ ามโครงสรา้ งเชงิ อำ� นาจแบบระบบ บรหิ ารกจิ การบา้ นเมอื ง ๙.๕ พระพทุ ธศาสนาสมยั กรุงธนบรุ ี สมยั กรุงธนบรุ ี (พ.ศ. ๒๓๑๐–๒๓๒๕) เป็นเมอื งหลวงได้ ๑๕ ปี สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ กท็ รงเอาพระทยั ใส่ในเร่อื งศาสนามาก ถงึ แมว้ า่ จะทรงเหน็ดเหน่ือยยง่ิ กวา่ กษตั รยิ พ์ ระองคใ์ ดก็ตาม ถงึ กระนนั้ ก็น่าสรรเสรญิ นำ�้ พระทยั ของพระองคท์ ไ่ี มท่ อดท้งิ ภารกจิ ทางดา้ นศาสนา คราใดเมอ่ื มเี วลาวา่ งพระองคจ์ ะฟ้ืนฟพู ระพทุ ธศาสนาทนั ที พระราชกรณีกจิ ของพระองคพ์ อสรุปได้ ดงั น้ี จดั สงั ฆมณฑล (พ.ศ. ๒๓๑๑) ทรงพจิ ารณาว่าศาสนาจะรุ่งเรืองตอ้ งอาศยั พทุ ธบริษทั ทง้ั ๔ เวลานน้ั พระสงฆแ์ ตกแยกและบกพร่องต่อหนา้ ทบ่ี า้ งในดา้ นพระวนิ ยั บา้ งไมม่ พี ระเถระผูท้ รงคุณวุฒคิ อยแนะนำ� จงึ โปรด ใหม้ กี ารประชมุ พระเถระทงั้ หลายเท่าทม่ี อี ยู่ในราชอาณาจกั ร ณ วดั บางหวา้ ใหญ่ (วดั ระฆงั โฆสติ าราม) เลอื กตง้ั พระเถระผูท้ รงคุณวุฒพิ รรษาข้นึ เป็นสมเดจ็ พระสงั ฆราชและเถรานุเถระตามลำ� ดบั แลว้ โปรดใหไ้ ปอยู่ตามอาราม ต่าง ๆ คอยสงั่ สอนคนั ถธุระและวปิ สั สนาธุระแก่ภกิ ษุสามเณรต่อไป 27 พระไพศาล วสิ าโล, พทุ ธศาสนาไทยในอนาคต แนวโนม้ และทางออกจากวกิ ฤต, พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๒; (กรงุ เทพมหานคร : มลู นิธสิ ดศร-ี สฤษด์วิ งศ,์ ๒๕๔๖), หนา้ ๔๘. 09. - 9 (291-313).indd 304 5/10/2022 12:59:55 PM

บทท่ี ๙ บทบาทคณะสงฆไ์ ทยกบั การสบื สานพระพทุ ธศาสนา 305 ทรงบูรณะพระอารามต่าง ๆ ทง้ั สรา้ งอโุ บสถ วหิ าร เสนาสนะในพระอารามต่าง ๆ ประมาณกวา่ ๒๐๐ หลงั และใหภ้ กิ ษุสงฆต์ งั้ มนั่ อยู่ในพระธรรมวนิ ยั ขดั ขอ้ งประการใดขอใหบ้ อกโยม โยมจะจดั ใหต้ ามตอ้ งการบำ� รุง การเลา่ เรยี นพระไตรปิฎก พระภกิ ษุสามเณรรูปใดบอกธรรมบาลไี ดม้ ากกโ็ ปรดถวายผา้ ไตรจวี รและจตปุ จั จยั แก่ พระเณรเท่าทส่ี อบได้ บำ� รุงศาสนาเมอื งนครศรธี รรมราช หลงั ปราบเจา้ นครศรธี รรมราชแลว้ โปรดใหน้ มิ นตพ์ ระเณร ทงั้ ในกรุง นอกกรุงมารบั ขา้ วสารรูปละ ๑ ถงุ ปจั จยั รูปละบาท รูปใดมจี วี รเก่ากจ็ ดั ถวาย และแจกทานแก่คนยากจนคนละ ๑ สลงึ ทกุ วนั อโุ บสถ ขากลบั ไดอ้ าราธนานมิ นตอ์ าจารยศ์ รเี ขา้ มากรงุ ธนบรุ ดี ว้ ยและตงั้ ใหส้ มเดจ็ พระสงั ฆราชประจำ� ณ วดั บางหวา้ ใหญ่ รวบรวมพระไตรปิฎก หลงั กรุงศรีอยุธยาแตกบา้ นเมอื งถูกเผาทำ� ลายวดั วาอารามถูกเผา พระไตรปิฎกถกู ไฟไหมส้ ูญหายไปดว้ ย จงึ ไดร้ วบรวมคมั ภรี ต์ ่างๆ ตามหวั เมอื งมาชำ� ระแต่ยงั ไมเ่ สรจ็ ก็สวรรคต เสยี ก่อชำ� ระพระอลชั ชี เมอ่ื ครง้ั ไปปราบพระเจา้ ฝางทอ่ี ตุ รดติ ถ์ (เป็นพระตง้ั ตนเป็นกษตั รยิ )์ จงึ ประกาศใหส้ งฆ์ มาสารภาพผดิ แลว้ ใหส้ กึ ออกไปรบั ราชการถา้ ไม่รบั ผดิ จะตอ้ งพสิ ูจนค์ วามบรสิ ุทธ์ิคือใหค้ ำ� นำ�้ ต่อหนา้ พระทน่ี งั่ ถา้ ชนะก็ทรงตงั้ เป็นอธิการ ถา้ แพใ้ หส้ กึ ออกมาสกั ขอ้ มอื ใชใ้ นราชการจงหนกั ถา้ ผดิ มากก็ใหป้ ระหารชีวติ พธิ ี ดำ� นำ�้ นน้ั ใหด้ ำ� นาน ๓ กลน้ั ใจ มผี ูช้ นะกม็ ผี ูแ้ พก้ ม็ จี นจวี รกองเป็นจอมปลวก ทบ่ี รสิ ุทธ์ชิ นะกใ็ หอ้ ปุ สมบทใหม2่ 8 ๙.๖ พระพทุ ธศาสนาสมยั รตั นโกสนิ ทร์ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราชในสมยั กรุงรตั นโกสนิ ทร์ พ.ศ. ๒๓๒๕ การวางผงั เมอื ง ทจ่ี ดั ทำ� ในครงั้ น้ีไดล้ อกแบบผงั เมอื งของกรุงศรอี ยุธยาทง้ั พระราชวงั วดั และสถานทต่ี ่าง ๆ โดยเฉพาะเร่อื งวดั เช่น วดั มหาธาตุ วดั ระฆงั ทเ่ี หน็ ไดช้ ดั รชั กาลท่ี ๑ สรา้ งวดั หลายวดั คลา้ ยกนั ทส่ี ำ� คญั คอื วดั พระศรรี ตั นศาสดาราม เพอ่ื ประดษิ ฐานทว่ี ดั พระแกว้ มรกตเพอ่ื บำ� เพญ็ พระราชกศุ ล ไมม่ พี ระสงฆอ์ ยู่ วดั สุทศั นเ์ ทพราราม และปฏสิ งั ขรณ์ วดั อกี หลายวดั เช่น วดั พระเชตพุ น แลว้ รวบรวมพระพทุ ธรูปตามหวั เมอื งมาประดษิ ฐานไวร้ อบระเบยี งคต จำ� นวน ๑,๒๔๘ องค์ ปฏสิ งั ขรณว์ ดั สลกั แลว้ พระราชทานนามวา่ วดั นพิ พานราม ต่อมาเปลย่ี นเป็นวดั พระศรสี รรเพชญ์ และตอนปลายรชั กาลท่ี ๑ จงึ เรยี กวา่ วดั มหาธาตุ ทรงทำ� สงั คายนาต่อจากพระเจา้ ตากสนิ ท่ยี งั ทำ� ไม่เสร็จไปจดั ใหป้ ระชุมพระราชวงศศ์ านุวงศพ์ ระเถระ และพระเปรยี ญ ตกลงทำ� สงั คายนา ใหจ้ ดั หาพระทร่ี ูภ้ าษาบาลี ๒๑๘ รูป ราชบณั ฑติ ๓๒ คน เป็นกรรมการทำ� เมอ่ื พ.ศ. ๒๓๓๑ ณ อโุ บสถวดั พระศรสี รรเพชญพ์ ระเจา้ อยู่หวั ทรงอปุ ถมั ภท์ ำ� อยู่ ๕ เดอื นจงึ แลว้ เสรจ็ เมอ่ื ทำ� เสรจ็ คดั จำ� ลองสรา้ งเป็นฉบบั หลวงข้นึ เรยี กวา่ ฉบบั ทองใหญ่ มี ๓๕๔ คมั ภรี ์ เป็นหนงั สอื ๓๖๘๖ ผูก นำ� ไปเกบ็ ไวท้ ่ี วดั พระศรรี ตั นศาสดาราม 28 เร่อื งเดยี วกนั , หนา้ ๔๙-๕๐. 09. - 9 (291-313).indd 305 5/10/2022 12:59:55 PM

306 ประวตั พิ ระพทุ ธศาสนา รชั กาลท่ี ๒ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา้ นภาลยั ทรงปฏิสงั ขรณ์วดั ข้ึนใหม่หลายวดั เช่น วดั อรุณราชวราม วดั โมลโี ลกยาราม เป็นตน้ ทรงริเร่ิมวนั วสิ าขบูชาใหม่ หลงั จากไม่ไดป้ ระกอบพธิ ีมาตงั้ แต่ ปลายอยุธยา กรุงธนบรุ แี ละรชั กาลท่ี ๑ จงึ ทรงกระทำ� ตงั้ แต่รชั กาลท่ี ๒ เป็นตน้ มาถงึ ปจั จบุ นั รชั กาลท่ี ๓ พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยู่หวั ทรงสรา้ งพระไตรปิฎกฉบบั หลวงเพม่ิ จำ� นวนอยู่ข้นึ ไวอ้ กี หลายฉบบั โดยครบถว้ นสมบูรณ์กว่าสมยั ก่อนๆ และโปรดใหแ้ ปลพระไตรปิฎกจากภาษาบาลเี ป็นภาษาไทย เพอ่ื ใหผ้ ูไ้ มร่ ูภ้ าษาบาลไี ดร้ ูเ้ขา้ ใจพระพทุ ธศาสนา พรอ้ มสรา้ งวดั หลายวดั เช่นวดั เฉลมิ พระเกยี รติ วดั เทพธดิ าราม วดั ราชนดั ดาราม และรวบรวมตำ� ราต่างๆ เช่น อกั ษรศาสตร์ แพทยศ์ าสตร์ โบราณคดไี วท้ ว่ี ดั โพธ์ิ อกี ประการหน่งึ เจา้ ฟ้ามงกฎุ (พระจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั ) ยงั ผนวชอยู่ทว่ี ดั มหาธาตยุ ุวราชรงั สฤษฏ์ ทรงศึกษา จนสอบไดเ้ปรยี ญธรรม ๔ ประโยค ทรงเลอ่ื มใสจรยิ วตั รพระมอญช่อื พระสุเมธาจารย์ (ซาย พทุ ธฺ วโํ ส) พำ� นกั อยู่ ทว่ี ดั บวรมงคล กรงุ เทพมหานคร จงึ มพี ระประสงคจ์ ะประพฤตติ ามจรยิ าวตั รของพระมอญรูปนน้ั จงึ เสดจ็ ออกจาก วดั มหาธาตไุ ปประทบั ทว่ี ดั สมอราย (วดั ราชาธวิ าส) พ.ศ. ๒๓๗๒ ทรงอปุ สมบทใหมโ่ ดยอาศยั พระสุเมธาจารย์ เป็นพระอปุ ชั ฌายแ์ ลว้ แยกพระองคไ์ ปตง้ั นกิ ายใหม่ เรยี กวา่ “ธรรมยตุ กิ นกิ าย” โดยกำ� หนดฝงั ลูกนมิ ติ ผูกพทั ธสมี า ข้นึ ใหมท่ ว่ี ดั สมอรายนน้ั วา่ เป็นการจดั ตง้ั คณะธรรมยตุ กิ นกิ ายใน พ.ศ. ๒๓๗๖ แลว้ เสดจ็ ไปจำ� พรรษาทว่ี ดั บวรนเิ วศ วหิ าร บางลำ� พู กรุงเทพมหานคร และกำ� หนดใหว้ ดั น้ีเป็นศูนยก์ ลางคณะธรรมยุตกิ นกิ ายตง้ั แต่นนั้ มาจงึ ผนวชอยู่ คอื ๒๗ พรรษา แลว้ เสดจ็ ออกมาข้นึ ครองราชยเ์ ป็นรชั กาลท่ี ๔ ในพระบรมราชจกั รวี งศ2์ 9 รชั กาลท่ี ๔ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั ก่อนข้นึ ครองราชยพ์ ระองคผ์ นวชถงึ ๒๗ พรรษา ศึกษาพระธรรมวนิ ยั จนสอบไดถ้ งึ เปรยี ญธรรม ๔ ประโยค จงึ รูห้ ลกั ธรรมการบรหิ ารและการเป็นอยู่ของประชาชน เป็นอย่างดี หลงั นน้ั ครองราชยแ์ ลว้ ทรงสรา้ งวดั บรมนิวาส วดั โสมนสั วหิ าร วดั ปทมุ วนาราม วดั ราชประดษิ ฐ์ สถติ มหาสมี ารามและวดั มกฏุ กษตั รยิ าราม ทรงบูรณปฏสิ งั ขรณพ์ ระปฐมเจดยี ท์ จ่ี งั หวดั นครปฐม ทรงอปุ ถมั ภ์ คณะสงฆญ์ วนนกิ ายและสนบั สนุนธรรมยุตนิ ิกายเตม็ ท่ี รชั กาลท่ี ๕ เมอ่ื พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั ข้นึ ครองราชยใ์ นปี พ.ศ. ๒๔๑๑ นน้ั พระองค์ มพี ระชนมายุเพยี ง ๑๕ พรรษาเท่านน้ั ตอ้ งมผี ูส้ ำ� เร็จราชการแทนพระองคถ์ งึ ๕ ปี ครน้ั พ.ศ. ๒๔๑๖ เมอ่ื มี พระชนมายคุ รบ ๒๐ พรรษา พระองคไ์ ดม้ พี ระราชโองการประกาศขอลาผนวชต่อทป่ี ระชมุ วา่ พระองคม์ พี ระชนมายุ ครบถว้ น ๒๐ ปี บรบิ ูรณค์ วรจะไดอ้ ปุ สมบทเพอ่ื เป็นการสนองพระเดชพระคุณใหส้ มพระราชประสงคใ์ นสมเดจ็ พระบรมชนกนาถ ดงั นนั้ พระองคจ์ งึ เสดจ็ ออกผนวช ณ วดั พระศรีรตั นศาสดารามเมอ่ื วนั ท่ี ๒๔ กนั ยายน พ.ศ. ๒๔๑๖ โดยมสี มเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาปวเรศวรยิ าลงกรณ์ เป็นพระราชอปุ ชั ฌาย์ วตั ถปุ ระสงค์ แห่งการผนวชของพระองคม์ ี ๒ ประการ คอื 29 พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตโฺ ต), พระพทุ ธศาสนาในเอเชีย, หนา้ ๑๕๙ . 09. - 9 (291-313).indd 306 5/10/2022 12:59:55 PM

บทท่ี ๙ บทบาทคณะสงฆไ์ ทยกบั การสบื สานพระพทุ ธศาสนา 307 ๑. เพอ่ื อทุ ศิ ส่วนพระราชกศุ ลถวายสมเดจ็ พระบรมชนนาถ ซง่ึ ทรงปรารภไวเ้มอ่ื ยงั ทรงมพี ระชนมอ์ ยู่ ๒. เพอ่ื อนุวตั ติ ามประเพณีนยิ มของไทย คอื ลูกผูช้ ายเมอ่ื มอี ายุครบ ๒๐ ปี ตอ้ งบวชก่อนจะถอื วา่ เป็นคนสมบูรณ์ นอกจากพระองคท์ รงสรา้ งวดั เป็นจำ� นวน เช่น วดั เบญจมบพติ ร ถวายคณะสงฆม์ หานกิ าย และวดั ราชบพธิ สถติ มหาสมี าราม ถวายคณะสงฆธ์ รรมยุตกิ นิกาย ทส่ี ำ� คญั พระองคย์ งั ทรงสรา้ งมหาวทิ ยาลยั สงฆท์ ง้ั ๒ แห่ง คือ มหามกุฏราชวทิ ยาลยั ถวายเป็นราชสกั การะแด่พระบรมชนกนาถ และมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั การสรา้ งมหาวทิ ยาลยั สงฆท์ ง้ั ๒ แห่งน้ีนบั เป็นการสรา้ งมนั่ คงและความเจรญิ ทางการศึกษาแก่คณะสงฆท์ งั้ ๒ นกิ ายเป็นอย่างมาก รชั กาลท่ี ๖ พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยู่หวั ทรงมพี ระราชศรทั ธาในพระพทุ ธศาสนาอย่างแรงกลา้ พระองคเ์ สดจ็ ออกผนวชเป็นพระภกิ ษุประทบั ณ วดั บวรนเิ วศวหิ าร ทรงมพี ระปรชี าปราดเปร่อื งในดา้ นพระพทุ ธ- ศาสนาเป็นอย่างยง่ิ และทส่ี ำ� คญั ทรงอปุ ถมั ภพ์ ระพทุ ธศาสนาหลายดา้ น เช่น ทรงเทศนาสงั่ สอนธรรมเพอ่ื อบรม ขา้ ราชการดว้ ยพระองคเ์ องเป็นนิตย์ ทรงพระราชนพิ นธค์ ำ� สอนในพระพทุ ธศาสนาหลายเร่อื ง เช่น เทศนาเสอื ป่า พระพทุ ธเจา้ ตรสั รูอ้ ะไร ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหใ้ ชพ้ ทุ ธศกั ราชแทนรตั นโกสนิ ทรศ์ ก (ร.ศ. เป็น พ.ศ.) ตง้ั แต่ วนั ท่ี ๑ เมษายน เป็นตน้ มาถงึ ปจั จบุ นั ทรงเปลย่ี นการสอบพระปรยิ ตั ธิ รรมแผนกบาลจี ากสอบปากเปลา่ มาเป็น ขอ้ เขยี น นอกจากน้ีทรงโปรดเกลา้ ฯ ใหเ้พม่ิ การศึกษาพระปรยิ ตั แิ ผนกนกั ธรรมข้นึ เพอ่ื ใหพ้ ระภกิ ษุสามเณรได้ ศกึ ษาพระธรรมวนิ ยั ใหก้ วา้ งขวางและลมุ่ ลกึ อน่งึ พระองคไ์ มเ่ พยี งทรงตราพระราชบญั ญตั กิ ารยกเวน้ การเป็นทหาร สำ� หรบั พระภิกษุสามเณรผูศ้ ึกษาพระปริยตั ิธรรมเท่านน้ั ยงั ทรงโปรดเกลา้ ฯ ใหต้ งั้ กองอนุศาสนาจารยข์ ้นึ เพ่อื เผยแผ่พุทธธรรมแก่ทหารอย่างกวา้ งขวาง จากพระกรณียกิจดงั กล่าวน้ี นบั ว่าพระองคท์ รงมคี ุณูปการ ต่อพระพทุ ธศาสนาอย่างหาทส่ี ุดมไิ ด3้ 0 รชั กาลท่ี ๗ พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยู่หวั ทรงเป็นพทุ ธมามกะตามพระราชบรุ พการี ไดอ้ ปุ ถมั ภ์ พระพทุ ธศาสนาเป็นอเนกประการ อาทิ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหจ้ ดั พมิ พพ์ ระไตรปิฎกฉบบั สยามรฐั จำ� นวนจบละ ๔๕ เลม่ รวม ๑,๕๐๐ จบเพอ่ื อทุ ศิ ถวายพระราชกศุ ลแด่พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยู่หวั นอกจากน้ี พระองคย์ งั ทรงปฏสิ งั ขรณว์ ดั พระศรรี ตั นศาสดาราม วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลารามเพอ่ื จะใหท้ นั ฉลอง กรุงเทพมหานคร ๑๕๐ ปี ในปี ๒๔๗๕ อีกดว้ ย และท่ีสำ� คญั ในราชการน้ีทรงอนุญาตใหค้ ฤหสั ถศ์ ึกษา พระปรยิ ตั ธิ รรมแผนกธรรมซง่ึ เรยี กวา่ “ธรรมศึกษา” ได้ พระกรณียกจิ ดงั กลา่ วน้ีถอื วา่ เป็นเคร่อื งแสดงออกถงึ พระราชศรทั ธาต่อพระพทุ ธศาสนาของพระองคไ์ ดเ้ป็นอย่างดี รชั กาลท่ี ๘ พระพทุ ธศาสนาในสมยั ของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั อานนั ทมหดิ ลน้ี มเี หตุการณ์ท่ี น่าศึกษาหลายประการ ดงั น้ี 30 เฉลมิ เขอ่ื นทองหลาง, เอกสารแบบบรรยายวชิ าประวตั พิ ระพทุ ธศาสนา ๒, หนา้ ๔๕-๕๓. 09. - 9 (291-313).indd 307 5/10/2022 12:59:55 PM

308 ประวตั พิ ระพทุ ธศาสนา ๑. พระยาพหลพลพยุหเสนาบวชพระยาพหลพลพยุหเสนา ไดอ้ ปุ สมบท ณ วดั พระศรมี หาธาตเุ มอ่ื วนั ท่ี ๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๘๔ เวลา ๑๓.๐๐ น. เป็นการอปุ สมบทร่วมนกิ าย คอื มพี ระอปุ ชั ฌายแ์ ละอนั ดบั รวม ๕๐ รูป เป็นพระมหานิกาย ๓๕ รูป พระธรรมยุติ ๑๕ รูป พระสามญั ๑ รูป โดยมสี มเดจ็ พระสงั ฆราช(แพ) วดั สุทศั นเ์ ป็นพระอุปชั ฌาย์ การอุปสมบทคราวน้ีมรี ฐั บาลเป็นเจา้ ภาพ เวลานนั้ พระยาพหลมยี ศเป็นพลโท เมอ่ื อปุ สมบทแลว้ จำ� พรรษาทว่ี ดั เบญจมบพติ ร เป็นเวลา ๓ เดอื น ๒๔ วนั ๒. การสรา้ งวดั พระศรีมหาธาตุคณะรฐั บาลมจี อมพล ป. พบิ ูลสงคราม เป็นนายก ไดส้ รา้ งวดั พระศรีมหาธาตุข้นึ ท่บี างเขนโดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พ่อื ใหพ้ ระสงฆ์ ๒ นิกายไดอ้ ยู่ร่วมกนั เป็นแผนการจะรวม นกิ ายสงฆ์ การเปิดวดั คราวนนั้ ทำ� เป็นรฐั พธิ เี มอ่ื วนั ท่ี ๒๔ มถิ นุ ายน ๒๔๘๕ ในวนั พธิ ไี ดอ้ าราธนาพระเถระไปร่วม พธิ ีจำ� นวน ๘๐ รูปทงั้ ๒ นิกายจดั ร่วมกนั แต่พระท่จี ะจำ� พรรษาท่วี ดั นน้ั คดั เลอื กไปจากวดั ต่าง ๆ จำ� นวน ๒๔ รูป นิกายละ ๑๒ รูป แต่ไมน่ านนกั ฝ่ายธรรมยุตกิ ไ็ ดค้ รองวดั น้ี31 ๓. มี พ.ร.บ. ๒๔๘๔ ซง่ึ ไม่พูดถงึ นิกายแต่สำ� หรบั ใชก้ บั คณะสงฆ์ ก็ไม่สามารถรวมกนั ได้ พ.ร.บ. ๒๔๘๔ เลกิ ใช้ ๔. มกี ารเทยี บวทิ ยฐานะผูส้ ำ� เรจ็ การศึกษาพระปรยิ ตั ธิ รรมดงั น้ี ๕. ประโยค ๙ สามารถบรรจใุ นตำ� แหน่งอนุศาสนาจารยช์ นั้ ตรี อนั ดบั ๑ ๖. ประโยค ๖–๗–๘ เทยี บเท่าเตรยี มอดุ มศึกษาอนุศาสนาจารย์ ผูช้ ่วยอนุศาสนาจารย์ ๗. ประโยค ๕ เทยี มเท่ามธั ยม ถา้ สอบเขา้ ราชการพลเรอื นชนั้ จตั วาอนั ดบั ๑๓ ๘. ประโยค ๓-๔ สามารถเป็นครู สอนศีลธรรมและภาษาไทยในโรงเรยี นราษฎรไ์ ด้ ๙. ชนั้ นกั ธรรมเทยี มเท่าปฐมศึกษา รชั กาลท่ี ๙ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั ภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราชเมอ่ื ทรงครองราชยใ์ นปี ๒๔๙๙ เสดจ็ ออกผนวช ประทบั ณ วดั บวรนิเวศวหิ ารเป็นเวลา ๑๕ วนั พระองคท์ รงเป็นกษตั ริยอ์ ีกพระองคห์ น่ึงใน ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย ทเ่ี สดจ็ ออกผนวชขณะครองราชย์ โดยมสี มเดจ็ พระสงั ฆราชเจา้ กรมหลวง วชริ ญาณวงศ์ เป็นพระราชอปุ ชั ฌาย์ มสี มเดจ็ พระวนั รตั (ปลด กติ ตฺ โิ สภณเถร) เป็นพระอนุสาวนาจารย์ พระศาสนโสภณ (จวน อฏุ ฺ าย)ี เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระพทุ ธศาสนาในสมยั น้มี เี หตกุ ารณส์ ำ� คญั หลายประการดงั น้ี มกี ารเปิดการเรยี นการสอนระดบั อดุ มศกึ ษา ของมหาวทิ ยาลยั สงฆ์ ทงั้ ๒ แห่ง คือมหามกุฏราชวทิ ยาลยั เปิดสอน พ.ศ. ๒๔๘๙ และ มหาจฬุ าลงกรณ- ราชวทิ ยาลยั เปิดสอน พ.ศ. ๒๔๙๐ มกี ารก่อสรา้ งพทุ ธมณฑล จำ� นวน ๒๕๐๐ ไร่ เพอ่ื ๒๕ พทุ ธศตวรรษ มกี าร แปลพระไตรปิฏกภาษาบาลฉี บบั สยามรฐั เป็นภาษาไทย นบั เป็นครง้ั แรกท่มี กี ารแปลพระไตรปิฏกภาษาบาลี เป็นภาษาไทย มกี ารเปิดโรงเรยี นพระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ย์ พ.ศ. ๒๕๐๑ รฐั บาลตราพระราชบญั ญตั คิ ณะสงฆ์ 31 เสถยี ร โพธนิ นั ทะ, ประวตั พิ ระพทุ ธศาสนา ฉบบั มขุ ปาฐะ ภาคท่ี ๒, พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๒, (กรุงเทพมหานคร : มหามกฎุ - ราชวทิ ยาลยั , ๒๕๓๗), หนา้ ๒๔๖. 09. - 9 (291-313).indd 308 5/10/2022 12:59:55 PM

บทท่ี ๙ บทบาทคณะสงฆไ์ ทยกบั การสบื สานพระพทุ ธศาสนา 309 ๒๕๐๕ ข้นึ รฐั บาลไดส้ รา้ งโรงพยาบาลสงฆเ์ พอ่ื อนุเคราะหแ์ ก่พระภกิ ษุสามเณรท่อี าพาธ มกี ารส่งสมณะทูต ไปประกาศศาสนา ณ ต่างประเทศโดยเฉพาะทย่ี ุโรป อเมรกิ า และออสเตรเลยี มกี ารสรา้ งวดั ไทยในต่างประเทศ เป็นจำ� นวนมาก มกี ารแปลพระไตรปิฏกฉบบั ไทยรฐั ข้นึ เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๓๐ รฐั บาลไดต้ ราพระราชบญั ญตั ริ บั รอง วทิ ยฐานะแก่ผูส้ ำ� เรจ็ การศึกษาวชิ าการดา้ นพระพทุ ธศาสนา พ.ศ. ๒๕๒๗ นอกจากน้ี ยงั ไดต้ ราพระราชบญั ญตั ิ มหาวทิ ยาลยั สงฆท์ งั้ ๒ แห่ง พ.ศ. ๒๕๔๐ นบั ว่าพระราชบญั ญตั นิ ้ีไดส้ รา้ งความมนั่ คงและความกา้ วหนา้ แก่ การศึกษาของคณะสงฆเ์ ป็นอย่างมาก เน่ืองดว้ ยพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั รชั กาลท่ี ๙ น้ี ทรงเป็นพทุ ธมามกะมพี ระราชศรทั ธาอย่างแรงกลา้ ในพระพทุ ธศาสนา พทุ ธศาสนิกชนทกุ หม่เู หลา่ ทงั้ ภาครฐั และเอกชนลว้ นดำ� เนินกจิ กรรมทางพระพทุ ธศาสนา เพอ่ื ถวายเป็นพระราชกศุ ล โดยมกี จิ กรรมทางศาสนามากเช่น การจดั งานวนั วสิ าขบูชาโลก โดยประเทศไทยเรา เป็นเจา้ ภาพเป็นตวั แทนของพระพทุ ธศาสนาทค่ี นทวั่ โลกประพฤตติ ามหลกั พระพทุ ธศาสนา ไมว่ า่ คนไทยคนต่างชาติ มาแสดงออกทำ� ใหส้ งั คมโลกไดร้ ูจ้ กั สนบั สนุนบำ� รุงพระพทุ ธศาสนาใหอ้ ยู่คู่กบั โลกต่อไป32 สรุปทา้ ยบท รายละเอยี ดของเน้ือหาบทท่ี ๙ กลา่ วถงึ พระพทุ ธศาสนาในประเทศไทย สรุปความไดว้ า่ พระพทุ ธศาสนา สมยั ก่อนสุโขทยั ประกอบดว้ ยพระพทุ ธศาสนาสมยั ฟูนนั หรอื อาณาจกั รฟูนนั พระพทุ ธศาสนาในสมยั น้ีมที งั้ ท่ี เป็นพระพทุ ธศาสนามหายานและเถรวาท รวมถงึ ศาสนาพราหมณด์ ว้ ย อาณาจกั รฟูนนั คอื อาณาเขตทเ่ี ป็นดนิ แดน กมั พูชาเวลาน้ี และเลยเขา้ มาถงึ ภาคอสี านและภาคเหนือของประเทศไทยไปชนแดนกบั ประเทศพม่า นบั ว่า เป็นอาณาจกั รทก่ี วา้ งใหญ่และยง่ิ ใหญ่มากในเวลานน้ั มพี ระเถระทง้ั หลายไดแ้ ปลคมั ภรี ท์ เ่ี ป็นคำ� สอนทางพระพทุ ธ- ศาสนาเป็นจำ� นวนมาก รวมถงึ พระมหากษตั รยิ ก์ ใ็ หก้ ารอปุ ถมั ภส์ นบั สนุน พระพทุ ธศาสนาสมยั อาณาจกั รน่านเจา้ มคี วามสมั พนั ธก์ บั จนี ถูกรุกไลจ่ ากจนี จนทส่ี ุดไดเ้ สยี เมอื งใหก้ บั จนี พระพทุ ธศาสนาทน่ี บั ถอื ในอาณาจกั รน้ี ส่วนมากจะเป็นนิกายมหายาน โดยเฉพาะความเช่ือในเร่ืองพระโพธิสตั ว์ พระพุทธศาสนาในลุ่มแม่น�ำ้ ปิง เป็นพระพทุ ธศาสนาทน่ี ำ� มาจากหวั เมอื งใต้ นำ� มาเผยแผ่ส่วนมากจะเป็นเถรวาท พระพทุ ธศาสนาสมยั สุโขทยั เป็นพระพทุ ธศาสนาทน่ี ำ� สบื มาจากลงั กาเป็นแบบเถรวาท มคี วามสำ� คญั กบั สถาบนั ทางการปกครองคือสถาบนั พระมหากษตั ริย์ ประชาชนชาวสุโขทยั นบั ถอื พระพทุ ธศาสนาเป็นหลกั สำ� คญั ในการดำ� เนินชีวติ มกี ารนำ� หลกั คำ� สอนในพระพทุ ธศาสนาไปแต่งเป็นวรรณคดปี ระจำ� สมยั เพอ่ื สงั่ สอนประชาชน พระพทุ ธศาสนาในสมยั อยุธยา ธนบรุ ี รวมถงึ รตั นโกสนิ ทร์ เป็นพระพทุ ธศาสนาเถรวาทเป็นสว่ นใหญ่ มพี ระพทุ ธศาสนามหายานบา้ งเป็นสว่ นนอ้ ย พระพุทธศาสนาไดร้ บั การอุปถมั ภจ์ ากสถาบนั พระมหากษตั ริย์ และจากประชาชนชาวไทย ท่นี บั ถอื กนั เป็น สว่ นมาก ประชาชนชาวไทย ยกเอาพระพทุ ธศาสนาเป็นศาสนาประจำ� ชาติ ในแงข่ องวถิ กี ารดำ� เนนิ ชวี ติ หลกั คำ� สอน ทางพระพทุ ธศาสนา กไ็ ดร้ บั การนำ� ไปประยุกตต์ ามสมควร 32 กรมการศาสนา, ประวตั พิ ระพทุ ธศาสนาแห่งกรุงรตั นโกสนิ ทร์ ๒๐๐ ปี, หนา้ ๕๘-๕๙. 09. - 9 (291-313).indd 309 5/10/2022 12:59:55 PM

คำ� ถามทา้ ยบท ตอนท่ี ๑ คำ� ช้ีแจง : ขอ้ สอบมลี กั ษณะเป็นแบบอตั นยั มที งั้ หมด ๑๐ ขอ้ ใหน้ ิสติ ทำ� ทกุ ขอ้ ดงั ต่อไปน้ี ๑. อาณาจกั รก่อนสมยั สุโขทยั มลี กั ษณะทางภมู ศิ าสตรท์ ส่ี ำ� คญั อย่างไร ๒. จงกลา่ วถงึ พระพทุ ธศาสนาในอาณาจกั รฟูนนั และทวาราวดี ๓. พระพทุ ธศาสนาในสมยั ทวารวดี มคี วามสมั พนั ธก์ บั พระพทุ ธศาสนามหายานอย่างไร ๔. พระพทุ ธศาสนาในสมยั อาณาจกั รน่านเจา้ มลี กั ษณะสำ� คญั อย่างไร ๕. พระพทุ ธศาสนาในพระเจา้ ตโิ ลกราช มลี กั ษณะอย่างไร ๖. นกั ปราชญท์ งั้ หลายแบง่ ยุคของพระพทุ ธศาสนาสมยั อยุธยาเป็นก่ยี ุค อะไรบา้ ง อธบิ ายพอสงั เขปแต่ละยุค ๗. พระพทุ ธศาสนานิกาย “ลงั กาวงศ”์ มคี วามเป็นมาอย่างไร จงอธบิ าย ๘. จงกลา่ วถงึ ประวตั พิ ระพทุ ธศาสนาในสมยั สุโขทยั และอยุธยา ๙. จงอธบิ าย “พฒั นาการของพระพทุ ธศาสนาในประเทศไทย” มาใหเ้ขา้ ใจ ๑๐. รชั กาลท่ี ๕ และ ๙ มบี ทบาทในการส่งเสรมิ พระพทุ ธศาสนาอย่างไร จงอธบิ าย ตอนท่ี ๒ คำ� ช้ีแจง : ขอ้ สอบมลี กั ษณะเป็นปรนยั ใหน้ สิ ติ ทำ� เคร่อื งหมานกากบาท (X) ทบั ขอ้ ก ข ค หรอื ง ทถ่ี กู ตอ้ งทส่ี ุดเพยี งขอ้ เดยี ว ดงั ต่อไปน้ี ๑. อาณาจกั ฟูนนั มคี วามสมั พนั ธก์ บั ชนชาตใิ ดทส่ี ุด ก. ลาว ข. กมั พชู า ค. เวยี ดนาม ง. อนิ เดยี ๒. กษตั รยิ ใ์ นราชวงศฟ์ ูนนั สบื เช้อื สายมาจากวรรณะใดของอนิ เดยี ก. วรรณะกษตั รยิ ์ ข. วรรณพราหมณ์ ค. วรรณะแพศย ์ ง. วรรณะศูทร ๓. พระพทุ ธศาสนาในสมยั สุโขทยั นำ� สบื มาจากประเทศใด ก. อนิ เดยี ข. กมั พชู า ค. ลงั กา ง. ลาว ๔. วรรณคดที างพระพทุ ธศาสนาสมยั สุโขทยั ทโ่ี ดดเด่นทส่ี ุดคอื เร่อื งอะไร ก. ลลิ ติ โองการแช่งนำ�้ ข. ไตรภมู พิ ระร่วง ค. สุภาษติ พระร่วง ง. ศิลาจารกึ พอ่ ขนุ รามคำ� แหง 09. - 9 (291-313).indd 310 5/10/2022 12:59:56 PM

311 ๕. ยุคใดถอื วา่ เป็น “ยุคทองของวรรณคดพี ระพทุ ธศาสนา” ก. ยุดสุโขทยั ข. ยุคอยุธยา ค. ยุดรตั นโกสนิ ทร ์ ง. ยุคลา้ นนา ๖. พระพทุ ธศาสนาในสมยั ทวาราวดเี ป็นพระพทุ ธศาสนานกิ ายใด ก. แบบเถรวาท ข. แบบมหายาน ค. แบบลงั กาวงศ์ ง. แบบสยามวงศ์ ๗. พระพทุ ธศาสนาในสมยั ศรวี ชิ ยั เป็นพระพทุ ธศาสนานิกายใด ก. เถรวาท ข. มหายาน ค. เถรวาท + มหายาน ง. สยามวงศ์ ๘. ในสมยั อยุธยา พระพทุ ธศาสนาเจรญิ รุ่งเรอื งทส่ี ุดในสมยั ใด ก. สมยั พระเจา้ อยู่หวั ทรงธรรม ข. สมยั พระเจา้ ปราสาททอง ค. สมยั สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ ง. สมยั สมเดจ็ พระนารายณ์ ๙. การสงั คายนาในสมยั รตั นโกสนิ ทร์ มขี ้นึ ในสมยั รชั กาลทเ่ี ท่าไร ก. รชั กาลท่ี ๑ ข. รชั กาลท่ี ๒ ค. รชั กาลท่ี ๓ ง. รชั กาลท่ี ๔ ๑๐. พระไตรปิฎกสยามรฐั เกดิ ข้นึ ในสมยั รบั กาลทเ่ี ท่าไร ก. รชั กาลท่ี ๖ ข. รชั กาลท่ี ๗ ค. รชั กาลท่ี ๘ ง. รชั กาลท่ี ๙ 09. - 9 (291-313).indd 311 5/10/2022 12:59:56 PM

เอกสารอา้ งองิ ประจำ� บท กรมการศาสนา. ประวตั พิ ระพทุ ธศาสนาแหง่ กรุงรตั นโกสนิ ทร์ ๒๐๐ ปี. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พก์ ารศาสนา, ๒๕๒๕. กรมศิลปากร. จารกึ สมยั สโุ ขทยั . กรุงเทพมหานคร: กองวรรณคดแี ละประวตั ศิ าสตร์ กรมศิลปากร, ๒๕๒๖ แกว้ ชดิ ตะขบ. ประวตั ิความสำ� คญั ของการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พส์ ำ� นกั งาน พระพทุ ธศาสนาแห่งชาต,ิ ๒๕๕๓. จติ ร ภมู ศิ กั ด์.ิ ตำ� นานแหง่ นครวดั . พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๖. กรุงเทพมหานคร : สำ� นกั พมิ พอ์ มรนิ ทร,์ ๒๕๕๔ เฉลมิ เขอ่ื นทองหลาง. เอกสารแบบบรรยาย ประวตั พิ ระพทุ ธศาสนา ๑. นครราชสมี า : มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ า- ลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตนครราชสมี า, ๒๕๔๕. (อดั สำ� เนา) . ประวตั พิ ระพทุ ธศาสนา ๒. นครราชสมี า : มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขต นครราชสมี า, ๒๕๔๕. (อดั สำ� เนา) ประยูร ป้อมสุวรรณ์. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาพระพทุ ธศาสนาในโลกปจั จุบนั . กรุงเทพมหานคร : วทิ ยาลยั พทุ ธศาสตรแ์ ละปรชั ญา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนคร, ๒๕๕๔. พระเทพดลิ ก (ระบบ ติ าโณ). ประวตั ศิ าสตรพ์ ระพทุ ธศาสนา. พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๕. กรุงเทพมหานคร : มหามกฏุ - ราชวทิ ยาลยั , ๒๕๔๘. พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตโฺ ต). พทุ ธศาสนาในเอเชีย. กรุงเทพมหานคร : ธรรมสภา, ๒๕๔๐. พระไพศาล วสิ าโล. พทุ ธศาสนาไทยในอนาคต แนวโนม้ และทางออกจากวิกฤต. พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๒. กรุงเทพ- มหานคร : มลู นิธสิ ดศร-ี สฤษด์วิ งศ,์ ๒๕๔๖. พระเมธธี รรมาภรณ์ (ประยูร ธมมฺ จติ โฺ ต). การปกครองคณะสงฆ.์ พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๙. กรุงเทพมหานคร : มลู นิธิ พทุ ธธรรม, ๒๕๓๙. พระราชวงศเ์ ธอ กรมหมน่ื พยิ ลาภพฤฒิยากร. ประวตั ิพทุ ธศาสนาในสยาม. กรุงเทพมหานคร: มหามกุฏ- ราชวทิ ยาลยั , ๒๕๑๗. พระรตั นปญั ญาเถระ. ชินกาลมาลปี กรณ์. แปลโดย แสง มนวทิ ูร; กรุงเทพมหานคร. กรมศิลปากร, ๒๕๐๑. ยงยุทธ วชั รดลุ . องคพ์ ทุ ธมามกะ ความมนั่ คงของพระพทุ ธศาสนาในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร : โพสต,์ ๒๕๔๘. สรสั วดี ออ๋ งสกลุ . ประวตั ศิ าสตรล์ า้ นนา. พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๖. กรุงเทพมหานคร: สำ� นกั พมิ พอ์ มรนิ ทร,์ ๒๕๕๘. สุพจน์ พรหมมาโนช. โบราณคดีลมุ่ แม่น้�ำปิงตอนบน. กรุงเทพมหานคร: กรมศิลปากร กองโบราณคด,ี ๒๕๓๔. สุชาติ หงษา. ประวตั พิ ระพทุ ธศาสนาจากอดีตสูป่ จั จุบนั . กรุงเทพมหานคร : ธรรมสภา, ๒๕๔๙. 09. - 9 (291-313).indd 312 5/10/2022 12:59:56 PM

313 เสถยี ร โพธินนั ทะ. ประวตั ิพระพทุ ธศาสนา ฉบบั มขุ ปาฐะ ภาคท่ี ๒. พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๒. กรุงเทพมหานคร : มหามกฎุ ราชวทิ ยาลยั , ๒๕๓๗. ศรศี กั ด์ิ วลั ลโิ ภดม. ความรูเ้ ร่อื งเมืองไทย : พฒั นาการทางสงั คม-วฒั นธรรมไทย ความเป็นชนชาตไิ ทย ชีวติ - ประวตั ิศาสตรช์ าวนาสยาม. สำ� นกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ. ประจำ� ปีงบประมาณ ๒๕๓๗-๘. อธั ยา โกมลกาญจน. พระพทุ ธศาสนาบนแผ่นดินไทย. กรุงเทพมหานคร : อกั ษรเจรญิ ทศั น,์ ๒๕๔๕. เวบ็ ไซต์ ประวตั ิศาสตรน์ อกตำ� รา. “เปิ ดปมเวียงกมุ กามล่มสลายกลายเป็ นอดีตท่ีถูกฝงั กลบใตผ้ ืนปฐพ”ี . [ออนไลน]์ , แหลง่ ทม่ี า : <https://www.youtube.com/watch?v=zXHzzqumXg๐> [๗ ธนั วาคม ๒๕๖๔]. พเิ ศษ เจอื จนั ทรพ์ งษ.์ การเมืองเร่ือง ‘เครือญาติ’ ในประวตั ิศาสตรส์ ุโขทยั เม่ือรฐั ในอดุ มคติไม่ใช่ราชธานี แห่งแรก. มตชิ นออนไลน.์ [ออนไลน]์ . แหลง่ ทม่ี า : <https://shorturl.asia/MIYEF>, [๑๑ สงิ หาคม ๒๕๖๒]. พชิ ญา สุ่มจนิ ดา. ตอน “พราหมณประตมิ าระหว่างพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๕ - ๑๙ และพทุ ธปฏมิ าในนิกายเถรวาท คณะสงฆม์ หายานสถวริ ะ”. [ออนไลน]์ . แหลง่ ทม่ี า : https://www.youtube.com/watch?v= zXHzzqumXg๐ [๔ มนี าคม ๒๕๖๓]. 09. - 9 (291-313).indd 313 5/10/2022 12:59:56 PM

บทท่ี ๑๐ ประวตั กิ ารปกครองคณะสงฆไ์ ทย พระเมธีวรญาณ, ผศ.ดร. รศ.ดร.ประพฒั น์ ศรีกูลกจิ วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรูป้ ระจำ� บท เมอ่ื ศึกษาเน้ือหาในบทน้ีแลว้ ผูศ้ ึกษาสามารถ ๑. อธบิ ายประวตั กิ ารครองสมยั พทุ ธกาลได้ ๒. อธบิ ายประวตั กิ ารครองสมยั หลงั พทุ ธกาลได้ ๓. อธบิ ายประวตั กิ ารครองคณะสงฆไ์ ทยสมยั สุโขทยั ได้ ๔. อธบิ ายประวตั กิ ารครองคณะสงฆไ์ ทยสมยั อยุธยาได้ ๕. อธบิ ายประวตั กิ ารครองคณะสงฆไ์ ทยสมยั ธนบรุ แี ละรตั นโกสนิ ทรไ์ ด้ ๖. อธบิ ายประวตั กิ ารครองคณะสงฆไ์ ทยสมยั ปจั จบุ นั ได้ ๗. อธบิ ายทศิ ทางการปกครองคณะสงฆไ์ ทยในอนาคตได้ ขอบข่ายเน้ือหา  ความนำ�  ประวตั กิ ารปกครองสมยั พทุ ธกาล  ประวตั กิ ารปกครองสมยั หลงั พทุ ธกาล  ประวตั กิ ารปกครองคณะสงฆไ์ ทยสมยั สุโขทยั  ประวตั กิ ารปกครองคณะสงฆไ์ ทยสมยั อยุธยา  ประวตั กิ ารปกครองคณะสงฆไ์ ทยสมยั ธนบรุ แี ละรตั นโกสนิ ทร์  ประวตั กิ ารปกครองคณะสงฆไ์ ทยสมยั ปจั จบุ นั  ทศิ ทางการปกครองคณะสงฆไ์ ทยในอนาคต 10. - 10 (314-381).indd 314 5/10/2022 1:00:14 PM

บทท่ี ๑๐ ประวตั กิ ารปกครองคณะสงฆไ์ ทย 315 ๑๐.๑ ความน�ำ การปกครองคณะสงฆใ์ นสมยั พระพทุ ธกาล รูปแบบยงั ไมช่ ดั เจนเพราะเป็นการปกครองโดยพระพทุ ธเจา้ และสาวกทเ่ี ขา้ มาสู่พระพทุ ธสาสนาส่วนมากเป็นพระอรยิ บคุ คล มคี ุณธรรมสูง การปกครองจงึ ไมม่ ปี ญั หาอะไร มากมาย ส่วนม่งุ ไปท่กี ารเผยแผ่พระศาสนาเป็นหลกั ต่อมาเมอ่ื มกี ุลกุลบุตรเขา้ มาในพระพทุ ธสาสนามากข้นึ ปญั หาต่าง ๆ และกฎระเบยี บจงึ ตามมา รวมทงั้ รูปแบบทเ่ี ขา้ สู่พระสาสนาซง่ึ เรียกว่าการบวช ก็มหี ลากหลาย มากข้นึ ถา้ เป็นการบวชโดยพระพทุ ธเจา้ เรยี กวา่ เอหภิ กิ ขอุ ปุ สมั ปทา ตสิ รณคมนูปสมั ปทา และต่อมาทรงอนุญาต ญตั ตจิ ตตุ ถกรรมวาจา ดงั นนั้ ตอนปลายสมยั พทุ ธกาล ทรงเหน็ วา่ มพี ระสาวกมากแลว้ สมควรจะไดม้ อบหมายใหห้ มพู่ ระสงฆด์ ูแล กนั เอง เพอ่ื เป็นการปูพ้นื การปกครองคณะสงฆโ์ ดยหม่สู งฆเ์ อง ดงั นนั้ จงึ ทรงใหง้ ดการอปุ สมบทดว้ ยวธิ ีการ รบั ไตรสรณคมน์ ทรงอนุญาตใหบ้ วชดว้ ยวธิ ญี ตั ตจิ ตตุ ถกรรมวาจาแทน กลา่ วคอื ใหม้ พี ระสงฆอ์ ย่างตำ�่ ๑๐ รูป โดยมพี ระรูปหน่ึงเป็นพระอุปชั ฌาย์ มพี ระ ๒ รูปเป็นพระคู่สวด เมอ่ื ประกอบพธิ ีกรรมตอ้ งสวดถงึ ๔ ครง้ั จงึ จะสำ� เร็จเป็นภกิ ษุได้ เมอ่ื ทรงอนุญาตการบวชใหเ้ ป็นกิจของสงฆ์ (สงั ฆกรรม) และทรงใหใ้ ชก้ ารบวชแบบ เดมิ นน้ั กบั สามเณร คือถา้ ใครอายุยงั ไม่ถงึ ๒๐ ปี อยากบวชก็ใหบ้ วชเป็นสามเณรได้ ดว้ ยวธิ ีติสรณคมน- บรรพชา มอี ปุ ชั ฌายร์ ูปเดยี วก็พอ อน่ึงมขี อ้ สงั เกตว่า นบั ตงั้ แต่พระองคท์ รงอนุญาตใหพ้ ระสาวกบวชดว้ ยวธิ ี ญตั ตจิ ตตุ ถกรรมวาจาแลว้ พระองคก์ ท็ รงงดอปุ สมบทใหแ้ ก่ใครๆ อกี ทรงทำ� หนา้ ทส่ี งั่ สอนและดูแลโดยทวั่ ๆ ไป เท่านน้ั ทงั้ น้ีคงจะทรงมอบหมายความเป็นใหญ่ใหส้ งฆอ์ ย่างเต็มท่ี เพอ่ื ว่าพระสงฆส์ าวกจะไดค้ ุน้ เคยกบั การ ปกครองกนั เองภายหลงั จากทพ่ี ระองคป์ รนิ ิพพานแลว้ กระบวนการรบั สมาชิกใหม่ของสงฆท์ ่เี รียกว่าการบวชหรืออุปสมบท มวี วิ ฒั นาการตามท่พี ระพทุ ธเจา้ ทรงอนุญาตไว้ สำ� หรบั การรบั สมาชกิ ใหเ้หมาะสมกบั สงั คมสงฆแ์ ละสถานการณ์ ดงั รายละเอยี ดต่อไปน้ี ๑๐.๒ การปกครองคณะสงฆใ์ นสมยั พทุ ธกาล การปกครองคณะสงฆ์ คือการปกครองโดยสงฆ์ เป็นส่วนหน่ึงของการบริหารกิจการคณะสงฆแ์ ละ พระศาสนาใหม้ คี วามมนั่ คงและใหม้ คี วามเจรญิ กา้ วหนา้ เกดิ ประโยชนแ์ ก่คณะสงฆแ์ ละมหาชน ทง้ั ทางตรงและ ทางออ้ ม คำ� ว่า “สงฆ”์ หรือ “สงฺฆ” ในภาษาบาลแี ปลว่า หมู่ เช่นในคำ� ว่าภกิ ษุสงฆ์ แปลว่า หม่ภู กิ ษุ ใชใ้ น ความหมายวา่ ภกิ ษุทงั้ ปวงกไ็ ด้ เช่น จวี รน้ีเป็นของสงฆ์ ควรจะจดั เป็นพธิ สี งฆถ์ วาย เมอ่ื ใชค้ วบกบั คำ� ว่า พระ เป็น พระสงฆ์ ซง่ึ มคี วามหมายว่าภกิ ษุ เช่น “นิมนตภ์ กิ ษุสงฆม์ าฉนั ในงาน เมอ่ื วาน มพี ระสงฆม์ าเป็นจำ� นวนมาก” ตามพระวนิ ยั ภกิ ษุตง้ั แต่ ๔ รูปข้นึ ไปจงึ เรยี กวา่ สงฆ์ เช่นในคำ� วา่ สงั ฆกรรม (กรรมทส่ี งฆ์ คอื ภกิ ษุตง้ั แต่ ๔ รูปข้นึ ไปพงึ ทำ� รวมกนั ) พระพทุ ธศาสนาไดก้ ลา่ วถงึ พระสงฆ์ ไว้ ๒ ประเภท ไดแ้ ก่ สาวกสงฆ์ และภกิ ขสุ งฆ์ สาวกสงฆ์ หรอื ท่ี สมยั หลงั นยิ มเรยี กวา่ อรยิ สงฆ์ คอื หมพู่ ระอรยิ บคุ คล ไมว่ า่ เป็นคฤหสั ถห์ รอื บรรพชติ ไมว่ า่ เป็นมนุษยห์ รอื เทวดา 10. - 10 (314-381).indd 315 5/10/2022 1:00:14 PM

316 ประวตั พิ ระพทุ ธศาสนา ทเ่ี ป็นสาวกของพระพทุ ธเจา้ โดยการบรรลมุ รรคผล อรยิ บคุ คล ๔ ประเภท คอื พระโสดาบนั พระสกทาคามี พระอนาคามี พระอรหนั ต์ ภิกขุสงฆ์ หรือท่ีสมยั หลงั นิยมเรียกว่า สมมตุ ิสงฆ์ หมายถึงพระสงฆโ์ ดยสมมติ คือเป็นพระสงฆ์ โดยการยอมรบั กนั ในหมสู่ งฆ์ หลงั จาการไดผ้ ่านการคดั เลอื กเฟ้นคณุ สมบตั ถิ กู ตอ้ ง และผ่านพธิ กี รรมทเ่ี รยี กวา่ อปุ สมบทกรรมครบถว้ นตามพระวนิ ยั แลว้ ใชเ้รยี กพระสงฆท์ ย่ี งั ไมไ่ ดบ้ รรลมุ รรคผล เช่น พระสงฆท์ วั่ ไปในปจั จบุ นั ถา้ ไดบ้ รรลุมรรคผลแลว้ เช่นเป็นพระโสดาบนั ข้นึ ไปเรยี กว่า พระอรยิ สงฆ์ ถา้ เป็นคฤหสั ถท์ บ่ี รรลุธรรมตงั้ แต่ พระโสดาบนั ถงึ พระสกทิ าคามแี ต่ไมไ่ ดบ้ วช เรยี กวา่ อรยิ บคุ คล1 สมมตสิ งฆ์ ประชมุ สงฆห์ มหู่ น่ึงทไ่ี ดร้ บั การอปุ สมบทตามพระบรมพทุ ธานุญาตจากพระเถระตงั้ แต่ ๔ รูป ข้นึ ไปเรียกว่าสงฆ์ เน่ืองจากคำ� ว่าสงฆ์ แปลว่าหมู่ จึงเรียกหมู่พระภกิ ษุว่าภกิ ษุสงฆ์ และหมู่พระภกิ ษุณีว่า ภกิ ษุณีสงฆ์ จดั เป็น ๔ วรรค ซ่งึ สามารถประกอบสงั ฆกรรมไดต้ ามกำ� หนดทางพระวนิ ยั ต่างโดยเป็นสงฆ์ จตวุ รรค ๔ รูป สงฆป์ ญั จวรรค ๕ รูป สงฆท์ สวรรค ๑๐ รูป สงฆว์ สี ตวิ รรค ๒๐ รูป แต่ถา้ ชมุ นุมภกิ ษุ ๒-๓ รูป เรยี กวา่ คณะ ถา้ พระภกิ ษุรูปเดยี ว จดั เป็นบคุ คล2 สรุปค�ำว่าสงฆ์ ตามความเขา้ ใจทวั่ ไปคือพระภิกษุในพระพุทธศาสนา เป็นหมู่ชนท่ีฟงั ค�ำสงั่ สอน ของพระพทุ ธเจา้ แลว้ ปฏบิ ตั ติ ามคำ� สงั่ สอนนนั้ และสงั่ สอนบคุ คลอน่ื ใหร้ ูต้ ามดว้ ย ตามนยั แห่งพระสูตร หมายถงึ ท่านผูม้ คี ุณสมบตั ิดงั กล่าวแมเ้ พยี งรูปเดียวก็เรียกว่าพระสงฆ์ แต่ในความหมายทางพระวนิ ยั หมายเอาภกิ ษุ ตง้ั แต่ ๔ รูปข้นึ ไปจงึ ไดช้ ่อื วา่ พระสงฆ3์ พระสงฆเ์ ป็นสถาบนั บคุ คลทเ่ี กดิ ข้นึ ตามการตรสั รูข้ องพระพทุ ธเจา้ ผา่ นวธิ กี ารอปุ สมบทตามทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ทรงอนุญาตไว้ ทำ� หนา้ ทใ่ี นการรกั ษาและสบื ทอดพระพทุ ธศาสนาจากรุ่นสู่รุ่นสบื ต่อกนั มาจนถงึ ปจั จบุ นั พระผูม้ พี ระภาคทรงเป็นพระบรมศาสดาของพระศาสนา แลว้ ทรงแต่งตงั้ อคั รสาวก และมหาสาวกในฐานะ ผูเ้ลศิ ทางดา้ นต่าง ๆ (ทเ่ี รยี กว่า เอตทคั คะ) เป็นใหญ่เป็นผูเ้ช่ยี วชาญชำ� นาญการในคุณวเิ ศษนน้ั ๆ เพอ่ื เป็น แบบอย่างและเป็นธรรมาจารยส์ งั่ สอนกลุ บตุ รและมหาชน ในสมยั แรกพระพทุ ธเจา้ ทรงปกครองครองคณะสงฆด์ ว้ ยพระองคเ์ อง โดยใชห้ ลกั ธรรมวธิ ี คอื การอบรม สงั่ สอนธรรมะใหพ้ ระสาวกเขา้ ถงึ ธรรมและบรรลธุ รรมเพอ่ื ใหเ้กดิ ความทราบซ้งึ ในสจั ธรรมทพ่ี ระพทุ ธองคไ์ ดท้ รง ตรสั รู้ ดงั เช่นการพระสาวก ๖๐ รูปชดุ แรก4 ทส่ี ่งออกไปพระกาศพระศาสนาในช่วงปฐมโพธกิ าล พระอรยิ สงฆ์ 1 พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ ราชบณั ฑิต, พจนานุกรมเพ่ือการศึกษาพุทธศาสน์ ชุดค�ำวดั , (กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พเ์ ลย่ี งเชยี ง, ๒๕๕๖), หนา้ ๑๐๕๔. 2 พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพทุ ธศาสตร์ ฉบบั ประมวลศพั ท์ (ช�ำระ-เพ่มิ เติม ช่วงท่ี ๑), พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๑๒, (กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พม์ หาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๕๑), หนา้ ๓๙๔. 3 พระโสภณคณาภรณ์ (ระแบบ ิตาโณ), ประวตั ศิ าสตรพ์ ระพทุ ธศาสนา, (กรุงเทพมหานคร : ศิวพร, ๒๕๒๘), หนา้ ๖๑. 4 ว.ิ ม. (ไทย) ๔/๓๒/๔๐. 10. - 10 (314-381).indd 316 5/10/2022 1:00:14 PM

บทท่ี ๑๐ ประวตั กิ ารปกครองคณะสงฆไ์ ทย 317 ชดุ แรกพระพทุ ธองคจ์ ะทรงเป็นผูอ้ ปุ สมบทใหท้ งั้ ส้นิ เรยี กวา่ “เอหภิ กิ ขอุ ปุ สมั ปทา” ต่อมาใหพ้ ระอคั รสาวก และ พระผูใ้ หญ่แบง่ ภาระหนา้ ทใ่ี นการบรหิ ารกจิ การคณะสงฆใ์ นตำ� แหนงหนา้ ทท่ี แ่ี ต่ละรูปมคี วามถนดั เม่ือพระสงฆม์ ากข้นึ จึงทรงมอบหมายใหพ้ ระอุปชั ฌายด์ ูแลแทน แต่พระองคก์ ็ทรงใหค้ วามเคารพ และปฏบิ ตั ติ ามมตขิ องสงฆท์ กุ ประการ ทง้ั น้ี เพอ่ื ใหม้ ตขิ องสงฆม์ คี วามศกั ด์สิ ทิ ธ์ทิ ภ่ี กิ ษุทกุ รูปจะตอ้ งปฏบิ ตั ติ าม และเป็นการฝึกฝนใหภ้ ิกษุทงั้ หลายคุน้ เคยกบั การปกครองในระบอบสามคั คีธรรม มกี ารประชุมพิจารณา แกไ้ ขปญั หา ตดั สนิ ใจเก่ียวกบั กิจการของสงฆร์ ่วมกนั เคารพความคิดเห็นกนั และกนั โดยยึดพระธรรมวนิ ั ยเป็นหลกั ใชห้ ลกั ธรรมวนิ ยั เคร่ืองตดั สนิ เคารพนบั ถอื กนั ตตามลำ� ดบั พรรษาทบ่ี วชก่อนหลงั ทเ่ี ยกว่าระแบบ “ภนั เต และ อาวโุ ส” ในการปกครองคณะสงฆใ์ นระยะแรก (ช่วงพรรษา ๑ - ๒๐) พระพทุ ธเจา้ ทรงปกครองโดยพระองค์ ต่อมาพระองคท์ รงบญั ญตั พิ ระวนิ ยั และใชพ้ ระวนิ ยั เป็นระเบยี บและเคร่อื งมอื ในการปกครองและใหก้ ารศึกษา คณะสงฆ์ พระภกิ ษุตอ้ งอยู่ภายใตพ้ ระธรรมวนิ ยั และตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามโดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ออกจากทกุ ขแ์ ละ ทำ� พระนิพพานใหแ้ จง้ ซ่งึ เป็นหมายสูงสุดของพระศาสนา ดงั ขอ้ ความท่วี ่า “พระผูม้ พี ระภาคทรงแสดงธรรม โดยประการต่าง ๆ เพอ่ื สำ� รอกราคะ เพอ่ื สร่างความเมา เพอ่ื ดบั ความกระหาย เพอ่ื ถอนความอาลยั เพอ่ื ตดั วฏั ฏะ เพอ่ื ความส้นิ ตณั หา เพอ่ื คลายความกำ� หนดั เพอ่ื ดบั ทกุ ข์ เพอ่ื นพิ พาน”5 ในวนั อปุ สมบทในปจั จบุ นั พระภกิ ษุจะกลา่ วคำ� ขอบวชกบั พระอปุ ชั ฌาย์ เพอ่ื ยนื ยนั วา่ ตนเองออกบวชมา เพราะความเลอ่ื มใสศรทั ธาเพราะมพี ระนิพพานเป็นเป้าหมาย สมกบั คำ� สวดทว่ี า่ “สพฺพทกุ ขฺ นิสสฺ รณนิพฺพานสจฺฉิกรณตถฺ าย อมิ ํ กาสาวํ คเหตวฺ า ปพฺพเชถ มํ ภนฺเต” ขา้ แต่พระอปุ ชั ฌาย์ ผูเ้จรญิ ขอท่านจงรบั ผา้ กาสาวะแลว้ บวชใหข้ า้ พเจา้ ดว้ ยเถดิ เพอ่ื ขา้ พเจา้ จะไดป้ ระพฤตปิ ฏบิ ตั กิ ำ� จดั ทกุ ขท์ งั้ ปวง ใหส้ ้นิ ไป และกระทำ� พระนพิ พานใหแ้ จง้ ” เมอ่ื เป้าหมายอยู่ทก่ี ารทำ� พระนิพพานใหแ้ จง้ ชดั เจนอย่างนนั้ พระภกิ ษุทอ่ี ปุ สมบทเขา้ มาแลว้ จงึ ตอ้ งมงุ่ มนั่ ฝึกฝนอบรมตนเองใหย้ ง่ิ ๆ ข้นึ ไป ทง้ั คนั ถธุระและวปิ สั สนาเพอ่ื ใหบ้ รรลเุ ป้าหมายในแต่ละขน้ั ตอนคอื ปรยิ ตั ิ ปฏบิ ตั ิ และปฏเิ วธ ตามลำ� ดบั ลกั ษณะการปกครองสงฆต์ ามหลกั พระธรรมวนิ ยั การปกครองคณะสงฆ์ในสมยั พุทธกาลน้ัน พระพุทธองค์ทรงใชห้ ลกั พระธรรมวินัย กล่าวคือ ทรงแสดงธรรม และบญั ญตั ิพระวนิ ยั ดงั ปจั ฉิมโอวาทท่ไี ดต้ รสั ว่า “อานนท์ ธรรมและวนิ ยั ท่เี ราแสดงแลว้ บญั ญตั แิ ลว้ แก่เธอทง้ั หลาย หลงั จากเราลว่ งลบั ไป กจ็ ะเป็นศาสดาของเธอทงั้ หลาย”6 การบรหิ ารกจิ การคณะสงฆ์ และกจิ การพระศาสนา ทรงวนิ จิ ฉยั อธกิ รณต์ ่าง ๆ ทเ่ี กดิ ข้นึ โดยสงฆ์ มพี ระองคเ์ ป็นธรรมราชา เป็นสงั ฆปรนิ ายก 5 ว.ิ มหา. (ไทย) ๑/๓๘/๒๖. 6 ท.ี ม. (ไทย) ๑๐/๒๑๖/๑๖๔. 10. - 10 (314-381).indd 317 5/10/2022 1:00:15 PM

318 ประวตั พิ ระพทุ ธศาสนา มพี ระสารีบุตรเป็นพระธรรมเสนาบดี พรอ้ มพระโมคคลั ลานะและพระเถระทง้ั หลาย ทรงมอบใหส้ งฆเ์ ป็น สมานสงั วาสกนั เป็นไปตามพระธรรมวนิ ยั และตอ้ งมมี ตเิ ป็นเอกฉนั ท์ การปกครองลกั ษณะน้ีสามารถแยกกลา่ ว ไดเ้ป็น ๓ ลกั ษณะ ดงั น้ี ๑. การปกครองสงั คมสงฆโ์ ดยพระวินัย มกี ารบญั ญตั ิพระวนิ ยั เพอ่ื ใชป้ กครองสงฆ์ หรือใชเ้ ป็นหลกั ปฏบิ ตั ขิ องภกิ ษุ แต่พระวนิ ยั น้ี เป็นพทุ ธบญั ญตั ิ พทุ ธอาณาทง้ั หมด หาใช่สงฆห์ รอื ตวั แทนสงฆบ์ ญั ญตั ไิ ม่ ใน การบญั ญตั ิพระวนิ ยั นน้ั มสี ุดประสงคห์ รือเจตนารมณ์ท่ชี ดั เจนอย่างย่งิ ว่า ทำ� ไปทำ� ไม ทำ� เพอ่ื ใหเ้ กิดผลอะไร ข้นึ มา ดงั พทุ ธพจนว์ า่ “ภกิ ษุทง้ั หลาย เพราะเหตนุ นั้ เราจะบญั ญตั สิ กิ ขาบทแก่ภกิ ษุทงั้ หลาย โดยอาศยั อำ� นาจ ประโยชน์ ๑๐ ประการ คอื (๑) เพอ่ื ความรบั วา่ ดแี ห่งสงฆ์ (๒) เพอ่ื ความผาสุกแห่งสงฆ์ (๓) เพอ่ื ขม่ บคุ คลผู ้ เกอ้ ยาก (๔) เพอ่ื ความอยู่ผาสุกแห่งเหลา่ ภกิ ษุผูม้ ศี ีลดงี าม (๕) เพอ่ื ปิดกนั้ อาสวะทง้ั หลายอนั จะบงั เกดิ ในปจั จบุ นั (๖) เพอ่ื กำ� จดั อาสวะทงั้ หลายอนั จะบงั เกดิ ในอนาคต (๗) เพอ่ื ความเลอ่ื มใสของคนทย่ี งั ไมเ่ ลอ่ื มใส (๘) เพอ่ื ความ เลอ่ื มใสยง่ิ ข้นึ ไปของคนทเ่ี ลอ่ื มใสแลว้ (๙) เพอ่ื ความตงั้ มนั่ แห่งสทั ธรรม (๑๐) เพอ่ื เอ้อื เฟ้ือวนิ ยั ”7 การบญั ญตั พิ ระวนิ ยั พระพทุ ธองคม์ วี ตั ถปุ ระสงคท์ ช่ี ดั เจน เพราะเป็นเจตนาของวนิ ยั บญั ญตั ิ จงึ ไม่ได้ กลา่ วถงึ บทลงโทษไว้ แต่เมอ่ื มผี ูพ้ ระทำ� ความผดิ หรอื ลว่ งละเมดิ จงึ ไดร้ ะบคุ วามผดิ นนั้ ลงไปว่า ส่วนใดมโี ทษ อย่างไร คอื โทษสถานหนกั (ครุกาบตั ิ คอื อาบตั หิ นกั ) หรอื โทษสถานเบา (ลหกุ าบตั ิ คอื อาบตั เิ บา) ต่อมา พระธรรมวนิ ยั ทพ่ี ระองคท์ รงบญั ญตั ไิ ว้แสดงไวไ้ ดก้ ลายมาเป็นตวั แทนของพระองค์ คอื เป็นศาสดา ท่ีสบื ทอดมาจนถงึ ปจั จุบนั ดงั จะเห็นไดจ้ ากการท่ีพระเทวทตั ถูกความอยากครอบงำ� จิต คิดอยากปกครอง คณะสงฆแ์ ทนพระพทุ ธเจา้ ตง้ั ใจการทำ� ลายสงฆ์ ทำ� ลายจกั ร8 จงึ ทูลขอพร ๕ ประการ9 แต่พระองคท์ รงตอบ ปฏเิ สธวา่ “อย่าเลยเทวทตั เธออย่าพอใจการทำ� ลายสงฆ์ เพราะการทำ� ลายสงฆ์ มโี ทษหนกั รูปใดทำ� ลายสงฆ์ ทพ่ี รอ้ มเพรยี งกนั ผูน้ น้ั จะประสบโทษนานตลอดกปั ถกู ไฟไหมใ้ นนรกนานตลอดกปั ”10 แต่ทรงมอบใหพ้ ระธรรม 7 ว.ิ มหา. (ไทย) ๑/๓๙/๒๘/๒๙. ขอ้ ๑, ๒ ทรงบญั ญตั เิ พอ่ื ประโยชนแ์ ก่ส่วนรวมคอื สงฆ,์ ขอ้ ๓, ๔ ทรงบญั ญตั ิ เพอ่ื ประโยชนแ์ ก่บคุ คล, ขอ้ ๕, ๖ ทรงบญั ญตั เิ พอ่ื ประโยชนแ์ ก่ความบรสิ ุทธ์หิ รอื แก่ชวี ติ , ขอ้ ๗, ๘ ทรงบญั ญตั เิ พอ่ื ประโยชน์ แก่ประชาชน, ขอ้ ๙, ๑๐ ทรงบญั ญตั เิ พอ่ื ประโยชนแ์ ก่พระศาสนา, ขอ้ ๑๐ คำ� วา่ “เพอ่ื เอ้อื เฟ้ือวนิ ยั ” หมายถงึ เพอ่ื เชดิ ชู คำ�้ จนุ ประคบั ประคองพระวนิ ยั ๔ อย่าง คอื สงั วรวนิ ยั ปหานวนิ ยั สมถวนิ ยั บญั ญตั วิ นิ ยั อา้ งใน ว.ิ อ. (บาล)ี ๑/๓๙/๒๓๖-๒๓๗. 8 ทำ� ลายสงฆ์ คอื ทำ� สงฆใ์ หแ้ ตกจากกนั , ทำ� ลายจกั ร คอื ทำ� ลายหลกั คำ� สอน (จกกฺ เภทายาติ อาณาเภทาย) อา้ งใน ว.ิ อ. (บาล)ี ๒/๔๑๐/๑๐๘, “จกกฺ เภทนฺติ สาสนเภทํ ฯ อา้ งใน วชริ .ฏกี า. (บาล)ี ๓๔๓/๖๘๐. 9 วตั ถุ ๕ ประการของพระเทวทตั ไดแ้ ก่ (๑) ภกิ ษุทงั้ หลายควรอยู่ป่าตลอดชวี ติ ภกิ ษุรูปใดเขา้ บา้ น ภกิ ษุรูปนน้ั มโี ทษ (๒) ภกิ ษุทง้ั หลายควรเทย่ี วบณิ ฑบาตตลอดชวี ติ ภกิ ษุรูปใดยนิ ดกี จิ นมิ นตภ์ กิ ษุรูปนน้ั มโี ทษ (๓) ภกิ ษุทง้ั หลายควรถอื ผา้ บงั สุกลุ ตลอดชวี ติ ภกิ ษุรูปใดยนิ ดผี า้ คหบดี ภกิ ษุรูปนนั้ มโี ทษ (๔) ภกิ ษุทงั้ หลายควรอยู่โคนไมต้ ลอดชวี ติ ภกิ ษุรูปใดอาศยั ทม่ี งุ ทบ่ี งั ภกิ ษุ รูปนน้ั มโี ทษ (๕) ภกิ ษุทง้ั หลายไมค่ วรฉนั ปลาและเน้ือตลอดชวี ติ ภกิ ษุรูปใดฉนั ปลาและเน้ือภกิ ษุรูปนนั้ มโี ทษ’ ฯ อา้ งใน ว.ิ มหา. (ไทย) ๑/๔๐๙/๔๔๑-๔๔๒. 10 ว.ิ จู. (ไทย) ๗/๓๔๓/๒๐๒. 10. - 10 (314-381).indd 318 5/10/2022 1:00:15 PM

บทท่ี ๑๐ ประวตั กิ ารปกครองคณะสงฆไ์ ทย 319 วนิ ยั เป็นใหญ่ เป็นเคร่อื งมอื ในการบรหิ ารปกครองสงฆแ์ ละการคณะสงฆ์ โดยมไิ ดม้ อบอำ� นาจใหก้ บั ภกิ ษุรูปใด รูปหน่ึง ๒. การปกครองสงฆโ์ ดยการกระจายอำ� นาจ การกระจายอำ� นาจในท่นี ้ีคือการกระจายอำ� นาจดา้ นการ บรหิ าร ในสมยั ทย่ี งั พระพระสาวกไม่มากนกั พระพทุ ธองคท์ รงบรกิ ารกจิ การพระพทุ ธศาสนาดว้ ยพระองคเ์ อง (คอื ทำ� การอปุ สมบทดว้ ยพระองคเ์ อง แบบเอหภิ กิ ขอุ ปุ สมั ปทา) ต่อมาทรงใหพ้ ระสาวกช่วยแบง่ เบาภาระ โดยมี พระโมคคคลั ลานะและพระสารบี ตุ ร ผูเ้ป็นอคั รสาวกซา้ ยขวาเป็นผูช้ ่วยภารธุระตามความจำ� เป็น ต่อมาเมอ่ื มจี ำ� นวน ผูเ้ ขา้ มาบวชในพระพุทธศาสนาเพ่มิ มากข้นึ ก็ไดท้ รงอนุญาตใหพ้ ระสาวกใหก้ ารอุปสมบทแก่ผูท้ ่ีเขา้ มาบวช เหลา่ นนั้ ได้ ดว้ ยวธิ ี “ตสิ รณคมนูปสมั ปทา” คอื การอปุ สมบทโดยวธิ ปี ฏญิ าณตนถงึ พระไตรสรณคมน์ เป็นการ อปุ สมบทในยุคตน้ พทุ ธกาล เพยี งแต่วา่ ปฏญิ าณตนถงึ พระรตั นตรยั ต่อหนา้ พระอาจารยก์ ส็ ำ� เรจ็ เป็นพระภกิ ษุ11 ครน้ั ต่อมาเมอ่ื มภี กิ ษุเพม่ิ มากข้นึ อกี พระองคก์ ท็ รงมอบความเป็นใหญ่ใหแ้ ก่สงฆเ์ ป็นผูด้ ำ� เนนิ การใหอ้ ปุ สมบทเอง เรียกว่า “ญตั ติจตุตถกรรม” คือกรรมท่มี บี ญั ญตั ิเป็นท่สี ่ี ไดแ้ ก่ สงั ฆกรรมท่สี ำ� คญั มกี ารอุปสมบท เป็นตน้ ซง่ึ เมอ่ื ตงั้ ญตั ตแิ ลว้ ตอ้ งสวดอนุสาวนาคำ� ประกาศขอมตถิ งึ ๓ หน เพอ่ื สงฆค์ อื ทช่ี มุ นุมนน้ั จะไดม้ เี วลาพจิ ารณา หลายเท่ยี วว่าจะอนุมตั ิหรือไม่ ญตั ติจตุตถกมั มอุปสมั ปทา การอุปสมบทดว้ ยญตั ติจตุตถกรรม ไดแ้ ก่ วธิ ี อปุ สมบททส่ี งฆเ์ ป็นผูก้ ระทำ� อย่างทใ่ี ชอ้ ยู่ในปจั จบุ นั โดยภกิ ษุประชมุ ครบองคก์ ำ� หนด ในเขตชมุ นุมซง่ึ เรยี กว่า สีมา กล่าววาจาประกาศเร่ืองความท่ีจะรบั คนนนั้ เขา้ หมู่ยินยอมของภิกษุทง้ั ปวงผูเ้ ขา้ ประชุมเป็นสงฆน์ น้ั มพี ระราธะเป็นบคุ คลแรกทไ่ี ดร้ บั อปุ สมบทอย่างน้ี12 นอกจากน้ี พระพทุ ธองคย์ งั ไดม้ อบอำ� นาจความเป็นใหญ่ ใหแ้ ก่สงฆใ์ นการทำ� สงั ฆกรรมอ่นื ไดแ้ ก่ การกรานกฐนิ การกำ� หนดเขตสมี า และ การระงบั อธิกรณ์ เป็นตน้ ซง่ึ กเ็ ท่ากบั วา่ ใหค้ ณะสงฆเ์ ป็นผูบ้ รหิ ารงานพระศาสนาตามระเบยี บทไ่ี ดก้ ำ� หนดไวต้ ามพทุ ธานุญาตนน้ั เอง ๓. การปกครองในดา้ นตลุ าการ สถาบนั ตลุ าการในทางพระพทุ ธศาสนานนั้ มเี จตนาร่วมเบ้อื งตน้ ในการ อยู่ร่วมกนั อย่างสมคั รสมานสามคั คตี ามวตั ถปุ ระสงคข์ องการบญั ญตั พิ ระวนิ ยั ๑๐ ประการ แต่กต็ รสั เจตนารมณ์ ในการปกครองไวว้ า่ “นคิ ฺคณฺเห นิคฺคหารหํ ปคฺคณฺเห ปคฺคหารห”ํ พงึ ขม่ บคุ คลทค่ี วรขม่ พงึ ยกย่องบคุ คลทค่ี วร 11 ติสรณคมนูปสมั ปทา, ไตรสรณคมนูปสมั ปทา, ติสรณคมนอุปสมั ปทา หรือ ไตรสรณคมนอุปสมั ปทา แปลว่า การอปุ สมบทดว้ ยการเขา้ ถงึ ไตรสรณะ หมายถงึ การบวชเป็นภกิ ษุโดยการรบั ไตรสรณคมน์ หมายถงึ การอปุ สมบทเป็นภกิ ษุ แบบหน่ึงในพระพทุ ธศาสนา กลา่ วคือ ในสมยั ตน้ พทุ ธกาล พระพทุ ธเจา้ ประทานอปุ สมบทเอง เรียกว่า เอหภิ กิ ขอุ ปุ สมั ปทา ต่อมา ทรงอนุญาตใหพ้ ระสาวกบวชกลุ บตุ รใหเ้ป็นภกิ ษุไดโ้ ดยวธิ ใี หก้ ลุ บตุ รนน้ั รบั ไตรสรณคมนเ์ ท่านน้ั ซง่ึ การบวชแบบน้ีสำ� เรจ็ ไดโ้ ดยบคุ คล คอื พระสาวกรูปใดรูปหน่ึงก็สามารถบวชกลุ บตุ รได้ ต่อมาทรงอนุญาตวธิ กี ารอปุ สมบทโดยสงฆ์ คอื ใหท้ ำ� เป็น สงั ฆกรรมทเ่ี รยี กวา่ แบบญตั ตจิ ตตุ ถกรรมวาจา จงึ เลกิ วธิ บี วชพระแบบตสิ รณคมนูปสมั ปทา แต่ทรงอนุญาตใหใ้ ชว้ ธิ นี ้บี วชสามเณร ซง่ึ ถอื ปฏบิ ตั กิ นั มาตราบเท่าทกุ วนั น้ี ฯ อา้ งใน พระธรรมกติ ตวิ งศ์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ ราชบณั ฑติ , พจนานุกรมเพอ่ื การศึกษา พทุ ธศาสน์ ชดุ คำ� วดั , หนา้ ๒๘๗. 12 พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโฺ ต), พจนานุกรมพทุ ธศาสตร์ ฉบบั ประมวลศพั ท์ (ช�ำระ-เพม่ิ เตมิ ช่วงท่ี ๑), หนา้ ๘๙. 10. - 10 (314-381).indd 319 5/10/2022 1:00:15 PM

320 ประวตั พิ ระพทุ ธศาสนา ยกย่อง13 แต่ว่ากล่าวถงึ ลกั ษณะการลงโทษคลา้ ยกบั ทางตุลาการฝ่ายอาณาจกั ร มกี ฎ มรี ะเบยี บ มขี นั้ ตอน มกี ระบวนการ มขี อ้ วนิ จิ ฉยั ตดั สนิ ถกู หรอื ผดิ ตามพระธรรมวนิ ยั โดยอาศยั มตสิ งฆท์ เ่ี ป็นเอกฉนั ท์ แลว้ มวี ธิ กี าร ลงโทษตามโทษานุโทษ คอื การละเมดิ อาบตั หิ นกั หรอื อาบตั เิ บาตามสกิ ขาบทบญั ญตั ทิ ก่ี ำ� หนดไวแ้ ลว้ สรปุ การปกครองคณะสงฆ์ หรอื งานดา้ นการปกครอง เป็นงานทจ่ี ะตอ้ งดำ� เนนิ การเพอ่ื ใหเ้กดิ ความเรยี บรอ้ ย ดงี ามในคณะสงฆ์ อนั ประกอบไปดว้ ยงานท่เี ก่ียวขอ้ งคือ (๑) การรบั บุคคลเขา้ เป็นสมาชิกองคก์ รคณะสงฆ์ (๒) การบญั ญตั พิ ระธรรมวนิ ยั (๓) การวางระเบยี บการลงโทษ (๔) การตดั สนิ อธกิ รณ์ ๕) การส่งเสรมิ ความ สามคั คี (๖) การทำ� สงั ฆกรรมประเภทต่าง ๆ ๑๐.๓ การปกครองสมยั หลงั พทุ ธกาล ลกั ษณะการปกครองคณะสงฆ์ หลงั จากพระพทุ ธเจา้ ปรนิ ิพพาน พระสงฆต์ อ้ งอยู่ภายใตพ้ ระธรรมวนิ ยั ทไ่ี ดบ้ ญั ญตั ไิ วแ้ ลว้ และทไ่ี ดแ้ สดงไวแ้ ลว้ 14 และอำ� นาจการปกครองข้นึ อยู่กบั คณะสงฆ์ (หมสู่ งฆ)์ ซง่ึ สอดคลอ้ ง กบั การทพ่ี ระพทุ ธองคท์ รงมอบภาระทส่ี ำ� คญั คือการบรรพชาอปุ สมบทใหก้ บั พระเถระผูท้ รงภูมริ ูแ้ ละภูมธิ รรม ร่วมกบั คณะสงฆ์ ถา้ เป็นเขตเมอื งตอ้ งประกอบดว้ ยคณะสงฆอ์ ย่างนอ้ ย ๑๐ รูป ส่วนเขตชนบทตอ้ งประกอบดว้ ย คณะสงฆอ์ ย่างนอ้ ย ๕ รูป ร่วมกนั พจิ ารณาอนุญาตใหก้ ลุ บตุ รเขา้ มาเป็นสมาชกิ ของสงฆ์ และร่วมกนั ดูแลอบรม สงั่ สอนโดยมอี ปุ ชั ฌาย์ หรอื อาจารยเ์ ป็นหลกั สำ� คญั พระอปุ ชั ฌาย์ คอื ความหมายโดยพยญั ชนะวา่ ผูเ้ขา้ ไปเพง่ หมายถงึ ผูร้ บั รองกลุ บตุ รเขา้ รบั การอปุ สมบท ในทา่ มกลางภกิ ษุสงฆ์ เป็นทง้ั ผูน้ ำ� เขา้ หมู่ เป็นทงั้ ผูป้ กครองผูค้ อยดูแลเอาใจใส่ คอยดูแลผดิ และชอบ คอยแนะนำ� พรำ�่ เตือนสทั ธิวหิ าริก(ลูกศิษย)์ ของตน ทำ� หนา้ ท่ฝี ึกสอนอบรมใหก้ ารศึกษาต่อไป อุปชั ฌายใ์ นฝ่ายภกิ ษุณี เรยี กวา่ “ปวตั ตนิ ี”15 ซง่ึ กค็ อื พระเถระผูท้ ำ� หนา้ ทเ่ี ป็นประธานในการบวชกลุ บตุ รในพระพทุ ธศาสนา เรยี กทวั่ ไปวา่ พระอปุ ชั ฌาย์ พระอปุ ชั ฌายม์ หี นา้ ทห่ี ลกั ๒ อย่างคอื เป็นผูร้ บั ผดิ ชอบ และรบั รองผูบ้ วชในพธิ บี รรพชาอปุ สมบทและ เป็นผูร้ บั ปกครองดูแล แนะนำ� ตกั เตอื นและตดิ ตามความเป็นอยู่ของผูท้ ต่ี นบวชให้เหมอื นบดิ าปกครองดูแลบตุ ร หมายความวา่ ใหค้ ำ� แนะนำ� การปฏบิ ตั ติ ามหลกั ไตรสกิ ขาทเ่ี ป็นไปตามกระบวนการหรอื ตามลำ� ดบั ขน้ั ของการศกึ ษา มกี ารจดั สภาพการณ์ทเ่ี อ้อื อำ� นวยต่อการศึกษาของพระภกิ ษุ ดงั น้ี16 (๑) การแต่งตง้ั ผูใ้ หก้ ารอบรมศึกษาหรอื แสดงธรรม (๒) การใหถ้ อื อปุ ชั ฌายห์ รอื อาจารย์ (๓) การใหถ้ อื นิสยั (๔) สทั ธวิ หิ ารกิ วตั ร (๕) อนั เตวาสกิ วตั ร 13 ข.ุ ชา. (ไทย) ๒๗/๑๙/๕๙๗. 14 ที ม. (ไทย) ๑๐/๒๑๖/๑๖๔. 15 พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยุตโฺ ต), พจนานุกรมพทุ ธศาสตร์ ฉบบั ประมวลศพั ท์ (ช�ำระ-เพม่ิ เตมิ ช่วงท่ี ๑), หนา้ ๕๖๙. 16 ม.อุ (ไทย) ๑๔/๗๔/๗๘. 10. - 10 (314-381).indd 320 5/10/2022 1:00:15 PM

บทท่ี ๑๐ ประวตั กิ ารปกครองคณะสงฆไ์ ทย 321 อาจารย์ คือ ผูส้ งั่ สอนวชิ าความรู,้ ผูฝ้ ึกหดั อบรมมรรยาท, อาจารย์ ๔ คือ (๑) บพั พชาจารย์ หรือ บรรพชาจารย์ อาจารยใ์ นบรรพชา (๒) อปุ สมั ปทาจารย์ อาจารยใ์ นอปุ สมบท (๓) นิสสยาจารย์ อาจารยผ์ ูใ้ หน้ ิสสยั (๔) อทุ เทศาจารย์ หรอื ธรรมาจารย์ อาจารยผ์ ูส้ อนธรรม17 อปุ ชั ฌายแ์ ละอาจารยน์ ้เี อง เป็นผูท้ ำ� หนา้ ทป่ี กครองคณะสงฆใ์ นยุคหลงั พทุ ธกาล โดยอาศยั พระธรรมวนิ ยั เป็นเครอ่ื งมอื ในการอบรมสงั่ สอนใหส้ ทั ธวิ หิ ารกิ และอนั เตวาสกิ ประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ ามพระธรรมวนิ ยั ทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ทรงสงั่ สอนเอาไว้ เมอ่ื มกี ารกระทำ� ผดิ กล็ งโทษไปตามโทษานุโทษนนั้ ๆ การปกครองคณะสงฆห์ ลงั พทุ ธกาลไดย้ ดึ หลกั พระธรรมวนิ ยั เป็นรูปแบบในการปกครอง ตามพทุ ธประสงค์ ทไ่ี ดว้ างเดมิ ภายหลงั มพี ระสงฆบ์ างกลมุ่ บางรูปไดพ้ ยายามประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นใหผ้ ดิ เพ้ยี นไปจากพระธรรมวนิ ยั คณะสงฆส์ ่วนมากซง่ึ เป็นผูเ้ คร่งครดั ในพระธรรมวนิ ยั ไดม้ คี วามเหน็ ร่วมกนั การทบทวนและจดั ระบบ ของพระธรรมวนิ ยั ใหเ้ป็นหมวดหมู่ เพอ่ื ป้องกนั ความเหน็ ผดิ การปฏบิ ตั ติ นและความมนั่ คงแห่งพระพทุ ธศาสนา ในอนาคต จงึ ไดจ้ ดั ทำ� สงั คายนาเพอ่ื รกั ษาพระธรรมวนิ ยั ใหด้ ำ� รงอยู่ต่อไป ฉะนน้ั จะกล่าวถงึ การปกครองคณะสงฆส์ มยั หลงั พทุ ธกาลอนั เป็นการปกครองคณะสงฆท์ ่เี กิดข้นึ ใน ประเทศอนิ เดยี สมยั ของการทำ� สงั คายนาครง้ั ท่ี ๑-๓ ระหวา่ งหลงั พทุ ธปรนิ ิพพานถงึ ประมาณ พ.ศ. ๒๓๔ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)18 กล่าวว่าวธิ ีรกั ษาพระพุทธพจนก์ ็คือการรวบรวมคำ� สงั่ สอนท่ี พระพทุ ธเจา้ ไดต้ รสั ไว้ แลว้ กำ� หนดหมวดหมใู่ หก้ ำ� หนดจดจำ� ไดง้ า่ ย และซกั ซอ้ มทบทวนกนั จนลงตวั แลว้ สวด สาธยายพรอ้ มกนั แสดงความยอมรบั เป็นแบบแผนเพอ่ื ทรงจำ� สบื ต่อกนั มา วธิ นี ้ีเรยี กวา่ สงั คายนา หรอื สงั คตี ิ ซง่ึ แปลตามตวั อกั ษรวา่ การสวดพรอ้ มกนั จาก สํ พรอ้ มกนั + คายน หรอื คตี ิ การสวด กลา่ วโดยสรปุ การสงั คายนา คอื การรอ้ ยกรองหรอื รวบรวมพระธรรมวนิ ยั ของพระพทุ ธเจา้ ทก่ี ระจดั กระจาย อยู่ใหเ้ขา้ เป็นหมวดหม่อู ย่างเป็นระเบยี บ มกี ารซกั ซอ้ มทบทวนแลว้ สวดพรอ้ มกนั และมกี ารสบื ทอดกนั มาดว้ ย วธิ กี ารท่องจำ� ดว้ ยปากเปลา่ เรยี กวา่ มขุ ปาฐะ ช่วงหลงั ไดจ้ ารกึ เป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร เรยี กวา่ โปตถกาโรปนะ การสงั คายนามคี วามสำ� คญั ต่อพระพทุ ธศาสนาเป็นอย่างมากโดยเฉพาะหลกั จากทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ปรนิ พิ พาน ช่วงการทำ� สงั คายนาครงั้ แรก เมอ่ื พระภกิ ษุในพระพทุ ธศาสนา (พระสุภทั ทะ) กลา่ วจว้ งจาบพระธรรมวนิ ยั เป็นการ ใสค่ วามพระพทุ ธศาสนาดว้ ยประการต่างๆ ทำ� ใหพ้ ระพทุ ธศาสนามวั หมอง เป็นหนา้ ทข่ี องพทุ ธสาวกทเ่ี ป็นบรรพชติ ตอ้ งทำ� อย่างใดอย่างหน่ึง เพอ่ื ใหร้ ูว้ า่ พระพทุ ธศาสนากลา่ วหลกั การไวอ้ ย่างไร สง่ิ นน้ั คอื การสงั คายนา การทำ� สงั คายนาครง้ั ท่ี ๒ เมอ่ื มกี ารประพฤตปิ ฏบิ ตั แิ ตกต่างกนั ออกไปในพระธรรมวนิ ยั เดยี วกนั เป็นการ ทำ� ตนใหว้ ปิ รติ จากพระธรรมวนิ ยั ฝ่ายทป่ี ฏบิ ตั ติ ามแบบดงั้ เดมิ ทนไมไ่ ด้ ทม่ี ผี ูป้ ฏบิ ตั แิ ตกต่างออกไป พยายาม 17 พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยุตโฺ ต), พจนานุกรมพทุ ธศาสตร์ ฉบบั ประมวลศพั ท์ (ช�ำระ-เพม่ิ เตมิ ช่วงท่ี ๑), หนา้ ๕๓๘. 18 พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยุตโฺ ต), พระไตรปิฎก สง่ิ ท่ชี าวพทุ ธตอ้ งรู,้ พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๙, (กรุงเทพมหานคร : บรษิ ทั พมิ พส์ วย จำ� กดั , ๒๕๔๙), หนา้ ๑๓. 10. - 10 (314-381).indd 321 5/10/2022 1:00:15 PM

322 ประวตั พิ ระพทุ ธศาสนา จะใหอ้ กี ฝ่ายหน่ึงหนั มาปฏบิ ตั เิ ช่นเดยี วกบั ตน แต่เมอ่ื เป็นไปไมไ่ ด้จงึ ตอ้ งรกั ษาหลกั การเดมิ ของตน สง่ิ น้ีเรยี กวา่ การสงั คายนา การทำ� สงั คายนาครงั้ ท่ี ๓ เมอ่ื มผี ูม้ คี วามคดิ เหน็ เป็นอย่างอน่ื จากพระพทุ ธศาสนา แต่เขา้ มาบวชเพราะเหน็ แก่ปากแก่ทอ้ ง แลว้ แสดงความคิดเหน็ ของตนว่าเป็นพระพทุ ธศาสนา สง่ิ นนั้ เป็นอนั ตรายต่อพระพทุ ธศาสนา อย่างยง่ิ เพราะเป็นการทำ� พระธรรมวนิ ยั ใหว้ ปิ รติ ไป การสงั คายนาช่วยทำ� ใหเ้กดิ ทฏิ ฐสิ ามญั ญตา คอื ความเป็น ผูม้ คี วามเหน็ เสมอกนั 19 โดยภาพรวมการสงั คายนาช่วยใหพ้ ระธรรมวนิ ยั ของพระพทุ ธเจา้ หรือของพระพทุ ธศาสนาไม่ผดิ เพ้ยี น จากหลกั การเดมิ ทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ทรงสอนหรือบญั ญตั ไิ ว้ และเมอ่ื ทำ� สงั คายนาเสร็จแลว้ ก็ไดม้ กี ารสบื ทอดกนั มา โดยวธิ กี ารท่องจำ� (มขุ ปาฐะ) อนั นำ� มาสู่การจารกึ เป็นพระไตรปิฎกซง่ึ เป็นหลกั ฐานหรอื คมั ภรี ท์ ส่ี ำ� คญั ทส่ี ุดทาง พระพทุ ธศาสนา ช่วยใหช้ าวโลกไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ ถ่ายทอดและนำ� ไปประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ ส่งผลใหพ้ ระพทุ ธศาสนา เจรญิ มนั่ คงมาจนถงึ ปจั จบุ นั สง่ิ ท่ลี มื ไม่ไดอ้ กี ประการหน่ึง คือหลงั จากการทำ� สงั คายนาครง้ั ท่ี ๓ ส้นิ สุดลงไดม้ กี ารส่งพระสมณทูต ออกเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา ณ ดนิ แดนต่าง ๆ จำ� นวน ๙ สาย และสายท่ี ๘ ซง่ึ ประกอบดว้ ยพระโสณเถระะ กบั พระอตุ ตรเถระ พรอ้ มดว้ ยคณะพระธรรมทูตผูต้ ดิ ตาม ไดเ้ขา้ มาเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา ณ ดนิ แดนสวุ รรณภมู ิ ซ่งึ ชาวไทยเช่ือกนั ว่าไดแ้ ก่ดนิ แดนท่เี ป็นจงั หวดั นครปฐมในปจั จุบนั 20 อนั หมายถงึ ประเทศไทยนน้ั เอง ทำ� ให้ ชาวไทยไดน้ บั ถอื พระพทุ ธศาสนา ศึกษาพระพทุ ธศาสนานำ� ธรรมะในทางพระพทุ ธศาสนาไปเป็นแนวทางในการ ดำ� เนินชวี ติ และส่งผลใหช้ วี ติ ประสบกบั ความสุขตลอดกาล ผลกระทบทเ่ี กดิ ข้นึ จากการทำ� สงั คายนาครงั้ ท่ี ๓ น้ีเอง พระเจา้ อโศกมหาราช และพระโมคคลั ลบี ตุ ร- ติสสเถระ ไดม้ กี ารส่งพระสมณฑูตออกเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาจำ� นวน ๙ สาย อนั ส่งผลใหพ้ ระพทุ ธศาสนา แผ่กระจายไปยงั ภมู ภิ าคต่าง ๆ ทวั่ โลกและสบื ต่อมาจนถงึ ปจั จบุ นั ๑๐.๔ ประวตั กิ ารปกครองคณะสงฆไ์ ทยสมยั สโุ ขทยั ๑๐.๔.๑ รูปแบบการปกครองคณะสงฆไ์ ทยในสมยั สโุ ขทยั เมอ่ื ศึกษาววิ ฒั นาการการปกครองของคณะสงฆไ์ ทย ไดท้ ราบถงึ ประวตั พิ ระพทุ ธศาสนาทไ่ี ดเ้ผยแผเ่ ขา้ มา สู่ประเทศไทย โดยศึกษาไดจ้ ากประวตั ศิ าสตรท์ ม่ี กี ารบนั ทกึ สบื กนั มาเป็นสมยั (Generation) นำ� เราเขา้ ใจถงึ ววิ ฒั นาการของพระพทุ ธศาสนาเพราะการขยายฐานหรอื การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนานนั้ เป็นองคป์ ระกอบหลกั ของ การเก่ยี วเน่ืองถงึ การปกครองของคณะสงฆไ์ ทยต่อมา 19 เฉลมิ พล โสมอนิ ทร,์ ประวตั ศิ าสตรพ์ ระพทุ ธศาสนาและการปกครองคณะสงฆไ์ ทย, (กรงุ เทพมหานคร : สูตรไพศาล, ๒๕๔๖), หนา้ ๒. 20 เสนาะ ผดงุ ฉตั ร, เอกสารประกอบการสอน ความรูเ้ บ้อื งตน้ เก่ยี วกบั พระไตรปิฎก, (กรุงเทพมหานคร : มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๒๙), หนา้ ๘๐. 10. - 10 (314-381).indd 322 5/10/2022 1:00:15 PM

บทท่ี ๑๐ ประวตั กิ ารปกครองคณะสงฆไ์ ทย 323 การศึกษาประวตั ิศาสตรข์ องพระพุทธศาสนาตง้ั แต่สมยั พระเจา้ อโศกมหาราชไดจ้ ดั การทำ� สงั คายนา ครงั้ ท่ี ๓ เมอ่ื พ.ศ. ๒๓๖21 ข้นึ แลว้ พระองคไ์ ดจ้ ดั ส่งพระสมณทูต ๙ สาย ออกประกาศเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา ทงั้ ในเขตพ้นื ท่ี ๑๖ แควน้ ในชมพูทวปี และสายต่างประเทศดว้ ย เช่น มพี ระมหนิ ทเถระ ผูเ้ป็นพระราชบตุ ร ของพระเจา้ อโศกมหาราชเองเดนิ ทางไปเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาในลงั กาทวปี และอกี สายหน่ึงตามทเ่ี ราไดศ้ ึกษา จากประวตั ิศาสตร์ คือสาย ๙ ซ่งึ ก็มพี ระโสณะและพระอุตตระ เป็นผูน้ ำ� พระพทุ ธศาสนามาประกาศเผยแผ่ ในดนิ แดน “สุวรรณภมู ”ิ 22 น่ีคอื ความเป็นมาของพระพทุ ธศาสนา และมวี วิ ฒั นาการผ่านมาจนถงึ ปจั จบุ นั น้ี เม่อื ศึกษาในเร่ืองของการปกครองของคณะสงฆไ์ ทยแลว้ สามารถแบ่งออกเป็นสมยั ได้ โดยเร่ิมจาก ยุคสมยั กรุงสุโขทยั ซ่งึ ในสมยั ก่อนหนา้ น้ีไม่ไดป้ รากฏหลกั ฐานว่า มรี ูปแบบการปกครองคณะสงฆเ์ ป็นเช่นไร แต่สนั นิษฐานไดว้ ่าการปกครองก่อนยุคสุโขทยั นน้ั มรี ูปแบบของการปกครองต่างหาก ข้นึ อยู่กบั แต่ละสำ� นกั หรอื วดั อาจจะเป็นหวั เมอื งก็เป็นได้ ซง่ึ ปกครองดูแลกนั เองแต่ละสำ� นกั วดั หรอื ข้นึ อยู่กบั หวั เมอื งตามลกั ษณะ การปกครองแต่ละยุคแต่ละสมยั นนั้ การปกครองคณะสงฆไ์ ทย ในสมยั กรุงสุโขทยั มลี กั ษณะการปกครอง โดยแบง่ เป็นสงฆส์ องฝ่าย หรอื สองคณะซง่ึ ไดแ้ ก่ ๑. ฝ่ายอรญั ญวาสี คอื พระสงฆท์ ป่ี ฏบิ ตั ติ นเองอย่างเคร่งครดั ทางพระธรรมวนิ ยั จะหลกี เรน้ อยู่ตามป่าเขาหรอื ทเ่ี รารูจ้ กั กนั วา่ “พระป่า” หรอื พระสายวปิ สั สนาธุระ ๒. ฝ่ายคามวาสี คอื พระสงฆท์ ใ่ี ส่ใจในเร่อื ง ของการศึกษาสายพระปรยิ ตั ธิ รรม โดยม่งุ เนน้ ศึกษาวชิ าการทางพระพทุ ธศาสนาและจะอยู่ร่วมกบั หม่บู า้ นหรอื ชมุ ชนนนั้ ๆ หรอื ทเ่ี ราเรยี กกนั ภายหลงั วา่ “พระบา้ นหรอื ทอ่ี ยู่กบั ชาวบา้ น” หรอื พระสายคนั ถธุระ การปกครองพระสงฆส์ มยั กรุงสุโขทยั ราวพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๘ (พ.ศ. ๑๘๐๐) แบ่งแยกการปกครอง พระสงฆอ์ อกเป็น ๒ ฝ่าย ตามท่กี ล่าวแลว้ มคี วามเป็นมาเป็นไปโดยก่อนหนา้ น้ี คือ การปกครองคณะสงฆ์ ในสมยั กรุงสุโขทยั เป็นราชธานี ข้นึ ตรงต่อพระมหากษตั รยิ โ์ ดยตรง ไมม่ กี ารแตกแยกหรอื แบง่ เป็นนิกายต่าง ๆ จนถงึ สมยั ของพญาลไิ ท (พ.ศ. ๑๘๙๗ – ๑๙๑๙)23 พระมหากษตั รยิ อ์ งคท์ ่ี ๕ แห่งอาณาจกั รกรุงสุโขทยั พระองค์ ทรงไดอ้ าราธนาพระมหาสวามสี งั ฆราชเมอื งลงั กา นามวา่ สุมนเถระ มาจำ� พรรษาอยู่ ณ กรุงสุโขทยั ในสมยั นนั้ พรอ้ มกนั น้ีพระองคก์ ไ็ ดท้ รงแยกคณะสงฆอ์ อกเป็น ๒ ฝ่าย24 กลา่ วคอื (๑) ฝ่ายคามวาสี คอื คณะของภกิ ษุ ทศ่ี ึกษาเนน้ หนกั ในดา้ นพระพทุ ธวจนะในพระไตรปิฏก อรรถกถาและคมั ภรี อ์ น่ื ๆ ตลอดจนวชิ าการบางประเภท ทไ่ี มข่ ดั ต่อสมณวสิ ยั เรยี กวา่ คนั ถธุระ กระจายอยู่ในย่านชมุ ชนเมอื ง (๒) ฝ่ายอรญั ญวาสี คอื คณะของภกิ ษุท่ี 21 แสวง อดุ มศร,ี การปกครองคณะสงฆไ์ ทย, (กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พม์ หาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๔๙), หนา้ ๖๕. 22 สุวรณภมู ิ หมายถงึ ดนิ แดนแถบ พมา่ , ไทย, ลาว, เขมร เป็นตน้ 23 แสวง อดุ มศร,ี การปกครองคณะสงฆไ์ ทย, หนา้ ๖๕. 24 พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำ� รงราชานุภาพ, ตำ� นานคณะสงฆ,์ (กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พโ์ สภณพพิ รรฒ- ธากร, ๒๔๖๖, หนา้ ๗-๘. 10. - 10 (314-381).indd 323 5/10/2022 1:00:15 PM

324 ประวตั พิ ระพทุ ธศาสนา เนน้ หนกั ในดา้ นการปฏบิ ตั มิ ่งุ บำ� เพญ็ เพยี รภาวนา เพอ่ื ทำ� จติ ใจใหห้ มดจดจากกิเลส รวมเรียกว่าวปิ สั สนาธุระ นยิ มจำ� พรรษาห่างจากย่านชมุ ชน โดยมากนิยมอยู่ตามป่าเขามากกวา่ ทจ่ี ะอยู่ร่วมกบั ชมุ ชน ความรบั ผดิ ชอบในการปกครองของคณะสงฆไ์ ทยในสมยั สุโขทยั พระมหาสวามสี งั ฆราชหรอื ปู่ครู ดำ� รง ตำ� แหน่งสงั ฆนายก ซง่ึ เทยี บกบั เป็นประมขุ ฝ่ายการคณะสงฆส์ ว่ นของการปกครองระดบั สูงสุด และมใิ ช่มเี พยี งแต่ เพยี งรูปเดยี วเฉพาะในกรุงสุโขทยั เท่านนั้ ยงั มอี กี หลายรูปท่กี ระจายอยู่ตามหวั เมอื งต่าง ๆ ท่เี ป็นบริวารของ กรุงสุโขทยั กลา่ วคอื ทศิ เหนือ ไดแ้ ก่ เมอื งศรีสชั ชนาลยั เป็นเมอื งสำ� คญั รองจากกรุงสุโขทยั ผูป้ กครองเมอื งศรีสชั ชนาลยั มบี รรดาศกั ด์เิ ป็นอปุ ราช ทจ่ี ะไดส้ บื ราชสมบตั ติ ่อไป มพี ระสงั ฆราชหวั เมอื งปกครองดูแลบงั คบั บญั ชาพระสงฆ์ ในหวั เมอื งทศิ เหนอื ทิศใต้ ไดแ้ ก่ เมอื งสระหลวง(เมอื งพจิ ิตรปจั จุบนั ) มพี ระสงั ราชปกครองดูแลบงั คบั บญั ชาพระสงฆ์ ในหวั เมอื งทศิ ใต้ ทศิ ตะวนั ออก ไดแ้ ก่ เมอื งสองแคว (เมอื งพษิ ณุโลกปจั จบุ นั ) มี พระสงั ฆราชหวั เมอื งปกครองดูแลบงั คบั บญั ชาพระสงฆใ์ นหวั เมอื งทศิ ตะวนั ออก ทศิ ตะวนั ตก ไดแ้ ก่ เมอื งนครชมุ หรอื ชากงั ราว25 (เมอื งกำ� แพงเพชรปจั จบุ นั ) มพี ระสงั ฆราชหวั เมอื ง ปกครองดูแลบงั คบั บญั ชาพระสงฆใ์ นหวั เมอื งทศิ ตะวนั ตก ๑๐.๔.๒ โครงสรา้ งการปกครองคณะสงฆไ์ ทยสมยั กรุงสโุ ขทยั การปกครองของคณะสงฆไ์ ทยสมยั กรุงสุโขทยั หวั เมอื งต่าง ๆ มกี ารปกครองตามลำ� ดบั ลดลนั่ กนั ไป โดยข้นึ ตรงต่อพระมหากษตั รยิ ใ์ นราชธานีอกี ทหี น่ึง เมอ่ื พจิ ารณาจากโครงสรา้ ง การปกครองคณะสงฆไ์ ทยสมยั กรุงสุโขทยั มรี ูปแบบการปกครองคณะสงฆด์ งั น้ี คอื พอ่ ขุน พระสงั ฆราชในราชธานี พระสงั ฆราช พระสงั ฆราชในราชธานี คามวาส-ี ฝ่ายขวา หวั เมอื งสำ� คญั อรญั ญวาส-ี ฝ่ายซา้ ย พระครูในราชธานี พระครูหวั เมอื ง พระครูในราชธานี เจา้ อาวาสในราชธานี เจา้ อาวาส เจา้ อาวาสในราชธานี ภาพท่ี ๑๐.๑ การปกครองคณะสงฆส์ มยั สุโขทยั 26 25 ดนยั ไชยโยธา, การเมืองการปกครองของไทย, (กรุงเทพมหานคร : โอเดยี นสโตร,์ ๒๕๔๘), หนา้ ๔๓. 26 สมบูรณ์ สุขสำ� ราญ, พทุ ธศาสนากบั การเปล่ยี นแปลงทางการเมืองและสงั คม, (กรุงเทพมหานคร : จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั , ๒๕๒๗), หนา้ ๕๕. 10. - 10 (314-381).indd 324 5/10/2022 1:00:15 PM

บทท่ี ๑๐ ประวตั กิ ารปกครองคณะสงฆไ์ ทย 325 ๓) เปรียบเทยี บโครงสรา้ งระหว่างศาสนจกั รและอาณาจกั ร โครงสรา้ งการปกครองคณะสงฆใ์ นสมยั สุโขทยั น้ีมลี กั ษณะสอดคลอ้ ง คู่ขนานกบั การจดั โครงสรา้ งการปกครองของประเทศ โดยทม่ี พี อ่ ขนุ หรอื พระมหา กษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ ของทงั้ สองฝ่ายคอื ทง้ั ฝ่ายอาณาจกั ร และฝ่ายศาสนจกั ร ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งศาสนจกั ร และอาณาจกั รมมี าอย่างต่อเน่ืองโดยท่ฝี ่ายศาสนจกั รนนั้ จะตอ้ งไดร้ บั การอุปถมั ภจ์ ากฝ่ายอาณาจกั รอยู่เสมอ มไิ ดข้ าด โดยพจิ ารณาไดจ้ ากภาพต่อไปน้ี ซง่ึ แสดงถงึ ความสมั พนั ธก์ นั ดงั ภาพท่ี ๑๐.๒ การปกครองคณะสงฆ์ สมยั สุโขทยั กบั ฝ่ายอาณาจกั ร องคศ์ าสนูปถมั ภก พอ่ ขุน หวั หนา้ รฐั บาล พระสงั ฆราชในราชธานี คณะลูกขนุ พระสงั ฆราชของหวั เมอื งสำ� คญั พอ่ เมอื ง พระครู พอ่ บา้ น เจา้ อาวาส พอ่ ครวั พระภกิ ษุ-สามเณร ชาวบา้ น ภาพท่ี ๑๐.๒ การปกครองคณะสงฆส์ มยั สุโขทยั กบั ฝ่ายอาณาจกั ร ๑๐.๕ ประวตั กิ ารปกครองคณะสงฆไ์ ทยสมยั อยธุ ยา การปกครองคณะสงฆไ์ ทยในสมยั กรุงศรอี ยุธยา มแี นวคดิ มาจากสมยั กรุงสุโขทยั ก่อนหนา้ น้ี จงึ มรี ูปแบบ ลกั ษณะการปกครองคณะสงฆท์ ย่ี งั คงความเป็นเอกลกั ษณเ์ หมอื นสมยั กรงุ สุโขทยั ในยุคแรก ๆ อยู่ ต่อมาจงึ มกี าร พฒั นารูปแบบการปกครองคณะสงฆเ์ พ่มิ เติมข้นึ มาอีกลกั ษณะหน่ึง ทง้ั น้ีก็เพราะสงั คมของคณะสงฆม์ กี าร เปลย่ี นแปลงไปตามสงั คมทเ่ี กดิ การเปลย่ี นแปลง ๑๐.๕.๑ รูปแบบการปกครองคณะสงฆไ์ ทยสมยั กรุงศรอี ยธุ ยา การปกครองคณะสงฆไ์ ทยในสมยั กรงุ ศรอี ยุธยาตอนตน้ มกี ารยดึ หลกั การปกครองซง่ึ ถอดรูปแบบมาจาก สมยั กรุงสุโขทยั อยู่ กลา่ วคอื แบง่ ลกั ษณะการปกครองคณะสงฆ์ ออกเป็น ๒ ฝ่ายคอื ๑. ฝ่ายคามวาสี คอื พระภกิ ษุทศ่ี ึกษาพระปรยิ ตั ธิ รรมหรอื ฝ่ายคนั ถธุระ ๒. ฝ่ายอรญั ญวาสี คอื พระภกิ ษุทจ่ี ำ� พรรษาบำ� เพญ็ ภาวนาอยู่ตามป่า หรอื ทเ่ี รยี กกนั วา่ ฝ่ายวปิ สั สนาธุระ 10. - 10 (314-381).indd 325 5/10/2022 1:00:15 PM

326 ประวตั พิ ระพทุ ธศาสนา แต่สง่ิ ทแ่ี ตกต่างจากการปกครองในสมยั กรุงสุโขทยั ในกาลต่อมาก็คือ มคี ณะสงฆใ์ หม่ทเ่ี กิดข้นึ มาเพม่ิ อกี คณะหน่ึงก็คอื “คณะป่าแกว้ ” ซง่ึ การก่อตง้ั คณะดงั กลา่ วไดร้ บั อทิ ธพิ ลมาจากลงั กาคลา้ ยกนั กบั การเกดิ คณะ อรญั ญวาสใี นสมยั กรุงสุโขทยั ส่วนรายละเอยี ดของการก่อตงั้ คณะป่าแกว้ ไดร้ บั การบนั ทกึ ไวใ้ นหนงั สอื ตำ� นาน โยนก ซง่ึ สรุปไดด้ งั น้ี ในยุคกรุงศรอี ยุธยา คณะอรญั ญวาสี มปี ระเพณีสบื เช้อื สายมาจากพระสงฆล์ งั กาวงศแ์ ละเจรญิ แพร่หลาย นำ� หนา้ คณะคามวาสี ท่สี บื เช้ือสายมาจากพระสงฆน์ ิกายเดิมของกรุงสุโขทยั จำ� นวนพระสงฆค์ ณะคามวาสี ไดล้ ดจำ� นวนลงนอ้ ยลงทกุ ที และในปี พ.ศ. ๑๙๖๕ พระสงฆค์ ณะน้ีจำ� นวน ๑๐ รูป27 จากเชยี งใหม่ และกมั พชู า ไดพ้ าพระสงฆอ์ กี หลายรูปเดนิ ทางไปยงั ลงั กาประเทศ และบวชแปลงนิกายใหมเ่ ป็นสงิ หลนกิ าย โดยมพี ระวนั รตั มหาเถระเป็นพระอปุ ชั ฌาย์ ใน พ.ศ. ๑๙๖๗ และไดท้ ำ� การศึกษาพระธรรมวนิ ยั ณ ลงั กาประเทศอยู่หลายปี และเมอ่ื เดนิ ทางกลบั มายงั กรุงศรอี ยุธยา ไดน้ มิ นตพ์ ระมหาเถระชาวลงั กาประเทศจำ� นวน ๒ รูป คอื พระมหา วกิ รมพาหุ และพระอดุ มปญั ญา เดนิ ทางร่วมมาเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาในประเทศไทย เมอ่ื เดนิ ทางถงึ กรุงศร-ี อยธุ ยาแลว้ พระสงฆเ์ หลา่ นน้ั ไดแ้ ยกยา้ ยกนั ออกเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาจนมผี ูค้ นเลอ่ื มใสศรทั ธา และขออปุ สมบท เป็นจำ� นวนมาก จนในทส่ี ุดพระสงฆเ์ หลา่ นนั้ ไดแ้ ยกตวั ออกมาตงั้ คณะปกครองสงฆใ์ หม่ เรยี กวา่ คณะป่าแกว้ ดว้ ยสาเหตเุ พราะพระอปุ ชั ฌายช์ าวลงั กาของพระสงฆเ์ หลา่ นน้ั ชอ่ื วา่ “วนั รตั ” ซง่ึ แปลวา่ ป่าแกว้ และยงั มที พ่ี ำ� นกั จำ� พรรษาของคณะสงฆเ์ หลา่ น้ี มชี ่อื ต่อทา้ ยดว้ ยคำ� วา่ ป่าแกว้ เช่น วดั ไตรภมู คิ ณะป่าแกว้ วดั เขยี นคณะป่าแกว้ เป็นตน้ เมอ่ื กลา่ วโดยสรุปแลว้ การปกครองคณะสงฆไ์ ทยสมยั อยุธยาตอนปลาย แบง่ การปกครองออกเป็น ๓ คณะ ซง่ึ ไดแ้ ก่ ๑. คณะคามวาสฝี ่ายซา้ ย คอื พระสงฆท์ ส่ี บื มาจากนิกายเดมิ ทม่ี มี าตงั้ แต่แรกสมยั กรุงสุโขทยั และ ทำ� การศึกษาพระไตรปิฎกตลอดถงึ การศึกษาจากคมั ภรี ต์ ่าง ๆ จนแตกฉาน หรอื ทร่ี ูจ้ กั วา่ สายคนั ถธุระ ๒. คณะอรญั ญวาสี คอื พระสงฆด์ ง้ั เดมิ ทไ่ี ดป้ ระพฤตปิ ฏบิ ตั สิ บื ต่อ ๆ กนั มา ตง้ั แต่สมยั กรุงสุโขทยั โดยมงุ่ เนน้ การปฏบิ ตั วิ ปิ สั สนากมั มฏั ฐานเป็นหลกั และจำ� พรรษาอยู่ตามวดั ต่าง ๆ ซง่ึ อยู่ห่างไกลจากชมุ ชน ทร่ี ูจ้ กั กนั วา่ พระป่า ๓. คณะคามวาสีฝ่ายขวา คือ คณะสงฆน์ ิกายเดิมท่ีไปบวชและแปลงนิกายท่ีลงั กาประเทศแลว้ กลบั มา เผยแผ่พระพทุ ธศาสนาจนมผี ูค้ นเลอ่ื มใสศรทั ธา และขออปุ สมบทเป็นจำ� นวนมากและรูจ้ กั กนั ต่อมาวา่ ภายหลงั วา่ “คณะป่าแกว้ ” 27 พระธรรมคมั ภรี ,์ พระเมธงั กร, พระญาณมงคล, พระศีลวงศ,์ พระสารบี ตุ ร, พระธรรมรตั นากร, พระพทุ ธสาคร, พระพรหมมนุ ,ี พระโสมเถระ, พระญาณสทิ ธ,ิ ๑- ๗ เป็นพระสงฆช์ าวเชยี งใหม,่ ๘ – ๙ เป็นพระสงฆช์ าวอยุธยา, ๑๐ เป็นพระสงฆ์ ชาวกมั พชู า 10. - 10 (314-381).indd 326 5/10/2022 1:00:15 PM

บทท่ี ๑๐ ประวตั กิ ารปกครองคณะสงฆไ์ ทย 327 สำ� หรบั การปกครองคณะสงฆใ์ นสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยานนั้ ยงั มเี จา้ คณะใหญ่อกี ๓ รูป28 คอื เจา้ คณะคามวาสี ฝ่ายซา้ ย เจา้ คณะอรญั ญวาสี และ เจา้ คณะคามวาสฝี ่ายขวา เป็นผูป้ กครองบงั คบั บญั ชาพระสงฆข์ องแต่ละคณะ พระมหากษตั รยิ ์ เป็นผูท้ รงสถาปนาเจา้ คณะใหญ่รูปใดรูปหน่ึง ข้นึ เป็นสมเดจ็ พระสงั ฆราชทรงดำ� รงตำ� แหน่งเป็น ประมขุ สงฆท์ วั่ ราชอาณาจกั ร ส่วนการปกครองบรหิ ารกจิ การคณะสงฆ์ ตามหวั เมอื งชน้ั ในและชนั้ นอกเจา้ คณะใหญ่ทงั้ สามรูปสามคณะ แบง่ เขตรบั ผดิ ชอบกนั กลา่ วคอื เจา้ คณะคามวาสฝี ่ายซา้ ย ปกครองดูแลกจิ การคณะสงฆใ์ นหวั เมอื งฝ่ายเหนือ เจา้ คณะคามวาสฝี ่ายขวากป็ กครองดูแลบงั คบั บญั ชาคณะสงฆใ์ นหวั เมอื งฝ่ายใต้และเจา้ คณะอรญั ญวาสี ปกครอง ดูแลบงั คบั บญั ชาพระภกิ ษุสงฆค์ ณะอรญั ญวาสี ทงั้ ในหวั เมอื งฝ่ายเหนอื และฝ่ายใต้ ๑๐.๕.๒ โครงสรา้ งการปกครองคณะสงฆไ์ ทยสมยั กรุงศรอี ยธุ ยา รูปแบบและโครงสรา้ งการปกครองคณะสงฆไ์ ทยในสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยานน้ั จะมกี ารแบง่ ลกั ษณะการปกครอง ออกเป็นสามสว่ นดว้ ยกนั โดยมเี จา้ คณะทง้ั สามฝ่ายปกครองดูแลบงั คบั บญั ชากนั ตามฝ่ายต่าง ๆ เจา้ คณะคามวาสี ฝ่ายซา้ ยก็ปกครองดูแลพระราชาคณะหวั เมอื งฝ่ายเหนือ พระครูหวั เมอื งฝ่ายเหนือ และเจา้ อาวาส เจา้ คณะ อรญั ญวาสี ปกครองดูแลบงั คบั บญั ชาคณะสงฆอ์ รญั ญวาสใี นกรุงและหวั เมอื ง เจา้ คณะคามวาสฝี ่ายขวา ดูแล บงั คบั บญั ชาพระราชาคณะหวั เมอื งฝ่ายใต้ พระครูหวั เมอื งฝ่ายใต้ และเจา้ อาวาส แต่เจา้ คณะทง้ั สามคณะ ข้นึ ตรงต่อสมเดจ็ พระสงั ฆราช ตำ� แหน่งทร่ี องลงมาจากเจา้ คณะใหญ่ คือ ตำ� แหน่งพระราชาคณะ, พระครูและเจา้ อาวาสปกครอง ลดลนั่ กนั ตามลำ� ดบั โดยพจิ ารณาจากโครงสรา้ งดงั ต่อไปน้ี สมเด็จพระสงั ฆราช เจา้ คณะคามวาสฝี ่ายซา้ ย เจา้ คณะอรญั วาสี เจา้ คณะคามวาสฝี ่ายขวา พระราชาคณะหวั เมอื งฝ่ายเหนอื คณะสงฆอ์ รญั ญวาสี พระราชาคณะหวั เมอื งฝ่ายใต้ พระครูหวั เมอื งฝ่ายเหนอื ในกรุง-หวั เมอื ง พระครูหวั เมอื งฝ่ายใต้ เจา้ อาวาส เจา้ อาวาส ภาพท่ี ๑๐.๓ การปกครองคณะสงฆส์ มยั อยุธยา29 28 พระเมธธี รรมาภรณ์ (ประยูร ธมมฺ จติ โฺ ต), การปกครองพระสงฆไ์ ทย, พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๙, (กรุงเทพมหานคร : มลู นธิ ิ พทุ ธธรรม, ๒๕๓๙), หนา้ ๑๒. 29 พระเมธธี รรมาภรณ์ (ประยูร ธมมฺ จติ โฺ ต), การปกครองพระสงฆไ์ ทย, หนา้ ๑๔. 10. - 10 (314-381).indd 327 5/10/2022 1:00:15 PM

328 ประวตั พิ ระพทุ ธศาสนา ตำ� แหน่ง เจา้ คณะใหญ่ตามหวั เมอื งต่าง ๆ ข้นึ อยู่ภายใตก้ ารปกครองบงั คบั บญั ชาดูแลจากสมเด็จ พระสงั ฆราช เพราะถอื วา่ เป็นประมขุ ของสงฆใ์ นสมยั กรุงศรอี ยุธยา ส่วนรายละเอยี ดนอกเหนือจากน้ี ใหค้ น้ ควา้ ศึกษาจากตำ� ราอ่นื ๆ ทม่ี ผี ูแ้ ต่งไว้ ในทน่ี ้ีจะกลา่ วถงึ เฉพาะการปกครองคณะสงฆเ์ ท่านนั้ และส่วนทเ่ี ก่ียวขอ้ ง บางส่วนบางตอนเท่านน้ั ๑๐.๖ ประวตั กิ ารปกครองคณะสงฆส์ มยั ธนบรุ ี อาณาจกั รกรุงศรอี ยุธยาส้นิ สุดลง เมอ่ื พ.ศ. ๒๓๑๐ เน่ืองจากประสบความพา่ ยแพแ้ ก่สงครามกบั พมา่ และตอ้ งตกอยู่ในสภาพจลาจลเป็นเวลานานถงึ ๓ ปี พรอ้ มกบั ถกู ผนวกเขา้ เป็นดนิ แดนส่วนหน่ึงของอาณาจกั ร กรุงธนบุรีและกรุงรตั นโกสนิ ทรต์ ามลำ� ดบั ในส่วนของคณะสงฆท์ ง้ั หมดก็จะตอ้ งปรบั ปรุงเปลย่ี นแปลงการ ประพฤตปิ ฏบิ ตั ใิ นส่วนทเ่ี ป็นจารีตประเพณีและกฎหมาย เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ ง กบั สภาพทางสงั คมและการเมอื ง ทเ่ี ปลย่ี นแปลงไปเช่นกนั เมอ่ื พระเจา้ ตากไดย้ า้ ยราชธานีจากกรุงศรีอยุธยาไปตง้ั ท่กี รุงธนบุรี และปราบดาภเิ ษกพระองคข์ ้นึ เป็น พระมหากษตั รยิ ์ ทรงพระนามวา่ สมเดจ็ พระบรมราชาธบิ ดที ่ี ๔ เมอ่ื วนั ท่ี ๒๘ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๓๑๑ จากนนั้ ไดท้ รงปราบปรามชมุ นุมต่าง ๆ ลงไดห้ มด สรา้ งความเป็นอนั หน่ึงอนั เดยี วกนั ไดภ้ ายในระยะเวลาอนั รวดเร็ว แต่เน่ืองจากในรชั สมยั กรุงธนบรุ มี รี ะยะเวลาสนั้ มากเพยี ง ๑๕ ปี เท่านน้ั 30 การปกครองไมว่ า่ จะเป็นการปกครอง ฝ่ายราชอาณาจกั รหรอื ฝ่ายศาสนจกั ร พระองคไ์ ดท้ รงอาศยั แบบอย่างมาจากสมยั อยุธยา โดยเฉพาะการปกครอง ฝ่ายศาสนจกั ร อนั ไดแ้ ก่การปกครองคณะสงฆน์ นั้ ทรงแบง่ การปกครองคณะสงฆอ์ อกเป็น ๓ คณะ คอื คณะ คามวาสฝี ่ายซา้ ย คณะอรญั วาสี และคณะคามวาสฝี ่ายขวา ซง่ึ ยงั คงยดึ รูปแบบการปกครองคณะสงฆม์ าจาก สมยั อยุธยาเป็นหลกั เพราะสาเหตหุ ลายประการ เช่น กำ� ลงั สรา้ งเมอื งใหม่ บา้ นเมอื งกำ� ลงั อยู่ในภาวะสงคราม อย่างไรก็ตาม กรุงธนบุรีก็นบั เป็นอาณาจกั รท่ี ๓ ของชนชาติไทย ซ่งึ ปกครองราชอาณาจกั รโดยพระเจา้ ตาก ต่อมาภายหลงั พระเจา้ ตาก หรอื สมเดจ็ พระบรมราชาธบิ ดที ่ี ๔ ไดร้ บั ขนานพระนามวา่ สมเดจ็ พระเจา้ กรุงธนบรุ ี และสมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช ตามลำ� ดบั สบื มา การปกครองคณะสงฆส์ มยั ธนบุรีในยุคตน้ ๆ ยงั คงถอื ตามแบบการปกครองคณะสงฆใ์ นสมยั อยุธยา ซง่ึ มรี ูปแบบการปกครอง แบง่ ออกเป็น ๓ คณะเหมอื นกนั คอื ๑) คณะคามวาสฝี ่ายซา้ ย มเี จา้ คณะปฏบิ ตั หิ นา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบ ปกครองคณะสงฆห์ วั เมอื งภาคเหนือ หรือฝ่ายเหนือ ซ่งึ ไดแ้ ก่คณะสงฆด์ ง้ั เดมิ ท่มี มี าตงั้ แต่แรกสถาปนากรุงสุโขทยั ไดป้ ระพฤติปฏบิ ตั ิสบื ต่อกนั มา ถงึ สมยั อยุธยา โดยมงุ่ ศึกษาพระไตรปิฎกและคมั ภรี ต์ ่าง ๆ ทางศาสนาจนแตกฉาน เรยี กวา่ สาย คนั ถธุระ หรอื ฝ่ายปรยิ ตั ิ 30 สุรพล สุยะพรหม, การเมืองกบั การปกครองของไทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาจฬุ าบรรณาคาร, ๒๕๔๘), หนา้ ๒๕. 10. - 10 (314-381).indd 328 5/10/2022 1:00:15 PM

บทท่ี ๑๐ ประวตั กิ ารปกครองคณะสงฆไ์ ทย 329 ๒) คณะอรญั วาสี มีเจา้ คณะปฏิบตั ิหนา้ ท่ีรบั ผิดชอบ ปกครองคณะสงฆท์ ่ีอยู่จำ� พรรษาตามวดั หรืออารามต่าง ๆ ท่อี ยู่ห่างไกลจากชุมชน ท่รี ูจ้ กั กนั ว่า พระป่า หรือพระสายปฏบิ ตั ิธรรมทวั่ ราชอาณาจกั ร ซ่งึ ไดแ้ ก่คณะสงฆด์ ง้ั เดมิ ท่เี ช่ือกนั ว่าเป็นคณะท่สี บื ต่อประเพณีพระสงฆล์ งั กาวงศข์ องสุโขทยั และไดป้ ระพฤติ ปฏบิ ตั สิ บื ต่อกนั มาถงึ สมยั อยุธยา โดยมงุ่ เนน้ การปฏบิ ตั วิ ปิ สั สนากมั มฏั ฐานเป็นหลกั เรยี กวา่ สายวปิ สั สนาธุระ หรอื ฝ่ายปฏบิ ตั ิ ๓) คณะคามวาสฝี ่ายขวา มเี จา้ คณะปฏบิ ตั หิ นา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบ ปกครองคณะสงฆห์ วั เมอื งภาคใต้ หรอื ฝ่ายใต้ ซง่ึ ไดแ้ ก่คณะสงฆน์ ิกายเดมิ (ฝ่ายซา้ ย) ทเ่ี ดนิ ทางไปอปุ สมบท และแปลงนิกายทล่ี งั กาเป็นสงิ หลนิกาย ในสมยั อยุธยา แลว้ กลบั มาตง้ั คณะใหม่ เป็นทร่ี ูจ้ กั ในหมปู่ ระชนทวั่ ไปวา่ คณะป่าแกว้ ทง้ั น้ี เจา้ คณะแต่ละคณะข้นึ ตรงต่อสมเด็จพระสงั ฆราช ซ่งึ สมเด็จพระเจา้ กรุงธนบุรีทรงสถาปนาข้นึ ตามพระราชอธั ยาศยั เพอ่ื ดำ� รงตำ� แหน่งประมขุ สงฆท์ วั่ ราชอาณาจกั ร ต่อมาเมอ่ื ฝ่ายอาณาจกั รว่างจากศึกสงครามแลว้ ทรงเลอื กสรรพระสงฆใ์ หต้ งั้ มนั่ อยู่ในพระธรรมวนิ ยั รวมถงึ จดั ระเบยี บสงฆใ์ หเ้รยี บรอ้ ยยง่ิ ข้นึ โดยมกี ารรวมคณะสงฆอ์ รญั วาสไี วก้ บั คณะสงฆท์ ง้ั ๒ ฝ่าย แลว้ โปรด ใหเ้รยี กว่า “คณะเหนือ” และ “คณะใต”้ ดงั ทเ่ี จา้ คณะใหญ่จะมสี รอ้ ยพระราชทนิ นามว่า “ มหาคณฤศรบวร- สงั ฆารามคามวาสีอรญั วาสี”31 ซ่ึงแต่ละคณะไดด้ ำ� เนินการปกครองดูแลพระสงฆแ์ ต่ละคณะใหอ้ ยู่ภายใต้ การปกครอง จวบจนส้นิ สมยั กรุงธนบรุ แี ละเขา้ สู่สมยั กรุงรตั นโกสนิ ทรต์ ามลำ� ดบั โครงสรา้ งการบรหิ ารและการจดั องคก์ รการปกครองคณะสงฆใ์ นสมยั ธนบรุ นี ้มี ี ๒ ลกั ษณะ โดยมโี ครงสรา้ ง การปกครองคณะสงฆส์ มยั ธนบรุ ยี ุคตน้ และยุคปลาย ดงั น้ี ภาพท่ี ๑๐.๔ โครงสรา้ งการปกครองคณะสงฆส์ มยั ธนบรุ ยี ุคตน้ 32 31 แถลงการณ์คณะสงฆข์ องสมเด็จพระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส อา้ งถงึ ใน อธั ยา โกมลกาญจน พระพทุ ธศาสนาบนแผ่นดินไทย, (กรุงเทพมหานคร : อกั ษรเจรญิ ทศั น,์ ๒๕๔๕), หนา้ ๒๐๔. 32 พระเมธธี รรมาภรณ์ (ประยูร ธมมฺ จติ โฺ ต), ระเบยี บการปกครองคณะสงฆไ์ ทย, (กรุงเทพมหานคร : มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๓๓), หนา้ ๑๔. 10. - 10 (314-381).indd 329 5/10/2022 1:00:16 PM

330 ประวตั พิ ระพทุ ธศาสนา จากโครงสรา้ งดงั กลา่ วจะเหน็ ไดว้ า่ การปกครองคณะสงฆส์ มยั ธนบรุ ี ในระยะตน้ ๆ ยงั คงยดึ รูปแบบ การปกครองคณะสงฆม์ าจากกรุงศรอี ยุธยาเป็นหลกั แบง่ การปกครองคณะสงฆอ์ อกเป็น ๓ คณะ ไดแ้ ก่ ๑) คณะคามวาสฝี ่ายซา้ ย ประกอบดว้ ย เจา้ คณะคามวาสฝี ่ายซา้ ย พระราชาคณะ หวั เมอื งฝ่ายเหนือ พระครูหวั เมอื งฝ่ายเหนอื และเจา้ อาวาส ๒) คณะอรญั วาสี ประกอบดว้ ย เจา้ คณะอรญั วาสี คณะสงฆอ์ รญั วาสี ทง้ั ในกรุงและหวั เมอื ง ๓) คณะคามวาสฝี ่ายขวา ประกอบดว้ ยเจา้ คณะคามวาสฝี ่ายขวา พระราชาคณะ หวั เมอื งฝ่ายใต้ พระครูหวั เมอื งฝ่ายใต้ และเจา้ อาวาส พระมหากษตั ริยท์ รงเป็นผูส้ ถาปนาเจา้ คณะใหญ่รูปใดรูปหน่ึง ข้นึ เป็นสมเด็จพระสงั ฆราช และทรง ดำ� รงตำ� แหน่งประมขุ สงฆท์ วั่ ราชอาณาจกั ร ซ่งึ เป็นผูบ้ งั คบั บญั ชาสูงสุดขององคก์ รการปกครองคณะสงฆแ์ ละ ไดด้ ำ� เนินการปกครองกำ� กบั ดูแลพระสงฆแ์ ต่ละคณะใหอ้ ยู่ภายใตก้ ารปกครอง โดยมเี จา้ คณะแต่ละคณะเป็น ผูป้ กครองบงั คบั บญั ชากำ� กบั ดูแลคณะสงฆภ์ ายในคณะของตนตามลำ� ดบั ต่อมาภายเมอ่ื ฝ่ายอาณาจกั รวา่ งจากศึกสงครามแลว้ ทรงเลอื กสรรพระสงฆใ์ หต้ ง้ั มนั่ อยู่ในพระธรรมวนิ ยั รวมถงึ จดั ระเบยี บสงฆใ์ หเ้รยี บรอ้ ยยง่ิ ข้นึ โดยมกี ารรวมคณะสงฆอ์ รญั วาสไี วก้ บั คณะสงฆท์ ง้ั ๒ ฝ่าย แลว้ โปรด ใหเ้รยี กวา่ “คณะเหนือ” และ “คณะใต”้ โดยมโี ครงสรา้ งการปกครองดงั น้ี โครงสรา้ งการปกครองคณะสงฆส์ มยั ธนบรุ ใี นยุคปลายได้ แบง่ การปกครองคณะสงฆอ์ อกเป็น ๒ คณะ ไดแ้ ก่ ๑) คณะเหนอื ประกอบดว้ ย สมเดจ็ พระสงั ฆราชา เป็นเจา้ คณะใหญ่ ปฏบิ ตั หิ นา้ ทเ่ี ป็นเจา้ คณะปกครอง ดูแลภายในคณะซง่ึ ประกอบดว้ ยพระสงฆท์ ง้ั ฝ่ายคามวาสแี ละอรญั วาสี ฝ่ายเหนือหรอื คณะเหนือ ๒) คณะใต้ ประกอบดว้ ยสมเดจ็ พระสงั ฆราชา เป็นเจา้ คณะใหญ่ ปฏบิ ตั หิ นา้ ทเ่ี ป็นเจา้ คณะปกครอง ดูแลภายในคณะซง่ึ ประกอบดว้ ยพระสงฆท์ ง้ั ฝ่ายคามวาสแี ละอรญั วาสฝี ่ายใตห้ รอื คณะใต้ซง่ึ เจา้ คณะใหญ่ทงั้ ๒ คณะจะมสี รอ้ ยพระราชทนิ นามวา่ “มหาคณฤศรบวรสงั ฆารามคามวาสอี รญั วาส”ี แต่ละคณะไดด้ ำ� เนนิ การปกครอง ดูแลพระสงฆแ์ ต่ละคณะใหอ้ ยู่ภายใตก้ ารปกครอง โดยข้นึ ตรงต่อสมเดจ็ พระสงั ฆราช จวบจนส้นิ สมยั กรุงธนบรุ ี และเขา้ สู่สมยั กรุงรตั นโกสนิ ทร์ เมอ่ื กลา่ วโดยสรุปแลว้ กเ็ ป็นทป่ี รากฏชดั วา่ สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช ทรงมพี ระราชหฤทยั แนบสนทิ อยู่กบั พระพทุ ธศาสนามไิ ดเ้สอ่ื มคลายลงดว้ ยพระราชภาระทางการศึกสงครามทต่ี ดิ พนั อยู่แต่ประการใด ดงั จะ เหน็ ไดว้ า่ ทรงเลอื กสถานทส่ี รา้ งพระราชวงั ข้นึ ชดิ กบั วดั และทรงเก่ยี วขอ้ งผูกพนั อยู่กบั พระพทุ ธศาสนาโดยตลอด ไม่ปรากฎว่ามศี าสนาอ่นื ใดอยู่ในความสนพระราชหฤทยั ของพระองคเ์ ลย ดงั ปรากฏเป็นจารึกในศาลพระเจา้ ตากสนิ มหาราชวา่ 33 33 จารกึ ในศาลพระเจา้ ตากสนิ มหาราช วดั อรุณราชวราราม อา้ งใน สุทธวิ งศ์ ตนั ตยาพศิ าลสุทธ์,ิ ศาสนาประจำ� ชาต,ิ (กรุงเทพมหานคร : สำ� นกั งานส่งเสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม, ๒๕๕๒), หนา้ ๑๙. 10. - 10 (314-381).indd 330 5/10/2022 1:00:16 PM

บทท่ี ๑๐ ประวตั กิ ารปกครองคณะสงฆไ์ ทย 331 อนั ตวั พอ่ ช่อื วา่ พระยาตาก ทนทกุ ขย์ าก กูช้ าติ พระศาสนา ถวายแผ่นดนิ ใหเ้ป็น พทุ ธบูชา แด่พระศาสดา สมณะ พระพทุ ธโคดม ใหย้ นื ยง คงถว้ น หา้ พนั ปี สมณะพราหมณช์ ี ปฏบิ ตั ิ ใหพ้ อสม เจรญิ สมถะ วปิ สั สนา พอ่ ช่นื ชม ถวายบงั คม รอยบาท พระศาสดา คดิ ถงึ พอ่ พอ่ อยู่ คู่กบั เจา้ ชาตขิ องเรา คงอยู่ คู่พระศาสนา พทุ ธศาสนา อยู่ยง คู่องคก์ ษตั รา พระศาสดา ฝากไว้ ใหค้ ู่กนั ฯ ส่วนการจดั ระเบยี บในสงั ฆมณฑลนน้ั ก็มกี ารแต่งตง้ั สมณศกั ด์แิ ละตำ� แหน่งปกครองคณะสงฆเ์ หมอื น เช่นพระมหากษตั รยิ ใ์ นยคก่อน ๆ เพยี งแต่ ในยุคกรุงธนบรุ นี ้ี พระมหากษตั รยิ ท์ รงมพี ระราชอำ� นาจเบด็ เสร็จ โปรดใหม้ ที ำ� เนียบสมณศกั ด์ขิ ้นึ ตามรบั สงั่ ของพระองคต์ ามทท่ี รงพจิ ารณาและวนิ ิจฉยั ตามความเหมาะสม เช่น ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ใหส้ บื เสาะหาพระสงฆช์ นั้ ผูใ้ หญ่ทแ่ี ยกยา้ ยกระจายอยู่ตามทต่ี ่าง ๆ เน่ืองจากประสบภยั สงครามแต่ครงั้ เสยี กรงุ ศรอี ยธุ ยา นน้ั ใหม้ าประชมุ กนั ทว่ี ดั บางหวา้ ใหญ่ แลว้ ทรงคดั เลอื กพระสงฆผ์ ูท้ รงคณุ ธรรม มากและมอี ายุพรรษามากกวา่ พระสงฆอ์ น่ื ๆ เป็นสมเดจ็ พระสงั ฆราช เพอ่ื ปฏบิ ตั หิ นา้ ทเ่ี ป็นประมขุ สงฆ์ จดั การ ปกครองในสงั ฆมณฑลใหเ้ รียบรอ้ ยต่อไป นอกจากนน้ั ทรงแต่งตงั้ พระเถรานุเถระต่าง ๆ เป็นพระราชาคณะ ฐานานุกรมนอ้ ยใหญ่ตามลำ� ดบั ชน้ั สมณศกั ด์ิ ไปปกครองดูแลพระสงฆต์ ามอารามในหวั เมอื งต่าง ๆ ทวั่ อาณาจกั ร กรุงธนบรุ ี นอกจากน้ียงั ถอดสมณศกั ด์ขิ องพระสงฆแ์ ละพระราชาคณะบางรูป ทพ่ี ระองคพ์ จิ ารณาและวนิ จิ ฉยั วา่ ไมเ่ หมาะสม เป็นตน้ โปรดใหร้ วบรวมพระไตรปิฎกทก่ี ระจดั กระจายตามพระสงฆไ์ ปจากหวั เมอื งตาง ๆ แลว้ นำ� มาคดั ลอกไวเ้ ป็นหลกั ฐานสำ� หรบั การศึกษาพระปริยตั ิธรรม มกี ารพระราชทานจตุปจั จยั แก่ผูศ้ ึกษาเล่าเรียน พระปรยิ ตั ธิ รรมดว้ ย ตลอดทง้ั ทรงใชพ้ ระราชอำ� นาจในการตราพระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยศีลสกิ ขา กำ� หนดเน้อื ความ อธบิ ายพระวนิ ยั ๒๒๗ ขอ้ โดยมงุ่ ใหเ้ป็นพระราชกำ� หนดสำ� หรบั โดยตรงอย่างทไ่ี มเ่ คยมมี าก่อน ต�ำแหน่งพระสงั ฆราชาในรชั สมยั สมเด็จพระเจา้ กรุงธนบุรี จึงนบั ว่าแปลกไปจากกรุงศรีอยุธยา เพราะในสมยั กรุงศรีอยุธยานน้ั ผูท้ ่จี ะไดเ้ ป็นพระสงั ฆราชจะตอ้ งเป็นสมเด็จเจา้ คณะใหญ่ทง้ั ๒ คือ สมเด็จ พระพทุ ธโฆษาจารย์ (บางครงั้ เป็นสมเดจ็ พระอรยิ วงศ)์ เจา้ คณะคามวาสฝี ่ายขวา และสมเดจ็ พระวนั รตั เจา้ คณะ คามวาสฝี ่ายซา้ ย องคใ์ ดมพี รรษาแก่กว่าก็จะไดเ้ ป็นสมเด็จพระสงั ฆราช แสดงใหเ้ หน็ ว่าสมเด็จพระสงั ฆราช สมยั อยุธยาตอ้ งเป็นผูท้ รงสมณศกั ด์ิสูง มคี วามสามารถในการปกครองคณะสงฆ์ และเป็นผูท้ รงคุณธรรม ไม่ปรากฏมพี ระสงั ฆราชพระองคใ์ ดถูกถอดถอนสมณศกั ด์ิ แต่ในสมยั ธนบรุ ีมสี มเดจ็ พระสงั ฆราชทม่ี ไิ ดเ้ ลอื ก มาจากพระราชาคณะทง้ั ๒ ตำ� แหน่ง แต่ทรงเป็นพระสงั ฆราชเพราะเหตผุ ลคอื ตอ้ งพระอธั ยาศยั กบั สมเดจ็ พระเจา้ กรุงธนบรุ เี ท่านน้ั เมอ่ื ทรงไมพ่ อพระราชหฤทยั จงึ สามารถถอดถอนโดยหาความผดิ มไิ ดอ้ ำ� นาจของพระสงั ฆราช สมยั ธนบรุ จี งึ น่าจะมนี อ้ ยเตม็ ที เพราะพระเจา้ กรงุ ธนบรุ ที รงกมุ อำ� นาจไวเ้พยี งพระองคเ์ ดยี ว ทรงใชอ้ ำ� นาจปกครอง คณะสงฆโ์ ดยเดด็ ขาด โดยในตอนปลายรชั สมยั เมอ่ื ทรงสำ� คญั พระองคบ์ รรลโุ สดาบนั จงึ ทรงบงั คบั ใหค้ ณะสงฆ์ กราบไหว้ เมอ่ื พระสงฆไ์ มป่ ฏบิ ตั ติ ามกถ็ กู ลงโทษ 10. - 10 (314-381).indd 331 5/10/2022 1:00:16 PM

332 ประวตั พิ ระพทุ ธศาสนา ๑๐.๗ ประวตั กิ ารปกครองคณะสงฆส์ มยั รตั นโกสนิ ทร์ ก. รูปแบบการปกครองคณะสงฆใ์ นสมยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้ าจฬุ าโลกมหาราช (พ.ศ. ๒๓๒๕ – พ.ศ. ๒๓๕๒) และในสมยั พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั (พ.ศ. ๒๓๕๒ – พ.ศ. ๒๓๖๗) รูปแบบการจดั องคก์ รการปกครองคณะสงฆใ์ นรชั กาลท่ี ๑ และ ๒ น้ี ยงั คงถอื ตามแบบอย่างการปกครอง คณะสงฆใ์ นสมยั อยุธยาและธนบุรี อำ� นาจหนา้ ท่เี ป็นของพระมหากษตั ริย์ ถงึ แมจ้ ะมสี มเด็จพระสงั ฆราชเป็น ประมขุ บทบาทของสมเดจ็ พระสงั ฆราชมไิ ดท้ รงมพี ระราชอำ� นาจในการปกครองคณะสงฆโ์ ดยเดด็ ขาด ตอ้ งปฏบิ ตั ิ ตามพระบรมราชโองการของพระเจา้ แผน่ ดนิ สมเดจ็ พระสงั ฆราชไมม่ อี ำ� นาจบงั คบั บญั ชาไดเ้ดด็ ขาด ทรงใชอ้ ำ� นาจ อยู่ในขอบเขตภายในวดั ถา้ เกิดมปี ญั หานอกเหนือจากพระธรรมวนิ ยั ก็เป็นหนา้ ท่ขี องพระมหากษตั ริยเ์ ป็นผู ้ บงั คบั บญั ชาดำ� เนนิ การ อำ� นาจบงั คบั บญั ชาโดยปกตติ กอยู่แก่เสนาบดกี ระทรวงธรรมการ เป็นผูด้ ำ� เนนิ การซง่ึ เป็น หน่วยงานทร่ี บั ผดิ ชอบเก่ยี วกบั เร่อื งพระสงฆโ์ ดยตรง34 โครงสรา้ งการปกครองคณะสงฆใ์ นสมยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช (พ.ศ. ๒๓๒๕ – พ.ศ. ๒๓๕๒) และในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั (พ.ศ. ๒๓๕๒ – พ.ศ. ๒๓๖๗) เน่ืองจากการปกครองคณะสงฆใ์ นสมยั รชั กาลท่ี ๑ และ ๒ มกี ารประยุกตห์ รอื ผสมผสานตามแบบอย่าง การปกครองคณะสงฆใ์ นสมยั อยุธยาและธนบุรี โดยมกี ารปรบั ปรุงแกไ้ ขเพ่อื ความเหมาะสมกบั สถานการณ์ บา้ นเมอื งในขณะนน้ั โดยเฉพาะในสมยั รชั กาลท่ี ๑ เป็นยุคแห่งการเร่มิ ตน้ กรุงรตั นโกสนิ ทร์ อยู่ระหวา่ งการฟ้ืนฟู บา้ นเมอื งและเพอ่ื ความเป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ยของบา้ นเมอื ง  การปกครองคณะสงฆใ์ นสมยั รชั กาลท่ี ๒ ต่อมา ก็ยงั คงถอื ตามแบบอย่างการปกครองคณะสงฆท์ ่พี ระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าฯ ทรงวางแบบไว้ เช่นกนั จงึ สรุป โครงสรา้ งการบรหิ ารและการจดั องคก์ ร การปกครองคณะสงฆใ์ นรชั กาลท่ี ๑ และ ๒ ไดด้ งั น้ี สมเด็จพระสงั ฆราช (สมเด็จพระอรยิ วงศญาณ) สมเดจ็ พระราชาคณะ สมเดจ็ พระราชาคณะ สมเดจ็ พระราชาคณะ คณะเหนือ คณะอรญั ญวาสี คณะใต ้ พระราชาคณะ พระราชาคณะ พระราชาคณะ พระราชาคณะ พระราชาคณะ สามญั คามวาสี อรญั ญวาสี คามวาสี สามญั ภาพท่ี ๑๐.๕ โครงสรา้ งการปกครองคณะสงฆส์ มยั รชั กาลท่ี ๑ – ๒35 34 สมศกั ด์ิ บญุ ปู่, พระสงฆก์ บั การศึกษาไทย พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๒, (กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พม์ หาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๔๗), หนา้ ๒๑๓. 35 อธั ยา โกมลกาญจน, พระพทุ ธศาสนาบนแผ่นดินไทย, หนา้ ๒๕๖. 10. - 10 (314-381).indd 332 5/10/2022 1:00:16 PM

บทท่ี ๑๐ ประวตั กิ ารปกครองคณะสงฆไ์ ทย 333 จากโครงสรา้ งดงั กล่าว จะเหน็ ไดว้ ่า การปกครองคณะสงฆใ์ นสมยั รชั กาลท่ี ๑ และ ๒ ไดป้ รบั ปรุง การปกครองคณะสงฆอ์ อกเป็น ๓ คณะ ไดแ้ ก่ ๑) คณะเหนอื ประกอบดว้ ยสมเดจ็ พระราชาคณะ เป็นเจา้ คณะใหญ่คณะเหนอื ปฏบิ ตั หิ นา้ ทป่ี กครอง ดูแลบรหิ ารกจิ การคณะสงฆภ์ ายในคณะซง่ึ ประกอบดว้ ยพระราชาคณะคามวาสแี ละพระราชาคณะสามญั ๒) คณะอรญั วาสี ประกอบดว้ ยสมเดจ็ พระราชาคณะเป็นเจา้ คณะใหญ่คณะอรญั วาสปี ฏบิ ตั ิหนา้ ท่ี ปกครองดู แลบรหิ ารกจิ การคณะสงฆภ์ ายในคณะซง่ึ ประกอบดว้ ยพระราชาคณะอรญั วาสี ๓) คณะใต้ประกอบดว้ ย สมเดจ็ พระราชาคณะ เป็นเจา้ คณะใหญ่คณะใต้ปฏบิ ตั หิ นา้ ทป่ี กครองดูแล บรหิ ารกจิ การคณะสงฆภ์ ายในคณะซง่ึ ประกอบดว้ ยพระราชาคณะคามวาสแี ละพระราชาคณะอรญั วาสี พระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นผูส้ ถาปนาเจา้ คณะใหญ่รูปใดรูปหน่ึง ข้นึ เป็นสมเดจ็ พระสงั ฆราช และทรงดำ� รง ตำ� แหน่งประมขุ สงฆท์ วั่ ราชอาณาจกั ร ซ่งึ เป็นผูบ้ งั คบั บญั ชาสูงสุดขององคก์ รการปกครองคณะสงฆแ์ ละได้ ดำ� เนินการปกครองกำ� กบั ดูแลพระสงฆแ์ ต่ละคณะใหอ้ ยู่ภายใตก้ ารปกครอง โดยมเี จา้ คณะแต่ละคณะเป็นผู ้ ปกครองบงั คบั บญั ชากำ� กบั ดูแลบริหารกิจการคณะสงฆภ์ ายในคณะของตนตามลำ� ดบั สำ� หรบั ตำ� แหน่งสมเดจ็ พระสงั ฆราชในสมยั น้มี รี าชทนิ นามวา่ สมเดจ็ พระอรยิ วงศญาณ36 สว่ นการเลอื กสมเดจ็ พระสงั ฆราชนนั้ พจิ ารณา จากสมเดจ็ เจา้ คณะใหญ่ ๒ องค์ องคใ์ ดมอี ายุพรรษามากกวา่ กจ็ ะทรงตงั้ ใหเ้ป็นสมเดจ็ พระสงั ฆราช ส่วนพระสงฆค์ ณะอรญั วาสจี ะมนี อ้ ยไม่พอเป็นคณะหน่ึงได้ ใหข้ ้นึ ตรงต่อคณะใต้ จงึ คงไวแ้ ต่ตำ� แหน่ง เจา้ คณะใหญ่ (สมเดจ็ พระราชาคณะอรญั วาส)ี ดว้ ยมหี นา้ ทต่ี อ้ งตามเสดจ็ และต่อมามกี ารปรบั เปลย่ี นตำ� แหน่ง พระญาณสงั วร เป็นเจา้ คณะรองอรญั วาสี (พระราชาคณะอรญั วาส)ี เพราะทรงเลอ่ื มใสในพระอาจารยส์ ุก วดั ท่าหอยกรุงเก่า ซง่ึ โปรดฯใหน้ ิมนตม์ าทรงสถาปนาเป็นทพ่ี ระญาณสงั วรอยู่วดั ราชสทิ ธาราม เน่ืองดว้ ยมคี ุณ ในทางวปิ สั สนาธุระมาก ตำ� แหน่งพระญาณไตรโลก ซ่งึ เป็นเจา้ คณะรองฝ่ายอรญั วาสเี ดิม จึงเป็นตำ� แหน่ง พระราชาคณะสามญั แต่นนั้ มา ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งอาณาจกั รกบั ศาสนจกั ร ในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช (พ.ศ. ๒๓๒๕–พ.ศ. ๒๓๕๒) และในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั (พ.ศ. ๒๓๕๒–พ.ศ. ๒๓๖๗) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าฯ ทรงประกอบพระราชกรณียกิจในฐานะพระราชาผูป้ กป้ อง พระพทุ ธศาสนา ทรงเป็นองคอ์ ปุ ถมั ภกพระพทุ ธศาสนา ดงั จะเหน็ จากทรงปฏบิ ตั หิ นา้ ทโ่ี ดยรวม ซง่ึ พอสรุปได้ ดงั น้ี ครนั้ เสร็จการฉลองพระนครแลว้ จึงมพี ระราชทานนามใหม่ใหต้ อ้ งกบั นามพระพุทธรตั นปฏิมากรว่า “กรุงเทพมหานคร บวรรตั นโกสนิ ทร์ มหนิ ทรายุธยามหาดิลกภพ นพรตั นราชธานีบุรีรมย์ อุดมราชนิเวศน์ มหาสถาน อมรพมิ านอวตารสถติ สกั กะทตั ตยิ ะวษิ ณุกรรมประสทิ ธ์ิ” เป็นพระมหานครทด่ี ำ� รงรกั ษาพระพทุ ธ- มหามณีรตั นปฏมิ ากร เป็นแกว้ อย่างดมี สี ริ อิ นั ประเสรฐิ สำ� หรบั พระบารมขี องสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั ผูป้ ระดษิ ฐาน 36 อธั ยา โกมลกาญจน, พระพทุ ธศาสนาบนแผ่นดินไทย, หนา้ ๒๓๖. 10. - 10 (314-381).indd 333 5/10/2022 1:00:16 PM

334 ประวตั พิ ระพทุ ธศาสนา กรุงเทพมหานครน้ี ตง้ั แต่พระราชทานนามน้มี า บา้ นเมอื งกอ็ ยู่เยน็ เป็นสุขเกษมสมบูรณข์ ้นึ (ครนั้ ต่อมาในแผน่ ดนิ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั ทรงแปลงสรอ้ ยทว่ี ่า บวรรตั นโกสนิ ทร์ เป็นอมรรตั นโกสนิ ทร์ นอกนนั้ คงไวต้ ามเดมิ )37 การทำ� ใหก้ รุงเทพฯ เป็นศูนยก์ ลางพระพทุ ธศาสนาทถ่ี ูกตอ้ งเป็นแบบอย่างแก่นานาประเทศ เพอ่ื สรา้ งความชอบธรรมในแนวทางพระพทุ ธศาสนาเพอ่ื อำ� นวยสุขแก่ประชาชน ดงั พระราชปณิธานว่า. “ตง้ั ใจ จะอปุ ถมั ภก ยอยกพระพทุ ธศาสนา จะป้องกนั ขอบขนั ฑสมี า รกั ษาประชาชนและมนตรี ฯ”38 ดว้ ยทรงฟ้ืนฟูและ พฒั นา ทงั้ ดา้ นวตั ถแุ ละจติ ใจ ทรงผสมผสานพระราชภารกจิ ในฐานะธรรมราชาและจกั รพรรดริ าชาทม่ี งุ่ จรรโลง ธรรมตามทม่ี ปี รากฏในพระพทุ ธศาสนา ทรงเก้อื กูลกนั และกนั ระหวา่ งพทุ ธจกั รและอาณาจกั ร ทงั้ น้เี พราะในสมยั รตั นโกสนิ ทรน์ ้จี ะมชี นชนั้ นำ� ทเ่ี ป็นกระฎมุ พมี ากข้นึ อดุ มการณใ์ หมข่ องรฐั จงึ ตอ้ งเนน้ ลกั ษณะเป็นมนุษยนยิ มทค่ี น ทงั้ ปวงสามารถใชส้ ตปิ ญั ญาและเหตผุ ล ไมใ่ ช่อาศยั อำ� นาจของเทพเท่านนั้ แต่ละคนจะสามารถใชส้ ตปิ ญั ญาของ ตนเองแสวงหาความสุขในชวี ติ มคี วามเขา้ ใจในธรรมและมกี ารกระทำ� อนั ชอบธรรมจนสามารถบรรลพุ ระนพิ พาน พรอ้ มกนั ในทส่ี ุด การปกครองจงึ ตอ้ งเนน้ การเอ้อื เฟ้ือใหค้ นทง้ั หลายไดส้ งั่ สมปญั ญาและประกอบกศุ ลกรรมเพอ่ื ใหเ้ขา้ ถงึ อดุ มคตแิ หง่ พระพทุ ธศาสนา ดงั นนั้ พระองคจ์ งึ ทรงมหี นา้ ทใ่ี นการช่วยประชาชนในจกั รวรรดใิ หม้ วี ถิ ชี วี ติ ท่ดี ีตามแนวทางแห่งพระพทุ ธศาสนา เป็นการปฏบิ ตั ิพระองคใ์ หส้ มกบั เป็นพระโพธิสตั วท์ ่คี นทง้ั หลายเช่ือว่า ทรงเป็นธรรมกิ ราช ผูย้ งั ประโยชนท์ ง้ั ฝ่ายพุทธจกั รและอาณาจกั ร กล่าวคือนอกเหนือจากการประสานงาน กบั ประชาราษฎรข์ องพระองคแ์ ลว้ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้า ฯ ยงั ตอ้ งทรงสรา้ งความสมั พนั ธอ์ นั ดกี บั พระสงฆ์ เพราะในการปฏบิ ตั ติ ่อพระสงฆน์ นั้ จะเป็นผลใหป้ ระชาชนศรทั ธาในองคพ์ ระมหากษตั รยิ เ์ พม่ิ ข้นึ ดว้ ย ซง่ึ วตั รปฏบิ ตั ขิ องพระองคก์ ค็ อื “ทรงบำ� เพญ็ กรรมเป็นบญุ อยู่เป็นนิจ ทรงป้องกนั หมปู่ จั จามติ รไวไ้ ด้ ทรงรกั ษา พระพทุ ธศาสนาใหบ้ ริสุทธ์ิดว้ ยสกิ ขาบททง้ั หลาย มชี าตรูปรชตสกิ ขาบทเป็นตน้ ดว้ ยอานุภาพพระบารมคี ุณ และเพ่อื แสดงใหป้ รากฏชดั ว่า พระมหากษตั ริยไ์ ทยทรงธรรมย่งิ ใหญ่เหนือกษตั ริยท์ ุกพระองคใ์ ดโดยเฉพาะ พระเจา้ องั วะทเ่ี ป็นอธรรม ขณะทพ่ี ระองคส์ ามารถปราบอธรรมไดเ้ พราะทรงมพี ระปณิธานแน่วแน่ทจ่ี ะปกป้อง พระพทุ ธศาสนา เมอ่ื เสร็จสภาวะสงครามแลว้ จะทำ� กิจใด ๆ ก็ไม่ไดล้ ะความอธิษฐานเร่ืองพระโพธิญาณ”39 เน่ืองจากการทำ� บญุ ของพระมหากษตั รยิ ค์ อื ทาน การไดบ้ ญุ สูงสุดจงึ เป็นการถวายทานแก่พระสงฆ์ การตกั บาตร จำ� นวนมาก มกี ารปลอ่ ยปลาทกุ วนั โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ รา้ งพระอาราม พระวหิ าร พระอโุ บสถ กฎุ ี ศาลา ธรรมสถาน เจดยี สถานบรรจพุ ระบรมธาตุ สรา้ งพระพทุ ธรูปทอง พระพทุ ธรูปเงนิ พระพทุ ธรูปแกว้ และธรรมทานคอื โตะ๊ ตู้ หบี สำ� เรจ็ ดว้ ยทองและมกุ การก่อสรา้ งมณฑปสำ� คญั กบั วตั ถสุ ถานอน่ื ๆ รวมทงั้ การชำ� ระพระไตรปิฎก โปรดให้ 37 กรมศิลปากร, พระราชพงศาวดารกรุงรตั นโกสนิ ทร์ รชั กาลท่ี ๑, (กรุงเทพมหานคร : กรมศิลปากร, ๒๕๒๖), หนา้ ๖๑ –๖๓. 38 พระราชนพิ นธน์ ริ าศทา่ ดนิ แดง, อา้ งใน สุทธวิ งศ์ ตนั ตยาพศิ าลสุทธ์,ิ ศาสนาประจำ� ชาต,ิ (กรงุ เทพมหานคร : สำ� นกั งาน ส่งเสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรมฯ, ๒๕๕๒), หนา้ ๒๑. 39 อธั ยา โกมลกาญจน, พระพทุ ธศาสนาบนแผ่นดินไทย, หนา้ ๒๒๕. 10. - 10 (314-381).indd 334 5/10/2022 1:00:16 PM

บทท่ี ๑๐ ประวตั กิ ารปกครองคณะสงฆไ์ ทย 335 จารกึ พระไตรปิฎกลงในใบลานใหญ่ เสรจ็ แลว้ ปิดทองทบึ ทง้ั หนา้ ปกและหลงั ปกและกรอบหอ่ ดว้ ยผา้ ยกมสี ลากงา และลวดลายเขยี นอกั ษรดว้ ยนำ�้ หมกึ มฉี ลากทองบอกชอ่ื คมั ภรี ท์ กุ ๆ ผูก พระไตรปิฎกฉบบั น้เี รยี กวา่ พระไตรปิฎก ฉบบั ทอง40 ประดษิ ฐานในตูป้ ระดบั มกุ ในหอพระมนเทยี รธรรมกลางสระในพระบรมมหาราชวงั และโปรดฯ ใหส้ รา้ งพระไตรปิฎกตามท่ไี ดส้ งั คายนาแลว้ เป็นหลกั ฐานพระราชทานใหอ้ ารามใหญ่นอ้ ยในพระนคร สำ� หรบั ฉบบั หลวง ปิดทองทบึ ทง้ั หนา้ ปกและหลงั ปกและกรอบ เรยี กวา่ ฉบบั ทองทบึ ๓๓๖ คมั ภรี ์ เป็นหนงั สอื ใบลาน ๔๐,๒๘๒ ผูก และฉบบั ลอ่ งชาติ ๒๙๐ คมั ภรี เ์ ป็นหนงั สอื ใบลาน ๓๔.๔๘๙ ผูก การรวบรวมและชำ� ระ การจารกึ พระไตรปิฎกท่ีขาดหายไป ใหก้ ลบั สู่สภาพเดิมอย่างครบถว้ นน้ี เป็นพระราชประสงค์ ดงั ท่ีพระองค์ ไดม้ ี พระราชดำ� รสั ต่อพระราชาคณะว่า “ครงั้ น้ีขออาราธนาพระผูเ้ ป็นเจา้ ทง้ั ปวง จงมอี ุตสาหะในฝ่ายพระพทุ ธจกั ร ใหพ้ ระไตรปิฎกบริบูรณ์ข้นึ ใหจ้ งได้ ฝ่ายขา้ งอาณาจกั รท่จี ะเป็นศาสนูปถมั ภกนน้ั เป็นพนกั งานโยม โยมจะสู ้ เสยี สละชวี ติ บูชาพระรตั นตรยั สุดแต่จะใหพ้ ระปรยิ ตั บิ รบิ ูรณ์ เป็นมลู ทจ่ี ะตงั้ พระพทุ ธศาสนาจงได”้ 41 “ทกุ วนั น้ี ตง้ั พระทยั แต่ทจ่ี ะทำ� นุบำ� รุงบวรพระพทุ ธศาสนา ไพร่ฟ้าประชากรใหอ้ ยู่เยน็ เป็นสุข ใหต้ งั้ มนั่ อยู่ในคตธิ รรมทงั้ ๔ ดำ� รงจติ จตั รุ สั บำ� เพญ็ ศีลทาน จะไดส้ ุคตภิ มู ิ มนุษยสมบตั ิ สวรรคสมบตั ิ นิพพานสมบตั ิ เป็นประโยชนแ์ ต่ตน ”42 นบั ว่าเป็นการสรา้ งความสมั พนั ธอ์ นั ดรี ะหว่างอาณาจกั รกบั ศาสนจกั รอกี ประการหน่ึง ถอื ไดว้ ่าเป็นการ เรยี กขวญั และกำ� ลงั ใจประชาราษฎรไ์ ดอ้ ย่างดี เพราะสามารถทำ� ทำ� ให้ มหาชนทงั้ หลายมเี สนาบดเี ป็นตน้ พากนั ช่นื ชมนำ�้ พระทยั ศรทั ธาในพระพทุ ธศาสนา นอกเหนอื จากพระราชภารกจิ ทท่ี รงกระทำ� มาแลว้ ส่วนการสรา้ งความพนั ธก์ บั องคก์ รสงฆน์ น้ั เมอ่ื มกี ารรวบรวม ชำ� ระ จารกึ พระไตรปิฎก มพี ระไตรปิฎก เป็นหลกั ฐานเพอ่ื การอา้ งองิ ในศึกษาคน้ ควา้ ทส่ี มบูรณ์แลว้ จงึ มกี ารแกไ้ ขเร่อื งการจดั ระเบยี บองคก์ รสงฆม์ กี าร ตรากฎหมายสงฆ์ เพอ่ื ใหพ้ ระสงฆบ์ ำ� เพญ็ ตนใหถ้ กู ตอ้ งตามพระธรรมวนิ ยั เพอ่ื ดำ� รงพระปาตโิ มกขส์ งั วรศลี บรสิ ทุ ธ์ิ ใหเ้ป็นเน้อื นาบญุ ของสตั วโ์ ลก เอาใจใสเ่ ลา่ เรยี นพระไตรปิฎก เพอ่ื เป็นการเจรญิ ปญั ญาแลว้ แสดงพระธรรมเทศนา แต่ตามวาระพระบาลแี ละอรรถฎกี าเทา่ นนั้ ทรงเนน้ ความสำ� คญั ของปญั ญาความรูแ้ ละการฝึกตนในหลายกาลเทศะ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้า ฯ ทรงมคี วามเช่อื มนั่ ในพระสงฆม์ ากเช่น ในการเตรียมการสถาปนาสมเดจ็ เจา้ ฟ้ากรมหลวงอศิ รสุนทรเป็นรชั ทายาท พระสงฆก์ ็มสี ่วนในการสนองพระราชดำ� ริ โดยสมเด็จพระสงั ฆราช และพระราชาคณะเสนอใหถ้ วายสตั ยส์ าบานเป็นการสรา้ งการยอมรบั ทางการเมอื งส่วนหน่ึง นอกจากน้ี พระสงฆ์ ยงั เป็นผูป้ ระกอบพธิ กี รรมต่าง ๆ ในราชสำ� นกั เช่น พระราชพธิ ฝี งั อาถรรพณป์ ้อมประตูหลกั เมอื ง การเฉลมิ ฉลอง เน่ืองในพธิ ปี ราบดาภเิ ษกของกษตั รยิ แ์ ละการเฉลมิ ฉลองพระราชมนเทยี ร เป็นตน้ ส่วนความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งอาณาจกั รกบั ศาสนจกั รในสมยั รชั กาลท่ี ๒ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั นน้ั เป็นช่วงบา้ นเมอื งอยู่ในสภาพปกติไม่มสี งคราม เวลาเชา้ เสดจ็ ออกปรนนิบตั ิพระสงฆแ์ ละราชการ 40 เร่อื งเดยี วกนั , หนา้ ๒๓๑. 41 กรมศิลปากร, พระราชพงศาวดารกรุงรตั นโกสนิ ทร์ รชั กาลท่ี ๑, หนา้ ๑๑๓. 42 กฎหมายตราสามดวง, (กรุงเทพมหานคร : กรมศิลปากร, ๒๕๒๑), หนา้ ๗๖๙. 10. - 10 (314-381).indd 335 5/10/2022 1:00:16 PM


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook