Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ

มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ

Published by Yutt 1049, 2022-05-17 01:44:24

Description: มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ

Search

Read the Text Version

มาตรฐานสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั แห่งชาติ National Standard for Early Childhood Care, Development and Education Thailand คณะรฐั มนตรีมีมตเิ หน็ ชอบ วนั ที่ ๒ มกราคม ๒๕๖๒ คณะกรรมการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั แหง่ ชาติ (ก.พ.ป.) เอกสารประกอบการประชมุ ช้ีแจงแนวทางการดาเนินงานตามมาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัยแห่งชาติ วนั พฤหัสบดที ่ี ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๕.๐๐ น. ณ ห้องกรงุ เทพ บอลลร์ มู ชั้น ๒ โรงแรมรอยัล ซติ ้ี กรุงเทพฯ

สารบญั มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั แห่งชาติ ๑ - ความสาคญั ของเดก็ ปฐมวยั ๑ - อุดมการณแ์ ละหลกั การในการจดั การศึกษาเด็กปฐมวยั ของชาติ ๑ - เหตผุ ลท่ีตอ้ งมีมาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัยแหง่ ชาติ ๒ - วตั ถุประสงค์ ๓ - กล่มุ เปา้ หมาย ๓ - สาระของมาตรฐานสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั แห่งชาติ ๕ ภาคผนวก ๑ คูม่ อื มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ ๑๑ - มาตรฐานด้านที่ ๑ การบรหิ ารจัดการสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั ๑๖ - มาตรฐานดา้ นที่ ๒ ครู/ผู้ดแู ลเดก็ และให้การดูแล จัดประสบการณก์ ารเรียนรแู้ ละการเล่น เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย ๘๑ - มาตรฐานดา้ นท่ี ๓ คณุ ภาพของเด็กปฐมวัย ๑๕๑ ภาคผนวก ๒ แบบบนั ทึกการประเมนิ มาตรฐานสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยแหง่ ชาติ ๒๒๓ ภาคผนวก ๓ คาสั่งคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการท่เี ก่ียวข้อง ๒๓๔ เอกสารอ้างอิง ๒๔๘ คณะผู้จัดทา ๒๕๐

มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั แห่งชาติ ความสาคญั ของเดก็ ปฐมวัย ปฐมวัยเป็นวัยเร่ิมต้นของชีวิตและพัฒนาการในทุกด้าน เป็นช่วงวัยที่พัฒนาการทางด้านต่างๆ เป็นไป อย่างรวดเร็วที่สุดและเป็นฐานรากท่ีสาคัญสาหรับพัฒนาการในช่วงวัยต่อๆ ไป เด็กในวัยน้ีจึงเป็นทรัพยากร บุคคลที่มีความสาคัญอย่างยิ่งของประเทศ เด็กปฐมวัยท่ีได้รับการดูแลอย่างเหมาะสมตามช่วงวัย จะสามารถเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดีมีคุณภาพและจะเป็นกาลังสาคัญของประเทศชาติต่อไปในอนาคต ดังคากล่าว ของ ศ.ดร.เจมส์ เจ เอคแมน นักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบล ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ ท่ีว่า “การลงทุนพัฒนาเด็กปฐมวัย เปน็ การลงทนุ ท่คี ้มุ ค่าใหผ้ ลตอบแทนแกส่ งั คมที่ดีทีส่ ดุ ในระยะยาว” ดงั นั้น การพัฒนาเด็กปฐมวยั จึงเป็นรากฐานท่ีมีผลต่อคุณภาพและประสิทธิภาพของคนตลอดชีวิตและ เป็นการลงทุนที่คุ้มค่าที่สุด กล่าวคือเด็ก เยาวชนและผู้ใหญ่ท่ีมีสุขภาพดีมีความสามารถเรียนรู้ ทางานได้เก่ง และเป็นพลเมืองดีท่ีจะนาสู่ความสาเร็จในสังคมท่ีท้าทายในศตวรรษท่ี ๒๑ ต้องได้รับโอกาสการพัฒนาอย่าง รอบด้านในช่วงปฐมวัย แต่คุณภาพของเด็กปฐมวัยยังเป็นจุดอ่อนที่เข้าขั้นวิกฤตของประเทศไทย ที่จาเป็นต้องแก้ไขอย่างเร่งด่วน รัฐ และทุกภาคส่วน พ่อแม่ผู้ปกครอง ครอบครัว ชุมชน สังคม บุคลากร ทางการแพทย์และสาธารณสุข คร/ู ผู้ดูแลเดก็ โรงเรียน องค์กรท้องถิน่ ทุกระดับ บุคลากรพัฒนาสังคมท้งั ภาครัฐ เอกชน ภาคศาสนาและภาคธุรกิจ จึงต้องมีความรู้ความเข้าใจในความสาคัญของช่วงปฐมวัย ตระหนักในพันธ กิจและลงมอื ชว่ ยกนั ทาใหเ้ ด็กปฐมวยั มโี อกาสพฒั นาอย่างเต็มศักยภาพในภาวะแวดล้อมที่ปลอดภัย “เด็กปฐมวัย” ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้ให้ความหมายของเด็กปฐมวัยว่า หมายถึง เด็กซึ่งมีอายุยังไม่ครบหกปีบริบูรณ์ และให้หมายความรวมถึง รา่ ง โโปปรรดดออยย่า่าคคัดดั ลลออกกหหรรือือเเผผยยแแพพรร่ ่ ทารกในครรภ์มารดาดว้ ย อดุ มการณ์และหลักการในการจัดการศึกษาเด็กปฐมวัยของชาติ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ได้ให้ความสาคัญกับการพัฒนาเด็กปฐมวัย ไวห้ ลายมาตรา คอื มาตรา ๕๔ วรรคสอง กาหนดว่า “...รัฐต้องดาเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนา ก่อนเข้ารับการศึกษา เพื่อพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย โดยส่งเสริม ให้องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ และภาคเอกชนเขา้ มสี ่วนรว่ มในการดาเนินการด้วย” มาตรา ๒๕๘ ให้ดาเนินการปฏิรูปประเทศให้เกิดผล จ. ด้านการศึกษา (๑) ให้สามารถเร่ิม ดาเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษา ตามมาตรา ๕๔ วรรคสอง เพ่ือให้เด็กเล็ก ไดร้ บั การพัฒนารา่ งกาย จติ ใจ วนิ ยั อารมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญาให้สมกบั วยั โดยไม่เกบ็ คา่ ใชจ้ ่าย พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติมฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๔๕) และ ฉบับท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๕๓) มาตรา ๑๘ (๑) กาหนดให้การจดั การศึกษาปฐมวัยจัดในสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั ได้แก่ ศูนย์เด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์ของสถาบันศาสนา ศูนย์บริการช่วยเหลือระยะ แรกเร่มิ ของเด็กพิการและเด็กซงึ่ มีความตอ้ งการพิเศษหรอื สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยทเี่ รียกชื่ออย่างอ่ืน และมาตรา ๑๓ (๑) ให้บิดา มารดา หรือผู้ปกครอง มีสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์ในการสนับสนุนจากรัฐ ให้มีความรู้ ความสามารถในการอบรมเลย้ี งดู และการใหก้ ารศึกษาแก่บุตรหรือบุคคลซงึ่ อยูใ่ นความดแู ล |๑|

แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙ ในยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและ การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ เป้าหมายข้อ ๓.๓ สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/ กระบวนการเรยี นรู้ตามหลกั สตู รอย่างมีคุณภาพและมาตรฐาน มตี ัวชวี้ ัดที่สาคญั เช่น ศูนยเ์ ดก็ เลก็ / สถานศกึ ษา ระดับก่อนประถมศึกษาท่ีจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้คณุ ภาพและมาตรฐานเพ่ิมขึ้น สถานศึกษา/สถานพัฒนาเด็ก ปฐมวัยจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับหลักสูตรปฐมวัย และสมรรถนะของเด็กที่เช่ือมโยงกับมาตรฐานคุณภาพเด็ก ปฐมวัยของอาเซียนเพิ่มข้ึน สถานศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานท่ีจัดการศึกษาตามหลักสูตรท่ีมุ่งพัฒนา ผู้เรยี นให้มีคุณลกั ษณะและทกั ษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี ๒๑ เพ่มิ ข้นึ โดยแนวทางการพัฒนาส่งเสริมให้เด็กเล็ก (๐ - ๒ ปี) ได้รับการดูแลและพัฒนาที่สมวัยรอบด้านอย่างมี คุณภาพและต่อเน่ือง มีการปรับระบบการบริหารจัดการการดูแลและพัฒนาเด็กเล็ก (๐ - ๒ ปี) และการศึกษา ปฐมวัย (๓ - ๕ ปี) ให้มีคุณภาพและมาตรฐาน รวมท้ังพัฒนาหลักสูตรและคู่มือการเตรียมความพร้อมพ่อแม่ และการเล้ียงดูและพฒั นาเด็กเล็กให้มีพัฒนาการตามวัย และพัฒนาหลักสูตรการศึกษาระดบั ปฐมวัย สมรรถนะ เด็กปฐมวัยท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานอาเซียนและระดับสากล เพื่อการพัฒนาคุณภาพและพัฒนาการรอบด้าน สมวัยของเดก็ ปฐมวัย (ร่าง) แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๔ ได้กาหนดนโยบาย ดา้ นเดก็ ปฐมวัย ไวด้ งั น้ี ๑. เด็กปฐมวัยทุกคนต้องได้รับการพัฒนาอย่างรอบด้าน อย่างมีคุณภาพ ตามศักยภาพ ตามวัยและ ต่อเน่อื ง ๒. การพัฒนาเด็กตามข้อ ๑ ต้องจัดให้เป็นระบบและมีความสัมพันธ์ระหว่างกัน โดยบูรณาการ ชัดเจนระหว่างหน่วยงานราชการ และที่ไม่ใช่ราชการ ระหว่างวิชาชีพท่ีสัมพันธ์กับการพัฒนาเด็กปฐมวัย และ ระหวา่ งระดบั ต่างๆ ของการบรหิ ารราชการแผน่ เดินจากระดบั ชาติ ส่วนกลาง สว่ นภมู ิภาค และส่วนทอ้ งถิ่นร่างโโปปรรดดออยย่าา่คคดััดลลออกกหหรรอือืเเผผยยแแพพรร่่ ๓. รัฐและทุกภาคส่วนต้องร่วมกันระดมทรัพยากรให้เพียงพอแก่การพัฒนาเด็กปฐมวัยตามนโยบาย ขอ้ ๑ นอกจากน้ี ได้ให้ความสาคัญกับการพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัย โดยกาหนดไว้ในยุทธศาสตร์ท่ี ๓ การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการให้บริการที่พัฒนาเด็กปฐมวัย เป้าประสงค์ที่ ๑ สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ทุกแห่งได้รับการพัฒนาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ และเป้าประสงค์ท่ี ๒ คุณภาพของระบบบริการและระบบการพัฒนาเดก็ ปฐมวัยได้รบั การปรับปรุงให้เป็นไปตามมาตรฐานสถานพัฒนา เดก็ ปฐมวยั แหง่ ชาติ เหตผุ ลทีต่ อ้ งมมี าตรฐานสถานพฒั นาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ ในปัจจุบันประเทศไทยมีเด็กปฐมวัยต้ังแต่แรกเกิดถึงอายุ ๖ ปี ท่ีมีพัฒนาการไม่สมวัยเป็นจานวนมาก นับเป็นวิกฤตร้ายแรงต่อการพัฒนาคุณภาพทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญที่สุดในการสร้างประเทศให้ เจริญรุ่งเรือง ม่ันคง ม่ังคั่ง และย่ังยืน ในสภาพสงั คมท่ีบิดามารดาและผู้ปกครองส่วนใหญ่มีความจาเป็น ตอ้ งพา เด็กปฐมวัยไปรับบริการการดูแลและพัฒนาในรูปแบบต่างๆ ที่มีคุณภาพแตกต่างเหล่ือมล้ากันมาก ระหว่าง กลุ่มมีโอกาสกับกลุ่มด้อยโอกาส ระหว่างการจัดการศึกษาเร่งเรียนจนเครียด กับแบบละเลยขาดความเอาใจใส่ ดังนั้นการพัฒนาคุณภาพของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยให้เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็ก จึงเป็นความจาเป็น เร่งดว่ นทง้ั จากมุมมองของการพัฒนาคณุ ภาพมนษุ ย์และการปฏริ ปู การศกึ ษา |๒|

ท่ีผ่านมาประเทศไทยมีหน่วยงานภาครัฐหลายแห่ง องค์กรท้องถิ่น เอกชนจัดบริการดูแล พัฒนา และ จดั การศกึ ษาเด็กปฐมวัยหลากหลายรูปแบบ โดยแต่ละหน่วยงานมีมาตรฐานและเกณฑ์การประเมินแตกตา่ งกัน ตามภารกิจของหน่วยงาน แม้จะมีการจัดทามาตรฐานศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๔ ในทางปฏิบัติมี มาตรฐานหลากหลายจากหน่วยงานต่างๆ ทเี่ น้นการประเมินตามภารกิจของหนว่ ยงาน และข้อจากัดของการใช้ มาตรฐานเดิม ที่ครอบคลุมเฉพาะเด็กอายุ ๒-๕ ปี เท่านั้น ไม่ครอบคลุมเด็กปฐมวัยต้ังแต่แรกเกิด ถึงก่อนเข้าประถมศึกษา สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยส่วนใหญ่ยังต้องใช้หลายมาตรฐานทาให้ผู้ปฏิบัติสับสนและ ตอ้ งทางานซา้ ซ้อน และยงั ไม่ได้นาผลการประเมินไปพัฒนาเทา่ ที่ควร ความก้าวหน้าในการพัฒนาเด็กปฐมวัยของภาคส่วนต่างๆ ได้มีหน่วยงานร่วมกันดาเนินงาน อย่างหลากหลาย เช่น การเพ่ิมโอกาสให้ครู ผู้ดูแลเด็กได้รับการศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาปฐมวัย การมี โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เน่ืองใน โอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ครอบคลุมทั่วประเทศ การมีมาตรฐานความปลอดภัย การบูรณาการงาน ภายในกระทรวง และการบูรณาการงานของ ๔ กระทรวงหลัก ตลอดจนรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ให้ความสาคัญ กับการพัฒนาและให้การศึกษาที่เหมาะสมแก่เด็กปฐมวัย ดังน้ัน จึงจาเป็นต้องมีการจัดทามาตรฐานกลาง ที่ทกุ ภาคส่วนจะใช้รว่ มกันได้ คณะกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ (ก.พ.ป.) จึงเห็นชอบให้คณะอนกุ รรมการพัฒนาคุณภาพเด็ก ปฐมวัย จัดทามาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติข้ึนเป็นมาตรฐานกลางให้ทุกหน่วยงาน ใช้รว่ มกันในการประเมิน เพ่ือพัฒนาคณุ ภาพการบริการดูแลพัฒนา และจัดการศึกษาสาหรบั เด็กต้ังแต่แรกเกิด ถึงก่อนเข้าประถมศึกษา เป็นการปรับกระบวนทัศน์ ให้ใช้เด็กเป็นท่ีตั้งของการกาหนดมาตรฐาน คานึงถึงการ ตอบสนองต่อสิทธิพ้ืนฐานที่เด็กทุกคนพึงได้รับ ซึ่งถือเป็นการวางรากฐานการพัฒนามนุษย์แทนการใช้บริบท หรือหน่วยงานต้นสังกัดเป็นท่ีต้ัง การมีมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติฉบับเดียวเป็นมาตรฐานกลางร่างโโปปรรดดออยยา่า่คคดััดลลออกกหหรรอืือเเผผยยแแพพรร่่ ให้ทกุ หนว่ ยงานร่วมจัดทา รว่ มใช้เปน็ หลกั ประเมินการดาเนนิ งานให้เปน็ แนวทางเดยี วกนั และประสานงาน เพื่อ มุ่งเป้าหมายเดียวกันคือ การพัฒนาคุณภาพ ซ่ึงสอดคล้องและตอบสนองต่อการบูรณาการงานพัฒนา เด็กปฐมวัยของ ๔ กระทรวงหลักและอีกหลายหน่วยงาน ตามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือการบูรณาการความ ร่วมมือการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต (กลุ่มเด็กปฐมวยั และผู้สูงอายุ) เม่ือวันที่ ๓๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ นาไปสู่ การพฒั นาคณุ ภาพของเดก็ ปฐมวัย สรา้ งรากฐานท่แี ขง็ แรงของพลเมืองคณุ ภาพต่อไป วัตถปุ ระสงค์ เพ่ือพัฒนาคุณภาพการบริการดูแลพัฒนา และจัดการศึกษาและการดาเนินงานสถานพัฒนาเด็ก ปฐมวยั ทุกสังกัด ที่ดูแลเดก็ ในเวลากลางวัน ช่วงอายุต้ังแต่แรกเกิด ถึง อายุ ๖ ปีบรบิ ูรณ์ หรือ กอ่ นเข้าเรยี นชั้น ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ที่สามารถนาไปใช้ประเมินการดาเนินงานของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยในทุกสังกัด เพ่ือพัฒนาคุณภาพการจดั บริการและความตอ่ เน่ืองของการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั กลุ่มเปา้ หมาย สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย หมายถึง สถานที่รับดูแล พัฒนา จัดประสบการณ์เรียนรู้ และการศึกษา สาหรับเด็กปฐมวัยครอบคลุมต้ังแต่ทารกแรกเกิดถึง ๖ ปี หรือก่อนเข้าเรียนประถมศึกษาปีท่ี ๑ ที่ใช้ช่ือ หลากหลายรวมทุกสังกัดในประเทศไทย ได้แก่ ๑. กระทรวงมหาดไทย : ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็กองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ และโรงเรยี นอนุบาล ๒. กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์ : สถานรบั เลีย้ งเด็กเอกชน |๓|

๓. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน (สานักพัฒนาสังคม) สถานรับเลี้ยงเด็กกลางวัน (สานกั อนามัย) และโรงเรยี นอนบุ าล (สานกั การศกึ ษา) ๔. กระทรวงสาธารณสขุ : ศูนยเ์ ดก็ เล็กในโรงพยาบาล ๕. กระทรวงศึกษาธิการ : โรงเรียนอนุบาล (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน) และ โรงเรียนอนุบาลเอกชน (สานักงานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน) ๖. หน่วยงานอื่นๆ เช่น โรงเรียนอนุบาลสาธิตในมหาวิทยาลัย กระทรวงกลาโหม สานักงานตารวจ แหง่ ชาติ มลู นธิ ิ และองค์กรเอกชน มาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั แห่งชาติ มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ เป็นมาตรฐานกลางของประเทศใช้แทนมาตรฐานศูนย์เด็กเล็ก แห่งชาติ (ซึ่งเป็นมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวนั ท่ี ๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔) เพ่ือให้ทุกหน่วยงานและสถานพัฒนา เด็กปฐมวัย ทั้งภาครัฐและเอกชนทั่วประเทศ ใช้เป็นแนวทางในการประเมินผลการดาเนินงานและยกระดับ คุณภาพ รวมถึงใช้เป็นเคร่ืองมือประกันคุณภาพภายใน เพื่อรองรับการตรวจประเมินจากต้นสังกัด และ ภายนอกจากสานกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศกึ ษา (องค์การมหาชน) โดยในการจัดทามาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาร่วมดาเนินการ ได้แก่ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์ กรุงเทพมหานคร สานักงานรบั รองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) นอกจากน้ีผลการวิจัยของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของ มนุษย์ และมาตรฐานต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง เช่น มาตรฐานคุณภาพของอาเซียน มาตรฐานความปลอดภัย คู่มือเฝ้า ระวัง คัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการ DSPM เป็นต้น นามาใช้ประกอบในการจัดทามาตรฐานสถานพัฒนาเด็กรา่งโโปปรรดดออยย่า่าคคดััดลลออกกหหรรอือืเเผผยยแแพพรร่่ ปฐมวยั แห่งชาติ ดว้ ย มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ ถือเป็นมาตรฐานข้ันต้นท่ีจาเป็นสาหรับการพัฒนาเด็กของ ประเทศ และเป็นมาตรฐานเชิงคุณภาพเพ่ือใช้ประโยชน์ในการดาเนินงานและจัดบริการให้เด็กปฐมวัยได้มี โอกาสเริม่ ต้นชีวิตอย่างมีคุณภาพและเท่าเทียมกัน เพื่อลดความเหลื่อมล้า เป็นการเพิ่มคุณภาพทรัพยากรมนุษย์ ท่ีสาคัญท่ีสุดในการนาประเทศไทยสู่ความเจริญก้าวหน้า ม่ันคง ยั่งยืน ท่ามกลางความท้าทายของโลกใน ศตวรรษที่ ๒๑ นอกจากนี้ มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ เป็นเคร่ืองมือในการประเมินคุณภาพ ของการดาเนินงานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยทุกสังกัด ท่ีดูแลเด็กในเวลากลางวัน ช่วงอายุตั้งแต่แรกเกิดถึงอายุ ๖ ปีบริบูรณ์ หรือ ก่อนเข้าเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ซึ่งใช้ได้กับทุกบริบท โดยได้มีการเทียบเคียงกับ มาตรฐานของทุกหน่วยงานท่ีมีอยู่แล้วร่วมกับมาตรฐานคุณภาพของภูมิภาคอาเซียนฯ ท้ังน้ี หากสถานพัฒนา เด็กปฐมวัยท่ีมีศักยภาพการให้บริการพัฒนาเด็กอย่างมีคุณภาพสูงกว่ามาตรฐานน้ี สามารถพิจารณาเพ่ิมเติม เกณฑ์ดังกล่าวได้ตามบริบท เช่น สถานรับเลี้ยงและพัฒนาเด็กเอกชน สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการ พเิ ศษ โรงเรียนอนุบาลทงั้ รฐั และเอกชน โรงเรียนอนบุ าลนานาชาติ ฯลฯ |๔|

สาระของมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแหง่ ชาติ มาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั แหง่ ชาติ ประกอบด้วยมาตรฐาน ๓ ดา้ น ไดแ้ ก่ • มาตรฐานดา้ นท่ี ๑ การบริหารจดั การ จานวน ๕ ตัวบง่ ชี้/ ๒๖ ข้อ • มาตรฐานดา้ นท่ี ๒ กระบวนการดูแลจัดประสบการณ์ เรียนรู้ และเลน่ จานวน ๕ ตวั บง่ ชี้/ ๒๐ ข้อ • มาตรฐานดา้ นท่ี ๓ คณุ ภาพเดก็ ปฐมวยั - ๓ ก แรกเกิด ถงึ ๒ ปี (๒ ปี ๑๑ เดือน ๒๙ วัน) จานวน ๒ ตวั บ่งชี้/ ๗ ข้อ - ๓ ข ๓ ปี ถงึ ๖ ปี (กอ่ นเข้าเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑) จานวน ๗ ตวั บง่ ช้ี/ ๒๒ ข้อ สาระของมาตรฐานแต่ละดา้ น มดี ังนี้ มาตรฐานดา้ นท่ี ๑ การบริหารจัดการสถานพฒั นาเด็กปฐมวัย ตัวบง่ ชี้ที่ ๑.๑ การบริหารจัดการอย่างเปน็ ระบบ ตวั บง่ ชยี้ ่อย ๑.๑.๑ บรหิ ารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั อยา่ งเป็นระบบ ๑.๑.๒ บริหารหลกั สตู รสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ๑.๑.๓ บริหารจดั การขอ้ มูลอย่างเปน็ ระบบ ตัวบง่ ชีท้ ี่ ๑.๒ การบรหิ ารจัดการบคุ ลากรทกุ ประเภทตามหน่วยงานท่ีสงั กัด ตัวบ่งชย้ี อ่ ย ร่าง โโปปรรดดออยยา่ า่ คคัดัดลลออกกหหรรืออื เเผผยยแแพพรร่ ่ ๑.๒.๑ บรหิ ารจดั การบคุ ลากรอย่างเปน็ ระบบ ๑.๒.๒ ผู้บริหารสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย/หัวหน้าระดับปฐมวัย/ผู้ดาเนินกิจการ มีคุณวุฒิ/ คุณสมบัตเิ หมาะสม และบรหิ ารงานอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ๑.๒.๓ ครู/ผู้ดูแลเด็กท่ีทาหน้าท่ีหลักในการดูแลและพัฒนาเด็กปฐมวัย มีวุฒิการศึกษา/ คณุ สมบัติเหมาะสม ๑.๒.๔ บรหิ ารบคุ ลากรจัดอัตราส่วนของครู/ผู้ดูแลเด็กอยา่ งเหมาะสมพอเพียงต่อจานวนเด็ก ในแตล่ ะกล่มุ อายุ เดก็ (อายุ) อตั ราสว่ นครู/ผู้ดูแล : เดก็ (คน) จานวนเด็กในกลมุ่ กจิ กรรม ตา่ กวา่ ๑ ปี ๑:๓ กล่มุ ละไม่เกิน ๖ คน ต่ากวา่ ๒ ปี ๑:๕ กลุ่มละไม่เกิน ๑๐ คน ต่ากว่า ๓ ปี ๑ : ๑๐ กลุ่มละไมเ่ กิน ๒๐ คน ๓ ปี - ก่อนเข้า ป.๑ ๑ : ๑๕ กลมุ่ ละไมเ่ กนิ ๓๐ คน ตวั บ่งชที้ ี่ ๑.๓ การบริหารจัดการสภาพแวดลอ้ มเพือ่ ความปลอดภยั ตวั บง่ ชย้ี อ่ ย ๑.๓.๑ บริหารจัดการด้านสภาพแวดลอ้ มเพื่อความปลอดภยั อยา่ งเปน็ ระบบ ๑.๓.๒ โครงสร้างและตัวอาคารมนั่ คง ตง้ั อย่ใู นบริเวณและสภาพแวดลอ้ มท่ปี ลอดภยั ๑.๓.๓ จัดการความปลอดภัยของพืน้ ทเี่ ล่น/สนามเด็กเล่น และสภาพแวดล้อมภายนอกอาคาร |๕|

๑.๓.๔ จัดการสภาพแวดล้อมภายในอาคาร ครภุ ัณฑ์ อุปกรณ์ เคร่ืองใช้ให้ปลอดภัยเหมาะสม กับการใช้งานและเพียงพอ ๑.๓.๕ จัดให้มีของเล่นท่ีปลอดภัยได้มาตรฐาน มีจานวนเพียงพอ สะอาด เหมาะสมกับระดับ พฒั นาการของเด็ก ๑.๓.๖ สง่ เสริมใหเ้ ดก็ ปฐมวัยเดนิ ทางอย่างปลอดภัย ๑.๓.๗ จดั ใหม้ รี ะบบปอ้ งกันภัยจากบคุ คลทั้งภายในและภายนอกสถานพฒั นาเด็กปฐมวัย ๑.๓.๘ จัดใหม้ รี ะบบรับเหตุฉุกเฉนิ ป้องกนั อัคคภี ยั /ภยั พิบตั ิตามความเสีย่ งของพืน้ ท่ี ตวั บ่งช้ีท่ี ๑.๔ การจัดการเพือ่ ส่งเสริมสุขภาพและการเรียนรู้ ตวั บ่งชยี้ อ่ ย ๑.๔.๑ มีการจัดการเพ่ือส่งเสริมสุขภาพ เฝ้าระวังการเจริญเติบโตของเด็ก และดูแล การเจบ็ ป่วยเบอ้ื งตน้ ๑.๔.๒ มีแผนและดาเนินการตรวจสุขอนามัยประจาวัน ตรวจสุขภาพประจาปี และป้องกัน ควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ๑.๔.๓ อาคารต้องมีพื้นท่ีใช้สอยเป็นสัดส่วนตามกิจวัตรประจาวันของเด็กที่เหมาะสม ตามช่วงวัย และการใช้ประโยชน์ ๑.๔.๔ จดั ใหม้ ีพื้นท/่ี มุมประสบการณ์ และแหล่งเรยี นรูใ้ นห้องเรียนและนอกห้องเรยี น ๑.๔.๕ จัดบริเวณห้องน้า ห้องส้วม ที่แปรงฟัน/ล้างมือให้เพียงพอ สะอาด ปลอดภัย และเหมาะสมกับการใชง้ านของเด็ก ๑.๔.๖ จัดการระบบสุขาภิบาลที่มีประสิทธิภาพ ครอบคลุมสถานที่ปรุง ประกอบอาหาร ร่าง โโปปรรดดออยยา่ า่ คคัดดั ลลออกกหหรรือือเเผผยยแแพพรร่ ่ น้าด่มื น้าใช้ กาจดั ขยะ ส่ิงปฏิกลู และพาหะนาโรค ๑.๔.๗ จัดอุปกรณ์ภาชนะและเครื่องใช้ส่วนตัวให้เพียงพอกับการใช้งานของเด็กทุกคน และดูแลความสะอาดและปลอดภัยอย่างสมา่ เสมอ ตัวบ่งช้ีท่ี ๑.๕ การส่งเสรมิ การมีสว่ นร่วมของครอบครวั และชมุ ชน ตัวบง่ ชีย้ อ่ ย ๑.๕.๑ มีการส่ือสารเพื่อสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีระหว่างพ่อแม่/ผู้ปกครอง กับสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยเก่ียวกับตัวเด็กและการดาเนินงานของสถานพัฒนาเด็ก ปฐมวยั ๑.๕.๒ การจัดกิจกรรมที่พ่อแม่/ผ้ปู กครอง/ครอบครัว และชมุ ชน มสี ่วนร่วม ๑.๕.๓ ดาเนนิ งานใหส้ ถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยเปน็ แหล่งเรียนรู้แก่ชมุ ชนในเรือ่ งการพัฒนาเด็ก ปฐมวยั ๑.๕.๔ มีคณะกรรมการสถานพฒั นาเด็กปฐมวัย |๖|

มาตรฐานด้านที่ ๒ ครู/ผู้ดูแลเด็กให้การดูแล และจัดประสบการณ์การเรียนรู้และการเล่นเพื่อพัฒนาเด็ก ปฐมวยั ตัวบง่ ชท้ี ี่ ๒.๑ การดแู ลและพฒั นาเดก็ อยา่ งรอบดา้ น ตัวบ่งช้ยี อ่ ย ๒.๑.๑ มีแผนการจัดประสบก ารณ์การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มกี ารดาเนินงานและประเมินผล ๒.๑.๒ จดั พ้ืนท/ี่ มุมประสบการณ์การเรยี นรแู้ ละการเล่นท่เี หมาะสมอยา่ งหลากหลาย ๒.๑.๓ จัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการทุกด้านอย่างบูรณาการตามธรรมชาติของเด็กที่เรียนรู้ ด้วยประสาทสมั ผัส ลงมอื ทา ปฏสิ มั พันธ์ และการเลน่ ๒.๑.๔ เลือกใช้สื่อ/อุปกรณ์ เทคโนโลยี เครื่องเล่นและจัดสภาพแวดล้อมภายใน-ภายนอก แหลง่ เรียนรู้ ท่ีเพยี งพอ เหมาะสม ปลอดภัย ๒.๑.๕ เฝ้าระวังติดตามพัฒนาการเด็กรายบุคคลเป็นระยะ เพื่อใช้ผลในการจัดกิจกรรม พัฒนาเดก็ ทกุ คนให้เตม็ ตามศักยภาพ ตวั บ่งชที้ ่ี ๒.๒ การส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายและดูแลสุขภาพ ตัวบง่ ชี้ย่อย ๒.๒.๑ ให้เด็กอายุ ๖ เดือนข้ึนไป รับประทานอาหารที่ครบถ้วนในปริมาณที่เพียงพอ และ สง่ เสรมิ พฤติกรรมการกนิ ท่ีเหมาะสม ๒.๒.๒ จัดกิจกรรมให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติอย่างถูกต้องเหมาะสมในการดูแล สุขภาพ ความปลอดภัยในชวี ิตประจาวนัรา่งโโปปรรดดออยยา่่าคคัดดัลลออกกหหรรืออืเเผผยยแแพพรร่่ ๒.๒.๓ ตรวจสุขภาพอนามัยของเด็กประจาวัน ความสะอาดของร่างกาย ฟันและช่องปาก เพื่อคดั กรองโรคและการบาดเจบ็ ๒.๒.๔ เฝ้าระวังติดตามการเจริญเติบโตของเด็กเป็นรายบุคคล บันทึกผลภาวะโภชนาการ อยา่ งต่อเนอ่ื ง ๒.๒.๕ จดั ใหม้ กี ารตรวจสุขภาพร่างกาย ฟนั และชอ่ งปาก สายตา หู ตามกาหนด ตัวบ่งชท้ี ี่ ๒.๓ การส่งเสริมพฒั นาการด้านสตปิ ัญญา ภาษาและการสอ่ื สาร ตวั บง่ ชี้ยอ่ ย ๒.๓.๑ จัดกิจกรรมส่งเสริมให้เด็กได้สังเกต สัมผัส ลองทา คิดตั้งคาถาม สืบเสาะหาความรู้ แก้ปัญหา จินตนาการ คิดสร้างสรรค์ โดยยอมรับความคิดและผลงานที่แตกต่างของ เด็ก ๒.๓.๒ จัดกิจกรรมและประสบการณ์ทางภาษาท่ีมีความหมายต่อเด็ก เพื่อการส่ือสาร อย่างหลากหลาย ฝึกฟัง พดู ถาม ตอบ เลา่ และสนทนาตามลาดับขน้ั ตอนพัฒนาการ ๒.๓.๓ จดั กิจกรรมปลูกฝังให้เด็กมีนิสัยรักการอ่านให้เด็กมีทักษะการดูภาพ ฟังเรือ่ งราว พูด เล่า อ่าน วาด/เขียน เบ้ืองต้น ตามลาดับพัฒนาการ โดยครู/ ผู้ดูแลเด็ก เป็นตัวอย่างของ การพูด และการอ่านท่ถี ูกต้อง ๒.๓.๔ จัดให้เด็กมีประสบการณ์เรียนรู้เก่ียวกับตัวเด็ก บุคคล ส่ิงต่างๆ สถานที่ และ ธรรมชาตริ อบตวั ดว้ ยวิธีการท่เี หมาะสมกบั วัยและพฒั นาการ |๗|

๒.๓.๕ จัดกิจกรรมและประสบการณ์ด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์เบ้ืองต้นตามวัย โดยเด็กเรยี นร้ผู า่ นประสาทสมั ผัส และลงมือปฏบิ ัตดิ ้วยตนเอง ตัวบ่งชที้ ่ี ๒.๔ การส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ-สงั คม ปลกู ฝังคุณธรรมและความเป็นพลเมอื งดี ตัวบ่งช้ยี อ่ ย ๒.๔.๑ สร้างความสัมพันธ์ท่ีดีและม่ันคง ระหว่างผู้ใหญ่กับเด็ก จัดกิจกรรมสร้างเสริม ความสมั พนั ธท์ ดี่ รี ะหว่างเดก็ กบั เด็ก และการแก้ไขขอ้ ขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์ ๒.๔.๒ จัดกิจกรรมส่งเสริมให้เด็กมีความสุข แจ่มใส ร่าเริง ได้แสดงออกด้านอารมณ์ ความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง โดยผ่านการเคลื่อนไหวร่างกาย ศิลปะ ดนตรี ตามความสนใจ และถนดั ๒.๔.๓ จัดกิจกรรมและประสบการณ์ ปลูกฝังคุณธรรมให้เด็กใฝ่ดี มีวินัย ซื่อสัตย์ รู้จักสิทธิ และหน้าท่ีรับผิดชอบของพลเมืองดี รักครอบครัว โรงเรียน ชุมชนและประเทศชาติ ด้วยวธิ ที ่เี หมาะสมกับวัย และพัฒนาการ ตวั บง่ ชที้ ่ี ๒.๕ การส่งเสริมเดก็ ในระยะเปล่ียนผ่านให้ปรับตัวสู่การเชือ่ มตอ่ ในขน้ั ถัดไป ตัวบง่ ชีย้ อ่ ย ๒.๕.๑ จัดกิจกรรมกับผู้ปกครองให้เตรียมเด็กก่อนจากบ้านเข้าสู่สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย/ โรงเรยี น และจดั กจิ กรรมช่วงปฐมนเิ ทศให้เด็กคอ่ ยปรบั ตัวในบรรยากาศทเ่ี ปน็ มิตร ๒.๕.๒ จัดกิจกรรมส่งเสริมการปรับตัวก่อนเข้ารับการศึกษาในระดับท่ีสูงขึ้นแต่ละขั้น จนถึง การเปน็ นักเรยี นระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ มาตรฐานด้านที่ ๓ คณุ ภาพของเด็กปฐมวยั รา่ ง โโปปรรดดออยยา่ ่าคคดั ดั ลลออกกหหรรืออื เเผผยยแแพพรร่ ่  สำหรับเด็กแรกเกดิ - อำยุ ๒ ปี (๒ ปี ๑๑ เดือน ๒๙ วนั ) ตัวบ่งชที้ ่ี ๓.๑ ก เดก็ มีการเจริญเติบโตสมวยั ตวั บ่งชี้ยอ่ ย ๓.๑.๑ ก เดก็ มีน้าหนักตวั เหมาะสมกับวยั และสูงดสี มสว่ น ซงึ่ มีบนั ทกึ เปน็ รายบคุ คล ตวั บ่งชีท้ ี่ ๓.๒ ก เดก็ มีพฒั นาการสมวยั ตวั บง่ ชย้ี ่อย ๓.๒.๑ ก เด็กมพี ัฒนาการสมวยั โดยรวม ๕ ดา้ น ๓.๒.๒ ก รายดา้ น : เดก็ มีพฒั นาการกล้ามเน้ือมัดใหญ่ (Gross Motor) ๓.๒.๓ ก รายด้าน : เด็กมีพัฒนาการด้านกล้ามเน้ือมัดเล็กและสติปัญญาสมวัย (Fine Motor Adaptive) ๓.๒.๔ ก รายด้าน : เดก็ มพี ฒั นาการด้านการรับรู้และเข้าใจภาษา (Receptive Language) ๓.๒.๕ ก รายด้าน : เด็กมพี ัฒนาการการใช้ภาษาสมวยั (Expressive Language) ๓.๒.๖ ก รายด้าน : เด็กมพี ัฒนาการการช่วยเหลือตนเองและการเขา้ สังคม (Personal Social) |๘|

 สำหรับเดก็ อำยุ ๓ ปี - อำยุ ๖ ปี (ก่อนเข้ำประถมศึกษำปที ี่ ๑) ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๓.๑ ข เดก็ มีการเจรญิ เตบิ โตสมวัยและมสี ุขนิสยั ทเ่ี หมาะสม ตวั บ่งชย้ี ่อย ๓.๑.๑ ข เด็กมนี ้าหนกั ตวั เหมาะสมกับวัยและสูงดีสมส่วน ซ่ึงมบี ันทกึ เปน็ รายบุคคล ๓.๑.๒ ข เดก็ มสี ุขนิสัยทดี่ ใี นการดูแลสขุ ภาพตนเองตามวัย ๓.๑.๓ ข เดก็ มสี ุขภาพชอ่ งปากดี ไมม่ ีฟันผุ ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๓.๒ ข เดก็ มีพัฒนาการสมวัย ตวั บง่ ชย้ี ่อย ๓.๒.๑ ข เด็กมพี ัฒนาการสมวยั โดยรวม ๕ ดา้ น ตัวบง่ ชที้ ี่ ๓.๓ ข เด็กมีพัฒนาการด้านการเคลื่อนไหว ตัวบง่ ชีย้ อ่ ย ๓.๓.๑ ข เด็กมพี ัฒนาการดา้ นการใชก้ ลา้ มเน้อื มัดใหญ่ สามารถเคลื่อนไหว และทรงตวั ไดต้ ามวยั ๓.๓.๒ ข เด็กมีพัฒนาการด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก และการประสานงานระหว่างตากับมือ ตามวยั ตัวบ่งช้ที ่ี ๓.๔ ข เดก็ มีพัฒนาการดา้ นอารมณจ์ ติ ใจ ตัวบง่ ชย้ี อ่ ย ๓.๔.๑ ข เดก็ แสดงออก ร่าเริง แจ่มใส รู้สกึ มน่ั คงปลอดภยั แสดงความรู้สกึ ท่ีดตี อ่ ตนเองและ ผอู้ ่นื ไดส้ มวยั ร่าง โโปปรรดดออยย่าา่ คคัดดั ลลออกกหหรรืออื เเผผยยแแพพรร่ ่ ๓.๔.๒ ข เด็กมีความสนใจ และร่วมกิจกรรมต่างๆ อย่างสมวัย ซึ่งรวมการเล่น การทางาน ศิลปะ ดนตรี กฬี า ๓.๔.๓ ข เด็กสามารถอดทน รอคอย ควบคุมตนเอง ยับยั้งช่ังใจ ทาตามข้อตกลง คานึงถึง ความรู้สกึ ของผอู้ ื่น มีกาลเทศะ ปรบั ตัวเขา้ กบั สถานการณ์ใหม่ได้สมวัย ตวั บง่ ช้ีที่ ๓.๕ ข เด็กมพี ฒั นาการด้านสตปิ ญั ญา เรียนรู้และสรา้ งสรรค์ ตัวบ่งช้ียอ่ ย ๓.๕.๑ ข เด็กบอกเกี่ยวกับตัวเด็ก บุคคล สถานที่แวดล้อมธรรมชาติ และส่ิงต่างๆ รอบตวั เด็ก ได้สมวยั ๓.๕.๒ ข เด็กมีพ้ืนฐานด้านคณิตศาสตร์ สามารถสังเกต จาแนก และเปรียบเทียบ จานวน มิติ สัมพนั ธ์ (พ้ืนที่/ระยะ) เวลา ได้สมวยั ๓.๕.๓ ข เด็กสามารถคิดอย่างมีเหตุผล แก้ปญั หาได้สมวยั ๓.๕.๔ ข เด็กมจี ินตนาการ และความคดิ สรา้ งสรรค์ ทแ่ี สดงออกได้สมวยั ๓.๕.๕ ข เด็กมคี วามพยายาม มุง่ มนั่ ต้ังใจ ทากจิ กรรมให้สาเร็จสมวัย ตวั บง่ ชี้ที่ ๓.๖ ข เดก็ มีพฒั นาการดา้ นภาษาและการสอ่ื สาร ตัวบ่งช้ียอ่ ย ๓.๖.๑ ข เด็กสามารถฟัง พดู จับใจความ เลา่ สนทนา และสื่อสารได้สมวยั ๓.๖.๒ ข เด็กมีทักษะในการดูรูปภาพ สัญลักษณ์ การใช้หนังสือ รู้จักตัวอักษร การคิดเขียนคา และการอ่านเบ้ืองตน้ ได้สมวัยและตามลาดับพัฒนาการ |๙|

๓.๖.๓ ข เด็กมีทักษะการวาด การขีดเขียนตามลาดับขั้นตอนพัฒนาการสมวัย นาไปสู่ การขดี เขียนคาท่ีคุ้นเคย และสนใจ ๓.๖.๔ ข เด็กมีทักษะในการสื่อสารอย่างเหมาะสมตามวัย โดยใช้ภาษาไทยเป็นหลัก และมีความคุ้นเคยกับภาษาอ่นื ด้วย ตัวบง่ ชีท้ ่ี ๓.๗ ข เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม คุณธรรม มวี นิ ยั และความเป็นพลเมอื งดี ตวั บง่ ชีย้ ่อย ๓.๗.๑ ข เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่ืนได้อย่างสมวัย และแสดงออกถึงการยอมรับความแตกต่าง ระหว่างบุคคล ๓.๗.๒ ข เด็กมีความเมตตา กรุณา มีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม และมี คา่ นยิ มทพี่ ึงประสงคส์ มวยั ๓.๗.๓ ข เด็กสามารถเล่น และทางานร่วมกับผู้อ่ืนเป็นกลุ่ม เป็นได้ทั้งผู้นาและผู้ตาม แก้ไข ข้อขัดแย้งอย่างสรา้ งสรรค์ ๓.๗.๔ ข เด็กภาคภูมิใจที่เป็นสมาชิกท่ีดีในครอบครัว ชุมชน สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย และตระหนักถึงความเป็นพลเมืองดีของประเทศไทย และภูมภิ าคอาเซยี น ------------------------------ ร่าง โโปปรรดดออยยา่ า่ คคัดดั ลลออกกหหรรอื ือเเผผยยแแพพรร่ ่ | ๑๐ |

ภาคผนวก ๑ คูม่ อื มาตรฐานสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั แหง่ ชาติ

คมู่ อื มาตรฐานสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั แห่งชาติ ความเปน็ มา คณะกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ (ก.พ.ป.) ได้เห็นชอบให้คณะอนุกรรมการพัฒนาคุณภาพ เด็กปฐมวัย จัดทามาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติขึ้นเป็นมาตรฐานกลางให้ทุกหน่วยงานใช้ร่วมกัน ในการประเมิน เพือ่ พัฒนาคณุ ภาพการบรกิ ารดูแลพฒั นา และจัดการศึกษาสาหรับเด็กตัง้ แต่แรกเกดิ ถงึ กอ่ นเข้า ประถมศึกษา โดยมีการประสานงานคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจฯ ท้ังสองคณะ (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและ อนุบาล) ร่วมกับคณะทางานปรับปรุงมาตรฐานฯ คณะอนุกรรมการประสานและสง่ เสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัย คณะกรรมการส่งเสรมิ การพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ (กดยช.) นับว่าเป็นการปรับกระบวนทัศน์ ให้ใช้เด็ก เป็นที่ต้ังของการกาหนดมาตรฐาน คานึงถึงการตอบสนองต่อสิทธิพ้ืนฐานที่เด็กทุกคนพึงได้รับ ซ่ึงถือเป็น การวางรากฐานการพัฒนามนุษย์แทนการใช้บริบทหรือหน่วยงานต้นสังกัดเป็นท่ีต้ัง การมีมาตรฐานสถานพัฒนา เด็กปฐมวัยแห่งชาติฉบับเดียวเป็นมาตรฐานกลางให้ทุกหน่วยงานร่วมจัดทา ร่วมใช้เป็นหลักประเมินการ ดาเนินงานให้เป็นแนวทางเดียวกันและประสานงาน เพอ่ื มุ่งเป้าหมายเดียวกัน คอื การพัฒนาคุณภาพ จึงจาเป็น ท่ีจะต้องจัดทาคู่มือมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ ท่ีชัดเจนสามารถนาไปใช้ประเมิน เพ่ือพัฒนาได้อย่างมีประสิทธิภาพในบริบทต่างๆ โดยผู้ใช้มีภูมิหลังและมาจากต้นสังกัดท่ีแตกต่างกัน การจัดทาคู่มืออันนาไปสู่การปฏิบัติ ดาเนินตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยท้ัง ๓ ด้าน ตามตัวบ่งช้ี และ แบบประเมินต้องสรา้ งความเข้าใจ มีข้อมูลท่ีเหมาะกับการใช้งานและแหล่งอ้างอิงเพื่อเป็นแนวทางสู่การปฏิบัติ อย่างท่วั ถึง นาไปสกู่ ารพัฒนาคุณภาพของเดก็ ปฐมวยั สรา้ งรากฐานที่แข็งแรงของพลเมืองคณุ ภาพต่อไป การขับเคลือ่ นมาตรฐานสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั แหง่ ชาติไปสกู่ ารปฏิบัติ มดี งั นี้รา่งโโปปรรดดออยย่า่าคคัดัดลลออกกหหรรอือืเเผผยยแแพพรร่่ ๑. สร้างการรับรู้ ความเข้าใจ กระบวนการประเมิน ประสานความร่วมมือเพ่ือพัฒนาคุณภาพ สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติด้วยการใช้มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ สาหรับบุคลากร ผูร้ บั ผดิ ชอบด้านการพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ใน ๔ กระทรวงหลัก และหนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วขอ้ งท้ังภาครัฐและเอกชน ๒. จดั สรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนการขับเคล่ือนมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ เพอื่ บรู ณาการการพัฒนาเด็กปฐมวยั ให้มปี ระสทิ ธภิ าพ และประสิทธผิ ลอย่างเป็นรูปธรรม ๓. ดาเนินการให้สถานพัฒนาเด็กปฐมวยั ทีอ่ ยู่ภายใตก้ ารกากบั ดูแลของ ๔ กระทรวง และภาคี เครือข่ายดาเนินงานตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติอย่างท่ัวถึง เช่น เผยแพร่ในระบบ สารสนเทศและเทคโนโลยี ในเวบ็ ไซต์ออนไลน์ สร้างความตระหนักในส่ือสาธารณะเพือ่ ให้ครอบครัวและสังคมมี สว่ นรว่ มรบั รู้ และพฒั นาคณุ ภาพสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ๔. มีการพัฒนาพิจารณารวบรวมข้อมูล สรุปผลการติดตาม และรายงานความก้าวหน้า ผลการขับเคลื่อนมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติสู่การปฏิบัติ ในระดับท้องถิ่น อาเภอ รายงานต่อ คณะอนุกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัยระดับจังหวัด เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและ เยาวชนแห่งชาติ (กดยช.) สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) หรือกระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความม่ันคงของมนุษย์ (พม.) รายงานต่อคณะกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ (ก.พ.ป.) เสนอต่อ คณะรฐั มนตรี ปีละ ๑ ครงั้ เพือ่ พฒั นาคณุ ภาพต่อไป | ๑๒ |

วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อใช้เป็นคู่มือในการสรุปผลการประเมิน โดยการศึกษาคู่มือมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย แหง่ ชาติ พรอ้ มรายการเกณฑก์ ารพิจารณาตามตัวบ่งช้ี และแบบบันทึกผลการประเมิน ผลการประเมินทไ่ี ด้เป็น ระดับคุณภาพ ท่ีระบุประเด็นเฉพาะเจาะจงท่ีต้องปรับปรุง ท่ีสามารถนาไปใช้ประเมินการดาเนินงานของ สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยในทุกสังกัด เพ่ือพัฒนาคุณภาพการจัดบริการและความต่อเนื่องของการพัฒนาเด็ก ปฐมวัย คู่มือมาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั แหง่ ชาติ เป็นเครื่องมอื ในการประเมนิ คุณภาพของการดาเนินงานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยทุกสังกดั ที่ดแู ลเด็ก ในเวลากลางวนั ช่วงอายตุ ้ังแตแ่ รกเกิด ถึง อายุ ๖ ปีบรบิ ูรณ์ หรือ ก่อนเขา้ เรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ มาตรฐานสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั แหง่ ชาติ ประกอบด้วยมาตรฐาน ๓ ด้าน ไดแ้ ก่ • มาตรฐานดา้ นที่ ๑ การบริหารจัดการ จานวน ๕ ตัวบ่งชี้/ ๒๖ ขอ้ • มาตรฐานดา้ นท่ี ๒ กระบวนการดูแลจัดประสบการณ์ เรียนรู้ และเล่น จานวน ๕ ตัวบง่ ชี้/ ๒๐ ข้อ • มาตรฐานดา้ นท่ี ๓ คณุ ภาพเด็กปฐมวัย - ๓ ก แรกเกดิ ถึง ๒ ปี (๒ ปี ๑๑ เดือน ๒๙ วัน) จานวน ๒ ตวั บ่งช้ี/ ๗ ข้อ - ๓ ข ๓ ปี ถึง ๖ ปี (ก่อนเข้าเรยี นช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑) จานวน ๗ ตวั บ่งชี้/ ๒๒ ขอ้ การประเมินเพอ่ื พัฒนาคุณภาพ ท่ีเนน้ การดแู ล พัฒนาและจัดการศึกษาใหเ้ หมาะสมสาหรบั เด็กปฐมวัย เป็นรายบุคคล พิจารณาตามตัวบ่งชี้เป็นรายข้อย่อย ๔ ระดับคะแนน คือ ไม่ผ่าน (๐) ผ่านขั้นต้น (๑)ร่างโโปปรรดดออยย่า่าคคดัดัลลออกกหหรรอือืเเผผยยแแพพรร่่ ดี (๒) และดีมาก (๓) นาคะแนนมาตรฐานแต่ละด้าน คิดเป็นร้อยละ แล้วนามารวมกัน ๓ ด้าน เฉล่ียเป็น คะแนนรวม และนบั จานวนข้อทีไ่ ม่ผ่านต้องปรบั ปรงุ มาเปน็ เกณฑ์การประเมินระดับคุณภาพ ดังตาราง การสรปุ ผลการประเมนิ ของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยตามมาตรฐานสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยแห่งชาติ ระดบั คณุ ภาพ เกณฑก์ ารพิจารณา A ดมี าก คะแนนเฉลย่ี จานวนขอ้ ท่ีต้องปรับปรงุ B ดี C ผา่ นเกณฑข์ นั้ ต้น ร้อยละ ๘๐ ขน้ึ ไป ไมม่ ี D ต้องปรับปรงุ รอ้ ยละ ๖๐-๗๙.๙๙ ๑-๗ ข้อ รอ้ ยละ ๔๐-๕๙.๙๙ ๘-๑๕ ข้อ ต่ากวา่ ร้อยละ ๔๐ ๑๖ ขอ้ ขนึ้ ไป มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ ถือเป็นมาตรฐานข้ันพื้นฐานของประเทศซึ่งใช้ได้กับ ทกุ บริบท โดยไดม้ ีการเทียบเคยี งกับมาตรฐานของทุกหนว่ ยงานทม่ี ีอยแู่ ลว้ รว่ มกับมาตรฐานคุณภาพของภูมิภาค อาเซียนฯ ทั้งนี้ หากสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยที่มีศักยภาพการให้บริการพัฒนาเด็กอย่างมีคุณภาพสูงกว่า มาตรฐานน้ี สามารถพิจารณาเพ่ิมเติมเกณฑ์ดังกล่าวได้ตามบริบท เช่น สถานรับเล้ียงและพัฒนาเด็กเอกชน สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยที่มคี วามต้องการพเิ ศษ โรงเรยี นอนบุ าลท้งั รฐั และเอกชน โรงเรยี นอนบุ าลนานาชาติ ฯลฯ | ๑๓ |

ในกรณีท่ีสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยไม่ผ่านการประเมินตามมาตรฐานน้ี คือ ระดับคุณภาพ D (ต้อง ปรับปรุง) หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในทุกระดับชุมชนและสังคมจะต้องช่วยเหลือ สนับสนุน เพ่ือให้ดาเนินการได้ ตามมาตรฐานขั้นตน้ เป็นอย่างน้อย แต่ไม่ควรปรับลดเกณฑใ์ ห้ต่าลงเน่ืองจากมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ฉบับนี้ถือเปน็ มาตรฐานขั้นตน้ ที่จาเป็นสาหรับการพัฒนาเด็กของประเทศ และเป็นมาตรฐานเชงิ คุณภาพเพ่ือใช้ ประโยชน์ในการดาเนินงานและจัดบริการให้เด็กปฐมวัยได้มีโอกาสเริ่มต้นชีวิตอย่างมีคุณภาพและเท่าเทียมกัน เพ่ือลดความเหลื่อมล้า เป็นการเพ่ิมคุณภาพทรัพยากรมนุษย์ท่ีสาคัญที่สุดในการนาประเทศไทยสู่ความ เจรญิ กา้ วหน้า มนั่ คง ยง่ั ยืน ทา่ มกลางความท้าทายของโลกในศตวรรษท่ี ๒๑ ร่าง โโปปรรดดออยยา่ า่ คคัดัดลลออกกหหรรือือเเผผยยแแพพรร่ ่ | ๑๔ |

มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ สาหรับเด็กแรกเกิด - อายุ ๖ ปี (ก่อนเข้าประถมศึกษาปีที่ ๑) มาตรฐานด้านที่ ๑ การบริหารจัดการสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ตวั บ่งช้ีที่ ชอ่ื ตัวบง่ ชี้ จานวนขอ้ ย่อย ๑.๑ การบริหารจัดการอยา่ งเปน็ ระบบ ๓ ๑.๒ การบริหารจดั การบุคลากรทุกประเภทตามหน่วยงานทีส่ ังกัด ๔ ๑.๓ การบรหิ ารจัดการสภาพแวดล้อมเพื่อความปลอดภัย ๘ ๑.๔ การจัดการเพอื่ สง่ เสริมสขุ ภาพและการเรียนรู้ ๗ ๑.๕ การส่งเสริมการมสี ่วนรว่ มของครอบครัวและชมุ ชน ๔ มาตรฐานดา้ นท่ี ๒ ครู/ผู้ดูแลเด็กใหก้ ารดแู ลและจดั ประสบการณ์การเรยี นรูแ้ ละการเลน่ เพือ่ พัฒนาเดก็ ปฐมวยั ตัวบ่งชที้ ี่ ช่อื ตวั บ่งชี้ จานวนข้อย่อย ๒.๑ การดแู ลและพัฒนาเด็กอย่างรอบดา้ น ๕ ๒.๒ การสง่ เสริมพัฒนาการดา้ นร่างกายและดูแลสขุ ภาพ ๕ ๒.๓ การสง่ เสริมพัฒนาการดา้ นสติปญั ญา ภาษาและการส่ือสาร ๕ ๒.๔ การส่งเสรมิ พฒั นาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ-สงั คม ปลกู ฝงั คุณธรรมและ ๓ ความเป็นพลเมืองดี ๒.๕ การส่งเสรมิ เด็กในระยะเปลยี่ นผา่ นให้ปรับตัวสกู่ ารเช่อื มต่อในขนั้ ถดั ไป ๒ ร่าง โโปปรรดดออยยา่ ่าคคัดัดลลออกกหหรรืออื เเผผยยแแพพรร่ ่ มาตรฐานด้านที่ ๓ คณุ ภาพของเด็กปฐมวัย ตวั บง่ ชท้ี ี่ ชื่อตัวบง่ ช้ี จานวนข้อย่อย สาหรับเดก็ แรกเกดิ - อายุ ๒ ปี (๒ ปี ๑๑ เดือน ๒๙ วนั ) ๓.๑ ก เด็กมกี ารเจรญิ เติบโตสมวยั ๑ ๓.๒ ก เดก็ มีพัฒนาการสมวยั ๖ สาหรับเด็ก อายุ ๓ ปี - อายุ ๖ ปี (ก่อนเขา้ ประถมศึกษาปีที่ ๑) ๓.๑ ข เด็กมกี ารเจรญิ เติบโตสมวัยและมีสขุ นิสัยท่เี หมาะสม ๓ ๓.๒ ข เด็กมีพฒั นาการสมวัย ๑ ๓.๓ ข เดก็ มีพัฒนาการด้านการเคลื่อนไหว ๒ ๓.๔ ข เดก็ มีพฒั นาการด้านอารมณ์ จิตใจ ๓ ๓.๕ ข เดก็ มีพัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา เรียนรู้และสร้างสรรค์ ๕ ๓.๖ ข เด็กมีพฒั นาการด้านภาษาและการส่ือสาร ๔ ๓.๗ ข เดก็ มีพัฒนาการด้านสังคม คุณธรรม มีวินยั และความเปน็ พลเมอื งดี ๔ | ๑๕ |

มาตรฐานดา้ นที่ ๑ การบริหารจดั การสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ตวั บง่ ชี้ที่ ๑.๑ การบรหิ ารจัดการอย่างเป็นระบบ ข้อ รายการพจิ ารณา ๐ ตอ้ งปรบั ปรงุ ๑.๑.๑ บรหิ ารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างเป็นระบบ ไมม่ แี ผนและไมม่ ี  ๑. จัดทาแผนบรหิ ารจัดการสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั การปฏิบตั ิอย่างเป็น โดยสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั /หนว่ ยงานท่ีกากับ ระบบ ดแู ล  ๒. ปฏบิ ตั ติ ามแผนการบริหารจัดการสถานพฒั นา เดก็ ปฐมวยั รา่ ง โโปปรรดดออยยา่ า่ คคัดดั ลล  ๓. ประเมินผลการดาเนนิ งานตามแผน  ๔. นาผลจากการประเมินไปพัฒนาและปรบั ปรุง การบริหารจดั การสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั ๑.๑.๒ บริหารหลักสตู รสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั ไมม่ หี ลักสูตรสถาน  ๑. จดั ทาหลักสตู รสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยสอดคล้อง พฒั นาเด็กปฐมวัย กับหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั ของกระทรวง และไม่มีการปฏบิ ัติ ศกึ ษาธกิ าร อย่างเป็นระบบ  ๒. นาหลักสตู รสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั ไปใช้อบรม เล้ยี งดเู ด็กตามวิถชี วี ติ ประจาวันและจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ |๑

มาตรฐานดา้ นที่ ๑ เกณฑก์ ารพิจารณา ข้อมูลประกอบ การพิจารณา ๑๒ ๓ ดมี าก - แผนการบริหาร ผา่ นเกณฑข์ ้นั ตน้ ดี ดาเนินงานตาม จัดการตามบริบท รายการพจิ ารณา ของสถานพัฒนา ดาเนินงานตาม ดาเนนิ งานตาม ครบทกุ ข้อ เด็กปฐมวัย - บันทึก/รายงาน รายการพิจารณา รายการพจิ ารณา ดาเนินงานตาม ผลการดาเนินงาน รายการพิจารณา - บันทึกการ ข้อ ๑ และ ๒ ข้อ ๑, ๒ และ ๓ ครบทุกข้อ ปรับปรุง/พัฒนา แผนและการ ลลออกกหหรรืออื เเผผยยแแพพรร่ ่ ดาเนินงาน - หลักสูตรสถาน ดาเนินงานตาม ดาเนนิ งานตาม พฒั นาเดก็ ปฐมวัย รายการพจิ ารณา รายการพจิ ารณา - บันทึก/รายงาน ข้อ ๑ และ ๒ ขอ้ ๑, ๒ และ ๓ ผลการดาเนินงาน - บันทึกการ ปรับปรุง/พัฒนา หลักสูตร ๖|

ข้อ รายการพจิ ารณา ๐ ตอ้ งปรับปรุง  ๓. ประเมินผลการนาหลกั สูตรสถานพฒั นาเด็ก ปฐมวัยไปใช้  ๔. นาผลการประเมนิ ไปพฒั นาและปรับปรงุ หลกั สูตรสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั ๑.๑.๓ บริหารจดั การข้อมูลอย่างเปน็ ระบบ ไม่มีการรวบรวมและ  ๑. รวบรวมและจดั เก็บข้อมลู ในการบรหิ าร จัดเก็บข้อมูลอย่าง จัดการและขอ้ มลู เกย่ี วกบั เด็ก เปน็ ระบบ  ๒. นาขอ้ มูลทจี่ ดั เกบ็ ไปใช้ประโยชน์  ๓. ประมวลผลการดาเนินงานและจัดทารายงาน ผลการดาเนินงานประจาปี ร่าง โโปปรรดดออยย่าา่ คคดั ัดลล  ๔. บริหารจดั การขอ้ มูลทีเ่ ปน็ ระบบอยา่ งครบถ้วน ถกู ต้องและเปน็ ปจั จุบนั |๑

เกณฑก์ ารพจิ ารณา ขอ้ มูลประกอบ การพจิ ารณา ๑๒ ๓ ดมี าก ผ่านเกณฑข์ นั้ ต้น ดี ะ มีและดาเนินการ มีและดาเนินการตาม มีและดาเนนิ การ - เอกสาร/หลักฐาน ตามรายการ พิจารณา รายการพิจารณา ตามรายการ แสดงข้อมูลที่ ข้อ ๑ และ ๒ ขอ้ ๑, ๒ และ ๓ พิจารณาครบทกุ ขอ้ จดั เกบ็ ลลออกกหหรรอื ือเเผผยยแแพพรร่ ่ - รายงานผลการ ประมวลผล - รายงานประจาป/ี รายงานการ ประเมินตนเอง ของสถานพัฒนา เด็กปฐมวัย - ระบบสารสนเทศ ทม่ี ีข้อมูลเป็น ปจั จุบัน - ข้อมลู เลข ประจาตวั ๑๓ หลักของเดก็ ๗|

ตัวบง่ ชีท้ ่ี ๑.๒ การบรหิ ารจัดการบคุ ลากรทกุ ประเภทของหน่วยงานทุกสังกัด ขอ้ รายการพจิ ารณา ๐ ต้องปรับปร ๑.๒.๑ บริหารจัดการบุคลากรอยา่ งเปน็ ระบบ ไม่มีการบริหา  ๑. จดั ทาโครงสรา้ ง คุณสมบัติและอัตรากาลัง จัดการบคุ ลาก  ๒. มีกระบวนการคัดเลอื ก โดยคานงึ ถงึ สุขภาพกาย ตามข้อพิจารณ สขุ ภาพจิต  ๓. ไม่ใชส้ ารเสพตดิ ไม่เคยได้รบั โทษการกระทา รา่ ง โโปปรรดดออยย่าา่ คคดั ัดลล ความผิดทเี่ ก่ยี วกับความรนุ แรง โทษท่เี กยี่ วกับการ กระทาผิดต่อเด็ก ไมม่ ีการบริหา  ๔. มกี ารตรวจสขุ ภาพประจาปีทกุ คนและประเมนิ จัดการบคุ ลาก ความเครียดด้วยตนเองโดยมีการชว่ ยเหลือท่ีจาเปน็ ตามข้อพจิ ารณ  ๕. ตดิ ตาม สนับสนนุ การทางานของบคุ ลากร โดยจัด ใหม้ ีสวสั ดิการและไดร้ บั สิทธิประโยชน์ต่างๆ ตาม ระเบยี บของหนว่ ยงานตน้ สังกัด  ๖. พัฒนาบุคลากรอยา่ งเปน็ ระบบและต่อเนือ่ ง ๑.๒.๒ ผ้บู รหิ ารสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั /หัวหน้าระดบั ปฐมวยั / ผูด้ าเนนิ กิจการ มีคณุ วุฒ/ิ คณุ สมบตั ิเหมาะสม และ บริหารงานอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ  ๑. มีวฒุ ทิ างการศึกษาไม่ต่ากวา่ ปรญิ ญาตรี สาขา วชิ าเอกอนุบาลศึกษาหรอื ปฐมวัย - กรณีท่ีมีวุฒิปริญญาตรสี าขาทเี่ กย่ี วข้อง (จติ วิทยา แพทย์ พยาบาล สาธารณสขุ คหกรรม) ต้องมี |๑

เกณฑ์การพจิ ารณา ข้อมูลประกอบ การพจิ ารณา ๑๒ ๓ ดีมาก รุง ผา่ นเกณฑ์ขนั้ ตน้ ดี าร บริหารจัดการ บริหารจัดการ บริหารจดั การ - แผนผังโครงสร้าง กร ตามข้อ ๑, ๒ ตามข้อ ครบทกุ ขอ้ ตาม และระเบยี บ ณา และ ๓ ๑, ๒, ๓ และอีก รายการ ปฏิบตั ิงานของ ๑ ข้อ (ข้อ ๔ หรือ พจิ ารณา บคุ ลากร ๕ หรือ ๖) - กฎระเบียบการรับ บคุ ลากรตาม หนว่ ยงานต้นสังกดั - เอกสาร/ภาพถ่าย ลลออกกหหรรือือเเผผยยแแพพรร่ ่ กจิ กรรม/บันทึก การประชุม าร บรหิ ารจดั การ บรหิ ารจัดการ บรหิ ารจดั การ - ใบแสดงคุณวุฒิ กร ตามข้อ ๑ และ ๒ ตามข้อ ๑, ๒ ครบทกุ ข้อตาม การศกึ ษา ณา และ ๓ รายการ พจิ ารณา - ข้อกาหนดเกย่ี วกบั บทบาทหน้าที่ของ บคุ ลากร - หลักฐานการผา่ น การอบรม ๘|

ข้อ รายการพจิ ารณา ๐ ตอ้ งปรบั ปร การศึกษารายวชิ าท่ีเกีย่ วข้องกบั เด็กปฐมวยั อย่าง นอ้ ย ๓ หนว่ ยกติ (ไมต่ ่ากว่า ๔๕ ชวั่ โมง) - กรณที ่ีมวี ุฒิการศึกษาปรญิ ญาตรไี มต่ รงตามท่ี กาหนด ต้องมีประสบการณ์ในการทางานเกี่ยวกับ การพัฒนาเด็กปฐมวยั อยา่ งต่อเนื่องมาแล้ว ไม่น้อยกวา่ ๒ ปี และผ่านการฝกึ อบรมไม่ต่ากวา่ ๔๕ ชวั่ โมง  ๒. สนบั สนนุ กากบั ตดิ ตาม การปฏิบตั หิ น้าที่ของ บคุ ลากรให้เป็นไปตามแผน  ๓. จดั กิจกรรมที่สรา้ งสรรค์เพ่ือการสรา้ งความสมั พันธ์ ร่าง โโปปรรดดออยยา่ า่ คคดั ดั ลล ท่ีดีระหว่างบุคลากร ครอบครัวของเด็กและเครือข่าย ภายนอก  ๔. เป็นตัวอย่างที่ดีในการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ๑.๒.๓ ครู/ผ้ดู ูแลเดก็ ท่ีทาหนา้ ท่หี ลกั ในการดูแลและพฒั นาเด็ก คร/ู ผดู้ ูแลเดก็ ปฐมวัย มวี ุฒกิ ารศกึ ษา/คณุ สมบตั ิเหมาะสม คุณสมบตั ิ  ๑. ผูท้ าหนา้ ทคี่ รูมใี บประกอบวชิ าชพี ครู มีวฒุ ิทาง เหมาะสม (ตา การศกึ ษาไม่ต่ากวา่ ปรญิ ญาตรี สาขาวชิ าเอกอนุบาล ขอ้ ๑ และ ๒ ศกึ ษาหรอื ปฐมวยั หรอื กรณีท่มี วี ฒุ ิปรญิ ญาตรสี าขาท่ี นอ้ ยกวา่ ร้อยล เกย่ี วขอ้ ง (ครสู าขาอ่นื ท่ไี ม่ใชเ่ อกปฐมวัย จติ วทิ ยา ๒๕ ของจานว แพทย์ พยาบาล สาธารณสุข คหกรรม) ตอ้ งมกี ารศกึ ษา คร/ู ผ้ดู แู ลทัง้ ห รายวชิ าทีเ่ กย่ี วขอ้ งกับเด็กปฐมวยั อยา่ งนอ้ ย ๓ หน่วยกติ |๑

เกณฑ์การพจิ ารณา ข้อมูลประกอบ การพิจารณา ๑๒ ๓ ดีมาก รุง ผ่านเกณฑ์ข้ันต้น ดี - เอกสารผลการ ประเมิน เชน่ เอกสารความพึง พอใจของ ผู้รับบริการ ผู้รว่ มงาน ใบรับรอง จากหนว่ ยงานอ่นื ลลออกกหหรรอื อื เเผผยยแแพพรร่ ่ กมี ครู/ผู้ดูแลเด็กมี ครู/ผู้ดูแลเด็กมี ครู/ผ้ดู แู ลเดก็ มี - ใบแสดงคณุ วฒุ ิ คุณสมบัติ คณุ สมบตั ิ คุณสมบัติ - หลักฐานการผา่ น เหมาะสม (ตาม เหมาะสม (ตาม การอบรม าม เหมาะสม(ตาม ข้อ ๑ และ ๒) ขอ้ ๑ และ ๒) ๒) ขอ้ ๑ และ ๒) ร้อยละ ๕๑-๗๕ มากกว่าร้อยละ ละ รอ้ ยละ ๒๕-๕๐ ของจานวนครู/ ๗๕ ข้นึ ไป ของ วน ของจานวนครู/ ผ้ดู แู ลทงั้ หมด จานวนคร/ู หมด ผดู้ ูแลท้ังหมด และมขี ้อ ๓ ผู้ดูแลท้งั หมด (หากมีจานวน ๙|

ข้อ รายการพจิ ารณา ๐ ตอ้ งปรับปร (ไมต่ า่ กวา่ ๔๕ ชว่ั โมง)  ๒. ผู้ที่ทาหน้าทีผ่ ชู้ ่วยครู กรณีทีว่ ฒุ ิการศึกษาตา่ กวา่ ร่าง โโปปรรดดออยยา่ ่าคคดั ดั ลล ปริญญาตรี ตอ้ งมอี ายุไม่ต่ากวา่ ๑๘ ปี มี ไม่เปน็ ไปตาม ประสบการณท์ างานพัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างต่อเน่ือง อัตราสว่ นและ ไม่น้อยกว่า ๒ ปี หรือผา่ นการฝึกอบรมเกย่ี วกับการ กลุ่มกจิ กรรมท ดูแลและพัฒนาเด็กปฐมวยั ตามท่ีสว่ นราชการรับรอง กาหนด หรืออยู่ในระหว่างการอบรมดังกล่าว ภายในระยะ เวลา ๑ ปี  ๓. คร/ู ผู้ดูแลเด็กได้รบั การพัฒนาตอ่ เน่ืองระหว่าง ประจาการ อย่างน้อยปลี ะ ๒๐ ชว่ั โมง ๑.๒.๔ บริหารบุคลากรจัดอัตราส่วนของคร/ู ผดู้ แู ลเด็กอยา่ ง เหมาะสมพอเพยี งต่อจานวนเด็กในแตล่ ะกล่มุ อายุ  ๑. มีอตั ราสว่ นและกลุ่มกิจกรรมตามเกณฑ์ท่กี าหนด (บคุ ลากรประจา/เตม็ เวลา)  ๒. มีอตั ราส่วนและกลมุ่ กจิ กรรมดีกว่าเกณฑท์ ี่กาหนด (บคุ ลากรประจา/เตม็ เวลา)  ๓. สามารถจดั หาครหู รอื ผู้ดูแลเดก็ ท่มี ีคุณสมบัตติ าม เกณฑ์มาชว่ ยเสรมิ ในการจดั กิจกรรม |๒

เกณฑ์การพจิ ารณา ข้อมูลประกอบ การพิจารณา ๑๒ ๓ ดมี าก รุง ผ่านเกณฑข์ น้ั ต้น ดี และมขี ้อ ๓ ทงั้ หมด น้อยกว่า ๔ คน ตอ้ งมีอย่าง นอ้ ย ๑ คนที่ เข้าเกณฑ์) ลลออกกหหรรอื อื เเผผยยแแพพรร่ ่ ม มกี ารบรหิ าร มกี ารบรหิ าร มีการบรหิ าร ๑. เอกสาร/หลกั ฐาน ะ จดั การตามข้อ ๑ จัดการตามข้อ ๑ จัดการครบทุก บ่งชจ้ี านวนครู/ ท่ี และ ๒ ขอ้ ตามรายการ ผูด้ แู ลเด็กและเดก็ พจิ ารณา ปฐมวยั ได้แก่ - ทะเบียนเด็กแสดง จานวนและอายุของ เดก็ - จานวนครู/ผู้ดูแล เด็กที่ปฏิบตั ิงานจริง ๒. หลกั ฐานทแ่ี สดง วา่ มีครหู รือผูด้ แู ล ๐|

ข้อ รายการพิจารณา ๐ ตอ้ งปรบั ปร อัตราส่วนครู/ จานวนเดก็ ในกลุม่ กจิ กรรม เด็ก (อาย)ุ ผดู้ แู ล : เดก็ กลุ่มละไม่เกนิ ๖ คน (คน) กลุ่มละไมเ่ กิน ๑๐ คน ต่ากวา่ ๑ ปี ๑ : ๓ กลมุ่ ละไมเ่ กิน ๒๐ คน กลมุ่ ละไม่เกนิ ๓๐ คน ตา่ กว่า ๒ ปี ๑ : ๕ ต่ากว่า ๓ ปี ๑ : ๑๐ ๓ปี -ก่อนเขา้ ป.๑ ๑ : ๑๕ ร่าง โโปปรรดดออยยา่ ่าคคัดดั ลล |๒

เกณฑ์การพจิ ารณา ข้อมูลประกอบ การพจิ ารณา ๑๒ ๓ ดมี าก รุง ผ่านเกณฑข์ ั้นต้น ดี เด็ก(ที่มคี ุณสมบัติ ตามเกณฑ์) มา ช่วยเสรมิ ในการ จดั กิจกรรม ลลออกกหหรรอื อื เเผผยยแแพพรร่ ่ ๑|

ตัวบ่งช้ีที่ ๑.๓ การบริหารจัดการสภาพแวดล้อมเพื่อความปลอดภัย ขอ้ รายการพจิ ารณา ๐ ตอ้ งปรบั ปรงุ ๑.๓.๑ บริหารจดั การด้านสภาพแวดล้อมเพ่ือความปลอดภัยอย่าง ไม่มแี ผนและไมม่ เป็นระบบ การปฏบิ ัตอิ ย่าง  ๑. จัดทานโยบายและแผนทค่ี รอบคลมุ โครงสร้างอาคาร เป็นระบบ บริเวณที่ตง้ั ภายใน ภายนอกอาคาร วัสดุอปุ กรณ์ทกุ ชนดิ รวมท้งั ปจั จัยท่เี ก่ียวขอ้ ง  ๒. ปฏิบตั ิตามแผนอย่างเป็นระบบและมกี ารสารวจ ค้นหาจุดเส่ียง เพ่ือหาแนวทางปอ้ งกนั และแกไ้ ขเป็น ระยะอยา่ งตอ่ เนื่อง รา่ ง โโปปรรดดออยยา่ า่ คคัดัดลล  ๓. ประเมินผลการดาเนนิ งานตามแผน  ๔. นาผลจากการประเมนิ ไปพัฒนาและปรบั ปรงุ การ บรหิ ารจัดการดา้ นสภาพแวดลอ้ มเพื่อความ ปลอดภยั อย่างเป็นระบบ ๑.๓.๒ โครงสร้างและตัวอาคารมัน่ คง ตัง้ อยูใ่ นบริเวณและ ไมม่ ีการจัดการต สภาพแวดลอ้ มท่ีปลอดภยั รายการพจิ ารณา  ๑. โครงสร้างและตวั อาคารม่ันคง มีขอบเขตและ ทางเขา้ -ออกทีช่ ัดเจน  ๒. บริเวณที่ต้งั ปลอดภยั สะอาดไม่อยู่ใกล้แหลง่ มลพิษ ทางอากาศ น้า ดนิ เวน้ แต่มมี าตรการที่มี ประสิทธิภาพในการปอ้ งกันอันตรายที่อาจจะ เกดิ ขึ้น |๒

เกณฑก์ ารพจิ ารณา ขอ้ มูลประกอบ การพิจารณา ๑ ๒๓ - แผนการจัดการ ง ผ่านเกณฑ์ขั้นต้น ดี ดมี าก ด้านสภาพ แวดล้อมเพื่อ มี มีการดาเนินงาน มีการดาเนินงาน มกี ารดาเนนิ งาน ความปลอดภยั อย่างเป็นระบบ ตามรายการ ตามรายการ ตามรายการ - แบบบันทึกการ สารวจค้นหาจุด พจิ ารณาข้อ ๑ พิจารณาขอ้ ๑, ๒ พิจารณาครบ เส่ียง - บันทึกการ และ ๒ และ ๓ ทุกข้อ ปรับปรุง/พัฒนา แผนและการ ลลออกกหหรรอื อื เเผผยยแแพพรร่ ่ ดาเนินงาน - แบบประเมนิ ตาม มีการดาเนนิ งาน มีการดาเนินงาน มีการดาเนนิ งาน สภาพแวดล้อม า ตามรายการ ตามรายการ ตามรายการ ภายนอกอาคาร พิจารณาขอ้ ๑, ๒ พิจารณาครบ เพ่อื ความ พิจารณาข้อ ๑ และ ๓ ทกุ ข้อ ปลอดภยั และ ๒ - บันทึก/รายงาน ผลการดาเนินงาน ๒|

ขอ้ รายการพิจารณา ๐ ต้องปรับปรงุ  ๓. ติดตามประเมินผลการสารวจสม่าเสมออยา่ งน้อย ทุก ๓ เดอื น และแก้ไขในส่วนท่ีมีโอกาสเกดิ อันตรายได้มากอย่างเร่งดว่ น  ๔. นาผลการประเมิน ปรบั ปรุง/พัฒนาระยะยาว ๑.๓.๓ จัดการความปลอดภัยของพ้ืนทเี่ ล่น/สนามเด็กเลน่ และ ไม่มีการจัดการต สภาพแวดล้อมภายนอกอาคาร รายการพิจารณา  ๑. สภาพแวดลอ้ มภายนอกอาคารสถานพัฒนาเด็ก ปฐมวยั มีความปลอดภัย เครอ่ื งเล่นสนามมีความ เหมาะสมตามพัฒนาการของเด็กตามวัย  ๒. พน้ื ท่เี ลน่ /สนามเดก็ เลน่ เป็นท่ปี ลอดภัยในการ รา่ ง โโปปรรดดออยยา่ า่ คคัดัดลล เลน่ ของเด็ก มีการสารวจความเสี่ยงของพน้ื ทีเ่ ลน่ สนามเดก็ เล่นอย่างตอ่ เนอ่ื ง  ๓. ติดตามประเมนิ การดาเนินงาน ข้อ ๑ และ ๒ สมา่ เสมออยา่ งน้อยทกุ ๓ เดือน และแกไ้ ขในส่วน ทม่ี โี อกาสเกิดอนั ตรายได้มากอยา่ งเร่งดว่ น  ๔. นาผลการประเมนิ วิเคราะหเ์ พื่อปรบั ปรุง/พัฒนา ๑.๓.๔ จดั การสภาพแวดล้อมภายในอาคาร ครภุ ณั ฑ์ อปุ กรณ์ ไม่มีการจดั การต เคร่อื งใชใ้ ห้ปลอดภยั เหมาะสมกบั การใชง้ าน และเพียงพอ รายการพจิ ารณา  ๑. สภาพแวดลอ้ มภายในอาคารมคี วามปลอดภยั |๒

เกณฑ์การพจิ ารณา ข้อมูลประกอบ การพิจารณา ๑๒ ๓ ดมี าก - บันทึกการ ง ผา่ นเกณฑข์ ้ันต้น ดี ปรับปรุง/พัฒนา มกี ารจัดการครบ แผนและการ ตาม มีการจดั การตาม มกี ารจดั การตาม ตามรายการ ดาเนินงาน า ข้อ ๑ และ ๒ ขอ้ ๑, ๒ และ ๓ พิจารณา - แบบประเมนิ สภาพแวดล้อม ลลออกกหหรรือือเเผผยยแแพพรร่ ่ มกี ารจัดการครบ ภายนอกอาคาร ตามรายการ เพื่อความ ตาม มีการจดั การตาม มกี ารจัดการตาม พจิ ารณา ปลอดภยั า ข้อ ๑ และ ๒ ข้อ ๑, ๒ และ ๓ - แบบคัดกรอง ความเสี่ยงสนาม เดก็ เล่น - บันทึก/รายงาน ผลการดาเนินงาน - บันทึกการ ปรับปรุง/พัฒนา แผนและการ ดาเนินงาน - แบบบนั ทึกการ ประเมินความ ปลอดภัยภายใน ๓|

ขอ้ รายการพิจารณา ๐ ตอ้ งปรบั ปรุง  ๒. ครภุ ณั ฑ์ อุปกรณ์เครอื่ งใช้ปลอดภัย มที ะเบียน ควบคมุ ตรวจสอบสมา่ เสมอให้ใชง้ านได้ครบถว้ น ไม่ชารดุ และเปน็ ปจั จุบัน  ๓. ตดิ ตามประเมนิ การดาเนินงาน ขอ้ ๑ และ ๒ สมา่ เสมออย่างน้อยทกุ ๓ เดือน และแกไ้ ขในส่วน ท่มี ีโอกาสเกดิ อนั ตรายได้มากอย่างเร่งด่วน  ๔. นาผลการประเมินวิเคราะห์เพอ่ื ปรับปรงุ พัฒนา รา่ ง โโปปรรดดออยยา่ า่ คคัดัดลล ๑.๓.๕ จดั ใหม้ ีของเลน่ ทีป่ ลอดภยั ได้มาตรฐาน มีจานวนเพียงพอ ไมม่ ีการจดั การต สะอาด เหมาะสมกบั ระดบั พัฒนาการของเด็ก รายการพจิ ารณา  ๑. ของเลน่ ปลอดภยั ตามมาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.) และเหมาะสมตามพฒั นาการของเด็กตามวัย  ๒. มีทะเบียนควบคุมตรวจสอบสมา่ เสมอให้มจี านวน เพียงพอเหมาะสมกับวัยและพัฒนาการของเด็ก และมีความสะอาดใช้งานได้ครบถว้ นไม่ชารุด และ เปน็ ปจั จบุ นั |๒

เกณฑ์การพจิ ารณา ข้อมูลประกอบ การพจิ ารณา ๑๒ ๓ ดีมาก อาคาร ง ผา่ นเกณฑข์ ั้นต้น ดี - แบบประเมนิ มกี ารจัดการครบ อปุ กรณ์ ลลออกกหหรรอื ือเเผผยยแแพพรร่ ่ ตามรายการ ผลติ ภัณฑ์ พจิ ารณา เครอื่ งใช้เพ่อื ตาม มกี ารจัดการตาม มีการจัดการตาม ความปลอดภยั า ขอ้ ๑ และ ๒ ข้อ ๑, ๒ และ ๓ - บันทึก/รายงาน ผลการดาเนินงาน - บันทึกการ ปรับปรุง/พัฒนา แผนและการ ดาเนินงาน - แบบการประเมิน ของเล่นและจัดหา ของเลน่ ที่ปลอดภัย - บันทึก/รายงาน ผลการดาเนินงาน - บันทึกการ ปรับปรุง/พัฒนา แผนและการ ดาเนินงาน ๔|

ขอ้ รายการพิจารณา ๐ ต้องปรับปรงุ  ๓. ติดตามประเมินการดาเนินงาน ข้อ ๑ และ ๒ สม่าเสมออย่างน้อยทุก ๓ เดือน และแก้ไขในสว่ น ทม่ี ีความเสย่ี งสงู ต่อการเกดิ อันตราย  ๔. นาผลการประเมินมาวิเคราะห์เพ่ือปรับปรุง/ พัฒนาการจดั หาและบารุงรักษาอย่างตอ่ เนื่อง ๑.๓.๖ ส่งเสรมิ ใหเ้ ด็กปฐมวัยเดนิ ทางอยา่ งปลอดภยั ไมม่ ีการจัดการต  ๑. สารวจการเดินทางของเดก็ และวางแผนการ รายการพิจารณา ดาเนินงานเพื่อใหเ้ กิดความปลอดภยั ในการ เดนิ ทางของเด็ก  ๒. ใหค้ วามรู้ สร้างวินยั และฝึกทกั ษะเด็กในการ รา่ ง โโปปรรดดออยยา่ า่ คคัดัดลล เดนิ ทางไป-กลบั อย่างปลอดภัย  ๓. ปรับปรุงโครงสร้างและการปฏบิ ัติเพ่อื สร้างเสริม ความปลอดภยั และป้องกันการบาดเจบ็ ในการ เดนิ ทางของเด็ก  ๔. สรา้ งความตระหนกั และให้ความรู้กบั ผปู้ กครองและ ชุมชน เพอื่ ร่วมกนั สนบั สนนุ ให้เดก็ เดินทางไดอ้ ย่าง ปลอดภยั  ๕. มีการประเมินผลการดาเนินงานและพฒั นาปรับปรุง ๑.๓.๗ จัดให้มรี ะบบป้องกนั ภยั จากบุคคลทง้ั ภายในและภายนอก ไม่มีมาตรการแล สถานพฒั นาเด็กปฐมวัย การดาเนินงานต  ๑. มรี ะบบปอ้ งกนั ภยั จากบุคคล ตรวจสอบ รายการพจิ ารณา |๒

เกณฑก์ ารพจิ ารณา ขอ้ มูลประกอบ การพิจารณา ๑๒ ๓ ดมี าก ง ผา่ นเกณฑ์ขน้ั ตน้ ดี ตาม มีการจดั การตาม มกี ารจัดการตาม มีการจดั การครบ - มแี บบประเมนิ า ขอ้ ๑, ๒ และ ๓ ข้อ ๑, ๒, ๓ ตามรายการ การเดินทางท่ี และ ๔ พิจารณา ปลอดภยั ของเดก็ ลลออกกหหรรอื ือเเผผยยแแพพรร่ ่ - บันทึก/รายงาน ผลการดาเนินงาน - บันทึกการ ปรับปรุง/พัฒนา แผนและการ ดาเนินงาน ละ มีการจดั การตาม มีการจัดการตาม มกี ารจดั การครบ - มแี บบบันทึกการ ตาม ข้อ ๑ และ ๒ ขอ้ ๑, ๒ และ ๓ ตามรายการ บาดเจบ็ า พจิ ารณา - บันทึก/รายงาน ๕|

ข้อ รายการพจิ ารณา ๐ ต้องปรบั ปรุง การเข้า-ออก การรับและสง่ เด็ก  ๒. สรา้ งความตระหนกั ให้บุคลากรทกุ ฝ่ายในสถาน พัฒนาเดก็ ปฐมวัยเฝ้าระวงั ความปลอดภัยของเด็ก จากบุคคลทั้งภายในและภายนอก เมื่อพบส่งิ ที่นา่ สงสัยต้องรายงานให้ครูเวรประจาวันทราบเพ่ือ ป้องกนั และแกไ้ ข  ๓. มกี ารบนั ทึกและประเมนิ ผลการดาเนินงานตามแผน  ๔. มีการนาผลจากการประเมินไปพฒั นาและปรับปรุง ๑.๓.๘ จดั ให้มรี ะบบรบั เหตุฉกุ เฉิน ป้องกันอคั คีภยั /ภัยพิบตั ิตาม ไมม่ ีมาตรการแล ความเสย่ี งของพืน้ ที่ การดาเนนิ งานตรา่งโโปปรรดดออยยา่า่คคัดัดลล  ๑. แผนฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ รายการพิจารณา  ๒. ฝึกซอ้ มแผนอพยพให้กับบุคลากรและเดก็ ทุกคน เสมอื นเกดิ เหตุจริง อยา่ งนอ้ ยปีละ ๑ คร้งั  ๓. มีการตรวจสอบประเมนิ ผลการดาเนินการ  ๔. นาผลประเมินมาปรับปรุง/พัฒนา |๒

เกณฑ์การพจิ ารณา ข้อมูลประกอบ การพจิ ารณา ๑๒ ๓ ดมี าก ง ผ่านเกณฑข์ ั้นตน้ ดี ผลการดาเนินงาน - บันทึกการ ปรับปรุง/พัฒนา แผนและการ ดาเนินงาน ละ มีการจัดการตาม มีการจดั การตาม มกี ารจดั การครบ - มแี บบประเมนิ ตามลลออกกหหรรือือเเผผยยแแพพรร่่ ข้อ ๑ และ ๒ ข้อ ๑, ๒ และ ๓ ตามรายการ แผนระบบฉกุ เฉิน า พจิ ารณา ปอ้ งกันอัคคีภยั - บันทึก/รายงาน ผลการดาเนินงาน - บันทึกการ ปรับปรุง/พัฒนา แผนและการ ดาเนินงาน ๖|

ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๑.๔ การจัดการเพื่อสง่ เสริมสขุ ภาพและการเรียนรู้ ขอ้ รายการพจิ ารณา ๐ ต้องปรับปร ๑.๔.๑ มกี ารจดั การเพื่อสง่ เสริมสขุ ภาพ เฝา้ ระวังการเจริญเตบิ โต ไมม่ ีการจดั กา ของเด็ก และดูแลการเจบ็ ป่วยเบือ้ งตน้ ตามรายการ  ๑. จดั ให้มอี าหารทีเ่ หมาะสม และเพยี งพอตามวัยทุกวัน พจิ ารณา  ๒. จัดใหม้ ีเครื่องชัง่ นา้ หนักและเครื่องวัดความยาว/ ส่วนสงู ท่ีได้มาตรฐาน ตดิ ตัง้ ถูกต้อง และมีการฝึกใช้ งานอย่างถกู วธิ ี  ๓. ประเมนิ การเจรญิ เตบิ โตเป็นรายบคุ คล อยา่ งถูกวธิ ี และมี การบนั ทกึ ขอ้ มลู น้าหนกั ส่วนสงู ลงในกราฟการ รา่ ง โโปปรรดดออยยา่ ่าคคดั ดั ลล เจรญิ เตบิ โตเป็นรายบุคคลอยา่ งตอ่ เนื่อง อย่างน้อย ทกุ ๓ เดือน  ๔. มียาและเวชภัณฑส์ ามัญประจาบา้ นและอปุ กรณ์ที่ จาเปน็ สาหรบั ปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้  ๕. จดั ใหม้ ีการอบรมปฐมพยาบาลและฝึกชว่ ยชีวติ เบือ้ งตน้ (CPR) |๒

เกณฑก์ ารพจิ ารณา ๓ ข้อมูลประกอบ ดีมาก การพิจารณา ๑๒ รงุ ผ่านเกณฑ์ขนั้ ตน้ ดี มีการจัดการ - มีเครือ่ งชั่งนา้ หนักและ ครบตาม เครอ่ื งวดั ส่วนสูงตาม าร มีการจดั การตาม มกี ารจัดการ รายการ มาตรฐาน และควรใช้ ขอ้ ๑, ๒ และ ๓ ตามข้อ ๑, ๒, พิจารณา เครื่องชง่ั น้าหนักทีม่ ี ๓ และ ๔ ความละเอยี ด ๐.๑ กิโลกรมั และ เคร่ืองวัด ลลออกกหหรรอื อื เเผผยยแแพพรร่ ่ ส่วนสงู ทมี่ ีความละเอยี ด ๐.๑ เซนติเมตร - เครอ่ื งวดั ส่วนสูงแบบ นอนสาหรับเดก็ เล็ก - กราฟนา้ หนักตามเกณฑ์ อายุ ความยาว/สว่ นสูง ตามเกณฑ์อายุ และ นา้ หนักตามเกณฑ์ความ ยาว/ส่วนสงู ตามเพศ เปน็ รายบคุ คล -.หลกั ฐานแสดงการจัดทา บันทึกการตรวจสอบ เครือ่ งมือ - หลักฐานแสดงการอบรม ๗|

ขอ้ รายการพิจารณา ๐ ตอ้ งปรับปร ๑.๔.๒ มีแผนและดาเนินการตรวจสขุ อนามยั ประจาวนั ตรวจสุขภาพ ไม่มีแผนและ ประจาปี และป้องกนั ควบคุมโรคติดต่อ ดาเนินการตารา่ ง โโปปรรดดออยย่า่าคคดัดั ลล  ๑. มีการตรวจสขุ ภาพอนามยั และรอ่ งรอยการบาดเจบ็ รายการ ประจาวัน พจิ ารณา  ๒. สนบั สนนุ /จัดการตรวจสขุ ภาพประจาปีโดยบคุ ลากร ทางการแพทย์อยา่ งน้อยปลี ะ ๑ คร้งั  ๓. มีการตรวจสอบประวัตกิ ารได้รับวัคซนี ต้งั แตแ่ รกรบั และทุก ๖ เดือน  ๔. มมี าตรการและกิจกรรมป้องกนั และแกไ้ ขเมื่อเกดิ โรคตดิ ตอ่ ข้นึ รวมทัง้ เกบ็ ข้อมลู ของโรคติดตอ่ |๒

เกณฑ์การพิจารณา ๓ ข้อมูลประกอบ ดมี าก การพิจารณา ๑๒ รุง ผา่ นเกณฑ์ขัน้ ต้น ดี - รายการยา เวชภณั ฑ์ เคร่ืองมือุปกรณ์ท่ีจาเปน็ - การบนั ทึกข้อมลู น้าหนัก และสว่ นสูง และการ แปลผลการเจริญเตบิ โต - รายการอาหารย้อนหลงั ๑ เดือน และลว่ งหนา้ ๑ เดือน มแี ผนและ มแี ผนและ มีแผนและ - แผนบรหิ ารจดั การตรวจ าม ดาเนินการตามลลออกกหหรรอือืเเผผยยแแพพรร่่ ดาเนินการตาม ดาเนินการตาม สขุ อนามัยประจาวัน รายการพจิ ารณา รายการ รายการ ตรวจสุขภาพประจาปี ตามข้อ ๑ และ พิจารณาตาม พิจารณาครบ ป้องกันและควบคุม ๒ ขอ้ ๑, ๒, ๓ ทุกข้อและนา โรคติดต่อ และ ๔ ข้อมูลการ - บนั ทกึ การตรวจ ดาเนนิ งานมา สุขอนามัยประจาวนั / ปรบั ปรุง ตรวจสขุ ภาพประจาปี อย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง/ ตามกาหนด - ตารางการฉดี วคั ซีน ตามแนวทางการป้องกัน โรคติดตอ่ ในศูนยเ์ ดก็ เล็ก ๘|

ข้อ รายการพิจารณา ๐ ตอ้ งปรับปร ๑.๔.๓ อาคารต้องมีพ้ืนที่ใช้สอยเป็นสดั สว่ นตามกจิ วตั รประจาวนั ไมม่ ีพ้นื ทใ่ี ชส้ ของเด็กท่ีเหมาะสมตามชว่ งวัย และการใช้ประโยชน์ เปน็ สัดส่วนต  ๑. มีพื้นท่ีพอเพียงสาหรบั การจดั กิจกรรมและกจิ วตั ร กจิ กรรม ประจาวันของเด็กพอเพียงเฉลยี่ ๑.๕-๒.๐ ตร.ม./คน  ๒. มพี ้ืนทเ่ี ตรยี มอาหาร/ครวั วิธีการขนส่งอาหาร และมี บรเิ วณทจ่ี ัดให้เด็กรับประทานอาหารทส่ี ะอาด ถูก สุขลักษณะ  ๓. มพี น้ื ทส่ี าหรบั นอนหลับ เนน้ ความสะอาด ปลอดโปร่ง และอากาศถ่ายเทไดด้ ี  ๔. มีพน้ื สาหรับเลน่ และทากิจกรรมการเรียนรทู้ ี่เพยี งพอ รา่ ง โโปปรรดดออยย่าา่ คคัดดั ลล และเหมาะสม  ๕. มพี น้ื ทีห่ รือบรเิ วณสาหรบั การทาความสะอาด ช่องปาก แปรงฟัน ล้างมือ ลา้ งหน้าของเด็ก ฯลฯ  ๖. มีพื้นที่สาหรบั แยกเด็กป่วย ๑.๔.๔ จดั ให้มพี ื้นท/่ี มุมประสบการณ์ และแหล่งเรียนรใู้ นห้องเรยี น ไมม่ ีการจดั และนอกห้องเรยี น พืน้ ท/่ี มุมตาม  ๑. มพี ืน้ ท/่ี มมุ ประสบการณ์ และแหล่งเรยี นรู้ทมี่ ีอปุ กรณ์ รายการ และครภุ ัณฑ์อยา่ งเหมาะสมในห้องเรยี น พจิ ารณา  ๒. มพี นื้ ที่/มมุ ประสบการณ์ และแหลง่ เรยี นรู้ที่มีอุปกรณ์และ ครุภณั ฑ์นอกห้องเรยี นอยา่ งเหมาะสม |๒

เกณฑ์การพจิ ารณา ขอ้ มูลประกอบ การพิจารณา ๑๒๓ - มพี ื้นทใี่ ช้สอยตามท่ี รุง ผ่านเกณฑ์ขน้ั ตน้ ดี ดีมาก กาหนดในมาตรฐาน ความปลอดภัยสถาน สอย ดาเนินการได้ ดาเนนิ การได้ ดาเนินการได้ พฒั นาเด็กปฐมวัยดา้ น อาคารและสง่ิ แวดล้อม ตาม ตามรายการ ตามรายการ ตามรายการ - แผนผงั พื้นทแี่ ละการใช้ ของสถานพฒั นาเด็ก พจิ ารณา ดังนี้ พจิ ารณา ดงั นี้ พิจารณาครบ ปฐมวัย ขอ้ ๑, ๒, ๓ ข้อ ๑, ๒, ๓, ๔ ทกุ ข้อ และ ๔ และ ๕ ลลออกกหหรรอื อื เเผผยยแแพพรร่ ่ ดาเนินการได้ ดาเนินการได้ ดาเนินการได้ - มีการจัดมุมเสรมิ ทักษะ/ ม ตามรายการ ตามรายการ ตามรายการ มมุ เสริมประสบการณ์ พจิ ารณา ตาม พิจารณา ตาม พิจารณาครบ - ข้อมูลการประเมนิ ขอ้ ๑ และ ๒ ขอ้ ๑, ๒ และ ทกุ ข้อ - ภาพหรอื วีดโิ อท่ีแสดงถึง ๓ กิจกรรมที่ทาในมุมตา่ งๆ ๙|

ข้อ รายการพิจารณา ๐ ตอ้ งปรบั ปร  ๓. เกบ็ ข้อมลู /ประเมินการใช้พื้นที/่ มุมประสบการณ์ และ แหลง่ เรียนรู้ของเด็ก  ๔. นาผลจากการประเมินไปปรบั เปลี่ยน ซอ่ มแซมให้ พร้อมใชง้ านอยูเ่ สมอ ๑.๔.๕ จัดบริเวณหอ้ งนา้ หอ้ งสว้ ม ท่ีแปรงฟัน/ล้างมอื ใหเ้ พียงพอ ไม่มีการ สะอาด ปลอดภัย และเหมาะสมกบั การใช้งานของเดก็ ดาเนินการได  ๑. แยกห้องน้า ห้องส้วม บริเวณแปรงฟัน/ที่ลา้ งมอื อย่างเป็น ตามรายการ สัดสว่ น และสะอาด ไมม่ นี า้ ขงั และไม่ล่ืน พจิ ารณา  ๒. มีการทาความสะอาดอย่างน้อยวนั ละ ๒ คร้ัง  ๓. มรี ะบบดแู ลความสะอาดรวมทั้งมเี จ้าหน้าท่ี ร่าง โโปปรรดดออยย่า่าคคัดัดลล รบั ผิดชอบโดยตรง ๑.๔.๖ จดั การระบบสขุ าภบิ าลที่มปี ระสิทธภิ าพ ครอบคลมุ สถานที่ ไมม่ ีการจัดกา ปรงุ ประกอบอาหาร นา้ ด่ืมน้าใช้ กาจดั ขยะ สิง่ ปฏิกูล และ ระบบสขุ าภบิ พาหะนาโรค ที่ถูกสุขลักษณ  ๑. สถานท่ีประกอบอาหาร/ท่ีเตรียมอาหารต้องมอี ่างลา้ ง ภาชนะและอปุ กรณ์ท่ีถูกหลักสุขาภบิ าลอาหาร  ๒. มนี า้ ดืม่ นา้ ใชท้ ี่สะอาด  ๓. มีการจดั การขยะ สง่ิ ปฏกิ ูลอยา่ งถูกสุขลกั ษณะทง้ั ภายในและภายนอกอาคาร  ๔. มมี าตรการป้องกันแมลงและสตั ว์ทีเ่ ปน็ พาหะนาโรค |๓

เกณฑก์ ารพจิ ารณา ๓ ขอ้ มูลประกอบ ดีมาก การพิจารณา ๑๒ รงุ ผา่ นเกณฑ์ข้ันตน้ ดี ดาเนินการได้ ดาเนนิ การได้ ดาเนินการได้ - มกี ารเยย่ี มชมและสงั เกต ด้ ตามรายการ ตามรายการ ตามรายการ - มภี าพถ่าย พิจารณาข้อ ๑ พิจารณาขอ้ ๑ พจิ ารณาครบ และ ๒ ทุกข้อ ลลออกกหหรรือือเเผผยยแแพพรร่ ่ าร ดาเนินการได้ ดาเนนิ การได้ ดาเนินการได้ - มกี ารเย่ยี มชมและสงั เกต บาล ตามรายการ ตามรายการ ตามรายการ - มีภาพถ่าย ณะ พจิ ารณาตามข้อ พิจารณา ตาม พจิ ารณาครบ ขอ้ ๑, ๒ ทกุ ข้อ ๑ และ ๒ และ ๓ ๐|

ข้อ รายการพจิ ารณา ๐ ตอ้ งปรับปร ๑.๔.๗ จัดอปุ กรณภ์ าชนะและเครอื่ งใชส้ ว่ นตัวใหเ้ พยี งพอกับการใช้ ไมม่ ตี ามรายก งานของเด็กทกุ คน และดูแลความสะอาดและปลอดภัยอย่าง พจิ ารณา สม่าเสมอ  ๑. มอี ุปกรณ์ภาชนะและเคร่ืองใชส้ ว่ นตวั สาหรบั เดก็ รา่ ง โโปปรรดดออยยา่ า่ คคัดดั ลล ทกุ คน  ๒. จดั เก็บอย่างเหมาะสมและเปน็ ระเบยี บ  ๓. อุปกรณม์ มี าตรฐาน สะอาด เพียงพอกับการใช้งาน  ๔. มีการตรวจสอบอปุ กรณเ์ ป็นระยะและจดั ให้อยู่ใน สภาพพรอ้ มใช้งาน |๓

เกณฑ์การพิจารณา ขอ้ มูลประกอบ การพจิ ารณา ๑๒๓ - มีการเยย่ี มชมและสงั เกต รงุ ผ่านเกณฑ์ขน้ั ต้น ดี ดีมาก - มภี าพถา่ ย การ ดาเนนิ การได้ ดาเนนิ การได้ ดาเนินการได้ ตามรายการ ตามรายการ ตามรายการ พจิ ารณา ข้อ ๑ พจิ ารณา ข้อ ๑, พจิ ารณาครบ และ ๒ ๒ และ ๓ ทุกข้อ ลลออกกหหรรืออื เเผผยยแแพพรร่ ่ ๑|

ตวั บง่ ช้ที ี่ ๑.๕ การสง่ เสริมการมสี ่วนรว่ มของครอบครัวและชมุ ชน ข้อ รายการพิจารณา ๐ ต้องปรบั ปรุง ๑.๕.๑ มีการสื่อสารเพ่อื สรา้ งความสัมพนั ธ์และความเขา้ ใจอันดี ไม่มีตามรายการ ระหว่างพ่อแม/่ ผ้ปู กครอง กบั สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย พิจารณา เกยี่ วกบั ตัวเด็กและการดาเนินงานของสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ร่าง โโปปรรดดออยย่า่าคคัดดั ลล ดาเนินการไดต้ ามรายการพจิ ารณา ดังน้ี  ๑. มกี ารแลกเปลีย่ นเรียนรูอ้ ย่างตอ่ เนือ่ ง  ๒. มพี ื้นทห่ี รอื ช่องทางประชาสมั พันธ์  ๓. มีการประเมนิ กจิ กรรมเพ่อื พัฒนา  ๔. มีการสรา้ งเครอื ข่ายพอ่ แม/่ ผู้ปกครอง/ครอบครวั ๑.๕.๒ การจดั กจิ กรรมท่ีพอ่ แม่/ผู้ปกครอง/ครอบครัว และชุมชน ไม่มีตามรายการ มสี ว่ นรว่ ม ตามรายการพิจารณา ดงั นี้ พจิ ารณา  ๑. มีการจดั ประชุมผปู้ กครองอย่างน้อยปลี ะ ๒ คร้งั  ๒. มีการจัดกิจกรรมทีพ่ ่อแม่ ผปู้ กครอง ครอบครวั และชุมชนมสี ว่ นร่วมในโอกาสสาคัญต่างๆ ตาม ประเพณี ศาสนา และวฒั นธรรมของชุมชน |๓


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook