Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-Book_SADET_09

E-Book_SADET_09

Published by LibrarySpt, 2021-09-13 06:18:01

Description: E-Book_SADET_09

Search

Read the Text Version

เครอื่ งกงเตก๊ ในงานพระเมรขุ องสมเดจ็ พระศรพี ชั รนิ ทรา บรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง เม่อื พ.ศ. ๒๔๖๓ (ทีม่ า: แนง่ นอ้ ย ศักดิ์ศรี และคณะ ๒๕๕๕: ๗๔) สรุปได้วา่ “กงเตก๊ ” คือพิธีของนกั บวชนกิ ายจนี และญวน เพ่ือเป็นการทำ� บญุ ใหแ้ กผ่ ตู้ าย ซึ่งจะมีการสวดอัญเชิญพระพุทธเจ้ามาสู่ปะร�ำพิธีท่ีได้จัดเตรียมไว้ และเชิญดวงวิญญาณของผู้ตาย มารับบุญ เม่ือเสร็จส้ินพิธีแล้วก็จะส่งดวงวิญญาณกลับยังปรโลก ในพิธีน้ีมีการเผากระดาษเงิน กระดาษทอง กระดาษทท่ี ำ� เปน็ รูปตา่ งๆ มีบ้านเรอื น เครอ่ื งอปุ โภคบริโภค คนรับใช้ ธนบตั รปลอม เปน็ ตน้ เพอื่ สง่ ไปใหผ้ ตู้ ายไดใ้ ชใ้ นปรโลกอกี ดว้ ย สำ� หรบั “กงเตก๊ หลวง” กม็ คี วามคลา้ ยคลงึ กนั หากแต่ ทางราชสำ� นกั ประกอบพธิ ดี งั กลา่ วเพอื่ อทุ ศิ ถวายพระศพเจา้ นายตามราชประเพณที ท่ี ำ� สบื ตอ่ กนั มา ที่มาของความเชอ่ื เร่ืองกงเต๊ก พธิ กี งเตก๊ มพี นื้ ฐานมาจากความกตญั ญตู อ่ บพุ การหี รอื ผมู้ พี ระคณุ ทล่ี ว่ งลบั ตามในพระสตู ร ของพระสงฆฝ์ า่ ยอนัมนิกาย (นกิ ายมหายานจากเวียดนาม) ได้บนั ทกึ ว่า กาลครั้งหน่ึง พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ เชตวันวิหาร กรุงสาวัตถี พร้อมด้วย พระภิกษุห้อมล้อมคอยสดับพระธรรมเทศนา คร้ังล่วงปัจฉิมยาม ได้มีเทพบุตรองค์หน่ึงพร้อมด้วย บริวารน�ำเครื่องสักการบูชามาถวาย ตรงเข้าไปนมัสการแทบพระบาทถวายเคร่ืองสักการบูชา แล้วนง่ั ลง ณ ทีค่ วร เพือ่ คอยสดับพระธรรมเทศนา เม่ือพระพุทธองคท์ อดพระเนตรเหน็ เทพบุตรน้นั แล้วก็แจม่ แจ้งในประวตั ขิ องเทพบตุ รด้วยญาณอันวเิ ศษ จงึ มีพุทธฎีกาตรัสแกพ่ ระภกิ ษุทั้งหลายวา่ ดกู อ่ นภกิ ษทุ งั้ หลาย เดมิ ทเี ทพบตุ รนเ้ี ปน็ บตุ รของเศรษฐที อ่ี าศยั อยทู่ เ่ี มอื งสาวตั ถี แตไ่ ดท้ ำ� มาตฆุ าต แล้วกลัวภัยจะมาถึงตนจึงได้หลบหนีไปอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ขณะท่ีอุปสมบทได้ศึกษาเล่าเรียน พระธรรมวนิ ัยอย่างเคร่งครัด ต่อมาได้เป็นพระมหาเถรและเป็นพระอุปัชฌายาจารย์ส่ังสอนภิกษุและสามเณรอยู่เสมอ ด้วยความเอาใจใส่ ทั้งมีความเมตตาแก่ผู้ยากจนอนาถา บริจาคทานโดยปราศจากความตระหนี่ 200 เสดจ็ ส่แู ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอื่ ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

๙ พธิ บี ำ� เพญ็ พระราชกศุ ลของคณะสงฆอ์ นมั นกิ ายและจนี นกิ ายทลี่ านดา้ นหนา้ พระทนี่ งั่ ดสุ ติ มหาปราสาท (ที่มา: แน่งนอ้ ย ศักด์ศิ รี และคณะ ๒๕๕๕: ๒๑๕) ถเ่ี หนยี ว เมอื่ มรณภาพเนอื่ งดว้ ยเปน็ คนอกตญั ญู ผลกรรมทไ่ี ดฆ้ า่ มารดาจงึ ตอ้ งไปเสวยทกุ ขใ์ นอเวจี มหานรก ส่วนศิษย์ท้ังหลายได้พร้อมใจกันจัดการฌาปนกิจฉลองคุณพระอาจารย์ ในหมู่ศิษย์นั้น มศี ษิ ยร์ ปู หนง่ึ ไดฌ้ านสมาบตั แิ กก่ ลา้ จงึ ตรวจในทางฌานทว่ั ทง้ั ชน้ั ฟา้ มนษุ ยแ์ ละเดยี รจั ฉานกไ็ มเ่ หน็ พระอาจารย์ จงึ ตรวจไปถงึ อบายภมู ิ กพ็ บเหน็ พระอาจารยเ์ สวยทกุ ขใ์ นนรกอเวจี เมอื่ ออกจากฌานแลว้ เล่าเร่ืองให้เพ่ือนภิกษุทั้งหลายฟัง บรรดาศิษย์ต่างก็มีความสงสารพระอาจารย์ จึงพร้อมกันจัดพิธี กงเตก๊ ขึน้ เป็นการบ�ำเพ็ญกศุ ลอทุ ิศใหพ้ ระอาจารย์ ฝ่ายพระอาจารย์เมื่อได้รับผลบุญจากที่สานุศิษย์ส่งให้ ประกอบกับกรรมดีท่ีเคยกระท�ำ แตค่ ร้ังปางกอ่ น ท�ำให้ปราศจากความมดื มัว ระลึกถงึ คุณพระรัตนตรัย นำ� ให้ได้พน้ ทกุ ข์ไปเสวยสขุ ในสรวงสวรรค์ จงึ ไดน้ ำ� เครอื่ งสกั การบชู าพรอ้ มเหลา่ บรวิ ารมานมสั การองคส์ มเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ณ แห่งน้ี (ศ.อภบิ าลศรี ๒๕๒๖: ๑๒๑; พระครูคณานัมสมณาจารย์ ๒๔๙๓: ๑-๒) จากคติความเชื่อข้างต้นท�ำให้ทราบถึงกุศลบุญแห่งการประกอบพิธีกงเต๊ก ถือเป็นพิธี ที่สามารถช่วยดวงวิญญาณให้หลุดพ้นจากนรกอเวจี ด้วยกรรมที่เคยกระท�ำเม่ือคร้ังมีชีวิตอยู่ และ ดว้ ยเหตนุ นั้ พธิ กี งเตก๊ จงึ มคี วามสำ� คญั ดว้ ยเพราะเชอ่ื กนั วา่ ถา้ ผตู้ ายทำ� บญุ บา้ งบาปบา้ งพอไลเ่ ลยี่ กนั วิญญาณของผู้ตายจะต้องไปสู่ศาลเมืองนรกฟังค�ำตัดสิน ศาลเมืองนรกจะสอบสวนเรื่องบุญบาป เป็นสำ� คญั กอ่ นจะพิจารณาลงโทษตามควรแก่โทษานโุ ทษ แล้วจงึ ปลดปล่อยให้ไปเกดิ ใหม่ เหตุน้ี การทำ� พธิ กี งเตก๊ จงึ มคี วามหมายอยา่ งยง่ิ กลา่ วคอื เปน็ การสง่ ผลบญุ ไปเพม่ิ ใหแ้ กผ่ ตู้ าย เพอ่ื ผอ่ นหนกั ให้เปน็ เบาในผลของบาปกรรมทีเ่ คยได้ก่อไวเ้ มื่อตอนมชี ีวิตอยู่ (กรมศิลปากร ๒๕๒๙: ๑๒๑) 201เสด็จส่แู ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชือ่ ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

พธิ ีกงเตก๊ ของราชส�ำนกั ไทย “จนี -ไทยมใิ ชอ่ นื่ ไกลพนี่ อ้ งกนั ” เปน็ คำ� พดู ทหี่ ลายคนคงไดย้ นิ ไดฟ้ งั กนั มานาน แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความสมั พนั ธอ์ นั ดรี ะหวา่ งไทย-จนี ทม่ี มี ากวา่ ๗๐๐ ปี วถิ กี ารดำ� รงชพี วฒั นธรรม ประเพณหี ลายสงิ่ หลายอยา่ งทพี่ บเหน็ ในสงั คมไทยปจั จบุ นั คงยากทจ่ี ะปฏเิ สธไดว้ า่ เปน็ ของไทยมาแตโ่ บราณทตี่ กทอด สบื ต่อกนั มา โดยไม่ไดร้ บั มาจากวัฒนธรรมอนื่ ๆ เลยแม้แตน่ ้อย “กงเต๊ก” เปน็ พธิ กี รรมทป่ี ระกอบ ในงานศพของชาวจีน ได้เข้ามามบี ทบาทในสังคมไทยมาชา้ นาน ซึง่ ทางราชสำ� นักไทยไดร้ บั มาจาก จนี และญวน (เวยี ดนาม) อยา่ งแนน่ อน ทง้ั นตี้ อ้ งเขา้ ใจวา่ ประเทศเวยี ดนามในอดตี กร็ บั เอาวฒั นธรรม จนี ไปปรับใชเ้ ป็นจ�ำนวนมาก โดยเฉพาะประเพณแี ละพิธีกรรมของทางราชสำ� นกั จุดเร่ิมตน้ ของกงเต๊กหลวง พธิ กี งเตก๊ เรมิ่ จดั ขนึ้ ในสงั คมไทยเมอื่ ไรนนั้ ยงั ไมส่ ามารถระบชุ ช้ี ดั ได้ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ พธิ ี กงเต๊กที่สามัญชนคนทัว่ ไปจัดขน้ึ ไมม่ เี อกสารบนั ทกึ ไว้ (แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย ๒๕๕๔: ๔) หากแต่ เชื่อได้ว่าคงมีมาแต่คร้ังสมัยกรุงศรีอยุธยาแล้ว เพราะมีชุมชนชาวจีนอยู่อาศัยและท�ำการค้าตามที่ ปรากฏในเอกสารทางประวัตศิ าสตร์ (เศรษฐพงษ์ จงสงวน ๒๕๕๙: ๑๔๗) พิธีกงเต๊กหลวงหรือพิธีกงเต๊กท่ีทางราชส�ำนักได้มีพระบรมราชานุญาตให้ประกอบพิธี ข้ึนน้ัน กล่าวกันว่ามีมาแต่ครั้งสมัยการถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ แห่งราชจักรีวงศ์ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าให้ท�ำเป็น ครงั้ แรก ดังปรากฏหลักฐานใน พระราชพงศาวดารกรุงรตั นโกสินทร์ รัชกาลที่ ๔ ดงั นี้ “ลุศักราช ๑๒๑๔ ปชี วดจัตวาศก เปน็ ปีท่ี ๒ โปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มให้ เร่งรัดท�ำการพระเมรุให้ทันในฤดูแล้ง เจ้าพนักงานจัดการท�ำพระเมรุขนาดใหญ่สูง ตลอดยอด ๒ เส้น...มีเครื่องประดับในพระบรมศพครบทุกสิ่งประการตามเย่ียงอย่าง ประเพณีพระบรมศพมาแตก่ ่อน มกี ารวเิ ศษออกไปกวา่ พระเมรแุ ตก่ อ่ น คอื เจาะผนงั เปน็ ชอ่ งกล ทำ� เปน็ ซมุ้ ยอด ประกอบติดกบั ผนงั ท�ำเรือนตะเกยี งใหญใ่ นระหวา่ งมขุ ทง้ั สี่ เปน็ ที่ประกวดประขันกนั อย่างยิ่ง ขอแรงในพระบวรราชวังซุ้มหน่ึง ในสมเด็จเจ้าพระยาองค์ใหญ่ซุ้มหนึ่ง สมเด็จเจ้าพระยาองค์น้อยซุ้มหน่ึง เจ้าพระยานิกรบดินทร์ซุ้มหนึ่ง ซุ้มตะเกียงนั้น สงู ๓ วา มเี ครอ่ื งประดบั แลเรอื นไฟเปน็ การชา่ งตา่ งๆ มรี ปู ลน่ั ถนั สงู ๖ ศอก ขา้ งประตู ทุกประตูมีศาลาหลวงญวนท�ำกงเต๊ก ๗ วัน ๗ คืน แล้วโปรดให้เจ้าสัวเจ้าภาษี ผลดั เปลย่ี นกนั เขา้ ไปคำ� นบั พระบรมศพตามอยา่ งธรรมเนยี มจนี มเี ครอ่ื งเซน่ ทกุ วนั ...” (เจา้ พระยาทพิ ากรวงศ์ ๒๕๔๘: ๖๓) จากความข้างต้นจะเห็นได้ว่า พิธีกงเต๊กหลวงในสมัยน้ันมีขึ้นหลังจากสร้างพระเมรุแล้ว โดยมีพระญวนเป็นผู้ประกอบพธิ ี ซึ่งล้นเกล้ารัชกาลท่ี ๔ มีพระบรมราชานญุ าตโปรดเกล้าใหม้ ีขึ้น ดังน้ัน จึงกลายเป็นธรรมเนียมปฏิบัติของราชส�ำนักไทย กล่าวคือเมื่อเจ้านายส้ินพระชนม์จะมี การนิมนตพ์ ระญวนและจนี นกิ ายมาประกอบพิธกี รรมดังกลา่ ว 202 เสด็จสแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชือ่ ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

การท่ีพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชด�ำริให้จัดพิธีกงเต๊กถวายล้นเกล้า ๙ รัชกาลที่ ๓ น้นั มเี หตผุ ลหลายประการ (ตะเกียงคู่ ๒๕๓๔: ๑๖-๒๘) ๑. พระภรรยาเจ้าของพระองค์ทรงมเี ช้ือสายจีน อาทิ เจ้าจอมมารดาองึ่ ซงึ่ เปน็ ธดิ า ของเจ้าพระยานิกรบดนิ ทร์ (โต) ต้นสกลุ “กลั ยาณมิตร” เจ้าจอมมารดาเขียว ซงึ่ เป็นธดิ า ของกรมขุนสุนทรภูเบศร์ (จีนเรือง สุนทรกุล ณ ชลบุรี) เศรษฐีชาวเมืองบางปลาสร้อย เจา้ จอมอรณุ ซง่ึ เปน็ ธดิ าหลวงเดชนายเวร (สดุ ไกรฤกษ)์ ผสู้ บื เชอื้ สายจากชาวจนี ฮกเกยี้ น แซห่ ลนิ (林) เป็นตน้ ๒. ความสามารถในด้านการค้าส�ำเภากับชาวจีน ต้ังแต่เมื่อครั้งยังทรงพระยศเป็น กรมหม่ืนเจษฎาบดนิ ทร์ จนไดร้ บั พระฉายาจากพระราชบดิ าตรสั ล้อวา่ “เจา้ สัว” ซึง่ ช่วง ระยะเวลาดังกลา่ วถอื เปน็ ยุคทองแหง่ การคา้ ส�ำเภาระหวา่ งไทย-จีน ๓. มีพระราชศรัทธาในการพระพุทธศาสนาอย่างแรงกล้า กล่าวคือ พระอาราม ทพี่ ระองคท์ รงสรา้ ง มอี ยดู่ ว้ ยกนั ๓ วดั พระอารามทท่ี รงปฏสิ งั ขรณ์ มอี ยดู่ ว้ ยกนั ๕๓ วดั นอกจากนน้ั แลว้ พทุ ธเจดยี ท์ พี่ ระองคท์ รงสรา้ งหรอื ปฏสิ งั ขรณ์ มอี ยดู่ ว้ ยกนั ๒๓ องค์ (กรม ศิลปากร ๒๕๔๐: ๑๙-๒๓) จนมคี ำ� กล่าวกนั มาวา่ “ในรชั กาลท่ี ๑ น้ัน ถ้าใครเขม้ แขง็ ใน การศกึ สงครามก็เป็นคนโปรด ในรชั กาลท่ี ๒ ถ้าใครเป็นจนิ ตกวีกเ็ ปน็ คนโปรด ในรชั กาล ที่ ๓ ถา้ ใครใจบญุ สร้างวัดวาอารามกเ็ ปน็ คนโปรด” ๔. ทรงมคี วามชนื่ ชอบในศลิ ปะจนี ผรู้ บั ใชใ้ ตเ้ บอื้ งพระยคุ ลบาทสว่ นหนงึ่ เปน็ จนี หรอื อาจเป็นเพราะการที่ผู้คนใกล้ชิดพระองค์ท่านล้วนแต่แต่งส�ำเภาไปค้าขายกับชาวจีน จึง ทำ� ใหเ้ กดิ ความชนื่ ชอบทจี่ ะนำ� ศลิ ปะจนี มาประยกุ ตเ์ พอื่ ประดบั ตกแตง่ ในพระอารามตา่ งๆ แมแ้ ตพ่ ระทนี่ ง่ั ภายในพระบรมมหาราชวงั บางองคก์ ม็ คี วามเปน็ จนี อยมู่ าก ซง่ึ งานศลิ ปกรรม โดยเฉพาะดา้ นสถาปตั ยศลิ ปท์ ไี่ ดร้ บั อทิ ธพิ ลจากศลิ ปะจนี ในยคุ น้ี นยิ มเรยี กวา่ ศลิ ปะ “แบบ นอกอยา่ ง” ซงึ่ มคี วามแตกตา่ งจาก “แบบประเพณนี ยิ ม” ทม่ี มี าแตเ่ ดมิ (ศกั ดช์ิ ยั สายสงิ ห์ ๒๕๕๑: ๘-๙) หรอื อาจจะเรียกวา่ “ศิลปะแบบพระราชนยิ ม รชั กาลท่ี ๓” กไ็ ด้ เหตุผลข้างต้นเป็นเพียงข้อสันนิษฐานถึงการเกิดขึ้นของพิธีกงเต๊กหลวงหรือกงเต๊กที่ทาง ราชส�ำนักจัดขึ้นเพื่อถวายในงานพระราชพิธีพระบรมศพของพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ.๒๓๙๕ หากเมื่อได้ศึกษาถึงเชื้อสายแห่งราชจักรีวงศ์จะพบว่า พระอัครชายา (หยก) แหง่ องคส์ มเดจ็ พระปฐมบรมมหาชนกกเ็ ปน็ ธดิ าของจนี กมิ คหบดชี าวจนี ประสตู ทิ บี่ า้ นภายในกำ� แพง พระนคร ด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณป้อมเพชร ซ่ึงเป็นย่านอาศัยของชาวจีนในรัชสมัย สมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัวบรมโกศ (กติ ติพงษ์ วิโรจน์ธรรมากูร ๒๕๔๙: ๓) จากเอกสารของมิชชนั นารี ชาวอเมริกันท่ีช่ือ นางเอ็น.เอ.แมคโดนัลด์ เม่ือคร้ังเดินทางมายังประเทศไทยได้บรรยายไว้ว่า “ชาวจีนผู้ม่ังค่ังมักจะกลายเป็นท่ีโปรดปรานของกษัตริย์ผู้ปกครอง และได้รับแต่งต้ังเป็นขุนนาง มียศถาบรรดาศักดิ์ และขุนนางเหล่านี้จะถวายลูกสาวของพวกเขาแต่พระเจ้าแผ่นดินเป็น การตอบแทน ดงั นนั้ เราจะพบวา่ มเี ชื้อสายชาวจีนอยูใ่ นราชวงศข์ องสยาม” (สำ� นักวรรณกรรมและ ประวตั ิศาสตร์ ๒๕๕๗: ๑๑๐) 203เสด็จสู่แดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

นอกจากนนั้ แลว้ ยงั จะพบวา่ กษตั รยิ ไ์ ทยสมยั รตั นโกสนิ ทรห์ ลายพระองคม์ พี ระนามแบบจนี อีกด้วย เช่น รชั กาลที่ ๑ มีพระนามว่า “เจงิ้ หวั ” (郑华) รชั กาลที่ ๒ มีพระนามว่า “เจงิ้ ฝัว” (郑佛) รชั กาลท่ี ๓ มีพระนามว่า “เจ้ิงฝู” (郑福) รัชกาลท่ี ๔ มีพระนามวา่ “เจงิ้ หมิง” (郑明) และรัชกาล ที่ ๕ มีพระนามวา่ “เจิ้งหลง” (郑隆) เปน็ ตน้ อนึ่งพระบรมสาทิสลกั ษณข์ องล้นเกล้ารชั กาลที่ ๔ และ รชั กาลท่ี ๕ ยงั ทรงฉลองพระองคแ์ บบจกั รพรรดจิ นี ดว้ ย สว่ นธรรมเนยี มการบชู าพระปา้ ยในเทศกาล ตรุษสารทก็เป็นอีกร่องรอยหนึ่งที่เห็นถึงการรับเอาวัฒนธรรมจีนมาสู่ราชส�ำนักไทย ขณะเดียวกัน ราชส�ำนักเองก็ได้เพ่ิมเติมบางอย่างในวัฒนธรรมประเพณีที่รับมาเช่นกัน อาทิ การพระราชกุศล เลี้ยงพระตรุษจีน เป็นต้น ซึ่งธรรมเนียมดังกล่าวเกิดขึ้นในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้า เจ้าอยู่หัว รชั กาลที่ ๓ (พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัว ๒๕๕๖: ๑๔๕) สิ่งต่างๆ เหล่านี้ แสดงให้เห็นถึงการรับเอาวัฒนธรรมท่ีดีงามของจีนมาปรับใช้ในราชส�ำนักไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คือการรับเอาวัฒนธรรมท่ีเกี่ยวข้องกับความกตัญญู ซ่ึงการบูชาพระป้ายในเทศกาลส�ำคัญๆ นั้น กค็ ือการบชู าบรรพบุรษุ เป็นธรรมเนยี มทล่ี กู หลานชาวจีนควรปฏิบตั อิ ยา่ งเคร่งครดั เหตุที่พระญวนเป็นผู้ประกอบพิธีกงเต๊กหลวงในยุคแรกๆ นั้น เป็นเพราะว่าชาวญวน จ�ำนวนมากได้อพยพลี้ภัยสงครามมาตั้งแต่ปลายสมัยธนบุรีแล้ว ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชได้มีการต้ังวัดญวนข้ึน จึงได้นิมนต์พระสงฆ์ ซึ่งบวชมาจาก ประเทศญวนมาประจำ� ในไทย คณะสงฆญ์ วนชดุ แรกๆ มพี ระผใู้ หญท่ สี่ ำ� คญั ๒ รปู คอื พระครคู ณาณมั สมณาจารย์ (ฮงึ ) และพระครสู มณานมั สมณาจารย์ (เหยยี่ วกรา่ ม) เปน็ ผนู้ ำ� ของคณะสงฆอ์ นมั นกิ าย ในสมยั น้ัน วดั ญวนในประเทศไทยถอื ก�ำเนดิ ข้ึนกอ่ นวัดจีน ในสมยั รชั กาลที่ ๓ ชว่ งท่สี มเด็จฯ เจ้าฟ้า มงกฎุ (ต่อมา คือ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ) ขณะทรงพระผนวชอยู่ ทรงสนพระทัย ในลัทธิประเพณีและการปฏิบัติของพระสงฆ์ฝ่ายมหายาน ซึ่งในขณะนั้นพระสงฆ์ฝ่ายมหายาน มีแต่ฝ่ายอนัมนิกายยังไม่มีฝ่ายจีนนิกาย จึงโปรดให้นิมนต์ “องฮึง” เจ้าอาวาสวัดญวนตลาดน้อย ในขณะนนั้ เขา้ เฝา้ ซง่ึ ทรงถกู พระราชอธั ยาศยั เปน็ อยา่ งดี เมอื่ เสดจ็ ขนึ้ ครองราชยแ์ ลว้ กท็ รงพระกรณุ า โปรดเกล้าให้คณะสงฆ์ฝ่ายอนัมนิกาย เข้ามาอยู่ในพระบรมราชูปถัมภ์ และอยู่ในสถานะดังกล่าว เร่ือยมา แม้จะมีการผลัดเปลี่ยนรัชกาลมาจนถึงปัจจุบันก็ยังได้พระราชทานเงินช่วยเหลือ ในการปฏิสังขรณ์และโปรดเกล้าให้พระสงฆ์ญวนเข้าเฝ้าเป็นประจ�ำ รวมถึงยังให้มีพิธีกรรมตาม ความเช่ือของฝ่ายอนัมนิกายในพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาและพิธีอื่นๆ อันเป็นประเพณี ท่ปี ฏบิ ัติสืบเนอ่ื งมาจนปัจจุบันอีกดว้ ย เมอ่ื พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เสด็จขน้ึ ครองราชยใ์ นปี พ.ศ. ๒๔๑๑ ไดท้ รง ปฏิบัติตามแบบอย่างสมเด็จพระบรมชนกนาถ ในเรื่องที่เกี่ยวกับการอุปถัมภ์และการปฏิสังขรณ์ วัดญวน โดยพระราชทานเงินช่วยเหลือ ในการปฏิสังขรณ์วัดญวนตลาดน้อยอีกครั้ง และได้ พระราชทานนามใหม่ว่า “วัดอุภัยราชบำ� รงุ ” คำ� วา่ “อภุ ัย” แปลว่า สอง หมายถึงพระอารามทไี่ ด้ รับพระบรมราชปู ถมั ภจ์ ากพระมหากษัตริย์ ๒ พระองค์ คอื พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัว และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว นอกจากนี้ ยังได้โปรดเกล้าพระราชทานสมณศักด์ิ 204 เสดจ็ สู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

๙ พระสงฆ์สดับปกรณ์ (ท่ีมา: คนจนี ๒๐๐ ปี ภายใต้พระบรมโพธสิ มภาร ภาค ๒) ของ “องฮึง” เจ้าอาวาสวัดอุภัยราชบ�ำรุงเป็นท่ี “พระครูคณานัมสมณาจารย์” เป็นเจ้าคณะใหญ่ ฝ่ายอนัมนิกายในประเทศไทย ต่อมายังได้พระราชทานนามวัดญวนและวัดจีนอื่นๆ อีกหลายวัด (โสวัตรี ณ ถลาง ๒๕๕๐: ๓๘-๓๙) ด้วยเหตุที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรง สนพระราชหฤทัยต่อประเพณีความเช่ือและวัตรปฏิบัติของพระสงฆ์ฝ่ายอนัมนิกายจึงท�ำให้มี งานพธิ ดี ังกล่าวในราชสำ� นัก อนึ่ง การบ�ำรุงพระพุทธศาสนาในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวท่ีพระองค์มี พระราชศรทั ธายง่ิ นนั้ จากพระราชปจุ ฉาในพระองคพ์ บวา่ สมยั ของลน้ เกลา้ รชั กาลที่ ๓ ไดม้ เี จา้ นาย หลายพระองค์ท่ีทรงห่วงหาอาทรส้ินพระชนม์ลง รวมถึงขุนนางหลายคนก็กราบบังคมลาดับสูญ กอ่ นวยั อันควร ไม่ไดอ้ ยู่รับใชเ้ บ้อื งพระยคุ ลบาท ซึ่งพระองคท์ รงทกุ ข์โสมนสั ยงิ่ นกั จงึ ตรสั ถามถงึ การบ�ำเพ็ญพระราชกุศลใดท่ียังไม่ได้ทรงบ�ำเพ็ญบ้าง ในคร้ังนั้น “ให้เจ้าประคุณทั้งปวงพิจารณา ความในพระบาลี ถวายพระองค์คนละฉบับ ให้มีความอ้างว่าได้ความจากคัมภีร์น้ันๆ มีนิทานเป็น ทำ� เนยี มอยา่ งนนั้ แลว้ ไดเ้ รยี งความใส่สมุดเปน็ อกั ษรมาใหท้ กุ ๆ พระองค์ ใหไ้ ดใ้ นเดอื นอา้ ย จะได้ ทูลเกล้าทลู กระหม่อมถวาย แตม่ ีพระโองการห้ามมใิ ห้เจ้าคณุ ท้ังปวงปรกึ ษากนั ใหเ้ อาแต่ตามใจรกั ตามแต่จะเห็นเถิด” (ประสทิ ธิ์ แสงทับ ๒๕๕๐: ๓๓๒-๓๓๓) ซ่ึงไม่มีพระเถระผใู้ หญไ่ ดถ้ วายวิสชั นา ในพระราชปุจฉาที่พระองค์โปรดรับส่ังในเร่ืองดังกล่าว ก็เป็นข้อคิดท่ีว่า การคร้ังน้ันไม่มีพระบาลี ข้อใดท่ีใช้อ้างเพื่อถวายพระราชปจุ ฉาในพระองค์ได้ เมื่อล้นเกลา้ รชั กาลที่ ๔ เสดจ็ เสวยราชสมบัติ แล้ว ซง่ึ พระองค์ทรงสนพระราชหฤทัยในคตคิ วามเชือ่ ในลทั ธิอน่ื ๆ อยู่ก่อนหนา้ น้นั แล้ว โดยเฉพาะ อย่างย่ิงคติความเช่ือในพุทธศาสนาฝ่ายอนัมนิกาย เม่ือมีการจัดพระราชพิธีพระบรมศพจึงทรง พระกรุณาโปรดเกล้าให้บรรพชิตญวนจัดพิธีกงเต๊กถวาย ท้ังนี้อาจเน่ืองด้วยเป็นการถวายพระราช 205เสดจ็ สู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารีทรงทอดพระเนตรบา้ นจำ� ลองทที่ ำ� ขึ้นจากกระดาษ ในงานพธิ ีพระบรมศพสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี (ทม่ี า: จดหมายเหตงุ านพระบรมศพ สมเด็จพระศรีนครนิ ทราบรมราชชนน)ี กศุ ลถวายดวงพระวญิ ญาณในพระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ วั และพระองคเ์ องกไ็ มเ่ คยบำ� เพญ็ พระราชกศุ ลดังกล่าวมากอ่ นก็เป็นได้ การพระราชทานเพลงิ พระบรมศพของลน้ เกลา้ รชั กาลที่ ๓ ในครงั้ นนั้ จงึ มกี ารนำ� เอาพธิ กี รรม ทเ่ี รยี กว่ากงเตก๊ มาใชใ้ นราชสำ� นกั ไทย เรมิ่ แรกมพี ระญวนเปน็ ผปู้ ระกอบพธิ ี ตอ่ มาเมอ่ื เกดิ จนี นกิ าย ในไทยข้ึนแล้วจึงได้ให้พระสงฆ์จากทั้งสองฝ่าย กล่าวคือ ฝ่ายจีนนิกายและฝ่ายอนัมนิกายได้สลับ หมนุ เวยี นเปน็ ผปู้ ระกอบพธิ ดี งั กลา่ ว ทงั้ นยี้ งั ตอ้ งเขา้ ใจเพม่ิ เตมิ ดว้ ยวา่ พระญวนหรอื พระจนี ตา่ งลว้ น เปน็ คณะสงฆฝ์ า่ ยมหายานทง้ั สนิ้ คตคิ วามเชอ่ื ในการพธิ กี รรมจงึ มลี กั ษณะทค่ี ลา้ ยคลงึ กนั อยา่ งมาก งานพธิ กี งเตก๊ ในราชสำ� นกั ไทย พิธีกงเต๊กถือเป็นธรรมเนียมปฏิบัติของราชส�ำนักไทยในการประกอบพิธีพระบรมศพ และพระศพของเจ้านายตั้งแต่คร้ังสมัยงานพระบรมศพของพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นตน้ มา ปจั จุบนั พธิ ีกงเตก๊ ในงานพิธพี ระบรมศพและพระศพคร้ังส�ำคัญมีดงั นี้ (นนทพร อยมู่ ัง่ มี ๒๕๕๙: ๑๐๗-๑๑๑; เศรษฐพงษ์ จงสงวน ๒๕๕๙; สันต์ จติ รภาษา ๒๕๒๖: ๑๕๐-๑๕๓) ๑. งานพระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยูห่ ัว เมอื่ ปี พ.ศ.๒๓๙๕ ๒. งานพระบรมศพสมเดจ็ พระเทพศิรนิ ทราบรมราชนิ ี เม่อื ปี พ.ศ.๒๔๐๔ ๓. งานพระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระปิ่นเกล้าเจา้ อยหู่ วั เมื่อปี พ.ศ.๒๔๐๙ ๔. งานพระศพกรมหมื่นมเหศวรศวิ วลิ าส พระราชโอรสในพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้า เจ้าอยู่หวั เมอื่ ปี พ.ศ.๒๔๑๐ ๕. งานพระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว เมอื่ ปี พ.ศ.๒๔๑๑ 206 เสดจ็ สแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชอื่ ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

๖. งานพระบรมศพสมเดจ็ พระนางเจา้ สนุ นั ทากมุ ารรี ตั น์ และพระศพสมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ ๙ เจา้ ฟ้ากรรณาภรณเ์ พ็ชรรัตน์ เมือ่ ปี พ.ศ.๒๔๒๓ ๗. งานพระศพสมเด็จพระเจา้ ลูกเธอ เจ้าฟ้าพารรุ ดั มณีมัย เม่อื ปี พ.ศ.๒๔๓๐ ๘. งานพระศพสมเดจ็ พระเจา้ ลกู ยาเธอ เจ้าฟ้าศริ ิราชกกธุ ภณั ฑ์ เมอ่ื ปี พ.ศ.๒๔๓๐ ๙. งานพระศพสมเด็จพระเจา้ ลูกยาเธอ เจ้าฟา้ ตรีเพช็ รุตมธ์ ำ� รง เมอ่ื ปี พ.ศ.๒๔๓๐ ๑๐. งานพระศพพระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคนารีรัตน์ เม่อื ปี พ.ศ.๒๔๓๒ ๑๑. งานพระบรมศพสมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ เจา้ ฟา้ มหาวชริ ณุ หศิ สยามมกฎุ ราชกมุ าร เม่ือปี พ.ศ.๒๔๓๗ ๑๒. งานพระศพพระเจ้ามหัยยิกาเธอ กรมสมเด็จพระสุดารัตนราชประยูร และพระศพ พระเจา้ น้องยาเธอ เจา้ ฟ้ากรมพระจักรพรรดิพงศ์ เมือ่ ปี พ.ศ.๒๔๔๓ ๑๓. งานพระศพพระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าอุบลรัตนนารีนาค กรมขุนอรรควรราช กลั ยา เมือ่ ปี พ.ศ.๒๔๔๕ ๑๔. งานพระศพพระเจา้ ลูกเธอ กรมขุนสุพรรณภาควดี เม่ือปี พ.ศ.๒๔๔๗ ๑๕. งานพระศพสมเดจ็ พระเจา้ ลูกเธอ เจา้ ฟา้ กรมขนุ พิจติ ร์เจษฎจ์ ันทร์ เมอ่ื ปี พ.ศ.๒๔๔๘ ๑๖. งานพระศพพระเจา้ อยั ยิกาเธอ กรมหลวงวรเสรฐสุดา เมือ่ ปี พ.ศ.๒๔๕๐ ๑๗. งานพระศพสมเดจ็ พระเจา้ ลกู ยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนสวรรคโลกลกั ษณวดี เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๔๕๒ ๑๘. งานพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัว เมอ่ื ปี พ.ศ.๒๔๕๓ ๑๙. งานพระบรมศพสมเดจ็ พระศรีพชั รินทราบรมราชนิ ีนาถ เมื่อปี พ.ศ.๒๔๖๒ ๒๐. งานพระศพสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลก ประชานาถ เมื่อปี พ.ศ.๒๔๖๓ ๒๑. งานพระศพสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เม่ือปี พ.ศ.๒๔๖๔ ๒๒. งานพระศพพระเจ้าพย่ี าเธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศกั ด์ิ เมอ่ื ปี พ.ศ.๒๔๖๖ ๒๓. งานพระศพสมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาเทวะวงศว์ โรปการ เมอ่ื ปี พ.ศ.๒๔๖๖ ๒๔. งานพระศพสมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งยาเธอ เจา้ ฟา้ จฑุ าธชุ ธราดลิ ก กรมขนุ เพช็ รบรู ณอ์ นิ ทราชยั เม่อื ปี พ.ศ.๒๔๖๖ ๒๕. งานพระศพสมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งนางเธอ เจา้ ฟา้ กรมขนุ ศรสี ชั นาลยั สรุ กญั ญา เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๔๖๗ ๒๖. งานพระศพสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา เมือ่ ปี พ.ศ.๒๔๖๘ ๒๗. งานพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจา้ อยหู่ วั เมอ่ื ปี พ.ศ.๒๔๖๘ ๒๘. งานพระศพสมเดจ็ พระปิตจุ ฉาเจ้า สุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี เมือ่ ปี พ.ศ.๒๔๗๐ ๒๙. งานพระศพสมเดจ็ พระราชปติ ลุ าบรมพงศาภมิ ขุ เจา้ ฟา้ ภาณรุ งั ษสี วา่ งวงศ์ กรมพระยา ภาณพุ นั ธุวงศว์ รเดช เมอ่ื ปี พ.ศ.๒๔๗๑ 207เสด็จสูแ่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

พระสงฆส์ วดมนตอ์ ทุ ศิ ถวายดวงพระวญิ ญาณสมเดจ็ พระเจา้ พนี่ างเธอ เจา้ ฟา้ กลั ยาณวิ ฒั นา กรมหลวง นราธวิ าสราชนครนิ ทร์ ภายในพระทน่ี ง่ั ดสุ ติ มหาปราสาท พระบรมมหาราชวงั (ทมี่ า: จดหมายเหตุ งานพระศพสมเดจ็ พระเจา้ พนี่ างเธอ เจา้ ฟา้ กลั ยาณวิ ฒั นา กรมหลวงนราธวิ าสราชนครนิ ทร)์ ๓๐. งานพระศพพระวิมาดาเธอ กรมพระสทุ ธาสนิ นี าฏ ปยิ มหาราชปดิวรัดา เม่ือปี พ.ศ. ๒๔๗๒ ๓๑. งานพระศพสมเดจ็ พระเจา้ พย่ี าเธอ เจา้ ฟา้ มหดิ ลอดลุ ยเดช กรมหลวงสงขลานครนิ ทร์ เม่ือปี พ.ศ.๒๔๗๒ ๓๒. งานพระศพสมเด็จพระเจา้ พีย่ าเธอ กรมพระจนั ทบรุ ีนฤนาถ เมอ่ื ปี พ.ศ.๒๔๗๔ ๓๓. งานพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานนั ทมหดิ ล เมื่อปี พ.ศ.๒๔๙๓ ๓๔. งานพระบรมศพสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยิกาเจ้า เม่ือปี พ.ศ.๒๔๙๘ ๓๕. งานพระบรมศพสมเด็จพระนางเจา้ ร�ำไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลท่ี ๗ เมอื่ ปี พ.ศ.๒๕๒๗ ๓๖. งานพระบรมศพสมเดจ็ พระศรนี ครินทราบรมราชชนนี เม่ือปี พ.ศ.๒๕๓๘ ๓๗. งานพระศพสมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราช นครินทร์ เมือ่ ปี พ.ศ.๒๕๕๑ ๓๘. งานพระศพสมเดจ็ พระเจ้าภคนิ ีเธอ เจ้าฟา้ เพชรรตั นราชสดุ า สริ โิ สภาพณั ณวดี เมอ่ื ปี พ.ศ.๒๕๕๔ จะเหน็ ไดว้ า่ พธิ กี งเตก๊ เปน็ งานพธิ บี ำ� เพญ็ พระราชกศุ ลถวายพระบรมศพและพระศพทร่ี าช สำ� นักไทยให้ความสำ� คัญมาโดยตลอด ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ใหจ้ ดั พิธกี งเต๊กไม่ตำ�่ กวา่ ๓๘ ครงั้ 208 เสดจ็ สูแ่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

๙ มณฑลพธิ ี (ท่ีมา: จดหมายเหตงุ านพระศพสมเดจ็ พระเจา้ พ่ีนางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณวิ ัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครนิ ทร)์ มณฑลพธิ ีกงเต๊กหลวง การประกอบพธิ กี งเตก๊ จะตอ้ งมกี ารจดั เตรยี มมณฑลพธิ ขี นึ้ กอ่ น มณฑลพธิ ปี ระกอบขนึ้ จาก การจัดเตรียมโต๊ะบชู า ๔ โตะ๊ ซง่ึ ตา่ งล้วนมีความหมายและความส�ำคญั ย่งิ เพ่อื ใชใ้ นการประกอบพธิ ี ดังกล่าว อันประกอบด้วยโต๊ะบูชาตามล�ำดับดังน้ี (กรมศิลปากร ๒๕๔๑: ๒๔๐-๒๔๑; ส�ำนักหอ จดหมายเหตแุ ห่งชาติ ๒๕๕๓: ๓๐๙-๓๑๐) ๑. โต๊ะบูชาพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตั้งอยู่ชั้นสูงสุด ด้านในประดิษฐานภาพพระปฏิมา สมเดจ็ พระสมั มาสัมพทุ ธเจา้ ๓ พระองค์ คือ พระศากยมุนีพุทธเจ้า (กลาง) พระอมติ าภะพุทธเจ้า (ขวา) และพระไภษชั ยคุรุพทุ ธเจ้า (ซา้ ย) พร้อมเคร่ืองบชู า ในการประดษิ ฐานภาพพระปฏมิ าทงั้ ๓ ภาพนั้น หมายถงึ ตรีกายแหง่ พระสัมมาสมั พุทธเจา้ คอื พระธรรมกาย (พระธรรม) พระสมั โภคกาย (กายอนั เปน็ ทพิ ย)์ พระนริ มาณกาย (กายอนั เปลยี่ นแปลง) หรอื หมายถงึ คณุ แหง่ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ๓ ประการ คอื พระปัญญาคณุ พระกรุณาคณุ และพระบริสทุ ธคิ ณุ ๒. โตะ๊ บูชาพระมหาโพธสิ ัตว์ ๔ พระองค์ คอื (๑) พระมัญชุศรีมหาโพธิสัตว์ เป็นองค์แทนแห่งพระปัญญาบารมีแห่งพระพุทธเจ้า และพระโพธสิ ตั วท์ งั้ หลาย อนั เปน็ เครอ่ื งนำ� สรรพสตั วใ์ หพ้ น้ ทกุ ข์ ประดจุ ราชสหี เ์ ปน็ หวั หนา้ สตั วท์ งั้ ปวง (๒) พระสมนั ตภัทรมหาโพธสิ ัตว์ เปน็ องค์แทนพระพลบารมี หมายถงึ พระพลบารมี อนั เกดิ แตพ่ ระจรยิ า คอื การปฏบิ ตั แิ หง่ พระพทุ ธเจา้ ซงึ่ เปน็ กำ� ลงั อนั วเิ ศษทผี่ ลกั ดนั สรรพสตั วใ์ หบ้ รรลุ ถึงพระนิพพาน ประดจุ พญาชา้ งผู้มพี ละกำ� ลงั เป็นเลิศกวา่ สตั วท์ ง้ั ปวง 209เสด็จสู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

(๓) พระอวโลกิเตศวรมหาโพธิสัตว์ เป็นองค์แทนพระกรุณาบารมีแห่งพระพุทธเจ้า พระโพธิสัตว์ทั้งหลาย พระอวโลกิเตศวรทรงเป็นพระมหาโพธิสัตว์ผู้กรุณาเก้ือกูลสรรพสัตว์โดย ไมเ่ ลือกชน้ั วรรณะ พระกรณุ าคณุ แห่งพระองคก์ วา้ งใหญไ่ พศาลอย่างหาทส่ี ดุ ไมไ่ ด้ (๔) พระกษติ คิ รรภม์ หาโพธสิ ตั ว์ เปน็ องคแ์ ทนพระปณธิ านบารมแี หง่ ปวงพระพทุ ธเจา้ และพระโพธิสตั วท์ ้งั หลาย องคก์ ษิติครรภ์เป็นผูท้ รงไว้ซ่ึงมหาปณธิ านอนั ยงิ่ ใหญ่ โดยทรงตรากตรำ� พระองคเ์ พ่ือโปรดสตั วใ์ นนรกภมู ใิ ห้หลดุ พน้ หว้ งทุกขอ์ ยา่ งไม่จำ� กดั จำ� นวนและการทส่ี น้ิ สดุ พระคุณแหง่ มหาโพธิสตั วท์ ้ัง ๔ พระองคน์ ี้ เปน็ เสมือนทพ่ี ่ึงอนั ยิง่ ใหญข่ องหมมู่ วลมนษุ ย์ ดงั นน้ั ในการจดั พธิ กี งเตก๊ จกั ตอ้ งอญั เชญิ มาสถติ เปน็ สกั ขพี ยานดว้ ย อนง่ึ โตะ๊ บชู ามหาโพธสิ ตั วท์ งั้ ๔ พระองค์ จะตัง้ ภาพพระปฏมิ าประดษิ ฐานเป็นคขู่ นาบขา้ งโตะ๊ บูชาพระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ ๓. โตะ๊ บูชาพระเวทโพธิสตั ว์และพระสงั ฆารามบาลโพธิสตั ว์ ทัง้ สองพระองคท์ รงเปน็ เทวโพธิสตั ว์ ผทู้ รงไวซ้ ่ึงหนา้ ทีใ่ นการรักษาพระพุทธศาสนา และผดงุ ไว้ซ่ึงสันติภาพท้ังปวงในโลก ๔. โตะ๊ บูชานิรยบดี คอื เจ้าแห่งขมุ นรกท้งั ๑๐ ขมุ ทรงเปน็ เทวโพธิสัตว์ผ้ทู ำ� หน้าท่ดี แู ล สรรพสัตว์ในนรกภูมิ โต๊ะบูชาทั้ง ๔ ประเภทน้ีจะจัดเรียงลดหลั่นกัน พร้อมท้ังประดับด้วยเคร่ืองบูชาประทีป โคมไฟ เคร่อื งหอมต่างๆ กลางมณฑลพธิ ีต่อจากโตะ๊ บูชา ต้ังม้าขาสงู สลกั ลายปดิ ทองปูผ้าเยยี รบบั ทอดเคร่อื งทองน้อย พระแทนทรงกราบบนพรม ลาดสจุ หน่ี และถ่งพวง (ธงพ่มุ ) มีฉลองพระองค์ สวมไว้กับรูปกระดาษที่มีลักษณะคล้ายกับโคมไฟ ส�ำหรับอัญเชิญดวงพระวิญญาณมาสถิตในขณะ ทำ� พธิ ี ประดษิ ฐานดา้ นขวาของพระแทน่ ทรงกราบ อนง่ึ มณฑลพธิ ดี า้ นตะวนั ตก ตง้ั โตะ๊ เครอ่ื งดนตรี จีนประกอบดว้ ย กลอง ป่ี ขมิ จนี ซอหน่ำ� ฮู้ ขล่ยุ ซอดว้ ง เชลโล่ ขนั้ ตอนของพิธีกงเต๊กหลวง กงเต๊กหลวงที่ประกอบพิธีโดยคณะสงฆ์อนัมนิกายและคณะสงฆ์จีนนิกายในไทยมี ความคล้ายคลึงกัน (กรมศิลปากร ๒๕๒๙: ๑๕๒) ทั้งนเ้ี พราะต่างก็เปน็ พุทธศาสนานกิ ายมหายาน เหมือนกัน ซึ่งอยู่บนพื้นฐานของคติความเชื่อในเรื่องบาปบุญ การส่งบุญ และการช�ำระบาปให้กับ ผู้ตายน่ันเอง บทความนี้จะขอกล่าวหลักส�ำคัญๆ ของพิธีดังกล่าว โดยยึดแบบของพิธีกงเต๊ก ในธรรมเนยี มจีนนกิ าย ๑. คณะบรรพชติ สวดพระพทุ ธมนตเ์ ปดิ มณฑลพธิ ี โดยอญั เชญิ สมเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ พระโพธสิ ัตวแ์ ละเหล่าทวยเทพ เสดจ็ มาประทับยงั มณฑลพิธีเพอ่ื รบั การถวายสกั การบชู า ๒. พิธอี ัญเชญิ ดวงพระวิญญาณเสดจ็ ฯ เขา้ สมู่ ณฑลพธิ ี ๓. คณะบรรพชติ สวดพระพทุ ธมนต์ถวายเปน็ พุทธบูชา ๔. ถวายภัตตาหารเพลแด่พระสงฆ์ ๕. พิธสี รงน�้ำดวงพระวิญญาณ เพือ่ เพิ่มพูนทพิ ยสุขทพิ ยสมบัติในพทุ ธเกษตรแดนสขุ าวดี ๖. พิธีขา้ มสะพานโอฆสงสาร เพอื่ นำ� ดวงพระวิญญาณเสด็จสูส่ รวงสวรรค์ ๗. พิธีลอยกระทงและปล่อยนกปลอ่ ยปลา ๘. พธิ ีโยคะตนั ตระ (ท้งิ กระจาด) 210 เสด็จสแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

๙. เผากระดาษเงนิ กระดาษทอง เครอื่ งอุปโภคจำ� ลอง ทำ� ดว้ ยกระดาษ ๙ ๑๐. พธิ ีถวายผา้ มหาบังสกุ ุลและสดับปกรณ์ (กรมศลิ ปากร กองจดหมายเหตแุ หง่ ชาต,ิ ๒๕๒๙: ๑๕๖; ๒๕๔๑: ๑๔๑-๑๔๒, ๒๔๗; ๒๕๕๓: ๓๑๙-๓๓๑; สนั ต์ จติ รภาษา ๒๕๒๖: ๕-๑๑) กระบวนพธิ ขี า้ งตน้ หากแยกศกึ ษาจะพบวา่ สว่ นมากจะเปน็ การทำ� บญุ อทุ ศิ สว่ นกศุ ลใหก้ บั ผู้วายชนม์เป็นหลัก กล่าวคือ การปล่อยนกปล่อยปลาก็คือการท�ำบุญไถ่ชีวิต การทิ้งกระจาดก็คือ การท�ำทาน การถวายภัตตาหารเพลและการถวายผ้าบังสุกุลก็คือการท�ำบุญแด่พระสงฆ์ อันเป็น สาวกของพระพทุ ธองค์ จดั เปน็ หนงึ่ ในพระรตั นตรยั สมควรเคารพบชู า การสรงนำ้� ดวงพระวญิ าณนนั้ กเ็ พอ่ื แสดงใหด้ วงพระวญิ าณมคี วามผอ่ งแผว้ เบกิ บาน สน้ิ กงั วลพระหฤทยั ในพระราชกรณยี กจิ และ พสกนิกรทัง้ มวล เจ้าพนักงานเผากระดาษเงินกระดาษทอง และเคร่อื งใช้ตา่ งๆ ในงานพิธีพระบรมศพสมเด็จพระศรี นครินทราบรมราชชนนี (ทมี่ า: จดหมายเหตุงานพระบรมศพสมเด็จพระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนน)ี พิธีข้ามสะพานโอฆสงสาร เพ่ือหลุดพ้นแห่งการเวียนว่ายตายเกิด เสด็จไปเสวยทิพยสุข ณ แดนสุขาวดีพุทธเกษตร ซึ่งคติของพุทธศาสนาฝ่ายมหายานถือว่าทุกคนที่เกิดมาได้ยืมทรัพย์ สมบตั ขิ องผทู้ ี่ให้มาปฏิสนธิ และเม่ือยงั มีชวี ติ อยกู่ ็ไมไ่ ดใ้ ช้หนี้ เมอ่ื ล่วงลบั ไปแลว้ หากยังไมไ่ ดใ้ ช้หน้ี ก็ไม่อาจไปเกิดในที่ชอบได้ เช่นน้ันบรรดาพระญาติวงศ์จึงต้องอุทิศส่วนกุศลข้ามสะพานไปใช้หนี้ การเผากระดาษเงนิ กระดาษทอง เครอื่ งอปุ โภคจำ� ลองกเ็ พอ่ื อทุ ศิ ถวายเปน็ ทพิ ยสมบตั ใิ นพทุ ธเกษตร พธิ ลี อยกระทงคอื การแผอ่ ทุ ศิ สว่ นกศุ ลทางนำ�้ ใหแ้ กเ่ ปรตอสรุ กายตา่ งๆ การสวดพระพทุ ธมนตถ์ วาย เป็นพุทธบูชาของบรรพชิตก็เพื่อขอขมากรรมแทนดวงพระวิญญาณ และแผ่พระพุทธรัศมีให้ ส่องสวา่ งท่ัวทัง้ ตรหี สั โลกธาตุ โปรดสรรพสัตว์ให้พ้นทุกข์ 211เสด็จสู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชือ่ ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

สรุปไดว้ า่ พิธกี งเต๊กคอื การประกอบมหากุศลบญุ ที่บตุ รหลาน เครอื ญาติ ตลอดจนผทู้ ี่รัก ใคร่มุ่งใหด้ วง วิญาณของผวู้ ายชนมไ์ ปสู่แดนสุขาวดพี ทุ ธเกษตร หลดุ พ้นจากการเวียนวายตายเกดิ นั่นเอง พธิ ีกงเตก๊ หลวงกบั การปรับเปล่ยี น พิธีกงเต๊กหลวงเร่ิมมีข้ึนในสมัยรัชกาลที่ ๔ จนปัจจุบัน ตลอดระยะเวลา ๑๐๐ กว่าปี ทผ่ี า่ นมา มีการปรับเปล่ียนบางอย่าง เชน่ เวลาและจำ� นวนคร้ังในการจดั พิธีกงเตก๊ เปน็ ต้น กล่าวคือ ตัวอยา่ งเชน่ งานพระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ ัว มีการจัดพิธกี งเตก๊ ๗ วัน ๗ คืน ก่อนการถวายพระเพลิงพระบรมศพ แต่ในครั้งงานพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจา้ อยหู่ ัว จะท�ำทกุ ๆ ๗ วนั ไปจนถึงพิธพี ระราชทานเพลิงพระบรมศพ และเมื่อถึงปญั ญาสมวาร (ทำ� บญุ ๕๐ วนั ) และศตมวารพระบมศพ (ทำ� บญุ ๑๐๐ วนั ) จะมกี ารทง้ิ กระจาดรวมถงึ พธิ ขี า้ มสะพาน ด้วย นอกจากน้ันแล้วในวันพิธีศตมวารคงมีการเผาเคร่ืองกระดาษที่ท�ำเป็นรูปต่างๆ ได้แก่ บ้านเรือน ข้าวของเคร่ืองใช้ต่างๆ คนรับใช้ และที่ขาดไม่ได้ก็คงเป็นกระดาษเงินกระดาษทอง ซงึ่ เชอ่ื วา่ ใหผ้ วู้ ายชนมน์ ำ� ตดิ ตวั ไปใชใ้ นปรโลก ซง่ึ งานพระบรมศพลน้ เกลา้ รชั กาลท่ี ๕ ไดม้ บี รรพชติ จนี เป็นผู้ประกอบพิธกี รรมดงั กลา่ วแล้วดว้ ย (ราม วชิราวธุ ๒๕๕๕) พิธีกงเต๊กในงานบ�ำเพ็ญพระราชกุศลถวายพระบรมศพสมเด็จพระนางเจ้าร�ำไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลที่ ๗ จัดขน้ึ ๒ คร้ัง ซ่ึงคร้ังท่ี ๑ เมื่อถึงปัญญาสมวาร โดยมบี รรพชิตจีน ๙ รปู จากวัดโพธแ์ิ มนคณุ ารามและวดั มงั กรกมลาวาสเปน็ ผ้ปู ระกอบพิธี โดยจดั ขน้ึ ๒ วนั ระหวา่ ง วันท่ี ๑๐-๑๑ กรกฎาคม ๒๕๒๗ สว่ นพิธีกงเตก๊ ครงั้ ท่ี ๒ โปรดเกล้าให้คณะสงฆ์อนัมนกิ ายบ�ำเพ็ญ กศุ ลพธิ กี งเต๊กถวาย ซงึ่ จัดพธิ ี ๑ วัน ในวนั ท่ี ๑๙ มีนาคม ๒๕๒๘ (กรมศลิ ปากร ๒๕๒๙: ๑๐๗, ๑๒๑-๑๒๒, ๑๕๑) พิธีกงเต๊กในงานบ�ำเพญ็ พระราชกศุ ลถวายพระบรมศพ สมเด็จพระศรนี ครนิ ทราบรมราช ชนนี ทั้งหมด ๕ ครั้ง ครง้ั ที่ ๑ ในวนั ที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๓๘ คณะสงฆจ์ ีนนกิ าย ประกอบพธิ ีกงเต๊ก ครั้งที่ ๒ ในวนั ที่ ๑๘ กนั ยายน ๒๕๓๘ คณะสงฆอ์ นมั นกิ าย ประกอบพิธกี งเต๊ก ครั้งที่ ๓ ในวันท่ี ๒๕ กันยายน ๒๕๓๘ มพี ระบรมราชานญุ าตให้นายอุเทน เตชะไพบูลย์ ร่วมกับมูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง สมาคมจีนต่างๆ หนังสือพิมพ์จีนรายวัน และคณะสงฆ์จีนทั่วประเทศ ประกอบพธิ กี งเต๊ก ครง้ั ที่ ๔ ในวนั ที่ ๒ ตลุ าคม ๒๕๓๘ มพี ระบรมราชานญุ าตใหน้ ายเจรญิ และคณุ หญงิ วรรณา สริ ิวัฒนภักดี และคณะ พรอ้ มดว้ ย มูลนิธิ “สริ ิวฒั นภกั ด”ี ประกอบพิธกี งเตก๊ ครั้งที่ ๕ ในวนั ที่ ๒๖-๓๐ ตลุ าคม ๒๕๓๘ มพี ระบรมราชานญุ าตใหส้ มาคมธุรกจิ สัมพันธ์ แหง่ ประเทศไทย ประกอบพธิ กี งเต๊ก (กรมศิลปากร ๒๕๔๑: ๑๓๑-๑๔๗) 212 เสด็จส่แู ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

อนึ่ง ในงานพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาส ๙ ราชนครนิ ทร์ มกี ารจดั พธิ กี งเตก๊ ถวายทง้ั สนิ้ ๑๕ ครงั้ (สำ� นกั หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาติ ๒๕๕๓: ๙๔-๑๐๕) จากข้างต้นจะเห็นไว้ว่าจ�ำนวนคร้ังและเวลาในการจัดพิธีกงเต๊กหลวงมีการปรับเปลี่ยน อยู่เสมอๆ โดยมิได้ค�ำนึงถึงช่วงเวลาก�ำหนดการพิธีบ�ำเพ็ญกุศล สัตตมวาร ปัณรสมวาร ปัญญาสมวาร หรือสตมวาร เพ่ือถวายเป็นพระราชกุศล การเพิ่มขึ้นของจ�ำนวนนั้นเห็นชัดว่ามี องค์กรเอกชน ห้างร้าน ประชาชนและมูลนิธิต่างๆ ได้กราบบังคมทูลขอเป็นเจ้าภาพในการจัดพิธี กงเตก๊ ถวาย เพื่อแสดงออกถึงความจงรักภักดี เชอื่ วา่ จำ� นวนในการจัดพิธกี งเต๊กหลวงจะมีแนวโน้ม เพิ่มมากย่ิงขนึ้ ดว้ ยชาวจนี ในไทยตา่ งลว้ นสำ� นึกในพระมหากรุณาธคิ ุณอยา่ งหาที่สุดมไิ ด้ 213เสดจ็ สูแ่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

รายการอา้ งอิง กรมศลิ ปากร กองจดหมายเหตแุ หง่ ชาต.ิ ๒๕๒๙. จดหมายเหตงุ านพระบรมศพสมเดจ็ พระนางเจา้ รำ� ไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลที่ ๗. กรุงเทพฯ: กรมศลิ ปากร. กรมศิลปากร หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. ๒๕๔๑. จดหมายเหตุงานพระบรมศพสมเด็จพระศรีนครินทรา บรมราชชนน.ี กรงุ เทพฯ: กรมศิลปากร. กรมศลิ ปากร. ๒๕๔๐. วัดหลวงสมยั รตั นโกสินทร์. กรงุ เทพฯ: กรมศิลปากร. กติ ติพงษ์ วิโรจนธ์ รรมากรู . ๒๕๔๙. ย้อนรอยราชสกุลวงศ์ วังหลวง. กรุงเทพฯ: ดอกหญ้า. เจา้ พระยาทพิ ากรวงศ์ (ขำ� บนุ นาค). ๒๕๔๘. พระราชพงศาวดารกรงุ รัตนโกสินทร์ รัชกาลท่ี ๔. พมิ พ์ครั้ง ที่ ๖. กรุงเทพฯ: บริษทั อมรนิ ทร์พรน้ิ ตงิ้ แอนด์พบั ลชิ ชิ่ง จำ� กัด (มหาชน). ตะเกียงคู่. ๒๕๓๔. สายหยุดพุดจีบจนี . กรุงเทพฯ: ยินหยาง. นนทพร อยู่ม่ังมี. ๒๕๕๙. ธรรมเนียมพระบรมศพและพระศพเจ้านาย. พิมพค์ ร้งั ท่ี ๒. กรงุ เทพฯ: มตชิ น แนง่ น้อย ศกั ดศิ์ ร,ี ม.ร.ว. และคณะ. ๒๕๕๕. สถาปัตยกรรมพระเมรุในสยาม เลม่ ๒. กรุงเทพฯ: สมาคม สถาปนิกสยามในพระบรมราชปู ถัมภ์. ประสิทธ์ิ แสงทับ, บรรณาธิการ. ๒๕๕๐. ประชุมพระราชปจุ ฉา. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. ปรชั ญา ปานเกตุ. ๒๕๕๘. ศัพทานกุ รมวัฒนธรรมไทย. กรงุ เทพฯ: สถาพรบคุ๊ ส.์ พระครคู ณานมั สมณาจารย.์ ๒๔๙๓. ตำ� รากงเตก๊ ตำ� รากฐนิ ของพระสงฆอ์ นมั นกิ าย. พระนคร: กรมศลิ ปากร. พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั . ๒๕๕๖. พระราชพิธสี ิบสองเดอื น. กรงุ เทพฯ: แสงดาว. ราชบัณฑติ ยสถาน. ๒๕๕๖. พจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔. พมิ พ์ครั้งท่ี ๒. กรงุ เทพฯ: ราชบัณฑติ ยสถาน. ราม วชริ าวธุ . ๒๕๕๕. ประวัตติ น้ รัชกาลท่ี ๖. พมิ พ์ครงั้ ท่ี ๕. กรงุ เทพฯ: มตชิ น. ศ. อภบิ าลศร.ี ๒๕๒๖. “พธิ สี วดกงเตง้ ,” คนจนี ๒๐๐ ปี ภายใตพ้ ระบรมโพธสิ มภาร. กรงุ เทพฯ: ศริ ชิ ยั การพมิ พ์ ศักด์ิชยั สายสงิ ห์. ๒๕๕๑. งานชา่ งสมยั พระน่ังเกล้าฯ. กรุงเทพฯ: มติชน. เศรษฐพงษ์ จงสงวน. ๒๕๕๙. “พธิ ีกงเต็กหลวง พิธกี รรมประวัติศาสตรแ์ หง่ ความจงรกั ภักดีของพุทธบรษิ ัท ชาวไทยเชือ้ สายจีนภายใตร้ ่มพระบรมโพธสิ มภาร,” ศลิ ปวฒั นธรรม. ปที ่ี ๓๘, ฉบับท่ี ๑ (พ.ย.): ๑๔๐-๑๕๕. สนั ต์ จติ รภาษา, ๒๕๒๖. “กงเตก๊ อทุ ศิ กศุ ลถวายสมเดจ็ พระนางเจา้ รำ� ไพพรรณฯี ทใ่ี นพระบรมมหาราชวงั ,” คนจนี ๒๐๐ ปี ภายใตพ้ ระบรมโพธิสมภาร ภาค ๒. กรุงเทพฯ: ศิริชยั การพิมพ์. ส�ำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์. ๒๕๕๗. สยามและลาวในสายตามิชชันนารีชาวอเมริกัน. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. ส�ำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ. ๒๕๕๓. จดหมายเหตุงานพระศพสมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอ เจ้าฟ้ากัลยา ณวิ ฒั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครนิ ทร.์ กรงุ เทพฯ: ส�ำนกั หอจดหมายเหตุแหง่ ชาต.ิ แสงอรณุ กนกพงศช์ ยั . ๒๕๕๔. กตญั ญใู นกงเตก๊ และกงเตก๊ ในกตญั ญ:ู พธิ กี งเตก๊ ในสงั คมไทยและสงั คมโลก. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. โสวตั รี ณ ถลาง. ๒๕๕๐. “วัดญวนในประเทศไทย,” สารานุกรมไทยส�ำหรับเยาวชน เลม่ ๓๑. พิมพค์ รัง้ ที่ ๒. กรงุ เทพฯ: ดา่ นสุทธาการพมิ พ์. 1995 770汉语大词典编辑委员会, 。《汉语大词典》(第二卷)。上海:汉语大词典出版社,第 页。 214 เสดจ็ สูแ่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

เมรุ ในศลิ ปะอินเดยี รองศาสตราจารย์ ดร.เชษฐ์ ตงิ สัญชลี ภาควชิ าประวตั ิศาสตร์ศลิ ปะ คณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร ๑๐ เมรใุ นวัฒนธรรมอินเดยี ไม่ใช่ “อาคารเผาศพ” “เมร”ุ ในวฒั นธรรมอนิ เดยี มคี วามเกยี่ วขอ้ งกบั “ภเู ขา” “สวรรค”์ อนั ทป่ี ระทบั ของเทพเจา้ และ “เทวาลยั ” แตก่ ลบั ไมไ่ ดม้ คี วามเกยี่ วขอ้ งกบั อาคารเผาศพ (crematorium) หรอื ทใ่ี นวฒั นธรรม ไทยปจั จุบันเรียกว่า “เมรเุ ผาศพ” เลย เนือ่ งจากการเผาศพในวัฒนธรรมอินเดยี ย่อมเปน็ การเผา ศพกลางแจง้ ไมม่ กี ารสร้างหลงั คาคลุมแต่อย่างใด (ภาพท่ี ๑-๒) แมว้ า่ ปจั จบุ นั อาจมกี ารสรา้ งทเี่ ผาศพแบบทมี่ หี ลงั คาคลมุ บา้ งในประเทศอนิ เดยี แตอ่ าคาร คลมุ เหลา่ น้นั กไ็ มไ่ ด้เรียกว่า “เมร”ุ แตอ่ ย่างใด หากสรา้ งขึน้ เพ่ือปอ้ งกันฝนในขณะทเี่ ผาศพในฤดู ฝนเท่านน้ั ในวัฒนธรรมอินเดีย ศพจะถูกเผาบนกองฟอน ณ ท่าน�้ำอันมีความศักดิ์สิทธ์ิท่ีเรียกว่า “ฆาฏ” ซึง่ ต้ังอยใู่ กลก้ ับสถานทีศ่ กั ด์ิสิทธ์บิ า้ ง หรือแมน่ ้ำ� ศกั ดิ์สิทธบ์ิ ้าง เพราะเชอื่ วา่ จะน�ำวญิ ญาณ ผตู้ ายใหไ้ ปสสู่ รวงสวรรคไ์ ด้ รา่ งผตู้ ายจะถกู หอ่ ผา้ อยา่ งงา่ ยๆ และอาจถกู ปกคลมุ ไปดว้ ยดอกไม้ ไมม่ ี การตกแตง่ ใดๆ เปน็ พเิ ศษ และไมม่ โี ลงศพหรอื สงิ่ ใดๆ บรรจศุ พดว้ ย ความตายในวฒั นธรรมอนิ เดยี จงึ เปน็ การกลบั ไปสคู่ วามเรยี บงา่ ยและความเปน็ ธรรมชาตอิ ยา่ งแทจ้ รงิ ไมว่ า่ ผตู้ ายนนั้ จะมฐี านะสงู สง่ มากเพียงใดก็ตาม (ภาพท่ี ๒) การประดษิ ฐค์ ตคิ วามเชอ่ื ตา่ งๆ และการสรา้ งประตมิ ากรรม-สถาปตั ยกรรมทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ความตายอย่างอลงั การ จงึ เปน็ กระบวนการการนำ� เอา “คติอนิ เดีย” มาปรบั ปรุงใหมเ่ พ่ือรองรบั กบั วฒั นธรรมในเอเชียอาคเนยเ์ อง   215เสด็จสู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

ภาพที่ ๑ ฆาฏหรอื ทา่ น้ำ� เผาศพทพ่ี าราณสี การเผาศพในวัฒนธรรมอนิ เดียยอ่ มเผาศพกลางแจ้งเสมอ โดยไมม่ อี าคาร (crematorium) โดยเผาศพบนท่าน�้ำของแม่น�้ำศักด์สิ ิทธ์ิ ภาพท่ี ๒ ปศปุ ตินาถท่ีเมืองกาฐมัณฑุ ปรากฏฆาฏเผาศพรมิ แม่น�้ำภคมตที ั้งสำ� หรับกษัตริย์และสามญั ชน โดยไมม่ ีอาคารสำ� หรับเผาศพแตป่ ระการใดไม่วา่ ผู้ตายจะอยใู่ นฐานนั ดรใดก็ตาม 216 เสดจ็ สู่แดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

ค�ำจ�ำกดั ความของคำ� วา่ เมรุ ๑๐ และเมรุในฐานะ “สวรรค”์ ในวัฒนธรรมอนิ เดยี “เมรุ” แปลวา่ ภเู ขา ซง่ึ มคี วามหมายเจาะจงหมายถึงเขาศูนย์กลางจักรวาลในประติมาน วิทยาอินเดยี ค�ำไวพจน์ของค�ำว่าเมรุยังปรากฏอกี เชน่ สเิ นรุ ศิขระ ไกลาส (Kailash) ในสมยั โบราณ ในเมอื่ ภเู ขาหมิ าลยั เปน็ ภเู ขาทสี่ งู เสยี ดฟา้ และปกคลมุ ดว้ ยหมิ ะอยา่ งหนาวเหนบ็ จนไมอ่ าจเขา้ ถงึ ไดโ้ ดยมนษุ ย์ ดว้ ยเหตนุ ี้ จนิ ตนาการของมนษุ ยจ์ งึ สมมตใิ หภ้ เู ขาเปน็ ทต่ี ง้ั ของสวรรค์ ไปโดยปรยิ าย สว่ นป่าเชงิ เขาหิมาลัยก็ถกู สมมติให้เปน็ ป่าหมิ พานต์ อนั เปน็ หวั เลยี้ วหวั ตอ่ ระหว่าง โลกสวรรคก์ บั โลกมนษุ ย์ สว่ นภเู ขาเตยี้ ๆ เชงิ เขาหมิ าลยั นนั้ กถ็ กู จนิ ตนาการวา่ หมายถงึ เขาสตั ตบรภิ ณั ฑ์ อนั เปน็ บรวิ ารของเขาพระสุเมรุ (ภาพที่ ๓) อน่ึง ภูเขาหิมะโดยปกติแล้วมีสีขาวประหนึ่งเงินยวง แต่เมื่อแสงอาทิตย์ตกต้องภูเขา ในยามเชา้ หรอื ยามเยน็ กส็ ามารถเปล่ียนเปน็ สที องได้ ดว้ ยเหตนุ ี้ ค�ำวา่ “เหม” ซ่งึ ผนั มาจากคำ� วา่ “หมิ ะ” จงึ แปลวา่ “สที อง” ได้ ความเช่ือมโยงดังกลา่ วน้ีเองที่ท�ำใหพ้ ระเมรุมาศ ซงึ่ มีสีทอง (มาศ) อาจมสี มการทางประตมิ านวทิ ยาเทยี บเทา่ กบั “ภเู ขาหิมะสที อง” ได้ ในศาสนาฮินดู พระศิวะได้ถูกสถาปนาให้เป็นพระผู้ประทับบนเขาไกลาสและแต่งงาน กบั ลูกสาวของภูเขาหมิ าลัย คอื นางปารวตอี ันเปน็ ลูกสาวของท้าวหิมวนั ต์ สว่ นในคมั ภรี ์โลกศาสตร์ ในพทุ ธศาสนาเถรวาทระยะหลัง สวรรค์ของพระอนิ ทร์คือสวรรคช์ ัน้ ดาวดงึ ส์กถ็ ูกสมมตใิ ห้ตง้ั อยบู่ น เขาพระสเุ มรทุ ่ีก่งึ กลางของจักรวาล ดังน้ัน ในเม่อื “เมร”ุ แปลวา่ ภูเขา ด้วยเหตนุ ้ี “เมรุ” จงึ หมายถงึ สวรรค์ด้วย ภาพที่ ๓ เขาไกลาสแห่งหุบเขากินนร (Kinnaur Kailash) ตวั อย่างของภเู ขาหิมาลยั ในถกู สถาปนาใหอ้ ยู่ในฐานะทปี่ ระทบั ของพระเป็นเจา้ 217เสด็จส่แู ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

ค�ำวา่ “เมร”ุ กับสถาปตั ยกรรมเทวาลยั ในศลิ ปะอนิ เดีย “เทวาลัย” มาจากการสมาสคำ� วา่ เทวะ+อาลยั แปลวา่ “ท่ปี ระทับของเทพเจ้า” การสรา้ ง เทวาลัยในศิลปะอินเดียจึงหมายถึงการจ�ำลอง “บ้าน” ของพระองค์ด้วยซึ่งเป็นการเน้นย้�ำคติ ทวี่ า่ พระเปน็ เจา้ ในศาสนาฮนิ ดยู งั ทรงพระชนมช์ พี ด้วยเหตนุ ี้ จงึ ประทับใน “บา้ น” ท่ปี ระกอบดว้ ย “ห้อง” อันเข้าไปภายในได้ ทั้งน้ีแตกต่างไปจากสถูปในศาสนาพุทธท่ีจ�ำลองมาจากหลุมฝังศพ ซงึ่ ไมส่ ามารถเขา้ ไปภายในได้ สง่ ผลทำ� ใหห้ อ้ งกรใุ นสถปู ในศาสนาพทุ ธจงึ “ปดิ ตาย” ในขณะทหี่ อ้ ง ภายในเทวาลยั หรอื ทเี่ รยี กวา่ “ครรภคฤหะ” นนั้ กลบั เปน็ หอ้ งทมี่ ปี ระตู อนั เนน้ ยำ้� ความเปน็ “บา้ น” ของพระเจ้าผยู้ ังทรงพระชนม์ชีพ นอกจากจะเป็นบ้านของพระเป็นเจ้าแล้ว เทวาลัยยังมีอีกลักษณะหนึ่งที่ส�ำคัญและต้อง ปรากฏเสมอก็คือ จะต้องเป็นอาคารฐานันดรสูงที่มียอดสูง อาคารฐานันดรสูงแบบนี้เรียกว่า “ปราสาท” ซงึ่ มกั มยี อดสงู ทสี่ ดุ เสมอประดบั ไปดว้ ยชนั้ จำ� ลองเลก็ ๆ จำ� นวนมากมาย ทงั้ นี้ ยอดปราสาท ยอ่ มแตกต่างไปจากอาคารโดยท่ัวไปท่ีมหี ลังคาตัดหรอื ยอดเตีย้ ในเม่ือสถาปัตยกรรมอินเดียเหนือ มีความพยายามสร้างเทวาลัยให้เป็นยอดปราสาทท่ีมี ยอดสงู ด้วยเหตนุ ้ีจึงมีคณุ สมบัตติ รงกับ “ภเู ขา” (เมรุ / ไกลาส / สเิ นรุ / ศขิ ระ) อันมยี อดสูงสุด ในพนื้ พิภพเชน่ กนั และเป็นทีป่ ระทับของเทพเจ้าเช่นกัน เทวาลัยกับภเู ขาจึงมีสมการเทยี บเท่ากัน ไปโดยปรยิ าย ดว้ ยเหตนุ ี้ ปราสาททปี่ ระทบั ของพระเปน็ เจา้ ในศลิ ปะอนิ เดยี จงึ ถกู เรยี กชอ่ื วา่ “เมร”ุ เสมอๆ อันแปลว่าภูเขาในหลายกรณีอีกด้วย ดังท่ีปรากฏในโศลกบทท่ี ๒๑ ในอัธยายที่ ๕๖ ของคัมภีร์ ศิลปศาสตร์ช่อื วา่ “สมรางคณสูตรธาร” ดงั นี้ Meruḥ prāsādarājaśca devānamālayo hi saḥ เมรุ อันเปน็ ราชาแหง่ ปราสาทน้นั เปน็ ท่ปี ระทับของเทพเจ้าท้งั มวล (Sharma 2007: 54) หลายคร้ังที่การสร้างเทวาลัยทรงศิขระแบบอินเดียเหนือท่ีประกบไปด้วยยอดเล็กอัน ซบั ซอ้ นนนั้ มกั ถกู เปรยี บเทยี บโดยนกั ประตมิ านวทิ ยาวา่ หมายถงึ ภเู ขาอนั สลบั ซบั ซอ้ น (ดเู พม่ิ เตมิ ใน Kamrisch 1976: 221-223) การประกบศิขระอันสลับซับซ้อนแบบนี้ เรียกกันในศัพท์ ทางสถาปตั ยกรรมอนิ เดยี วา่ “ระบบเศขร”ี อันแปลตรงตัวว่า “ระบบภเู ขา” (ภาพที่ ๔) (Tadgell 1990: 101-104) ซงึ่ เป็นการยนื ยนั ว่า เทวาลยั ในศิลปะอนิ เดียกับภเู ขาเป็นสมการท่ีเทยี บเท่ากัน ในเมื่อเทวาลัยยอดปราสาทมีสมการทางประติมานวิทยาเทียบเท่ากับภูเขา ด้วยเหตุน้ี หอ้ งครรภคฤหะอนั เปน็ ทปี่ ระทบั ของเทพเจา้ จงึ มกั ถกู เปรยี บเทยี บกบั “ถำ้� ” อนั เยอื กเยน็ ลกึ ลบั และ ตัดขาดจากโลกภายนอกอันเป็นท่ีประทับที่โปรดปรานของพระศิวะ (Kamrisch 1976: 161-176) ดงั นนั้ หอ้ งครรภคฤหะจงึ ถกู เรยี กวา่ “คหู า” ในภาษาบาลี หรอื “คฒู า” ในภาษาสนั สกฤต อนั หมาย ถงึ “ถ้ำ� ” น่นั เอง 218 เสด็จสแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

๑๐ รูปที่ ๔ เทวาลยั ทรงศิขระซงึ่ ประกบดว้ ยศิขระขนาดเล็กจ�ำนวนมากจนดเู หมอื นภูเขาท่สี ลบั ซับซอ้ น เทวาลัยจงึ มสี มการทางประติมานวิทยาเท่ากับภูเขา หรอื “เมรุ” สรุปก็คือ ในศิลปะอินเดียก่อนพุทธศตวรรษที่ ๑๙ “เมรุ” เป็นค�ำไวพจน์หนึ่งของค�ำว่า เทวาลัย ที่ประทับของเทพเจ้าอันมียอดสูงประหนึ่งภูเขาศูนย์กลางจักรวาลซ่ึงก็คือสวรรค์นั่นเอง ดงั ท่ไี ดก้ ลา่ วแลว้ วา่ ภูเขาหิมาลยั คอื สรวงสวรรค์ท่ี “ไม่อาจเขา้ ถึงได้” โดยมรรตัยชน คือมนษุ ย์ ทวั่ ไปทรี่ จู้ กั ความตาย ดว้ ยเหตนุ ้ี การสรา้ งเทวาลยั ทจี่ ำ� ลอง “ภเู ขา” (เมร)ุ มาบนดนิ จงึ เปน็ การทำ� ให้ มรรตยั ชนสามารถเข้าถงึ “สวรรค์บนภูเขา” ของชาวอมรได้ สถาปตั ยกรรมเกี่ยวกับพิธศี พภายหลงั พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๙ ในประเทศอนิ เดยี ในวัฒนธรรมฮินดู ก่อนพุทธศตวรรษที่ ๑๙ ไมม่ ีการสรา้ งอาคารสำ� หรับเผาศพหรอื เป็นท่ี ระลกึ ถงึ คนตายเลยไมว่ า่ บคุ คลนน้ั จะเปน็ สามญั ชนหรอื กษตั รยิ ์ อนงึ่ จำ� เปน็ ตอ้ งระลกึ วา่ ในวฒั นธรรม อินเดียสมัยโบราณ ไม่มีคติการเชื่อมโยงคติกษัตริย์เป็นอวตารของเทพเจ้าตามลัทธิ “เทวราชา” (Deified King) เช่นกนั จึงไม่มีการยกยอ่ งกษัตริย์ในฐานะเทพเจ้าหรือสรา้ งสถาปตั ยกรรมอนั เป็น ทรี่ ะลึกถึงกษัตริยห์ รือบคุ คลท่ีตายไปแลว้ ใดๆ อยา่ งไรก็ตาม ประเดน็ นีจ้ ำ� เป็นต้องยกเวน้ วฒั นธรรม ทางพุทธศาสนาท้ังในประเทศอินเดียและเอเชียอาคเนย์ท่ีมีการสร้างสถูปเพ่ือร�ำลึกถึงพระพุทธเจ้า ผ้ปู รินิพพานไปแลว้ และมกี ารยกยอ่ งพระองค์เป็นพระจักรพรรดโิ ดยการใช้ฉัตรวลปี ักบนยอดสถปู กรณีนถี้ อื เปน็ กรณยี กเว้นในวฒั นธรรมอินเดีย 219เสด็จสู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

ดังนั้น น่าเช่ือว่า พระศพของกษัตริย์ในวัฒนธรรมอินเดียสมัยโบราณ จึงได้รับการถวาย พระเพลิงที่ฆาฏเผาศพเช่นเดียวกับสามัญชน และหลังจากการถวายพระเพลิงแล้วพระอัฐิก็จะ ถกู กวาดลงแม่นำ้� ศกั ดิ์สทิ ธิ์ทัง้ หมด ต่อมาเมื่อศาสนาอิสลามได้เข้ามาในอินเดีย ประเพณีการฝังศพและสร้างอาคารสุสาน ไดเ้ ขา้ มาในวัฒนธรรมอินเดยี ด้วย การสร้างอาคารถาวรเพ่อื ฝงั ศพและท�ำให้ความทรงจ�ำของบคุ คล คนน้ันยังคงปรากฏอยู่จึงได้รับความนิยมเสมอต้ังแต่สมัยรัฐสุลต่านแห่งเดลลีจนถึงสมัยราชวงศ์ โมกุล ซ่ึงเปน็ ประเพณที ีแ่ ตกตา่ งไปจากวัฒนธรรมเดมิ ในอนิ เดยี อย่างชดั เจน การสร้างสุสาน ส่งผลต่อวัฒนธรรมฮินดูอย่างมากในระยะหลัง โดยตั้งแต่พุทธศตวรรษ ท่ี ๒๐ เปน็ ตน้ มาเร่มิ ปรากฏ “อาคารท่ีระลกึ ส�ำหรับกษตั รยิ ห์ รือบคุ คลช้นั สูงท่ีตายแลว้ ” ในลกั ษณะ ของอาคารเปล่าซงึ่ เรียกว่า “ฉัตรี” บา้ ง “สมาธ”ิ บ้าง เปน็ อาคารทีส่ รา้ งข้ึนภายหลังการเผาศพ และ เป็นอาคารที่ใช้ในการท�ำพิธีศราทธ์คือ พิธีอุทิศส่วนกุศลให้กับบุคคลท่ีตายไปแล้ว (ภาพท่ี ๕) การสรา้ งฉตั รหี ลายครงั้ สรา้ งทบั บนจดุ ทถี่ วายพระเพลงิ พระศพแตไ่ มใ่ ชอ่ าคารสำ� หรบั ถวายพระเพลงิ เช่นนี้เป็นการเลียนแบบการสร้างสุสานในศิลปะอิสลามแต่ไม่ได้มีการเก็บชิ้นส่วนศพหรืออัฐิ หรอื องั คารไว้เลย (Tadgell 1990: 263) อยา่ งไรกต็ าม ไมป่ รากฏหลกั ฐานวา่ มกี ารเรยี กฉตั รเี หลา่ นว้ี า่ “เมร”ุ และไมม่ คี วามพยายาม ในการเช่ือมโยงอาคารเหล่าน้เี ขา้ กับคติความเชอื่ เรอื่ งภูเขา   ภาพท่ี ๕ Jaswant Thanda ตัวอย่างฉัตรีของราชวงศ์มารว์ ารสร้างข้ึนเพือ่ ร�ำลึกถงึ การถวายพระเพลงิ ของกษตั ริยแ์ หง่ นครโชธปุระ (Jodhpur) 220 เสดจ็ สู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

เอเชียอาคเนย์ การเชอื่ มโยงอาคารท่เี ก่ยี วข้องกบั พธิ ีศพเขา้ กับภเู ขา ๑๐ ดงั ทไี่ ด้กลา่ วไปแลว้ วา่ ไมม่ กี ารสรา้ งอาคารส�ำหรบั เผาศพในวฒั นธรรมอนิ เดยี ดัง้ เดิมเลย ด้วยเหตุน้ี อาคารส�ำหรับการเผาศพจึงเปน็ วฒั นธรรมพ้ืนเมอื งของเอเชยี อาคเนย์เทา่ น้นั นอกจากน้ี สถาปัตยกรรมและประติมากรรมที่ระลึกถึงบุคคลที่ตายไปแล้วในลักษณะต่างๆ อันได้แก่ ประติมากรรมฉลองพระองค์ หรอื เทวาลัยทอ่ี ุทศิ ให้คนตาย กลับได้รบั ความนยิ มอย่างมากทัว่ เอเชยี อาคเนย์ ดังเช่นประตมิ ากรรมฉลองพระองคแ์ ละเทวาลยั บนฐานเปน็ ช้นั /เทวาลยั อุทศิ ใหบ้ รรพบุรษุ ในศลิ ปะขอมสมยั เมอื งพระนคร หรอื ประตมิ ากรรมฉลองพระองคห์ รอื เทวาลยั อทุ ศิ ใหค้ นตายในชวา ภาคตะวนั ออก เป็นตน้ ประเด็นนี้ย่อมแสดงให้เห็นว่า ลัทธิเทวราชา หรือลัทธิท่ียกย่องกษัตริย์เป็นอวตารของ เทพเจ้าและกลับสู่ความเป็นพระเป็นเจ้าเมื่อสวรรคตแล้ว เป็นแรงผลักดันส�ำคัญที่ท�ำให้เกิด สถาปัตยกรรมและประติมากรรมระลึกถึงบุคคลที่ตายไปแล้วในเอเชียอาคเนย์ โดยมีการน�ำเอา เทพเจ้าหรือพระพุทธเจ้าซ่ึงเป็นทิพยบุคคลจากวัฒนธรรมอินเดีย มาใช้และท�ำให้บุคคลท่ีมีชีวิตอยู่ เป็นเทพเจา้ ผูย้ งั ทรงพระชนม์ชพี (deified living person) ดังนั้น เมื่อกษัตริย์/บุคคลนั้นได้กลับไปสวรรค์แล้ว จึงจ�ำเป็นท่ีจะต้องสร้างอาคารเพื่อ การ “สง่ เสดจ็ สสู่ วรรค”์ กระบวนการนเ้ี องทที่ ำ� ใหเ้ กดิ อาคารสำ� หรบั ถวายพระเพลงิ ในวฒั นธรรมไทย และในเมื่อ “สวรรค์” ในคติฮินดู-พุทธเก่ียวข้องกับ “ภูเขา” จึงเรียกอาคารส�ำหรับการถวาย พระเพลิงนี้วา่ “เมรุ” กระบวนการผกู “อาคารถวายพระเพลงิ ” เขา้ กบั “ภเู ขา” ในศลิ ปกรรมไทย ใชก้ ระบวนการ ทางประตมิ านวทิ ยาหลกั ๆ ๔ ประการ คือ ประการแรก ตง้ั ช่อื อาคารสำ� หรบั ถวายพระเพลิงว่า “เมร”ุ ประการทีส่ อง สรา้ งฐานสงู ซอ้ นเป็นชัน้ ๆ เพอ่ื แสดงนยั ยะถงึ ภเู ขา ประการท่ีสาม การใช้สิ่งมีชีวิตท่ีอยู่บนสวรรค์เช่น เทวดา พรหม สัตว์หิมพานต์ ฯลฯ มาประดบั เมรุหรอื มาเก่ยี วข้องกับงานพระเมรุเพอ่ื ใหส้ วรรคใ์ นจนิ ตภาพปรากฏเป็นรปู ธรรมชดั เจน ประการสุดท้าย การใช้ยอดปราสาทมาเป็นยอดพระเมรุ ซึ่งแม้ว่ายอดปราสาทนั้นจะ หมายถึงอาคารซ้อนช้ันโดยรูปธรรม ทว่าโดยอีกคติความเช่ือหน่ึงท่ีแฝงมาต้ังแต่การสร้างเทวาลัย ในอนิ เดยี กค็ อื ยอดปราสาทยอ่ มหมายถงึ ภเู ขาไดโ้ ดยนยั ปราสาทยอดพระเมรจุ งึ หมายถงึ ยอดภเู ขา ดว้ ย อันท�ำให้อาคารโดยรอบสามารถผกู คติไดก้ ับเขาสัตตบริภัณฑ์ สรุป จะเห็นได้ว่า อินเดียไม่มีอาคารส�ำหรับเผาศพ ส่วนค�ำว่า “เมรุ” น้ันกลับผูกกับเทวาลัย อันมีความหมายโดยนัยสอื่ ถงึ ภูเขาอนั เป็นสวรรคท์ ป่ี ระทบั ของเทพเจา้ ตอ่ มาในเอเชยี อาคเนย์ โดย เฉพาะในวัฒนธรรมไทย ได้มีการสร้างอาคาiส�ำหรับถวายพระเพลิงและมีกระบวนการผูก “คติ ภูเขา-สวรรค์” กับอาคารดงั กล่าวโดยตัง้ ชอ่ื วา่ “เมร”ุ 221เสดจ็ ส่แู ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

รายการอ้างองิ Kamrisch , S. 1976. Hindu Temple, Vol.1 .New Delhi: Motilal Banarsidass. Sharma, Sudharshan K., translated. 2007. Samarāṅgaṇa Sūtradhāra of Bhojadeva: An Ancient Treatise on Architecture, Vol. II .New Delhi: Parimal Publication. Tadgell, C. 1990. The History of Architecture in India: From the Dawn of Civilization to the End of the Raj. New Delhi: Penguin Book. 222 เสดจ็ สู่แดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

๑๑ สเุ มรุบรรพต ในจกั รวาลวทิ ยาอินเดียและสยาม ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชานป์วชิ ช์ ทดั แกว้ สาขาวิชาภาษาเอเชยี ใต้ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ในการพระบรมศพและพระศพของเจ้านาย หรอื ศพของสามัญชน สงิ่ ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั เรอ่ื งนี้ คอื สถานทใี่ นการปลงศพ ท่เี รยี กวา่ “พระเมรุ” หรอื “เมร”ุ (ในกรณขี องเจ้านายนัน้ มเี มรุหลาย ประเภท)๑ หากกล่าวถึง (พระ)เมรุ ที่ใชป้ ลงศพแล้ว ส่วนใหญเ่ ชือ่ กนั วา่ เป็นสถาปัตยกรรมท่สี ร้าง โดยมีแนวคิดเร่ืองเขาพระสุเมรุ และสวรรค์ ซ่ึงเป็นเร่ืองโลกศาสตร์ และจักรวาลวิทยาอินเดียอยู่ เบื้องหลัง แต่เม่ือเปรียบเทียบกับธรรมเนียมในการปลงศพของอินเดียแล้ว จะทราบว่า สถานที่ ในการปลงศพนน้ั เรยี กแตกตา่ งออกไป และไมเ่ คยปรากฏวา่ อนิ เดยี ใช้ค�ำว่า “เมร”ุ อย่างไทยด้วย ดังน้ัน การสร้าง “พระเมรุ” น่าจะเป็นพัฒนาการที่เกิดข้ึนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มากกวา่ ทเ่ี ราจะรับมาโดยตรงจากอินเดีย และใช้อย่างวัฒนธรรมตน้ ทาง ถงึ กระนน้ั กต็ าม ไม่วา่ จะ เป็น “เมร”ุ ในบริบทอินเดีย หรอื จะเป็น “เมรุ” ในบรบิ ทไทยกต็ ามล้วนแล้วแต่เกีย่ วข้องกบั แนวคิด โลกศาสตร์เรอ่ื ง “เขาพระสุเมร”ุ ทง้ั ส้ิน จึงควรท่จี ะน�ำแนวคดิ นม้ี ากล่าวไว้เปน็ ความรู้ ความหมายและท่ีมาของค�ำ “เมรุ” เมรุ หรือ สุเมรุ ตามพจนานุกรมสันสกฤตให้ความหมายไว้ว่า เป็นชื่อภูเขาวิเศษใน เทวปกรณ์ กลา่ วกันว่ามรี ปู ทรงกลม เปน็ ศูนยก์ ลางของจักรวาล แวดล้อมด้วยทวปี ตา่ งๆ ดวงดาว ต่างๆ ต่างโคจรรอบเขานี้ ส่วนท่ีมาของค�ำ พจนานุกรมสันสกฤตไม่ได้ให้รายละเอียดไว้มากนัก มกี ลา่ วถึงในอุณาทสิ ูตร๒ (Uṇ. iv, 101) เทา่ น้นั นอกจากค�ำว่า เมรุ หรอื สุเมรุ แล้วยังมคี ำ� อ่ืนๆ ๑ ดูเพิม่ เติมใน นนทพร อยู่มง่ั มี. ธรรมเนียมพระบรมศพและพระศพเจ้านาย. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั มติชนจ�ำกดั มหาชน (ฉบบั พิมพค์ ร้ังที่ ๒), ๒๕๕๙. ๒อณุ าทสิ ตู ร เปน็ ภาคผนวกของไวยากรณอ์ ษั ฏาธยายขี องปาณนิ ิ สตู รนก้ี ลา่ วถงึ ปจั จยั และกรยิ าธาตุ (verbal root) ของศัพท์ ท่ีมีเพียงหนึ่งเดียวเท่าน้ัน ไมใช่ปัจจัยและธาตุปกติ น่ันแสดงว่า ค�ำ “เมรุ” ในภาษาสันสกฤตมีที่มาไม่ แน่ชดั นกั ไวยากรณพ์ ยายามทีจ่ ะอธบิ ายท่ีมาโดยวิธนี ้ี 223เสดจ็ สู่แดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชอื่ ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

ทใี่ ช้เรียกภเู ขานี้ เชน่ เหมาทริ (ภูเขาทอง) รัตนสานุ (มยี อด หรอื สันเขาเปน็ อญั มณ)ี สุราลยั (ทอ่ี ยู่ ของเทวดา) อมราทริ (ภเู ขาของเทวดา) ภูสวรรคะ (สวรรคบ์ นพ้นื โลก) เปน็ ต้น ในภาษาบาลี ตามพจนานุกรมศพั ทว์ เิ คราะห์ รปู วิเคราะหข์ องค�ำว่า เมรุ มาจาก มิ ธาตุ “เบียดเบียน” ภูเขาท่ีเบียดบังภูเขาท้ังหมดด้วยความสูงกว่าของตนเอง (มินาติ สพฺเพ ปพฺพเต อตฺตโน อุจฺจตรตฺเตนาติ เมรุ) หรือ ภูเขาที่เบียดเบียนความมืดด้วยรัศมี (มินาติ หึสติ รํสีหิ อนฺธการนฺติ เมรุ) หรอื เม ธาตุ “แลกเปล่ยี น” ภเู ขาทีเ่ ปน็ ทีแ่ ลกเปล่ียนความอภริ มย์กันแหง่ พวก เทวดา (เมนตฺ ิ มยนตฺ ิ วา อาททนฺติ ปฏทิ ทนฺติ เอตถฺ าติ เมรุ) ส่วนคำ� สุเมรุ ถือวา่ เป็นการเพ่มิ อปุ สัค สุ- “ดี งาม” เข้ามา นอกจากนี้ ในคมั ภีร์ภาษาบาลยี ังนยิ มใช้คำ� ว่า สิเนรุ ในความเดยี วกับ เมรุและสุเมรุ มีค�ำอธิบายว่ามาจาก สินา ธาตุ “ท�ำให้สะอาด” ภูเขาท่ีท�ำให้พวกเทพสะอาด (สินาติ สจุ ึ กโรติ เทเวติ สิเนร)ุ (พระมหาโพธวิ งศาจารย์ ๒๕๕๘: ๗๒๑) พระสเุ มรบุ รรพต สวรรค์ และชมพูทวีปในคตฮิ ินดู ในพระเวททงั้ ๔ ไดแ้ ก่ คัมภีร์ฤทเวท ยชรุ เวท สามเวท และอาถรรพเวท ซ่งึ เปน็ คมั ภีร์ เกา่ แกท่ สี่ ดุ ยงั ไมป่ รากฏชอ่ื เขาพระสเุ มรุ มกี ลา่ วถงึ แตภ่ เู ขาหมิ วตั (หมิ พานต)์ หรอื หมิ าลยั เทา่ นนั้ ในสมัยต่อมา คัมภีร์ไตตติรียะอารัณยกะได้กล่าวถึงชื่อ “มหาเมรุ” ซึ่งก็คือภูเขาพระสุเมรุ ที่เป็น ศูนย์กลางของโลกในความเชื่อสมัยต่อๆ มาน่ันเอง (Kirfel 1967: 11) เป็นท่ีน่าสังเกตว่า ในสมัยแรก ความคิดเร่ืองศูนย์กลางของโลกในหมู่ชาวอารยันยังไม่ปรากฏ โลกในความหมาย ของชาวอารยันยคุ แรก ประกอบด้วย ๓ ส่วน หลกั คือ พืน้ ดนิ (ภู) กลางหาว หรอื ช่องวา่ งระหว่าง ดินและฟ้า (อันตริกษะ) และท้องฟ้า (สวรร หรือ เทยาส์) แต่ละส่วนก็จะมีเทวดาประจ�ำอยู่ นับรวมได้ ๓๓ องค์ ส่วนที่เป็นท้องฟ้า เป็นท่ีโคจรของพระอาทิตย์ พระจันทร์และดวงดาวต่างๆ (Basham 1977: 490) โดยปกติแล้ว สวรรค์ปิดอยู่เสมอไม่สามารถเข้าออกโดยง่าย แต่มีประตูที่เทพและบุคคล อนื่ ๆ เขา้ ออกโดยใชป้ ระตเู ดยี วกนั ในศตปถพราหมณะกลา่ ววา่ ประตสู วรรคอ์ ยทู่ างทศิ เหนอื สว่ นประตู สู่โลกของปติ ฤ (โลกของผ้วู ายชนม์ หรอื บรรพบรุ ุษ) อยทู่ างทศิ ตะวนั ออกเฉยี งใต้ (Kirfel ๑๙๖๗: ๓๘) สวรรค์ในยุคโบราณมี ๓ ช้ันเท่านั้น อาถรรพเวท ให้ชื่อว่า อุทันวตี (สวรรค์น�้ำ) ซ่ึงต่�ำสุด ปีลุมตี เป็นสวรรคช์ ้ันกลาง และ ตฤตียา (สวรรคช์ ้ันที่ ๓) เป็นสวรรค์ชนั้ สงู สดุ ในสวรรค์ชั้นสูงสุดน้ี เป็นภพของพระอินทร์ หรือ ท้าวศักระ (Kirfel 1967: 42) ในชั้นแรกยังไม่ปรากฏว่าสวรรค์นั้น ต้ังอยูบ่ นส่งิ ใด แตเ่ ช่อื วา่ ท้องฟา้ นนั่ เองคอื สวรรค์ อันเปน็ ท่ีสถิตของทวยเทพใหญ่ แนวคิดที่ว่า โลกมีแกนกลางที่เป็นหลักของโลกนั้นเริ่มพัฒนาในสมัยหลัง ฮินดูเชื่อว่า จกั รวาลมีรูปรา่ งดงั ไขเ่ รยี กว่า “พรหมาณฑะ” (ไข่แห่งพรหม) ซง่ึ แบ่งออกเป็น ๒๑ สว่ น โลกมนษุ ย์ เป็นส่วนตรงกลาง นับแต่ด้านบน สว่ นดา้ นบน ๖ ส่วน เปน็ สวรรค์ ด้านลา่ งของโลกลงไป ๗ สว่ น เป็นบาดาล ซึ่งเป็นท่ีอยู่ของนาคและอมนุษย์อ่ืนๆ ถัดจากบาดาลเป็นนรก นอกจากแนวคิดนี้ ยังมีความเช่ือจักรวาลวิทยาอ่ืนที่เป็นที่นิยมแพร่หลายในคัมภีร์ศาสนาสมัยหลังๆ กล่าวคือ โลกน้ี แบนราบ กวา้ งใหญไ่ พศาล ตรงศนู ยก์ ลางเป็นเขาพระสุเมรุ มีพระจันทร์ พระอาทติ ย์ และดวงดาว โคจรอยรู่ อบ รอบเขาพระสุเมรุ มที วีปทงั้ ๔ ตัง้ อยู่ โดยมีมหาสมุทรคนั่ ระหวา่ งพระสุเมรุและทวปี 224 เสด็จส่แู ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

๑๑ แตล่ ะทวปี มชี อื่ เรยี กตามตน้ ไมใ้ หญท่ ข่ี น้ึ อยรู่ มิ ชายทวปี บนดา้ นทหี่ นั เขา้ หาพระสเุ มรุ ดา้ นใตซ้ ง่ึ เปน็ ทีอ่ ยู่ของมนุษยเ์ ป็นทวีปทม่ี ีต้นหว้าขน้ึ อยจู่ ึงเรยี กว่า “ชมพูทวีป” ด้านใต้ของชมพูทวีป มีเทือกเขา หิมาลัย หรอื หมิ วตั ทอดยาวอยู่ เรยี กว่า “ดนิ แดนของภารตะ” หรือ “ภารตวรรษ” ในสมัยปรุ าณะ ความคิดได้พัฒนาหลากหลายมาก ชมพูทวีปกลายเป็นวงท่ีล้อมรอบพระสุเมรุ ถัดไปมีมหาสมุทร น�้ำเคม็ (โลวณะ) ถดั ไปเป็นวงทวปี อนื่ สลับกับมหาสมุทรจนครบ ๗ ทวปี โดยมพี ระสุเมรเุ ปน็ แกน กลางโลก (Basham 1977: 490-491) คมั ภรี ต์ า่ งๆ ทเ่ี ปน็ ฝา่ ยฮนิ ดู กลา่ วถงึ ทวปี ตา่ งๆ ชอ่ื ของทวปี แตกตา่ งจากทป่ี รากฏในคมั ภรี ์ พทุ ธศาสนา ทเ่ี ราคนุ้ เคยกนั เปน็ อยา่ งดี ยกเวน้ ชมพทู วปี เทา่ นนั้ ทต่ี รงกบั ฝา่ ยฮนิ ดู ทวปี ตา่ งๆ มี ๗ ทวปี โดยมีชมพทู วีปอยูต่ รงกลาง คนั่ ด้วยมหาสมุทรแต่ละชน้ั ตัวอยา่ งเช่น อคั นปิ ุราณะ ภาควตปรุ าณะ และ ภวิษยปุราณะ ชื่อทวปี และมหาสมุทรเป็นดงั นี้ ชอ่ื ทวีป มหาสมทุ ร ชมพูทวีป ลวโณทะ/กษาโรทะ ปลักษทวปี อีกษรุ โสทะ ศาลมลิทวีป สโุ รทะ กศุ ทวีป ฆฤโตทะ/สรรปิส เกราญจทวปี ทธิมัณโฑทกะ/ทธิ ศากทวปี กษโี รทะ/ทุคธะ ปษุ กรทวปี สวาทูท(กะ)/ ชละ ชมพทู วีปมีความกว้างยาว ๑๐๐,๐๐๐ โยชน์ แบ่งออกเป็นสว่ นๆ (วรฺษ) แตล่ ะส่วนมีทิวเขา ประจ�ำ เช่น ภารตวรรษ ซึ่งอยู่ด้านใต้สุดของชมพูทวีปมีหิมวัต หรือหิมาลัยเป็นเทือกเขาประจ�ำ หมิ วตั นน้ั เปน็ ทอี่ ยขู่ องรากษส ปิศาจ ยกั ษ์ และภเู ตศวร (พระศวิ ะ) โดยยอดกลางของทิวเขาหมิ วตั มีชอ่ื ว่า ไกลาส (ไทยเรยี กว่า ไกรลาส) (Kirfel 1967: 56) ในยุคอิติหาส-ปุราณะ แนวคิดเร่ืองสวรรค์ซับซ้อนขึ้น แปลกแยกจากสมัยก่อนหน้าน้ี โดยเฉพาะสมัยพระเวทมาก พระผู้เป็นเจ้าที่ทรงมหิทธานุภาพแต่ละพระองค์ ก็จะมีโลกของแต่ละ พระองค์ไป เช่น พระพรหมประทับในพรหมโลก พระวิษณุประทับในพิษณุโลกบนเกษียรสมุทร เหนือเศษหรอื อนนั ตนาคราช พระศวิ ะประทับบนเขาไกรลาส ในขณะทีพ่ ระอนิ ทร์กย็ งั เป็นจอมเทพ เปน็ เจา้ แหง่ “สวรรค”์ อยู่ แตท่ วา่ ในสมยั อติ หิ าส-ปรุ าณะ สวรรคไ์ มใ่ ชท่ อ้ งฟา้ เฉยๆ แลว้ แตเ่ ปน็ ภพที่ ตัง้ อยู่บนภเู ขาพระสเุ มรุ นอกจากนี้ ยงั มีช่อื สวรรคอ์ นื่ ๆ คอื มหรรโลก ชนรรโลก ตโปโลก สัตยโลก ตามวยาสภาษยโยคสตู ร มี ภรู โลก อันตริกษโลก มาเหนทรโลก ปราชาปรัตยโลก ชนโลก ตโปโลก สัตยโลก ในมเหนทรโลก มีเทวดาพวก ตรีทศะ (๓๐ = ๓๓?) อัคนิษวาตตะ ยามะ ตุษิต อปรินิรมิตวศวรรติน ปรนิรมิตวศวรรติน (Kirfel 1967: 142) เป็นที่น่าสังเกตว่าในสมัยหลัง ชื่อของบรรดาเทวดาในฮนิ ดเู องคลา้ ยคลึงกบั ฝ่ายพทุ ธอยมู่ าก 225เสด็จสู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอื่ ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

ในคตทิ างฝ่ายฮินดู ชมพทู วปี โดยเฉพาะภารตวรรษเปน็ สว่ นที่ใกลเ้ ขาพระสุเมรมุ ากท่ีสดุ และมหี มิ วตั หรอื หิมวันต์ เปน็ เทือกเขาทีอ่ ยู่ตรงเชิงเขาพระสเุ มรุ ภารตวรรษนี้มมี นุษยอ์ ยู่หนาแน่น เมอื่ ข้ามหมิ วัตไปแลว้ ก็เหมอื นเป็นอกี โลกหนง่ึ คือ โลกของเทพเจ้า การเขา้ ถงึ เขาพระสุเมรุ จึงเปน็ การเปล่ยี นภพภูมิ และสภาวะจติ โดยเฉพาะการขน้ึ ถงึ ยอด อนั เปน็ นครของพระอนิ ทร์ (Mabbet 1983: 68) นอกจากนี้ บางคร้ังพระสุเมรุก็มีลักษณะเป็นบุคลาธิษฐาน เช่น เมื่อท้าวปฤถุกระท�ำให้ แผน่ ดนิ แปลงเปน็ แมโ่ คและใหบ้ คุ คลตา่ งๆ มารดี นมจากนางเมรรุ าช เปน็ ตวั แทนของภเู ขาในการรดี ความอุดมสมบูรณ์จากแผ่นดิน ในพิธีสยุมพรของพระศิวะและพระนางปารวตี เมรุราชได้รับเชิญ มาเป็นที่ปรึกษาแก่ท้าวหิมวัต บิดาของพระนางปารวตีในมหาภารตะสภาบรรพ เมรุราชร่วมกับ ขนุ เขาตา่ งๆ กระท�ำสักการะพระกุเวร (Mabbet 1983: 73) เมอ่ื กลา่ วถงึ สวรรคใ์ นความหมายของฮนิ ดนู น้ั โดยมากเจาะจงหมายถงึ พภิ พของพระอนิ ทร์ ผเู้ ป็นจอมเทพเทา่ นน้ั ในพระเวท พระอินทร์เปน็ เทวดาทอ่ี ยใู่ นชนั้ บรรยากาศ เป็นผูโ้ ปรยปรายฝน มีทีป่ ระทบั ในหมูเ่ มฆ เปน็ ทเ่ี กรงกลวั เพราะเป็นเทพแหง่ ฟา้ ฝนและผฟู้ าดสายฟา้ ในขณะเดียวกัน ก็เป็นเทพท่ีก่อเกิดความอุดมสมบูรณ์ พระอินทร์มักจะมีพระวายุเทพแห่งลมเป็นสหาย ในฐานะ ที่เปน็ จอมเทพ พระอินทร์จงึ มบี ทสวดกล่าวถึงอยู่มาก พระอนิ ทรเ์ ปน็ ตวั แทนของ “ก�ำลงั ” เป็นเทพ ที่หนุ่มอยู่เสมอ เป็นวีรบุรุษ กล้าหาญ และจิตใจกว้างขวาง พระองค์เป็นผู้น�ำเหล่ากษัตริย์นักรบ ทง้ั ยงั ปกปอ้ งพวกเขาดว้ ยวัชระ (สายฟ้า) และ ธนู (อนิ ทรธนู คอื สายรงุ้ ) ในสมัยต่อมา พระอินทร์มีสถานะต่�ำลง แต่ก็ยังคงด�ำรงต�ำแหน่งเป็นจอมแห่งเทวดา ทั้งหลาย เป็นเจ้าแห่งพิธีบวงสรวง นักฟ้อน และเจ้ามายา ศัตรูของพระอินทร์คือเหล่ากอของ นางทิติ และนมจุ ิ ซงึ่ เป็นอสูรที่ขัดขวางไม่ให้นำ�้ จากฟา้ ตกลงมาในโลก และปโุ ลมันซึ่งเปน็ บดิ าของ พระนางศจที ่ีพระอินทรพ์ าหนีมา พระอินทรโ์ ปรดทจ่ี ะด่ืมน้�ำเมาและความสำ� ราญ โดยเฉพาะโปรด เครือ่ งดื่ม “โสมะ” ซึ่งตนได้ขโมยมาจากกศั ยปะ บดิ าของตน นอกจากน้ี พระอนิ ทรเ์ ปน็ โลกบาลทางทศิ ตะวนั ออก มโี อรส ๓ องค์ นามวา่ ชยนั ตะ ฤษภะ และ มีฒุษะ (ตามภาควตปุราณะ) มีพาหนะคือช้างไอราวตะ (หรือ ไอราวณะ) มีสี่งา ตัวโตดัง เขาไกลาส มีม้าทรงช่ืออุจไจศวะ วิมานมีชื่อว่า ไจตระ ภายในบรรจุอาวุธนานาประการ มีเสาธง รถศึกเรียกว่า ไวชยันตะเป็นสีทองและสีขาบ (นีละ) สารถีของพระอินทร์ชื่อว่า มาตลิ (ไทยเรียก มาตลี หรอื มาตลุ ี) ชายาของพระมาตลิ ชื่อ สธุ รรมา มีธดิ า ช่อื คุณเกศี พระอินทรท์ รงถือตะขอ บว่ งบาศ ธนชู อื่ วชิ ยั กค็ อื สายรงุ้ นน่ั เอง ดาบชอ่ื ปรญั ชยะ และสงั ขช์ อ่ื เทวทตั ต์ แตอ่ าวธุ หลกั ประจำ� ตวั พระอินทร์ คือ สายฟ้าและเวทย์มนตร์ เมืองของพระอินทร์ชื่อว่า อมราวตี (อมราวดี) ซ่ึงต้ังอยู่ บนเขาพระสเุ มรุ มสี วนชื่อ นันทนะ กันทสาระ หรอื ปารุษยะ (Daniélou 1991: 107-111) ในเทพปกรณ์ของฮินดู วรรณะกษัตริย์โดยเฉพาะพระราชาผู้เกรียงไกรมักจะได้รับ การยกย่องว่าเป็นสหายของพระอินทร์ บางองค์เคยแม้กระท่ังครองสวรรค์ร่วมกับพระอินทร์ เช่น พระเจ้ามานธาตฤ (Dowson 1928: 197-8) เป้าหมายในบั้นปลายชีวิตของกษัตริย์อย่างหน่ึง กค็ อื การไดข้ นึ้ สวรรค์ คอื การไปอยใู่ นอมราวดนี ครของพระอนิ ทร์ ดงั เชน่ ปรากฏในสวรรคโรหนบรรพ 226 เสดจ็ สแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

๑๑ ในมหาภารตะ ซงึ่ กลา่ วถงึ การเดนิ ทางขน้ึ สสู่ วรรค์ (ดว้ ยการขน้ึ เขาพระสเุ มร)ุ ของยธุ ษิ ฐริ ะและอนชุ า รวมทัง้ นางเทราปทีผเู้ ปน็ ชายา (ทองสกุ เกตุโรจน์ ๒๕๕๙: ๒๐๕) จะเหน็ วา่ ในฝา่ ยฮนิ ดู พระสุเมรุ น อกจากจะเปน็ ใจกลางของโลกแล้ว ยังเปน็ ทางไปสสู่ วรรคจ์ ากโลกมนษุ ย์ดว้ ย พระสเุ มรุบรรพต สวรรค์ และชมพูทวปี ในคตพิ ทุ ธ โลกในคตพิ ุทธศาสนาเป็นระบบที่เรยี กว่า “จกั รวาล” หรอื “โลกธาตุ” แรกสดุ เปน็ ระบบ จักรวาลเดียว ภายหลังจึงเพิ่มข้ึนเป็นพันจักรวาล และในที่สุดทวีคูณข้ึนเป็น ๓,๐๐๐ มีขนาดเล็ก กลาง และใหญ่ ซง่ึ มีโครงสรา้ งอย่างเดยี วกนั ทั้งหมด (Kloetzli 2007: 51-72) เมอื่ กลา่ วถงึ โครงสรา้ งของจกั รวาลเดยี่ วในพทุ ธศาสนา ในฝา่ ยคมั ภรี พ์ ทุ ธศาสนาภาษาบาลี และสนั กฤตนนั้ โดยมากแลว้ ตรงกนั รปู รา่ งของจกั รวาลนน้ั มลี กั ษณะดจุ ลอ้ รถ (ส. จกรฺ / บ. จกกฺ ) เปน็ วงดินทองคำ� (กาญจนมยี ภมู )ิ ที่ต้ังอยู่ในวงลม มีเขาพระสเุ มรุเปน็ แกนกลาง เขาพระสุเมรนุ ัน้ สงู ๑๖๘,๐๐๐ โยชน์ โดยกง่ึ หนง่ึ จมอยใู่ นมหาสมทุ ร อกี กง่ึ หนงึ่ (๘๔,๐๐๐ โยชน)์ โผลพ่ น้ นำ้� สงู ขนึ้ ไปเสยี ดฟา้ ภเู ขาพระสเุ มรนุ นั้ ลอ้ มรอบเทอื กเขา ๗ เทอื ก มลี กั ษณะเปน็ วง ระหวา่ งแตล่ ะเขามมี หาสมทุ รกน้ั ท่ีเรียกว่า สที ันดร ภูเขาทง้ั ๗ เทือก มชี ือ่ ว่า ยคุ นั ธระ อีสธระ กรวีกะ สุทัสสนะ เนมนิ ธระ วนิ นั ตกะ และอัสสกัณณะ (บางคร้ังการเรียงล�ำดับช่ือมีความแตกต่างกันบ้าง) ถัดจากเขาอัสสกัณณะ มมี หาสมทุ รกนั้ แลว้ จงึ เปน็ ทวปี (เกาะ) ทงั้ ๔ ตง้ั อยใู่ นแตล่ ะทศิ ดงั น้ี คอื ทศิ เหนอื ชอ่ื อตุ ตรกรุ ทุ วปี ทศิ ตะวนั ออก ชอ่ื บพุ พวเิ ทหะ ทศิ ตะวนั ตก ชอ่ื อปรโคยานะ๓ สว่ นทศิ ใต้ ชอ่ื ชมพทู วปี ไมม่ คี ำ� บง่ ทศิ เป็นทวีปที่เราทั้งหลายอาศัยอยู่ สุดขอบของแผ่นดินทองค�ำ มีภูเขากั้น เรียกว่า เขาจักรวาล (Malarasekera 1974: 834, 1136) ภาพจากสมุดภาพไตรภูมิฉบับกรุงธนบุรีในภาพตรง กลางเป็นภูเขาพระสุเมรุ ที่ส�ำเร็จด้วยแร่-รัตนชาติ ในแตล่ ะด้าน ดา้ นลา่ งของภาพ เปน็ ภาพวาดทวปี ทรี่ าย ล้อมภเู ขาพระสุเมรุในแตล่ ะทศิ ๓ ชอื่ อปรโคยาน หรอื อวรโคทานียะ อาจจะไม่คนุ้ หคู นไทยนัก เพราะเราจำ� คลาดเคล่ือนกันมาเป็น อมรโคยานะ แต่หากเทยี บกับทวปี อน่ื ๆ ที่มกี ารบง่ ทิศทต่ี ้งั แลว้ จะทราบว่า อปร-/อวร- (ทศิ ตะวนั ตก/ทิศเบอ้ื งหลงั ) น่าจะเปน็ ช่ือทถ่ี ูกตอ้ งมากกว่า 227เสดจ็ สูแ่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

ในคัมภีร์อภิธรรมโกศภาษยะ ซ่ึงเป็นอรรถกถาพระอภิธรรมของพุทธศาสนาเถรวาท นกิ ายสรวาสตวิ าทนิ กลา่ วถงึ เขาพระสเุ มรใุ นลกั ษณะเดยี วกบั คมั ภรี ์ โลกทเ่ี ราอยนู่ ม้ี ชี อ่ื วา่ “ภาชนโลก” หมายถงึ โลกทเี่ ปน็ ทรี่ องรบั และเปน็ ทอ่ี าศยั ของสตั วใ์ นภพภมู ติ า่ งๆ โลกนเ้ี ปน็ แผน่ ดนิ ทองคำ� มภี เู ขา เรยี งรายจากศนู ย์กลางออกไปถึงขอบจักรวาล ดังนี้ คอื เมรุ ยคุ นธระ อีษาธาระ ขทริ กะ สทุ รรศนะ อัศวกรรณะ วินตกะ นิมินธระ และจักรวาฑะ (บ.จักรวาฬ) ทวีปท้ัง ๔ ต้ังอยู่ถัดจากนิมินธร เขาสัตตบรภิ ัณฑท์ ่ีรายรอบภูเขาพระสุเมรุนน้ั เป็นทองคำ� สว่ นเขาจกั รวาฑะเปน็ เหลก็ เขาพระสเุ มรุ มีความพิเศษ คือ แต่ละด้านไม่เหมือนกัน ด้านเหนือเป็นทองค�ำ ด้านตะวันออกเป็นเงิน ด้านใต้ เปน็ ไพฑูรยส์ นี �้ำเงนิ และ ดา้ นตะวันตกเปน็ แกว้ ผลึก๔ เพราะวา่ พ้นื ผิวพระสุเมรดุ า้ นใตเ้ ปน็ ไพฑูรย์ สนี �้ำเงนิ ดงั นนั้ ท้องฟ้าของชมพูทวปี ซ่ึงอย่ทู างทศิ ใตข้ องเขาพระสเุ มรุจึงเปน็ สนี �ำ้ เงนิ ไปดว้ ย เขาพระสุเมรุมีระเบียง (ปริสัณฑา) ๔ ช้ัน ชื่อ กโรฏปาณิ มาลาธาระ สทามทะ และ มหาราชกิ ะ ตามลำ� ดบั เปน็ ทอี่ ยขู่ องพวกเทวดาชน้ั จตมุ หาราชกิ า ดา้ นบนเขาพระสเุ มรเุ ปน็ ลานกวา้ ง รูปส่ีเหล่ียมจตุรัส ด้านละ ๘๐,๐๐๐ โยชน์ เป็นท่ีต้ังของนครของเทวดาชั้นดาวดึงส์ บ้างก็ว่า เป็นสเี่ หล่ยี มผืนผา้ กว้าง ๒๐,๐๐๐ โยชน์ ยาว ๘๐,๐๐๐ โยชน์ ตรงมุมท้งั ๔ ด้านมชี ะงุม้ อนั เป็น ท่ีอยู่ของพวกวัชรปาณี (ยักษ์พวกหน่ึง) นครของพระอินทร์ช่ือ สุทรรศนะ มีปราสาทตรงกลาง ชอื่ ไวชยนั ตะ ซง่ึ แตล่ ะมมุ ปราสาทมสี วน ชอ่ื ไจตรรถะ ปารษุ ยะ มศิ ระ และนนั ทนะ ทางทศิ ตะวนั ออก เฉียงเหนือมตี ้นปาริชาตกะ (ปาริชาต) ทางตะวันตกเฉยี งใต้มเี ทวสภาช่ือ สธุ รรมา สว่ นเทวดาชนั้ อน่ื ๆ ท่ยี ง่ิ กว่าเทวดาชนั้ ดาวดึงส์ อยูไ่ ม่ตดิ พนื้ เขาพระสเุ มรุ แตม่ ีวิมานลอยอยู่เหนือพระสุเมรุ อนงึ่ ขอกลา่ วถงึ ชมพทู วปี พอสงั เขป ชมพทู วปี นน้ั มภี เู ขา ๙ ลกู เรยี กวา่ กฏี ทริ อยกู่ ลางทวปี ถัดข้ึนไปทางเหนือเป็นภูเขาหิมวัต และสุดปลายทวีปเป็นภูเขาคันธมาทน์ อีกด้านของคันธมาทน์ มที ะเลสาบชอื่ อนวตปั ตะ (อโนดาต) ซ่งึ เป็นตน้ น้�ำของแมน่ ้ำ� ๔ สาย ไดแ้ ก่ คงคา สนิ ธุ วักษุ และ ศตี ะ (Gelong 2012: 1049-1056) เมื่อเปรียบเทียบกันระหว่างคติฮินดูและพุทธ จะเห็นถึงความเหมือนและแตกต่างอย่าง ชัดเจน สิ่งท่ีพ้องกัน ได้แก่ เขาพระสุเมรุเป็นแกนกลางของโลก บนยอดเขาเป็นที่ตั้งของนคร ของพระอนิ ทร์ ในชมพทู วปี มภี เู ขาหมิ วตั สง่ิ ทต่ี า่ งกนั กค็ อื ชมพทู วปี ในคตขิ องฮนิ ดอู ยใู่ กลพ้ ระสเุ มรุ มากทสี่ ดุ หมิ วตั เปน็ ภเู ขาทอ่ี ยใู่ กลช้ ดิ กบั พระสเุ มรุ เมอื่ ขา้ มหมิ วตั ไปกส็ ามารถพอเขา้ ถงึ พระสเุ มรไุ ด้ ในขณะทีค่ ตพิ ุทธ ไมม่ มี รรตยั ชน ที่ปราศจากอ�ำนาจวเิ ศษสามารถเขา้ ถึงพระสุเมรไุ ด้ เนอื่ งจากอยู่ หา่ งไกล มเี ขาสัตตบริภณั ฑแ์ ละทะเลสที ันดรกอ่ นอย่อู ยา่ งละเจด็ สถานที่ ทม่ี นษุ ย์พอจะเขา้ ถงึ ได้ก็ คอื แถบหิมวนั ตประเทศ อันเป็นท่ีพ�ำนกั ของฤษี นกั สิทธ์ิ วทิ ยาธร และมีพนั ธส์ุ ัตวแ์ ละพืชประหลาด นา่ อศั จรรยใ์ จ การไปสสู่ วรรคข์ องพทุ ธศาสนาสำ� เรจ็ ผลไดด้ ว้ ยกศุ ลกรรมของแตล่ ะคน ไมใ่ ชก่ ารเดนิ ทางจารกิ ไป หรอื เขา้ ถึงสวรรคไ์ ดด้ ้วยการขนึ้ เขาพระสุเมรุ ๔ ฝ่ายบาลี ในอรรถกถาสังยตุ ตนิกาย นทิ านวรรค อนมตัคคสงั ยุตต์ ปฐมวรรค อัสสุสูตร กลา่ วว่า เขาพระสุเมรุ ทาง ด้านเหนือเป็นทองค�ำทางด้านตะวันออกเป็นเงิน ทางด้านใต้เป็นแก้วมณี ทางด้านตะวันตกเป็นแก้วผลึก ส่วนใน คมั ภรี ส์ มันตปาสาทิกา และวสิ ุทธิมรรค กลา่ วตา่ งไปเลก็ นอ้ ยวา่ ด้านใต้เปน็ อนิ ทนิล (สีขาบ สีนำ�้ เงินอมม่วง) 228 เสดจ็ ส่แู ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

๑๑ จิตรกรรมฝาผนงั วาดเปน็ ภาพเขาพระสุเมรุท่วี ดั ไชยทิศ บางขุนศรี บางกอกน้อย กรุงเทพ คติเรือ่ งสเุ มรุบรรพต: จากอนิ เดยี สสู่ ยาม อันที่จริงคติเรื่องจักรวาลวิทยาและโลกศาสตร์ของไทยนั้น ได้รับอิทธิพลจากอินเดีย ทงั้ ฝา่ ยคตพิ ทุ ธศาสนาและฝา่ ยศาสนาฮนิ ดู สง่ ผลใหเ้ กดิ งานดา้ นตา่ งๆ ทงั้ ทเี่ ปน็ วรรณคดที เี่ กย่ี วขอ้ ง กบั โลกศาสตร์โดยตรง และงานวรรณคดีอน่ื ๆ ที่ปรากฏความคิดเรือ่ งโลกศาสตรแ์ ละจักรวาลวทิ ยา ในหลายกรณี คติความเช่ือทั้งสองศาสนาก็ผสมผสานปะปนกัน หรือจะเป็นงานศิลปกรรม เช่น ภาพจิตรกรรมฝาผนัง สมุดภาพไตรภูมิ๕ งานสถาปัตยกรรม ในบทความนี้จะขอกล่าวถึง เรื่องสถาปัตยกรรมพอสังเขป เพื่อให้เห็นความเช่ือมโยงของสองวัฒนธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในส่วนทีเ่ ก่ยี วข้องกับการพระเมรุ ในบริบทของอินเดีย คติเรื่องพระเขาสุเมรุเกี่ยวข้องกับสถาปัตยกรรมอินเดียทางตรงและ ทางออ้ ม สำ� หรบั ทางออ้ มก็ เชน่ คตกิ ารสรา้ งสถปู ดงั ท่ี พ.ี มสุ (P. Mus) นกั วชิ าการดา้ นสถาปตั ยกรรม อินเดีย กล่าวว่า สถูปในพุทธศาสนาน้ันเป็นสัญลักษณ์แทนเขาพระสุเมรุ ส่วนองค์สถูปที่เป็นทรง รูปไข่ หมายถึง ตัวเขาพระสุเมรุ ส่วนยอดฉัตร (ฉัตราวลี) หมายถึง รูปภูมิ และส่วนหรรมิกา หมายถงึ สวรรคช์ น้ั ดาวดงึ ส์ กา้ นฉตั ร (ยษั ฏ)ิ หมายถงึ แกนโลก ซมุ้ ประตโู ตรณะทง้ั ๔ ดา้ น หมายถงึ ทิศท้งั ๔ ในขณะที่นักโบราณคดีอกี ส่วนหน่งึ เชือ่ ว่า องค์ประกอบพืน้ ฐานนเ้ี ปน็ รปู จกั ร หรือ ลอ้ รถ เร่ืองสัญลักษณ์จักรวาลเป็นเรื่องประยุกต์เข้ากับโครงสร้างนี้ภายหลัง ล้อรถน้ีหมายถึง ธรรมจักร ซงึ่ มีทม่ี าจากล้อรถของพระอาทิตยก์ ็เป็นได้ (Akira 2009: 29-30) ส�ำหรับทางตรง “เมรุ” นอกจากจะหมายถึง “เขาพระสุเมรุ” แล้วยังเป็นช่ือเฉพาะงาน สถาปตั ยกรรมอยา่ งหนงึ่ ดว้ ย เปน็ ศาสนาสถานแบบฮนิ ดู ซง่ึ มหี ลงั คาซอ้ นลดหลน่ั กนั หลายชน้ั (ปกติ มักเปน็ หลงั คาซ้อนกนั ๑๖ ช้ัน หรอื ทเ่ี รียกวา่ ภมู ิ) “เมร”ุ รูปแบบหนึ่งมี ๖ ดา้ น หลงั ค้าซอ้ น ๑๒ ภูมิ มยี อดหลงั คา (ศขิ ระ) หลายยอด มีถำ้� (กุหระ) หลายหอ้ งสูง ๙๖ ฟตุ ในฝ่ายเหนอื “เมรุ” เปน็ รูปแบบงานสถาปัตยกรรมท่ีส�ำคัญที่สุดและสูงท่ีสุดในบรรดา ๒๐ แบบ และในฝ่ายใต้เป็นรูปแบบ ท่ลี ้�ำเลิศทีส่ ดุ ในบรรดา ๓๒ แบบ (Mabbet 1983: 76) ๕ เร่ืองการศึกษาสมุดภาพไตรภูมิ สามารถดูเพ่ิมเติมได้ใน รุ่งโรจน์ ภิรมย์อนุกูล. การศึกษาเชิงวิเคราะห์ที่มาของ สมุดภาพไตรภูมิ. วิทยานิพนธ์ในหลักสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาโบราณคดีสมัยประวัติศาตร์ ภาควิชาโบราณคดี มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ปีการศึกษา ๒๕๕๒ 229เสด็จสแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

อย่างไรก็ดี ในฝ่ายอินเดีย “เมรุ” นั้นไม่เกี่ยวข้องกับ “การตาย” หรือ “การปลงศพ” แต่อยา่ งใด เม่อื พิจารณาในฝ่ายสยาม รปู แบบสถาปตั ยกรรมท่เี รยี กวา่ “เมรุ” ท่ใี ช้ตรงกบั อนิ เดยี ก็มอี ยู่ เช่น เมรุทศิ และเมรรุ ายทวี่ ัดไชยวัฒนาราม พระนครศรอี ยธุ ยา ทใี่ ช้ประดษิ ฐานพระพุทธรปู ส�ำคัญ (รงุ่ โรจน์ ภิรมยอ์ นกุ ลู ๒๕๕๒: ๓๙๔-๓๙๖) น้ันตรงกบั คติของอนิ เดยี ทีม่ หี ้องหรือที่เรียกว่า ครรภคฤหะ ซ่ึงไว้ประดิษฐานสิ่งที่เคารพบูชา แต่ด้วยความเช่ือเร่ืองสถานะของพระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศานุวงศ์ว่าเป็นสมมติเทพตามลัทธิเทวราช เมื่อ “สวรรคต” หรือ “สิ้นพระชนม์” ลงก็จะเสด็จคืนสู่ “สวรรค์”๖ ส่งผลให้สถานท่ีต้ังพระบรมศพหรือพระศพ เรียกว่า เมรุ พระเมรุ หรือ พระเมรุมาศ ซึ่งการประดับตกแต่งสิ่งก่อสร้างท่ีประกอบต่างๆ ล้วนสะท้อนคติความเชื่อ เรื่องพระสุเมรุบรรพตในทางจักรวาลวิทยาทั้งฝ่ายพุทธและฮินดูทั้งสิ้น (ด�ำรงราชานุภาพ ม.ป.ท.: ๒๔๗๐: ๑-๒; สมภพ ภริ มย์ ๒๕๓๙: ๔๐; นนทพร อยู่มง่ั มี ๒๕๕๙: ๒๑๕; เสฐยี รโกเศศ ๒๕๕๓: ๒๔๑-๒๔๕) ๖ คำ� วา่ สวรรคต นย้ี งั มรี อ่ งรอยความหมายของ “สวรรค”์ ในความหมายดง้ั เดมิ อยมู่ าก คอื การไปสภู่ พของพระอนิ ทร์ ย่ิงเม่ือเก่ียวข้องกับเร่ือง “พระเมรุ” ด้วยแล้วยิ่งย�้ำให้เห็นความเก่ียวข้อง ระหว่างคติเร่ืองเขาพระสุเมรุกับอมราวดี นครของพระอินทร์ ท่ีตั้งอยู่บนยอดเขาน้ัน แม้เราจะเช่ือเร่ืองของการท่ีพระมหากษัตริย์เป็นอวตารของพระวิษณุ หรือพระโพธสิ ตั วก์ ็ตาม 230 เสด็จสู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

๑๑ รายการอ้างองิ ทองสกุ เกตุโรจน.์ ๒๕๕๙. ศัพทานกุ รมวรรณคดีสนั สกฤต. กรงุ เทพฯ : สำ� นักพมิ พ์แสงดาว. นนทพร อยู่ม่ังมี. ๒๕๕๙. ธรรมเนียมพระบรมศพและพระศพเจ้านาย. กรุงเทพฯ : บริษัทมติชนจ�ำกัด มหาชน. พระมหาโพธิวงศาจารย์. ๒๕๕๘. พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด ศัพท์วิเคราะห์. กรุงเทพฯ : สำ� นกั พิมพเ์ ลีย่ งเชยี ง. รุ่งโรจน์ ภิรมย์อนุกูล. ๒๕๕๒. การศึกษาเชิงวิเคราะห์ที่มาของสมุดภาพไตรภูมิ. วิทยานิพนธ์ ในหลักสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาโบราณคดีสมัยประวัติศาตร์ ภาควิชา โบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศกึ ษา. เสฐยี รโกเศศ. ๒๕๕๓. ประเพณเี กยี่ วกับชวี ติ . กรงุ เทพฯ: ส�ำนกั พิมพศ์ ยาม. Akira Sadakata (tr. into English by Gaynor Sekimori). 2009. Buddhist Cosmology. Tokyo: Kosei Publishing Co. Basham, A. L. 1997. The Wonder that was India. Fontana: Sidgwick and Jackson. Daniélou, A. 1991. The Myths and Gods of India. Vermont: Inner Traditions International. Dowson, J. 1928. A Classical Dictionary of Mythology and Religion, Geography, History and Literature. London: Morrison and Gibb Ltd. Gelong Lodrö Sangpo (English tr. from French by De la Vallée Poussin). 2012. Abhidharmakośa-Bhāṣya of Vasubandhu. Delhi: Motilal Banarsidass, 4 vols. Kirfel, W. 1967. Die Kosmologie der Inder. Hildesheim: Georg Olms Verlagsbuchhandlung. Kloetzli, W. R. 2007. Buddhist Cosmology. Delhi: Motilal Banarsidass. Mabbet, I. W. 1983. “The Symbolism of Mt. Meru” in History of Religions, Vol. 23, No. 1 (Aug.), pp. 64-83. Malarasekera, G.P. 1974. Dictionary of Pali Proper Names. London: Pali Texts Society . 231เสด็จสูแ่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

ภาพท่ี ๑ พระเมรพุ ระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั (ทมี่ า: กรมศลิ ปากร ๒๕๔๘: ๑๒๐) ภาพท่ี ๒ พระเมรพุ ระบรมศพสมเด็จพระป่นิ เกล้าเจา้ อยหู่ วั (ที่มา: กรมศิลปากร ๒๕๔๘: ๑๑๘) 232 เสด็จส่แู ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

สบื ย้อนความสมั พันธ์ของปราสาทเขมร ๒๑ พระปรางคไ์ ทย และพระเมรุยอดปรางค์ รองศาสตราจารย์ ดร.รุ่งโรจน์ ธรรมรงุ่ เรอื ง ภาควชิ าประวตั ิศาสตร์ศลิ ปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร พระเมรุมาศของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ออกแบบเป็นทรง กุฎาคารคือเรือนท่ีมีหลังคาต่อเป็นยอดแหลม รูปทรงของหลังคาเป็นทรงมณฑป เทียบได้กับยอด พระมหาปราสาทในพระบรมมหาราชวงั เช่น พระท่นี ั่งดุสติ มหาปราสาท พระทน่ี ง่ั จักรีมหาปราสาท หรือยอดมณฑปประดิษฐานส่งิ สกั การบูชาในวดั วาอาราม เช่น มณฑปพระพุทธบาทสระบุรี มณฑป ประดิษฐานพระไตรปิฎกวัดพระศรีรตั นศาสดาราม พระเมรุมาศยอดทรงมณฑปเช่นนี้ท�ำสืบมาตั้งแต่พระเมรุมาศของพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยูห่ วั ลว่ งผ่านมายังพระเมรุมาศของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยู่หวั รชั กาลที่ ๖ และพระเมรมุ าศพระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหดิ ล พระอฐั มรามาธบิ ดนิ ทร ในขณะที่พระเมรุของบุรพกษัตริย์ก่อนหน้านั้นเป็นพระเมรุยอดปรางค์ มีขนาดสูงใหญ่กว่า พระเมรมุ าศท่ีสร้างในปัจจุบันมาก เชน่ พระเมรขุ องพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั อนั เป็น พระเมรุของพระมหากษตั รยิ ์ที่เกา่ ทส่ี ดุ ทมี่ ภี าพหลงเหลือใหศ้ กึ ษาได้ สาเหตุที่ท�ำให้พระเมรุมาศตั้งแต่พระราชพิธีพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจา้ อยหู่ วั เปน็ ตน้ มาแตกตา่ งจากยคุ สมยั กอ่ นหนา้ ทงั้ ขนาดทเี่ ลก็ ลงและรปู แบบทเี่ ปลยี่ นไป เนอ่ื งดว้ ย เป็นไปตามพระราชประสงค์ของพระองค์ที่ต้องการให้ยกเลิกงานพระเมรุใหญ่ ให้ปลูกแต่ท่ีเผาอัน สมควร ณ ทอ้ งสนามหลวง ดังขอ้ ความทคี่ ัดมาดงั นี้ “...แต่ก่อนมา ถ้าพระเจ้าแผ่นดินสวรรคตลง ก็ต้องปลูกพระเมรุใหญ่ ซง่ึ คนไมเ่ คยเหน็ แลว้ จะนกึ เดาไมถ่ กู วา่ โตใหญเ่ พยี งใด เปลอื งทง้ั แรงคน แลเปลอื งทงั้ พระราชทรพั ย์ ถา้ จะทำ� ในเวลานกี้ ด็ ไู มส่ มกบั การทเี่ ปลย่ี นแปลงของบา้ นเมอื ง ไมเ่ ปน เกยี รตยิ ศยดื ยาวไปไดเ้ ทา่ ใด ไมเ่ ปนประโยชนต์ อ่ คนทง้ั ปวง กลบั เปนความเดอื ดรอ้ น ถา้ เปนการศพท่านผมู้ ีพระคุณ หรือผมู้ ีบรรดาศกั ดิ์ใหญ่อนั ควรจะได้เกยี รติยศ ฉันก็ 233เสดจ็ สู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

ไม่อาจจะลดทอน ด้วยเกรงว่าคนจะไม่เข้าใจว่าเพราะผู้น้ันประพฤติไม่ดีอย่างหน่ึง อยา่ งใด จงึ ไมท่ ำ� การศพใหส้ มเกยี รตยิ ศซง่ึ ควรจะได้ แตเ่ มอื่ ตวั ฉนั เองแลว้ เหน็ วา่ ไมม่ ี ขอ้ ขดั ขอ้ งอนั ใด เปนถอ้ ยคำ� ทจี่ ะพดู ไดถ้ นดั จงึ ขอใหย้ กเลกิ งานพระเมรใุ หญน่ น้ั เสยี ปลกู แตท่ เ่ี ผาพอสมควร ณ ทอ้ งสนามหลวง แล้วแตจ่ ะเห็นสมควรกนั ต่อไป...” (ราชกจิ จานเุ บกษา ๒๔๕๔: ๔๓) พระเมรใุ หญท่ ค่ี นไมเ่ คยเหน็ จะนกึ เดาไมถ่ กู วา่ โตใหญเ่ พยี งไรนน้ั จากหลกั ฐานดา้ นเอกสาร ท�ำให้ทราบวา่ มีความสูงราวสองเสน้ หรอื ๘๐ เมตร (หนึง่ เสน้ เทา่ กับ ๔๐ เมตร) อนั เป็นความสูง ทมี่ ากกวา่ พระปรางคว์ ดั อรณุ ราชวรารามดว้ ยซำ้� ไป พระเมรบุ างหลงั อาจสงู กวา่ สองเสน้ กไ็ ด้ ภายใน พระเมรใุ หญน่ ม้ี พี นื้ ทกี่ วา้ งขวางมาก พระราชพธิ แี ทบทกุ ประการจดั ขน้ึ ภายในพระเมรุ สว่ นตรงกลาง มพี ระเมรทุ องขนาดราว ๑๐ วา พระบรมโกศประดษิ ฐานอยบู่ นชนั้ เบญจาภายในพระเมรทุ องนี้ กลา่ ว ไดว้ า่ พระเมรทุ องขนาดเลก็ ทต่ี งั้ อยภู่ ายในพระเมรใุ หญน่ ค้ี อื ตน้ แบบของพระเมรมุ าศในปจั จบุ นั นน่ั เอง พระเมรมุ าศขนาดเท่าทีเ่ ห็นในปจั จุบนั จงึ เกิดขนึ้ ตามพระราชประสงคข์ องพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว นับเป็นแบบแผนใหม่ของพระเมรุที่สร้างถวายพระมหากษัตริย์ ความเปลี่ยนแปลงนี้ส่วนหน่ึงคงเป็นไปตามสมัยนิยม ดังรับส่ังของสมเด็จฯ กรมพระยาด�ำรงราชา นุภาพที่ปรากฏอยใู่ นรายงานเสนาบดีสภา วนั ที่ ๒๘ พฤศจิกายน รัตนโกสนิ ทรศก ๑๒๙ วา่ “...อีกประการหน่งึ การทจ่ี ะท�ำคร้งั น้ีต้องทำ� แต่อยา่ งทโ่ี ลกเขานิยมกันอยู่ เวลานี้ และต้องท�ำเป็นอย่างประณีตให้สมพระเกียรติทุกอย่าง อย่าให้มีผู้ติได้ว่า ทำ� ดว้ ยความตระหน่ี เพราะฉะนน้ั ทค่ี ดิ จะทำ� พระเมรขุ นาดสองเสน้ อยา่ งแบบเกา่ นนั้ เปน็ อนั ไมเ่ ขา้ กันกบั สมัยเสียแล้ว... เพราะเวลานี้เปน็ เวลาเปลยี่ นยคุ โลกทงั้ หลาย ย่อมจะแลดูอยู่ว่า เราจะเดินหน้าหรือถอยหลัง ในเรื่องการพระศพน้ีเรายังเดินตาม แบบเก่าอยมู่ ากกวา่ อย่างอนื่ ...” (อา้ งจาก พลเรือตรี สมภพ ภิรมย์ ๒๕๓๙: ๑๖๖) ทป่ี ระชมุ เสนาบดสี ภามคี วามเหน็ รว่ มกนั ในสาระสำ� คญั ทเี่ กยี่ วกบั พระเมรพุ ระบรมศพวา่ “...ท�ำพระเมรุบุษบกขนาดน้อย ณ ท้องสนามหลวงเป็นท่ีถวายพระเพลิง มีพระที่นั่งทรงธรรมหลังหนึ่ง มีโรงที่พักและเคร่ืองสูง ราชวัติ ฉัตร ธง ประดับตาม พระเกียรติยศ...” (อา้ งจาก พลเรอื ตรี สมภพ ภริ มย์ ๒๕๓๙: ๑๖๗) พระเมรุมาศยอดบุษบกหรือยอดมณฑปจึงเป็นรูปแบบพระเมรุมาศที่สร้างไว้ส�ำหรับ ถวายพระเพลงิ พระบรมศพพระมหากษตั รยิ ส์ บื ตอ่ มาจนถงึ ปจั จบุ นั แตพ่ ระเมรขุ องพระมหากษตั รยิ ์ กอ่ นหนา้ นน้ั คอื นบั แตพ่ ระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ยอ้ นไปยงั สมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยาตอนปลาย เป็นอย่างน้อย มีหลักฐานว่าเป็นพระเมรุยอดปรางค์และมีขนาดสูงใหญ่เกินกว่าท่ีคนไม่เคยเห็น จะจินตนาการได้ 234 เสด็จสูแ่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

พระเมรุยอดปรางคใ์ นสมัยรตั นโกสนิ ทร:์ ภาพถา่ ยเก่าและลายลักษณอ์ กั ษร ๒๑ ภาพถ่ายเก่าในสมัยรัชกาลที่ ๔ และรัชกาลที่ ๕ เป็นหลักฐานส�ำคัญย่ิงต่อการศึกษา รูปแบบและคติการสร้างพระเมรุยอดปรางค์ ซึ่งปัจจุบันไม่เป็นท่ีนิยม โดยภาพถ่ายเก่าพระเมรุ พระบรมศพพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว พ.ศ.๒๔๑๒ (ภาพท่ี ๑) แสดงให้เห็นว่าเป็น พระเมรุทรงปราสาทยอดปรางค์ผังจัตุรมุข แวดล้อมด้วยเคร่ืองประกอบพระเมรุและอาคาร ทรงปราสาทยอดปรางค์ขนาดเลก็ กวา่ ซึ่งอาคารนีค้ งเปน็ เมรทุ ศิ เมรุรายหรอื เมรุทศิ เมรแุ ทรก อยู่ท่ี มุมท้ังสี่และกลางดา้ นทั้งส่ี เฉพาะทอี่ ยู่กลางด้านยังท�ำหน้าทีเ่ ปน็ ซุ้มทางเขา้ ส่พู ระเมรดุ ว้ ย บางทา่ น จงึ เรยี กว่า “เมรปุ ระตู” ภาพถา่ ยพระเมรุองค์อื่นท่ีมีในรูปแบบท�ำนองเดียวกันกับพระเมรุพระบรมศพรัชกาลที่ ๔ เท่าท่ีตกทอดให้เห็นในปัจจุบัน ได้แก่ พระเมรุพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ.๒๔๐๙ (ภาพที่ ๒) พระเมรุพระบรมศพสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี พ.ศ.๒๔๐๕ (ภาพท่ี ๓) ทง้ั สององคน์ ส้ี รา้ งขนึ้ กอ่ นพระเมรพุ ระบรมศพรชั กาลที่ ๔ ไมน่ าน สว่ นพระเมรทุ ส่ี รา้ งขนึ้ ภายหลังแต่มีรูปแบบท�ำนองเดียวกัน ได้แก่ พระเมรุพระศพสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี พ.ศ.๒๔๒๓ (ภาพที่ ๔) ภาพที่ ๓ พระเมรุพระบรมศพสมเดจ็ พระเทพศิรินทราบรมราชนิ ี (ที่มา: กรมศลิ ปากร ๒๕๔๘: ๑๑๑) 235เสด็จสูแ่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

ภาพท่ี ๔ พระเมรุพระศพสมเด็จพระนางเจ้าสนุ นั ทากมุ ารรี ตั น์ พระบรมราชเทวี (ทีม่ า: กรมศลิ ปากร ๒๕๕๙: ๕๗) พระเมรทุ ง้ั สม่ี รี ปู แบบและแผนผงั โดยรวมคลา้ ยกนั โดยสงิ่ โดดเดน่ ทม่ี รี ว่ มกนั ไดแ้ ก่ พระเมรุ อยู่ในผังส่ีเหลี่ยมเพ่ิมมุม (ย่อมุม) มีมุขต่อยื่นออกมาท้ังสี่ด้านเรียกว่าจัตุรมุข ส่วนยอดเป็นทรง ปราสาท หรือเป็นเรือนซ้อนช้ันลดหลั่นกันขึ้นไปโดยแต่ละชั้นมีเชิงกลอนสูง เฉพาะของพระเมรุ พระบรมศพสมเดจ็ พระเทพศริ นิ ทราบรมราชนิ ที ที่ ำ� ชน้ั เชงิ กลอนเตย้ี จนแลดเู ปน็ ชน้ั หลงั คาลาดแบบ ยอดมณฑปหรอื ยอดบษุ บก ยอดสดุ เปน็ ปรางค์ แวดล้อมด้วยเครื่องประกอบพระเมรุ และมอี าคาร ทรงปราสาทยอดปรางค์ขนาดเล็กที่อยู่โดยรอบพระเมรุใหญ่ ซ่ึงคงตรงกับที่เอกสารโบราณเรียกว่า เมรทุ ศิ เมรแุ ทรก หรอื เมรทุ ศิ เมรรุ าย มี “สามสรา้ ง”๑ หรอื ระเบยี งเชอ่ื มตอ่ เมรทุ ศิ เมรแุ ทรก ทำ� ใหเ้ กดิ การกนั้ พน้ื ทีภ่ ายในกับภายนอกออกจากกนั อนงึ่ ยกเว้นเฉพาะพระเมรพุ ระศพสมเด็จพระนางเจา้ สนุ นั ทากมุ ารรี ตั น์ พระบรมราชเทวี ทท่ี ำ� เมรทุ ศิ เมรแุ ทรกไวภ้ ายในสามสรา้ ง มไิ ดเ้ ชอ่ื มตอ่ กบั สำ� สรา้ ง เช่นเดยี วกนั กบั พระเมรอุ ่ืนๆ ประเดน็ รปู แบบของพระเมรยุ อดปรางคต์ ลอดจนแผนผงั ทแ่ี วดลอ้ มดว้ ยเมรทุ ศิ เมรรุ าย หรอื เมรทุ ศิ เมรแุ ทรกและสำ� สรา้ งจะเปน็ เนอ้ื หาหลกั ของบทความน้ี กลา่ วคอื แมไ้ มม่ ภี าพถา่ ยเกา่ พระเมรุ ยอดปรางค์ท่ีสร้างข้ึนก่อนรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่เช่ือได้ว่าธรรมเนียม การสรา้ งเชน่ นส้ี ามารถยอ้ นกลบั ไปไดถ้ งึ ตน้ กรงุ รตั นโกสนิ ทรแ์ ละปลายกรงุ ศรอี ยธุ ยา โดยมปี ระจกั ษ์ หลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษรที่เอ่ยถึงรูปลักษณ์ของพระเมรุบูรพกษัตริย์ ท�ำให้จินตนาการได้ว่า พระเมรพุ ระบรมศพรชั กาลที่ ๔ มีรูปลกั ษณ์ทส่ี ง่ ผ่านมาจากพระเมรุร่นุ กอ่ นหน้าอยา่ งแน่นอน ๑ สามารถเขียนได้หลายแบบ เชน่ สามซา่ ง, สามสรา้ ง, สามส้าง, ส�ำสรา้ ง, สำ� ซา่ ง เป็นต้น ในแตล่ ะบทความของ หนังสือเล่มนี้ เขียนไม่เหมอื นกนั บา้ งข้นึ อยู่กบั เอกสารต้นทางทผ่ี ู้เขียนใชอ้ ้างอิง 236 เสด็จสู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

ลักษณะพระเมรุพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวมีปรากฏในพระราช ๒๑ พงศาวดารไว้วา่ เปน็ พระเมรุยอดปรางค์และมเี มรุทิศลอ้ มรอบในทิศท้งั แปด ดงั น้ี “...เจา้ พนักงาน จัดการท�ำพระเมรุตลอดยอดน้ัน ๒ เส้น ยอดปรางค์ ๕ ยอด ภายในมีพระเมรุทองสูง ๑๐ วา ตั้งเบญจาทองรองพระโกศ มีเมรุทิศทั้ง ๘ มีราชวัติ ๒ ช้ัน... เครื่องประดับในพระบรมศพครบ ทกุ ประการเย่ียงอย่างประเพณพี ระบรมศพมาแตก่ อ่ น...” (เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ ๒๕๔๘: ๖๓) ส�ำหรับพระเมรุพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระราชพงศาวดาร ระบุไว้ว่า “...ขนาดใหญ่ยอดปรางค์ ตามเยี่ยงอย่างพระเมรุสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว...” (เจ้าพระยา ทิพากรวงศ์ ๒๕๓๘: ๙) ย่อมหมายความได้วา่ พระเมรขุ องกษัตริย์ต้องมียอดปรางค์ เป็นแบบแผน ท่ีสืบมาจากพระเมรุพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชอีกทอดหนึ่ง ซง่ึ พระเมรุพระบรมศพรัชกาลท่ี ๑ มรี ปู แบบตามท่ีปรากฏในพระราชพงศาวดารวา่ “...พระเมรุเสา เสน้ หนงึ่ ขอื่ ยาว ๗ วา พระเมรสุ งู ตลอดยอดนนั้ ๒ เสน้ ภายในพระเมรทุ องสงู ๑๐ วา ตง้ั พระเบญจา รบั พระบรมโกฐ มเี มรุทศิ ทั้งแปดทิศ มีสามสรา้ ง...” (เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ ๒๕๕๓: ๔๐-๔๑) พระเมรุยอดปรางค์ท่ีเก่าแก่ท่ีสุดในสมัยรัตนโกสินทร์เท่าท่ีมีหลักฐานให้สืบค้นได้ ได้แก่ พระเมรพุ ระบรมอฐั สิ มเดจ็ พระปฐมบรมมหาชนกของรชั กาลท่ี ๑ ปรากฏหลกั ฐานอยใู่ นจดหมายเหตุ ความทรงจำ� ของพระเจา้ ไปยกิ าเธอ กรมหลวงนรนิ ทรเทวี และโคลงของพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมหมนื่ ศรีสุเรนทร์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ซึ่งได้พรรณนารูปร่างของ พระเมรอุ งคน์ ไ้ี วอ้ ยา่ งไพเราะ ขอ้ มลู จากหลกั ฐานทง้ั สองทำ� ใหเ้ หน็ ภาพชดั เจนวา่ พระเมรยุ อดปรางค์ สืบทอดรปู ลักษณ์มาจากสมยั กรงุ ศรีอยุธยา และสบื สายลงมายงั พระเมรยุ อดปรางคส์ มัยรัชกาลที่ ๔ และรัชกาลที่ ๕ ทม่ี ภี าพถ่ายเก่าให้เห็นอยู่ พระเจ้าไปยิกาเธอ กรมหลวงนรินทรเทวี หรือเจ้าครอกวัดโพธ์ิ ได้บรรยายถึงพระเมรุ พระบรมอัฐิพระปฐมบรมมหาชนก สอดแทรกไว้กับการบรรยายขบวนพระราชพิธี ความว่า “...ชกั แหเ่ ขา้ พระเมรทุ ศิ มขุ แทรกมขุ กระสนั ประดบั ชนั้ สามสรา้ ง เสย้ี วกางประจำ� ประตชู นั้ ใน ฉตั ร เงินล�ำยอง ฉัตรทอง ฉัตรนากบรรจง เย่ียมทรงอย่างปรางคปราสาท เทวราชประนมกร เก้าชั้น อยา่ งพระเมรพุ ระบรมโกษฐพระพทุ ธเจา้ หลวงกรงุ เกา่ ...” (พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ๒๕๕๒: ๕๔๑) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชวิจารณ์ถึงจดหมายเหตุความทรงจ�ำ ตอนน้ีว่า พระเมรทุ ่ีทำ� ครัง้ นไ้ี ด้อา้ งว่าเหมือนพระเมรุคร้งั กรุงเกา่ คงเป็นเพราะถา่ ยแบบมา นายช่าง ผทู้ ำ� คงมชี วี ติ อยตู่ อ่ มา ทง้ั ผแู้ ตง่ คอื พระเจา้ ไปยกิ าเธอ กรมหลวงนรนิ ทรเทวี นา่ จะทนั เหน็ ดว้ ยตนเอง ตั้งแต่คร้งั ยงั เยาวว์ ัย (พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ๒๕๕๒: ๑๙๑-๑๙๒) สำ� หรบั โคลงถวายพระเพลงิ พระบรมอฐั พิ ระเจา้ หลวงของพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมหมนื่ ศรี สุเรนทร์ ไ ดพ้ รรณนาถึงพระเมรุนี้ด้วยถ้อยคำ� กวี ความวา่ “ชัน้ สัง่ มขุ ม่ิงทว้ ย มนตร ี จงเร่งตราบาญช ี ไพรพ่ ร้อม 237เสดจ็ ส่แู ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

เกณฑก์ ่ายจา่ ยท�ำศรี เมรมุ าศ เมรใุ หญ่เมรุเลก็ ล้อม เร่งแลว้ จงพลนั ” …. “ก�ำหนดเมรุทศิ ถ้วน อัษฎา รายรอบเมรุเอกา ใหญ่ช้ัน ยลปรางคก์ ุฏาปรา- กฎเมฆ รายรอบระเบียงนัน้ แบ่งไว้จังหวะงาม เมรแุ ทรกเมรทุ ศิ ทัง้ เมรกุ ลาง สวมเคร่ืองเรอื งรองราง เร่อื ฟ้า บนดาษสพุ รรณพาง ทองสุก สรรพสงิ่ ผจงจา้ แจ่มแจ้งจรัสหล นวสรู พรหมภกั ตรเพย้ี ง ภักตรพรหม มขุ ระเหดิ เทดิ ธารลม ลิว่ ไม้ แลฬอภอใจชม ชาวราษฎ์ กระจังคั่นสรรใส่ไว ้ นาคยว้ ยทวยทอง” (พระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมหมืน่ ศรีสเุ รนทร์ ๒๕๑๒: ๔, ๗) ทั้งจดหมายเหตุความทรงจ�ำและโคลงที่คัดมาสะท้อนความสัมพันธ์กับพระเมรุใน ภาพถา่ ยเกา่ สมยั รชั กาลท่ี ๔ และรชั กาลท่ี ๕ ในประเดน็ สำ� คญั คอื พระเมรใุ หญต่ รงกลางมยี อดปรางค์ เมรุทิศขนาดเล็กกว่าอยู่ประจ�ำท่ีทิศท้ังแปดของพระเมรุใหญ่ เรียกในที่นี้ว่าเมรุทิศเมรุแทรก มีสามสร้างซึง่ เป็นอาคารยาวเชือ่ มเมรทุ ิศเมรแุ ทรกแตล่ ะหลังเข้าไวด้ ้วยกนั ข้อมูลส�ำคัญอีกประการหนึ่งของพระเมรุพระบรมอัฐิสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก และ พระบรมราชชนนขี องรัชกาลที่ ๑ คือ มพี รหมพกั ตรป์ ระดับยอด ไมป่ รากฏในภาพถา่ ยเกา่ พระเมรุ สมัยรัชกาลที่ ๔ และรัชกาลท่ี ๕ แต่พบเอกสารทเ่ี ช่ือไดว้ า่ การประดับพรหมพกั ตร์เป็นส่ิงท่ีปรากฏ มากอ่ นแล้วในพระเมรุสมยั กรงุ ศรีอยธุ ยา พระเมรยุ อดปรางคส์ มยั กรงุ ศรอี ยธุ ยาตน้ กำ� เนดิ พระเมรยุ อดปรางคส์ มยั กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ หลักฐานลายลักษณ์อักษรประเภทพระราชพงศาวดารเอ่ยถึงพระเมรุพระบรมศพของ พระมหากษัตริย์สมัยกรุงศรีอยุธยาไว้ไม่ครบถ้วนทุกพระองค์ ท้ังยังกล่าวถึงอย่างสังเขปมาก โดย บางครงั้ ระบเุ พยี งขนาดและความสงู บางครง้ั กลา่ วถงึ องคป์ ระกอบอนื่ ๆ ทรี่ ายรอบพระเมรใุ หญ่ เชน่ เมรทุ ศิ เมรรุ าย ราชวัติ ฉัตรตา่ งๆ แตข่ าดรายละเอียดของรปู ทรงว่าเปน็ อยา่ งไร ส�ำหรับพระเมรุพระบรมศพของกษัตริย์บางพระองค์ระบุเพียงแค่ความสูงใหญ่มีตัวอย่าง เช่น พระเมรพุ ระบรมศพสมเด็จพระเจา้ เสอื “...พระเมรุมาศขนาดใหญ่ ข่อื ๗ วา ๒ ศอก สงู ๒ เส้น ๑๑ วาศอกคืบ...” (กรมศิลปากร ๒๕๓๕ข: ๑๐๐) พระเมรุพระบรมศพสมเด็จพระเจ้าท้ายสระ 238 เสดจ็ สู่แดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

ขนาดนอ้ ยข่ือ ๕ วา ๒ ศอก (กรมศลิ ปากร ๒๕๓๕ข: ๑๑๑) และพระเมรุของสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัว ๒๑ บรมโกศ “...ท�ำพระเมรุมาศขนาดใหญ่ ขอ่ื ๗ วา ๒ ศอก...” (กรมศิลปากร ๒๕๓๕ข: ๑๒๘) ส่วนพระเมรุท่ีพระราชพงศาวดารระบุความสูงใหญ่และรายรอบด้วยเมรุทิศเมรุราย หรือ เมรทุ ศิ เมรแุ ทรก มีตัวอยา่ งเช่น พระเมรพุ ระบรมศพสมเดจ็ พระนเรศวร สมเดจ็ พระเจา้ ปราสาททอง สมเดจ็ พระนารายณ์ สมเด็จพระเพทราชา พระเมรพุ ระบรมศพสมเดจ็ พระนเรศวร มขี อ้ ความดงั นี้ “...แตง่ พระเมรมุ าศสงู เสน้ สบิ เจด็ วา ประดบั ดว้ ยเมรทุ ศิ เมรรุ าย ราชวตั ิ ฉตั รทอง ฉตั รนาก ฉตั รเบญจรงค.์ ..” (กรมศลิ ปากร ๒๕๓๕ก: ๑๘๐) พระเมรพุ ระบรมศพสมเดจ็ พระเจา้ ปราสาททอง มขี อ้ ความดงั นี้ “...พระสเุ มรมุ าศสงู ๒ เสน้ ๑๑ วา ศอกคบื และพระเมรทุ ศิ เมรุราย ประดับด้วยฉตั รทอง ฉัตรนาก ฉตั รเงนิ ฉัตรเบญจรงค์ ธงเทยี วบรรณฎาร...” (กรมศิลปากร ๒๕๓๕ข: ๑๗) พระเมรุพระบรมศพสมเด็จพระนารายณ์ มีข้อความดังนี้ “...พระเมรุมาศซ่ึงจะถวาย พระเพลิงพระบรมศพสมเดจ็ พระนารายณ์เปน็ เจ้า โดยขนาดใหญ่ข่อื ๗ วา ๒ ศอก โดยสูง ๒ เสน้ ๑๑ วาศอกคืบ มียอด ๕ ยอด ภายในพระเมรทุ องนั้นกป็ ระกอบดว้ ยเครอื่ งสรรพโสภณพจิ ติ รต่างๆ สรรพด้วยพระเมรุทศิ เมรแุ ทรก และสามสร้างเสรจ็ ...” (กรมศลิ ปากร ๒๕๓๕ข: ๖๖-๖๗) พระเมรุพระบรมศพสมเด็จพระเพทราชา มีข้อความดังน้ี “...แล้วทรงพระกรุณาให้ช่าง พนกั งานจบั ทำ� การพระเมรุมาศ ขนาดใหญ่ขือ่ ๗ วา ๒ ศอก กอปรดว้ ยเมรทุ ศิ เมรแุ ทรก และ สามสรา้ งพรอ้ ม...” (กรมศิลปากร ๒๕๓๕ข: ๘๘) ส�ำหรับพระเมรุพระบรมศพสมเด็จพระเพทราชาน้ียังมีหลักฐานเป็นภาพเขียนด้วย (Terwiel 2016: 79-84) มลี กั ษณะเปน็ พระเมรยุ อดปรางค์ ๕ ยอด ลอ้ มรอบดว้ ยระเบยี งคดหรอื สาม สรา้ ง กง่ึ กลางและมมุ ของสามสรา้ งมอี าคารทรงปราสาทยอดปรางคซ์ ง่ึ คงเปน็ เมรทุ ศิ เมรรุ ายหรอื เมรุ ทิศเมรุแทรก ทั้งน้ีเมรุท่ีก่ึงกลางทำ� หน้าทเี่ ป็นซมุ้ ประตูดว้ ย แม้ว่าพระราชพงศาวดารไม่ได้ระบุถึงลักษณะของพระเมรุพระบรมศพของกษัตริย์ แต่ละองค์ว่ามีรูปลักษณ์โดยละเอียดเป็นเช่นไร แต่ข้อมูลจากค�ำให้การขุนหลวงหาวัดที่กล่าวถึง พระเมรุพระบรมศพพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ และข้อมูลจากหนังสือพรรณนาภูมิสถานกรุงศรีอยุธยา ท่ีกล่าวถงึ พระเมรุ ๓ ระดบั ชน้ั คอื เอก โท ตรี ท�ำให้เชอ่ื ไดว้ ่าพระเมรุยอดปรางคเ์ ปน็ สงิ่ ท่ีแพร่หลาย แล้วแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา ทั้งยังนิยมท�ำสามสร้าง เมรุทิศเมรุราย หรือเมรุทิศเมรุแทรกโดยรอบ ซงึ่ เขา้ กนั ไดด้ กี บั ภาพวาดพระเมรพุ ระบรมศพสมเดจ็ พระเพทราชา นา่ จะสะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ ประเพณี การสร้างพระเมรุพระบรมศพของแต่ละพระองค์ไม่ได้มีรูปแบบที่แตกต่างกันมาก ส�ำหรับพระเมรุ พระบรมศพพระเจา้ อยู่หัวบรมโกศที่กล่าวไวใ้ นคำ� ใหก้ ารขุนหลวงหาวัดมีข้อความว่า “...ใหต้ งั้ พระเมรุทองทที่ อ้ งสนามหลวง แลว้ ต้ังพระเมรใุ หญส่ งู แลว้ ปดิ ทอง ประดบั กระจกยกเปน็ ลวดลายตา่ งๆ แลว้ มีเพดานรองสามชัน้ เปน็ หลั่นๆ ลงมาตามท่ี จงึ่ มพี ระเมรใุ หญ่ สงู สดุ ยอดพระสะเดานนั้ ๔๕ วา ฝานน้ั แผงหมุ้ ผา้ ปดิ กระดาษปพู น้ื แดง เขยี นเป็นชน้ั นาค ช้ันครุฑ ชัน้ อสูร และช้ันเทวดา และชนั้ อนิ ทรช์ ้ันพรหมตาม 239เสดจ็ สูแ่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชือ่ ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

อยา่ งเขาพระสเุ มร.ุ .. และเครอื่ งพระเมรนุ น้ั มบี นั แถลงและมขุ ๑๑ ชน้ั เครอ่ื งบนจำ� หลกั ปดิ ทองประดบั กระจก ขนุ สเุ มรทุ พิ ราชเปน็ นายชา่ งอำ� นวยการ พระเมรใุ หญน่ นั้ มปี ระตู ๔ ทศิ ตง้ั รปู กนิ นรรปู อสรู ทง้ั ๔ ประต.ู ... แลว้ จง่ึ มเี มรทุ ศิ ๔ เมรแุ ทรก ๔ เปน็ ๘ ทศิ ... สารพดั สตั วท์ งั้ ปวงตา่ งๆ นานานครบครนั ตงั้ รอบพระเมรเุ ปน็ ชนั้ กนั ตามที่ แลว้ จงึ่ กนั้ ราชวตั ิสามชั้น...” (คำ� ใหก้ ารขนุ หลวงหาวัด ๒๕๑๕: ๔๐๔-๔๐๕) ในสว่ นของขอ้ มลู ตอนหนงึ่ จากคำ� พรรณนาภมู สิ ถานกรงุ ศรอี ยธุ ยาทก่ี ลา่ วถงึ แบบอยา่ งของ พระเมรทุ ม่ี สี ามระดบั ชน้ั คอื เอก โท และตรี มสี าระสำ� คญั ของพระเมรเุ อกวา่ ยอดเปน็ ปรางค์ ประดบั ดว้ ยหนา้ พรหมพกั ตร์ ปรางค์ขนาดเลก็ รายลอ้ มสว่ นยอดเรียกว่าเมรทุ ิศเมรแุ ทรก พระเมรลุ ้อมรอบ ดว้ ยสามสรา้ ง ทม่ี ุมและก่งึ กลางของสามสรา้ งมีพระเมรุยอดปรางค์ ดังนี้ “...พระเมรเุ อก เสายาว ๒๐ วา ข่อื ยาว ๗ วา ทรงตง้ั แต่ฐานบัดถงึ ยอดตรี ๔๐ วา มียอดปรางค์ใหญ่ ๑ ฐานปรางค์มีชัน้ แว่นฟ้ารอบสองชน้ั ถดั ชน้ั แวน่ ฟา้ ลงมา มรี ปู พรหมภกั ตรป์ ระดบั ยอดฐาน ถดั มามรี ปู เทพนมรอบ ถดั มามรี ปู อสรู แบกฐานบตั ร รอบฐาน ตามช่วงซุ้มคฤหะกุดาคารน้อยๆ น้ัน มีรูปเทพสถิตยประจ�ำอยู่ทุกช่วงซุ้ม แลมุขคฤหกุดาคารใหญ่เปนหน้ามุขซ้อนสองชั้นทั้งสี่มุข ๆ น้ันมียอดปรางค์ย่อมๆ ต้ังอยู่บนหลังคามุขทั้ง ๔ ทิศ ท่ีเรียกว่าเมรุทิศนั้น ที่ระวางมุขใหญ่ในร่วมมญฑป ทย่ี อ่ เกจ็ นั้นมยี อดปรางคย์ ่อมๆ ตง้ั อยรู่ ะวางมขุ น้นั ทง้ั ๔ ทศิ ท่เี รียกว่าเมรแุ ซก... หลงั ราชวตั ทิ ึบมสี ามสรา้ งรอบพระเมรุ ที่มมุ สามสร้างทัง้ สี่ทิศมีพระเมรุยอดปรางค์ ทงั้ สน้ิ ทกุ ทศิ กลางสามสรา้ งระหวา่ งเมรทุ ศิ เปนประตู ๆ ทง้ั ๔ ดา้ นตรงกบั มขุ เมรใุ หญ่ บนซุม้ ประตูทง้ั ๔ ดา้ นเปนพระเมรยุ อดปรางค.์ ..” (วินัย พงศศ์ รีเพียร ๒๕๕๑: ๑๒๖-๑๒๗) ส�ำหรับพระเมรุโทและตรีมีขนาดเล็กลงตามล�ำดับ ไม่มีหน้าพรหมพักตร์ และลดทอน องคป์ ระกอบหลายอยา่ งใหอ้ ่อนชอ้ ยลงกว่าพระเมรเุ อก (วนิ ัย พงศ์ศรเี พียร ๒๕๕๑: ๑๒๗) ขอ้ มลู ของพระเมรสุ มยั กรงุ ศรอี ยธุ ยาทก่ี ลา่ วมานเี้ มอื่ ยอ้ นกลบั ไปพจิ ารณารว่ มกบั ภาพถา่ ย ของพระเมรยุ อดปรางคส์ มยั รชั กาลท่ี ๔ และรชั กาลที่ ๕ จะพบวา่ มคี วามสมั พนั ธก์ นั อยา่ งยง่ิ สะทอ้ น ว่าขนบธรรมเนียมการสร้างพระเมรุยังคงสืบสายต่อเนื่องมาจากกรุงศรีอยุธยาโดยไม่ขาดตอน ความแตกตา่ งทม่ี ีของพระเมรแุ ตล่ ะหลงั เป็นเพียงรายละเอียดปลกี ยอ่ ยของการออกแบบ อน่ึง หลักฐานหลายอย่างแสดงให้เห็นว่าคนต้นกรุงรัตนโกสินทร์พยายามท�ำให้ราชธานี แหง่ ใหมเ่ ปน็ เหมอื นครงั้ ทก่ี รงุ ศรอี ยธุ ยารงุ่ เรอื ง อนั ไดช้ อื่ วา่ “ครง้ั บา้ นเมอื งยงั ด”ี พระเมรยุ อดปรางค์ นจ้ี งึ สะทอ้ นสำ� นกึ ในความพยายามของคนรนุ่ กรงุ รตั นโกสนิ ทรท์ พี่ ยายามทำ� ตามอยา่ งครง้ั บา้ นเมอื ง ยังดนี นั่ เอง 240 เสด็จสูแ่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชือ่ ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

๒๑ ภาพที่ ๕ วดั ไชยวฒั นาราม มีพระปรางคป์ ระธานล้อมรอบ ภาพที่ ๖ เมรทุ ศิ เมรรุ ายวดั ไชยวฒั นาราม ด้วยระเบียงคดและเมรทุ ิศเมรรุ าย ความสมั พนั ธ์ระหว่างวัด วงั และพระเมรสุ มัยอยธุ ยาตอนปลาย โดยหลกั การแลว้ พระเมรยุ อ่ มมคี วามสมั พนั ธก์ บั ศลิ ปกรรมอนื่ ๆ ทอี่ ยรู่ ว่ มสมยั กนั โดยเฉพาะ อยา่ งยิง่ ศิลปกรรมอ่นื ๆ ในพระราชวงั และวัดท่พี ระมหากษตั ริยอ์ ปุ ถัมภ์ ดังน้ัน รูปแบบและประเดน็ ปลีกย่อยต่างๆ ของพระเมรุน่าจะสืบหาหลักฐานได้จากพระราชวังกรุงศรีอยุธยาและวัดวาอาราม ทีอ่ ยู่ในระยะเวลาใกล้เคยี งกันได้ วัดไชยวัฒนารามเป็นสถานท่ีที่พระเจ้าปราสาททองโปรดให้สร้างข้ึนเมื่อ พ.ศ.๒๑๗๓ มี ขอ้ ความระบตุ ามพระราชพงศาวดารว่า “...พระเจา้ อยู่หวั ใหส้ ถาปนาสร้างพระมหาธาตุเจดีย์ มพี ระ ระเบยี งรอบ และพระระเบยี งนน้ั กระทำ� เปน็ เมรทุ ศิ เมรรุ าย...” (กรมศลิ ปากร ๒๕๓๕ข: ๖) เมอ่ื ตรวจสอบ กบั หลกั ฐานทเี่ หลอื อยขู่ องวดั แหง่ น้ี (ภาพที่ ๕) พบวา่ มพี ระปรางคต์ ง้ั เปน็ ประธาน มรี ะเบยี งคดลอ้ ม รอบ ตรงกับที่พระราชพงศาวดารเรียกว่าพระมหาธาตุเจดีย์มีพระระเบียงรอบ ดังนั้น อาคารทรง ปราสาทยอดปรางค์รวม ๘ องค์ ท่ีตงั้ อยกู่ ลางดา้ นและมุมของระเบยี งคดยอ่ มตรงกบั เมรทุ ิศเมรรุ าย แผนผังของวดั ไชยวฒั นารามที่กล่าวถงึ ขา้ งต้นสามารถเทยี บได้กับพระเมรุพระบรมศพได้ อย่างชัดเจน โดยพระเมรแุ ทนที่ดว้ ยปรางค์พระมหาธาตุ สามสรา้ งพรอ้ มดว้ ยเมรุทศิ เมรแุ ทรกหรือ เมรุทิศเมรรุ ายเทยี บไดก้ ับระเบยี งคดที่มเี มรุทศิ เมรรุ าย ๘ องคต์ ง้ั อยู่ทก่ี ลางด้านและมมุ เมรุทิศเมรุรายที่สมบูรณ์ย่ิงของวัดไชยวัฒนาราม (ภาพท่ี ๖) นับเป็นหลักฐานส�ำคัญย่ิง ท่ีมีส่วนท�ำให้เกิดความรู้ความเข้าใจถึงพระเมรุสมัยกรุงศรีอยุธยา อย่างน้อยควรจะมีรูปแบบและ ต�ำแหน่งที่สัมพันธ์กับเมรุทิศเมรุรายหรือเมรุทิศเมรุแทรกท่ีรอบพระเมรุพระบรมศพอย่างใกล้ชิด ผเู้ ขยี นพระราชพงศาวดารจงึ ใชค้ ำ� ศพั ทเ์ ดยี วกนั โดยลกั ษณะเดน่ ของเมรทุ ศิ เมรรุ ายของวดั ไชยวฒั นา รามเป็นอาคารแผนผังสี่เหล่ียมเพิ่มมุม (ย่อมุม) ช้ันล่างสุดหรือส่วนเรือนมีทางเข้าสู่ห้องภายใน ซงึ่ ประดษิ ฐานพระพทุ ธรปู ทรงเครอื่ งขนาดใหญ่ ถดั ขนึ้ ไปเปน็ ชน้ั ซอ้ นเลยี นแบบสว่ นเรอื นลดหลน่ั กนั ๕ ชั้น ถัดข้ึนไปเป็นช้ันเชิงบาตรและยอดปรางค์ แลดูละม้ายกันกับภาพวาดเมรุทิศเมรุแทรก รอบพระเมรุพระบรมศพทีเ่ ช่ือวา่ เป็นของสมเด็จพระเพทราชาด้วย 241เสด็จสแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

อน่ึง ควรกล่าวเป็นข้อสังเกตในท่ีนี้ด้วยว่า พระเจ้าปราสาททองสร้างวัดไชยวัฒนาราม ขน้ึ บนนวิ าสสถานเดมิ ของพระชนนซี งึ่ สนิ้ ลงกอ่ นทพี่ ระองคจ์ ะปราบดาภเิ ษกขนึ้ เปน็ พระมหากษตั รยิ ์ ดว้ ยเหตุที่เป็นวดั จงึ ทำ� หลกั ประธานเปน็ เจดียบ์ รรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุ แต่เจตนาทจ่ี ะเลือกใชเ้ จดีย์ ทรงปรางคข์ นาดใหญ่ ทงั้ ยงั แวดลอ้ มดว้ ยระเบยี งคดและเมรทุ ศิ เมรรุ าย ซง่ึ ไดก้ ลา่ วแลว้ วา่ เปน็ รปู แบบ ท่ีสัมพันธ์ใกล้ชิดกับพระเมรุยอดปรางค์อันล้อมรอบด้วยสามสร้างและเมรุทิศเมรุรายมาก ควรต้ัง คำ� ถามวา่ บางทคี วามสมั พนั ธน์ อ้ี าจเกย่ี วขอ้ งกบั ความตอ้ งการสรา้ งพระเมรถุ วายพระชนนไี ดห้ รอื ไม่ นอกจากน้ี ประเดน็ ท่ีควรพจิ ารณาตอ่ ไป ได้แก่ พระเมรใุ หญท่ ีอ่ ยตู่ รงกลางควรมีรูปแบบ เช่นไร จากภาพวาดพระเมรุพระบรมศพที่เช่ือว่าเป็นของสมเด็จพระเพทราชาท�ำเป็นทรงปราสาท ยอดปรางค์ ๕ ยอด ซ่งึ มรี ปู แบบท่ชี วนให้นึกถึงภาพลายรดน้�ำรปู พระเมรพุ ระบรมศพพระพทุ ธเจ้า สมัยอยธุ ยาตอนปลาย ปัจจุบันยา้ ยมาปลูกทีว่ งั สวนผกั กาด (ภาพท่ี ๗) ท้งั สองยอ่ มเป็นหลักฐาน ชัดเจนถึงรูปแบบพระเมรุสมัยอยุธยาตอนปลาย โดยเฉพาะภาพลายรดน�้ำจากวังสวนผักกาด มีแบบแผนแทบไม่ผิดเพ้ียนไปจากเมรุทิศเมรุรายจากวัดไชยวัฒนารามเลย น่าจะสะท้อนให้เห็นว่า พระเมรใุ หญท่ อี่ ยตู่ รงกลางและเมรทุ ศิ เมรรุ ายหรอื เมรทุ ศิ เมรแุ ทรกคงมรี ปู แบบไมต่ า่ งกนั นกั แตส่ ง่ิ ท่ี ตา่ งอยา่ งชดั เจนเปน็ เร่อื งของขนาดท่พี ระเมรตุ รงกลางจะใหญ่กวา่ มาก ภาพท่ี ๗ ลายรดน�้ำภาพพระเมรุพระพุทธสรีระ ภาพที่ ๘ ภาพปูนปั้นเล่าเร่ืองพุทธประวัติตอนโปรด วงั สวนผกั กาด (ทมี่ า : ม.ร.ว.พนั ธท์ุ พิ ย์ บรพิ ตั ร ๒๕๐๒: พุทธมารดาบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ วัดไชยวัฒนาราม หนา้ ปก) แสดงปราสาทบนสวรรคท์ ม่ี ยี อดแบบเดยี วกนั กบั พระเมรุ 242 เสด็จส่แู ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

พระเมรุยอดปรางค์ขนาดใหญ่แวดล้อมด้วยเมรุทิศเมรุรายหรือเมรุทิศเมรุแทรกในแบบ ๒๑ เดียวกันแต่ขนาดเล็กกว่านี้ ยังคงเห็นได้ในพระเมรุยอดปรางค์สมัยรัชกาลที่ ๔ และรัชกาลที่ ๕ สะท้อนให้เห็นอีกครั้งว่าธรรมเนียมการสร้างพระเมรุพระบรมศพยังคงรักษาแบบแผนได้อย่าง ยาวนานก่อนที่จะเปลีย่ นแปลงครั้งใหญใ่ นพระเมรุมาศพระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั ควรกลา่ วเพมิ่ เตมิ ไวใ้ นทนี่ ว้ี า่ ภาพปนู ปน้ั เลา่ เรอื่ งพทุ ธประวตั ติ อนพระพทุ ธเจา้ เทศนาโปรด พทุ ธมารดาบนสวรรคช์ น้ั ดาวดงึ สท์ ว่ี ดั ไชยวฒั นาราม (ภาพท่ี ๘) ทำ� ภาพปราสาททต่ี ามพทุ ธประวตั ิ คงเปน็ วมิ านของพระอนิ ทรใ์ หม้ รี ปู แบบทำ� นองเดยี วกนั กบั เมรทุ ศิ เมรรุ ายของวดั เดยี วกนั อนั ไดก้ ลา่ ว แล้วว่าเทียบเคียงได้กับลายรดน้�ำรูปพระเมรุที่วังสวนผักกาดและภาพวาดท่ีเชื่อว่าเป็นพระเมรุ พระบรมศพสมเดจ็ พระเพทราชา นา่ จะสะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ สถาปตั ยกรรมรปู แบบนเ้ี ปน็ เรอื นฐานนั ดรสงู และน่าจะสร้างขึ้นเพ่ือเป็นพระท่ีนั่งในพระราชวังที่กรุงศรีอยุธยาด้วย แต่น่าเสียดายท่ีพระราชวัง โบราณชำ� รุดเสยี หายจนไมเ่ หลอื สภาพให้ศกึ ษาได้ เหลอื หลักฐานเพยี งท่ปี ราสาทนครหลวง อำ� เภอ นครหลวง จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา ทสี่ รา้ งขนึ้ ในสมยั พระเจา้ ปราสาททอง ทท่ี ำ� อาคารทรงปราสาท ใกล้เคยี งกนั น้ไี ว้ทกี่ ลางดา้ นและมมุ ระเบียงคดที่ซ้อนลดหลัน่ กัน ๓ ชน้ั (ภาพท่ี ๙) และน่าเสียดาย ดว้ ยคอื สถานทีแ่ หง่ นไี้ ดร้ บั การบูรณปฏิสงั ขรณ์แล้วในปัจจุบันจนศกึ ษารูปแบบโดยละเอียดไมไ่ ด้ อาคารทรงปราสาทยอดปรางค์คงมีฐานะเป็นอาคารฐานันดรสูงสุดอย่างหน่ึงมาแต่ครั้ง กรุงศรีอยุธยา ในเอกสารสมัยนี้เม่ือกล่าวถึงสิ่งท่ีเป็นหลักประธานของพระนครและเป็นท่ี เฉลมิ พระเกยี รตยิ ศกรงุ ศรอี ยธุ ยากร็ ะบวุ า่ มพี ระทน่ี งั่ ยอดปรางค์ ๓ องคร์ วมอยดู่ ว้ ย ไดแ้ ก่ ๑.พระทนี่ งั่ มังคลาภิเศกมหาปราสาท ภายหลังไฟไหม้ได้สร้างพระท่ีน่ังวิหารสมเด็จมหาปราสาทขึ้นแทน ๒.พระท่ีนัง่ ไพฑูรย์มหาปราสาท ๓.พระทีน่ ่งั พระนครหลวง หรอื ปราสาทนครหลวงทเี่ พ่งิ กล่าวถึงไป เฉพาะสถานทห่ี ลงั สุดน้ีเท่านนั้ ทย่ี ังเหลอื ร่องรอยให้ศกึ ษาได้ ภาพท่ี ๙ อาคารทรงปราสาทตามแนวระเบียงคดของปราสาทนครหลวง 243เสด็จสแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

ประเดน็ ทน่ี า่ สนใจอกี ประการหนงึ่ ทแ่ี สดงความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งพระเมรกุ บั ศลิ ปกรรมในราช ส�ำนักอ่ืนๆ ได้แก่ การท�ำยอดพรหมพักตร์ (หน้าบุคคล ๔ หน้า) ประดับส่วนยอด ปรากฏอยู่ใน เอกสารโบราณสมัยอยุธยาว่าพรหมพักตร์เป็นองค์ประกอบส�ำคัญของพระเมรุระดับเอก อยู่ใน ตำ� แหนง่ ทีถ่ ัดลงมาจากยอดปรางค์ ดังความวา่ “...พระเมรุเอก... มียอดปรางค์ใหญ่ ๑ ฐานปรางค์มี ชั้นแวน่ ฟ้ารอบสองชน้ั ถัดช้นั แว่นฟา้ ลงมามรี ปู พรหมภกั ตรป์ ระดับ...” (วนิ ัย พงศ์ศรีเพียร ๒๕๕๑: ๑๒๖) พระเมรุพระบรมอัฐสิ มเด็จพระปฐมบรมมหาชนกและพระบรมราชชนนีของรชั กาลที่ ๑ ยงั คง มพี รหมพกั ตรเ์ ปน็ องคป์ ระกอบสำ� คญั ดงั ปรากฏอยใู่ นโคลงถวายพระเพลงิ พระบรมอฐั พิ ระเจา้ หลวง วา่ “นวสูรพรหมภกั ตรเพยี้ ง ภกั ตรพรหม” (พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมหมนื่ ศรสี เุ รนทร์ ๒๕๑๒ : ๗) หนา้ พรหมพกั ตรอ์ นั เปน็ องคป์ ระกอบสำ� คญั ในงานศลิ ปกรรมไทยนนั้ คงมที มี่ าจากใบหนา้ บคุ คล ๔ หน้าท่ปี ระดบั ยอดประตูเมืองพระนคร ตลอดจนยอดประตูศาสนสถานหลายแห่ง และยอด ของปราสาทบายน (ภาพท่ี ๑๐) เมื่อบา้ นเมอื งในดนิ แดนไทยยอมรบั เอาวฒั นธรรมเขมรหลายอย่าง เขา้ มาปรบั ใช้ให้เหมาะกับตน การทำ� ใบหน้าท้ังส่ีประดับยอดอาคารจงึ เข้ามาด้วย เชน่ ยอดประตูวดั พระศรีรัตนมหาธาตุเชลียงในสมัยสุโขทัย ยอดประตูพระราชวังโบราณกรุงศรีอยุธยา ปัจจุบันจัด แสดงในพพิ ธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาติ เจ้าสามพระยา (ภาพท่ี ๑๑) ลายรดน้ำ� ทีว่ งั สวนผักกาดกท็ �ำซุม้ ประตยู อดพรหมพกั ตร์ ครนั้ เมอื่ เขา้ สสู่ มยั รตั นโกสนิ ทรก์ ารทำ� พรหมพกั ตรป์ ระดบั ซมุ้ ประตพู ระบรม มหาราชวงั ยงั คงเหน็ ได้อยู่ เชน่ ประตูสนามราชกจิ ประตพู รหมศรสี วัสด์ิ ประตูพรหมโสภา ประตู ดสุ ิตศาสดา ไมเ่ วน้ กระท้ังพระที่น่ังอมรินทราภเิ ษกมหาปราสาทท่ีรชั กาลท่ี ๑ โปรดเกลา้ ฯ ให้สร้าง ขนึ้ ก็มยี อดพรหมพักตร์ (บุญเตือน ศรีวรพจน์ ๒๕๔๕: ๑๗๐) น่าเสียดายทพี่ ระทนี่ ั่งองค์นีไ้ ฟไหมล้ ง หมดแลว้ ทั้งน้ีความหมายของหน้าพรหมพักตร์ท่ีประดับยอดอาคารในสมัยอยุธยาไม่จ�ำเป็นต้อง เหมอื นกันกับจุดเริ่มตน้ ในประเทศกัมพูชา ซึ่งในท่แี หง่ นั้นความหมายทแี่ ทจ้ รงิ ยงั เป็นทีถ่ กเถยี งอยู่ นอกจากน้ียังไม่จ�ำเป็นต้องเป็นพระพักตร์ของพระพรหมในคติศาสนาพราหมณ์ หรือพระพรหมใน คตพิ ุทธศาสนา แต่อาจหมายถงึ พักตร์ของเทวดาอื่นๆ ก็ได้ ดงั นัน้ ค�ำวา่ พรหมพกั ตร์มีสถานะเปน็ เพียงศพั ทช์ า่ งท่สี ือ่ ถงึ รปู แบบมากกวา่ ความหมายที่หมายถงึ พระพรหม สืบยอ้ นความสมั พนั ธส์ ่วู ดั สมยั อยุธยาตอนต้นและเทวาลยั วัฒนธรรมเขมร จากหัวข้อที่แล้วท�ำให้ทราบว่าพระเมรุในสมัยอยุธยาตอนปลายมีสิ่งก่อสร้างหลักคือ พระเมรุใหญ่ตั้งเป็นประธาน ปิดล้อมพ้ืนที่ด้วยสามสร้าง ก่ึงกลางและมุมของสามสร้างมีอาคาร ทรงปราสาทยอดปรางค์รวม ๘ องค์ เรียกว่าเมรุทิศเมรุราย หรือเมรุทิศเมรุแทรก ดังตัวอย่าง ภาพวาดพระเมรพุ ระบรมศพของสมเดจ็ พระเพทราชา แผนผงั ของพระเมรแุ บบนเ้ี ทยี บไดก้ บั แผนผงั ส่วนประธานของวัดไชยวัฒนาราม (แผนผังท่ี ๑ และรูปภาพท่ี ๕) โดยพระเมรุใหญ่แทนท่ีด้วย พระปรางค์ประธานประดษิ ฐานพระบรมสารรี ิกธาตุ สามสรา้ งก็คอื แนวระเบยี งคดทลี่ อ้ มรอบ อาคาร ทรงปราสาทยอดปรางคท์ เ่ี รยี กในพระราชพงศาวดารวา่ เมรทุ ศิ เมรรุ ายมจี ำ� นวน ๘ องค์ ตง้ั อยกู่ งึ่ กลาง และมุมของพระระเบียง ย่อมเทียบได้กับเมรุทิศเมรุรายหรือเมรุทิศเมรุแทรกท่ีอยู่กลางด้านและมุม ของสามสร้างนน่ั เอง 244 เสด็จสูแ่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

๒๑ ภาพที่ ๑๐ ยอดของปราสาทบายน ประเทศกมั พชู า ภาพท่ี ๑๑ ยอดพรหมพักตร์ของประตูใน ประดบั ด้วยใบหนา้ บคุ คล ๔ หน้า พระราชวังโบราณกรุงศรีอยุธยา (จาก ภาพถา่ ยเกา่ พบวา่ เหนอื ขนึ้ ไปมใี บหนา้ อกี เมรุทิศเมรรุ าย ๑ หน้า ดภู าพถ่ายเก่าใน Facebook ของ สุรเจตน์ เนอื่ งอมั พร) เมรทุ ศิ เมรุราย ระเบียงคด ปรางค์ แผนผงั ท่ี ๑ วดั ไชยวฒั นาราม (ทม่ี า: สนั ติ เล็กสุขมุ ๒๕๒๙: ๑๖๐) ปฏิเสธไม่ได้ว่าแผนผังของวัดไชยวัฒนารามซึ่งพระเจ้าปราสาททองโปรดให้สร้างขึ้น เมื่อราว พ.ศ.๒๑๗๓ น้ี สะท้อนความสัมพันธ์กับแผนผังส่วนประธานของวัดท่ีสร้างในสมัยอยุธยา ตอนต้นเป็นอย่างมาก เช่น วัดราชบูรณะ สร้างข้ึนสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๒ เมื่อราว พ.ศ.๑๙๖๗ โดยปรางคเ์ ปน็ ประธานของพนื้ ท่ี ลอ้ มรอบดว้ ยระเบยี งคด (แผนผงั ท่ี ๒) แมว้ า่ ทก่ี ง่ึ กลาง และมมุ ของระเบยี งคดจะไมพ่ บอาคารกอ่ อฐิ แบบเมรทุ ศิ เมรรุ ายของวดั ไชยวฒั นาราม แตก่ ย็ งั สงั เกต 245เสด็จสแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

เหน็ ไดว้ า่ บรเิ วณดงั กลา่ วไดร้ บั การเนน้ ความสำ� คญั โดยใหม้ แี นวผนงั ยน่ื พน้ จากระนาบปกตขิ องตวั ระเบยี ง คด ท�ำให้เกิดกระเปาะย่ืนออกมา ทั้งนี้เฉพาะกึ่งกลางด้านตะวันออกซึ่งมีขนาดใหญ่ที่สุดได้รับ การออกแบบให้เชื่อมต่อกับพระวิหารหลวง จนมองว่าเป็นส่วนท้ายของพระวิหารหลวงก็ได้ โดย ส่วนบนของบริเวณนี้คงท�ำเป็นทรงจั่วล้อไปกับหลังคาวิหารหลวง ในขณะท่ีอีก ๗ จุดท่ีเหลืออาจ ท�ำเป็นหลังคาเครื่องไม้ทรงจ่ัวจัตุรมุขมุงด้วยกระเบื้องเช่นท่ีพบตามระเบียงคดของวัดหลายแห่ง ในสมัยรตั นโกสินทร์ก็เปน็ ได้ กระเปาะที่กลางดา้ น ท้ายวหิ าร กระเปาะท่ีมมุ ระเบียงคด แผนผังที่ ๒ วดั ราชบรู ณะ (ท่มี า: สันติ เลก็ สขุ ุม ๒๕๒๙: ๑๕๘) ปรางค์ แผนผังของวัดในสมัยอยุธยาตอนต้นสัมพันธ์ใกล้ชิดกับแผนผังของปราสาทในวัฒนธรรม เขมรยุคเมืองพระนคร เช่น ปราสาทพนมรุ้ง (แผนผังที่ ๓) โดยมีปราสาทหรือปรางค์ประธานตั้ง กง่ึ กลางลอ้ มรอบดว้ ยระเบยี งคด กงึ่ กลางดา้ นทเี่ ปน็ ซมุ้ ประตแู ละมมุ ของระเบยี งคดไดร้ บั การเนน้ ให้ เด่นข้ึนดว้ ยการออกแบบให้มขี นาดใหญ่ มผี งั จตั ุรมขุ หลังคาทรงจั่วซอ้ นช้นั จนสูงกวา่ แนวตรงของ ระเบยี งคด การออกแบบเชน่ นกี้ ค็ ือแบบแผนทค่ี ล่ีคลายไปยังระเบยี งคดวัดราชบรู ณะนัน่ เอง ทง้ั นสี้ ำ� หรบั ปราสาทเขมรบางแหง่ อาจออกแบบสว่ นยอดของมมุ ระเบยี งคด รวมทงั้ ซมุ้ ประตู ทก่ี งึ่ กลางใหเ้ ปน็ ปรางคข์ นาดยอ่ มกไ็ ด้ จนทำ� ใหป้ รางคป์ ระธานทอ่ี ยตู่ รงกลางซง่ึ มขี นาดสงู ใหญท่ สี่ ดุ ล้อมรอบด้วยปรางค์ขนาดเล็กอยู่ที่มุมทั้งสี่ หรือกลางด้านท้ังส่ี หรือทั้งกลางด้านและมุม ท่ีเห็นได้ ชัดเจนที่สุดคือปราสาทนครวัด (ภาพท่ี ๑๒, แผนผังที่ ๔) ภาพปรางค์ประธานแวดล้อมด้วยปรางค์ขนาดเล็กกว่าโดยจัดวางต�ำแหน่งไว้ที่มุมและ กึง่ กลางด้านของระเบยี งคดในศิลปะเขมรน้ี คงเป็นต้นเคา้ ของพระเมรใุ หญแ่ วดล้อมดว้ ยพระเมรทุ ศิ พระเมรรุ ายในสมยั อยธุ ยาตอนปลาย ผา่ นกาลเวลาจนถงึ สมยั รชั กาลที่ ๔ และรชั กาลที่ ๕ ตามลำ� ดบั พระเมรุยอดปรางค์จึงนับเป็นหนึ่งในมรดกทางวัฒนธรรมจากกัมพูชาท่ีวิวัฒน์ผ่านกาลเวลาหลาย รอ้ ยปีจนกลายเปน็ แบบแผนธรรมเนยี มไทย 246 เสด็จสูแ่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

มุมระเบยี งคดผังจตั รุ มขุ ๒๑ ซมุ้ ประตูจัตุรมขุ ระเบยี งคด ปราสาทหรอื ปรางค์ แผนผงั ที่ ๓ ปราสาทพนมร้งุ (ทม่ี า: กรมศลิ ปากร ๒๕๔๓: ๖๐) อน่ึง ควรกล่าวไว้ในที่น้ีด้วยว่าปราสาทหินในวัฒนธรรมเขมรมีหลายส่วนได้ใช้ไม้ เป็นองค์ประกอบส�ำคัญ นอกจากนี้ยังมีกรรมวิธีการสร้างบางอย่างท่ีเลียนแบบมาจากงานไม้ ไม่ผิดนักที่จะกล่าวว่าปราสาทหินก็คือการถ่ายทอดงานไม้สู่งานหิน ท�ำให้เชื่อว่าเดิมทีอาจเคยมี สถาปัตยกรรมเครื่องไม้ทั้งหลังที่มีรูปทรงไม่ต่างจากปราสาทหินก็ได้ หากข้อสันนิษฐานน้ีเป็นจริง ย่อมฉายภาพความสัมพันธ์กับพระเมรุยอดปรางค์ของกรุงศรีอยุธยาและรัตนโกสินทร์ให้ชัดเจน ย่ิงขึน้ ไปอกี ภาพที่ ๑๒ ปราสาทนครวดั ประเทศกัมพูชา ยอดของปราสาทประธาน แวดลอ้ มดว้ ยยอดของมุมระเบียงคด 247เสด็จสู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ

แผนผังที่ ๔ ปราสาทนครวดั ประเทศกมั พูชา สง่ ทา้ ย : พระเมรุยอดปรางคต์ ะกอนวฒั นธรรมเขมรในวฒั นธรรมไทย พระเมรยุ อดปรางคส์ งู เสยี ดฟา้ นบั เปน็ มรดกตกทอดทางวฒั นธรรมทก่ี า้ วขา้ มผา่ นกาลเวลา มายาวนาน หากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวไม่มีพระราชประสงค์ให้ท�ำพระเมรุ ขนาดเลก็ ลงตงั้ แตค่ รงั้ งานพระเมรขุ องพระองคเ์ อง บางทใี นปจั จบุ นั นย้ี งั อาจเหน็ พระเมรยุ อดปรางค์ ตามอย่างบรู พกษัตรยิ อ์ ยกู่ เ็ ป็นได้ พระเมรุยอดปรางค์สมัยรัตนโกสินทร์มีสายสัมพันธ์สืบย้อนกลับไปยังพระเมรุยอดปรางค์ สมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยาตอนปลาย และหากสบื สาวเรอื่ งราวใหล้ กึ ลงไปจะพบวา่ มตี น้ เคา้ มาจากวฒั นธรรม เขมรโบราณแห่งเมืองพระนครอย่างใกลช้ ดิ หลักฐานทางศิลปกรรมมากมายหลายอย่างท�ำให้ปฏิเสธไม่ได้ว่าวัฒนธรรมเขมรโบราณ เข้ามามีบทบาทต่อกรุงศรีอยุธยาต้ังแต่ยุคแรกเริ่ม ค�ำถามท่ีน่าสนใจคือ อะไรเป็นเหตุจูงใจให้ผู้น�ำ และผคู้ นชาวกรงุ ศรอี ยธุ ยายอมรบั เอาวฒั นธรรมเขมรไวจ้ นกลายเปน็ สว่ นหนงึ่ ของวฒั นธรรมอยธุ ยา สว่ นหนง่ึ นา่ จะเปน็ เพราะกอ่ นกำ� เนดิ กรงุ ศรอี ยธุ ยาอยา่ งเปน็ ทางการเมอ่ื พ.ศ.๑๘๙๓ พน้ื ทภี่ าคกลาง คุ้นเคยกับวัฒนธรรมเขมรโบราณผ่านทางการเมืองการปกครองและทางวัฒนธรรมดีอยู่แล้ว เมือง ท่ีส�ำคญั มากในระยะนค้ี ือเมืองลพบรุ ี เชอื่ กนั อย่างแพร่หลายวา่ กรุงศรอี ยุธยาเกิดขึ้นจากการร่วมมือ ร่วมใจระหว่างผู้นำ� และผ้คู นของบา้ นเมืองสองแหง่ คือ สุพรรณภมู ิ (สพุ รรณบรุ )ี กับลพบุรี (ละโว้) หากพิจารณาตามแนวทางนี้ย่อมไม่น่าแปลกใจท่ีวัฒนธรรมเขมรจะได้รับการถ่ายทอดมาสู่ กรุงศรีอยุธยาได้ เพราะคนอยา่ งนอ้ ยครงึ่ หนงึ่ ค้นุ เคยกบั วฒั นธรรมเขมรดีอยู่แล้ว 248 เสด็จสู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชือ่ ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ

ศลิ ปวฒั นธรรมจากกมั พชู าสง่ ผลตอ่ ศลิ ปวฒั นธรรมกรงุ ศรอี ยธุ ยามากมาย โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ๒๑ การนบั ถอื ศาสนาพราหมณ์ที่มีบทบาทในราชส�ำนักอยา่ งมาก คติความเชือ่ ว่ากษตั ริยก์ รงุ ศรอี ยุธยา เป็นสมมติเทพก็คงมีต้นเค้ามาจากคติเทวราชาของกัมพูชาโบราณ เมื่อกษัตริย์คือเทพยาดา ท่ีลงมาปกครองบ้านเมืองดังนั้นปราสาทราชวังตลอดจนประเพณีในราชส�ำนักจึงถือปฏิบัติโดยอิง กับคติสมมตเิ ทพนี้ พระเมรุอันเป็นสถานที่สุดท้ายในโลกมนุษย์ที่พระบรมศพของกษัตริย์จะประทับอยู่ กร็ งั สรรคข์ นึ้ ภายใตค้ ตวิ า่ กษตั รยิ ค์ อื เทพเจา้ การเรยี กอาคารนว้ี า่ พระเมรซุ งึ่ มาจากคำ� เตม็ วา่ พระสเุ มรุ อันเป็นภูเขาท่ีอยู่ใจกลางจักรวาล บนยอดเขาเป็นท่ีประทับของเทพยดา ย่อมสะท้อนให้เห็นถึงคติ ความเชื่อว่ากษัตริย์คือเทพเจ้าอย่างแน่ชัด พระบรมศพท่ีประทับในพระบรมโกศซึ่งต้ังอยู่ภายใน พระเมรยุ ่อมส่อื ความหมายถึงการเสดจ็ สสู่ รวงสวรรค์ รว้ิ ขบวนแหต่ ่างๆ ในพระราชพิธพี ระบรมศพ ได้ยำ้� ความคิดนอ้ี ย่างชดั เจน แนวคดิ ทำ� นองเดยี วกนั นมี้ เี คา้ เงอื่ นปรากฏอยใู่ นวฒั นธรรมเขมรโบราณสมยั เมอื งพระนคร ด้วย แม้ว่าจะไม่มีหลักฐานการสร้างพระเมรุยอดปรางค์ของกษัตริย์ในยุคนั้นอย่างชัดเจนก็ตาม แต่ศาสนสถานหลายแห่งที่มีปรางค์ปราสาทเป็นประธานก็ท�ำข้ึนภายใต้ความเชื่อว่าเป็นที่ประทับ หลังสวรรคตของกษัตริย์ ซ่ึงพระองค์ได้แปรเปล่ียนสถานภาพจากองค์อวตารกลายเป็นเทพเจ้า โดยสมบูรณ์ ศาสนสถานในวัฒนธรรมเขมรบางหลงั จงึ ไม่ใช่ทิพยวมิ านของเทพเจ้าตามปรัมปราคติ แบบพราหมณ์อินเดีย หากแต่เป็นท่ีประทับของเทวกษัตริย์ผู้หลอมรวมเข้ากับเทพเจ้าน่ันเอง เช่น ปราสาทนครวัด สถานที่สถิตหลังสวรรคตของพระเจ้าสุริยวรมันท่ี ๒ ท่ีซ่ึงพระองค์ได้กลายเป็น พระวษิ ณเุ ทพ ประทับอยา่ งนิรนั ดรอ์ ยู่ภายในปรางค์ปราสาทประธาน พระเมรุยอดปรางค์จึงนับเป็นหนึ่งในส่ิงตกทอดจากวัฒนธรรมเขมรสู่วัฒนธรรมไทย ผ่านการปรับปรุงอยา่ งคอ่ ยเปน็ คอ่ ยไปจนกลายเปน็ เอกลักษณ์ทางวฒั นธรรมของไทยในที่สุด 249เสดจ็ ส่แู ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook