Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-Book_SADET_09

E-Book_SADET_09

Published by LibrarySpt, 2021-09-13 06:18:01

Description: E-Book_SADET_09

Search

Read the Text Version

ในหนงั สือ ประวตั ิต้นรชั กาลที่ ๖ พระราชนพิ นธ์พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยหู่ ัว ทรงกล่าวว่า สมเด็จฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ทรงแสดงความเห็นในเรื่องน้ี และสมเด็จกรม พระยาเทวะวงศว์ โรปการ ทรงเสนอเพ่ิมเตมิ ว่าใหร้ ชั กาลที่ ๖ เสดจ็ ออกเพือ่ ให้ประชาชนเขา้ เฝ้าใน โอกาสน้ีด้วย จากนั้นจึงใหเ้ จา้ พระยายมราชออกประกาศแจ้งแก่ประชาชนให้รับทราบโดยทั่วกนั หนังสือ ราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๒๗ วันท่ี ๖ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๙ (พ.ศ. ๒๔๕๓) ระบุ ประกาศเจา้ พระยายมราช เกย่ี วกบั ระเบียบการเขา้ ถวายบงั คมพระบรมศพ ดงั ความตอนหน่ึงว่า ถ้าราษฎรทั้งหลายไม่เลือกว่าช้ันใดชาติใดภาษาใด ชายหรือหญิงแม้มี ความประสงคจ์ ะมาแสดงความจงรกั ภกั ดตี อ่ ใตฝ้ า่ ละอองธลุ พี ระบาทกราบถวายบงั คม พระบรมศพ ณ พระท่นี ่งั ดุสิตมหาปราสาทก็ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ใหเ้ ข้ามาได้ เดือนละสองครัง้ ตามก�ำหนดวนั เวลา ดังนค้ี อื บรรดาราษฎรทั้งหลายทีจ่ ะเข้ามาถวาย บังคมพระบรมศพ ควรมาวันท่ี ๑ เดือนพฤศจิกายน ตรงกับ วันอังคาร เดือน ๑๑ แรม ๑๔ ค่�ำวนั หนง่ึ แลวนั ที่ ๑๕ พฤศจกิ ายน ตรงกับวนั อังคารเดือน ๑๒ ข้นึ ๑๔ คำ่� วนั หนง่ึ ตั้งแตเ่ วลา ๓ โมงเช้า จนถึงเวลาบา่ ยห้าโมง สว่ นเดอื นธนั วาคมแลเดอื นตอ่ ๆ ไป ก็คงมีก�ำหนดวันท่ี ๑ แลวันที่ ๑๕ เวลาเดียวกัน จนกว่าจะได้ถวายพระเพลิง ส่วนชาวต่างประเทศหรือประชาชนท่ีมีพวกคณะมากๆ มีความประสงค์จะมา ถวายบงั คมพระบรมศพในวนั ใดวนั หนงึ่ นอกจากวนั ทไ่ี ดก้ ำ� หนดสำ� หรบั ราษฎรทว่ั ไป แล้ว ก็พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้มาได้ แต่ให้มานัดหมายกับกระทรวง นครบาลเสยี กอ่ น อนึ่ง ผู้ท่ีจะมาถวายบังคมพระบรมศพนั้นควรแต่งตัวให้เรียบร้อยอย่าง ธรรมเนยี มไว้ทกุ ข์ คือ ผู้ชายนุ่งขาว สวมเสอื้ ขาว ผ้หู ญิงนุ่งขาวสวมเส้อื ขาวห่มขาว ถา้ เปน็ ชาตทิ ม่ี ธี รรมเนยี มไวท้ กุ ขด์ ำ� กแ็ ตง่ ตามลทั ธแิ หง่ ตนๆ แลถา้ จะมดี อกไมธ้ ปู เทยี น หรือพวงมาลัยมากระท�ำสักการบูชาด้วยก็ย่ิงดี จะมีเจ้าพนักงานคอยเป็นธุระจัดการ ให้ผู้ที่มานัน้ ได้กราบถวายบังคมพระบรมศพตามความปรารถนา ประกาศมา ณ วันที่ ๒๘ เดอื น ตลุ าคม ร.ศ. ๑๒๙ (ราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๒๗ ๒๔๕๓: ๑๘๔๑-๑๘๔๓) สว่ นเรอ่ื งทร่ี ชั กาลท่ี ๖ จะเสดจ็ ออกใหเ้ ฝา้ ในวนั ที่ ๑ และ ๑๕ นน้ั ในตอนทา้ ยของราชกจิ จา นุเบกษาฉบบั เดียวกนั ไมร่ ะบุเวลาชัดเจนกลา่ วแต่เพยี งวา่ “สดุ แตจ่ ะทรงมีพระเวลา” เบอ้ื งหลงั ประกาศดงั กลา่ วน้ี รชั กาลที่ ๖ ทรงพระราชนพิ นธไ์ วว้ า่ สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดำ� รง ราชานุภาพ ทรงให้เหตุผลว่า “แต่ก่อนมาราษฎรมิได้มีโอกาสเข้าใกล้พระองค์พระเจ้าแผ่นดิน. เพราะ ฉะนน้ั ความกลวั จงึ่ มมี ากกวา่ ความรกั . ทไ่ี มใ่ หร้ าษฎรเขา้ ใกลน้ นั้ กเ็ กดิ แตค่ วามไมไ่ วใ้ จ. ซ่ึงบังเกิดขึ้นเพราะเป็นการแบ่งอ�ำนาจกระจายไปไว้ในมือคนหลายคน, กล่าวคือ การให้เจ้านายและขุนนางควบคุมเลขเปนหมู่เปนกองนั้นเอง. ครั้นต่อมาพระบาท 100 เสด็จสูแ่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

สมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงก็ทรงแก้ไขประเพณีอันให้ผลร้ายอันนี้แล้ว. และทรง ๓ พระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้ราษฎรไดม้ ีโอกาสแลเห็นพระองคแ์ ลเฝ้าใกลๆ้ ได้, ราษฎร จึ่งมาเกิดรู้สึกรักใคร่, ซ่ึงมิได้เคยรู้สึกต่อพระเจ้าแผ่นดินช้านานมาแล้ว. เม่ือเสด็จ สวรรคตลงราษฎรจ่ึงมีความโศกเศร้าจริงๆ ทั่วถึงกัน...” และตอนท้ายรัชกาลท่ี ๖ ทรงชมว่า “นี่แหละจะไม่ให้ชมว่าท่านฉลาดหรือ” (พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจา้ อยหู่ ัว ๒๕๕๕: ๗๕-๗๖) นอกจากนี้ได้มีข้าราชการและพ่อค้ามาจัดน้�ำด่ืม และยาบริการประชาชนที่มากราบถวาย บงั คมพระศพ คอื พระสนุ ทรพมิ ล (เผล่ วสวุ ตั ) (ภายหลังได้เลื่อนบรรดาศกั ด์ิเป็นพระยา) รบั เลย้ี ง นำ้� ชาหวานเยน็ และไอศกรมี พระยาพศิ ณปุ ระสาทเวช พระพนิ จิ โภคากร หลวงราชนธิ พิ์ มิ ล รบั เลยี้ ง ยาหอมยาลมต่างๆ จีนกิมบุตรพระยาพิศาลบุตร (ชื่น) รับเล้ียงน�้ำชาน�้ำเย็น (ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๒๗, ๒๔๕๓: ๑๘๔๔) ตลอดจนยานพาหนะคือ หลวงด�ำรงธรรมสาร (มี ธรรมาชีวะ) ซ่งึ ท�ำธุรกจิ ให้เช่ารถยนต์ ได้จัดรถยนต์ ๔ คัน รับส่งราษฎรระหว่างพระบรมมหาราชวัง และนายบุญรอด (ภายหลงั รบั พระราชทานบรรดาศกั ดเิ์ ปน็ พระยาภริ มยภ์ กั ด)ี ซงึ่ ในเวลานน้ั ทำ� ธรุ กจิ เรอื ยนตโ์ ดยสาร จัดเรือรับ-ส่งประชาชนจากตลาดพลูถึงท่าราชวรดิษฐ์โดยไม่คิดค่าโดยสาร (ราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๒๗, ๒๔๕๓: ๑๙๗๐) ธรรมเนียมการสรงน�้ำพระบรมศพพระมหากษัตริย์ของไทยต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบันได้มี สบื ทอดขนบธรรมเนยี มทมี่ มี าของราชสำ� นกั ตง้ั แตค่ รงั้ กรงุ ศรอี ยธุ ยา อกี ทง้ั ยงั คงมรี อ่ งรอยวฒั นธรรม ที่พัฒนาจากยุคก่อนประวัติศาสตร์หลงเหลืออยู่ดังเช่นการประโคมมโหระทึกเฉพาะพระบรมศพ พระมหากษัตรยิ ์ หรือการลงพระโกศ ในขณะเดียวกนั กม็ กี ารเปลีย่ นแปลงตามสภาพสงั คมทส่ี ำ� คัญ คอื การทท่ี างราชสำ� นกั ไดอ้ นญุ าตใหป้ ระชาชนสามารถเขา้ สรงนำ�้ พระบรมศพหรอื การเขา้ เฝา้ ถวาย บงั คมพระบรมศพบนพระทนี่ งั่ ดสุ ติ มหาปราสาทได้ สง่ิ นแ้ี สดงใหเ้ หน็ ถงึ ความใกลช้ ดิ ระหวา่ งสถาบนั พระมหากษัตริย์กับประชาชน สมดังบทพระราชนิพนธ์เรื่องลิลิตนิทราชาคริต ความตอนหน่ึงว่า “ทวยราษฎรร์ ักบาทแม้ ยงิ่ ด้วยบติ ุรงค์” 101เสด็จสูแ่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

รายการอ้างองิ กรมศิลปากร, กองจดหมายเหตุแห่งชาติ. ๒๕๒๙. จดหมายเหตุงานพระบรมศพสมเด็จพระนางเจ้า รำ� ไพพรรณี พระบรมราชนิ ี ในรชั กาลที่ ๗. เลม่ ๑. กรงุ เทพฯ: กรมศิลปากร. กรมศิลปากร, ส�ำนักจดหมายเหตุแห่งชาติ. ๒๕๕๕. จดหมายเหตุงานพระศพ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี. เล่ม ๑. กรุงเทพฯ: ส�ำนักหอจดหมายเหตุ แหง่ ชาติ กรมศลิ ปากร. คณะกรรมการเฉลมิ พระเกยี รติ ๒๐๐ ปี พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ วั . ๒๕๓๐. จดหมายเหตรุ ชั กาล ที่ ๓. เลม่ ๑. กรงุ เทพฯ: หอสมุดแห่งชาต.ิ คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจจัดท�ำเพลงส�ำคัญของแผ่นดินในคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ. ๒๕๔๗. คูม่ ือเพลงส�ำคญั ของแผน่ ดิน. กรุงเทพฯ: ส�ำนกั งานสร้างเสรมิ เอกลักษณข์ องชาติ. จนั ทร์ ไพจิตร. ม.ป.ป. ประมวลพธิ มี งคลของไทย ฉบับสมบูรณ.์ กรงุ เทพฯ: เลย่ี งเซยี งจงเจริญ. เจนจิรา เบญจพงศ์. ๒๕๕๕. ดนตรีอษุ าคเนย.์ นครปฐม: วทิ ยาลัยดุรยิ างคศลิ ป์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล. ชัยนิมติ นวรตั น, ม.ล. ๒๕๕๘. ประวัตศิ าสตรม์ ชี วี ิต ๑: ศพในโกศ เรอ่ื งทัง้ หลายท่คี นอยากรู.้ กรงุ เทพฯ: อักษรโสภณ. ด�ำรงราชานภุ าพ, สมเด็จฯ กรมพระยา. ๒๕๔๙. คนดที ่ีข้าพเจา้ รูจ้ ัก. ๔ เล่ม. พมิ พค์ รัง้ ที่ ๒. กรุงเทพฯ: รวมสาสน์ . ด�ำรงราชานุภาพ, สมเดจ็ ฯ กรมพระยา. ๒๕๔๒. “จดหมายเหตุเมือ่ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยู่หวั สวรรคต.” ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภเิ ษก. เลม่ ๔, ๓๙๑-๔๑๒. กรุงเทพฯ: ส�ำนัก วรรณกรรมและประวตั ิศาสตร์ กรมศิลปากร. เดลินิวส์. ๒๕๕๙. “พระบรมศพ,” เดลินิวส์ (๑๕ ตุลาคม), น. ๘. ทิพากรวงศ์มหาโกษาธิบดี (ข�ำ บุนนาค), เจ้าพระยา. ๒๕๒๖. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รชั กาลท่ี ๑. พมิ พ์ครง้ั ท่ี ๕. กรงุ เทพฯ: องคก์ ารคา้ ของครุ สุ ภา. ทิพากรวงศ์มหาโกษาธิบดี (ข�ำ บุนนาค), เจ้าพระยา. ๒๕๔๘. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รชั กาลท่ี ๒ ฉบบั เจา้ พระยาทพิ ากรวงศ์ ฉบบั ตวั เขยี น. หนงั สอื ชดุ ประชมุ พงศาวดารฉบบั ราษฎร.์ ช�ำระตน้ ฉบับโดย นฤมล ธีรวฒั น.์ นธิ ิ เอยี วศรวี งศ,์ บรรณาธิการ. กรงุ เทพฯ: อมรินทร.์ ทิพากรวงศ์มหาโกษาธิบดี (ข�ำ บุนนาค), เจ้าพระยา. ๒๕๔๗. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รชั กาลท่ี ๓. พิมพ์ครัง้ ที่ ๗. กรุงเทพฯ: สำ� นกั วรรณกรรมและประวตั ศิ าสตร์ กรมศลิ ปากร. ทิพากรวงศ์มหาโกษาธิบดี (ข�ำ บุนนาค), เจ้าพระยา. ๒๕๔๗. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลท่ี ๔ ฉบับเจ้าพระยาทิพากรวงศฯ์ (ขำ� บนุ นาค). พิมพค์ รั้งท่ี ๖. กรงุ เทพฯ: ตน้ ฉบับ. ธรรมปรีชา (แก้ว), พระยา. ๒๕๓๕. วรรณกรรมสมัยรัตนโกสินทร์. เล่ม ๒. ไตรภูมิโลกวินิจฉยกถา. กรุงเทพฯ: กรมศลิ ปากร. นนทพร อยมู่ งั่ ม.ี ๒๕๕๙. ธรรมเนยี มพระบรมศพและพระศพเจา้ นาย. พมิ พค์ รงั้ ที่ ๒. กรงุ เทพฯ: มตชิ น. นริศรานุวัดติวงศ์, สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยา และพระยาอนุมานราชธน. ๒๕๓๘. บันทึกความรู้ต่างๆ. เล่ม ๓. หนังสืองานนิพนธ์ชุดสมบูรณ์ของศาสตราจารย์พระยาอนุมานราชธน หมวด เบ็ดเตลด็ -ความร้ทู ว่ั ไป. เล่ม ๙. กรงุ เทพฯ: องค์การค้าของคุรสุ ภา. บุรุษรตั นราชพลั ลภ, พระยา. ๒๕๕๓. บุรุษรัตน. กรุงเทพฯ: สามลดาการพมิ พ์. 102 เสด็จส่แู ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

ประชุมค�ำใหก้ ารกรงุ ศรีอยธุ ยารวม ๓ เร่ือง. ๒๕๕๓. กรงุ เทพฯ: แสงดาว. ๓ ประยทุ ธ สทิ ธิพันธ์. พระมหาธรี ราชเจ้า. ๒๕๑๕. นครหลวงกรงุ เทพธนบรุ :ี สยาม. ปองทิพย์ หนูหอม. ๒๕๔๐. “การท�ำศพของชาวไทยมุสลิม.” ใน ชีวิตไทยชุดสมบัติตายาย, ๘๕-๘๗. สุจริต บัวพิมพ์, บรรณาธิการ. พิมพ์คร้ังที่ ๓. กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรม แห่งชาติ กระทรวงศกึ ษาธิการ. ฝ่ายประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ส�ำนักพระราชวัง. ๒๕๔๗. รวมเร่ืองและข้อปฏิบัติเกี่ยวกับราชส�ำนัก. พิมพ์ครั้งที่ ๑๔. กรงุ เทพฯ: ส�ำนักพระราชวัง. พระโพธวิ งศาจารย์ (ตสิ โฺ ส อว้ น). ๒๕๑๕. “ภาคที่ ๑๘ ประวตั ชิ นชาตภิ ไู ทย.” ใน ลทั ธธิ รรมเนยี มตา่ งๆ. เล่ม ๒. นครหลวงกรงุ เทพธนบุรี: คลงั วิทยา. พระราชพงศาวดารกรงุ ศรอี ยธุ ยาฉบบั พนั จนั ทนมุ าศ (เจมิ ). ๒๕๔๒. ใน ประชมุ พงศาวดารฉบบั กาญจนา ภเิ ษก. เลม่ ๓, ๒๐๓-๕๒๙. กรงุ เทพฯ: สำ� นกั วรรณกรรมและประวตั ศิ าสตร์ กรมศลิ ปากร. พชิ ญา สมุ่ จนิ ดา. ๒๕๕๙. “พระชฎาหา้ ยอดในพระบรมโกศ.” ศลิ ปวฒั นธรรม ปที ี่ ๓๘, เลม่ ท่ี ๖ (พฤศจกิ ายน), น. ๑๓๐-๑๓๙. พนู พศิ มยั ดศิ กลุ , ม.จ. ๒๕๑๘. สารคดที ี่น่ารู.้ กรุงเทพฯ: คลงั วิทยา. พูนพิศมัย ดิศกุล, ม.จ. ๒๕๕๑. ส่ิงท่ีข้าพเจ้าพบเห็น ประวัติศาสตร์เปล่ียนแปลงการปกครอง ๒๔๗๕. พิมพค์ รั้งที่ ๖. กรงุ เทพฯ: มติชน. ภิรมย์ภกั ด,ี พระยา. ๒๕๓๘. ประวตั พิ ระยาภริ มย์ภักด.ี บรรณกจิ . มงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั , พระบาทสมเดจ็ พระ [ราม วชริ าวธุ ]. ๒๕๕๕. ประวตั ติ น้ รชั กาลท่ี ๖. พมิ พค์ รงั้ ที่ ๕. กรงุ เทพฯ: มติชน. ราชกจิ จานุเบกษา. ๒๔๕๓. “ประกาศกระทรวงนครบาล,” เลม่ ๒๗, (๖ พฤศจิกายน): น. ๑๘๔๑-๑๘๔๒. ราชกจิ จานเุ บกษา. ๒๔๕๓. “แจง้ ความกระทรวงนครบาล,” เล่ม ๒๗, (๖ พฤศจิกายน): น. ๑๘๔๔. ราชกจิ จานุเบกษา. ๒๔๕๓. “แจ้งความกระทรวงนครบาล,” เลม่ ๒๗, (๒๐ พฤศจกิ ายน): น. ๑๙๗๐. ราชบัณฑิตยสถาน. ๒๕๕๖. พจนานุกรมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔. พิมพ์คร้งั ท่ี ๒. กรุงเทพฯ: นานมบี ุค๊ สพ์ ับลเิ คชัน่ ส์. ราชบณั ฑติ ยสถาน. ๒๕๑๖. พจนานุกรมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๙๓. พมิ พค์ รงั้ ที่ ๑๓. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา. ลา ลูแบร์. ๒๕๔๘. จดหมายเหตลุ า ลูแบร์ ราชอาณาจกั รสยาม. แปลโดย สันต์ ท. โกมลบุตร. พมิ พ์ครงั้ ท่ี ๒. กรงุ เทพฯ: ศรีปัญญา. โลเนย์, อาเดรียง. ๒๕๔๒. สยามและคณะมิชชันนารีฝร่ังเศส. แปลจาก Siam et les Missionnaries Franças. แปลโดย ประทุมรัตน์ วงศ์ดนตรี. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ: กองวรรณกรรมและ ประวตั ศิ าสตร์ กรมศลิ ปากร. วจิ ิตรมาตรา, ขุน [กาญจนาคพนั ธุ์]. ๒๕๔๒. ภมู ิศาสตร์สนุ ทรภู่. กรุงเทพฯ: ต้นอ้อ ๑๙๙๙. ศิลปชยั ชาญเฉลมิ [นายหนหวย]. ๒๕๓๐. เจ้าฟ้าประชาธิปก ราชนั ผู้นริ าศ. พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๓. กรงุ เทพฯ: ป.สมั พนั ธพ์ าณิชย.์ ส.ร. [นามแฝง]. , ๒๕๐๓. จาริกอนิ เดีย. พระนคร: สภาการศกึ ษามหามกุฎราชวิทยาลัย. สงวน โชติสุขรัตน์. ๒๕๕๓. ประเพณีไทยภาคเหนือ. พมิ พค์ ร้ังที่ ๓. นนทบรุ ี: ศรปี ัญญา. สมภพ ภิรมย์. ๒๕๓๙. พระเมรุมาศ พระเมรุ และเมรุ สมยั กรุงรัตนโกสินทร์. พิมพ์คร้ังที่ ๓. กรุงเทพฯ: อมรินทรพ์ ร้นิ ต้ิงแอนดพ์ บั ลชิ ชิ่ง. 103เสด็จสู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

สมธิ , มลั คอลม์ . ๒๕๔๖. หมอฝรง่ั ในวงั สยาม. แปลจาก A Physician at the Court of Siam. แปลโดย พิมาน แจม่ จรัส. พมิ พค์ รั้งที่ ๓. กรงุ เทพฯ: รวมทรรศน.์ สรรใจ แสงวิเชียร และวิมลพรรณ ปีตธวัชชัย. ๒๕๑๗. กรณีสวรรคต ๙ มิถุนายน ๒๔๘๙. กรุงเทพฯ: กรงุ สยามการพมิ พ.์ สืบพงศ์ ธรรมชาติ. ๒๕๔๐. “การตาย.” ใน ชีวิตไทยชุดสมบัติตายาย, น. ๕๓-๖๐. สุจริต บัวพิมพ์, บรรณาธิการ. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ. สุจิตต์ วงษ์เทศ. ๒๕๕๑. พระเมรุ ท�ำไม? มาจากไหน? พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ: กองทุนเผยแพร่ ความรู้สสู่ าธารณะ. สจุ ิตต์ วงษ์เทศ. ๒๕๕๑. รอ้ งรำ� ทำ� เพลง. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรงุ เทพฯ: กองทุนเผยแพร่ความร้สู ู่สาธารณะ. สมุ นชาติ สวสั ดกิ ุล, ม.ร.ว. ๒๕๔๗. “ในพระโกศ,” ใน พระอฐั มรามาธบิ ดินทร์. น. ๑๖๖-๑๗๕. กรุงเทพฯ: ส�ำนักวรรณกรรมและประวตั ศิ าสตร์ กรมศิลปากร. สลุ กั ษณ์ ศวิ รกั ษ์ [ส. ศวิ รกั ษ]์ . ๒๕๕๕. สมั ภาษณ์ ม.จ.จงจติ รถนอม ดศิ กลุ . พมิ พค์ รง้ั ที่ ๒. กรงุ เทพฯ: ศยาม. หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. ๒๕๓๙. จดหมายเหตุงานพระบรมศพ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เล่ม ๑. กรุงเทพฯ: หอจดหมายเหตุแห่งชาติ, ๒๕๓๙. อนมุ านราชธน, พระยา [เสฐยี รโกเศศ]. ๒๕๓๐. “คงคา.” สารานกุ รมไทยฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน ๔, น. ๒๓๗๙-๒๓๘๗. อนุมานราชธน, พระยา [เสฐียรโกเศศ]. ๒๕๓๙. ประเพณีเน่ืองในการตาย. หนังสือชุดประเพณีไทย ของเสฐียรโกเศศ. พมิ พ์ครงั้ ที่ ๓. กรงุ เทพฯ: ศยาม. อมรดรุณารักษ์, จม่ืน. ๒๕๑๔. พระราชประเพณี ตอน ๑. หนังสือชุดพระราชกรณียกิจในพระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจา้ อย่หู ัว. เล่ม ๙. พระนคร: องค์การค้าของครุ สุ ภา. อมรดรุณารักษ์, จม่ืน. ๒๕๑๔. พระราชประเพณี ตอน ๓. หนังสือชุดพระราชกรณียกิจในพระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว. เล่ม ๙. พระนคร: องค์การค้าของคุรุสภา. อมรดรุณารักษ์ (อทุ มุ พร สนุ ทรเวช). ๒๕๒๖. วงั หลวง. กรงุ เทพฯ: องค์การค้าของครุ สุ ภา. 104 เสด็จสูแ่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

ศิลปะและคติความเช่ือ ๔ ในเครื่องประกอบพระราชพธิ ีพระบรมศพ อาจารย์ ธนกฤต ลออสวุ รรณ ภาควิชาประวัตศิ าสตร์ คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั รามคำ�แหง การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ นอกจาก จะน�ำมาซึ่งความวิปโยคโศกเศร้าของเหล่าพสกนิกรชาวไทยทุกหมู่เหล่าแล้ว ยังเป็นเหตุให้ต้อง มีการจัดงานพระราชพิธีคร้ังใหญ่ส�ำหรับพระบรมศพ โดยถวายพระเกียรติสูงสุดตามโบราณราช ประเพณี ซึ่งในพระราชพิธีครั้งน้ีมีองค์ประกอบส�ำคัญหลายอย่าง ท้ังสิ่งท่ีคล้ายคลึงกับท่ีเคยมีมา ในงานพระศพพระบรมวงศานวุ งศช์ น้ั สงู ทเ่ี คยจดั มาแลว้ ในทศวรรษทผี่ า่ นมา และสง่ิ ทแ่ี ตกตา่ งออกไป ด้วยเหตผุ ลหลายประการ ดงั นน้ั ในบทความนจ้ี ะกลา่ วอธบิ ายถงึ เครอ่ื งประกอบตา่ งๆ ในพระราชพธิ บี ำ� เพญ็ พระราช กุศลพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โดยเน้นท่ีตัววัตถุ การจัดวาง ตง้ั แตง่ ความหมายความสำ� คัญของสิ่งเหล่าน้นั ท้งั น้จี ะกลา่ วถงึ เฉพาะสง่ิ ท่ีปรากฏในมณฑลพธิ ีบน พระท่ีน่ังดุสิตมหาปราสาท อันเป็นท่ีประดิษฐานพระบรมศพ ตามข้อมูลที่ปรากฏในห้วงระยะเวลา ๑๐๐ วนั หลงั การสวรรคต ซง่ึ เป็นชว่ งท่ีมพี ระราชพธิ บี �ำเพญ็ พระราชกุศล มณฑลพธิ ที ีป่ ระดษิ ฐานพระบรมศพในพระทน่ี ั่งดสุ ติ มหาปราสาท พระบรมศพขององค์พระมหากษตั ริย์จะต้องประดิษฐานบน “พระมหาปราสาท” เสมอ ซง่ึ พระมหาปราสาทดงั กลา่ วกค็ อื “พระทนี่ ง่ั ดสุ ติ มหาปราสาท” ทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลก มหาราช โปรดใหถ้ า่ ยแบบจากพระทน่ี งั่ สรุ ยิ าสนอ์ มรนิ ทรท์ ก่ี รงุ ศรอี ยธุ ยา มาสรา้ งขนึ้ เมอ่ื พ.ศ.๒๓๓๒ (พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั ๒๔๕๕: ๑๒๓, ๑๙๕) การตงั้ แตง่ ภายในพระทน่ี ง่ั สำ� หรบั การพระราชพธิ พี ระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ในครง้ั นี้ มแี บบแผนคลา้ ยคลงึ กบั ทไี่ ดเ้ คยกระทำ� มาแลว้ สำ� หรบั งานพระบรมศพ ก่อนหนา้ นี้ แบ่งการจัดวางเครือ่ งประกอบพระราชพิธพี ระบรมศพ ตามพื้นท่อี อกเป็น ๔ มุข ดังนี้ 105เสด็จสูแ่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

A = พระแทน่ สวุ รรณเบญจดลทป่ี ระดษิ ฐานบนพระโกศทองใหญ่ B = หีบพระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช C = ม้าหมู่ทอดเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ์ พระคทาจอมพล เหรยี ญราชอิสรยิ าภรณ์ D = มา้ หมู่ทอดเครื่องเบญจราชกกุธภัณฑ์และเคร่ืองบรมราชอิสรยิ ยศราชปู โภค E = พระบรมฉายาลักษณพ์ ระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช F = พระแท่นราชบัลลังกป์ ระดบั มุก ท่ปี ระดษิ ฐานพระพุทธรูปประจำ� พระชนมวาร G = พระแทน่ ราชบรรจถรณป์ ระดับมุก H = อาสน์สงฆ์ I = ธรรมาสน์ J = แทน่ พระพิธีธรรม K = พระราชอาสนส์ �ำหรบั สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั L = พระราชอาสนแ์ ละพระเกา้ อ้สี �ำหรับพระบรมวงศฝ์ า่ ยใน ชนั้ เจา้ ฟ้าและพระองคเ์ จา้ M = เก้าอ้สี �ำหรบั พระอนุวงศ์ทง้ั ฝา่ ยหน้าและฝา่ ยใน ช้ันหมอ่ มเจ้าลงมา N = เกา้ อ้สี �ำหรบั ราชองครกั ษ์และข้าราชบริพารในพระองค์ O = เกา้ อ้สี ำ� หรับองคมนตรี คณะรฐั มนตรี และข้าราชการผมู้ ีต�ำแหน่งเฝ้า 106 เสด็จสแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

๔ พระโกศทองใหญ่ พระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช ประดิษฐานอยู่ เหนือพระแท่นสุวรรณเบญจดล ภายในมุขตะวันตก พระท่ีน่ังดุสิต มหาปราสาท พระแท่นราชบงั ลังกป์ ระดบั มุก ที่ประดิษฐานพระพุทธรูปประจ�ำ พระชนมวาร ภายในมขุ ด้านใต้ มขุ ตะวนั ตก เปน็ พนื้ ทส่ี ำ� คญั ทส่ี ดุ สำ� หรบั พระราชพธิ คี รง้ั นี้ เพราะเปน็ ทปี่ ระดษิ ฐานพระบรมศพ และพระโกศทองใหญ่ โดยพระโกศทองใหญ่น้ันประดิษฐานอยู่เหนือพระแท่นสุวรรณเบญจดลและ พระแทน่ ทองทรายทรี่ องรบั ดา้ นลา่ งอกี ชน้ั หนง่ึ เหนอื พระโกศทองใหญม่ พี ระนพปฎลมหาเศวตฉตั ร เบือ้ งหลังพระแท่นสวุ รรณเบญจดลเป็นที่ประดษิ ฐานหีบพระบรมศพบนพระแทน่ แว่นฟ้าขนาดยอ่ ม บริเวณริมผนงั รอบพระแทน่ สุวรรณเบญจดลต้ังเครอื่ งสงู หักทองขวางรายลอ้ มท้ัง ๓ ดา้ น ประกอบ ด้วยฉัตรเจด็ ชน้ั ฉตั รหา้ ช้ัน ฉตั รชุมสาย และบงั แทรก เบ้ืองหน้าพระแทน่ สุวรรณเบญจดล ตัง้ มา้ หมู่ ปดิ ทองสองหมอู่ ยสู่ องขา้ ง โดยมา้ หมดู่ า้ นทศิ เหนอื ทอดเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณไ์ ทยชนั้ สงู สดุ ทกุ สำ� รบั รวมท้ังพระคทาจอมพลและเหรียญราชอิสริยาภรณ์ ส่วนม้าหมู่ด้านทิศใต้ทอดเคร่ืองเบญจราช กกธุ ภณั ฑ์ และเครอ่ื งบรมราชอสิ รยิ ยศราชปู โภค ดา้ นหนา้ สดุ ของมา้ หมเู่ หลา่ นตี้ ง้ั เครอ่ื งราชสกั การะ สำ� หรบั พระบรมวงศานวุ งศ์ทรงจดุ เม่ือกราบถวายบังคมพระบรมศพ 107เสดจ็ สแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

มุขใต้ เป็นที่ตั้งพระแท่นราชบัลลังก์ประจ�ำพระมหาปราสาทน้ี เป็นพระแท่นประดับมุก ภายใตพ้ ระนพปฎลมหาเศวตฉตั ร ฝมี อื ชา่ งสมยั รชั กาลที่ ๑ โดยมโี ตะ๊ หมบู่ ชู าบนพระแทน่ ราชบลั ลงั กน์ ้ี ซ่ึงประดิษฐานพระพุทธรูปประจ�ำพระชนมวารของรัชกาลที่ ๙ เป็นปางห้ามญาติเชิญมาจากหอ พระสรุ าลยั พมิ าน ทส่ี ม่ี มุ พระแทน่ ราชบลั ลงั กต์ ง้ั ตน้ ไมเ้ งนิ และตน้ ไมท้ องอยา่ งละคู่ เบอื้ งหนา้ พระแทน่ ราชบัลลังก์ต้ังเครื่องนมัสการ ส�ำหรับทรงจุดเพ่ือบูชาพระรัตนตรัย เบื้องหลังพระแท่นราชบัลลังก์ จดั เปน็ ทปี่ ระทบั สำ� หรบั สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า สยามบรมราชกมุ ารี และเหลา่ พระบรมวงศานวุ งศ์ มขุ ตะวนั ออก ทผ่ี นงั ทางฝง่ั ดา้ นใต้ ทอดพระราชอาสนบ์ นพระสจุ หนพี่ รอ้ มเครอ่ื งราชปู โภค สำ� หรบั สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั และตง้ั เกา้ อส้ี ำ� หรบั ขา้ ราชบรพิ ารในพระองคแ์ ละราชองครกั ษผ์ ตู้ ามเสดจ็ ที่ปลายสุดของมุขตะวันออกตรงระหว่างพระทวาร มีพระแท่นราชบรรจถรณ์ประดับมุก ฝีมือช่าง ยคุ เดยี วกบั พระราชบลั ลงั กป์ ระดบั มกุ พระแทน่ นม้ี หี ลงั คาผา้ ขาวมรี ะบายขลบิ ทองดาดขา้ งบน จดั เปน็ ท่ีส�ำหรับพระภิกษุเปรียญขึ้นน่ังสวดธรรมคาถาหลังจบการถวายพระธรรมเทศนา ส่วนผนังทาง ฝั่งด้านเหนือ ตั้งอาสน์สงฆ์ยกพ้ืนปูลาดผ้าขาวตลอด ส�ำหรับพระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์ข้ึนน่ังสวด พระพุทธมนต์และสดับปกรณ์ ท่ีหวั อาสน์สงฆฝ์ ่ังตรงขา้ มพระราชอาสน์ของสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ตง้ั ธรรมาสนแ์ บบสปั คบั ลงรกั ปดิ ทองประดบั กระจก สำ� หรบั พระราชาคณะขนึ้ นง่ั แสดงพระธรรมเทศนา มขุ เหนอื ทร่ี มิ ผนงั ใกลพ้ ระทวารทางเขา้ ออกทง้ั ซา้ ยขวา ตงั้ แทน่ ไมส้ ลกั ลงรกั ปดิ ทอง มหี ลงั คา ผา้ ขาวดาดดา้ นบน ภายในปลู าดผา้ ขาวมหี มอนองิ ตงั้ หบี พระธรรมปกั พดั แฉก เตยี งดงั กลา่ วนจ้ี ดั ไว้ เป็นอาสน์สงฆ์ส�ำหรับพระพิธีธรรมจากพระอารามที่ก�ำหนด ข้ึนน่ังสวดพระอภิธรรมทั้งกลางวัน กลางคนื พน้ื ทตี่ รงกลางมุขเหนอื นี้ตงั้ เก้าอี้เรยี งเป็นแถวสำ� หรบั องคมนตรี ขา้ ราชการชั้นผู้ใหญ่และ ผมู้ าเฝา้ ทลู ละอองธุลพี ระบาทในการบำ� เพญ็ พระราชกุศล แม้ว่าพระที่น่ังแห่งนี้จะเป็นสถานที่ประดิษฐานพระบรมศพพระมหากษัตริย์มาแทบทุก รชั กาล รวมถงึ พระศพพระบรมวงศานวุ งศ์ชน้ั สงู บางพระองค์ แต่การตั้งแต่งส�ำหรับงานพระราชพิธี พระบรมศพในอดีตน้ันก็มีความแตกต่างไปตามกาลสมัย ดงั จะกลา่ วโดยสรุปไดด้ ังน้ี ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น แม้ว่าจะไม่ปรากฏหลักฐานหมายก�ำหนดการพระราชพิธี โดยละเอยี ดกต็ าม แตจ่ ากหลกั ฐานเอกสารบางชน้ิ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ จดหมายเหตรุ ชั กาลที่ ๓ ทก่ี ลา่ ว ถงึ การพระราชพธิ พี ระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั เมอ่ื พ.ศ.๒๓๖๗ กท็ ำ� ใหเ้ หน็ ภาพ การตง้ั แตง่ ในพระราชพธิ ขี องยคุ สมยั นน้ั ได้ กลา่ วคอื มกี ารตงั้ พระแทน่ แวน่ ฟา้ ทองคำ� ๓ ชน้ั ประดษิ ฐาน พระโกศพระบรมศพทม่ี ขุ ตะวนั ตก เหนอื พระโกศแขวนเศวตฉตั ร ๙ ชน้ั ฝง่ั ดา้ นใตข้ องพระแทน่ แวน่ ฟา้ ตงั้ เครอ่ื งนมสั การสำ� หรบั พระเจา้ อยหู่ วั สว่ นฝง่ั ดา้ นเหนอื นน้ั ตงั้ เครอ่ื งนมสั การสำ� หรบั กรมพระราชวงั บวร (วงั หน้า) มีการตง้ั เตียงจมกู สงิ ห์เพือ่ ทอดเคร่ืองราชปู โภคนับรอ้ ยรายการ บรเิ วณโดยรอบพระแท่น แว่นฟ้ามีการต้ังเครื่องสูงหักทองขวางแวดล้อมถึง ๒๘ องค์ พื้นท่ีมุขตะวันตกนี้มีการกั้นพระฉาก กระจกเรอื่ งสามกก๊ ชอ่ งกลางทางเสดจ็ ตงั้ ลบั แลกระจก มขุ ดา้ นทศิ ใตม้ กี ารกน้ั ฉากกระจกไวช้ อ่ งกลาง ทางเสด็จของเจ้านายฝ่ายใน ท่ีมุขด้านทิศเหนือมีการตั้งเตียงพระสวดมีส�ำหรับพระพิธีธรรมขึ้นนั่ง สวดพระอภิธรรม สว่ นพระแท่นราชบัลลังก์ประดบั มกุ ใจกลางพระมหาปราสาทนั้นจดั เป็นธรรมาสน์ สำ� หรบั พระสงฆ์ขึ้นแสดงพระธรรมเทศนา (ย้มิ ปัณฑยางกูร ๒๕๒๘: ๑๔๕-๑๔๙) 108 เสดจ็ สู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

ตอ่ มาในชว่ งสมยั รชั กาลท่ี ๖ ในประกาศและหมายกำ� หนดการพระราชพธิ ใี นราชกจิ จานเุ บกษา ๔ ท�ำให้เห็นวิวัฒนาการแบบแผนการต้ังแต่งในพระราชพิธีพระบรมศพเรื่อยมา เช่น ประกาศเร่ือง “พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสวรรค์คต” พ.ศ.๒๔๕๓ ซึ่งระบุรายละเอียดการต้ังแต่ง ทยี่ ังคงคลา้ ยคลงึ กับสมัยรัตนโกสนิ ทรต์ อนต้น ความวา่ “ครนั้ วนั ท่ี ๒๓ ตลุ าคม รตั นโกสนิ ทรศก ๑๒๙ เจา้ พนกั งานไดจ้ ดั การตกแตง่ ในพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท มุขตวันออกตั้งพระแท่นรองโต๊ะหมู่ เชิญพระพุทธรูป ประจำ� พระชนมวารในพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั มาประดษิ ฐานแลตงั้ เคร่ืองนมัสการ พระแท่นทรงกราบ เบ้ืองขวาซ้ายต้ังโต๊ะจีนลายครามมุขตวันตกต้ัง แวน่ ฟ้าทองค�ำ ๓ ชนั้ บนฐานพระบุพโพมีฐานเขยี ง ก้นั พระฉากผกู พระสตู ร มุขเหนอื ตงั้ พระแทน่ เปนเตียงพระสงฆส์ วดพระอภิธรรม ทางข้างผนงั ดา้ นตวนั ออก ดา้ นตวนั ตกตรงกนั เปน ๒ เตยี ง แลตงั้ อาศนส์ งฆข์ า้ งมขุ ผนงั ตะวนั ออก เลย้ี วมาถงึ มขุ เหนอื แล ตรงนา่ พระฉากอกี อาศนหนงึ่ สำ� หรบั สดบั ปกรณ”์ (ราชกจิ จานเุ บกษา ๒๔๕๔: ๑๗๘๓) ข้อมูลน้ีบ่งชี้ว่าการต้ังแต่งในงานพระบรมศพคร้ังน้ันยังคงคล้ายคลึงกับสมัยรัตนโกสินทร์ ตอนตน้ ดงั ที่ได้บรรยายไปในข้างต้น ต่อมาเมือ่ พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยูห่ ัวสวรรคต เมอื่ พ.ศ.๒๔๖๘ ในราชกิจจา นเุ บกษามกี ารกลา่ วถงึ การตงั้ แตง่ ในพระมหาปราสาท ซงึ่ เปลย่ี นแปลงไปจากคราวงานพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัว พ.ศ.๒๔๕๓ อยา่ งชัดเจน ความว่า “เจา้ พนกั งานไดจ้ ดั การตกแตง่ ในพระทนี่ งั่ ดสุ ติ มหาปราสาท ตง้ั โตะ๊ หมบู่ น พระแท่นมนังงคศิลา เชิญพระพุทธรูปประจ�ำพระชนมวารในพระบาทสมเด็จ พระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวธุ พระมงกุฎเกล้าเจา้ อย่หู วั มาประดิษฐานภายใต้ นพปฎลมหาเสวตรฉตั ร ตง้ั เครอื่ งนมสั การพระแทน่ ทรงกราบ มขุ ตวนั ตกตง้ั พระแทน่ แว่นฟ้าทองคำ� ๓ ช้นั บนฐานลา่ งมีฐานเขยี งรอง ผูกพระสตู ร์ก้ันทมี่ ุขใต้ มขุ เหนือตัง้ พระแท่นเปนเตียงสวดส�ำหรับพระสงฆ์สวดพระอภิธรรม ทางข้างผนังตวันออกและ ตวนั ตกหนา้ ลบั แลตรงกนั เปน ๒ เตยี ง และตงั้ อาศนสงฆท์ า่ มกลางพระทนี่ ง่ั และทข่ี า้ ง ผนังด้านเหนือมุขตวนั ออก ทง้ั ต้ังพระราชยานงาเปนธรรมาศน์” (ราชกจิ จานุเบกษา ๒๔๖๘: ๒๗๐๓) จากขอ้ มลู ขา้ งตน้ จะเหน็ สง่ิ ทเ่ี ปลยี่ นแปลงไปอยา่ งชดั เจนคอื ไมม่ กี ารกน้ั พระฉากทมี่ ขุ ตะวนั ตก ซ่ึงเป็นบริเวณที่ประดิษฐานพระโกศแล้ว และการก�ำหนดให้พระราชบัลลังก์เป็นท่ีประดิษฐาน พระพทุ ธรปู แทนการใชเ้ ปน็ ธรรมาสนเ์ ทศน์ ซง่ึ เวลานน้ั พระราชบลั ลงั กป์ ระดบั มกุ ถกู ยา้ ยออกไปแลว้ ตงั้ แต่สมยั รชั กาลท่ี ๖ และตง้ั พระแท่นมนงั คศลิ าอาสน์ (แผ่นศิลาสมัยสโุ ขทัยทมี่ กี ารประดับฐานรอง รปู สงิ หเ์ พม่ิ เตมิ ) แทน (จมน่ื อมรดรณุ ารกั ษ์ ๒๕๑๔: ๑๐) ตอ่ มาภายหลงั จงึ มกี ารเชญิ พระราชบลั ลงั ก์ กลบั มาประดษิ ฐานอีกครั้งในสมยั รชั กาลที่ ๗ จนอาจกลา่ วได้วา่ แบบแผนการต้ังแตง่ เม่ือคร้งั งาน พระบรมศพในรชั กาลท่ี ๖ เป็นแมแ่ บบในพระราชพธิ พี ระบรมศพและพระศพครัง้ อนื่ ๆ บนพระทน่ี ง่ั แห่งนี้เร่อื ยมาจนถึงปจั จุบนั รวมถึงพระบรมศพรชั กาลท่ี ๙ ครัง้ น้ดี ้วย 109เสดจ็ สูแ่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

พระโกศทองใหญ่ ๓ รชั กาล ภายใตน้ พปฎลมหาเศวตฉัตร พระโกศ เป็นเครื่องประกอบพระราชอิสริยยศท่ีส�ำคัญของพระมหากษัตริย์และพระบรม วงศานวุ งศเ์ มอื่ เสดจ็ สวรรคตหรอื สน้ิ พระชนมแ์ ลว้ สรา้ งขนึ้ ดว้ ยวสั ดมุ คี า่ และฝมี อื ชา่ งทป่ี ระณตี ใชส้ ำ� หรบั ประดษิ ฐานพระบรมศพหรอื พระศพ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ (๒๕๐๔ก: ๓๑๙-๓๒๐) ทรงมี พระวินิจฉัยเกี่ยวกับการใช้โกศหรือพระโกศว่า มีต้นเค้ามาจากคติศาสนาพราหมณ์ที่เช่ือว่าเม่ือ พระเจา้ แผน่ ดนิ สวรรคต ดวงพระวญิ ญาณกจ็ ะกลบั ไปรวมกบั เทพเจา้ องคน์ น้ั ๆ แตพ่ ระสรรี ะยงั คงอยู่ บนโลกจงึ ตอ้ งปฏบิ ัตอิ ยา่ งเทพเจา้ ทปี่ ระทบั ในวมิ านบนยอดเขาพระสเุ มรุ จึงท�ำที่บรรจุพระบรมศพ เปน็ พระโกศแทนวมิ านและฐานซอ้ นช้นั รองรับพระโกศแทนภูเขา ขณะเดียวกันก็มีข้อสันนิษฐานเชิงโบราณคดีว่า การบรรจุศพในภาชนะที่เป็นไหหินหรือ ไหดนิ เผาในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ มมี าตง้ั แตส่ มยั กอ่ นประวตั ศิ าสตรร์ าว ๓,๐๐๐ ปมี าแลว้ ดังปรากฏในแหล่งโบราณคดีท่งุ ไหหินในลาว แหลง่ โบราณคดีในเขตทงุ่ กุลารอ้ งไหข้ องไทย เป็นตน้ ซงึ่ อาจเปน็ ตน้ เคา้ ทมี่ าอกี ทางหนงึ่ ของคตกิ ารใชพ้ ระโกศไดเ้ ชน่ กนั (สจุ ติ ต์ วงษเ์ ทศ ๒๕๕๑: ๑๕-๑๖) ส�ำหรับหลักฐานการใช้พระโกศบรรจุพระบรมศพในธรรมเนียมราชส�ำนักนั้น มีมาแล้วต้ังแต่สมัย อยธุ ยา ดงั ทป่ี รากฏในเอกสารโบราณชอื่ วา่ “เรอื่ งสมเดจ็ พระบรมศพ” ทก่ี ลา่ วถงึ งานพระเมรสุ มเดจ็ เจา้ ฟา้ กรมหลวงโยธาเทพ เมอ่ื พ.ศ.๒๒๗๘ (พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั , ๒๔๕๙: ๖) ตามโบราณราชประเพณีในสมัยรัตนโกสินทร์ เม่ือพระมหากษัตริย์สวรรคต จะถวาย พระมหาสุก�ำพระบรมศพโดยเจา้ พนักงานภูษามาลา (สำ� นกั วรรณกรรมและประวัตศิ าสตร์ ๒๕๕๙: ๑๓) จากนั้นอัญเชิญพระบรมศพลงสภู่ าชนะช้ันในเรยี กวา่ “พระลอง” โดยจัดทา่ ทางพระบรมศพให้ อยูใ่ นทา่ น่ัง เม่ือปิดฝาก็จะนำ� สว่ นครอบภาชนะชนั้ นอกคอื “พระโกศ” ครอบตัวพระลอง (แสงสูรย์ ลดาวัลย์ ๒๕๓๙: ๕๓-๕๔) ซ่ึงพระโกศทรงพระบรมศพพระมหากษัตริย์จะมีการประดับตกแต่ง ท่ีมากกว่าพระโกศของพระบรมวงศานุวงศ์เสมอ มีชื่อเรียกว่า “พระโกศทองใหญ่” ในปัจจุบันมี พระโกศทองใหญอ่ ยถู่ งึ ๓ องค์ (คณะกรรมการฝา่ ยจดั ทำ� จดหมายเหตฯุ ๒๕๕๑: ๑๙๑) มรี ายละเอยี ด ดงั นี้ พระโกศทองใหญ่ รชั กาลท่ี ๑ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช โปรดให้ สรา้ งขนึ้ เมอื่ พ.ศ. ๒๓๕๑ ลกั ษณะของพระโกศทองใหญอ่ งคน์ เ้ี ปน็ ทรงแปดเหลยี่ มปากผาย ฝาทำ� เปน็ ยอดทรงมงกุฎ หุ้มทองค�ำจ�ำหลักลายดุนทั้งองค์ ประดับด้วยรัตนชาติหลากสี มีความงดงามมาก ถึงขนาดโปรดให้ยกพระโกศน้ีไปต้ังถวายให้ทอดพระเนตรในห้องพระบรรทม ซ่ึงในปีที่สร้างน้ัน สมเด็จพระเจา้ ลูกเธอ เจา้ ฟา้ กรมหลวงศรีสนุ ทรเทพก็สิ้นพระชนม์ จึงไดใ้ ช้เปน็ ครัง้ แรก และใน พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้ใช้ในร้ิวกระบวนพระราชอิสริยยศอัญเชิญพระศพ สมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอ เจ้าฟ้ากัลยา ณวิ ัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครนิ ทร์ พระโกศทองใหญ่ รชั กาลที่ ๕ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั โปรดใหส้ รา้ งขนึ้ เมอื่ พ.ศ. ๒๔๔๓ เปน็ พระโกศหมุ้ ดว้ ยทองคำ� ซง่ึ มลี กั ษณะคลา้ ยกนั กบั พระโกศทองใหญใ่ นรชั กาลที่ ๑ หากแตข่ องรชั กาลท่ี ๕ นป้ี ระดบั ดว้ ยรตั นชาตสิ ขี าวทง้ั องค์ เมอ่ื แรกสรา้ งเรยี กวา่ “พระโกศทองรองทรง” 110 เสด็จส่แู ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

๔ พระโกศทองใหญ่ รัชกาลที่ ๕ (ท่มี า: นายพชิ ัย ยินดีน้อย) เน่อื งจากมพี ระราชประสงคใ์ ห้ใช้แทนพระโกศทองใหญเ่ ดิม ต่อมาเม่อื พระโกศทองใหญร่ ชั กาลท่ี ๑ ชำ� รุดมากขน้ึ จึงต้องเชญิ พระโกศทองรองทรงนีอ้ อกใชแ้ ทน และขนานนามวา่ “พระโกศทองใหญ่ รชั กาลที่ ๕” พระโกศทองใหญ่ รชั กาลที่ ๙ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช โปรดให้ สรา้ งขน้ึ เมื่อ พ.ศ.๒๕๔๓ ภายหลังงานพระเมรมุ าศสมเด็จพระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี ประมาณ ๔ ปี โดยทรงพระราชปรารภวา่ พระโกศทองใหญร่ ชั กาลที่ ๕ คอ่ นขา้ งชำ� รุดเนื่องจากใชม้ าเปน็ เวลา นาน สมควรสร้างข้ึนใหม่ไว้ใช้ในราชการต่อไป (คณะกรรมการฝ่ายจัดท�ำจดหมายเหตุฯ ๒๕๕๑: ๑๙๓) ลักษณะพระโกศทองใหญร่ ชั กาลท่ี ๙ เป็นทรงแปดเหลย่ี มปากผาย ฝายอดทรงมงกฎุ ท�ำจาก ไม้สักทองแกะสลักลายและหุ้มด้วยทองประดับเพชรรัสเซีย ลวดลายทั้งหมดเป็นการผสมผสาน จากลกั ษณะของพระโกศทองใหญส่ องรัชกาลข้างต้น โดยเคยนำ� มาใชเ้ พียงครงั้ เดียวในงานพระศพ สมเดจ็ พระเจา้ พ่นี างเธอ เจ้าฟ้ากลั ยาณิวฒั นา กรมหลวงนราธวิ าสราชนครินทร์ สำ� หรบั พระราชพธิ พี ระบรมศพรชั กาลที่ ๙ ครง้ั นี้ ไดอ้ ญั เชญิ “พระโกศทองใหญ่ รชั กาลท่ี ๕” ขน้ึ ประดษิ ฐานเหนอื พระแทน่ สวุ รรณเบญจดล เพอ่ื ถวายพระเกยี รตยิ ศ ซงึ่ จะมเี ครอ่ื งประดบั พระโกศ ทองใหญต่ กแตง่ ครบถว้ นทกุ อยา่ งตามพระบรมราชอสิ รยิ ยศ ทวา่ พระบรมศพของพระองคม์ ไิ ดบ้ รรจุ อย่ใู นพระโกศทองใหญ่ หากแตไ่ ด้อญั เชิญลงบรรจุในหีบพระบรมศพท่สี ร้างด้วยไมแ้ กะสลกั ปดิ ทอง อย่างประณตี (ขา่ วสด ๒๕๕๙ก) ซ่ึงเปน็ ธรรมเนียมปฏบิ ตั ิทเ่ี กิดข้ึนใหมใ่ นสมัยรชั กาลท่ี ๙ ครง้ั แรก 111เสด็จส่แู ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

เมื่องานพระบรมศพสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พ.ศ.๒๕๓๘ และกลายเป็นจารีตปฏิบัติ ตอ่ มา โดยเปน็ ไปตามพระราชประสงคส์ ว่ นพระองคเ์ ปน็ หลกั (สมเดจ็ พระเจา้ พน่ี างเธอ เจา้ ฟา้ กลั ยา ณวิ ฒั นาฯ ๒๕๓๙: ๖๗) ยังมีอีกสิ่งหนึ่งที่เป็นเคร่ืองแสดงพระบรมราชอิสริยยศส�ำคัญนั่นคือ “ฉัตร” ซ่ึงเป็นร่ม ซ้อนชั้นลดหลั่นมากน้อยตามศักดิ์ของผู้ทรงเป็นเจ้าของ หากเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ผ่าน การบรมราชาภเิ ษกตามโบราณราชประเพณี ตอ้ งมกี ารถวาย “นพปฎลมหาเศวตฉตั ร” ซงึ่ มลี กั ษณะ คลา้ ยฉตั รที่ปกั อยู่เหนอื พระแทน่ ราชบลั ลังกค์ อื เป็นฉตั รสีขาวเรียงซ้อนลดหล่นั กัน ๙ ชน้ั แต่ละช้ัน มรี ะบายขลบิ ทอง ๓ ชนั้ ฉตั รชน้ั ลา่ งสดุ หอ้ ยอบุ ะจำ� ปาทอง สง่ิ ทแ่ี ตกตา่ งออกไปคอื นพปฎลมหาเศวตฉตั ร เหนอื พระโกศทองใหญน่ ้ี เปน็ ฉตั รแบบแขวนหอ้ ยจากเพดานพระมหาปราสาท จงึ ไมม่ เี สาคนั ฉตั รและ ไม่มีรปู เทวดารักษากำ� ภูฉตั รอย่างทพี่ ระแทน่ ราชบัลลังก์ ใน จดหมายเหตรุ ชั กาลท่ี ๓ เรอื่ งพระราชพธิ พี ระบรมศพรชั กาลท่ี ๒ ไดใ้ ช้ “เศวตฉตั ร ๙ ชนั้ ทำ� ดว้ ยโหมดเหลอื งกนั้ พระบรมโกศ” (ยมิ้ ปณั ฑยางกรู ๒๕๒๘: ๑๔๖) เนอื่ งจากในเวลานน้ั เศวตฉตั ร อาจท�ำด้วยผ้าสีอื่นไม่ต้องเป็นสีขาวเสมอไป ท�ำให้รัชกาลท่ี ๔ โปรดเกล้า ให้เปล่ียนเป็นการหุ้ม ผ้าสีขาว เพื่อให้ตรงกับความหมายค�ำว่า “เศวต” ท่ีแปลว่า “สีขาว” (สมเด็จกรมพระยาด�ำรง ราชานุภาพ ๒๕๐๔ข: ๒๑๘) สำ� หรับในพระราชพิธีพระบรมศพรชั กาลที่ ๙ นี้ นพปฎลมหาเศวตฉัตร เป็นของทส่ี รา้ งข้ึนใหม่ทันทเี ป็นการเฉพาะ ภายหลังการประกาศสวรรคต พระแท่นแว่นฟา้ ทองและสวุ รรณเบญจดล: พระแท่นรองรบั พระโกศ พระแท่นสูงใหญ่สีทองวางซ้อนเป็นช้ันอันเป็นท่ีประดิษฐานพระโกศทรงพระบรมศพ มีชือ่ เรียกเปน็ ๒ แบบ คือ “พระแทน่ แว่นฟ้าทอง” และ “พระแทน่ สุวรรณเบญจดล” คำ� วา่ “พระแทน่ แวน่ ฟ้าทอง” มปี รากฏเอกสารมาตัง้ แต่ต้นกรงุ รัตนโกสินทร์ ซึง่ บางคร้ัง อาจจะสะกดคำ� แตกตา่ งกันไปบา้ งเล็กน้อย เชน่ “พระแท่นแวน่ ฟา้ ” หรือ “แวน่ ฟ้าทองคำ� ๓ ช้ัน” (ย้มิ ปัณฑยางกูร ๒๕๒๘: ๑๔๖; ราชกจิ จานุเบกษา ๒๔๓๗: ๓๓๕) สำ� หรับ คำ� วา่ “แว่นฟ้า” ตาม รปู ศพั ทห์ มายถงึ กระจก (สมเดจ็ ฯ เจา้ ฟา้ กรมพระยานรศิ รานวุ ดั ตวิ งศ์ ๒๕๐๕: ๒๓๔) ดงั นนั้ พระแทน่ แวน่ ฟา้ ทอง อาจแปลความหมายได้วา่ พระแท่นไมแ้ กะสลกั ลงรกั ปิดทองประดับกระจก อีกนัยหนงึ่ ค�ำวา่ แว่นฟา้ ในทางศิลปกรรมยงั หมายถึง แท่นฐานต้งั เสรมิ บนแท่นซอ้ นเป็นชัน้ เพือ่ ให้ได้ความสงู ที่เหมาะสม โดยเรยี กรวมๆ ท้งั แท่นเดมิ กับแทน่ เสรมิ วา่ “ฐานแวน่ ฟา้ ” (สนั ติ เลก็ สุขุม ๒๕๓๘: ๓๙) ซงึ่ ความหมายนก้ี ส็ อดคลอ้ งกบั ลกั ษณะของพระแทน่ ทตี่ งั้ เรยี งซอ้ นสงู ลดหลน่ั กนั เปน็ ชนั้ ๆ ทต่ี กแตง่ ดว้ ยการหมุ้ ทองคำ� (พระยาเทวาธิราช ๒๕๐๔: ๒๐) ส่วนค�ำว่า “พระแท่นสุวรรณเบญจดล” เร่ิมปรากฏการใช้ครั้งแรกเม่ือคร้ังพระราชพิธี พระบรมศพรชั กาลท่ี ๖ โดยเขยี นระบไุ วว้ า่ “พระแท่นแว่นฟา้ สุวรรณเบญจฎล” (ราชกิจจานุเบกษา ๒๔๖๙: ๒๑๒) ซึง่ มรี ากมาจากการใชค้ �ำเดิมที่มมี าก่อนคอื “พระแท่นแวน่ ฟา้ ” แลว้ ประกอบตอ่ ทา้ ย ดว้ ยคำ� ใหมว่ า่ “สวุ รรณเบญจฎล” ซง่ึ คำ� นอ้ี าจแปลไดว้ า่ พระแทน่ หมุ้ ทองคำ� เรยี งซอ้ นกนั ๕ ชนั้ เพอื่ เรยี กรวมพระแทน่ ทง้ั สอง และหลงั จากนน้ั เปน็ ตน้ มา ในเอกสารทางการจะใชค้ ำ� วา่ “พระแทน่ สวุ รรณ เบญจดล” กระทั่งถึงงานพระบรมศพครั้งน้ีด้วย (ข่าวสด ๒๕๕๙ข) 112 เสดจ็ ส่แู ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

๔ พระบรมศพรชั กาลที่ ๘ ประดษิ ฐานบนพระแท่นสวุ รรณเบญจดลประดบั ด้วยนรสงิ ห์แบก (Source: Dmitri Kessel 1950) พระแท่นสวุ รรณเบญจดลคอื เขาพระสุเมรุจำ� ลอง พระแทน่ สวุ รรณเบญจดลสอ่ื ความหมายวา่ เปรยี บเสมอื นเขาพระสเุ มรอุ นั มเี ทพเจา้ ประทบั อยู่เบ้ืองบน (พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร ๒๕๑๗: ๑๒๓) ดังนั้น จึงต้องประดับ ตกแตง่ ใหส้ มกบั ทเี่ ปน็ รปู จำ� ลองเขาพระสเุ มรุ ในจดหมายเหตรุ ชั กาลที่ ๓ เรอ่ื งพระราชพธิ พี ระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พ.ศ.๒๓๖๗ อธิบายการประดับตกแต่งไว้ว่า พระแท่น แตล่ ะชนั้ ประดบั ดว้ ยเครอ่ื งแกว้ เจยี รนยั จำ� นวนมาก ทง้ั เชงิ เทยี นแกว้ โคมแกว้ หลายรปู แบบ จานแกว้ ใส่เครื่องบูชา โอ่งแก้วใส่น้�ำมันเพ่ือจุดประทีปทั้งกลางวันและกลางคืน (ยิ้ม ปัณฑยางกูร ๒๕๒๘: ๑๔๖) นอกจากนย้ี งั มีส่วนองคป์ ระกอบที่ส�ำคัญทบี่ ง่ บอกถงึ คติเขาพระเมรุ คือ ๑. รปู นรสิงห์แบก เปน็ ประตมิ ากรรมครงึ่ มนุษยค์ รึ่งสงิ หท์ ำ� จากไม้แกะสลักลงรกั ปิดทอง ระบายสี รูปน่ังย่อขากางแขนออกในลักษณะก�ำลังแบก ประดับในช่องคูหาของพระแท่นทองทราย ทุกด้าน แต่ละด้านประกอบด้วยรูปนรสิงห์ขนาดใหญ่ ๑ ตัว ในคูหากลางและมีนรสิงห์ขนาดย่อม อกี ๒ ตัวในคูหาดา้ นขา้ ง รูป นรสิงหแ์ บกน้ีสนั นิษฐานวา่ สรา้ งขนึ้ ในสมัยรชั กาลที่ ๖ โดยเทยี บเคียง ได้กับนรสิงห์แบกท่ีฐานพระที่นั่งภัทรบิฐมนังคศิลารัตนสิงหาสน์ ซึ่งรัชกาลที่ ๖ โปรดให้ตกแต่ง แผ่นศิลาพระแท่นมนังคศิลาอาสน์ และใช้เป็นพระราชบัลลังก์ประจ�ำพระท่ีนั่งดุสิตมหาปราสาท ตลอดรัชกาล (จม่ืนอมรดรุณารกั ษ์ ๒๕๑๔: ๑๐) ถอื เปน็ ที่ประทบั เฉพาะองค์พระมหากษัตริยเ์ ทา่ นั้น ดงั ปรากฏใชค้ รง้ั แรก เมอ่ื คราวงานพระบรมศพรชั กาลท่ี ๘ และมธี รรมเนยี มปฏบิ ตั วิ า่ หากใชพ้ ระแทน่ 113เสด็จสูแ่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

ทองทรายนี้ในงานพระศพพระบรมวงศานุวงศ์ท่ีมิใช่พระมหากษัตริย์ ต้องถอดรูปนรสิงห์ออกแล้ว ใชพ้ านพมุ่ เขา้ ประดับแทน (กองจดหมายเหตุแห่งชาติ ๒๕๔๑: ๖๘) ๒. รปู หนา้ กาลคายพระภษู าโยงและแผงรวั้ ราชวตั ร สรา้ งขนึ้ ในสมยั รชั กาลที่ ๖ ปรากฏ ใช้เพียงครั้งเดียวในงานพระบรมศพสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พันปีหลวง พ.ศ.๒๔๖๒ ดังน้ัน ในงานพระบรมศพรัชกาลท่ี ๙ จึงเป็นครั้งท่ี ๒ ท่ีน�ำรูปหน้ากาล ดงั กลา่ วมาประดบั พระแทน่ ทองทราย หลงั จากไมไ่ ดใ้ ชเ้ ลยมาเปน็ เวลาเกอื บ ๑๐๐ ปี สำ� หรบั คตเิ รอ่ื ง หนา้ กาลนมี้ คี วามหมายสอื่ ถงึ กาลเวลา ซ่ึงกลนื กนิ ทุกสรรพส่งิ เช่นเดยี วกบั ตวั หนา้ กาลเอง ซึง่ เป็น สัตว์ท่เี หลอื แตเ่ พยี งใบหน้าไมม่ ีรา่ งกาย (พลอยชมพู ยามะเพวัน ๒๕๕๔: ๑๐) สอดคลอ้ งกับหลัก ไตรลกั ษณใ์ นพทุ ธศาสนาทท่ี กุ สงิ่ ยอ่ มเปลย่ี นแปลงไปตามกาลเวลา ไมม่ สี ง่ิ ใดคงทนจรี งั ยง่ั ยนื ในทนี่ ี้ อาจแปลความได้ว่าแม้แต่พระมหากษัตริย์ผู้ทรงไว้ซึ่งพระบรมเดชานุภาพ ก็มิอาจหลีกเลี่ยงกฎ ของไตรลกั ษณ์ได้ ๓. สุวรรณจามร เปน็ แผ่นโลหะดุนลายปิดทองประดบั กระจกรปู ร่างทรงพุ่มปลายแหลม ปักประดับที่ด้านหลังแผงร้ัวราชวัตรทุกด้าน พบหลักฐานว่ามีใช้อย่างน้อยตั้งแต่สมัยรัชกาลท่ี ๕ เมื่อคร้ังงานพระบรมศพรชั กาลที่ ๕ และสมเด็จพระศรีพัชรนิ ทราบรมราชนิ ีนาถฯ ซ่ึงหลงั จากสมยั รัชกาลที่ ๖ เป็นต้นมาก็ไม่ปรากฏการใช้อีกเลย จนกระท่ังมีการร้ือฟื้นอีกครั้งในงานพระบรมศพ รชั กาลท่ี ๙ ในคร้งั นี้ ความจรงิ แลว้ สวุ รรณจามรชดุ นเี้ ปน็ ของชดุ เดยี วกนั กบั สวุ รรณฉตั รและสวุ รรณฉตั รคนั ดาล ซ่ึงส�ำนักพระราชวงั ท�ำการเชญิ มาจากวดั เทพศริ ินทราวาส (กองจดหมายเหตุแหง่ ชาติ ๒๕๒๙: ๕๘) เดิมทีใช้ประดับแท่นพระเบญจาท่ีประดิษฐานพระศพสมเด็จพระนางเจ้าสนุ นั ทากุมารีรัตน์ พระบรม ราชเทวี เมอ่ื พ.ศ.๒๔๒๓ ตอ่ มาเมอื่ เสรจ็ สนิ้ งานพระเมรแุ ลว้ รชั กาลที่ ๕ โปรดใหย้ า้ ยแทน่ พระเบญจา สว่ นกลางและสว่ นบน มาใชเ้ ปน็ ฐานชกุ ชปี ระดษิ ฐานพระประธานในพระอโุ บสถวดั เทพศริ นิ ทราวาส (ส�ำนกั งานทรัพยส์ นิ ส่วนพระมหากษตั ริย์ ๒๕๕๔: ๘๗) ดังน้ัน งานพระบรมศพคร้ังนท้ี ่ีเชญิ สุวรรณ จามรมาเพมิ่ เตมิ เพอ่ื ใหก้ ารประดบั ตกแตง่ พระแทน่ สวุ รรณเบญจดลมคี วามสมบรู ณง์ ดงามเปน็ พเิ ศษ เสมือนเป็นการรื้อฟื้นธรรมเนียมการประดับตกแต่งพระแท่นประดิษฐานพระโกศ ตามแบบแผนท่ี เคยปฏิบตั ิในช่วงสมัยรชั กาลท่ี ๕-๖ อีกครง้ั ๔. รปู เทวดาเชญิ แวน่ แกว้ พระภษู าโยง เคยปรากฏใชม้ าหลายครงั้ ตงั้ แตง่ านพระบรมศพ และงานพระศพในสมยั รัชกาลท่ี ๕ เชน่ งานพระศพสมเดจ็ พระนางเจ้าสนุ นั ทากมุ ารีรัตน์ พระบรม ราชเทวี พ.ศ.๒๔๒๓ เปน็ ตน้ และปรากฏวา่ ใชค้ รง้ั สดุ ทา้ ยในงานพระบรมศพรชั กาลท่ี ๘ หลงั จากนนั้ ก็น�ำมาเก็บรักษาไว้ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร จนกระทั่งงานพระบรมศพคร้ังนี้จึงได้น�ำ ออกมาใชร้ องรบั พระภษู าโยงอกี ครง้ั นา่ สงั เกตวา่ การตงั้ รปู เทวดาเชญิ แวน่ แกว้ พระภษู าโยงในงาน พระบรมศพครั้งนี้ ตั้งไว้ข้างหน้าพระแท่นทองทรายโดยวางไว้ด้านล่าง รูปเทวดาเชิญแว่นแก้ว พระภูษาโยงน่าจะสัมพันธ์กับคติที่ว่า องค์พระมหากษัตริย์ทรงเปรียบเสมือน “พระอินทร์” ผู้เป็น ราชาแห่งสวรรค์ชัน้ ดาวดึงส์และเปน็ ใหญเ่ หนอื เหล่าเทวดาทงั้ ปวง ดังน้นั จึงมีการประดับรูปเทวดา ต่างๆ เพื่อส่งเสริมพระราชสถานะของพระองค์ตามคติดังกล่าว เช่น รูปเทพนมท่ีประดับโดยรอบ 114 เสดจ็ สแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

พระแท่นมหาเศวตฉัตร เป็นตน้ เม่อื พระมหากษตั ริย์ประทบั ก็เหมือนทรงเปน็ พระอนิ ทรท์ ่มี ีเทวดา ๔ ท้ังหลายมาชมุ นุมแวดล้อม นอกจากน้ี แว่นแกว้ ท่ีเทวดาองคน์ ีเ้ ชิญอยนู่ ัน้ ก็อาจแปลความไดว้ ่าคอื “แวน่ ทพิ ย”์ อนั เปน็ หนงึ่ ในสญั ลกั ษณข์ องพระอนิ ทรส์ ำ� หรบั ใชส้ อ่ งดคู วามเปน็ ไปของมนษุ ยโลกดว้ ย จากภาพถา่ ยเกา่ งานพระบรมศพตัง้ แตส่ มยั รัชกาลท่ี ๖ เปน็ ตน้ มา แสดงให้เหน็ แบบแผน การประดับตกแต่งพระแท่นสุวรรณเบญจดลท่ียังคงใช้รูปแบบเช่นเดียวน้ีมาถึงปัจจุบัน หากสังเกต การประดบั ตกแตง่ พระแทน่ สวุ รรณเบญจดล รวมถงึ พระแทน่ ทองทราย ในงานพระบรมศพพระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชครั้งนี้ พบว่ามีการเพ่ิมเครื่องประดับตกแต่งเป็นพิเศษ หลายอย่างทัง้ น้เี พื่อเป็นการถวายพระเกยี รติยศสูงสุด ถอื ว่ามากกวา่ ในงานพระบรมศพครง้ั ใดๆ ท่ี ผ่านมาต้งั แตห่ ลังช่วง พ.ศ. ๒๕๐๐ เป็นต้นมา เครื่องบรมราชอสิ ริยยศราชปู โภค “เคร่ืองบรมราชอิสริยยศราชูปโภค” เป็นท้ังเคร่ืองส�ำหรับทรงใช้สอยส่วนพระองค์และ ประกอบพระราชอิสริยยศตามฐานันดรศักด์ิท่ีประดิษฐานพระบรมศพหรือพระศพ ซ่ึงเคยใช้ เม่ือคร้ังยังมีพระชนม์ชีพ (จม่ืนอมรดรุณารักษ์ ๒๕๑๔: ๑๓๘) ดังนั้น เม่ือสวรรคตแล้วก็ยังต้อง ทอดถวายดว้ ยเชน่ กนั ธรรมเนยี มดงั กลา่ วมมี าตงั้ แตส่ มยั อยธุ ยาแลว้ ดงั ทป่ี รากฏในคำ� ใหก้ ารเกยี่ วกบั เหตุการณ์สมัยอยุธยาตอนปลาย กล่าวถึงการทอดเคร่ืองราชูปโภคถวายพระบรมศพสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ความว่า “แล้วจึงตั้งเคร่ืองราชบริโภคนานา ตั้งฐานพระสุภรรณบัตถมยา ใสบ่ นพานทองประดบั สองชน้ั แลว้ จงึ่ ตงั้ พานพระสำ� อาง พานพระสพุ รรณศรี แลพระสพุ รรณราช แล พระเต้าครอบทอง แลพระคณฑีทองแลพานทองประดับแลเครื่องอุปโภคบริโภคนานา ต้ังเป็นชั้น หล่นั กนั มาตามท่ีซา้ ยขวาเป็นอนั ดับกนั ” (วนิ ยั พงศ์ศรเี พยี ร ๒๕๕๙: ๒๑๔) ตอ่ มาถงึ สมยั รตั นโกสนิ ทร์ ในจดหมายเหตรุ ชั กาลท่ี ๓ เรอื่ งพระราชพธิ พี ระบรมศพรชั กาล ท่ี ๒ เมอื่ พ.ศ.๒๓๖๗ กลา่ วถงึ เครอื่ งราชปู โภคมากมายนบั รอ้ ยรายการทท่ี อดถวาย “ไดเ้ ชญิ ขนึ้ ไปตงั้ ตามซ้ายขวาถวายพระบรมศพ” (ย้ิม ปัณฑยางกูร ๒๕๒๘: ๑๔๙) ซ่ึงในแต่ละรัชกาลจะมีจ�ำนวน แตกตา่ งกนั ไป อยา่ งไรกต็ าม อยา่ งนอ้ ยจะตอ้ งมี “เครอื่ งราชปู โภคของหลวงสำ� หรบั แผน่ ดนิ ” ทอดถวาย หน้าพระแทน่ สวุ รรณเบญจดล ประกอบด้วยของสำ� คญั ๔ อยา่ ง ไดแ้ ก่ ๑. พานพระขนั หมาก (พานทองค�ำบรรจุเครอื่ งหมากส�ำหรบั เสวย) ๒. พระมณฑปรตั นกรณั ฑ์ (ภาชนะทองคำ� มฝี าปดิ บรรจุนำ้� เสวย) ๓. พระสุพรรณศรี (กระโถนทองคำ� ขนาดเล็ก) ๔. พระสพุ รรณราช (กระโถนทองคำ� ขนาดใหญ)่ เคร่ืองราชูปโภคของหลวงดังกล่าวข้างต้น มีอยู่ ๒ ส�ำรับ ส�ำรับแรกสร้างในสมัยรัชกาล ที่ ๑ โดยสมเดจ็ กรมพระราชวงั บวรสถานพิมขุ (วังหลงั ) ทรงเปน็ ผจู้ ัดสร้างขน้ึ ทูลเกล้าถวาย ส�ำรบั ทสี่ องมขี นาดยอ่ มกวา่ สรา้ งขนึ้ ในสมยั รชั กาลที่ ๔ (พระยาเทวาธริ าช ๒๕๐๔: ๑๑) นอกจากนี้ ยงั ควร จะตอ้ งมเี ครอ่ื งราชปู โภคทเี่ ปน็ เครอื่ งใชส้ อยสว่ นพระองค์ เชน่ หบี พระศรี เครอื่ งพระสธุ ารส พระเตา้ ตา่ งๆ เป็นต้น อีกด้วย 115เสดจ็ สู่แดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชือ่ ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

การทอดเครื่องเบญจราชกกุธภัณฑ์และเคร่ืองบรมราช ภายในหบี พระลว่ มหลงั เจยี ด ตงั้ แตง่ ไวใ้ นการพระราช อิสริยยศราชูปโภค เบื้องหน้าของพระโกศพระบรมศพ พิธีบ�ำเพ็ญพระราชกุศลเนื่องในการสมโภชกรุง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช รัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี พ.ศ. ๒๕๒๕ (ท่ีมา: สำ� นักราช (ทีม่ า: สำ� นกั ราชเลขาธกิ าร) เลขาธกิ าร) จากภาพถา่ ยการประดษิ ฐานพระโกศของรชั กาลท่ี ๙ ทเี่ ผยแพรท่ างสอ่ื ตา่ งๆ ในชว่ งสปั ดาห์ แรกภายหลงั การสวรรคต (คมชดั ลกึ ๒๕๕๙) แสดงใหเ้ หน็ เครอื่ งบรมราชอสิ รยิ ยศราชปู โภคทป่ี ระกอบ ด้วย ๑) พานพระขนั หมากทองคำ� ลงยาองค์ใหญ่ (สำ� รับรัชกาลที่ ๑) มตี ราพระครฑุ พ่าหจ์ ำ� หลกั นนู ทต่ี ัวพานท้ังส่ีด้าน ๒) พระมณฑปรัตนกรณั ฑ์ (ส�ำรบั รชั กาลท่ี ๑) เปน็ ภาชนะส�ำหรับบรรจุน้ำ� เสวย รปู ทรงเหมอื นโถกลมประดบั ดว้ ยรว้ิ กลบี มะเฟอื ง ๓) พระสพุ รรณศรบี วั แฉก (สำ� รบั รชั กาลที่ ๑) เปน็ กระโถนขนาดเลก็ ปากกระโถนทำ� ลวดลายกลบี บวั เปน็ แฉก ๔) พระสวุ รรณภงิ คารทองคำ� ลงยา เปน็ ภาชนะทรงคนโทสำ� หรับบรรจนุ �ำ้ เสวย ๕) ขันพระสธุ ารสเย็นทองคำ� ลงยา พร้อมจอกทองคำ� และมี พานทองค�ำลงยารองรับ ๖) พานเครื่องช�ำระพระหัตถ์ ประกอบด้วย ผอบทรงกลมจ�ำหลักลายร้ิว อยา่ งกลีบมะเฟืองบรรจุพระสุคนธ์ จอกทองคำ� ลงยาบรรจผุ ลมะกรูด และผ้าซบั พระหตั ถ์ผืนเลก็ จบั จบี วางถวายด้วย ๗) กากระบอกทองคำ� ส�ำหรับบรรจพุ ระสธุ ารสชา ๘) พระเต้าทกั ษโิ ณทกทองค�ำ ลงยา เป็นคนโทส�ำหรับทรงใช้หลั่งน้�ำทักษิโณทก ๙) หีบพระล่วมหลังเจียดทองค�ำลงยาองค์ใหญ่ ส�ำหรบั บรรจุเคร่ืองหมากเสวย ๑๐) หบี พระศรที องค�ำลงยาองคน์ ้อย ส�ำหรับบรรจุเคร่ืองหมากเสวย เชน่ กนั อนงึ่ ในเอกสารทางการเมื่อคราวงานพระราชพิธบี ำ� เพญ็ พระราชกุศลปัณรสมวาร (๑๕ วัน) เมอ่ื วนั ที่ ๒๗ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๕๙ ระบวุ า่ มกี ารเชญิ เครอื่ งราชปู โภคมาทอดถวายเพม่ิ เตมิ มากถงึ ๑๙ รายการ (สำ� นกั ราชเลขาธิการ ๒๕๕๙: ๑๐-๑๑) 116 เสดจ็ สู่แดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

๔ เครื่องเบญจราชกกธุ ภัณฑ์ ถา่ ยในสมยั รชั กาลท่ี ๗ (ทมี่ า: สำ� นักจดหมายเหตุแห่งชาติ) เคร่อื งเบญจราชกกธุ ภัณฑใ์ นงานพระบรมศพเปน็ ครงั้ แรก ธรรมเนยี มสำ� คญั อยา่ งใหมท่ เ่ี กดิ ขนึ้ เปน็ ครงั้ แรกในงานพระบรมศพรชั กาลท่ี ๙ คอื การเชญิ “เครอื่ งเบญจราชกกธุ ภณั ฑ”์ มาทอดถวายทหี่ นา้ พระแทน่ สวุ รรณเบญจดลประดษิ ฐานพระโกศดว้ ย ส�ำหรับเครื่องเบญจราชกกุธภัณฑ์นั้นหมายถึง เครื่องหมายแสดงถึงความเป็นพระมหากษัตริย์ ผู้ทรงสิทธิ์ในการปกครองราชอาณาจกั ร เป็นของสำ� คญั ๕ อยา่ งซึ่งพราหมณจ์ ะเป็นผถู้ วายพระเจ้า แผ่นดินในพระราชบรมราชาภิเษกเสมอ คติเร่ืองเคร่ืองเบญจราชกกุธภัณฑ์ที่เป็นชุดสิ่งของส�ำคัญ ๕ อยา่ งนี้ มขี นบในการจดั ชดุ สง่ิ ของแตกตา่ งกนั อยู่ ๒ แบบ แบบแรกมรี ะบไุ วใ้ นพระคมั ภรี อ์ ภธิ านปั ปทีปกา ซ่ึงเป็นพจนานุกรมภาษาบาลีท่ีแต่งขึ้นในลังกาช่วงราวๆ พุทธศตวรรษท่ี ๑๗ ความว่า “ขคโฺ ค จ ฉตตฺ มุณหสี ํ ปาทุกา วาลวชี น”ี (พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิรวิ ฒั น์ ๒๕๓๖: ๙๖) แปลวา่ พระขรรค์ ฉัตร อุณหสิ (ศริ าภรณส์ วมพระเศียร) ฉลองพระบาท พดั วาลวชิ นี รวมเปน็ ๕ สงิ่ สว่ นแบบทส่ี องปรากฏเปน็ ภาพสลกั บนบานหนา้ ตา่ งพระอโุ บสถวดั บวรนเิ วศวหิ าร มจี ารกึ คาถาภาษา บาลที ร่ี ชั กาลที่ ๔ ทรงพระราชนพิ นธไ์ ว้ ความวา่ “วาฬวชี นี อณุ หฺ สี ํ ขคโฺ ค ทณโฺ ฑ จ ปาทกุ า” (พชิ ญา สมุ่ จนิ ดา ๒๕๕๗: ๑๐๕) หมายถงึ พดั วาลวชิ นี อณุ หสิ พระขรรค์ ธารพระกร (ไมเ้ ทา้ ) ฉลองพระบาท ซึ่งการจัดเคร่ืองเบญจราชกกุธภัณฑ์ทั้ง ๒ รูปแบบน้ี มีข้อแตกต่างกันเล็กน้อยเรื่องการนับว่าฉัตร หรือไมก่ ธ็ ารพระกรเท่านัน้ 117เสด็จสแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

ในพระราชพธิ บี รมราชาภิเษกสมยั รตั นโกสินทร์ จะมกี ารถวายเครือ่ งเบญจราชกกุธภณั ฑ์ ทัง้ ๒ รปู แบบ นัน่ คอื เรมิ่ จากถวายชุดของสำ� คญั ๕ อย่างเป็นชดุ แรก หลังจากนนั้ จึงถวายพระมหา เศวตฉตั รเพม่ิ อกี เปน็ ชดุ หลงั (พระยาเทวาธริ าช ๒๕๐๔: ๓) ในการพระราชพธิ ฉี ตั รมงคลทกุ ปี จะเหน็ วา่ เป็นชุดส่ิงของส�ำคัญ ๕ ส่ิงอันมีธารพระกรเป็นส่วนหนึ่งด้วยเสมอ ซ่ึงเป็นรูปแบบพระราชนิยมใน พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เนอ่ื งจากชดุ นลี้ ว้ นเปน็ สง่ิ ของทมี่ ขี นาดไมใ่ หญน่ กั เจา้ พนกั งาน จงึ สามารถอญั เชญิ มาตั้งแตง่ ในมณฑลพิธไี ดโ้ ดยสะดวก การเรียงล�ำดบั เครื่องเบญจราชกกธุ ภณั ฑ์บนมา้ หมู่หน้าพระแท่นสุวรรณเบญจดล ในงาน พระบรมศพครงั้ นคี้ ลา้ ยกบั ในพระราชพธิ ฉี ตั รมงคลทกุ ปี โดยทพี่ ระมหาพชิ ยั มงกฎุ อยบู่ นพานแวน่ ฟา้ ทองคำ� ทอดไว้ทีช่ ัน้ บนสุด ช้ันกลางมพี านทองคำ� ๓ พานรองรับพระแสงขรรคช์ ัยศรี พดั วาลวิชนกี ับ พระแส้จามรี และธารพระกรชยั พฤกษ์ ชนั้ ลา่ งทอดฉลองพระบาทเชิงงอนมพี านทองคำ� รองรับ ซึ่ง ของแต่ละอยา่ งมคี วามหมายดงั นี้ (วิษณุ เครืองาม ๒๕๕๙) ๑. พระมหาพชิ ัยมงกุฎ เปน็ มงกุฎทองค�ำประดบั อัญมณีซง่ึ มีน้ำ� หนักมากถงึ ๗ กโิ ลกรมั หมายถึง พระราชภาระในการปกครองประเทศ ซ่ึงยิ่งใหญ่หนักหน่วงย่ิงกว่าน�้ำหนักของพระมหา พิชยั มงกฎุ ๒. พระแสงขรรคช์ ัยศรี เป็นของโบราณซึง่ ค้นพบในทะเลสาบเขมรต้ังแตส่ มยั รัชกาลท่ี ๑ หมายถงึ ความเทยี่ งตรงเดด็ ขาดในการตดั สินเรือ่ งราวต่างๆ ด่ังพระแสงขรรค์ท่ีตดั ส่ิงใดก็ขาดออก เปน็ เสน้ ตรงเสมอ ๓. ธารพระกรชัยพฤกษ์ หมายถึง พระมหากษัตริย์ต้องทรงมีหลักการและทฤษฎีในการ ปกครองประเทศ ดงั่ ไมเ้ ท้าทใี่ ช้เป็นหลกั เพอื่ พยุงพระวรกาย ๔. พดั วาลวชิ นี เปน็ พดั ใบตาลและพระแสจ้ ามรี ทงั้ สองสงิ่ นอ้ี ยคู่ กู่ นั เสมอ หมายถงึ การปดั เปา่ ทกุ ข์ภัย บำ� บัดทุกข์บ�ำรงุ สขุ ราษฎรใหอ้ ยูเ่ ยน็ เปน็ สุขถว้ นหนา้ ๕. ฉลองพระบาทเชิงงอน หมายถึง แผ่นดนิ และราษฎรซงึ่ เปน็ ฐานรองรบั พระราชอำ� นาจ ท่พี ระองค์ต้องทรงดูแลปกครองให้อย่ดู ีมีสขุ เสมอกันทง้ั แผ่นดิน สาเหตทุ ใี่ นอดตี ไมม่ เี ครอื่ งเบญจราชกกธุ ภณั ฑท์ อดถวายหนา้ พระบรมศพนนั้ เปน็ เพราะวา่ เคร่ืองเบญจราชกกุธภัณฑ์จะต้องใช้ในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกเสมอ เมื่อพระมหากษัตริย์ องคก์ อ่ นสวรรคตแลว้ ในชว่ งเวลาเดยี วกนั ผทู้ จ่ี ะขนึ้ ครองราชยเ์ ปน็ พระมหากษตั รยิ อ์ งคใ์ หมก่ จ็ ะจดั พระราชพิธีบรมราชาภิเษก ซึ่งจ�ำเป็นต้องใช้เครื่องเบญจราชกกุธภัณฑ์ อย่างไรก็ดี แม้เคยมี “ประกาศเฉลิมพระปรมาภิไธยและถวายราชกกุธภัณฑ์” แด่พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหา อานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร เม่ือวันท่ี ๑๑ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๘๙ (ส�ำนักราชเลขาธิการ ๒๔๘๙) แต่ก็มีเพียงการถวายนพปฎลเศวตฉัตรขึ้นแขวนกางก้ันเหนือพระโกศ โดยไม่มีการเชิญ เคร่อื งเบญจราชกกธุ ภณั ฑอ์ ื่นๆ ประกอบ นอกจากนี้ การทอดเคร่ืองเบญจราชกกุธภัณฑ์ในงานพระบรมศพคราวนี้คงเป็นไปเพื่อ การถวายพระเกียรติยศสูงสุดตามธรรมเนียมตะวันตก เน่ืองจากในทวีปยุโรป เมื่อสมเด็จ พระราชาธบิ ดีองค์ใดสวรรคต ก็จะมีงานพระบรมศพเปน็ รฐั พิธี เรียกว่า “State Funeral” โดยทำ� 118 เสด็จสูแ่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชอื่ ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

การเชิญหีบพระบรมศพน้ันขึ้นรถปืนใหญ่พร้อมเครื่องราชกกุธภัณฑ์ มีขบวนทหารกองเกียรติยศ ๔ แหไ่ ปยังมหาวิหารส�ำคญั เพ่ือประดษิ ฐานหบี พระบรมศพอยา่ งเปน็ ทางการ และให้ประชาชนเขา้ มา ถวายความเคารพได้ เรียกวา่ “Lying in state” ตวั อย่างเชน่ ในงานพระบรมศพพระเจ้าเอ็ดเวิร์ด ที่ ๗ (King Edward VII) เม่อื ค.ศ.๑๙๑๐ มกี ารทอดเครื่องราชกกุธภัณฑบ์ นหบี พระบรมศพด้วย (The London Gazette 1910) โดยมี ๓ อยา่ งคอื พระมหามงกฎุ เซนตเ์ อด็ เวริ ด์ พระคทาทองคำ� และ ลกู โลกทองค�ำ ซงึ่ ทรงได้รบั ในพระราชพธิ บี รมราชาภิเษกนน่ั เอง ดว้ ยเหตุน้ี เม่ือยอ้ นกลับมาพจิ ารณาถงึ การทอดเครอ่ื งเบญจราชกกธุ ภณั ฑ์ทีห่ นา้ พระโกศ ในงานพระบรมศพรชั กาลที่ ๙ จะเหน็ วา่ มคี วามสอดคลอ้ งกบั ธรรมเนยี มตะวนั ตกในทวปี ยโุ รป ถอื วา่ เป็นการประยุกต์ใชธ้ รรมเนียมตะวันตกใหเ้ ขา้ กบั โบราณราชประเพณีแบบไทยอย่างเหมาะสม หบี พระบรมศพพระเจา้ เอด็ เวริ ด์ ที่ ๗ ซ่งึ มกี ารทอดเครื่องราชกกุธภัณฑ์ เมอ่ื ประดิษฐานอย่างเป็นทางการ (Lying in state) ค.ศ.๑๙๑๐ (ทมี่ า: http://www.gagdaily.com/facts/3216-funerals-18601910.html) เคร่อื งราชอสิ รยิ าภรณ์และพระคทาจอมพล แมก้ ารสรา้ งเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณข์ องไทยตง้ั แตแ่ รกนน้ั จะไดร้ บั อทิ ธพิ ลมาจากธรรมเนยี ม ตะวันตก โดยถือว่าเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์คือสิ่งท่ีพระเจ้าแผ่นดินพระราชทาน เป็นเครื่องหมาย เกียรตยิ ศและบ�ำเหน็จความชอบ แต่ในธรรมเนียมตะวันตกก็ไมเ่ คยมีการเชิญเครื่องราชอสิ ริยภรณ์ มาตง้ั แตง่ ถวายที่หนา้ หีบพระบรมศพพระมหากษตั รยิ ์เลย ทงั้ นีเ้ พราะมีเครื่องราชกกุธภณั ฑ์ทอดไว้ บนหบี พระบรมศพอยแู่ ลว้ สาเหตทุ ม่ี ธี รรมเนยี มนค้ี งเปน็ เพราะวา่ เครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณใ์ นความรบั รู้ ของคนไทยนั้น ถือเสมือนเป็นเคร่ืองยศแสดงอิสริยยศหรือฐานานุศักด์ิของบุคคลน้ัน สมดังที่ รชั กาลท่ี ๔ ผทู้ รงสถาปนาเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณข์ องไทยเปน็ ครงั้ แรก ทรงกลา่ วถงึ ในพระราชนพิ นธ์ วา่ “เครอ่ื งประดบั สำ� หรบั ยศ” แบง่ ออกเปน็ “เครอ่ื งราชอสิ รยิ ยศ” สำ� หรบั เครอื่ งประดบั ของพระราชา สว่ นเครอ่ื งประดบั สำ� หรบั ขนุ นางทรงใชค้ ำ� วา่ “เครอ่ื งสำ� คญั ยศ” (สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ 119เสดจ็ สู่แดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

๒๔๖๘: ๓) มีความส�ำคัญเช่นเดียวกับเคร่ืองราชูปโภคหรือเครื่องยศที่เป็นเคร่ืองอุปโภคแบบไทย แต่เดิม (เช่น พานหมาก คนโท เป็นต้น) ดังน้ัน จึงสามารถน�ำเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์มาต้ังแต่ง เปน็ เกียรติยศ ทีห่ น้าพระโกศหรอื หีบศพของผ้เู ป็นเจ้าของได้เชน่ เดยี วกนั สำ� หรบั ในงานพระบรมศพครงั้ นเี้ บอื้ งหนา้ พระแทน่ สวุ รรณเบญจดลมกี ารตง้ั มา้ หมชู่ ดุ หนงึ่ เพอื่ ทอดเครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณข์ องไทยชน้ั สงู สดุ ทกุ ตระกลู เพอ่ื ถวายพระเกยี รตยิ ศในฐานะทที่ รงเปน็ ประธานแห่งเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทุกตระกูล ลักษณะเครื่องราชอิสริยาภรณ์แต่ละตระกูลน้ัน มีความแตกต่างกัน สังเกตได้จากสีของสายสะพาย ซ่ึงชุดที่ทอดถวายในงานพระบรมศพครั้งน้ี มดี งั ตอ่ ไปน้ี ๑) เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณอ์ นั เปน็ มงคลยงิ่ ราชมติ ราภรณ์ (สายสะพายสเี หลอื ง ขอบขาว) ๒) เครอ่ื งขตั ตยิ ราชอสิ รยิ าภรณอ์ นั มเี กยี รตคิ ณุ รงุ่ เรอื งยงิ่ มหาจกั รบี รมราชวงศ์ (สายสะพายสเี หลอื ง) ๓) เครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณอ์ นั เปน็ โบราณมงคลนพรตั นราชวราภรณ์ (สายสะพายสเี หลอื ง ขอบเขยี ว) ๔) เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์อันมีศักด์ิรามาธิบดี ชั้นท่ี ๑ เสนางคะบดี (สายสะพายสีด�ำ ขอบแดง) ๕) เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ช้ันที่ ๑ ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ (สายสะพายสีชมพู) ๖) เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณอ์ นั เปน็ ทเี่ ชดิ ชยู งิ่ ชา้ งเผอื ก ชนั้ สงู สดุ มหาปรมาภรณช์ า้ งเผอื ก (สายสะพาย สีแดง ขอบเขยี ว) ๗) เคร่ืองราชอสิ รยิ าภรณ์อันมเี กียรตยิ ศยง่ิ มงกุฎไทย ชน้ั สูงสุด มหาวชิรมงกฎุ (สายสะพายสนี ้ำ� เงิน ขอบแดงขาว) ๘) เครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณอ์ ันเป็นท่ีสรรเสริญยง่ิ ดิเรกคณุ าภรณ์ ช้นั ที่ ๑ ปฐมดเิ รกคณุ าภรณ์ (สายสะพายสเี ขียว ขอบแดงขาว) การทอดเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ์ เบอื้ งหนา้ พระโกศ พระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภมู พิ ลอดุลยเดช (ทีม่ า: ส�ำนกั ราชเลขาธกิ าร) 120 เสดจ็ สู่แดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

ธรรมเนียมการทอดเครื่องราชอิสริยาภรณ์หน้าพระโกศในงานพระบรมศพ น่าจะเริ่ม ๔ มีมาตั้งแต่สมัยรัชกาลท่ี ๖ ดังที่ปรากฏว่า มีการถวายเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศย่ิง มหาวชิรมงกฎุ แด่พระบรมศพสมเดจ็ พระศรีพชั รนิ ทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนพี ันปีหลวง เมือ่ วนั ท่ี ๒๖ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๖๒ (ราชกิจจานุเบกษา ๒๔๖๒: ๒๑๔๓) นอกจากเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่กล่าวมาแล้ว ที่ม้าหมู่ยังมีของส�ำคัญท่ีทอดถวายเป็น พระเกยี รตยิ ศอกี ดว้ ยคอื “พระคทาจอมทพั ภมู พิ ล” ซง่ึ ทำ� ดว้ ยทองคำ� หนกั ๔๓๐ กรมั สำ� หรบั ทรงใช้ ในพิธกี ารสำ� คญั ท่ีเกีย่ วเนอื่ งกับการทหาร ในฐานะทีท่ รงเปน็ “จอมทพั ไทย” ตามประวตั พิ ระคทา องค์นี้ สภากลาโหมจดั สร้างขน้ึ ทลู เกลา้ ถวายแด่รชั กาลท่ี ๙ เมอ่ื พ.ศ.๒๕๐๙ พระคทาจอมพลเรมิ่ มใี ชค้ รง้ั แรกในรชั กาลท่ี ๕ โดยกรมยทุ ธนาธกิ ารในนามขา้ ราชการทหารบกจดั สรา้ งขน้ึ ทลู เกลา้ ถวาย ในวโรกาสพระราชพธิ ีรชั ดาภเิ ษก พ.ศ.๒๔๔๖ (กรมยทุ ธศกึ ษาทหารบก ๒๕๔๔: ๒-๓) ตอ่ มาเมือ่ พระองค์สวรรคตได้มีการเชิญพระคทาจอมพลองค์ดังกล่าวมาทอดถวายที่ม้าหมู่ริมพระฉากกั้น พระบรมศพดว้ ย (พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ๒๕๔๖: ๑๓๗) ดงั นนั้ จงึ ถอื เปน็ ธรรมเนยี ม งานพระบรมศพพระมหากษตั รยิ ท์ ี่จะต้องมพี ระคทาจอมพลทอดถวายเสมอมา เคร่อื งสงู หักทองขวาง เครอ่ื งสงู มไี วส้ ำ� หรบั เชญิ ออกแหน่ ำ� และตามเสดจ็ เมอ่ื พระมหากษตั รยิ เ์ สดจ็ พระราชดำ� เนนิ ไปยังท่ีต่างๆ เพ่ือแสดงถึงพระบรมราชอิสริยยศดุจพระอินทร์ ซึ่งเม่ือเสด็จไปที่ใดก็มีเทวดาเชิญ เครื่องสูงแห่เป็นขบวนไปด้วยเสมอ ดังน้ัน เครื่องสูงจึงหมายถึงเครื่องแสดงและประดับพระราช อสิ รยิ ยศของพระมหากษตั ริย์ ประกอบดว้ ยของ ๘ อยา่ ง ไดแ้ ก่ ฉตั รเจ็ดชน้ั ฉตั รหา้ ชน้ั บังแทรก ฉตั รชุมสาย จามร พระกลด บังสูรย์ และพัดโบก (พระยาเทวาธริ าช ๒๕๐๔: ๙-๑๐) ธรรมเนียมการใช้เครื่องสูงน้ัน ไทยคงได้รับอิทธิพลมาจากอินเดีย (ราชบัณฑิตยสถาน ๒๕๐๗: ๓๘๐๕) แต่ในอินเดยี จะมีเครอื่ งสูงน้อยชน้ิ คือมเี พียงฉัตร จามร และพดั โบกเท่านนั้ ตอ่ มา เมอื่ แพรห่ ลายเขา้ มาในวฒั นธรรมไทย จงึ มกี ารเพมิ่ ชนดิ ของเครอ่ื งสงู จนมคี วามหลากหลายมากขนึ้ เครื่องสูงสำ� หรับองคพ์ ระมหากษตั รยิ น์ ้ันเรยี กว่า “เคร่อื งสูงหักทองขวาง” หรอื “พระอภิรุมชมุ สาย ปักหักทองขวาง” ค�ำดังกล่าวมีที่มาจากวิธีการประดับตกแต่งส่วนที่เป็นผ้าของเคร่ืองสูงแต่ละช้ิน ในสำ� รบั นี้ โดยใชเ้ สน้ ทองทที่ ำ� จากทองค�ำหรอื ด้ินไหมสีทอง ปักเป็นลวดลายต่างๆบนเนอื้ ผ้า และ มกั จะหกั เสน้ ทองใหข้ วางกบั ตวั ลาย เพอื่ ใหล้ ายเกดิ ความนนู สวยงาม วธิ กี ารนเ้ี ดมิ เปน็ วธิ กี ารปกั ผา้ ของชาวญวน (เวยี ดนาม) ซง่ึ ในสมยั รชั กาลที่ ๒ โปรดใหช้ า่ งสะดงึ กรงึ ไหมในพระราชวงั หลวง มาฝกึ หดั ปกั ดนิ้ อยา่ งญวนเชน่ นี้ เพอ่ื ใชจ้ ดั ทำ� เครอื่ งแตง่ กายโขนละคร ตอ่ มาจงึ โปรดใหใ้ ชว้ ธิ กี ารปกั หกั ทองขวาง น้ี ส�ำหรับตกแต่งเครือ่ งสูงดว้ ย (ราชบณั ฑติ ยสถาน ๒๕๕๐: ๑๘๔-๑๘๕) เคร่อื งสูงส�ำรบั หนง่ึ จะประกอบด้วยของอยู่ ๘ อย่าง หากเปน็ การเสด็จพระราชด�ำเนินโดย กระบวนพยุหยาตราทางสถลมารคกจ็ ะเชญิ เครอ่ื งสงู หักทองขวางครบทั้งสำ� รบั ๘ อยา่ งเข้ากระบวน เพื่อแห่น�ำและตามเสด็จเสมอ แต่ถ้าเป็นการจัดเคร่ืองสูงตั้งแต่งถวาย ณ ที่ประดิษฐานพระโกศ พระบรมศพ ก็จะลดชนิดของเคร่ืองสูงหักทองขวางลงเหลือเพียง ๔ อย่างเท่านั้น คือฉัตรเจ็ดช้ัน ฉตั รหา้ ชนั้ ฉัตรชมุ สาย และบงั แทรก โดยตง้ั แตง่ ไว้ทบี่ ริเวณโดยรอบพระแทน่ สุวรรณเบญจดล 121เสด็จสูแ่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

สาเหตทุ ล่ี ดชนดิ ของเครอื่ งสงู หกั ทองขวางลงเหลอื เพยี ง ๔ ชนดิ ดงั กลา่ วมาขา้ งตน้ เนอื่ งจาก การประดิษฐานพระบรมศพบนพระท่ีน่ังดุสิตมหาปราสาทน้ัน ไม่จ�ำเป็นต้องมีเคร่ืองกางกันแดด (พระกลดและบงั สรู ย)์ หรอื เครอ่ื งพดั ปดั เปา่ (พดั โบกและจามร) จงึ ไมม่ กี ารเชญิ ออกมาตง้ั แตง่ ถวาย เวลานี้ แต่เม่ือถึงเวลาท่ีมีการอัญเชิญพระโกศพระบรมศพเข้าริ้วกระบวนเคลื่อนไปยังพระเมรุมาศ จงึ จะมกี ารเชญิ เครอ่ื งสงู หกั ทองขวางเตม็ ทงั้ สำ� รบั ๘ ชนดิ เขา้ รวิ้ กระบวนเพอื่ เปน็ พระเกยี รตยิ ศดว้ ย พระบรมฉายาลกั ษณ์ในงานพระบรมศพ แมว้ า่ วทิ ยาการเรอ่ื งการถา่ ยรปู จะเปน็ ของสมยั ใหมจ่ ากชาวตะวนั ตก ตง้ั แตส่ มยั รชั กาลท่ี ๔ แตน่ า่ วา่ ธรรมเนยี มการตง้ั พระบรมฉายาลกั ษณใ์ นงานพระบรมศพของไทยนนั้ ไมน่ า่ จะเกย่ี วขอ้ งกบั ธรรมเนียมตะวันตกแต่อย่างใด เน่ืองจากใกล้กับหีบพระบรมศพของพระมหากษัตริย์ในยุโรปท่ีต้ัง อยใู่ นวิหาร ไมเ่ คยมกี ารตั้งพระบรมฉายาลักษณเ์ ลย ดงั น้ัน ธรรมเนยี มการตงั้ พระบรมฉายาลักษณ์ ในงานพระบรมศพจงึ น่าจะเกิดขึ้นในราชสำ� นักไทยน่ีเอง จากหลกั ฐานภาพถา่ ยเกา่ พบวา่ งานพระศพพระบรมวงศานวุ งศบ์ างองคใ์ นสมยั รชั กาลที่ ๕ เรมิ่ มกี ารตง้ั พระฉายาลกั ษณข์ องผสู้ นิ้ พระชนม์ (หรอื พระสาทสิ ลกั ษณ-์ ภาพเขยี น) ทหี่ นา้ พระโกศแลว้ ตัวอย่าง เช่น งานพระศพพระองค์เจ้าศิริวงศ์วัฒนเดชและหม่อมแม้น ภานุพันธุ์ ณ อยุธยา เม่ือ พ.ศ.๒๔๕๑ เปน็ ตน้ แม้วา่ จะไมส่ ามารถหาหลกั ฐานไดว้ า่ เม่อื คร้ังงานพระบรมศพพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ.๒๔๕๓ มีการตั้งพระบรมฉายาลักษณ์ที่พระท่ีน่ังดุสิตมหาปราสาท หรอื ไม่ แตก่ พ็ บวา่ ในงานพระบรมศพสมเดจ็ พระศรพี ชั รนิ ทราบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง เมอ่ื พ.ศ.๒๔๖๒ มกี ารตงั้ พระบรมฉายาลกั ษณท์ หี่ นา้ พระฉากมขุ ตะวนั ตกของพระทนี่ งั่ ดสุ ติ มหาปราสาท ซง่ึ เป็นทีป่ ระดิษฐานพระโกศดว้ ย (พระองค์เจา้ จุลจกั รพงษ์ ๒๕๓๑: ๑๔๑) และต่อมาก็จะกลายเปน็ แนวปฏิบัติทต่ี อ้ งมีการตงั้ แตง่ พระบรมฉายาลักษณไ์ ว้ทุกครั้ง พระบรมฉายาลักษณ์ในงานพระบรมศพครั้งน้ี เป็นภาพพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงฉลองพระองค์เคร่ืองแบบเต็มยศทหารบก และสวมสายสะพายของ เครอ่ื งขัตตยิ ราชอิสริยาภรณอ์ นั มเี กียรติคุณรุ่งเรอื งยงิ่ มหาจักรบี รมราชวงศ์ ทรงสวมฉลองพระองค์ ครยุ กรองทองประดบั ดารามหาจกั รแี ละสายสรอ้ ยปฐมจลุ จอมเกลา้ วเิ ศษดว้ ย ขณะประทบั ยนื อยเู่ บอื้ งหนา้ พระทีน่ ั่งภัทรบิฐ ในพระท่นี งั่ ไพศาลทักษิณ พระบรมฉายาลักษณ์นที้ รงฉายไว้เมือ่ พ.ศ.๒๕๔๙ พระพทุ ธรปู ประจำ� พระชนมวารบนพระแท่นราชบัลลงั ก์ประดบั มุก ส�ำหรับคติความเป็นมาของพระพุทธรูปประจ�ำพระชนมวารหรือพระพุทธรูปปางประจ�ำ วนั เกดิ ในงานพระบรมศพมคี วามเปน็ มาดงั น้ี กลา่ วคอื การประดษิ ฐานพระพทุ ธรปู ประจำ� พระชนมวาร ในพระราชพิธพี ระบรมศพนั้น มหี ลกั ฐานแน่ชดั ปรากฏในสมัยรัชกาลท่ี ๕ เมือ่ คราวงานพระบรมศพ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร พ.ศ.๒๔๓๗ (ราชกิจจา นเุ บกษา ๒๔๓๗: ๓๓๕) และถอื เป็นธรรมเนยี มปฏิบัตสิ ำ� หรบั พระราชพิธพี ระบรมศพแทบทุกคร้ัง อย่างไรก็ตาม ในงานพระบรมศพบางคราวอาจมีการอัญเชิญพระพุทธรูปองค์อื่นมาประดิษฐาน แทนไดด้ ว้ ย ตวั อยา่ งเชน่ เมอื่ ครงั้ งานพระบรมศพรชั กาลท่ี ๘ มกี ารอญั เชญิ พระสมั พทุ ธพรรโณภาส 122 เสด็จสู่แดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

๔ พระพทุ ธรปู ประจำ� พระชนมวารของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช (ทีม่ า: ส�ำนกั ราชเลขาธิการ ๒๕๓๕) ซง่ึ ปกตปิ ระดษิ ฐานเปน็ พระพทุ ธรปู ประธานของพระวมิ านพระบรมอฐั บิ นพระทนี่ งั่ จกั รมี หาปราสาท มาประดิษฐาน (ราชกิจจานุเบกษา ๒๔๙๓: ๑๒๖๔) ทั้งนี้เพราะในสมัยรัชกาลที่ ๘ ยังไม่ทันได้มี การหล่อพระพุทธรูปประจ�ำพระชนมวารก็เสด็จสวรรคตเสียก่อน และพระพุทธรูปองค์นี้มีนัย ถึงงานพระบรมศพด้วย (พิริยะ ไกรฤกษ์ ๒๕๕๑: ๘๕) สำ� หรบั คตกิ ารนบั ถอื พระพทุ ธรปู ปางประจำ� วนั เกดิ ของไทยนน้ั นา่ จะมที มี่ าจากคตคิ วามเชอ่ื เกยี่ วกบั เทวดานพเคราะห์ (เทพประจำ� วนั ทง้ั เจด็ เพมิ่ พระเกตแุ ละพระราหรู วมเปน็ เกา้ ) ซง่ึ มกี ารกำ� หนด พระพุทธรูปปางต่างๆ ให้บูชาคู่กับนพเคราะห์ ดังปรากฏในสมุดต�ำราพระพุทธรูปฉบับหลวงสมัย รชั กาลที่ ๓ กล่าวคือ ปางถวายเนตรคู่กับพระอาทิตย์ ปางหา้ มสมทุ รคกู่ บั พระจนั ทร์ ปางไสยาสน์ คู่กับพระอังคาร ปางอุ้มบาตรคู่กับพระพุธ ปางสมาธิคู่กับพระพฤหัสบดี ปางร�ำพึงคู่กับพระศุกร์ ปางนาคปรกคูก่ บั พระเสาร์ ปางปา่ เลไลยกค์ กู่ บั พระราหู ปางขัดสมาธิเพชรคกู่ ับพระเกตุ (สมเดจ็ ฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ๒๔๖๙: ๑๔๔-๑๔๕) ซ่งึ หลักการก�ำหนดพระพทุ ธรูปปางต่างๆ คกู่ บั นพเคราะหน์ ี้ก็กลายมาเปน็ คติพระพุทธรปู ประจำ� วันเกิดในที่สุด ธรรมเนียมการสร้างพระพุทธรูปประจ�ำพระชนมวารปรากฏขึ้นเป็นคร้ังแรก เม่ือราว พ.ศ.๒๔๑๐-๒๔๑๑ ในสมยั รชั กาลที่ ๔ โดยพระองคโ์ ปรดฯ ให้หลอ่ พระพุทธรูปประจ�ำพระชนมวาร ตามวนั พระราชสมภพ ถวายแด่รัชกาลท่ี ๑, ๒ และสมเดจ็ พระอคั รมเหสขี องทั้ง ๒ รชั กาลนนั้ ดว้ ย เป็นปฐม (พิริยะ ไกรฤกษ์ ๒๕๕๑: ๘๐-๘๑) จากนั้นก็มีการสร้างพระพุทธรูปประจ�ำพระชนมวาร 123เสด็จสู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอื่ ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

เปน็ ประเพณเี รอ่ื ยมาทกุ รชั กาล ซง่ึ ในระยะแรกจะเรยี กวา่ พระพทุ ธรปู “ประจำ� พระชนมพ์ รรษาวนั ” ดงั ปรากฏในประกาศพระราชพธิ ที วีธาภิเษก เมอ่ื พ.ศ.๒๔๔๖ (ราชกจิ จานเุ บกษา ๒๔๔๗: ๔๗๘) ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ ๖ จึงปรากฏคำ� ว่า “พระพทุ ธรูปประจ�ำพระชนมวาร” ดังปรากฏในประกาศ เรอื่ งพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หัวสวรรคต (พริ ิยะ ไกรฤกษ์ ๒๕๕๑: ๘๓) และใช้ค�ำน้ี เพื่อหมายถึงพระพทุ ธรปู ปางประจำ� วันพระราชสมภพของพระมหากษัตริยเ์ สมอมาจนถงึ ปจั จุบัน อย่างไรก็ดี บางครั้งรูปแบบปางพระพุทธรูปสามารถเปล่ียนแปลงไปตามพระราชนิยม สว่ นพระองคไ์ ดด้ ว้ ย ตวั อยา่ งเชน่ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ซง่ึ เสดจ็ พระราชสมภพ วันอังคาร แต่โปรดให้สร้างพระพุทธรูปประจ�ำพระชนมวารเป็น “ปางห้ามพระแก่นจันทน์” แทน ปางไสยาสน์ซ่งึ เดมิ ก�ำหนดไว้สำ� หรับวันอังคาร (ราชกจิ จานเุ บกษา ๒๔๕๔: ๑๗๘๓) เป็นต้น เช่นเดียวกบั กรณีพระพุทธรปู ประจ�ำพระชนมวารในรชั กาลท่ี ๙ ซึง่ อันท่จี รงิ พระองคเ์ สดจ็ พระราชสมภพวนั จนั ทร์ แตพ่ ระพทุ ธรปู กลบั เปน็ “ปางหา้ มญาต”ิ (ยกพระหตั ถข์ วาขา้ งเดยี ว) แทนท่ี จะเป็นปางหา้ มสมทุ ร (ยกพระหัตถท์ งั้ สองข้าง) ตามคติดง้ั เดมิ นัน้ คงเป็นเพราะคตนิ ิยมอย่างใหม่ ทเี่ พงิ่ เกดิ ในสมยั รชั กาลที่ ๙ นเ่ี องทถี่ อื กนั วา่ พระพทุ ธรปู ประจำ� วนั เกดิ วนั จนั ทรค์ วรเปน็ “ปางหา้ มญาต”ิ เท่าน้นั (พระพิมลธรรม ๒๕๓๓: ๙๔) โดยองค์พระมคี วามสงู ต้งั ฐานถึงพระรศั มี ๓๑.๙๕ เซนตเิ มตร หลอ่ ดว้ ยเงนิ และกาไหลท่ องคำ� สรา้ งขนึ้ เมอ่ื ครงั้ พระราชพธิ มี หามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา ๕ รอบ พ.ศ. ๒๕๓๐ นอกจากพระพุทธรูป พระแท่นราชบัลลังก์ประดับมุกที่ไว้ประดิษฐานพระพุทธรูปองค์นี้ กน็ บั วา่ มคี วามสำ� คญั มาก ตามทก่ี ลา่ วพระแทน่ องคน์ ส้ี รา้ งขน้ึ ตงั้ แตส่ มยั รชั กาลที่ ๑ โดยมผี อู้ ำ� นวยการ สรา้ งคอื เจา้ พระยามหาเสนา (บนุ นาค) (เจา้ พระยาทพิ ากรวงศ์ ๒๔๗๘: ๑๗๓) การตกแตง่ พระแทน่ สะทอ้ นคตเิ ขาพระสเุ มรดุ งั เหน็ ไดจ้ ากประดบั ดว้ ยฐานสงิ หท์ ช่ี น้ั ลา่ ง รปู สงิ หแ์ บก ครฑุ แบก และเทพนม ตามลำ� ดบั ส่ีมมุ พระแท่นนี้มีต้นไม้เงนิ และต้นไมท้ องต้ังอยู่อย่างละคู่ เป็นสัญลักษณข์ องต้นไมใ้ นป่า หิมพานต์เชิงเขาพระสุเมรุ และเหนือพระแท่นราชบัลลังก์นี้มีพระนพปฎลมหาเศวตฉัตรกางก้ัน ดังนั้น เม่ือพระมหากษัตริย์เสด็จขึ้นประทับเหนือพระแท่นราชบัลลังก์นี้ ก็เปรียบเสมือนทรงเป็น พระอินทร์ผ้เู ปน็ ราชาแห่งทวยเทพ ซึง่ สถิตอยเู่ หนือยอดเขาพระสเุ มรนุ ั่นเอง เครอ่ื งราชสักการะพระบรมศพ โดยปกติการจัดพิธีบ�ำเพ็ญกุศลในทางพระพุทธศาสนา ย่อมมีการจัดแต่งเครื่องบูชา พระรัตนตรัยด้วยดอกไม้ธูปเทียนเป็นหลัก ซึ่งพุทธศาสนิกชนทุกระดับชั้นคุ้นเคยกันดี แต่ถ้าเป็น พระราชพธิ พี ระบรมศพของพระมหากษตั รยิ ์ เครอื่ งนมสั การสำ� หรบั บชู าพระรตั นตรยั และเครอื่ งราช สักการะส�ำหรับพระบรมศพ ย่อมมีรายละเอียดปลีกย่อยที่วิจิตรมากกว่า เนื่องจากธรรมเนียมใน ราชสำ� นกั สยามนนั้ การจดั เครอ่ื งบชู าในพระราชพธิ มี กั จะตอ้ งมขี องครบ ๔ อยา่ งคอื เทยี น ธปู ขา้ วตอก และดอกไม้ ซึ่งอาจจะมีต้นเค้ามาจากประเพณีในศาสนาพราหมณ์ โดยถือว่าเทียนเป็นเคร่ืองให้ แสงสว่าง ธูปเป็นเคร่ืองดับกล่ินอันไม่พึงประสงค์ ข้าวตอกและดอกไม้เป็นเคร่ืองประทินให้มี กล่นิ หอม (สมเดจ็ ฯ กรมพระยาด�ำรงราชานภุ าพ ๒๔๗๓: ๑-๒) 124 เสด็จสแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชือ่ ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

การจัดเคร่ืองบูชาส�ำหรับพระราชพิธีของราชส�ำนักสยามอาจแบ่งได้เป็น ๒ อย่างตาม ๔ วัตถุประสงค์ กล่าวคอื ถา้ ใช้บูชาพระรตั นตรยั เรียกวา่ “เคร่อื งนมัสการ” แตถ่ ้าใชก้ ราบถวายบังคม พระบรมศพ พระบรมอัฐิ หรือพระบรมรูป มักเรียกว่า “เคร่ืองราชสักการะ” ซ่ึงเครื่องท้ังสองนี้ มีการแบง่ ออกไปอีกหลายช้ันหลายล�ำดับขน้ึ อยู่กับวา่ ใช้เพอ่ื การใดและใครเปน็ ผใู้ ช้ สำ� หรับการตงั้ แต่งเคร่อื งราชสักการะและเครือ่ งนมสั การตา่ งๆ ในพระราชพิธีพระบรมศพ รชั กาลที่ ๙ มรี ายละเอียดดังตอ่ ไปน้ี ๑. เครอื่ งราชสกั การะทองคำ� ลงยาราชาวดี เปน็ เครอื่ งราชสกั การะขนาดกลาง (พระยาเทวา ธริ าช ๒๕๐๔: ๑๒) ประกอบด้วย เชิงเทียนทองค�ำลงยาปักเทียนข้ีผ้ึง เชิงธูปทองค�ำลงยาปักธูป ไม้ระก�ำ พานพุ่มข้าวตอกทองค�ำลงยา และพานพุ่มดอกไม้สดทองค�ำลงยา ของทุกอย่างในส�ำรับ จัดไว้อย่างละ ๕ ช้ินเรียงเปน็ ระเบียบ ท้ังสำ� รบั มโี ต๊ะเท้าคู้หมุ้ ทองคำ� ลงยารองรับ เครอื่ งราชสกั การะ ชุดนี้ทอดไว้ด้านหน้าพระแท่นสุวรรณเบญจดลที่ประดิษฐานพระโกศ ส�ำหรับพระมหากษัตริย์ทรง จดุ เพือ่ กราบถวายบงั คมพระบรมศพ ซ่ึงจะตอ้ งมี “เครื่องทองน้อย” อีกชุดหนง่ึ ดว้ ยสำ� หรับทรงใช้ จุดพร้อมกันเพ่ือถวายราชสักการะพระบรมศพด้วย อย่างไรก็ดี หากเป็นการพระราชพิธีบ�ำเพ็ญ พระราชกศุ ลครงั้ สำ� คญั ตามรอบเวลา เชน่ สตั ตมวาร ปญั ญาสมวาร เปน็ ตน้ พระบรมวงศานวุ งศผ์ ทู้ รง เปน็ ประธานในพระราชพธิ วี นั นนั้ จงึ จะทรงจดุ เครอ่ื งราชสกั การะทองคำ� ลงยาราชาวดนี ไี้ ด้ เนอื่ งจาก ถือวา่ เป็นการเสด็จพระราชดำ� เนนิ แทนพระองค์พระมหากษตั รยิ ์ ๒. เคร่ืองทองน้อย เป็นเคร่ืองราชสักการะขนาดเล็ก ประกอบด้วยพานทองค�ำรองรับ เชงิ เทยี นทองคำ� ๑ เชงิ ปกั เทยี นขผ้ี ง้ึ เชงิ ธปู ทองคำ� ๑ เชงิ ปกั ธปู ไมร้ ะกำ� และกรวยทองคำ� ปกั พมุ่ ดอกไม้ ขนาดเลก็ ๓ กรวย โดยทว่ั ไปเครอ่ื งทองนอ้ ยมกั จะใชส้ ำ� หรบั บชู าเฉพาะวตั ถุ เชน่ พระบรมอฐั ิ เปน็ ตน้ (สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ ๒๔๗๓: ๓) ซงึ่ เครอ่ื งทองนอ้ ยในพระราชพธิ พี ระบรมศพครงั้ นี้มีหลายประเภท สังเกตไดจ้ ากรูปแบบการต้งั แต่งท่ีตา่ งกนั กล่าวคอื เคร่ืองทองน้อยทอดข้างเครื่องราชสักการะทองค�ำลงยาราชาวดี จุดสังเกตท่ีส�ำคัญคือ เครื่องทองน้อยชุดนี้มีเชิงเทียนและเชิงธูปท�ำเป็นรูปหงส์ ซ่ึงถือเป็นเครื่องทองน้อยส�ำหรับองค์ พระมหากษัตรยิ ์โดยเฉพาะ เครอ่ื งทองนอ้ ยส�ำหรบั พระบรมวงศานวุ งศ์ เปน็ เคร่อื งทองนอ้ ยทองค�ำจำ� หลักลายดุนไม่มี การลงยา ทอดไว้บนม้าสูงลงรักปิดทองโดยหันส่วนที่เป็นกรวยดอกไม้ไปทางพระบรมศพเสมอ หากตง้ั แตง่ ถวายพระราชวงศผ์ ใู้ หญฝ่ า่ ยหนา้ คอื สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าชฯ จะทอดเครอ่ื งทองนอ้ ย ไวท้ างด้านขวาของโต๊ะเคร่ืองราชสกั การะ แตถ่ า้ หากตั้งแต่งถวายพระราชวงศ์ฝา่ ยใน เช่น สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ เปน็ ต้น จะทอดเครอื่ งทองน้อยไว้ทางซ้ายของโตะ๊ เคร่อื งราชสักการะ เครอื่ งทองนอ้ ยสำ� หรบั พระบรมศพทรงธรรม มลี กั ษณะคลา้ ยกบั สำ� รบั ทพี่ ระบรมวงศานวุ งศ์ ทรงใช้ แตท่ อดไวท้ ม่ี า้ เตย้ี ทางดา้ นซา้ ยของโตะ๊ เครอื่ งราชสกั การะ โดยเครอ่ื งทองนอ้ ยชดุ นจ้ี ะหนั สว่ น ที่มีกรวยดอกไม้ไปทางมุขตะวันออกของพระท่ีน่ังดุสิตมหาปราสาท อันเป็นท่ีต้ังธรรมาสน์และ อาสนส์ งฆ์ ทง้ั นเ้ี พราะถอื วา่ เปน็ สง่ิ ท่ี “พระบรมศพ” ทรงใชเ้ พอื่ บชู าพระธรรม ดงั นน้ั เมอื่ มกี ารแสดง พระธรรมเทศนา สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวหรือพระบรมวงศานุวงศ์ผู้ทรงเป็นประธานการบ�ำเพ็ญ พระราชกุศลในวันนัน้ จะทรงเปน็ ผูจ้ ดุ เครื่องทองนอ้ ยชุดน้ีถวายแทนพระบรมศพ 125เสด็จสแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชือ่ ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

เครื่องนมัสการพานทองสองชั้นและเคร่ืองนมัสการกระบะถม ทอดถวายเบื้องหน้าท่ีประดิษฐานพระพุทธรูปประจ�ำ พระชนมวาร ขณะที่สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ (พระอิสริยยศเวลานั้น) ก�ำลังทรงจุดเคร่ืองนมัสการกระบะถม เพ่ือบูชาพระรัตนตรยั (ทม่ี า: สำ� นักราชเลขาธิการ) ๓. เครอื่ งนมสั การพานทองสองชนั้ เปน็ เครอ่ื งนมสั การขนาดกลางทอี่ งคป์ ระกอบโดยรวม คลา้ ยเครอ่ื งราชสกั การะทองคำ� ลงยาราชาวดที ก่ี ลา่ วไวข้ า้ งตน้ แตม่ รี ายละเอยี ดปลกี ยอ่ ยทแี่ ตกตา่ งไป เชน่ พานพมุ่ ข้าวตอกและพานพุ่มดอกไม้สด เป็นพานทองคำ� สลกั ลายสองช้ินวางซอ้ นกนั เปน็ ต้น ถือเป็นเคร่ืองนมัสการส�ำหรับพระมหากษัตริย์ทรงบูชาพระพุทธรูปในงานพระราชพิธีใหญ่ท่ีจัด ในเขตพระราชฐานเทา่ นน้ั ในพระราชพธิ พี ระบรมศพครง้ั นมี้ กี ารทอดเครอื่ งนมสั การพานทองสองชน้ั ทด่ี า้ นหนา้ พระแทน่ ราชบลั ลงั กป์ ระดบั มกุ โดยมธี รรมเนยี มปฏบิ ตั สิ ำ� คญั คอื มเี พยี งสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เท่าน้นั ทีท่ รงใช้เคร่อื งนมัสการพานทองสองชัน้ เพอื่ บชู าพระพุทธรปู ประจำ� พระชนมวารได้ ๔. เครื่องนมัสการกระบะถม เปน็ เครือ่ งนมสั การขนาดย่อมส�ำหรับพระบรมวงศานุวงศ์ ทรงใช้จุดบูชาพระพุทธรูปประจ�ำพระชนมวาร ภายในกระบะมีเคร่ืองบูชามีเชิงเทียนปักเทียนข้ีผ้ึง เชงิ ธปู ปกั ธปู ไมร้ ะกำ� พานขา้ วตอกและพานดอกไม้ เครอ่ื งนมสั การกระบะถมนจ้ี ะทอดอยบู่ นโตะ๊ ตวั เลก็ ทางด้านซา้ ยของโตะ๊ เครือ่ งนมสั การพานทองสองช้นั เสมอ ๕. เครอื่ งทรงธรรมสำ� รบั ใหญ่ สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงใชบ้ ชู าพระธรรมในพระราชพธิ บี ำ� เพญ็ พระราชกุศลที่มีหมายก�ำหนดการให้แต่งกายเต็มยศหรือคร่ึงยศเท่านั้น โดยจะทอดไว้เบื้องหน้า พระอาสน์ส�ำหรับทรงจดุ เม่อื ทรงสดับพระธรรมเทศนา (ธงทอง จันทรางศุ ๒๕๕๙) เครอ่ื งนมัสการ ชุดน้ีเป็นเคร่ืองบูชาพิเศษที่ประดิษฐ์ข้ึนมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๕ โดยการผสมผสานทั้งเครื่องบูชา แบบไทย แบบจีน และแบบยโุ รปไว้ในสำ� รบั เดียวกนั ประกอบดว้ ยของหลายอย่าง อาทิ พานทองค�ำ ทรงบานกวา้ งแบบจานเชงิ ขนาดใหญ่ สำ� หรบั รองรบั เชงิ เทยี นทองคำ� ปกั เทยี นขผ้ี งึ้ ๒ เชงิ กระถางธปู ใบเล็ก ๑ ใบ เป็นต้น ของท้งั หมดทกี่ ลา่ วมานจี้ ัดเรยี งไวบ้ นโต๊ะเทา้ สิงห์โลหะสลักลายมังกรแบบจนี ซึง่ จะมเี ชงิ เทียนโลหะสีทองแบบยุโรปอยูข่ ้างโตะ๊ เท้าสิงหน์ ้ี เชงิ เทยี นนที้ ำ� เปน็ รปู ตน้ ปาลม์ มกี ง่ิ แยก 126 เสด็จสแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

๔ เคร่ืองทรงธรรมส�ำรับใหญ่ ตั้งแต่งไว้ในการพระราชพิธี การต้ังแต่งอาสน์สงฆ์และพานพระมหากฐินรองรับ เพญ็ พระราชกศุ ลเนอื่ งในการสมโภชกรงุ รัตนโกสนิ ทร์ พระภูษาโยงขณะท่ีสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงประเคน ๒๐๐ ปี พ.ศ.๒๕๒๕ (ทมี่ า: ส�ำนกั ราชเลขาธกิ าร ๒๕๒๕) ภัตตาหารถวายแด่สมเด็จพระสังฆราช (ที่มา: ส�ำนัก ราชเลขาธิการ) สำ� หรบั ปกั เทยี นขผี้ งึ้ ตวั ฐานเชงิ เทยี นทำ� เปน็ รปู ชา้ งสที องยนื ทโี่ คนตน้ ปาลม์ และมอี กั ษรพระปรมาภไิ ธย ยอ่ จปร. ๖. เครือ่ งบูชากระบะมกุ เป็นเคร่อื งนมัสการขนาดเลก็ ที่ตั้งแต่งไว้ส�ำหรับบชู าหน้าหบี พระธรรมประจำ� เตยี งพระพธิ ธี รรมเสมอ ภายในกระบะมเี ครอื่ งบชู าทเี่ ปน็ เครอ่ื งแกว้ ทงั้ ชดุ มเี ชงิ เทยี น แกว้ เชงิ ธปู แก้ว และพานแกว้ ใส่พุม่ ดอกไม้สด เมื่อสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั หรือพระบรมวงศานุวงศ์ ผทู้ รงเปน็ ประธานเสดจ็ มาในการบำ� เพญ็ พระราชกศุ ลแตล่ ะครงั้ จะเสดจ็ มาทรงจดุ เครอ่ื งบชู ากระบะมกุ นี้ กอ่ นทพ่ี ระพธิ ธี รรมจะเรมิ่ สวดพระอภธิ รรมเสมอ ซงึ่ เปน็ ธรรมเนยี มปฏบิ ตั เิ ดยี วกนั กบั งานศพสามญั ชน ท่เี จ้าภาพจะจดุ ธปู เทยี นหนา้ หีบพระธรรม กอ่ นจะมีการสวดพระอภิธรรมนัน่ เอง พน้ื ท่ีส�ำหรับพิธสี งฆ์ พน้ื ทซี่ ง่ึ จดั ไวส้ ำ� หรบั พระสงฆจ์ ะมกี ารจดั เตรยี มไวพ้ รอ้ มตลอดเวลา เนอ่ื งจากตอ้ งมพี ระพธิ ธี รรม และสวดพระอภิธรรมตลอดเวลาทั้งกลางวันและกลางคืน อีกท้ังการบ�ำเพ็ญพระราชกุศลประจำ� วนั กม็ จี ะการสดบั ปกรณเ์ สมอตลอดชว่ ง ๑๐๐ วนั แรก ถา้ หากเปน็ พระราชพธิ บี ำ� เพญ็ พระราชกศุ ลครงั้ สำ� คญั ตามรอบเวลา เชน่ ปณั รสมวาร สตมวาร เปน็ ตน้ กม็ กี ารสวดพระพทุ ธมนตแ์ ละแสดงพระธรรมเทศนา อีกด้วย ส่งิ สำ� คญั ทเี่ ตรยี มไวส้ ำ� หรบั พธิ ีสงฆ์ มีดงั น้ี ๑. อาสนส์ งฆ์ ลกั ษณะเปน็ แทน่ ไมแ้ กะสลกั ปดิ ทองลอ่ งชาดวางยาวตลอดแนวผนงั น้ี ซง่ึ บน อาสนส์ งฆจ์ ะปลู าดผา้ ขาวไวเ้ สมอ เมอื่ มกี ารบำ� เพญ็ พระราชกศุ ล เจา้ พนกั งานจะนมิ นตพ์ ระราชาคณะ ขน้ึ นง่ั ทอี่ าสนส์ งฆน์ เ้ี พอื่ สวดพระพทุ ธมนต์ สดบั ปกรณ์ และรบั พระราชทานฉนั ตามเวลา โดยมสี ง่ิ สำ� คญั อย่างหนึ่งซึง่ ตงั้ อยปู่ ระจ�ำทีห่ วั อาสน์สงฆ์ดา้ นที่ตดิ กบั ธรรมาสนก์ ค็ ือ “พานพระมหากฐิน” มีจ�ำนวน ๒ ชดุ เหตทุ เี่ รยี กพานพระมหากฐนิ นมี้ าจากธรรมเนยี มเดมิ ทเ่ี คยใชเ้ พอื่ วางผา้ ไตร แตใ่ นพระราชพธิ ี พระบรมศพนจี้ ะใช้พานนีร้ องรับผา้ ผืนยาวพบั ทบไวเ้ รียกว่า “พระภษู าโยง” 127เสด็จส่แู ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงจดุ เครอื่ งบชู า กระบะมกุ ณ เตยี งพระพธิ ธี รรม กอ่ นท่ี พระพิธีธรรมจะสวดพระอภิธรรมใน พระราชพธิ บี ำ� เพญ็ พระราชกศุ ล (ทมี่ า: ส�ำนกั ราชเลขาธิการ) ๒. ธรรมาสน์ ลักษณะเป็นธรรมาสน์ไม้แกะสลักลงรักปิดทองประดับกระจกรูปทรง คลา้ ยสปั คบั บนหลงั ชา้ ง พนกั พงิ ดา้ นหลงั ของธรรมาสนม์ อี กั ษรพระปรมาภไิ ธยยอ่ จปร. อยใู่ ตพ้ ระเกย้ี ว ซ่ึงธรรมาสน์น้ีเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องสังเค็ด เมื่อครั้งงานพระบรมศพรัชกาลที่ ๕ โดยสร้างขึ้น ตามพระดำ� รขิ องสมเดจ็ ฯ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ (สมเดจ็ ฯ เจา้ ฟา้ กรมพระยานรศิ รานวุ ดั ตวิ งศ์ ๒๕๐๔: ๑๔๔) ธรรมเนยี มในพระราชพธิ บี ำ� เพ็ญพระราชกศุ ลครงั้ สำ� คัญ เชน่ สตั ตมวาร สตมวาร เปน็ ต้น นน่ั กค็ อื เมอื่ พระราชาคณะทน่ี ง่ั ประจำ� อาสนส์ งฆส์ วดพระพทุ ธมนตจ์ บแลว้ จะตอ้ งมกี ารแสดงพระธรรม เทศนา ๑ กัณฑเ์ สมอ โดยพระราชาคณะจะขึน้ นง่ั บนธรรมาสนน์ ้ีถวายพระธรรมเทศนาจนจบกัณฑ์ จากน้นั จึงมพี ระเปรยี ญสวดธรรมคาถารับกัณฑ์เทศน์ที่พระแท่นราชบรรจถรณต์ ่อไป แต่เดิมในอดีตเคยมีการใช้พระแท่นราชบัลลังก์ประดับมุกเป็นธรรมาสน์ในพระราชพิธี พระบรมศพมาก่อน เช่น เมอ่ื ครัง้ งานพระบรมศพรชั กาลท่ี ๕ เป็นต้น สำ� หรบั ในสมัยรัชกาลที่ ๙ นั้น งานพระบรมศพในระยะแรกมักจะใช้ “ธรรมาสน์กลีบบัว” จนกระท่ังในงานพระบรมศพสมเด็จ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี จงึ ไดม้ กี ารปรบั เปลย่ี นมาเปน็ “ธรรมาสนท์ รงสปั คบั ” นแี้ ทน เพราะ มีขนาดย่อมกว่า เพื่อให้พระราชาคณะผู้แสดงพระธรรมเทศนาได้ข้ึนลงธรรมาสน์สะดวกข้ึน (กองจดหมายเหตแุ หง่ ชาติ ๒๕๔๑: ๗๔) ซง่ึ ไดก้ ลายเปน็ ธรรมเนยี มปฏบิ ตั ติ ง้ั แตน่ นั้ สบื มาจนถงึ พระ ราชพิธพี ระบรมศพคราวน้ี ๓. พระแท่นราชบรรจถรณ์ประดับมุก ลักษณะเป็นพระแท่นทรงส่ีเหล่ียมผืนผ้าอย่าง เตยี งบรรทม สำ� หรบั พระภกิ ษทุ เี่ ปน็ เปรยี ญ ๔ รปู จะไดข้ น้ึ นง่ั เพอ่ื สวดธรรมคาถา การสวดธรรมคาถานน้ั จะเร่ิมสวดภายหลงั จากการแสดงพระธรรมเทศนาจบแลว้ พระบรมวงศานวุ งศผ์ ทู้ รงเป็นประธานใน พิธีการวันนั้น จะเสด็จมาทรงจุดเคร่ืองบูชากระบะมุกหน้าพระแท่นนี้ จากน้ันพระสงฆ์เริ่มสวด ธรรมคาถาโดยแต่ละรูปจะใช้ “พัดเปรยี ญ” ท่ตี นเองได้รบั พระราชทานเมอื่ สอบไลไ่ ดเ้ ปรยี ญช้ันสูง ดว้ ยเสมอ อน่ึง พระแทน่ นีถ้ อื เป็นโบราณวัตถุทล่ี ำ้� ค่าอย่างยงิ่ ในศิลปะไทย สร้างข้ึนสมัยรชั กาลท่ี ๑ ซึ่งสมเดจ็ ฯ เจ้าฟา้ กรมพระยานรศิ รานวุ ดั ตวิ งศ์ ทรงสนั นิษฐานว่า น่าจะเปน็ ฝมี อื ชา่ งครเู ดยี วกันกบั พระแท่นราชบัลลงั กป์ ระดับมุก (กองจดหมายเหตแุ หง่ ชาติ ๒๕๒๙: ๖๔) 128 เสดจ็ สแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

๔. แทน่ พระพธิ ธี รรม ลกั ษณะเปน็ แทน่ ทรงสเี่ หลย่ี มผนื ผา้ ทำ� ดว้ ยไมแ้ กะสลกั ลงรกั ปดิ ทอง ๔ ประดบั กระจก พน้ื ทภี่ ายในปลู าดผา้ ขาวมหี มอนองิ และตงั้ หบี พระธรรมพรอ้ มทงั้ ปกั พดั แฉก (พดั ยศ แบบหนึ่ง) ในช่วง ๑๐๐ วันแรกของการประดิษฐานพระบรมศพ จะมีพระพธิ ีธรรม ๒ ส�ำรบั ส�ำรับละ ๔ รูป ขึ้นน่ังประจ�ำบนแท่นน้ีทั้งสองฝั่งเพื่อสวดพระอภิธรรมทั้งกลางวันและกลางคืน โดยมีเวร สลับผลดั เปลย่ี นกนั ตามเวลา สำ� หรบั “พระพธิ ธี รรม” ทจ่ี ะขน้ึ มานง่ั ประจำ� บนแทน่ ดงั กลา่ วน้ี เทยี บโดยงา่ ยกค็ อื พระสงฆ์ ผปู้ ฏิบตั ิหน้าทีส่ วดพระอภิธรรมสำ� หรับงานศพนน่ั เอง หากแต่ที่ต่างจากงานศพสามัญชนโดยทวั่ ไป คอื พระพธิ ธี รรมตอ้ งเปน็ พระสงฆท์ ไ่ี ดร้ บั การฝกึ หดั “สวดพระอภธิ รรมทำ� นองหลวง” เปน็ การเฉพาะ ซงึ่ ไมเ่ หมอื นการสวดพระอภธิ รรมงานศพทว่ั ไป รปู แบบการสวดทำ� นองหลวงดงั กลา่ วมถี งึ ๔ ทำ� นอง ในปัจจบุ นั พระพิธีธรรมผู้ปฏบิ ตั หิ นา้ ทใี่ นพระราชพิธีพระบรมศพ มาจากพระอารามหลวง ๑๐ แห่ง คือ วดั พระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม วดั มหาธาตยุ ุวราชรังสฤษฎ์ิ วดั สทุ ัศนเทพวราราม วัดจกั รวรรดิ ราชาวาส วัดสระเกศ วัดระฆงั โฆสติ าราม วดั ประยรุ วงศาวาส วดั อนงคาราม วดั ราชสทิ ธาราม และ วดั บวรนเิ วศวิหาร (ส�ำนักวรรณกรรมและประวตั ศิ าสตร์ ๒๕๕๙: ๕๒) พระพธิ ธี รรมจะเรมิ่ ตน้ สวด เมอ่ื พระบรมวงศานวุ งศผ์ ทู้ รงเปน็ ประธานในพธิ กี ารวนั นน้ั เสดจ็ มา ทรงจุดเคร่ืองบูชากระบะมุกและทรงคมท่ีหน้าหีบพระธรรมแล้ว ซ่ึงขณะที่สวดท�ำนองหลวงนั้น พระพิธีธรรมแต่ละรูปจะถือ “พัดพระพิธีธรรม” คือตาลปัตรทรงหน้านางท่ีมีสีสันต่างๆ เฉพาะตัว ด้วยเสมอ สพี ัดท่ีแตกต่างกันนนั้ เปน็ การแบง่ ตามระดบั ชั้นความรเู้ ปรยี ญของพระพิธธี รรมแตล่ ะรปู (พระมหาปกรณ์ กิตตฺ ธิ โร ๒๕๕๙) จากที่กล่าวมาท้ังหมดในบทความน้ี จะเห็นได้ว่าการต้ังแต่งเครื่องประกอบมากมาย ในพระราชพธิ พี ระบรมศพครงั้ นี้ มกี ารผสมผสานทงั้ ทที่ ำ� ตามขนบแบบแผนโบราณราชประเพณี และ ท่ีเป็นธรรมเนียมอย่างใหม่อันเกิดข้ึนตามกาลสมัย ซึ่งทั้งหมดน้ีล้วนมีความมุ่งหมายอย่างเดียวกัน น่ันคือเพื่อเป็นการเชิดชูพระเกียรติยศสูงสุดเท่าที่สามารถกระท�ำได้ น้อมถวายแด่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หวั รชั กาลที่ ๙ สมกบั ทท่ี รงเปน็ “สมเด็จพระภทั รมหาราช” พระราชาผูป้ ระเสรฐิ ยิง่ และ เป็นท่ีรกั ของเหลา่ พสกนกิ รไทยมาชั่วชวี ิต 129เสด็จสแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชือ่ ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

รายการอ้างอิง กรมยุทธศึกษาทหารบก. ๒๕๔๔. “คทาจอมพล,” Available at: http://library.rta.mi.th/pdf/คทา จอมพล1-1.pdf [สบื คน้ เมื่อ: ๕ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๐]. กองจดหมายเหตุแห่งชาติ. ๒๕๔๑. จดหมายเหตุงานพระบรมศพ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เลม่ ๑. กรงุ เทพฯ: กรมศลิ ปากร. ข่าวสด. ๒๕๕๙ก. “ชา่ งท�ำ “หีบพระบรมศพ” เผยใชไ้ มส้ ักทองอายุกวา่ ๑๐๐ ปี ปิดทองแท้ทัง้ ใบ”. ขา่ วสด. Available at: https://www.khaosod.co.th/uncategorized /news_53309 [สืบค้นเม่ือ: ๓๑ มกราคม ๒๕๖๐]. ข่าวสด. ๒๕๕๙ข. “พระบรมเสดจ็ ฯ พระราชกิจสรงน�ำ้ พระบรมศพ ณ พระทีน่ ่ังพิมานรตั ยา ๑๗.๐๐ น.”, ข่าวสด. Available at: https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_51185 [สืบคน้ เม่ือ: ๓๑ มกราคม ๒๕๖๐]. คณะกรรมการฝ่ายจัดท�ำจดหมายเหตุและหนังสือท่ีระลึก งานพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้า พี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์, ๒๕๕๑. เครื่องประกอบ พระอิสริยยศ สมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์. กรงุ เทพฯ: กรมศลิ ปากร. คมชดั ลกึ . ๒๕๕๙ “สมเดจ็ พระบรม เสดจ็ ฯ บำ� เพญ็ พระราชกศุ ลสตั ตมวารพระบรมศพ,” คมชดั ลกึ . Available at: https://www.komchadluk.net/news/royal/246483 [สืบค้นเมือ่ : ๓๑ มกราคม ๒๕๖๐]. จมน่ื อมรดรณุ ารกั ษ์ (แจม่ สนุ ทรเวช). ๒๕๑๔. พระราชกรณยี กจิ ในพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั เลม่ ๑๐ เรื่อง พระราชประเพณี ตอน ๒. กรุงเทพฯ: องค์การคา้ ของครุ ุสภา. เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ข�ำ บนุ นาค). ๒๔๗๘. พระราชพงศาวดาร กรงุ รตั นโกสินทร์ รชั กาลที่ ๑. พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์. ธงทอง จันทรางศุ. ๒๕๕๙. “เคร่ืองทรงธรรมส�ำรบั ใหญห่ น้าพระราชอาสน์ หน้ากาล เทวดาเชิญแว่นแกว้ ,” Available at: https://www.youtube.com/watch?v= fuWiETx16kE [สืบค้นเมื่อ: ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐]. พระเจา้ วรวงศเ์ ธอ กรมหลวงชนิ วรสริ วิ ฒั น์ สมเดจ็ พระสงั ฆราชเจา้ (ทรงแปลและเรยี บเรยี ง). ๒๕๓๖. พระคมั ภรี ์ อภธิ านปั ปทปี กิ า หรอื พจนานกุ รมภาษาบาลแี ปลเปน็ ไทย. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวทิ ยาลัย. พระเจา้ วรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ จุลจักรพงษ์. ๒๕๓๑. เกิดวงั ปารสุ ก์ สมัยสมบรู ณาญาสทิ ธิราชย.์ กรุงเทพฯ: พิษณุโลกการพมิ พ์. พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. ๒๔๕๕. พระราชพงศาวดารกรงุ ศรีอยธุ ยา ฉบบั พระราชหัตถเลขา เลม่ ๒. พระนคร: หอพระสมดุ วชิรญาณ. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. ๒๔๕๙. เร่อื งสมเด็จพระบรมศพ คือ จดหมายเหตงุ านพระเมรุ ครงั้ กรงุ เกา่ กบั พระราชวจิ ารณข์ องสมเดจ็ พระพทุ ธเจา้ หลวง. พระนคร: โรงพมิ พโ์ สภณพพิ รรฒธนากร. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยู่หัว. ๒๕๔๖. ประวตั ติ ้นรัชกาลท่ี ๖. กรงุ เทพฯ: สำ� นกั พมิ พม์ ตชิ น. พระพมิ ลธรรม (ชอบ อนจุ ารมี หาเถระ). ๒๕๓๓. ตำ� นานพระพุทธรูปปางต่างๆ. กรุงเทพฯ: โครงการมูลนิธิ หอไตรฯ. 130 เสดจ็ สแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

พระมหาปกรณ์ กิตฺติธโร. ๒๕๕๙. “เครื่องความหมายของสี “พัดพระพิธีธรรม” และธรรมเนียมโบราณ” ๔ Available at: https://www.silpa-mag.com/club/art-and-culture/article_3786 [สืบค้นเมอื่ : ๕ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๐]. พระยาเทวาธิราช ป. มาลากุล. ๒๕๐๔. เรือ่ งราชปู โภคและพระราชฐาน. พระนคร: กองวัฒนธรรม. พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร. ๒๕๑๗. ชุมนุมพระนิพนธ์ของพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่น พิทยลาภพฤฒิยากร. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พพ์ ระจันทร.์ พลอยชมพู ยามะเพวนั . ๒๕๕๔. พฒั นาการจากหนา้ กาลมาเปน็ ราหใู นสมยั รตั นโกสนิ ทร.์ กรงุ เทพฯ: รายงาน การศกึ ษาอสิ ระตามหลกั สตู รศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาประวตั ศิ าสตรศ์ ลิ ปะ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร. พชิ ญา สมุ่ จนิ ดา. ๒๕๕๗. ถอดรหัสพระจอมเกล้า. กรงุ เทพฯ: มตชิ น. พริ ยิ ะ ไกรฤกษ.์ ๒๕๕๑. ลกั ษณะไทย เลม่ ๑: พระพทุ ธปฏมิ า อตั ลกั ษณพ์ ทุ ธศลิ ปไ์ ทย. กรงุ เทพฯ: อมรนิ ทร์ พร้ินติง้ แอนด์พับลิชชิง่ . ยม้ิ ปณั ฑยางกรู . ๒๕๒๘. งานพระเมรมุ าศสมัยกรุงรตั นโกสนิ ทร์. กรุงเทพฯ: อมรนิ ทรก์ ารพิมพ์. ราชกจิ จานุเบกษา. ๒๔๓๗. “การสรงน�้ำพระบรมศพสมเด็จพระบรมโอรสาธริ าช แลเชญิ ไปประดษิ ฐานไว้ ณ พระทน่ี ั่งดุสิตมหาปราสาท,” เลม่ ๑๑ วนั ท่ี ๑๓ มกราคม พ.ศ.๒๔๓๗, น. ๓๓๕. ราชกิจจานุเบกษา. ๒๔๔๗. “การพระราชพิธีทวีธาภิเศก แลการบ�ำเพ็ญพระราชกุศลดิถีซ่ึงคล้ายกับ วนั ประสูตรแ์ ลวนั สวรรคค์ ต พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจา้ อยหู่ วั ”, เลม่ ๒๐ วนั ที่ ๑๘ ตลุ าคม ร.ศ.๑๒๒, น. ๔๗๘. ราชกิจจานุเบกษา. ๒๔๕๔. “พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสวรรค์คต,” เล่ม ๒๗ วันที่ ๓๐ ตลุ าคม ร.ศ.๑๒๙, น. ๑๗๘๓. ราชกิจจานุเบกษา. ๒๔๖๒. “การบ�ำเพ็ญพระราชกุศลสัปดาห พระบรมศพสมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชนิ ี พระพันปหี ลวง,” เลม่ ๓๖ วนั ที่ ๒ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๖๒, น. ๒๑๔๓. ราชกิจจานุเบกษา. ๒๔๖๘. “ข่าวพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้า เจ้าอยหู่ วั เสด็จสวรรคต,” เลม่ ๔๒ วนั ท่ี ๖ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๖๘, น. ๒๗๐๓. ราชกิจจานุเบกษา. ๒๔๖๙. “การพระเมรุมาศท้องสนามหลวง ถวายพระเพลิงพระบรมศพ สมเด็จ พระรามาธบิ ดที ่ี ๖ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ,” เลม่ ๔๓ วนั ที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ.๒๔๖๙, น. ๒๑๒. ราชกิจจานุเบกษา. ๒๔๙๓. “ก�ำหนดการถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหา อานนั ทมหดิ ล สยามินทราธิราช ณ พระเมรุมาศท้องสนามหลวง,” เลม่ ๖๗ ตอนท่ี ๑๖ วันท่ี ๒๑ มีนาคม พ.ศ.๒๔๙๓, น. ๑๒๖๔. ราชบณั ฑติ ยสถาน, ๒๕๕๐. พจนานุกรมศพั ท์ศลิ ปกรรม อักษร ก-ช ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: ดา่ นสทุ ธา การพิมพ์. ราชบณั ฑติ ยสถาน. ๒๕๐๗. สารานกุ รมไทย ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน เลม่ ๖. พระนคร: โรงพมิ พร์ งุ่ เรอื งธรรม. วินัย พงศ์ศรีเพียร, บรรณาธิการ. ๒๕๕๙. อโยธยาศรีรามเทพนครบวรทวารวดี มรดกความทรงจ�ำแห่ง สยามประเทศ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ: โครงการวจิ ัยอิสระประวตั ิศาสตร์ไทยฯ. วิษณุ เครืองาม. ๒๕๕๙. “การปาฐกถาพิเศษเร่ือง ทศพิธราชธรรมและความหมายของเครื่องเบญจราช กกุธภัณฑ์” Available at: https://www.youtube.com/watch?v=sfJYzmcx9wU [สบื คน้ เม่อื : ๕ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๐]. 131เสดจ็ สูแ่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชือ่ ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ. ๒๕๐๔ก. สาส์นสมเด็จ เล่ม ๑๔. พระนคร: องค์การคา้ ของคุรุสภา. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ, ๒๕๐๔ข. สาส์นสมเด็จ เล่ม ๒๐. พระนคร: องคก์ ารค้าของคุรุสภา. สมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ เจา้ ฟา้ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. ๒๕๐๔. สาสน์ สมเดจ็ เลม่ ๑๑. พระนคร: องค์การค้าของครุ สุ ภา. สมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ เจา้ ฟ้ากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ,์ ๒๕๐๕. สาส์นสมเด็จ เล่ม ๑๙. พระนคร: องคก์ ารคา้ ของครุ สุ ภา. สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์. ๒๕๓๙. จดหมายเหตุ ชาวบา้ น ขา่ วสมเด็จยา่ สวรรคตจากหนงั สือพมิ พ.์ กรุงเทพฯ: ส�ำนักพมิ พอ์ มรินทร.์ สมเด็จพระบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ. ๒๔๖๘. ต�ำนานเคร่ืองราชอิศริยาภรณ์สยาม. พระนคร: โรงพิมพโ์ สภณพพิ รรฒธนากร. สมเดจ็ พระบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ. ๒๔๖๙. ตำ� นานพทุ ธเจดยี ส์ ยาม. พระนคร: โรงพมิ พ์ โสภณพิพรรฒธนากร. สมเด็จพระบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ. ๒๔๗๓. อธิบายเครื่องบูชา. พระนคร: โรงพิมพ์ โสภณพพิ รรฒธนากร. สนั ติ เลก็ สุขุม. ๒๕๓๘. เจดีย์ ความเปน็ มาและคำ� ศพั ท์เรยี กองค์ประกอบเจดีย์ในประเทศไทย. กรงุ เทพฯ: มตชิ น. สำ� นักงานทรพั ย์สนิ ส่วนพระมหากษตั รยิ ์. ๒๕๕๔. เทพศิรนิ ทรานุสรณ์. กรงุ เทพฯ: แปลนพร้ินท์ตงิ้ . ส�ำนักราชเลขาธิการ. ๒๔๘๙. “ข่าวในพระราชส�ำนัก พ.ศ.๒๔๘๙”. Available at: http://oldwebsite. ohm.go.th/documents/BN2489004/pdf/T0001_0001.pdf [สบื ค้นเมื่อ: ๕ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๐]. ส�ำนักราชเลขาธิการ. ๒๕๕๙. การประดิษฐานพระบรมโกศ ณ พระที่น่ังดุสิตมหาปราสาท พระบรม มหาราชวัง. กรงุ เทพฯ: ส�ำนักราชเลขาธิการ. ส�ำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร. ๒๕๕๙. ค�ำศัพท์ท่ีเกี่ยวเน่ืองกับงานพระราชพิธี พระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช. กรุงเทพฯ: กรมศลิ ปากร. สุจิตต์ วงษ์เทศ, บรรณาธิการ. ๒๕๕๑. พระเมรุ ท�ำไม? มาจากไหน. กรุงเทพฯ: กองทุนเผยแพร่ ความรู้สู่สาธารณะ. แสงสรู ย์ ลดาวลั ย,์ ม.ร.ว. ๒๕๓๙. “พระโกศ–พระลอง”, ต�ำนานพระโกศและหบี ศพบรรดาศกั ด์ิ. กรงุ เทพฯ: สำ� นักพระราชวงั . The London Gazette. 1910. “Supplement to The London Gazette, of Tuesday the 26th of July 1960”. Available at: https://www.thegazette.co.uk/London/issue/28401/ supplement/5471/data.pdf [Accessed: 5 February 2017]. 132 เสด็จสแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

ดนตรี ในพระราชพิธีพระบรมศพ อาจารย์ ดร.สายปา่ น ปรุ ิวรรณชนะ สาขาวิชาศึกษาทว่ั ไป คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบนั เทคโนโลยีปทุมวัน ๕ ปกตมิ นษุ ยม์ กั นกึ ถงึ ดนตรใี นแงข่ องความบนั เทงิ เปน็ สำ� คญั แตใ่ นความเปน็ จรงิ แลว้ ดนตรี ยงั มบี ทบาทหนา้ ทเ่ี ชงิ พธิ กี รรมเกยี่ วขอ้ งกบั ชวี ติ มนษุ ยน์ บั ตง้ั แตส่ มยั บรรพกาล โดยเฉพาะในพธิ กี รรม อนั เกีย่ วข้องกบั ความตายอกี ด้วย ดังทีส่ จุ ติ ต์ วงษเ์ ทศ ได้ตง้ั ข้อสงั เกตว่า คนโบราณใช้ดนตรีเปน็ เครื่องมอื ในการสือ่ สารกับ “ขวญั ” ทง้ั เพ่ือใช้ในการเรียกขวญั รบั ขวญั และยังสมั พันธ์กับพิธกี รรม อนื่ อกี เชน่ พธิ กี รรมเกย่ี วกบั ความอดุ มสมบรู ณ์ รวมถงึ ใชใ้ นการสอ่ื สารกบั อำ� นาจเหนอื ธรรมชาตเิ พอื่ บนั ดาลใหไ้ ดส้ งิ่ ทตี่ อ้ งการ ดว้ ยเหตนุ ้ี การบรรเลงดนตรใี นงานพระบรมศพ ถา้ พจิ ารณาตามรากความเชอื่ ด้ังเดิมแล้ว จงึ เปรยี บเสมือนไดก้ ับดนตรีเรยี กขวญั ส่งขวัญนั่นเอง (สจุ ิตต์ วงษเ์ ทศ ๒๕๕๖: ๑๐-๑๔) จากทก่ี ลา่ วมา บทความนขี้ อมงุ่ นำ� เสนอความสำ� คญั ในบทบาทหนา้ ทข่ี องดนตรใี นพระราชพธิ ี พระบรมศพในแง่มุมต่างๆ ด้วยระเบียบวิธีทางคติชนวิทยา-มานุษยวิทยา ซึ่งศึกษาพระราชพิธี พระบรมศพในแง่มุมของการเป็น “พิธีกรรมเปลี่ยนผ่าน” (Rite of Passage) แบบหนึ่งอันเป็น “ชว่ งเวลาเปลยี่ นผา่ น” ของสังคมไทยท่ีส�ำคัญยิ่ง โดยจะแบ่งการศึกษาเป็น ๒ ส่วน ไดแ้ ก่ สว่ นแรก ดนตรีประกอบพระราชพิธีโดยตรง ซึ่งเป็นการศึกษาดนตรีประกอบพิธีพระบรมศพบรรเลงโดย กองการสงั คตี สำ� นกั พระราชวงั ทสี่ บื ขนบจากดนตรใี นพระราชพธิ ขี องหลวงแตโ่ บราณ และสว่ นทส่ี อง ดนตรที เ่ี กดิ ขน้ึ ในหมปู่ ระชาชน ซงึ่ เปน็ ปรากฏการณใ์ หมท่ เ่ี กดิ ขน้ึ จากความตอ้ งการถวายความอาลยั และส�ำนกึ ในพระมหากรุณาธิคณุ ความหมายของดนตรีตอ่ พิธีศพ พิธีศพนับเป็นพิธีกรรมท่ีส�ำคัญยิ่งต่อชีวิตมนุษย์ เหตุเพราะเกิดข้ึนในช่วงเวลาแห่งความ เปล่ียนแปลงของชีวิต ซึ่งในทางคติชนวิทยาพิจารณาช่วงเวลาดังกล่าวว่าต้องอาศัยพิธีกรรม เพ่ือสร้างขวัญก�ำลังใจให้กับคนเป็น เพ่ือให้ข้ามผ่านช่วงเวลาสูญเสียดังกล่าวเป็นไปอย่างราบรื่น ก่อนท่ีชีวิตจะกลับมาด�ำเนินในวิถีปกติ ในแง่โครงสร้างของพิธีกรรมสู่การเปล่ียนผ่านน้ีจะมีพิธีการ 133เสด็จสู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชือ่ ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

แบ่งออกเป็น ๓ ข้ันตอนอย่างกว้างๆ ประกอบด้วยขั้นตอนการแยกออก (separation) ขั้นตอน การเปลย่ี นผา่ น (transition) และขนั้ ตอนการรวมกลบั ดงั เดมิ (integration) (Gennep 1960: 146-147) ถ้าเปรียบเทียบตามแนวคิดขา้ งต้น การจัดการศพหลงั จากเสียชวี ติ ก่อนการบรรจุศพ คือ ขน้ั ตอนการแยก “คนตาย” ออกจาก “คนเปน็ ” อนั เปน็ สถานภาพเดมิ ของบคุ คลกอ่ นเสยี ชวี ติ รวมถงึ การไว้ทุกข์ในฐานะช่วงเวลาแยกพิเศษจากสังคมเพื่ออยู่กับความโศกเศร้า (Gennep 1960: 147) ขัน้ ตอนการเปล่ยี นผ่าน คือ พธิ กี รรมทางศาสนาหลงั การบรรจศุ พก่อนการฝังหรือเผา ซ่งึ ผเู้ สียชวี ติ ที่ปรากฏในสายตาของกลุ่มคนในสังคมอาจยังได้รับการปฏิบัติเสมือนหน่ึงยังมีชีวิตอยู่ ทั้งนี้เพ่ือให้ ผู้ที่มีความผูกพันกับผู้ตายได้ท�ำใจและยอมรับความเปลี่ยนแปลงจากการสูญเสีย ส่วนขั้นตอน การรวมกลับดังเดิมน้ัน ได้แก่การจัดการเผาหรือฝังศพ ตลอดจนการจัดการกับอัฐิธาตุในบาง วัฒนธรรมจนกระท่ังการออกทุกข์ ท้ังให้ดวงวิญญาณได้รวมเข้ากับอ�ำนาจเหนือธรรมชาติตาม ความเชอื่ และเพอ่ื ให้คนทย่ี งั มชี วี ิตอย่กู ลบั เข้าสูว่ ิถชี ีวติ ปกติ นอกจากน้ีที่ส�ำคัญ ในแต่ละช่วงของพิธีกรรมการจัดการศพเองก็มีข้ันตอนท้ังสามจ�ำแนก ย่อยอยู่ โดยจะเห็นได้ว่าดนตรีเป็น “เครื่องมือ” ที่มีบทบาทในการแบ่งช่วงข้ันตอนของพิธีกรรม เหตเุ พราะคนโบราณเชอ่ื วา่ ดนตรเี ปน็ เสยี งทสี่ ามารถใชใ้ นการสอ่ื สารกบั ขวญั หรอื วญิ ญาณได้ ทำ� ให้ ดนตรีเป็นเสยี งท่ีศกั ดิส์ ทิ ธไิ์ ม่ใช่บรรเลงเพอ่ื ความไพเราะ สร้างบรรยากาศของความเศรา้ หรอื ทำ� ให้ งานศพเงยี บเฉยี บจนเกนิ ไปเทา่ นนั้ ในบางสงั คม ดนตรถี กู ใชเ้ ปน็ เครอื่ งมอื อยา่ งหนงึ่ ในการทจี่ ะทำ� ให้ หมอผหี รอื ผปู้ ระกอบพธิ กี รรมสามารถตดิ ตอ่ หรอื เดนิ ทางไปสโู่ ลกหลงั ความตายไดอ้ กี ดว้ ย ดว้ ยการที่ ดนตรีเป็นเสมือนกับเคร่ืองมือในการส่ือสารและการเปลี่ยนผ่านในแต่ช่วงของพิธีกรรมน้ีเองท�ำให้ เพลงท่ีบรรเลงต้องมีท่วงท�ำนองและเน้ือหาที่แตกต่างกัน และบางเพลงถูกแต่งขึ้นมาเฉพาะเพื่อใช้ ในงานศพ ดงั นน้ั เพลงแตล่ ะเพลงทบ่ี รรเลงในชว่ งพธิ พี ระบรมศพจงึ มบี ทบาทหนา้ ทข่ี องตนตามนยั ยะ ส�ำคัญของกระบวนพธิ ที เี่ พลงนนั้ ๆ ได้รับการบรรเลง ดนตรขี องหลวงกับพระราชสถานภาพและกาละแห่งพระราชพิธพี ระบรมศพ หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรบ์ ง่ ชว้ี า่ ราชสำ� นกั สยามไดม้ กี ารบรรเลงดนตรใี นพธิ พี ระบรมศพ และพระศพ ดังมีหลกั ฐานเกย่ี วกับดนตรใี นการพระบรมศพสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศปรากฏใน พระราชพงศาวดารดังนวี้ ่า “ มนี างขับรำ� เกณฑ์ท�ำมโหรี กำ� นลั นารีนอ้ ยๆ งามๆ ดั่งกนิ นรกนิ นรมี า นงั่ หอ้ มลอ้ มขบั รำ� ทำ� เพลงอยเู่ ปน็ อนั มาก แลว้ จงึ ใหป้ ระโคมฆอ้ ง กลอง แตรสงั ข์ และมโหรพี ณิ พาทย์ อยทู่ ุกเวลา” (สมภร ภริ มย์ ๒๕๓๙: ๖๒) ซึง่ ยังคงถือเปน็ ธรรมเนียมปฏิบัติสบื มาจนปัจจบุ ัน การประโคมยำ่� ยามในพระราชพิธีพระบรมศพ สนั นิษฐานว่าแต่เดิม “การย่�ำยาม” เป็นวิธีการบอกเวลาทคี่ นในราชสำ� นกั คุ้นเคยกันดนี บั ตัง้ แตส่ มัยกรงุ ศรอี ยธุ ยา เช่นความตอนหนึ่งใน โคลงทวาทศมาส (๒๕๐๒: ๖) กล่าววา่ ฤดูเดอื นเจตรร้อน ทรวงธร ทกุ ย�ำ่ ยาม โดรดวง ดว่ นน้อง จำ� รจำ� เราอร อรนิตย อนิ ทรพรหมยมป้อง ไปค่ นื 134 เสดจ็ สแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอื่ ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

ส่วนหลักฐานว่ามีการใช้เคร่ืองดนตรีเพื่อประโคมย�่ำยามในพระราชส�ำนักนั้น ได้ปรากฏ ๕ หลกั ฐานในกาพยเ์ หเ่ รอื (บทเหค่ รวญ) พระนพิ นธใ์ นเจา้ ฟา้ ธรรมธเิ บศร์ (ใน รน่ื ฤทยั สจั จพนั ธ์ุ ๒๕๕๖: ๖๖) ดังน้ี ยามสอง ฆอ้ งยาม ย�่ำ ทุกคืนค�่ำย่ำ� อกเอง เสียงปี่ ม่คี รวญเครง เหมือนเรยี มร�่ำคร่�ำครวญนาน ภายหลงั บทบาทหนา้ ทขี่ องการยำ่� ยามไดข้ ยายขอบเขตจากเพยี ง “การบอกเวลา” มาเปน็ การบอกเวลาพร้อมกับการถวายพระเกียรติในพิธีศพของหลวง โดยใช้ดนตรีเป็นส�ำคัญ ธงทอง จนั ทรางศุ ใหร้ ายละเอยี ดวา่ การประโคมยำ่� ยามจะมขี น้ึ ทกุ ๓ ชว่ั โมง ไดแ้ ก่ ๖.๐๐ น. ๙.๐๐ น. ๑๕.๐๐ น. ๑๘.๐๐ น. ๒๑.๐๐ น. และ ๒๔.๐๐ น. ตามลำ� ดับ ปจั จุบันเจ้าหน้าที่ผรู้ ับผดิ ชอบ คือ ข้าราชการ ในหมวดเครื่องสงู และกลองชนะ กองพระราชพธิ ี สำ� นักพระราชวงั โดยป่ไี ฉนจะท�ำเพลงพญาโศก ลอยลม รบั จงั หวะดว้ ยกลองเปงิ มางและกลองชนะพรอ้ มการประโคมแตรสงั ขใ์ นตอนตน้ และการสน้ิ สดุ การประโคม ต่อด้วยการบรรเลงปี่พาทย์นางหงส์โดยข้าราชการกรมศิลปากร (ธงทอง จันทรางศุ ๒๕๕๑: ๔๐) นนทพร อยู่มั่งมี (๒๕๕๑) ได้อธิบายว่าการประโคมย�่ำยามนั้นมีหลักเกณฑ์มาต้ังแต่คร้ัง กรุงศรอี ยธุ ยา ดงั ปรากฏหลกั ฐานใน คำ� ให้การขุนหลวงหาวดั ระบถุ งึ จงั หวะการประโคมกลองชนะ ในพิธีพระบรมศพ และพิธีพระศพของเจ้านายราชนิกูลว่า ใช้จังหวะ ติงเปิงครุบ ติงเปิงเปิงครุบ ตงิ เปงิ เปงิ ครบุ ตา่ งจากพระศพสมเดจ็ พระสงั ฆราชและศพขา้ ราชการทม่ี ไิ ดเ้ ปน็ ราชนกิ ลุ ซงึ่ ใชจ้ งั หวะ ติงเปิงครุบครุบครุบ ติงเปิงครุบครบ ติงเปิงครุบครุบครุบ จึงสามารถกล่าวได้ว่า วิธีการประโคม ยำ�่ ยาม ตลอดจนการจดั ใหม้ กี ารประโคมยำ่� ยามซงึ่ เปน็ ดนตรเี ฉพาะวฒั นธรรมหลวงมบี ทบาทหนา้ ท่ี ในการระบุสถานภาพของผู้วายชนม์ อันได้แก่ จ�ำแนกพระราชฐานะของเจ้านายออกจากผู้มิใช่ ราชสกลุ และยงั จำ� แนกชนชนั้ ปกครอง คอื กษตั รยิ ์ พระบรมวงศานวุ งศ์ และขนุ นางชนั้ ผใู้ หญ่ ออกจาก ขนุ นางชนั้ ผนู้ อ้ ยและสามญั ชน ลกั ษณะดงั วา่ นช้ี ว่ ยเนน้ ยำ้� วา่ พระราชฐานะและสถานภาพทางชนชน้ั อันเนื่องมาจากโครงสร้างทางการเมืองและสังคม โดยเฉพาะชนช้ันจากชาติก�ำเนิดนั้นมีลักษณะ ทถี่ าวรและชดั เจนแมบ้ ุคคลเจา้ ของสถานภาพนนั้ จะมีชีวติ อยหู่ รอื ไม่กต็ าม เครอื่ งดนตรที ใ่ี ชส้ ำ� หรบั การประโคมยำ�่ ยามประกอบดว้ ยปไ่ี ฉน กลองชนะ สงั ข์ และแตรงอน บรรเลงรว่ มกบั วงปพ่ี าทย์ ถอื เปน็ จารตี ทสี่ บื เนอื่ งมาตงั้ แตค่ รงั้ สมยั อยธุ ยา แตช่ ดั เจนวา่ ในสมยั รชั กาล ท่ี ๘ ทีม่ กี ารใชท้ ง้ั แตร สังข์ และวงปีพ่ าทย์นางหงสป์ ระโคมในพระราชพธิ พี ระบรมศพ และทงิ้ ชว่ ง มาจนกระทั่งสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้โปรดเกล้าให้มีการร้ือฟื้นน�ำวง ปพ่ี าทยน์ างหงสม์ าบรรเลงรว่ มการประโคมยำ�่ ยามอกี ครง้ั นบั ตงั้ แตง่ านพระศพสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทรา บรมราชชนนีเปน็ ต้นมา การประโคมพระราชพิธีพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ครง้ั นจ้ี ะเหน็ ไดว้ า่ เรม่ิ ดว้ ยวงประโคมของงานเครอ่ื งสงู ประกอบดว้ ย กลองมโหระทกึ ๒ ใบ ตปี ระโคม อยตู่ ลอดเวลา วงแตรส์ งั ขแ์ ละวงปไ่ี ฉนกลองชนะ เรมิ่ ดว้ ยประโคมกลองมโหระทกึ รว่ มกบั วงแตรสงั ข์ 135เสดจ็ สูแ่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

เจ้าพนักงานประโคมกำ� ลงั ประโคมยำ�่ ยาม (ที่มา: https://goo.gl/CnfPq6) ประกอบดว้ ยสงั ข์ แตรงอน และแตรฝรงั่ ประโคมเพลงส�ำหรบั บท ต่อด้วยวงปีไ่ ฉนกลองชนะหรอื วงเปิงพรวด ประกอบด้วยเคร่ืองดนตรีปี่ไฉน กลองชนะ เปิงมาง ประโคมเพลงพญาโศกลอยลม ทง้ั สองวงนจ้ี ะประโคมสลบั ตอ่ เนอื่ งกนั เปน็ การจบการประโคมลำ� ดบั ท่ี ๑ วงปไ่ี ฉนกลองชนะนถี้ อื เปน็ ดนตรีประกอบอิสริยยศ จากนั้นวงปี่พาทย์นางหงส์เคร่ืองใหญ่ท�ำการประโคมเป็นล�ำดับท่ี ๒ ซ่ึงสังเกตได้ง่ายจากการข้ึนของเสียงของปี่ชวา โดยปี่พาทย์นางหงส์จะบรรเลงเพลงต่างๆ ได้แก่ เพลงพราหมณ์เก็บหัวแหวน เพลงสาวสอดแหวน เพลงกระบอกทอง เพลงคู่แมลงวันทอง และ เพลงแมลงวันทองเป็นล�ำดับสุดท้าย (กรมศิลปากร ๒๕๕๙) เม่ือบรรเลงจบถือว่าเป็นการเสร็จ การประโคมยำ�่ ยามหนงึ่ ครง้ั และจะทำ� การประโคมตอ่ ทกุ ๆ ๓ ชวั่ โมง ตามทก่ี ลา่ วมาขา้ งตน้ นอกจากนี้ ในพระราชพิธีสวดพระอภิธรรมพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในแตล่ ะวนั นนั้ ขณะท่พี ระสงฆฉ์ ันภัตตาหารเช้า วงปพี่ าทย์พธิ ีบรรเลงเพลงเรื่องฉิ่งพระฉนั เช้า และ ในการทรงบ�ำเพญ็ พระราชกุศลสตั ตมวาร (๗ วัน) ปัณรสมวาร (๑๕ วัน) ปัญญาสมวาร (๕๐ วนั ) และในการทรงบำ� เพ็ญพระราชกศุ ลสตมวาร (๑๐๐ วนั ) วงปพี่ าทย์พิธี บรรเลงเพลงเรื่องฉ่งิ ฉันเพล ดง่ั เชน่ ไดถ้ อื ปฏบิ ัติมา (กรมศลิ ปากร ๒๕๕๙) อนงึ่ ปกตเิ คร่ืองประโคมนางหงส์จะใชบ้ รรเลงในงานอวมงคลคืองานศพ สุจติ ต์ วงษเ์ ทศ ให้ความเห็นว่า ปี่พาทย์นางหงส์ เป็นชื่อเพื่อใช้เรียกวงประโคมงานศพตามประเพณีส่งวิญญาณ ขึ้นสู่สรวงสวรรค์ด้วยนกศักดิ์สิทธิ์ ดังปรากฏอยู่บนหน้ากลองมโหระทึกแบบดองซอน ซึ่งเมื่อ รบั วฒั นธรรมอนิ เดยี เขา้ มาแลว้ ถกู เรยี กวา่ หงส์ เพราะหงสเ์ ปน็ สตั วม์ ปี กี บนิ ขนึ้ ฟา้ ได้ ซงึ่ เปรยี บเสมอื น สรวงสรรรค์ แตท่ เี่ รยี กวา่ “นาง” นน้ั กส็ บื เนอื่ งมาจากประเพณยี กยอ่ งเพศหญงิ เปน็ ใหญใ่ นพธิ กี รรม ของอุษาคเนย์ อย่างไรก็ตาม ต้องเข้าใจด้วยว่า นางหงส์เป็นช่ือเครื่องประโคม ซึ่งประกอบด้วย ปี่กบั กลองมลายู ไม่ใชช่ ื่อเพลงที่ประโคม สุจติ ต์ไดอ้ า้ งด้วยวา่ สมเดจ็ ฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ มีลายพระหัตถ์ ฉบับลงวันที่ ๑๖ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๘๓ เลา่ ให้สมเด็จฯ เจา้ ฟา้ กรมพระยานริศรา 136 เสดจ็ ส่แู ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

นุวัดติวงศ์ ความว่า “เคร่ืองประโคมที่ใช้เฉพาะงานศพเห็นมีอย่างเดียวแต่ปี่พาทย์นางหงส์ อันมี ๕ ผคู้ ดิ กลองคบู่ วั ลอยเขา้ ประสมวงกบั ปพ่ี าทย์ พวกปพ่ี าทยเ์ หน็ วา่ เพลงนางหงสเ์ ขา้ กบั กลองคดู่ ี จงึ ใช้ เพลงนนั้ เลยกลายเปน็ ชอ่ื เครอ่ื งประโคมอยา่ งนน้ั ” พรอ้ มทง้ั อธบิ ายดว้ ยวา่ การใชป้ พ่ี าทยม์ อญบรรเลง ในงานพระศพในงานหลวงเรมิ่ มคี รงั้ แรกเมอ่ื งานพระบรมศพสมเดจ็ พระเทพศริ นิ ทราบรมราชนิ เี ทา่ นน้ั ทงั้ นเ้ี พราะพระองคม์ เี ชอื้ สายมอญ ทำ� ใหค้ นภายนอกหรอื ชาวบา้ นคดิ ไปวา่ ถา้ จะจดั งานศพอยา่ งผดู้ ี ต้องมปี ีพ่ าทยม์ อญ (สุจติ ต์ วงษ์เทศ ๒๕๕๖: ๒๓-๒๔) ลักษณะการประโคมย�่ำยามพระบรมศพแตกต่างจากพระศพเจ้านายอื่นๆ เน่ืองจากจะมี การใช้กลองมโหระทกึ ทงั้ นเี้ พราะถือเป็นของสูงและมีความศักดส์ิ ิทธิ์ ซง่ึ จะเห็นได้ว่าในปัจจบุ ันยงั คงใช้กลองมโหระทึกนี้ในงานระดับรัฐพิธีท่ีส�ำคัญ (สุจิตต์ วงษ์เทศ ๒๕๔๖: ๒๙) แต่โบราณกลอง มโหระทกึ ใชท้ งั้ ในงานมงคลและอวมงคล บางกลมุ่ ชนเชน่ ชาวจว้ งใชต้ เี พอ่ื เรยี กฝน ทำ� ใหม้ กี ารประดบั รปู กบหรอื คางคกไวท้ ห่ี นา้ กลอง เชอื่ กนั วา่ เสยี งทตี่ จี ะดงั ไปถงึ ยงั สวรรคเ์ พอ่ื เตอื นใหพ้ ญาแถนบนั ดาล ให้ฝนตกถกู ต้องตามฤดกู าล (พพิ ฒั น์ กระแจะจันทร์ ๒๕๕๘) นอกจากนี้ จะสงั เกตไดว้ า่ ในพิธีกรรม โบราณในหลายวัฒนธรรม กลองถือเป็นเครื่องดนตรีท่ีมีบทบาทในพิธีกรรมอย่างมาก เชื่อกันว่า มนษุ ยจ์ ะสามารถตดิ ตอ่ กบั วญิ ญาณไดด้ ว้ ยผา่ นเสยี งกลอง และเชอื่ วา่ เสยี งกลองเปน็ เสมอื นกบั เสยี ง ของการต้อนรบั การขอบคณุ และการส่งลาวิญญาณอกี ด้วย (Drake 2012) ดงั นน้ั อาจกลา่ วไดว้ า่ ดนตรใี นงานพระบรมศพเปน็ เสมอื นกบั สะพานเชอื่ มตอ่ โลกสองโลก เขา้ ดว้ ยกันคือ โลกมนุษยแ์ ละสวรรค์ หรือโลกของคนเปน็ กับคนตาย โดยจะสังเกตได้วา่ วงป่ไี ฉน กลองชนะ ซ่ึงมีกลองมโหระทึกเป็นเครื่องดนตรีศักดิ์สิทธ์ิ อันสอดรับกับวงปี่พาทย์นางหงส์ท่ีเป็น ดนตรสี ญั ลกั ษณข์ องนกศกั ดส์ิ ทิ ธค์ิ อื หงสท์ เี่ ปน็ พาหนะนำ� ดวงพระวญิ ญาณขนึ้ สฟู่ า้ อนั เปน็ สรวงสวรรค์ น่ันเอง วงปพ่ี าทย์นางหงสเ์ ครื่องใหญบ่ รรเลงในงานพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช (ท่ีมา: ขา่ วสด https://goo.gl/sUqXip) 137เสด็จสแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

ดนตรีกบั การมหรสพในพระราชพธิ ีออกพระเมรมุ าศ การมหรสพในงานพระเมรเุ ปน็ ธรรมเนยี มปฏบิ ตั ขิ องราชสำ� นกั สยามมาแตโ่ บราณดงั ปรากฏ หลักฐานในบันทึกทางประวัติศาสตร์ต่างๆ เช่น ค�ำให้การขุนหลวงประดู่ทรงธรรม ส�ำหรับ ในส่วนของมหรสพทใ่ี ช้ดนตรีเป็นองคป์ ระกอบสำ� คญั ก็เชน่ โขน ละคร ระบำ� หนัง หนุ่ งวิ้ มอญร�ำ หมอล�ำ ญวนร�ำกระถาง เพลงเทพทอง เชิดสิงโต-มังกร จะมากหรือน้อยก็ตามแต่ฐานานุศักด์ิ ของพระบรมศพ อยา่ งไรกด็ ี ธรรมเนยี มนยี้ กเลกิ ไปในการถวายพระเพลงิ พระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ด้วยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชวินิจฉัยว่า การจดั งานศพควรเปน็ ไปเพอ่ื ผลู้ ว่ งลบั โดยแท้ จงึ โปรดเกลา้ ใหย้ กเลกิ การมหรสพในงานออกพระเมรุ เสีย ภายหลังในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชธรรมเนียมปฏิบัติน้ี จึงได้รื้อฟื้นขึ้นอีกครั้ง ในพิธีถวายพระเพลิงพระศพสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในปี พ.ศ. ๒๕๓๙ (นนทพร อยู่มง่ั มี ๒๕๕๑: ๑๖๓) การยกเลิกและร้ือฟื้นมหรสพในงานออกพระเมรุนั้นแสดงถึงวิวัฒนาการทางความคิด เกยี่ วกบั ความตายของชนชน้ั นำ� สยาม กลา่ วคอื เดมิ ชาวสยามมองความตายในฐานะเปน็ การเปลยี่ น ภพภูมิ อันเป็นคติทางพุทธศาสนา ซึ่งสอดคล้องกับความคิดในลัทธิการปกครองแบบเทวราชา เรื่องการอวตารขององค์สมมุติเทพ ส่งผลให้การออกพระเมรุมาศ เป็นกิจกรรมรื่นเริงเสมอด้วย การสมโภชในวาระท่ีเทพเจ้ากลับสวรรค์ ทว่าต่อมาเมื่อชนช้ันน�ำสยามได้รับอิทธิพลความคิด ทางตะวนั ตกทเี่ นน้ มมุ มองเฉพาะมติ วิ า่ ความตายคอื ความสญู เสยี อนั ขดั กบั ความรนื่ เรงิ ในงานออก พระเมรุมาศ “ความเงียบ” จึงกลายเป็นสิ่งท่ีได้รับเลือกเพ่ือแสดงออกเฉพาะมิติความเศร้าโศก ดังกลา่ ว อยา่ งไรกต็ าม ในรชั สมยั พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช เหน็ ไดช้ ดั วา่ สถาบนั พระมหากษตั รยิ ไ์ ดเ้ ขา้ มามบี ทบาทสำ� คญั ในการฟน้ื ฟศู ลิ ปวฒั นธรรมของชาติ ทำ� ใหก้ ารรอื้ ฟน้ื มหรสพตามแบบอย่างจารีตแต่โบราณเป็นหนึ่งในกระบวนการฟื้นฟูวัฒนธรรมของชาติ ดังเห็น ไดช้ ดั ในงานพระเมรุมาศสมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี เปน็ ต้นมา การมีดนตรีประกอบการเคล่ือนพระบรมศพสู่พระเมรุมาศ ดังเช่นท่ีปรากฏพระราชพิธี พระบรมศพสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี งานพระศพสมเดจ็ พระเจา้ พนี่ างเธอ เจา้ ฟา้ กลั ยา ณวิ ัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และการพระศพสมเด็จพระเจา้ ภคินีเธอ เจา้ ฟา้ เพชรรัตน ราชสดุ า สริ โิ สภาพณั ณวดี แสดงใหเ้ หน็ ถงึ บทบาทหนา้ ทส่ี ำ� คญั ของดนตรใี นขนั้ ตอนการเปลย่ี นผา่ น ซงึ่ กค็ อื การเคลอื่ นทจี่ ากพระทนี่ ง่ั ดสุ ติ มหาปราสาทอนั เปน็ สญั ลกั ษณข์ องการยงั คงเสดจ็ ประทบั อยู่ ในทา่ มกลางพระราชสำ� นกั และประชาชน ไปสมู่ ณฑลพธิ ที อ้ งสนามหลวง หรอื อกี แงห่ นงึ่ คอื จดุ เชอื่ ม ตอ่ ก่อนเสด็จสู่สรวงสวรรค์ผ่านการถวายพระเพลิง ในการน้ีดนตรีไม่ได้มีหน้าที่เพียงแค่เสริมสร้าง ความอลังการให้แก่กระบวนราชรถ อันช่วยเน้นย้�ำความย่ิงใหญ่แห่งพระราชฐานะของพระบรมศพ คลา้ ยกบั ทค่ี ลฟิ ฟอรด์ เกยี รซ์ (Clifford Geertz) กลา่ ววา่ เปน็ ฉากความยงิ่ ใหญท่ ร่ี ฐั พยายามแสดง ให้ประชาชนเห็นผ่านสัญลักษณ์ต่างๆ ด้วยว่า ยศศักดิ์เป็นสิ่งศักด์ิสิทธ์ิ ถูกก�ำหนดขึ้นโดยสวรรค์ ดังน้ันจึงอยู่เหนือความตาย และต้องจัดการอย่างยิ่งใหญ่อลังการแม้ในห้วงยามแห่งความตาย (อคนิ รพีพฒั น์ ๒๕๕๑: ๒๑๑) ในกรณขี องพระราชพิธีพระบรมศพ ดนตรีได้ชว่ ยใหเ้ สียงในระหว่าง เคลอื่ นพระบรมศพ ตลอดจนแสดงสญั ญะแหง่ ความโศกเศรา้ อาลยั ของพสกนกิ รทง้ั แผน่ ดนิ เคลอ่ื นไป พรอ้ มกนั ด้วยการเลอื กใช้เพลงพญาโศกลอยลมเปน็ เพลงหลกั ในการเคล่ือนกระบวน 138 เสด็จสูแ่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชอื่ ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

ดงั ทไ่ี ดก้ ลา่ วแล้ววา่ ในคตเิ ทวราชา การถวายพระเพลิง คอื การส่งเสด็จพระมหากษตั ริย์ ๕ และพระบรมวงศานวุ งศ์ซงึ่ เปน็ ภาคอวตารของเทพเจ้ากลับส่สู รวงสวรรคอ์ นั เป็นที่ประทับเดิม หรอื หากจะมองดว้ ยกรอบคดิ เรอ่ื งขน้ั ตอนพธิ กี รรมเปลย่ี นผา่ น ในการนดี้ นตรแี ละมหรสพเปน็ พฤตกิ รรม สัญลักษณ์ ซึ่งแสดงว่าพระมหากษัตริย์หรือพระบรมวงศานุวงศ์พระองค์น้ันๆ ได้รวมกลับเข้าสู่ เทวโลกเปน็ ท่เี รียบร้อยแล้ว ประชาชนจึงพึงแสดงความยนิ ดดี ว้ ยการรน่ื เรงิ ตา่ งๆ เป็นไปได้อย่างยิ่งว่าจะมีการบรรเลงดนตรีเพลงพระราชนิพนธ์เป็นส่วนหน่ึงของมหรสพ ภายหลังการถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เชน่ เดยี วกบั ทจี่ ดั ใหม้ วี งซมิ โฟนอี อเคสตรา้ ภายหลงั จากพระราชพธิ พี ระราชทานเพลงิ พระศพสมเดจ็ พระเจ้าพ่ีนางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ด้วยเป็นความบันเทิง ทตี่ อ้ งพระราชนยิ ม ทงั้ ยงั ทรงอปุ ถมั ภด์ นตรคี ลาสสกิ ปรากฏการณด์ งั กลา่ วถอื เปน็ การจดั การมหรสพ ซ่ึงไม่จ�ำกัดอยู่แต่เฉพาะโขนละครตามจารีตนิยมเท่าน้ัน แต่ยังผนวกเอาดนตรีนอกขนบ อันเป็น ความบนั เทงิ ในวัฒนธรรมสากลนิยมและประชานยิ มเขา้ ไวด้ ว้ ย ดนตรีถวายอาลัยจากหัวใจพสกนิกร นบั ตงั้ แตพ่ ระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชเสดจ็ สสู่ วรรคาลยั เมอื่ วนั ท่ี ๑๓ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๐ เป็นต้นมา เห็นได้ชัดเจนว่ามิได้มีแต่ดนตรีไทยตามจารีตราชส�ำนักบรรเลง ในพระราชพิธีพระบรมศพเท่านั้น ทว่ายังมีการบรรเลงดนตรีในพิธีถวายอาลัยโดยภาคประชาชน ทง้ั นเี้ พอ่ื รำ� ลกึ ถงึ พระมหากรณุ าธคิ ณุ อนั หาทส่ี ดุ มไิ ด้ ผเู้ ขยี นพจิ ารณาปรากฏการณน์ ว้ี า่ มเี หตมุ าจาก ความสมั พนั ธใ์ กลช้ ดิ ของสถาบนั พระมหากษตั รยิ ก์ บั ประชาชน พธิ กี รรมทเี่ กดิ ขนึ้ นเ้ี ปน็ ไปเพอื่ ถวาย ในหลวงในพระบรมโกศ จงึ ไมจ่ ำ� กดั อยแู่ ตพ่ ระราชพธิ ขี องราชสำ� นกั เทา่ นนั้ หากแพรข่ ยายไปในหมู่ สามญั ชนผ้จู งรกั ภักดอี ีกดว้ ย ดังที่ได้กล่าวแล้วในข้างต้นว่า ในทางคติชนวิทยา-มานุษยวิทยา การไว้ทุกข์เป็นสัญญะ ของการแยกตัวออกจากชีวิตปกติเพ่ือใช้เวลาอยู่กับความโหยหาอาลัย การถวายอาลัยด้วยดนตรี ของประชาชนไทย จึงเปน็ การแสดงออกอย่างหน่งึ ของขน้ั ตอนการเปลย่ี นผ่าน ทา่ มกลางชว่ งเวลา เปลี่ยนผ่าน คือ ช่วงเวลาต้ังแต่สวรรคตถึงก่อนการถวายพระเพลิงพระบรมศพ เพื่อให้พสกนิกร ได้มีหนทางถ่ายทอดความรู้สึกจากการสวรรคต แน่นอนว่าบทบาทหน้าท่ีที่ส�ำคัญของดนตรีเพื่อ ถวายอาลัยเป็นการแสดงออกซ่ึงความเศร้าโศก โดยเฉพาะการแต่งเพลงถวายอาลัย ซ่ึงศิลปิน นกั แตง่ เพลงลว้ นถา่ ยทอดความรสู้ กึ ลงไปในเพลงทต่ี นเองแตง่ ทงั้ สนิ้ ไมว่ า่ จะเปน็ เพลงทแ่ี ตง่ เนอื้ รอ้ ง ตามขนบวรรณคดียอพระเกียรติ หรอื เพลงท่มี เี นื้อร้องแบบวฒั นธรรมประชานิยม เพลงทแี่ ตง่ ตามขนบวรรณคดยี อพระเกยี รติ ตวั อยา่ งเชน่ เพลง “โอพ้ ระคนื สรวง”สำ� หรบั ค�ำร้อง-ท�ำนอง ประพันธ์โดย รศ.ดร.เชษฐ์ ติงสัญชลี มีค�ำร้องว่า “โอ้พระภูมิบาละพุทธางกูร พระประดจุ ดวงสรู ยส์ อ่ งในฟา้ พระเสดจ็ คนื สแู่ ดนสรวงดสุ ดิ า ดจุ ความมดื คลมุ ฟา้ โศกใจ โอพ้ ระหนอ่ พระนาถษติ ริ าชะองคใ์ ด มาแตจ่ ุฑาลัยโลกเลอฟ้า ยงั ซึ่งความเกษมแด่มวลปวงประชา แลว้ เสดจ็ คนื ฟา้ สรุ าลยั เมอื่ พระนริ าศยงั แดนสรวงแสนไกล อสั สชุ ลแหง่ ชาวไทยทว่ มทน้ ฟา้ หลง่ั ออกมาจากหวั ใจ แหง่ มวลปวงประชา ปวงเหลา่ ขา้ ขอกราบลาดว้ ยหัวใจ แมเ้ สด็จสูส่ รวงแมนใด พระเกียรติยงั เกริกไว้ ช่วั ดนิ ฟ้า พระสริ ยิ งั คงอยใู่ นใจข้าฯ ขอกราบลาพระนาถาด้วยหวั ใจ” ๑ ๑ เพลงโอค้ นื สรวง สามารถฟงั ได้จาก https://www.youtube.com/watch?v=Th71ukByS_I 139เสดจ็ สแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

อีกแบบหนึ่งคือ เพลงแบบวัฒนธรรมประชานิยม ตัวอย่างเช่นเพลง “ฟ้าร้องไห้” คำ� รอ้ ง-ทำ� นอง ประพนั ธ์โดย ครชู ลธี ธารทอง มีค�ำร้องว่า “แลว้ พ่อก็จากลกู ไป จากไปไมเ่ อ่ยคำ� ลา แม้ท�ำใจเอาไวล้ ว่ งหนา้ ถงึ เวลากล้นั น้ำ� ตาไม่ไหว เสยี งครวญคร่�ำไปทว่ั ขวานทอง ความหม่นหมอง ครอบครองอยู่ทวั่ ไทย แมแ้ ต่ฟา้ ก็ยังรอ้ งไห้ เหมอื นรู้ใจ คนไทยอาลัยอาวรณ์ พอ่ เหน่ือยมานานนัก งานหนกั ไม่ค่อยได้พักผ่อน พนั ยอดดอยรอ้ ยท่งุ นาปา่ ดอน พอ่ หว่ งหาอาทร พสกนิกรของพอ่ นับ ตงั้ แตน่ ต้ี อ่ ไป คงไมไ่ ดเ้ หน็ หนา้ พอ่ อกี หนอ ดว้ ยผลบญุ พอ่ กอ่ เปน็ สะพานทอดรอ นำ� พอ่ สสู่ รวงสวรรค์ ขาดพ่อเหมือนเรือถ่อหัก เราจงรักสามัคคีกันไว้ ท�ำตามค�ำสอนของพ่อ ชาติไทยก็เดินต่อไปได้ พอ่ คอยจบั จอ้ งมองมา จากชน้ั ฟา้ สวรรคาลยั ถา้ ลกู ทกุ คนรกั พอ่ จงสานตอ่ ตามรอยพอ่ ไป รกั ษาบา้ น เมืองเอาไว้ รักษาบา้ นเมอื งเอาไว้ ใหพ้ อ่ ภมู ิใจวา่ เป็นลกู พอ่ ” แน่นอนว่าเพลงเหล่าน้ีล้วนมีชุดค�ำแสดงความโศกเศร้าอันเนื่องมาจากการสวรรคต เช่น ดจุ ความมดื คลมุ ฟา้ โศกใจ อสั สชุ ลแหง่ ชาวไทยทว่ มทน้ ฟา้ (เพลงโอพ้ ระคนื สรวง) ถงึ เวลากลน้ั นำ้� ตา ไม่ไหว ความหม่นหมองครอบครองอยู่ทั่วไทย แม้แต่ฟ้าก็ยังร้องไห้ (เพลงฟ้าร้องไห้) ส่งผลให้ นอกจากศิลปินนักแต่งเพลงจะได้ถ่ายทอดอารมณ์โศกของตนแล้ว ผู้ขับร้องเพลงและผู้ฟังเพลง ยงั ไดแ้ สดงออกซงึ่ ความเศรา้ เสยี ใจของตนไปพรอ้ มกนั ดว้ ย แตเ่ พลงเหลา่ นยี้ งั สะทอ้ นความรสู้ กึ และ โลกทัศน์ท่ีประชาชนมีความรู้สึกต่อพระมหากษัตริย์ในรัฐสมัยใหม่ และยังบอกเล่าบรรยากาศทาง สงั คมและการเมืองไทยในชว่ งไม่ก่ีปีทผ่ี า่ นมาอีกด้วย นอกจากนย้ี งั มกี ารรำ� ลกึ ถงึ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชผา่ นการขบั รอ้ ง บรรเลง และรับฟงั เพลงพระราชนิพนธ์ อนั เป็นเคร่ืองแสดงความรกั ความภักดี และความซาบซ้ึง ในพระอจั ฉรยิ ภาพทางดนตรี ปรากฏการณท์ น่ี า่ สนใจมากทเี่ กดิ ขน้ึ คอื มกี ารใหค้ วามหมายตอ่ เพลง พระราชนพิ นธใ์ นฐานะส่ิงแทนพระองค์ เชน่ การจดั ฉายภาพยนตรเ์ รอื่ ง “พรจากฟา้ ” ในชว่ งปีใหม่ เพอื่ สอ่ื วา่ เพลงพระราชนพิ นธจ์ ะยงั คงอยเู่ ปน็ พรของประชาชนไทยไปตราบนานเทา่ นาน หรอื ในอกี ลกั ษณะคอื การนำ� เอาชอื่ เพลงพระราชนพิ นธม์ ารอ้ ยเรยี งกนั เปน็ บทเพลงถวายอาลยั ใหช้ อ่ื เพลงเหลา่ นน้ั ส่ือถึงองค์รัชกาลท่ี ๙ แม้ว่าเน้ือเพลงจะมิได้กล่าวถึงพระองค์ท่านโดยตรง ดังตัวอย่างจากเพลง “เสยี งในใจ” ซ่งึ ทิวา สาระจูฑะ และจา่ เอกธรรมรฐั อภิรดี เปน็ ผแู้ ตง่ เน้ือร้องและทำ� นองตามลำ� ดับ ยามเยน็ ผ่าน ยามค�่ำ โอ้ ค่ำ� แล้ว สายลม แวว่ คลา้ ยค�ำฝากจากสวรรค์ น้ี แผ่นดนิ ของเรา เราร่วมกนั ในดวงใจนิรันดร์ จงม่นั ใจ คือ ความฝนั อันสูงสดุ ให้ เราส ู้ ให้เรารู้ รกั ฝนั อยา่ หว่ันไหว แม้ แสงเทียน วูบลบั ดับแสงไป จง ยิ้มสู้ ด้วยใจ ไกลกงั วล เช่น ชะตาชวี ิต ลขิ ิตเขียน ลมหนาว เปลี่ยนรอ้ นคลายสู่ สายฝน ถึง อาทิตย์อบั แสง ไปเตอื นใจตน วนั จะวน ใกลร้ งุ่ ทุกพรงุ่ นี้ เพลงท่ีแต่งขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติโดยกล่าวถึงพระมหากรุณาธิคุณในพระบาทสมเด็จ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชเมอ่ื ครงั้ ทพ่ี ระองคย์ งั ทรงพระชนมอ์ ยู่ เชน่ เพลง “ตน้ ไมข้ องพอ่ ” เพลง “พระราชาผทู้ รงธรรม” เพลง “ในหลวงของแผน่ ดนิ ” ซงึ่ มกั นำ� มาขบั รอ้ งในพธิ จี ดุ เทยี นถวาย อาลยั และการแสดงดนตรเี พอื่ รำ� ลกึ ถงึ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชอยบู่ อ่ ยครง้ั แสดงใหเ้ หน็ วา่ บทเพลงเหลา่ นไ้ี ดเ้ ปลยี่ นบทบาทหนา้ ทไี่ ปเปน็ บทเพลงถวายความอาลยั แทน เพอื่ ชว่ ย ถา่ ยทอดความรสู้ กึ โศกเศรา้ และทำ� ใหป้ ระชนชนไดย้ อ้ นรำ� ลกึ ถงึ ชว่ งเวลาในรชั สมยั ของพระองคท์ า่ น 140 เสดจ็ สแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชือ่ ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

ยิ่งไปกวา่ น้ัน การแสดงดนตรีถวายอาลยั ยงั อาจนบั วา่ เป็นพธิ ีกรรมราษฎร์ เพ่อื แสดงออก ๕ ถึงการมีส่วนร่วมนอกราชส�ำนักในระหว่างท่ีพระบรมศพยังประดิษฐานอยู่บนพระท่ีนั่งดุสิต มหาปราสาท ทงั้ นลี้ กั ษณะความเปน็ พธิ กี รรมดงั กลา่ วมาจากแบบแผนพธิ กี ารของการบรรเลงดนตรี ๕ เช่น มีการต้ังพระบรมรูป พระบรมฉายาลักษณ์ หรือพระบรมสาทิสลักษณ์ในปริมณฑลการแสดง ส�ำหรับให้ผู้แสดงดนตรีถวายบังคม มีการจุดเทียนถวายอาลัย ซ่ึงล้วนเป็นกระบวนการซึ่งไม่มี ในการแสดงดนตรีทั่วไป ปรากฏการณ์ที่น่าสนใจอีกประการหนึ่งในการถวายอาลัยด้วยเพลงและดนตรีคร้ังน้ี คือ การนำ� เอาเพลงท่ีมอี ยู่เดมิ มาตีความใหม่ ใหเ้ นื้อหาของเพลงนัน้ เกี่ยวเน่ืองกับการสวรรคต ส�ำหรับ ใช้ถวายอาลัยทั้งเพลงไทยและเพลงสากล ตัวอย่างเช่นในการแสดงคอนเสิร์ต “ในดวงใจนิรันดร” ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยซึ่งจัดขึ้นเพ่ือน้อมส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หวั ภูมพิ ลอดลุ ยเดชเม่ือวันที่ ๒๓ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๖๐ ไดน้ �ำเอาเพลงทเี่ กย่ี วกับความ ตาย เชน่ เพลง “They are at Rest” ของเอดวารด์ เอลการ์ (Edward Elgar) เพลง Rest ของ ราลฟ์ โวกนั วลิ เลยี มส์ (Ralph Vaughan Williams) มาขับรอ้ งประสานเสียงเพ่อื ถวายอาลัยใน การนีด้ ้วย หรือใน “งานจุฬาฯ ๑๐๐ ปี ศตวรรษแห่งความภมู ใิ จ” ซึง่ จดั ข้นึ ในวันท่ี ๒๖ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๐ เน่อื งในโอกาสครบรอบ ๑๐๐ ปแี หง่ การสถาปนาจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ทางมหาวทิ ยาลยั ได้น�ำเอาเพลง “ลาแล้วจามจุรี” ซ่ึงปกติมีความหมายถึงความอาลัยอาวรณ์มหาวิทยาลัยของ ผู้ที่ก�ำลังจะส�ำเร็จการศึกษามาตีความให้ “จามจุรี” หมายถึงร่มพระบารมีของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช โดยมีสัญลักษณ์ที่สื่อความคิดดังกล่าวผ่านทางการถวายบังคมของ คณะผู้แสดงลลี าประกอบเพลงในตอนจบการแสดง สรุป ดนตรใี นการพระบรมศพเปน็ พฤตกิ รรมในพธิ กี รรมเปลยี่ นผา่ นทมี่ รี ากฐานมาจากพธิ กี รรม เก่ียวกับความตายในสังคมบรรพกาล ส�ำหรับการประโคมย่�ำยามน้ันนอกจากจะมีบทบาทหน้าที่ ในการบอกเวลาเพอื่ เปลยี่ นกะเจา้ พนกั งานพธิ แี ลว้ ยงั บง่ บอกถงึ พระราชอสิ รยิ ศกั ดแิ์ ละเปน็ พฤตกิ รรม สญั ลกั ษณข์ องการทพ่ี ระบรมศพยงั ประดษิ ฐานอยกู่ อ่ นการถวายพระเพลงิ สว่ นดนตรกี บั การมหรสพ ในงานถวายพระเพลิงก็เป็นพฤติกรรมอันเน่ืองมาจากคติเทวราชา และแสดงสัญญะของข้ันตอน การรวมเข้าของพธิ ีพระบรมศพ นอกจากนป้ี รากฏการณท์ นี่ า่ สนใจ คอื การทป่ี ระชาชนชาวไทยรว่ มกนั ถวายอาลยั ผา่ นเสยี ง ดนตรี ท้ังการประพันธ์เพลง การขับร้องและบรรเลงเพลงพระราชนิพนธ์ การร้องเพลงที่ประพันธ์ เพ่ือเฉลิมพระเกียรติ ตลอดจนเพลงประเภทอ่ืนๆ ในบริบทใหม่เพื่อถวายอาลัยและร�ำลึกใน พระมหากรุณาธิคณุ ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ผทู้ รง เปน็ ทีร่ กั ย่ิงของปวงชนชาวไทย 141เสดจ็ สู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

รายการอา้ งอิง กรมศิลปากร. ๒๕๕๙. การประโคมย�่ำยาม. Available at: https://goo.gl/2YNjDx [สบื คน้ เมือ่ : ๒๓ พ.ค. ๒๕๖๐]. ทวาทศมาส. ๒๕๐๒. พระนคร: โรงพมิ พข์ ่าวพาณิชย์. ธงทอง จนั ทรางศ.ุ ๒๕๕๑. เฉลิมพระกัลยาณเกียรต.ิ กรุงเทพฯ: เอส.ซี. พร้นิ ท์แอนด์แพค. นนทพร อยมู่ ง่ั มี. ๒๕๕๑. ธรรมเนยี มพระศพและพระบรมศพเจา้ นาย. กรงุ เทพฯ: มตชิ น. พิพัฒน์ กระแจะจนั ทร.์ ๒๕๕๘. “พญาคนั คากบุกสวรรค์ปราบภัยแลง้ สู้เทวดา,” ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๓๖, ฉบับที่ ๑๐ (ส.ค. ๒๕๕๘), น. ๑๓๘-๑๕๗. มตชิ น. ๒๕๕๗. ประโคมยำ่� ยามใชเ้ พลงอะไร?. Available at: www.matichon.co.th/news/344626344626 [สืบคน้ เม่อื : ๕ พ.ย. ๒๕๕๙]. รนื่ ฤทยั สจั จพนั ธ,์ุ บรรณาธกิ าร. ๒๕๕๖. กาพยเ์ หเ่ รอื จากสมยั อยธุ ยา ถงึ รชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภูมิพลอดลุ ยเดช. กรงุ เทพฯ: แสงดาว. สมภพ ภริ มย์. ๒๕๓๙. พระเมรมุ าศ พระเมรุ และเมรใุ นสมัยกรุงรตั นโกสนิ ทร.์ กรุงเทพฯ: อมรนิ ทร.์ สจุ ติ ต์ วงษเ์ ทศ. ๒๕๕๖. “ดนตรผี ี เพอื่ ชวี ติ คน” ใน พพิ ฒั น์ กระแจะจนั ทร์ (บรรณาธกิ าร). ผี ในหลกั ฐาน คนตายและคนเป็น, พิพัฒน์ กระแจะจันทร์, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สจู บิ ตั รทร่ี ะลกึ การแสดงคอนเสริ ต์ “ในดวงใจนริ นั ดร”์ . จดั ขนึ้ เมอ่ื วนั ท่ี ๒๓ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๐. ณ หอแสดง ศลิ ปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. อคิน รพีพัฒน์. ๒๕๕๑. วัฒนธรรมคือความหมาย ทฤษฎีและวิธีการของคลิฟฟอร์ด เกียร์ซ. กรุงเทพฯ: ศนู ยม์ านษุ ยวทิ ยาสิรนิ ธร (องค์การมหาชน). Drake, Michael. 2012. Sharmanic Drumming: Calling the Spirits. Oregon: Talking Drum Publications. Van Gennep, Arnold Van. 1960. The Rites of Passage. Chicago: University of Chicago Press. 142 เสด็จสแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

๖ พัฒนาการธรรมเนยี มไวท้ กุ ข์ จากระเบียบรัฐสูม่ ารยาทสงั คม ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.รงุ่ โรจน์ ภิรมย์อนกุ ูล ภาควชิ าประวตั ิศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง บทนำ� นบั แตพ่ ระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช เสดจ็ สวรรคต มขี อ้ ถกเถยี งมากมาย เก่ียวกับธรรมเนียมการไว้ทุกข์ โดยเฉพาะในเร่ืองของการแต่งกายด้วยชุดสีด�ำทั้งสุภาพบุรุษ และสุภาพสตรีซ่ึงเป็นขนบการไว้ทุกข์แบบใหม่ จนเป็นท�ำเกิดข้อฉงนในสังคม ทว่าแท้ที่จริงแล้ว ขนบการไว้ทุกข์ของไทยมีความหลากหลายมามากตงั้ แต่อดตี ทงั้ นเ้ี พราะมกี ารรับเอาขนบจากโลก ภายนอกมาไม่ว่าจากอินเดีย จีนและ ตะวันตก ผสมผสานกับขนบดั้งเดิมในภูมิภาค ท�ำให้มี การพฒั นาการและการเปลยี่ นแปลงทซี่ บั ซอ้ นตามสงั คมและสภาวะการณข์ องโลก ทา้ ยทสี่ ดุ การทเี่ รา จะยดึ ตดิ วา่ ขนบไวท้ กุ ขท์ เี่ คยเหน็ กนั เมอื่ หลายสบิ ปกี อ่ นเปน็ ขนบดงั้ เดมิ จงึ ไมถ่ กู ตอ้ งนกั เพราะสะทอ้ น การขาดความเขา้ ใจมติ ทิ างประวัติศาสตรไ์ ป ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒ ได้ให้ค�ำจ�ำกัดความว่า การแสดง เครอื่ งหมายตามธรรมเนยี มประเพณวี า่ ตนมที กุ ขเ์ พราะบคุ คลสำ� คญั ในครอบครวั เปน็ ตน้ วายชนมไ์ ป แต่เอกสารรนุ่ เกา่ ไดใ้ หส้ าเหตขุ องการไวท้ ุกข์ ดงั ในประกาศนุ่งขาวว่า “เครอื่ งซ่ึงแตง่ ตวั ไวท้ ุกขไป ช่วยงานศพ” (ราชกจิ จานุเบกษา ๒๔๓๐ก: ๓๕) และ ในประกาศเรอื่ งโกนผมว่า “ให้ข้าในกรมโกน ศีศะ เปนการแสดงความเคารพ” (ราชกิจจานเุ บกษา ๒๔๔๔: ๔๔๐) จากการสืบค้นเอกสารท่ีเก่ากว่ารัชกาลที่ ๕ เช่น หมายโกนผมในคราวพระบาทสมเด็จ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราชเสดจ็ สวรรคต ประกาศโกนผมในคราวพระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต พจนานุกรมฉบับของปาลเลอกัวซ์และของบรัดเลย์ ไม่ปรากฏศัพท์ค�ำว่า “ไวท้ กุ ข”์ แตเ่ พงิ่ จะมาปรากฏใน ราชกจิ จานเุ บกษา สมยั รชั กาลที่ ๕ ดงั นน้ั จงึ ทำ� ใหเ้ ชอ่ื วา่ มแี นว ความคดิ บางประการที่เปล่ยี นแปลงไป 143เสดจ็ สแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

ในชนั้ ตน้ ผเู้ ขยี นขอสนั นษิ ฐานวา่ แนวคดิ เกยี่ วกบั พธิ กี รรมศพในลมุ่ แมน่ ำ�้ เจา้ พระยาตอนลา่ ง กอ่ นหนา้ รชั กาลท่ี ๕ พฤตกิ รรมทเี่ ราเรยี ก “ไวท้ กุ ข”์ ตามทป่ี รากฏใน พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒ คงอาจจะเปน็ เครอ่ื งหมายหรอื สญั ลกั ษณบ์ างประการของผเู้ ขา้ รว่ มประกอบพธิ กี รรมเทา่ นน้ั สำ� หรบั งานวชิ าการทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การไวท้ กุ ขน์ นั้ ดเู หมอื นวา่ จะมแี ตง่ านของพระยาอนมุ าน ราชธน (ยง อนุมานราชธน) อธิบายลักษณะการไว้ทุกข์ในกลุ่มชนต่างๆ หากแต่ยังไม่มีการลง รายละเอียดเก่ียวกับการพัฒนาและการเปล่ียนแปลงธรรมเนียมไว้ทุกข์ในลุ่มแม่น�้ำเจ้าพระยา เทา่ ทค่ี วร (เสฐียรโกเศศ ๒๕๓๙: ๘๓-๙๐) ปญั หาสำ� คญั ในการศกึ ษาธรรมเนยี มไวท้ กุ ขใ์ นอดตี คอื รอ่ งรอยหลกั ฐานทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั วตั ถุ เช่น เครื่องแต่งกายและบันทึกแบบแผนไม่เหลือมาถึงปัจจุบัน ดังน้ัน รายละเอียดท่ีเกี่ยวกับ ขนบธรรมเนียมไว้ทุกข์ในสังคมลุ่มแม่น�้ำเจ้าพระยาจึงไม่อาจท่ีจะสืบสาวไปได้เก่ามาก ด้วยเหตุนี้ ผู้เขียนจึงเน้นท่ีจะกล่าวถึงธรรมเนียมไว้ทุกข์ในสมัยรัตนโกสินทร์เป็นส�ำคัญ ท�ำให้บทความนี้ แบง่ ธรรมเนียมการไวท้ กุ ข์ออกเป็น ๒ ช่วงเวลาหลักคือ รฐั สมัยโบราณ และรัฐสมัยใหม่ ซง่ึ สมัยใหม่ จะเริม่ ตน้ เม่ือราวรชั กาลท่ี ๔-๕ แห่งกรงุ รัตนโกสินทร์๑ วฒั นธรรมดัง้ เดิมเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้มีการไวท้ กุ ข์หรือไม่ ธรรมเนียมการไว้ทุกข์ที่ปฏิบัติกันอยู่เช่น การนุ่งขาวห่มขาว การใส่ชุดด�ำ หรือแม้แต่ การโกนผม จะเปน็ ธรรมเนยี มแตด่ งั้ เดมิ หรอื ไม่ ดเู หมอื นวา่ สมเดจ็ ฯ เจา้ ฟา้ กรมพระยานรศิ รานวุ ดั ตวิ งศ์ ทรงมีพระวินิจฉัยเป็นพระองค์แรกว่า “ธรรมเนียมการไว้ทุกข์เราเอาอย่างต่างประเทศมาทั้งน้ัน ของเราเองไม่ม”ี (สมเด็จฯ เจา้ ฟา้ กรมพระยานริศรานวุ ัดตวิ งศ์ และพระยาอนุมานราชธน ๒๕๒๑ข: ๒๔๔) และ “ดงั้ เดิมเราไม่มีธรรมเนยี มการนุ่งผ้าสีในการไว้ทุกข์ ขุนนางท่ีเขา้ ขบวนแห่ตา่ งกน็ ุง่ ผ้า สมปกั ลายสตี า่ งๆ และพนกั งานทชี่ กั ราชรถรวมถงึ พนกั งานทเ่ี ชญิ เครอื่ งสงู กย็ งั แตง่ แดง” (สมเดจ็ ฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานรศิ รานุวดั ติวงศ์ และพระยาอนมุ านราชธน ๒๕๒๑ก: ๑๐๔-๑๐๕) ข้อพระวินิจฉัยของพระองค์เป็นส่ิงท่ีน่ากลับมาคิดทบทวน เพราะแบบแผนธรรมเนียม ราชส�ำนักเป็นส่ิงที่มีการเปลี่ยนแปลงได้ยาก ด้วยสาเหตุว่าการเปล่ียนแปลงจะกระทบกระเทือน พธิ กี รรมอนั ศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ นอกจากนี้ ผเู้ ขยี นไดต้ รวจสอบขนบของกลมุ่ ชาตพิ นั ธท์ุ ไี่ ดต้ ง้ั หลกั แหลง่ อยลู่ กึ เขา้ ไปในภูมิภาคด้วย ดังตอ่ ไปนี้ ๑. จอมพล เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง–ชูโต) เม่ือครั้งเป็นแม่ทัพยกพลไปท่ี หลวงพระบางไดจ้ ดบนั ทกึ เรอ่ื งราวการดำ� รงชวี ติ ของกลมุ่ ชนในบรเิ วณพนื้ ทแี่ ถบนน้ั แตม่ เี รอ่ื งแปลก บางประการคอื ไม่มกี ารกล่าวถึงการไว้ทกุ ข์ ยกเว้น “ชาวม้อย” ทก่ี ล่าวว่า ถา้ บดิ าตายนุง่ ขาว ๓ ปี มารดาตายนุ่งขาว ๒ ปี (เจ้าพระยาสุรศักดมิ์ นตรี ๒๕๑๕: ๒๔๑-๒๙๖) แต่อย่างไรกต็ ามจากหลักฐานภาพถา่ ยเก่างานศพชาวไทดำ� ของค�ำบุนอวาย เจา้ เมอื งม่วั ะ พบวา่ มกี ารแตง่ ขาวในงานศพ (ยกุ ติ มกุ ดาวิจติ ร ๒๕๕๗: ๔๔-๔๖) สันนิษฐานวา่ การท่ีชาวไทด�ำ ๑ พระอิสรยิ ศ และ ฐานันดรศักดิ์ เจ้านาย รวมถึง เน้อื ความทีเ่ กีย่ วข้อง จะคงตามขอ้ ความท่ียกมาจากเอกสาร ต้นฉบับ เช่น ราชกิจจานุเบกษา เปน็ ต้น 144 เสด็จสู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอื่ ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

๖ และชาวมอ้ ยมกี ารแตง่ ขาวไวท้ กุ ขน์ า่ จะไดร้ บั อทิ ธพิ ลมาจากเวยี ดนาม ทง้ั นเี้ พราะสองกลมุ่ นม้ี ถี น่ิ ฐาน อยู่ในประเทศเวียดนามปจั จบุ นั ๒. สมเดจ็ พระมหาวรี วงศ์ (อว้ น ตสิ โฺ ส) ไดบ้ นั ทกึ สภาพความเปน็ อยู่ “ชาวญอ้ ” (บา้ งเขยี น วา่ ญอ่ ) ท่แี ตเ่ ดมิ อยู่ในเขตเมอื งเวยี งจันทนแ์ ต่ตอนหลังถูกกวาดต้อนมาอย่ใู นเขตอ�ำเภอกนั ทรวชิ ัย ท่านได้บรรยายธรรมเนียมงานศพของชาวญ้อไว้ว่ามีการเล่นกระทบสาก แต่ไม่ได้จดเร่ืองขนบ การแต่งกายไว้ทุกข์ อีกท้ังท่านยังได้กล่าวว่าโดยปกติชาวญ้อ ผู้ชายโดยปกติใส่เสื้อทอผ้าสีด�ำ ผา้ นงุ่ เปน็ ผา้ ขง้ี า (เสน้ ยนื สดี ำ� เสน้ พงุ่ สขี าว) ซงึ่ กไ็ มไ่ ดเ้ กย่ี วขอ้ งกบั การไวท้ กุ ขแ์ ตป่ ระการใด (สมเดจ็ พระมหาวีรวงศ์ ๒๕๑๕: ๓๘๐-๓๘๔) สว่ นในเขตจงั หวดั กาฬสนิ ธง์ุ านศพหรอื ทเ่ี รยี กวา่ “งนั เฮอื นด”ี ผทู้ ม่ี ารว่ มงานจะไมท่ ำ� อะไร เพอื่ เปน็ การเพมิ่ ความทกุ ข์ แตต่ อ้ งชว่ ยกนั ทำ� ความรน่ื เรงิ เพอื่ ใหเ้ จา้ บา้ นลมื ความโศก มกี ารเปา่ แคน อ่านกลอน มีการละเล่นหลายอย่างเช่น หมากหาบ เป็นต้น แต่ก็ไม่ได้จดไว้ว่ามีขนบการไว้ทุกข์ แตป่ ระการใด (สมเด็จพระมหาวรี วงศ์ ๒๕๑๕: ๔๗๓-๔๗๔) ๓. บุญชว่ ย ศรสี วัสดิ์ กล่าวถงึ กลุ่มชนที่อาศยั อยู่เขตจงั หวดั เชียงราย เขตยนู นาน รฐั ฉาน และหลวงพระบาง พบว่า มีอยู่เพียงกลุ่มชนเดียวเท่าน้ันท่ีมีขนบในการแต่งกายสีขาวไว้ทุกข์คือ กล่มุ ไตน่าน (บุญช่วย ศรสี วัสด์ิ ๒๕๔๗) อย่างไรก็ตาม บญุ ช่วย ศรสี วัสดิ์ กล่าวว่า ไตนา่ นอพยพ มาจากจังหวัดน่าน เป็นไปได้ว่าอาจรับธรรมเนียมมาจากจีนหรือไม่ก็จากที่อื่น จึงไม่ใช่เร่ืองแปลก ทจ่ี ะมีการแต่งกายสขี าวไว้ทุกข์ จากข้อมูลเอกสารที่ยกมาจะเห็นว่ากลุ่มชนหลายกลุ่มในเขตพื้นที่น้ันมีสภาพสังคมที่ค่อน ขา้ งปิด อีกท้งั ในเอกสารทงั้ หมดกจ็ ดบันทึกขึ้นก่อนปี พ.ศ.๒๕๐๐ ซงึ่ ยงั เปน็ ชว่ งทีว่ ัฒนธรรมจาก ทางภาคกลางยังแผ่เข้าไปไม่ถึง ดังน้ัน จึงน่าที่จะสะท้อนได้ว่าสังคมดั้งเดิมในเขตที่ราบลุ่มแม่น�้ำ เจ้าพระยาก่อนทีจ่ ะมีการติดต่อกับโลกภายนอกคือ จนี อินเดีย และตะวันตก จงึ ไมน่ า่ มขี นบการ แต่งชุดสีขาว-ด�ำ รวมถงึ การโกนผมด้วย แต่ส่ิงหน่ึงที่ถือเป็นลักษณะเด่นในธรรมเนียมท่ีเก่ียวกับงานศพของกลุ่มชนเหล่าน้ีคือ การจัดงานร่ืนเริงในงานศพ ซ่ึงถ้าเทียบเคียงกับธรรมเนียมราชส�ำนักในเขตลุ่มน�้ำเจ้าพระยาแล้วก็ คือการสมโภชในงานพระเมรุ หลกั ฐานการไวท้ กุ ข์ในชว่ งก่อนพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๙ การศึกษาประวัติศาสตร์โบราณในดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จ�ำเป็นท่ีจะต้องอาศัย หลักฐานศิลาจารึกเป็นส�ำคัญ หากแต่จารึกท่ีพบจะกล่าวถึงการอุทิศส่ิงของให้แก่ศาสนสถานและ ยอพระเกยี รตยิ ศพระราชาไมม่ กี ารกล่าวถงึ ธรรมเนยี มหลงั ความตาย ดว้ ยเหตนุ ี้ จงึ จ�ำเป็นท่ีจะต้อง อาศัยขอ้ มลู จากบันทึกของจีน ขนบงานศพเทา่ ทคี่ น้ หลกั ฐานพบมปี รากฏอยใู่ นจดหมายเหตขุ องราชวงศเ์ หลยี ง ซงึ่ มอี ายุ อยู่ในราวครึง่ หลังของพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๑ กลา่ วว่า ชาวฟนู ันมีการโกนเคราโกนผมไวท้ กุ ข์ (Pelliot 1903: 261-262) 145เสดจ็ สแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

ในจดหมายเหตขุ องมา้ ตวนลนิ ซงึ่ มอี ายใุ นราวกลางพทุ ธศตวรรษที่ ๑๒ ไดก้ ลา่ ววา่ ชาวเมอื ง จถิ ูซึ่งตั้งอยูบ่ นคาบสมทุ รมลายู เมอื่ บิดา มารดา หรอื พช่ี ายถึงแก่กรรม เขาผู้น้นั จะโกนศีรษะและ นงุ่ หม่ ขาว และยงั ไดก้ ลา่ ววา่ ในอาณาจกั รจามปา สำ� หรบั ผตู้ ายทไี่ มม่ บี รรดาศกั ดเิ์ ขากจ็ ะเกบ็ กระดกู ไวใ้ นภาชนะดนิ เผาและทงิ้ ลงไปในแมน่ ำ�้ สว่ นญาตหิ ญงิ ชายของผตู้ ายจะเดนิ ตามขบวนศพและตดั ผม ของตนก่อนที่จะออกมาจากฝั่งแม่น้�ำ ส่ิงน้ีเป็นสิ่งเดียวท่ีแสดงถึงการไว้ทุกข์อย่างสั้นๆ (Coedès 1968: 49-50, 79) จากบนั ทกึ ขา้ งตน้ ทย่ี กมานท้ี ำ� ใหเ้ ราพอทราบไดว้ า่ ในชว่ ง พ.ศ.๑๑๐๐-๑๒๐๐ ในพนื้ ทเ่ี อเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตเ้ รม่ิ มขี นบไว้ทุกข์แลว้ อยา่ งไรกต็ าม ในบนั ทกึ ของจวิ ตากวน (โจวตา้ กวาน) ชาวจนี ทเ่ี ขา้ มายงั เมอื งยโศธรปรุ ะ (กมั พชู า) ในปี พ.ศ.๑๘๓๙ ไดจ้ ดบันทึกว่า “ในการตายของบิดามารดาไมม่ เี คร่อื งแต่งกายไวท้ กุ ข์ แต่บุตรชายนั้นจะโกนผมบนศีรษะ บุตรหญิงจะตัดผมท่ีเหนือหน้าผากให้เป็นวงขนาดเท่าอีแปะ เปน็ การไว้ทกุ ข์ให”้ ๒ (เฉลิม ยงบญุ เกิด ๒๕๔๓: ๒๙; Pelliot 1951: 24) จากบันทึกของจวิ ตากวนเราไม่อาจทจี่ ะทราบได้ว่า จวิ ตากวนเมอื่ เขา้ มาอยู่ในเมืองยโศธร ปุระจะได้เห็นงานศพก่ีคร้ัง แต่บันทึกฉบับก็ชี้ให้เห็นว่าอย่างน้อยในช่วงเวลาน้ันมีขนบการโกนผม ไวท้ กุ ข์ แตใ่ นบนั ทึกไมม่ ีการแตง่ กายไว้ทุกข์จึงสามารถตีความได้ ๒ แนวทางคือ ๑. ชาวเมอื งยโศธรปรุ ะสมยั นน้ั มกี ารแตง่ กายไวท้ กุ ข์ แตไ่ มเ่ ปน็ แบบธรรมเนยี มท่ี จวิ ตากวนคุ้นเคย ๒. ชาวเมืองยโศธรปุระไม่มกี ารแตง่ กายไว้ทกุ ข์ แตม่ เี พยี งการโกนผมไวท้ ุกข์เท่าน้ัน ในประเดน็ นผ้ี เู้ ขยี นมคี วามคดิ ทโ่ี นม้ เอยี งวา่ ชาวเมอื งยโศธรปรุ ะไมม่ กี ารนงุ่ ขาวในงานศพ เพราะไมเ่ ชน่ นน้ั จวิ ตากวนคงจะมกี ารบนั ทกึ เอาไว้ ดงั เชน่ เอกสารจนี ฉบบั อน่ื ๆ ทก่ี ลา่ วถงึ กอ่ นหนา้ นี้ อยา่ งไรก็ดี สง่ิ หนึ่งทเี่ ปน็ ธรรมเนียมร่วมกันกค็ ือ การโกนผมไวท้ ุกข์ จากที่ได้กล่าวไปแล้วข้างต้นว่าขนบงานศพของกลุ่มชนตา่ งๆ ไม่มีแต่งกายไว้ทุกข์จึงเชื่อ ได้ว่าธรรมเนยี มทีด่ ินแดนแถบนร้ี ับเอามาจากโลกภายนอก ดว้ ยเหตุดงั กลา่ วจึงน�ำสขู่ อ้ สันนิษฐาน ดงั ตอ่ ไปนี้ ๑. เนอ่ื งจากธรรมเนยี มในอนิ เดยี ไมป่ รากฏการนงุ่ ผา้ ขาวในการศพ ทงั้ นเ้ี พราะศพั ทค์ ำ� วา่ ผา้ นุ่งในภาษาฮนิ ดี คือ “โธตี” มีความหมายอกี อยา่ งวา่ ผา้ สะอาดหรอื ผา้ ขาว (สมั ภาษณ์ จริ พฒั น์ ประพันธวิทยา ๖ กมุ ภาพนั ธ์ุ ๒๕๖๐) อีกท้ังคนอนิ เดยี ก็นุ่งกันอยูใ่ นชวี ติ ประจ�ำวนั ดงั นั้น จงึ ชวน ใหค้ ิดว่าการนุ่งขาวน่าจะมาจากทางฝัง่ จนี เพราะศพั ท์ค�ำวา่ ไวท้ กุ ข์ “服喪” (Fu Sang) พิจารณา จากรูปศัพท์กเ็ นน้ ทเี่ ครือ่ งแต่งกายเป็นหลกั และศัพท์ค�ำนกี้ ม็ ปี รากฏมาในเอกสารเรือ่ ง พงศาวดาร ราชวงศ์ฮั่นยุคหลัง๓ และท่สี ำ� คัญจากหลกั ฐานภาพถ่ายเกา่ ในงานพระศพฮองไทเฮาซสู ี ขนุ นางในท่ี เขา้ รว่ มพธิ กี ย็ งั ไวเ้ ปยี หรอื แมว้ า่ ในงานศพจนี ในคาบสมทุ รมลายกู ไ็ มป่ รากฏวา่ มกี ารโกนผมไวท้ กุ ข์ ๒ ข้อความที่เก่ียวกับการไว้ทุกข์ของสตรี อาจารย์เฉลิม ยงบุญเกิด กับ เปลลิโอต์ แปลไม่ตรงกัน ฉบับของ เปลลโิ อต์ว่า โกนผมมวย ๓ ขอ้ ความในพงศาวดารฮน่ั ยคุ หลงั วา่ 後漢書.卷三十七.桓榮傳:「典獨棄官收斂歸葬,服喪三年,負土成墳,為立祠堂,盡禮而去 146 เสด็จสแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

๖ ส่วนธรรมเนียมจีนในภูมิภาคอ่ืนจะมีการโกนผมไว้ทุกข์หรือไม่เรื่องนี้ควรจะต้องมี การค้นคว้าต่อไป หากพบว่าจีนในภูมิภาคอื่นโดยเฉพาะจีนแถบมณฑลกวางตุ้ง ก็อาจจะน�ำไปสู่ การตคี วามวา่ ธรรมเนยี มจนี โกนผมไวท้ กุ ขใ์ นบา้ นเราคงจะเปน็ กลมุ่ ชนชาวจนี ทอ่ี พยพเขา้ มารบั เอา ขนบท้องถนิ่ มาใช้ ๒. เนอ่ื งจากในจดหมายเหตุของมา้ ตวนลินกลา่ วว่า มีการตัดผมเมอ่ื น�ำกระดกู ไปลอยน้ำ� ซึ่งเหมอื นกับธรรมเนยี มศราทธพรตของอินเดยี ทป่ี จั จบุ ันนีย้ งั คงถอื ปฏิบัตอิ ยู่ ๓. เมื่อมีขนบการไวท้ กุ ข์เกดิ ข้ึนก็นา่ จะชี้ให้เหน็ วา่ ทศั นคตเิ ก่ียวกบั ความตายในภมู ภิ าคนี้ เรมิ่ มกี ารเปล่ยี นแปลง แต่กค็ งจะเปลี่ยนแปลงเฉพาะในกลมุ่ ชนชั้นมลู นายกอ่ นทจ่ี ะแพร่ขยายลงมา สู่ประชาชนท่วั ไป งานพระศพฮองไทเฮาซูสีจะสังเกตเห็นว่าขุนนาง ทเ่ี ขา้ รว่ มพธิ สี วมชดุ ขาวแตไ่ มม่ กี ารตดั เปยี (ทม่ี า : http:// www.360doc.com/content/09/0324/10/70890_ 2900429.shtml) งานศพของคนจีนในคาบสมุทรมลายู จะสังเกตว่าไม่มีการโกนผม (ที่มา: https:// www.geomancy.net/forums/topic/1535-chinese-funeral-ceremony -part-๓-burning-of-paper-home/) 147เสดจ็ สแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

หลักฐานเกยี่ วกับการไวท้ กุ ข์ในสมยั อยธุ ยา จากขอ้ มลู ขนบในการไวท้ กุ ขส์ มยั อยธุ ยาเทา่ ทพี่ บคอื จดหมายเหตโุ ยสต์ สเคาเตน็ ทกี่ ลา่ ววา่ “เมื่อคนตายไปแล้วก็โกนผมห่อศพแล้วท�ำบุญให้ทานไปตามความเชื่อถือและแล้วก็เอาไปเผาใน บรเิ วณวดั นอกจากนย้ี งั มพี ธิ อี นื่ ๆ อกี เชน่ มกี ารรอ้ งไหอ้ าลยั กนั สว่ นพวกญาตสิ นทิ จะตดั ผมของตน” (กรมศลิ ปากร ๒๕๓๙: ๒๗๔) ส่วนบันทึกของลา ลูแบร์ กล่าวว่า ในขบวนแห่ศพบุคคลในครอบครัวผู้ตายท้ังชายและ หญิงล้วนแต่งขาว ศีรษะของคนเดินตามศพคลุมด้วยผ้าสีขาว ส่วนการไว้ทุกข์นั้นจะไว้ในช่วงท่ีมี ความทุกข์เท่าน้ัน (เดอ ลา ลูแบร์ ๒๕๔๘: ๓๖๗, ๓๗๒) ซงึ่ การทลี่ า ลูแบร์ กลา่ ววา่ การไวท้ ุกขน์ ั้น จะไว้เฉพาะตอนมีทุกข์อาจจะตีความได้ว่าก�ำหนดการไว้ทุกข์ไม่เป็นท่ีแน่นอน ส�ำหรับลักษณะ การเอาผา้ ขาวคลมุ ศรี ษะยงั มปี รากฏในภาพถา่ ยเกา่ คราวงานพระเมรสุ มเดจ็ พระศรสี วสั ดกิ รงุ กมั พชู า และยังทำ� ใหน้ ึกถึงธรรมเนียมของไทแดงที่มกี ารใช้ผา้ ขาวคลุมศรี ษะด้วย นอกจากนี้ในบันทึกนิโกลาส์ แชรแวส ก็กล่าวไปในท�ำนองเดียวกันว่า บิดามารดาและ มติ รสหายของผตู้ ายนงุ่ ขาวหม่ ขาว ภรรยาและญาตทิ ใ่ี กลช้ ดิ กน็ งุ่ ขาวและโกนศรี ษะเกลยี้ ง (นโิ กลาส์ แชรแวส ๒๕๕๐: ๑๘๐) แต่ปัญหาว่าการไว้ทุกข์ในจดหมายเหตุชาวตะวันตกจะเป็นธรรมเนียมไว้ทุกข์ของ กลมุ่ ชนชั้นมูลนายได้หรอื ไม่ ท้งั นี้เพราะวรรณคดีเรอ่ื ง ขนุ ช้างขนุ แผน ไดก้ ลา่ ววา่ “พลายชมุ พลน่งุ ขาวใสล่ อมพอก โปรยขา้ วตอกออกหน้าหาชา้ ไม่ พวกพ้องพีน่ อ้ งกร็ ่ำ� ไร นุ่งขาวตามไปล้วนผดู้ ”ี …. ห่มขาวม้งุ นงุ่ บวั ปอกแปง้ ผดั หน้า” “พวกผหู้ ญงิ สาวสาวชาวบา้ นนอก (ขนุ ชา้ งขนุ แผน ๒๕๑๓: ๘๙๐, ๘๙๒) จากวรรณกรรมเร่ือง ขุนช้างขุนแผน สะท้อนว่า อย่างน้อยที่สุดธรรมเนียมการแต่งกาย ดว้ ยชดุ ขาวในงานศพมมี าแตค่ รงั้ สมยั อยธุ ยาหรอื ตงั้ แตย่ คุ ตน้ รตั นโกสนิ ทรแ์ ลว้ สอดคลอ้ งกบั เอกสาร ชาวตา่ งชาติคนอน่ื ๆ สมยั อยุธยา อนง่ึ การจัดการเก่ยี วกบั กล่นิ ศพในสมัยกอ่ นเป็นเร่อื งท่ียากลำ� บาก ดงั น้นั การตงั้ สวดศพ ส�ำหรับไพร่ท่ัวไปคงจะไม่นาน ดังนั้นจึงชวนให้สงสัยว่าการไว้ทุกข์หรือเครื่องสัญลักษณ์ของญาติ และผู้เข้าร่วมจะใช้จนกว่าจัดการเผาศพนั้นเสร็จ หรือจะยังคงใช้ต่อมาอีกสักพัก เรื่องน้ีไม่ปรากฏ หลกั ฐาน ธรรมเนียมไว้ทุกขส์ มยั รตั นโกสนิ ทร์นุ่งผา้ ไวท้ ุกข์มีมากกว่าหนง่ึ สี จากทไ่ี ดก้ ลา่ วไปขา้ งตน้ แลว้ วา่ ในสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยามกี ารนงุ่ ขาวไวท้ กุ ข์ หากแตข่ อ้ ความใน พระราชพงศาวดารกรงุ รตั นโกสนิ ทรร์ ชั กาลที่ ๑ ฉบบั เจา้ พระยาทพิ ากรวงศ์ จดไวว้ า่ “วนั จนั ทร์ เดอื น ๓ ขน้ึ ๗ คำ่� พระราชทานเพลงิ ในการพระศพสมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ เจา้ ฟา้ กรมขนุ ศรสี นุ ทรเทพครง้ั นน้ั ทรงพระภษู าลายพน้ื ขาวทกุ วนั ดำ� รสั วา่ ลกู คนนรี้ กั มากตอ้ งนงุ่ ขาวให”้ (เจา้ พระยาทพิ ากรวงศ์ ๒๕๓๙: ๒๐๒) 148 เสด็จส่แู ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

๖ ดงั นนั้ ถา้ คดิ ในมมุ มองกลบั กนั หากสมเดจ็ กรมหลวงศรสี นุ ทรเทพไมเ่ ปน็ ทโี่ ปรดปรานของ พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี ๑ พระองค์จะทรงพระภูษาสีอะไร ดังนั้น ประโยคน้ีช้ีให้เห็นว่าควรท่ีจะมี การนุ่งห่มในงานศพหลายลกั ษณะ และเชื่อไดว้ ่าขนบนม้ี ีมาแตค่ ร้งั กรงุ เกา่ การนุ่งผา้ นงุ่ หลากสใี นงานศพของกรงุ รัตนโกสนิ ทร์ มีปรากฏในประกาศนุ่งผ้าขาว เมื่อปี จลุ ศกั ราช ๑๒๔๙ (พ.ศ.๒๔๓๐) ไดร้ ะบถุ งึ การแตง่ กายไวท้ กุ ขอ์ ยถู่ งึ ๔ แบบดว้ ยกนั คอื “แตง่ ขาวลว้ น อยา่ งหน่งึ แต่งด�ำล้วนแลหม่ ขาวอยา่ งหนง่ึ นุ่งผา้ ขาวลายเส้อื ขาวห่มขาวอยา่ งหนง่ึ นุง่ ม่วงสีนำ้� เงนิ เสื้อขาวห่มขาวอย่างหนึ่ง” (ราชกิจจานุเบกษา ๒๔๓๐: ๓๕) และมีรายละเอียดการนุ่งห่มหลากสี ในงานพระศพปรากฏดงั น้ี ๑. งานพระเมรพุ ระเจา้ ราชวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ ประไพพกั ตร์ และพระเจา้ ราชวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จ้ากัลยาณี พระเจา้ อยหู่ ัวทรงฉลองพระองค์ขาวพระภูษาลายพ้นื ขาว พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ ทรงนงุ่ ดำ� ฉลองพระองคด์ ำ� พระเจา้ ราชวรวงศเ์ ธอทมี่ พี ระชนมพรรษาแกก่ วา่ ทรงผา้ ดำ� ฉลองพระองคด์ ำ� ท่ีพระพรรษาอ่อนกว่าทรงผ้านุ่งและฉลองพระองค์ขาว พระเจา้ น้องยาเธอทรงผา้ ลายพื้นขาวฉลอง พระองคข์ าว (สำ� นักพระราชวัง ๒๕๓๙: ๘๘-๘๙) ๒. งานพระเมรุพระเจา้ ราชวรวงศเ์ ธอ กรมหมืน่ ภมู นิ ทรภกั ดี ในราชกิจจานุเบกษาระบวุ า่ “อนงึ่ เมอื่ วนั ชกั พระศพแลวนั พระราชทานเพลงิ นนั้ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงพระภษู าขาวลว้ น แตว่ นั กลางทรงผา้ ลายพนื้ ขาว สมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งยาเธอทงั้ สองพระองคแ์ ลพระเจา้ นอ้ งยาเธอพระองค์ เจา้ จติ รเจรญิ ทรงผา้ ขาวลว้ นในวนั ชกั พระศพแลวนั พระราชทานเพลงิ แตว่ นั กลางทรงผา้ ลายพน้ื ขาว พระเจ้าราชวรวงษ์เธอทรงผ้าขาวล้วนทั้งสามวัน แต่พระเจ้าน้องยาเธอนอกนั้นทรงผ้าลายพื้นฐาน ทัง้ สามวัน” (ราชกจิ จานุเบกษา ๒๔๑๘: ๒๘-๒๙) ๓. งานพระเมรพุ ระเจา้ นอ้ งนางเธอพระองคเ์ จา้ เจรญิ กระมลศขุ สวสั ดิ ในราชกจิ จานเุ บกษา ระบวุ า่ “แตพ่ ระเจา้ ลกู ยาเธอ พระองคเจา้ ศรวี ไิ ลย ทรงผา้ สนี ำ้� เงนิ แกฉ่ ลองพระองคขาว ทรงสภกั ษขาว เพราะพระชนมพรรษาของท่านน้ันแก่กว่าพระองคเจา้ ทส่ี นิ้ พระชนม์” (ราชกจิ จานุเบกษา ๒๔๑๙ข: ๓๘๘-๓๙๐) ภาพจติ รกรรมฉากขบวนแห่ศพ ในพระอโุ บสถวดั มหาสมณาราม จังหวดั เพชรบุรี จะสังเกตได้ว่าคนท่เี ข้ารว่ มขบวนมีการนงุ่ สที ห่ี ลากหลาย และดูเหมอื นวา่ คนทมี่ ารว่ มงานก็นงุ่ ผ้าสีสดมาได้ 149เสดจ็ สแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชือ่ ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook