สารบัญ II คานา III สารบัญ 2 Oral Presentation 8 1 เคร่ืองร่อนมูลและคัดขนาดแมลง (หนอนและดักแด้มอดราข้าวสาลี/หนอนนก) 18 2 พลิกโฉมการบริหารจดั การด้วยกลยุทธ์การตลาดเชิงรุก 30 3 สานักวิทยบริการ องคก์ รตน้ แบบการใช้พลังงานสะอาดและเป็นมิตรกับส่ิงแวดลอ้ ม 4 กระบวนการพัฒนาอาจารยเ์ พื่อเข้าสู่กรอบสมรรถนะอาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (PSU-TPSF) 43 วิทยาเขตสรุ าษฎร์ธานี 55 65 5 จากห้องปฏิบัตกิ ารทางวิทยาศาสตร์ท่ัวไปสู่การเป็นห้องปฏิบัติการมาตรฐานความปลอดภัยตน้ แบบ ระดับชาติ 77 Oral Presentation ห้องย่อยท่ี 1 HR & Environment 87 99 6 การขบั เคลื่อนการเขา้ สู่ตาแหน่งทางวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ พร้อมระบบ ก.พ.อ. 03 online 7 ระบบการบริหารมาตรฐานการปฏิบัตงิ านของบุคลากรสานักวิทยบริการ 109 8 การพัฒนาระบบการให้คะแนนภาระงานท่ีส่วนงานกาหนด คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 122 9 ระบบบริหารจัดการภูมิทัศน์แบบยั่งยืน (Sustainable Landscape Management) 133 10 ระบบสนับสนุนการปฏิบัตงิ านอาคารสถานท่ีและยานพาหนะ คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ (HUSO 143 building support system) 154 Oral Presentation ห้องท่ี 2 New Normal 166 11 กระบวนการพัฒนานักศกึ ษาในยุควิถีชีวิตใหม่ (Student Development Process in The New Normal) 175 12 โครงการจดั สอบ TOEFL ITP Online at home 187 13 ระบบ SCI-ROUND เพ่ือการคัดกรองความเส่ียงและรองรับการดูแลนักศกึ ษาในยคุ โควิด–19 (Stop COVID-19 with SCI-ROUND) 14 การให้คาปรึกษาและสง่ ตอ่ การรักษาผู้ป่วยมะเร็งชนิดก้อนโดยใช้โปรแกรมอิเล็กทรอนิกส์สารสนเทศ (E-consult) 15 การประยุกต์ใช้แนวคิด LEAN ในการบริหารจดั การกระบวนการสนับสนุนการวิจยั คณะวิทยาศาสตร์ ม.สงขลา นครินทร์ Oral Presentation ห้องย่อยท่ี 3 Healthcare 16 เพิ่มประสิทธิภาพการคัดกรองผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ 17 มแนหวาปวิทฏยิบาัตลกิ ยั าสรงปขรละาเมนินครแินรกทรรับ์ และรายงาน โดยใช้ PAT and PEWS 18 การสง่ เสริมการเลี้ยงลูกดว้ ยนมแม่
19 แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อดแู ลผู้ป่วยระบบหัวใจและหลอดเลอื ดแดงใหญ่ในระยะวิกฤตให้ปลอดภัยจากการตดิ 196 เชื้อท่ีสัมพันธ์กับการใสอ่ ปุ กรณ์ทางการแพทย์ (device-associated infection) 20 การพัฒนาโทรเวชกรรมคลนิ ิกรังสรี ักษาและมะเร็งวิทยา โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 203 Oral Presentation ห้องย่อยท่ี 4 Research 21 การรวมพลงั เครือขา่ ยสันติภาพชายแดนใตก้ บั การสารวจความคดิ เห็นของประชาชนตอ่ กระบวนการสนั ตภิ าพ 222 ชายแดนใต้ 22 การถา่ ยทอดองค์ความรู้ดา้ นศลิ ปะนวัตกรรมเพื่อสร้างผลติ ภัณฑเ์ ก้ียวจาลอง สะท้อนอตั ลกั ษณ์ชุมชนหัวตลาด 234 ตาบลอาเนาะรู อาเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 23 THESIS ม.อ. ไม่มีลอกเลียน… 250 24 การลดระยะเวลากระบวนการขอรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ประเภท Expedited Reviews 262 Poster Presentation 25 การพัฒนารูปแบบการจดั การเรียนการสอนสถานการณ์เสมือนจริง (SIMULATION) การพยาบาลจติ เวชเดก็ 272 26 การบริหารจดั การระบบงานของคลนิ ิกอายุรกรรมโรคมะเร็ง โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ดว้ ยวิถกี ารแพทย์ 278 แม่นยา ตามมาตรฐานสงู สุดอยา่ งองคร์ วม 27 ระบบคาร้องลงทะเบียนเรียนออนไลน์ (หน่วยกติ เกนิ น้อยกว่ากาหนด) 288 28 การตรวจสอบการลงทะเบียนเรียนของนักศึกษาระดบั ปริญญาตรี คณะการแพทยแ์ ผนไทย 295 มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ 29 การจดั กจิ กรรมรูปแบบออนไลน์ยคุ ใน New Normal ด้วย Virtual Event 304 30 การดาเนินงานของศูนย์หัตถศิลป์ สถาบันวัฒนธรรมศึกษากลั ยาณิวัฒนา : การพัฒนาคณุ คา่ และมูลคา่ ทางวัฒนธรรมเพ3ื่อ1ช5ุมชน 31 ระบบบริการของฝ่ายหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนด้ี 323 32 สื่อสร้างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้หนูน้อยปฐมวัย 333 33 กระบวนการดาเนินการสอบสมั ภาษณ์ TCAS รอบท่ี 1 รูปแบบออนไลน์ คณะวิทยาการจดั การ 327 34 กระบวนการสง่ เสริมให้บุคลากรสายวิชาการของคณะศิลปศาสตร์ขอรับการประเมินเขา้ สู่กรอบมาตรฐาน 348 สมรรถนะอาจารยม์ หาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ (PSU Teaching Professional Standards Framework: 35 PกSารUด–าTเPนSินFง)านสหกจิ ศึกษาคณะรัฐศาสตร์ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือร้ายแรง ปีการศึกษา 385 36 2ก5าร6บ2-ร2ิห5า6ร4จัดการ Journal of Information and Learning 370 37 การพัฒนาระบบการควบคมุ และกาจัดหนู คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 376
38 การแสดงผลรายการวัสดุสารองในคลงั พัสดุ คณะพยาบาลศาสตร์ ดว้ ย QR Cord 381 39 ตลาดเกษตร ม.อ. สู้โควิด-19 385 40 ระบบฐานขอ้ มูลครุภัณฑ์ วัสดุ ของงานวิเทศสัมพันธ์และเทคโนโลยีสารสนเทศ 394 41 แอพลิเคชั่นสาหรับการเลอื กโครงงานนักศึกษา ปี 4 สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า 397 42 ยกระดับองค์กรด้วยมาตรฐาน ISO9001 409 43 ระบบบริหารการดาเนินงานประกันคุณภาพสานักวิทยบริการ 418 44 การสร้างระบบการจองเครื่องมือวิทยาศาสตร์ ด้วย Google form ร่วมกับการแจ้งเตือนดว้ ยโปรแกรมไลน์ 427 (Improvement of Equipment Management System; EMS by Using Google Form with Line 438 45 Nฐาoนtขifi้อcมaูลtiคoรnุภ) ัณฑ์ สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี 443 46 การใช้งานเคร่ืองมือและความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการวิศวกรรมส่ิงแวดลอ้ ม สาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและ 451 สิ่งแวดลอ้ ม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ 460 468 47 การจดั ท่าให้นมบุตร สาหรับมารดาหลังผา่ ท้องทาคลอด 473 48 โครงการสาธิตดา้ นการจัดการธุรกจิ และจาหน่ายผลติ ภัณฑ์ (chana way) 478 49 โครงการให้ความรู้แกผ่ ู้ใช้บริการ Customer Take Care 490 50 ระบบแจ้งการนาส่งเงินด้านบริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ 51 กระบวนการรับนักศึกษาใหม่เชิงรุก 500 52 การบริหารจดั การความเสี่ยงภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า (Covid-19) คณะ 510 520 วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 533 541 53 การบริหารจัดการแผนพัฒนาบุคลากร ระยะที่ 1 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ 54 การพัฒนาระบบสนับสนุนการจดั กจิ กรรมบริจาคโลหิตภายใตโ้ ครงการ “55แสนซซี ี55ปBม.อ.” 550 55 ระบบงานสนับสนุนการขอรับการประเมิน PSU-TPSF คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ 560 56 ระบบทุนการศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ HUSO scholarship 569 57 การเพิ่มประสทิ ธิภาพกระบวนการป้องกันภาวะขาดโปรตีนสาหรับผู้ป่วยท่ีเข้ารักษาโรคอ้วนดว้ ยวิธีการผา่ ตัด 579 ลดขนาดกระเพาะ 58 การป้องกนั และเฝ้าระวังการตดิ เช้ือดื้อยา CRE ในหอผู้ป่วยเดก็ 2 (ไฟจราจร กับการจัดการเช้ือดอ้ื ยา) 59 แนวปฏิบัตกิ ารป้องกนั ผู้ป่วยพลัดตก/ ล่ืนลม้ (Fall/ Slip Prevention) 60 แบบตรวจสอบรายการผ่าตดั ปลอดภัย (Songklanagarind Surgical Safety Checklist) 61 การใหค้ ำปรกึ ษาแนะนำในการตรวจวนิ ิจฉัยธาลัสซเี มยี
เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ เวทคี ุณภาพมหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ผู้พมิ พ์ ศูนย์บรหิ ารจัดการคณุ ภาพองคก์ ร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปที พี่ ิมพ์ สงิ หาคม 2565 ศูนยบ์ ริหารจดั การคุณภาพองคก์ ร โทรศพั ท์ 0 7428 2822, 0 7428 2940-2 URL : 0 7428 2822 E-mail : [email protected] II
เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ คานา เวทีคุณภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นการบูรณาการ การจัดการความรู้ ( Knowledge Management) กับการประกันคุณภาพ โดยการถ่ายทอดประสบการณ์แนวปฏิบัติท่ีเป็นเลิศด้วยการจัด นิทรรศการ การบรรยาย ซ่ึงผู้ท่ีสนใจสามารถนาไปประยุกต์และพัฒนาวิธีการปฏิบัติ ลดระยะเวลาท่ีใช้ในการ ปรับปรุงประสิทธิภาพในกระบวนการปฏิบัติงาน รวมท้ังเพื่อสร้างความผูกพันระหว่างผู้บริหารกับบุคลากร ขอขอบคุณคณะ/หน่วยงานท่ีได้จัดทารายละเอียด เทคนิค วิธีการ กระบวนการพัฒนา ในการได้มาซึ่ง แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ เพ่ือจัดทาคลังความรู้ สาหรับการพัฒนาระบบคุณภาพของมหาวิทยาลัยอย่างต่อเน่ือง และยง่ั ยนื ศูนยบ์ รหิ ารจดั การคุณภาพองคก์ ร มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ III
เวทคี ุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ Oral Presentation 1
เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ แนวปฏิบัตทิ เ่ี ป็นเลิศ *************************************** 1. ชอื่ เรือ่ ง เครอ่ื งรอ่ นมูลและคัดขนาดแมลง (หนอนและดักแด้มอดรำข้าวสาล/ี หนอนนก) 2. โครงการ/กจิ กรรมด้าน ดา้ นงานวจิ ัย 3. ช่อื หนว่ ยงาน สาขานวตั กรรมการเกษตรและการจัดการ คณะทรพั ยากรธรรมชาติ 4. ประเภทของโครงการ ประเภทท่ี 1 แนวปฏิบัตทิ เ่ี ปน็ เลิศ ระดับคณะ/หน่วยงาน (ผ่านการคัดเลือกโดยเวทหี รอื ผบู้ ริหารของคณะ) 1.1 สายวชิ าการ ❑ 1.2 สายสนบั สนนุ ❑ ประเภทท่ี 2 แนวปฏิบัติทดี่ ี ❑ 2.1 สายวิชาการ ❑ 2.2 สายสนับสนนุ 5. รายชื่อคณะทำงานพัฒนาแนวปฏบิ ตั ิทีเ่ ป็นเลิศ 5.1. ดร.เทวี มณีรตั น์ 5.2. นายทวีผล เกษรเกศรา 6. การประเมนิ ปญั หา/ความเสยี่ ง (Assessment) คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นหน่วยงานท่ีดำเนินงานโดยมีวิสัยทัศน์ ในการเป็นคณะ ชนั้ นำของประเทศด้านการผลิตและพัฒนาคน องค์ความรู้และนวัตกรรม เพื่อความยั่งยืนของภาคการเกษตรไทย โดยมี ยุทธศาสตร์ในการดำเนินงาน คอื วจิ ัยและพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี และสรา้ งนวัตกรรมตอบโจทย์การทำเกษตรยุค ใหมแ่ ละการทำการเกษตรแบบย่ังยนื สาขานวัตกรรมการเกษตรและการจดั การ เป็นหน่งึ ในสาขาวชิ าภายใตค้ ณะทรัพยากรธรรมชาติทผี่ ลิตบณั ฑิตที่มอี งค์ ความรู้และทกั ษะดา้ นการเกษตรออกสูต่ ลาดแรงงาน การจดั การเรยี น การสอน และการวจิ ัยดา้ นการผลิตแมลงทีน่ ำไปใช้ ประโยชน์ทางการเกษตร การผลิตแมลงเพื่อเป็นแหล่งอาหารแห่งอนาคต การพัฒนาการเรียนการสอนสู่การเป็น ผู้ประกอบการด้านธุรกิจการผลิตแมลง เช่น การผลิตแมลงศัตรูธรรมชาติ (แมลงตัวห้ำและแมลงตัวเบียน) เพื่อควบคุม แมลงศัตรูพืชโดยชีววิธี การผลิตแมลงกินได้ ชุดวิชาการผลิตแมลงแหล่งอาหารแห่งอนาคต รวมท้ังการจัดต้ังหน่วยผลิต มวนเพชฌฆาต และแมลงตวั ห้ำตัวเบยี น การทำงานดา้ นการผลิตแมลงมคี วามแตกตา่ งจากสาขาอ่นื ด้านวัสดแุ ละอุปกรณ์ ท่ีพร้อมสำหรับใช้งานไม่สามารถหาซื้อได้ทั่วไป การทำงานส่วนใหญ่จึงจำเป็นต้องใช้แรงงานคนที่มีความชำนาญและ ทักษะ ข้อจำกัดด้านแรงงานยังส่งผลต่อการเพ่ิมปริมาณการผลิตแมลงให้ได้ในปริมาณมาก ดังน้ันการสร้างอุปกรณ์หรือ เคร่อื งมอื เพ่อื ใหเ้ หมาะกบั การใช้งาน ลดเวลา และเพมิ่ ประสิทธิภาพในการทำงาน มีความจำเป็นอยา่ งยง่ิ คณะผู้วิจยั จึงได้ ใช้องค์ความรู้ที่มีด้านการผลิตแมลงมาต่อยอดและสร้างเคร่ืองร่อนมูลและคัดขนาดแมลง โดยใช้หนอนมอดรำข้าวสาลี หรอื หนอนนก เปน็ แมลงตน้ แบบในการวิจยั 7. เปา้ หมาย/วตั ถปุ ระสงค์ 7.1. เพื่อสร้างนวตั กรรมเครอื่ งรอ่ นมลู และคัดขนาดแมลง (หนอนและดกั แดม้ อดรำขา้ วสาล)ี 7.2. เพอ่ื ลดระยะเวลาในการทำงาน แยกมลู คัดเลอื กและกำหนดขนาดของแมลง 2
เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ 7.3. เตรยี มความพรอ้ มดา้ นการสร้างนวัตกรรมสำหรับการเรยี น การสอน และการวจิ ยั ด้านการผลิตแมลงแหล่งอาหาร โปรตีนแหง่ อนาคต 8. ผลทคี่ าดว่าจะไดร้ บั 8.1. คดั แยกระยะ (หนอนและดกั แด้) ขนาดของหนอนมอดรำข้าวสาลี และมลู ของหนอน 8.2. ลดระยะเวลาและเพมิ่ ประสทิ ธิภาพการทำงาน 8.3. ต้นแบบนวตั กรรมเครอื่ งรอ่ นมลู และคดั ขนาดแมลง สำหรับการเรียน การสอน การวจิ ยั และสามารถพัฒนาและตอ่ ยอดส่เู ชิงพาณชิ ย์ 9. การออกแบบกระบวนการ 9.1. วิธกี าร/แนวทางการปฏบิ ตั จิ ริง (PDCA/ Lean) เดิมในกระบวนการเลย้ี งหนอนมอดรำข้าวสาลีจำเปน็ ต้องทำการคดั แยกระยะของหนอนมอดรำขา้ วสาลแี ละรอ่ นมลู หนอน ซึ่งการคัดแยกต้องทำงาน 3 ขน้ั ตอน คือ การใช้ตะแกรงหยาบคัดแยกหนอนขนาดใหญแ่ ละดกั แด้ ใช้ตะแกรง ละเอยี ดรอ่ นมลู หนอน และใช้มือในการเลอื กดักแดอ้ อกจากหนอนไซต์ใหญ่ ซ่ึงการดำเนินงานในแตล่ ะขั้นตอนต้องใช้ ระยะเวลาอยา่ งนอ้ ย 15-20 นาที ตอ่ การคดั แยกแมลง 1 กโิ ลกรัม แตใ่ นขณะเดียวกนั ในกรณีท่ีต้องเลย้ี งแมลงในปรมิ าณ มากกว่า 20 กโิ ลกรัม จะส่งผลให้ไม่สามารถเลยี้ งแมลงไดท้ นั ในเวลา 1 วัน จากปัญหาทีเ่ กิดข้นึ ทำใหผ้ วู้ จิ ยั ไดส้ บื คน้ หา อุปกรณท์ ใ่ี ช้ในการทำงานทีใ่ กลเ้ คยี งกบั กจิ กรรมทกี่ ลา่ ว คือ เครอ่ื งคดั แยกข้าวเปลือก ผลจากนำเครื่องคัดแยกขา้ วเปลอื ก(ภาพที่ 1) มาทำการคดั ระยะและขนาดของหนอนมอดรำขา้ วสาลี คอื เมอ่ื นำ หนอนเทใสใ่ นเคร่อื งคัดแยกข้าวเปลอื ก สามารถชว่ ยคดั ระยะดกั แด้ออกจากหนอนได้ และลดระยะเวลาในการทำงานลง ครง่ึ หนง่ึ แตป่ ญั หาทีเ่ กดิ จากการใช้เคร่อื งคัดแยกเมล็ดข้าวเปลือก คอื หนอนตดิ อยูต่ ามช่องต่างๆ ภายในเครอื่ ง และ เนอื่ งจากบรเิ วณทใ่ี ส่หนอนของเคร่ืองเปน็ ชอ่ งปดิ และมีช่องอยรู่ ะหว่างแต่ละชัน้ ของเครือ่ งร่อนสง่ ผลให้หนอนสามารถเขา้ ไปหลบซ่อนอย่เู ป็นจำนวนมาก ทำให้ไมส่ ามารถจัดการกบั หนอนไดแ้ ละหนอนตายอยภู่ ายในชอ่ งตา่ งๆ และเกดิ ปัญหามด ขึ้นเครือ่ งคดั แยก ภาพท่ี 1 เครอ่ื งคัดแยกเมล็ดขา้ วเปลอื ก จากนั้นผู้วิจัยจึงได้ประสานงานเพ่ือขอความร่วมมือกับงานอาคารและสถานที่ คณะทรัพยากรธรรมชาติ และ ออกแบบช้ินงานโดยปฏบิ ตั งิ านโดยใชแ้ นวทาง PDCA ภายใต้โจทย์การทำงาน การวางแผนการทำงานคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) สร้างเครื่องมือสำหรับการคัดแยกแมลงได้อย่างแม่นยำ 2) เพ่ิม ประสิทธิภาพการทำงาน 3) ลดแรงงานและระยะเวลาการทำงาน ดำเนินการออกแบบเครื่องร่อนมูลและคัดแยกขนาดหนอน โดยปรับรูปแบบให้เหมาะสมและตรงตามความตอ้ งการ ใช้งานจริงในสภาพห้องปฏิบัติการ หน่วยผลิตมวนเพชฌฆาตและแมลงตัวห้ำตัวเบียน และเพ่ือให้เกิดประโยชน์ต่อฟาร์ม 3
เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เล้ียงแมลงจึงได้มีการสำรวจและสอบถามข้อมูลการคัดเลือกหนอนมอดรำข้าวสาลีระยะท่ีจำหน่ายและตรงตามความ ตอ้ งการของตลาด ดำเนินการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เพ่ือใช้ในการประดิษฐ์เครื่องร่อนมูลและคัดแยกขนาดหนอน (ภาพท่ี 2 ก และ ข) โดยตัวโครงสร้างของเครื่องทำจากเหล็กกล่องขนาด 1 น้ิวคร่ึง มอเตอร์ไฟฟ้า มูเล่ 1 ชุด (ภาพท่ี 2 ค) มูเล่บน และมูเล่ มอเตอร์ (ภาพท่ี 2 ง และ จ) ต๊กุ ตาข้อเหว่ยี ง 1 ชดุ (ภาพท่ี 2 ฉ) ชดุ โครงเหลก็ รองตะแกรง 5 ชัน้ (ภาพท่ี 2 ช) ตะแกรง อลูมิเนียมสำหรับคัดไซต์หนอนมอดรำข้าวสาลี 4 ขนาด และสำหรับร่อนมูลหนอน 1 ขนาด สายพานมูเล ถาดรองมูล หนอน (ภาพที่ 2 ซ) ง คจ ก ฉ ขช ซ ภาพที่ 2 เคร่ืองรอ่ นมลู และคัดแยกขนาดหนอน (หนอนมอดรำขา้ วสาล/ี หนอนนก) เมอื่ ประกอบเครื่องเรยี บรอ้ ยแลว้ นำมาทดสอบการใช้ โดยหนว่ ยผลติ มวนเพชฌฆาตและแมลงตัวห้ำตวั เบียน และ ปรบั แกไ้ ขหลายรอบโดยใช้กระบวนการ PDCA อยา่ งตอ่ เนอื่ ง จนสามารถใชง้ านได้จรงิ 9.2. งบประมาณทีใ่ ช้ในการจดั โครงการ-กิจกรรม (ถา้ มี) งบประมาณท่ีใช้ในการดำเนนิ งานวิจัยคร้ังนท้ี งั้ ส้นิ จำนวน 9,600 บาท 4
เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ ราคา (บาท) 1,500 รายการ 500 1. มอเตอร์ AC ขนาด 1/3 แรง (จำนวน 1 ชิน้ ) 3,000 2. ชุดมเู ล่ย์ 400 3. ช้นั ตะแกรงสำหรบั รอ่ นแมลง (จำนวน 6 ช้ิน) 2,500 4. ถาดรองมูลหนอนชน้ั ล่าง (จำนวน 1 ชิ้น) 1,700 5. ตะแกรงถ่ีแสตนเลส 6 ขนาด 9,600 6. เหล็กกล่อง และเหล็กฉากขนาด 1.5 นวิ้ รวม หมายเหต:ุ ตน้ ทนุ การผลติ ณ วันที่ 11 มถิ นุ ายน 2564 10. การวดั ผลและผลลัพธ์ (Measures) หรอื แสดงระดับแนวโนม้ ขอ้ มลู เชิงเปรียบเทียบ (3 ปี) และ/หรอื เปรยี บเทยี บกับ หนว่ ยงานภายใน/ภายนอก (การรายงานผลการดำเนนิ งาน (Result) จะตอ้ งมีความสอดคล้องกับเป้าหมาย/วตั ถปุ ระสงค)์ จากการพฒั นาเครอื่ งรอ่ นมลู และคดั ขนาดหนอนมอดรำขา้ วสาลี เมอ่ื นำมาทดสอบการใชง้ านจรงิ โดยติดตง้ั เคร่ือง และใช้งานภายใต้การดำเนินงานของหนว่ ยผลติ มวนเพชฌฆาต Sycanus collaris และแมลงตัวหำ้ ตวั เบียน คณะ ทรพั ยากรธรรมชาติ รายละเอียดของผลลัพธ์เชิงประจักษ์ท้งั ด้านการพัฒนางาน การเพ่ิมมลู คา่ การเพม่ิ ประสทิ ธิภาพ/ ประสทิ ธผิ ล ฯลฯ (ตารางที่ 1) ตารางที่ 1 รายละเอยี ดการเปรียบเทยี บการวดั ผลของวิธีการเลยี้ งแบบเดิมเปรยี บเทยี บกับเครอื่ งรอ่ นมูลและคดั ขนาด หนอนมอดรำข้าวสาลี วิธีการเดมิ วธิ กี ารใหม่ รายละเอยี ดกจิ กรรม การพฒั นางาน คัดแยกหนอนด้วยมือ และตระแกรง คดั แยกหนอนโดยใช้เครอื่ งร่อน ดว้ ย รอ่ นหยาบ และละเอยี ด แยกระยะ ตระแกรงระดบั ความถี่ 5 ระดบั แยก ดกั แด้ หนอน และมลู หนอน ระยะดักแด้ หนอน 3 ขนาด และมูล หนอน การเพิ่มมลู ค่า - - เครื่องตน้ แบทสี่ ามารถพฒั นาตอ่ ยอดสเู่ ชงิ พาณชิ ย์ - การยื่นขอจดสทิ ธิบัตร การเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพ/ประสิทธผิ ล - คัดแยกดกั แดไ้ ด้ มขี ้อจำกดั เกยี่ วกบั - คัดแยกระยะดกั แด้ออกจากหนอน ความละเอียดของผู้ปฏบิ ัติงาน ไดร้ อ้ ยละ 98 - คดั แยกหนอนได้ 3 ขนาด คอื S หนอนมีนำ้ หนกั 0.280.03 มก. M หนอนมีน้ำหนกั 0.790.08 มก. L หนอนมนี ำ้ หนกั 1.040.01 มก. - มูลหนอนมอดรำขา้ วสาลีทไี่ ดม้ ขี นาด สมำ่ เสมอ การลดเวลา/ขั้นตอน/แรงงาน/ - การดำเนินงานอยา่ งนอ้ ย 3 ข้นั ตอน - ดำเนนิ งาน 1 ขั้นตอน ขอ้ ผิดพลาด - แต่ละขัน้ ตอนใชเ้ วลา 15 นาที/ - คัดแยก ดกั แด้ หนอนไซต์ S M L หนอน 1 กโิ ลกรมั คดิ เป็น 45 นาที และมลู หนอนไดพ้ รอ้ มกันในครั้งเดยี ว - การเพ่มิ ปริมาณการเลย้ี งแมลงใน - การคัดแยกใช้เวลา 3-4 นาท/ี หนอน หอ้ งแลปต้องเพิ่มแรงงานคน 1 กิโลกรัม - เกดิ ข้อผิดพลาดจากการคัดแยก - ใชแ้ รงงาน 1 คน 5
รายละเอียดกจิ กรรม เวทคี ุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิธกี ารใหม่ การวดั ผลและผลลพั ธ์ - เพมิ่ ปริมาณการเลี้ยงแมลงไดอ้ ยา่ ง การนำไปใชป้ ระโยชน์ วิธีการเดมิ น้อย 100 กโิ ลกรัมในหอ้ งปฏิบตั กิ าร ดกั แดอ้ อกจากหนอนไมห่ มด หนอน - ในกระบะกินดักแด้ - การทำงานไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ - ความสมำ่ เสมอของคุณภาพผลงานท่ี - การทำงานมีข้อจำกดั หลายดา้ น ได้ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ แรงงานทีม่ ี - ลดปัญหาคา่ ใชจ้ า่ ยจากการจ้าง ประสิทธภิ าพ แรงงาน - การเรยี นการสอนในรายวิชาแมลง กินได้ (หลกั สตู รเดมิ ) - การเรียนการสอนในชุดวชิ าธุรกจิ การผลิตแมลงอาหารแห่งอนาคต (หลักสตู รใหม่ 2564) - สร้างนวัตกรรมทางด้านธุรกจิ การ ผลิตแมลง - การจดสิทธิบตั ร - การขยายผลและพัฒนาเครอื่ งรอ่ น มูลและคดั แยกหนอนส่เู ชิงพาณชิ ย์ 11. การเรยี นรู้ (Study/Learning) 11.1. แผนหรอื แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพอย่างตอ่ เน่อื งในอนาคต 1) การตรวจสอบขอ้ ตอ่ และข้อเหวีย่ งต่างๆ ของเคร่ือง และบำรงุ รักษาอยา่ งสม่ำเสมอ เพือ่ รักษาสภาพของเคร่อื ง ใหส้ ามารถใชง้ านได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 2) ตรวจสอบจดุ บกพร่องและปรบั แกไ้ ขให้เครอื่ งมคี วามสมบรู ณ์ และมงุ่ สกู่ ารพฒั นางานในเชงิ พาณชิ ย์ 3) การส่งผลงานเพ่ือขอรับสิทธิบตั ร 11.2. จดุ แขง็ (Strength) หรือส่งิ ทท่ี ำไดด้ ีในประเด็นทนี่ ำเสนอ 1) เครอ่ื งร่อนมลู และคัดแยกแมลง (หนอนมอดรำข้าวสาล/ี หนอนนก) เปน็ เครือ่ งตน้ แบบทส่ี ามารถใชเ้ พอ่ื การ เรยี นการสอน การวิจยั และนำไปสู่การผลติ เชงิ พาณิชย์ 2) สามารถลดตน้ ระยะเวลาการทำงานเมื่อเปรยี บเทียบกับแรงงานคน สงู ถึง 20 เทา่ 3) เครื่องร่อนมลู และคดั แยกแมลง สามารถคัดขนาดหนอนได้อย่างละเอียด ถงึ 5 ระดบั 4) เครอื่ งร่อนมลู และคดั แยกแมลง เปน็ เครอ่ื งมอื ท่ีออกแบบและประกอบขน้ึ โดยการนำอปุ กรณ์บางสว่ นที่เปน็ ของเหลอื ใชก้ ลับมาใชใ้ หม่ เชน่ การนำยางรถยนตเ์ ก่ากลับมาใช้เป็นตัวยดึ ขอ้ ตอ่ ระหวา่ งช้นั 5) ลดแรงงานและเพิ่มประสิทธภิ าพการทำงานในการเลย้ี งแมลง 6) การดำเนนิ งานในเชงิ รกุ โดยมุ่งสกู่ ารพัฒนาอปุ กรณแ์ ละเครอื่ งมือ สำหรับการทำการเกษตรด้านการผลติ แมลง แหลง่ อาหารโปรตีนแหง่ อนาคต 7) เครื่องมือทค่ี ิดคน้ จากงานวิจยั และผลติ ไดใ้ นประเทศ มตี น้ ทนุ ดา้ นวสั ดุอุปกรณส์ ำหรับการผลติ 9,600 บาท 11.3. กลยทุ ธห์ รือปจั จยั ท่นี ำไปสคู่ วามสำเร็จ 6
เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ 1) การนำปญั หาทเี่ กิดขึน้ จริงในการเรียนการสอน การทำงานวจิ ัย และการทำงานในหอ้ งปฏิบัตกิ าร มาวิเคราะห์ และออกแบบเครอื่ งมอื ตามความตอ้ งการใช้งานในสถานการณ์จรงิ 2) การรว่ มมือกันระหว่างนักวจิ ัยและบุคลากรทมี่ คี วามเชยี่ วชาญดำเนินงานในรปู แบบของการเรยี นรู้และพัฒนา งานดว้ ยการปฏบิ ตั งิ านจรงิ PDCA 12. ประเด็น (จุดเด่น) ทเ่ี ปน็ แนวปฏบิ ตั ทิ ีเ่ ป็นเลศิ นวตั กรรมเครอ่ื งรอ่ นมลู และคัดขนาดแมลง (หนอนและดกั แดม้ อดรำขา้ วสาลี/หนอนนก) เป็นการสรา้ งสิง่ ประดิษฐส์ ำหรบั เป็นต้นแบบในฟาร์มเลยี้ งแมลงแหล่งอาหารโปรตนี แหง่ อนาคต ท่ีมุ่งเนน้ การทำงานในหลายขนั้ ตอนให้ทำไดเ้ บด็ เสรจ็ ในคร้งั เดยี ว สามารถลดระยะเวลาในการทำงาน แยกมูล คัดเลอื กและกำหนดขนาดของแมลงได้ถึง 5 ระดับ ได้แก่ ดักแด้ ขนาดของ แมลง มูลแมลง สง่ ผลใหล้ ดระยะเวลาการทำงานเมอ่ื เทียบกับแรงงานคนถงึ 20 เท่า ผ่านการทดสอบและสามารถนำมาใช้งาน ได้จริง ภายใตโ้ ครงการจดั ตงั้ หน่วยผลติ มวนเพชฌฆาต Sycanus collaris และแมลงตัวหำ้ ตัวเบยี น และได้นำมาใช้สำหรับการ เรียนการสอนในรายวชิ าการผลติ แมลงกนิ ได้ ชดุ วชิ าการผลิตแมลงแหลง่ อาหารแหง่ อนาคต ซึ่งจดั การเรียนการสอนภายใต้ หลักสตู ร วทิ ยาศาสตร์บัณฑติ (เกษตรศาสตร)์ สาขานวตั กรรมการเกษตรและการจดั การ คณะทรพั ยากรธรรมชาติ 13. เอกสารอา้ งอิง Ghaly, A.E. and F. Alkoaik. 2009. The yellow mealworm as a novel source of Protein. American Journal of Agricultural and Biological Science 4(4): 319-331. Selaledi, L., C.A. Mbajiorgu, and M. Mabelebele. 2020. The use of yellow mealworm (T. molitor) as alternative source of protein in poultry diets: a review 52: 7-16. 14. บทสรปุ นวัตกรรมเคร่ืองร่อนมูลและคัดขนาดแมลง (หนอนและดักแด้มอดรำข้าวสาลี/หนอนนก) ได้ทำการออกแบบและ พฒั นาขึ้นเพื่อรองรับการทำงานด้านการผลิตแมลงมีความแตกตา่ งจากสาขาอื่น ไดแ้ ก่ วัสดแุ ละอุปกรณ์ท่ีพร้อมสำหรบั ใช้งาน ไม่สามารถหาซ้ือได้ท่ัวไป การทำงานส่วนใหญ่จึงจำเป็นต้องใช้แรงงานคนที่มีความชำนาญและทักษะ ข้อจำกัดด้านแรงงาน ยังส่งผลต่อการเพ่ิมปริมาณการผลิตแมลงให้ได้ในปริมาณมาก วัตถุประสงค์การสร้างเครื่องมือนี้ เพ่ือลดระยะเวลาในการ ทำงาน แยกมูล คัดเลือกและกำหนดขนาดของแมลง เตรียมความพร้อมด้านการสร้างนวัตกรรมสำหรับการเรียน การสอน และการวิจัยด้านการผลิตแมลงแหล่งอาหารโปรตนี แห่งอนาคต และสร้างนวัตกรรมเครื่องร่อนมูลและคดั ขนาดแมลง (หนอน และดักแด้มอดรำข้าวสาลี) โดยใช้เครื่องคัดแยกเมล็ดข้าวเปลือกเป็นเครื่องต้นแบบในการสร้างและพัฒนานวัตกรรม จากน้ัน เมื่อสร้างเครือ่ งตน้ แบบ เวอรช์ น่ั ที่ 1 โดยปฏบิ ัติงานโดยใชแ้ นวทาง PDCA ภายใตโ้ จทยก์ ารทำงาน จากนัน้ ไดน้ ำเครื่องร่อนมูล และคัดขนาดหนอนมอดรำข้าวสาลี เม่ือนำมาทดสอบการใช้งานจริงโดยติดต้ังเครื่องและใช้งานภายใต้การดำเนินงานของ หน่วยผลิตมวนเพชฌฆาต Sycanus collaris และแมลงตัวห้ำตัวเบียน คณะทรัพยากรธรรมชาติ รายละเอียดของผลลัพธ์ เชิงประจักษ์ท้ังด้านการพัฒนางาน การเพิ่มมูลค่า การเพิ่มประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล พบว่า นวัตกรรมที่สร้างขึ้นสามารถ คัดแยกหนอนโดยใช้เครื่องร่อน ด้วยตระแกรงระดับความถ่ี 5 ระดับ แยกระยะดักแด้ หนอน 3 ขนาด และมูลหนอน ลดข้ันตอนการดำเนินงานจากแรงงานคนถึง 4 ข้ันตอน คัดแยกระยะดักแด้ออกจากหนอนได้ร้อยละ 98 ความสม่ำเสมอของ คุณภาพผลงานท่ีได้ ลดระยะเวลาการทำงาน 20 เท่าของแรงงานคน เตรียมความพร้อมสำหรับการแก้ปัญหาการขาดแคลง แรงงานในอนาคต นอกจากนี้งานนวัตกรรมช้ินงานเครื่องร่อนมูลและคัดแยกแมลง (หนอนมอดรำข้าวสาลี/หนอนนก) เป็น เครื่องต้นแบบที่สามารถใช้เพ่ือการเรียนการสอน การวิจัย และนำไปสู่การผลิตเชิงพาณิชย์ อีกท้ังยังเป็นการดำเนินงานใน เชงิ รกุ โดยมุง่ สูก่ ารพฒั นาอุปกรณแ์ ละเคร่อื งมอื สำหรบั การทำการเกษตรดา้ นการผลติ แมลงแหล่งอาหารโปรตีนแหง่ อนาคต 7
เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ แนวปฏบิ ัตทิ ี่เปน็ เลิศ *************************************** 1. ชอ่ื เร่ือง พลิกโฉมการบรหิ ารจดั การดว้ ยกลยุทธ์การตลาดเชิงรุก 2. โครงการ/กิจกรรมด้าน ดา้ นบรหิ ารจดั การ 3. ช่ือหนว่ ยงาน สำนกั เครอื่ งมอื วิทยาศาสตร์และการทดสอบ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ 4. ประเภทของโครงการ ประเภทที่ 1 แนวปฏบิ ตั ิทีเ่ ปน็ เลศิ ระดับคณะ/หน่วยงาน (ผา่ นการคัดเลอื กโดยเวทหี รือผู้บริหารของคณะ) 1.1 สายวชิ าการ 1.2 สายสนบั สนุน ประเภทที่ 2 แนวปฏบิ ตั ทิ ด่ี ี 2.1 สายวิชาการ 2.2 สายสนับสนนุ 5. คณะทำงานพัฒนาแนวปฏบิ ัติที่เป็นเลศิ 1. นางรุสนี กุลวจิ ิตร นักวทิ ยาศาสตร์ชำนาญการพเิ ศษ ประธานทีมการตลาด (ปี 2562-ปจั จบุ ัน) 2. นางสาวศศินา สุนทรภักดิ์ นกั วิชาการอดุ มศกึ ษา เลขานกุ ารทมี การตลาด (ปี 2563-ปัจจบุ นั ) สำนกั เครื่องมือวิทยาศาสตรแ์ ละการทดสอบ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ 6. การประเมินปญั หา / ความเสยี่ ง (Assessment) สำนักเครื่องมือวิทยาศาสตร์และการทดสอบเป็นส่วนงานสนับสนุนพันธกิจต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย ตามความใน พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2559 ซึ่งประกอบด้วยการให้บริการที่หลากหลาย ได้แก่ บริการทดสอบทาง วิทยาศาสตร์ บริการซ่อมบำรุงและพัฒนาเครื่องมือ บริการใช้เครื่องมือด้วยตนเอง และบริการอบรมเชิงปฏิบัติการ โดยการ ให้บริการต่าง ๆ ได้ดำเนนิ การภายใต้ระบบมาตรฐานคุณภาพหอ้ งปฏิบตั ิการทดสอบทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ มาตรฐาน ISO 9001 ขอบเขตการรับรอง : บริการทดสอบด้วยเครื่องมือวิจัยทางวิทยาศาสตร์ มาตรฐาน มอก. 2677-2558 ระบบความปลอดภัย ห้องปฏิบัติการเคมี (ขอบเขตที่ได้รับการรับรอง : ห้องปฏิบัติการเคมี G01 และ G06) และมาตรฐาน ISO/IEC 17025 ขอบเขตการทดสอบนำ้ ดแี ละน้ำเสีย แม้ว่าสำนักเครื่องมือฯ มีการให้บริการในรูปแบบที่หลากหลาย แต่ในขณะเดียวกันรายได้ของหน่วยงานมีแนวโน้มคงที่ หรือบางช่วงอาจมีแนวโน้มลดลง เนอ่ื งจากกลุ่มลูกคา้ หลกั ขององค์กรเป็นนกั วิจัย (อาจารย์และนกั ศกึ ษาระดับบณั ฑติ ศึกษา) ลูกค้า ภาคเอกชน และลูกคา้ หน่วยงานภาครฐั อืน่ ๆ ในปัจจบุ ันลกู คา้ โดยเฉพาะกลุ่มนักศึกษาบณั ฑติ ศึกษาลดลงอย่างเหน็ ได้ชัด ส่งผลให้ หน่วยงานต้องผลักดันการสร้างแผนการตลาดต่าง ๆ ที่สอดคล้องต่อการให้บริการในภาพรวมมาเพื่อเพิ่มรายได้องค์กรให้เพยี งพอ ต่อรายจ่ายที่เพมิ่ มากขนึ้ และสร้างการรบั รตู้ ่อกลุ่มลกู ค้าใหม่ ประกอบกับจากการดำเนินการด้านการตลาดทผ่ี ่านมา (เปรียบเทียบ ย้อนหลงั ปีงบประมาณ 2562-2564) พบว่า รายได้ภาพรวมของสำนักเครอื่ งมือวทิ ยาศาสตร์และการทดสอบมกี ารเพ่มิ ขึ้นอย่างเปน็ ลำดับ ถึงแม้จะได้รับผลกระทบของสถานการณ์แพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ที่ทำให้ภาวะเศรษฐกิจภาพรวมของประเทศตกต่ำ กลุ่มลูกค้าภาคเอกชนที่เป็นผู้ประกอบรายย่อยลดลงจากการปิดกิจการหรือการชะลอการลงทุน อีกทั้งการดำเนินการของสำนัก 8
เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ เครื่องมือฯ ทผี่ า่ นมานนั้ ยงั เปน็ การดำเนนิ การท่เี น้นการตงั้ รบั เป็นหลกั และไมเ่ นน้ การรกุ เข้าหากลมุ่ เปา้ หมายตา่ ง ๆ เท่าทีค่ วร และ การมีคู่แข่งด้านการให้บริการทดสอบที่เพิ่มขึ้นทั่วประเทศทั้งภาครัฐและภาคเอกชนทำให้มีส่วนแบ่งทางการตลาดเพิ่มขึ้นและ จำนวนลกู คา้ ลดลง ดังน้ัน สำนกั เครอื่ งมอื ฯ จงึ ต้องปรับตวั ให้ทันต่อสภาวการณป์ จั จบุ ัน โดยนำแผนการตลาดเชิงรุกมาประยุกต์ใช้ เพอ่ื กระตนุ้ รายได้ เพมิ่ จำนวนลกู ค้า ตลอดจนยกระดับการบรหิ ารจัดการ เพื่อความย่งั ยืนขององคก์ รในอนาคต 7. เปา้ หมาย/ วัตถุประสงคข์ องโครงการ 7.1 เพือ่ เพิ่มรายได้ใหก้ บั องคก์ ร 7.2 เพือ่ เพ่ิมจำนวนลูกคา้ และขยายฐานของกลมุ่ ลูกค้า 7.3 เพือ่ สร้างการรบั ร้ขู ้อมูลขา่ วสารขององคก์ รให้กับลูกคา้ 8. ผลท่ีคาดว่าจะได้รบั 8.1 รายไดจ้ ากการใหบ้ รกิ ารและจำนวนบริการใหมเ่ พมิ่ ข้ึน 8.2 จำนวนของลูกคา้ หรอื ฐานลกู คา้ ท่มี าใชบ้ ริการกว้างขนึ้ 8.3 จำนวนการเผยแพร่ขอ้ มลู ข่าวสารเพมิ่ ข้นึ 9. การออกแบบกระบวนการ 9.1 วธิ กี าร/แนวทางการปฏิบตั ิจริง (PDCA) สำนักเครื่องมือฯ ได้มีการนำวงจรคุณภาพ (Quality Cycle) มาใช้โดยได้มีการวางแผน (Plan) นำไปปฏิบัติ (Do) ติดตามตรวจสอบ (Check) และปรับปรุงบนพื้นฐานของข้อมูลจริงอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ (Act) ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2562-2564 ในการดำเนินกิจกรรมด้านการตลาดเชิงรุก โดยคณะกรรมการฯ ที่ได้รับการแต่งตั้งจากผู้บริหารประกอบด้วยบุคลากรทั้ง 3 ฝ่าย และดำเนินงานในลักษณะทีมทำงานจากฝ่ายต่าง ๆ (Cross Functional Team) ซึ่งคณะกรรมการฯ มีส่วนร่วมในการวางแผน แกไ้ ข ปรบั ปรุงและพัฒนางานดา้ นการตลาด ตง้ั แตป่ ีงบประมาณ 2562 จนถึงปัจจบุ นั เป็นระยะเวลา 3 ปี ตามวงจร PDCA โดยมี เป้าหมายในการสร้างผลิตภัณฑ์และบริการท่ีสอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า สร้างความพึงพอใจของลูกค้า สร้างรายได้ ให้กับองค์กร สร้างการรับรู้และขยายตลาดลูกค้าให้กว้างขึ้น โดยสามารถสรุปกระบวนการดำเนินกิจกรรมตาม PDCA ตั้งแต่ ปีงบประมาณ 2562-2564 ดงั ตารางตอ่ ไปน้ี 9
เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิท ตารางท่ี 1 กระบวนการดำเนินกิจกรรมการตลาดเชงิ รุกตามวงจรการคว PDCA ปงี บประมาณ 2562 ปงี บ Plan (ขนั้ ตอนการ 1. นำผลการเรียนร วางแผน) 1. จดั ทำแผนการดำเนนิ งาน โดยเนน้ การเจาะ ที่ผ่านมา วิเคร Do กลุ่มลกู ค้าผา่ นชอ่ งทาง Social media ไดแ้ ก่ แผนการดำเนิน (ขน้ั ตอนการ Line Official ประสิทธิภาพ แ สอดคล้องกบั ควา ปฏิบัติ) การตลาดในปจั จ 1. สื่อสาร/ประชาสั official 2. สอ่ื สาร/ประชาสัม 1. เริ่มนำการสื่อสารกับลูกค้าผ่านระบบ Line สำนักเครอื่ งมอื ฯ official มาใช้ 3. เดินทางไปออกบูธ 2. เริ่มต้นการประชาสัมพันธ์ข่าวสารผ่านเพจ ที่เหมาะสม Facebook สำนกั เครื่องมือฯ 4. บรู ณาการกจิ กรรมร 3. จัดกิจกรรมการตลาด โดยสมาชิกในทีม ร่วมออกแบบและ โปสเตอร์ประชาส เดนิ ทางไปพบลูกค้ากลุ่มโรงงาน เพ่ือแนะนำ บรกิ ารผา่ นเพจ Fa 5. ส ร ้ า ง Branding ตัวตอ่ ลกู ค้า สญั ลกั ษณ์รปู แบบ 4. จัดกิจกรรมการตลาดผ่านการเดินทางไป ออกบูธนิทรรศการ (Event) ตามงานแสดง และใช้สื่อสารองค นิทรรศการตา่ ง ๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง ลกู ค้า/ผูใ้ ชบ้ ริการภ 6. ประชุมทีมการตล วิเคราะหผ์ ลการดำ ดำเนินกิจกรรมต่า 1
ทยาลัยสงขลานครินทร์ วบคมุ คณุ ภาพ (PDCA) ในสว่ นของ Plan ปงี บประมาณ 2562-2564 บประมาณ 2563 ปงี บประมาณ 2564 รู้การดำเนินงานในปีงบประมาณ 1. นำผลการเรียนรู้การดำเนินงานในปีงบประมาณ ราะห์ผลและจัดทำโครงการ/ ที่ผ่านมา วิเคราะห์ผลและจัดทำโครงการ/แผนการ นงาน โดยยังคงใช้กิจกรรมที่มี ดำเนินงานและทบทวนใหม่ทุกปี เพื่อให้สอดคล้อง และมีการเพิ่มกิจกรรมใหม่ให้ ต่อสภาวการณ์ปัจจุบัน และสอดคล้องกับแผน ามตอ้ งการของลูกค้าและแนวโน้ม ยุทธศาสตร์ 5 ปี สำนักเครื่องมือฯ (พ.ศ. 2564- จบุ ัน 2568) มพันธ์กับลูกค้าผ่านระบบ Line 1. สื่อสาร/ประชาสัมพันธ์กับลูกค้าผ่านระบบ Line official มพนั ธข์ ่าวสารผ่านเพจ Facebook 2. สื่อสาร/ประชาสัมพันธ์ข่าวสารผ่านเพจ Facebook สำนกั เคร่อื งมือฯ ธนิทรรศการ (Event) ตามโอกาส 3. เริ่มการวิเคราะห์ข้อมูลทางการตลาด เพื่อนำมา พจิ ารณาควบคู่การดำเนนิ กิจกรรมตา่ ง ๆ ร่วมกับทีม KM ส่งเสริมใหบ้ ุคลากร 4. เริ่มนำกิจกรรม Business Model Canvas : BMC ะจัดทำผลงาน KM ผ่านรูปแบบ มาปรับใช้เพื่อออกแบบโปรโมชั่นต่าง ๆ และให้ สัมพันธ์เพื่อใช้สื่อสารและเผยแพร่ บุคลากรสำนักเครื่องมือฯ มีส่วนร่วมในการคิด/ acebook สำนักเคร่อื งมอื ฯ วางแผนกิจกรรมภายใต้แผน BMC g “OSIT PSU” โ ด ย จ ั ด ทำตรา 5. ส่งเสริมให้บุคลากรสำนักเครื่องมือฯ มีส่วนร่วมใน บใหม่ท่จี ดจำง่าย เพื่อสร้างการรบั รู้ การเผยแพร่ข่าวสารผ่านสื่อออนไลน์ (Social ค์กร ทั้งต่อบุคลากรภายใน และ Media) ภายนอกตอ่ ไป 6. สร้างช่องการสื่อสารทางการตลาดใหม่ ๆ ได้แก่ ลาด 1 ครั้ง/เดือน เพื่อติดตาม/ การจัดทำสื่อวิดีโอในรูปแบบไวรัลคลิป (Viral clip) ำเนนิ การ/ปญั หา/อปุ สรรคในการ และ Facebook Live าง ๆ ตามแผน โดยมีบุคลากรใน 7. ปรบั ปรงุ ภมู ิทัศน์ เสรมิ สรา้ งความสะดวกตอ่ ลูกคา้ 10
เวทคี ุณภาพ II มหาวิท ตารางที่ 1 กระบวนการดำเนินกจิ กรรมการตลาดเชิงรกุ ตามวงจรการคว PDCA ปงี บประมาณ 2562 ปงี บ ทีม เสนอแนะและ นำไปสูก่ ารปฏิบตั ิจ 1. สรุปและประเมินผลการดำเนินงานเข้าสู่ที่ 1. สรุปและประเม Check ประชมุ ทีมการตลาด และรายงานผู้บริหาร ประชุมทีมการตล (ขนั้ ตอนการ ตรวจสอบ) เป็นลายลักษณ์อักษร ลายลักษณอ์ กั ษร 2. ประเมินผลความพึงพอใจ/ความคาดหวัง 2. ประเมินผลความ ของผใู้ ชบ้ ริการ ผู้ใชบ้ ริการ นำข้อมลู จากข้อเสนอแนะของผ้บู ริหารมหาวิทยาลยั ผู้มสี ว่ นได้ส่วนเสยี แล Action 1. พฒั นารูปแบบกจิ กรรมการตลาดเชิงรุก 1. พัฒนารูปแบบกจิ (ขนั้ ตอนการ เพอื่ ให้เพอ่ื ใหบ้ รรลจุ ุดม่งุ หมาย เพ่ือใหบ้ รรลจุ ุดม ดำเนนิ งานให้ เหมาะสม) 2. พัฒนาเวบ็ ไซตส์ ำ นา่ สนใจและงา่ ยต การเขา้ ใชบ้ รกิ าร 1
ทยาลัยสงขลานครินทร์ วบคุมคุณภาพ (PDCA) ในสว่ นของ Plan ปงี บประมาณ 2562-2564 บประมาณ 2563 ปงี บประมาณ 2564 ะร่วมระดมสมองในการวางแผน 8. ประชุมทีมการตลาด 1 ครั้ง/เดือน เพื่อติดตาม/ จรงิ วิเคราะห์ผลการดำเนินการ/ปัญหา/อุปสรรคในการ ดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ตามแผน โดยมีบุคลากรในทมี เสนอแนะและร่วมระดมสมองในการวางแผนนำไปสู่ การปฏิบัติจริงการตลาด ดำเนินการภายใต้กิจกรรม การตลาดตามแผนการดำเนินงานประจำปี หมายเหตุ : ในปีงบประมาณ 2564 งดกิจกรรมเดินทางไป ออกบูธนิทรรศการ (Event) เนื่องจากสถานการณ์แพร่ ระบาดของเช้อื ไวรสั Covid-19 มินผลการดำเนินงานเข้าสู่ที่ 1. สรุปและประเมินผลการดำเนินงานเข้าสู่ที่ประชุม ลาด และรายงานผู้บริหารเป็น ทีมการตลาด และรายงานผู้บริหารเป็นลายลักษณ์ อักษร มพึงพอใจ/ความคาดหวังของ 2. ประเมินผลความพึงพอใจ/ความคาดหวังของ ผู้ใชบ้ ริการ ละการสำรวจความพงึ พอใจ/ความคาดหวงั ของลกู ค้า/ผู้ใชบ้ รกิ ารประจำปีมาดำเนินการ ดังน้ี 1. พัฒนารูปแบบกจิ กรรมการตลาดเชงิ รุกเพื่อใหบ้ รรลุ จกรรมการตลาดเชงิ รกุ เพ่ือให้ จุดมุง่ หมาย มุ่งหมาย 2. มีการวิเคราะห์กลุ่มลูกค้าในการใช้บริการทดสอบ ำนักเครือ่ งมือฯ ให้มีรปู แบบ ตอ่ การเข้าถงึ ตลอดจนง่ายต่อ สถิติการดำเนินงานการตลาดเชิงรุกที่ผ่านมา เพื่อ รมากยง่ิ ขนึ้ นำมาเป็นแนวทางการวางแผนการตลาด 3. เพิ่มเมนูภาษาต่างประเทศที่เว็บไซต์สำนักเครื่องมือ ฯ ได้แก่ เมนูภาษาอังกฤษ และเมนูภาษาจีน เพ่ือ ตอบโจทยก์ ารมุ่งขยายตลาดในวงกวา้ ง 11
เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 9.2 งบประมาณที่ใช้ในการจัดกิจกรรม งบประมาณ (บาท) ปีงบประมาณ 38,482 2562 43,832 2563 2564 334,146.66 รวม 416,460.66 จากตารางงบประมาณทใ่ี ชใ้ นกิจกรรม ปีงบประมาณ 2562-2564 พบว่า งบประมาณทใี่ ช้จ่ายจริงในปีงบประมาณ 2564 มียอดสูงกว่าปีงบประมาณ 2563 อย่างชัดเจน เนื่องจากในปีงบประมาณ 2564 มีการปรับโฉมการดำเนินงานในภาพรวม ด้านการตลาด โดยมุ่งเน้นการจัดกิจกรรมส่งเสริม Branding เพ่ือสร้างการรับรู้ต่อลูกค้า ประกอบไปด้วยการจัดทำของที่ระลึก ตราสัญลักษณ์หน่วยงานต่าง ๆ ตลอดจนมีการปรับปรุงภูมิทัศน์ใหม่ เนื่องจากการปรับเปลี่ยนชื่อหน่วยงานจาก “ศูนย์เครื่องมือ วทิ ยาศาสตร”์ เปน็ “สำนักเครื่องมือวทิ ยาศาสตร์และการทดสอบ” 10. การวัดผลและผลลัพธ์ (Measures) แสดงระดับแนวโน้มข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ (3 ปี) และ/หรือเปรียบเทียบกับ หน่วยงานภายใน/ภายนอก 10.1 รางวลั ที่ได้รับ ปี ผลงาน รางวัล ประเภท หมายเหตุ 2558 การตลาดเชิงรกุ แนวปฏบิ ัติทเ่ี ป็นเลศิ บรหิ ารจดั การ เนอื่ งในงานวนั แห่งคณุ ค่าสงขลา (Best Practice) นครินทร์ คร้ังที่ 2 ประจำปี 2558 10.2 ผลการดำเนินงาน 10.2.1 ผลการดำเนินงาน: การเพ่ิมรายได้ (ขอบเขตบริการทดสอบดว้ ยเครอื่ งมอื วิทยาศาสตร)์ 21,586,335.35 รายไ ้ด ้ัทงหมด (บาท) 19,342,105.42 19,148,030.87 2562 2563 2564 ภาพท่ี 1: กราฟแสดงรายไดจ้ ากการใหบ้ รกิ ารทดสอบ ปงี บประมาณ 2562-2564 จากกราฟแสดงรายได้จากการให้บริการทดสอบ ปีงบประมาณ 2562-2564 บริการทดสอบซึ่งเป็นบริการหลัก สามารถสร้างรายได้ที่เพ่ิมขึ้นตามลำดับ ซง่ึ ในปี 2564 รายได้เพิม่ ขน้ึ จากปีงบประมาณ 2563 คดิ เป็น 12% ซ่ึงเป็นการสร้างรายได้ ท่ีสูงข้ึนภายใตส้ ถานการณ์แพรร่ ะบาดของเชือ้ ไวรัสโควิด-19 แสดงถึงการบริหารจัดการอย่างมีระบบได้เป็นอยา่ งดี 12
เวทคี ุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 10.2.2 ผลการดำเนินงาน : การเพ่ิมจำนวนลูกคา้ (ขอบเขตบรกิ ารทดสอบดว้ ยเครื่องมือวทิ ยาศาสตร)์ ก) จำนวนลูกค้าทง้ั หมดจากการให้บรกิ ารทดสอบ เปรียบเทียบย้อนหลัง 3 ปี (ปงี บประมาณ 2562-2564) จำนวนลูกคำ้ ท้งั หมด (รำย) 1,240 1,217 1,186 1,234 1,220 1,200 2562 2563 2564 1,180 1,160 หมายเหตุ: ปีงบประมาณ 2563 สถานการณ์แพรร่ ะบาดเชอ้ื ไวรัส Covid-19 ภาพที่ 2: กราฟแสดงจำนวนของลกู คา้ ทั้งหมด ปงี บประมาณ 2562-2564 ข) จำนวนลกู คา้ ใหม่จากการใหบ้ ริการทดสอบ เปรยี บเทียบย้อนหลัง 3 ปี (ปีงบประมาณ 2562-2564) จำนวนลูกค้ำใหม่ (รำย) 600 505 400 485 200 335 0 2563 2564 2562 ภาพที่ 3: กราฟแสดงสัดส่วนของลูกคา้ ใหม่ ปีงบประมาณ 2562-2564 หมายเหตุ: ในปี 2563 จัดกจิ กรรมสง่ เสริมการตลาด (Promotion) ได้แก่ 1) โครงการส่งเสริมลกู คา้ ใหม่ เฟส 1 (สว่ นลด 50% (ลดสงู สดุ ไม่เกนิ 1,500 บาท)) สำหรับลูกค้าใหม่ทกุ ประเภท 2) โครงการสง่ เสริมลกู ค้าใหม่ เฟส 2 (ส่วนลด 50% (ลดสูงสุดไม่เกิน 3,000 บาท)) สำหรับลกู คา้ ใหม่ ประเภทเอกชน จากกราฟแสดงจำนวนลกู คา้ ท้ังหมดจากการใหบ้ ริการทดสอบ ปีงบประมาณ 2562-2564 จำนวนลูกค้าทั้งหมดในปีงบ ประมาณ 2563 ลดลงจากปงี บประมาณ 2562 อย่างเหน็ ได้ชัด คิดเป็น -3% แต่การลดลงดงั กลา่ วไม่ส่งผลกระทบตอ่ รายได้ที่ยังคง เพิ่มขึ้น อีกทั้งจำนวนลูกค้าใหม่ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัดในปีงบประมาณ 2563 โดยมีการเพิ่มขึ้นถึง 45% จากจำนวน ลูกค้าใหม่ในปีงบประมาณ 2563 เนื่องจากการจัดกิจกรรมส่งเสริมการตลาด (Promotion) และในปีงบประมาณ 2564 จำนวน ลูกคา้ ใหม่ยังคงเพมิ่ ขึน้ ถงึ 4% 13
เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ ค) จำนวนลกู คา้ แต่ละภมู ภิ าคของประเทศเพิม่ ข้ึน ภำคใต้ ภำคอนื่ จำนวนครง้ั กำรใช้บรกิ ำรแบ่งตำมภูมิภำค (ครั้ง) 5,000 4,574 4,141 4,150 4,000 3,000 2,000 1,000 630 738 898 - 2562 2563 2564 ภาพท่ี 4: กราฟเปรียบเทยี บจำนวนคร้งั การใช้บริการโดยแบง่ ตามภมู ภิ าค 10.2.3 ผลการดำเนินการ : การสรา้ งการรับรฯู้ ก) จำนวนข่าวสารเผยแพร่ ผ่านเพจ Facebook สำนักเครื่องมอื ฯ ปงี บประมาณ จำนวนข่าว เพิ่มข้นึ (%) 2562 255 0 2563 197 -23% 2564 349 77% หมายเหตุ: ปงี บประมาณ 2561 ไมม่ ีการเกบ็ ขอ้ มูล ตารางที่ 3 การเปล่ยี นแปลงของจำนวนขา่ วสารเผยแพรผ่ ่านเพจ Facebook สำนักเคร่ืองมือฯ จำนวนข่ำวสำร ผ่ำนเพจ Facebook 400 349 300 200 255 197 100 0 ปี งบ 2563 ปี งบ 2564 ปี งบ 2562 หมายเหตุ: ปีงบประมาณ 2563 สถานแพร่ระบาดเชื้อไวรัส Covid-19 และงดกิจกรรมเข้า เยี่ยมชมอบรมเชิงปฏิบัติการและการเข้าใช้เคร่ืองมือด้วยตนเอง จึงส่งผลให้ยอดเผยแพร่ข่าวสารในปี งบ 2563 ลดน้อยลง ภาพท่ี 5 : กราฟแสดงจำนวนข่าวสารเผยแพร่ ผ่านเพจ Facebook สำนักเครื่องมือฯ 14
เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ข) จำนวนผู้ติดตามเพจสำนักเครื่องมอื ฯ 3,977 4,179 2,986 1,802 ปงี บ 2562 ปีงบ 2563 ปงี บ 2564 ไตรมำสแรก (ต.ค.-ธ.ค. 64) หมายเหตุ: จำนวนผู้ตดิ ตามจากการตดิ ตามแบบออร์แกนคิ และไมไ่ ดซ้ อื้ โปรโมทหรือชำระเงินเพ่ือเพิ่มยอดผูต้ ิดตาม ภาพท่ี 6 : กราฟเปรียบเทียบผตู้ ิดตามเพจสำนักเครอ่ื งมอื ฯ ปีงบประมาณ 2562-ไตรมาสแรก (ปีงบประมาณ 2565) จากกราฟแสดงจำนวนผู้ติดตามเพจสำนักเครื่องมอื ฯ ปงี บประมาณ 2562- 2565 (ไตรมาสแรก) พบวา่ จำนวนผู้ติดตาม เพจสำนักเครื่องมือฯ ทั้งหมด ในปีงบประมาณ 2563 มีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด คิดเป็น 87% จากปีงบประมาณ 2562 เนื่องจากมีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเพิ่มมากขึ้น โดยเฉลี่ย 30 เรื่องต่อเดือน นอกจากนั้นยังจัดกิจกรรมที่บุคลากรทุกคน สามารถมีส่วนร่วมในการส่งเสริมการตลาดสำนักเครื่องมือฯ โดยมีการรณรงค์ให้บุคลากรร่วมแชร์ข่าวสารต่าง ๆ ของสำนักเครื่องมือฯ อย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นการขยายฐานลูกค้าและการรับรู้ข้อมูลทาง Social Media ของสำนักเครื่องมือฯ ได้อีกช่องทางหนึ่ง อีกท้ัง สำนักเครื่องมือฯ มีการส่งเสริมการจัดกิจกรรมที่บุคคลทัว่ ไปสามารถมสี ่วนร่วมได้ พร้อมกันนีย้ ังสามารถเชื่อมโยงกับกิจกรรมด้าน ความรับผิดชอบต่อสงั คม (CSR) ของสำนักเครือ่ งมือฯ ได้อีกด้วย ซึ่งผลจากการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ดังกล่าวได้รับการตอบรับอย่ใู น เกณฑท์ ีด่ ี สง่ ผลใหป้ จั จบุ ัน จำนวนผตู้ ิดตามเพจสำนกั เคร่ืองมอื ฯ มีแนวโนม้ เพิ่มขนึ้ ตามลำดับ ค) จำนวนการเพิ่มเพอ่ื นผ่านทาง Line Official สำนักเครอ่ื งมือฯ จานวนเพมิ่ เพื่อน LINE Official (คน) 3,779 4,164 2,440 1,302 ปี งบ 2562 ปี งบ 2563 ปี งบ 2564 ปี งบ 2565 (ไตรมาสแรก ต.ค.64-ธ.ค. 65) ภาพที่ 12: กราฟแสดงจำนวนการเพม่ิ เพอ่ื นทาง LINE OFFICIAL ปี 2562-2564 15
เวทีคุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 11. การเรยี นรู้ (Study/Learning) 11.1 แผนหรือแนวทางการพัฒนาคุณภาพอย่างตอ่ เนอ่ื งในอนาคต 11.1.1 การวางเป้าหมายของการพัฒนาการตลาดเชิงรุกเพื่อให้สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ และส่งเสริมกิจกรรมที่ สนบั สนนุ การดำเนินงานของการตลาดเพ่ือเพ่มิ ฐานลูกคา้ ปรับฐานรายได้ และการรับรูท้ ี่เพมิ่ ข้ึน โดยใช้ปรับรูปแบบของการทำกิจกรรม ทางด้านการตลาดและประชาสัมพันธ์เชิงรุกให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ปัจจุบัน และเพื่อผลักดันให้สำนักเครื่องมือวิทยาศาสตร์ และการทดสอบสามารถบรรลวุ สิ ยั ทศั น์ “เปน็ หอ้ งปฏิบัติการทดสอบทางวิทยาศาสตรช์ ้ันนำระดบั มหาวทิ ยาลยั ของไทย” 11.1.2 การทำงานเป็นทีมโดยทีมบริหารและทีมการตลาดและประชาสัมพันธ์ ซึ่งมีนโยบายที่ชัดเจนผ่านการ ขับเคลื่อนของทีมการตลาดฯ ในลักษณะการทำงานแบบทมี พิเศษ (Cross Functional team) และการมีส่วนร่วมของบุคลากรใน องค์กร มีการวิเคราะห์ ทบทวน และปรับปรุงแก้ไขจุดบกพร่องจากผลการดำเนินงานในปีก่อนหน้า เพื่อนำมาปรับปรุงแผนการ ทำงานและการกำหนดตัวชี้วัด ในการดำเนินงานตามแผนหลังการดำเนินงานทุกปีงบประมาณ พร้อมทั้งมกี ารวิเคราะห์พฤติกรรม ลูกค้าผู้ใช้บริการ เพื่อพัฒนาแผน แนวคิด และกลยุทธ์ต่าง ๆ ให้ตอบโจทย์ความต้องการของผู้ใช้บริการและสามารถประยุกต์ใช้ แนวทางการตลาดในอนาคตต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม 11.2 จดุ แขง็ (Strength) หรือสง่ิ ท่ที ำไดด้ ีในประเดน็ ท่ีนำเสนอ 11.2.1 ผู้บริหารและบคุ ลากรให้การสนับสนุนและมีส่วนร่วมการขับเคลื่อนกิจกรรมต่าง ๆ ทางด้านการตลาดและ ประชาสัมพันธ์ ร่วมกันผลักดันให้การดำเนินการทางด้านการตลาดเชิงรุกสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ภายใต้การดำเนินการอย่างเป็น ระบบ ตามหลกั การ PDCA : Plan-Do-Check-Act และมกี ารปรบั ปรงุ อย่างตอ่ เนอ่ื งโดยการเรียนร้รู ่วมกนั ภายในองคก์ ร 11.2.2 มีการทำงานร่วมกันเป็นทีม ภายใต้ชื่อคณะกรรมการด้านการตลาดและประชาสัมพันธ์ หรือทีมการตลาด โดยกิจกรรมตา่ ง ๆ จากแผนการตลาดเชิงรุก เกิดจากการระดมสมองของทีมส่งผลให้เกิดกจิ กรรมทีม่ ีประสิทธิภาพและตอบโจทย์ ผู้ใช้บรกิ ารได้อย่างแท้จริง 11.2.3 บุคลากรสำนักเคร่ืองมือฯ สามารถเป็นตัวแทนด้านภาพลักษณ์ (Brand Ambassador) ของสำนักเครื่องมือฯ ได้ โดยมีการปลูกฝังให้บุคลากรมคี วามรักความผูกพันต่อองค์กร และมีความพร้อมในการแนะนำบริการด้านตา่ ง ๆ ของสำนักเครื่องมือฯ เปน็ อยา่ งดี 11.3 กลยทุ ธห์ รอื ปจั จยั ทนี่ ำไปสคู่ วามสำเรจ็ สำนักเครื่องมือฯ ส่งเสริมและมุ่งเน้นการทำงานเป็นทีมพิเศษ (Cross Functional Team) สอดคล้องวัฒนธรรม องค์กรและนโยบายการบริหารจัดการ ตลอดจนมีการวางแผนในการดำเนินงานต่าง ๆ และได้รับการสนับสนุนเป็นอย่างดีจาก ผู้บริหารและบุคลากร อีกทั้งยังมุ่งเน้นการส่งเสริมให้บุคลากรได้ร่วมแลกเปลี่ยนและแสดงความคดิ เห็นอย่างอิสระในการปรับปรุง คุณภาพการให้บริการ รวมไปถึงแนวคิดทางด้านการตลาดเชิงรุก โดยเริ่มมีการนำแนวคิดการออกแบบความคิด (Design Thinking) พร้อมทั้งใช้เครื่องมือที่ช่วยออกแบบโมเดลธุรกิจ (Business Model Canvas: BMC) มาประยุกต์ใช้ในการ วางแผนด้านการตลาดและประชาสมั พนั ธ์ เพอ่ื พัฒนาองค์กรไปสูเ่ ปา้ หมายท่ีตงั้ ไว้ 12. ประเดน็ (จุดเดน่ ) ท่ีเปน็ แนวปฏบิ ตั ิทีเ่ ปน็ เลิศ การเพิ่มรายได้ เพิ่มจำนวนลูกค้า และสร้างการรับรู้ข่าวสารของสำนักเครื่องมือวิทยาศาสตร์ฯ เป็นกระบวนการที่ ดำเนนิ การมาอย่างตอ่ เนอ่ื ง แม้ในสถานการณ์แพร่ระบาดของเช้อื ไวรัสโควิด-19 สำนกั เคร่ืองมอื ฯ ยังสามารถให้บริการในภาพรวม ได้เป็นอย่างดี สอดคล้องกับรายได้และจำนวนลกู ค้าที่เพิ่มขึน้ อย่างต่อเนื่อง รวมถึงการทำงานแบบทีมเวิรค์ ซึ่งมีทีมการตลาดเป็น ผู้ดำเนินการตามแผนกิจกรรมต่าง ๆ ที่ตอบสนองด้านการตลาดและประชาสัมพันธ์ของสำนักเครื่องมือฯ โดยมีการสนับสนุนจาก 16
เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ผูบ้ ริหารในการชว่ ยผลกั ดันและจดั ทำเป็นแผนงาน/โครงการขององค์กร ใหม้ กี ารดำเนินกิจกรรมด้านการตลาดอย่างสม่ำเสมอและ ต่อเนื่อง ตลอดจนความร่วมมือของบุคลากรสำนักเคร่ืองมือฯ ที่มีความรักและหวงแหนองค์กร และมีความพร้อมในการสร้าง การรับรู้ต่อไปยังผู้ใช้บริการเป็นอย่างดี ส่งผลให้กิจกรรมต่าง ๆ ประสบผลสำเร็จ ทำให้องค์กรบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ทั้งด้าน การเพ่มิ รายได้ การเพ่มิ จำนวนลกู ค้า และการสร้างการรับรู้ของหนว่ ยงานและบคุ คลภายนอก 13. แหล่งขอ้ มูลอ้างองิ - โปรแกรมสรปุ การรับตัวอย่าง - สรปุ ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ลูกคา้ ประจำปี 2562-2564 - แผนการดำเนนิ งานคณะกรรมการดา้ นการตลาดและประชาสัมพนั ธ์ - เว็บไซตส์ ำนักเคร่ืองมือฯ http://osit.psu.ac.th - Facebook Page: สำนักเคร่อื งมอื วิทยาศาสตรแ์ ละการทดสอบ มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ 14. บทสรปุ คณะกรรมการด้านการตลาดและประชาสัมพันธ์ สำนักเคร่ืองมือวิทยาศาสตร์และการทดสอบ มคี วามม่งุ ม่ันในการ ขับเคล่ือนพัฒนาองค์กรเพื่อให้ก้าวสู่ความเป็นองค์กรช้ันนำด้านการทดสอบระดับประเทศ ซ่ึงคณะกรรมการฯ มีบทบาท ในการ ผลักดันกิจกรรมด้านการตลาดเชิงรุกให้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเห็นผลลัพธ์อย่างเป็นรูปธรรม ตลอดจนบุคลากรสำนกั เครื่องมือฯ มีส่วนร่วมและตระหนักถึงความสำคัญต่อการตลาดเชิงรุกเป็นอย่างดี ภายใต้การดำเนินการด้านการตลาดเชิงรุก อย่างเป็นระบบ โดยอาศัยหลัก Plan-Do-Check-Act (PDCA) อย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ เพื่อผลักดันองค์กรให้บรรลุ วัตถปุ ระสงค์ที่ตั้งไว้ การดำเนนิ งานด้านการตลาดเชงิ รกุ ทผี่ า่ นมาในปีงบประมาณ 2562 -2564 เป็นสว่ นสำคญั ที่สง่ ผลใหส้ ำนกั เคร่ืองมือฯ มีบริการที่สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้ากลุ่มต่าง ๆ ได้อย่างหลากหลายและครบวงจรที่สุดในเขตภาคใต้ รวมถึง ลูกค้า/ผู้ใช้บริการเกิดความพึงพอใจต่อการมาใช้บริการ อยู่ในเกณฑ์ดีมาก เมื่อเทียบกับค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ รวมทั้งสำนักเครื่องมือฯ สามารถสร้างรายได้จากการให้บริการเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเน่ืองจากลูกค้า/ผู้ใช้บริการท่ัวประเทศ ประกอบกบั จากการดำเนินงาน ที่ผ่านมา สำนักเคร่ืองมือฯ สามารถขยายตลาดของลกู คา้ ในภาคอื่น ๆ (นอกเหนือจากลูกค้ากลุม่ หลักทางภาคใต้) ได้สำเร็จ และ ผลลพั ธ์เปน็ ท่นี า่ พงึ พอใจ รวมถงึ มีจำนวนการเขา้ ถึงข้อมูลข่าวสารของลูกคา้ เพิ่มขึ้นอย่างต่อเน่ือง ทา้ ยนี้ สำนกั เครอ่ื งมือฯ ยังคงมุ่งมั่น วางแผนในการนำการตลาดเชิงรุกมาเป็นส่วนสำคัญในการขับเคล่ือนองค์กรไปสู่ความเป็นผู้นำด้านการทดสอบ ตลอดจนการ ใหบ้ ริการท่ีเป็นเลิศตอ่ ไป เพือ่ สนบั สนนุ องคก์ รใหเ้ ตบิ โตอยา่ งยงั่ ยนื 17
เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ แนวปฏิบัติทเ่ี ป็นเลศิ *************************************** 1. ชือ่ เร่อื ง สำนักวทิ ยบริการ องคก์ รตน้ แบบการใช้พลงั งานสะอาดและเปน็ มิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม 2. โครงการ/กิจกรรมด้าน ด้านบริหารจัดการ 3. ช่ือหนว่ ยงาน สำนักวิทยบริการ 4. ประเภทโครงการ (✓) ประเภทท่ี 1 แนวปฏบิ ตั ทิ ี่เป็นเลศิ ระดับคณะ/หน่วยงาน (ผ่านการคดั เลือกโดยเวทหี รือผู้บริหารของคณะ) ( ) 1.1 สายวิชาการ (✓) 1.2 สายสนบั สนนุ ( ) ประเภทท่ี 2 แนวปฏบิ ตั ทิ ี่ดี ( ) 2.1 สายวิชาการ ( ) 2.2 สายสนบั สนุน 5. คณะทำงานพฒั นาแนวปฏบิ ตั ิท่ีเป็นเลศิ ผู้อำนวยการ และรองผู้อำนวยการสำนกั วิทยบริการ หัวหนา้ ฝา่ ยและหัวหน้ากลุม่ งาน บุคลากรสำนักวทิ ยบรกิ ารทกุ คน 6. การประเมนิ ปัญหา/ความเสยี่ ง (Assessment) สำนักวทิ ยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เป็นหน่วยงานประเภทอำนวยการและสนับสนุนภารกิจ กลางของมหาวิทยาลัย เพื่อสนับสนุนการเรยี นการสอน การวิจัย ให้กับนักศกึ ษา อาจารย์ นักวิจัย บุคลากร และบุคคลทั่วไป ทั้งใน ส่วนของการบริการทรัพยากรสารสนเทศ การบริการผลิตสื่อการเรียนรู้รูปแบบต่าง ๆ การอบรม และให้บริการพื้นที่ในการอ่าน หนงั สือ ทำกจิ กรรม ห้องประชมุ รวมถึงสถานกี ารเรยี นรู้โดยรอบหน่วยงาน โดยสำนักวทิ ยบรกิ ารได้แบ่งโครงสร้างการทำงานเป็น 3 ฝ่าย คือ 1) สำนักงานบริหาร 2) ฝ่ายหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ และ 3) ฝ่ายเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้ โดยฝ่ายหอสมดุ จอห์น เอฟ เคนเนดี้ จะเปิดบริการทัง้ ในเวลาราชการและนอกเวลาราชการโดยเปิดบริการวันจนั ทร์ - ศุกร์ เวลา 08.30 - 20.30 น. และวันเสาร์ - อาทิตย์ เวลา 10.00 - 18.00 น. ภายในตัวอาคารมีการเปิดระบบเครื่องปรับอากาศเพื่อรักษาสภาพสื่อการเรียนรู้ ประเภทตา่ ง ๆ และเพิ่มความสะดวกสบายของผู้เขา้ ใช้บรกิ าร รวมถึงเพิม่ ประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั ิงานใหบ้ ริการของบุคลากร มีการ เปิดระบบไฟฟ้าแสงสว่างให้เพียงพอกับการอ่านหนังสือทั่วทั้งอาคารตลอดเวลา มีการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าอื่น ๆ อีกมากมายภายในตวั อาคาร เช่น เครื่องคอมพวิ เตอร์ เคร่อื งพมิ พ์เอกสาร ทีวี ฯลฯ ซึ่งในแตล่ ะปสี ำนักวทิ ยบรกิ ารมกี ารใช้พลงั งานไฟฟา้ และต้องจา่ ยเงนิ คา่ ไฟฟา้ เปน็ จำนวนมาก โดยปี พ.ศ. 2561 ใช้พลังงานไฟฟ้า 825,117 กโิ ลวตั ต์-ช่วั โมง คิดเป็นจำนวนเงนิ ประมาณ 4,125,585 บาท ปี พ.ศ. 2562 ใช้พลังงานไฟฟ้า 846,380 กิโลวัตต์-ชั่วโมง คิดเป็นจำนวนเงนิ ประมาณ 4,231,900 บาท ปี พ.ศ. 2563 ใช้พลังงานไฟฟ้า 391,834 กิโลวัตต์-ชั่วโมง คิดเป็นจำนวนเงินประมาณ 1,959,170 บาท และ ปี พ.ศ.2564 ใช้พลังงานไฟฟ้า 144,313 กิโลวัตต์- ชวั่ โมง คิดเปน็ จำนวนเงนิ ประมาณ 721,565 บาท จากข้อมลู ยอ้ นหลัง 4 ปี คอื พ.ศ.2561 – 2564 สำนกั วทิ ยบรกิ ารจ่ายคา่ พลังงาน ไฟฟา้ ไปประมาณ 11,038,220 บาท ซ่ึงเป็นรายจา่ ยทส่ี ูงมาก นอกจากปญั หาเร่อื งค่าพลังงานไฟฟา้ จำนวนมากแลว้ สำนกั วิทยบริการ มนี โยบายขบั เคลื่อนการเปน็ สำนกั งานสีเขียวทเี่ ป็นมิตรกบั สง่ิ แวดลอ้ ม ดังน้ันสำนักวิทยบรกิ ารจงึ สร้างแนวปฏบิ ัติเพือ่ จะนำพาองค์กร ไปสู่สำนักงานสีเขยี วท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ภายใต้ระบบ FOREST ซึ่งจะเน้น Flexibility ความยืดหยุ่น Optimization สามารถ พัฒนาให้ดีและเหมาะสม Readiness ความพร้อมใช้งาน Environment เน้นสิ่งแวดล้อม Society ใส่ใจสังคม และ Traceability สามารถตรวจสอบย้อนกลบั ได้ โดยมีการสรา้ งแนวปฏบิ ัตเิ รอื่ ง การใช้น้ำ การใช้พลังงานไฟฟ้า การใช้พลงั งานน้ำมันเชื้อเพลิง การใช้ 18
เวทคี ุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ กระดาษ การจัดการขยะ และการใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีการเก็บสถิติข้อมูลการใช้งานอย่างเป็นระบบ มีการ ประชาสัมพันธ์ รณรงค์ ส่งเสริม และอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสำนักงานสีเขียวให้กับบุคลากร และผู้ใช้บริการให้มีความรู้ ตระหนกั และมสี ว่ นร่วมในการพฒั นาสำนักวทิ ยบรกิ ารไปสู่สำนกั งานสีเขียวท่ีเปน็ มติ รกับสง่ิ แวดลอ้ มตามเป้าหมายท่วี างไว้ จากปัญหาดังกล่าวข้างต้นสำนักวิทยบริการจึงได้สร้างแนวปฏิบตั ิท่ีเปน็ เลิศเพ่ือนำพาสำนักวิทยบริการไปสู่องค์กรต้นแบบ การใชพ้ ลงั งานสะอาดและเปน็ มติ รกับส่ิงแวดลอ้ ม ทเี่ กดิ จากการมสี ว่ นรว่ มของคณะกรรมการ ผูบ้ รหิ าร บคุ ลากร และผู้ใช้บริการ ซึ่ง เป็นการบรู ณาการและการสร้างแนวปฏบิ ตั ิท่ีเปน็ เลิศท้งั 3 ด้านของสำนกั วิทยบรกิ ารเข้าดว้ ยกนั ดังน้ี 1) แนวปฏบิ ัติดา้ นการผลิตพลงั งานสะอาดและประหยัดพลงั งานไฟฟ้า ผลลพั ธจ์ ากการนำแนวปฏบิ ตั นิ มี้ าใช้ส่งผลให้สำนัก วิทยบริการเป็นหน่วยงานที่มีศักยภาพในการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ หรือโซลาร์เซลล์ได้มากเป็นอันดับต้น ๆ ของ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ ทงั้ 5 วิทยาเขต โดยสามารถผลิตกระแสไฟฟา้ จากโซลารเ์ ซลล์ตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2561 – 2564 ไดป้ ระมาณ 657,856 กิโลวตั ต-์ ชว่ั โมง คดิ เปน็ จำนวนเงนิ ประมาณ 3,289,280 บาท และเป็นหน่วยงานทส่ี ามารถประหยัดคา่ ไฟฟา้ และผลติ ไฟฟา้ ได้เองเป็นจำนวนมาก จากการนำแนวปฏิบัติดา้ นการผลิตพลงั งานสะอาดและประหยัดพลังงานไฟฟา้ มาใช้เปน็ ส่ิงพสิ ูจนใ์ ห้เห็นแล้ว ว่านอกจากมปี ระสิทธิภาพ มีประโยชนแ์ ล้วยังสามารถสร้างรายได้จากการผลิตกระแสไฟฟ้าพลงั งานสะอาดได้ประมาณ 3,289,280 บาท ให้กับมหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ภาพท่ี 1 การตดิ ตั้งโซลารเ์ ซลล์ของอาคารสำนักวทิ ยบรกิ าร ชมสำนักวทิ ยบริการเสมือนจริง: https://vr.oas.psu.ac.th ชมมหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ วทิ ยาเขตปัตตานี เสมือนจริง: https://vr.oas.psu.ac.th/psuvlc 2) แนวปฏบิ ัตดิ ้านสำนกั งานสีเขยี วทเี่ ปน็ มติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ ม ผลลพั ธ์จากการนำแนวปฏิบตั นิ ้ีมาใช้สง่ ผลใหส้ ำนักวิทยบริการ เป็นหน่วยงานที่มีศักยภาพโดยผ่านการรับรองสำนักงานสีเขียวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Office) ระดับดีมาก จากกรม ส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นหน่วยงานอันดับต้นๆ ของ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ทไี่ ดร้ ับรางวัลนี้ 19
เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ ภาพที่ 2 สำนักวิทยบริการไดร้ ับรางวัล สำนกั งานสีเขยี วท่ีเป็นมติ รกบั สง่ิ แวดล้อม (Green Office) ระดบั ดมี าก ชมเว็บไซตส์ ำนกั วทิ ยบริการรกั ษโ์ ลก: https://greenoar.oas.psu.ac.th ภาพที่ 3 ห้องนทิ รรศการสำนกั งานสเี ขยี วเสมอื นจริง ชมหอ้ งนิทรรศการสำนกั งานสีเขยี วเสมือนจรงิ : https://vr.oas.psu.ac.th/greenvr 3) แนวปฏิบัติด้านศูนย์การเรยี นรูต้ ลอดชีวติ ของชุมชนดา้ นการใช้พลังงานสะอาดและเป็นมติ รกับสิง่ แวดลอ้ ม ผลลพั ธจ์ าก การนำแนวปฏิบัตินี้มาใช้ส่งผลให้สำนักวิทยบริการเป็นหน่วยงานที่มีศักยภาพในการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวิตของชุมชน (Lifelong Learning Park) ด้านการใช้พลังงานสะอาดและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมทั้งแบบออนไซต์ และแบบออนไลน์ โดยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562 – 2565 แบ่งเป็น 3 สว่ นด้วยกัน คอื 1) ผู้เขา้ ร่วมเรียนรู้พลงั งานแสงอาทิตย์ จำนวน 1,543 คน 2) ผ้เู ข้ารว่ มเรียนรู้สถานี การเรียนรู้นอกห้องสมุด 1 ครัวเรือน 5 โรง จำนวน 2,890 คน และ 3) ผู้เข้าร่วมเรียนรู้ตลอดชีวิตผ่าน OAR Channel จำนวน 656,626 คน 20
เวทคี ุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ภาพท่ี 4 สำนกั วทิ ยบรกิ ารเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการประยุกต์ใชพ้ ลงั งานสะอาดและการเปน็ มิตรกับสงิ่ แวดล้อม ชมเวบ็ ไซตค์ นกินแดดชายแดนใต้: https://www.solarman.in.th ชมสือ่ การเรียนรตู้ ลอดชวี ิตผ่าน OAR Channel: https://www.youtube.com/OARChannel ดงั น้นั จากการท่สี ำนกั วิทยบริการได้นำแนวปฏิบัติเพ่ือพัฒนาสำนักวิทยบริการใหเ้ ป็นองค์กรต้นแบบการใช้พลังงานสะอาด และเปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อม สง่ ผลใหส้ ำนกั วทิ ยบรกิ ารสามารถผลติ พลงั งานไฟฟ้าสะอาดจากแสงอาทิตย์ตั้งแตป่ ี พ.ศ. 2561 – 2564 ได้ประมาณ 657,856 กิโลวัตต์-ชั่วโมง คิดเป็นเงินประมาณ 3,289,280 บาท แนวปฏิบัติดังกลา่ วยังส่งผลให้สำนกั วิทยบริการผ่าน การรับรองสำนักงานสีเขียวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Office) ระดับดีมาก จากกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนผู้บริหารระดับสูงของสำนักวิทยบริการได้รับรางวัลคนบันดาลไฟ AWARDS จาก คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) และยังส่งผลให้สำนักวิทยบริการมีศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวิตของชุมชนด้านการใช้ พลังงานสะอาดและเป็นมิตรกบั สิ่งแวดล้อม ผลจากการท่ีสำนักวิทยบริการมีชื่อเสียงด้านองค์กรต้นแบบการใช้พลังงานสะอาดและ เปน็ มติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม ส่งผลใหม้ หี น่วยงานภายนอกทัง้ ภาครฐั และเอกชน จำนวน 15 หน่วยงาน ติดต่อมาขอดูงาน และตดิ ตอ่ ให้ไป อบรมถ่ายทอดความรู้หรือแนวปฏิบตั ิดา้ นการใช้พลังงานสะอาดและเป็นมิตรกบั สง่ิ แวดลอ้ มให้ตลอดท้ังปี เพือ่ นำแนวปฏิบัติดังกล่าว ไปประยกุ ต์ใช้กบั หน่วยงานของตนเองเพอื่ เป็นองค์กรทใ่ี ชพ้ ลังงานสะอาดและเปน็ มิตรกับสง่ิ แวดล้อม 7. เป้าหมาย/วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ 7.1 เพื่อให้สำนักวิทยบริการเป็นองค์กรต้นแบบการใช้พลังงานสะอาดและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมทั้งระดับมหาวิทยาลัย และระดบั ชาติ 7.2 เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการประยุกต์ใช้พลังงานสะอาดและการเป็นมติ รกับส่ิงแวดลอ้ มใหก้ บั นักศึกษา บุคลากรและ ประชาชนในพ้ืนท่ี 8. ผลท่คี าดว่าจะได้รบั 8.1 สำนักวิทยบริการเป็นองค์กรต้นแบบการใช้พลังงานสะอาดและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมทั้งระดับมหาวิทยาลัยและ ระดบั ชาติ 8.2 สำนกั วิทยบริการเปน็ แหล่งเรียนรตู้ ลอดชีวติ ด้านการประยุกตใ์ ช้พลงั งานสะอาดและการเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมให้กับ นกั ศกึ ษา บุคลากรและประชาชนในพื้นที่ 21
เวทคี ุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ 9. การออกแบบกระบวนการ 9.1 วธิ ีการ/แนวทางการปฏบิ ตั จิ ริง (PDCA) การออกแบบกระบวนการและวิธีการขับเคล่ือนสำนกั วิทยบริการให้เป็นองค์กรต้นแบบการใช้พลังงานสะอาดและเป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วม โดยเริ่มจากผู้นำระดับสูงของสำนักวิทยบริการมนี โยบายที่ชัดเจนในการขับเคลื่อนองค์กรในประเด็น ดงั กลา่ ว โดยมกี ารแต่งต้งั คณะกรรมการดำเนินงาน 3 ชุด ในการขับเคลอื่ น คอื 1) คณะกรรมการขบั เคลอื่ นโครงการพฒั นาสำนกั งาน สีเขียว 2) คณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการพัฒนาสถานีการเรียนรู้นอกหอ้ งสมุด 3) คณะกรรมการดำเนินงานโครงการคนกินแดด ชายแดนใต้ โดยคณะกรรมการท้งั 3 ชุด ทำหน้าที่ในการกำหนดแนวทาง (Approach) การถา่ ยทอดเพอื่ นำไปปฏิบัติ (Deployment) การเรียนรู้ (Learning) และการบูรณาการ (Integration) ร่วมกันในการขับเคลื่อนสำนักวิทยบริการให้เป็นองค์กรต้นแบบการใช้ พลังงานสะอาดและเปน็ มติ รกับสงิ่ แวดล้อมแบบมสี ่วนร่วม ภาพท่ี 5 การออกแบบกระบวนการ เพอ่ื ขับเคลอื่ นสำนักวทิ ยบริการให้เป็นองคก์ รตน้ แบบการใชพ้ ลังงานสะอาด และเปน็ มิตรกบั ส่ิงแวดล้อม สำนักวิทยบริการได้นำแนวทางของ PDCA มาปรับใช้ในหน่วยงานเพื่อพัฒนากระบวนการในการทำภารกิจเพ่ือขับเคล่อื น สำนักวิทยบริการการให้เป็นต้นแบบด้านพลังงานสะอาดและการเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยมีการนำแนวทาง PDCA มาใช้ รายละเอียด ดงั นี้ P – Plan คอื การวางแผน การวางแผนเพ่ือพฒั นาสำนกั วทิ ยบริการใหเ้ ป็นองค์กรตน้ แบบการใชพ้ ลงั งานสะอาดและเป็นมติ รกับสงิ่ แวดล้อมแบบมสี ว่ น ร่วม โดยเริม่ ต้นที่ผู้นำระดับสูงให้ความสำคัญและมุ่งม่ันในการนำองค์กรไปสู่เปา้ หมาย โดยมีการแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน 3 ชุด ในการขับเคลื่อน คือ 1) คณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการพัฒนาสำนักงานสีเขียว 2) คณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการพัฒนา สถานกี ารเรียนร้นู อกห้องสมดุ 3) คณะกรรมการดำเนนิ งานโครงการคนกนิ แดดชายแดนใต้ โดยคณะกรรมการทงั้ 3 ชุด ทำหน้าท่ีใน การกำหนดแนวทาง (Approach) การถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติ (Deployment) การเรียนรู้ (Learning) และการบูรณาการ (Integration) รว่ มกันในการขบั เคลอื่ นสำนกั วิทยบรกิ ารใหเ้ ป็นองค์กรต้นแบบการใช้พลังงานสะอาดและเป็นมติ รกับสงิ่ แวดล้อมแบบ มสี ่วนร่วม มีการวางแผนพฒั นาบุคลากรใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจ ซง่ึ เปน็ การบูรณาการแนวปฏิบัติท้ัง 3 ด้านของสำนักวิทยบริการเข้า ด้วยกนั คือ 1) แนวปฏิบตั ดิ า้ นการผลติ และประหยัดพลังงานไฟฟ้า 2) สำนกั งานสเี ขียวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และ 3) แนวปฏิบัติ ดา้ นศูนย์การเรยี นรตู้ ลอดชีวิตของชุมชนด้านการใชพ้ ลงั งานสะอาดและเป็นมิตรกบั ส่ิงแวดล้อม โดยการจดั อบรมถา่ ยทอดแนวปฏิบัติ และให้ความรู้แก่บุคลากร และผู้ใช้บริการแบบมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน โดยมีการเชิญผู้เชี่ยวชาญมาให้ความรู้กับคณะกรรมการ ผู้บริหาร และบคุ ลากร เพื่อใหน้ ำความรู้ไปวางแผนพฒั นาสำนักวทิ ยบรกิ ารเป็นองคก์ รต้นแบบการใชพ้ ลังงานสะอาดและเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม และสร้างแนวปฏิบัติเพื่อไปอบรมถ่ายทอดให้กับผู้ใช้บริการ โดยมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย คือ คณะกรรมการ ผู้บริหาร บคุ ลากร และผู้ใชบ้ ริการเป็นหลกั ในการขบั เคล่ือนองค์กรไปสเู้ ปา้ หมายทีว่ างไว้ 22
เวทีคุณภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ D – Do คอื การปฏิบัติตามแผน การปฏิบัติตามแผน โดยคณะกรรมการ ผู้บริหาร บุคลากร และผู้ใช้บริการ มีส่วนร่วมในการปฏบิ ัติตามแผนที่วางไว้ ตาม หนา้ ท่ีความรับผดิ ชอบของแต่ละคนทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย มกี ารรายงานผล และปัญหาที่เกดิ ให้กับคณะกรรมการและผบู้ รกิ ารได้รับทราบ เป็นระยะ เพ่อื หาแนวทางแก้ปญั หาและสนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ านให้เปน็ ไปตามแผนทวี่ างไวอ้ ย่างราบรื่นและมปี ระสิทธภิ าพ C – Check คือ การตรวจสอบ การตรวจสอบสำนักวิทยบริการมีการกำหนดนโยบายในการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานในทุกกิจกรรมในการ นำพาสำนักวิทยบริการให้เป็นองค์กรต้นแบบการใช้พลังงานสะอาดและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตามแผนงานที่กำหนดไว้ โดย ผู้รับผดิ ชอบกิจกรรมจะต้องรายงานผล และประเมนิ ผลการดำเนนิ กิจกรรมเป็นระยะตามรอบการรายงานความกา้ วหน้าของโครงการ ต่อคณะกรรมการและผู้บริหาร เพื่อนำผลการประเมินกิจกรรมมาปรับปรุงการดำเนินงานในการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป โดยให้ คณะกรรมการ ผู้บริหาร และผู้เชี่ยวชาญ คอยเป็นที่ปรึกษาและการตรวจสอบความถูกต้องของกิจกรรม และขั้นตอนต่าง ๆ เพื่อ แนะนำ ปรับปรุงให้ถูกต้องและให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อนำพาสำนักวิทยบริการไปสู่เป้าหมายท่ีวางไว้อย่าง ราบรน่ื A – Act คอื การปรับปรงุ การดำเนนิ การ การปรับปรุงการดำเนินการ โดยคณะกรรมการ ผู้บริหาร บุคลากร และผู้ใช้บริการ มีส่วนร่วมในการเสนอแนะ ให้ คำปรึกษาเพื่อการปรับปรุงกิจกรรมต่าง ๆ โดยมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อนำพาสำนักวิทยบริการเป็นองค์กร ต้นแบบการใช้พลังงานสะอาดและเป็นมิตรกับสิ่งแวดลอ้ ม โดยมีการประเมินกิจกรรมทุกกิจกรรม และนำผลการประเมินมาทำการ วเิ คราะหแ์ ละสรุปผล เพื่อนำมาดำเนินการในการวางแผนเพ่ือการปรบั ปรงุ การดำเนินงานในรอบต่อไปใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากขึน้ 10. การวัดผลและผลลัพธ์ (Measures) แสดงระดับแนวโน้มข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ (3 ปี) และ/หรือเปรียบเทียบกับ หน่วยงานภายใน/ภายนอก การวดั ผลและผลลพั ธ์จะสรุปผลตามวตั ถปุ ระสงค์ที่วางไว้ คอื 1) เพือ่ ใหส้ ำนักวิทยบริการเป็นองคก์ รต้นแบบการใชพ้ ลังงาน สะอาดและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมทั้งระดับมหาวทิ ยาลยั และระดับชาติ 2) เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการประยุกต์ใช้พลงั งานสะอาด และการเปน็ มิตรกบั สิ่งแวดล้อมให้กบั นกั ศกึ ษา บคุ ลากรและประชาชนในพื้นที่ โดยมรี ายละเอียดดงั น้ี 10.1 เพื่อให้สำนักวิทยบริการเป็นองค์กรต้นแบบการใช้พลังงานสะอาดและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมทั้งระดับ มหาวทิ ยาลัยและระดบั ชาติ ผลลพั ธ์ / Impact ที่ได้ 1) ด้านการผลิตและประหยัดพลงั งานไฟฟา้ ตารางที่ 1 แสดงปรมิ าณการใชไ้ ฟฟ้าและผลติ พลงั งานไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์ของสำนกั วิทยบรกิ าร รายการ 2561 2562 2563 2564 รวม 2,207,644 1. ปริมาณการใชพ้ ลังงานไฟฟา้ (kWh.) 825,117 846,380 391,834 144,313 11,038,220 2. คา่ ไฟฟา้ (บาท) 4,125,585 4,231,900 1,959,170 721,565 657,856 3,289,280 3. ปรมิ าณการผลิตไฟฟา้ โซลารเ์ ซลล์ (kWh.) 43,358 45,671 288,202 280,625 27.4% 4. เงินจากการผลติ ไฟฟ้าโซลาร์เซลล์ (บาท) 216,790 228,355 1,441,010 1,403,125 5. ผลติ ไฟฟ้าได้ (%) ของไฟฟ้าทีใ่ ช้ไป 5.3% 5.4% 73.6% 194.5% 23
เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ภาพที่ 6 กราฟแสดงปรมิ าณการใชไ้ ฟฟา้ และผลิตพลงั งานไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์ 2) ดา้ นสำนกั งานสีเขยี วท่เี ปน็ มิตรกับสงิ่ แวดลอ้ ม ตารางที่ 2 แสดงขอ้ มลู สถิติการใชท้ รพั ยากรของสำนักวิทยบริการ รายการ 2563 2564 รวม 1. สถติ ิการใช้น้ำ (ลกู บาศกเ์ มตร) 1,463 3,911 5,374 2. สถติ ิการใช้เชอ้ื เพลงิ ดเี ซล (ลิตร) 1,165 136 1,301 3. สถิตกิ ารใช้เชือ้ เพลงิ เบนซิน (ลติ ร) 284 18 302 4. สถติ ิการใช้กระดาษ (กิโลกรัม) 175 87 262 5. สถติ ิการจัดการขยะ (กิโลกรัม) 492 1,440 1,932 ภาพที่ 7 กราฟแสดงข้อมูลสถติ กิ ารใชท้ รัพยากรของสำนกั วทิ ยบริการ 24
เวทีคุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 3) รางวัลและโครงการที่ได้รับจากการนำแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ เรื่องสำนักวิทยบริการองค์กรต้นแบบการใช้พลังงาน สะอาดและเป็นมติ รกับสิ่งแวดลอ้ ม มาใช้ 3.1 รางวลั ผ่านการรับรองสำนกั งานสีเขยี วที่เป็นมติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ ม (Green Office) ระดับดีมาก ประจำปี 2564 จากกรม สง่ เสริมคุณภาพส่งิ แวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ภาพท่ี 8 รางวลั ผา่ นการรับรองสำนักงานสีเขยี วท่ีเป็นมติ รกบั สง่ิ แวดล้อม (Green Office) ระดับดีมาก 3.2 ผู้บริหารระดับสงู ของสำนักวทิ ยบริการได้รบั รางวลั คนบนั ดาลไฟ AWARDS จากคณะกรรมการกำกับกิจการพลงั งาน (กกพ.) ภาพที่ 9 ผบู้ ริหารระดบั สงู ของสำนักวิทยบริการไดร้ ับรางวัลคนบันดาลไฟ AWARDS 3.3 ไดร้ ับการสนบั สนุนทนุ และงบประมาณจากกองทุนพฒั นาไฟฟา้ สำนักงานคณะกรรมการกำกบั กิจการพลังงาน จำนวน 5,000,000 บาท ประโยชน์ของโครงการ คือ 1) เกิดการขยายความรู้ทางด้านการประยุกต์ใช้โซลาร์เซลล์ให้เกิดกับผู้เข้าร่วมอบรม อย่างนอ้ ย 1,543 คน ในพืน้ ที่ 3 จงั หวัดชายแดนใต้ 2) เกดิ หน่วยการเรยี นรูย้ อ่ ยในพื้นท่ีจากเครือข่ายครวั เรอื นหรอื หนว่ ยงานตน้ แบบ ที่ใช้โซลาร์เซลล์เกิดขึ้นในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ 3) เกิดระบบสารสนเทศเครือข่ายคนกินแดดชายแดนใต้ในการขับเคลื่อนกับ เครือข่ายอยา่ งเป็นระบบ พรอ้ มแสดงชัน้ ข้อมูลผ้เู ขา้ ร่วมอบรม ผู้นำไปประยุกต์ใชจ้ ริงในครัวเรือนหรือองค์กร 4) เกิดระบบคลังวิดีโอ การเรียนรู้จากโครงการ ที่จัดเก็บให้ผู้สนใจเข้าร่วมเรียนรู้ได้ตลอดเวลา และ 5) เกิดหน่วยการเรียนรู้ต้นแบบในสำนักวิทยบริการ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 25
เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ ภาพที่ 10 ไดร้ บั การสนับสนุนทนุ และงบประมาณจากกองทนุ พฒั นาไฟฟา้ สำนักงานคณะกรรมการกำกับกจิ การพลงั งาน 10.3 เพ่อื เป็นแหลง่ เรยี นรู้ดา้ นการประยกุ ต์ใช้พลงั งานสะอาดและการเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมให้กบั นกั ศึกษา บคุ ลากร และประชาชนในพ้นื ที่ โดยมีรายละเอยี ดดังน้ี ผลลัพธท์ ่ไี ด้ 1) ดา้ นศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวิตของชมุ ชนดา้ นการใชพ้ ลังงานสะอาดและเป็นมิตรกับส่ิงแวดลอ้ ม สำนักวิทยบริการได้จัดอบรมเชิงปฏิบัติการคทางด้านการประยุกต์ใช้โซลาร์เซลล์ให้กับผู้เข้าร่วมอบรมไปแล้วไม่น้อยกว่า 1,543 คน ในพื้นที่ 3 จังหวดั ชายแดนใต้ ภาพท่ี 11 โครงการคนกนิ แดดชายแดนใต้ ชมเว็บไซตค์ นกนิ แดดชายแดนใต้: https://www.solarman.in.th ชมสอ่ื การเรยี นรตู้ ลอดชีวติ ผา่ น OAR Channel: https://www.youtube.com/OARChannel 26
เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 2) หน่วยงาน ชมุ ชน และภาคประชาชนทไี่ ดน้ ำความร้แู ละแนวปฏบิ ัตไิ ปใชง้ านจรงิ (Impact) ตารางที่ 3 แสดงหน่วยงาน ชุมชน และภาคประชาชนท่ไี ดน้ ำความรแู้ ละแนวปฏบิ ตั ไิ ปใชง้ านจริง (Impact) หนว่ ยงาน ชุมชน และภาคประชาชน การนำไปใชป้ ระโยชน์ 1. โรงพยาบาลจะนะ อ.จะนะ จ.สงขลา มกี ารตดิ ตัง้ โซลารเ์ ซลลล์ ดคา่ ไฟฟา้ ใหก้ ับโรงพยาบาล 2. เทศบาลตำบลเตราะบอน อ.สายบรุ ี จ.ปัตตานี นำไปใช้กบั ศูนย์เศรษฐกจิ พอเพยี งโคกหนองนาโมเดล ประปา หมบู่ า้ น และระดับครัวเรือนในตำบลเตราะบอน 3. กลุ่มชาวบา้ นตำบลสะพานไมแ้ กน่ อ.จะนะ จ.สงขลา มีการตดิ ตั้งโซลารเ์ ซลล์จำนวน 14 ครัวเรอื น จาก 29 ครวั เรือน ทมี่ าอบรม 4. นายเมธี บญุ รกั ษ์ (เกษตรกรตวั อย่าง) อ.สุไหงโก-ลก จ. นำโซลาร์เซลลไ์ ปใช้ในครวั เรอื นและภาคเกษตร นราธิวาส 5. กลุ่มประชาชนที่เขา้ อบรม นำไปตดิ ตัง้ ในครัวเรือนแลว้ มากกว่า 30 ราย 3) รายชอ่ื หนว่ ยงานภายในและภายนอกท่มี าขอศึกษาดงู านและไปจดั อบรมการใช้พลงั งานสะอาด ตารางท่ี 4 แสดงรายชอื่ หนว่ ยงานภายในและภายนอกท่ีมาขอศกึ ษาดงู านและไปจดั อบรมการใชพ้ ลงั งานสะอาด หนว่ ยงาน รายละเอยี ดการศึกษาดงู าน / การอบรมให้ วันท่ี จำนวน ความรกู้ ับหนว่ ยงานภายนอก (คน) 1. โรงพยาบาลปตั ตานี มาศึกษาดงู านระบบโซลาร์เซลล์ ระบบออนกริด 19 สงิ หาคม 2565 5 2. ศนู ยว์ ิทยาศาสตรเ์ พื่อการศกึ ษา จ.ปตั ตานี มาศึกษาดงู านการใชโ้ ซลาร์เซลล์ในการผลิต 8 มีนาคม 2565 6 พลงั งานฟ้าระดับครวั เรอื นเพ่ือพ่งึ พาตนเอง 3. โครงการ ว.ม.ว. คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มาเยยี่ มชมสถานีการเรยี นรู้นอกหอ้ งสมดุ 7 กมุ ภาพันธ์ 2565 10 4. เทศบาลตำบลเตราะบอน อ.สายบรุ ี จ.ปัตตานี โครงการคนกนิ แดดชายแดนใต้ 8-9 เมษายน 2564 112 5. ตำบลลำพะยา อ.เมอื งยะลา จ.ยะลา โครงการคนกนิ แดดชายแดนใต้ 29-30 มกราคม 2565 41 6. อำเภอเบตง จ.ยะลา โครงการคนกนิ แดดชายแดนใต้ 5-6 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 138 7. เทศบาลตำบลบันนังสตา จ.ยะลา โครงการคนกินแดดชายแดนใต้ 5-6 มนี าคม 2565 79 8. สำนักงานเกษตร จ.นราธวิ าส โครงการคนกินแดดชายแดนใต้ 21-22 มนี าคม 2565 71 9. บา้ นกึ่งวถิ ี ปลู ารายอ กาแลตาแป จ.นราธิวาส โครงการคนกินแดดชายแดนใต้ 24-25 มนี าคม 2565 83 10. ศูนย์วทิ ยาศาสตร์การเรยี นร้นู ราธวิ าส โครงการคนกนิ แดดชายแดนใต้ 30-31 มนี าคม 2565 92 11. ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์การเรยี นรนู้ ราธวิ าส โครงการคนกินแดดชายแดนใต้ 4-5 เมษายน 2565 58 12. วัดตานนี รสโมสร อำเภอเมือง จงั หวัดปตั ตานี โครงการคนกนิ แดดชายแดนใต้ 19-20 เมษายน 2565 81 13. โรงเรยี นสงู วัยทกั ษณิ านาเกตุ จังหวดั ปตั ตานี โครงการคนกินแดดชายแดนใต้ 23-24 เมษายน 2565 69 14. ฟารม์ ตวั อยา่ งบา้ นน้ำดำ จ.ปัตตานี โครงการคนกินแดดชายแดนใต้ 8-9 พฤษภาคม 2565 62 15. จดั อบรม ณ สำนักวิทยบรกิ าร โครงการคนกนิ แดดชายแดนใต้ ธ.ค. 2563 – พ.ค. 2565 657 3) ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจองคก์ รต้นแบบการใชพ้ ลังงานสะอาดและเป็นมิตรกบั สงิ่ แวดลอ้ ม ตารางที่ 5 แสดงผลการประเมนิ ความพึงพอใจองค์กรต้นแบบการใช้พลงั งานสะอาดและเปน็ มติ รกบั ส่งิ แวดล้อม รายการประเมนิ ระดบั ความพงึ พอใจโดยรวม 1. ด้านการใหค้ วามรเู้ ก่ียวกับพลังงานแสงอาทิตย์ มาก (4.28) 2. ดา้ นศูนย์การเรียนรูต้ ลอดชีวติ ดา้ นการใช้พลงั งานสะอาดและเป็นมติ รกับส่ิงแวดล้อม มากทีส่ ดุ (4.61) 27
เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 11. การเรียนรู้ (Study/Learning) 11.1 แผนหรือแนวทางการพัฒนาคุณภาพอยา่ งต่อเน่ืองในอนาคต สำนักวิทยบริการมีนโยบายที่ชัดเจน รวมถึงแผนงานและแนวทางการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องในอนาคต มี ผู้รับผิดชอบและคณะกรรมการดำเนนิ งานที่ชัดเจน ในการพัฒนาสำนักวิทยบริการให้เป็นองค์กรต้นแบบการใช้พลังงานสะอาดและ เปน็ มติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม ทง้ั ระดบั มหาวทิ ยาลัยและระดับชาติ โดยเน้นการมสี ่วนรว่ มของ ผู้บริหาร บคุ ลากร และผู้ใชบ้ รกิ าร 11.2 จุดแข็ง (Strength) หรือ สงิ่ ท่ีทำไดด้ ใี นประเดน็ ทนี่ ำเสนอ 1) สำนกั วิทยบรกิ ารเปน็ หนว่ ยงานทมี่ ศี ักยภาพในการผลติ พลังงานไฟฟา้ จากแสงอาทติ ยไ์ ด้เปน็ อนั ดบั ต้น ๆ ของ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทั้ง 5 วิทยาเขต โดยผลิตได้ตั้งแต่ปี 2561 – 2564 ประมาณ 604,265 กิโลวัตต์-ชั่วโมง คิดเป็นเงิน ประมาณ 3,021,325 บาท 2) สำนักวิทยบริการเป็นหน่วยงานที่มีศักยภาพในการผา่ นการรับรองสำนักงานสีเขียวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดลอ้ ม (Green Office) ระดับดีมาก จากกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นหน่วยงาน อนั ดบั ตน้ ๆ ของมหาวิทยาลัยที่ได้รบั รางวลั นี้ 3) สำนักวิทยบริการเป็นหน่วยงานที่มีศักยภาพในการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวิตของชุมชนด้านการใช้ พลงั งานสะอาดและเป็นมติ รกับส่ิงแวดล้อม ท้งั แบบออนไซต์ และแบบออนไลน์ 11.3 กลยทุ ธ์ หรือปัจจยั ที่นำไปส่คู วามสำเรจ็ 1) เน้นการมีส่วนร่วมของ ผู้บริหาร บุคลากร และผู้ใช้บรกิ าร การทำงานเปน็ ทีม เป็นปัจจยั สำคัญที่ส่งผลให้การ พฒั นาสำนักวทิ ยบรกิ ารใหเ้ ป็นองค์กรตน้ แบบการใช้พลังงานสะอาดและเป็นมติ รกับสิง่ แวดลอ้ ม สำเร็จตามเป้าหมายทีก่ ำหนดไว้ 2) ผู้บริหาร และบุคลากรมีความเชี่ยวชาญทางการใช้พลังงานสะอาดและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมทั้งระดับ มหาวิทยาลัยและระดับชาติ ดงั รางวลั ทีไ่ ด้รับระดบั ชาตทิ ัง้ รางวัลของหนว่ ยงาน และรางวัลของผบู้ รหิ าร 3) นโยบายการมุ่งเน้นการพัฒนานวัตกรรมของสำนักวิทยบริการ โดยเฉพาะด้านการใช้พลังงานสะอาดและเป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม เป็นปัจจัยสำคัญต่อการพัฒนาสำนักวิทยบริการให้เป็นองค์กรต้นแบบการใช้พลังงานสะอาดและเปน็ มิตรกับสิ่งแวดล้อม จนได้รับรางวลั และผ่านการรับรองสำนกั งานสีเขียวท่ีเป็นมติ รกับสิ่งแวดล้อม (Green Office) ระดับดี มาก จากกรมส่งเสริมคณุ ภาพส่ิงแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม 12. ประเด็น (จุดเดน่ ) ทีเ่ ป็นแนวปฏบิ ัติท่เี ปน็ เลศิ 12.1 สำนกั วิทยบริการเป็นหนว่ ยงานท่ีมศี ักยภาพในการผลติ พลังงานไฟฟา้ สะอาดจากแสงอาทิตย์ได้เป็นอันดับต้น ๆ ของ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทั้ง 5 วิทยายาเขต โดยผลิตได้ตัง้ แต่ปี 2561 – 2564 ประมาณ 604,265 กิโลวัตต์-ชัว่ โมง คิดเป็นเงิน ประมาณ 3,021,325 บาท ซึง่ ช่วยประหยัดคา่ ไฟฟ้าใหก้ บั สำนักวทิ ยบรกิ ารได้เป็นจำนวนมาก 12.2 สำนกั วิทยบริการเป็นหน่วยงานทมี่ ีศักยภาพในการผ่านการรบั รองสำนักงานสีเขยี วท่ีเป็นมิตรกับสง่ิ แวดล้อม (Green Office) ระดับดีมาก จากกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นหน่วยงานอันดับ ตน้ ๆ ของมหาวิทยาลัยท่ีไดร้ บั รางวัลน้ี 12.3 สำนักวิทยบริการเป็นหนว่ ยงานที่มีศักยภาพในการพัฒนาศูนยก์ ารเรียนรู้ตลอดชวี ิตของชุมชนด้านประหยัดพลังงาน และเป็นมติ รกบั สงิ่ แวดล้อมทัง้ แบบออนไซต์ และแบบออนไลน์ 13. เอกสารอ้างอิง คนกนิ แดดชายแดนใต้ (Solar Man in Southernmost Border). (n.d.). Retrieved May 19, 2022, from https://www.solarman.in.th สำนักวิทยบริการ งานนโยบายและแผน. (2564). แผนกลยุทธ์สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2561-2565. ปตั ตาน:ี สำนักฯ. สำนกั วทิ ยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์. (n.d.). Retrieved May 19, 2022, from https://www.oas.psu.ac.th สำนกั วิทยบริการรักษโ์ ลก (Green OAR). (n.d.). Retrieved May 19, 2022, from https://greenoar.oas.psu.ac.th 14. บทสรุป 28
เวทีคุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ผลลพั ธ์จากการทีส่ ำนักวทิ ยบริการได้สร้างแนวปฏบิ ตั ิเพอื่ พัฒนาสำนักวทิ ยบรกิ ารไปสอู่ งค์กรตน้ แบบการใชพ้ ลังงานสะอาด และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จากรางวัลระดับชาติต่าง ๆ ที่สำนักวิทยบริการ และผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานได้รับจากเวที ระดับชาติ จะเป็นสิ่งที่การันตีได้ว่าแนวปฏิบัตทิ ี่เปน็ เลิศในการพัฒนาสำนักวิทยบริการให้เป็นองค์กรต้นแบบการใช้พลังงานสะอาด และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป็นแนวปฏิบัติที่ใช้งานได้จริงอย่างมีประสิทธิภาพ ได้รับการยอมรับจากทั้งหน่วยงานภายในและ ภายนอกมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และจากเวทีประกวดระดบั ชาติ ส่งผลให้สำนักวิทยบริการสามารถผลติ พลังงานไฟฟ้าสะอาด จากแสงอาทิตย์ได้ตั้งแต่ปี 2561 – 2564 ประมาณ 604,265 กิโลวัตต์-ชั่วโมง คิดเป็นเงินประมาณ 3,021,325 บาท แนวปฏิบัติ ดังกล่าวยงั ส่งผลใหส้ ำนกั วทิ ยบรกิ ารผา่ นการรับรองสำนักงานสีเขยี วทเ่ี ป็นมติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ ม (Green Office) ระดบั ดีมาก จากกรม ส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ส่งผลให้ผู้บริหารระดับสูงของสำนักวิทยบริการได้รับ รางวัลคนบันดาลไฟ AWARDS จากคณะกรรมการกำกับกจิ การพลังงาน (กกพ.) และยังส่งผลให้สำนักวิทยบริการมีศูนยก์ ารเรียนรู้ ตลอดชีวิตของชุมชนด้านการใช้พลังงานสะอาดและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ผลจากการที่สำนักวิทยบริการมีชื่อเสียงด้านองค์กร ต้นแบบการใชพ้ ลงั งานสะอาดและเป็นมิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม ส่งผลให้มหี น่วยงานภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชน จำนวน 15 หน่วยงาน ติดต่อมาขอดูงาน และติดต่อให้ไปอบรมถ่ายทอดความรู้หรือแนวปฏิบัติด้านการใช้พลังงานสะอาดและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมให้ ตลอดทั้งปี เพ่ือนำแนวปฏิบัติดังกล่าวไปประยุกต์ใช้กับหน่วยงานของตนเองเพื่อเป็นองค์กรที่ใช้พลังงานสะอาดและเป็นมิตรกับ ส่งิ แวดล้อม สุดท้ายสำนักวิทยบริการหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแนวปฏิบัติด้านการใช้พลังงานสะอาดและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของสำนัก วิทยบริการจะเป็นต้นแบบ มีประสิทธิภาพ มีประโยชน์ และสามารถสร้างรายได้ให้กับหน่วยงานจากการผลิตไฟฟ้าแสงอาทิตย์ได้ ตลอดทัง้ วนั และหวงั เป็นอย่างยิ่งวา่ ทกุ ครัวเรือน ทุกหน่วยงานจะให้ความสำคัญกบั การใช้พลังงานสะอาดและเปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม เพือ่ รักษาโลกของเราไว้ให้นา่ อยู่ตลอดไป 29
เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ แนวปฏิบัตทิ ีเ่ ปน็ เลิศ *************************************** 1. ช่อื เรอื่ ง กระบวนการพฒั นาอาจารย์เพอื่ เขา้ สูก่ รอบสมรรถนะอาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (PSU-TPSF) วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 2. โครงการ/กิจกรรมด้าน ดา้ นบริหารจดั การ 3. ชอ่ื หน่วยงาน งานสนบั สนุนวชิ าการ สำนักงานวทิ ยาเขตสรุ าษฎร์ธานี มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตสรุ าษฎรธ์ านี 4. ประเภทของโครงการ ประเภทท่ี 1 แนวปฏิบตั ทิ ี่เปน็ เลศิ ระดบั คณะ/หน่วยงาน (ผ่านการคดั เลอื กโดยเวทีหรือผู้บรหิ ารของคณะ) สายวิชาการ สายสนบั สนุน ประเภทท่ี 2 แนวปฏบิ ตั ิที่ดี สายวิชาการ สายสนบั สนุน 5. คณะทำงานพัฒนาแนวปฏบิ ตั ทิ เ่ี ปน็ เลิศ 1. รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ วทิ ยาเขตสรุ าษฎรธ์ านี 2. ผู้ช่วยอธกิ ารบดฝี า่ ยวิชาการและสอ่ื สารองค์กร วทิ ยาเขตสรุ าษฎร์ธานี 3. ผู้อำนวยการสำนกั งานวทิ ยาเขตสรุ าษฎรธ์ านี 4. รองผู้อำนวยการสำนกั งานวทิ ยาเขตสุราษฎรธ์ านี 5. นางสริ นิ จนั ทผลึก 6. นางสาวอนิ ทิรา มตั ตาพงศ์ 6. การประเมินปญั หา/ความเสีย่ ง (Assessment) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กำหนดกรอบมาตรฐานสมรรถนะอาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (PSU Teaching Professional Standards Framework : PSU-TPSF) เพื่อพัฒนาอาจารย์ให้มีสมรรถนะด้านการจัดการเรียนการ สอน รองรับการผลิตบัณฑิตให้มีความเข้มแข็งทางด้านวิชาการ มีทักษะของการเป็นพลเมืองโลก มุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัย นวตั กรรมสะท้อนนวตั กรรมอตั ลักษณค์ วามเปน็ บณั ฑิตมหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ต้งั แตป่ งี บประมาณ 2559 เปน็ ตน้ มา วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ได้นำนโยบายดังกล่าวมากำหนดแนวทาง วางแผนและจัดทำขั้นตอนการดำเนินงาน (Flowchart) เพื่อพัฒนาอาจารย์เข้าสู่กรอบสมรรถนะอาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (PSU-TPSF) ตั้งแต่ปี 2559 ท่ี มหาวทิ ยาลัยออกประกาศ โดยในปีแรกมผี ผู้ า่ นการประเมินตามกรอบสมรรถนะอาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ในระดบั ดรุณาจารย์ จำนวน 43 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 30.94 ของจำนวนอาจารย์ทง้ั หมด และปี 2560 มผี ้ผู ่านการประเมนิ ในระดบั ดรณุ า จารย์เพิม่ ขน้ึ จากเดมิ จำนวน 4 คน และมีผผู้ ่านการประเมนิ ในระดบั วชิ ชาจารย์ จำนวน 1 คน รวมมีผู้ผา่ นการประเมนิ 48 คน คิดเป็นร้อยละ 34.53 ซึ่งจากผลการดำเนินการในปีแรก พบว่า จำนวนการเพิ่มขึ้นของอาจารย์ผู้ผ่านการประเมินมีเพียง ร้อยละ 3.59 วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี จึงได้ทบทวนปัญหาดังกล่าวและได้ปรับปรุงกระบวนการพัฒนาอาจารย์เข้าสู่กรอบ 30
เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ สมรรถนะอาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (PSU-TPSF) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้อาจารย์จัดทำผลงานยื่นขอ ประเมินให้ผ่านเกณฑ์มากยิง่ ขึ้น รวมท้ังสามารถยน่ื ขอประเมินในระดับสมรรถนะท่ีสูงขึน้ ไดอ้ ย่างต่อเนอื่ งดว้ ย วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี จึงได้กำหนดกระบวนการ พัฒนาอาจารย์เข้าสู่กรอบสมรรถนะอาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (PSU-TPSF) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้อาจารย์จัดทำผลงานยื่นขอประเมินตามกรอบ สมรรถนะอาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (PSU-TPSF) ให้ผ่านเกณฑ์การประเมินในระดับต่าง ๆ ตามประกาศ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เรื่อง กรอบมาตรฐานสมรรถนะอาจารย์มหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (PSU Teaching Professional Standards Framework : PSU-TPSF) 7. เป้าหมาย/วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ เพื่อให้อาจารย์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ผ่านการประเมินตามกรอบสมรรถนะอาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (PSU-TPSF) อยา่ งนอ้ ยร้อยละ 95 ภายในปี 2568 8. ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั อาจารย์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ผ่านการประเมินตามกรอบสมรรถนะอาจารย์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ (PSU-TPSF) อย่างน้อยรอ้ ยละ 95 ภายในปี 2568 9. การออกแบบกระบวนการ 9.1 วิธกี าร/แนวทางการปฏิบัติจริง (PDCA) กระบวนการที่ 1 กำหนดแนวทาง วางแผนและจัดทำขั้นตอนการดำเนินงานพัฒนาอาจารย์เข้าสู่กรอบ สมรรถนะอาจารย์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ (PSU-TPSF) จากประกาศมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เรื่อง กรอบมาตรฐานสมรรถนะอาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (PSU Teaching Professional Standards Framework : PSU-TPSF) ซึ่งกำหนดเริ่มใช้ตั้งแต่ปี 2559 นั้น วิทยาเขต สรุ าษฎรธ์ านี ได้นำนโยบายดังกล่าวมากำหนดแนวทาง วางแผนการดำเนินการ ดงั น้ี 1. ประชุมหารือร่วมกันทุกคณะเพื่อวางแผนและออกแบบขั้นตอนการดำเนินงาน (Flowchart) พัฒนาอาจารย์ เข้าส่สู มรรถนะอาจารย์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ (PSU-TPSF) ของวิทยาเขตสรุ าษฎร์ธานี และจดั ทำแผนการดำเนินงาน การยื่นขอประเมิน PSU-TPSF ประจำปี เสนอคณะกรรมการวิชาการ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ให้ความเห็นชอบ แจ้งคณะ/ หนว่ ยงานท่เี กี่ยวข้องทราบ และดำเนนิ การตามแผน 2. ชี้แจงขนั้ ตอนการดำเนนิ งานพัฒนาอาจารย์เขา้ สสู่ มรรถนะอาจารย์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ (PSU-TPSF) ให้ คณะและผู้เกี่ยวข้องทุกระดับทราบ พร้อมทั้งวางแผนการกำกับ และติดตามการจัดทำผลงานเพื่อยื่นขอประเมิน PSU-TPSF ตามแผนการดำเนินงานประจำปี 3. แตง่ ตง้ั คณะกรรมการขบั เคลอื่ นกลยุทธ์การพฒั นาอาจารย์ด้านวชิ าการ วทิ ยาเขตสุราษฎร์ธานี เพื่อกำกับ ติดตาม วเิ คราะห์และวางแผนพฒั นากระบวนการดำเนนิ งานพัฒนาอาจารยเ์ ขา้ สกู่ รอบสมรรถนะอาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ของวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี เพื่อส่งเสริมสนบั สนนุ ใหอ้ าจารย์จัดทำผลงานขอประเมิน PSU-TPSF ได้อย่างตอ่ เนื่องเป็นประจำ ทกุ ปี กระบวนการที่ 2 กำหนดนโยบายในการส่งเสรมิ และสนับสนนุ เพื่อให้อาจารย์จัดทำผลงานประเมิน PSU-TPSF ในระดบั ทส่ี ูงขน้ึ และตอ่ เน่ือง คณะกรรมการขับเคลื่อนกลยุทธ์การพัฒนาอาจารย์ด้านวิชาการ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ได้กำหนดนโยบาย ในการสง่ เสรมิ และสนับสนุนเพอื่ ใหอ้ าจารย์จัดทำผลงานประเมิน PSU-TPSF ในระดับที่สงู ขน้ึ และตอ่ เนือ่ ง ดงั น้ี 31
เวทคี ุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ 1. สำรวจความต้องการของอาจารย์ ในการจัดทำผลงานเพื่อยื่นขอประเมิน PSU-TPSF และนำผลการ สำรวจมาวเิ คราะห์ พรอ้ มทงั้ จัดโครงการ/ กจิ กรรมให้เหมาะสมกบั ความต้องการของอาจารย์ 2. สง่ เสรมิ ให้มีระบบอาจารย์พ่ีเลี้ยงในการให้คำปรกึ ษาการจัดทำผลงาน และมกี ระบวนการติดตามการให้ คำปรึกษาและจัดทำผลงานทุก ๆ 3 เดือน เพื่อรายงานคณะกรรมการขับเคลื่อนกลยุทธ์การพัฒนาอาจารย์ ด้านวิชาการ วทิ ยาเขตสุราษฎรธ์ านี 3. จัดโครงการเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้อาจารย์จัดทำผลงานเพื่อยื่นขอประเมินในระดับที่สูงขึ้นและ ต่อเนอ่ื งเปน็ ประจำทกุ ปีการศึกษา 4. จัดทำแผนการดำเนินการยืน่ ขอประเมิน PSU-TPSF และติดตามการดำเนนิ การให้เป็นไปตามแผนทุกปี การศกึ ษา 5. เมื่อมหาวิทยาลัยประกาศผลการประเมิน PSU-TPSF เสร็จสิ้นทุกปีการศึกษา ให้สรุปข้อมูลผู้ผ่านการ ประเมินทุกระดับและรายงานให้คณะกรรมการขับเคลื่อนกลยุทธ์การพัฒนาอาจารย์ด้านวิชาการ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี เพ่ือ ทราบและกำหนดแนวทางในการสง่ เสรมิ และสนับสนุนอาจารย์จัดทำผลงานแบบ Focus Group จากน้นั เสนอให้คณะกรรมการ วชิ าการ วิทยาเขตสรุ าษฎรธ์ านี เพอ่ื ทราบและพิจารณาเหน็ ชอบแนวการส่งเสริมและสนับสนนุ การพัฒนาอาจารยด์ ังกลา่ ว กระบวนการที่ 3 การจัดโครงการเพื่อให้ความรู้ส่งเสริมและสนับสนุนให้อาจารย์จัดทำผลงานเพื่อขอประเมิน PSU-TPSF จากนโยบายในการส่งเสริมและสนับสนุนเพื่อให้อาจารย์จัดทำผลงานประเมิน PSU-TPSF ในระดับที่สูงขึ้นและ ต่อเนื่อง ของคณะกรรมการขับเคลื่อนกลยุทธ์พัฒนาอาจารย์ด้านวิชาการ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี จึงได้กำหนดจัดโครงการ/ กิจกรรมพฒั นาอาจารย์เพื่อจัดทำผลงานในการขอประเมนิ PSU-TPSF โดยมีรายละเอียดดังน้ี 1. โครงการฝึกอบรมการเขียน Teaching Portfolio สำหรับ PSU Teaching Professional Standards Framework : PSU-TPSF เพื่อให้คณาจารย์ที่เข้าฝึกอบรมสามารถเขียน Teaching Portfolio เพื่อขอรับการประเมิน สมรรถนะ ตามกรอบมาตรฐานสมรรถนะอาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและถูกตอ้ งตามเกณฑ์ ท่มี หาวิทยาลยั กำหนดไว้ 2. โครงการ The TEACHER Season 2 : Learn and Share หัวข้อ แลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการเรียนการสอน เพ่ือเข้าสกู่ รอบมาตรฐานสมรรถนะอาจารย์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ (PSU-TPSF) เพือ่ ส่งเสริมและสร้างแรงบันดาลใจให้ คณาจารยจ์ ดั ทำผลงานเพ่ือยื่นขอประเมินสมรรถนะอาจารย์อย่างต่อเนื่อง 3. โครงการ The TEACHER : Learn and Share Season 3 หัวขอ้ การจดั ทำผลงานเพ่ือเข้าสูก่ รอบมาตรฐาน สมรรถนะอาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ (PSU-TPSF) เพอื่ กระตุน้ ใหค้ ณาจารยเ์ ข้าใจเกณฑ์การประเมนิ และจดั ทำ ผลงานได้ถกู ตอ้ งตามเกณฑก์ ารประเมินมากย่งิ ขน้ึ 4. โครงการฝึกอบรมเทคนิคการให้คำปรึกษาเพื่อความก้าวหน้าในระดับที่สูงขึ้น (Training for the trainer) ตามกรอบมาตรฐานสมรรถนะอาจารย์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ เพ่อื ถา่ ยทอดวธิ ีการและเทคนคิ การให้กับอาจารย์พี่เล้ียง ให้คำปรกึ ษาในการจัดทำผลงานเพอื่ ขอประเมินในระดับท่สี ูงข้นึ และตอ่ เน่อื ง 5. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อให้อาจารย์ได้ถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคนิคการจัดการเรียนการสอนทุกปี การศกึ ษา กระบวนการท่ี 4 การสง่ เสริมระบบอาจารยพ์ เี่ ลยี้ ง (Mentor) ในการใหค้ ำปรกึ ษาการจัดทำผลงาน จากนโยบายในการส่งเสริมและสนับสนุนเพื่อให้อาจารย์จัดทำผลงานประเมิน PSU-TPSF ในระดับที่สูงขึ้นและ ตอ่ เนอื่ ง ของคณะกรรมการขบั เคลอ่ื นกลยทุ ธ์พัฒนาอาจารย์ด้านวิชาการ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ได้เล็งเห็นถึงความสำคญั ในการ ส่งเสริมระบบอาจารย์พเี่ ลี้ยงในการให้คำปรึกษาการจัดทำผลงานในระดับทสี่ ูงข้ึนและตอ่ เน่ือง จงึ ได้กำหนดแนวทางในการสร้าง แรงบันดาลใจใหก้ บั อาจารยท์ ท่ี ำหน้าทเ่ี ปน็ พี่เลยี้ งให้คำปรกึ ษาในการจัดทำผลงาน โดยมีรายละเอียดดังนี้ 32
เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ 1. วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี จัดประชุมหารือร่วมกับรองคณบดีฝ่ายวิชาการทุกคณะ/วิทยาลัย และอาจารย์ผู้ได้รับการ แต่งตั้งในระดับวิชชาจารย์ทุกท่าน เพื่อขอความร่วมมือในการเป็นพี่เลี้ยงให้กับอาจารย์ผู้ได้รับการแต่งตั้งในระดับดรุณาจารย์ หรอื อาจารย์ทว่ั ไปทสี่ นใจยืน่ ขอประเมนิ PSU-TPSF 2. วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี จะจัดทำคำสั่งแตง่ ตั้งอาจารย์พี่เลี้ยงเพือ่ ขับเคลื่อนการจัดการเรียนการสอน โดยใช้กรอบ มาตรฐาน PSU-TPSF เพอื่ ใหส้ ามารถนำไปประกอบการขอประเมินในระดบั ท่สี งู ขนึ้ ได้ 3. อาจารย์ผู้ได้รบั การแต่งตั้งในระดบั วชิ ชาจารย์จะได้รับการดูแลจากอาจารย์พี่เล้ียงในระดับสามัตถิยาจารย์ โดยมี กระบวนการดูแลในลกั ษณะเดยี วกันกับอาจารย์ในระดบั ดรณุ าจารย์ 4. หากอาจารย์ลูกทีมระดับดรุณาจารย์ได้รับการแต่งตั้งในระดับที่สูงขึ้นทั้งทีม วิทยาเขตสุราษฎร์ธานีจะมอบโล่ ประกาศเกยี รตคิ ณุ ให้แก่อาจารยพ์ ี่เลยี้ ง กระบวนการท่ี 5 การทบทวนกระบวนการและแผนงานใหเ้ ปน็ ไปตามกรอบระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกำหนด วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ได้ทบทวนกระบวนการและแผนงานในการพัฒนาอาจารย์เข้าสู่กรอบสมรรถนะอาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (PSU-TPSF) ทุกปีการศึกษา โดยใช้กระบวนการการมีส่วนร่วมของผู้บริหาร อาจารย์ และผู้เกี่ยวข้องทุกระดับในการทบทวนกระบวนการและแผนงาน เพื่อให้สามารถดำเนินการตามกรอบระยะเวลาที่ มหาวิทยาลยั กำหนดได้อยา่ งมีประสิทธิภาพทกุ ปกี ารศกึ ษา โดยมรี ายละเอยี ดแผนงานประจำปี 2565 ดังนี้ ประเมินภาคการศึกษาท่ี 1 การดำเนินการ ปี 2565 ปี 2566 พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. อาจารย์ยน่ื แบบ PSU-TPSF1 พร้อม แผนการสอนทคี่ ณะ คณะกรรมการประจำ คณะพจิ ารณา กรรมการประเมนิ การ สอน และ ผ้ทู รงคณุ วุฒิ กรรมการประเมนิ การ สอน/รองคณบดี หรอื ประธานหลักสูตร ประเมนิ เจตคตกิ าร เป็นอาจารย์ ผขู้ อประเมนิ จัดทำ แฟม้ ผลงาน และ หลักฐานสง่ ท่ี สำนักงานคณะ เจา้ หนา้ ทีค่ ณะ รวบรวมเอกสารนำสง่ งานสนับสนนุ วชิ าการ งานสนับสนุนวชิ าการ ตรวจสอบเอกสาร 33
เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ หากครบถ้วน จัดทำ บนั ทกึ นำสง่ สำนกั การศึกษาฯ หากไม่ ครบถว้ นแจง้ อาจารย์ แก้ไขเพมิ่ เตมิ สำนักการศึกษา ตรวจสอบเอกสาร และเสนอเขา้ สู่ กระบวนการประเมิน สำนกั การศกึ ษา สรปุ ผลการประเมิน (เห็นชอบจัดทำ ประกาศ/ ไมเ่ ห็นชอบ แจ้งคณะ,วิทยาเขต แกไ้ ขปรปั รงุ ) การดำเนนิ การ ปี 2565 ปี 2566 พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. สำนกั การศึกษาจดั ทำ ประกาศ แจง้ ผลให้ คณะ,วิทยาเขตทราบ ทง้ั น้ี แผนงานการยืน่ ขอประเมินภาคการศกึ ษาที่ 2 มกี ระบวนการเดยี วกันกบั ภาคการศึกษาที่ 1 แตก่ ารระยะเวลา ในการดำเนนิ การเรมิ่ ตงั้ แตเ่ ดอื นตลุ าคม 2565 และสน้ิ สุดกระบวนการในเดือนพฤศจกิ ายน 2566 กระบวนการท่ี 6 การกำกับ ตดิ ตามการดำเนนิ การตามแผนการยื่นขอประเมนิ สมรรถนะอาจารย์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสรุ าษฎร์ธานี วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี กำหนดกระบวนการกำกับ ติดตาม การดำเนินการตามแผนการยื่นขอประเมินสมรรถนะ อาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่อประเมินประสิทธิภาพในการดำเนินการงานและปรับปรุงแนวทางในการส่งเสริม และสนับสนุนการดำเนินงานให้มีผู้ผ่านการประเมินสมรรถนะอาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เพิ่มมากขึ้นตามลำดับ โดยดำเนินการจัดทำรายงานสถานภาพของผู้ผ่านการประเมินทุกภาคการศึกษา รายงานที่ประชุมคณะกรรมการวิชาการ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี และแจ้งคณะเพื่อกำกับ ติดตาม ให้อาจารย์จัดทำผลงานเพื่อขอประเมินต่อเนื่องตามระยะเวลา ที่มหาวิทยาลัยกำหนด และในปัจจุบันได้จัดทำแบบฟอร์มรายงานสถานะประกอบการจัดทำผลงานของอาจารย์ที่ต้องการ ยื่นประเมิน ให้อาจารย์พี่เลี้ยงตรวจสอบความก้าวหน้าของลูกทีม และรายงานความก้าวหน้าในการจัดทำผลงาน ให้คณะกรรมการขับเคลื่อนกลยุทธ์พัฒนาอาจารยด์ ้านวิชาการ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี รับทราบทุก ๆ 3 เดือน และสรปุ จำนวน ผู้ผา่ นการประเมนิ PSU-TPSF รายงานทีป่ ระชุมคณะกรรมการวิชาการ วทิ ยาเขตสรุ าษฎรธ์ านีทกุ ปีการศกึ ษา 34
เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ ตัวอย่างแบบฟอร์มรายงานสถานะของอาจารยร์ ายบคุ คล 9.2 งบประมาณทใ่ี ช้ในการจดั โครงการ-กิจกรรม การจัดกิจกรรม/โครงการเพื่อพัฒนาอาจารย์ด้านวิชาการ ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากงบประมาณเงินรายได้ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานีเป็นประจำทุกปี จึงทำให้กระบวนการดังกล่าวดำเนินการไปอย่างต่อเนื่องทุกปีและมีผลสัมฤทธิ์ที่ดี ซึ่งงบประมาณโครงการจะจัดสรรตามรายละเอียดของแต่ละโครงการ เช่น ค่าตอบแทนวิทยากร ค่าอาหารว่างและอาหาร กลางวัน ค่าวัสดุอปุ กรณ์ เปน็ ต้น 10. การวัดผลและผลสัพธ์ (Measures) แสดงระดับแนวโน้มข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ (3ปี) และ/หรือ เปรียบเทียบกับ หนว่ ยงานภายใน/ภายนอก จ า กผ ล กา ร ด ำ เ นิ นงา นต า ม กร ะ บ วนก า ร พ ั ฒ นา อา จ า ร ย ์ เ พื ่ อเ ข้ า ส ู ่ กร อบ ส ม ร ร ถนะ อา จ า ร ย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (PSU-TPSF) วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ตั้งแต่ปี 2559 เป็นต้นมา ทำให้มีอาจารย์ได้รับการแต่งตัง้ เป็นผู้มีสมรรถนะอาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในแต่ละปีการศึกษาเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยมีสถิติเปรียบเทียบ ข้อมลู ย้อนหลงั จากปีการศึกษา 2561 มผี ผู้ า่ นการประเมนิ รอ้ ยละ 36.69 การศึกษา 2562 มีผู้ผ่านการประเมนิ ร้อยละ 38.32 การศึกษา 2563 มีผู้ผ่านการประเมินร้อยละ 45.32 จนกระทั่งปัจจุบันปีการศึกษา 2564 มีผู้ผ่านการประเมินร้อยละ 48.92 และมีผู้ผ่านการประเมินในระดับวิชชาจารย์และสามัตถิยาจารย์ รวมทั้งสิ้น 27 คน คิดเป็นร้อยละ 19.42 ซึ่งต้องพัฒนาให้มี อาจารย์ผ่านการประเมินในระดับวิชชาจารย์และสามัตถิยาจารย์อีกจำนวน 42 คน ภายในระยะเวลา 5 ปีตามดัชนีชี้วัด ความสำเร็จของมหาวิทยาลัย ทั้งนี้ ในปัจจุบันวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี มีจำนวนร้อยละของผู้ผ่านการประเมินตามกรอบ สมรรถนะอาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มากท่ีสุด เมือ่ เปรยี บเทียบกันท้งั 5 วิทยาเขต โดยมีรายละเอียดดงั นี้ ตารางเปรยี บเทยี บจำนวนอาจารยผ์ ้ผู ่านการประเมนิ PSU-TPSF ของวทิ ยาเขตสุราษฎร์ธานี ยอ้ นหลัง 4 ปี อาจารย์สงั กดั อาจารย์ ปกี ารศกึ ษา 2561 จำนวนอาจารย์ผู้ผ่านการประเมิน PSU-TPSF วข.สรุ าษฎร์ธานี ทง้ั หมด จำนวน คดิ เป็น ปีการศึกษา 2562 ปีการศกึ ษา 2563 ปกี ารศกึ ษา 2564 (คน) (คน) ร้อยละ จำนวน คดิ เป็น จำนวน คดิ เปน็ จำนวน คิดเปน็ (คน) รอ้ ยละ (คน) รอ้ ยละ (คน) ร้อยละ 139 51 36.69 53 38.12 63 45.32 68 48.92 ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 31 มนี าคม 2565 35
เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ แผนภมู ิแสดงรอ้ ยละของอาจารย์วทิ ยาเขตสรุ าษฎรธ์ านี ที่ผ่านการประเมิน PSU-TPSF ยอ้ นหลัง 4 ปี 60.00% 36.69% 38.12% 45.32% 48.92% 50.00% 40.00% 51 53 63 68 30.00% 20.00% 10.00% 0.00% ปกี ารศกึ ษา 2562 ปีการศกึ ษา 2563 ปีการศึกษา 2564 ปีการศึกษา 2561 อาจารยผ์ ู้ผ่าน PSU-TPSF ตารางเปรยี บเทียบจำนวนอาจารยผ์ ู้ผ่านการประเมิน PSU-TPSF มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 5 วทิ ยาเขต ย้อนหลงั 4 ปี วิทยาเขต อาจารย์ จำนวนอาจารย์ผผู้ ่านการประเมิน PSU-TPSF ท้ังหมด ปีการศกึ ษา 2561 ปกี ารศกึ ษา 2562 ปกี ารศกึ ษา 2563 ปีการศกึ ษา 2564 สรุ าษฎรธ์ านี (คน) จำนวน คดิ เป็น จำนวน คดิ เปน็ จำนวน คดิ เปน็ จำนวน คดิ เป็น หาดใหญ่ (คน) ร้อยละ (คน) ร้อยละ (คน) ร้อยละ (คน) ร้อยละ ปตั ตานี 139 ตรงั 1,401 51 36.69 53 38.12 63 45.32 68 48.92 ภเู ก็ต 486 60 4.28 122 8.71 211 15.06 275 19.61 รวมทั้งส้นิ 82 16 3.29 66 13.59 85 17.49 92 18.93 128 17 20.73 27 32.93 33 40.24 82 42.68 2,236 3 2.34 5 3.91 8 6.25 10 7.81 147 6.57 273 12.21 400 17.88 527 23.57 ข้อมลู ณ วันที่ 31 มีนาคม 2565 36
เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ แผนภูมิแสดงรอ้ ยละของอาจารยท์ ่ผี ่านการประเมิน PSU-TPSF มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 5 วิทยาเขต ยอ้ นหลัง 4 ปี แผนภูมิแสดงร้อยละของผู้ผ่านการประเมิน PSU-TPSF มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 5 วิทยาเขต 48.92% 36.69% 38.12% 45.32% 42.68% 20.73% 32.93% 40.24% 4.28% 8.71% 15.06% 19.61% 3.29% 13.59% 17.49% 18.93% 2.34% 7.81% 3.91% 6.25% ปีการศึกษา 2561 ปีการศึกษา 2562 ปีการศึกษา 2563 ปีการศึกษา 2564 สรุ าษฎรธ์ านี หาดใหญ่ ปตั ตานี ตรัง ภูเก็ต 11. การเรียนรู้ (Study/ Learning) 11.1 แผนหรือแนวทางการพฒั นาคุณภาพอย่างตอ่ เนื่องในอนาคต การพัฒนาอาจารย์เพื่อเข้าสู่กรอบสมรรถนะอาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (PSU-TPSF) วิทยาเขต สุราษฎร์ธานี มีเป้าประสงค์เพื่อให้มีอาจารย์ผ่านการประเมินตามกรอบสมรรถนะอาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (PSU-TPSF) อยา่ งนอ้ ยรอ้ ยละ 95 ภายในปี 2568 ดังนน้ั วิทยาเขตสรุ าษฎร์ธานี จึงไดก้ ำหนดแผนการดำเนนิ การเพ่ือส่งเสริม การพฒั นาอาจารย์เพอ่ื เข้าส่กู รอบสมรรถนะอาจารย์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ ดงั นี้ กิจกรรม ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 65 65 65 65 65 65 65 65 65 65 65 65 ทบทวนผลการดำเนินงานและ สรุปข้อมูลผู้ผ่านการประเมิน ประจำปี รายงานขอ้ มลู ผผู้ ่านการประเมิน เสนอคณะกรรมการขบั เคลื่อน กิจกรรม ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 65 65 65 65 65 65 65 65 65 65 65 65 กลยทุ ธพ์ ัฒนาอาจารย์ด้าน วิชาการ วิทยาเขตสรุ าษฎรธ์ านี สำรวจความตอ้ งการของอาจารย์ เพื่อออกแบบโครงการ/กจิ กรรมที่ เหมาะสม 37
เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สรุปขอ้ มลู และจัดทำโครงการ/ กิจกรรมพฒั นาอาจารยเ์ สนอ คณะกรรมการขบั เคลอ่ื น กลยุทธ์พัฒนาอาจารย์ด้าน วชิ าการ วทิ ยาเขตสุราษฎรธ์ านี จดั โครงการพฒั นาอาจารย์/ ส่งเสริมการจัดทำผลงานเพ่ือ ประเมนิ PSU-TPSF อาจารยพ์ ่ีเล้ยี งให้คำปรกึ ษา แนะนำการจดั ทำผลงาน ตดิ ตามความกา้ วหนา้ การจดั ทำ ผลงาน จากอาจารย์พี่เลี้ยง (ทกุ 3 เดอื น) เสนอเอกสาร/หลกั ฐานให้ คณะกรรมการประจำคณะ พจิ ารณา และเขา้ สกู่ ระบวนการ ประเมนิ 11.2 จดุ แขง็ (Strength) หรอื สิง่ ท่ีทำไดด้ ใี นประเดน็ ท่ีนำเสนอ การพัฒนาอาจารย์เพื่อเข้าสู่กรอบสมรรถนะอาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ( PSU-TPSF) วิทยาเขต สุราษฎร์ธานี มีเป้าประสงค์เพื่อให้มีอาจารย์ผ่านการประเมินตามกรอบสมรรถนะอาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (PSU-TPSF) อยา่ งน้อยรอ้ ยละ 95 ภายในปี 2568 มจี ดุ แขง็ ทส่ี ำคญั คือ 1. มีขั้นตอนการดำเนินงาน (Flow Chart) เพื่อพัฒนาอาจารย์เข้าสู่กรอบมาตรฐานสมรรถนะอาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (PSU-TPSF) ที่ชัดเจนตั้งแต่ปีแรกที่มหาวิทยาลัยประกาศใช้นโยบาย เรื่องกรอบสมรรถนะอาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และมีการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการทำงานอย่างต่อเนื่อง จึงสามารถดำเนินงานได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ 2. มีแผนการดำเนินงานการขอประเมินตามกรอบสมรรถนะอาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (PSU-TPSF) ประจำปีที่ชัดเจนเป็นที่รับรู้ของคณะ/ หน่วยงานในวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี คณะ/หน่วยงานจึงกำหนดแผนการจัดกิจกรรมอื่น ๆ ของคณะ/ หน่วยงานได้ล่วงหน้าและไม่ซ้ำซ้อนกับวิทยาเขต ทำให้วิทยาเขตสุราษฎร์ธานีสามารถดำเนินงานตามแผนได้ตามท่ี กำหนด 3. มีกระบวนการกลุ่ม (Focus Group) ในการออกแบบโครงการ/ กิจกรรมพัฒนาอาจารย์ โดยออกแบบสำรวจ ความต้องการพัฒนาด้านวิชาการของอาจารย์เป็นรายบุคคล ซึ่งโครงการ/ กิจกรรมที่จัดในปีแรกๆ เน้นการสร้างความเข้าใจ และให้ความรู้ในการจัดทำ Teaching Portfolio สำหรับการประเมิน PSU-TPSF และในปีต่อ ๆ มา เน้นกิจกรรมการแลกเปลี่ยน เรียนรู้และสร้างแรงจูงใจ โดยให้อาจารย์ผู้ได้รับการประเมินในระดับที่สูงขึ้นได้ถ่ายทอดวิธีการและเทคนิคในการจัดทำผลงาน เพ่ือขอประเมินในระดับทส่ี งู ข้ึน 4. มกี ระบวนการสรา้ งอาจารย์พี่เลย้ี ง (Mentor) ภายใตโ้ ครงการ Training for the trainer เพอ่ื สนับสนนุ และส่งเสรมิ ให้มอี าจารย์ผผู้ า่ นการประเมินในระดบั ท่สี ูงขึ้นอยา่ งต่อเนือ่ ง 38
เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ 5. มีงบประมาณสนับสนุนการจัดโครงการ/ กิจกรรมเพื่อพัฒนาอาจารย์เข้าสู่กรอบสมรรถนะอาจารย์ มหาว ิ ทยาล ั ยสงขลานคร ิ นทร ์ ( PSU-TPSF) อย ่ างต ่ อเน ื ่ องเป ็ นประจำทุ กป ี รวมท ั ้ งคณะ/ หน ่ วยงาน ใหค้ วามร่วมมอื ในการกระตุ้นให้อาจารยเ์ ขา้ รว่ มโครงการได้เปน็ อยา่ งดี ส่งผลใหก้ ารดำเนินโครงการบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ 6. มีการกำกับ ติดตามและรายงาน พร้อมทั้งพัฒนาปรับปรุงกระบวนการพัฒนาอาจารย์เข้าสู่กรอบสมรรถนะอาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (PSU-TPSF) เป็นประจำทุกปีการศึกษา ผ่านคณะกรรมการขับเคลื่อนกลยุทธ์พัฒนาอาจารย์ ดา้ นวิชาการ วทิ ยาเขตสุราษฎรธ์ านี และคณะกรรมการวชิ าการ วทิ ยาเขตสุราษฎรธ์ านี 11.3 กลยุทธ์ หรอื ปจั จยั ทีน่ ำไปสคู่ วามสำเร็จ กลยุทธ์ที่นำไปสู่ความสำเรจ็ ในการดำเนนิ งาน คอื 1. มีแผนการดำเนนิ งานทีช่ ดั เจนและสามารถดำเนินการได้ตามแผน 2. การสำรวจข้อมูล วิเคราะห์และออกแบบโครงการ/ กิจกรรมเพื่อพัฒนาอาจารย์เข้าสู่กรอบสมรรถนะอาจารย์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ตามความตอ้ งการและความสนใจของอาจารย์ 3. ทบทวนและประมวลผลการดำเนินงานตามกระบวนการพัฒนาอาจารย์เข้าสู่กรอบสมรรถนะอาจารย์ มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ (PSU-TPSF) เพ่อื ปรบั ปรงุ แก้ไขและพัฒนาอย่างต่อเนือ่ งและมีประสิทธภิ าพ 4. การสร้างความเข้าใจและการประสานความร่วมมือจากทุกคณะ/ หน่วยงาน อาจารย์และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ในการดำเนินโครงการ/ กิจกรรม 12. ประเด็น (จดุ เด่น) ทีเ่ ป็นแนวปฏิบตั ิที่เป็นเลิศ 1. มขี นั้ ตอนการดำเนินงาน (Flow Chart) และแผนงานทชี่ ดั เจนสามารถดำเนนิ การได้อยา่ งต่อเนอื่ งทกุ ปีการศึกษา 2. ใช้กระบวนการกลุ่ม (Focus Group) ในการวิเคราะห์และออกแบบโครงการ/กิจกรรมพัฒนาอาจารย์ ตามความต้องการและความสนใจเป็นรายบุคคล 3. มีกระบวนการสร้างอาจารย์พี่เลี้ยง (Mentor) ภายใต้โครงการ Training for the trainer เพื่อกำกับ ติดตาม และกระตนุ้ ใหอ้ าจารยจ์ ัดทำผลงานเพื่อเข้าสกู่ รอบสมรรถนะอาจารย์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ในระดับทส่ี งู ขึน้ ไดอ้ ยา่ งต่อเนื่อง 4. มีกระบวนการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอาจารย์เข้าสู่กรอบสมรรถนะอาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อย่างตอ่ เนอื่ ง ภายใต้โครงการ The TEACHER : Learn and Share ท่ีดำเนนิ การตอ่ เนือ่ งทกุ ปี 13. เอกสารอ้างองิ 1. ประกาศมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เรื่อง กรอบมาตรฐานสมรรถนะอาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (PSU Teaching Professional Standards Framework : PSU-TPSF) 2. สถิติผู้ผ่านการประเมินตามกรอบมาตรฐานสมรรถนะอาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (PSU-TPSF) (ลิงค์ : HTTPS://TPSF.PSU.AC.TH/ACHIEVEMENT/) 3. Flowchart การย่ืนขอประเมิน PSU-TPSF ของวทิ ยาเขตสุราษฎรธ์ านี 4. คำสง่ั แตง่ ตงั้ คณะกรรมการขับเคลือ่ นกลยทุ ธก์ ารพัฒนาอาจารย์ดา้ นวชิ าการ วิทยาเขตสุราษฎรธ์ านี 5. ภาพกจิ กรรม 14. บทสรปุ จ า ก น โ ย บ า ย ข อ ง ม ห า วิ ท ย า ล ั ย ส ง ข ล า น ค ร ิ น ท ร ์ ก ำ ห น ด ก ร อ บ ม า ต ร ฐ า นส ม ร ร ถนะ อา จ า ร ย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (PSU Teaching Professional Standards Framework : PSU-TPSF) ตั้งแต่ปี 2559 เป็นต้นมา วิทยาเขตสุราษฎร์ธานีได้กำหนดแนวทางการดำเนินการเพื่อสนับสนุนและพัฒนาอาจารย์เข้าสู่กรอบสมรรถนะ อาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยจัดทำขั้นตอนการดำเนินงาน (Flow Chart) และแผนการดำเนินงานเพื่อพัฒนา 39
เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ อาจารย์เข้าสู่กรอบสมรรถนะอาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (PSU-TPSF) ที่ชัดเจนตั้งแต่ปีแรกที่มหาวิทยาลัยประกาศใช้ นโยบาย มีกระบวนการวเิ คราะห์และออกแบบโครงการพัฒนาอาจารย์ โดยใช้กระบวนการกลุ่ม (Focus Group) และกำหนด แผนการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสรมิ ความรู้ให้อาจารย์ ภายใต้โครงการ The TEACHER : Learn and Share อย่างต่อเนื่องทุกปี การศึกษา มีกระบวนการสรา้ งอาจารย์พ่ีเลี้ยง (Mentor) ภายใต้โครงการ Training for the trainer เพื่อติดตามและกระตุ้นให้ อาจารย์จัดทำผลงานเพื่อขอรับการประเมินได้ในระดับที่สูงขึ้น จากกระบวนการดังกล่าว ทำให้วิทยาเขตสุราษฎร์ธานีมี อาจารย์ผู้ผ่านการประเมิน PSU-TPSF ใน ปีการศึกษา 2560 ร้อยละ 35.97 ปีการศึกษา 2561 ร้อยละ 36.69 ปีการศึกษา 2562 ร้อยละ 38.12 ปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 45.32 และปัจจุบันวิทยาเขตสุราษฎร์ธานีมีอาจารย์ผู้ผ่านการประเมิน PSU-TPSF เป็นจำนวนสูงสุด เม่ือเปรยี บเทียบกนั ทัง้ 5 วทิ ยาเขต คดิ เปน็ ร้อยละ 48.92 40
เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ เอกสารอา้ งองิ 1. ประกาศมหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ เรอื่ ง กรอบมาตรฐานสมรรถนะอาจารย์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ (PSU Teaching Professional Standards Framework : PSU-TPSF) 2. สถิติผู้ผ่านการประเมินตามกรอบมาตรฐานสมรรถนะอาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (PSU-TPSF) (ลงิ ค์ : HTTPS://TPSF.PSU.AC.TH/ACHIEVEMENT/) 3. Flowchart การยนื่ ขอประเมนิ PSU-TPSF ของวทิ ยาเขตสรุ าษฎรธ์ านี 4. คำส่งั แต่งตง้ั คณะกรรมการขับเคล่อื นกลยุทธก์ ารพัฒนาอาจารยด์ ้านวิชาการ 41
เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ 5. ภาพกิจกรรม 42
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
Pages: