รายการอ้างองิ กรมศิลปากร. ๒๕๓๕ก. พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา เล่ม ๑. พิมพ์คร้ังท่ี ๘. กรุงเทพฯ: กองวรรณคดแี ละประวัติศาสตร์ กรมศลิ ปากร. กรมศิลปากร. ๒๕๓๕ข. พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา เล่ม ๒. พิมพ์คร้ังที่ ๘. กรุงเทพฯ: กองวรรณคดแี ละประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร. กรมศิลปากร. ๒๕๕๙. ฟิล์มกระจกจดหมายเหตุ: หนึ่งพันภาพประวัติศาสตร์รัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ: กรมศลิ ปากร. “ค�ำให้การขุนหลวงหาวัด,” ใน ค�ำให้การชาวกรุงเก่า ค�ำให้การขุนหลวงหาวัด และพระราชพงศาวดาร กรงุ เกา่ ฉบบั หลวงประเสรฐิ อกั ษรนิต์.ิ ๒๕๑๕. พิมพค์ ร้งั ท่ี ๒. พระนคร: คลังวิทยา. เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ข�ำ บุนนาค). ๒๕๓๘. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลท่ี ๓. พิมพ์ ครง้ั ที่ ๖. กรุงเทพฯ: กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศลิ ปากร. เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ข�ำ บุนนาค). ๒๕๔๘. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๔. พิมพ์ ครงั้ ท่ี ๖. กรุงเทพฯ: บรษิ ทั อมรนิ ทรพ์ รนิ้ ตงิ้ แอนด์พับลชิ ช่งิ จำ� กดั มหาชน. เจ้าพระยาทพิ ากรวงศ์ (ขำ� บนุ นาค). ๒๕๕๓. พระราชพงศาวดารกรงุ รตั นโกสินทร์ รชั กาลท่ี ๒ จากต้นฉบบั ตวั เขียนของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศว์ โรปการ พรอ้ มค�ำอธบิ ายเพ่ิมเติม. กรงุ เทพฯ: สมาคมประวตั ศิ าสตรใ์ นพระราชปู ถมั ภส์ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ าร.ี แนง่ นอ้ ย ศักดิ์ศรี และคณะ. ๒๕๕๕. สถาปัตยกรรมพระเมรใุ นสยาม, เลม่ ๑. กรุงเทพฯ: โรงพิมพก์ รงุ เทพ. บญุ เตือน ศรีวรพจน์. ๒๕๔๕. อภินิหารบรรพบุรุษและปฐมวงศ์. กรงุ เทพฯ: มตชิ น. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหม่ืนศรีสุเรนทร์. ๒๕๑๒. “โคลงถวายพระเพลิงพระบรมอัฐิพระเจ้าหลวง” ใน เรือ่ งโคลงถวายพระเพลิงพระบรมอฐั พิ ระเจา้ หลวงและตำ� หนกั แพ. พิมพค์ รงั้ ที่ ๒. พระนคร: โง พมิ พ์ชวนพิมพ์. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. ๒๕๕๒. พระราชวิจารณ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจา้ อยู่หวั เรือ่ งจดหมายเหตคุ วามทรงจำ� ของพระเจ้าไปยกิ าเธอ กรมหลวงนรินทรเทวี (เจา้ ครอก วดั โพธ)์ิ ตัง้ แต่ จ.ศ. ๑๑๒๙ถึง ๑๑๘๒ เป็นเวลา ๕๓ ปี. กรุงเทพฯ : ศรีปัญญา. ราชกจิ จานเุ บกษา. ๒๔๕๔. เล่ม ๒๗, วนั ที่ ๑๑ ธนั วาคม ร.ศ.๑๒๙. น. ๔๓. วนิ ยั พงศศ์ รเี พยี ร. ๒๕๕๑. พรรณนาภมู สิ ถานพระนครศรอี ยธุ ยา เอกสารจากหอหลวง (ฉบบั ความสมบรู ณ)์ . กรุงเทพฯ: อุษาคเนย์. สมภพ ภิรมย,์ พลเรือตรี. ๒๕๓๙. “รายงานเสนาบดีสภา วนั ท่ี ๒๘ พฤศจิกายน รตั นโกสินศก ๑๒๙,” ใน พระเมรุมาศ พระเมรุ และเมรุ สมยั รตั นโกสินทร.์ พมิ พค์ รั้งท่ี ๓. กรงุ เทพฯ: ส�ำนักพิมพ์อมรนิ ทร.์ Terwiel, Barend J., 2016. “Two Scrolls Depicting Phra Phetracha’s Funeral Procession in 1704 and the Riddle of their Creation”, Journal of The Siam Society. Vol. 104, pp. 79-84. 250 เสด็จส่แู ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
ขอ้ วนิ ิจฉัยเบื้องตน้ เกย่ี วกับ ๓๑ ภาพงานพระเมรสุ มเดจ็ พระเพทราชาทีค่ ้นพบใหม่ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ พชิ ญา สมุ่ จนิ ดา ภาควชิ าศิลปะไทย คณะวิจติ รศลิ ป์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ ความนำ� การคน้ พบทส่ี รา้ งความตนื่ ตาตน่ื ใจใหก้ บั แวดวงอยธุ ยาศกึ ษาเมอื่ ตน้ พ.ศ.๒๕๕๙ โดยเฉพาะ ผู้ชื่นชอบศิลปะและราชประเพณีโบราณ คงไม่พ้นการค้นพบจิตรกรรมภาพกระบวนเชิญพระโกศ พระบรมศพสมเด็จพระเพทราชา ซงึ่ สวรรคตเมอื่ วนั ท่ี ๕ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ.๒๒๔๖ ไปยงั พระเมรุ หรอื ที่ในจดหมายของ Aernout Cleur เจ้าหน้าท่ีของสหบริษัทอินเดียตะวันออกแห่งเนเธอร์แลนด์ (VOC) ถงึ สำ� นกั งานใหญใ่ นเนเธอรแ์ ลนดป์ เี ดยี วกนั ออกพระนามวา่ “พระทรงธรรม”์ (Phra Trong Than) จิตรกรรมดังกล่าววาดเมอ่ื ต้นรชั สมยั สมเดจ็ พระเจ้าเสือ (ครองราชย์ พ.ศ.๒๒๔๖ - ๒๒๕๒) หลงั งานถวายพระเพลิงสมเดจ็ พระเพทราชาในวันท่ี ๒๖ ธันวาคม พ.ศ.๒๒๔๗ หรือ ๒๒ เดอื นหลัง สวรรคต (Terwiel 2016: 79) ตามความประสงคข์ อง Aernout Cleur ได้รบั การเก็บรักษาในสภาพ เกือบสมบูรณ์ดีเย่ียมอย่างน่าอัศจรรย์มากกว่า ๓๐๐ ปี ที่ห้องเก็บเอกสารของหอสะสมงานศิลปะ แห่งรฐั เดรสเดน (Dresden State Art Collections) ประเทศเยอรมนี จนคน้ พบโดย Barend J. Terwiel ศาสตราจารยด์ า้ นไทยศึกษา เมอื่ เดือนกมุ ภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๘ จติ รกรรมทกี่ ลา่ วถงึ ขา้ งตน้ ประกอบดว้ ยภาพลายเสน้ วาดบนกระดาษแผน่ บางผนกึ ตอ่ กนั บนผา้ กวา้ งยาวประมาณ ๗๐x๕๐-๕๒ ซม. และภาพสวี าดบนกระดาษแข็งผนึกบนผา้ กว้างยาว ตอ่ กนั ประมาณ ๒๑๕x๔๒ ซม. (Terwiel 2016: 80--81) ชว่ ยเตมิ เตม็ ข้อมูลท่ีขาดหายไปของงาน พระบรมศพในสมยั อยธุ ยาทเี่ หลอื เพยี งหลกั ฐานลายลกั ษณอ์ กั ษรไมก่ ฉ่ี บบั ทงั้ ภาพพระเมรเุ กา้ ยอด กระบวนรูปสัตว์ ราชรถน้อย ๓ คนั เทยี มด้วยราชสีห์ และพระมหาพิชัยราชรถเชิญพระโกศพระบรม ศพเทยี มดว้ ยราชสหี เ์ ชน่ กนั มบี รุ ษุ แตง่ กายสวมครยุ และลอมพอกที่ Barend J. Terwiel (2016: 80) เช่ือว่าเป็นพระยมและพระเจตคุปต์ยืนรอรับอยู่ด้านหน้าพระเมรุ ลักษณะทางสถาปัตยกรรมและ รปู แบบรวิ้ กระบวน ดลู ะมา้ ยคลา้ ยงานพระเมรใุ หญใ่ นสมยั ตน้ รตั นโกสนิ ทรท์ ป่ี รากฏในสมดุ ภาพและ ภาพถ่ายโบราณ 251เสดจ็ สแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
ภาพลายเส้นงานพระเมรสุ มเด็จพระเพทราชา วาดประมาณ พ.ศ. ๒๒๔๗ - ๒๒๔๘ บนกระดาษแผน่ บางผนึกตอ่ กนั บนผา้ กว้างยาวประมาณ ๓๗๐x๕๐ - ๕๒ ซม. (Source:Terwiel 2016) ภาพสงี านพระเมรุสมเด็จพระเพทราชา วาดประมาณ พ.ศ. ๒๒๔๗ - ๒๒๔๘ บนกระดาษแขง็ ผนกึ บนผ้า กวา้ งยาว ต่อกันประมาณ ๒๑๕x๔๒ ซม. (Source: Terwiel 2016: 82-83) ถึงแมว้ า่ Barend J. Terwiel ผู้ค้นพบภาพจิตรกรรมอันนา่ ต่ืนตาตน่ื ใจนจ้ี ะได้ตีพมิ พภ์ าพ ทั้งหมดลงใน Journal of the Siam Society (Volume 104: 2016) แต่ก็ไม่ได้ใหค้ วามส�ำคัญกับ การวิเคราะห์ภาพเท่าใดนัก เพราะมุ่งประเด็นไปท่ีเหตุการณ์ชิงอ�ำนาจในราชส�ำนักซ่ึงรายงานไว้ อย่างละเอยี ดในจดหมายของ Aernout Cleur มากกวา่ แวดวงวิชาการเองก็ยังสนใจให้ความสนใจ คอ่ นขา้ งนอ้ ย อาจเพราะภาพดงั กลา่ วดเู ปน็ จติ รกรรมแนวเหนอื จรงิ แบบไทยประเพณที ไ่ี มไ่ ดร้ ายงาน ข้อเท็จจริงอันควรเช่ือถือได้ บทความนี้จึงพยายามขจัดข้อสงสัยในเบื้องต้นเก่ียวกับภาพดังกล่าว ดว้ ยการแยกพิจารณาภาพลายเสน้ และภาพสอี อกเปน็ ๕ องคป์ ระกอบ เพื่อสะดวกในการท�ำความ เข้าใจและง่ายต่อการอธบิ าย เรยี งลำ� ดบั จากซ้ายไปขวาของภาพ ไดแ้ ก่ พระเมรุและส่งิ ปลูกสร้างใน ราชวัติ ส่ิงปลูกสร้างนอกราชวัติ มหรสพ กระบวนรูปสัตว์ และกระบวนราชรถ โดยใช้หลักฐาน ลายลักษณ์อักษร ๓ ฉบับประกอบการวิเคราะห์ ดังน้ี จดหมายการพระบรมศพสมเด็จพระรูป วัดพทุ ไธสวรรย์ กรุงเก่า (พ.ศ.๒๒๗๘) คำ� ให้การขุนหลวงวัดประด่ทู รงธรรม เอกสารจากหอหลวง และพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ ฉบบั เจ้าพระยาทพิ ากรวงศ์ ซง่ึ เปน็ ฉบบั ตัวเขียน 252 เสด็จสแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชอื่ ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
๓๑ พระเมรุและสิง่ ปลูกสรา้ งในราชวตั ิ ในที่น้ีจะเรยี กวา่ “พระเมร”ุ ตามจดหมายการพระบรมศพสมเด็จพระรูป วดั พุทไธสวรรย์ กรุงเก่า พุทธศักราช ๒๒๗๘ แทนการเรียกว่าพระเมรุมาศอันหมายถึงพระเมรุทองท่ีต้ังซ้อนใน พระเมรใุ หญ่ (Terwiel 2016: 108; สมภพ ภริ มย์ ๒๕๒๘: ๑๑๐) พระเมรุและสงิ่ ปลกู สร้างในราชวัติ ทป่ี รากฏทงั้ ในภาพลายเสน้ และภาพสี วาดตามแบบไทยประเพณปี ระกอบดว้ ย พระเมรุ เมรทุ ศิ (เมรุ ประต)ู ราชวัติ และเสาฉัตร ท้งั นีใ้ นจดหมายการพระบรมศพสมเด็จพระรปู ฯ กลา่ วว่ากระบวนเชญิ พระโกศพระบรมศพสมเด็จพระรูปเข้ามายังพระเมรุ “ตรงหน้าประตูพระเมรุทิศบูรพา” (ประชุม จดหมายเหตุสมัยอยธุ ยา ภาค ๑ ๒๕๑๐: ๑๑๐) หรือทิศตะวันออก ผูว้ าดภาพลายเส้นและภาพสีจึง น่าจะตั้งใจให้ทางด้านขวาอันเป็นด้านที่วาดภาพกระบวนเชิญพระโกศพระบรมเป็นทิศตะวันออก ด้านซา้ ยของภาพจึงควรเปน็ ทศิ ตะวนั ตก ด้านบนเปน็ ทศิ เหนือ และด้านล่างเป็นทศิ ใตต้ ามล�ำดับ 253เสด็จสู่แดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชอื่ ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
พระเมรแุ ละสงิ่ ปลูกสรา้ งในราชวตั ิ ตน้ กลั ปพฤกษ์และศาลาฉอ้ ทาน ระทาและโรงรำ� มหรสพ ภาพลายเสน้ งานพระเมรสุ มเดจ็ พระเพทราชา แสดงตำ� แหนง่ ของพระเมรแุ ละสง่ิ ปลกู สรา้ งในราชวตั ิ ตน้ กลั ปพฤกษ์ และศาลาฉ้อทาน โรงสังเค็ด ระทาและโรงร�ำ มหรสพ กระบวนรูปสัตว์ กระบวนราชรถ และกระบวนรูปช้าง พระเมรแุ ละสงิ่ ปลูกสร้างในราชวตั ิ มหรสพ ระทาและโรงร�ำ ตน้ กัลปพฤกษแ์ ละศาลาฉ้อทาน ภาพสีงานพระเมรุสมเด็จพระเพทราชา แสดงตำ� แหนง่ ของพระเมรแุ ละสงิ่ ปลกู สรา้ งในราชวตั ิ มหรสพ ระทา และโรงร�ำ ต้นกลั ปพฤกษ์และศาลาฉอ้ ทาน โรงสงั เค็ด กระบวนรปู สตั ว์ และกระบวนราชรถ 254 เสด็จสูแ่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
โรงสงั เค็ด ๓๑ พลับพลาโถง กระบวนรูปสัตว์ กระบวนราชรถ กระบวนรปู ชา้ ง โรงสังเค็ด กระบวนรปู สตั ว์ กระบวนราชรถ 255เสดจ็ สูแ่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
แผนท่ีพระราชวังโบราณอยุธยาจากหนังสือพระราชวัง และวัดโบราณในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ของกรม ศิลปากร พ.ศ. ๒๕๑๑ แสดงต�ำแหน่งที่ตั้งของพระเมรุ (สุจติ ต์ วงษเ์ ทศ ๒๕๖๐) ภาพภูมิทัศน์ของกรุงยูเดียด์ (อยุธยา) นครหลวงแห่งราชอาณาจักรสยาม แสดง ต�ำแหน่งของเนินดินหน้าพระวิหารแกลบและซุงท่ีน่าจะ เก่ียวข้องกับการสร้างพระเมรุ (Source: National Archives of the Netherlands 2010) วัดวรโพธ์ิ พระท่ีน่ังจกั รวรรดไิ ชยนต์ วดั พระศรีสรรเพชญ สนามหน้าจกั รวรรดิ์ พระมณฑปพระมงคลบพิตร พระวหิ ารแกลบ เนินดิน ซุงสำ� หรับพระเมรุ พระราชพงศาวดารฉบบั สมเดจ็ พระพนรตั น์ วดั พระเชตพุ น ใหข้ อ้ มลู เกย่ี วกบั ตำ� แหนง่ ทตี่ งั้ พระเมรใุ นสมยั อยธุ ยาวา่ “ศกั ราช ๙๖๘ (พ.ศ.๒๑๔๙) ปมี ะเมยี อฐั ะศก ทรงพระกรณุ าใหพ้ นู ดนิ หนา้ พระวหิ ารแกลบไวเ้ ปนที่ส�ำหรบั ถวายพระเพลิง” (สมเด็จพระพนรัตน์ ๒๕๕๘: ๑๗๘) เหตุการณ์ดงั กล่าวตรงกับรัชกาลสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม แต่ในท่ีนี้เช่ือว่าน่าจะเกิดขึ้นในรัชกาลสมเด็จพระเจ้า ปราสาททองเสียมากกวา่ ส่วนแผนท่ใี นบทความของสจุ ิตต์ วงษ์เทศ ระบวุ า่ “ลานพระเมร”ุ ต้งั อยู่ ทางดา้ นทศิ ใตข้ องพระวหิ ารแกลบซงึ่ อยทู่ างดา้ นทศิ ตะวนั ออกเฉยี งใตข้ องพระวหิ ารพระมงคลบพติ ร (สุจิตต์ วงษ์เทศ ๒๕๖๐) ต�ำแหน่งพระเมรุท่ีกล่าวถึงข้างต้นสามารถตรวจสอบได้จากหลักฐานของชาวต่างประเทศ จติ รกรรมสนี ำ�้ “ภาพภมู ทิ ศั นข์ องกรงุ ยเู ดยี ด์ นครหลวงแหง่ ราชอาณาจกั รสยาม” (Afbeldinge der Stadt Iudiad Hooft des Choonincrick Siam) วาดโดยโยฮสั เนส วงิ โบนส์ (Johannes Vingboons) จติ รกรชาวดชั ต์ ราว พ.ศ.๒๒๐๘ ตรงกบั ตน้ รชั กาลสมเดจ็ พระนารายณ์ (ธวชั ชยั ตงั้ ศริ วิ านชิ ๒๕๔๙: ๔๔–๔๕) แสดงภาพวาดเนินดนิ ทอี่ ยูเ่ ยื้องลงมาทางดา้ นทศิ ตะวนั ออกเฉียงใต้ของอาคารขนาดเล็ก ทน่ี า่ จะไดแ้ กพ่ ระวหิ ารแกลบทกี่ ลา่ วถงึ ในพระราชพงศาวดาร ปลายสดุ ของเนนิ ดนิ ยงั มซี งุ ขนาดใหญ่ อีก ๖ ต้น นา่ จะใชส้ �ำหรับท�ำพระเมรสุ มเดจ็ พระเจา้ ปราสาททอง 256 เสดจ็ สูแ่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
วัดพระศรสี รรเพชญ สนามหน้าจกั รวรรด์ิ ๑๓ วัดพระราม พระวิหารพระมงคลบพิตร พระวิหารแกลบ แผนทลี่ ายเส้นของนายแพทยเ์ อนเยนเบิรก์ แกมเฟอร์ พ.ศ.๒๒๓๓ แสดงต�ำแหน่งของพระวิหารแกลบที่ตั้ง อยู่ทางด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ของพระวิหาร พระมงคลบพิตร (Source: Kaempfer 2001: 504) พระวหิ ารพระมงคลบพติ ร พระวิหารแกลบ วดั พระราม แผนผังกรุงสยาม (Plan de la Ville de Siam) วาดโดย ฌารค์ นิโกลาส์ เบแลง็ พ.ศ.๒๒๓๐ เขียน จากการส�ำรวจของนายช่างฝร่ังเศส เดอ ลา มาร์ (de la Mare) เมื่อ พ.ศ.๒๒๒๘ แสดงพ้ืนที่ว่าง ระหวา่ งพระวหิ ารแกลบวดั พระรามซง่ึ นา่ จะเปน็ ทตี่ ง้ั พระเมรุ (ท่ีมา: ธวชั ชยั ตงั้ ศริ วิ านิช ๒๕๔๙: ๗๘) อกี ฉบบั หนงึ่ คอื แผนทล่ี ายเสน้ ของนายแพทยเ์ อนเยนเบริ ก์ แกมเฟอร์ (Engelbert Kaempfer) วาดใน พ.ศ.๒๒๓๓ แสดงภาพอาคารมีร้ัวล้อมรอบทางด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดกับพระวิหาร พระมงคลบพติ ร (Kaempfer 2001: 511) นา่ จะได้แก่พระวิหารแกลบและก�ำแพงแก้วหลังท่ีกลา่ วถงึ ในพระราชพงศาวดารเชน่ กนั สว่ นแผนผงั กรงุ สยามหรอื Plan de la Ville de Siam แสดงตำ� แหนง่ P ทอี่ ยใู่ ตพ้ ระวหิ ารพระมงคลบพติ รอนั หมายถงึ วดั หรอื เจดยี ต์ า่ งๆ นา่ จะเปน็ ตำ� แหนง่ ของพระวหิ าร แกลบ ตรงข้ามกับต�ำแหน่ง D (Grand Pagode หรือพระเจดีย์ใหญ่) หรือวัดพระราม พ้ืนท่ีวา่ ง ระหวา่ งตำ� แหนง่ ทงั้ ๒ แหง่ (ธวชั ชยั ตง้ั ศริ วิ านชิ ๒๕๔๙: ๗๘-๗๙) นบั วา่ ใกลเ้ คยี งกบั ตำ� แหนง่ ท่ีตั้ง ของพระเมรุในพระราชพงศาวดารและแผนทีข่ องชาวตะวนั ตกเช่นกัน หากพระวหิ ารหลงั นอ้ ยหนา้ พระมณฑปหรอื พระวหิ ารพระมงคลบพติ รในแผนทท่ี งั้ ๓ ฉบบั เป็นพระวิหารแกลบท่ีกล่าวถึงในพระราชพงศาวดารจริงแล้ว ภาพลายเส้นงานพระเมรุสมเด็จ พระเพทราชาก็อาจท�ำให้ตัดสินได้ว่าพระเมรุน่าจะต้ังอยู่ทางด้านทิศตะวันออกของพระวิหารแกลบ หลงั ทอ่ี ยใู่ นแผนทที่ ง้ั ๓ ฉบบั นนั่ เอง เหน็ ไดจ้ ากภาพวาดก�ำแพงอิฐและประตูหชู า้ งขนานไปกบั ขอบ กระดาษทางด้านซ้ายสุดของภาพ ดูต้ังใจเป็นถาวรวัตถุมากกว่าจะเป็นสิ่งก่อสร้างช่ัวคราวแบบรั้ว ราชวัติ (ค�ำให้การขนุ หลวงวัดประดทู่ รงธรรมฯ ๒๕๕๕: ๕๐) 257เสดจ็ สู่แดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
พระวิหารแกลบหลังน้ีอาจเคยเป็นส่วนหน่ึงของวัดพระชีเชียงที่สมเด็จพระไชยราชาธิราช ทรงสร้างขึ้น “อย่างใหญ่โตและน่าอัศจรรย์” ที่สุดในพระราชอาณาจักรอยุธยาเมื่อ พ.ศ. ๒๐๘๑ ดงั ระบไุ วใ้ นพระราชพงศาวดารกรงุ เกา่ ฉบบั หลวงประเสรฐิ อกั ษรนติ ิ์ (๒๕๔๗: ๓๑) จนกระทงั่ สมเดจ็ พระเจา้ ปราสาททองโปรดเกลา้ ฯ ใหร้ อื้ ลงในระหวา่ ง พ.ศ. ๒๑๘๑–๒๑๘๒ (ฟาน ฟลตี ๒๕๔๘: ๒๔๗) แสดงให้เหน็ ว่าการเลอื กภูมิสถานในการก่อสร้างพระเมรยุ ังคงอิงอยกู่ ับพ้ืนทศี่ ักดสิ์ ิทธมิ์ าแต่เดมิ พระเมรใุ นภาพสมี ีศาลา ๒ หลังตั้งบนเนนิ ดินนา่ จะได้แก่ “ทมิ ดาบ” ในลกั ษณะเดยี วกบั ทิมดาบท่ีตั้งคู่กันบนฐานเบญจาหน้ามุขทิศเหนือของพระที่น่ังจักรวรรดิไพชยนต์ในภาพลายเส้น ประกอบจดหมายการพระบรมศพสมเดจ็ พระรปู ฯ (ประชุมจดหมายเหตสุ มัยอยธุ ยา ภาค ๑ ๒๕๑๐: ๑๐๘ – ๑๐๙) ท้ังน้ีไม่ปรากฏแนวก�ำแพงแก้วและประตูหูช้างของพระวิหารแกลบเหมือนท่ีปรากฏ ในภาพลายเสน้ ในทน่ี จ้ี ะแยกอธบิ ายในสว่ นของพระเมรแุ ละสงิ่ ปลกู สรา้ งในราชวตั อิ อกเปน็ ๓ กลมุ่ ประกอบ ดว้ ย ๒.๑ พระเมรุ ราชวตั ิทบึ และเสาฉตั รทอง นาก เงิน ๒.๒ เมรุทศิ และสามสรา้ ง ๒.๓ ราชวัติ ทรงเครอื่ งและเสาฉัตรเบญจรงค์ ดังน้ี พระเมรยุ อดและปรางคป์ ระธาน ฉตั รเบญจรงค์ เมรุทศิ ราชวตั รทรงเคร่ือง สามสร้าง กำ� แพงแก้ว ยอดปรางคบ์ ริวารบนหลังคามขุ และประตหู ชู ้าง ยอดปรางคบ์ ริวารบนหลังคามขุ ลด ฉตั รทอง นาก มขุ พระเมรุ และเงิน ราชวัตรทบึ และประตู พระเมรแุ ละสิง่ ปลกู สร้างในราชวัตใิ นภาพลายเสน้ เปน็ พระเมรทุ รงปราสาทจัตรุ มุขยอดปรางค์ ๙ ยอด ล้อมรอบด้วยราชวัติทึบ ฉัตรทอง นาก และเงินปักธงชาย เมรุทิศทั้ง ๘ ทิศและสามส้างในรูปของ ระเบียงคด ลอ้ มรอบด้วยฉัตรเบญจรงคป์ กั ธงชายและราชวตั ทิ รงเครื่อง กลมุ่ แรก พระเมรุ ราชวตั ทิ ึบ และฉัตรทอง นาก เงนิ ลกั ษณะทางสถาปตั ยกรรมของ พระเมรุสมเด็จพระเพทราชา เป็นปราสาทจัตุรมุขยอดปรางค์ ๙ ยอด สร้างครอบ “พระมณฑป พระเมรุทอง” หรือ “พระเมรุทองยอดมณฑปนพสูรย์” อันเป็นต้ังพระเบญจาที่ถวายพระเพลิง ดังกล่าวถึงในจดหมายการพระบรมศพสมเด็จพระรูปฯ และค�ำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม ซึ่งงานพระเมรุพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พ.ศ. ๒๓๕๔ ยังระบุด้วยว่ามี พระนพปฎลมหาเศวตฉัตรหรือเศวตฉัตร ๙ ชั้นกางกั้นเหนือพระโกศพระบรมศพในพระเมรุทอง (เจา้ พระยาทพิ ากรวงศ์ ๒๕๔๘: ๒๕) พระเมรทุ องที่ถวายพระเพลิงสมเด็จพระเพทราชาจะมรี ูปทรง 258 เสด็จสูแ่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
พระเมรยุ อดและปรางคป์ ระธาน ฉัตรเบญจรงค์ ราชวตั รทรงเครื่อง ๑๓ ทมิ ยอดปรางค์บริวารบนหลงั คามุข ยอดปรางค์บรวิ ารบนหลงั คามขุ ลด เมรทุ ิศ ฉตั รทอง นาก สามสรา้ ง และเงิน ราชวตั รทบึ และประตู พระเมรแุ ละส่ิงปลูกสร้างในราชวตั ใิ นภาพสี เป็นพระเมรทุ รงปราสาทจตั รุ มขุ ยอดปรางค์ ๙ ยอด ล้อมรอบ ดว้ ยราชวตั ทิ บึ ฉตั รทอง นาก และเงนิ ปกั ธงชาย เมรทุ ศิ ทงั้ ๘ ทศิ และสามสา้ งในรปู ของระเบยี งคด ลอ้ มรอบ ดว้ ยฉตั รเบญจรงคป์ กั ธงชายและราชวตั ทิ รงเครอื่ ง มที มิ ดาบ ๒ หลงั ตง้ั นอกราชวตั ทิ างดา้ นทศิ ตะวนั ตก อย่างใดไม่ปรากฏ แต่อนุมานได้ว่าคงเป็นพระเมรุทรงบุษบกในลักษณะเดียวกับพระเมรุมาศ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อย่หู ัว พระเมรุมียอดปรางค์ประธานเป็นทรงมณฑปย่อมุมไม้สิบสอง ยอดปรางค์ประธาน มีเชิงกลอนซ้อนลดหลั่นกัน ๕ ช้ัน แต่ละช้ันมีเสารับซุ้มบันแถลงที่หลังคา ซ่ึงระหว่างเสารับซุ้ม บนั แถลงเปน็ ชอ่ งเกลด็ นา่ จะใช้ระบายควนั (ประชมุ จดหมายเหตสุ มัยอยธุ ยา ภาค ๑ ๒๕๑๐: ๑๑๓) เหนือเชิงกลอนช้ันบนสุดเป็นเหม รองรับยอดปรางค์รูปทรงผอมเพรียวประดับนภศูลปลายปักฉัตร ๙ ชั้นติดธงชายซ่งึ น่าจะไดแ้ กพ่ ระนพปฎลมหาเศวตฉัตร พระเมรุยังประกอบด้วยมุขทั้ง ๔ ด้าน ประกอบด้วยฐานปัทม์ยกเก็จประดับกระจัง ทป่ี ากฐาน แตล่ ะเกจ็ รองรบั หลงั คามขุ แตล่ ะชน้ั ฐานของแตล่ ะเกจ็ เปน็ ทต่ี งั้ ของเสาเหลย่ี มยอ่ มมุ รองรบั เครอ่ื งหลงั คามขุ มงุ กระเบอ้ื งกาบกลว้ ยและเชงิ ชายแบบทนี่ ยิ มในสมยั อยธุ ยา สนั หลงั คาประดบั บราลี เครื่องล�ำยองประกอบดว้ ยช่อฟา้ และหางหงส์ หลงั คามขุ ซอ้ นท่ี ๒ และหลังคามุขลดซอ้ นที่ ๒ ยงั เป็นทตี่ ั้งของยอดปรางค์ยอ่ มๆ ดงั เช่น ทเ่ี รยี กในคำ� ใหก้ ารขนุ หลวงวดั ประดทู่ รงธรรม ซง่ึ ยงั เรยี กยอดปรางคช์ นั้ ในสดุ หรอื บนหลงั คามขุ ซอ้ น ท่ี ๒ ว่า “เมรุทิศ” และเรียกยอดปรางค์ชั้นนอก หรือบนหลังคามุขลดซ้อนที่ ๒ ว่า “เมรุแซก” (เมรุแทรก) ซึ่งในท่ีนี้เห็นว่าคงเรียกสับสนกับ “เมรุทิศทั้งแปดทิศมีสามสร้างตามรวางเมรุทิศ” (เจา้ พระยาทพิ ากรวงศ์ ๒๕๔๘: ๒๔) จงึ ขอกำ� หนดเรยี กชอื่ ยอดปรางคย์ อ่ มๆ ดงั กลา่ ววา่ “ยอดปรางค์ บริวารบนหลังคามุข” และ “ยอดปรางค์บริวารบนหลังคามุขลด” เป็นยอดปรางค์รูปทรงเดียวกับ ยอดปรางคป์ ระธานแต่ขนาดเลก็ กว่า 259เสดจ็ สแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
พระเมรลุ อ้ มรอบดว้ ยราชวตั ิ โดยหนา้ ประตรู าชวตั ติ งั้ รปู กนิ นรและกนิ รยี นื พนมมอื หนา้ มขุ พระเมรดุ า้ นทศิ ตะวนั ตกตงั้ รปู ยกั ษย์ นื ถอื กระบอง ทศิ ตะวนั ออกตง้ั รปู กนิ นรยนื พนมมอื รอบพระเมรุ ตง้ั เสาฉัตรเหมือนเสาธงเปน็ ท่ปี ักฉตั ร ๗ ชั้นตดิ ธงชายหา่ งกนั เปน็ ระยะ ใกลเ้ คียงกบั ที่คำ� ใหก้ ารขนุ หลวงวดั ประดทู่ รงธรรม บรรยายไวว้ า่ “รอบฐานปนู ภายนอกพระเมรตุ ามมมุ ระหวา่ งมขุ ทง้ั ส่ี มซี มุ้ มณฑป กินนรและเทพยดามุมละสองซุ้ม ตามชานพระเมรุตีแตะเรือกไม้ไผ่ รอบพระเมรุท่ีสุดชานเรือก พระเมรุ มีราชวตั ิทึบแผงเขยี นเรือ่ งรามเกียรต์ แลว้ ปักฉัตรท์ องนาคเงินอย่างและเกา้ ช้ัน ปกั รายไป ตามราชวัติทึบรอบพระเมรุ” (ค�ำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรมฯ ๒๕๕๕: ๕๐) จึงเป็นไปได้ ทภี่ าพราชวตั ริ อบพระเมรสุ มเดจ็ พระเพทราชาน่าจะได้แก่ราชวตั ิทบึ ๒. เมรทุ ศิ และสามสร้าง พระเมรุ ราชวัติทึบ และเสาฉัตร ๗ ช้ัน ทอง นาก เงิน ท้งั หมด ล้อมรอบดว้ ยเมรุทศิ ทัง้ ๘ ทศิ แบ่งเปน็ พระเมรุทิศตามทิศหลกั ๔ ทิศหรือที่เรียกกันวา่ “เมรปุ ระตู” หรอื “ประตพู ระเมร”ุ และเมรุทิศรองอกี ๔ ทศิ เมรุทศิ ท้งั ๘ ทศิ มี “สามสร้าง” (สามสา้ ง) เป็น ระเบียงคดเช่ือมถึงกันโดยรอบ เมรุทิศทุกองค์ต้ังบนฐานปัทม์ย่อมุมไม้สิบสอง ลักษณะคล้ายยอด ปรางค์ประธานของพระเมรแุ ละมเี ชิงกลอน ๕ ชนั้ ปกั ฉัตรตดิ ธงชายเชน่ กันแตย่ อ่ มกวา่ ยอดนภศลู ปักฉัตร ๕ ช้นั ติดธงชาย ภาพวาดพระเมรแุ ละเมรุทศิ น้ี มีลกั ษณะใกลเ้ คยี งอยา่ งมากกับเมรทุ ิศของ วัดไชยวัฒนาราม และพระเมรุท่ีถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระที่หอเขียน วังสวนผักกาด กรุงเทพ มหานคร จากช่วงปลายพุทธศตวรรษท่ี ๒๓ เมรุทิศทงั้ ๘ เมรแุ ละสามสา้ งในรปู ของระเบยี งคด ภายในปักฉตั รทอง นาก เงนิ ติด ธงชาย รายลอ้ มด้วยราชวัตทิ รงเครอื่ งและฉัตรเบญจรงค์ปักธงชาย ภาพพระเมรุ ราชวัติทรงเคร่ือง ฉัตรทอง นาก เงิน และสามส้างหรือระเบียงคดซ่ึงมีพระสงฆ์น่ังพนมมือ อยขู่ า้ งใน มรี ะทายอดมณฑปตง้ั เรยี งไปตามแนวสามสา้ ง ลายรดนำ�้ ทหี่ อเขียน วังสวนผักกาด 260 เสดจ็ สู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
สามสรา้ งในแบบลายเสน้ งานพระบรมศพสมเดจ็ พระรปู ฯ มีลกั ษณะเช่นเดียวกับศาลาโถง ๓๑ (แน่งน้อย ศักดิ์ศรี และคณะ ๒๕๕๕: ๙๖) บางแห่งเชื่อว่าเมรุทิศหรือเมรุแทรกทั้งแปดทิศรอบ พระเมรุใหญค่ ือสามสร้าง (เกรียงไกร เกิดศิริ ๒๕๕๒: ๑๖๗-๑๙๓) ดงั ค�ำให้การขนุ หลวงวัดประดู่ ทรงธรรม ทก่ี ลา่ ววา่ “หลงั ราชวตั ทิ บึ มสี ามสรา้ งรอบพระเมรุ ทม่ี มุ สามสรา้ งทง้ั สท่ี ศิ มพี ระเมรยุ อดปรางค์ ทั้งสนิ้ ทุกทศิ กลางสามสร้างระหวา่ งพระเมรุทิศ เปนประตูๆ ทั้ง ๔ ด้านตรงกับมขุ เมรใุ หญ่ บนซุ้ม ประตูทั้ง ๔ ด้าน เป็นพระเมรุยอดปรางค์” (ค�ำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม ๒๕๕๕: ๕๐) จดหมายพระบรมศพสมเด็จพระรปู ฯ ระบวุ ่าสามสร้างใชเ้ ป็นทสี่ �ำหรบั พระสงฆ์น่งั สวด และกล่าวถงึ สมเด็จพระเจ้าบรมโกศทรงปรนนิบัติพระสงฆ์รับพระราชทานฉันภายใน “สามส้างตะวันออก” (ประชุมจดหมายเหตุสมัยอยธุ ยา ภาค ๑ ๒๕๑๐: ๑๑๓) รับกันกับภาพการถวายพระเพลงิ พระพุทธ สรรี ะทหี่ อเขยี น วงั สวนผกั กาด แลเหน็ พระสงฆ์นงั่ พนมมอื อยภู่ ายในระเบยี งคดรอบพระเมรซุ งึ่ กค็ อื สามสร้างนั่นเอง ดังน้ัน ภาพระเบียงคดท่ีเช่ือมต่อกับเมรุทิศท้ัง ๘ ทิศในภาพงานพระเมรุสมเด็จ พระเพทราชาจงึ ควรได้แกส่ ามสรา้ ง ๓. ราชวัตทิ รงเครือ่ งและฉตั รเบญจรงค์ ปรมิ ณฑลรอบพระเมรุในภาพลายเสน้ กนั้ ดว้ ย แนวราชวตั ทิ ส่ี นั รวั้ ประดบั กระจงั หงายและกระจงั ควำ่� จดุ ตดั กนั ของกากบาทรวั้ ราชวตั เิ ปน็ รปู ตนี กา คงตงั้ ใจใหห้ มายถงึ ลายประจำ� ยามทนี่ ยิ มประดบั จดุ ตดั กนั ของลายราชวตั ิ มเี สาฉตั รเบญจรงค์ ๕ ชนั้ ตดิ ธงชายอยรู่ ายรอบ แนวราชวตั ดิ า้ นทศิ ตะวนั ออกหกั ศอกเปน็ มมุ ฉากเปน็ ชานยน่ื ขนานกนั ไปตลอด จนถงึ ต้นภาพกระบวนรูปสัตว์หมิ พานต์ มีเสาตะลงุ ที่สุดปลายราชวตั ิท้งั ๒ ข้าง ค�ำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม กล่าวไว้ว่า “รอบพระเมรุหน้าโรงรูปสัตว์ มีราชวัติ ทรงเครอื่ งทำ� ดว้ ยไมจ้ รงิ ลอ้ มรอบสามสรา้ ง หนา้ ราชวตั ทิ รงเครอ่ื งราชวตั มิ ไี มไ้ ผ่ แลปกั ฉตั รเ์ บญ็ จรงค์ เปนระยะล้อมรอบพระเมรุอกี ชนั้ หนง่ึ ” (ค�ำใหก้ ารขนุ หลวงวัดประดทู่ รงธรรม ๒๕๕๕: ๕๐) ใกลเ้ คยี ง กับที่กล่าวถึงในงานพระเมรุพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชว่า “หลังสามสร้าง ช้ันนอกมีโรงรูปสัตวรายรอบสามสร้าง มีราชวัตรไม้จริงทรงเครื่อง ฉัตรเบญจรงล้อมโรงรูปสัตว อกี ชน้ั หนงึ่ ” (เจา้ พระยาทพิ ากรวงศ์ ๒๕๔๘: ๒๔) จงึ เปน็ ไปไดท้ แี่ นวราชวตั ริ อบเมรทุ ศิ และสามสรา้ ง ในภาพลายเส้นและภาพสีนอกราชวัตดิ ้านทศิ ตะวันตก จะได้แก่ “ราชวัติทรงเครอื่ ง” สิ่งปลกู สร้างนอกราชวัติ สงิ่ ปลูกสร้างนอกราชวัติ แบง่ ออกเป็น ๔ กลุ่มได้แก่ ๑. ระทาและโรงรำ� ๒. ตน้ กัลปพฤกษ์ และศาลาฉ้อทาน ๓. โรงสังเค็ด ๔. ราชวตั ไิ มไ้ ผ่ ฉตั รเบญจรงค์ และพ่มุ ดอกไมเ้ พลิง ดงั น้ี ระทาดอกไมเ้ พลงิ จำ� นวน ๑๖ หลัง เรียงสลับกับโรงร�ำอีก ๑๕ หลงั ๑. ระทาและโรงร�ำ ตอนล่างของภาพลายเส้นแสดงภาพระทาดอกไม้เพลิง ๑๖ หลัง แบบยอดบษุ บก คนั่ สลบั กบั โรงรำ� หรอื โรงระบำ� ๑๕ หลงั ซง่ึ ใชส้ ำ� หรบั แสดงมหรสพเปน็ ตน้ วา่ โรงโขน 261เสดจ็ สแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชอื่ ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
โรงละคร โรงหนุ่ ละคร หรอื โรงง้ิว เรยี กรวมกนั ทั้งหมดวา่ “โรงร�ำ” ระทามีหนา้ ท่ีใชจ้ ุดดอกไม้เพลงิ และยังเป็นหอประทีปส�ำหรับให้แสงสว่างแก่ปริมณฑลพระเมรุในเวลากลางคืน ค�ำให้การขุนหลวง วดั ประด่ทู รงธรรม ระบวุ า่ ระทายอดบุษบกใช้กับพระเมรุเอก ดงั กล่าววา่ “หน้าพระเมรมุ รี ะทาใหญ่ สำ� หรบั ดอกไม้เพลงิ สูง ๑๒ วา สบิ หกระทาน้ันๆ มยี อดมณฑปท้ังส้นิ ระหว่างระทามโี รงระบ�ำ ๑๕ โรง” ขณะทพ่ี ระเมรุโทจะเป็นระทายอดปอ้ ม ๑๔ ระทา และพระเมรตุ รเี ป็นระทายอดปอ้ ม ๑๒ ระทา (คำ� ใหก้ ารขนุ หลวงวัดประดูท่ รงธรรมฯ ๒๕๕๕: ๕๐) ระทาดอกไมเ้ พลิงและโรงร�ำในงานพระเมรสุ มเด็จพระเพทราชา ระทายอดปอ้ ม โรงรำ� (โรงโขนใหญ่ ตน้ กลั ปพฤกษ์ และโรงห่นุ ละคร?) ระทายอดปอ้ ม โรงรำ� และตน้ กลั ปพฤกษ์ ในงานพระเมรทุ อ้ งสนามหลวง แบบลายเสน้ ระทายอดมณฑปสงู ๙ ชนั้ พ.ศ.๒๔๓๐ (Source: Joachim 2016: 219) งานพระเมรุสมเด็จพระศรีสุลาไลย ในรัชกาลที่ ๓ (ทม่ี า: แนง่ น้อย ศกั ด์ศิ รี และคณะ ๒๕๕๕: ๑: ๑๕๐) 262 เสด็จสแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
๓๑ พลับพลาโถงที่ประทับส�ำหรับเจ้านายเฝ้า ตน้ กัลปพฤกษ์และศาลาฉอ้ ทาน สมัยพระเพทราชา จากภาพลายเส้น งานพระเมรุสมเด็จ พระเพทราชา ศาลาระหวา่ งระทานา่ จะตรงกบั โรงระบำ� ในคำ� ใหก้ ารขนุ หลวงวดั ประดทู่ รงธรรม วา่ มี ๑๕ โรง “แลมีโขน หุ่น ง้ิว ละคร ส่ิงละสองโรง ละครชาตรี เทพทอง มอญร�ำ เพลงปรบไก่ เสภาเล่านิยาย อยา่ งละโรง” (คำ� ใหก้ ารขนุ หลวงวดั ประดทู่ รงธรรมฯ ๒๕๕๕: ๕๐) ขณะทแี่ บบภาพลายเสน้ ประกอบ งานพระเมรสุ มเด็จพระรปู ฯ พ.ศ.๒๒๗๘ และงานพระเมรพุ ระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลก มหาราช เรยี กวา่ โรงร�ำประกอบดว้ ย “โรงโขน โรงหนุ่ ละคร โรงงว้ิ สิง่ ละสอง” (แน่งน้อย ศักดศ์ิ รี และคณะ ๒๕๕๕: ๒๔) ทางดา้ นทศิ ตะวนั ออกของระทาหลงั สดุ ทา้ ยยงั มภี าพศาลาโถงขนาดใหญ่ ใหญโ่ ตและวจิ ติ ร กว่าโรงร�ำทุกหลัง สันนิษฐานว่าคือพลับพลาโถงท่ีประทับส�ำหรับเจ้านายเฝ้า ดังกล่าวถึง ในจดหมายเหตุการพระบรมศพสมเด็จพระรูปฯ ถึงพลับพลาของเจ้านายชั้นผู้ใหญ่ของกัมพูชา พระนามว่านักเสด็จรอเฝ้าสมเด็จพระเจ้าบรมโกศบนพลับพลาใกล้กับต้นกัลปพฤกษ์พระคลังใน (ประชุมจดหมายเหตุสมยั อยุธยา ภาค ๑ ๒๕๑๐: ๑๑๐) ๒. ตน้ กลั ปพฤกษแ์ ละศาลาฉอ้ ทาน ตอนบนของภาพลายเสน้ ถดั ออกมาจากพระเมรุ ทางดา้ นทศิ ตะวนั ออก แสดงภาพตน้ กลั ปพฤกษ์ ๘ ต้น สลับกับศาลาฉ้อทาน ๘ หลัง ต้น กัลปพฤกษ์มีลักษณะเป็นทรงพุ่มคล้ายใบโพ หรือพุ่มข้าวบิณฑ์ พุ่มต้ังบนเสาที่ปักลงบน ฐานปัทม์ ในงานหลวงนั้นต้นกัลปพฤกษ์ใช้ใน พิ ธี ท้ิ ง ท า น เ พ ร า ะ มี เ งิ น ป ลี ก ผู ก ติ ด เ อ า ไ ว ้ โดยต้ังสลับกันไปกับศาลาฉ้อ ซึ่งมีความวิจิตร กวา่ โรงรำ� เพราะประกอบดว้ ยมขุ ประเจดิ ซา้ ยขวา ภาพถ่ายโบราณต้นกัลปพฤกษ์ในพระราชพิธีลงสรง เฉลิมพระปรมาภิไธยสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้า ม20ห1า6ว:ช13ริ ณุ7)ห ศิ สยามมกฏุ ราชกมุ าร พ.ศ.๒๔๒๙ (Joachim 263เสดจ็ สแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอื่ ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
สงั เคด็ ยอด สังเค็ดทรงประเจิด สังเคด็ ทรงโรง เตียงแวน่ ฟ้า หรอื เตยี งสำ� หรบั เทศนา เกา้ อฝี้ รงั่ โรงสังเค็ดงานพระเมรสุ มเด็จพระเพทราชาในภาพลายเส้น ประกอบด้วย สังเคด็ ยอด ๓ หลงั เก้าอ้ฝี รง่ั ๒ ตวั สังเคด็ ทรงประเจดิ ๕ หลัง สังเคด็ ทรงโรง ๒ หลงั เตียงแว่นฟ้าหรอื เตียงสำ� หรับเทศนา ๒ เตียง ๓. โรงสังเค็ด จดหมายการพระบรมศพสมเด็จพระรปู ฯ กลา่ วถึง “โรงสงั เคจ์” ที่ถูกสะเกด็ ดอกไม้เพลิงจนลุกไหม้ขึ้นขณะสมเด็จพระเจ้าบรมโกศประทับทอดพระเนตรตรงมุขพระท่ีน่ัง จักรวรรดิไพชยนต์ว่า “คร้ันเพลาทุ่มมีเศษเพลิงไหม้ ณ ศาลาฉ้อทานพระคลังในแลโรงสังเค็ดโรง หน่งึ ฉัตรเบญจรงค์คันหนึง่ ตง้ั ตรงหน้าวัดพระศรีสรรเพชญนัน้ ” (ประชุมจดหมายเหตุสมัยอยุธยา ภาค ๑ ๒๕๑๐: ๑๑๓) โรงสังเค็ดในที่น้ีไม่น่าจะใช่โรงรูปสัตว์อันท�ำหน้าท่ีดุจโรงรถของรูปสัตว์รับ บุษบกเครื่องสังเค็ดไปยังพระเมรุ แต่น่าจะใช้ต้ังสังเค็ดส�ำหรับพระสงฆ์น่ังสวดมากกว่า เพราะถ้า พิจารณาภาพลายเส้นและภาพสีจะเห็นว่ามีโรงสังเค็ดตั้งเรียงกันตามรายทางกระบวนเชิญพระโกศ พระบรมศพไปยังพระเมรุมากกวา่ จะต้ังลอ้ มพระเมรุเหมือนโรงรูปสัตว์ สังเค็ดยอด สังเค็ดทรงประเจิด สังเค็ดทรงโรง เก้าอี้ฝร่ัง เตยี งแวน่ ฟา้ หรือเตยี งสำ� หรบั เทศนา โรงสังเค็ดงานพระเมรสุ มเดจ็ พระเพทราชาในภาพสี โรงสงั เคด็ ในภาพสีมี ๑๒ หลัง หลังคาช้นั เดียว ไมม่ หี น้าจั่ว ต้ังสงั เค็ดยอด ๔ หลัง สงั เค็ด ทรงประเจดิ ๑ หลัง และสังเค็ดทรงโรง ๗ หลัง นอกจากน้ี ยงั มีโรงน้อยอกี ๗ หลัง มอี ยู่ ๓ หลงั ตั้งข้างโรงสังเค็ดยอดและโรงสังเค็ดทรงโรงซึ่งภายในต้ังของเตียงแว่นฟ้าหรือเตียงส�ำหรับเทศนา และเก้าอฝี้ รง่ั นอกน้นั เปน็ โรงเปลา่ สังเค็ดเหล่าน้ีมีคงมีล�ำดับศักด์ิหรือ “โปเจียม” ต่างกันตามล�ำดับสมณศักด์ิของพระสงฆ์ ท่ีขึ้นสวด ดังพบการล�ำดับดังกล่าวท้ังในภาพลายเส้นและภาพสีท่ีเริ่มจากสังเค็ดยอด สังเค็ด ทรงประเจดิ สงั เคด็ ทรงโรง ไปจนถงึ เตยี งสวดหรอื เตยี งสำ� หรบั เทศนา สว่ นโรงนอ้ ยทภ่ี ายในตงั้ เกา้ อี้ มพี นกั และเทา้ แขนแบบเครอื่ งเรอื นตะวนั ตก สนั นษิ ฐานวา่ คงเปน็ พระเกา้ อหี้ รอื “พระโธรน” สำ� หรบั เจ้านายทรงสดับพระอภิธรรมจากพระสงฆ์ท่ีขึ้นสวดบนเตียงหรือสังเค็ด ซ่ึงอาจกล่าวได้ว่าเป็น หลักฐานที่เก่าท่ีสุดของการใช้เคร่ืองเรือนแบบตะวันตกในประเทศไทยและราชส�ำนัก (นิโกลาส์ แชรแวส ๒๕๐๖: ๒๐๘) 264 เสด็จส่แู ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
๓๑ สังเค็ดทรงประเจิด ศาลาการเปรียญ วัดเชิงท่า จ.พระนครศรีอยุธยา ประมาณกลางพุทธศตวรรษ ท่ี ๒๓ สันนษิ ฐานวา่ เป็นสังเค็ดงานพระเมรุสมเด็จ พระเพทราชาหรอื สมเดจ็ พระเจา้ เสือ ๔. ราชวัตไิ มไ้ ผ่ ฉัตรเบญจรงค์ และพุ่มดอกไมเ้ พลงิ ในภาพลายเสน้ ตอ่ จากพลับพลา หรือโรงโขนใหญ่ทางด้านทิศตะวันออก ยังมีแนวราชวัติทอดตัวยาวไปจนจรดขอบกระดาษ สันรั้ว ราชวัติประดับกระจังใบเทศซ่ึงชา่ งวาดเสร็จบางส่วน แสดงวา่ ช่างพยายามจะเก็บรายละเอียดภาพ งานพระเมรุให้วิจิตรแต่คงติดด้วยเง่ือนไขของเวลาท่ีต้องส่งมอบงานจึงท�ำได้เท่าท่ีปรากฏ ภายใน ราชวตั ิตัง้ เสาฉตั ร ๕ ช้ันตดิ ธงชายสลบั กับเสาท่ีมีพุ่มซอ้ นกัน ๓ ชนั้ ตดิ ธงชาย แผงราชวัติ ฉัตร ๕ ชั้น และพุ่มดอกไม้เพลิงในภาพลายเส้น ซึ่งสอดคล้องกับในค�ำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม ความวา่ “หนา้ ราชวตั ทิ รงเครอื่ งมรี าชวตั ไิ มไ้ ผแ่ ลปกั ฉตั รเ์ บญ็ จรงคเ์ ปนระยะลอ้ มรอบพระเมรอุ กี ชน้ั หน่ึง...ต้นพุ่มปักดอกไม้เพลิงปักล้อมรอบพระเมรุชั้นนอกอีกชั้นหนึ่ง” (ค�ำให้การขุนหลวงวัดประดู่ ทรงธรรมฯ ๒๕๕๕: ๕๐) มหรสพ ในภาพมเี พยี งมหรสพทที่ กุ วนั นเี้ รยี กวา่ “กายกรรม” หรอื ทสี่ มยั กอ่ นเรยี กวา่ “ไมส้ งู -ญวนหก” วาดไว้เทา่ นั้น ใกล้เคยี งกบั ท่ีบรรยายไวใ้ นคำ� ใหก้ ารขุนหลวงวดั ประดทู่ รงธรรม วา่ “เสาไม้สามตอ่ ๑๒ ต้น เสาตา่ ยลวด ๔ ตน้ เสาหกคะเมนเท้าช้ฟี ้า ๔ ต้น เสายนื ลำ� แพน ๔ ตน้ รวมเปน ๑๒ ตน้ หนา้ เสาไมส้ ามตอ่ มไี มล้ อยลวด เลอลวดลงั กา มคี มดาบคอ้ นนอนหอกดาบลอดบว่ งเพลงิ ” (คำ� ใหก้ าร ขุนหลวงวัดประด่ทู รงธรรมฯ ๒๕๕๕: ๕๐) สำ� หรับภาพลายเสน้ วาดวาดมหรสพไม้สูง-ญวนหก มนี ักแสดงทั้งหมด ๑๖ คน เรียงลำ� ดบั จากซ้ายไปขวาตามภาพ ดงั นี้ ๑. ดาบญวนหรอื ไตล่ วดรำ� ดาบ (?) ๒. นอนรา้ นหอก ๓. ลอดบว่ ง ตรงกบั ทก่ี ล่าวถงึ ในมะโนราค�ำกาพย์ วา่ “พวกหนึ่งนัน้ ไซร้ ขน้ึ ไม้ลอดบว่ ง ตนี เดยี วเหน่ียวหน่วง ห้อยหัวโตงเตง” ๔. ไม้สงู ๕. หกคะเมน ๖. ลวดลงั กา (?) ๗. ไมท่ ราบ ๘. ไตล่ วดรำ� แพน ตรงกบั ท่ี กลา่ วถงึ ในมะโนราคำ� กาพย์ วา่ “พวกหนง่ึ รำ� แพน ขน้ึ อยบู่ นแปน้ ไมส้ งู โทงเทง” ๙. ไตล่ วด ๑๐. ไตล่ วด ไม้ท่อ (?) ดังกล่าวถึงในมะโนราค�ำกาพย์ว่า “ไต่ลวดไม้ท่อ ไม้สามล�ำต่อ ลวดขึงตรึงปลาย 265เสด็จสแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
ภาพมหรสพประเภทกายกรรมไมส้ งู -ญวนหก ประกอบดว้ ยนกั แสดงทงั้ หมด ๑๖ คน ภาพมหรสพประเภทกายกรรมไม้สูง-ญวนหก ในภาพลายสีงานพระเมรุสมเด็จพระเพทราชา ประกอบด้วยนกั แสดงทง้ั หมด ๓๒ คน สงู สดุ ลกู ตา ดนู า่ ใจหาย ไตไ่ ดส้ บาย หลายเทย่ี วหลายท”ี ๑๑. ไมท่ ราบ ๑๒. พงุ่ หอกปลายไม้ กลา่ วถงึ ในมะโนราคำ� กาพยว์ า่ “พงุ่ หอกปลายไม้ คนหนง่ึ พงุ่ ไป คนหนงึ่ พงุ่ มา ไมม่ แี ยบคาย เสยี ดายหนกั หนา ร�ำฬ่อรอท่า ตาคอยดกู นั ” ๑๓. ปีนดาบ-นอนดาบ (?) ใกล้เคยี งกบั มะโนราคำ� กาพย์วา่ “นอนบน คมดาบ อาวุธขาวปลาบ คมเขียวเปนมัน” ๑๔. ไต่ลวดไม้ท่อ-นอนดาบ (?) ๑๕. ไต่ลวดปิดตา กางรม่ หาบของ (?) ๑๖. ลอดบว่ ง (เดอ ลา ลแู บร์ ๒๕๔๘: ๑๕๔) กายกรรมในภาพสีอยู่ตอนบนด้านทิศเหนือของพระเมรุ สลับต�ำแหน่งกับภาพลายเส้น ทอ่ี ยู่ทางทิศใต้ มีนกั แสดง ๓๒ คน เรียงลำ� ดบั จากซา้ ยไปขวา ได้แก่ ๑. ไตล่ วดร�ำแพน ๒. ไมส้ ูง ๓. หกคะเมน ๔. ไตล่ วดรำ� แพน ๕. ปนี ดาบ ๖. ลอดบว่ ง ๗. ไตล่ วด ๘. ไมท่ ราบ ๙. พงุ่ หอกปลายไม้ ๑๐. ไต่ลวด ๑๑. ไต่ลวดไม้ท่อ (?) ๑๒. ไมส้ ูง ๑๓. นอนรา้ นหอก ๑๔. ไต่ลวดไม้ท่อ-หกสงู (?) ๑๕. ไต่ลวด ๑๖. นอนร้านหอก ๑๗. ไม้สูง ๑๘. ไต่ลวดไม้ท่อ-หกสูง (?) ๑๙. ไต่ลวด ๒๐. ไมท่ ราบ ๒๑.พงุ่ หอกปลายไม้ ๒๒. ไตล่ วด ๒๓. ลอดบว่ ง ๒๔. ไตล่ วด ๒๕. ไมท่ ราบ ๒๖. ไตล่ วด ร�ำแพน ๒๗. นอนรา้ นดาบ ๒๘. ไตล่ วดไม้ท่อ-หกสูง (?) ๒๙. ไต่ลวด ๓๐. ลอดบ่วง ๓๑. ไตล่ วด ๓๒. ไม้สูง (ล�ำดับหมายเลขเรียงตามภาพประกอบ) การแสดงประเภทน้ีน่าจะเป็นท่ีโปรดปรานอย่างมากมาต้ังแต่รัชกาลสมเด็จพระนารายณ์ ตามทีก่ ลา่ วถงึ ในบนั ทกึ ของซิโมน เดอ ลา ลแู บร์ ความวา่ “การเล่นไมส้ ูงของชาวสยามนบั ไดว้ า่ ดี มากทีเดยี ว และราชสำ� นักสยามมกั จดั ใหม้ กี ารแสดงถวายทอดพระเนตรเสมอ ยามที่เสด็จแปรพระ ราชฐานไปประทบั อยู่ ณ เมอื งละโว้” นอกจากนย้ี ังกลา่ วด้วยว่า “ถึงขนาดทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ 266 เสดจ็ สู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
๓๑ ชบุ เลยี้ งแตต่ ง้ั ใหเ้ ปน็ ขนุ นางผใู้ หญใ่ หอ้ ยปู่ ระจำ� ในพระบรมมหาราชวงั ” (คำ� ใหก้ ารขนุ หลวงวดั ประดู่ ทรงธรรมฯ ๒๕๕๕: ๔๗, ๙๒) และนา่ จะเป็นสาเหตุหนึ่งทท่ี ำ� ใหม้ ีการฝึกฝนนักแสดงจ�ำนวนมากเพื่อ ใชเ้ ลน่ ในงานมหรสพหลวงโดยเฉพาะในงานพระเมรุ กระบวนรปู สตั ว์ กระบวนรูปสตั วต์ ัง้ เรียงเป็นแถวตอนหนั หนา้ เขา้ ส่พู ระเมรนุ ี้ปจั จบุ ันนิยมเรียกว่า “รูปสตั ว์ หิมพานต์” ขณะท่ีในค�ำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม เรียกแยกเป็นสัตว์จตุบาท ทวิบาท รปู สตั วท์ ง้ั ในภาพลายเสน้ และภาพสยี นื แทน่ บนฐานปทั มเ์ ขยี นลายรบั บษุ บกสงั เคด็ ซง่ึ ตง้ั วางบนเลอ่ื น ลากหรอื “ตะเฆ่” มีเจ้าพนกั งานแต่งกายเปน็ เทวดาคอยฉดุ ชักและถือเคร่ืองสงู เดนิ ตาม คลา้ ยกับ แบบลายเส้นรูปสัตว์รับบุษบกสังเค็ดงานพระเมรุสมเด็จพระรูปฯ ส่วนค�ำให้การขุนหลวงวัดประดู่ ทรงธรรม กล่าวว่าในงานพระเมรุสมเด็จพระเจ้าบรมโกศและสมเด็จพระพันวัสสา “มีรูปสัตว์ ๑๐ อยา่ งๆ ละคู่เป็น ๒๐ ตัว มีรปู ช้างสอง ม้าสอง คชสหี ์สอง ราชสหี ส์ อง สงิ โตสอง มังกรสอง ทกั ขธอสอง นรสงิ ห์ ๒ เหม ๒ หงส์ ๒ แลรปู ภาพท้งั น้สี งู ๔ ศอก” และยงั กล่าวถึงรปู สัตว์เหล่าน้ใี น งานพระเมรวุ ่าท�ำหน้าท่ี “รบั บุศบกสังเฆศรายตามหลัง” กล่าวคือ “แรต รับบษุ บกไฟ มคี นั ชงิ หน้า แรดคู่ ๑ ถดั มารปู สตั วจ์ ตบุ าท ทวบิ าตร รบั บษุ บกสงั เฆศ” และบษุ บกสงั เคด็ นน้ั “สำ� หรบั ใสธ่ ปู นำ�้ มนั ภุมเสน และเคร่อื งหอมต่างๆ” (ค�ำใหก้ ารขนุ หลวงวดั ประดูท่ รงธรรมฯ ๒๕๕๕: ๔๗, ๙๒) นัยวา่ เป็น เครื่องใช้ในการถวายพระเพลิงพระบรมศพ 267เสด็จส่แู ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
กระบวนรูปสตั วย์ ืนแทน่ รบั บษุ บกสังเค็ดและบษุ บกเพลงิ ล�ำดบั จากซา้ ยไปขวา ได้แก่ นกอินทรี แรดช้าง เสอื สิงห์ กเิ ลน สิงโต ราชสีห์ คชสีห์ และกนิ นร ในภาพลายเส้นปรากฏรูปสัตว์ท้ังหมด ๙ ตัว พร้อมค�ำอธิบายใต้ภาพเป็นอักษรโรมัน ภาษาไทย เรียงลำ� ดับจากซา้ ยไปขวา ไดแ้ ก่ นกอนิ ทรี แรดชา้ ง เสอื สงิ ห์ กิเลน สงิ โต ราชสีห์ คชสหี ์ และกินนร ทั้งหมดยืนบนแท่นฐานปัทม์ตกแต่งด้วยลายแทบไม่ซ�้ำแบบกัน ตั้งวางบนตะเฆ่ ท่ีประกอบหัวท้ายด้วยกระหนกเปลว ไม่ได้มีล้อลากแบบรูปสัตว์ในสมัยรัตนโกสินทร์ดังที่กล่าวถึง ในโคลงถวายพระเพลิงพระบรมอัฐิพระเจ้าหลวง รัชกาลท่ี ๑ ว่า “รูปสัตว์เทียมล้อลาก จูงจร” (เกรยี งไกร เกิดศริ ิ ๒๕๕๒: ๑๒๓-๑๒๔) รูปสิงโตยืนแท่นรับบุษบกสังเค็ดบนตะเฆ่ บุรุษ ๒ นาย (ซ้าย) สวมลอมพอกหน้ากระบวนรูปสัตว์ซึ่ง ในกระบวนรูปสัตว์ Barend J. Terwiel สนั นษิ ฐานว่าอาจได้แก่พระยมและเจา้ พ่อ เจตคุปต์ในท่ีนี้เห็นว่าอาจเป็นเพียงเจ้าพนักงานท่ีมายืนรอรับ พระโกศพระบรมศพทช่ี านราชวตั พิ ระเมรุ 268 เสด็จสแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
๓๑ รปู สตั ว์ ๓ ตวั แรกในภาพลายเสน้ มเี จา้ พนกั งานคอยฉดุ ชกั แตง่ กายอยา่ งเทวดา สวมมงกฎุ กรองศอ ทับทรวง พาหุรัด และทองกร นุ่งโจงทับลงบนสนับเพลา ส่วนเจ้าพนักงานถือเคร่ืองสูง ท้ังฉตั ร ๓ ชั้น บังแทรกทรงกลม และบังแทรกทรงพ่มุ ข้าวบณิ ฑ์ แต่งกายคล้ายกนั แต่สวมศริ าภรณ์ ทมี่ ยี อดตา่ งกนั ๓ แบบ ไดแ้ ก่ ยอดนำ้� เตา้ ยอดโองโขดง และยอดมงกฎุ การแตง่ กายของเจา้ พนกั งาน เหล่าน้ีใกล้เคียงกับที่กล่าวถึงในงานพระเมรุสมเด็จพระเจ้าบรมโกศและสมเด็จพระพันวัสสา ในคำ� ใหก้ ารขนุ หลวงวดั ประดทู่ รงธรรม (๒๕๕๕) ความวา่ “คนชกั รถพระบรมศพแซงไปทง้ั ซา้ ยขวา แต่งตัวอย่างเทวดาใส่กำ� ไลตน้ แขนแลก�ำไลมือ ใสส่ งั วาลทับทรวงใสเ่ ทรดิ ” รูปสัตว์ในภาพสีมีท้ังหมด ๘ ตัวเรียงสลับจากภาพลายเส้นโดยไม่ปรากฏรูปกินนร จากซา้ ยไปขวา ไดแ้ ก่ นกอนิ ทรี แรดชา้ ง เสอื สงิ ห์ สงิ โต กเิ ลน คชสหี ์ และราชสหี ์ ทง้ั หมดระบายสี ปดิ ทอง มเี จา้ พนกั งาน ๓ คนแตง่ กายอยา่ งเทวดายนื พนมมอื ใตฉ้ ตั รเดนิ นำ� หนา้ (ประชมุ จดหมายเหตุ สมัยอยุธยา ภาค ๑ ๒๕๑๐: ๑๐๗) หน้ากระบวนรูปสัตว์ในภาพลายเส้นยังมีภาพบุรุษ ๒ คนยืนชิดกัน แต่งกายคล้ายกัน คือสวมลอมพอก สวมเสื้ออย่างน้อย (เสื้อแขนส้ัน) ประดับกรองศอและทองกร นุ่งโจงจีบเป็นริ้ว ปลอ่ ยชายสะบดั ทบั ลงบนสนบั เพลา เวน้ แตบ่ รุ ษุ ทย่ี นื ชนี้ ว้ิ ไปทางกระบวนรปู สตั วส์ วมครยุ ทมี่ ลี กั ษณะ โปร่งทับเคร่ืองแต่งกายอีกช้ัน Barend J. Terwiel (2016: 80) ให้ความเห็นว่าน่าจะหมายถึง พระยมและพระเจตคุปต์ คือพระจิตรคุปตะหรือที่ไทยเรียก “เจ้าพ่อเจตคุปต์” บริวารของพระยม ผู้รักษาทะเบียนกรรม อย่างไรก็ดี เน่ืองจากภาพดังกล่าวไม่มีอักษรก�ำกับอาจมีความเป็นไปได้ ที่บุรุษทั้ง ๒ คนจะเป็นเพียงเจ้าพนักงานหรือขุนนางแต่งกายตามบรรดาศักด์ิ ยืนรอรับกระบวน พระบรมศพกอ่ นเข้าพระเมรุ 269เสดจ็ สู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
กระบวนรูปสัตว์ยืนแท่นรับบุษบกสังเค็ดและบุษบกเพลิง ล�ำดับจากซ้ายไปขวา ได้แก่ นกอินทรี แรดชา้ ง เสือ สิงห์ สิงโต กิเลน คชสีห์ และราชสหี ์ จากซ้ายไปขวาไดแ้ กพ่ ระพชิ ัยราชรถอ่านหนังสือ พระพชิ ัยราชรถปรายข้าวตอก พระพชิ ยั ราชรถโยง พระมหาพชิ ยั ราชรถกฤษฎาธาร และรูปช้างยืนแทน่ แบกบษุ บกบนตะเฆ่ กระบวนราชรถ นบั เปน็ กระบวนสดุ วจิ ติ รอลงั การของภาพงานพระเมรสุ มเดจ็ พระเพทราชา คำ� ใหก้ ารขนุ หลวง วัดประดู่ทรงธรรม กล่าวถึงกระบวนเชิญพระโกศพระบรมศพคร้ังกรุงเก่าว่าประกอบด้วยราชรถ ถึง ๖ คัน ได้แก่ รถพระสังฆราช รถโปรยข้าวตอกดอกไม้ รถโยงพระภูษา พระมหาพิชัยราชรถ เชิญพระบรมศพ รถพระโกศจันทน์ และรถท่อนจันทน์ ทุกคัน “เทียมด้วยม้ารถละ ๔ ม้า เปน ธรรมเนียม และรถท้ัง ๗ นั้น มีบุศบกยอดมณฑปทุกรถ” ในท่ีนี้จะขอวิเคราะห์กระบวนราชรถ พระบรมศพสมเดจ็ พระเพทราชา โดยแบ่งการวเิ คราะห์ออกเป็น ๓ กลุม่ ไดแ้ ก่ ๑. พระพชิ ัยราชรถ ๒. พระมหาพิชยั ราชรถกฤษฎาธาร ๓. รูปชา้ ง ดงั น้ี 270 เสด็จสแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
๓๑ ๑. พระพิชัยราชรถ ในภาพลายเส้นประกอบด้วยพระพิชัยราชรถ ๓ คัน มีอักษรโรมัน ภาษาดัตช์ ก�ำกับใต้ภาพ ซ่ึง Barend J. Terwiel แปลความได้ว่าเป็นราชรถที่ประทับของ สมเด็จพระสังฆราช พระประยูรญาติ และพระราชโอรสของกษัตริย์ตามล�ำดับ จึงน่าจะได้แก่ พระพิชัยราชรถอ่านหนังสือ พระพิชัยราชรถปรายเข้าตอก และพระพิชัยราชรถโยง และยังคง เรียงลำ� ดับเช่นเดียวกันจนถงึ งานพระเมรุสมัยรตั นโกสนิ ทร์ (สมภพ ภิรมย์ ๒๕๒๘: ๑๑๕) พระพชิ ัย ราชรถทุกคนั มี ๒ ลอ้ รองรับบษุ บก มสี ารถแี ตง่ กายแบบเทวดาสวมมงกฎุ นัง่ พนมมือ หลายท่านคงนึกแปลกใจในความเป็นไปได้ของการใช้ราชสีห์เทียมราชรถ ซึ่งดูเป็น “แฟนซี” แบบงานจิตรกรรมไทยประเพณีมากกว่าจะเป็นเร่ืองท่ีมีจริง ความจริงแล้ว ราชสีห์นี้ 271เสดจ็ ส่แู ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
กค็ อื มา้ แตง่ แฟนซเี ทยี มพระมหาพชิ ยั ราชรถกฤษฎาธารเชญิ พระโกศพระบรมอฐั แิ ละพระพชิ ยั ราชรถ เชิญผอบพระสรีรังคาร ดังเห็นได้ในค�ำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม ท่ีกล่าวถึงกระบวนเชิญ พระโกศพระบรมศพสมเด็จพระเจ้าบรมโกศและสมเด็จพระพันวัสสาว่า “แล้วจึงเชิญพระมหาพิชัย ราชรถทั้งสองเข้ามาเทียบแล้ว จึ่งเชิญพระโกฏิทองท้ังสองนั้นข้ึนสู่พระราชรถท้ังสอง แล้วจึ่งเทียม ด้วยม้า ๔ คู่ ม้าน้ันผูกประกอบรูปราชสีห์กรวมตัวม้าลงให้งาม แล้วจ่ึงมีนายสารถีขับรถ แต่งตัว อยา่ งเทวดาขา้ งละ ๔ คน” (คำ� ใหก้ ารขนุ หลวงประดู่ทรงธรรมฯ ๒๕๕๕: ๙๒) นอกจากน้ี สัตวเ์ ทียม ราชรถในภาพสพี ระมหาพชิ ยั ราชรถกฤษฎาธารทเ่ี ชญิ พระบรมศพพระเพทราชา ยงั วาดเปน็ มา้ แทนที่ จะเป็นราชสีห์ ดังน้ัน จึงเป็นไปได้ที่กระบวนราชรถในสมัยอยุธยาจะเทียมด้วยม้าที่แต่งกายเป็น ราชสีห์ และเป็นหลักฐานท่ีช่วยสนับสนุนว่าภาพลายเส้นงานพระเมรุสมเด็จพระเพทราชาวาดขึ้น จากพ้นื ฐานข้อมลู ทม่ี อี ยูจ่ รงิ แม้จะวาดขึ้นในลักษณะของจิตรกรรมอุดมคติแบบไทยประเพณีก็ตาม ราชสหี ด์ งั กลา่ วอาจหมายถงึ พาหนะของ “พระยม” ตามคตแิ บบไทย เปน็ ตน้ วา่ ตราประจำ� ต�ำแหน่งพระยายมราช ราชสีห์เทียมราชรถในกระบวนเชิญพระโกศพระบรมศพ พระบรมอัฐิ และ พระสรรี ังคารจงึ เปรยี บได้กบั พาหนะของพระยมทีท่ ำ� หนา้ ที่เชญิ ดวงพระวญิ ญาณไปยงั สัมปรายภพ แมว้ า่ เทพเจา้ แหง่ ความตายผเู้ ปน็ ใหญแ่ หง่ ยมโลก ตามคตอิ นิ เดยี และกมั พชู าพระยมจะทรง “กระบอื ” เป็นพาหนะก็ตาม พระพชิ ัยราชรถอ่านหนงั สอื พระพชิ ัยราชรถปรายข้าวตอก พระพิชยั ราชรถโยง ๒. พระมหาพชิ ยั ราชรถกฤษฎาธาร ใตภ้ าพมอี กั ษรโรมนั ภาษาดตั ชเ์ ขยี นกำ� กบั ในทำ� นอง วา่ เปน็ ราชรถของกษตั รยิ ์ พระพชิ ยั ราชรถนมี้ ขี นาดใหญก่ วา่ ราชรถทง้ั ๓ คนั ทำ� ใหม้ ี ๔ ลอ้ ลอ้ ทงั้ หมด มแี ปรกเปน็ รปู นาคสามเศยี ร ภายในบษุ บกเปน็ ทปี่ ระดษิ ฐานพระโกศพระบรมศพสมเดจ็ พระเพทราชา ฐานพระโกศเป็นบัวเหลี่ยม องค์พระโกศเป็นลายบัวกลีบขนุนหุ้มซ้อนสลับกัน ๖ ชั้นโดยรอบ ฝาพระโกศเป็นยอดมณฑปเชิงกลอน ๓ ชั้น ส่วนพ้ืนภายในบุษบกของพระมหาพิชัยราชรถ กฤษฎาธารในภาพสลี งสแี ดงตดั กบั สขี องพระโกศพระบรมศพทลี่ งสปี ดิ ทองเหลอื งอรา่ ม ฐานพระโกศ ถูกบดบังด้วยแพงพนักลูกกรง องค์พระโกศเป็นลายบัวกลีบขนุนซ้อนสลับกัน ๔ ช้ัน ฝาพระโกศ เปน็ ทรงปรกิ 272 เสดจ็ สู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
เตยี งลาหนา้ พระมหาพชิ ยั ราชรถกฤษฎาธารมบี รุ ษุ สวมมงกฎุ ทรงเครอ่ื งตน้ นง่ั ชนั เขา่ พนม ๓๑ มือถวายบงั คมพระบรมศพ Barend J. Terwiel ให้ความเห็นว่าอาจจะไดแ้ ก่ขุนหลวงสรศกั ดห์ิ รอื สมเดจ็ พระเจา้ เสอื หวั งอนรถเปน็ รปู นาคเบอื นหา้ เศยี รแตแ่ สดงเพยี งสามเศยี รเทยี มราชสหี ท์ รงเครอื่ ง สวมกรองศอกายใหญ่ ๒ ตัว มีสารถีแต่งกายอย่างเทวดาสมมงกุฎนั่งพนมมือ เบื้องหลังสารถี มีบังแทรก ๒ คัน ท้ายพระมหาพิชัยราชรถมีเจ้าพนักงานแต่งกายอย่างเทวดาถือบังแทรก แบบเดยี วกนั ๒ คนั และฉัตร ๕ ชน้ั ๒ คนั พระมหาพชิ ยั ราชรถกฤษฎาธารเชิญพระโกศพระบรมศพสมเดจ็ พระเพทราชา มีภาพบุรษุ ทรง เครื่องต้นอาจไดแ้ กส่ มเด็จพระเจา้ เสอื ประทับชันพระชานถุ วายบงั คมพระบรมศพ จะเห็นได้ว่าภาพพระมหาพิชัยราชรถกฤษฎาธารและพระพิชัยราชรถ มีขนาดเล็กกว่า ในสมัยรัตนโกสินทร์ จนสามารถใช้ม้าลากไปได้อย่างสบายๆ และแม้จะใช้ม้าลากเช่นกัน แต่กต็ อ้ งมีเจา้ พนักงานในระหวา่ ง ๖๐ - ๑๐๐ คนช่วยกันฉุดชกั ทั้งน้เี พราะการตกแต่งดว้ ยช้นั เกรนิ ในสมัยรัตนโกสนิ ทรท์ ีม่ ีถึง ๓ ชัน้ ท�ำใหน้ ้�ำหนักของรถมีมากน่นั เอง ค�ำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม พรรณนาภาพพระโกศพระบรมศพกษัตริย์อยุธยา อย่างวิจิตรพิสดารว่า “พระบรมศพพระเจ้าแผ่นดินน้ัน พระบรมโกษฏคลุมยอดเหมบุษบกพุ่ม ทรงขา้ วบณิ ฑ์ มเี ทพนม พรหมพกั ตรพ์ ระโกษฎ จำ� ลกั ลายกดุ นั่ กาพพรหมศรกรบี บษุ บงบวรทำ� ดว้ ย ทองคำ� ลงยาราชาวดปี รดบั เนาวรตั น”์ และพระโกศพระบรมศพสมเดจ็ พระเจา้ บรมโกศวา่ “โกฏทอง ใหญ่เปน็ เฟืองกลบี จงกล ประดบั พลอยมยี อดเกา้ ยอด เชงิ นั้นมคี รุฑแลสงิ อัดทองหนกั ๒๕ ช่งั ” 273เสด็จสู่แดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
พระโกศกุด่ันใหญ่ เป็นพระโกศแปดเหล่ียมยอดมณฑป สร้างในรัชกาลที่ ๑ ราว พ.ศ.๒๓๔๒ ส�ำหรับทรงพระศพ สมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระยาเทพสุดาวดี (ที่มา: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสมมตอมรพันธ์, สมเด็จฯ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ และสมเดจ็ ฯ เจ้าฟา้ กรมพระยานริศรานวุ ัดติวงศ์ ๒๕๓๙: ๒๖) รปู ชา้ งยนื แทน่ รบั บษุ บกพรอ้ มควาญและทา้ ยชา้ งบนตะเฆ่ ไดแ้ ก่ ชา้ งแดงและชา้ งเผอื ก บรรทุกหมากและน�้ำในบษุ บกตามล�ำดับ หลังพระมหาพชิ ยั ราชรถกฤษฎาธาร 274 เสด็จส่แู ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
ถึงแมอ้ งค์พระโกศในภาพลายเส้นและในภาพสีซง่ึ มีกาบเป็นกลีบบัวห้มุ รอบจะไม่ชดั เจน ๓๑ ว่าเป็นทรงกลมหรือแปดเหลี่ยม แต่ถ้าพิจารณาจากข้อความประกอบแบบลายเส้นบุษบกบน พระเบญจาทป่ี ระดิษฐานพระโกศพระบรมศพสมเดจ็ พระรปู ฯ ภายในพระเมรทุ องว่า “ถานพระบรม โกดแปดเหลยี่ ม” (ฐานพระบรมโกศแปดเหลย่ี ม) (แน่งนอ้ ย ศกั ดศิ์ รี และคณะ ๒๕๕๕: ๙๑) ก็ท�ำให้ พอจะตัดสินได้ว่าพระโกศพระบรมศพกษัตริย์อยุธยาเป็นทรงแปดเหล่ียมยอดมณฑป ในลักษณะ เดยี วกบั พระโกศกดุ ั่นใหญ่และพระโกศกดุ น่ั น้อยทรงพระศพสมเด็จพระเจา้ พี่นางเธอทัง้ ๒ พระองค์ ในรชั กาลท่ี ๑ (เจา้ พระยาทิพากรวงศ์ ๒๕๔๘: ๑๖๗) ซงึ่ นา่ จะไดร้ ับแบบอย่างมาจากพระโกศครงั้ กรุงเก่าทีก่ ลา่ วไว้ในค�ำให้การขนุ หลวงวัดประด่ทู รงธรรม ๓. รปู ชา้ ง ทา้ ยกระบวนพระบรมศพยงั ปรากฏรปู ชา้ งทรงเครอ่ื งยนื แทน่ ฐานปทั มร์ บั บษุ บก สงั เคด็ บนตะเฆท่ ง้ั หมด ๒ เชอื ก มรี ปู หนุ่ ทรงเครอ่ื งเทวดาเปน็ ควาญถอื ของา้ วบนคอชา้ งและทา้ ยชา้ ง นงั่ รา่ ยรำ� อยู่หลังชา้ ง กำ� กับด้วยอกั ษรโรมนั ภาษาดัตชใ์ ต้ภาพ ซ่ึง Barend J. Terwiel แปลความ ไดว้ ่า “ช้างแดงรับหมาก” และ “ช้างเผอื กรับนำ�้ ” นา่ จะเป็นเครอ่ื งสงั เค็ดส�ำหรบั พระสงฆท์ ข่ี ้ึนสวด ในพระเมรแุ ละสามสรา้ ง รปู ชา้ งในลกั ษณะคลา้ ยกนั นยี้ งั ปรากฏในภาพคดั ลอกกระบวนเชญิ พระโกศ พระบรมศพพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชว่าประกอบด้วยช้างเงิน ช้างทอง ชา้ งแดง และชา้ งเขียว (สมภพ ภิรมย์ ๒๕๒๘: ๑๑๒) แต่ตา่ งกนั ตรงท่รี ปู ชา้ งในสมัยรตั นโกสินทร์ รวมอยใู่ นกระบวนรปู สตั วน์ ำ� หนา้ กระบวนราชรถ ไมไ่ ดต้ ามหลงั ราชรถเหมอื นกระบวนเชญิ พระโกศ พระบรมศพคร้งั กรงุ เก่า ปดิ ทา้ ยกระบวนด้วยเจา้ พนกั งานแตง่ กายอยา่ งเทวดาถอื ฉัตร ๕ ชั้น คติสัญลักษณ์ในงานพระเมรุสมเด็จพระเพทราชา แนวคิดท่ีถือว่ากษัตริย์และพระราชวงศ์ของพระองค์เปรียบได้กับสมมติเทพ-เทวาวตาร มาจุติบนโลกมนุษย์ เมื่อสวรรคตหรือสิ้นพระชนม์ลงก็ต้องเสด็จคืนสู่พระราชสถานะเดิมในฐานะ “อุปัตติเทพ” บนสวรรค์ช้ันดาวดึงส์ในฐานะพระอินทร์หรือบนสวรรค์ชั้นดุสิตในฐานะพระโพธิสัตว์ เพอื่ รอเวลาลงมาตรสั รเู้ ปน็ พระพทุ ธเจา้ ในอนาคต (เหมนั ต์ สนุ ทร ๒๕๕๒: ๒๐๓) สถานทถ่ี วายพระเพลงิ ของพระองคจ์ งึ เปน็ “แบบจำ� ลองของพภิ พ” ทพ่ี ระองคจ์ ะเสดจ็ คนื สดู่ นิ แดนหรอื “บท” ของพระผเู้ ปน็ เจา้ พระเมรแุ ละสงิ่ ปลกู สรา้ งบรวิ ารจงึ ออกแบบมาบนพนื้ ฐานของคตจิ กั รวาลตามทรรศนะของพราหมณ์ พทุ ธ ซง่ึ ในทน่ี จี้ ะกลา่ วถงึ คตสิ ญั ลกั ษณเ์ ฉพาะทปี่ รากฏในภาพงานพระเมรสุ มเดจ็ พระเพทราชาเพยี ง สังเขปตามล�ำดับ ไดแ้ ก่ ๑. พระเมรุ ๒. เมรทุ ิศและสามสร้าง ๓. ต้นกลั ปพฤกษแ์ ละศาลาฉอ้ ทาน ๔. ระทา โรงร�ำ และมหรสพ ๕. กระบวนรปู สตั ว์ ๖. กระบวนราชรถ ดังน้ี ๑. พระเมรุ เป็นท่ีทราบกันดีว่าการสร้างพระเมรุเป็นท่ีถวายพระเพลิงพระบรมศพคือ การจำ� ลองเขาพระสเุ มรศุ นู ยก์ ลางของจกั รวาลอนั เปน็ ทส่ี ถติ ของพระอนิ ทร์ ตามทปี่ รากฏในอรรถกถา และคัมภีร์โลกศาสตร์ นักวิชาการหลายท่านมีความเห็นตรงกันว่าการสร้างพระเมรุขนาดใหญ่ มจี �ำนวนยอด ๕ หรอื ๙ ยอด ลอ้ มรอบด้วยเมรุทิศทั้ง ๘ ทิศและสามสรา้ งเปน็ ระเบียงคด น่าจะเรมิ่ มขี น้ึ ในรชั กาลสมเดจ็ พระเจา้ ปราสาททอง โดยอนมุ านจากการสรา้ งเขาพระสเุ มรจุ ำ� ลองหนา้ พระทนี่ งั่ จักรวรรไพชยนต์ในพระราชพิธีลบจุลศักราช ๑๐๐๐ (พ.ศ.๒๑๘๑) ในรัชกาลของพระองค์ซ่ึงมี องค์ประกอบคลา้ ยคลึงกบั พระเมรแุ ละสง่ิ ปลกู สรา้ งบรวิ ารดังนี้ “ใหต้ ัง้ เขาพระเมรุราชหน้าจักรหวดั 275เสดจ็ สู่แดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชอื่ ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
วดั ไชยวฒั นาราม จ.พระนครศรอี ยธุ ยา สรา้ งเมือ่ พ.ศ. ๒๑๙๒ รัชกาลสมเดจ็ พระเจา้ ปราสาททอง (Source: Christophe Archambault 2011: Online) ไพชยนตมหาปราสาท มเี ขาไกรลาส แลเขาสตั ภณั ฑล์ อ้ มพระเมรเุ ปนชนั้ ๆ ออกมา แลว้ ใหช้ า่ งกระทำ� รปู อสูร กมุ ภณั ฑ์ คนธรรพ์ คนธพั ธานพ ฤๅษี สิทธ วทิ ชาธร กินร นาค สบุ ัณ ทั้งหลายรายเรยี ง โดยระยะเขาสัตภัณฑคีรีย แล้วให้กระท�ำรูปสมเดจ์อ�ำมรินราธิราชสถิตยอดเขาพระสุเมรุราช เปนประธาน...จง่ึ ใหท้ วชิ าจารยแ์ ตง่ กายเปน...รปู เทพยเุ จา้ ทงั งสบิ สองราษรแี วดลอ้ มสมเดจอ์ ำ� มรนิ ทรา ธิราชโดยอันดับศักติเทวราช...แลเชีงเขาสัตภัณฑ์ท้ังแปดทิศน้ัน กระท�ำรูปช้างอัฐคชยืนเปนอาทิ... แลหวา่ งชา้ งอฐั คชน้นั กว็ างอศั วราชแปดหมู”่ (สมเดจ็ พระพนรตั น์ ๒๕๕๘: ๑๙๐) คติจักรวาลท่ีถือเขาพระสุเมรุเป็นศูนย์กลางยังปรับใช้กับพระอารามที่สร้างในรัชสมัย เดียวกนั คอื วัดไชยวฒั นาราม พ.ศ.๒๑๙๒ ปรางค์ประธานของวัดเปน็ ปรางคข์ นาดใหญย่ อดเดยี ว ลอ้ มรอบดว้ ยปรางคบ์ รวิ ารขนาดเลก็ ทง้ั ๔ มมุ มเี มรทุ ศิ ทง้ั ๘ ทศิ เชอ่ื มตอ่ กนั ดว้ ยระเบยี งคด ใกลเ้ คยี ง กบั เขาพระสุเมรจุ �ำลองทพ่ี รรณนาไวใ้ นพระราชพงศาวดารขา้ งต้น ทผี่ า่ นมานกั วชิ าการมกั ใหค้ วามเหน็ วา่ ปรางคป์ ระธานเปน็ สญั ลกั ษณแ์ ทนเขาพระสเุ มรุ และ เมรทุ ิศเป็นสัญลกั ษณแ์ ทนเขาสัตตบรภิ ณั ฑ์ แตใ่ นท่นี ีเ้ หน็ วา่ เฉพาะสว่ นฐานของพระเมรหุ รอื ปรางค์ ประธานทซ่ี อ้ นชนั้ กนั ควรเปน็ สญั ลกั ษณท์ แ่ี ทนคา่ เขาพระสเุ มรแุ ละเขาสตั ตบรภิ ณั ฑร์ วมกนั เนอ่ื งจาก สอดคล้องกับเนื้อความตามคัมภีร์โลกศาสตร์หลายฉบับเป็นต้นว่าคัมภีร์อรุณวตีสูตร กล่าวถึง เขาสัตตบริภณั ฑท์ ้ัง ๗ ลกู ที่ลอ้ มรอบเขาพระสุเมรไุ ว้ตรงกลางเป็นชนั้ ๆ (กรมศลิ ปากร ๒๕๓๓: ๗๙) และยงั สอดคลอ้ งกบั บรรดารปู กนิ รแี ละและยกั ษถ์ อื กระบองทตี่ งั้ อยดู่ า้ นหนา้ ประตทู างเขา้ ราชวตั ทิ บึ ในฐานะบรรดาสงิ่ มีชวี ติ ชั้นสงู ทอี่ ย่เู ชงิ เขาพระสุเมรุ นอกจากน้ี หากฐานของพระเมรุหรือปรางค์ประธานท�ำหน้าที่เชิงสัญลักษณ์แทน เขาสัตตบริภัณฑ์ เม่ือค�ำนึงถึงหน้าที่ใช้สอยของพระเมรุว่าเป็นท่ีถวายพระเพลิงพระบรมศพและ ปรางคป์ ระธานวา่ เปน็ ทปี่ ระดษิ ฐานพระบรมสารรี กิ ธาตแุ ลว้ ตงั้ แตช่ นั้ เรอื นธาตขุ องพระเมรทุ ต่ี งั้ ของ 276 เสดจ็ สู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
พระเมรทุ องทถี่ วายพระเพลงิ พระบรมศพอนั มรี ูปทรงอย่างปราสาทยอดปรางค์เก้ายอด จงึ ควรเป็น ๓๑ สญั ลกั ษณแ์ ทนไพชยนตพ์ มิ านของพระอนิ ทรบ์ นสวรรคช์ นั้ ดาวดงึ สท์ อี่ ยบู่ นยอดสดุ ของเขาพระสเุ มรุ และยอดทง้ั หมดนา่ จะแทนยอดไพชยนตพ์ มิ านทค่ี มั ภรี โ์ ลกศาสตรเ์ ปน็ ตน้ วา่ ไตรภมู โิ ลกวนิ จิ ฉยกถา ระบวุ า่ มจี �ำนวนนบั ร้อย (พระธรรมปรีชา ๒๕๒๐: ๑๑๖) ๒. เมรทุ ศิ และสามสรา้ ง สามารถเทยี บไดก้ บั เมรทุ ศิ และระเบยี งคดของวดั ไชยวฒั นาราม โดยระเบียงคดน่าจะเป็นสัญลักษณ์แทนเขาจักรวาลที่เป็นก�ำแพงก้ันระหว่างจักรวาลแต่ละแห่ง และพืน้ ภายนอกท่อี าศยั ของพวกเปรตในโลกันตมหานรก (ชาตรี ประกิตนนทการ ๒๕๕๖: ๑๘๔- ๑๘๗) แต่ก็มีปัญหาในการตีความเหมือนกัน เพราะโดยท่ัวไปมักเชื่อว่าเมรุทิศเป็นตัวแทนของ เขาสตั ตบรภิ ณั ฑ์ ในขณะทเี่ มรทุ ศิ มที งั้ หมด ๘ ทศิ จงึ มจี ำ� นวนทไ่ี มส่ อดคลอ้ งกนั ในทน่ี มี้ คี วามเหน็ วา่ หากยึดตามคัมภีร์โลกศาสตร์เป็นต้นว่าไตรภูมิโลกวินิจฉยกถาที่กล่าวถึงสุทัสสนมหานครของ พระอนิ ทรว์ า่ “แวดลอ้ มไปดว้ ยสวุ รรณปราการกำ� แพงทองโดยรอบ...กฎู าคารพมิ านทเ่ี ปน็ ซมุ้ พระทวาร” (ชาตรี ประกติ นนทการ ๒๕๕๖: ๑๑๗) กเ็ ปน็ ไปไดท้ เี่ มรทุ ศิ ทงั้ ๘ ทศิ อาจสอื่ ความหมายถงึ ประตเู มอื ง ดงั กลา่ ว แตก่ รณนี อี้ าจอธบิ ายยากสกั หนอ่ ยกบั เมรทุ ศิ ทงั้ ๘ ทศิ และระเบยี งคดของวดั ไชยวฒั นาราม ซ่ึงปรางคป์ ระธานเปน็ สญั ลักษณข์ องเจดยี ์จฬุ ามณีไมใ่ ช่ไพชยนต์พิมานของพระอินทร์ หากคติจักรวาลในคมั ภรี ์โลกศาสตรย์ งั ไม่อาจอธบิ ายจ�ำนวนของเมรทุ ิศทง้ั ๘ ทศิ ได้อยา่ ง ลงตวั กย็ งั เหลอื คมั ภรี ป์ ระเภทโหราศาสตรอ์ ยา่ งเรอ่ื งเฉลมิ ไตรภพ (พระยาราชภกั ดี ๒๕๔๕: ๑๔-๒๑) กล่าวถึงการสร้างจักรวาลและเขาพระสุเมรรุ าชโดยพระอิศวร พระอมุ า พระธาดา (พระพรหม) และ พระนารายณแ์ ลว้ พระอศิ วรจงึ ทรงสรา้ งวมิ านนพเคราะห์ ๙ วมิ านและทรงสรา้ งเทพยดานพเคราะห์ ทงั้ ๙ องคใ์ หท้ รงโคจรตามจกั รราศแี ละสถติ ตามเหลย่ี มใหญป่ ระจำ� ทศิ ทงั้ ๘ ทศิ รอบเขาพระสเุ มรรุ าช อันได้แก่ พระอาทิตย์ประจ�ำทิศตะวันออกเฉียงเหนือ พระจันทร์ประจ�ำทิศตะวันออก พระอังคาร ประจำ� ทศิ ตะวนั ออกเฉยี งใต้ พระพธุ ประจำ� ทศิ ใต้ พระเสารป์ ระจำ� ทศิ ตะวนั ตกเฉยี งใต้ พระพฤหสั บดี ประจำ� ทศิ ตะวนั ตก พระราหปู ระจำ� ทศิ ตะวนั ตกเฉยี งเหนอื พระศกุ รป์ ระจำ� ทศิ อดุ ร และพระเกตปุ ระจำ� ทศิ กลาง (หลวงวศิ าลดรณุ กร ๒๕๔๐: ๒๘๓-๒๘๕) เมรทุ ศิ ทงั้ ๘ ทศิ จงึ อาจเปน็ สญั ลกั ษณแ์ ทนวมิ าน ของเทพประจ�ำทิศทั้ง ๘ องค์อันสถิตตามเหล่ียมเขาพระสุเมรุท้ัง ๘ ทิศ เพื่อช่วยส่งเสริมและ ย�้ำใหเ้ หน็ ว่าปรางค์ประธานหรือพระเมรเุ ปน็ สญั ลกั ษณแ์ ทนเขาพระสเุ มรุ ๓. ต้นกัลปพฤกษ์และศาลาฉ้อทาน ต้นกัลปพฤกษ์เป็นไม้สารพัดนึกท่ีผู้ใดอยากได้ เครอื่ งอปุ โภคบรโิ ภคนานาบรรดามกี ส็ ามารถไปสอยลงมาไดต้ ามชอบใจ ตามคตจิ กั รวาล กลั ปพฤกษ์ ถือเป็นไมอ้ นั เกิดขึน้ พรอ้ มกัลป์ เปน็ ไม้ประจ�ำอุตตรกุรทุ วปี “สงู ๑๐๐ โยชน มีกง่ิ ๔ กงิ่ ๆ แลอนั ยาว ๕๐๐ โยชน บรมิ ณฑลได้ ๑๐๐ โยชน” (กรมศลิ ปากร ๒๕๕๔: ๘๓) ท�ำใหม้ นุษย์ในทวีปนไ้ี มต่ ้อง ดนิ้ รนหาปจั จยั ส่ี เพราะ “คนทไี่ มป่ รารถนาเพอ่ื จะหงุ กพ็ ากนั บรโิ ภคทต่ี น้ กลั ปพฤกษ์ ทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ ง เครอ่ื งประดบั มเี ครอื่ งทอง เปน็ ตน้ ภตั ตาหาร เสนาสนะผา้ และอลงั การ แมท้ งั้ เครอื่ งอปุ กรณท์ กุ อยา่ ง ล้วนส�ำเร็จรูป มีอยู่พร้อมเพรียงท่ีต้นกัลปพฤกษ์ท้ังน้ัน” (พระสังฆราชเมธังกร ๒๕๔๙: ๑๔๐) บนสวรรค์ช้ันดาวดึงส์ต้นกัลปพฤกษ์มีมากจนเป็นราวป่าข้างสุทัสสมหานคร ท้ังต้นท่ีเป็นทอง เงิน แกว้ ผลกึ แก้วไพฑรู ย์ แกว้ ลาย แก้วแดง หรือกระท่ังแกว้ ๗ ประการ ทุกต้น “บริบูรณด์ ้วยทพิ ยวัต ถาภรณ์อลังการ...ทุกส่ิงสารพัดมีพร้อม ปรารถนาส่ิงไร ก็ได้ส่ิงน้ันส�ำเร็จมโนรถความปรารถนา 277เสดจ็ ส่แู ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชือ่ ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
ทั้งทิพยโภชนาสุธาหารก็มีพร้อม” (พระยาธรรมปรีชา ๒๕๒๐: ๑๒๐-๑๒๑) ท�ำให้การประดับ ตน้ กลั ปพฤกษก์ ลายเปน็ สญั ลกั ษณท์ ช่ี ว่ ยสง่ เสรมิ ใหพ้ ระเมรแุ ละปรมิ ณฑลเปน็ ดง่ั สวรรคช์ นั้ ดาวดงึ ส์ นอกจากน้ี ต้นกัลปพฤกษ์ยังเป็นไม้ประจ�ำส่ีมุมเมืองเกตุมดีมหานคร เม่ือพระศรีอาริยเมตไตรย มาตรัสรอู้ กี ด้วย (กรมศลิ ปากร ๒๕๕๔: ๕๙) ผลบญุ แหง่ การตง้ั ตน้ กลั ปพฤกษไ์ ดร้ บั การกลา่ วถงึ ในพระสตุ ตนั ตปฎิ ก ขทุ ทกนกิ าย อปทาน ภาค ๑ กัปปรุกขิยเถราปทานท่ี ๑๐ และอรรถกถากัปปรุกขิยเถราปทาน (หมวดธรรมะ ๒๕๔๘) วา่ ด้วยผลแห่งการตงั้ ต้นกัลปพฤกษบ์ ชู า กล่าวถงึ พระกัปปรกุ ขิยเถระผู้กำ� เนิดจากตระกูลดไี ด้สร้าง ตน้ กลั ปพฤกษท์ องและแกว้ ๗ ประการบชู าหนา้ พระเจดยี ข์ องพระพทุ ธเจา้ สทิ ธตั ถะ ผลบญุ ดงั กลา่ ว ท�ำใหไ้ ม่ตกในอบายภูมิ เกิดในตระกลู ดี กระท่ังไดฟ้ งั ธรรมจากพระพทุ ธเจ้าโคตมะจนบรรลุอรหนั ต์ ส�ำหรับศาลาฉ้อทานน่าจะมาจากโรงทาน ๖ แห่งท่ีกล่าวถึงในอรรถกถาเวสสันดรชาดก ตอน หมิ วนั ตวรรณนา กลา่ วถงึ พระนางผสุ ดขี ณะทรงพระครรภพ์ ระเวสสนั ดร พระโพธสิ ตั วด์ ลพระทยั ใหท้ รงตงั้ โรงทาน ๖ แหง่ รอบพระนคร (หมวดธรรมะ ๒๕๔๘) อยา่ งไรกด็ ี จำ� นวนศาลาฉอ้ ทานในภาพ งานพระเมรกุ ลบั มอี ย่ถู ึง ๘ แหง่ อาจเปน็ ไปไดว้ า่ จำ� นวน ๘ ดงั กล่าวอาจต้องการสือ่ ความหมาย เชงิ สญั ลกั ษณ์ถึงการท�ำทานทงั้ ๘ ทิศไปพร้อมกันดว้ ย ดงั ปรากฏในพระราชพงศาวดารท่กี ล่าวถงึ การทง้ิ ทาน ๘ ทิศ ดงั นนั้ ท้ังตน้ กัลปพฤกษ์และศาลาฉอ้ ทานนบั เปน็ ความชาญฉลาดของผู้คดิ คน้ ท่ีน�ำคติสัญลักษณ์ในคัมภีร์โลกศาสตร์ผนวกกับการท�ำทานในพุทธศาสนาจากเวสสันดรชาดก เข้าด้วยกนั ๔. ระทา โรงรำ� และมหรสพ ดเู หมอื นวา่ ทงั้ ๓ สงิ่ นจ้ี ะไมม่ อี ะไรมากไปกวา่ การสรา้ งความ บันเทิงเพื่อการเฉลิมฉลองในวาระที่สมมติเทพกลับคืนสู่สรวงสวรรค์ ตามความนิยมของงานศพใน อุษาคเนย์ท่ีมิใช่งานไว้ทุกข์แต่เป็นงานรื่นเริง พระราชพงศาวดารฉบับสมเด็จพระพนรัตน์ วดั พระเชตพุ นกลา่ วถงึ การจดุ ระทาดอกไมเ้ พลงิ ในงานพระเมรสุ มเดจ็ พระเพทราชาวา่ เปน็ การถวาย บชู าพระบรมศพ (สมเดจ็ พระพนรัตน์ ๒๕๕๘: ๑๗๘) นา่ สงั เกตท่ที รวดทรงของระทาดอกไมเ้ พลงิ มีลักษณะเป็นหอสูงต้ังบุษบกบนยอด ดูใกล้เคียงมากกับภาพเขาสัตตบริภัณฑ์และเขาจักรวาฬ ที่เป็นรูปแท่งและตอนบนเป็นท่ีต้ังของวิมานเทพยดา หากเป็นเช่นน้ันจริงระทาก็ยังอาจสื่อ ความหมายเชิงสัญลักษณ์ถึงการแสดงความยินดีของเหล่าทวยเทพที่สถิตตามวิมานบนยอดเขา สัตตบรภิ ณั ฑ์หรอื เขาบรวิ ารก็เปน็ ได้ ๕. กระบวนรูปสัตว์ สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ทรงต้ังข้อสังเกตว่า “เดิมท�ำแต่พอจ�ำนวนเจ้านายอุ้มขี่ผ้าไตรไปในกระบวนแห่ ต้ังแต่เปล่ียนเป็นท�ำบุษบกวางไตร บนหลังรูปสัตว์ จึงเพ่ิมจ�ำนวนสัตว์ข้ึน...แล้วมาปรุงข้ึนส�ำหรับงานพระเมรุ...ต�ำราสัตว์หิมพานต์ ก็เห็นมีต�ำราท�ำส�ำหรับการพระเมรุเท่านั้น ต�ำราตัวจริงไม่เห็นมี” (สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยา นรศิ รานวุ ดั ตวิ งศ์ และ สมเดจ็ ฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ, ๒๕๐๕: ๑๓๕–๑๓๗) รูปสตั ว์เหล่าน้ี เมอื่ แหแ่ หนในกระบวนแลว้ จะไดเ้ ชญิ เขา้ ไปจอดยงั โรงรปู สตั วท์ อ่ี ยรู่ ายรอบสามสรา้ ง ทำ� ใหเ้ ชอื่ กนั วา่ เป็นองค์ประกอบแทนบรรดาสัตว์จัตุบาท ทวิบาท และสกุณชาติ ท่ีอาศัยตามเชิงและเหล่ียมเขา พระสเุ มรุ ช่วยสง่ เสริมใหพ้ ระเมรุและสงิ่ ปลกู สรา้ งเปน็ แบบจำ� ลองของเขาพระสเุ มรุ 278 เสดจ็ สแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชอื่ ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
๓๑ รปู นกอินทรยี ืนแทน่ รบั บุษบกสงั เค็ดบนตะเฆ่ รปู แรดช้างยืนแทน่ รบั บุษบกเพลงิ บนตะเฆ่ ในกระบวนรูปสตั ว์ ในกระบวนรปู สัตว์ นอกจากน้ี รปู สตั วบ์ างตวั ยงั มคี วามหมายเชงิ สญั ลกั ษณท์ เี่ กยี่ วขอ้ งกบั เรอ่ื งอนั เกยี่ วขอ้ งกบั ความตาย เปน็ ตน้ วา่ รปู นกอนิ ทรแี ละรปู แรดชา้ งในภาพงานพระบรมศพสมเดจ็ พระเพทราชาซง่ึ นำ� หนา้ รปู สตั วท์ ง้ั หมด นกอนิ ทรใี นสมดุ ภาพกระบวนเชญิ พระโกศพระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราชได้รับการระบุว่าเป็นรูปนกหัสดีลิ งิ ค์ (สมภพ ภริ มย์ ๒๕๒๘: ๑๑๒) ซงึ่ สมเด็จฯ เจา้ ฟ้ากรมพระยานรศิ รานุวดั ติวงศ์ทรงอธิบายว่า “รปู นกหัสดนิ กม็ แี ต่หัวไมม่ งี วงไมม่ งี า เป็นอยา่ งนก อนิ ทรีเท่านน้ั ” (สมเดจ็ ฯ เจา้ ฟา้ กรมพระยานรศิ รานุวัดติวงศ์ และสมเด็จฯ กรมพระยาดำ� รงราชานุ ภาพ, ๒๕๐๕: ๑๓๕–๑๓๗) ขณะทพี่ ระยาอนุมานราชธนอธบิ ายการท�ำศพของชาวอตุ ตกุรุทวปี ตาม คัมภรี ์โลกศาสตรซ์ งึ่ จะนำ� ผา้ หอ่ ศพไปไวก้ ลางแจง้ แลว้ ให้ “นกใหญ”่ เปน็ ตน้ วา่ นกอนิ ทรี นกหสั ดลีิ งิ ค์ หรอื นกกดบนิ โฉบลงมาคาบศพไป (ส.พลายน้อย ๒๕๓๐: ๓๓-๓๗) แสดงถึงการใชน้ กใหญเ่ ป็นส่ือ ในการเปลยี่ นผา่ นจากภพนีไ้ ปยังภพหนา้ (เหมันต์ สุนทร ๒๕๕๒: ๓๒) ตามประเพณดี ึกด�ำบรรพท์ ี่ “ปลงศพดว้ ยนก” ใหพ้ าขวญั และวิญญาณขนึ้ ฟ้า (สวรรค์) ดังปรากฏลายเสน้ รปู นกบนหน้ากลอง มโหระทึกสมัยก่อนประวตั ศิ าสตร์ ซงึ่ แมจ้ ะเปลย่ี นคตมิ าเปน็ การปลงศพดว้ ยการเผาแบบอนิ เดยี กย็ งั คงรกั ษารอ่ งรอยดง้ั เดมิ ไว้ (สจุ ิตต์ วงษ์เทศ ๒๕๕๙) ในรูปของนกอินทรีหรอื นกหสั ดีลิ ิงค์ในกระบวน รูปสัตวง์ านพระเมรุ ในขณะทร่ี ปู แรดหรอื ระมาดเปน็ พาหนะของพระอคั นเี ทพเจา้ แหง่ ไฟตามคตกิ มั พชู า ดงั ปรากฏ ภาพสลกั บนผนงั ระเบยี งคดปราสาทนครวดั ดา้ นทศิ เหนอื (Maxwell and Poncar 2006: 53) ทวา่ ใน อินเดยี พระอัคนีจะทรงแพะเปน็ พาหนะ นัยว่าเป็นการเชิญพระอัคนีเทพเจ้าแหง่ ไฟไปยงั พระเมรุ ๖. กระบวนราชรถ รปู พญานาคสามเศยี รของพระมหาพชิ ยั ราชรถกฤษฎาธารและพระพชิ ยั ราชรถในภาพลายเสน้ แสดงคตนิ ยิ มทมี่ าบรรจบกนั ๒ คติ กลา่ วคอื คตนิ ยิ มพนื้ เมอื งในเอเชยี ตะวนั ออก เฉียงใต้ท่ีเช่ือว่านาคเป็นพาหนะน�ำวิญญาณผู้ตายไปสู่ปรโลก ดังข้อสังเกตของสุจิตต์ วงษ์เทศ ถงึ การใชเ้ รอื นาคเปน็ พาหนะเชญิ วญิ ญาณผตู้ ายในพธิ ปี ลงศพ ตอ่ มาเมอื่ เปลยี่ นมาเปน็ ราชประเพณี ถวายพระเพลิงทีพ่ ระเมรกุ ย็ งั คงรปู พญานาคไวเ้ ปน็ หัวและหางของราชรถเชน่ เดิม (สจุ ติ ต์ วงษเ์ ทศ ๒๕๕๑) สอดคล้องกับรูปทรงของราชรถทั้งในสมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร์ซ่ึงเกรินท่ีหัวและท้าย ให้แอน่ โคง้ ดูเหมือนล�ำเรือ 279เสด็จสแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
อกี คตนิ ยิ มหนง่ึ เปน็ คตนิ ยิ มทมี่ าจากอนิ เดยี เปรยี บพญานาคเปน็ รงุ้ กนิ นำ้� สญั ลกั ษณข์ องหนทาง หรอื สะพานเชอื่ มระหวา่ งโลกกบั สวรรค์ ดงั ตอนพระพทุ ธเจา้ เสดจ็ ลงจากดาวดงึ ส์ พญานาค ๒ ตน ไดใ้ ช้ หลงั หนุนบนั ได ๓ แนวทีเ่ สดจ็ ลงมา ซง่ึ มนษุ ยบ์ นโลกจะมองเห็นเป็นรงุ้ กนิ นำ�้ ๓ สาย รุ้งกินน�้ำหรือ นาคจึงมีความหมายเชิงสัญลักษณ์เป็นด่ังสะพานที่เช่ือมฝั่งสวรรค์กับฝั่งโลกอันทอดข้ามแม่น�้ำหรือ มหาสมุทรของอนั ตรภพ (แดนกลาง) ล�ำตวั ของนาคที่ทอดไปตามแปรกของราชรถซง่ึ เปรียบไดก้ ับ สะพานรงุ้ กนิ นำ�้ จงึ เปน็ เสมอื นหนทางทเี่ ชอ่ื มดนิ แดนสองฝง่ั คอื ฝง่ั สงั สารวฏั ดนิ แดนแหง่ การเวยี นวา่ ย ตายเกดิ กบั ฝง่ั นพิ พานดนิ แดนแหง่ ความเปน็ อมตะเขา้ ดว้ ยกนั (เอเดรยี น สนอดกราส ๒๕๕๑: ๓๓๘-๓๓๙) สรปุ ความ ภาพพระเมรแุ ละกระบวนเชญิ พระโกศพระบรมศพสมเดจ็ พระเพทราชามคี วามใกลเ้ คยี งกบั พระเมรใุ หญห่ รอื พระเมรเุ อกทส่ี รา้ งสมยั ตน้ รตั นโกสนิ ทร์ ซง่ึ แสดงถงึ ความสบื เนอื่ งและการถา่ ยทอด ท้ังรูปแบบและคติสัญลักษณ์จากคร้ังกรุงเก่า ประกอบไปด้วยพระเมรุยอดปรางค์ ๙ ยอด ท่ีต้ัง ของพระเมรุทองซ่ึงส่ือความหมายถึงวิมานไพชยนต์บนเขาพระสุเมรุ พร้อมด้วยเมรุทิศท้ัง ๘ ทิศ เชอ่ื มตอ่ กนั ดว้ ยสามสรา้ งในรปู ของระเบยี งคด สญั ลกั ษณแ์ ทนวมิ านของเทพอฐั เคราะหท์ งั้ ๘ ทสี่ ถติ ตามเหลยี่ มทงั้ ๘ ทศิ รอบเขาพระสเุ มรแุ ละกำ� แพงจกั รวาล ทง้ั หมดนเี้ พอื่ ยำ�้ ความหมายและความเปน็ ศูนยก์ ลางวา่ พระเมรุเปรียบได้กับเขาพระสุเมรุทีส่ ถติ ของทวยเทพบนสวรรค์ สง่ิ ปลกู สรา้ งตา่ งๆ ทง้ั โรงสงั เคด็ โรงรำ� ระทา และพมุ่ ดอกไมเ้ พลงิ ทต่ี ง้ั ตามรายทางกระบวน เชญิ พระบรมศพ เหลา่ นม้ี ีความหมายเชิงสญั ลกั ษณท์ ี่เก่ียวข้องกบั คติจกั รวาลและการบ�ำเพ็ญบารมี ในพุทธศาสนา ต้นกัลปพฤกษ์และโรงทานสะท้อนถึงการบ�ำเพ็ญพระราชกุศลและทศพิธราชธรรม ของกษตั รยิ ท์ งั้ ในฐานะทท่ี รงเปน็ สมมตเิ ทพและการสง่ั สมพระบารมี เพอ่ื รอการตรสั รเู้ ปน็ พระพทุ ธเจา้ ในอนาคต สว่ นระทา โรงรำ� และกายกรรมประเภทหกสงู -ญวนหก นอกจากจะเปน็ สญั ลกั ษณท์ แ่ี ทน วิมานของเทพเจา้ บนเขาสัตตบริภณั ฑท์ ้งั ๗ ลกู แล้ว ยงั สือ่ ความหมายถึงความรน่ื เรงิ บนสวรรค์อนั เปน็ ท่ีสถิตของทวยเทพ คตสิ ญั ลกั ษณใ์ นการสร้างพระเมรแุ ละส่งิ ปลูกสร้างประกอบยังเป็นการแสดงความสมั พันธ์ ระหว่างจลุ จกั รวาลกบั มหาจกั รวาลของมนุษยโลกกับเทวโลก ด้วยการจ�ำลองจักรวาลไว้บนพื้นโลก ใหเ้ กดิ ความสอดคลอ้ งกลมกลนื ระหวา่ งโลกทงั้ สองอยา่ งแนบแนน่ การออกแบบพระเมรแุ ละสง่ิ ปลกู สร้างนอกจากจะสอดคล้องกับคติจักรวาลแล้ว ยังเป็นเคร่ืองแสดงพระเกียรติยศและแสดงภาวะ สุดท้ายแห่งการเป็นสมมติเทพ ทั้งยังเป็นการพิสูจน์พระบุญญาบารมีที่ทรงส่ังสมมาตลอดจน กอ่ ใหเ้ กดิ การรงั สรรคพ์ ระเมรุและสง่ิ ปลกู สรา้ ง ส�ำเรจ็ เปน็ จุลจกั รวาลบนพิภพมนุษย์ทส่ี อดคล้องกับ มหาจักรวาลของพระผู้เป็นเจ้าให้เป็นท่ีประจักษ์และยอมรับแก่ทวยเทพ เพื่อที่พระองค์จะสามารถ บรรลุคนื สดู่ ินแดน (บท) แห่งพระผเู้ ป็นเจา้ ได้อยา่ งสมบูรณ์ คำ� ขอบคุณ ผู้เขียนขอขอบคุณ คุณสุชาติ สินธวารยัน ช่วยจัดหาวารสาร Journal of the Siam Society คณุ ทศพร นนั ต๊ะ สำ� หรบั ความช่วยเหลอื ในการสแกนภาพประกอบบทความ 280 เสดจ็ สู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
รายการอ้างอิง ๓๑ กรมศิลปากร. ๒๕๓๓. โลกุปปัตติ อรณุ วดสี ูตร ปฐมมลู ปฐมกัป และมูลตันไตรย. กรุงเทพฯ: หอสมุดแหง่ ชาติ. เกรียงไกร เกิดศิริ และคณะ. ๒๕๕๒. งานพระเมรุ: ศิลปะสถาปัตยกรรม ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เกย่ี วเนอื่ ง. บรรณาธิการโดยเกรยี งไกร เกิดศริ .ิ กรุงเทพฯ: กระทรวงวัฒนธรรม. ขนุ ประสทิ ธจิ ติ รกรรม (อยู่ ทรงพนั ธ)์ุ . ๒๕๔๔. กระบวนพยหุ ยาตราสถลมารค สมยั สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช. พิมพ์ครง้ั ที่ ๒. กรงุ เทพฯ: หอสมดุ แห่งชาติ กรมศิลปากร. ค�ำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม เอกสารจากหอหลวง. ๒๕๕๕. พิมพ์คร้ังที่ ๒. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์ มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช. เจา้ พระยาทิพากรวงศฯ์ . ๒๕๓๙. พระราชพงศาวดารกรุงรตั นโกสนิ ทร์รชั กาลท่ี ๑ ฉบับเจา้ พระยาทิพากรวงศ์ ฉบับตัวเขียน. ประชุมพงศาวดารฉบับราษฎร์ ภาคที่ ๑. นฤมล ธีรวัฒน์ ผู้ช�ำระต้นฉบับ. นิธิ เอียวศรวี งศ์ บรรณาธกิ าร. กรงุ เทพฯ: อมรนิ ทร์วิชาการ. เจ้าพระยาทพิ ากรวงศ์ฯ. ๒๕๔๘. พระราชพงศาวดารกรงุ รัตนโกสนิ ทร์รัชกาลท่ี ๒ ฉบบั เจา้ พระยาทพิ ากรวงศ์ ฉบบั ตัวเขยี น. นฤมล ธีรวัฒน์ ผู้ช�ำระตน้ ฉบบั . นธิ ิ เอียวศรวี งศ์ บรรณาธกิ าร. กรงุ เทพฯ: อมรินทร.์ ชาตรี ประกติ นนทการ. ๒๕๕๖. คตสิ ญั ลกั ษณแ์ ละการออกแบบวดั อรณุ ราชวราราม. กรงุ เทพฯ: บานานา่ สตดู โิ อ. เดอ ลา ลแู บร.์ ๒๕๔๘. จดหมายเหตุ ลา ลูแบร์ ราชอาณาจักรสยาม. แปลโดย สนั ท. โกมลบุตร. พมิ พ์คร้ัง ท่ี ๒. กรงุ เทพฯ: ศรีปญั ญา. ไตรภมู ิ เอกสารจากหอสมดุ แหง่ ชาตกิ รงุ ปารสี . ๒๕๕๔. ปรวิ รรตโดย บญุ เตอื น ศรวี รพจน.์ กรงุ เทพฯ: กรมศลิ ปากร. ธวัชชยั ตัง้ ศิรวิ านชิ . ๒๕๔๙. กรงุ ศรอี ยุธยาในแผนทีฝ่ ร่ัง. กรุงเทพฯ: มติชน. นโิ กลาส์ แชรแวส. ๒๕๐๖. ประวตั ศิ าสตรธ์ รรมชาตแิ ละการเมืองแหง่ ราชอาณาจักรสยาม. แปลโดย สนั ต์ ท. โกมลบุตร. พระนคร: ก้าวหนา้ . แนง่ นอ้ ย ศกั ดศิ์ รมี ม.ร.ว และคณะ. ๒๕๕๕. สถาปตั ยกรรมพระเมรใุ นสยาม. เลม่ ๒. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พก์ รงุ เทพ. ประชุมจดหมายเหตสุ มัยอยธุ ยา ภาค ๑. ๒๕๑๐. พระนคร: คณะกรรมการจดั พมิ พเ์ อกสารทางประวัตศิ าสตร์ วฒั นธรรม และโบราณคดี ส�ำนักนายกรัฐมนตร.ี ประทีป เพ็งตะโก. ๒๕๓๗. วดั ไชยวฒั นาราม. กรงุ เทพฯ: กรมศลิ ปากร. พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอสมมตอมรพนั ธ,์ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอกรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ, และสมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. ๒๕๓๙. ต�ำนานพระโกศและหีบศพบรรดาศักดิ์. กรุงเทพฯ: ส�ำนกั พระราชวงั . พระยาราชภักดี (ช้าง). ๒๕๔๕. เฉลิมไตรภพ. กรุงเทพฯ: โครงการเลือกสรรหนังสือ มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธริ าช. พระสังฆราชเมธังกร. ๒๕๔๙. โลกทีปกสาร. กรุงเทพฯ: ส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ กรมศลิ ปากร. พิรยิ ะ ไกรฤกษ์. ๒๕๕๕. รากเหง้าแหง่ ศิลปะไทย. กรุงเทพฯ: ริเวอร์ บุ๊คส์. สมเด็จพระพนรัตน์. ๒๕๕๘. พระราชพงศาวดารฉบับสมเด็จพระพนรัตน์ วัดพระเชตุพน. ศานติ ภักดีค�ำ ผชู้ �ำระต้นฉบับ. กรุงเทพฯ: มูลนธิ ิ “ทนุ พระพุทธยอดฟ้า” ในพระบรมราชูปถมั ภ.์ สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานวุ ัดตวิ งศ์ และ สมเดจ็ ฯ กรมพระยาด�ำรงราชานภุ าพ. ๒๕๐๕. สาส์นสมเดจ็ เล่ม ๒๐ พระนคร: องค์การค้าของคุรุสภา. สมภพ ภิรมย์. ๒๕๒๘. พระเมรุมาศ พระเมรุ และเมรุ สมยั กรงุ รัตนโกสินทร.์ กรุงเทพฯ: อมรนิ ทร์การพมิ พ.์ สำ� นกั งานศลิ ปวฒั นธรรมรว่ มสมยั กระทรวงวัฒนธรรม. ๒๕๕๕. “โครงการประมลู ผลงานศลิ ปะ ‘ศลิ ปินไทย รวมใจฟื้นฟูโบราณสถาน’.” Available at: http://www.lib.su.ac.th/ArtNowAndThen/tha/ news-2012/2012-artist/ex.html (สบื คน้ เมอ่ื ๕ ม.ค. ๒๕๕๙). 281เสดจ็ ส่แู ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชอื่ ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
สจุ ติ ต์ วงษเ์ ทศ. ๒๕๕๑. พระเมรทุ ำ� ไม ? มาจากไหน. พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๒. กรงุ เทพฯ: กองทนุ เผยแพรค่ วามรสู้ สู่ าธารณะ. สจุ ิตต์ วงษเ์ ทศ. ๒๕๕๙. “ปีพ่ าทยน์ างหงส์ สง่ ขึน้ ฟ้าเสวยสวรรค.์ ” มติชนออนไลน์. Available at: http:// www.matichon.co.th/news/331109 (สบื ค้นเมอื่ ๒๐ มี.ค. ๒๕๖๐). สจุ ติ ต์ วงษเ์ ทศ. ๒๕๖๐. “งานพระเมรุ ยคุ อยธุ ยา อยลู่ านพระเมรหุ นา้ วหิ ารพระมงคลบพติ ร.” มตชิ นออนไลน.์ http://www.matichon.co.th/news/447797 (สบื ค้นเม่อื ๒๐ มีนาคม ๒๕๖๐). สุวัฒน์ แซ่ด่ัน. ๒๕๕๗. “ข้อคิดเห็นบางประการเกี่ยวกับระเบียงคด: ถอดความจากภาพสีน�้ำอยุธยาของ โยฮันเนส วิงโบนส.์ ” เมืองโบราณ, ๔๐ (เม.ย. – มิ.ย.): ๑๒๗ - ๑๓๙. หมวดธรรมะ. ๒๕๔๘. “อรรถกถากปั ปรกุ ขยิ เถราปทาน.” Available at: http://www.84000.org/tipitaka/ attha/attha.php?b=32&i=42 (สบื ค้นเมื่อ ๒๐ มี.ค. ๒๕๖๐). หมวดธรรมะ. ๒๕๔๘. “อรรถกถามหาเวสสันดรชาดกวา่ ด้วยพระเวสสันดรทรงบ�ำเพญ็ ทานบารมี.” http:// www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=28.0&i=1045&p=2 (สบื คน้ เมอื่ ๒๐ ม.ี ค. ๒๕๖๐). หลวงวิศาลดรุณกร (อั้น สาริกบุตร). ๒๕๔๐. คัมภีร์โหราศาสตร์ไทยมาตรฐาน ฉบับสมบูรณ์. พิมพ์คร้ัง ท่ี ๒. กรุงเทพฯ: อนิ เตอร์พรน้ิ ท.์ เหมันต์ สนุ ทร. ๒๕๕๒. “ปราสาทนกหัสดลี ิงคแ์ หง่ แผ่นดินล้านนา,” ใน งานพระเมรุ: ศิลปะสถาปตั ยกรรม ประวตั ศิ าสตร์ และวฒั นธรรมเกย่ี วเนอื่ ง, บรรณาธกิ ารโดยเกรยี งไกร เกดิ ศริ .ิ กรงุ เทพฯ: กระทรวง วัฒนธรรม. เอเดรียน สนอดกราส. ๒๕๔๑. สัญลักษณแ์ หง่ พระสถูป. บรรณาธกิ ารโดย ภัทรพร สริ กิ าญจน ธรรมเกยี รติ กันอริ และ Benedict Anderson. พิมพ์ครง้ั ท่ี ๒. กรุงเทพฯ: อมรินทร์วิชาการ. Appleton, Naomi Shaw, Sarah and Unebe, Tosiya. 2013. Illuminating the Life of the Buddha: An Illustrated Chanting Book from Eighteenth-Century Siam. Hong Kong: Bodleian Library, University of Oxford. Archambault, Christophe. 2011. “Flooded Chaiwattanaram Temple, a UNESCO World Heritage site, in the ancient Thai capital of Ayutthaya, north of Bangkok on October 11, 2011.” https://www.theatlantic.com/photo/2011/10/worst-flooding-in-decades-swamps-thai land/100168/#img15. (Access: 15 January 2017). Bautze, Joachim K. 2016. Unseen Siam Early Photography 1860 - 1910. Bangkok: River Books. Kaempfer, Engelbert. 2001. Heutiges Japan: Engelbert Kaempfer, Werke: Kritische Ausgabe in Einzelbänden 1/1. Hrsg von Wolfgang Michel und B J Terwiel. München: Iudicium Verlag. Maxwell, Thomas S. and Poncar, Jaroslav. 2006. Of God, King, and Men: The Reliefs of Angkor Wat. Chiang Mai: Silkworm Books. National Archives of the Netherlands. 2010. “Afbeldinge der stadt Iudiad hooft des choonincrick Siam” Plattegrond in opstand van Iudiad/Ayutthaya, Thailand.” http://www. gahetna.nl/en/collectie/afbeeldingen/kaartencollectie/zoeken/weergave/detail/tstart/0/f/ web_theme_id/a7b6ac30-5178-11e0-8873-0030489e184c/start/60 (Access: 25 March 2017). Terwiel, Barend J. 2016. “Two Scrolls Depicting Phra Petracha’s Funeral Procession in 1704 and the Riddle of their Creation.” Journal of the Siam Society (Vol.14): 79 - 94. 282 เสดจ็ สูแ่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชอื่ ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
ธรรมเนยี มสรา้ งวัดบนทถ่ี วายพระเพลิงพระบรมศพ ๔๑ ในสมยั อยธุ ยา เร่อื งจรงิ หรอื เรอื่ งแตง่ ?๑ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ประภสั สร์ ชูวเิ ชยี ร ภาควิชาประวตั ศิ าสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร บทนำ� ในเอกสารประเภทพระราชพงศาวดารและคำ� ใหก้ ารทบ่ี อกเลา่ เรอื่ งราวของพระมหากษตั รยิ ์ และเจ้านายในสมัยอยุธยาน้ัน ได้กล่าวถึงเหตุการณ์ที่มีรูปแบบคล้ายคลึงกันอย่างหนึ่ง คือการสร้างวัดวาอารามบนพ้ืนที่ ท่ีเคยเป็นสถานท่ีถวายพระเพลิงพระบรมศพหรือพระศพ ของเจ้านาย ซึ่งปกติมักถูกกล่าวอย่างรวบรัดเป็นเรื่องเดียวกันกับการถวายพระเพลิงพระบรมศพ/ พระศพ อย่างไรก็ตาม ถึงแมว้ ่าจะปรากฏข้อมูลขา้ งตน้ อยู่กต็ าม แตย่ งั ไม่ได้มกี ารศึกษาวเิ คราะห์ หลักฐานทางโบราณคดีและศิลปกรรม ซ่ึงเป็นข้อมูลเชิงประจักษ์สามารถยืนยันว่าธรรมเนียม ดังกล่าวน้ันมีขึ้นจริงหรือไม่ สภาวะทางด้านองค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์ในปัจจุบันส่วนใหญ่ จึงโน้มเอียงไปในทางท่ีเช่ือถือข้อความจากเอกสารมากกว่าโดยไม่ได้พิจารณาตรวจสอบจาก หลกั ฐานทางโบราณคดแี ละศิลปกรรมมากเทา่ ทค่ี วร ดังน้ัน ข้อเขียนน้ีมีจุดประสงค์ที่จะรวบรวมข้อมูลที่เกิดจากเน้ือหาในเอกสารดังกล่าว เพื่อตรวจสอบกับหลักฐานทางโบราณคดีและศิลปกรรมเพื่ออธิบายถึงความเป็นไปได้ในเร่ือง ของธรรมเนยี มเช่นนี้ของกษัตริยใ์ นสมยั อยุธยา และสร้างกรอบความเขา้ ใจบางประการเกยี่ วกบั คติ เรื่องการถวายเกียรติยศแก่ผู้สร้างศาสนสถานตามความคิดทางพุทธศาสนาอันมาหลอมรวมกับ การใช้พื้นท่ีศักดิ์สิทธิ์ของสังคมด้ังเดิมในดินแดนไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซ่ึงตกทอดลงมา ในรฐั ลมุ่ นำ�้ เจา้ พระยาตอนล่างก่อนจะลดความส�ำคัญลง ๑ ผูเ้ ขยี นขอขอบพระคณุ อ.พเิ ศษ เจยี จนั ทรพ์ งษ์ ผทู้ รงคุณวุฒิ กรมศิลปากร ซึง่ ไดใ้ ห้ค�ำแนะน�ำเกี่ยวกบั เน้อื หาและ วิธีคดิ สำ� คัญเกี่ยวกบั ขอ้ มูลทางโบราณคดีของการสร้างศาสนสถานบนพืน้ ทปี่ ลงศพดง้ั เดมิ ที่ถกู กลา่ วถึงในบทความนี้ 283เสด็จสู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
สรา้ งวดั บนสถานท่ถี วายพระเพลิง: เนอ้ื ความจากเอกสาร ศาสนสถานสมัยอยุธยาท่ีได้รับการระบุในเอกสารว่าถูกสร้างข้ึนบนพื้นท่ีที่มีกิจกรรมการ ปลงศพมาก่อน มีทง้ั ส้นิ ๖ แห่ง เรยี งล�ำดบั ตามเหตุการณ์ ดงั นี้ ๑. วดั ปา่ แก้ว ปรากฏในพงศาวดารทก่ี ลา่ วถึงสมเดจ็ พระรามาธิบดีท่ี ๑ วา่ เม่ือ พ.ศ.๑๙๐๖ โปรดใหข้ ดุ ศพเจา้ แกว้ เจา้ ไททต่ี ายเพราะโรคระบาดขนึ้ เพอื่ เผา ตรงทเ่ี ผานนั้ ตอ่ มาสถาปนาอารามชอื่ วดั ปา่ แกว้ (พระราชพงศาวดารกรงุ ศรอี ยธุ ยาฯ ๒๕๐๗: ๗) โดยปจั จบุ นั สามารถสบื สวนกนั ไดแ้ ลว้ วา่ วัดปา่ แกว้ น้ีควรจะตรงกนั กบั วดั ทส่ี มยั ต่อมาเรยี กวา่ วดั เจ้าพระยาไทย หรอื ในปจั จุบนั ร้จู ักกันในชื่อ วดั ใหญ่ชยั มงคลนน่ั เอง (พิเศษ เจยี จนั ทรพ์ งษ์ ๒๕๕๓: ๕๘) (ภาพที่ ๑) ๒. วดั พระราม (ภาพที่ ๒) ตงั้ อยใู่ จกลางกรงุ ศรอี ยธุ ยารมิ หนองโสนหรอื บงึ พระราม ในพงศาวดาร กรงุ ศรอี ยธุ ยาทผี่ า่ นการชำ� ระในชน้ั หลงั ไดก้ ลา่ ววา่ สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ.๑๙๙๑-๒๐๓๑) ทรงสรา้ งขน้ึ บนพน้ื ทถ่ี วายพระเพลงิ พระบรมศพของสมเดจ็ พระรามาธบิ ดอี ทู่ อง (พระราชพงศาวดาร กรุงศรีอยุธยาฯ ๒๕๐๗: ๑๓) ทว่าอาจเป็นไปได้ว่าวัดแห่งน้ีจะถูกสร้างโดยโอรสของพระเจ้าอู่ทอง คือสมเด็จพระราเมศวร เน่ืองจากเป็นช่วงระยะเหตุการณ์ท่ีใกล้เคียงกัน โดยพระราชพงศาวดาร ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิต์ิ ซ่ึงมีความแม่นย�ำได้ระบุไว้ว่าแรกสร้างวัดแห่งนี้ในปี พ.ศ.๑๙๑๒ (พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหลวงประเสริฐอกั ษรนิติ์ ๒๕๑๕: ๔๔๓) และในอดีตผชู้ �ำระ พงศาวดารอาจเกดิ การจดเหตกุ ารณค์ ลาดเคลอื่ นกไ็ ด้ เพราะพระนามของสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ กอ่ นข้ึนครองราชสมบัติน้ันก็ทรงนามวา่ พระราเมศวร เช่นเดยี วกัน ๓. วดั ราชบรู ณะ (ภาพที่ ๓) สถาปนาในปี พ.ศ. ๑๙๖๗ หลงั จากเหตกุ ารณท์ เ่ี จา้ อา้ ยพระยา และเจ้ายี่พระยาชนช้างแย่งราชสมบัติกันเม่ือสมเด็จพระนครินทรราชาผู้เป็นพระบิดาสวรรคต ผลคือทั้งคู่ส้ินพระชนม์ด้วยกัน เจ้าสามพระยาผู้เป็นอนุชาจึงได้ครองราชย์ โดยพงศาวดารท่ีช�ำระ ในสมยั หลงั กลา่ ววา่ ทรงสรา้ งวดั แหง่ นขี้ น้ึ บนทถี่ วายพระเพลงิ พระศพของเจา้ อา้ ยเจา้ ย่ี รวมทงั้ ยงั ได้ สร้างเจดีย์สององค์ตรงท่ีทรงชนช้างกันท่ีเชิงสะพานป่าถ่าน (พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหลวงประเสรฐิ อักษรนิต์ิ ๒๕๑๕: ๑๐-๑๑) (ภาพท่ี ๔) ๔. วดั สวนหลวงสบสวรรค์ พงศาวดารระบวุ า่ สรา้ งขนึ้ ตรงทถ่ี วายพระเพลงิ พระสรุ โิ ยทยั มเหสใี นสมเดจ็ พระมหาจกั รพรรดเิ มอื่ คราวสงครามกบั หงสาวดใี นปี พ.ศ.๒๐๙๐ (พระราชพงศาวดาร กรงุ ศรอี ยธุ ยาฯ ๒๕๐๗: ๖๐) จากการวนิ จิ ฉยั ของสมเดจ็ ฯ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพทรงเชอื่ กนั วา่ หมายถงึ พนื้ ท่ีท่ีตัง้ เจดียศ์ รีสรุ โิ ยทัย (ภาพท่ี ๕) ฝงั่ ตะวนั ออกของตัวเมืองอยธุ ยารมิ แม่น�้ำเจ้าพระยา ซ่ึงคงเคยเป็นเขตสวนหลวงติดกับวัดสบสวรรค์ที่มีมาก่อน เม่ือสร้างวัดข้ึนจึงเรียกรวมกันว่า วดั สวนหลวงสบสวรรค์ (พระราชพงศาวดารฉบบั พระราชหตั ถเลขา ๒๕๔๘: ๒๗๐) นอกจากนขี้ อ้ มลู จากค�ำให้การชาวกรุงเก่ายังให้รายละเอียดต่างกันเล็กน้อย โดยกล่าวเพียงว่า “พระบรมดิลก” พระราชธดิ าของพระมหาจกั รวรรดเิ พยี งพระองคเ์ ดยี วทสี่ นิ้ พระชนมจ์ ากการชนชา้ งกบั ขา้ ศกึ ตรงท่ี สร้างพระเมรถุ วายพระเพลิงนัน้ ให้ก่อเป็นเจดีย์บรรจพุ ระอฐั ิ มนี ามว่า “เนนิ เจา้ ” (คำ� ใหก้ ารชาวกรุง เกา่ ฯ ๒๕๑๕: ๘๑) 284 เสด็จสแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
๔๑ ภาพท่ี ๑ วดั ใหญช่ ยั มงคล หรอื วดั เจา้ พระยาไทย หรอื วัดป่าแก้ว ที่ถูกกลา่ วว่าสรา้ งขนึ้ บน สถานทปี่ ลงศพเจ้าแกว้ เจา้ ไท ในสมยั ต้นกรุงศรอี ยธุ ยา ภาพท่ี ๒ วัดพระราม เชื่อกันว่าสร้างบน ภาพที่ ๓ วัดราชบรู ณะ พงศาวดารระบวุ ่า พ้ืนที่ถวายพระเพลิงพระบรมศพของสมเด็จ สร้างในปี พ.ศ.๑๙๖๗ บนสถานท่ีถวาย พระรามาธบิ ดที ี่ ๑ (พระเจา้ อทู่ อง) พระเพลงิ พระศพของเจ้าอ้ายเจา้ ยพ่ี ระยา เช่ือว่าเหตุที่ถวายพระเพลิงพระศพบริเวณน้ีเน่ืองจากอยู่ในช่วงคับขันมีศึกเข้าประชิด พระนคร และพระศพของพระสรุ โิ ยทยั ซง่ึ สนิ้ พระชนมจ์ ากการชนชา้ งกบั พระเจา้ แปร จนตอ้ งรบี นำ� เขา้ มาพระนครทางดา้ นตะวนั ตกบรเิ วณหวั แหลมซงึ่ เปน็ จดุ ทใ่ี กลก้ บั สมรภมู ทิ งุ่ มะขามหยอ่ งมากทสี่ ดุ นนั่ เอง นอกจากนี้ ชอื่ วัดสวนหลวงสบสวรรค์ หรือ วดั สบสวรรค์ หรอื วดั ศพสวรรค์ยงั ถูกอา้ งถงึ ในต�ำนานอย่างน้อยอีกสองเร่ือง คือพงศาวดารเหนือในตอนที่พระยาโคตระบองหนีพระยาแกรก 285เสดจ็ ส่แู ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชอื่ ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
ภาพที่ ๔ เจดีย์สององค์ท่ีเช่ือว่าหมายถึงเจดีย์ท่ีกล่าว ภาพที่ ๕ เจดยี ศ์ รีสุริโยทยั ซ่งึ น่าจะเคยเปน็ ในพงศาวดารว่าสร้างบนสถานท่ีเจ้าอ้ายกับเจ้ายี่พระยา ส่วนหนึ่งของวัดสวนหลวงสบสวรรค์ ที่ ชนช้างกันถึงแก่พิราลัย ตรงเชิงสะพานป่าถ่านใกล้ เอกสารกล่าวว่าสร้างตรงท่ีปลงพระศพของ วัดราชบูรณะ พระสรุ ิโยทัย มาทิวงคตลงในแขวงเมืองอโยธยา พระยาแกรกตามมาฌาปนกิจศพแล้วสร้างวัดลงตรงน้ัน ชอื่ วดั ศพสวรรค์ (พระยาวเิ ชยี รปรชี า ๒๕๑๖: ๒๑) กบั อกี เรอื่ งคอื คำ� ใหก้ ารชาวกรงุ เกา่ กลา่ ววา่ สมเดจ็ พระเอกาทศรถทรงสร้าง วัดสบสวรรค์ ตรงท่ีถวายพระเพลิงพระบรมศพของสมเด็จพระนเรศวร ผูเ้ ป็นพระเชษฐา ช่ือวดั สบสวรรคจ์ งึ อาจมีความหมายสำ� คัญในเชิงตำ� นานกับธรรมเนยี มน้กี ็เปน็ ได้ ๕. เจดีย์สวมพระศพพระมหาอุปราช ซ่ึงพระราชพงศาวดารกล่าวถึงการท�ำยุทธหัตถี ระหวา่ งสมเดจ็ พระนเรศวรกบั พระมหาอปุ ราชของพมา่ โดยพระมหาอปุ ราชทรงสน้ิ พระชนมล์ ง กองทพั แตกพา่ ยไป สมเดจ็ พระนเรศวรโปรดใหก้ อ่ เจดยี ส์ วมพระศพพระมหาอปุ ราชไวท้ ต่ี ำ� บลตระพงั ตรซุ ง่ึ หาก เทียบกับระยะเวลาทางประวัติศาสตร์ การสร้างเจดีย์องค์นี้ในเอกสารควรอยู่ในต้นพุทธศตวรรษ ที่ ๒๒ หรือหลังสงครามกู้อิสระภาพในปี พ.ศ.๒๑๒๗ ซึ่งต่อมามีผู้สันนิษฐานว่าหมายถึงเจดยี ท์ รง ระฆงั ขนาดเลก็ องคห์ นงึ่ ท่ี อ.พนมทวน จ.กาญจนบรุ ี (กรมศลิ ปากร ๒๕๑๘: ๑) (ภาพที่ ๖) ๖. วัดวรเชษฐาราม ที่เชื่อกันว่าสร้างบนพ้ืนท่ีถวายพระเพลิงพระบรมศพของสมเด็จ พระนเรศวร อยา่ งไรก็ตาม ในพระราชพงศาวดารนนั้ แมจ้ ะใหร้ ายละเอียดวา่ สมเด็จพระเอกาทศรถ ทรงสร้างวัดนี้ขึ้นเมื่อต้นรัชสมัย แต่ก็มิได้ระบุว่าสร้างบนพ้ืนท่ีที่ถวายพระเพลิงใดๆ ขณะเดียวกัน กบั คำ� ให้การชาวกรุงเก่า กลา่ วว่าทรงสร้าง วดั สบสวรรค์ ขึ้นบนทถ่ี วายพระเพลิงพระบรมศพ แลว้ จึงสร้างวดั บำ� เพ็ญพระราชกุศลใหน้ ามวา่ วดั วรเชษฐาราม (ค�ำให้การชาวกรงุ เก่าฯ ๒๕๑๕: ๓๑๖) ดงั นน้ั เหตกุ ารณใ์ นเอกสารจงึ ยงั ดสู บั สนอยู่ ทกุ วนั นกี้ ย็ งั มวี ดั รา้ งทเ่ี รยี กชอื่ คลา้ ยกนั สองแหง่ ในอยุธยาคือวัดวรเชษฐารามต้ังอยู่ใกล้พระราชวังหลวงในเมืองอยุธยา(ภาพที่ ๗) กับวัดวรเชตุ เทพบำ� รงุ กลางทงุ่ นอกเมอื งทางตะวนั ตก (ภาพที่ ๘) โดยจากการศกึ ษาในปจั จบุ นั ไดพ้ บวา่ ขอ้ เทจ็ จรงิ เกี่ยวกับการสร้างวัดวรเชษฐารามบนที่ถวายพระเพลิงพระบรมศพของสมเด็จพระนเรศวรเป็น 286 เสดจ็ ส่แู ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
ภาพที่ ๖ เจดียข์ นาดเล็กที่ อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรี ซ่งึ มผี เู้ ชื่อตามพระราชพงศาวดารบางฉบับวา่ สมเด็จ พระนเรศวรทรงสร้างครอบพระศพของพระมหาอุปราช (ทม่ี า: กรมศิลปากร ๒๕๑๘) ๔๑ ภาพท่ี ๗ วัดวรเชษฐาราม (ในเมืองอยุธยา) ภาพท่ี ๘ วดั วรเชตเุ ทพบำ� รงุ (นอกเมืองอยุธยา) ความเข้าใจที่คลาดเคลอ่ื นและถูกทำ� ให้เช่ือตอ่ ๆ กันมา โดยไมม่ หี ลกั ฐานเอกสารหรือหลกั ฐานทาง โบราณคดใี ดๆ ทม่ี นี ำ้� หนกั นา่ เชอ่ื ถอื มารองรบั อยา่ งชดั เจน (ประภสั สร์ ชวู เิ ชยี ร ๒๕๕๒: ๔๔๙-๔๕๑) การสรา้ งศาสนสถานบนทป่ี ลงพระศพในพงศาวดารมาจากเนอื้ หาในคมั ภรี ท์ างพทุ ธศาสนา จากเอกสารเราจะเหน็ ประเดน็ สำ� คญั บางประการดงั นี้ ประการแรก การระบุถึงวดั ที่สรา้ งขึ้นบนทท่ี �ำการถวายพระเพลิงพระบรมศพ/พระศพ น้ัน เปน็ เรอ่ื งทก่ี ลา่ วถงึ ประเพณที ไ่ี มไ่ ดท้ ำ� กนั เปน็ ปรกตเิ สมอ แตจ่ ะมกั ตอ้ งมเี หตใุ หเ้ ปน็ ปจั จยั เปน็ พเิ ศษ ได้แก่ การเผาศพทต่ี ายจากโรคระบาด (เช่นกรณที ี่วดั ปา่ แกว้ ) การเผาศพที่ตายด้วยอาวุธ การตอ่ สู้ หรอื สงคราม (เช่นกรณที ่ีวดั ราชบรู ณะ วัดสวนหลวงสบสวรรค์ เจดยี พ์ ระมหาอปุ ราช) เป็นตน้ หรือ ในกรณีท่ีพบอยู่ในพงศาวดารเหนือซึ่งเป็นเอกสารเชิงต�ำนานท่ีถูกรวบรวมข้ึนในช่วงต้นกรุง 287เสดจ็ สูแ่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
รตั นโกสนิ ทรค์ อื เหตกุ ารณใ์ นตอนทพ่ี ระยาแกรกปลงศพพระยาโคดตะบอง (โคตรตะบอง) แลว้ สรา้ ง วัดสบสวรรค์ที่ตรงนั้น ดังน้ัน จึงดูประหนึ่งว่าประเพณีดังกล่าวอาจอิงอยู่กับการให้ความส�ำคัญกับ ความเชื่อบางส่ิง ประการท่ีสอง น่าสังเกตเป็นอย่างยิ่งว่าเรื่องสร้างวัดบนท่ีเผาพระศพกษัตริย์หรือเจ้านาย น้ี ไม่ได้ปรากฏในเอกสารที่เขียนขึ้นร่วมสมัยอยุธยาคือพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิต์ิ แตอ่ ยา่ งใด มเี พยี งเรอ่ื งการกอ่ เจดยี เ์ จา้ อา้ ยเจา้ ยต่ี รงทช่ี นชา้ งเทา่ นน้ั ทถ่ี กู ระบไุ วใ้ นพงศาวดารฉบบั น้ี (พระราชพงศาวดารกรงุ ศรอี ยุธยา ฉบบั หลวงประเสริฐอกั ษรนติ ิ์ ๒๕๑๕: ๔๔๖) จึงเปน็ ทนี่ า่ สงสัยว่า ในกรณอี นื่ ๆ นนั้ ถกู นำ� มาสอดแทรกลงในเนอื้ หาทางประวตั ศิ าสตรเ์ มอ่ื มกี ารชำ� ระพงศาวดารในสมยั หลงั ลงมาหรือไม่ ประการทสี่ าม หลกั ฐานรว่ มสมยั เกย่ี วกบั การถวายพระเพลงิ พระบรมศพของกษตั รยิ อ์ ยธุ ยา กอ่ นกลางพทุ ธศตวรรษที่ ๒๒ ปรากฏในเอกสารของแฟรน์ งั ด์ มงั เดซ ปนิ โต นกั เดนิ ทางชาวโปรตเุ กส ท่ีบันทึกไว้ว่าพระบรมศพของสมเด็จพระไชยราชาธิราชได้ถูกน�ำไปเผาที่วัดแห่งหน่ึงนอกพระนคร เพราะมกี ารจดั รวิ้ ขบวนพระบรมศพทางเรอื (สนั ต์ ท.โกมลบตุ ร ๒๕๒๖: ๖๘-๖๙) มใิ ชก่ ารสรา้ งวดั บนท่ี ถวายพระเพลิงในภายหลัง ในทนี่ จี้ งึ ขอวเิ คราะหเ์ นอื้ หาเรอ่ื งราวในเอกสารวา่ มปี ระเพณบี างอยา่ งในงานประวตั ศิ าสตร์ ของราชสำ� นกั ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตท้ มี่ กั นำ� เอาเรอื่ งราวทางพทุ ธศาสนามาเรยี บเรยี งเปน็ สว่ นหนงึ่ ของเอกสารเชิงประวัติศาสตร์หรือพงศาวดารเพื่อเช่ือมโยงรัฐ/อาณาจักรเข้าสู่ความศักดิ์สิทธ์ิและ ชอบธรรม กรรมวธิ ที พ่ี บในกลมุ่ เอกสารประวตั ศิ าสตรข์ องพมา่ , มอญ, ลา้ นนา, ลา้ นชา้ ง, นครศรธี รรมราช และกมั พูชา รวมไปถงึ ต�ำนานการสรา้ งกรุงศรอี ยุธยา (พิเศษ เจียจันทรพ์ งศ์ ๒๕๕๕: ๑๐๗-๑๐๙) ไดแ้ ก่ เนอ้ื หาตอนตน้ กำ� หนดใหพ้ ระพทุ ธองคแ์ สดงอทิ ธปิ าฏหิ ารยิ เ์ สดจ็ มายงั เกาะลงั กาแลว้ ทรงปราบ ชนพนื้ เมอื งจนชนะ พรอ้ มกบั แสดงธรรมเทศนาโปรดจนกระทงั่ ยอมรบั นบั ถอื พระพทุ ธศาสนา จากนนั้ จึงมี “พุทธท�ำนาย” เรอื่ งต่างๆ วา่ ในอนาคตกาลพื้นท่นี น้ั จะเกดิ เปน็ สถานทใ่ี ด ผไู้ ด้จะไปเกิดใหม่ ในฐานะอะไรในท่ีนั้น (ส่วนใหญ่คือปฐมกษัตริย์) แล้วเนื้อเรื่องจะน�ำออกจากสมัยพุทธกาลและ เช่ือมต่อเข้ากับต�ำนานท้องถ่ินว่าด้วยผู้ปกครองดั้งเดิมท่ีสืบวงศ์ครอบครองบ้านเมืองจนพัฒนามา เปน็ รฐั /อาณาจกั ร จนเขา้ สจู่ ดุ ทเี่ รอื่ งราวและบคุ คลทม่ี ตี วั ตนจรงิ ในประวตั ศิ าสตรแ์ ละลำ� ดบั ไปจนถงึ ระยะเวลาใกล้กับที่แต่งเอกสารน้ัน ซ่ึงมักอยู่ในช่วงหลังพุทธศตวรรษท่ี ๑๙ ลงมา อันเป็นระยะที่ พทุ ธศาสนาส�ำนกั ลงั กาไดแ้ พร่หลายไปทวั่ รัฐตา่ งๆ ในแถบนีเ้ ปน็ สว่ นใหญ่ ดงั นนั้ โครงเรอื่ งเชน่ นจ้ี งึ เปน็ การใชแ้ มแ่ บบจากคมั ภรี ม์ หาวงส์ หรอื พงศาวดารลงั กา ซง่ึ ใช้ การผูกโยงเรื่องราวในสมัยพทุ ธกาลเขา้ สู่การกำ� เนิดวงศ์กษตั รยิ ์และบา้ นเมืองของเกาะลงั กา ตอ่ มา เมื่อบ้านเมืองแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ติดต่อทางศาสนากับลังกาจึงได้รับเอาแบบแผนเช่นน้ีไป เขยี นเอกสารประวัตศิ าสตรข์ องตนท่เี รยี กว่า พงศาวดาร หรือ ต�ำนาน ดว้ ย (พเิ ศษ เจยี จันทรพ์ งศ์ ๒๕๕๕: ๑๗๗-๑๑๘) 288 เสดจ็ สูแ่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
๔๑ ภาพที่ ๙ มกุฏพันธเจดีย์ หรือ รามภาร ตรงสถานท่ีท่ีเชื่อว่าถวายพระเพลิง พระบรมศพของพระพุทธเจ้า เมืองกุสินารา อินเดีย (ทม่ี า: Patil,D.R.,2006. Kusinagara.New Delhi : Archaeological Survey of India,PlateVI.) เร่ืองราวส�ำคัญทางพุทธศาสนาท่ีระบุถึงความเกี่ยวข้องกันระหว่าง “ศาสนสถาน” กับ “สถานทถี่ วายพระเพลงิ พระบรมศพ” มใี นเรอ่ื งการปลงพระบรมศพของพระพทุ ธองคท์ เ่ี มอื งกสุ นิ ารา วา่ เมอ่ื ทรงเสดจ็ ดบั ขนั ธปรนิ พิ พานแลว้ ไดอ้ ญั เชญิ พระบรมศพไปยงั “มกฎุ พนั ธเ์ จดยี ”์ ซง่ึ เปน็ สถานท่ี ศกั ดส์ิ ทิ ธิข์ องเหลา่ กษัตรยิ ์มลั ละเพือ่ ท�ำการถวายพระเพลงิ ตอ่ มาอีกราวสองศตวรรษพระเจ้าอโศก มหาราชก็ได้ทรงสร้างสถปู และตัง้ เสาลงบนสถานที่ดงั กลา่ ว ปัจจบุ ันยังมหี ลักฐานของสถปู ที่ต้งั ของ มกฎุ พนั ธเจดยี ท์ ่กี สุ นิ าราซึง่ เรยี กกันในภายหลังวา่ “รามาภาร” (Ramabhar) (Patil 2006: 9, 31) (ภาพท่ี ๙) สรา้ งในราวสมัยโมริยะ-ศุงคะ (พทุ ธศตวรรษท่ี ๓-๔) ซึ่งตอกย้�ำวา่ ไดม้ กี ารสร้างศาสน สถานลงบนสถานทปี่ ลงพระศพของพระพทุ ธองคแ์ มจ้ ะเปน็ ความเชอ่ื ทถี่ กู ปฏบิ ตั หิ ลงั จากเหตกุ ารณ์ ที่เกิดขึ้นสมัยพุทธกาลลงมาถึง ๒๐๐-๓๐๐ ปีก็ตาม โดยการก่อสร้างมกุฎพันธเจดีย์ในสมัยหลังนี้ ยอ่ มแฝงเรือ่ งเน้นเกียรติยศของพระเจา้ อโศกมหาราชยิง่ กวา่ การร�ำลกึ ถงึ พระพุทธองค์ พุทธศาสนิกชนในดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และดินแดนไทยคงรับรู้เนื้อหาเร่ืองราว เหล่าน้ีผ่านมาจากเอกสารโดยเฉพาะอย่างยิ่งคัมภีร์มหาวงส์ที่มีเน้ือหาเก่ียวข้องกับพระเจ้าอโศก มหาราช และเปน็ แมแ่ บบในการเรยี บเรยี งประวตั ศิ าสตรข์ องรฐั ตง้ั แตร่ าวพทุ ธศตวรรษที่ ๑๙-๒๐ ลงมา ซงึ่ คงถอื กนั วา่ เปน็ ธรรมเนยี มศกั ดสิ์ ทิ ธท์ิ จี่ ะสถาปนาศาสนสถานลงบนพน้ื ทปี่ ลงศพของบคุ คลสำ� คญั ดว้ ยเหตนุ ี้ ขอ้ ความในเอกสารประวตั ศิ าสตรข์ องอยธุ ยานนั้ อาจไดร้ บั การแตง่ เตมิ เรอ่ื งราว ในการสร้างวัดบนสถานที่ท่ีเคยใช้ถวายพระเพลิงพระบรมศพ/พระศพ โดยได้แนวคิดหลักมาจาก เรอ่ื งราวทางพทุ ธศาสนา ซงึ่ หลกั ฐานทย่ี นื ยนั ความมลี กั ษณะเปน็ “ตำ� นาน” ของธรรมเนยี มนี้ เหน็ ได้ จากเรื่องที่เผาศพของพระยาโคดตะบองในพงศาวดารเหนือซึ่งเป็นต�ำนานท่ีกระจายอยู่ในลุ่มน�้ำ เจ้าพระยาและอาจมีเค้าของการสร้างบ้านแปงเมืองในช่วงระยะเวลาคาบเก่ียวกับช่วงก่อนและ ต้นการสถาปนากรงุ ศรอี ยุธยา จากนั้นจึงนา่ จะถกู นำ� ไปใชแ้ ต่งเตมิ เสริมในพระราชพงศาวดารท่ีถกู ช�ำระขึน้ ในสมยั หลัง 289เสดจ็ สู่แดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชือ่ ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
กล่าวโดยสรุปจากการวเิ คราะห์ข้อความในเอกสาร ท�ำให้พบว่าเร่ืองการสร้างวดั บนสถาน ท่ีปลงพระบรมศพ/พระศพเช่นนี้น่าจะเป็นเร่ืองราวปรัมปราท่ีได้จากคัมภีร์น�ำมาแต่งเติมให้เอกสาร ประวตั ศิ าสตร์ โดยพบวา่ จดุ ประสงคห์ นงึ่ กค็ งเฉพาะถวายเกยี รตยิ ศแกผ่ สู้ รา้ งศาสนสถานนนั้ มากกวา่ เพ่ือความแน่ชัดว่าธรรมเนียมดังกล่าวได้รับการปฏิบัติจริงหรือไม่ในสมัยอยุธยาจึงต้องตรวจสอบ หลักฐานท่ีเก่ียวข้องเท่าท่ีเหลืออยู่ ได้แก่รูปแบบศิลปกรรมของวัดวาอารามท่ีถูกกล่าวอ้างถึง เพ่ือทราบถึงความสัมพันธ์ระหว่างเรื่องราวในเอกสารกับอายุสมัยของหลักฐานทางโบราณคดีให้ แน่ชัดยิ่งข้ึน งานศิลปกรรม บง่ ชอ้ี ายสุ มยั ของศาสนสถานที่อาจสร้างบนพื้นทถ่ี วายพระเพลิง การตรวจสอบขอ้ มูลเอกสารกับหลกั ฐานศลิ ปกรรมวา่ มีความสอดคลอ้ งกนั หรือไมอ่ าจเปน็ แนวทางใหเ้ ราทราบถงึ ขอ้ เทจ็ จรงิ เกย่ี วกบั การสรา้ งศาสนสถานบนทปี่ ลงศพสมยั อยธุ ยา ซง่ึ สว่ นมาก เป็นท่ีทราบกันดีในปัจจุบันว่าหมายถึงโบราณสถานแห่งใด และรูปแบบศิลปกรรมของศาสนสถาน เหลา่ น้ไี ด้รบั การศกึ ษาไวค้ อ่ นข้างชดั เจนแล้ว มเี พยี งบางแหง่ ทไ่ี มอ่ าจระบไุ ด้จริงเพราะเอกสารและ ความทรงจำ� ไดค้ ลาดเคล่อื นไป วัดป่าแก้ว/วัดเจ้าพระยาไท/วัดใหญ่ชัยมงคล ซึ่งมีเจดีย์ทรงระฆังฐานแปดเหลี่ยม เปน็ ประธาน แตเ่ ดมิ มกั เชอ่ื กนั ตามเอกสารวา่ สรา้ งโดยสมเดจ็ พระนเรศวร แตจ่ ากการตรวจสอบพบ ว่าข้อมูลเอกสารที่กล่าวถึงความเกี่ยวข้องกับสมเด็จพระนเรศวรน้ันกลับเป็นเน้ือหาท่ีสมเด็จฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพทรงสอดแทรกเอาไว้ในภายหลังเม่ือทรงพระนิพนธ์ พระราชประวัติ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ขน้ึ ในชว่ งทศวรรษ ๒๔๘๐ (พิเศษ เจยี จันทร์พงษ์ ๒๕๕๓ : ๖๐-๖๑) ผังของวัดใหญ่ชัยมงคลมีเจดีย์ประธานล้อมรอบด้วยระเบียงคด ทางทิศตะวันออกเป็น พระวิหารหลวงมีรากฐานส่วนท้ายท่ีเคยยื่นเข้ามาภายในแนวระเบียงคด ส่วนทิศตะวันตกมีอาคาร ท่ีน่าจะเคยเป็นพระอุโบสถ คล้ายคลึงกันกับผังของวัดพระราม (ภาพท่ี ๑๐) รูปแบบผังเช่นน้ี นยิ มกนั ในสมยั อยธุ ยาตอนตน้ ประกอบกบั รปู แบบของเจดยี ป์ ระธานเปน็ เจดยี ท์ รงระฆงั แปดเหลย่ี ม ท่ีคลี่คลายมาจากเจดีย์ทรงปราสาทแปดเหล่ียมในระยะพทุ ธศตวรรษที่ ๑๙-๒๐ ดงั น้นั รูปแบบผัง และสถาปัตยกรรมของเจดีย์จึงยืนยันว่าวัดแห่งน้ีสร้างในช่วงปลายพุทธศตวรรษท่ี ๑๙ ถึงต้น พทุ ธศตวรรษท่ี ๒๐ (สันติ เลก็ สขุ ุม ๒๕๕๐: ๘๓) วัดพระราม โดยผังของวัดท่ีได้กล่าวมาแล้วว่าเป็นลักษณะช่วงอยุธยาตอนต้น (สันติ เลก็ สขุ มุ ๒๕๕๐: ๔๔) โดยมปี รางคใ์ หญเ่ ปน็ ประธานซงึ่ เปน็ ธรรมเนยี มการสรา้ งวดั ในชว่ งแรกๆ ของ กรุงศรีอยุธยา ทรวดทรงของปรางค์ยังค่อนข้างอ้วนป้อม และอาจมีการซ่อมแซมในสมัยหลัง ทำ� ใหด้ เู พรยี วขนึ้ เลก็ นอ้ ย ปกี ปรางคห์ รอื ปรางคข์ นาดเลก็ ขนาบขา้ งคลา้ ยระบบผงั ปราสาทสามหลงั แบบเขมร (ดูภาพที่ ๑๐) เจดีย์บริวารบนฐานไพทีเป็นเจดีย์ทรงปราสาทยอดซึ่งเป็นอิทธิพลจาก ศิลปะสุโขทัย (ภาพที่ ๑๑) เช่นเดียวกับเจดีย์บริวารรอบปรางค์ประธานวัดมหาธาตุอยุธยาซึ่ง สรา้ งขน้ึ ใน พ.ศ. ๑๙๑๗ ลว้ นเปน็ รปู แบบของวดั หลวงในชว่ งครงึ่ แรกพทุ ธศตวรรษที่ ๒๐ ของอยธุ ยา (สนั ติ เลก็ สขุ ุม ๒๕๕๐: ๕๗, ๘๘-๘๙) 290 เสดจ็ สแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
ภาพที่ ๑๐.๑ แผนผังวัดใหญ่ชัยมงคล ๔๑ ประกอบดว้ ยเจดยี ป์ ระธานมรี ะเบยี งคดลอ้ ม มีวิหารหลวงตั้งอยู่ด้านหน้าและอุโบสถทาง ด้านหลัง เป็นแบบแผนของผังวัดหลวง ในสมัยตน้ กรุงศรอี ยธุ ยา (ท่มี า: กรมศลิ ปากร, ๒๕๑๑. พระราชวังและ วัดโบราณในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. พระนคร : กรมศิลปากร,ไม่มเี ลขหน้า.) ภาพที่ ๑๐.๒ แผนผังวัดพระราม เป็นแบบอย่างผังวัดที่สร้างขึ้น ภาพท่ี ๑๑ เจดีย์รายทางปราสาทยอด ในสมัยอยุธยาตอนต้น คือมีปรางค์ประธานขนาดใหญ่ล้อมรอบด้วย ของวดั พระราม รปู แบบสมยั อยธุ ยาตอนตน้ ระเบยี งคด (ท่มี า: กรมศลิ ปากร, ๒๕๑๑. พระราชวังและวัดโบราณใน จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา. พระนคร : กรมศิลปากร, ไม่มีเลขหน้า) วัดราชบูรณะ นั้นแทบไมม่ ขี อ้ สงสยั วา่ สร้างในราวกลางถึงปลายพทุ ธศตวรรษท่ี ๒๐ ตาม เอกสารระบุปี พ.ศ. ๑๙๖๗ องคป์ รางคป์ ระธานทรงอวบอว้ น ฐานบัวลูกฟกั ซ่ึงสืบจากสถาปตั ยกรรม เขมรยังคงถกู ใชร้ องรับเรือนธาตุ ปีกปรางค์ได้คลีค่ ลายกลายเปน็ อาคารหลงั เล็กๆ ขนาบขา้ งปรางค์ บนฐานไพที อิทธิพลจากศิลปะพุกามของพม่าปรากฏที่การสร้างเจดีย์ยอดเหนือสันหลังคา ตรีมขุ (สนั ติ เลก็ สุขุม ๒๕๕๐: ๕๕) ขณะทผี่ ังของวดั ยงั คงเป็นแบบอยุธยาตอนต้น คือมีระเบียงคด ลอ้ มรอบปรางคป์ ระธาน วหิ ารหลวงดา้ นหนา้ มที า้ ยยน่ื เขา้ มาในแนวระเบยี ง ทางตะวนั ตกคอื พระอโุ บสถ 291เสดจ็ สู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอื่ ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
(สนั ติ เลก็ สขุ มุ ๒๕๕๐: ๔๓) (ภาพที่ ๑๒) หลกั ฐานสำ� คญั ทช่ี ว่ ยกำ� หนดอายปุ รางคอ์ งคน์ ้ี คอื การคน้ พบ เหรยี ญเงนิ ของกษตั รยิ ไ์ ซนลุ อาบดิ นี แหง่ แคชเมยี ร๒์ ซงึ่ ครองราชยร์ ว่ มสมยั กบั สมเดจ็ พระบรมราชาที่ ๒ (เจา้ สามพระยา) ผู้สร้างวดั ราชบรู ณะนภี้ ายในกรขุ องปรางคป์ ระธาน (สันติ เล็กสขุ ุม ๒๕๕๐: ๒๖) ภาพท่ี ๑๒ แผนผังวัดราชบูรณะ เช่นเดียวกับผังวัดสมัยอยุธยา ตอนต้น (ที่มา: กรมศิลปากร, ๒๕๑๑. พระราชวงั และวัดโบราณ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. พระนคร : กรมศลิ ปากร,ไม่มีเลข หน้า.) ส่วนเจดีย์สององค์ที่ต้ังอยู่ท่ีเชิงสะพานป่าถ่านทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ไม่ไกลจาก วดั ราชบรู ณะอนั เชอื่ วา่ เปน็ เจดยี ท์ สี่ รา้ งเปน็ ทร่ี ะลกึ แกเ่ จา้ อา้ ยและเจา้ ยนี่ นั้ จากการตรวจสอบรปู แบบ เท่าท่ีเหลืออยู่เฉพาะส่วนฐานพบว่าเป็นเจดีย์ทรงระฆังฐานแปดเหลี่ยมซึ่งเทียบกันได้กับเจดีย์มุม บนฐานไพทปี รางคป์ ระธานวดั ราชบรู ณะทก่ี ำ� หนดอายไุ ดช้ ดั เจน (สนั ติ เลก็ สขุ มุ ๒๕๕๐: ๘๑) จงึ อาจ มอี ายสุ มยั การสรา้ งทใ่ี กลเ้ คยี งกนั ในกลางถงึ ปลายพทุ ธศตวรรษท่ี ๒๐ ซงึ่ นน่ั อาจหมายความวา่ เปน็ เจดยี ์ที่ถกู กลา่ วถึงในพงศาวดารก็เปน็ ได้ วดั สวนหลวงสบสวรรค์ แมจ้ ะมปี ญั หาอยบู่ า้ งเกยี่ วกบั ทต่ี งั้ และชอื่ ในตำ� นานของวดั แหง่ น้ี แต่หลักฐานส�ำคัญท่ีพอจะระบุอายุสมัยได้ร่วมกันกับเหตุการณ์ในพระราชพงศาวดาร คือองค์เจดีย์ ศรีสุริโยทัยท่ีมีขนาดใหญ่พอจะกล่าวได้ว่าเคยเป็นเจดีย์ประธานหรือหลักของวัดมาก่อน รูปแบบ ของเจดีย์องค์นี้เรียกโดยรวมว่าเจดีย์เหล่ียมเพ่ิมมุม เป็นการผสมผสานกันระหว่างสถาปัตยกรรม หลายแบบ อาทิ การสร้างเรือนธาตุทม่ี มี ขุ ยน่ื ออกมาทงั้ สดี่ ้านพร้อมเจดีย์ยอดประดับบนสนั หลังคา มุขมีมาก่อนในปรางค์สมัยอยุธยาตอนต้น และส่งให้กับเจดีย์ทรงระฆังในสมัยอยุธยาตอนกลาง เชน่ เจดยี ป์ ระธานวดั พระศรสี รรเพชญ์ การปรบั องคร์ ะฆงั ใหอ้ ยใู่ นผงั เหลย่ี มยอ่ มมุ กถ็ อื วา่ เปน็ แนวคดิ แบบใหม่ในศิลปะอยุธยาทไี่ มป่ รากฏมาก่อนหน้า ขาสิงห์ท่รี องรบั เรอื นธาตกุ ็เปน็ แบบอย่างของงาน สมัยอยธุ ยาตอนกลาง ท�ำให้กำ� หนดอายุเจดยี ์ศรสี รุ ิโยทัยไวไ้ ด้ชว่ งรชั กาลสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ์ ในปลายพทุ ธศตวรรษท่ี ๒๑ ถงึ ต้นพทุ ธศตวรรษท่ี ๒๒ (สันติ เล็กสขุ มุ ๒๕๒๙: ๒๙) ๒ อยา่ งไรก็ตาม เมื่อเรว็ ๆ น้ี ดร.ธรี วตั ณ ปอ้ มเพชร ได้เสนอวา่ เหรียญดังกลา่ วนี้ อาจเปน็ ของกษัตรยิ ์จากรฐั สมทุ ร ปาไซบนเกาะสุมาตรา ต้ังใกล้อาเจะห์ เพราะช่ือของกษัตริย์พระองค์นี้พ้องกันกับกษัตริย์ของแคชเมียร์เช่นกัน (อา่ นเพม่ิ เติมได้ท่ี http://www.matichon.co.th/news/499183) 292 เสด็จสู่แดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
สว่ น เจดยี ส์ วมพระศพพระมหาอปุ ราช นนั้ เมอื่ ตรวจสอบแลว้ พบวา่ นา่ จะเปน็ การเขยี น ๔๑ ประวตั ขิ องเจดยี แ์ ตง่ เตมิ เขา้ ไปในเอกสารในสมยั หลงั เนอื่ งจากขอ้ มลู บรบิ ททางประวตั ศิ าสตรบ์ ง่ วา่ พระศพของพระมหาอุปราชได้ถูกอัญเชิญกลับยังหงสาวดีพร้อมกับการถอยทัพเม่ือพ่ายแพ้ต่อ กรุงศรีอยธุ ยาในคราวนน้ั (ตรี อมาตยกลุ ๒๕๑๘: ๑๑๒) และการวเิ คราะหร์ ูปแบบเจดียข์ นาดเล็กองค์ หน่ึงทต่ี ำ� บลตระพังตรุ อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรี ซ่ึงเคยเชื่อกันวา่ หมายถึงเจดีย์องค์น้ี แต่กลับพบ ว่าลักษณะทางด้านศิลปกรรมและที่ต้ังรวมถึงเอกสารไม่มีข้อใดบ่งช้ีว่าหมายถึงเจดีย์ท่ีสวมพระศพ ของพระมหาอุปราชแตอ่ ย่างใด (ตรี อมาตยกุล ๒๕๑๘: ๑๑๓) ดว้ ยเหตนุ ี้ เจดยี ส์ วมพระศพของมหา อุปราชจึงเปน็ เรอ่ื งที่ถกู สร้างขึ้นเปน็ ต�ำนานเสียมากกวา่ สำ� หรับปญั หาของวดั วรเชษฐารามนัน้ ปัจจบุ นั มีโบราณสถานชื่อ “วดั วรเชษฐ” สองแหง่ ไดแ้ กว่ ดั วรเชษฐาราม (ในเกาะเมอื งอยธุ ยา) มเี จดยี ป์ ระธานทรงระฆงั ทรวดทรงปอ้ มเตย้ี ซงึ่ เปน็ งาน ในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๒๑ อีกแหง่ คอื วดั วรเชตุเทพบ�ำรงุ (นอกเกาะเมอื ง) มีปรางค์เปน็ ประธาน แผนผงั ปรางคแ์ บบจตั รุ มขุ ไมม่ รี ะเบยี งคดลอ้ มรอบ ทรวดทรงรปู แบบคลา้ ยปรางคว์ ดั ไชยวฒั นาราม ซ่งึ สรา้ งใน พ.ศ. ๒๑๗๒ จงึ น่าจะมีอายุใกลเ้ คยี งกันซึ่งเปน็ ตัวชว้ี ่าวัดวรเชตเุ ทพบำ� รงุ อาจสรา้ งใกล้ เคียงกบั เร่ืองราวในสมยั สมเดจ็ พระเอกาทศรถ ช่วงกลางพทุ ธศตวรรษท่ี ๒๒ ก็เปน็ ได้ จากทก่ี ลา่ วมาขา้ งตน้ ทงั้ หมด จากการวเิ คราะหท์ างประวตั ศิ าสตรศ์ ลิ ปะเพอื่ ตรวจสอบขอ้ มลู ประวัติศาสตรแ์ ลว้ พบวา่ ๑. ศาสนสถานทถ่ี กู ระบถุ งึ วา่ สรา้ งบนพนื้ ทถ่ี วายพระเพลงิ นนั้ สว่ นใหญม่ อี ายสุ มยั การสรา้ ง รบั กนั กบั เอกสาร แมว้ า่ เราจะไมส่ ามารถตรวจสอบไดโ้ ดยตรงวา่ วดั ไดร้ บั การสรา้ งบนจดุ ทถ่ี วายพระ เพลงิ จรงิ หรือไม่ แตอ่ ายุสมัยทสี่ อดคล้องกันน้พี อจะอนุมานไดว้ า่ พน้ื ทศ่ี าสนสถานมคี วามสัมพันธ์ กับข้อมูลด้านระยะเวลาการสร้างในเอกสารอยู่บ้าง แต่อย่างไรก็ตาม นอกจากข้อความในเอกสาร แล้ว ก็ไม่สามารถยืนยันได้จริงว่าที่ตั้งโบราณสถานเหล่านี้จะเคยเป็นจุดที่ใช้ท�ำพิธีถวายพระเพลิง เพ่ือปลงศพเจ้านายในสมัยอยุธยาแต่อย่างไร ๒. ในทางกลับกัน หากข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ไม่มีการสร้างวัดบนพ้ืนที่ถวายพระ เพลิงพระบรมศพ/พระศพ แต่เราอาจพินิจได้ว่าเหตุใดเรื่องราวเหล่าน้ีจึงถูกระบุเอาไว้ในเอกสาร ประวัติศาสตร์ และบางครั้งระบุไว้ตรงกัน เช่น กล่าวถึงทั้งในพระราชพงศาวดาร ต�ำนาน และค�ำ ให้การ แสดงว่าเร่ืองการสร้างศาสนสถานบนที่ถวายพระเพลิง ไม่ว่าจะเกิดขึ้นจริงหรือไม่ก็ตาม เร่ืองราวที่ปรากฏในเอกสารน้ีได้แสดงวิธีคิดหรือความเช่ือของแบบเดียวกันลงมาจนถึงราว พุทธศตวรรษที่ ๒๓-๒๔ ซ่ึงเป็นระยะที่เร่ิมปรากฏหลักฐานเอกสารพงศาวดารให้เห็นมากข้ึนและ ข้อความเร่อื งราวเช่นนยี้ งั ถกู สอดแทรกเติมใสล่ งไป ด้วยเหตุนี้จึงต้องอาศัยการวิเคราะห์จากข้อมูลโบราณคดีมาช่วยอธิบายอีกขั้นตอนหน่ึง เพ่ือเช่ือมโยงคติความเช่ือดั้งเดิมในดินแดนแถบนี้ นอกเหนือไปจากเค้าโครงเรื่องท่ีได้วิเคราะห์มา แล้วว่ามีทีม่ าจากคัมภีร์ทางพทุ ธศาสนา 293เสด็จสู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
ขอ้ มูลทางโบราณคดี บง่ ชกี้ ารสรา้ งศาสนสถานบนพน้ื ทป่ี ลงศพ แนวคดิ เกยี่ วกบั การสรา้ งศาสนสถานลงบนพน้ื ทป่ี ลงศพนนั้ หากมองเฉพาะในงานวเิ คราะห์ จากเอกสารอาจพบวา่ เปน็ เพยี งคตนิ ยิ มทมี่ งุ่ เนน้ ใหก้ ารยกยอ่ งกบั ผสู้ รา้ งศาสนสถานในพน้ื ทปี่ ลงศพ ของบุคคลส�ำคัญโดยมีพระเจ้าอโศกมหาราชเป็นต้นแบบส�ำคัญ อย่างไรก็ตาม ในการศึกษาคร้ังน้ี ได้น�ำเอาข้อมูลทางโบราณคดีมาวิเคราะห์ร่วมด้วยซึ่งท�ำให้ค้นพบประเด็นที่สอดสานกันระหว่าง เนื้อหาศกั ด์ิสิทธ์ใิ นคัมภรี ท์ างพทุ ธศาสนากับความเช่อื ในท้องถน่ิ ของดินแดนไทย การด�ำเนินงานทางโบราณคดีกับโบราณสถานที่เป็นศาสนสถานบางแห่งคือการขุด ตรวจสอบรากฐานของอาคารทเ่ี ปน็ ปราสาทหรอื สถปู เจดยี ์ เชน่ ทปี่ ราสาทพมิ ายและปราสาทพนมวนั (ภาพที่ ๑๓) จ.นครราชสีมา พบหลักฐานว่าใต้พ้ืนที่ปราสาทดังกล่าวมีโครงกระดูกสมัยก่อน ประวตั ศิ าสตรใ์ นวฒั นธรรมยคุ โลหะฝงั อยู่ (พงศธ์ นั ว์ บรรทม ๒๕๔๔: ๒๑) (ภาพท่ี ๑๔) รวมทงั้ พนื้ ที่ โดยรอบบริเวณศาสนสถานก็มีชุมชนโบราณสมัยก่อนประวตั ศิ าสตรก์ ระจดั กระจายกันอยู่ แสดงวา่ ปราสาทพิมายและปราสาทพนมวันน้ันเป็นพ้ืนท่ี ท่ีพัฒนาขึ้นจากชุมชนด้ังเดิมจนเข้าสู่สมัย ประวัติศาสตร์ ท่ีน่าสนใจคือการยังคงพ้ืนท่ีศักดิ์สิทธ์ิในพิธีปลงศพเอาไว้โดยสร้างศาสนสถานลง บนจดุ เดิมทใ่ี ชป้ ลงศพสมัยก่อนประวัตศิ าสตร์น่ันเอง โบราณสถานสมยั สโุ ขทยั สองแหง่ ทเี่ มอื งศรสี ชั นาลยั จ.สโุ ขทยั คอื วดั ชา้ งลอ้ ม (ภาพท่ี ๑๕) ไดข้ ุดคน้ พบโครงกระดกู ถูกฝังอยใู่ ตช้ น้ั ดินที่ก่อสร้างวดั (กรมศิลปากร ๒๕๓๐: ๑๕๖-๑๖๓) (ภาพที่ ๑๖) และทวี่ ดั ชมชนื่ (ภาพที่ ๑๗) มผี ลการดำ� เนนิ งานทางโบราณคดที ไ่ี ดพ้ บโครงกระดกู มนษุ ยส์ มยั กอ่ นประวตั ศิ าสตรต์ อนปลายถงึ ตน้ สมยั ประวตั ศิ าสตรอ์ ายปุ ระมาณ ๑,๗๐๐ ปมี าแลว้ (กรมศลิ ปากร ๒๕๔๐: ๘๒-๘๓) มวี ดั สมยั สโุ ขทยั สรา้ งทบั อยดู่ า้ นบน โดยเฉพาะกรณขี องวดั ชมชน่ื นนั้ ชนั้ ดนิ แสดง ความต่อเนอ่ื งจากวฒั นธรรมสมยั ก่อนประวัตศิ าสตร์ข้นึ มาถงึ สมัยทวารวดี อทิ ธพิ ลวฒั นธรรมเขมร และสโุ ขทัยตามลำ� ดบั (กรมศิลปากร ๒๕๔๐: ๓๙-๕๐) (ภาพท่ี ๑๘) โดยมีซากโบราณสถานก่อด้วย อฐิ ทพ่ี งั ทลายและถกู สรา้ งซอ้ นทบั กนั ขน้ึ มาบนพน้ื ทเี่ ดยี วกนั ตวั อาคารดา้ นบนสดุ เปน็ วหิ าร มณฑป และเจดีย์ในศิลปะสุโขทัยซ่ึงมีร่องรอยการใช้งานจนถึงต้นพุทธศตวรรษท่ี ๒๑ เป็นอย่างน้อยจาก งานปูนปั้นลายกาบบนแบบศิลปะล้านนาประดับเสามุมอาคารท่ีคงเพิ่มเติมข้ึนเมื่อคราวปฏิสังขรณ์ ในสมยั ทเี่ มอื งศรสี ชั นาลยั ตกอยใู่ นอำ� นาจของทางเชยี งใหมเ่ ปน็ ระยะสนั้ ๆ ตอนตน้ พทุ ธศตวรรษท่ี ๒๑ (กรมศิลปากร ๒๕๔๐: ๓๐-๓๑) การปลงศพสมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตรถ์ อื เปน็ พธิ กี รรมศกั ดสิ์ ทิ ธท์ิ ต่ี อ้ งใชบ้ รเิ วณทก่ี ลางชมุ ชน เน่ืองจากความเช่ือดึกด�ำบรรพ์ก่อนการเข้ามาของศาสนาจากอินเดียคือการนับถือผีบรรพบุรุษ ดงั น้นั ท่ใี จกลางชุมชนจงึ เป็นทสี่ ถติ ของผปี ยู่ ่าตายาย และถูกใช้ประกอบพธิ ีกรรมร่วมกนั ของชมุ ชน เชน่ การเลยี้ งผี เมอ่ื มีการรับศาสนาจากภายนอกคอื พทุ ธศาสนาหรือศานาพราหมณ์ฮินดเู ขา้ มาจึง สร้างศาสนสถานทเี่ ป็นวัดวาอารามสถปู เจดยี ์ซ้อนทับลงไปตรงพน้ื ที่เดิม (สจุ ติ ต์ วงษเ์ ทศ ๒๕๔๗: ๖๓-๗๕) ดังนั้น ตัวอย่างของศาสนสถานที่ได้กล่าวมานี้ แสดงถึงความเชื่ออย่างหนึ่งท่ีสืบต่อจาก สมัยก่อนประวัติศาสตร์ลงมาว่า พื้นท่ีศักดิ์สิทธ์ิของชุมชนจะยังคงถูกใช้งานอยู่เสมอแม้จะมีศาสนา ความเชอ่ื ใหมเ่ ขา้ มา โดยศาสนสถานทกี่ อ่ สรา้ งขน้ึ เปน็ ถาวรวตั ถกุ ย็ งั คงใชท้ ตี่ งั้ บน “สสุ าน” ทเี่ คยใช้ 294 เสด็จสูแ่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
๔๑ ภาพที่ ๑๓ ปราสาทพนมวนั จ.นครราชสมี า ภาพที่ ๑๔ โครงกระดกู ทข่ี ดุ คน้ พบใตพ้ นื้ ทปี่ ราสาทพนมวนั ซง่ึ สรา้ งทบั ลงไปบนแหลง่ ปลงศพสมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตร์ (ท่ีมา: พงศ์ธันว์ บรรทม ๒๕๔๔: ๒๘) ภาพท่ี ๑๕ วดั ช้างลอ้ ม เมืองศรีสัชนาลัย จ.สุโขทัย ภาพที่ ๑๖ โครงกระดกู สมัยหวั เล้ยี วหัวตอ่ ประวตั ศิ าสตร์ ขุดค้นพบใต้ฐานเจดยี ว์ ดั ช้างลอ้ ม ศรีสชั นาลัย (ท่ีมา: กรมศลิ ปากร ๒๕๓๐: ๑๕๙.) ภาพที่ ๑๗ วดั ชมช่นื เมืองศรสี ชั นาลยั จ.สุโขทัย ภาพที่ ๑๘ หลมุ ขดุ คน้ วดั ชมชน่ื ศรสี ชั นาลยั แสดงใหเ้ หน็ ว่าศาสนสถานได้สร้างซ้อนทับบนพ้ืนที่ปลงศพสมัยก่อน ประวตั ศิ าสตร์ข้นึ มาหลายสมยั 295เสดจ็ สู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
ภาพท่ี ๑๙ วิหารแกลบและลานหน้าวิหารพระมงคลบพิตร อยุธยา ซึ่งเชื่อว่าถูกปรับปรุงเป็นที่ปลูก พระเมรุกลางเมอื งพระนครศรอี ยธุ ยาในราวรชั กาลสมเดจ็ พระเจา้ ทรงธรรม กลางพทุ ธศตวรรษท่ี ๒๒ ซ่ึง ถือเป็นจดุ ท่ีบง่ ช้วี ่าไม่มกี ารสร้างวดั บนท่ถี วายพระเพลงิ พระบรมศพในสมัยอยธุ ยาอกี หลังจากนตี้ อ่ ลงมา ปลงศพกันมา และยังสะท้อนให้เห็นการครอบง�ำของศาสนาใหม่บนความเชื่อเดิมในพื้นท่ีเดิม ในขณะเดยี วกนั ศาสนาทม่ี าใหมก่ ต็ อ้ งถกู แทรกซมึ ดว้ ยความเชอ่ื พน้ื เมอื งทตี่ อ้ งผสานเรอื่ ง “ผ”ี เขา้ มา ปะปนไปดว้ ย การสร้างศาสนสถานบนท่ีถวายพระเพลิงพระบรมศพ/พระศพสมัยอยุธยาที่ปรากฏอยู่ใน เอกสารนน้ั จึงอาจเปน็ เรือ่ งเดยี วกบั หลักฐานทางโบราณคดที ีก่ ลา่ วถึงนก้ี ็เปน็ ได้ นั่นคือการก�ำหนด จุดสร้างวัดส�ำคัญลงบนจุดท่ีเคยปลงศพอันเป็นพื้นท่ีศักด์ิสิทธิ์ตามความเชื่อท่ีตกทอดจากสมัยก่อน ประวัติศาสตร์ ซึ่งเม่ือถึงสมัยอยุธยาการปลงศพได้เปล่ียนรูปแบบจากการฝังมาเป็นการเผาตาม กรรมวิธีทางพุทธศาสนา และโดยที่อาณาบริเวณกรุงศรีอยุธยาไม่ได้มีชุมชนที่เก่าข้ึนไปจนถึง สมัยก่อนประวัติศาสตร์จึงไม่มีความสืบต่อของหลักฐานดังพ้ืนที่อื่นๆ ขณะที่ข้อมูลส�ำคัญอันแสดง ความเชอื่ มโยงทางความเช่อื /ธรรมเนียมทีผ่ า่ นกาลเวลาอยา่ งตอ่ เนือ่ งจนเขา้ ส่รู ะยะร่วมสมยั ท่ีกล่าว ถึงในเอกสาร กค็ ือแหลง่ โบราณคดที ี่วดั ชมชื่น ซ่ึงไดก้ ลา่ วมาแล้ววา่ มชี ้นั ดนิ ทางโบราณคดีซ้อนทบั จากสสุ านทฝี่ งั ศพสมยั กอ่ นประวัตศิ าสตร์มาจนถึงสมัยอยธุ ยาตอนตน้ เป็นอย่างนอ้ ย ทั้งน้ีความสัมพันธ์ระหว่างอายุสมัยของศาสนสถานบางแห่งท่ีสามารถตรวจสอบได้ กับระยะเวลาท่ีระบุในเอกสารต่างๆ ว่าสร้างบนสถานท่ีปลงศพนั้น ก็ชวนให้คิดว่ากิจกรรมน้ีเป็น ธรรมเนยี มทเ่ี กดิ ขน้ึ จรงิ ในสมยั อยธุ ยาชว่ งกอ่ นกลางพทุ ธศตวรรษที่ ๒๒ โดยหลงั จากนนั้ หลกั ฐานตา่ งๆ ไดบ้ ง่ ชต้ี รงกนั วา่ รชั กาลสมเดจ็ พระเจา้ ทรงธรรม (พ.ศ.๒๑๕๓-๒๑๗๑) มกี ารปรบั ปรงุ บรเิ วณใจกลาง พระนครศรีอยุธยาให้เป็นลานส�ำหรับปลูกพระเมรุโดยเฉพาะ (พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฯ 296 เสดจ็ สู่แดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชอื่ ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
๒๕๐๗: ๓๓๑) (ภาพท่ี ๑๙) และพอเขา้ สสู่ มยั อยธุ ยาตอนปลายนนั้ การสรา้ งวดั วาอารามไดล้ ดลงมาก ๔๑ จงึ ไม่ปรากฏว่ามีขอ้ ความในเอกสารกล่าวถงึ วดั ทส่ี ร้างบนที่ปลงศพอกี บทสรปุ จากการวิเคราะห์ตามล�ำดับต้ังแต่ข้อมูลเอกสารที่ให้ภาพของการสร้างศาสนสถาน ลงบนพน้ื ทปี่ ลงพระบรมศพ/พระศพในสมยั อยธุ ยาวา่ อาจมที ม่ี าจากคมั ภรี ท์ างพทุ ธศาสนาตอนหลงั จากพระพุทธองค์เสด็จดับขันธปรินิพพานโดยถูกน�ำมาสอดแทรกในเอกสารประวัติศาสตร์ท่ีเรียบ เรียงขึ้นในสมัยโบราณ เพื่อเน้นย�้ำการปลงศพบุคคลส�ำคัญและเป็นเกียรติยศแก่ผู้สร้างเสมอด้วย พระเจ้าอโศกมหาราชผู้สร้างสถูปที่มกุฏพันธเจดีย์อันเป็นสถานที่ถวายพระเพลิงพระบรมศพของ พระพทุ ธองค์ น�ำไปสู่การพิสูจน์อายุสมัยของศาสนสถานสมัยอยุธยาจนพบว่าวัดวาอารามที่ตรวจ สอบได้ว่าถูกกล่าวอ้างถึงในเน้ือหาดังกล่าวของพงศาวดารหรือต�ำนานน้ันมีอายุใกล้เคียงกันกับท่ี เอกสารระบไุ วจ้ รงิ แสดงว่าธรรมเนียมดังกล่าวว่าอาจเป็นได้ทั้งงานเอกสารที่ด�ำเนินตามประเพณี ทางพุทธศาสนาคือใชเ้ นอื้ ความในคมั ภรี ม์ าสอดแทรกเรอ่ื งราวตามพทุ ธประวตั แิ ละอาจถกู ปฏบิ ตั จิ รงิ ในฐานะทม่ี กี ารสรา้ งศาสนสถานเพอื่ อทุ ศิ สว่ นกศุ ลใหแ้ กผ่ วู้ ายชนม์ (ในลกั ษณะทพี่ เิ ศษ มใิ ชก่ ารทำ� เปน็ ปรกต)ิ ดว้ ยเหตนุ ี้ ลักษณะการสร้างวดั บนสถานทีป่ ลงศพจงึ ไปสอดคล้องกับ ข้อมลู ทางโบราณคดี ทสี่ ะทอ้ นประเพณสี บื ตอ่ การใชง้ านพน้ื ทศี่ กั ดส์ิ ทิ ธทิ์ างความเชอ่ื ของผคู้ นในดนิ แดนไทยจากสมยั กอ่ น ประวัติศาสตร์ลงมาจนกระท่ังกลายเป็นที่ต้ังศาสนสถานจากภายนอก (พุทธ-พราหมณ์) ซ่ึงเห็น ได้ว่ามีพลวัตท่ีเกี่ยวเน่ืองกันอย่างไม่ขาดสาย และยังสอดรับกับเน้ือหาทางพุทธศาสนาในคัมภีร์ อย่างแนบเนียน เปน็ ทนี่ า่ เสยี ดายวา่ ไมอ่ าจตรวจสอบทางใดไดเ้ ลยวา่ พน้ื ทสี่ รา้ งวดั บางแหง่ ทพ่ี สิ จู นอ์ ายสุ มยั ได้ใกล้เคยี งกบั เหตกุ ารณใ์ นเอกสารจะเคยเปน็ สถานท่ีถวายพระเพลิงพระบรมศพจริง แต่หลกั ฐาน โบราณคดีได้บ่งชี้ว่าการสร้างศาสนสถานบนพื้นที่ปลงศพน้ันเป็นส่ิงท่ีถูกท�ำสืบเน่ืองกันมาจริง อย่างน้อยจนถึงสมัยสุโขทัยซ่งึ ร่วมกันกับต้นกรงุ ศรีอยุธยาด้วย ซึ่งอาจเปน็ ไปไดห้ รอื ไมว่ ่าประเพณี ดังกล่าวสดุ ทา้ ยแลว้ ได้เลอื นมาปรากฏอยูเ่ พียงการแต่งลงในเอกสารที่วา่ ด้วยการสรา้ งวัดเท่านน้ั จึงไม่น่าแปลกใจว่าเร่ืองราวดังกล่าวจะถูกเรียบเรียงขึ้นในเอกสารประวัติศาสตร์รูปแบบ ต่างๆ เช่นต�ำนานและพงศาวดาร โดยเป็นขนบของการเอาแบบอย่างเค้าโครงเรื่องจากคัมภีร์ พุทธศาสนาที่สอดคล้องกับประเพณีเก่าแก่ท่ีมีการสืบต่อการใช้พ้ืนท่ีศักด์ิสิทธ์ิด้วยการสร้าง ศาสนสถานลงบนพ้ืนท่ีที่ปลงศพตามหลักฐานทางโบราณคดีท่ีพบ สะท้อนให้เห็นการยืดหยุ่นของ กระบวนการทางพทุ ธศาสนาทย่ี อ้ มเคลือบเอาลทั ธิดั้งเดมิ ไวเ้ ปน็ ส่วนหนงึ่ ได้ ดว้ ยเหตนุ ี้ ไมว่ า่ วดั ทถี่ กู ระบใุ นเอกสารจะสรา้ งขน้ึ บนทถี่ วายพระเพลงิ พระบรมศพ/พระศพ หรอื ไมก่ ต็ าม แตเ่ ราไดเ้ หน็ วธิ คี ดิ ในความเชอื่ ดกึ ดำ� บรรพท์ ย่ี งั ตกคา้ งถกู ใชอ้ ยใู่ นสงั คมไทย อยา่ งนอ้ ย จนถงึ สมยั แรกเรม่ิ ของยคุ รตั นโกสนิ ทรท์ ยี่ งั “คง” หรอื “เพม่ิ เตมิ ” เนอ้ื หาเรอ่ื งการสรา้ งวดั บนทถี่ วาย พระเพลิงพระบรมศพเอาไว้ในการช�ำระพระราชพงศาวดารเหล่าน้ีด้วย ทั้งนี้ไม่ว่าวัดท่ีถูกกล่าวถึง จะสรา้ งบนสถานทถ่ี วายพระเพลงิ หรอื ไมก่ ม็ ใิ ชป่ ระเดน็ สำ� คญั ไปกวา่ ความตงั้ ใจจะแสดงคตทิ ยี่ กยอ่ ง ผสู้ ร้างศาสนสถานบนสถานทป่ี ลงศพตามแบบอยา่ งของบุคคลสำ� คัญทางพทุ ธศาสนานั่นเอง 297เสดจ็ สแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
รายการอา้ งอิง กรมศลิ ปากร. ๒๕๑๘. การพจิ ารณาปญั หาเรอ่ื งเจดยี โ์ บราณทอ่ี ำ� เภอพนมทวน จงั หวดั กาญจนบรุ .ี กรงุ เทพฯ : กรมศิลปากร. กรมศิลปากร. ๒๕๓๐. การศึกษาวิจัยเร่ืองวัดช้างล้อมในอุทยานประวัติสาสตร์ศรัสัชนาลัย อ.ศรีสัชนาลัย จ.สุโขทยั . กรุงเทพฯ: กรมศลิ ปากร. กรมศิลปากร. ๒๕๔๐. วดั ชมช่ืน. กรงุ เทพฯ: กรมศิลปากร. ค�ำให้การชาวกรุงเก่า ค�ำให้การขุนหลวงหาวัดและพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหลวงประเสริฐ อกั ษรนติ ิ.์ ๒๕๑๕. นครหลวงกรงุ เทพธนบุรี: คลงั วทิ ยา. ตรี อมาตยกุล. ๒๕๑๘. ความเห็นเก่ียวกับเส้นทางเดินทัพของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระมหา อุปราชา. การพจิ ารณาปญั หาเร่อื งเจดียโ์ บราณทีอ่ ำ� เภอพนมทวน จงั หวดั กาญจนบุร.ี กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร. ประภัสสร์ ชูวิเชียร. ๒๕๕๒. วัดวรเชตุเทพบ�ำรุง แบบอย่างงานช่างของอยุธยาในพุทธศตวรรษที่ ๒๒. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์ศิลปะไทย. กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร. พงศ์ธนั ว์ บรรทม. ๒๕๔๔. ปราสาทพนมวนั . กรงุ เทพฯ: กรมศิลปากร. พระยาวิเชียรปรีชา(น้อย). ๒๕๑๖. พงศาวดารเหนือ. พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายชุมพร ศรีสัชชนกุล ณ เมรุวัดน้อยนางหงส์ อ�ำเภอบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์พฆิ เณศ. “พระราชพงศาวดารกรงุ ศรอี ยธุ ยา ฉบบั หลวงประเสรฐิ อกั ษรนติ ”ิ์ , ใน คำ� ใหก้ ารชาวกรงุ เกา่ คำ� ใหก้ ารขนุ หลวง หาวัดและพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์. ๒๕๑๕. นครหลวง กรงุ เทพธนบรุ :ี คลงั วทิ ยา. พระราชพงศาวดารกรงุ ศรอี ยธุ ยา ฉบบั พนั จนั ทนมุ าศ (เจมิ ) กบั พระจกั รพรรดพิ งศ(์ จาด). ๒๕๐๗. พระนคร: คลังวทิ ยา. พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา เลม่ ๑, ๒๕๔๘.กรุงเทพฯ : กรมศลิ ปากร. พเิ ศษ เจียจนั ทร์พงศ์, ๒๕๕๕. “ต�ำนานพยากรณ์ท่ผี ิดพลาด,” ใน ต�ำนาน. กรงุ เทพฯ: มตชิ น. พเิ ศษ เจียจันทรพ์ งศ.์ ๒๕๕๕. “ต�ำนานในพงศาวดารกรุงศรีอยธุ ยาฉบับวนั วลิต พ.ศ.๒๑๘๒,” ใน ต�ำนาน. กรุงเทพฯ: มตชิ น. พเิ ศษ เจยี จนั ทรพ์ งษ.์ ๒๕๕๓. “ไมม่ วี ดั ใหญช่ ยั มงคลในสมยั อยธุ ยา,” ใน ฟน้ื ฝอยหาตะเขบ็ . กรงุ เทพฯ : มตชิ น. สนั ต์ ท.โกมลบตุ ร, แปล. ๒๕๒๖. การทอ่ งเทย่ี วผจญภยั ของแฟร์นงั ด์ มงั เดซ ปินโต ค.ศ.๑๕๓๗-๑๕๕๘. กรุงเทพฯ: กรมศลิ ปากร. สนั ติ เล็กสุขมุ . ๒๕๒๙. เจดยี เ์ พิ่มมมุ เจดยี ์ย่อมมุ สมัยอยธุ ยา. กรงุ เทพฯ: มูลนธิ เิ จมส์ ทอมป์สัน. สันติ เลก็ สขุ มุ . ๒๕๕๐. ศิลปะอยธุ ยา งานชา่ งหลวงแห่งแผน่ ดิน. กรงุ เทพฯ: เมืองโบราณ. สจุ ติ ต์ วงษ์เทศ. ๒๕๔๗. ชาติพันธสุ์ ุวรรณภูมิ บรรพชนคนไทยในอษุ าคเนย์. กรงุ เทพฯ: มตชิ น Patil, D.R. 2006. Kusinagara. New Delhi: Archaeological Survey of India. 298 เสด็จสูแ่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
กระบวนทัศน์ท่แี ปรเปล่ยี น ในการออกแบบพระเมรุในสมยั รตั นโกสินทร์ อาจารย์ ดร.เกรยี งไกร เกดิ ศริ ๑ิ , วรินทร์ รวมส�ำราญ๒, ภัทร ราหลุ ๓, วษิ ณุ หอมนาน๑ กลุ พชั ร์ เสนีวงศ์ ณ อยธุ ยา๑, แสงจันทร์ ผูอ้ ยสู่ ขุ ๓ ๕๑ กลา่ วน�ำ รากเหง้าเค้ามูลของประเพณีปลงศพของผู้วายชนม์ด้วยการเผาสรีระไร้วิญญาณด้วย พระเพลิงที่ปรากฏในดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นั้น มีต้นก�ำเนิดมาจากอนุทวีปอินเดีย มาแตโ่ บราณ ทงั้ ในศาสนาฮนิ ดู และศาสนาพุทธ สำ� หรับธรรมเนยี มการปลงศพของพุทธศาสนิกชน ที่แม้ว่าจะมีการเผาร่างไร้วิญญาณเช่นเดียวกันกับธรรมเนียมฮินดู แต่ทว่าจะมีการเก็บเถ้าอัฐิและ อังคารบรรจุในภาชนะดินเผาฝังดินไว้แล้วจึงสร้างมูลดินไว้ด้านบนเพื่อเป็นหมุดหมายซึ่งการสร้าง มูลดินดังกล่าวได้พัฒนาสู่การสร้างเจดีย์ไว้เป็นเครื่องหมายในภายหลัง ซ่ึงส่งอิทธิพลต่อมายัง ธรรมเนยี มการปลงศพ และการเก็บรักษาอัฐใิ นดนิ แดนลมุ่ แม่นำ้� เจา้ พระยา นอกจากนี้ ด้วยจักรวาลทัศน์ในพระพุทธศาสนาที่พัฒนาขึ้นอย่างเฉพาะตัวในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้และสอดคล้องกับการสถาปนาความหมายอันสลับซับซ้อนในการพิธีท่ีเก่ียวเน่ือง กับสถาบนั กษัตรยิ เ์ พ่ือแสดงความหมายทิพยภาวะท่ีแตกต่างไปจากมนุษย์ปถุ ชุ น พธิ ีกรรมปลงศพ จงึ ทวคี วามสลบั ซบั ซอ้ นอยา่ งยงิ่ โดยเฉพาะพระราชพธิ ถี วายพระเพลงิ พระบรมศพพระมหากษตั รยิ ์ ในสมัยอยุธยา ทว่าเมื่อกาลที่บ้านเมืองแตกดับ และมีการสถาปนาราชธานีใหม่ก็ท�ำให้การส่งผ่าน ระเบียบปฏิบัติของพระราชพิธีเป็นไปอย่างไม่สมบูรณ์ เพราะอยู่ภายใต้สภาวะการณ์ที่คับขันและ ทรพั ยากรตา่ งๆ มจี ำ� กดั ทำ� ใหพ้ ระราชภารกจิ ทส่ี ำ� คญั ของปฐมกษตั รยิ แ์ หง่ กรงุ รตั นโกสนิ ทรป์ ระการ หนึง่ คอื การช�ำระสะสางธรรมเนียมที่เก่ียวเนอื่ งกับราชสำ� นกั พระราชพธิ ี กฎหมายทเ่ี ป็นกลไกใน การปกครองราชอาณาจกั ร และพระไตรปฎิ กทใ่ี ชเ้ ปน็ กลไกในการปกครองพทุ ธจกั รทชี่ ว่ ยสนบั สนนุ ความมั่นคงของพระราชอ�ำนาจและสถาบนั กษตั ริย์ ๑ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร ๒ คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยพะเยา ๓ สถาปนกิ อสิ ระ 299เสด็จสู่แดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402