Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-Book_SADET_09

E-Book_SADET_09

Published by LibrarySpt, 2021-09-13 06:18:01

Description: E-Book_SADET_09

Search

Read the Text Version

จากเอกสารทง้ั ๓ ชนิ้ ที่ยกมานน้ั ท�ำใหส้ ันนิษฐานไดด้ งั ตอ่ ไปน้ี ๑. เจา้ นายทท่ี รงไวท้ กุ ขท์ รงรว่ มพระชนกนาถ ถา้ มพี ระชนมายอุ อ่ นกวา่ เจา้ นายทสี่ นิ้ พระชนม์ จะทรงนงุ่ ขาวฉลองพระองคข์ าว แตถ่ า้ มพี ระชนมายแุ กก่ วา่ จะทรงนงุ่ ดำ� ฉลองพระองคด์ ำ� ๒. เจา้ นายทรงไวท้ กุ ขม์ ลี ำ� ดบั พระญาตชิ น้ั เดยี วกนั แตไ่ มไ่ ดร้ ว่ มพระชนกนาถ ถา้ มพี ระชนมายุ ออ่ นกวา่ เจา้ นายทสี่ น้ิ พระชนมจ์ ะทรงนงุ่ ขาวลายฉลองพระองคข์ าว หากแตถ่ า้ เจา้ นายทส่ี นิ้ พระชนม์ เปน็ พระญาตวิ งศข์ า้ งพระชนนี อยา่ งเชน่ กรมหมน่ื ภมู นิ ทรภกั ดี จงึ ทำ� ใหพ้ ระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๕ สมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งยาเธอทงั้ ๒ พระองค์ และพระองคเ์ จา้ จติ รเจรญิ ทรงชดุ ขาว อยา่ งไรกต็ ามกท็ รง นงุ่ ขาวลว้ นเพยี ง ๒ วนั คอื เพยี งวนั ชกั พระศพและวนั พระราชทาน ซง่ึ นอ้ ยกวา่ พระเจา้ ราชวรวงศเ์ ธอ ๑ วนั ๓. เจา้ นายทมี่ พี ระชนมายมุ ากกวา่ แตโ่ ดยลำ� ดบั พระญาตวิ งศอ์ อ่ นชนั้ กวา่ เจา้ นายทสี่ นิ้ พระชนม์ จะทรงนงุ่ นำ้� เงินฉลองพระองคข์ าว ๔. ชว่ งวนั งานพระศพทเ่ี นน้ ความสำ� คญั การนงุ่ ผา้ ไวท้ กุ ข์ คอื วนั ชกั พระศพ และวนั พระราช ทานเพลงิ สว่ นวนั กลางคือวันสมโภชพระศพจะลดหย่อนในระดับหนง่ึ นอกจากนย้ี ังพบว่า ถา้ เจ้านายทรงนุ่งห่มไปในงานพระศพผิดตามธรรมเนียมจะถูกต�ำหนิ วา่ ทำ� เกนิ ฐานะ ดงั ขอ้ ความทว่ี า่ “ในวนั นนั้ พระบรมวงษานวุ งษทรงผา้ ลายพน้ื ขาวทงั้ สน้ิ แตพ่ ระเจา้ ราชวรวงษเธอ กรมขนุ ภวู ไนยนฤเบนทราธบิ าล กบั พระเจา้ ราชวรวงษเธอ กรมหมนื่ เจรญิ ผลภลู สวสั ดิ ทรงผา้ ขาวลว้ น เหมอื นพระเจา้ บรมวงษเธอ กรมหลวงวรศกั ดาพศิ าล แลสมเดจพระเจา้ บรมวงษเธอ เจ้าฟ้ามหามาลากรมพระบ�ำราบปรปักษ การก็เกินไปสักน้อยด้วยมิใช่เปนบรมวงษเหมือนท่าน”๔ (ราชกจิ จานุเบกษา ๒๔๑๙ก: ๓๘๘-๓๙๐) อย่างไรก็ตาม ธรรมเนียมนี้น่าจะเป็นธรรมเนียมราชส�ำนักซึ่งถ้าเป็นชาวบ้านท่ัวไปคงจะ ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งปฏบิ ัตอิ ยา่ งเคร่งครดั หรอื ไมไ่ ด้ท�ำ อกี ทง้ั ธรรมเนยี มดงั กล่าวนน้ี ่าจะมีการปรบั ปรงุ ใน ช่วงรชั กาลท่ี ๔ เพราะมกี ารกล่าวถงึ การใสเ่ ส้ือ โกนผมทง้ั แผ่นดนิ การโกนผมจะปฏบิ ตั ิเม่ือบพุ การีและญาตผิ ู้ใหญไ่ ด้ตายลง แตเ่ นอ่ื งจากระบบไพร่ มลู นาย ถือว่าเป็นผู้ท่ีมีความส�ำคัญ ดังน้ัน เม่ือมูลนายตาย ไพร่ในสังกัดก็จ�ำเป็นต้องโกนผมเพ่ือเป็น การแสดงความเคารพ ดงั ในประกาศรชั กาลที่ ๔ วา่ “ขา้ เจา้ บา่ วนายทเี่ จา้ ขนุ มลู นายตาย หญงิ ผวั ตาย หรือบดิ ามารดาพ่อผวั แม่ผวั ตายโกนเพราะเหตนุ ัน้ ก็ไมว่ า่ หรือญาติอันใกล้ของมลู นายตาย มลู นาย ให้โกนช่วยอย่างศพเจ้าพระยมราช” (มูลนิธิโครงการต�ำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ๒๕๔๘: ๔๕๙) ดงั นนั้ เมอื่ ในอดตี สงั คมลมุ่ แมน่ ำ�้ เจา้ พระยายงั อยใู่ นระบบมลู นายและมลู นายทใ่ี หญท่ ส่ี ดุ ใน สงั คมคอื พระมหากษตั รยิ ์ ดว้ ยเหตนุ เี้ อง เมอื่ พระเจา้ อยหู่ วั เสดจ็ สวรรคต มลู นาย-ไพรจ่ งึ จำ� เปน็ ทจ่ี ะ ตอ้ งมีการโกนผมท้ังแผน่ ดนิ ๔ ธรรมเนียมการนุ่งผา้ ไปในงานพระเมรเุ จา้ นาย ดเู หมือนจะเปน็ เร่อื งทีเ่ ขม้ งวดมาก แม้วา่ ในชว่ ง รัชกาลที่ ๖ แลว้ กต็ าม ดงั กรณที ีเ่ จ้าพระยาธรรมาธกิ รณต์ ำ� หนเิ จ้านายวงั หนา้ เร่อื งทรงแต่งดำ� เสด็จไปในงานพระเมรุ สมเด็จฯ เจา้ ฟา้ กรมหลวงพษิ ณุโลกประชานาถ (พระเจ้าวรวงศเ์ ธอ พระองค์เจ้าจลุ จกั รพงศ์ ๒๕๓๑: ๑๕๙) 150 เสด็จสแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

๖ หลักฐานที่กล่าวถึงรายละเอียดเกี่ยวกับการโกนผมทั้งแผ่นดินคร้ังกรุงเก่าไม่เหลือถึง ปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม ราชส�ำนักในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นก็คงจะไม่ห่างไกลกว่าครั้งกรุงเก่า มากนกั ดงั นน้ั จงึ นา่ จะเชอื่ ไดว้ า่ เมอื่ พระมหากษตั รยิ ค์ รง้ั กรงุ เกา่ เสดจ็ สวรรคตกน็ า่ จะมกี ารประกาศ ใหโ้ กนผมทง้ั แผ่นดนิ หลักฐานการโกนผมท้ังแผ่นดินในสมัยรัตนโกสินทร์มีปรากฏในศุภอักษรของอัครมหา เสนาบดสี ง่ ไปยงั เจา้ ประเทศราชในเขตลา้ นนาและพระเจา้ กรงุ กมั พชู า เรอื่ งพระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ ๑ เสด็จสวรรคตได้ระบุมีการประกาศโกนผมเดือนละครั้งจนกว่าถวายพระเพลิงแล้ว ยกเว้นแต่ เมอื งเถนิ เมอื งกำ� แพงเพชร เมอื งตาก เมอื งเชยี งเงนิ เมอื งเชยี งทอง เมอื งกาญจนบรุ ี เมอื งศรสี วสั ดิ์ เมอื งไทรโยค เมอื งทองผาภมู ิ ไมใ่ หเ้ จา้ เมอื งกรมการเมอื งรวมถงึ ชาวบา้ นโกนผม เพราะเปน็ เมอื งดา่ น ทตี่ ดิ ตอ่ ไปยังพม่า นอกจากนี้ ยงั รวมถงึ ด่านเมอื งอทุ ัย (จดหมายเหตรุ ชั กาลท่ี ๒ ๒๕๑๓: ๑๔-๑๕, ๕๖) หากแตจ่ ากหมายฉบบั ดังกลา่ วท�ำให้สามารถคดิ เพมิ่ เตมิ ได้ดงั ตอ่ ไปนี้ ๑. ในศุภอกั ษรไมไ่ ด้กล่าวถงึ การใหข้ ้าแผน่ ดินนงุ่ สขี าว ดงั น้ัน ก็เปน็ การสะท้อนให้เห็นว่า ราชส�ำนักยุคน้ันเน้นการโกนผมมากกว่านุ่งขาว ซึ่งอาจจะเป็นไปได้ว่าการนุ่งขาวน้ันจะไว้เฉพาะ มูลนายและผูใ้ กล้ชดิ ๒. การโกนผมท้งั แผน่ ดนิ ในเขตพระนครและในจวนเจ้าเมืองตามหวั เมืองคงจะปฏบิ ัตกิ ัน อยา่ งเครง่ ครดั แมว้ า่ ในหมายจะระบวุ า่ “ถา้ ผใู้ ดมไิ ดโ้ กนผมจบั ไดจ้ ะเอาตวั เปน็ โทษจงหนกั ” แตใ่ นทาง ปฏิบตั จิ ะเคร่งครัดเร่อื งโกนผมมากนอ้ ยเพยี งใดไมอ่ าจทจี่ ะทราบได้ ๓. เรอื่ งการยกเวน้ หวั เมอื งทแี่ ดนตดิ กบั กรงุ องั วะไมต่ อ้ งโกนผมนนั้ คงจะสบื เนอ่ื งจากปญั หา สงคราม เพราะในท้ายเอกสารทัง้ ๒ ช้ิน ได้มขี ้อความย้ำ� ใหเ้ จ้ากรมเมืองท่ีไมต่ ้องโกนผมนัน้ ให้ดูแล ไม่ให้พม่าเข้ามาจับผู้คนออกไป อีกทั้งต้ังแต่สิ้นรัชกาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กรุงศรีอยุธยา ไม่มีภาพของกรุงอังวะในแง่ลบ ซึ่งจะเห็นจากสมเด็จพระเจ้าบรมโกศทรงรับเจ้าเมืองเมาะตะมะ ท่ีหนีกบฏมอญมาขอพึ่งพระบรมโพธิสมภาร จนในที่สุดพระเจ้ากรุงอังวะได้แต่งทูตเชิญเคร่ืองราช บรรณาการมาถวาย แตค่ วามร้สู กึ ในเชิงลบท่ีมีตอ่ พมา่ เพง่ิ จะมาเกิดข้ึนหลังสงคราม ปี พ.ศ. ๒๓๑๐ (สุเนตร ชุตินธรานนท์ ๒๕๓๗: ๙-๓๐) ตามความเห็นของผู้เขียนคิดว่า เหตุที่ยกเว้นการโกนผมของไพร่ฟ้าในหัวเมืองท่ีแดน ติดกับกรุงอังวะ เพิ่งจะเป็นขนบท่ีเริ่มต้นในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ และน่าท่ีจะเป็นไปได้ว่าเม่ือคร้ัง กรงุ ศรอี ยธุ ยาเกดิ การผลดั แผน่ ดนิ ถา้ กรงุ ศรอี ยธุ ยามพี ระราชไมตรกี บั กรงุ องั วะกน็ า่ ทจี่ ะมกี ารสง่ ขา่ ว เรอื่ งการผลดั แผน่ ดนิ เหมอื นอยา่ งทคี่ รงั้ กรงุ รตั นโกสนิ ทรย์ งั มที างพระราชไมตรกี บั กรงุ เว้ เมอ่ื ครงั้ ที่ พระเจา้ อยู่หัวรชั กาลท่ี ๑ เสด็จสวรรคตก็มพี ระราชสาส์นถึงกรงุ เว้ทราบ หรือเมอ่ื ครั้งพระเจา้ ยาลอง ส้นิ พระชนมก์ ม็ ีสารเข้ามายังกรงุ เทพ (เจา้ พระยาทพิ ากรวงศ์ ๒๕๔๘: ๘๕) แตเ่ ม่ือกรุงรตั นโกสนิ ทร์ เกดิ กรณพี พิ าทกบั กรงุ เว้ พระเจา้ มนิ มางสนิ้ พระชนมไ์ มป่ รากฏวา่ มสี ารจากกรงุ เวเ้ ขา้ มา (เจา้ พระยา ทพิ ากรวงศ์ ๒๕๓๘: ๙๔) และเมื่อพระเจา้ อย่หู วั รัชกาลท่ี ๓ เสด็จสวรรคต กไ็ มม่ ีพระราชสาส์นแจง้ ขา่ วไปท่กี รุงเว้ 151เสด็จสู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

ภาพจิตรกรรมที่พระที่น่ังทรงผนวช วดั เบญจมบพิตร เล่าเรอ่ื งฉากเหตกุ ารณ์ชว่ งที่ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจา้ อยู่หวั เสด็จสวรรคต จะเห็นว่าผู้คนในภาพนงุ่ ขาว และโกนผม และทสี่ ำ� คัญก�ำแพงแกว้ ไมม่ กี ารเขียนการผกู ผา้ ดำ� ผา้ ขาว อน่ึง การโกนผมไวท้ กุ ขท์ ง้ั แผ่นดนิ นา่ ทจ่ี ะสงวนไว้ส�ำหรบั พระมหากษัตรยิ ์ แม้วา่ แชรแวส ได้กล่าวว่า ในงานพระศพของสมเด็จพระมเหสีของสมเด็จพระนารายณ์สตรีท่ัวทั้งราชอาณาจักร โกนศรี ษะและแตง่ เครอ่ื งไวท้ กุ ข์ (นโิ กลาส์ แชรวาส ๒๕๕๐: ๑๘๑) จากขอ้ ความของบนั ทกึ ของแชรแวส ชวนให้คิดด้วยว่า ขอบเขตของพระราชอาณาจักรท่ีว่าน้ีครอบคลุมบรรดาประเทศราชด้วยหรือไม่ และจะเปน็ ไปไดห้ รอื ไมว่ า่ สตรที โ่ี กนผมนน้ั เปน็ เพยี งขา้ ในพระอคั รมเหสเี ทา่ นน้ั อยา่ งไรกต็ าม สะทอ้ น ใหเ้ หน็ วา่ ในราชสำ� นักอยธุ ยา ผูห้ ญงิ เปน็ ผูม้ ีอ�ำนาจอย่างสูง อยา่ งไรกต็ าม ในจดหมายการพระศพสมเดจ็ พระรปู วดั พทุ ไธสวรรย์ กรงุ เกา่ ในสมยั พระเจา้ อยหู่ วั บรมโกศไม่มีการกล่าวถึงการโกนผมไว้ทุกข์ (ส�ำนักนายกรัฐมนตรี ๒๕๑๐: ๑๐๗-๑๑๗) แต่ใน พระราชพงศาวดารกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ รชั กาลท่ี ๓ ตอนทก่ี ลา่ วถงึ สมเดจ็ พระอมรนิ ทรามาตย์ สมเดจ็ พระศรีสุริเยนทรา และสมเด็จพระศรีสุลาลัย เสด็จสวรรคตไม่มีการกล่าวถึงการโกนผมท้ังแผ่นดิน (เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ ๒๕๓๘: ๑๕, ๖๙, ๗๒) เร่ืองน้ีไม่ทราบแน่ชัดว่าท�ำไมสมัยหลังจึงไม่มี ธรรมเนยี มการโกนศีรษะและแตง่ เครอ่ื งไวท้ ุกขใ์ หเ้ จา้ นายผู้หญิงอีก คงต้องมกี ารศึกษาตอ่ ไป โกนผมในคราวพระมหาอุปราชทวิ งคต จากเอกสารท่ีหลงเหลือมาถึงสมัยปัจจุบัน ไม่ปรากฏหลักฐานเกี่ยวกับงานพระศพ พระมหาอุปราชครั้งกรุงเก่าแต่ประการใด หลักฐานที่เกี่ยวกับงานพระศพพระมหาอุปราชปรากฏ ครั้งแรกในคร้งั รัชกาลที่ ๑ แหง่ กรงุ รตั นโกสินทร์ คือ เม่อื สมเด็จกรมพระราชวงั บวรมหาสุรสหี นาท เสด็จทิวงคต ในพระราชพงศาวดารได้กล่าวว่า “โปรดให้หมายประกาษให้โกนผมท้ังแผ่นดิน เว้นแต่คนผมมวย ผมเปีย ผมจุก สมเดจ์พระเจา้ แผ่นดินใหญไ่ มไ่ ด้ทรงพระองคเ์ ดียว” (เจา้ พระยา ทิพากรวงศ์ ๒๕๓๙: ๑๘๒) การโกนผมในคราวนีน้ ่าทีจ่ ะถือว่าเป็นกรณีพิเศษ เพราะในรัชกาลถัดมา 152 เสด็จสู่แดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชือ่ ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

๖ เมื่อพระมหาอุปราชทิวงคตไม่ปรากฏการโกนผมทั้งแผ่นดิน นอกจากนี้ ยังชวนให้นึกได้ว่า พระเกียรติยศของพระองค์เสมอเท่าพระมหากษัตริย์ ทั้งน้ีเพราะในพระราชพงศาวดารบ่อยคร้ัง ท่ีจะออกพระนามพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี ๑ และสมเด็จกรมพระราชวังบวรว่า พระเจ้าอยู่หัวทั้ง สองพระองค์ แม้ว่าสมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์ทิวงคต ในพระราชพงศาวดารระบุว่า โกนผมทั้งแผน่ ดนิ (เจา้ พระยาทิพากรวงศ์ ๒๕๔๘: ๖๘) แต่สมเด็จฯ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ ทรงอา้ งถึงสารตราที่สมุหกลาโหมส่งถึงกรมการเมอื งนครศรธี รรมราชว่า ครง้ั สมเดจ็ กรมพระราชวัง บวรรชั กาลกอ่ นทิวงคตทรงมพี ระบรมราชโองการใหพ้ ระราชวงศ์ ข้าทูลละอองทง้ั ฝา่ ยกลาโหมและ พลเรือนในพระราชวังหลวงและวังบวร เจ้าเมืองกรมการอาณาประชาราษฎร์โกนผม แต่ในสมเด็จ กรมพระราชวงั บวรพระองคท์ รงโปรดเกลา้ ฯ ใหพ้ ระเจา้ ลกู เธอ หลานเธอ และขา้ ทลู ละอองธลุ พี ระบาท บุตรภรรยาข้าใช้ในเรือนทางฝ่ายกรมพระราชวังบวรโกนเท่านั้น (เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ ๒๕๓๓: ๑๒๔-๑๒๕) ครั้งรัชกาลที่ ๓ เมอื่ สมเดจ็ กรมพระราชวงั บวรศักดิพลเสพทิวงคต โปรดใหโ้ กนผมเฉพาะ ข้าในกรมเท่าน้ัน (เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ ๒๕๓๘: ๔๘) แม้พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ซ่ึงในคราวพระราชพิธีบวรราชาภิเษกมีข้ันตอนคล้ายคลึงกับพระราชพิธีบรมราชาภิเษกก็ตาม แตเ่ มอ่ื เสดจ็ สวรรคตไดม้ กี ารออกหมายใหข้ า้ ราชการวงั หนา้ และขา้ ในกรมใหโ้ กนศรี ษะแตฝ่ า่ ยเดยี ว (เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ ๒๕๐๗: ๑๗๗) และในคราวสมเด็จกรมพระราชวังบวรวิชัยชาญทิวงคต ปรากฏว่า พระโอรสธิดาในกรมพระราชวังบวรโกนผมเช่นกัน (สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชเจ้าฟ้า มหาวชิรณุ หศิ ๒๕๕๓: ๙๗) โกนผมท้งั แผ่นดินกับแนวคดิ รฐั นาฏกรรม แม้ว่าการโกนผมทั้งแผ่นดินเป็นเร่ืองท่ีราชส�ำนักจ�ำเป็นท่ีจะต้องปฏิบัติ ท้ังน้ีเพราะเป็น การตรวจสอบความจงรกั ภกั ดี แตใ่ นขณะเดยี วกนั กไ็ มค่ วรลมื เรอื่ งแนวคดิ “รฐั นาฏกรรม” (Theatrical State) ของคลฟิ ฟอรด์ เกยี รตซิ ์ (Clifford Geertz) นกั วชิ าการดา้ นมานษุ ยวทิ ยา เปน็ ผเู้ สนอแนวคดิ นี้ ขน้ึ มา กลา่ วโดยสรปุ แนวคดิ นอ้ี ธบิ ายวา่ กษตั รยิ ค์ วบคมุ รฐั และราษฎรผา่ นการละครทเ่ี รยี กวา่ พธิ กี รรม ซงึ่ เป็นระบบสญั ลักษณ์เชงิ อำ� นาจ ละครฉากใหญน่ ้มี ีพระราชาเปน็ ตวั เอกขุนนางและไพรเ่ ป็นผู้เลน่ ผู้เล่นเองก็อยู่ในสภาวะผู้ชม ซ่ึงต้องอยู่ในกฎในระเบียบและจารีตประเพณีต่างๆ ซึ่งท้ังหมดก็เพ่ือ ย�้ำให้เห็นสภาวะท่ีแตกต่างของผู้เข้าร่วมพิธีคือ พระวงศ์ ขุนนาง และไพร่ฟ้า อีกทั้งยังมีจักรวาล ทจ่ี ำ� ลองตามความเชอ่ื ทางศาสนาเพอ่ื ย้�ำถงึ อำ� นาจแบบเทวะของพระราชา (Geertz 1980) ดงั นน้ั ภายใตโ้ รงละครขนาดใหญน่ เ้ี อง งานพระราชพธิ พี ระบรมศพ คอื พนื้ ทขี่ องการแสดง อ�ำนาจแบบหน่ึง ท่ีท�ำให้ขุนนางท่ีเป็นไพร่ในสังกัดจะต้องโกนผมหรือแต่งกายไว้ทุกข์ เพื่อเป็น ส่วนหน่ึงของละครแห่งอ�ำนาจ อย่างไรก็ตาม ไพร่ฟ้าที่มีความรู้สึกร่วมกับนาฏกรรมฉากใหญ่ ท่ีราชสำ� นกั จดั ข้ึนก็น่าทจ่ี ะข้ึนกับวงพน้ื ทขี่ องไพร่ผนู้ ้นั ว่าอยู่ใกลร้ าชธานีมากนอ้ ยเพียงใดด้วย 153เสดจ็ สูแ่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

ขนบทเี่ ปลีย่ นแปลงในช่วงรชั กาลท่ี ๔ – ๗ ในชว่ งสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ ๔ สยามประเทศไดเ้ ปดิ รบั เอา ขนบธรรมเนยี มจากชาตติ ะวนั ตกเพอ่ื ปรบั ตวั ตามกระแสโลก มชี าวยโุ รปและอเมรกิ นั ไดเ้ ขา้ มอี ทิ ธพิ ล ทางความคิดอย่างสูงและได้เข้าร่วมงานพระบรมศพ/พระศพด้วย (สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟา้ มหาวชิรณุ หศิ ๒๕๕๓: ๙๗) ดังนน้ั จึงไมใ่ ช่เรือ่ งแปลกอะไรท่บี รรดามูลนายและเจา้ นายจะรบั เอาขนบของตะวนั ตกมาปรบั ใชเ้ พอื่ ใหค้ ลา้ ยคลงึ กบั ชาตทิ เ่ี จรญิ แลว้ สำ� หรบั ลกั ษณะขนบธรรมเนยี ม ที่มีการเปล่ียนแปลงในช่วงสมยั น้ีท่ีส�ำคญั มีดังตอ่ ไปนี้ ประกาศน่งุ ขาวไวท้ กุ ข์ หลักฐานการปรับเปล่ียนแบบแผนการแต่งสีไว้ทุกข์พบในพระบรมราชโองการประกาศ นุง่ ผ้าขาว เมือ่ ปจี ุลศักราช ๑๒๔๙ (พ.ศ. ๒๔๓๐) ประกาศข้ึนในคราวงานพระศพ สมเด็จพระเจ้า บรมวงศเ์ ธอ เจา้ ฟา้ กรมพระยาบำ� ราบปรปกั ษ์ ดงั ไดก้ ลา่ วไปแลว้ (ราชกจิ จานเุ บกษา ๒๔๓๐ก: ๓๕) ซงึ่ ในพระบรมราชโองการฉบบั นไ้ี ดม้ กี ารปรบั แบบแผนการแตง่ สไี วท้ กุ ขค์ อื ถา้ ผไู้ วท้ กุ ขเ์ ปน็ ญาตสิ นทิ และมีอายุอ่อนกว่าหรือไม่เป็นญาติกันแต่มีบรรดาศักด์ิต่�ำกว่าหรือจะแสดงความนับถืออย่างย่ิง ให้แต่งกายขาวล้วนไว้ทุกข์ แต่ถ้าผู้ไว้ทุกข์เป็นญาติสนิทที่มีอายุแก่กว่าหรือญาติห่างๆ และมีอายุ อ่อนกวา่ หรอื ไมไ่ ด้เป็นญาตแิ ตม่ บี รรดาศักดิ์สูงกว่าให้แต่งด�ำลว้ นไวท้ กุ ข์ จากขอ้ ความขา้ งตน้ โดยสรปุ คือ ผนู้ ้อยแต่งชดุ ขาวให้ผูใ้ หญ่ (ในทางอายแุ ละบรรดาศกั ด)ิ์ ผู้ใหญ่แต่งชุดด�ำให้กับผู้น้อย ดังน้ัน จึงดูเหมือนว่ามีมาตรฐานเร่ืองอายุและฐานันดรศักดิ์ท่ีตี ควบคกู่ นั หลกั ฐานดงั กลา่ วเหน็ ไดจ้ ากภาพผรู้ ว่ มงานถวายพระเพลงิ สมเดจ็ กรมพระสวสั ดวิ ดั นวศิ ษิ ฎ์ ท่ีวัดปิ่นบังอร เมืองปีนัง ซ่ึงในภาพจะเห็นว่าในภาพมีแต่สมเด็จฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพท่ี ทรงชดุ ดำ� ทง้ั นเี้ พราะมพี ระชนมายสุ งู กวา่ สว่ นเจา้ นายทรงชดุ ขาว เปน็ ไปไดว้ า่ การเรม่ิ แตง่ ดำ� ลว้ นนี้ ได้รับอทิ ธิพลมาจากตะวันตก ผู้ร่วมงานถวายพระเพลงิ สมเด็จ กรมพระสวัสดิวดั นวศิ ษิ ฎ์ ที่วดั ปิน่ บังอร เมืองปนี งั (ที่มา: ธนกฤต ลออสุวรรณ ถา่ ยจาก นทิ รรศการที่วัดป่นิ บงั อร เมอื งปีนงั ) 154 เสดจ็ ส่แู ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

๖ ข้อบงั คับว่าดว้ ยวธิ ีไวท้ ุกขใ์ นกรมทหารบก ในรัฐสมัยใหม่ เคร่ืองแบบราชการถือได้ว่าเป็นชุดสุภาพแบบหน่ึง แต่เมื่อต้องใส่ในงาน พระบรมศพ/พระศพก็จ�ำเป็นต้องแสดงให้เห็นถึงการปรับแต่งที่สอดคล้องกับงานพระราชพิธี ตัวอย่างเช่นในปี ร.ศ.๑๑๙ ได้มีการประกาศข้อบังคับว่าด้วยวิธีการไว้ทุกข์ในกรมทหารบก ซึ่ง ในรายละเอียดของข้อก�ำหนดสามารถอ่านได้ใน ราชกิจจานุเบกษา วันที่ ๑๓ มกราคม ร.ศ.๑๑๙ ใจความสำ� คญั ของข้อก�ำหนดนคี้ อื การห้มุ ผา้ ด�ำที่แขนซ้ายเหนือศอก ผา้ โปร่งดำ� หมุ้ พู่ สายพ่กู ระบี่ ทเี่ ปน็ ทอง หมุ้ บา่ ยศ สายโยงยศ หมุ้ ยอดหมวกและหมุ้ เครอ่ื งอศิ รยิ าภรณ์ เปน็ ตน้ ขอ้ ความในตอนตน้ ของขอ้ กำ� หนดนไี้ ดย้ งั ยำ�้ ดว้ ยวา่ “ตราขอ้ บงั คบั สำ� หรบั กรมทหารบก วา่ ดว้ ยวธิ ไี วท้ กุ ขข์ นึ้ ไว้ เพอ่ื บรรดา ทหารบกทวั่ ไป จะไดก้ ระทำ� ตอ้ งตามจงทกุ ประการ” กลา่ วคอื ขอ้ กำ� หนดนใ้ี ชเ้ ฉพาะทหารบกเทา่ นนั้ อย่างไรกต็ าม ในส่วนของขา้ ราชการพลเรอื นยงั สบื ไม่พบว่าเรมิ่ ตน้ เก่าสดุ เมื่อใด หากแต่ ข้อปฏิบัติบางประการมีการปฏิบัติมาก่อนหน้าที่จะออกข้อก�ำหนดน้ี ดังเห็นได้จากในคราวงาน พระราชกศุ ลศตมวารสมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟา้ มหาวชิรุณหศิ ใหม้ ีการพันแขนดำ� การหมุ้ ตราเครื่องราชอศิ ริยาภรณ์ (เจ้าพระยาเทเวศรวงศววิ ฒั น ๒๕๐๐: ๒๕๗) ประกาศไวท้ กุ ขเ์ สดจ็ สวรรคต ในคราวพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๕ เสด็จสวรรคต ผู้เขียนยังตรวจไม่พบประกาศไว้ทุกข์ ในงานพระบรมศพ หากแตใ่ นคราวพระบรมศพพระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๖ มปี ระกาศวา่ “จงึ โปรดเกลา้ ให้ไว้ทุกข์ถวาย ต้ังแต่พระบรมวงศานุวงศ์และข้าทูลละอองธุลีพระบาททุกกระทรวงทบวงการทุก หมู่เหล่า ตลอดถึงประชาชน มีก�ำหนดไว้ทุกข์ตั้งแต่วันสวรรคตต่อไปปีหน่ึง” (ราชกิจจานุเบกษา ๒๔๖๘: ๒๗๑๐) ส่วนในประกาศไว้ทุกข์คราวสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระพันปีหลวง พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี ๖ ทรงมีพระบรมราชโองการให้ไว้ทุกข์จนกว่าจะออกพระเมรุ (ราชกิจจา นเุ บกษา ๒๔๖๒: ๒๐๖๙) ดงั นน้ั จงึ มีข้อสงสยั สองประการ คือ ประการแรก ถ้าคราวสมเด็จพระพันปีหลวงเสด็จสวรรคตไว้ทุกข์จนกว่าจะออกพระเมรุ ในคราวรชั กาลที่ ๕ ก็นา่ จะไวท้ ุกขจ์ นกว่าจะออกพระเมรุมาศดว้ ยเชน่ เดียวกนั ตามแบบแผนเดมิ ประการท่ีสอง อาจจะเป็นไปได้ว่าการไว้ทุกข์ ๑ ปีสงวนไว้ส�ำหรับพระเจ้าอยู่หัวเสด็จ สวรรคต ส่วนไวท้ ุกข์จนกว่าออกพระเมรุเป็นเกยี รติท่ีรองลงมา การยกเลกิ การโกนผมไวท้ กุ ข์ โดยทั่วไปธรรมเนียมเร่ืองโกนผมไว้ทุกข์น้ันเพิ่งจะมายกเลิกในคราวงานพระบรมศพ พระเจา้ อยหู่ ัวรชั กาลท่ี ๕ (สายไหม จบกลศกึ ๒๕๒๘: ๒๐๕) แท้ทจี่ รงิ ธรรมเนยี มเรอ่ื งการยกเลิก โกนผมไว้ทกุ ข์ ได้เร่มิ มากอ่ นงานพระบรมศพพระเจ้าอยู่หวั รชั กาลท่ี ๕ ทัง้ นเี้ พราะ ข้อแรก จากประกาศในพระบรมราชโองการประกาศนุ่งผ้าขาว เม่ือปีจุลศักราช ๑๒๔๙ กเ็ ปน็ การย�้ำให้เห็นว่า การไวท้ ุกข์ท่เี ปน็ แบบแผนของราชสำ� นกั ไมม่ กี ารโกนผม ดงั นัน้ จงึ ค่อนข้าง น่าเช่อื วา่ ราชส�ำนกั เริม่ ท่ีจะตดั รายละเอยี ดส่วนน้อี อกไป 155เสดจ็ ส่แู ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชือ่ ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

ขอ้ ทสี่ อง ในประกาศเรอื่ งโกนผม ในคราวสมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าชเจา้ ฟา้ มหาวชริ ณุ หศิ สวรรคต ขอ้ ความในประกาศปรากฏวา่ “การทโ่ี กนศศี ะนนั้ กไ็ มเ่ ปนทต่ี อ้ งพระราชอธั ยาไศรยอนั ใด” อกี ทงั้ ในประกาศฉบบั เดยี วกนั ยงั ยำ�้ วา่ การโกนผมเปน็ เกยี รตยิ ศแบบเกา่ ซง่ึ หมายความวา่ พระเจา้ อยหู่ วั ไมโ่ ปรดเร่ืองการโกนผมแล้ว ท้ังน้อี าจจะเปน็ ธรรมเนยี มทพ่ี ้นสมยั ขอ้ สุดทา้ ย จากหลกั ฐานภาพถ่ายเก่าพระยาเพช็ รรตั น์ (โมรา ไกรฤกษ์) ในปี ร.ศ. ๑๒๒ (พ.ศ. ๒๔๔๗) บุคคลในภาพถ่ายซง่ึ เปน็ ญาติมีแต่นงุ่ ขาวไมป่ รากฏวา่ มีใครโกนผม ดงั นน้ั จงึ แสดง ให้เหน็ จารีตการโกนเรม่ิ ทจี่ ะลดลงแลว้ นับแตร่ ัชกาลที่ ๕ งานพระราชทานเพลงิ ศพ พระยาเพ็ชรรตั น์ (โมรา ไกรฤกษ์) (ที่มา: หลวงสารนยั ประสาสน์ ๒๔๙๙) การประกาศจำ� นวนวนั ไว้ทกุ ข์ การเปลย่ี นแปลงสำ� คญั ในชว่ งรชั กาลท่ี ๕ คอื การใหม้ กี ารประกาศจำ� นวนวนั ไวท้ กุ ขภ์ ายใน พระราชวงศ์ หลกั ฐานเกา่ สดุ เกย่ี วกบั หมายไวท้ กุ ขเ์ ทา่ ทส่ี ามารถสบื คน้ พบคอื ประกาศ “พระอาการ พระบวรวงษ์เธอพระองคเ์ จา้ วไิ ลยทรงกัลยา” ราชกิจจานเุ บกษา วันอาทติ ย์ เดือนย่ี แรมสิบห้าคำ่� จ.ศ.๑๒๔๖ (พ.ศ. ๒๔๒๗), หน้า ๒๒ – ๒๓ เน้ือหาส�ำคญั ในประกาศฉบับน้ีคอื มีประกาศใหเ้ จา้ นาย ทัง้ พระราชวงศไ์ วท้ กุ ข์ เพราะก่อนหน้าน้เี ช่นใน ราชกจิ จานุเบกษา ในปี จ.ศ.๑๒๔๑ (พ.ศ. ๒๔๒๒) ได้ออกประกาศข่าวพระองค์เจ้ากาพย์กนกรัตนสิ้นพระชนม์ไม่มีการประกาศจ�ำนวนวันไว้ทุกข์ ของพระราชวงศ์ (ราชกจิ จานุเบกษา ๒๔๒๒ก: ๖๑-๖๒) อย่างไรก็ตาม ใช่ว่าจะมีการประกาศไว้ทุกข์ให้กับทุกพระองค์ หรือถือปฏิบัติกันในหมู่ ราชวงศ์เพียงอย่างเดียว ดังเห็นได้จากเจ้านายบางพระองค์เม่ือสิ้นพระชนม์แล้วไม่มีการประกาศ หมายไว้ทุกข์ ยกตัวอยา่ งกรณตี ่อไปน้ี สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าชเจา้ ฟ้ามหาวชริ ณุ หศิ และสมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาสดุ ารตั นประยรู สำ� หรบั กรณเี จา้ นายสองพระองคน์ ด้ี อู อกจากแปลก เพราะมปี ระกาศเสด็จสวรรคตและสิน้ พระชนม์ รวมถงึ ประกาศไว้ทุกขท์ างราชการ แต่ไมป่ รากฏ ประกาศวนั ไวท้ ุกข์ของพระราชวงศ์ หรอื อาจจะมปี ระกาศไว้ทกุ ขท์ างราชการ ๑ เดือนไปแลว้ (ดรู าย ละเอียดในส่วนไว้ทกุ ข์ราชการ) 156 เสดจ็ สู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชือ่ ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

๖ อีกกรณคี อื เม่ือพระเจ้าราชวงศ์เธอ กรมหมื่นสถิตธ�ำรงศักดิ์ พระบวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จ้า อรณุ พระเจา้ พนี่ างเธอพระองคเ์ จา้ ทกั ษณิ ชา สนิ้ พระชนมไ์ ดม้ ปี ระกาศในราชกจิ จานเุ บกษา (๒๔๕๐: ๖๔๖) หากแตไ่ มม่ ปี ระกาศไว้ทุกข์ ในขณะเดยี วกนั เม่อื พระบวรวงศเ์ ธอพระองคเ์ จ้าวิไลยทรงกัลยา ส้นิ พระชนม์ ซงึ่ เปน็ เจา้ นายวังหน้ากลับมีหมายให้ไวท้ กุ ข์ (ราชกจิ จานุเบกษา ๒๔๒๒ข: ๒๑-๒๓) ดังน้ัน จึงสันนิษฐานในกรณีนี้ได้ว่าคงจะเป็นตามพระราชอัธยาศัย กรณีสุดท้ายคือพระเจ้าลูกเธอ เขจรจิรประดิษฐ์ อาจจะเป็นเพราะสิ้นพระชนม์เมื่อพระชนมายุ ๒ เดือน อาจเป็นเพราะเป็นเพียง ทารกเทา่ นนั้ ดังนั้น ก่อนหน้าที่จะมีการประกาศจ�ำนวนวันไว้ทุกข์ของพระราชวงศ์อาจจะไม่มีระเบียบ ตายตัวนัก นอกจากน้ี ยังพบว่าเร่ืองจ�ำนวนวันไว้ทุกข์ที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาสมัยรัชกาล ท่ี ๕ มีการนับจ�ำนวนวันไว้ทุกข์ของเจ้านายแต่ละองค์ไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับความสนิททางสาย พระโลหิต แต่พอสังเกตได้ดังต่อไปน้ีพระโอรสธิดาของเจ้านายที่สิ้นพระชนม์ไว้ทุกข์ ๓๖๕ วัน ซึง่ ถือวา่ เป็นจ�ำนวนมากที่สุดของจ�ำนวนในการไว้ทกุ ข์ของพระราชวงศ์ กรณเี จ้านายที่ส้นิ พระชนม์ เปน็ พระมารดาพระเจา้ ลูกเธอ เช่น พระอัครชายาเธอหม่อมเจา้ เสาวภาคนารีรัตน์ พระเจา้ ลกู เธอ ในพระนางไวท้ กุ ข์ ๓๖๖ วนั คอื มากกว่าพระเจ้าลกู เธอทวั่ ไป ๓๓๐ วัน (ราชกิจจานเุ บกษา ๒๔๓๐ค: ๑๓๒-๑๓๓) กรณเี จ้านายท่สี นิ้ พระชนมฐ์ านันดรเท่ากนั เชน่ พระเจา้ ลกู เธอพระองคเ์ จ้า ในรชั กาล ท่ี ๕ สิน้ พระชนม์ พระเจ้าลูกเธอในรชั กาลที่ ๕ พระองคจ์ ะไวท้ กุ ข์ ๙๐ วัน สว่ นเจ้านายพระองค์อนื่ จะลดจำ� นวนวนั ตามลำ� ดบั ดงั น้ี ๔๕ วนั ๓๐ วนั ๑๕ วนั ๗ วนั และ ๑ วนั หากแตใ่ นกรณที เี่ จา้ นายทส่ี นิ้ พระชนม์ สมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ ทร่ี ว่ มพระอทุ ร หรอื พระองคเ์ จา้ ทร่ี ว่ มเจา้ จอมมารดาเดยี วกนั จะไวม้ ากกวา่ สมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอและพระองคเ์ จา้ องคอ์ น่ื เชน่ ในกรณี ของสมเดจ็ พระเจา้ ลูกยาเธอเจา้ ฟ้าศริ ิราชกกุธภณั ฑ์สิน้ พระชนม์ สมเดจ็ พระเจ้าลกู เธอ ในพระเจ้า พระราชเทวี (อิสริยยศสมเด็จพระพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระพันปีหลวง ขณะนั้น) จะไว้ทุกข์ ๒๙๓ วัน สว่ นพระเจ้าลกู เธอทัว่ ไปไว้ ๑๐๗ วัน (ราชกจิ จานเุ บกษา ๒๔๓๐ข: ๘๑ – ๘๒) และในกรณี ของพระองคเ์ จา้ ประไพพรรณพลิ าศ สน้ิ พระชนม์ พระองคเ์ จา้ ประภาพรรณพิไลย ไวท้ กุ ข์ ๑๘๐ วนั มากกว่าพระเจ้าลูกเธอทั่วไป ๙๐ วัน (ราชกจิ จานุเบกษา ๒๔๒๙: ๒๘๖) ในกรณีกรมขนุ สุพรรณภาควดีสน้ิ พระชนม์ พระเจ้าลูกยาเธอที่สนทิ กนั ทางเจ้าจอมมารดา คือ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ จะต้องไว้ทุกข์มากกว่าพระเจ้า ลกู เธอพระองคอ์ ื่น เพราะเจา้ คณุ พระประยูรวงศ์เจา้ จอมมารดาในกรมขุนสุพรรณภาควดเี ป็นพีส่ าว ของเจ้าจอมมารดาโหมดในพระเจา้ ลกู เธอทัง้ ๒ พระองค์ นอกจากนี้หม่อมเจ้าในพระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์จะต้องไว้ทุกข์มากกว่าหม่อมเจ้า พระองค์อ่ืนและพระเจ้าวรวงศ์เธอ ในสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระภาณุพันธุวงศ์วรเดชต้องไว้ทุกข์ มากกว่าพระเจ้าวรวงศ์เธอสายอ่ืน เพราะมีหม่อมมารดาคือหม่อมแม้นซึ่งเป็นน้องสาวเจ้าคุณ พระประยรู วงศ์ (ราชกิจจานุเบกษา ๒๔๔๘: ๑๒๒-๑๒๓) หมอ่ มเจา้ ในพระเชษฐาหรือพระอนชุ ารว่ มเจ้าจอมมารดากบั เจ้านายที่ส้นิ พระชนม์ จะตอ้ ง ไวท้ ุกข์มากกว่าหม่อมเจา้ ช้ันเดยี วกนั ทั่วไป ๑ เท่า เชน่ ในกรณีทีพ่ ระเจ้านอ้ งนางเธอพระองค์เจ้า 157เสด็จสู่แดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชือ่ ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

เจ้านายพระราชโอรสธดิ าพระเจา้ อยหู่ ัวรชั กาลที่ ๕ ทรงไวท้ ุกข์ (ท่มี า: ดษิ พงศ์ เนตรลอ้ มวงศ)์ บรรจบเบญจมา หม่อมเจ้าในพระเจ้าน้องยาเธอกรมหม่ืนพรหมวรานุรักษ์พระเชษฐาร่วมเจ้าจอม มารดาต้องไว้ทกุ ข์ ๙๐ วัน (ราชกิจจานุเบกษา ๒๔๓๖: ๒๐๓-๒๐๔) จากจ�ำนวนวันในหมายไว้ทุกข์พบว่า เมื่อเจ้านายวังหลวงส้ินพระชนม์ เจ้านายวังหน้า รัชกาลที่ ๑ ไว้ทุกข์เท่ากับเจ้านายวังหน้ารัชกาลที่ ๓ ซ่ึงมีจ�ำนวนน้อยกว่าเจ้านายวังหน้ารัชกาล ท่ี ๒ แสดงว่า ราชส�ำนกั มองวา่ เจ้านายวังหนา้ รัชกาลท่ี ๓ เป็นพระญาติห่างๆ แต่ในขณะเดยี วกนั หมอ่ มเจา้ วังหลงั มีจ�ำนวนวนั ไว้ทกุ ขน์ อ้ ยกว่าหมอ่ มเจ้าวงั หน้ารัชกาลที่ ๑ ตอ่ มาในสมัยรัชกาลที่ ๖ ทรงตราพระราชกฤษฎกี าเมื่อวนั ที่ ๒๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๕๖ ไดม้ กี ารแกไ้ ขแบบแผนการไวท้ กุ ขภ์ ายในราชสำ� นกั ใหม่ ใหม้ จี ำ� นวนวนั ไวท้ กุ ขท์ ต่ี ายตวั โดยขนึ้ อยกู่ บั ลำ� ดบั สกลุ ยศของเจา้ นายทสี่ น้ิ พระชนมว์ า่ มคี วามใกลช้ ดิ กบั พระเจา้ อยหู่ วั มากเพยี งใด ซงึ่ ผดิ กบั ขนบ ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ที่ถือตามเจ้านายไว้ทุกข์มีความสัมพันธ์ใกล้กับเจ้านายท่ีส้ินพระชนม์ ดังน้ัน ในช่วงรชั กาลที่ ๖–๗ จงึ ไมม่ ีประกาศจำ� นวนไว้ทุกขเ์ หมือนดง่ั คร้งั รชั กาลท่ี ๕ อยา่ งไรกต็ าม ในตอนทา้ ยไดร้ ะบวุ า่ ถา้ เจา้ นายทสี่ นิ้ พระชนมเ์ ปน็ พระญาตใิ กลช้ ดิ จะไวท้ กุ ข์ กี่วันก็ได้ นอกจากนี้ จ�ำนวนวันไว้ทุกข์ถวายเจ้านายที่ส้ินพระชนม์อาจจะมีจ�ำนวนวันเพ่ิมจาก ในพระราชกฤษฎกี าก็เปน็ แต่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เช่น ครัง้ ท่ีสมเด็จพระเจา้ พ่ยี าเธอ เจา้ ฟ้า มหิดลอดุลยเดช กรมขนุ สงขลานครินทร์ ส้ินพระชนม์ โปรดเกลา้ ฯ ใหไ้ ว้ทกุ ขใ์ นราชสำ� นกั เปน็ ระยะ เวลา ๑๐๐ วนั (ราชกจิ จานเุ บกษา ๒๔๗๒: ๒๑๔๓-๒๑๔๕) นอกจากน้ี ในพระราชกฤษฎีกาฉบบั นี้ ยังครอบคลุมถึงข้าราชส�ำนักและเหล่านายทหารราชองครักษ์ ซึ่งแตกต่างกว่าการประกาศหมาย ไวท้ กุ ข์ครง้ั ราชการทคี่ รอบคลมุ เฉพาะพระราชวงศ์ จากท่กี ลา่ วมาจำ� นวนวันในการไว้ทกุ ขส์ ัมพันธ์กบั ฐานนั ดร พระราชอิสรยิ ยศ ซ่ึงอาจรวม เรยี กวา่ “อำ� นาจ” รวมถงึ ความสมั พันธ์ทางเครอื ญาตแิ ละสว่ นบคุ คล 158 เสดจ็ สแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

๖ ประกาศไว้ทุกขผ์ รู้ ับราชการ การไว้ทุกข์ผู้รับราชการเป็นสิ่งท่ีเกิดขึ้นในคราวท่ีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้า มหามาลากรมพระยาบ�ำราบปรปักษ์สิ้นพระชนม์ โดยให้ผู้รับราชการไว้ทุกข์ ๗ วัน (ราชกิจจา นุเบกษา ๒๔๒๙: ๑๘๒–๑๘๓) อย่างไรก็ตาม ในงานพระศพคร้ังน้ีแม้ว่าจะให้ผู้รับราชการไว้ทุกข์ แตก่ ็ยงั มกี ารประกาศให้ไว้ทกุ ขใ์ นพระราชวงศ์พร้อมกันด้วย สำ� หรบั จำ� นวนวนั ไวท้ กุ ขใ์ นราชการสงู สดุ คอื ๑ เดอื น ดงั เหน็ ไดจ้ ากในคราวสมเดจ็ พระบรม โอรสาธริ าชเจา้ ฟา้ มหาวชริ ณุ หศิ เสดจ็ สวรรคต (ราชกจิ จานเุ บกษา ๒๔๓๘: ๓๒๘) เพราะอาจจะถอื วา่ เป็นองคร์ ัชทายาท และในคราวสมเด็จกรมพระยาสุดารัตนประยรู เสด็จสวรรคต (ราชกจิ จานุเบกษา ๒๔๔๐: ๒๒๐) ด้วยคงจะถือว่าทรงดำ� รงพระเกียรตยิ ศพระราชชนนพี นั ปีหลวง นอกจากน้ี ยังพบว่าแบบแผนการไว้ทุกข์ผู้รับราชการในงานพระบรมศพสมเด็จพระบรม โอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศคือ ข้าราชการที่ตามเสด็จแต่งตัวสวมเสื้อด�ำก�ำหนดไว้ทุกข์ ในราชการ ๑ เดือน (เจา้ พระยาเทเวศรวงศววิ ฒั น ๒๕๐๐: ๒๕๔) ซ่งึ การสวมเส้อื ด�ำตามเสด็จถอื วา่ นา่ จะเปน็ ธรรมเนยี มใหมท่ ไี่ ดร้ บั อทิ ธพิ ลมาจากตะวนั ตก เพราะโดยปกตขิ า้ ราชการตอ้ งนงุ่ ขาวเสอื้ ขาว ขนบที่เปลยี่ นแปลงในช่วงคณะราษฎร หลังจากปี พ.ศ.๒๔๗๕ ได้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ซึ่งมีผลกระทบต่อราชส�ำนัก หลายประการ เชน่ ระเบยี บแบบแผนทางราชการมีการเปล่ียนแปลง ดังน้นั การออกประกาศจึงมี ข้อความที่เปลี่ยนแปลง และพระราชพิธีหลายพระราชพิธีได้ถูกยกเลิก ส่วนธรรมเนียมการไว้ทุกข์ แม้จะไมถ่ กู ยกเลกิ แตร่ ายละเอยี ดเก่ียวกับการไวท้ ุกข์ของราชส�ำนักกม็ กี ารเปลย่ี นแปลงดังต่อไปนี้ ในคราวไว้ทุกข์ของพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี ๘ เสด็จสวรรคต กล่าวคือ เม่ือพระเจ้าอยู่หัว รชั กาลที่ ๘ เสดจ็ สวรรคตอยา่ งปจั จบุ นั ทนั ดว่ น ถา้ วา่ ตามระเบยี บแบบแผนครง้ั รชั กาลท่ี ๖ เสดจ็ สวรรคต การประกาศหมายไว้ทุกข์ทั้งแผ่นดินจะออกเป็นพระบรมราชโองการ แต่การประกาศในคราวน้ี เปน็ การประกาศของส�ำนักนายกรฐั มนตรี (ราชกิจจานเุ บกษา ๒๔๘๙: ๓) ทงั้ นเ้ี พราะเปลี่ยนมาเปน็ ระบอบการปกครองแบบใหม่ อย่างไรก็ตาม ในคราวงานพระเมรุมาศพระเจา้ อยหู่ ัวรัชกาลท่ี ๘ นน้ั จดั หลังจากที่สวรรคต ไปนานมาก ดังนั้น ทางรัฐบาลจึงได้เรียนพระราชปฏิบัติต่อคณะผู้ส�ำเร็จราชการแทนพระองค์และ ได้ผลมาว่า ให้ปฏิบัติตามแถลงการณ์รัฐบาลท่ีได้ประกาศไป เมื่อครบปีให้ปลดทุกข์ได้ เว้นแต่ ผเู้ ขา้ ถวายบงั คมพระบรมศพหรอื เขา้ ไปภายในบรเิ วณพระทนี่ งั่ ดสุ ติ มหาปราสาท (ราชกจิ จานเุ บกษา ๒๔๙๐: ๑๔๗๔-๑๔๗๕) แม้ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้วก็ตาม พระเกียรติยศของเจ้านายที่เคยมา แต่เดิมได้ถูกลดทอนลงไป ดังเช่น เม่ือสมเด็จพระเจ้าพี่ยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงลพบุรีราเมศวร์ สิ้นพระชนม์กลับให้งดเมรุกลางเมืองเสีย ส่วนการประกาศข่าวส้ินพระชนม์ในราชกิจจานุเบกษา ยงั คงมกี ารประกาศอยจู่ นถงึ ปี พ.ศ. ๒๔๗๗ คอื การประกาศขา่ วการสน้ิ พระชนมข์ องพระเจา้ วรวงศเ์ ธอ กรมหมน่ื ภาณพุ งษพ์ ริ ยิ เดช เมอ่ื วนั ท่ี ๒๒ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๔๗๗ (ราชกจิ จานเุ บกษา ๒๔๗๗: ๑๖๐๖) 159เสดจ็ สแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

มจ.จงจติ รถนอม ดิศกุล ทรงเกบ็ พระอฐั ิ สมเด็จฯ กรมพระยาดำ� รงราชานุภาพ เมื่อวันที่ ๑๒ มนี าคม พ.ศ. ๒๔๘๗ ซึง่ เป็นชว่ งทม่ี ีการประกาศระเบียบใหมเ่ กยี่ วกบั การไวท้ ุกข์ (ทม่ี า: กรมศลิ ปากร ๒๕๒๙: ๘๖) หลงั จากนจ้ี ะหยดุ ประกาศไป และไปเรมิ่ ตน้ ใหมอ่ กี ครงั้ เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๙๘ ครงั้ สมเดจ็ พระศรสี วรนิ ทริ า บรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้าเสด็จสวรรคต (ราชกิจจานุเบกษา ๒๔๙๙: ๑๒๔๒-๑๒๘๑) สนั นษิ ฐานวา่ เหตทุ ห่ี ยดุ ประกาศไปนา่ จะสมั พนั ธก์ บั การสละราชสมบตั ขิ องพระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๗ ส่วนในเรื่องจ�ำนวนวันของการไว้ทุกข์นั้น ในรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้ยกเลิก พระราชกฤษฎีกาในสมยั รัชกาลท่ี ๖ แลว้ ออกประกาศใหมเ่ รือ่ งระเบยี บการไว้ทุกข์ในพระราชสำ� นกั เม่อื วนั ท่ี ๑๘ กุมภาพนั ธ์ ๒๔๘๕ ซง่ึ มีเนอ้ื หาหลกั คอื การลดจ�ำนวนไว้ทกุ ข์ลงครงึ่ หน่งึ จากพระราช กฤษฎีกาฉบับก่อน ซึง่ ไม่ทราบเหตผุ ลทีแ่ น่ชดั แตค่ งเกีย่ วข้องกับการเมืองหรอื อยา่ งใดอย่างหนึง่ นอกจากนี้ ในช่วงที่ จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรีได้วางแบบแผนของ การแตง่ กายไวท้ กุ ขข์ องบคุ คลทวั่ ไปดว้ ยเชน่ เดยี วกนั คอื เรอื่ งระเบยี บการแตง่ กายไวท้ กุ ขใ์ นงานศพ ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เมือ่ วันที่ ๒๗ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๔๘๔ หนา้ ๕๘ ใหช้ ายแตง่ ใส่สทู ขาว ผูกไทด�ำมปี ลอกแขนทุกข์ ซึ่งถอื วา่ เปน็ การวางระเบียบเเบบเเผนท่ีไม่เคยมีมากอ่ น และยังอาจจะ สะท้อนให้เห็นว่า ธรรมเนียมของการแต่งกายไว้ทุกข์ของชาวบ้านทั่วไปรวมถึงผู้มีอันจะกินก็คงจะ หลากหลายไม่น่าเคร่งครดั เทา่ ไหร่ อาจกล่าวได้ว่า แบบแผนการแต่งกายไว้ทุกข์ของสังคมทุกวันนี้ก็เพ่ิงจะลงตัวกันสมัย จอมพล ป. พบิ ลู สงคราม นเ้ี อง เพยี งเเตเ่ ปลย่ี นจากสทู ขาวกางเกงขาวมาเปน็ สทู ดำ� กางเกงดำ� เเทน การเปล่ียนแปลงในช่วงรฐั บาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรชั ต์ หลังจากการขึ้นมามีอ�ำนาจของจอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต์ พระราชประเพณีราชส�ำนัก กไ็ ดร้ บั การรอ้ื ฟน้ื ใหม้ กี ารประกอบพระราชพธิ ใี หมอ่ กี ครงั้ เชน่ พระราชพธิ จี รดพระนงั คลั แรกนาขวญั และขบวนเรือพระพยุหยาตราทางชลมารค ดังนั้น ขนบกับการไว้ทุกข์ก็ได้รับการปรับปรุงใหม่ อีกครงั้ เชน่ กัน 160 เสดจ็ สู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

๖ อยา่ งไรกต็ าม ในทนี่ จ้ี ะขอนำ� เสนอธรรมเนยี มขา้ ราชการไวท้ กุ ขพ์ ระสงั ฆราช เพราะถอื เปน็ ธรรมเนยี มใหมท่ เี่ พง่ิ เกดิ ขนึ้ กลา่ วคอื ในกรณสี มเดจ็ พระสงั ฆราชสนิ้ พระชนม์ ในอดตี จะมกี ารประกาศ ให้ไว้ทุกข์ด้วยหรือไม่ ในกรณีนี้ผู้เขียนเห็นว่าประชาชนท่ัวไปไม่มีการไว้ทุกข์กัน แต่คงท�ำเฉพาะ บรรดาเหล่าศิษย์วัดและกลุ่มบุคคลท่ีท่านเคยเป็นพระอุปัชฌาจารย์ เพราะประการแรก หลักฐาน ในประกาศ ราชกจิ จานเุ บกษา ว่า ครงั้ สมเด็จพระสงั ฆราช (สา) สิ้นพระชนม์ พระบรมวงศท์ ่ีทรง เป็นลูกศิษย์ของท่านหรือท่านเคยเป็นพระอุปัชฌาจารย์ก็จะทรงผ้าขาวไปงานพระราชทานน้�ำอาบ พระศพ แตไ่ ม่ปรากฏว่ามีการออกหมายไวท้ ุกข์ เพื่อให้ประชาชนไว้ทกุ ข์ตามไปด้วย ประการท่สี อง แมว้ า่ ในคราวงานพระศพสมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาปวเรศวรยิ าลงกรณ์ ราชกจิ จานเุ บกษา ออกหมายประกาศไวท้ กุ ขแ์ ตเ่ ปน็ การไวท้ กุ ข์ หากแตห่ มายฉบบั ดงั กลา่ วประกาศใหเ้ จา้ นายในราชวงศ์ เปน็ ผูไ้ วท้ กุ ขเ์ ทา่ น้ัน อยา่ งไรกต็ าม ตอ่ มาในคราวทสี่ มเดจ็ พระสงั ฆราชเจา้ กรมหลวงวชริ ญาณวงศส์ นิ้ พระชนม์ นา่ จะเปน็ ครง้ั แรกทใ่ี หข้ า้ ราชการไวท้ กุ ข์ ๑๕ วนั ถวายความอาลยั ดงั ปรากฏในประกาศของคณะปฏวิ ตั ิ ฉบับที่ ๒๖ ลงในราชกิจจานุเบกษา พ.ศ.๒๕๐๑ ดังน้ัน อาจกล่าวได้ว่านับจากหลังจากที่สมเด็จ พระสงั ฆราชเจา้ กรมหลวงวชริ ญาณวงศส์ นิ้ พระชนม์ จงึ ทำ� ใหส้ ำ� นกั นายกรฐั มนตรมี อี อกประกาศให้ ขา้ ราชการ ลกู จา้ ง พนกั งานของสว่ นราชการ หนว่ ยงานของรฐั และรฐั วสิ าหกจิ ไวท้ กุ ข์ ทกุ ครง้ั ทส่ี มเดจ็ พระสังฆราชส้นิ พระชนม์ สรุป ในสมัยรัฐจารีต นบั จากกรงุ ศรอี ยธุ ยาถึงรัตนโกสนิ ทรต์ อนตน้ เจา้ นาย ข้าราชบรพิ าร และ ไพร่ จะมีธรรมเนียมการไว้ทุกข์ด้วยการแต่งกายด้วยชุดสีขาว ยกเว้นผ้านุ่งท่ีจะมีการก�ำหนดสีสัน แตกตา่ งกนั ไปตามฐานนั ดรและตำ� แหนง่ แหง่ ทที่ างสงั คม นอกจากนี้ ในอดตี ยงั มกี ารโกนผมดว้ ยเพอ่ื แสดงความอาลัย ต่อมาเมื่อสมัยรัชกาลที่ ๔-๕ เป็นต้นมา เมื่อราชส�ำนักสยามได้รับอิทธิพลจาก ตะวนั ตก ทำ� ใหม้ กี ารกำ� หนดสีเสื้อผ้าในการแต่งกายไว้ทกุ ข์ใหม่ สขี าวไดถ้ กู ก�ำหนดใหใ้ ชก้ ับผตู้ าย ทม่ี ตี ำ� แหนง่ แหง่ ทที่ างสงั คมสงู กวา่ ในขณะทส่ี ดี ำ� ถกู กำ� หนดใหใ้ ชใ้ นทางตรงกนั ขา้ ม ดว้ ยการทสี่ งั คม ก้าวสรู่ ัฐสมยั ใหมท่ อี่ งิ กบั การทำ� งานตามเวลามากข้ึน ทำ� ใหร้ าชสำ� นักจ�ำเป็นตอ้ งกำ� หนดจ�ำนวนวัน ในการไวท้ ุกขท์ ่ีแนน่ อน และยังสรา้ งระเบยี บตา่ งๆ ขน้ึ ผ่านเครื่องแบบและประกาศตา่ งๆ อยา่ งไรก็ตาม ภายหลังการเปล่ยี นแปลงการปกครอง ๒๔๗๕ อ�ำนาจของสถาบันกษตั รยิ ์ ไดล้ ดลง ทำ� ใหง้ านพระเมรถุ กู ลดขนาดลง ไมก่ ย็ กเลกิ ไปสำ� หรบั เจา้ นายบางพระองค์ ชดุ ไวท้ กุ ขส์ ดี ำ� ท่ีเป็นชุดของผู้น้อยได้ถูกเลือกข้ึนมาเป็นสีมาตรฐานของงานศพแทน แต่จุดหักเหที่ส�ำคัญท่ีท�ำให้ ขนบธรรมเนยี มประเพณใี นการไวท้ กุ ขท์ ง้ั ทอี่ ทุ ศิ ใหก้ บั เจา้ และขยายไปถงึ พระสงฆก์ ลบั มาคอื การกา้ ว ข้นึ มามีอ�ำนาจของจอมพลสฤษด์ิ ธนะรชั ต์ อาจกลา่ วไดว้ า่ ธรรมเนยี มการไวท้ กุ ขไ์ ดม้ กี ารปรบั เปลยี่ นอยเู่ สมอทงั้ นเ้ี พอื่ ปรบั ใหท้ นั สมยั เป็นสากล และสะท้อนการรบั เอาวัฒนธรรมที่หลากหลายในสังคม หากแตธ่ รรมเนียมการไวท้ ุกข์ที่ ใชป้ ฏบิ ัติกนั ในทุกวันนี้ แทท้ ่จี รงิ คือกฏระเบยี บแบบแผนทางราชการท่รี าษฎรน�ำมาใชจ้ นกลายเปน็ มารยาททางสังคมในทา้ ยทสี่ ุด 161เสดจ็ สแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชือ่ ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

รายการอา้ งอิง กรมศลิ ปากร. ๒๕๓๙. “จดหมายเหตโุ ยสต์ สเคาเตน็ ,” ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม ๑. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. ขุนช้างขนุ แผน, ๒๕๑๓. เลม่ ๒. กรุงเทพฯ: แพรพ่ ทิ ยา. จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๒ จ.ศ. ๑๑๗๑ – ๑๑๗๓. ๒๕๑๓. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพค์ รุ ุสภา. เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ข�ำ บุนนาค). ๒๕๐๗. พระราชพงศาวดารกรุงรตั นโกสินทร์ รชั กาลท่ี ๔. กรุงเทพฯ: กรมศลิ ปากร. เจา้ พระยาทพิ ากรวงศ์ (ขำ� บุนนาค). ๒๕๓๓. พระราชพงศาวดารกรุงรตั นโกสินทร์ รัชกาลที่ ๒. กรุงเทพฯ: มลู นิธิพระบรมราชานสุ รณ์ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หล้านภาลัย. เจา้ พระยาทพิ ากรวงศ์ (ข�ำ บนุ นาค). ๒๕๓๘. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รชั กาลท่ี ๓. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ข�ำ บุนนาค). ๒๕๓๙. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑, ช�ำระ โดย นฤมล ธรี วัฒน์. กรุงเทพฯ: อมรินทร.์ เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ข�ำ บุนนาค). ๒๕๔๘. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๒, ช�ำระ โดย นฤมล ธีรวฒั น์. กรงุ เทพฯ: อมรินทร.์ เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (ม.ร.ว. หลาน กุญชร). ๒๕๐๐. ข้อราชการในกรมมหาดเล็ก. พระนคร: โรงพิมพ์กรมแผนท่ีทหารบก. เจา้ พระยาสรุ ศกั ดมิ์ นตรี (เจมิ แสงชโู ต). ๒๕๑๕. “วา่ ดว้ ยชาวปา่ ตา่ งๆ”, ใน ลทั ธธิ รรมเนยี มตา่ งๆ เลม่ ๑. กรุงเทพฯ: คลงั วทิ ยา. เฉลิม ยงบญุ เกดิ . ๒๕๔๓. บันทกึ ว่าด้วยขนบธรรมเนยี มประเพณีของเจินละ. กรุงเทพฯ: ศิลปวฒั นธรรม. เดอ ลา ลแู บร.์ ๒๕๔๘. จดหมายเหตุ ลา ลแู บร์, แปลโดย สนั ต์ ท.โกมลบตุ ร. กรุงเทพฯ: สำ� นกั พมิ พ์ ศรปี ญั ญา. นิโกลาส์ แชรวาส. ๒๕๕๐. ประวัติศาสตร์ธรรมชาติและการเมืองแห่งราชอาณาจักรสยาม: ในแผ่นดิน สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช, แปลโดย สนั ต์ ท.โกมลบตุ ร. กรุงเทพฯ: สำ� นกั พิมพ์ศรีปัญญา. บรดั เลย์, แดน บีช. ๒๕๓๖. หนงั สอื จดหมายเหตุ The Bangkok Recorder. กรงุ เทพฯ: ส�ำนักพระราชวงั . บุญชว่ ย ศรีสวสั สดิ.์ ๒๕๔๗. ๓๐ ชาติในเชียงราย. กรุงเทพฯ: ศยาม. พงศาวดารฮ่ันยุคหลัง. 後漢書.卷三十七.桓榮傳:「典獨棄官收斂歸葬,服喪三年,負土成墳, 為立祠堂,盡禮而去。 พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองคเ์ จ้าจุลจกั รพงศ.์ ๒๕๓๑. เกดิ วังปารุสก์ สมยั สมบูรณาญาสทิ ธิราชย์. กรุงเทพฯ: อมรนิ ทร์ พริน้ ตงิ้ . มูลนิธิโครงการต�ำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. ๒๕๔๘. ประชุมประกาศรัชกาลท่ี ๔. กรุงเทพฯ : มลู นิธิโครงการต�ำราสงั คมศาสตรแ์ ละมนุษยศาสตร์. ยุกติ มุกดาวิจิตร. ๒๕๕๗. ประวัติศาสตร์ไทด�ำ: รากเหง้าวัฒนธรรม – สังคมไทย และเอเชียตะวันออก เฉียงใต.้ กรุงเทพฯ: กระทรวงวฒั นธรรม. ราชกจิ จานเุ บกษา. ๒๔๑๘. “การพระศพ,” เลม่ ๒ วนั อาทติ ย์ เดอื น ๖ ขนึ้ ๕ คำ่� จ.ศ.๑๒๓๗, น. ๒๘ – ๒๙. 162 เสดจ็ สแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

๖ ราชกิจจานุเบกษา. ๒๔๑๙ก. “วา่ ด้วยการพระศพ,” เลม่ ๓ วนั อาทติ ย์ เดือน ๔ ขึน้ ๖ ค่�ำ จ.ศ.๑๒๓๘, น. ๓๘๑ – ๓๘๒. ราชกิจจานุเบกษา. ๒๔๑๙ข. “การพระศพ,” เล่ม ๓ วันอาทิตย์ เดือน ๔ ขึ้น ๑๓ ค�่ำ จ.ศ.๑๒๓๘, น. ๓๘๘ – ๓๙๐. ราชกิจจานุเบกษา. ๒๔๒๒ก. “ข่าวราชการ,” เล่มท่ี ๖ วันอาทิตย์ เดือนเจ็ด ขึ้นห้าค�่ำ จ.ศ.๑๒๔๑, น. ๖๑ – ๖๒. ราชกจิ จานเุ บกษา. ๒๔๒๒ข. “พระอาการพระบวรวงษเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ วไิ ลยทรงกลั ยา,” เลม่ ที่ ๑ วนั อาทติ ย์ เดอื นยี่ แรมสบิ เอ็ดค�ำ่ จ.ศ.๑๒๔๑, น. ๒๑ – ๒๓. ราชกิจจานุเบกษา. ๒๔๒๙. “ประกาศการสิ้นพระชนม์,” เล่มท่ี ๓ เดือนสิบ ขึ้นแปดค�่ำ จ.ศ.๑๒๔๘, น. ๑๘๒ – ๑๘๓. ราชกจิ จานเุ บกษา. ๒๔๒๙. “หมายไวท้ ุกข์,” เลม่ ๓ วนั อาทติ ย์ เดอื นสิบสอง แรมสิบเอด็ คำ่� จ.ศ.๑๒๔๘, น. ๒๘๖. ราชกิจจานุเบกษา. ๒๔๓๐ก. “ประกาศนุ่งขาว,” เล่มที่ ๔ วันศุกร์ เดือนหก ข้ึนแปดค�่ำ จ.ศ.๑๒๔๙, น. ๓๕. ราชกจิ จานเุ บกษา. ๒๔๓๐ข. “กำ� หนดการไวท้ กุ ข,์ ” เลม่ ๔ วนั จนั ทร์ เดอื นเจด็ แรมแปดคำ�่ จ.ศ.๑๒๔๙ , น. ๘๑ – ๘๒. ราชกจิ จานเุ บกษา. ๒๔๓๐ค. “หมายไว้ทุกข์,” เล่มท่ี ๔ วนั พฤหสั บดี เดอื นเกา้ ขึ้นแปดคำ่� จ.ศ.๑๒๔๙, น. ๑๓๒ – ๑๓๓. ราชกิจจานุเบกษา. ๒๔๓๖. “จ�ำนวนวันคิดส�ำเร็จส�ำหรับไว้ทุกข์ในการที่พระเจ้าน้องนางเธอ พระองค์ เจา้ บรรจบเบญจาสนิ้ พระชนม์,” เลม่ ที่ ๙ วนั ที่ ๒๕ กันยายน ร.ศ.๑๑๑, น. ๒๐๓ – ๒๐๔. ราชกจิ จานเุ บกษา. ๒๔๓๘. “ประกาศสมเด็จพระบรมโอรสาธริ าชสวรรคต,” เลม่ ท่ี ๑๑ วนั ท่ี ๖ มกราคม ร.ศ.๑๑๓, น. ๓๒๘. ราชกจิ จานุเบกษา. ๒๔๔๐. “ข่าวส้นิ พระชนม์,” เล่มท่ี ๑๓ วนั ท่ี ๒๒ สงิ หาคม ร.ศ.๑๑๕, น. ๒๒๐. ราชกจิ จานเุ บกษา. ๒๔๔๔. “ประกาศเรอื่ งโกนผม,” เลม่ ที่ ๑๑ วนั ท่ี ๒๔ กมุ ภาพนั ธ์ ร.ศ.๑๑๙, น. ๔๔๐. ราชกจิ จานุเบกษา. ๒๔๔๘. “ก�ำหนดการไว้ทกุ ข์,” เลม่ ๒๑ วันที่ ๓๐ ตุลาคม ร.ศ.๑๒๓. ราชกจิ จานุเบกษา. ๒๔๕๐. “ข่าวสนิ้ พระชนม,์ ” เลม่ ที่ ๒๓ วนั ท่ี ๒๓ กนั ยายน ร.ศ.๑๒๕, น. ๖๔๖. ราชกจิ จานุเบกษา. ๒๔๖๒. “ประกาศ”, เลม่ ท่ี ๓๖ วนั ที่ ๒๐ ตลุ าคม พ.ศ.๒๔๖๒, หนา้ ๒๐๖๙. ราชกิจจานุเบกษา. ๒๔๖๘. “ประกาศก�ำหนดการไว้ทุกข์ถวายพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราวธุ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หวั ,” เล่มที่ ๔๒ วันที่ ๖ ธนั วาคม พ.ศ.๒๔๖๘, น. ๒๗๑๐. ราชกจิ จานเุ บกษา. ๒๔๗๒. “ข่าวส้นิ พระชนม”์ วนั ที่ ๒๙ กนั ยายน พ.ศ.๒๔๗๒, น. ๒๑๔๓ – ๒๑๔๕. ราชกจิ จานเุ บกษา. ๒๔๗๗. ขา่ วสน้ิ พระชนม,์ เลม่ ๕๑, ตอน ๐ ง, ๒๖ สงิ หาคม พ.ศ.๒๔๗๗, น. ๑๖๐๖. ราชกจิ จานเุ บกษา. ๒๔๘๙. “แถลงการณร์ ัฐบาล,” ฉบับพิเศษ เล่มท่ี ๖๓, น. ๓. ราชกิจจานุเบกษา. ๒๔๙๐. “เรื่องการไว้ทุกข์ถวายพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล,” เลม่ ท่ี ๖๔ วันท่ี ๑๐ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๙๐, น. ๑๔๗๔ – ๑๔๗๕. ราชกิจจานุเบกษา. ๒๔๙๙. “หมายก�ำหนดการถวายพระเพลิงพระบรมศพ สมเด็จพระศรีสวรินทิรา บรมราชเทวี พระพันวสั สาอัยยกิ าเจา้ ,” เล่ม ๗๓ ตอนที่ ๓๓ ๑๗ เมษายน พ.ศ.๒๔๙๙. 163เสด็จสแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าชเจ้าฟา้ มหาวชริ ุณหิศ. ๒๕๕๓. จดหมายเหตรุ ายวนั , ช�ำระโดย รุ่งโรจน์ ภริ มย์ อนกุ ูล. กรุงเทพฯ: ศกั ดโ์ิ สภาการพมิ พ์. สมเด็จพระมหาวีวงศ์ (อ้วน ติสฺโส). ๒๕๑๕. “ประวัติชนชาติภูไท,” ใน ลัทธิธรรมเนียมต่างๆ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ: คลังวิทยา. สมเดจ็ ฯ เจา้ ฟา้ กรมพระยานรศิ รานวุ ดั ตวิ งศ์ และ พระยาอนมุ านราชธน. ๒๕๒๑ก. บนั ทกึ ความรเู้ รอื่ งตา่ งๆ เล่ม ๓. กรงุ เทพฯ: ไทยวัฒนาพาณชิ . สมเดจ็ ฯ เจ้าฟา้ กรมพระยานริศรานุวัดตวิ งศ์ และพระยาอนุมานราชธน. ๒๕๒๑ข. บนั ทกึ ความรู้เร่ืองต่างๆ เล่ม ๔. กรงุ เทพฯ: ไทยวฒั นาพาณชิ . สัมภาษณ์ ผศ.ดร. จริ พัฒน์ ประพันธวทิ ยา เมื่อวนั ท่ี ๖ กุมภาพนั ธุ์ พ.ศ.๒๕๖๐. สายไหม จบกลศกึ , บรรณาธกิ าร. ๒๕๒๘. งานพระเมรมุ าศสมยั กรงุ รตั นโกสนิ ทร.์ กรงุ เทพฯ: กรมศลิ ปากร. ส�ำนักนายกรัฐมนตรี. ๒๕๑๐. “จดหมายเหตุการณ์พระศพสมเด็จพระรูปวัดพุทไธสวรรย์ กรุงเก่า,” ใน ประชุมจดหมายเหตุ สมยั อยธุ ยา ภาค ๑. กรงุ เทพฯ: ส�ำนกั นายกรฐั มนตร.ี สำ� นกั พระราชวัง. ๒๕๓๙. หนงั สอื ขา่ ว Court ขา่ วราชการเจา้ นาย ๑๑ พระองค์ทรงชว่ ยกันแต่ง เล่ม ๒. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพระราชวัง. สุเนตร ชุตนิ ธรานนท.์ ๒๕๓๗. พมา่ รบไทย. กรุงเทพฯ: ศลิ ปวัฒนธรรม. เสฐยี รโกเศศ. ๒๕๓๙. ประเพณีเนื่องในการตาย. กรุงเทพฯ: ศยาม. Coedès, G. 1968. The Indianized States of Southeast Asia. Translated by S.B.Cowing. Honolulu: The University Press of Hawaii. Geertz, C. 1980. Negara: The Theatre State in Nineteenth-Century Bali. Princeton University Press. Pelliot, P. 1903. “Le Fou – nan”, in BEFEO, III, pp. 261-262. Pelliot, P. 1951. Mémoires sur les Coutumes du Cambodge de Tcheou Ta–Kouan. Paris: Librairie d’Amérique et d’Orient. 164 เสด็จสแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

ธรรมเนียมตะวนั ตก ๗ ในพระราชพิธีพระบรมศพกษตั ริยส์ ยาม อาจารย์ วสิน ทบั วงษ์ สาขาวชิ าประวตั ิศาสตร์ คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา การก้าวเข้าสรู่ ฐั สมยั ใหม่นบั แตร่ ัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั รชั กาลที่ ๔ เปน็ ตน้ มา สง่ ผลทำ� ใหโ้ ลกทศั นข์ องชนชนั้ นำ� สยามเกดิ การเปลยี่ นแปลงหลายดา้ นดว้ ยกนั หนง่ึ ในนนั้ คือ ธรรมเนียมในพระราชพิธีพระบรมศพท่ีได้รับอิทธิพลจากตะวันตกเข้ามาประยุกต์และปรับใช้ ท้ังนี้มีเป้าหมายเพื่อให้พระราชพิธีเกิดความทันสมัย และมีความศิวิไลซ์ภายใต้จารีตประเพณีของ สยามแตด่ งั้ เดมิ ดว้ ย เดมิ ทอี นิ เดยี และจนี คอื ศนู ยก์ ลางของอารยธรรมทช่ี นชน้ั นำ� สยามตงั้ แตส่ มยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา หรอื กอ่ นหนา้ นน้ั ใชเ้ ป็นตน้ แบบท้งั ในแงข่ องรูปแบบและความเชอ่ื ในรฐั พิธตี า่ งๆ จนกระทง่ั เม่ือชาติ “ตะวนั ตก” (ในความหมายกวา้ ง) ได้เขา้ มามอี ทิ ธิพลในภมู ิภาคเมอื่ คริสต์ศตวรรษท่ี ๑๙ ดว้ ยการใช้ ลทั ธิลา่ อาณานคิ ม อังกฤษได้พิชติ อินเดีย พมา่ และจนี ฝรัง่ เศสไดเ้ ขา้ ยึดครองพืน้ ที่อนิ โดจีน ทำ� ให้ ราชส�ำนักสยามมองว่า ตะวันตกได้กลายเป็นแหล่งศูนย์กลางทางด้านความเจริญแห่งใหม่ (ธงชัย วนิ ิจจะกลู ๒๕๔๖) ท้งั ในด้านวฒั นธรรม รสนยิ ม วิธคี ิด การเมอื ง และเศรษฐกจิ ด้วยเหตุน้ีเอง จะสังเกตได้ชัดว่านับตั้งแต่งานพระบรมศพและพระเมรุของรัชกาลท่ี ๕ เป็นตน้ มา ได้เกิดความเปลี่ยนแปลงข้ึนหลายประการไม่วา่ จะเป็นรูปแบบของพระเมรทุ แี่ ตกต่างไป จากโบราณราชประเพณีในสมยั รชั กาลท่ี ๔ โดยมขี นาดที่เลก็ ลง, การงดงานมหรสพรน่ื เรงิ ในสมยั รชั กาลท่ี ๖ เปน็ ตน้ (ราม วชริ าวธุ ๒๕๕๗) อยา่ งไรกด็ ี เนอ่ื งดว้ ยรายละเอยี ดของธรรมเนยี มประเพณที มี่ ี การปรบั เปลยี่ นเสรมิ แตง่ หลายอยา่ ง บทความนจี้ งึ ขอคดั สรรเฉพาะบางเรอ่ื งทเี่ หน็ วา่ มคี วามนา่ สนใจ อันได้แก่ การเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้าเฝ้ากราบพระบรมศพ การแต่งกายไว้ทุกข์ด้วยชุดด�ำ การยงิ สลตุ ถวายพระเกยี รตยิ ศ กระบวนแหอ่ ญั เชญิ พระบรมศพ และสดุ ทา้ ยการสรา้ งราชรถปนื ใหญ่ รางเกวียน 165เสด็จสู่แดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

“กราบถวายบงั คมพระบรมศพ” ถึงแม้ว่า นับแต่ต้นรัตนโกสินทร์ในงานพระเมรุของกษัตริย์ ราษฎรจะมีโอกาสได้ชมและ รว่ มงานมหรสพ แต่ก็ไมเ่ คยมโี อกาสไดก้ ราบถวายบังคมพระบรมศพ ณ พระท่นี ั่งดสุ ติ มหาปราสาท ดังเช่นที่เห็นในปัจจุบัน ทั้งน้ีเป็นผลมาจากการเปล่ียนแปลงทางความคิดเก่ียวกับรัฐท่ีประชาชน ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของชาติ ประกอบกับองค์พระมหากษัตริย์เองก็วางตนให้ใกล้ชิดกับราษฎร มากขน้ึ ทง้ั ในพน้ื ทสี่ าธารณะ และพระราชพธิ ตี า่ งๆ ดว้ ยเหตนุ เ้ี อง จงึ ทำ� ใหร้ าษฎรรสู้ กึ มคี วามผกู พนั กบั กษัตริย์แตกต่างไปจากในสมัยรฐั จารตี ดงั เห็นไดจ้ ากเม่ือรัชกาลท่ี ๕ เสดจ็ สวรรคต “...ราษฎร ทั้งหลายไม่เลือกว่าช้ันใด ชาติใด เมื่อได้ทราบข่าวว่า สมเด็จพระบรมชนกนาถ พระบาทสมเด็จ พระปรมนิ ทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัวเสดจ็ สวรรคตเสียแล้ว ต่างพากันโศกเศร้า โศกาอาดูรด้วยความจงรักภักดีต่อใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท จนถึงเวลาเม่ือเชิญพระบรมศพมาสู่ พระบรมมหาราชวังก็ยังอุตส่าห์พากันมาร�่ำร้องไห้เสียงเซ็งแซ่ตลอดสองข้างทาง บางหมู่ก็พากัน เดินตามพระบรมศพมาจนถึงพระบรมมหาราชวัง เจ้าพนักงานจะห้ามปรามสักเท่าใดๆ ก็ไม่ฟัง” (ย้ิม ปัณฑยางกรู ๒๕๓๕: ๖๓-๖๔) นอกจากน้ี ถ้าหากย้อนกลับไปอ่านวรรณกรรมเก่าๆ เช่น อิเหนา กลุ่มคนท่ีโศกเศร้า เสียใจนั้นจะเป็นเฉพาะข้าราชบริพารและพระญาติของกษัตริย์เท่านั้น และราษฎรสามารถอยู่ได้ ในพืน้ ทที่ ่ีจดั งานมหรสพเท่าน้นั ในสว่ นของมณฑลพิธนี ้นั ไม่สามารถเข้าร่วมได้ ทั้งหมดน้ี แตกต่าง จากภาพท่ีเห็นจากงานพระบรมศพสมัยรัชกาลท่ี ๕ ตามข้อความข้างต้นน้ี ไม่ว่าอย่างไรก็ตาม ดว้ ยบรรยากาศทรี่ าษฎรพากนั รำ�่ ไห้ และดว้ ยสำ� นกึ ของชนชน้ั นำ� สยามทม่ี ตี อ่ ราษฎรทเ่ี ปลยี่ นแปลงไป ท�ำให้พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ มีพระมหากรุณาเปิดโอกาสให้ราษฎร ไดเ้ ขา้ ถวายบงั คมพระบรมศพ โดยพระราชทานพระบรมราชวโรกาสเพยี งเดือนละไมก่ ่ีวัน แตก่ น็ ับ เป็นคร้ังแรกที่สามัญชนได้มีส่วนร่วมกราบพระบรมศพถึงในพระบรมมหาราชวัง ซ่ึงไม่เคยปรากฏ มาก่อนในรชั กาลก่อนหนา้ น้ี ดงั ความวา่ “[รัชกาลท่ี ๖]...ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศมาว่า ถ้าราษฎร ท้ังหลายไม่เลือกว่าชั้นใด ชาติใด ภาษาใด ชายหรือหญิง แม้มีความประสงค์จะมา แสดงความจงรักภักดีต่อใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทกราบถวายบังคมพระบรมศพ ณ พระที่นงั่ ดสุ ิตมหาปราสาท ก็ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ใหเ้ ขา้ มาได้เดือนละคร้งั ตามกำ� หนดวนั เวลาดังนี้ คอื วนั ที่ ๑ วนั ท่ี ๒ วันที่ ๓ วันที่ ๔ วนั ท่ี ๕ เดอื นพฤศจกิ ายน ตรงกบั วนั อังคาร แรม ๑๔ คำ่� เดอื น ๑๑ วนั พุธ ข้นึ ๑ คำ่� เดอื น ๑๒ วันพฤหัสบดี ขึน้ ๒ คำ�่ เดือน ๑๒ วนั ศุกร์ ขน้ึ ๓ ค�ำ่ เดือน ๑๒ วันเสาร์ ข้นึ ๔ ค�ำ่ เดอื น ๑๒ ตงั้ แตเ่ วลาบา่ ยโมงไปจนถงึ เวลาบ่าย ๕ โมงคร่ึง ส่วนเดอื นธันวาคมแลเดือนตอ่ ๆ ไป กค็ งมกี �ำหนดวนั ที่ ๑ ท่ี ๒ ท่ี ๓ ท่ี ๔ ที่ ๕ เวลาเดยี วกนั จนกว่าจะไดถ้ วายพระเพลงิ ...” (ยม้ิ ปัณฑยางกรู ๒๕๓๕: ๖๔) 166 เสดจ็ สู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

๗ ราษฎรแต่งขาวไว้ทกุ ข์ เขา้ ถวายบงั คมพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอย่หู วั ดา้ นหนา้ พระท่นี ่ังดุสติ มหาปราสาท (ท่มี า: นนทพร อยูม่ ั่งมี และธชั ชัย ยอดพชิ ยั ๒๕๕๑: ๗๘) แตง่ ดำ� ไวท้ ุกข์ อทิ ธิพลพระนางเจ้าวกิ ตอเรีย ในอดีตเมื่อพระมหากษัตริย์สวรรคต ราชส�ำนักจะออกประกาศให้ราษฎรท้ังชายและ หญิงโกนผมทุกคน ยกเว้นไว้แต่ชาวต่างชาติ พราหมณ์ นักบวชต่างศาสนา และชาวป่าชาวเขา อยา่ งไรก็ดี ธรรมเนยี มนไ้ี ด้ยกเลกิ เสียอนั เน่อื งมาจาก “[รัชกาลท่ี ๕] ได้ทรงมีพระราชด�ำรัสสง่ั ไวว้ า่ การไว้ทุกข์ดังเช่นที่กล่าวมาแล้วนั้นย่อมเป็นเคร่ืองเดือดร้อนอยู่เป็นอันมาก ให้ยกเลิกเสียทีเดียว” (ยม้ิ ปณั ฑยางกูร ๒๕๓๕: ๖๓) ในงานพระบรมศพรชั กาลท่ี ๕ จะสงั เกตไดช้ ดั วา่ ชดุ ไวท้ กุ ขด์ งั้ เดมิ ของสยามคอื เครอ่ื งนงุ่ หม่ สีขาว ในขณะที่ของชาวต่างชาติคือชุดสีด�ำ ดังปรากฏในจดหมายเหตุ ความว่า “…แต่ผู้ที่จะมา กราบถวายบังคมพระบรมศพนั้น ควรแต่งตัวให้เรียบร้อยอย่างธรรมเนียมไว้ทุกข์ คือผู้ชายนุ่งขาว สวมเส้ือขาว ผู้หญิงนุ่งขาว สวมเสื้อขาว ห่มขาว ถ้าเป็นชาติที่มีธรรมเนียมไว้ทุกข์ด�ำ ก็แต่งกาย ตามลทั ธแิ หง่ ตนๆ และถ้าจะมดี อกไมธ้ ูปเทยี น หรือพวงมาลยั มากระทำ� สักการบูชาด้วยกย็ ิง่ ดี จะมี เจ้าพนกั งานคอยเป็นธุระจัดการให้ผทู้ ี่มานัน้ ได้กราบถวายบังคมพระบรมศพตามความปรารถนา” (ยิ้ม ปัณฑยางกูร ๒๕๓๕: ๖๔) อาจกล่าวได้ว่า การก�ำหนดให้แต่งชุดสีใดสีหน่ึงน้ันสัมพันธ์กับ เรอื่ งการจดั ระเบยี บของราชสำ� นกั โดยมเี ปา้ หมายหลกั เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเรยี บรอ้ ย อยา่ งไรกต็ าม ขอ้ มลู ขา้ งต้นกแ็ สดงให้เราเหน็ ชัดว่า การแตง่ กายไปงานศพด้วยชดุ สีด�ำเป็นธรรมเนียมของคนชาติอื่น 167เสดจ็ สแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอื่ ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

สมเดจ็ พระราชินนี าถวกิ ตอเรียในฉลองพระองค์ไวท้ กุ ข์สดี �ำ (Source: The Royal Collection: Queen Victoria (1819-1901) as Empress of India, 1876) ความจรงิ ธรรมเนยี มการแตง่ ชดุ ดำ� คงเรม่ิ ต้นต้ังแตร่ ชั กาลที่ ๔ โดยในงานพระเมรสุ มเดจ็ พระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจันทรมณฑลโสภณภควดี เมื่อ พ.ศ.๒๔๐๖ รัชกาลที่ ๔ ได้ทรงโปรดให้ พระบรมวงศานุวงศ์และข้าทูลละอองธุลีพระบาท นุ่งผ้าด�ำไว้ทุกข์ การไว้ทุกข์ด้วยชุดสีด�ำน้ีสมเด็จ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ เจ้าฟา้ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงมพี ระวินจิ ฉยั ไวอ้ ย่างชดั เจนใน สาส์น สมเดจ็ ตอนหน่ึงวา่ “ธรรมเนยี มการไวท้ กุ ข์เราเอาตามอยา่ งตา่ งประเทศมาทัง้ น้นั ของเราเองไมม่ ”ี (สมเดจ็ ฯ เจา้ ฟา้ กรมพระยานรศิ รานวุ ดั ตวิ งศ์ ๒๕๕๑: ๙๐) หมายความวา่ พระองคเ์ ชอื่ วา่ การแตง่ กาย ไว้ทกุ ขท์ ้ังชดุ สีด�ำและอาจรวมถงึ สขี าวเป็นธรรมเนยี มท่ีสยามรับมาจากชาตอิ ื่น โดยทั่วไปเช่ือกันว่า การแต่งกายไปงานศพและไว้ทุกข์ด้วยชุดสีด�ำนั้น ไทยได้รับมาจาก อังกฤษ กลา่ วคือ พระราชนิ ีนาถวิกตอเรยี ไดท้ รงสูญเสียพระสวามีคอื เจา้ ชายอัลเบิร์ตใน ค.ศ.๑๘๖๑ ซึ่งยังความเศร้าโศกเสียใจกับพระนางเป็นอย่างมาก ท�ำให้พระนางทรงฉลองพระองค์ไว้ทุกข์ (mourning attire) ด้วยชดุ สดี ำ� ตลอดพระชนม์ชีพตอ่ มาอีก ๔๐ ปี ในช่วงปลายของยคุ วกิ ตอเรยี น (Victorian Era) ธรรมเนียมการใช้สีด�ำในงานศพและการไว้ทุกข์นั้นได้รับการจัดการปฏิบัติ อย่างเคร่งครัด ตัวอย่างเช่น คัมภีร์ไบเบิลก็ต้องหุ้มด้วยปกหนังสีด�ำ ผ้าเช็ดหน้าจะต้องมีขอบสีด�ำ เสอื้ ผา้ ของเดก็ ทมี่ กั มสี สี นั หรอื เปน็ ชดุ ขาวกจ็ ะตอ้ งผกู ดว้ ยรบิ บนิ้ สดี ำ� บรเิ วณตน้ แขน ถา้ เปน็ หญงิ มา่ ย (หมา้ ย) จะสวมหมวกปีกกว้างสีด�ำเปน็ เวลา ๙ เดือน และคาดหวังให้พวกเธอตอ้ งใส่ชดุ ด�ำต่อไปอีก ๔ ปหี ลังจากสามีเสยี ชวี ิต เป็นตน้ 168 เสด็จสู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

ภายหลังจากยุคสมัยของพระราชินีนาถวิกตอเรียแล้ว ในรัชสมัยของกษัตริย์เอ็ดเวิร์ด ๗ (King Edward VII, ๑๙๐๑-๑๙๑๐) ตรงกับรชั กาลที่ ๕ ผูค้ นในองั กฤษก็ยังคงถอื ธรรมเนียมปฏบิ ัติ ในการแต่งกายชุดด�ำและไว้ทุกข์ในงานศพเช่นเดิมแต่ก็มีแนวโน้มในการลดความเคร่งครัดลง และ โดยเฉพาะเมอ่ื สมยั สงครามโลกครงั้ ท่ี ๑ ทำ� ใหม้ หี ญงิ มา่ ยจำ� นวนมากเพราะสญู เสยี สามไี ปในสงคราม พวกเธอพยายามทีจ่ ะแต่งชดุ ด�ำแต่ไมส่ ามารถปฏิบตั ิได้โดยตลอด เพราะแฟช่ันการแตง่ กายในช่วง เวลาน้ันเน้นชุดล�ำลองมากข้ึน และไม่สะดวกต่อการท�ำงานส่งผลท�ำให้แฟชั่นการแต่งกายชุดด�ำ เปลย่ี นแปลงเชน่ ใสเ่ สอ้ื ผา้ พอเปน็ สญั ลกั ษณ์ งดการใสห่ มวกไวท้ กุ ข์ เปน็ ตน้ (Bedikian 2008: 35) ประเดน็ หนงึ่ ทน่ี า่ สนใจทางวชิ าการดว้ ยกค็ อื ผลจากการแตง่ ชดุ ดำ� ไวท้ กุ ขข์ องพระราชนิ นี าถ วิกตอเรียท�ำให้เกิดค่านิยมขึ้นในหมู่ชนช้ันล่างลงมาด้วยไม่ว่าจะเป็นชนชั้นกลาง (middle-class) ท่ีเกิดการขยายตัวอย่างมาก เพราะในเวลานั้นเสื้อผ้าได้ถูกผลิตข้ึนด้วยระบบโรงงานอุตสาหกรรม ทำ� ใหส้ ามารถซอ้ื หาชดุ ไดง้ า่ ยขนึ้ เพราะราคาไมแ่ พง และเลยี นอยา่ งชนชน้ั สงู ไดโ้ ดยสะดวก ในขณะท่ี ชนช้ันล่างยังไม่มีก�ำลังซ้ือชุดด�ำได้มากพอท�ำให้บางท่ีเกิดการก่อต้ังสมาคมเก่ียวกับงานศพขึ้นเช่น สมาคมท่ีมีช่ือว่า Burial and Friendly Societies เพ่ือให้สมาชิกสามารถท่ีจะหยิบยืมชุดและ เครือ่ งประดับท่ตี อ้ งใช้ในงานศพได้ (Bedikian 2008: 40-41) ท้งั หมดนสี้ ่งผลทำ� ใหก้ ารแตง่ กายชุด สดี �ำไดถ้ ูกยดึ ถอื เปน็ แบบอยา่ งในการไปงานศพและไวท้ กุ ข์ใหก้ บั คนรัก ถือเป็นชุดทางการ และไม่ นานนักธรรมเนียมการแต่งกายงานศพด้วยชุดสีด�ำน้ีได้แพร่หลายไปยังภาคพ้ืนทวีปของยุโรป อเมรกิ า และออสเตรเลยี ดว้ ย จนอาจกลา่ วไดว้ า่ องั กฤษไดเ้ ปน็ ตน้ กำ� เนดิ ของธรรมเนยี มการแตง่ กาย ไวท้ ุกข์ (cult of mourning) ซ่ึงมเี ป้าหมายเพอ่ื ร�ำลึกถึงคนรัก ย้อนกลับมาท่ีสยาม ภายหลงั จากรัชกาลที่ ๕ เสดจ็ สวรรคต สมเดจ็ พระศรีพัชรนิ ทราบรม ราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง กไ็ ดท้ รงแตง่ กายไวท้ กุ ขด์ ว้ ยชดุ ดำ� อยเู่ สมอ ดงั เชน่ ทป่ี รากฏ ใน เกิดวังปารุสก์ พระนิพนธ์ในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ “....ในสมัยที่ข้าพเจ้า เป็นเด็กและได้เข้าเฝ้าท่านเกือบทุกๆ วัน เป็นสมัยที่ท่านไว้ทุกข์ทูลกระหม่อมปู่ และเมื่อเสด็จไป งานมงคล เช่น เฉลิมพระชนมพรรษาทูลกระหม่อมลุง ท่านก็ยังทรงด�ำอยู่ดี แต่คนอื่นๆแต่งด�ำ เมอ่ื ไมม่ ที กุ ข์ให้ใครแลว้ ข้าพเจ้าจำ� ไดว้ า่ ยา่ ทรงกริว้ จนท่านถูกคนอนื่ เขาหาว่า ทา่ นอยากจะเป็น แมห่ มา้ ยของพระจลุ จอมเกลา้ เสยี แตพ่ ระองคเ์ ดยี ว อยา่ งไรกด็ ี ทา่ นทรงดำ� อยเู่ ปน็ นติ ย์ และเกอื บจะ ไม่ทรงประดบั เคร่อื งเพชรเลย...” (พระองคเ์ จา้ จลุ จักรพงษ์ ๒๕๕๒: ๕๒) ในหนงั สอื เกดิ วงั ปารสุ ก์ ยงั เลา่ ตอ่ ไปอกี วา่ ในพระราชพธิ พี ระบรมศพสมเดจ็ พระศรพี ชั รนิ ทรา บรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนพี ันปหี ลวง เม่ือ พ.ศ.๒๔๖๒ นน้ั “พระบรมศพทรงดำ� อยา่ งท่ีทา่ น ไดท้ รงไว้ทุกข์ทลู หมอ่ มปู่เรื่อยๆ มา เขาคลุมพระพกั ตรด์ ้วยแพรด�ำบาง เมอ่ื วางพระบรมศพลงบน พระแท่น จึงเลิกผ้าคลุมพระพักตร์ออก ดูย่าเหมือนบรรทมหลับอยู่ แต่ดูทรงงามกว่าธรรมดาอีก” (พระองค์เจ้าจลุ จักรพงษ์ ๒๕๕๒: ๑๓๙) อยา่ งไรกต็ าม ในสงั คมสยาม สีชุดในงานศพยงั สัมพันธก์ ับเรอื่ งลำ� ดับศกั ดแ์ิ ละอายอุ ีกด้วย โดยมีหลกั การง่ายๆ คอื หากผู้วายชนม์เปน็ ผเู้ ยาวแ์ ละมศี กั ดิ์นอ้ ยกว่า ผู้ใหญห่ รอื ผเู้ ป็นญาตเิ มือ่ ไป ร่วมพธิ ศี พจำ� ต้องแต่งชดุ ดำ� หากผู้วายชนม์เปน็ ผสู้ ูงวัยและมศี ักดิส์ งู กว่า ผนู้ ้อยจะตอ้ งแตง่ ชุดขาว 169เสดจ็ สู่แดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

ดังเห็นได้จากในขณะท่ีพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ถึงแม้จะเป็นพระมหากษัตริย์ แตก่ ท็ รงตระหนกั ในพระสถานะว่าทรงเป็นพระราชโอรส ดงั น้นั จึงทรงฉลองพระองคส์ ขี าวทุกคร้ัง ทเี่ สดจ็ บำ� เพญ็ พระราชกศุ ลถวายพระบรมศพสมเดจ็ พระศรพี ชั รนิ ทราบรมราชนิ นี าถพระพนั ปหี ลวง ดงั หลกั ฐานวา่ “นบั ตงั้ แตว่ นั นน้ั กม็ กี ารทำ� บญุ ทกุ ๆ ๗ วนั มที ำ� บญุ ๕๐ วนั และ ๑๐๐ วนั ตามธรรมดา ทลู หมอ่ มลงุ เสด็จทุกครง้ั และแม้ตามหมายกรมวังจะบง่ วา่ ต้องแตง่ คร่งึ ยศหรือเตม็ ยศ ทลู หม่อมลงุ ทรงผ้าขาวในฐานะเปน็ ลูกทกุ ๆ คราว” (พระองค์เจ้าจลุ จกั รพงษ์ ๒๕๕๒: ๑๔๐) อยา่ งไรกด็ ี ในคราว เกบ็ พระอฐั สิ มเดจ็ พระอนชุ าธริ าช เจา้ ฟา้ จกั รพงษภ์ วู นาถฯ รชั กาลที่ ๖ ทรงฉลองพระองคด์ ำ� ลว้ น ทงั้ นี้ เพราะทรงเปน็ พระเชษฐารว่ มพระบรมชนกชนนเี ดยี วกนั ดงั เหน็ ไดจ้ ากในหนงั สอื เกดิ วงั ปารสุ ก์ ได้ บนั ทกึ ไวว้ ่า “ในวนั รุง่ ข้นึ เมอ่ื เกบ็ พระอฐั ิ แทนทจ่ี ะทรงเคร่ืองทหาร ทูลหมอ่ มลุงทรงแสดงพระองค์ วา่ เปน็ ญาตสิ นทิ โดยทรงดำ� ลว้ น เชน่ เดยี วกบั ทพี่ ระองคท์ า่ นไดท้ รงขาวลว้ นเมอ่ื วนั เกบ็ พระบรมอฐั ยิ า่ ” (พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ ๒๕๕๒: ๑๕๑) ดังนั้น การแต่งพระองค์ของพระมหากษัตริย์จึงขึ้นอยู่กับ พระราชประสงคส์ ว่ นพระองค์ โดยทรงคำ� นงึ ถงึ สายสมั พนั ธร์ ะหวา่ งพระองคก์ บั พระบรมราชบพุ การี และล�ำดับศักดขิ์ องเครอื ญาติ หน้าท่ีในการควบคุมเร่ืองการแต่งชุดในงานพระบรมศพหรือพระศพในหมู่เจ้านาย เชอื้ พระวงศท์ จ่ี ะเสดจ็ ไปในงานพระเมรนุ บั ตง้ั แตร่ ชั กาลที่ ๖ นนั้ จะถกู ควบคมุ โดยเสนาบดกี ระทรวงวงั อยา่ งเครง่ ครดั เพราะถอื เปน็ การเคารพและใหเ้ กยี รตผิ วู้ ายชนม์ ดงั ทพ่ี ระเจา้ วรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ จุลจักรพงษ์ทรงบันทึกไว้โดยละเอียดในงานพระศพพระบิดาความว่า “ข้าพเจ้าอดเล่าไม่ได้ถึง เจา้ พระยาธรรมาฯ ผซู้ ง่ึ เปน็ ผคู้ วบคมุ พระราชวงศอ์ ยา่ งสมหนา้ ทขี่ องทา่ น ผเู้ ปน็ เสนาบดกี ระทรวงวงั ใครทที่ า่ นควรจะเคารพอยา่ งสงู ทา่ นกท็ ำ� ใครทต่ี อ้ งเอด็ เอาบา้ ง ทา่ นกเ็ อด็ เมอื่ วนั พระเมรพุ อ่ มหี มอ่ มเจา้ หรอื พระองคเ์ จา้ วงั หนา้ แกๆ่ สองสามองค์ เสดจ็ มาโดยแตง่ ดำ� เจา้ คณุ ธรรมาฯ เขา้ ไปหาและวา่ “นอ่ี ะไร ท�ำไมถงึ ทรงแตง่ ด�ำมาวนั น”้ี พระองค์หน่งึ ตอบว่า “กระผมเป็นพ่ี” เจา้ คณุ ธรรมาฯ “เปน็ พ่เี ปน็ น้อง ทา่ นไดอ้ ยา่ งไร ทา่ นเปน็ เจา้ ฟา้ เจา้ ฝน” สองสามองคน์ น้ั ตอ้ งเสดจ็ กลบั ไปเปลย่ี นเครอ่ื งแตง่ พระองค”์ (พระองค์เจ้าจุลจกั รพงษ์ ๒๕๕๒: ๑๕๑) นอกจากน้ีแลว้ นบั ต้งั แตส่ มยั รชั กาลที่ ๕ เมื่อได้มีกำ� หนดเครอื่ งแบบข้าราชการข้นึ ท�ำให้ เครอ่ื งแบบถอื เปน็ ชดุ สภุ าพแบบหนงึ่ ดงั นนั้ จงึ ไดห้ ยบิ ยมื ธรรมเนยี มจากยโุ รปมาใชด้ ว้ ยการนำ� ผา้ ดำ� พันแขนเป็นปลอก ซ่ึงในเอกสารเก่าจะเรียกว่า “พันผ้าด�ำทุกข์” หรือ “พันแขนด�ำ” อย่างไรก็ดี ถึงจะรับธรรมเนียมมาจากตะวันตก แต่ก็มีการเลือกใช้เพียงบางส่วน เพราะปกติการไว้ทุกข์ของ ชาวยุโรปแบบครบเครื่องจะต้องมีการใช้ผ้าพันคอสีด�ำติดปลอกแขนด�ำด้วย ถ้าเป็นไว้ “ทุกข์รอง” จะผูกผ้าพันคอหรือผูกโบด�ำ ไม่ติดปลอกแขนเท่านั้น ดังนั้น ในงานพระบรมศพของรัชกาลที่ ๕ จะพบวา่ “สมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว [รชั กาลท่ี ๖] ทรงเครอื่ งเตม็ ยศทหารมหาดเล็ก ทรงพันผา้ ด�ำทกุ ข์ เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ ทรงพระราชด�ำเนินตามกระบวนพระบรมศพต่อท้ายเครื่องสูง มีนายทหาร เชญิ ธงบรมราชธวชั ตามเสดจ็ ตอ่ มาพระบรมวงศานวุ งศท์ รงเครอื่ งเตม็ ยศบา้ ง ทรงเครอื่ งผา้ ขาวบา้ ง ประดบั เครือ่ งราชอสิ ริยาภรณ์ตามพระบรมศพ ทหารมหาดเล็กเดนิ แซงขา้ งละ ๒ แถว ต่อพระบรม วงศานวุ งศ์ ในระหว่างกลาง พนกั งานกรมมา้ จงู มา้ พระท่ีนั่ง ๔ ม้า แล้วถงึ ข้าทูลละอองธลุ ีพระบาท ฝา่ ยทหารฝา่ ยพลเรอื น แตง่ เต็มยศพันแขนดำ� ...” (ยิ้ม ปัณฑยางกูร ๒๕๓๕: ๖๒) 170 เสด็จสู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

๗ สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระบรมราชินีนาถ (ประทับนั่งบนพระเก้าอ้ี) แวดลอ้ มดว้ ยพระราชโอรสและพระราชนดั ดาในฉลองพระองคไ์ วท้ กุ ขง์ านพระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั (ทมี่ า : พระองคเ์ จา้ จลุ จกั รพงษ์ ๒๕๕๔: ๖๔) นอกจากการพนั แขนด�ำแล้ว ธรรมเนยี มเดิมยังมกี ารน�ำผ้ามาพันหมุ้ เหรยี ญตราประดบั ยศ บนเคร่ืองแบบข้าราชการอีกด้วย ดังเห็นได้จากในคราวไว้ทุกข์ให้กับสมเด็จฯ กรมพระยาด�ำรง ราชานุภาพน้ัน ในบันทึกของหม่อมเจ้าหญิงพูนพิศมัย ดิศกุล พระธิดาซ่ึงทรงไว้ในสารคดีน่ารู้ ความตอนหนึ่งว่า หม่อมเจิม ดิศกุล ทูลเชิญท่านให้ไปช่วยหุ้มตราฯ ซึ่งจะต้องใช้ประดับในฉลอง พระองค์เคร่ืองแบบราชการความว่า “หม่อมเจิมแม่เลี้ยงข้าพเจ้าวิ่งขึ้นบันไดมาตะโกนเรียกว่า “ทา่ นหญงิ คะ ลงมาชว่ ย กนั หมุ้ ตราของเดจ็ พอ่ เรว็ หมอ่ มฉนั ทำ� ไมท่ นั ดอกคนเดยี ว” ขา้ พเจา้ ลมื เจบ็ ว่ิงลงบันไดตามไปช่วยเย็บผ้าย่นพันทุกข์หุ้มทั้งเหรียญท้ังตราทุกๆ ดวง ในเวลาก�ำลังท�ำเครื่อง เต็มยศใหญอ่ ย่นู นั้ มพี วกขา้ ราชการไปมาเฝา้ เสดจ็ พ่ออย่ตู ลอดเวลา” (หม่อมเจ้าพนู พศิ มยั ดิศกลุ ๒๕๑๘ : ๑๒๕) เผา่ ทอง ทองเจอื ใหค้ วามเหน็ วา่ การไวท้ กุ ขถ์ วายพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ในพระบรมโกศ ที่ผ่านมาในอดีตจะเรียกว่า “การเข้าทุกข์ใหญ่” โดยปกติแล้ว การแต่งกายทรงเครื่องเต็มยศของ เจ้านายท่ีเข้าร่วมในพระราชพิธีพระบรมศพจะต้องใช้ผ้าโปร่ง หรือบางครั้งเรียกว่าผ้าตาพริกไทย หรือโบราณเรียกว่า ผ้าบุหงาโปร่ง มาเย็บหุ้มดวงดาราและเหรียญตราเครื่องราชอิสริยาภรณ์ท่ีจะ ประดับกายด้วย ในปจั จบุ นั นย้ี กเลิกธรรมเนยี มนแ้ี ลว้ เหลอื แตใ่ ช้แถบผา้ ด�ำพันตน้ แขนเสอ้ื ข้างซา้ ย เป็นการแสดงการเข้าทุกข์ใหญเ่ ทา่ น้นั (สมั ภาษณ์เมื่อ ๘ มีนาคม ๒๕๖๐) นอกจากเครือ่ งแบบแล้ว เครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลต่างๆ และการประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ยังได้รับการก�ำหนด แบบแผนเพอื่ ใชใ้ หเ้ หมาะกบั งานพระราชพธิ พี ระบรมศพและพระศพอกี ดว้ ย ตวั อยา่ งเชน่ เครอ่ื งราช อิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ จะถูกก�ำหนดว่าไม่สามารถประดับอิสริยยศ ในงานอวมงคลได้ เป็นต้น ในคราวงานพระศพสมเด็จพระเจ้าพ่ียาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลานครนิ ทร์ เมอ่ื พ.ศ.๒๔๗๒ นน้ั พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงเครอ่ื งแบบ 171เสดจ็ สูแ่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอื่ ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

ทหารเรือถวายแด่พระศพสมเด็จพระเจ้าพ่ียาเธอ เม่ือเก็บพระอัฐิทรงพระภูษาขาวอันแสดงถึง ความสัมพันธ์ของพระองค์ท่ีทรงตระหนักถึงพระเชษฐา โดยทรงประดับเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ สายสะพายมหาวชิรมงกุฎ (ราชกิจจานเุ บกษา ๒๔๗๒: ๔๖๐๘) ดงั นนั้ อาจกลา่ วไดว้ า่ เครื่องราช อิสริยาภรณ์จึงไม่ได้เป็นแค่เคร่ืองบอกชั้นยศเท่านั้นหากยังสัมพันธ์กับความเช่ือด้านความเป็น มงคลและการให้เกยี รติกับผูว้ ายชนมอ์ กี ด้วย จะเห็นได้ว่า การแต่งกายในงานศพและไว้ทุกข์ในราชส�ำนักสยามถูกก�ำหนดจนเป็น แบบแผนอยา่ งจรงิ จงั นบั ตงั้ แตร่ ชั กาลท่ี ๖ เปน็ ตน้ มา โดยมรี ากฐานและวธิ คี ดิ ทไี่ ดร้ บั มาจากตะวนั ตก อย่างไรก็ดี ธรรมเนียมการแต่งกายไว้ทุกข์นี้มีการเปล่ียนแปลงครั้งส�ำคัญอีกคร้ังและลงสู่ระดับ ประชาชนทุกหมู่เหล่าเมื่อคณะรัฐมนตรีในสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม ได้ประกาศระเบียบ การแต่งกายไวท้ กุ ข์ในงานศพ พ.ศ.๒๔๘๔ (สำ� นักงานเสริมสรา้ งเอกลกั ษณข์ องชาติ ๒๕๔๓ : ๓๕๒) โดยมหี ลักการอยา่ งย่นยอ่ คอื ข้าราชการใหแ้ ตง่ เครือ่ งแบบตามหมายรับสัง่ ของพระราชวัง โดยให้ใช้ ผา้ สดี ำ� พนั แขนเสอื้ เบอ้ื งบน สว่ นพสกนกิ รใหแ้ ตง่ ชดุ ดำ� ลว้ น ซง่ึ แบบแผนดงั กลา่ วนย้ี งั คงใชส้ บื ตอ่ มา จนถึงปจั จบุ ัน การยงิ สลตุ ถวายความเคารพแด่พระบรมศพ ในงานพระราชพธิ พี ระบรมศพ ทหารบกและทหารเรอื จะทำ� การยงิ สลตุ (ปนื ใหญ)่ เพอ่ื เปน็ การถวายความเคารพแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระบรมราชินีด้วย ถือเป็น แบบแผนธรรมเนียมจากตะวันตกอีกอย่างหน่ึงท่ีปรากฏในงานพระราชพิธีพระบรมศพ/พระศพ ของสยาม ซงึ่ เร่ิมต้นปฏบิ ัติกันในสมัยรชั กาลท่ี ๕ ดังเหน็ ไดจ้ ากในคราวงานพระบรมศพรัชกาลท่ี ๕ นับแต่การถวายน�้ำสรงพระบรมศพ จนกระทั่งกระบวนอัญเชิญพระบรมศพสู่พระบรมมหาราชวัง ประดษิ ฐานในพระโกศทองใหญ่ ทหารไดย้ งิ สลตุ ถวาย ใน จดหมายเหตงุ านพระบรมศพ รชั กาลท่ี ๕ บนั ทึกไวว้ า่ “เม่ือเวลาถวายน�้ำสรงพระบรมศพแตเ่ วลาบ่าย ๔ โมงเศษนนั้ กรมทหารบก ทหารเรอื ยิงปืนใหญ่ถวายค�ำนับทุกนาทีตลอดมาจนเชิญพระบรมศพเข้าสู่พระบรมมหาราชวังประดิษฐาน บนพระที่น่ังดุสิตมหาปราสาทเสร็จแล้ว เวลา ๔ ทุ่มเศษจึงหยุดยิงปืนใหญ่” (ยิ้ม ปัณฑยางกูร ๒๕๓๕: ๖๓) เชน่ เดยี วกับบนั ทึกส่วนพระองค์ของรัชกาลที่ ๖ ไดก้ ล่าวถงึ การยงิ สลตุ ของฝา่ ยทหาร “ทหารบกได้ยิงปืนใหญ่นาทีละนัดตั้งแต่ลงมือสรงพระบรมศพ, จนกระบวนเข้าไปถึงในพระบรม มหาราชวงั , คอื เวลา ๙ นาฬกิ าเศษหลงั เทยี่ ง” (ราม วชริ าวธุ ๒๕๕๗: ๕๓) เหตทุ ที่ หารทำ� การยงิ สลตุ ถวายพระเกียรติยศแด่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้นเพราะถือว่าพระองค์ทรงด�ำรง พระสถานะเป็นจอมทัพไทย นอกจากน้แี ลว้ ในการถวายพระเพลิงพระบรมศพ ทหารเรอื และทหารบกจะจัดแถวทหาร ยงิ สลตุ ถวายพระบรมศพอีกดว้ ย ซง่ึ เรมิ่ ตน้ ขน้ึ ในสมยั รชั กาลท่ี ๕ เชน่ กนั ดงั เห็นไดจ้ ากในการถวาย พระเพลงิ พระบรมศพสมเดจ็ พระศรพี ชั รนิ ทราบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง “จงึ โปรด เกล้าฯ ให้เชิญพระบรมศพลงจากที่ประดิษฐาน เจ้าพนักงานประโคมสงั ข์แตรกลองชนะ ทหารเรือ ยิงปืนใหญ่ทุกนาทีเสมอไป...” (ราชกิจจานุเบกษา ๒๔๖๓: ๖๕๐) นอกจากน้ีแล้วยังพบว่าหาก เจ้านายพระองค์ใดท่ีเคยรับราชการทหารก็จะมีการยิงสลุตให้เช่นกัน ตัวอย่างเช่นในงานพระศพ 172 เสดจ็ สู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

สมเด็จพระเจ้าพ่ียาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ ซ่ึงทรงเคยรับราชการ กรมทหารเรอื จงึ ได้มีการยงิ สลตุ ถวาย ด�ำเนนิ การโดยทหารปนื ใหญ่ ๒ กองร้อย ยิงปนื พรอ้ มกัน เป็นกองร้อย กองรอ้ ยละ ๓ คร้งั สลบั กนั (ราชกิจจานเุ บกษา ๒๔๗๒: ๔๖๐๘) หรอื ในคราวทส่ี มเดจ็ พระอนชุ าธริ าช เจา้ ฟา้ จกั รพงษภ์ วู นาถ กรมหลวงพษิ ณโุ ลกประชานาถ เสดจ็ ทวิ งคต ณ ประเทศสงิ คโปร์ ผสู้ ำ� เรจ็ ราชการองั กฤษประจำ� แหลมมลายเู ชญิ พระศพไปตงั้ ทจี่ วน ผสู้ �ำเร็จราชการ และต่อมาอัญเชิญพระศพออกจากสงิ คโปรใ์ นวันท่ี ๑๗ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓ ทาง “ป้อมท่ีเมืองสิงคโปร์ยิงสลุตถวาย ๒๗ นัด” (พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ ๒๕๕๒: ๑๔๘) ซ่ึงสะท้อน ให้เห็นว่าธรรมเนียมนี้ได้ยึดถือปฏิบัติในหมู่ของประเทศต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้แล้ว อันเป็นผลมาจากการเข้ามาของอาณานิคมตะวนั ตก สลุตมรี ากศพั ทม์ าจากคำ� ว่า “Salutio” (ซัล-ลูท-ทิ-โอ) แปลวา่ การท�ำความเคารพ ที่มา ท่ีไปของธรรมเนยี มการยิงสลุต (Gun salute) เพ่ือแสดงความเคารพน้มี ีก�ำเนิดจากธรรมเนียมของ ทหารเรือในการเดินเรือระหว่างชาติ ท�ำให้เรือต้องเตรียมพร้อมต่อสู่กับโจรสลัดอยู่เสมอ ปืนใหญ่ จงึ ตอ้ งบรรจกุ ระสนุ คาปากกระบอกปนื เอาไว้ ดงั นน้ั เมอื่ เรอื ไดเ้ ดนิ ทางไปถงึ ปลายทางยงั มติ รประเทศ แล้วจ�ำเป็นจะต้องแสดงความบริสุทธิ์ใจว่ามิได้มีประสงค์ร้าย จึงยิงลูกปืนออกไปเพื่อให้ลูกกระสุน ไม่ค้างกระบอกปืน ซึ่งป้อมหรือเรือของเจ้าของน่านน้�ำจะยิงสลุตตอบเช่นกัน และสื่อถึงการให้ ความเคารพอย่างสูงและความเช่ือใจเช่นกัน ต่อมาการยิงสลุตจึงได้ถูกประยุกต์ใช้กับการแสดง ความเคารพประมขุ ของประเทศ ชาติ ธง หรือบคุ คลสำ� คญั โดยปนื ใหญ่ท่ีใช้ยงิ จะบรรจเุ พยี งดินด�ำ หรือดินไม่มีควัน มีจ�ำนวนนัดที่ยิงเป็นเกณฑ์ตามควรแก่เกียรติยศของบุคคลหรือสิ่งที่ควรได้รับ ความเคารพ การพฒั นาระบบจำ� นวนของการยิงเริ่มตน้ ข้ึนในอังกฤษ (ทวีวฒุ ิ พงศพ์ ิพฒั น์ ๒๕๕๕: ๑๘-๒๓) โดยนายซามูเอล พพิ ส์ (Samuel Pepys) ทหารเรืออังกฤษ ซงึ่ ได้ก�ำหนดจ�ำนวนลูกปืน ทใี่ ช้ยิงเพื่องานพิธตี ่างๆ แตส่ ำ� หรับงานศพจะยิงในจ�ำนวนที่มากเปน็ พเิ ศษ สยามเองรจู้ กั การยงิ สลตุ เพอื่ แสดงความเคารพตอ่ เรอื ของคณะทตู านทุ ตู ตา่ งชาตนิ บั ตง้ั แต่ สมยั อยธุ ยา เทา่ ทมี่ หี ลกั ฐานปรากฏเรมิ่ ตน้ ในรชั สมยั สมเดจ็ พระเจา้ ปราสาททองเปน็ ครง้ั แรกเมอื่ รบั พระราชสาสน์ของเจ้าชายแห่งออเรนจ์ ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ และได้รับการร้ือฟื้นอีกคร้ัง ในสมยั รตั นโกสนิ ทรเ์ มอ่ื รชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั เพอื่ รบั มสิ เตอรโ์ จเซฟ บสั เลสเตยี ทูตอเมริกันซ่ึงเข้ามาเจริญทางพระราชไมตรีเม่ือ พ.ศ.๒๓๙๓ ด้วยการยิงสลุตเป็นสัญลักษณ์ของ การแสดงความเคารพและสญั ลกั ษณข์ องทหารทำ� ใหท้ างกองทพั และราชสำ� นกั สยามไดน้ ำ� มาประยกุ ต์ ใช้ในงานพระบรมศพ และจงึ ต้องมีการออกกฎเกณฑเ์ ร่ืองการยิงสลุตดว้ ยเชน่ กัน ประเภทของสลตุ ที่ยิงในงานพระบรมศพนี้จะเรียกว่า สลุตหลวง ปกติการยิงสลุตหลวงจะเป็นการถวายความค�ำนับ ตอ่ พระเจา้ อยหู่ วั เมอื่ เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ในการใดๆ ซง่ึ มกี ารแตง่ กายเตม็ ยศ กำ� หนดใหย้ งิ เพอ่ื ถวาย ค�ำนับธงมหาราชใหญ่ และอ่ืนๆ และยิงเพื่อเฉลิมพระเกียรติในวันพระราชสมภพ วันฉัตรมงคล โดยยิงจ�ำนวน ๒๑ นัด ยกเว้นสลุตหลวงพิเศษจะมีการยิง ๑๐๑ นัด สว่ นสลตุ แบบอืน่ ไดแ้ ก่ สลุต ขา้ ราชการ และสลตุ นานาชาติ จะไมข่ อกลา่ วถงึ ในทน่ี ี้ (ทววี ฒุ ิ พงศพ์ พิ ฒั น์ ๒๕๕๕: ๑๘-๒๓; จนิ ตนา กระบวนแสง ๒๕๒๐) 173เสด็จสแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

กองพนั ทหารปืนใหญท่ ่ี ๑ รกั ษาพระองค์ (ป.พัน ๑ รอ.) กำ� ลงั ยงิ สลุตถวายพระบรมศพ ในหลวงรชั กาลที่ ๙ (ทม่ี า: ไทยรฐั ออนไลน์: http://www.thairath.co.th/gallery/16782) ด้วยเหตุน้ี การยิงสลุตถวายพระบรมศพจึงกลายเป็นธรรมเนียมที่ใช้ต่อเน่ืองนับต้ังแต่ พระราชพิธีพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา กระทั่งในระหว่าง ถวายน้�ำสรงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ภูมิพลอดลุ ยเดช ในวันท่ี ๑๔ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๙ กองทัพไทยไดจ้ ัดปืนใหญ่ยิงสลุตเพ่อื ถวายพระเกียรติแดพ่ ระองคใ์ นฐานะจอมทพั ไทย “ยอ่ ใหพ้ ธิ ีการเลก็ ลง...แตท่ นั สมยั ” ภายใต้โลกทัศน์แบบสมยั ใหม่ จารีตประเพณที ีส่ ืบมาแต่โบราณบางอย่างถูกนยิ ามวา่ เปน็ ความไม่ทันสมัย ท�ำให้ประเพณีและธรรมเนียมปฏิบัติต้องมีการปรับเปล่ียนให้ดูร่วมสมัยมากข้ึน แต่ขณะเดียวกันก็ต้องสะท้อนความมีอารยธรรมไปพร้อมกัน ดังจะเห็นได้จากในงานพระราชพิธี ถวายพระเพลิงพระบรมศพ สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ในหนงั สอื พิมพ์ กรุงเทพฯ เดลิเมล์ ฉบบั วันพุธที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๔๖๓ ลงขา่ วว่า “[มี]การย่อ ให้พิธีการเล็กลงกว่าริ้วกระบวนของสมเด็จพระปิยมหาราชเจ้า แต่ทันสมัยกว่า เพราะเป็นสมัย รัชกาลที่ ๖ ใช้ทหารในเครื่องแบบเต็มยศ คณะสภากาชาดและโรงเรียนราชินีแทนเทวดาเดินดิน แบบถ่ายทอดจากสมยั อยุธยา ประกอบท้งั ในสมยั น้ันยังนยิ มรถเทียมม้าแบบยุโรป พระบาทสมเด็จ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั จงึ ประทบั รถมา้ พระทน่ี ง่ั ตามพระบรมศพพรอ้ มดว้ ยรถมา้ ของพระบรมวงศา นวุ งศอ์ กี หลายคัน นับว่าเปน็ ภาพท่งี ดงามมาก” (สมภพ ภิรมย์ ๒๕๒๘ : ๒๔๓) สิ่งท่ีอยากให้เห็นสังเกตก็คือ “กระบวน” (ขบวน) ในพระราชพิธีพระบรมศพนี้ถือได้ว่า เป็นกระบวนทางโลก (secular) ผสมกันกบั ร้วิ กระบวนทางศาสนา (religion) กล่าวคือ เดมิ ทใี น กระบวนจะประกอบดว้ ยรวิ้ ของทหาร ขา้ ราชบรพิ าร เทวดาคแู่ ห่ รปู สตั วห์ มิ พานตต์ ง้ั บษุ บกไตรสงั เคด็ แหเ่ ป็นคู่ๆ กระบวนหนา้ ๓๐ คู่ กระบวนหลัง ๑๐ คู่ เป็นตน้ แตน่ บั จากสมัยรชั กาลท่ี ๕ เป็นตน้ มา จะสงั เกตได้ถงึ กระบวนส่งเสด็จของสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนพี นั ปี หลวงมคี ณะสภากาชาดและโรงเรียนราชินีเข้ารว่ มดว้ ย 174 เสดจ็ สู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

๗ กระบวนเชญิ พระบรมศพสมเด็จพระศรพี ัชรนิ ทรา บรมราชินีนาถ ประกอบดว้ ยขา้ ราชบรพิ าร และทหารพลลากจงู ราชรถ (ท่มี า: แนง่ น้อย ศกั ดศ์ิ รี และคณะ ๒๕๕๕: ๗๘-๗๙) ท้ังน้ีเป็นเพราะสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงอุปถัมภ์สภากาชาดสยามในต�ำแหน่งสภานายิกา และโรงเรียนราชินี จึงได้มีกระบวนท้ังสอง ซ่ึงแห่ร่วมกับฝ่ายใน นอกจากน้ีแล้ว ในริ้วกระบวนรถม้าพระท่ีน่ังมีพระราชโอรสสองพระองค์คือ สมเดจ็ พระเจ้านอ้ งยาเธอ เจา้ ฟา้ กรมขุนเพชรบูรณ์อนิ ทราชัย และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจา้ ฟ้า กรมขุนสุโขทัยธรรมราชา ทรงประคองพระโกศเบ้ืองหน้าและเบ้ืองหลัง พระวรวงศ์เธอ กรมหม่ืน ชินวรสิริวัฒน์ ทรงพระเสลี่ยงกงอ่านพระอภิธรรมน�ำพระบรมศพ ตั้งริ้วกระบวนพยุหยาตราไปยัง วัดพระเชตพุ น ซึง่ ณ ทนี่ ั่นเจา้ นายฝ่ายหนา้ ลำ� ดบั พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ พระเจ้าพ่ียาเธอ และพระเจ้า นอ้ งยาเธอ กบั สตรบี รรดาศกั ดขิ์ า้ ราชการในพระราชสำ� นกั และขา้ หลวงเดนิ ตามกระบวนพระบรมศพ (ราชกจิ จานเุ บกษา ๒๔๖๓: ๖๕๐) ความจริงแล้ว การปรับเปล่ียนเน้ือหาในรูปแบบกระบวนนี้เริ่มต้นมาต้ังแต่ในพระราชพิธี ถวายพระเพลงิ พระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เปน็ ชว่ งเวลาทไ่ี ดเ้ รมิ่ เปลยี่ นแปลง กระบวนแห่ให้เป็นสากล โดยเปล่ียนจากสัตว์หิมพานต์เป็นกระบวนแถวข้าราชการทหารเพ่ือ เฉลิมพระเกียรติยศ ดงั ความวา่ “ส่วนกระบวนแห่น้ันก็ควรแกไ้ ข เช่น รูปสตั วไ์ ม่ควรมเี ทวดาคแู่ ห่ ควรเปลี่ยนเป็นทหาร เทวดาคู่เคียงควรให้เจ้านายเป็นคู่เคียง และควรให้เจ้านายและข้าราชการ ทม่ี สี ญั ญาบตั รเขา้ กระบวนแห่ เปน็ ตน้ ” (รายงานเสนาบดสี ภา ๒๘ พฤศจกิ ายน ร.ศ. ๑๒๙ ใน สมภพ ภิรมย์ ๒๕๒๘ : ๑๘๐) และยังมีการเพิม่ เติมเครือ่ งสังเคด็ เพือ่ ถวายพระอารามและพระราชทานแก่ สาธารณะกศุ ลอกี ดว้ ย (สมภพ ภิรมย์ ๒๕๒๙) 175เสด็จสแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

ในอีกแง่มุมหน่ึงท่ีน่าสนใจด้วยก็คือ นับต้ังแต่สมัยรัชกาลที่ ๕ น้ีเองท่ีทหารจะเข้ามามี บทบาทสูงขึ้นในกระบวนแห่พระบรมศพ ซ่ึงจะเห็นได้จากที่ในสมัยรัชกาลท่ี ๖ ทรงได้ก�ำหนด แบบแผนการอญั เชญิ พระบรมศพของพระองคเ์ องใหเ้ ปน็ แบบทหาร เพราะในทศั นะของพระองคแ์ ลว้ นอกจากจะมีความเป็นสากลมากข้ึนแล้ว ยังมีพระราชประสงค์ให้ประหยัดค่าใช้จ่ายของราชการ ไมต่ อ้ งกะเกณฑแ์ รงงานมากนกั เพราะอาศยั กำ� ลงั พลทหารทมี่ อี ยใู่ นกองทพั ซงึ่ ถกู ฝกึ หดั ระเบยี วนิ ยั ต่างๆ เป็นพ้ืนฐาน การปรับเปลี่ยนกระบวนแห่พระบรมศพและพระศพจากในสมัยรัชกาลที่ ๖ กลายเป็นธรรมเนียมทใ่ี ช้ต่อเน่อื งมาถงึ ปัจจุบนั นอกจากรปู แบบของกระบวนแหแ่ ลว้ เพอื่ ใหบ้ รรยากาศของงานพระบรมศพมคี วามรว่ มสมยั แบบตะวันตก ในการถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรม ราชชนนพี นั ปหี ลวง เมอ่ื พ.ศ.๒๔๖๓ นน้ั สมเดจ็ ฯ เจา้ ฟา้ บรพิ ตั รสขุ มุ พนั ธ์ กรมพระนครสวรรคว์ รพนิ ติ จึงได้ทรงน�ำ “เพลงพญาโศก” ซ่ึงเป็นเพลงท�ำนองเก่าอัตราสองชั้นมาดัดแปลงให้เป็นเพลงโศก ท�ำนองตะวันตก เดินจังหวะช้าแบบสโลว์มาร์ช (slow march) เพ่ือใช้ส�ำหรับบรรเลงน�ำกระบวน พระบรมศพ ตามอยา่ งที่ชาวยุโรปนิยมใช้ในงานศพ ซ่งึ เรยี กว่า “Funeral March” ดงั ปรากฏใช้ ในงานพระบรมศพของพระราชนิ นี าถวกิ ตอเรยี ความไพเราะเหมาะสมของเพลงนี้ พระบาทสมเด็จ พระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ถึงกับทรงตรัสชมเชยว่า มีท่วงท�ำนองท่ีระคนด้วยความโศกเศร้าแต่ก็ ผสมผสานด้วยความสง่างาม ให้อารมณ์เป็นเพลงตามแบบฉบับที่ชาวยุโรปนิยมใช้กัน สมกับท่ี จะเปน็ เพลงสำ� หรบั กระบวนแหศ่ พประจำ� ชาติ (สมภพ ภริ มย์ ๒๕๒๙) ดงั นน้ั การจดั กระบวนโดยมที ง้ั ข้าราชบริพาร ทหาร และวงดนตรีสมัยใหม่น้ีคงได้รับต้นแบบจากงานพระบรมศพของสมเด็จ พระราชนิ ีนาถวิกตอเรียเมือ่ ค.ศ.๑๙๐๑ เช่นกนั ราชรถปืนใหญ่ พระเกียรตยิ ศอยา่ งทหาร จะเห็นได้ว่า นับแต่รัชกาลท่ี ๖ ความเป็นทหารได้กลายเป็นองค์ประกอบส�ำคัญของงาน พระราชพธิ พี ระบรมศพและพระศพ ดว้ ยเหตนุ ท้ี ำ� ใหไ้ ดเ้ กดิ แนวคดิ ในการใชร้ าชรถทมี่ รี ปู แบบคลา้ ยกบั รถปืนใหญด่ ว้ ย ซึ่งเรยี กวา่ “ราชรถปนื ใหญ่รางเกวยี น” โดยมหี นา้ ทเี่ วยี นอัตราวฏั รอบพระเมรมุ าศ ๓ รอบ แทนพระยานมาศสามล�ำคานตามแบบธรรมเนยี มดั้งเดิม แนวคิดในการใชร้ าชรถปนื ใหญน่ ้ี เริ่มต้นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.๒๔๕๙ (ราชกิจจานุเบกษา ๒๔๕๙: ๗๐๓) แต่ใช้ส�ำหรับพระบรมศพ พระมหากษตั รยิ ์พระองค์แรกคอื พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจา้ อยหู่ วั ซงึ่ พระองคท์ รงรับส่ังไว้ กอ่ นสวรรคตวา่ ขอใหจ้ ดั แตง่ รถปนื ใหญเ่ ปน็ รถพระบรมศพ เพราะขา้ พเจา้ เปน็ ทหาร อยากใครเ่ ดนิ ทาง สุดท้ายนี้อยา่ งทหาร” (ย้มิ ปัณฑยางกูร และคณะ ๒๕๒๘ : ๒๕๘) อย่างไรก็ตาม น่าสังเกตด้วยว่า ในงานพระบรมศพสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเมื่อ ค.ศ.๑๙๐๑ (พ.ศ.๒๔๔๔) หบี พระบรมศพของพระองคก์ ว็ างบนรถปนื ใหญ่ (gun carriage) เชน่ กนั ๑ ดงั นนั้ ๑ ขอใหด้ ภู าพเคลอ่ื นไหวงานพระบรมศพของสมเดจ็ พระราชนิ นี าถวกิ ตอเรยี ไดท้ ว่ี ดี โี อชอื่ Queen Victoria's Funeral (1901) Available at: https://www.youtube.com/watch?v=t9yiG3EUz_A 176 เสด็จสู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอื่ ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

อาจกลา่ วไดว้ า่ แนวคดิ ในการใชร้ าชรถปนื ใหญ่ของราชสำ� นกั สยามน้ันไดร้ ับต้นแบบมาจากแนวคดิ ๗ ของอังกฤษเช่นกนั ธรรมเนยี มการแหพ่ ระโกศบรมศพและพระศพ โดยรถปนื ใหญย่ งั เหน็ ไดจ้ ากในงานพระศพ สมเดจ็ พระอนชุ าธริ าช เจา้ ฟา้ จกั รพงษภ์ วู นาถ กรมหลวงพษิ ณโุ ลกประชานาถ ตามทก่ี ลา่ วไปบา้ งแลว้ วา่ พระองคเ์ สดจ็ ทวิ งคตทปี่ ระเทศสงิ คโปร์ ในครงั้ นนั้ ผสู้ ำ� เรจ็ ราชการองั กฤษประจำ� แหลมมลายยู งั ได้ ถวายเกยี รตยิ ศ โดยมที หารราบองั กฤษตง้ั แถวรายทางจากจวนผสู้ ำ� เรจ็ ราชการไปจนถงึ สถานรี ถไฟ มรี ถปนื ใหญบ่ รรจุหีบพระศพ ซงึ่ มธี งชาตสิ ยามคลมุ โดยมเี มอื่ ทางฝ่ายสยามไปถงึ ผูส้ �ำเร็จราชการ เดินตามพระศพพร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนสุโขทัย ธรรมราชา (ต่อมาคอื รชั กาลที่ ๗) และพระเจา้ วรวงศ์เธอ พระองคเ์ จ้าจุลจักรพงษ์ พระโอรส ไดน้ ำ� พระศพกลบั มายงั ประเทศสยามโดยทางรถไฟ เมอื่ “กระบวนรถไฟพระศพไดไ้ ปพบกบั กระบวนของ เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี ที่หาดใหญ่ จึงได้เชิญพระศพออกจากหีบ เข้าพระโกศพระราชทาน พระโกศทองนอ้ ย... พระเมรนุ น้ั มที ที่ อ้ งสนามหลวง เสดจ็ ปนู่ รศิ ทรงออกแบบอกี ครงั้ หนงึ่ กระบวนแหน่ นั้ ยดื ยาวมาก มีกองพลทหารรักษาพระองค์ ทหารม้าพิษณุโลก ซ่งึ พอ่ เป็นผ้บู งั คบั การพเิ ศษ เสือป่า ม้าหลวงและเสือป่าพิษณุโลก ซ่ึงพ่อเป็นนายทหารพิเศษ พระโกศทองใหญ่ที่พระราชทานในวัน พระเมรุนั้น ต้งั บนรถปืนใหญ่ มีทูลหม่อมป่นู อ้ ย ทลู หมอ่ มอาทัง้ สามพระองค์ กบั ทูลหม่อมอาแดง ทรงพระดำ� เนนิ ตามพระศพกบั ข้าพเจา้ ...” (พระองคเ์ จ้าจลุ จักรพงษ์ ๒๕๕๔: ๑๕๐-๑๕๑) ภาพวาดราชรถปนื ใหญอ่ ญั เชญิ พระโกศพระศพสมเดจ็ พระอนชุ าธริ าช เจา้ ฟา้ จกั รพงษภ์ วู นาถ กรมหลวงพษิ ณโุ ลกประชานาถ ฝพี ระหตั ถส์ มเดจ็ ฯ เจา้ ฟา้ กรมพระยานรศิ รานวุ ดั ตวิ งศ์ ปจั จบุ นั จดั แสดง ณ พระราชวงั สนามจนั ทร์ จงั หวดั นครปฐม 177เสด็จสู่แดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

รถปนื ใหญร่ างเกวียนประดิษฐานพระโกศพระบรมศพรชั กาลท่ี ๖ กำ� ลงั เวียนอัตราวฏั รอบพระเมรุมาศ (ท่ีมา: แน่งนอ้ ย ศักดศ์ิ รี และคณะ ๒๕๕๕: ๑๘๒) นบั จากรชั กาลที่ ๖ เปน็ ตน้ มาการออกพระเมรพุ ระศพของบรรดาพระบรมวงศานวุ งศท์ เ่ี ปน็ ทหารไดจ้ ะโปรดเกลา้ ฯ ใหอ้ ญั เชญิ พระโกศโดยราชรถปนื ใหญ่ เชน่ งานพระเมรุ สมเดจ็ พระอนชุ าธริ าช เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุฒิ กรมหลวงนครราชสีมา และต่อมาทรงระบุไว้ในในพระราชพินัยกรรม ส่วนพระองค์ ข้อที่ ๑๑ ระบุว่า “ในการแห่พระบรมศพตั้งแต่พระท่ีน่ังดุสิตมหาปราสาทไปถึง วดั พระเชตพุ นใหใ้ ชพ้ ระยานมาศตามประเพณี จากวดั พระเชตพุ นไปพระเมรขุ อใหจ้ ดั แตง่ รถปนื ใหญ่ เปน็ รถพระบรมศพ เพราะขา้ พเจา้ เปน็ ทหาร อยากจะใครเ่ ดนิ ระยะทสี่ ดุ นอ้ี ยา่ งทหาร” (สมภพ ภริ มย์ ๒๕๒๘: ๒๕๖) แต่เม่ือถึงงานพระเมรุมาศพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ จัดการพระบรมศพตามพระบรมราชโองการเป็นส่วนมาก แต่จะมีทรงเปล่ียนแปลงบ้างก็เฉพาะที่ขัดกับโบราณราชประเพณีเท่าน้ัน จึงอัญเชิญพระบรมศพ ช่วงระหว่างจากวัดพระเชตุพนสู่ท้องสนามหลวงโดยพระมหาพิชัยราชรถ ครั้นถึงพระเมรุมาศ จงึ ให้เชิญพระโกศพระบรมศพเล่ือนลงทางเกรินสูร่ าชรถปนื ใหญ่รางเกวียน ทหารรักษาวังฉดุ เชอื ก ชกั ราชรถเวยี นพระเมรุ แตใ่ นการเวียนพระเมรมุ าศตามพระราชประสงค์ของสมเด็จพระบรมเชษฐา ธิราช (สมภพ ภิรมย์ ๒๕๒๘: ๒๕๗) 178 เสด็จส่แู ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

อญั เชิญพระโกศพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวอานันทมหดิ ล รัชกาลที่ ๘ จากราชรถปืนใหญ่ขึน้ เกรนิ ประดษิ ฐาน ณ พระเมรุมาศ เมอ่ื วันที่ ๒๙ มนี าคม พ.ศ.๒๔๙๓ (ทม่ี า: หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาติ: NAT-P000809. ภ.๐๐๓ หวญ. ๓๐/๗/๗๔) แบบราชรถปนื ใหญ่อัญเชญิ พระโกศพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช ออกแบบโดย นายชนะโยธิน อปุ ลักษณ์ นายชา่ งศิลปกรรม กล่มุ งานชา่ งเขยี นและชา่ งลายรดน�้ำ ส�ำนกั ชา่ งสบิ หมู่ กรมศิลปากร (ที่มา: ส�ำนกั หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาติ https://www.facebook.com/NationalArchivesofThailand) 179เสด็จสแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชือ่ ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

ในงานพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล พ.ศ.๒๔๙๓ พระโกศถูก อัญเชิญจากพระมหาพิชัยราชรถขึ้นประดิษฐานบนรถบุษบกในรถปืนใหญ่ซ่ึงถอดปืนออกแล้ว เพื่อใช้แห่เวียนรอบพระเมรุมาศโดยอุตราวัฏ ในปีเดียวกันทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แปลงพระ เมรุมาศรัชกาลที่ ๘ เพ่ือใชเ้ ป็นพระเมรพุ ระราชทานเพลงิ พระศพสมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ เจา้ ฟ้า กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ซ่ึงทรงด�ำรงพระยศเป็นพลเอก คร้ังนั้นอัญเชิญพระโกศพระศพจาก วังท่าพระขึ้นรถพระวิมานไปเปลี่ยนกระบวนเป็นรถปืนใหญ่ท่ีหน้าวัดพระเชตุพน มีพระราชาคณะ น่ังราชรถเล็กน�ำกระบวนแล้วเคล่ือนพระโกศสู่พระเมรุท่ีท้องสนามหลวง (เด่นดาว ศิลปานนท์ ๒๕๕๙: ๗๕) สรุป นับตั้งแต่พระราชพิธีพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ราชส�ำนักสยามปรับเปลี่ยนรูปแบบพระราชพิธีพระบรมศพและพระศพจากแบบแผนธรรมเนียม โบราณผสมผสานกบั ความเปน็ สากลมากขนึ้ โดยไดม้ ตี น้ แบบสำ� คญั จากราชสำ� นกั องั กฤษโดยเฉพาะ ในสมัยพระนางเจ้าวิกตอเรีย อาทิเช่น ธรรมเนียมการกราบถวายพระบรมศพท่ีเป็นเปิดโอกาส ให้ประชาชนท่ัวไป การแต่งกายด้วยชุดด�ำเพื่อไปงานศพและไว้ทุกข์ การย่อกระบวนแห่ให้เล็กลง และยังมีกระบวนทหารแทรกเขา้ ไปมากขน้ึ และการใชร้ าชรถที่เปน็ รถปนื ใหญ่ อาจกลา่ วไดว้ า่ การปรบั เปลยี่ นแบบแผนธรรมเนยี มในพระราชพธิ พี ระบรมศพทสี่ อดแทรก ธรรมเนียมตะวันตกเข้าไปน้ันได้สะท้อนว่า สยามต้องการเป็นชาติที่ดูทันสมัย แต่ก็ยังต้องการคง อัตลักษณ์ของตนเองไว้ผ่านพิธีกรรม อาจกล่าวได้ว่า ราชส�ำนักมีความสามารถในการปรับเปลี่ยน ตัวเองสูงและเกิดข้ึนจากกระบวนการภายในไม่ใช่ถูกบีบบังคับจากภายนอก พร้อมทั้งมีลักษณะ ของพธิ ไี วอ้ าลยั ดงั เชน่ ธรรมเนยี มของประเทศในโลกตะวนั ตก เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเปน็ สากลทช่ี าวตะวนั ตก และสอดคลอ้ งกบั รสนยิ มใหมข่ องชนชน้ั นำ� สยามเอง ซง่ึ ไดใ้ ชจ้ นกระทง่ั กลายเปน็ แบบแผนธรรมเนยี ม ท่ีสบื เน่อื งต่อมาจนถึงปจั จุบนั 180 เสดจ็ สูแ่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

รายการอ้างองิ ๗ จินตนา กระบวนแสง. ๒๕๒๐. ประเพณีการยงิ สลุต. กรุงเทพฯ: กรมศลิ ปากร. เด่นดาว ศิลปานนท์. ๒๕๕๙. “ราชรถปืนใหญ่ทรงพระบรมศพ,” วารสารศิลปากร ปีที่ ๕๙ ฉบับที่ ๖ (พ.ย.-ธ.ค.). ทวีวุฒิ พงศ์พิพัฒน์. ๒๕๕๕. “ประเพณีการยิงสลุตกับการสวนสนามทางเรือ,” นาวิกศาสตร์. ปีท่ี ๙๕ เล่มที่ ๗ (ก.ค.), น. ๑๘-๒๓. ไทยรฐั ออนไลน.์ ๒๕๕๙. ไพรฟ่ า้ ทวั่ หลา้ รว่ มเฝา้ ฯ รบั เสดจ็ ขบวนพระบรมศพ. Available at: http://www. thairath.co.th/gallery/16782 [สืบค้นเมอ่ื : ๑๔ ต.ค. ๒๐๑๖]. ธงชยั วนิ จิ จะกลู . ๒๕๔๖. “ภาวะอยา่ งไรหนอทเ่ี รยี กวา่ ศวิ ไิ ลซ์ เมอื่ ชนชน้ั นำ� สยามสมยั รชั กาลที่ ๕ แสวงหา สถานะของตนเอง ผ่านการเดินทางและพิพิธภัณฑ์ท้ังในและนอกประเทศ,” รัฐศาสตร์สาร. คณะรฐั ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร.์ ปที ี่ ๒๔, เล่มที่ ๒. นนทพร อยู่มั่งมี และธัชชัย ยอดพิชัย. ๒๕๕๑. ธรรมเนียมพระบรมศพและพระศพเจ้านาย. กรุงเทพฯ: มติชน พระองคเ์ จา้ จลุ จักรพงษ,์ พระเจา้ วรวงศเ์ ธอ. ๒๕๕๒. เกดิ วังปารสุ ก์ ฉบับ ๑๐๐ ปจี ลุ จักรพงษ.์ กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั สำ� นักพมิ พ์ริเวอร์ บคุ๊ ส์ จำ� กัด. พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์, พระเจ้าวรวงศ์เธอ. ๒๕๕๔. เกิดวังปารุสก์ สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์สมัย ประชาธิปไตย. พิมพค์ รั้งที่ ๑๔. กรงุ เทพฯ: ริเวอร์บคุ๊ ส.์ พูนพศิ มัย ดิศกุล, หม่อมเจ้า. ๒๕๑๘. สารคดีท่นี า่ รู้. กรุงเทพฯ: คลงั วิทยา. ยิ้ม ปัณฑยางกรู และคณะ. ๒๕๒๘. งานพระเมรมุ าศสมัยกรุงรัตนโกสนิ ทร์. กรงุ เทพฯ: กองวรรณคดีและ ประวตั ศิ าสตร์ กรมศิลปากร. ยมิ้ ปัณฑยางกูร. ๒๕๓๕. จดหมายเหตงุ านพระบรมศพ รัชกาลท่ี ๑–รชั กาลที่ ๗ และจดหมายเหตพุ ระราช พธิ ลี งสรง. พมิ พ์ครั้งที่ ๒. กรงุ เทพฯ: เมฆาเพรส. ราชกิจจานุเบกษา. ๒๔๕๙. “การพระเมรวุ ัดเบญจมบพิตรดุสติ วนาราม,” เลม่ ๓๓, ตอน ง (๒๕ มถิ ุนายน ๒๔๕๙): น. ๖๙๙ – ๗๑๙. ราชกิจจานุเบกษา. ๒๔๖๓. “ร้ิวกระบวนแห่พระบรมศพสมเด็จพระศรีพัชรินทรไปสู่พระเมรุมาศ,” เล่มท่ี ๓๗, วนั ท่ี ๓๐ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๖๓, น. ๖๕๐ ราชกจิ จานเุ บกษา. ๒๔๗๒. “การพระเมรทุ อ้ งสนามหลวง พระราชทานเพลงิ พระศพ สมเดจ็ พระเจา้ พยี่ าเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร,” เล่ม ๔๖, วนั ที่ ๓๐ มีนาคม พ.ศ.๒๔๗๒, น. ๔๖๐๘ ราม วชริ าวุธ. ๒๕๕๗. ประวัตติ ้นรัชกาลท่ี ๖. พิมพ์คร้ังท่ี ๖. กรุงเทพฯ: มติชน. สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์, ๒๕๕๑. “อันเนื่องด้วยความตาย”, ใน สูจิบัตรเน่ืองในงาน สปั ดาห์ สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ, ระหวา่ งวนั ที่ ๒๑-๒๗ มถิ นุ ายน ๒๕๕๑. กรงุ เทพฯ: คณะโบราณคดี มหาวิทยาลยั ศิลปากร. สมภพ ภิรมย์, นาวาเอก. ๒๕๒๘. พระเมรุมาศ พระเมรุ และเมรุ สมัยกรุงรัตนโกสินทร์. พิมพ์ครั้ง ที่ ๒. กรงุ เทพฯ: อัมรินทรก์ ารพมิ พ.์ 181เสดจ็ สู่แดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชือ่ ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

สมภพ ภิรมย์, พลเรือตรี. ๒๕๓๙. พระเมรุมาศ พระเมรุ และเมรุ สมัยกรุงรัตนโกสินทร์. พิมพ์ครั้ง ที่ ๓. กรงุ เทพฯ: อมั รนิ ทร์การพิมพ์. ส�ำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ. คณะอนุกรรมการแต่งกายไทย : วิวัฒนาการและเอกลักษณ์ ประจ�ำชาติ. ๒๕๔๓. การแต่งกายไทย : วิวัฒนาการจากอดีตสู่ปัจจุบัน เล่ม ๑. กรุงเทพฯ: สำ� นกั งานเสรมิ สรา้ งเอกลกั ษณข์ องชาต.ิ Bedikian, Sonia A. 2008. “The Death of Mourning: Form Victorian Crepe to the Little Black Dress”, OMEGA. Vol. 57(1) 35-52. 182 เสด็จสู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชือ่ ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

พืน้ิ ทีข่ องพระ ผี ฤาษี และบาทหลวง ๘ ในพิธีกรรมความตายในสังคมไทยจากฉากงานพระศพ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อภิลักษณ์ เกษมผลกูล สาขาวิชาภาษาไทย คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ความน�ำ พิธกี รรมเกย่ี วกับความตาย หรือ งานศพ เปน็ ประเพณีทจ่ี ัดอยใู่ นหมวดประเพณเี ก่ยี วกบั ชวี ติ ถอื เปน็ เรอื่ งสว่ นตวั และครอบครวั ในเวลาเดยี วกนั ถอื เปน็ ชว่ งสดุ ทา้ ยของชวี ติ ในพธิ กี รรมเปลยี่ นผา่ น (Rite of Passage) ของแตล่ ะบคุ คล ภายหลังจากทชี่ วี ิตได้เปลี่ยนผ่านชว่ งวยั ในพิธีเกิด บวช และ แต่งงานแลว้ อยา่ งไรกต็ าม กรณีที่บุคคลทต่ี ายเป็นผปู้ กครองบา้ นเมอื ง พิธกี รรมเกีย่ วกับความตาย จะมใิ ชเ่ รอื่ งสามญั สว่ นตนหรอื ภายในครอบครวั อกี ตอ่ ไป หากแตจ่ ะเปน็ พธิ กี ารของบา้ นเมอื งไปดว้ ย และจดุ หมายของการเดนิ ทางของ “ผีผปู้ กครอง” ย่อมแตกต่างไปจาก “ผีราษฎร” กลา่ วคอื “ผีผู้ ปกครอง” ต้องเป็นสุคติ คือไปดี สู่เมืองสมมติต่างๆ อันเป็นทิพย์ตามความเชื่อของชาวเมืองในยุ คนน้ั ๆ ทำ� ใหเ้ ปน็ เรอ่ื งทตี่ อ้ งเฉลมิ ฉลอง และยกยอ่ งการเดนิ ทางหลงั ความตายนนั้ ดว้ ยมหรสพตา่ งๆ ในขณะที่ “ผีราษฎร” ตอ้ งเดนิ ทางข้ามแมน่ ำ้� ขา้ มสะพาน และเดนิ ทางไปรับ “ค�ำพิพากษา” ซ่ึงไม่ แน่ว่าจะเปน็ แดน “สุคติ” หรอื “ทุคติ” วิธีคิดเรื่องความตายดังกล่าวมาข้างต้นได้สะท้อนผ่านฉากงานพระศพในวรรณคดีนิทาน ของไทยดว้ ยเชน่ กนั เพราะวรรณคดเี ปน็ ผลผลติ ทางความคดิ ของสงั คมในชว่ งเวลานน้ั ๆ ในบทความ นผ้ี เู้ ขยี นจะไดศ้ กึ ษาเฉพาะฉากงานพระศพของตวั ละครทมี สี ถานภาพเปน็ ชนชนั้ สงู เทา่ นนั้ ตวั ละคร ท่เี ปน็ สามญั ชนดังเช่น พระไวย หรอื วนั ทอง จะมิไดน้ �ำมากลา่ วถึง โดยมขี อบเขตการศึกษาเฉพาะ วรรณคดนี ิทานต้ังแตก่ รุงศรีอยุธยาถึงรัตนโกสินทร์ (รัชกาลที่ ๕) โดยแบง่ ประเด็นศึกษาออกเป็น ๓ ประเดน็ โดยในชว่ งแรกเปน็ การใหข้ อ้ มลู พนื้ ฐานจากนน้ั จงึ ทำ� การวเิ คราะหใ์ นหวั ขอ้ ถดั ๆ ไป ดงั นี้ “ลทั ธิพธิ ี” ในฉากงานพระศพท่ีปรากฏในวรรณคดนี ิทานไทย แมค้ วามตายจะเป็นเรื่องสดุ ท้ายในชวี ติ มนษุ ย์ แตฉ่ ากงานพระศพในวรรณคดีนทิ านกลับ ไม่ใช่ตอนสุดท้ายหรือตอนจบของเรื่อง ท้ังนี้เป็นเพราะในวรรณคดีนิทานไทยมักเน้นการจบแบบ 183เสด็จสู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

มีความสุข ตามลกั ษณะของนิทานมหัศจรรย์ (fairy tales) ท่ีมุง่ ตอบสนองใหม้ นษุ ยม์ คี วามหลุดพน้ จากความทุกขห์ รือความไม่สมปรารถนาในสภาพปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม เมอ่ื ไดส้ ำ� รวจและวิเคราะห์ ฉากงานพระศพทป่ี รากฏในวรรณคดนี ทิ านไทยจะพบความแตกตา่ งในแงธ่ รรมเนยี มของการจดั การ พระศพตาม “ลทั ธพิ ธิ ”ี หรือศาสนาและความเชื่อในบรบิ ทตา่ งๆ อยา่ งน่าสนใจ ดังพบความหลาก หลายของลทั ธพิ ธิ ตี า่ งๆ ในฉากงานพระศพ ดงั นี้ ๑. พธิ ีศพแบบ “ศาสนาผ”ี ในวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนต้นเร่ือง ลิลิตพระลอ เป็นวรรณคดีที่เป็นตัวแทนวรรณคดี แนวโศกนาฏกรรมยคุ แรกของไทย โดยกลา่ วถงึ พธิ ศี พของตวั ละครเอกไว้ หากแตไ่ มแ่ สดงการจดั การ ตามธรรมเนียมใดธรรมเนียมหน่ึงอย่างชัดเจน โดยเป็นเพียงการบรรยายถึง “ศพสามกษัตริย์” ทม่ี กี ารแตง่ กายเสยี ใหมแ่ ลว้ มดั “ตราสงั ” นำ� บรรจลุ งใน “โลง” โดยไมม่ กี ารกลา่ วถงึ คตพิ ทุ ธศาสนา จงึ สนั นษิ ฐานวา่ เป็นการท�ำศพแบบผีผสมพราหมณ์ ดงั ตวั อยา่ งนี้ “มี่อึงอรรณพไห้ เมืองหลวงไข้ทุกด้าว สมเด็จท้าวพิไชยพิษณุกร ธให้น�ำ บงั อรราชเทพี ดาราวดเี สดจ็ ไป สคู่ ฤคารลยั พระองค์ ธใหท้ รงศพสามกษตั รยิ ์ จดั สรรพ ภูษา ตราสังท้ังสามพระองค์ ผจงโลงทองหน่ึงใหญ่ ใส่สามกษัตริย์แล้วไส้ ธก็ให้ แต่งโลงหนึ่งแล้ว ใส่ขุนแก้วแลนางรื่น โลงหนึ่งใส่หมื่นขวัญแลนางโรย ท�ำโดยรีด พระศพเสร็จ ธกเ็ สด็จยังปราสาท ให้หาราชศิลปี มีโองการบังคับ ให้สำ� หรบั พระเมรุ เกณฑ์ก�ำหนดทุกกรม ให้แต่งพนมอัฐทิศ พิพิธราชวัติฉัตร กลิ้งกลดธวัชบรรฎาก หลายหลากภาคบษุ บก กระหนกวิหกเหมหงส์ บรรจงภาพจำ� เนียม ลางพนมเทยี ม อสั ดร ลางมกรเทยี มยยบั ประดบั ขบั เขน็ รถ อลงกตคชสาร องลงการคชสหี ์ สารถสี ถติ ชกั รถ ชดกรกระลงึ กมุ แสง รำ� จำ� แทงองอาจ เผน่ ผงาดขบั สารสหี ์ เทยี มนนทรชี ำ� นนั สงึ ห์ ดงึ ไดฉบับจับกนั สรรพอสรุ าสรุ ครุฑ มนุษยภ์ ชุ งค์คนธรรพ์ บรรเขบ็จภาพเรยี งราย ขยายโรงโขนรำ� ทำ� ระทาราวเทยี น โคมเวยี นโคมแวน่ ผจง โคมระหงฉลกั เฉลา เสาโคม เรยี งสลา้ ย เถลิงตา้ ยเตี้ยกำ� แพงก�ำแพง แชลงราชวตั ิชวาลาบูชาศพสามกษัตรยิ ”์ (ลิลติ พระลอ ๒๕๐๘: ๑๔๒) นอกจากนี้ ในบทละครนอกเร่ืองยุขัน ซ่ึงมีมาแต่สมัยอยุธยาตอนปลายและสืบต่อมายัง รัตนโกสินทร์ตอนต้น ได้กลา่ วถึงพิธีพระศพตอน “ปลงศพท้าวปะรังศรี” ก็ไม่ปรากฏการกลา่ วถึง การจดั การพธิ พี ระศพตามธรรมเนยี มหรอื ลทั ธคิ วามเชอ่ื ใดอยา่ งชดั เจน โดยเปน็ การทำ� ศพแบบดง้ั เดมิ คอื การเกบ็ ศพไวใ้ นโกศ ซึ่งสะทอ้ นศาสนาผแี ตด่ ัง้ เดมิ ดงั น้ี “เมือ่ น้ัน นางสร้อยสุณีมเหสี ทง้ั องค์พระราชบุตรี พระวงศานารีกำ� นลั ใน จึง่ เอาธปู เทยี นมาลา จวงจนั ทน์กฤษณาผอ่ งใส ใสใ่ นโกศแก้วแววไว อรไทโศกศลั ย์พันทวี กราบลงทศ่ี พพระภัสดา นางสมาลาโทษถว้ นถี่ 184 เสดจ็ สแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอื่ ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

แลว้ จง่ึ ถวายอัคค ี มอ่ี ง่ึ ด้วยเสียงโศกา ๘ คร้นั เสร็จดับเพลิงทนั ที องค์พระมเหสีเสนหา ท้งั โฉมพระราชธิดา สรุ ิยว์ งศพ์ งศาทง้ั น้ัน เสดจ็ ยรุ ยาตรคลาดคลา กลบั มายังนิเวศเขตขณั ฑ์ ตา่ งแสนโศกาจาบัลย์ ถงึ องค์ทรงธรรมท์ ม่ี รณา” (บทละครเรือ่ ง ยุขัน ๒๕๓๘: ๒๘๓) ถงึ แมว้ า่ ทง้ั ลลิ ติ พระลอ และยขุ นั จะเตม็ ไปดว้ ยชอ่ื ตวั ละครและคำ� ศพั ทแ์ บบอนิ เดยี แตก่ เ็ ปน็ เพียงเปลอื กเท่านั้น เพราะเนื้อหาสะท้อนพิธศี พในศาสนาผีคือการเก็บศพไว้ในโกศหรือโลง ซึ่งศพ จะถกู มดั ตราสงั กอ่ นนำ� ไปเผา ถงึ การเผาจะเปน็ ธรรมเนยี มการจดั การศพจากอนิ เดยี แตอ่ นิ เดยี ไมม่ ี การเกบ็ ศพไว้ในโกศ ๒. พธิ ีศพแบบ “ศาสนาพุทธ” การจดั พิธแี บบธรรมเนยี มชาวพุทธทกี่ ลา่ วถึง “พระสงฆ์” ในฐานะผปู้ ระกอบพธิ ี มักพบ ในวรรณคดสี มยั รตั นโกสนิ ทรอ์ ยา่ งชดั เจนพบทง้ั ในวรรณคดที ตี่ วั ละครเอกเปน็ พระโพธสิ ตั ว์ (ชาดก) และไม่เป็นพระโพธิสัตว์ ดังตัวอย่างที่พบเป็นต้นว่า วรรณคดีเรื่องอิเหนา และเร่ืองพระสี่เสาร์ กลอนสวด ดงั นี้ ๏ เม่อื นั้น ระตหู มนั หยาเปน็ ใหญ่ ชวนอิเหนานดั ดาคลาไคล เขา้ ไปในพระเมรุรจนา ครนั้ ถงึ จงึ บงั คมเคารพ พระศพอัยกีนาถา แลว้ ทรงจุดธปู เทยี นบูชา เครื่องสุวรรณบปุ ผามาลี ฯ … ๏ เม่อื นน้ั ระตผู ู้ผ่านไอศวรรย์ ให้สงั ฆการนี มิ นต์พระนักธรรม์ พรอ้ มกนั เข้ามาสดบั ปกรณ์ ฯ ๏ แลว้ ถวายวตั ถุไทยทาน บรขิ ารเสอ่ื รม่ พรมหมอน โสมนสั ศรทั ธาสถาวร ภธู รเสดจ็ กลับมาพลบั พลา ฯ (พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ๒๕๕๘: ๖๐) อาจกล่าวได้ว่าฉากงานพระศพอัยกีของอิเหนานี้คงจ�ำลองมาจากฉากงานพระบรมศพ ของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราชหรอื คนอนื่ ๆ ทีเ่ กดิ ขน้ึ ในช่วงก่อนหนา้ น้ี ในขณะท่วี รรณคดเี รอ่ื ง พระสีเ่ สารก์ ลอนสวด วา่ ดว้ ยการพธิ ีศพดังบทกลอนตอ่ ไปน้ี “ถว้ นเจด็ ราตร ี ถวายเพลิงภมู ี กฤษณาจวงจันทร์ พระเพลงิ เผาศพ ตรลบเปน็ ควนั เสยี งนางก�ำนลั ไห้อึงคะนึงไป แลว้ เอาน�ำ้ อบ หอมฟงุ้ ตรลบ ดับเพลงิ ทนั ใด เกบ็ ธาตทุ า้ วโสตถ ์ิ ใสโ่ กศทองใน ประดบั ฉตั รไชย เชญิ เข้าพารา 185เสดจ็ สูแ่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

รับขึ้นปรางค์มาศ พระสงฆเ์ ดียรดาษ สวดมาตกิ า นมิ นตพ์ ระฉัน ทกุ วันอัตรา แล้วให้ก่อมหา เจดีย์เลิศไกร ประจพุ ระธาตุ แตง่ ฉลองพระบาท เสรจ็ แลว้ แวน่ ไว มเหสสี องรา ศรัทธาเหลือใจ โกนเกล้าเจา้ ไป บวชเป็นนางช”ี (พระส่ีเสารก์ ลอนสวด ๒๕๔๗: ๘๔-๘๕) ในฉากขา้ งตน้ จะเหน็ ไดว้ า่ ภายหลงั จากการถวายพระเพลงิ เผาศพแลว้ ธาตอุ ฐั ไิ ดถ้ กู เกบ็ ลง ในโกศทอง แล้วเชิญเข้าไปในวังโดยเก็บยังปราสาท (ปรางค์มาศ) จากนั้นพระสงฆ์จึงท�ำการ “สวดมาติกา” (อ่านว่า มาดติกา) คือการสวดแม่บทของพระอภิธรรม ๗ คัมภีร์ท่ีพระพุทธเจ้า ทรงสวดให้พระพุทธมารดาและเทวดาบนสวรรค์ช้ันดาวดึงส์ได้รับฟัง ซึ่งสวดมาติกานี้ใช้สวดศพ สามญั ชน ถา้ เปน็ งานศพหลวงเรยี กวา่ “สดบั ปกรณ”์ ปกตหิ ลงั จากสวดมาตกิ าแลว้ จะมกี ารบงั สกุ ลุ ตอ่ ๓. พิธีศพแบบ “ศาสนาพราหมณ์” ในวรรณคดีเรื่องอิเหนา มีการกล่าวถึง “พิธีแบหลา” ที่เทียบเคียงได้กับพิธีสตีของ ชาวอนิ เดยี ซงึ่ นบั ถือศาสนาพราหมณ์ในบางแคว้นโดยเฉพาะในเขตอินเดยี เหนือที่แคว้นราชสถาน โดยเป็นพิธีแสดงถึงความรัก ความซ่ือสัตย์ของภรรยาท่ีมีต่อสามี โดยหญิงที่สามีตายก่อนจะต้อง เข้ากองไฟตายตามสามีบนเชิงตะกอนเดียวกัน ถอื ว่าจะได้ตดิ ตามไปปรนนิบตั ิสามีในโลกหน้า ในบทละครเร่ืองอเิ หนากล่าวถึงนางดรสา มเหสขี องระตูบุศสหิ นา ครั้นทราบขา่ วเกยี่ วกับ งานพระศพของพระสวามี นางดรสาจงึ เข้าที่สรง ทรงเครอ่ื งแล้วเสด็จมายงั พระเมรุ พระนางเข้าไป ถวายบงั คมพระบรมศพแลว้ กนั แสงรำ�่ รกั เมอื่ ถงึ เวลาสมควร ระตทู งั้ สองใหเ้ ชญิ พระโกศขน้ึ ตง้ั บนเชงิ ตะกอน สองระตูทรงถือธูปเทียนของหอม เสด็จพร้อมกับนางดรสาเข้าจุดอัคคี ฝ่ายนางดรสาด้วย ความรกั และซอื่ สตั ยต์ อ่ สามี นางจงึ ขอทำ� พธิ แี บหลาคอื การกระโดดเขา้ กองไฟตามสวามที ต่ี าย เพราะ ถอื วา่ เปน็ พิธีท่มี ีเกยี รติและเป็นการแสดงความรกั อนั ยงิ่ ใหญ่ ดงั ความวา่ ๏ เมอื่ นนั้ นวลนางดรสามารศรี กำ� สรดโศกศลั ย์พนั ทวี อญั ชลีทงั้ สองกษตั รา แล้วทลู ว่าพระองคผ์ ้ทู รงเดช จึงได้โปรดเกศเกศา ข้านอ้ ยขอถวายบังคมลา ตายตามภสั ดาดว้ ยภักดี ขอฝากบติ ุราชมาตรุ งค ์ ท้งั ประยูรญาตวิ งศ์ในกรงุ ศรี อันศฤงคารของขา้ บรรดาม ี ถวายไว้ใต้ธุลบี าทา ทูลพลางประณตบทเรศ สองกษัตรยิ ์ทรงเดชเชษฐา บงั คมบรมศพภสั ดา แลว้ กลั ยาทักษิณเวียนไป ๏ ครนั้ ครบคำ� รบสามรอบ นบนอบน้อมองค์ลงกราบไหว้ จงึ ชักเอากรชิ ภูวไนย มาทลู ไวเ้ หนอื เกลา้ เมาลี กนั แสงพลางทางสมาลาธิกรณ์ ภูธรไดเ้ คอื งบทศรี 186 เสดจ็ สู่แดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

ด้วยกายกรรมแลวจ ี ขออย่ามีเวราผูกพัน ............................... ................................ คร้ันเสรจ็ ตั้งสตั ย์อธิษฐาน เยาวมาลย์กราบงามสามทา่ เห็นเพลิงพลงุ่ รงุ่ โรจน์โชตนิ า ก็แบหลาโจนเขา้ ในอคั คี (พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหล้านภาลยั ๒๕๕๘: ๑๖๔-๑๖๕) ๘ อยา่ งไรก็ตาม ควรสังเกตด้วยว่า กอ่ นที่นางดรสาจะ “โจนเข้าในอคั คี” นน้ั ไดช้ กั เอากรชิ ของสวามขี น้ึ ทนู หวั นน้ั นบั เปน็ สงิ่ ทไี่ มป่ ฏบิ ตั กิ นั ในอนิ เดยี แตแ่ สดงรอ่ งรอยความเชอื่ ของชวา ดงั นน้ั ความเป็นอินเดียน้ีจึงเป็นอินเดียท่ีผ่านชวา หรือผสมผสานเข้ากับวัฒนธรรมชาวอินเดียท่ีอยู่ใน กรุงเทพฯ ช่วงเวลานนั้ ๔. พธิ ีศพแบบ “ศาสนาฤๅษ”ี ๑ ฤๅษใี นอนิ เดยี เปน็ นกั บวชเนอ่ื งในศาสนาพราหมณ์ แตใ่ นไทยและอษุ าคเนยพ์ บวา่ มหี ลาย กรณีที่มีลักษณะเป็นนักพรตไม่ใช่ฤๅษีแบบอินเดียเสียทีเดียว ดังเห็นได้จากต�ำนานฤๅษีวาสุเทพ ทเ่ี ดมิ บวชเปน็ พระทไี่ มส่ ามารถถอื ศลี ไดไ้ หวจงึ สกึ ออกมาเปน็ ฤๅษแี ตก่ ไ็ มไ่ ดน้ บั ถอื พราหมณ์ ในทนี่ ี้ จึงเรียกว่า “ศาสนาฤๅษี” ตัวละครฤๅษีมักเป็นตัวแทนของตัวละครนักบวชที่ปรากฏในวรรณคดี นทิ านไทย วรรณคดไี ทยสว่ นหนงึ่ กลา่ วถงึ การทำ� ศพโดยฤๅษดี ว้ ย ดงั ปรากฏใน วรรณคดเี รอื่ งโสวตั กลอนสวด ซงึ่ เปน็ ส�ำนวนสมยั อยุธยา กลา่ วถงึ การทำ� ศพโดยฤๅษี ดงั ความตอนหน่งึ วา่ “โอยทลู กระหม่อม เมียรกั ทกุ ข์ตรอม เคยเฝ้าจอมผัว พระละเมยี ไว้ เสดจ็ ไปสู่สวรรค์ ขา้ นอ้ ยโศกศลั ย ์ สรอ้ ยเศร้าโศกา แมน้ ตรสั ส้นิ สุด ในเมืองพรหมกุฏ บดิ ามารดา จักแต่งโกศทอง เรืองรองรจนา โคมทองชวาลา ถวายศพภมู ี เพดานมา่ นดดั ระยา้ ราชวตั ิ กางกน้ั พันปี ตรัสสนิ้ พระชนม ์ เหนือบนธรณี เอาแต่ปฐั พี ต่างพระมณเฑียร พระเกศตรัสเกย รากไมต้ ่างเขนย กลางดงตะเคยี น ภูเขาสลา้ ง ลอ้ มต่างโคมเวยี น ตน้ ยางตา่ งเทยี น ถวายศพภูวไนย จะไวพ้ ระศพ เสอื สีหพ์ านพบ มนั จักพาไป เมียจักอมุ้ เจ้า จรเขา้ ศาลาลยั เชิญศพเจ้าไป ถวายพระฤๅษี แม้นเถิงศาลา ถวายเพลงิ เจ้าฟา้ ตัวขา้ มารศรี จ่งึ จกั วิ่งวาง เขา้ กลางอัคค ี ต่อหนา้ ฤๅษี ม้วยด้วยราชา” (โสวตั กลอนสวด ๒๕๔๘: ๖๗) ๑ผเู้ ขยี นไดร้ บั แรงบนั ดาลใจและความรเู้ รอ่ื งแนวคดิ เกยี่ วกบั ฤๅษใี นวฒั นธรรมไทยจากศาสตราจารยส์ กุ ญั ญา สจุ ฉายา ผู้เขยี นขอกราบขอบพระคณุ มา ณ โอกาสนี้ 187เสด็จสแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

ฤๅษีในหบี ลายรดนำ้� วัดบางขุนเทยี น กรุงเทพ (ทม่ี า: http://www.bloggang.com) ๕. พธิ ศี พแบบ “ศาสนาครสิ ต์” ในวรรณคดีเรื่องพระอภัยมณีของสุนทรภู่ มีการกล่าวถึงพิธีศพของพระเจ้ากรุงลงกา และพระโอรสคอื อศุ เรนซง่ึ อศุ เรนพโิ รธมากทพี่ ระอภยั มณชี งิ อภเิ ษกกบั นางสวุ รรณมาลี ซง่ึ เปน็ คหู่ มน้ั ของอุศเรน เพื่อศักดิ์ศรีของลูกผู้ชายและกษัตริย์ พระเจ้ากรุงลงกาและอุศเรนจึงยกกองทัพเรือ มาโจมตีเมืองผลึก ผลของการสงคราม พระเจ้ากรุงลงกาถูกยิงด้วยธนูอาบยาพิษ จึงต้องหลบหนี ขา้ มฝง่ั ไปถงึ เกาะลงั กา สว่ นอศุ เรนถกู จบั ตวั ไดแ้ ละถกู นางวาลกี ลา่ วเยาะเยย้ จนกระทง่ั อศุ เรนอกแตก เสยี ชวี ติ แลว้ สง่ พระศพกลบั คนื ไปยงั กรงุ ลงั กา พระเจา้ กรงุ ลงั กาเจบ็ ดว้ ยธนอู าบยาพษิ แลว้ มหิ นำ� ซำ้� มาเจ็บพระทัยเพราะเห็นพระศพของอุศเรน พระองค์จึงเสด็จสวรรคต นางละเวงพระราชธิดาจึงได้ เสด็จขึ้นครองราชสมบัติกรุงลังกาต่อจากพระราชบิดา นางละเวงจึงให้จัดพิธีศพตามแบบอย่างฝรั่ง ลงั กา ดังความตอนหน่ึงว่า “ใครบรรลัยไปบอกพระบาทหลวง มาควักดวงเนตรใหไ้ ปสวรรค์ มไี ม้ขวางกางเขนเป็นสำ� คัญ ขึน้ แปลธรรมเ์ ทศนาตามบาลี ว่าเกิดมาสามญั คนทั้งหลาย มีรา่ งกายก็ล�ำบากคือซากผี คร้นั ตัวตายภายหลังฝงั อนิ ทรีย ์ เอาเท้าช้ขี ึ้นนนั้ ด้วยอันใด วิสชั นาวา่ จะให้ไปสวรรค ์ วา่ เทา้ น้นั น�ำเดินด�ำเนินได้ 188 เสดจ็ สู่แดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชือ่ ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

๘ โบสถ์วดั ซางตาครู้ส หรอื กุฎจี ีน ตวั แทนของชมุ ชนชาวครสิ ต์นิกายโรมนั คาทอลกิ ในกรุงเทพฯ ภาพ ซา้ ยเปน็ โบสถห์ ลังเก่า ภาพขวาเป็นโบสถห์ ลังใหมท่ ส่ี รา้ งสมัยรัชกาลท่ี ๕ (ทีม่ า: ภมู ิ ภตู มิ หาตมะ) อันอินทรยี ช์ ีวิตพลอยติดไป คร้ันเทา้ ยา่ งไปทางไหนไปทางนน้ั จึงฝร่งั ฝังผีตีนชี้ฟา้ ให้บาทาเยือ้ งยา่ งไปทางสวรรค”์ (อ้างจาก สมปราชญ์ อัมมะพนั ธ์ ๒๕๓๖: ๑๙๖) เม่ือเทศนาหน้าศพจบแล้วมีการสวด ให้เหล่าวงศาคณาญาติทั้งหลายนอนคว�่ำหน้า เรียงรายไปตามถนน บาทหลวงเดินน�ำ มีลูกศิษย์สี่คนแบกศพเดินตามหลังคนท้ังหลายที่นอน คว�่ำหน้าเรียงรายอยู่ บาทหลวงประพรมน้�ำมนต์ไปจนถึงห้องลับท่ีใช้ฝังศพ น�ำศพซึ่งบรรจุถุง ลงฝังในหลุมขนาดพอบรรจุศพ โดยเอาศีรษะลง ให้เท้าชี้ฟ้า เอาก้อนหินทับไว้ บรรดาวงศ์ญาติ ทั้งหลายถวายข้าวตอกดอกไม้ และมีการท�ำบุญกรวดน้�ำ ดงั ค�ำกล่าววา่ ครนั้ สวดจบศพใส่เขา้ ในถุง บาทหลวงนงุ่ หม่ ด�ำน�ำไปสวรรค์ อา่ นหนงั สือถอื เทยี นเวียนระวนั ลูกศษิ ย์นัน้ แบกผีทัง้ สคี่ น คอ่ ยเดนิ ตามขา้ งหลังคนทั้งหลาย ท่ีนอนเรียงรายขวางกลางถนน บาทหลวงพระประพร�ำดว้ ยน�้ำมนต์ ตลอดจนหอ้ งฝังกำ� บงั ลับ หกศีรษะเอาศพใส่หลมุ ตร ุ แตพ่ อจศุ พถุงเหมือนปรงุ ปรบั พระบาทบงส์ตรงฟ้าศิลาทับ เครือ่ งค�ำนบั น้นั กต็ ง้ั หลังศลิ า ใหล้ ูกหลานว่านเครือแลเชอ้ื สาย ได้ถวายขา้ วตอกดอกบุปผา ใหก้ ราบลงตรงบัลลงั คต์ ั้งบูชา เหมือนกราบฝ่าพระบาทไม่ขาดวนั แลว้ กรวดน�้ำทำ� บญุ กับบาทหลวง ตามกระทรวงส่งใหไ้ ปสวรรค์ ครั้นสำ� เร็จเสร็จศพท�ำครบครนั มาพรอ้ มกนั บรรดาเสนาใน (อา้ งจาก สมปราชญ์ อัมมะพันธ์ ๒๕๓๖: ๑๙๖) 189เสดจ็ สแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

อย่างไรก็ตาม พิธีศพในศาสนาคริสต์ท่ีสุนทรภู่ได้เห็นมานั้นก็เป็นการสังเกตจากมุมมอง ของคนนอกศาสนาทำ� ให้มคี วามเขา้ ใจผิดในบางเร่ือง ซึง่ จะวิเคราะหต์ ่อไป ๑.๖. พิธีศพแบบ “ศาสนาอิสลาม” ในวรรณคดเี รอื่ งนทิ ราชาครติ วรรณคดใี นสมยั รชั กาลท่ี ๕ ตอนหลงั จากทก่ี าหลบิ ไดช้ บุ เลยี้ ง อาบหู ะซนั ไวร้ บั ราชการ และพระราชทานนางนอซาตอลอวั ดดั ใหแ้ ตง่ งานกบั อาบหู ะซนั แลว้ สองสามี ภรรยาคนู่ ไี้ ดใ้ ชจ้ า่ ยเงนิ ฟมุ่ เฟอื ยจนฐานะยากจนลง อาบหู ะซนั และภรรยาหลอกเอาเงนิ พระราชทาน จากองคก์ าหลบิ และพระราชินี โดยแกลง้ ทำ� เป็นตายซง่ึ มีการจัดการเกย่ี วกับศพ กล่าวไวเ้ พยี งสั้นๆ แต่ไม่มพี ิธกี ารตอ่ เน่อื ง คอื การฝังศพ เพราะเปน็ การแกลง้ ทำ� เป็นตายเทา่ นั้น โดยการทำ� ศพนัน้ ใน นิทราชาคริต บอกไว้สั้นๆ ว่าเอาผ้าห่อศพให้เรียบร้อย ผ้าโพกศีรษะโพกบังหน้าไว้ แล้วน�ำศพ วางลงในหีบศพ โดยจดั วางใหศ้ พหันเทา้ ไปทางเมอื งเมกกะ ซ่ึงถือเปน็ เมอื งของ “พระมะหะหมดั ” ดงั คำ� ประพันธท์ ีว่ า่ “...นำ� ผ้าหอ่ ดังศพ ครบแล้วจดั ลงหบี ดงั จะรบี ไปฝงั ผา้ โพกบงั หน้าไว้ ตง้ั เทา้ ให้ไปเฉพาะ เหมาะตรงเมืองเมกกะ คอื เมืองพระมะหะหมัด...” (อา้ งจาก สมปราชญ์ อมั มะพันธ์ ๒๕๓๖: ๓๓๒) อย่างไรก็ตาม ข้ันตอนการจัดการศพตามที่กล่าวไว้ในวรรณกรรมนั้นต้องเข้าใจว่าเป็น มุมมองที่สะท้อนผ่านทางวรรณกรรม เพราะวรรณกรรมน้ีถูกแปลจากมาจากวรรณกรรมอาหรับ ทีเ่ ขียนโดยชาวยโุ รปอกี ทอดหนงึ่ และยงั เมือ่ ตอ้ งแต่งเปน็ รา่ ยแบบไทยและเขยี นอยา่ งย่นย่อ ทำ� ให้ เกิดการสลับท่ีไปมาของขั้นตอนการจัดการศพตามแนวทางของอิสลามไป กล่าวคือ ถ้าโดยหลัก ของศาสนาอิสลามแล้ว เม่ือมุสลิมเสียชีวิตจะเริ่มต้นด้วยขั้นตอนคือ ข้ันตอนท่ี ๑ ต้ังศพให้เท้าหัน ไปทางเมอื งมกั กะฮฺ ขน้ั ตอนที่ ๒ คลมุ ผา้ ตลอดทง้ั รา่ ง “ไมไ่ ดป้ ดิ แคห่ นา้ ” โดยขนั้ ตอนท่ี ๑ กบั ๒ นี้ เปน็ การรอเวลาระหวา่ งแขกเหรอ่ื มาเยยี่ มเยยี นญาตผิ ตู้ ายและขอพรใหแ้ กผ่ ตู้ าย ญาตใิ กลช้ ดิ บางคน อาจมาเปิดผ้าคลุมเพ่ือดูหน้าตาอ�ำลาอาลัยผู้ตายเป็นคร้ังสุดท้าย และรอเวลาอาบน้�ำศพ ต่อจาก ข้ันตอน ๑-๒ กจ็ ะเปน็ ข้ันตอนที่ ๓ อาบน�้ำศพ ซึ่งไมไ่ ดก้ ลา่ วถึงไว้ในนิทราชาคริต ตอ่ จากนน้ั จะเปน็ ขน้ั ตอนท่ี ๔ คอื การห่อศพ และขั้นตอนที่ ๕ คือ การบรรจศุ พใส่หบี ขนั้ ตอนท่ี ๖ นำ� ศพไปต้งั หนา้ กลุ่มคนท่ีเข้าแถวเพ่ือละหมาดขอพรให้แก่ผู้ตาย ขั้นตอนที่ ๗ น�ำไปสุสาน ข้ันตอนสุดท้ายคือ การฝังศพ จากบทประพันธ์ในวรรณคดีดังยกมาข้างต้น จะเห็นได้ว่าฉากงานพระศพที่ปรากฏ ในวรรณคดนี ทิ านไทยในสมยั อยธุ ยาถงึ รตั นโกสนิ ทร์ มกี ารจดั งานพระศพตามธรรมเนยี ม “ลทั ธพิ ธิ ”ี ทห่ี ลากหลายตามศาสนาและความเชอ่ื ตา่ งๆ ทปี่ รากฏอยใู่ นสงั คมและวฒั นธรรมไทย อนั เปน็ บรบิ ท ที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วรรณคดี รวมถึงการใช้ฉากพระศพตามศาสนานั้นๆ เพ่ือเป็น “สีสัน ทอ้ งถิ่น” (Local Colours) ใหเ้ ขา้ กับบรบิ ทที่มาของเรอ่ื ง หรอื บริบทของตวั ละคร เช่น การท�ำพธิ ี ศพแบบมสุ ลมิ ในเรอื่ งนทิ ราชาครติ ซงึ่ เปน็ เรอ่ื งแขก การทำ� ศพแบบครสิ ตแ์ กพ่ ระเจา้ กรงุ ลงกาทเี่ ปน็ อาณานคิ มองั กฤษและนับถอื ศาสนาครสิ ต์ เป็นตน้ 190 เสดจ็ สูแ่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

๘ หลุมฝังศพของเจ้าพระยาจักรี (แขก) ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อ พ.ศ.๒๔๑๗ ฝังอยทู่ ่มี สั ยิดต้นสน กรุงเทพ (ทม่ี า: http://break.muslimthaipost.com/upfile/2015/07/31/Jakree23.jpg) “เจ้าพิธ”ี ในฉากงานพระศพ: ร่องรอยความเชอ่ื เก่า-ใหม่ ในวัฒนธรรมไทย ในงานพระศพที่ปรากฏในวรรณคดีนิทานไทย ปรากฏบทบาทของนักบวชที่ท�ำหน้าที่ “เจา้ พธิ ”ี จดั การงานพระศพอยู่ ๓ กลมุ่ คือ ฤๅษี พระสงฆ์ และบาทหลวง ซึ่งสะทอ้ นให้เห็นร่องรอย ความเชื่อเกา่ -ใหม่ ในวัฒนธรรมไทย ดงั น้ี ๑. ฤๅษี “ฤาษี” นับเป็นตัวละครนักบวชท่ีเก่าแก่ท่ีสุดในวรรณคดีนิทานไทย มีมาก่อนตัวละคร นกั บวชอนื่ ๆ ในวรรณคดนี ทิ านในสมยั อยธุ ยาตวั ละครเอกสว่ นใหญล่ ว้ นตอ้ งไปเรยี นวชิ ากบั พระฤๅษี ทั้งส้ิน บางคร้ังอาจมีฤๅษีที่ไม่ดีคิดร้ายด้วย ตัวละครฤๅษีน้ียังเป็นเจ้าพิธีที่ส�ำคัญในการท�ำหน้าที่ ต่างๆ รวมถึงพิธีศพด้วย ฤๅษีในวรรณคดีนิทานน้ีแตกต่างจากพราหมณ์ และไม่ได้แสดงถึง การนบั ถอื เทพเจา้ ในศาสนาพราหมณแ์ ตอ่ ยา่ งใด ตวั ละครฤๅษนี ย้ี งั คงมปี รากฏตอ่ มาในรตั นโกสนิ ทร์ ด้วย เพอ่ื คงขนบการเล่าเรื่องและให้มกี ลน่ิ อาย “ปรมั ปรา” ท�ำหน้าท่ีเปน็ อาจารยผ์ ูส้ อนวชิ า หากแต่ วรรณคดนี ทิ านในสมยั รตั นโกสนิ ทรส์ มยั หลงั นนั้ เมอื่ กลา่ วถงึ ฉากงานพระศพจะกลา่ วถงึ พระสงฆเ์ ปน็ ผ้ทู �ำพธิ ีแทน อยา่ งไรกต็ าม ยงั พบวา่ นอกจากฤๅษแี ลว้ ในฉากงานพระศพของวรรณคดนี ทิ านโดยเฉพาะ ในวรรณคดีนิทานสมัยอยุธยา ยังมักกล่าวถึงการท�ำศพ หรือ เผาศพ ในหมู่พระญาติ โดยไม่มี เจ้าพิธีเช่นฤๅษี พระหรือพราหมณด์ ้วย 191เสดจ็ สแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอื่ ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

การทง้ิ ทานกัลปพฤกษใ์ นงานพระเมรุ จิตรกรรมฝาผนังวัดหนอ่ พุทธางกรู จังหวัดสพุ รรณบรุ ี ๒. พระสงฆ์ ตัวละครนักบวช “พระสงฆ์” เร่ิมเข้ามามีบทบาทในสมัยสมัยรัตนโกสินทร์อย่างชัดเจน ในฉากงานพระศพที่ปรากฏในวรรณคดีนิทานไทย แสดงให้เห็นการประดิษฐานพระพุทธศาสนา ท่ีม่นั คง เร่ิมมกี าร “สลัดความปรัมปรา” จากการใชต้ วั ละครฤๅษี และแทนทีด่ ว้ ยตัวละครพระสงฆ์ และพิธีศพทางพุทธศาสนามากขึ้น ขณะท่ีแต่เดิมใช้ตัวละครฤๅษี ประกอบพิธีตามคติพราหมณ์ ผสมความเชอื่ ดงั้ เดิม (ศาสนาผี) นอกจากนใี้ นวรรณคดีนิทานสมยั รัตนโกสนิ ทร์บางเร่อื ง ยงั มกี ารกล่าวถงึ ตัวละครนักบวช “ฤๅษี” “พราหมณ์” ในความหมายของ “พระสงฆ์” เพราะเลียนพฤติกรรมพระสงฆ์ ดังปรากฏ ในนทิ านคำ� กลอนสนุ ทรภเู่ รอ่ื ง สงิ หไกรภพ ตอน สงิ หไกรภพใหจ้ ดั งานถวายเพลงิ พระศพทา้ วอนิ ณมุ าศ และพระนางจันทร ความวา่ “พวกโยคีชพี ราหมณข์ ้นึ สามซ่าง หนงั สอื กางตา่ งประกวดสวดคาถา เหล่าฤๅษีชไี พรใส่ชฎา นิมนตม์ าบงั สกุ ุลทำ� บุญทาน ถวายร่มพรมหนังเครือ่ งสงั เค็ด คร้นั สรรพเสรจ็ สวดสกิ ขาฉันอาหาร ฝา่ ยชาวคลงั บงั คมก้มกราบกราน ข้นึ ทิ้งทานกำ� พฤกษ์เสียงคกึ คัก” (สงิ หไกรภพ ๒๕๕๘: ๒๕๒) 192 เสด็จสู่แดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

๓. บาทหลวง ๘ ตวั ละครบาทหลวงนมี้ ปี รากฏเพยี งเรอ่ื งเดยี วคอื ในวรรณคดเี รอื่ ง พระอภยั มณี ของสนุ ทรภู่ ซง่ึ ขณะนน้ั สยามเรม่ิ ไดร้ บั อทิ ธพิ ลตะวนั ตก มคี วามรบั รเู้ รอื่ งครสิ ตศ์ าสนามากขนึ้ ดงั นน้ั เมอ่ื สนุ ทรภู่ จะกลา่ วถงึ งานศพของพระเจา้ กรงุ ลงกาและอศุ เรนซงึ่ เขา้ รตี จงึ เลอื กจะทำ� พธิ โี ดยบาทหลวงมากกวา่ ใช้ตัวละครฤๅษี หรือพระสงฆ์ อย่างไรก็ดี พิธีฝังศพแบบฝร่ังตามท่ีสุนทรภู่กล่าวไว้ในเรื่องพระอภัยมณีน้ันท่ีกล่าวว่า ฝังศพโดยเอาเท้าชฟ้ี า้ นั้นพบวา่ ไม่มที ำ� กันในการฝังศพของชาวคริสต์ เช่นเดยี วกันกับการกรวดน้ำ� ที่เป็นการท�ำบุญแบบชาวไทยพุทธ ส่วนในแง่ของนิกายนั้นงานศพน้ีน่าจะเป็นคาทอลิก เพราะ “บาทหลวงนงุ่ หม่ ดำ� ” ซง่ึ มศี กั ดเิ์ ปน็ สงั ฆราช สำ� หรบั พธิ ฝี งั ศพทางศาสนาครสิ ตน์ กิ ายโรมนั คาทอลกิ เปลือ้ ง ณ นคร ได้อธบิ ายไวว้ ่า เมื่อมีผู้ถึงแก่กรรม เจ้าภาพจะอาบน้�ำศพ ผลัดเปลี่ยนเสื้อผ้าให้เรียบร้อย แล้วบรรจุศพ ในโลง หรืออาจต้ังศพไว้รอญาติมิตรให้พร้อมเพรียง ในขณะที่ญาติมิตรท่ีมาค�ำนับศพจะสวดอุทิศ ให้แก่ผู้ตาย บทสวดนั้นถ้าผู้ตายเป็นคนไทยก็จะสวดเป็นภาษาไทยตามบทที่ทางศาสนาได้รวมไว้ ในหนังสือชื่อ “ภาวนา” ในบทสวดน้ันมีใจความให้ระลึกถึงพระเยซู และขอให้พระเจ้าเมตตาต่อ วิญญาณของผู้ตายครั้นถึงก�ำหนดฝัง เจ้าภาพจะน�ำศพซ่ึงบรรจุเรียบร้อยแล้วมาต้ังบนคานหาม ทีห่ น้าโบสถ์ แล้วบาทหลวงจะออกรบั ศพ พร้อมศิษย์ถือกางเขน (cross bearer) ๑ คน ถอื เทยี น (acolyte) ๒ คน ถอื เตา้ กำ� ยาน (censer) ๑ คน ถือเต้าน�ำ้ เสก (holy water vessel) ๑ คน และ คูส่ วด (chorister) (บ้างแปลว่านกั ขับ) ถา้ มี เมื่อบาทหลวงมาถึงท่ีต้ังศพ ท่านจะพรมน้�ำมนต์ คือน�้ำเสกที่หีบศพ และสวดมนต์ ตามลัทธิศาสนา มนต์ที่สวดนั้นเป็นภาษาละติน บทท่ีสวดชื่อ Exsequiarum Ordo มีใจความ ขอขมาโทษตอ่ พระผเู้ ปน็ เจา้ ไถบ่ าปตา่ งๆ ทผี่ ตู้ ายทำ� ไว้ และขอประทานพระกรณุ าโปรดใหว้ ญิ ญาณ ผตู้ ายไดเ้ สวยสขุ ในสวรรค์ ครน้ั แลว้ บาทหลวงจะนำ� ศพเขา้ ไปสวู่ ดั ทา่ นจะสวดมนตเ์ รอ่ื ยไป เมอื่ จบบท แลว้ ทา่ นจะเดนิ เวียนหีบศพพลางพรมนำ�้ เสก และโยนเตา้ ก�ำยาน เต้าก�ำยานนัน้ ใสถ่ า่ นไฟมสี ายถอื บาทหลวงจะจับสายถือยกสูงข้ึนราวหน้าอก แล้วแกว่งเต้าก�ำยานข้ึนลงไปข้างหน้ารอบๆ ศพ (สมปราชญ์ อัมมะพนั ธ์ ๒๕๓๖: ๑๙๖) ครั้นแล้วท่านจะน�ำศพไปยังป่าช้า โดยมีเด็กถือเทียนและถือกางเขนน�ำท่าน และคู่สวด จะสวดน�ำไปจนถึงหลุมศพ คนท่ีมาในพิธีเดินตามศพไปเม่ือกระบวนถึงที่ฝัง (หรือที่บรรจุ) แล้ว บาทหลวงจะพรมน�้ำเสก และโยนก�ำยานที่หลุมศพ และท่ีฝังศพอีกคร้ังหน่ึง พร้อมกับสวดมนต์ ไปจนจบบท เจ้าภาพจึงยกศพลงวางยาวในหลุม แล้วเจ้าภาพจะหยิบดินก้อนหน่ึงส่งให้บาทหลวง บาทหลวงรับก้อนดินโยนลงหลุมแล้วท่านก็กลับ เจ้าภาพจะอยู่จัดการกลบดินให้เรียบร้อย ปักไม้ กางเขนสลักชื่อผตู้ ายไวบ้ นท่ีฝงั เป็นอันจบพิธี (สมปราชญ์ อมั มะพันธ์ ๒๕๓๖: ๑๙๗) จากข้อมูลดังน�ำเสนอมาจะเห็นได้ว่าฉากงานพระศพในวรรณคดีไทยได้สะท้อนให้เห็น ร่องรอยของความเชื่อดั้งเดิมและศาสนาใหม่ท่ีผสมผสานกันและมีปฏิสัมพันธ์กับคนในสังคมไทย ความหลากหลายของตัวละครนักบวชท่ีปรากฏอยู่ในฉากงานพระศพยังแสดงให้เห็นถึงพัฒนา การของสังคม รวมถงึ พลวตั ของวิธีคิดและความเชอ่ื อีกด้วย 193เสด็จส่แู ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

“โศกอันเกษม” ว่าดว้ ยบรรยากาศในฉากงานพระศพในวรรณคดีนทิ านไทย ฉากงานพระศพในวรรณคดีนิทานไทย นอกจากจะแสดงให้เห็นถึงร่องรอยและพลวัต ของความคดิ ความเชอื่ ในสังคมไทยแล้ว เม่ือพจิ ารณาถงึ น้ำ� เสียงและบรรยากาศในฉากงานพระศพ จะเห็นได้ว่ามีทั้ง “ความโศก” และ “ความสนุก” มีทั้งอารมณ์ของความสูญเสีย และอารมณ์ของ การเฉลิมฉลองไปพรอ้ มกนั ดงั จะไดอ้ ธบิ ายดงั น้ี ๑. วธิ คี ดิ แบบสามัญชน “โศกเพราะสูญเสยี ” แมว้ ่าตัวละครพระราชา เจ้าหญงิ เจ้าชาย ในวรรณคดีจะเต็มไปด้วยคตเิ รื่องพระโพธิสตั ว์ จุตมิ า หรอื พระเปน็ เจ้าแบง่ ภาคมากต็ าม หากแตเ่ มอื่ มีการตายเกดิ ข้ึน ยอ่ มน�ำมาซึ่งความโศกเศร้า ของผู้ใกล้ชิด แม้จะมีความเช่ือว่าจุดหมายในการเดินทางหลังความตายของเขาเหล่าน้ันจะไปยัง ภพภูมิที่ดีและสูงส่งก็ตาม แต่มโนส�ำนึกใน “ความเป็นสามัญชน” ท่ียังเต็มเปี่ยมไปด้วยรักโลภ โกรธหลง จึงปรากฏอยู่ในความคิดของชนชั้นสูงด้วยเช่นกัน ความโทมนัสปริเทวนาการเหล่าน้ัน ได้สะทอ้ นผ่านฉากงานพระศพในวรรณคดีนทิ านไทยดว้ ย ดงั นี้ เรวัตภบู าล เขา้ ไปกราบกราน ศพพระบิดา พระคณุ อยูเ่ กลา้ ขา้ เจ้านักหนา ชุบเล้ียงลูกมา ไดค้ รองภพไตร มิทันแทนคุณ พระมาส้นิ บญุ ลกู จะเหน็ ใคร ด่งั รม่ โพแก้ว ลม้ แล้วลบั ไป จะพ่งึ ผใู้ ด คุม้ เกล้าเกศา ทา้ วคือโพทอง ท่ีอาศยั ผอง สัตวท์ ่วั โลกา ล้มแลว้ บ่ฟนื้ ไม่คนื กลับมา ฝูงราษฎรป์ ระชา เศรา้ โศกหมองศรี ทา้ วคือเมรุมาศ เหน็ นา่ อนาถ ลม้ กบั ธรณี ทรงกันแสงไห ้ ไรมากม ี ครน้ั รูส้ มประดี กล่าวเกลยี้ งวาจา (พระสเ่ี สารก์ ลอนสวด ๒๕๔๗: ๘๒-๘๓) หรอื ในเร่ือง พระอภัยมณี กป็ รากฏเชน่ กนั ตวั อย่างเชน่ โอส้ ิน้ บุญทูลกระหม่อมจอมกษัตรยิ ์ เหมอื นใครตัดเกศาลูกอาสัญ จะคลาศเคลื่อนเดอื นปีทกุ วีว่ นั จนล่วงลับกัปกลั ปพ์ ุทธันดร พระกลอ่ มเลี้ยงเล้ียงลูกจะปลกู ผัง ถึงผดิ พล้ังสารพัดได้ตรัสสอน เวรวบิ ตั ิพลดั พรากจากนคร ให้จำ� จรจ�ำพรากจ�ำจากไป หมายวา่ พระจะส�ำราญผ่านสมบตั ิ แมข้ ้องขดั คงจะแจ้งแถลงไข ครั้งนพ้ี ระสวรรคครรไลย ไม่เหน็ ใจเจา้ ประคุณกรุณา พระครวญคร่ำ� ร�ำพรรณพูลเทวษ ชลเนตรพร่ังพรายทงั้ ซา้ ยขวา ทง้ั นงลกั ษณอ์ คั เรศเกษรา พลอยโศกากำ� สรดระทดใจ (พระอภัยมณี ๒๕๔๔: ๓๒๓-๓๒๔) 194 เสดจ็ สแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

๘ โรงมหรสพในงานพระเมรุ จิตรกรรมฝาผนังทรี่ ะเบียงคดวดั พระศรรี ตั นศาสดาราม (ทมี่ า: http://tpir53.blogspot.co.uk/2011/05/blog-post_09.html) ๒. วิธคี ดิ แบบกษตั รยิ ์พทุ ธราชา “เกษมสุขเพราะพระโพธสิ ตั วค์ นื สวรรค”์ คนไทยเชอ่ื วา่ พระราชาเปน็ สมมตเิ ทพ รวมถงึ เปน็ พระหนอ่ พทุ ธเจา้ หรอื พระโพธสิ ตั ว์ ทจ่ี ตุ ิ หรอื อวตารลงมาเกดิ เพอื่ ทำ� ภารกจิ ในการชว่ ยมวลมนษุ ยชาติ ดงั นนั้ “การตาย” ของพระราชาจงึ เปน็ สัญญาณของการสิ้นสดุ ภารกิจหมดพระราชภาระในโลกมนุษย์ จงึ เป็นเร่ืองน่ายนิ ดีควรแกก่ ารเฉลิม ฉลองครงั้ ใหญ่ เนอ่ื งจากจะเสดจ็ กลบั คนื สสู่ วรรคห์ รอื ภมู อิ นั เปน็ ทป่ี ระทบั มาแตเ่ ดมิ ดว้ ยเหตนุ ้ี ในฉาก งานพระศพในวรรณคดนี ทิ านของไทยจงึ ปรากฏมหรสพและความครกึ ครน้ื จากงานเฉลมิ ฉลองเนอื่ ง ในงานพระเมรุดว้ ย ตวั อย่างเช่นในอเิ หนาได้พรรณนาไว้ว่า ๏ บัดนนั้ พนักงานการเล่นทุกภาษา ทงั้ หนุ่ โขนโรงใหญ่ช่องระทา มานอนโรงคอยท่าแตร่ าตรี ครั้นพระศพชกั มาถงึ หน้าเมรุ กโ็ ห่ฉาวกราวเขนขนึ้ อึงมี่ ต่างเลน่ เตน้ ร�ำท�ำท่วงท ี เสยี งฆ้องกลองตีทุกโรงงาน ฯ (พระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หล้านภาลัย ๒๕๕๘: ๖๑) อีกท้ังในงานพระศพที่มีการจัดงานรื่นเริงน้ียังถือได้ว่าเป็นพื้นท่ีทางสังคมท่ีหนุ่มสาวจะได้ มาพบปะกนั ดังบทกลอนดงั ต่อไปนี้ ๏ บดั น้นั ฝูงประชามาสิน้ ทกุ ถนิ่ ฐาน พวกผ้หู ญงิ สาวสาวชาวร้าน เดินเท่ียวดูงานพล่านไป นักเลงเหลา่ เจา้ ชู้ฉุยฉาย น่งุ ลายฉีกผ้าดัดตัดผมใหม่ ดัดจรติ ปิดขมบั ทาไพล ห่มแพรหนังไกส่ องเพลาะ 195เสดจ็ สู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอื่ ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

เหน็ สาวสาวเหล่าขา้ หลวงเรือนนอก สะกิดบอกเพือ่ นกนั คนน้นั เหมาะ บ้างเดนิ เวยี นแวดชายร่ายเราะ พูดปะเหลาะลดเล้ยี วเกีย้ วพาน (พระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หลา้ นภาลัย ๒๕๕๘: ๖๑) เชน่ เดยี วกนั กบั ในบทพระสเ่ี สารก์ ลอนสวดทใ่ี นงานพระศพเตม็ ไปดว้ ยโรงโขน โรงหนงั โรงหนุ่ โรงละคร มกี ารเต้นรำ� ระบำ� เลน่ ดนตรี จดุ พลุจุดประทดั กนั อยา่ งสนกุ สนานจน “ดูเล่นเฮฮา” ดังนี้ โรงโขนโรงหนงั โรงเทพทองต้งั ระทาดอกไม้ โรงหนุ่ โรงละคร ทง้ั มอญท้ังไทย ทวายร�ำปรบไก ่ ตะไลจงั หัน มีตน้ กรรมพฤกษ ์ หลายต้นพิฦก มจี บครบครัน ศาลาฉ้ทาน ตระการเรยี งรนั ผ้าเหลืองอนนั ต ์ เต็มท้ังพลบั พลา แตง่ แล้วบน่ าน สำ� เรจ็ เสดจ็ การ ตามมีบญั ชา เชิญสองพระบาท ยรุ ยาตรลีลา ขนึ้ รถรจนา วเิ ชยี งอำ� ไพ แตรสงั ขฆ์ ้องกลอง สนน่ั มกี่ อ้ ง อึกทึกกนั ไป พิณพาทย์มโหร ี ดดี สขี ับไม ้ กลองชนะกลองไชย แห่แหนแน่นมา โหร่ ้องก้องกกึ เลอ่ื นลัน่ ครัน่ ครึก กกึ ก้องโกลา รปู สตั วป์ รากฏ หน้ารถราชา อ�ำมาตย์เสนา ล้อมพระศพไป ครน้ั ถงึ เมรุทอง เวยี นตามทำ� นอง สามรอบเมรไุ ชย เชญิ พระศพท้าว ปิน่ เกล้าภพไตร วางศพทา้ วไท บนแท่นรจนา โขนหนังระบำ� คนเลน่ เต้นร�ำ ต่างตา่ งภาษา หุน่ จนี หุ่นไทย ลาวมอญพมา่ เขมรละว้า ฝาหร่ังแขกไทร นอนศพภมู ี ไว้เจด็ ราตร ี สนนั่ หวั่นไหว บงั สุกุลชกั ผ้า ร้วู ่าเทา่ ไร สงั ขแ์ ตรแซ่ไป ไม่เว้นเวลา จดุ พลปุ ระทัด ผคู้ นแออดั ดเู ลน่ เฮฮา จดุ กรวดจังหนั กวดขนั ทุกท่า ไฟพะเนยี งเสยี งซา่ นกบนิ ครามครัน (พระส่เี สาร์กลอนสวด ๒๕๔๗: ๘๔) จะเหน็ ไดว้ า่ ฉากงานพระศพในวรรณคดไี ทยทำ� ใหเ้ หน็ ลกั ษณะของ “โศกอนั เกษม” เปน็ การ ผสานระหวา่ งอารมณท์ งั้ สองคอื ทงั้ บรรยากาศของความโศกเศรา้ และบรรยากาศของความสขุ เกษม ยินดีในคราวเดียวกันด้วย สุจิตต์ วงษ์เทศ ให้ความเห็นด้วยว่า เหตุท่ีงานศพในอุษาคเนย์ มมี หรสพงานรน่ื เรงิ ไมโ่ ศกเศร้าเพยี งอย่างเดียว เพราะเชอ่ื ว่าจะเปน็ การเรียกใหข้ วัญได้ยิน ชกั ชวน ขวัญก็จะกลบั ถกู ทาง เพือ่ คืนส่รู า่ งตามเดมิ (สุจติ ต์ วงษ์เทศ ๒๕๖๐ ดูบทความในเลม่ เดยี วกัน) ความส่งทา้ ย แมฉ้ ากงานพระศพจะเปน็ เพยี งสว่ นเลก็ ๆ ในองคป์ ระกอบของวรรณคดนี ทิ านไทย หากแตเ่ มอ่ื นำ� มาพจิ ารณาจะเหน็ คณุ คา่ และรอ่ งรอยความรสู้ กึ นกึ คดิ ของผคู้ นในยคุ สมยั นน้ั ผา่ นขนบการเลา่ เรื่อง 196 เสดจ็ สแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

ในรูปของร้อยกรอง แต่ฉากงานพระศพในวรรณคดีนิทานสมัยอยุธยาถึงรัตนโกสินทร์ก็ได้สะท้อน ๘ ให้เห็นร่องรอยและพลวัตของศาสนาและความเชื่ออันหลากหลายของสังคมไทย ทั้งน้ีเป็นเพราะ ศาสนาผีท่ีเป็นศาสนาด้ังเดิมไม่เคยตาย หากแต่ผสมผสานเข้ากับความเชื่อจากภายนอกทั้งพุทธ และพราหมณ์ รวมถงึ คนไทยเองยงั มปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั ชนชาตหิ ลากชาตพิ นั ธแ์ุ ละศาสนาทำ� ใหพ้ บเหน็ พธิ ศี พต่างๆ มุมมองตอ่ ความตายของไทยแต่ดัง้ เดิมมลี ักษณะเปน็ “โศกอนั เกษม” ซึง่ นบั เปน็ ลกั ษณะ เดน่ ประการหนง่ึ ของงานศพในอษุ าคเนยท์ ไี่ มเ่ นน้ ความโศกเศรา้ เพยี งอยา่ งเดยี ว หากมงี านมหรสพ ร่วมด้วย แต่เหตุท่ีงดให้งานศพเหลือเพยี งความโศกเศรา้ นนั้ เกดิ ขน้ึ ในสมัยรัชกาลที่ ๖ เทา่ นั้น นอกจากน้ีแล้ว ฉากงานพระศพในวรรณคดียังสะท้อนให้เราเห็นถึงเรื่องราวในอดีต ได้อีกหลายแง่มุม ตัวอย่างเช่นการสะท้อนความสัมพันธ์ระหว่างเมืองหลวงกับเมืองบริวารในลิลิต พระลอ ท่ีเมือ่ มงี านพระศพจะมีการเชิญทตู แตล่ ะเมอื งมาเป็นส่วนใหญ่ ความว่า “แล้วธกต็ รัสให้หา ทูตานทุ ตู มาไซร้ ใหจ้ ำ� ทูลพระราชสาสน์ อีกบรรณาการเหลอื หลาย ไปถวายแด่พระบาท ไทธ้ ิราช บญุ เหลือ เครอื ทินกรราชชนนี ภควดีฟังพจนสาร ถว้ นทกุ ประการประกาศ” ซงึ่ แสดงถงึ พระบารมี ของกษัตริย์ผู้ล่วงลับ และการหย่ังเชิงบรรดาเมืองบริวารว่ายังจงรักภักดีต่อกษัตริย์พระองค์ใหม่ หรอื ไม่ อาจกล่าวได้ว่า วรรณคดีไม่ได้มีคุณค่าเพียงเพ่ือสุนทรียศาสตร์เท่าน้ันหากแต่ยังบรรจุ ดว้ ยมติ ทิ างประวัตศิ าสตร์ สงั คม และวฒั นธรรมท่ยี ังรอให้วิเคราะห์และตีความอกี นานปั การ 197เสด็จสแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชือ่ ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

รายการอ้างอิง นทิ านค�ำกลอนสุนทรภู่เร่ือง สิงหไกรภพ. ๒๕๕๘. กรงุ เทพฯ: กรมศิลปากร. บทละครนอกเรือ่ ง ยขุ นั . ๒๕๔๘. กรงุ เทพฯ: กรมศิลปากร. พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหล้านภาลยั . ๒๕๕๘. บทละครเรอื่ ง อเิ หนา. กรงุ เทพฯ: โครงการวชิรญาณ. พระสเี่ สาร์กลอนสวด. ๒๕๔๗. กรงุ เทพฯ: กรมศลิ ปากร. ลลิ ติ พระลอ. ๒๕๐๘. กรุงเทพฯ: ศลิ ปาบรรณาคาร. สมปราชญ์ อมั มะพันธ์. ๒๕๓๖. ประเพณีและพธิ ีกรรมในวรรณคดีไทย. กรงุ เทพฯ: โอเดยี นสโตร.์ สุจติ ต์ วงษเ์ ทศ. ๒๕๕๙. “งานศพดัง้ เดิมแบบไทยๆในอษุ าคเนย์ แต่งชดุ สตี ่างๆ ชดุ ดำ� ไวท้ กุ ข์ เป็นประเพณี ไดจ้ ากฝรงั่ เพิง่ มีสมัย ร.๕”, มติชนออนไลน์. วันที่ ๑๖ ตลุ าคม ๒๕๕๙. Avialable at: http:// www.matichon.co.th/news/323920 [สืบค้นเม่อื : ๗ เม.ย. ๒๕๖๐] โสวัตกลอนสวด. ๒๕๔๘. กรงุ เทพฯ: กรมศิลปากร. 198 เสดจ็ สแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชือ่ ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

พิธีกงเตก๊ ๙ ในราชส�ำนกั ไทย รองศาสตราจารย์ ดร.สรุ สทิ ธ์ิ อมรวนิชศักด์ิ สาขาวิชาภาษาจนี คณะศิลปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ บทน�ำ “กงเตก๊ ” เป็นคำ� จีน ออกเสยี งสำ� เนยี งจนี กลางวา่ “กงเต๋อ” (功德) มหาพจนานุกรมภาษา จีนไดใ้ หค้ วามหมายไวว้ ่า เป็นคำ� ในพทุ ธศาสนา ค�ำว่า “กง” คือการกระทำ� ทก่ี ่อใหเ้ กดิ สัมฤทธผิ ล สามารถท�ำลายวงล้อแห่งการเวียนว่ายตายเกิดหรือวัฏสงสารของสรรพสัตว์สู่พระนิพพาน ค�ำว่า “เตอ๋ ” คอื คณุ ธรรมทผ่ี ปู้ ระกอบกรรมดี การกระทำ� วา่ ดว้ ย “กงเตอ๋ ” คอื การสวดมนต์ การบำ� เพญ็ ศลี ภาวนาและทาน เป็นต้น (汉语大词典编辑委员会 1995) ดังน้ัน พิธีกงเต๊กเป็นการท�ำบุญให้แก่ ผลู้ ว่ งลบั เพอ่ื สง่ วญิ ญาณไปสภู่ พภมู ทิ ดี่ ขี น้ึ พธิ กี รรมดงั กลา่ วถอื เปน็ ชว่ งเวลาทล่ี กู หลานไดแ้ สดงออก ถงึ ความกตัญญูกตเวทิตาต่อผวู้ ายชนม์ สงั คมไทยรจู้ กั คำ� วา่ “กงเตก๊ ” มานานแลว้ จนเปน็ ทร่ี จู้ กั ดขี องผคู้ นตงั้ แตช่ นั้ รากหญา้ จนถงึ ราชส�ำนักท่ีมีความเกี่ยวพันกับวิถีจีน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้เก็บ คำ� วา่ “กงเตก๊ ” โดยใหค้ วามหมายวา่ “การทำ� บญุ ใหแ้ กผ่ ตู้ ายตามพธิ ขี องนกั บวชนกิ ายจนี และญวน มกี ารสวดและเผากระดาษทท่ี ำ� เปน็ รปู ตา่ งๆ มบี า้ นเรอื น คนใช้ เปน็ ตน้ ” (ราชบณั ฑติ ยสถาน ๒๕๕๖: ๓) ส่วนศพั ทานกุ รมวฒั นธรรมไทยได้อธิบายความหมายของคำ� วา่ “กงเต๊ก” คอื “การท�ำบุญให้แก่ ผตู้ ายตามพธิ ขี องพระจนี และพระญวน ตรงกบั คำ� วา่ “ทกั ษณิ านปุ ทาน” ของพทุ ธศาสนาฝา่ ยหนิ ยาน กระท�ำนับจากวนั ตาย คอื เมื่อครบ ๗ วัน ๒๑ วัน ๓๕ วัน ๕๐ วนั และ ๑๐๐ วัน มีการสวดอญั เชญิ พระพทุ ธเจ้ามาสูพ่ ธิ ี เชญิ ดวงวญิ ญาณของผ้ตู ายมารับบญุ เสร็จแล้วส่งกลบั ยังปรโลก และมีการเผา กระดาษเงินกระดาษทอง กระดาษท่ีท�ำเป็นรูปต่างๆ มีบ้านเรือน เคร่ืองอุปโภคบริโภค คนรับใช้ ธนบตั รปลอม เปน็ ตน้ เพอ่ื สง่ ไปใหผ้ ตู้ ายไดใ้ ชใ้ นปรโลก” (ปรชั ญา ปานเกตุ ๒๕๕๘: ๒๒) นอกจากน้ี ยงั ไดเ้ กบ็ คำ� ว่า “กงเต๊กหลวง” ไว้ด้วย อธิบายความว่า “พธิ ีบ�ำเพ็ญพระราชกุศลอุทศิ ถวายในงาน พระศพเจ้านายตามพิธีของพระจีนและพระญวน” (ปรชั ญา ปานเกตุ ๒๕๕๘: ๒๒) 199เสด็จสแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook