เรอื พระราชพธิ ียคุ สมัยสมเด็จพระนารายณ์ (ลายเสน้ ฝีมือชาวยุโรป พิมพค์ รัง้ แรก เม่ือ ค.ศ. ๑๖๘๘ พ.ศ. ๒๒๓๑) พิธเี ชิญพระบรมศพของกษัตริย์เวยี ดนามสมยั กอ่ นดว้ ยกระบวนเรอื ลายเส้นเขียนเมื่อ ค.ศ.๑๗๘๒ (พ.ศ.๒๓๒๕) (ภาพจากหนังสอื Encyclopedia Hanoi Vietnam, 2000.) และพรอ้ มกนั นั้นก็มีเสยี งนา่ กลัวไมห่ ยุดหย่อน มเี สยี งปืนใหญ่ ปืนครก กลอง ระฆัง แตร และเสยี งหนวกหปู ระเภทอื่นๆ อกี ด้วยเหตุน้ีจึงเป็นไปไมไ่ ด้ท่ีไดย้ นิ แล้วจะไม่ส่ัน พธิ นี สี้ น้ิ สดุ ลงในเวลาไมถ่ งึ ชว่ั โมง เพราะวา่ พวกรปู เหลา่ นที้ ำ� ดว้ ยวตั ถทุ ไี่ หมไ้ ฟได้ และเรอื กเ็ ตม็ ไปดว้ ยน้ำ� มนั ดินและยางสนหรือชนั น่ากลัวมาก... ดงั นน้ั ในชวั่ ครนู่ นั้ บรรดาเรอื นนั้ ๆ และสงิ่ ทง้ั หมดซง่ึ อยใู่ นเรอื เหลา่ นนั้ กค็ อ่ ยๆ หมดไป...” 50 เสดจ็ สู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
๑ [จากบทแปลเรอื่ ง “การทอ่ งเทยี่ ว การเดนิ ทาง และการผจญภยั ของ เฟอรด์ นิ นั ด์ เมนเดซ ปนิ โต”. แปลโดย นางนันทา วรเนติวงศ.์ จากต้นฉบบั ภาษาองั กฤษเร่อื ง The Travels, Voyages and Adventures of Ferdinand Mendaz Pinto. พิมพ์อยู่ในหนงั สือ รวมเร่อื งแปลหนังสือและ เอกสารทางประวัตศิ าสตร์ ชุดท่ี ๓ กรมศลิ ปากร พมิ พ์ครง้ั แรก พ.ศ.๒๕๓๘] เฟอร์ดินนั ด์ เมนเดซ ปินโต ชาวโปรตุเกส เดินทางเข้ามาถึงพระนครศรีอยุธยาในรัชกาลน้ี กล่าวกันว่าเขารับอาสางาน ราชการทัพด้วย แล้วอยู่จนกระทั่งสมเด็จพระไชยราชาธิราชสวรรคต จึงเห็นงานถวายพระเพลิง พระบรมศพ ยุคกอ่ นมพี ระเมรมุ าศ)] เวชยนั ตราชรถ ทำ� กระหนกคลา้ ยเศยี รนาคสญั ลกั ษณโ์ ขนเรอื นาค ในโรงราชรถ พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร (ภาพจากหนังสือ เคร่ืองประกอบพระราชอิสริยยศ ราชยาน ราชรถ และพระเมรุมาศ กรมศิลปากร พิมพค์ รั้งแรก ๒๕๓๙) ราชรถ มาจากเรือนาค ตอ่ มาเมอื่ เกดิ ประเพณอี อกพระเมรมุ าศ กไ็ มจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งไปทางเรอื อกี เพราะจดั ทลี่ านสนาม หนา้ จักรวรรดิ (ดา้ นตะวนั ออกของวงั หลวง อยธุ ยา) หรอื ท่กี รงุ เทพฯ เรียกสนามหลวง แต่พาหนะท่ีเชิญพระบรมศพหรือพระโกศก็ยังเป็นเรือนาค แม้จะสร้างเป็นราชรถ แต่ส่วนหัวและหางยังเป็นลวดลายสัญลักษณ์ของนาคเหมือนเดิม ย่ิงในกัมพูชา งานออกพระเมรุ จะเชิญพระศพด้วยรถทีแ่ ต่งเปน็ นาคชดั เจน ในท้องถ่ินอีสานทุกวันนี้ งานศพพระสงฆ์จะเชิญศพด้วยรถที่แต่งเป็นนาค แม้ตามวัดวา อารามปัจจุบนั ท่ีมเี มรุเผาศพ จะมรี ถเชญิ ศพแตง่ เป็นรปู นาคด้วย 51เสดจ็ สู่แดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
๕. เครือ่ งประโคมงานศพ ป่,ี ฆอ้ ง, กลอง ตน้ แบบป่ีพาทย์ คนตาย เพราะขวัญหายไปหนไหนไม่รู้? ตอ้ งทำ� พธิ ีเรยี กขวัญคืนร่าง คนจะได้ฟน้ื คนื ปกติ โดยประโคมตีเคร่ืองมือ (เครื่องดนตรี) เท่าท่ีมีขณะน้ัน แล้วร้องร�ำท�ำเพลงอึกทึกดังที่สุดให้ขวัญ ได้ยนิ จะได้กลับถกู ทาง (มอี ธิบายแลว้ ในบท ๒) ดนตรีประโคมงานศพเก่าสุดในอุษาคเนย์ราว ๓,๐๐๐ ปีมาแล้ว มีเคร่ืองมือหลัก ได้แก่ เคร่อื งตี (เช่น กลองไม)้ , เครือ่ งเปา่ (เช่น ป)่ี ต่อมา ๒,๕๐๐ ปีมาแล้ว ค้นพบโลหะ กม็ ีเคร่อื งมือโลหะเพ่มิ ขน้ึ ได้แก่ เครื่องตี (เช่น กลอง ทองมโหระทกึ , ฆ้อง), เครอ่ื งเปา่ (เช่น แคน) งานศพดึกด�ำบรรพ์ ราว ๒,๕๐๐ปี มาแล้ว มีขบวนแห่พร้อมเคร่ืองประโคมหลายอย่าง มีคนแบกหาม เครอื่ งมือชนิดเหลี่ยมและกลมคลา้ ยกลองทองมโหระทกึ กับกลองไม้ ในขบวนมีรูปคล้ายกำ� ลงั รว่ มเพศของหญิงชาย เพื่อความสมดุลท่ีสูญเสียสมาชิกไป แล้วยังเป็นสัญลักษณ์ของการเจริญเผ่าพันธุ์ให้เกิดความมั่งค่ังในพืชพันธุ์ ธญั ญาหาร [สรปุ ใหมจ่ ากคำ� อธบิ ายในบทความเรอ่ื ง “เซก็ ซห์ นา้ ศพ เพศสมั พนั ธเ์ หนอื ความรกั ” ของ พพิ ฒั น์ กระแจะจนั ทร์ ในเวบ็ ไซต์ themomentum.com เผยแพรเ่ มอื่ ๖ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๐, ลายเสน้ คดั ลอกของกรมศลิ ปากรจากภาพเขยี น ในถ้ำ� ตาด้วง บ้านวงั กลุ า ต.ชอ่ งสะเดา อ.เมอื ง จ.กาญจนบรุ ี] ชนชาติจว้ ง (พดู ตระกูลภาษาไต-ไท) มณฑลกวางสใี นจีน มปี ระเพณปี ระโคมตีกลองทองมโหระทึก และ มกี ลองไม้ขงึ หนงั ตอกหมดุ หนา้ เดียว (เหมอื นกบั กลองทัดปจั จบุ นั ) เปน็ ประธาน เสียงกงั วานโลหะ เมื่อราว ๒,๕๐๐ ปี มาแล้ว นับเปน็ เสยี งใหม่ ยิ่งใหญ่ เปน็ ส่งิ ศักด์สิ ทิ ธิ์ และมหศั จรรย์ ทีส่ ดุ ของยุคน้นั เคร่อื งดนตรโี ลหะจึงมฐี านะสูงมากตราบถึงทกุ วันนี้ เช่น ฆอ้ งวง ถอื เปน็ “ครใู หญ”่ ของวงป่ีพาทย์ ทง้ั ในไทยและอษุ าคเนย์ [ภาพจากหนงั สือ คนไทยอย่ทู น่ี ี่ ทีอ่ ุษาคเนย์ ของ สุจติ ต์ วงษ์เทศ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร พิมพ์คร้ังแรก พ.ศ.๒๕๓๗ หน้า ๑๓๘-๑๗๕] 52 เสดจ็ สูแ่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
๑ กลองทองมโหระทกึ เปน็ ตน้ ทางวฒั นธรรมฆอ้ ง ทไี่ ดร้ บั ยกยอ่ งเปน็ เครอ่ื งมอื สำ� คญั ทสี่ ดุ สบื จนทุกวนั น้ี ดงั ในประเพณีวงปพี่ าทย์ไทย ถือวา่ ฆอ้ งวงเป็นประธาน หรอื ครูใหญ่ [หลักฐานประวัติศาสตร์โบราณคดีและมานุษยวิทยา เก่ียวกับดนตรีและนาฏศิลป์ ยคุ ดกึ ดำ� บรรพห์ ลายพนั ปมี าแลว้ ผมเคยรวบรวมไวใ้ นหนงั สอื ๒ เลม่ คอื รอ้ งรำ� ทำ� เพลง (สำ� นกั พมิ พ์ มตชิ น พมิ พค์ รงั้ แรก พ.ศ.๒๕๓๒) และ ดนตรไี ทย มาจากไหน? (วทิ ยาลยั ดรุ ยิ างคศลิ ป์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล พมิ พค์ รงั้ แรก พ.ศ.๒๕๕๓) นอกจากนน้ั ยงั มขี อ้ มลู เพมิ่ เตมิ อกี ในหนงั สอื ดนตรอี ษุ าคเนย์ โดย เจนจริ า เบญจพงศ์ วทิ ยาลัยดรุ ยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหดิ ล พิมพ์ครั้งแรก พ.ศ.๒๕๕๕] วงตมุ้ โมง ของชุมชนตระกูลมอญ-เขมร แถบลุ่มน�้ำมลู ทวิ เขาพนมดงเรก็ มี ปี่, ฆ้อง, กลอง เปน็ ปพี่ าทย์ ฆอ้ งวงยคุ แรกๆ (ภาพจาก สารานกุ รมวฒั นธรรมไทย ภาคอสี าน เลม่ 5 โดย มลู นธิ สิ ารานกุ รมวฒั นธรรมไทย ธนาคาร ไทยพาณชิ ย์ พมิ พ์เมื่อ พ.ศ.๒๕๔๒) ปพี่ าทย์ฆอ้ งวง หรือ ตุม้ โมง มีพฒั นาการสบื มาจนปัจจบุ นั เปน็ ปีพ่ าทย์ (บางทเี รียก พิณพาทย์) มรี ะนาด เพิ่มฆอ้ งวง แล้วมีเครอ่ื งมอื อน่ื ๆ อีก ถ้าใชใ้ นพธิ กี รรมเรยี กป่พี าทยพ์ ิธี เครื่องดนตรมี ตี น้ แบบจากนาค หรือ เรอื ศักดิ์สทิ ธ์ิส่งผีขวัญไปทางน�้ำ (ซา้ ย) ฆ้องวงมอญ (กลาง) ฆอ้ งวง เขมร, ลาว, ไทย (ขวา) ระนาดเอก ป่พี าทยฆ์ ้องวง ครน้ั เติบโตขนึ้ เป็นบ้านเปน็ เมอื ง แลว้ เปน็ รัฐตงั้ แต่กอ่ น พ.ศ. ๑๐๐๐ ดนตรปี ระโคมงานศพ ไดแ้ ก่ ป่ี, ฆ้อง, กลอง, ฯลฯ เรยี กในเอกสารยุคอยธุ ยาวา่ ปีพ่ าทย์ฆ้องวง ใชง้ านพิธกี รรมทว่ั ไปดว้ ย เชน่ แกบ้ น, ละคร, หนงั ใหญ,่ ฯลฯ แตใ่ นวฒั นธรรมเขมร เรยี ก วงตมุ้ โมง (ตมุ้ คอื เสยี งกลอง, โมง คอื เสยี งฆอ้ ง) ยงั มใี ชส้ บื มา จนทกุ วนั นอ้ี ยทู่ าง จ.สรุ นิ ทร,์ จ.บรุ รี มั ย,์ จ.ศรสี ะเกษ (คลา้ ยกบั ภาพสลกั ทปี่ ราสาทนครวดั ในกมั พชู า) 53เสด็จสแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
วงป่ีไฉนกับกลองชนะ ในกระบวนแหพ่ ระบรมอฐั ิ ร.๕ (ภาพเกา่ จากหอจดหมายเหตแุ ห่งชาติ) ป,่ี กลอง ราวหลัง พ.ศ.๑๐๐๐ บ้านเมอื งในอษุ าคเนยร์ ับแบบแผนวัฒนธรรมจากอนิ เดยี ใตแ้ ละลังกา ซงึ่ มเี ครือ่ งประโคมที่เรียกชอ่ื ภายหลังอยา่ งทางการเป็นคำ� จากภาษาบาล-ี สันสกฤตว่า ปัญจตุริยะ (หรือปญั จวาทยะ) มี ๕ ส่ิง คือ ปี่ ๑ เลา (ป่ไี ฉน, ปีช่ วา) และกลองรูปรา่ งต่างกัน ๔ ใบ (กลองแขก, กลองมลาย)ู แล้วเรียก กนั ต่อมาวา่ กลอง ๔ ปี่ ๑ หรือ ป่ชี วา กลองแขก ในลงั กามชี อื่ เฉพาะเรยี กตา่ งกนั ๒ อยา่ ง คอื งานทวั่ ไปเรยี ก มงั คลเภรี (มงั -คะ-ละ-เพ-ร)ี งานศพเรียก อวมงั คลเภรี ในไทยลมุ่ น้ำ� เจ้าพระยารบั มาเรยี ก วงปีไ่ ฉนกลองชนะ ลมุ่ นำ้� ยมรับมาเรยี ก วงมงั คละ ภาคใตร้ บั มาเรียก วงกาหลอ (กรอ่ นจากค�ำวา่ มังคละ) ถา้ ประกอบการละเล่นกระบี่กระบองและมวย เรียก ปี่กลอง ทกุ วันนี้ยังมีตามเวทีมวยไทย ปพ่ี าทย์งานศพ ปี่พาทย์นางหงส์ เป็นช่ือสมมุติเพ่ือเรียกวงประโคมงานศพ ตามประเพณีให้หงส์ส่ง วิญญาณข้ึนสู่สรวงสวรรค์ เพราะหงส์เป็นสัตว์มีปีก บินข้ึนฟ้าได้ แล้วเรียกเป็นนางตามประเพณี ยกยอ่ งเพศหญิงเป็นใหญ่ในพิธกี รรม เครื่องดนตรีได้จากวงปีพ่ าทย์พิธี ผสมกับวงปช่ี วา กลองแขก หรือ กลอง ๔ ปี่ ๑ โดยลด กลองเหลอื ๒ เรียกปีก่ บั กลอง เป็นวงลูกผสม มเี ฉพาะในไทย [มีอธบิ ายเพ่ิมอีก ผมเคยเขียนไว้ เรอื่ ง “ปี่ชวา-กลองแขก เครอ่ื งประโคมของชวา-มลายู ไทยรับมาผสมเปน็ ป่พี าทย์นางหงส์ วงบวั ลอย” ในมตชิ นออนไลน์ วันศกุ ร์ ๑๖ ธนั วาคม ๒๕๕๙] 54 เสด็จสูแ่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
๑ ป่พี าทย์ประโคมงานศพ (นง่ั หน้า) วงปีก่ ลองบรรเลงบวั ลอย (เคร่อื งตงั้ ดา้ นหลัง) วงปีพ่ าทยม์ อญ ในงาน พระราชทานเพลงิ ศพครสู ุพจน์ โตสงา่ หน้าเมรุวัดราษฎรบ์ �ำรุง เขตหนองแขม กรงุ เทพฯ เม่ือ พ.ศ.๒๕๓๗ (ภาพจาก หนงั สอื แมไ่ มเ้ พลงกลอง งานพระราชทานเพลงิ ศพ นายมนสั ขาวปลมื้ ณ เมรวุ ดั ประยรุ วงศาวาสวรวหิ าร กรงุ เทพฯ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๔๑) ปี่พาทย์มอญ เป็นวงปี่พาทย์ในวัฒนธรรมมอญ ใช้ประโคมทั่วไปเหมือนปี่พาทย์ไทย, ปพี่ าทย์เขมร, ปี่พาทยล์ าว ทัง้ ประกอบการแสดง และประกอบพิธีกรรมตั้งแต่เกดิ ถึงตาย ประโคมงานศพไทยดว้ ยป่พี าทย์มอญ เริ่มในแผ่นดนิ ร.๔ เม่ือรบั พระบรมราชานุญาตให้ ประโคมงานพระเมรุท้องสนามหลวง หลังจากนั้นพวกเจ้านายขุนนางข้าราชการก็ท�ำเลียนแบบสืบ มาจนแพร่หลายสู่สามญั ชนทั่วไป [สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดำ� รงราชานุภาพ มีลายพระหัตถ์ ฉบับลงวนั ที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๔๘๓ เลา่ ให้สมเด็จฯ เจา้ ฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดตวิ งศ์ ทรงทราบ] ลายนก อยขู่ อบนอกสดุ ของหนา้ กลองทองมโหระทกึ ราว ๒,๕๐๐ ปี มาแลว้ เชอ่ื กนั ต่อมาว่าเปน็ นกกระเรยี น (แตไ่ มร่ ะบเุ พศผหู้ รอื เมยี ) ยกยอ่ งเปน็ นกศกั ดสิ์ ทิ ธสิ์ อื่ สาร ระหว่างดินกับฟ้า อาจหมายถึงนกน�ำทางขวัญคนตาย ขน้ึ ฟา้ แตส่ มยั หลงั ปรบั เปลยี่ นเปน็ นกอน่ื ๆ เชน่ หสั ดลี งิ ค,์ หงส์ ฯลฯ [ลายเส้นจากรูปหน้ากลองทองมโหระทึก พบที่ เวียดนาม] 55เสด็จสูแ่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
นกศักดิ์สิทธิ์ ยคุ ดึกด�ำบรรพ์ ค�ำว่า นางหงส์ หมายถึง (นาง)นก(ตัวเมีย) เช่น (อี)แร้ง, (อี)กา, ฯลฯ ตามประเพณี ดกึ ด�ำบรรพ์ว่าปลงดว้ ยนก หมายถึงให้แร้งกากินศพแล้วขึ้นฟา้ (สวรรค์) มีหลักฐานลายเส้นรปู นก สลักบนหน้ากลองทอง (มโหระทึก) ราว ๒,๕๐๐ ปี มาแล้ว ปลงด้วยนก เมื่อเปลี่ยนคติตามอินเดียท�ำพิธีเผาศพก็ยังรักษาร่องรอยด้ังเดิม คือให้นางนกแร้ง-กา พาขวญั และวญิ ญาณสฟู่ า้ เรยี กปลงดว้ ยนก จงึ เรยี กนางนกแรง้ กาอยา่ งยกยอ่ งวา่ นางหงส์ บางทอ้ งถน่ิ เรยี กนกหัสดลี ิงค์ เม่ือเริ่มจุดไฟเผาศพ วงปี่พาทย์นางหงส์ท�ำเพลงบัวลอย มีความหมายว่าให้ขวัญ (หรือ วิญญาณ) ลอยขึ้นฟา้ “บวั ลอย เปน็ ชอื่ เพลงทป่ี เ่ี ปา่ ” (สมเดจ็ ฯ เจา้ ฟา้ กรมพระยานรศิ รานวุ ดั ตวิ งศ์ มลี ายพระหตั ถ์ ลงวนั ท่ี ๒๓ กรกฎาคม ๒๔๘๓ ทูลสมเด็จฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ) บรรเลงประโคมทวั่ ไปในงานศพ มชี อื่ เพลงโดยลำ� ดบั วา่ บวั ลอย, นางหนา่ ย, กระดรี้ ,ี นางหงส,์ หกคะเมน, ไต่ลวด ไม่ก�ำหนดตายตัว จะแทรกเพลงอ่ืนก็ได้ (ที่ไม่ใช่เพลงมงคล) แต่เวลาเผาศพ มเี พลงกำ� หนดตามล�ำดับ ดงั น้ี ทบุ มะพร้าว, แร้งกระพือปกี , กาจับปากโลง, ชักไฟสามดุ้น, ไฟชุม เมื่อจุดไฟเผาศพให้ท�ำเพลงบัวลอย (มีในหนังสือของพระยาอนุมานราชธน กราบทูล สมเด็จฯ เจา้ ฟา้ กรมพระยานริศรานวุ ัดติวงศ์ ลงวนั ที่ ๗ มีนาคม ๒๔๘๒) จะเหน็ ว่าช่ือเพลงตอนเผาศพเกย่ี วข้องกับสัตว์ปีก คือ แรง้ กระพอื ปกี , กาจบั ปากโลง ๖. สรุป งานศพปจั จุบัน สบื ทอดพธิ กี รรมหลายพันปมี าแลว้ ในไทย งานศพปัจจุบันสืบทอดพิธีกรรมทางศาสนาผียุคดึกด�ำบรรพ์หลายพันปีมาแล้ว วา่ คนตายเพราะขวญั หาย ตอ้ งทำ� พธิ เี รยี กขวญั คนื รา่ งโดยใชเ้ วลานานหลายวนั หลายคนื แลว้ เชอื่ วา่ คนจะฟนื้ ขน้ึ มาเหมอื นเดิม (ซง่ึ ไมเ่ กย่ี วกับวิญญาณตามคตใิ นศาสนาพราหมณ์, พทุ ธ จากอนิ เดยี ทเี่ พิ่งรบั เข้ามาในสมัยหลังๆ) ความเช่ือเร่ืองขวัญยังเป็นแกนส�ำคัญเหมือนเดิมไม่หมดไป แม้เปล่ียนจากฝังศพ ลงดิน เปน็ เผาศพดว้ ยไฟ ตามประเพณใี หม่ในศาสนาพราหมณ์-พุทธ ทั้งน้ี มีเหตุจากศาสนาผีรักษากฎเกณฑ์ทางสังคม แล้วเป็นรากฐานอันแข็งแกร่งในไทย ถงึ แมจ้ ะรบั ศาสนาจากอนิ เดยี กร็ บั เอาสงิ่ ละอนั พนั ละนอ้ ยของศาสนาพราหมณก์ บั พทุ ธ โดยเลอื กรบั เฉพาะส่วนที่ไม่ขัดกับหลักผี เข้ามาประดับประดาศาสนาผีให้ดูดีและทันสมัย น่าเล่ือมใสศรัทธา เสมือนเอาผ้าพุทธคลุมผีให้เหลืองอร่ามงามหน้ามีสง่าราศีข้ึนเท่านั้น (เรียบเรียงใหม่จากบทความ เร่ืองศาสนาผี ของ นธิ ิ เอยี วศรีวงศ์ พิมพใ์ นมติชนสุดสปั ดาห์ ฉบับวันท่ี ๒๑-๒๗ ตลุ าคม ๒๕๕๔ หนา้ ๒๘-๒๙ และ ฉบบั วันท่ี ๔-๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ หน้า ๒๘) 56 เสด็จสู่แดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
๑ นอกจากงานศพ ยงั พบความเช่อื เรอ่ื งขวญั มอี �ำนาจเหนอื พิธบี วชในศาสนาพุทธ เห็นได้ จากตอ้ งมีพิธที �ำขวญั นาคตามประเพณที างศาสนาผี กอ่ นเขา้ พิธบี วชในโบสถ์ เดนิ สามหาบ, แปรรปู พธิ กี รรมทตี่ กทอดสบื หลายพนั ปมี าแล้ว แตไ่ มพ่ บวา่ มตี น้ ทางอยา่ งไร? เชน่ เดินสามหาบ, แปรรูป ฯลฯ เดินสามหาบ ในงานศพไทยทุกวันน้ี เป็นประเพณีสืบเน่ืองจากพิธีเรียกขวัญงานศพยุค ด้ังเดมิ ราว ๓,๐๐๐ ปีมาแล้ว เมือ่ เผาศพแล้ว รงุ่ เช้าจัดข้าวของท�ำบญุ ถวายพระสงฆ์ โดยใส่กระบงุ กระจาดรวม ๓ หาบ เดนิ เวยี นรอบที่เผาศพ ๓ รอบ ขณะเดินเวียนตอ้ งรอ้ งตะโกนกู่หากัน เสรจ็ แลว้ จงึ นำ� ของ ๓ หาบ ถวายพระสงฆ์ [จากหนังสือ ประเพณีเนือ่ งในการเกิด และประเพณเี น่อื งในการตาย ของ เสฐยี รโกเศศ จดั พมิ พเ์ ปน็ อนสุ รณ์ แด่ นายยบิ อินซอย พ.ศ.๒๕๑๓ หนา้ ๒๑๖-๒๑๗] ๑. หาบใส่ของ มีส่ิงของต่างๆ ได้แก่ เคร่ืองมือเครื่องใช้ในชีวิตประจ�ำวันของ ยุคน้ัน เชน่ หม้อดนิ เผา, เตาเชิงกรานดินเผา ฯลฯ หาบมี ๒ ข้าง ใสส่ ่งิ ของตา่ งกนั ข้างหน่งึ เปน็ ของคาว มีขา้ วสาร, พริก, หอม, กระเทียม, กะปิ ฯลฯ อกี ขา้ งหนึ่งเปน็ ของหวาน เครื่องมือเคร่ืองใช้ท�ำนองเดียวกันน้ี นักโบราณคดีเคยขุดพบในหลุมศพ (ยุคก่อน ประวัติศาสตร)์ ราว ๓,๐๐๐ ปีมาแล้ว ท่ีบา้ นเก่า (กาญจนบุร)ี , บ้านเชยี ง (อดุ รธานี) ฯลฯ อาหารบางอยา่ งเคยขุดพบในหลมุ ศพท่ีบา้ นโนนวัด (นครราชสีมา) เช่น โครงกระดูกปลา ช่อนกับปลาดุกหลายตวั รวมกันในภาชนะดนิ เผา ฯลฯ ๒. ร้องตะโกนก่หู ากันขณะเดนิ หาบของเวียนรอบทเ่ี ผาศพ สืบเนือ่ งจากตะโกนเรยี ก ขวัญที่หายจากร่างใหค้ ืนร่างคนตาย ตามประเพณเี รียกขวัญ ราว ๒,๕๐๐ ปีมาแลว้ โดยเชื่อว่าขวัญหายจากร่างแล้วหลงทางกลับไม่ถูก เม่ือขวัญได้ยินเสียงตะโกนน้ัน ขวญั จะกลบั คนื รา่ งตามเสยี งท่ีได้ยิน แปรรูป หมายถึงเกบ็ กระดูกที่เผาแลว้ (อัฐิ) มาเรยี งเป็นรปู คน (บางทีเรียก แจงรูป) เสรจ็ แล้วรวบรวมกระดูกเหล่านั้นใส่ภาชนะเกบ็ ไว้ในทศ่ี กั ดิ์สิทธิ์ เช่น สร้างเสาไม้แกะสลกั หรอื หล่อซเี มนต์คลา้ ยเสมาหนิ เป็นท่บี รรจุอัฐิ ตงั้ ไวใ้ นวัดหรือในปา่ ช้า [จากบทความเรื่อง “เสมาหินอีสาน” (พิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกในวารสารเมืองโบราณ พ.ศ.๒๕๒๘) รวมอยู่ในหนังสือ แอ่งอารยธรรมอีสาน ของ ศรีศักร วัลลิโภดม ส�ำนักพิมพ์มติชน พิมพค์ รง้ั ทส่ี ี่ พ.ศ. ๒๕๔๖ หนา้ ๔๑๓-๔๑๔] ปัจจุบันเกบ็ อัฐิไวต้ ามวัด ลว้ นสืบเนอ่ื งจากพิธศี พครัง้ ทสี่ องยุคดึกดำ� บรรพ์ เช่น สร้างเจดยี ์ บรรจุ, ทำ� ช่องบรรจุบนก�ำแพงวดั ฯลฯ 57เสด็จสูแ่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
แต่งตัวสสี ันฉูดฉาด งานศพตามประเพณีด้ังเดิมของไต-ไท เป็นพิธีเรียกขวัญคืนร่างคนตายด้วยการละเล่น สนุกสนาน เรยี ก “งนั เฮอื นดี” คนไปร่วมงานมีเคร่อื งแต่งตัวเครอ่ื งประดบั สีสนั ฉูดฉาด พ.ศ.๒๕๐๐ งานศพในชนบทของไทย โดยเฉพาะภาคกลางลุ่มน้�ำเจ้าพระยา เผาศพบน เชิงตะกอน (ยังไม่มีเมรุ) คนไปงานศพแต่งตัวด้วยเส้ือผ้าอาภรณ์สีสันฉูดฉาด ใครมีเครื่องประดับ เป็นแก้วแหวนเงินทองต่างใสอ่ วดกัน ใครมผี ้าลายผ้าดอกกเ็ อามานงุ่ ห่มไปงานศพ (เหมอื นไปงาน สมโภช) แต่งชุดด�ำตามวัฒนธรรมตะวันตก เริ่มสมัย ร.๕ มีเฉพาะกรุงเทพฯ เท่านั้น จนหลัง พ.ศ.๒๕๐๐ จึงค่อยๆ มใี นเมอื งใหญ่ๆ นอกกรุงเทพฯ แลว้ กระจายท่วั ประเทศเม่ือไมน่ านนีเ้ อง พิธีศพคนไทยอยูท่ นี่ ี่ พธิ ศี พไทยปจั จบุ นั มหี ลกั ฐานและรอ่ งรอยทางประวตั ศิ าสตรโ์ บราณคดสี นบั สนนุ หนกั แนน่ วา่ สืบเน่ืองนบั พันๆ ปีมาแลว้ จากพธิ ีกรรมของสุวรรณภูมใิ นอุษาคเนย์ เทา่ กับ คนไทย ไม่ไดม้ าจากไหน? แต่ อยทู่ ่ีน่ี ท่ีอษุ าคเนย์ [ไทย เปน็ ช่อื ทางวัฒนธรรม ไม่ใชช่ ือ่ เชื้อชาติ เพราะเชอ้ื ชาตไิ ทยบรสิ ทุ ธิ์ ไมเ่ คยมใี นโลก ต้ังแต่อดีตจนปัจจุบัน คนไทยเป็นลูกผสมนานาชาติพันธุ์ร้อยพ่อพันแม่ อยู่บริเวณสุวรรณภูมิใน อุษาคเนย์ มีประเพณีเก่ียวกับความตายอย่างเดียวกันกับบรรพชนคนสุวรรณภูมิในอุษาคเนย์ เมอื่ หลายพันปีมาแลว้ ] เกี่ยวกับเร่ืองเหล่านี้ผมเคยเขียนซ้�ำซากหลายคร้ังหลายหนมานานหลายปี แต่เขียน เล่าเร่ืองกระจัดกระจายโดยรวมๆ กว้างๆ อย่างง่ายๆ ไม่วิชาการและไม่เป็นทางการ โดยไม่ได้ ตรวจสอบหลกั ฐานจรงิ จงั ทางประวัติศาสตร์โบราณคดีและมานษุ ยวิทยา คราวนี้ก็ไม่ดีไปกว่าเดิมนัก จึงท�ำได้แค่รวบรวมอย่างลุ่มๆ ดอนๆ มาบอกเล่าเท่าท่ีมี ประสบการณ์เทา่ นน้ั ไมค่ วรยดึ ถือเปน็ จริงจังทางวชิ าการ [ขอบคณุ รงุ่ โรจน์ ภริ มยอ์ นกุ ลู , พพิ ฒั น์ กระแจะจนั ทร,์ ศริ พิ จน์ เหลา่ มานะเจรญิ นกั วชิ าการ ร่วมสมัยทกี่ ้าวหนา้ และกรณุ าแนะนำ� ข้อมูลความรู้เพม่ิ เติมหลายอย่าง] 58 เสด็จสแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชือ่ ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
พระราชพิธพี ระบรมศพพระมหากษตั รยิ ์ ๒ ในสมัยรัตนโกสินทรโ์ ดยสังเขป ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พัสวีสิริ เปรมกุลนนั ท์ ภาควชิ าประวตั ิศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลัยศิลปากร ตลอดระยะเวลา ๗๐ ปี ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงครอง สริ ริ าชสมบัติเปน็ พระมหากษัตริย์รชั กาลที่ ๙ แห่งราชวงศจ์ กั รีนั้น เป็นชว่ งเวลาอนั ยาวนานท่ที รงมี พระมหากรุณาธิคุณแก่พสกนิกร ดังจะเห็นได้จากพระราชกรณียกิจนานัปการท่ีทรงบ�ำเพ็ญ เพ่ือประโยชน์สขุ ของราษฎร ในขณะเดยี วกนั ก็นบั เป็นระยะเวลายาวนานที่สุดในสมัยรตั นโกสนิ ทร์ ที่ได้ว่างเว้นจากการจัดงานพระราชพิธีพระบรมศพของพระมหากษัตริย์ด้วยเช่นกัน บทความน้ี ขอน�ำเสนอประเด็นท่ีน่าสนใจบางประการจากการพระราชพิธีพระบรมศพของพระมหากษัตริย์ ในสมัยรัตนโกสินทร์ ซ่ึงสะท้อนถึงราชประเพณีที่มีมาแต่โบราณเป็นส�ำคัญ รวมถึงคติท่ีเก่ียวข้อง กบั การสร้างพระพุทธรปู ท่สี ัมพันธก์ ับพระราชพิธพี ระบรมศพ พระราชพิธีพระบรมศพพระมหากษัตริย์เป็นพระราชพิธีท่ีจัดขึ้นตามโบราณราชประเพณี อยา่ งยงิ่ ใหญส่ มพระเกยี รตยิ ศแหง่ พระเจา้ แผน่ ดนิ ขนั้ ตอนอนั สลบั ซบั ซอ้ นตา่ งๆ ในการจดั การพระบรมศพ ของพระมหากษตั รยิ เ์ มอ่ื สวรรคตเปน็ เรอ่ื งเฉพาะสำ� หรบั เจา้ พนกั งานทเี่ กย่ี วขอ้ ง ซง่ึ แมไ้ มไ่ ดป้ รากฏ รายละเอียดอย่างชัดเจนในทุกรัชกาล แต่สันนิษฐานว่าขั้นตอนหลักของการจัดการพระบรมศพ เม่ือต้นกรุงรัตนโกสินทร์น้ันน่าจะเป็นเช่นเดียวกันกับเมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยา อาทิ การสรงน้�ำช�ำระ พระบรมศพและถวายพระสคุ นธส์ รงพระบรมศพ การถวายพระภษู าอาภรณแ์ ละเครอ่ื งพระมหาสกุ ำ� ๑ การประดษิ ฐานพระบรมศพภายในพระมหาปราสาท กระบวนแหพ่ ระบรมศพและการออกพระเมรมุ าศ เป็นตน้ (ประชมุ ค�ำให้การกรุงศรอี ยุธยารวม ๓ เรื่อง ๒๕๕๓: ๒๐๗, ๒๖๑) หลักฐานดงั กลา่ ว ทำ� ให้ เห็นภาพขั้นตอนท่ีส�ำคัญของพระราชพิธีน้ีซึ่งคงได้ปฏิบัติถวายพระมหากษัตริย์เม่ือสวรรคต อัน สะทอ้ นถงึ คตคิ วามเชอื่ ทว่ี า่ พระมหากษตั รยิ เ์ ปรยี บเสมอื นดงั่ องคส์ มมตเิ ทพทเี่ สดจ็ จตุ ลิ งมาปกครอง แผ่นดนิ ๑ หมายถงึ เคร่อื งแต่งพระบรมศพ แลว้ หอ่ โดยใชผ้ า้ ขาวและดา้ ยดิบมัดตราสัง 59เสด็จสแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชือ่ ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
เม่ือแรกสวรรคต: สรงน้ำ� และถวายเคร่ืองทรงพระบรมศพ กรุงรัตนโกสินทร์คือความสืบเน่ืองจากกรุงศรีอยุธยา ในสมัยกรุงศรีอยุธยาได้อธิบาย การสรงน�้ำพระบรมศพพระมหากษัตริย์ไว้ใน ค�ำให้การชาวกรุงเก่า ความว่า เมื่อสมเด็จพระมหา ธรรมราชาสวรรคต ไดม้ กี ารจดั การพระบรมศพโดยมลี ำ� ดบั ดงั นคี้ อื สรงนำ้� ชำ� ระพระบรมศพใหส้ ะอาด แลว้ จงึ ถวายพระสคุ นธค์ อื นำ�้ อบเพอื่ สรงพระบรมศพ จากนนั้ จงึ เอาผา้ คลมุ พระบรรทม (ทน่ี อน) และ นำ� ผ้าลายรมิ เงนิ คลุมพระบรมศพไว้ ล�ำดบั ถัดมาเปน็ การถวายภูษาอาภรณ์ทรงพระบรมศพ สังวาล และพระชฎา แลว้ จงึ นำ� พระบรมศพไปประดษิ ฐานไวย้ งั พระแทน่ ในพระมหาปราสาท (ประชมุ คำ� ใหก้ าร กรงุ ศรอี ยธุ ยารวม ๓ เรอ่ื ง ๒๕๕๓: ๒๐๗) อาจกลา่ วไดว้ า่ การสรงนำ้� และถวายพระสคุ นธส์ รงพระบรมศพ ก็อาจเปรียบได้กับการอาบน�้ำ ประพรมของหอม และแต่งกายให้แก่ผู้วายชนม์ท่ีเป็นสามัญชน ที่คนไทยยังถอื ปฏบิ ตั ิกนั อยใู่ นทุกวนั นี้ ข้ันตอนดังกล่าวน้ีได้ถือปฏิบัติสืบมาในสมัยรัตนโกสินทร์ดังปรากฏรายละเอียดเกี่ยวกับ ถวายนำ้� สรงและถวายเครอื่ งพระมหาสกุ ำ� เมอ่ื คราวพระราชพธิ พี ระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธ เลิศหล้านภาลยั ซึง่ ได้จัดขึน้ ภายในหมู่พระมหามณเฑยี รอันเป็นท่ปี ระทบั โดยเมอ่ื แรกสวรรคตนั้น สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าชเจา้ (แปลวา่ พระราชโอรสพระองคใ์ หญ)่ หมายถงึ กรมหมน่ื เจษฎาบดนิ ทร์ ซ่ึงต่อมาคือ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ถวายพระภูษาทรงคลุมประทมพระบรมศพ ดว้ ยพระภูษาส่วน “สเี สวตร” (หรอื เศวตคือสีขาวชั้นในองคห์ นง่ึ และพระภูษาตาดทองดอกไหมชนั้ นอกองคห์ นงึ่ (ผนื หนงึ่ ) โดยคลมุ พระบรมศพไวบ้ นพระแทน่ ทที่ รงพระประชวร (จดหมายเหตรุ ชั กาล ท่ี ๓ เลม่ ๑ ๒๕๓๐: ๑๕) จากน้ันเมื่อพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ได้เสด็จมายังพระราชมณเฑียรท่ีประทับ และ เจ้าพนักงานภูษามาลาได้เชิญพระเครื่องต้นและพระมหาสุก�ำพร้อมแล้ว จึงได้ถวายน้�ำสรงและ ทรงพระเครอื่ งตน้ อยา่ งพระจกั รพรรดริ าชถวายพระบรมศพ โดยใน จดหมายเหตรุ ชั กาลท่ี ๓ ไดร้ ะบวุ า่ กรมหมืน่ เจษฎาบดนิ ทรพ์ ร้อมดว้ ยพระบรมวงศานวุ งศก์ ราบถวายบงั คมพระบรมศพ แลว้ จึงสรงน้ำ� พระสุคนธ์พระบรมศพ จากน้ันถวายพระภูษาลายพระกระบวนพน้ื ขาวเขียนลายทอง โดยทรงนุ่งผา้ ไวช้ ายพกทด่ี า้ นหนา้ ชนั้ หนงึ่ จากนน้ั ถวายพระภษู าลายพระกระบวนพนื้ ขาวเขยี นลายทองมกี รวยเชงิ โดยทรงนุ่งผา้ ไว้ชายพกทด่ี ้านหลงั อกี เปน็ ชนั้ ทสี่ อง จากนน้ั จงึ ถวายสนับเพลาพรอ้ มเจยี รบาดหรอื ผ้าคาดเอว พื้นทองดอกเงิน ซ่ึงติดเชิงงอนตาดทอง แล้วทรงพระภูษาลายพระกระบวนพื้นขาว เขียนทองมีกรวยเชิงโดยทรงนงุ่ ไวช้ ายพกท่ดี า้ นหน้าอกี ครัง้ จากนนั้ ทรงรดั พระองคห์ รอื เขม็ ขดั ประดบั เพชร ทรงสะพกั เฉยี งดว้ ยผา้ ตาดทอง แลว้ ทรง ฉลองพระองคท์ ำ� ดว้ ยผา้ ตาดทอง มสี งั เวยี นหยกั ตน้ พระศอ และปลายพระกรทำ� ดว้ ยทองคำ� ทรงฉลอง พระองคค์ รยุ ทองพน้ื ขาว ประดบั เพชรสายทองมปี ระจำ� ยาม พรอ้ มดว้ ยสงั วาลประจำ� ทศิ ประดบั เพชร ทรงทองปลายพระกรประดบั เพชรทพ่ี ระกรซา้ ยและขวาอยา่ งละขา้ ง ทน่ี ว้ิ พระหตั ถท์ งั้ สข่ี องทงั้ สองขา้ ง สวมพระธำ� มรงค์ โดยนวิ้ พระหตั ถข์ วาทง้ั สท่ี รงพระธำ� มรงคเ์ พชร สว่ นนว้ิ พระหตั ถซ์ า้ ยทรงพระธำ� มรงค์ ทับทิม มรกต ไพฑูรย์ และบุษย์น�้ำทอง (บุศราคัม) จากน้ันทรงพระกองเชิงประดับเพชรซ้าย และขวา ทรงพระหัถโยลตี าดทองและพระบาทโยลตี าดทอง แล้วทรงฉลองพระบาทลงยาราชาวดี 60 เสด็จสูแ่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
จากนั้นจึงถวายพระธ�ำมรงค์เพชรนพสูญใส่ในพระโอษฐ์องค์หนึ่ง แล้วจึงถวายแผ่นทองสลักลาย ๒ เพ่ือปิดพระพกั ตร์ (จดหมายเหตรุ ัชกาลที่ ๓ เล่ม ๑ ๒๕๓๐: ๑๖) การถวายเครื่องทรงพระบรมศพดังกล่าวชวนให้นึกถึงการทรงเครื่องฉลองพระองค์อย่าง เต็มยศของพระมหากษัตริย์ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกที่เรียกกันว่า “เครื่องบรมขัตติยราช ภูษิตาภรณ์” (ภาพที่ ๑) ซึ่งเป็นฉลองพระองค์ทแ่ี สดงถงึ พระราชอสิ ริยยศสูงสดุ แห่งพระเจา้ แผน่ ดิน ผู้เปรียบประดุจด่ังสมมติเทพ ดังนั้น เมื่อทรงเครื่องบรมขัตติยราชภูษิตาภรณ์แล้ว ย่ิงขับเน้นให้ ภาพลักษณ์ของพระมหากษตั รยิ ท์ เ่ี ปรยี บประหน่งึ เทวราชามคี วามชดั เจนมากยิง่ ขนึ้ หากแต่การถวายเคร่ืองทรงพระบรมศพมีความแตกต่างอยู่บางประการ เช่น การถวาย พระภูษาโดยทรงนุ่งผ้าไว้ชายพกที่ด้านหน้าช้ันหน่ึง แล้วถวายพระภูษา โดยทรงนุ่งผ้าไว้ชายพก ทด่ี า้ นหลงั เปน็ ชนั้ ทสี่ อง จากนนั้ ทรงนงุ่ ผา้ ไวช้ ายพกทดี่ า้ นหนา้ อกี ครงั้ หนงึ่ นน้ั คลา้ ยกบั การแตง่ ตวั ให้ผู้วายชนม์ด้วยเสื้อผ้าท่ีกลับหน้า-หลัง การถวายเครื่องทรงอย่างเต็มที่เมื่อสวรรคตจึงเป็น การถวายเครอื่ งประกอบพระราชอสิ รยิ ยศอยา่ งสงู สดุ ประการหนงึ่ แดพ่ ระเจา้ แผน่ ดนิ เปน็ ครงั้ สดุ ทา้ ย เพื่อแสดงถึงสถานะแห่งสมมติเทพ ในขณะเดียวกันก็อาจหวนให้นึกถึงภาพเมื่อแรกเสด็จข้ึน ครองราชสมบตั ดิ ว้ ย นอกจากนี้ จากการถวายเครื่องทรง อนั ประกอบดว้ ยเครอื่ งประดบั ตา่ งๆ จำ� นวนมาก ยังมีความคล้ายคลึงกันกับพระพุทธรูปฉลอง พระองค์พระมหากษัตริย์ท่ีมีรูปแบบเป็น พระพุทธรูปทรงเคร่ืองต้นอย่างจักรพรรดิราช ซึ่งเต็มไปด้วยเครื่องถนิมพิมพาภรณ์อย่าง วิจิตรบรรจง แม้กระท่ังนิ้วพระหัตถ์ก็สวม พระธำ� มรงค์ท้งั สิ้น ดังมตี วั อย่างเช่น พระพุทธ ยอดฟ้าจุฬาโลกและพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ท่ีประดิษฐานในพระอุโบสถวัดพระศรีรัตน ศาสดาราม ซึ่งเป็นพระพุทธรูปท่ีนิยมสร้าง ในราชสำ� นกั กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ตงั้ แตส่ มยั รชั กาล ที่ ๑ และมากยงิ่ ขนึ้ ในสมยั รชั กาลที่ ๓ โดยเรยี กวา่ พระพทุ ธรปู ทรงเครอ่ื งตน้ อยา่ งพระจกั รพรรดริ าช (ศกั ดช์ิ ยั สายสิงห์ ๒๕๕๖: ๒๖๓) พระพทุ ธรปู ดังกล่าวสะท้อนแนวความคิดที่ว่าพระมหา กษัตริย์เปรียบประหนึ่งองค์พระพุทธเจ้าหรือ พระจักรพรรดิราชผู้ปกครองแผ่นดินด้วยธรรม ภาพท่ี ๑ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงเครอื่ ง อกี ด้วย (ภาพที่ ๒) บรมขตั ตยิ ราชภษู ติ าภรณ์ (ทม่ี า: กรมศลิ ปากร ๒๕๔๘: ๑๙) 61เสดจ็ สู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
ภาพท่ี ๒ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกประดษิ ฐานภายใน จากข้อมูลการถวายเคร่ืองต้นทรง พระอโุ บสถวัดพระศรีรตั นศาสดาราม พระบรมศพพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า นภาลยั ทไี่ ดก้ ลา่ วถงึ แลว้ นนั้ นา่ สงั เกตวา่ นอกจาก จะทรงพระภูษาหลายชั้นและเครื่องประดับอีก จำ� นวนมากแลว้ ยงั ไดท้ รงสวม “พระหถั โยลตี าดทอง” กอ่ นทจ่ี ะทรงสวมพระธำ� มรงค์ และ “พระบาทโยลตี าด ทอง” กอ่ นทจี่ ะทรงสวมฉลองพระบาท สนั นษิ ฐาน วา่ พระหถั โยลแี ละพระบาทโยลนี น้ั นา่ จะหมายถงึ ถงุ มอื และถงุ เทา้ ทที่ ำ� ดว้ ยผา้ ตาดทอง ทงั้ นเ้ี พอ่ื จะ ไดไ้ มเ่ ผยใหเ้ หน็ พระมงั สา เชน่ เดยี วกบั พระพกั ตร์ ทีถ่ วายแผ่นทองจ�ำหลักปดิ ไว้ การถวายพระหัถโยลีและพระบาทโยลี น้ันน่าจะเป็นไปเพอื่ ประโยชนใ์ นการเปลอ้ื งเครอื่ ง ทรงพระบรมศพออกกอ่ นทจี่ ะถวายพระเพลงิ ดว้ ย โดยเฉพาะพระธำ� มรงคท์ ที่ รงสวมไวท้ กุ นว้ิ พระหตั ถ์ เพราะตอ้ งนำ� เครอ่ื งทรงเหลา่ นนั้ ไปหลอมเพอ่ื สรา้ ง พระพุทธรูปในภายหลัง การถวายเคร่ืองต้นทรง พระบรมศพในลกั ษณะเชน่ นี้ไมป่ รากฏหลกั ฐานท่ี เป็นภาพถ่าย แต่อาจศึกษาเปรียบเทียบได้กับ ภาพพระศพสมเด็จพระศรีสวัสด์ิแห่งกัมพูชาท่ีมี ราชประเพณีใกล้เคียงกับราชส�ำนักไทยในสมัย รตั นโกสนิ ทร์ (ภาพที่ ๓) ภาพที่ ๓ พระศพสมเดจ็ พระศรีสวสั ดแิ์ ห่งกมั พูชา (ท่มี า: มลู นธิ ิสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ๒๕๕๘: ๕๔๗) 62 เสด็จส่แู ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
เครอื่ งตน้ ทที่ รงพระบรมศพอนั ประกอบดว้ ยเครอ่ื งทองและอญั มณโี ดยเฉพาะพระมหามงกฎุ ๒ หรือพระชฎาน้ัน เมื่อคร้ังพระราชพิธีพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีหลัก ฐานระบุวา่ กรมหม่ืนเจษฎาบดินทร์ได้ถวายพระชฎามหากฐนิ เพอื่ ทรงพระบรมศพในพระบรมโกศ หรอื เม่อื คราวที่พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยู่หัว สวรรคตนน้ั สมเด็จฯ เจา้ ฟา้ กรมขุนบ�ำราบ ปรปักษ์ได้ถวายพระมหามงกุฎเพื่อทรงพระบรมศพเป็นคร้ังสุดท้ายหลังจากถวายน้�ำสรง (สมภพ ภิรมย์ ๒๕๓๙: ๓๓) เปน็ ต้น พระมหามงกฎุ หรอื พระชฎาสำ� หรบั ทรงพระบรมศพถอื เปน็ ศริ าภรณช์ น้ั รอง ทมี่ ใิ ชพ่ ระมหา พิชัยมงกุฎซึ่งเป็นหนึ่งในเคร่ืองเบญจราชกกุธภัณฑ์ของพระมหากษัตริย์ ประเด็นที่น่าสนใจคือ พระชฎาท่ีทรงพระบรมศพน้ันจะใช้ในการสร้างพระพุทธรูปในราชส�ำนักด้วย ดังจะพบว่าเม่ือถึง ก�ำหนดถวายพระเพลิงพระบรมศพ เจ้าพนักงานจะเปลื้องออกไป แล้วอัญเชิญไปหลอมยุบทอง เพอ่ื หลอ่ เปน็ พระพทุ ธรปู ประจำ� พระองค์ และทรงพระราชอทุ ศิ พระราชกศุ ลถวายแดพ่ ระมหากษตั รยิ ์ ทสี่ วรรคต ดังเชน่ เมื่อคร้ังการพระราชพธิ พี ระบรมศพพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอย่หู ัวน้ัน รชั กาลท่ี ๖ โปรดเกลา้ ใหส้ รา้ งพระชฎามหากฐนิ องคใ์ หมซ่ งึ่ เปน็ ไปตามราชประเพณที พี่ ระเจา้ แผน่ ดนิ ทุกพระองค์ต้องสร้างข้ึนใหม่เมื่อผลัดแผ่นดิน เพื่อให้มีขนาดพอดีกับพระเศียรและใช้ทรงตลอด พระชนมายุ และเมื่อสวรรคตก็ใช้ส�ำหรับทรงพระบรมศพในพระโกศจนถึงก�ำหนดถวายพระเพลิง จงึ เปลอ้ื งออกเพอื่ นำ� ไปสรา้ งเปน็ พระพทุ ธรปู ฉลองพระองคเ์ ชน่ กนั (พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอย่หู วั ๒๕๕๗: ๙๓) (ภาพที่ ๔ ) ภาพที่ ๔ พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระชฎามหากฐนิ บา้ งเรยี ก วา่ พระชฎาหา้ ยอด หรอื พระชฎาหา้ กลบี (ที่มา: ส�ำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร ๒๕๕๐) 63เสด็จสแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
ในการพระราชพิธีพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชนั้น เจ้าพนักงานได้ถวายพระชฎาห้ายอดแด่สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกฎุ ราชกุมาร ทรงรับพระชฎาห้ายอดนั้นวางขา้ งพระเศียรพระบรมศพ แลว้ พระราชทานคืน แก่เจ้าพนักงาน (กรมศิลปากร ๒๕๕๙: ๑๓) เพือ่ ถวายพระบรมขตั ตยิ ราชอสิ รยิ ยศอย่างสูงสุดเป็น คร้งั สดุ ทา้ ยตามโบราณราชประเพณี การสรงน้�ำพระบรมศพพระมหากษัตริย์ในสมัยรัตนโกสินทร์จัดข้ึน ณ พระมหามณเฑียร ภายในพระบรมมหาราชวัง แต่ในบางรัชกาลก็มีขั้นตอนและสถานท่ีซึ่งมีความแตกต่างกัน ไปตามกาลและเหตอุ นั ควร ดงั เชน่ การสรงนำ้� พระบรมศพรชั กาลท่ี ๔ ทจ่ี ดั ขน้ึ ณ พระทน่ี ง่ั ภาณมุ าศ จำ� รญู ในหมพู่ ระอภเิ นาวน์ เิ วศน์ พระบรมมหาราชวงั (สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ ๒๕๕๕: ๒๘-๒๙) ซงึ่ เปน็ หม่ทู ป่ี ระทบั ทโี่ ปรดเกลา้ ให้สร้างข้ึนใหม่และเสด็จสวรรคตท่ีนนั่ หรือการสรงน�ำ้ พระบรมศพพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว รัชกาลท่ี ๕ ท่ีจดั ข้นึ ณ พระทน่ี ง่ั อมั พรสถาน พระราชวงั ดสุ ติ ทป่ี ระทบั และเสดจ็ สวรรคต ซง่ึ มบี นั ทกึ เหตกุ ารณใ์ นขณะนนั้ ว่า พระบรมวงศานุวงศ์ฝ่ายในได้สรงน�้ำพระบรมศพท่ีประทับบนพระแท่นบรรทม เจ้าพนักงาน ภูษามาลาได้เชิญพระบรมศพไปยังห้องบรรณาคม ซ่ึงจัดให้บรรทมบนพระแท่นทองที่เชิญมาจาก พระบรมมหาราชวัง เพื่อให้พระบรมวงศานุวงศ์ฝ่ายหน้าถวายน้�ำสรงพระบรมศพ ซึ่งประดิษฐาน บนพระแท่น ทรงพระภูษาสีแดงคลุมรอบพระนาภีและพระเพลา ห่มพระอุระด้วยแถบผ้าสีครีม สมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั พระองค์ใหม่ทรงนำ� พระบรมวงศานวุ งศ์สรงน้ำ� พระบรมศพท่พี ระบาท ตดิ ตาม ด้วยข้าราชการระดับสูง เมื่อพระราชพิธีสรงน�้ำพระบรมศพเสร็จส้ินลง สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภา ผอ่ งศรี ถวายพระสางดว้ ยพระสางไมแ้ ละทรงหกั ทงิ้ เมอื่ เสรจ็ พธิ ี แลว้ จงึ กราบถวายบงั คมพระบรมศพ (สมธิ มลั คอลม์ ๒๕๔๒: ๑๒๑) เป็นท่ีน่าสังเกตว่าการถวายน้�ำสรงพระบรมศพของพระมหากษัตริย์จะถวายท่ีบริเวณ พระบาทเพื่อแสดงความเคารพอย่างสูงสุดต่อประมุขแห่งแผ่นดิน ในปัจจุบันสถานที่สรงน้�ำ พระบรมศพคอื พระทน่ี ง่ั พมิ านรตั ยาซง่ึ เชอ่ื มตอ่ จากพระทน่ี งั่ ดสุ ติ มหาปราสาททางทศิ ใต้ (ภาพท่ี ๕) โดยเปน็ สถานทส่ี รงน้�ำพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานนั ทมหิดล พระอัฐมรามา ธบิ ดนิ ทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชด้วย ส�ำหรับการพระราชพิธีพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชนั้น เมอื่ พระบรมวงศานวุ งศเ์ สดจ็ พระราชดำ� เนนิ ถงึ พระทนี่ งั่ พมิ านรตั ยาแลว้ ไดเ้ สดจ็ เขา้ ภายในพระฉาก ซึ่งพระบรมศพบรรทมอยู่บนพระแท่น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงจุด ธปู เทยี นเครอื่ งทองนอ้ ยสำ� หรบั พระบรมศพบชู าพระพทุ ธรปู ประจำ� พระชนมวาร แลว้ ทรงจดุ ธปู เทยี น เครื่องทองน้อยกราบถวายบังคมพระบรมศพ จากน้ันทรงรับขวดน้�ำพระสุคนธ์จากเจ้าพนักงาน ถวายสรงท่พี ระบรมศพ แล้วกราบถวายบงั คมพระบรมศพ ทรงรบั หมอ้ น้�ำพระสคุ นธโ์ ถน้�ำขมิ้น และ โถน้�ำอบไทยจากเจ้าพนักงานเพ่ือถวายสรงท่ีพระบาทพระบรมศพ ต่อจากน้ันทรงหวีเส้นพระเจ้า พระบรมศพขนึ้ ครง้ั หนงึ่ ทรงหวลี งครงั้ หนงึ่ แลว้ ทรงหวขี น้ึ อกี ครงั้ หนง่ึ แลว้ หกั พระสางวางไวใ้ นพาน จากนน้ั ทรงวางซองพระศรบี รรจดุ อกบวั และธปู เทยี น แผน่ ทองคำ� จำ� หลกั ลายปดิ พระพกั ตร์ ทรงวาง 64 เสดจ็ สแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
พระชฎาหา้ ยอดขา้ งพระเศียรพระบรมศพ เสรจ็ แลว้ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหท้ หารมหาดเลก็ ๒ ราชวลั ลภรกั ษาพระองค์ เชญิ พระหบี พระบรมศพไปยงั พระทน่ี งั่ ดสุ ติ มหาปราสาทขนึ้ ประดษิ ฐานบน พระแท่นแว่นฟ้าหลังพระแทน่ สุวรรณเบญจดล (ส�ำนกั ข่าว กรมประชาสัมพนั ธ์ ๒๕๕๙) ภาพที่ ๕ พระทน่ี งั่ พิมานรตั ยา ซ่งึ เชือ่ มต่อจากมขุ ทิศใต้ ของพระท่นี ั่งดุสติ มหาปราสาท ถวายเครื่องพระมหาสกุ ำ� ขั้นตอนต่อมาตามโบราณราชประเพณีหลังจากที่ได้ถวายน้�ำสรงแล้วคือการถวายเครื่อง พระมหาสุก�ำ คือการห่อและมัดตราสังอย่างโบราณ ข้ันตอนเหล่านี้ไม่ปรากฏรายละเอียดท่ีชัดเจน มากนักในแต่ละคราว เนื่องจากเป็นการปฏิบัติหน้าที่โดยเฉพาะของเจ้าพนักงาน อย่างไรก็ตาม ในจดหมายเหตรุ ัชกาลท่ี ๓ ได้กล่าวถึงขั้นตอนน้ีในคราวพระราชพิธีพระบรมศพพระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย ไว้ค่อนข้างละเอียด แต่ในท่ีน้ีขอสรุปเพ่ือให้เข้าใจได้ง่ายข้ึนกล่าวคือ ตามแบบแผนของราชประเพณีโบราณการถวายพระสุก�ำจะจัดพระบรมศพให้อยู่ในท่านั่ง โดยมี พระปทุมปัตนิการคือแท่นฐานรองพระบาทและมีไม้ค�้ำตั้งสูงขึ้นจากฐานเพื่อรองรับพระหนุ (คาง) เพือ่ ไมใ่ หพ้ ระเศยี รขยบั เขยื้อนได้ จากนน้ั จงึ มัดตราสังด้วยดา้ ยดบิ ทเ่ี รียกว่า “พระกัปปาสกิ ะสตู ร” โดยถวายซองพระศรหี รอื ซองหมากพลทู ำ� ดว้ ยทองคำ� ลงยาราชาวดใี สเ่ ครอื่ งสกั การะทป่ี ระกอบดว้ ย ดอกบวั และธปู เทยี น สำ� หรบั ทรงสกั การะพระเจดยี จ์ ฬุ ามณตี ามคตคิ วามเชอ่ื ทวี่ า่ เมอ่ื เสดจ็ สวรรคต แล้ว พระมหากษัตริย์ผู้เปรียบประหนึ่งองค์อมรินทร์จะเสด็จคืนสู่สวรรค์ช้ันดาวดึงส์ ซ่ึงเป็นที่ ประดษิ ฐานพระเจดยี จ์ ฬุ ามณซี ง่ึ เปน็ เจดยี ส์ ำ� คญั ทบี่ รรจพุ ระเกศาธาตแุ ละพระทนั ตธาตแุ หง่ องคพ์ ระ สมั มาสมั พุทธเจา้ จากนน้ั จงึ เตรยี มผา้ ขาว (พระกปั ปาสกิ ะเศวตพสั ตร)์ ยาว ๖ ศอก ปซู อ้ นเปน็ ๖ แฉก แลว้ เชญิ พระบรมศพใหอ้ ยใู่ นทา่ นง่ั เหนอื ผา้ ขาวนนั้ แลว้ รวบชายผา้ ผกู ไวเ้ หนอื พระเศยี ร โดยเหลอื เศษชายผา้ เพอ่ื ผกู ตอ่ กบั พระภษู าโยงสดบั ปกรณ์ แลว้ ใชผ้ า้ ขาวกวา้ งประมาณ ๑ คบื มดั โดยตลอดตง้ั แตพ่ ระบาท ถึงพระกัณฐ์ (คอ) แลว้ เหนบ็ ไว้ จากนั้นจงึ เชญิ พระบรมศพประดิษฐานลงในพระลอง (โกศ) ช้นั ใน 65เสด็จสู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
โดยใชห้ มอนหนนุ โดยรอบกนั เอยี ง เสรจ็ แลว้ สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าชฯ ไดถ้ วายพระชฎามหากฐนิ เป็นลำ� ดับสดุ ทา้ ยตามโบราณราชประเพณี (จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓ เล่ม ๑ ๒๕๓๐: ๑๖-๑๗) เมื่อถวายสุก�ำพระบรมศพในพระลองแล้วเสร็จจะประกอบเข้ากับพระโกศทองใหญ่ซ่ึงได้ ถวายพระบรมศพพระมหากษัตริย์ในสมัยรัตนโกสินทร์เกือบทุกรัชกาล เว้นแต่ในคราวพระบาท สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวที่เสด็จสวรรคต ณ ประเทศอังกฤษ และในงานพระบรมศพพระบาท สมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชทใี่ ชพ้ ระหบี ทรงพระบรมศพดงั ทไี่ ดก้ ลา่ วถงึ แลว้ แตก่ ระนน้ั กไ็ ดม้ กี ารประดษิ ฐานพระโกศทองใหญเ่ พอื่ ถวายพระเกยี รตยิ ศอยา่ งสงู สดุ ตามโบราณราชประเพณี พระโกศทองใหญ่: การประดิษฐานพระบรมศพ ณ พระท่ีน่ังดสุ ิตมหาปราสาท พระโกศทองใหญ่เป็นพระโกศส�ำหรับทรงพระบรมศพพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศ์ ชนั้ สงู เชน่ สมเดจ็ เจา้ ฟา้ ในการพระราชพธิ พี ระบรมศพพระมหากษตั รยิ น์ น้ั มธี รรมเนยี มการประดบั ตกแต่งพระโกศทองใหญ่โดยประดับด้วยดอกไม้เพชรพุ่มข้าวบิณฑ์ท่ียอดพระโกศ ที่ช้ันกระจังฝา พระโกศประดบั ดอกไมเ้ พชรทเี่ รยี กวา่ “ดอกไมไ้ หว” ปากพระโกศโดยรอบประดบั เฟอ่ื งเพชร มพี เู่ งนิ หอ้ ยเปน็ ระยะทกุ มมุ และทเ่ี อวพระโกศประดบั ดอกไมเ้ พชรโดยรอบ เรยี กวา่ “ดอกไมเ้ อว” เพอื่ ถวาย พระราชอิสริยยศอย่างสูงสุด (ภาพท่ี๖) แต่หากใช้พระโกศทองใหญ่ทรงพระศพพระบรมวงศ์ก็จะ ลดทอนเครื่องประดับพระโกศลงตามพระราชอสิ ริยยศ ตามประวัติกล่าวว่าพระโกศทองใหญ่สร้างข้ึนในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จฬุ าโลกเมอื่ พ.ศ. ๒๓๕๑ เพอ่ื เตรยี มสำ� หรบั การพระบรมศพของพระองคเ์ อง (พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระสมมตอมรพนั ธ,์ สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดำ� รงราชานุภาพ และสมเดจ็ ฯ เจ้าฟ้ากรมพระนริศรา นวุ ดั ตวิ งศ์ ๒๕๓๙) และไดส้ รา้ งเพมิ่ เตมิ ขน้ึ ในสมยั รชั กาลที่ ๕ และรชั กาลที่ ๙ เนอื่ งจากองคเ์ ดมิ ชำ� รดุ เสยี หายมากเพราะผา่ นการใชง้ านมาเปน็ เวลานาน (ศภุ ฤกษ์ แก้วมณีชยั ๒๕๕๑: ๒๑๘) ในคราวพระราชพิธีพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชน้ัน ได้ต้ังประดิษฐานพระโกศทองใหญ่ในรัชกาลท่ี ๕ เพื่อประกอบพระราชอิสริยยศ มีลักษณะเป็น พระโกศทรงแปดเหลยี่ ม ปากผาย มยี อดทรงมงกฎุ ทำ� ดว้ ยไมจ้ ำ� หลกั ลาย หมุ้ ทองคำ� ทง้ั องค์ พระโกศ ทองใหญอ่ งคน์ ้ี รชั กาลที่ ๕ โปรดเกลา้ ใหพ้ ระวรวงศเ์ ธอ กรมหมน่ื ปราบปรปกั ษ์ เสนาบดกี ระทรวงวงั และผบู้ ญั ชาการกรมชา่ งสบิ หมู่ สรา้ งขน้ึ เมอ่ื พ.ศ.๒๔๔๓ เดมิ เรยี กวา่ “พระโกศทองรองทรง” โดยมี พระราชประสงค์ให้ใช้งานเช่นเดียวกับพระโกศทองน้อยเพื่อผลัดกับพระโกศทองใหญ่เม่ือเข้าริ้ว กระบวนแหไ่ ปยงั พระเมรมุ าศ ณ ทอ้ งสนามหลวง สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ ทรงวนิ จิ ฉยั วา่ พระโกศองค์น้ีมีศักด์ิเสมอพระโกศทองใหญ่ที่สร้างขึ้นเม่ือสมัยรัชกาลที่ ๑ เพราะมีวัตถุประสงค์ การใชง้ านเชน่ เดยี วกนั ภายหลงั จงึ เรยี กพระโกศนวี้ า่ “พระโกศทองใหญ”่ ดว้ ย (สำ� นกั ราชเลขาธกิ าร ๒๕๕๙: ๕) พระโกศทองใหญ่ท่ีทรงพระบรมศพพระมหากษัตริย์จะประดิษฐานภายในพระที่น่ังดุสิต มหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง โดยพบว่าแต่เดิมเม่ือครั้งพระราชพิธีพระบรมศพพระบาท สมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหล้านภาลัย ไดเ้ คยมกี ารเจาะพน้ื พระมหาปราสาทเพ่อื เอาใบบัวดบี ุกรองใต้พื้น พระโกศซึ่งมีท่อท�ำด้วยไม้ไผ่ทะลวงข้อต่อไปยังใต้พ้ืนพระมหาปราสาท ซ่ึงมีพระถ�้ำหรือโอ่งขนาด 66 เสด็จสแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
๒ ภาพที่ ๖ พระโกศทองใหญ่ท่ีตกแต่ง ภาพท่ี ๗ พระทน่ี ง่ั ดุสติ มหาปราสาท พระบรมมหาราชวงั อย่างเต็มท่ีเพื่อถวายพระราชอิสริยยศ อย่างสูงสดุ ใหญร่ องรับพระบุพโพ (น้ำ� เหลอื ง) (จดหมายเหตุรัชกาลท่ี ๓ เลม่ ๑ ๒๕๓๐: ๑๘) ซงึ่ จะมกี ารถวาย พระเพลงิ พระบพุ โพกอ่ นทจี่ ะถวายพระเพลงิ พระบรมศพ ซง่ึ การถวายพระเพลงิ พระบพุ โพจะจดั กนั เปน็ การภายใน อนงึ่ ในคราวพระราชพธิ พี ระบรมศพรชั กาลท่ี ๕ นน้ั ไดง้ ดการถวายพระเพลงิ พระบพุ โพ แต่ได้เชิญพระบุพโพไปฝังพร้อมกับพระอังคารท่ีใต้ฐานพระพุทธชินราช พระพุทธรูปประธานใน พระอุโบสถวัดเบญจมบพติ รดุสติ วนาราม (พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยหู่ ัว ๒๕๕๗: ๒๑๙) แตเ่ ม่อื คร้ังพระราชพธิ ีพระบรมศพรชั กาลท่ี ๘ เมือ่ พ.ศ.๒๔๙๓ ได้มีการถวายพระเพลิงพระบพุ โพ โดยมีการปลกู สร้างพระเมรพุ ระบพุ โพขน้ึ ท่ีวดั มหาธาตุ (นนทพร อยมู่ ั่งมี ๒๕๕๙: ๒๗๓-๒๗๘) สำ� หรบั การประดษิ ฐานพระโกศทองใหญ่ ณ พระทน่ี งั่ ดสุ ติ มหาปราสาท (ภาพที่ ๗) ในการ พระราชพธิ ีพระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช มีขน้ั ตอนเร่มิ จากการวดั ระยะทิง้ สายดิง่ ลงมาจากดาวเพดานหมกู่ ลาง ห้องทสี่ องของมขุ ตะวันตก ลงมาถึงพ้นื แลว้ จึงปพู รม สีแดงเต็มพ้ืนที่มุขพระที่น่ังดุสิตมหาปราสาทด้านทิศตะวันตก แล้วเชิญพระแท่นทองทรายขนาด ลดหล่ันกันจ�ำนวน ๒ ช้ัน แล้วเชิญพระแท่นสุวรรณเบญจดลที่มีขนาดลดหลั่นกันจ�ำนวน ๓ ชั้น ทอดเหนอื พระแท่นทองทราย๒ โดยให้จุดศนู ย์กลางของพระแทน่ ตรงกับสายดงิ่ แล้วจงึ เชญิ ฐานบัว รองรบั พระบรมโกศต้ังรอไวเ้ หนอื พระแทน่ สวุ รรณเบญจดล จากนั้นเชิญพระนพปฎลมหาเศวตฉัตร ขึ้นแขวนเหนือพระแท่น โดยใช้ลวดร้อยลงมาจากเพดานตรงจุดท้ิงสายดิ่งผูกกับยอดพระนพปฎล ๒ พระแทน่ ทตี่ ง้ั เปน็ ชนั้ ซอ้ นเพอื่ ประดษิ ฐานพระโกศทองใหญใ่ นพระราชพธิ พี ระศพพระบรมวงศานวุ งศใ์ นสมยั รชั กาล ท่ี ๙ มที เ่ี รยี กวา่ พระแทน่ ทองทราย พระแทน่ แวน่ ฟา้ ทอง พระแทน่ เบญจา อยา่ งไรกต็ าม ในอดตี แมเ้ ปน็ พระแทน่ ท่ี ประดษิ ฐานพระบรมศพพระมหากษตั รยิ ก์ ม็ ที เี่ รยี กวา่ พระแทน่ แวน่ ฟา้ เชน่ ในพระราชพธิ พี ระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลัย (จดหมายเหตรุ ชั กาลที่ ๓ เลม่ ๑: ๒๕๓๐) 67เสดจ็ ส่แู ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
ภาพที่ ๘ พระบรมโกศพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหา ภาพท่ี ๙ พระภษู าโยงทอดผา่ นหนา้ กาลและตาลปตั ร ภมู พิ ลอดลุ ยเดช ประดษิ ฐาน ณ มขุ ทศิ ตะวนั ตก พระทน่ี งั่ แว่นแก้วรูปหน้ากาลที่มีเทวดาเชิญ แล้วจึงพับทบไว้ ดสุ ติ มหาปราสาท (ทมี่ า: สำ� นกั พระราชวงั ๒๕๖๐) ในพานพระมหากฐนิ (ท่มี า: สำ� นกั พระราชวงั ๒๕๖๐) มหาเศวตฉตั ร แลว้ จงึ เชญิ พระโกศทองใหญข่ น้ึ ประดษิ ฐานเหนอื ฐานบวั บนพระแทน่ สวุ รรณเบญจดล ภายใต้พระนพปฎลมหาเศวตฉัตรเปน็ ล�ำดับสดุ ทา้ ย (ภาพท่ี ๘ ) (สำ� นักราชเลขาธกิ าร ๒๕๕๙: ๘) การจัดแต่งพระบรมโกศประกอบด้วยการติดพระภูษาโยงที่ด้านหน้าพระโกศทองใหญ่ ทอดมายงั พระแทน่ ทองทรายทมี่ ปี ระตมิ ากรรมรปู หนา้ กาลคายพระภษู าโยง ดา้ นลา่ งมปี ระตมิ ากรรม รูปนรสิงห์ ผ่านตาลปัตรแว่นแก้วรูปหน้ากาลท่ีมีเทวดาเชิญรับไว้ชั้นหน่ึงและพับทบไว้ในพาน พระมหากฐินบนเสาบัวกลุ่มที่ตั้งอยู่ด้านหน้า (ภาพที่ ๙) เตรียมส�ำหรับทอดพระภูษาโยงไปยัง อาสนสงฆเ์ มื่อมีการสดบั ปกรณถ์ วายพระบรมศพ ที่มุมของพระแท่นสวุ รรณเบญจดลทุกชัน้ ประดบั สวุ รรณฉตั รและสวุ รรณฉตั รคนั ดาล คอื ฉตั รทมี่ รี ปู เปน็ มมุ ฉาก ๒ ทบ ทม่ี มุ ซา้ ยและขวา ตงั้ มณฑปเพลงิ ซง่ึ เปน็ บุษบกบรรจเุ ทยี นไฟฟ้า ด้านซ้ายและขวาของพระแท่นสุวรรณเบญจดลต้ังฉัตรเคร่ืองสูงหักทองขวางประกอบ พระราชอิสริยยศ เบ้ืองหน้าทางด้านขวาของพระบรมโกศทอดเคร่ืองเบญจราชกกุธภัณฑ์ และเครื่องประกอบพระบรมขัตติยราชอิสริยยศราชูปโภค เบื้องซ้ายทอดเครื่องราชอิสริยาภรณ์ และพระคทาจอมทพั ภมู ิพล (ภาพท่ี ๑๐, ๑๑) 68 เสดจ็ ส่แู ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
๒ ภาพท่ี ๑๐ เครอื่ งเบญจราชกกธุ ภณั ฑแ์ ละเครอ่ื งประกอบ ภาพที่ ๑๑ เครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณแ์ ละพระคทาจอมทพั พระบรมขัตติยราชอิสริยยศราชูปโภค (ที่มา: ส�ำนัก ภูมิพล (ท่มี า: ส�ำนกั พระราชวงั ๒๕๖๐) พระราชวงั ๒๕๖๐) มขุ พระทนี่ ง่ั ดา้ นทศิ ใตป้ ระดษิ ฐานพระแทน่ ราชบลั ลงั กป์ ระดบั มกุ ซงึ่ ประดษิ ฐานพระพทุ ธรปู ประจำ� พระชนมวารภายใตพ้ ระนพปฎลมหาเศวตฉตั ร (ภาพที่ ๑๒) มขุ พระทน่ี งั่ ดา้ นทศิ เหนอื ตงั้ เตยี ง สวดพระพิธีธรรมฝั่งทิศตะวันออกและตะวันตกรวม ๒ เตียง ส่วนมุขด้านทิศตะวันออกเป็นท่ีต้ัง พระราชอาสน์ท่ปี ระทบั ของสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั รัชกาลปัจจบุ ัน การบ�ำเพ็ญพระราชกุศลถวายพระบรมศพจะจัดตามที่ครบก�ำหนดวันสวรรคต ได้แก่ พระราชพธิ ีทรงบ�ำเพญ็ พระราชกศุ ลสตั ตมวารเมอ่ื ครบ ๗ วนั พระราชพิธที รงบ�ำเพญ็ พระราชกุศล ปณั รสมวารเมอ่ื ครบ ๑๕ วนั พระราชพธิ ที รงบำ� เพญ็ พระราชกศุ ลปญั ญาสมวารเมอื่ ครบ ๕๐ วนั และ พระราชพิธีทรงบ�ำเพ็ญพระราชกุศลสตมวารเมื่อครบ ๑๐๐ วัน โดยในส่วนของพิธีสงฆ์จะสวด พระอภิธรรมท�ำนองหลวง ๗ คัมภีร์ เป็นท�ำนองที่ใช้ในราชส�ำนัก เรียกการสวดพระอภิธรรมน้ีว่า “สดับปกรณ์” พระสงฆ์ผู้ท�ำหน้าที่สวดพระอภิธรรมท�ำนองหลวงมีสมณศักดิ์เฉพาะที่เรียกว่า “พระพิธีธรรม” (นนทพร อยู่ม่ังมี ๒๕๕๙: ๘๗) โดยมีคติความเชื่อว่าเป็นการบ�ำเพ็ญกุศลเร่ือง การแสดงความกตญั ญู เนอ่ื งจากมลู เหตแุ หง่ พระอภธิ รรมเกดิ ขนึ้ จากพทุ ธประวตั ติ อนทพ่ี ระพทุ ธองค์ แสดงพระธรรมเทศนาโปรดพทุ ธมารดาบนสวรรคช์ น้ั ดาวดงึ ส์ (สาสน์ สมเดจ็ เลม่ ๘ ๒๕๔๑: ๑๓๖-๑๓๗) 69เสด็จส่แู ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
ภาพท่ี ๑๒ พระแท่นราชบัลลงั กป์ ระดบั มุกประดษิ ฐานพระพุทธรูปประจ�ำพระชนมวาร ภายใต้พระนพปฎลมหาเศวตฉัตร (ทีม่ า: ส�ำนักพระราชวงั ๒๕๖๐) ในขณะเดียวกันเมื่อมีการประดิษฐานพระบรมโกศ ณ พระท่ีน่ังดุสิตมหาปราสาทแล้วจะ มกี ารถวายประโคมยำ�่ ยามเพอื่ เปน็ เครอ่ื งประกอบพระราชอสิ รยิ ยศอกี ประการหนง่ึ ดว้ ย และระหวา่ ง ทป่ี ระดษิ ฐานพระบรมโกศนเ้ี องกเ็ ปน็ ชว่ งเวลาทจี่ ะไดเ้ รมิ่ การกอ่ สรา้ งพระเมรมุ าศ ณ ทอ้ งสนามหลวง เพือ่ เป็นสถานทถี่ วายพระเพลิงพระบรมศพ พระเมรุ พระเมรุมาศ: สถานท่ถี วายพระเพลิงพระบรมศพ สมเด็จฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพทรงอธิบายคติความเช่ือในศาสนาพราหมณ์ท่ี เก่ยี วข้องกบั สถานะของพระมหากษัตรยิ ์วา่ “ดว้ ยคติของพวกพราหมณถ์ อื วา่ พระเจา้ แผน่ ดนิ เปน พระอศิ วรหรอื พระนารายณแ์ บง่ ภาคลงมาบำ� รงุ โลก เจา้ นายซงึ่ เปนพระราชบตุ รแลพระราชธดิ ากเ็ ปน เทพบตุ รแลเทพธดิ า เมอ่ื สิน้ ชาติในโลกนีแ้ ล้ว ยอ่ มกลับคืนไปสูส่ วรรคเทวโลกตามเดิม เพราะเหตนุ ี้ ถอื วา่ พระเจา้ แผน่ ดนิ แลเจา้ นายกลบั เปนเทวดาตงั้ แตเ่ วลาสนิ้ พระชนมชพี จงึ แตง่ พระศพเปนเทวดา ประเพณีที่ใสโ่ กษฐตั้งบนฐานแวน่ ฟ้า แลเรียกท่ถี วายพระเพลิงพระศพวา่ “เมรุ” กน็ า่ จะเนื่องมาแต่ คตทิ ่ีถือวา่ เป็นเทวดาน้ันเอง” (สมเด็จฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ๒๔๗๐: ๑-๒) พระเมรุท่ีสร้างขึ้นเพื่อถวายพระเพลิงพระบรมศพพระมหากษัตริย์จึงมีความหมายถึง เขาพระสเุ มรุ อนั เปน็ ทปี่ ระทบั ของเทพเจา้ และเปน็ ศนู ยก์ ลางจกั รวาล พระเมรจุ งึ ไดร้ บั การออกแบบ 70 เสด็จส่แู ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชือ่ ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
ใหเ้ ปน็ อาคารทมี่ ขี นาดใหญแ่ ละมคี วามสงู มากทส่ี ดุ ในมณฑลพระราชพธิ ี โดยมรี ปู แบบเปน็ เรอื นชน้ั ซอ้ น ๒ และเรือนยอดท่ีแสดงฐานันดรศักดิ์ทางสถาปัตยกรรม ในอดีตท่ีผ่านมาพบว่าพระเมรุพระบรมศพ พระมหากษัตริย์รชั กาลท่ี ๑-๔ มีรปู แบบเป็นอาคารทรงปราสาทยอดปรางค์ และต้ังแตร่ ชั กาลท่ี ๕ เปน็ ตน้ มา จงึ มยี อดเปน็ ทรงปราสาทเรยี วแหลมคลา้ ยกบั ยอดพระมหาปราสาทในพระบรมมหาราชวงั ซงึ่ อาจตคี วามไดว้ า่ พระเมรทุ ส่ี รา้ งขน้ึ นนั้ กค็ อื สญั ลกั ษณแ์ หง่ ทป่ี ระทบั ของพระมหากษตั รยิ ์ อนั เปรยี บได้ กับพระมหาปราสาทที่ประทับเมื่อทรงพระชนม์ชีพ นอกจากน้ี ยังมีอาคารบริวารต่างๆ ที่มีขนาดและความสูงลดหลั่นกันลงมาอยู่แวดล้อม พระเมรุ ซง่ึ เปรยี บไดก้ บั เขาสตั ตบรภิ ณั ฑแ์ ละทวปี ตา่ งๆ ทอ่ี ยลู่ อ้ มรอบเขาพระสเุ มรนุ นั้ ทงั้ ยงั ตกแตง่ บริเวณโดยรอบพระเมรุด้วยรูปเทพเทวา และสัตว์หิมพานต์ต่างๆ เพ่ือจ�ำลองฉากสรวงสวรรค์ อนั เปน็ ทสี่ ถติ ประทบั ของพระมหากษตั รยิ เ์ มอื่ สวรรคต ตลอดจนจดั ใหม้ กี ารละเลน่ และมหรสพตา่ งๆ ในพระราชพธิ นี ี้ เสมือนหนึ่งวา่ เป็นการสมโภชเพอื่ สง่ เสด็จดวงพระวญิ ญาณคนื สสู่ รวงสวรรค์ สนามหลวงหรือท่ีเรียกอีกชื่อหน่ึงว่า “ทุ่งพระเมรุ” เป็นสถานที่ก่อสร้างพระเมรุมาศ เพ่ือถวายพระเพลงิ พระบรมศพมาแตค่ รั้งรัชกาลที่ ๑ ท่ไี ด้มีพระราชพิธถี วายพระเพลิงพระบรมอฐั ิ สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก จวบจนกระทั่งในปัจจุบันที่ยังคงเป็นสถานท่ีก่อสร้างพระเมรุมาศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ความยิ่งใหญ่ของพระเมรุในรัชกาลต่างๆ ของ สมัยรัตนโกสินทร์นั้นมีรายละเอียดการก่อสร้างท่ีแตกต่างกันในแต่ละรัชสมัย โดยในระยะแรกนั้น ยงั คงเรยี กว่า “พระเมร”ุ ดังตวั อยา่ งการเกณฑไ์ ม้เพือ่ กอ่ สร้างพระเมรุในงานพระบรมศพพระบาท สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก โดยรัชกาลท่ี ๒ ได้มีพระราชด�ำรัสสั่งให้ “...เกณฑ์ไม้เคร่ือง พระเมรุ หวั เมอื งเอกหวั เมอื งโทตรจี ตั วาปากใตฝ้ า่ ยเหนอื ทง้ั ปวงใหจ้ ดั สง่ มา ณ กรงุ เทพฯ เจา้ พนกั งาน ไดจ้ ัดการท�ำพระเมรุเสาเส้นหน่งึ ขอ่ื ยาว ๗ วา พระเมรสุ ูงตลอดยอดนน้ั ๒ เส้น ภายในพระเมรทุ อง สูง ๑๐ วา ตั้งเบญจารับพระบรมโกฐ มีเมรุทิศทั้งแปด มีสามสร้างตามระหว่างเมรุทิศ ช้ันในมี ราชวตั รทึบ ฉตั รเงินฉตั รทองฉัตรนากสลบั กนั ...” (เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ ๒๕๔๘: ๔๐-๔๑) จากข้อความดังกลา่ วท�ำให้ทราบวา่ แต่เดมิ น้ันพระเมรุเป็นอาคารทมี่ ขี นาดสงู ใหญ่ โดยมี ความสงู ถึง ๒ เส้น หรอื ประมาณ ๘๐ เมตร โดยภายในพระเมรยุ งั มี “พระเมรุทอง” อีกองคห์ นึ่ง ทีม่ ีขนาดความสูง ๑๐ วา หรือประมาณ ๒๐ เมตร เพอ่ื ประดษิ ฐานพระบรมโกศไวภ้ ายใน โดยมี อาคารอืน่ ๆ ประกอบโดยรอบพระเมรุ เช่น เมรบุ ริวารทั้งแปดทิศ ล้อมรอบมณฑลดว้ ยราชวัตหิ รือ ร้ัวล้อมและต้ังฉัตรต่างๆประดับ การก่อสร้างพระเมรุในอดีตนั้นใช้วัสดุที่เป็นเครื่องไม้ซึ่งได้เกณฑ์ ไม้ขนาดใหญ่จากหัวเมืองต่างๆ จดั สง่ เข้ามายังราชสำ� นกั การกอ่ สร้างจึงต้องใช้ระยะเวลายาวนาน หลายเดือน หรืออาจเป็นปีถัดไปหลังจากสวรรคต ซ่ึงโดยมากมักก่อสร้างให้แล้วเสร็จทันในช่วง ฤดแู ล้งเพ่อื ไม่ให้เป็นอปุ สรรคในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ การปลกู สรา้ งพระเมรุ ณ ทอ้ งสนามหลวงเพอื่ ถวายพระเพลงิ พระบรมศพพระมหากษตั รยิ ์ ในสมยั ตน้ กรงุ รตั นโกสนิ ทรท์ ยี่ งั คงความยงิ่ ใหญอ่ ยา่ งทไี่ มอ่ าจพบเหน็ ไดใ้ นปจั จบุ นั นน้ั มตี วั อยา่ งให้ ศึกษาได้จากภาพถ่ายเก่า เช่นภาพท่ีสันนิษฐานว่าเป็นภาพงานพระเมรุในพระราชพิธีพระบรมศพ รัชกาลท่ี ๔ หลังจากนน้ั การปลูกสร้างพระเมรไุ ด้เรม่ิ ปรบั ลดขนาดลงต้ังแตพ่ ระราชพธิ ีพระบรมศพ 71เสด็จสู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
รัชกาลที่ ๕ เป็นต้นมา โดยปรับให้มีเพียงพระเมรุทองที่ประดิษฐานพระบรมโกศเท่าน้ัน ตาม พระราชประสงค์ของรัชกาลที่ ๕ ที่ต้องการให้มีขนาดเล็กลงเพ่ือไม่ให้เดือดร้อนกับคนท่ีเก่ียวข้อง โดย “ขอให้ยกเลิกงานพระเมรุใหญ่นั้นเสีย ปลูกแต่ท่ีเผาพอควร ในท้องสนามหลวง” (ราชกิจจา นเุ บกษา ๒๔๕๓: ๔๓) ซ่ึงทำ� ให้ “พระเมรทุ อง” กลายเป็น “พระเมรุมาศ” แทน (ภาพที่ ๑๓) ในการพระราชพธิ พี ระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั นี้ รชั กาลท่ี ๖ ยงั ได้ มีรับส่ังให้ยกเลิกการเกณฑ์เสาไม้ในการก่อสร้างพระเมรุมาศโดยได้ประยุกต์ใช้เสาเหล็กแทน ซง่ึ โครงสรา้ งเหลก็ เชน่ นไ้ี ดเ้ ปน็ สว่ นประกอบของโครงสรา้ งหลกั ในการกอ่ สรา้ งพระเมรมุ าศมาจนถงึ ปจั จบุ นั (นนทพร อยมู่ งั่ มี ๒๕๕๙: ๒๓๖) นอกจากนี้ ยงั มรี บั สง่ั ใหง้ ดการรน่ื เรงิ และมหรสพตา่ งๆ ดงั ท่ี เคยปฏบิ ตั มิ าในอดตี เพอ่ื เปน็ การแสดงออกถงึ ความเคารพและอาลยั (พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยู่หวั ๒๕๕๗: ๑๖๖-๑๖๗) ภาพท่ี ๑๓ พระเมรมุ าศที่ประดษิ ฐานพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หัว (ทมี่ า: หอจดหมายเหตแุ ห่งชาติ) เมื่อการปลูกสร้างพระเมรุมาศแล้วเสร็จ และถึงก�ำหนดการถวายพระเพลิงพระบรมศพ จะอัญเชิญพระโกศพระบรมศพที่ประดิษฐาน ณ พระที่น่ังดุสิตมหาปราสาทไปยังพระเมรุมาศ ณ ทอ้ งสนามหลวง โดยเคลอื่ นพระโกศพระบรมศพไปประดษิ ฐานบนพระมหาพชิ ยั ราชรถทป่ี ระกอบ ด้วยร้ิวกระบวนพยุหยาตราพร้อมเคร่ืองเฉลิมพระเกียรติยศ โดยริ้วกระบวนจะต้ังต้นจากบริเวณ ท้ายพระบรมมหาราชวังใกล้กับวดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลารามมุ่งหนา้ สู่ท้องสนามหลวง 72 เสดจ็ ส่แู ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
เมอ่ื ถงึ พระเมรมุ าศ เจา้ พนกั งานจะอญั เชญิ พระโกศพระบรมศพขน้ึ สพู่ ระเมรมุ าศโดยเกรนิ ๒ บันไดนาคเพ่ือประดิษฐานบนพระจิตกาธานภายในพระเมรุมาศ จากน้ันเจ้าพนักงานจะเปลื้อง พระโกศทองใหญ่แล้วถวายพระโกศจันทน์เพื่อทรงพระบรมศพ รอการถวายพระเพลิงพระบรมศพ ตอ่ ไป ดงั เหน็ ไดจ้ ากครงั้ หลงั สดุ เมอ่ื คราวพระราชพธิ พี ระบรมศพรชั กาลที่ ๘ (ภาพที่ ๑๔) (แนง่ นอ้ ย ศักดศ์ิ รี และคณะ ๒๕๕๕: ๓๑๑-๓๑๗) ภาพที่ ๑๔ พระโกศจันทน์ทรงพระบรมศพพระบาท ภาพที่ ๑๕ พระราชพธิ ที รงบำ� เพญ็ พระราชกศุ ลพระบรม สมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหดิ ล พระอฐั มรามา อัฐพิ ระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยูห่ วั ธิบดินทร ประดิษฐานเหนือพระจิตกาธาน ภายใน (ท่มี า: แน่งน้อย ศกั ดิ์ศรี และคณะ ๒๕๕๕: ๑๘๕) พระเมรุมาศ ณ ท้องสนามหลวง (ที่มา: แน่งน้อย ศักด์ิศรี และคณะ ๒๕๕๕: ๓๒๐) การเก็บรกั ษาพระบรมอัฐิ เมื่อเสร็จสิ้นการถวายพระเพลิงพระบรมศพแล้ว รุ่งข้ึนจะเป็นการเก็บพระบรมอัฐิและ ทรงบำ� เพญ็ พระราชกศุ ลภายในพระเมรมุ าศ ซงึ่ มขี น้ั ตอนบางประการทน่ี า่ สนใจ คอื การสรงพระบรมอฐั ิ ด้วยน�ำ้ พระสคุ นธแ์ ลว้ จึง “แจงพระรปู ” หมายถงึ การเชิญพระบรมอัฐหิ รือกระดกู รวมทง้ั พระอังคาร หรือเถ้าถ่านท่ีถวายพระเพลิงเสร็จแล้วมาเรียงให้เป็นรูปคนโดยให้รูปศีรษะอยู่ทางทิศตะวันตก แล้วจึง “แปรพระรูป” โดยเรียงรูปใหม่ให้รูปศีรษะหันกลับมาทางทิศตะวันออก จากน้ันพระสงฆ์ 73เสด็จส่แู ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
สวดสดบั ปกรณ์ แลว้ จึงประมวลพระบรมอัฐบิ รรจุลงในพระโกศพระบรมอัฐิ เม่ือทรงบำ� เพญ็ พระราช กศุ ลถวายพระบรมอฐั เิ สรจ็ แลว้ จงึ เชญิ พระโกศพระบรมอฐั เิ ขา้ สพู่ ระบรมมหาราชวงั (นนทพร อยมู่ งั่ มี ๒๕๕๙: ๓๓๑-๓๔๖) ในการอญั เชญิ พระโกศพระบรมอฐั เิ ขา้ สพู่ ระบรมมหาราชวงั นนั้ หากเปน็ ชว่ งเวลากอ่ นหนา้ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว กระบวนอัญเชิญพระบรมอัฐิและพระอังคาร จะแยกกนั คนละกระบวน โดยจะอญั เชญิ พระองั คารไปลอยยงั วดั ปทมุ คงคาหรอื อาจเปน็ วดั ยานนาวา ซ่งึ แล้วแต่หมายก�ำหนดการ อย่างไรก็ตาม ธรรมเนียมการลอยพระอังคารน้ีได้ยกเลิกไปในสมัยรัชกาลที่ ๖ เม่ือคร้ัง พระราชพิธีพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยได้รวมกระบวนพระบรมอัฐิ ซงึ่ เชญิ ดว้ ยพระทน่ี งั่ ราเชนทรยาน และพระองั คารซง่ึ เชญิ ดว้ ยพระทน่ี ง่ั ราเชนทรยานนอ้ ยเขา้ กระบวน พร้อมกันตามล�ำดับ แล้วเคล่ือนจากพระเมรุมาศไปยังพระบรมมหาราชวัง จากนั้นจึงเชิญพระโกศ พระบรมอฐั ปิ ระดิษฐานบนบษุ บก ณ พระทน่ี ั่งดสุ ิตมหาปราสาทเพือ่ ทรงบำ� เพ็ญพระราชกุศลถวาย พระบรมอฐั อิ กี ครง้ั กอ่ นจะอญั เชิญไปประดษิ ฐานยังสถานท่อี นั ควรสักการบูชาต่อไป (ภาพท่ี ๑๕) สถานทส่ี ำ� คญั ในพระบรมมหาราชวงั สำ� หรบั ประดษิ ฐานพระบรมอฐั ปิ ระกอบดว้ ย หอพระธาตุ มณเฑยี ร และพระทนี่ ั่งจักรมี หาปราสาท หอพระธาตมุ ณเฑยี รอยทู่ างทศิ ตะวนั ตกของหมพู่ ระมหามณเฑยี ร (ภาพที่ ๑๖) เปน็ ทป่ี ระดษิ ฐาน พระบรมอฐั ขิ องสมเดจ็ พระปฐมบรมมหาชนก พระบรมอฐั ขิ องพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลก พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ วั และยงั ประดษิ ฐาน พระอัฐิสมเด็จพระอมรินทราบรมราชินีในรัชกาลที่ ๑ สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีในรัชกาล ที่ ๒ สมเดจ็ พระศรสี ลุ าลยั พระราชชนนใี นรชั กาลที่ ๓ และสมเดจ็ พระเจา้ พน่ี างเธอในพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จุฬาโลกทง้ั ๒ พระองค์ (ภาพที่ ๑๗) (แสงสูรย์ ลดาวลั ย์ ๒๕๒๙: ๖) ภาพที่ ๑๖ หอพระธาตมุ ณเฑยี ร ในพระบรมมหาราชวัง 74 เสดจ็ สูแ่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
๒ ภาพที่ ๑๗ พระวมิ านทปี่ ระดษิ ฐานพระโกศพระบรมอฐั ิและพระอฐั ิ หอพระธาตมุ ณเฑยี ร (ท่มี า: แน่งน้อย ศักดศิ์ รี และคณะ ๒๕๓๑) ตอ่ มาในสมยั รชั กาลท่ี ๕ ไดโ้ ปรดเกลา้ ฯ ใหส้ รา้ งพระทนี่ งั่ จกั รมี หาปราสาทขนึ้ โดยมรี ปู แบบ เป็นอาคารแบบยุโรป แต่มียอดทรงปราสาทอย่างไทยประเพณีเรียงกัน ๓ องค์ โดยยอดพระมหา ปราสาทองค์กลางประดิษฐานพระโกศพระบรมอัฐิพระบรมราชบุพการีคือพระบรมอัฐิของรัชกาล ที่ ๔ และสมเดจ็ พระเทพศิรนิ ทราบรมราชนิ ี ตอ่ มายังไดเ้ ปน็ ท่ีประดิษฐานพระโกศพระบรมอฐั ิของ รชั กาลท่ี ๕ ถงึ รชั กาลท่ี ๘ ดว้ ย ในขณะทย่ี อดพระมหาปราสาทองคต์ ะวนั ตกเปน็ ทปี่ ระดษิ ฐานพระอฐั ิ พระบรมวงศานวุ งศท์ ใี่ กลช้ ดิ พระมหากษตั รยิ ส์ ว่ นยอดทศิ ตะวนั ออกใชป้ ระดษิ ฐานพระพทุ ธปฏมิ ากร (แสงสรู ย์ ลดาวลั ย์ ๒๕๒๙: ๒๖) นอกจากนี้ยังมีราชประเพณีในการบรรจุพระบรมอัฐิหรือพระอังคารที่พระพุทธอาสน์ของ พระพุทธรูปประธานในพระอุโบสถของพระอารามท่ีพระมหากษัตริย์แต่ละรัชกาลทรงพระกรุณา โปรดเกล้าให้สร้างข้ึน หรือที่ทรงมีพระราชอนุสรณ์สัมพันธ์กับพระอารามนั้น โดยราชประเพณี ดังกล่าวเกิดขึ้นในสมัยรัชกาลท่ี ๔ ที่โปรดเกล้าให้ประดิษฐานพระบรมอัฐิบางส่วนของสมเด็จ พระบรู พมหากษัตรยิ ร์ ชั กาลท่ี ๑-๓ ทีพ่ ระพทุ ธอาสน์ของพระพทุ ธรูปประธานในพระอารามส�ำคัญ เนอ่ื งในรชั กาลนน้ั ๆ ไดแ้ ก่ วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม วดั อรณุ ราชวราราม และวดั ราชโอรสาราม ตามล�ำดับ และยังได้ประดิษฐานพระบรมราชสัญลักษณ์ประจ�ำแต่ละรัชกาลไว้ท่ีผ้าทิพย์หน้า พระพุทธอาสน์ ท�ำให้ถือกันว่าวัดดังกล่าวเป็นวัดประจ�ำรัชกาล ในส่วนพระองค์เองน้ันได้มีรับส่ัง ไวว้ า่ ใหบ้ รรจพุ ระบรมอฐั ขิ องพระองคเ์ องทว่ี ดั ราชประดษิ ฐสถติ มหาสมี ารามอยา่ งเดยี วกนั (สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดำ� รงราชานุภาพ ๒๕๔๔: ๕๖) ต่อมาจึงได้มีการบรรจุพระบรมอัฐิหรือพระอังคารแล้วแต่กรณีของรัชกาลอื่นๆ ภายใต้ พระพทุ ธอาสนข์ องพระพทุ ธรปู ประธานในพระอารามหลวงทมี่ คี วามสำ� คญั เกยี่ วขอ้ งกบั แตล่ ะรชั กาล ได้แก่ วดั ราชบพิธสถติ มหาสีมารามซึ่งบรรจุพระบรมอฐั ริ ชั กาลท่ี ๕ และรัชกาลที่ ๗ วัดบวรนิเวศ 75เสดจ็ สู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
วิหารและวัดพระปฐมเจดีย์ซึ่งบรรจุพระอังคารของรัชกาลท่ี ๖ วัดสุทัศนเทพวรารามซ่ึงบรรจุ พระองั คารของรัชกาลท่ี ๘ ซ่ึงถือกันในเวลาต่อมาว่าพระอารามเหล่านี้ เป็นวัดประจ�ำรัชกาลดังที่ กล่าวมา สง่ ทา้ ย พระราชพิธีพระบรมศพพระมหากษัตริย์ในสมัยรัตนโกสินทร์เป็นพระราชพิธีที่สะท้อน ถึงแนวคิดและคติความเช่ือทางศาสนาที่เกี่ยวข้องกับสถาบันพระมหากษัตริย์ ข้ันตอนต่างๆ อนั ได้แก่ การสรงนำ้� พระบรมศพ การถวายเครอื่ งพระมหาสกุ ำ� การสรา้ งพระเมรุมาศ และการเกบ็ รกั ษาพระบรมอฐั ิ ไดถ้ อื ปฏบิ ตั สิ บื เนอ่ื งจากธรรมเนยี มในราชสำ� นกั สมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา แตเ่ มอ่ื บรบิ ท ทางสังคมต่างๆ เปล่ียนแปลงไปโดยเฉพาะตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๔-๕ ท�ำให้มีการปรับเปลี่ยน รายละเอียดในพระราชพิธีนี้ให้ต่างไปจากเดิม ที่ส�ำคัญเช่นรูปแบบของพระเมรุมาศ การบรรจุ พระบรมอฐั ทิ พี่ ระพทุ ธอาสนข์ องวดั ประจำ� รัชกาล เป็นตน้ ส่ิงส�ำคัญที่น่าสังเกตประการหนึ่งคือการถวายเคร่ืองต้นทรงพระบรมศพท่ีประกอบด้วย ภูษาอาภรณ์และเคร่ืองถนิมพิมพาภรณ์ท่ีเสมือนเครื่องทรงของพระพุทธรูปทรงเครื่องต้น อย่างจกั รพรรดิราช รวมถงึ การนำ� พระชฎาและเครื่องประดบั ไปหลอมยุบเพ่อื หลอ่ เปน็ พระพุทธรูป ประจำ� พระองคน์ นั้ สะทอ้ นถงึ คตคิ วามเชอ่ื ทว่ี า่ พระมหากษตั รยิ เ์ ปรยี บประดจุ พระพทุ ธเจา้ และพระเจา้ จักรพรรดิผู้เป็นสมมติเทพ ขั้นตอนต่างๆ ที่ตามมาในพระราชพิธีพระบรมศพได้แสดงให้เห็นถึง แนวคิดดังกล่าวอย่างชัดเจน พระราชพิธีพระบรมศพจึงเป็นพระราชพิธีตามโบราณราชประเพณี ทจี่ ดั ขนึ้ อยา่ งประณีตและยงิ่ ใหญส่ มพระเกยี รติยศแหง่ พระเจา้ แผน่ ดิน 76 เสดจ็ สูแ่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
รายการอ้างอิง ๒ กรมศิลปากร. ๒๕๕๙. ค�ำศัพท์เกี่ยวเน่ืองกับงานพระราชพิธีพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช. กรุงเทพฯ: ส�ำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร กระทรวงวฒั นธรรม. “คำ� ใหก้ ารชาวกรงุ เกา่ ”, ใน ประชมุ คำ� ใหก้ ารกรงุ ศรอี ยธุ ยารวม ๓ เรอื่ ง. ๒๕๕๓. กรงุ เทพฯ: แสงดาว. จดหมายเหตรุ ัชกาลท่ี ๓ เลม่ ๑. ๒๕๓๐. กรงุ เทพฯ: หา้ งหุ้นสว่ นสามัญนติ ิบคุ คลสหประชาพาณิชย.์ เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ข�ำ บุนนาค). ๒๕๔๘. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลท่ี ๒ ฉบับ เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ข�ำ บุนนาค) จากต้นฉบับตัวเขียนของสมเด็จฯ กรมพระยาเทวะวงศ์ วโรปการพร้อมค�ำอธิบายเพ่ิมเติม. กรุงเทพฯ: สมาคมประวัติศาสตร์ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. นนทพร อยมู่ งั่ ม.ี ๒๕๕๙. ธรรมเนยี มพระบรมศพและพระศพเจา้ นาย. พมิ พค์ รงั้ ที่ ๒. กรงุ เทพฯ: มตชิ น. แน่งน้อย ศักดิ์ศรี, ม.ร.ว. และคณะ. ๒๕๕๕. สถาปัตยกรรมพระเมรุในสยาม เล่ม ๒. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์กรุงเทพฯ. ประชุมค�ำให้การกรงุ ศรีอยุธยารวม ๓ เรื่อง. ๒๕๕๓. กรุงเทพฯ: แสงดาว. พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระสมมตอมรพันธ์, สมเดจ็ ฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ และสมเดจ็ ฯ เจา้ ฟ้า กรมพระนริศรานุวัดติวงศ์. ๒๕๓๙. ต�ำนานพระโกศและหีบศพบรรดาศักดิ์. กรุงเทพฯ: ส�ำนัก พระราชวัง. พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยหู่ วั . ๒๕๕๗. ประวัติต้นรัชกาลที่ ๖. กรงุ เทพฯ: มตชิ น. ราชกิจจานุเบกษา. ๒๔๕๓. พระบรมราชโองการ ประกาศ เร่ือง การพระเมรุพระบรมศพ, เล่ม ๒๗ ก, ๑๑ ธนั วาคม พ.ศ.๒๔๕๓, น ๔๓. ศักดชิ์ ยั สายสงิ ห์. ๒๕๕๖. พทุ ธศิลป์สมัยรัตนโกสินทร์: พฒั นาการของงานช่างและแนวคดิ ทปี่ รบั เปล่ยี น. กรุงเทพฯ: เมอื งโบราณ. ศุภฤกษ์ แก้วมณีชัย. ๒๕๕๑. “เล่าขานงานพระเมรุ : พระโกศและพระลอง”, ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ ๒๙ ฉบบั ท่ี ๗ พฤษภาคม ๒๕๕๑. สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ. ๒๔๗๐. ตำ� นานสสุ านหลวง วดั เทพศริ นิ ทราวาส กบั ตำ� นานมโหร.ี พระนคร: หอพระสมดุ วชิรญาณ. สมเด็จฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ. ๒๕๔๔. ประชุมพงศาวดารภาค ๒๕ ต�ำนานวัตถุสถานต่างๆ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้าง. จัดพิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พนั เอก (พเิ ศษ) ชลติ ศริ ิพงษ์ ณ เมรุวดั ธาตุทอง ๒๙ ตลุ าคม ๒๕๔๔. สมเด็จฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ. ๒๕๕๕. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลท่ี ๕. กรงุ เทพฯ: ส�ำนกั วรรณกรรมและประวตั ิศาสตร์ กรมศลิ ปากร. สมภพ ภิรมย์, พลเรือตรี. ๒๕๓๙. พระเมรุมาศ พระเมรุ และเมรุสมัยกรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ: อมรนิ ทร์. สมิธ มัลคอล์ม. ๒๕๔๒. ราชส�ำนักสยามในทรรศนะของหมอสมิธ, แปลโดย ศุกลรัตน์ ธาราศักดิ์. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 77เสดจ็ สู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
สาส์นสมเด็จ เล่ม ๘. ๒๕๔๑. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์, มูลนิธิ สมเด็จฯ กรมพระยาดำ� รงราชานุภาพ และองค์การค้าคุรุสภา. ส�ำนักข่าว กรมประชาสัมพันธ์. ๒๕๕๙. สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จ พระราชด�ำเนินไปในการเชิญพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จากโรงพยาบาลศริ ริ าช ไปยงั พระบรมมหาราชวัง. Available at: http://thainews.prd.go.th/website_th/news/news_detail/TNROY5910140010019 [สบื คน้ เมอื่ ๑๕ ก.พ. ๒๕๖๐]. ส�ำนักราชเลขาธิการ. ๒๕๕๙. การประดิษฐานพระบรมโกศ ณ พระท่ีนั่งดุสิตมหาปราสาท พระบรม มหาราชวัง. กรงุ เทพฯ: ส�ำนกั ราชเลขาธกิ าร. แสงสรู ย์ ลดาวลั ย์, ม.ร.ว. ๒๕๒๙. ประเพณีการเก็บรกั ษาพระบรมอัฐิและพระอฐั ิในสมยั กรงุ รตั นโกสนิ ทร์. กรงุ เทพฯ: คณะราชสกุล. 78 เสดจ็ สูแ่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
การสรงน�ำ้ ๓ และประดิษฐานพระบรมศพ อาจารย์ ธนโชติ เกียรตณิ ภทั ร ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยรามคำ�แหง บทน�ำ: ประเพณกี ารอาบน�้ำศพ การสรงน้�ำและประดิษฐานพระบรมศพถือได้ว่าเป็นขั้นตอนล�ำดับแรกของพระราชพิธี พระบรมศพ ก่อนทีจ่ ะมีพธิ ที างศาสนาคือการบ�ำเพญ็ พระราชกศุ ลในวาระตา่ งๆ ตลอดจนการสรา้ ง พระเมรุมาศและถวายพระเพลิงพระบรมศพ ในประเพณีราษฎร์ของไทย เมื่อมผี ทู้ เ่ี สยี ชวี ิตลง จะตอ้ งท�ำพธิ ี “อาบนำ�้ ศพ” ให้กบั ผูต้ าย เปน็ การอาบน้ำ� ช�ำระศพใหส้ ะอาด ตามแบบแผนโบราณจะเริ่มจากตม้ นำ้� ดว้ ยหมอ้ ดนิ เก็บเอาใบไม้ มาใสห่ ม้อตม้ แลว้ หาก้อนเสา้ ๓ กอ้ นมาเตรยี มไว้ เมอ่ื น�้ำเดอื ดแล้วจะยกหม้อวางบนกอ้ นเส้า จาก น้ันน�ำน้ำ� ทต่ี ม้ ไปอาบชำ� ระศพ แลว้ จึงตามด้วยนำ�้ เยน็ ฟอกด้วยสม้ มะกรดู ชะลา้ งใหส้ ะอาด (พระยา อนมุ านราชธน ๒๕๓๙: ๓๔) การช�ำระศพในขั้นตอนแรกด้วยน้�ำอุ่นยังปรากฏอยู่ในภาคอ่ืนๆ ของไทย ทางภาคเหนือ พบว่าใช้นำ้� อุน่ มาชำ� ระศพ จากน้นั จึงค่อยแต่งตวั ให้ศพ (สงวน โชตสิ ุขรตั น์ ๒๕๕๓: ๑๖๖) ส่วนทาง ภาคอีสานนั้นมีคติว่าถ้ามีคนตาย ญาติพ่ีน้องต้องมาช่วยกันล้างศพด้วยน�้ำอุ่นให้สะอาดเพื่อแสดง ใหเ้ หน็ วา่ ผตู้ ายนน้ั หมดมลทนิ โทษแลว้ ไมม่ หี ว่ งมกี งั วลในเรอื่ งใดๆ อกี (พระโพธวิ งศาจารย์ ๒๕๑๕: ๔๗๒) นำ้� อาบศพจะใช้ใบสม้ ปอ่ ยหรอื ใบมะขามตม้ น้�ำ แล้วเติมน้�ำเย็นให้พออุ่น น�ำมาอาบชำ� ระศพ จากน้ันจึงตัดเล็บมือเล็บเท้า แล้วเอาขม้ินสดมาต�ำหรือฝนขย�ำกับมะกรูด ค้ันเอาน�้ำไปทาร่างศพ จนท่วั (พระยาอนุมานราชธน ๒๕๓๙: ๓๔) สว่ นภาคใต้ การอาบน้ำ� ศพจะใชด้ นิ เหนียว และขมนิ้ มาต�ำให้เข้ากัน เอาน้�ำร้อน น�้ำเย็นและน้�ำมะพร้าวผสม และบางแห่งน�ำเอาใบมะกรูด ใบมะนาว รากสะบา้ และขมน้ิ มาตำ� ให้เข้ากนั สำ� หรับใชท้ าศพ (สบื พงศ์ ธรรมชาติ ๒๕๔๐: ๕๔) การอาบน�้ำศพของไทยในอดีตจะตักน�้ำอาบศพแบบอาบน�้ำ ซึ่งการอาบน้�ำยังปรากฏใน ประเพณีอ่ืนๆ เช่น อาบน้�ำสงกรานต์ มีการเชิญผู้อาวุโสขึ้นเตียงตักน้�ำอาบ โดยมีลูกหลานตักน้�ำ ช่วยกัน ประเพณีโกนจุกมีการขึ้นเตียงรดน�้ำช�ำระกายหลังจากโกนผม หรือประเพณีสงกรานต์ 79เสด็จสู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชือ่ ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
มาจากการลงท่าอาบน้�ำ และอื่นๆ อีก ภายหลังการอาบน�้ำศพจึงเปลี่ยนมาเป็นขั้นตอนการรดน�้ำ ใส่มือพอสังเขปอย่างที่เห็นในปัจจุบัน (สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ และ พระยา อนุมานราชธน ๒๕๓๘: ๗๗) จากที่กล่าวมาข้างต้นแสดงให้เห็นว่าโดยพ้ืนฐานการอาบน้�ำศพมีจุดประสงค์เพื่อท�ำ ความสะอาดให้แก่ศพเป็นคร้ังสุดทา้ ย อีกทัง้ ยงั มขี ้ันตอนของการตำ� ขม้นิ เข้ากับสมนุ ไพรต่างๆ ตาม แต่ละท้องถิ่น ส�ำหรับใช้ทาศพเพื่อดับกลิ่นและฆ่าเช้ือโรค ลักษณะดังกล่าวนี้ยังพบได้เช่นเดียวกัน ในประเพณขี องชาวมสุ ลิมทางปักษ์ใต้ทม่ี ีการนำ� ใบพุทรามาผสมในน้�ำอาบศพ และมีการน�ำน้ำ� ผสม การบรู มาช�ำระศพเพอ่ื ดบั กลน่ิ อกี ด้วย (ปองทพิ ย์ หนหู อม ๒๕๔๐: ๕๔.๘๕) อย่างไรก็ตาม ต่อมาได้มีการน�ำคติทางพระพุทธศาสนามาเช่ือมโยงอธิบายประเพณี อาบน้�ำศพของไทยว่ามีจุดประสงค์เพื่อให้ผู้ตายมีลักษณะท่ีบริสุทธ์ิ เป็นการเตรียมตัวก่อนท่ีจะ ไปไหวพ้ ระจฬุ ามณเี จดยี ใ์ นสวรรคช์ นั้ ดาวดงึ ส์ และระหวา่ งทรี่ ดนำ�้ ใหก้ ลา่ วหรอื นกึ ถงึ คำ� ขออโหสกิ รรม ว่า “อทิ ํ มตสรีรํ อทุ กํ วยิ อโหสกิ มมฺ ํ” อธิบายเปน็ ปริศนาธรรมว่า “อันคนตายแลว้ น้ี แม้จะมีคนอ่นื ๆ เอานำ้� อบนำ�้ หอม มารดมาสรง อยา่ งไรกต็ ามที กไ็ ม่มีโอกาสจะฟน้ื คนื ชพี มาได้ เหตุดงั นน้ั จึงไมค่ วร ประมาทในชีวิต ในวยั เปน็ ตน้ ” (จันทร์ ไพจิตร ม.ป.ป.: ๒๕๔) ในขณะท่ีประเพณีท�ำศพของชาวฮินดู เมื่อมีคนตายจะต้องน�ำศพไปยังลานเผาในทันที โดยเผาใกล้ริมฝั่งแม่น�้ำคงคา ตามความเช่ือที่ว่าเป็นแม่น�้ำศักดิ์สิทธ์ิในคติศาสนาฮินดูทุกนิกาย ดงั ปรากฏในตำ� นานตา่ งๆ เชน่ ในไวษณพนกิ ายเชอื่ วา่ แมน่ ำ�้ คงคาไหลมาจากพระองั คฐุ (นว้ิ หวั แมเ่ ทา้ ) ของพระวษิ ณุ หรอื ในไศวนกิ ายเชอื่ วา่ พระศวิ ะทรงเอาพระชฎา (มวยผม) รบั พระแมค่ งคาซง่ึ ไหลจาก สวรรค์ลงมาจากการบ�ำเพ็ญตบะของท้าวภคีรถ เช่ือกันว่าบริเวณเทวาลัยคงโคตรริเป็นสถานท่ี ทพี่ ระศวิ ะทรงเอาพระชฎารบั พระแมค่ งคาไว้ เป็นต้น ชาวฮินดูจงึ เช่ือว่าน้ำ� ในแม่น้�ำคงคาสามารถ ช�ำระบาปและมลทินท่ีติดอยู่ให้หมดได้ ผู้ใดตายไปและได้เผาหรือฝังใกล้แม่น้�ำคงคาจะเท่ากับว่า ขน้ึ สวรรคไ์ ดส้ ะดวก หรอื ผใู้ ดทเี่ ปลง่ วาจาอทุ านวา่ “คงคา คงคา” บาปทผี่ นู้ นั้ ทำ� ไวใ้ นสามชาตทิ ล่ี ว่ ง มาแล้วจะปลดเปลอ้ื งสน้ิ ไป (พระยาอนุมานราชธน ๒๕๓๐: ๒๓๘๒-๒๓๘๕) สำ� หรบั ศพของชาวฮนิ ดจู ะหอ่ ดว้ ยผา้ ถา้ เปน็ ผชู้ ายหอ่ ดว้ ยผา้ ขาว ถา้ เปน็ ผหู้ ญงิ จะหอ่ ดว้ ย ผ้าสี แล้วมัดตราสังติดกับแคร่ไม้ไผ่ จากนั้นแห่ไปยังลานเผาใกล้แม่น้�ำคงคา มีญาติสนิทเดินตาม ขบวน โดยมผี อู้ าวโุ สนำ� หนา้ ขบวน รอ้ งไหค้ รำ่� ครวญอาลยั ผตู้ าย เมอื่ มาถงึ เชงิ ตะกอนจะนำ� ศพลงไป อาบในแม่น�้ำคงคาด้วยวิธีจุ่มศพลงแม่น้�ำแล้วยกศพขึ้น เพราะเช่ือว่าจะท�ำให้วิญญาณผู้ตายได้ไป สวรรค์ หรือบางแหง่ จะตักนำ�้ มารดศพตัง้ แตป่ ลายเทา้ ถึงหวั เขา่ ขนั้ ตอนต่อมาคอื หามศพเวียนซา้ ย ท่ีเชิงตะกอน โดยมีญาติผู้ตายเดินตามศพ แล้วจึงยกศพเผาบนเชิงตะกอน เม่ือหมดฟืนเจ้าหน้าท่ี ผู้เผาจะกวาดเถ้าถ่านและอัฐิลงแม่น�้ำคงคา (ส.ร. [นามแฝง] ๒๕๐๓: ๒๘๘-๒๘๙) จะเห็นได้ว่า ในพธิ อี าบศพของชาวฮนิ ดนู ำ้� ศกั ดส์ิ ทิ ธจิ์ ะมบี ทบาทในกระบวนการเพอื่ ทำ� ใหว้ ญิ ญาณผตู้ ายหมดบาป และขน้ึ สวรรคเ์ ปน็ ส�ำคญั ดังนั้น การสรงน้�ำพระบรมศพจึงเป็นประเพณีของอุษาคเนย์มากกว่าจะเป็นของอินเดีย เพยี งแตภ่ าษาท่ใี ช้ในงานพระราชพิธีอาจท�ำใหห้ ลงคิดไปวา่ เปน็ แบบแผนมาจากอินเดีย 80 เสด็จส่แู ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
การสรงน้ำ� และประดษิ ฐานพระบรมศพในสมยั กรุงศรีอยุธยา ๓ ขั้นตอนเก่ียวกับการสรงน�้ำและการประดิษฐานพระบรมศพของไทยในอดีตยังไม่พบ การเรียบเรียงไว้เป็นต�ำราหรือแบบแผนอย่างชัดเจน เม่ือพิจารณาจากหลักฐานประเภทพระราช พงศาวดาร พบว่ามีการกล่าวถึงเฉพาะข้ันตอนประดิษฐานพระบรมศพและถวายพระเพลิง อยา่ งสงั เขป ใน พระราชพงศาวดารกรงุ ศรอี ยธุ ยาฉบบั พนั จนั ทนมุ าศ (เจมิ ) กลา่ วถงึ การประดษิ ฐาน พระบรมศพของพระมหากษัตริย์กรุงศรีอยุธยาใน ๒ เหตุการณ์ คือเมื่อ พ.ศ.๒๒๓๑ ครั้งสมเด็จ พระนารายณ์เสดจ็ สวรรคต ณ พระทีน่ ง่ั สธุ าสวรรย์ เมอื งลพบรุ ี สมเดจ็ พระเพทราชาโปรดใหเ้ ชิญ พระบรมศพข้นึ ประดิษฐานทพ่ี ระที่น่ังสรุ ยิ าสน์อมรนิ ทร์ (กรมศลิ ปากร ๒๕๔๒: ๔๒๐) และเมือ่ ครัง้ สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั บรมโกศสวรรคต พ.ศ.๒๓๐๑ มกี ารประดษิ ฐานพระบรมศพ ณ พระทนี่ งั่ บรรยงก์ รัตนาสน์ ต่อมาในปีเดียวกันกรมพระเทพามาตย์เสด็จทิวงคต สมเด็จพระที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์ จึงโปรดเกลา้ ใหเ้ ชญิ พระศพประดษิ ฐานไว้ ณ พระท่นี ง่ั บรรยงกร์ ตั นาสน์ ตั้งเคียงกนั เปน็ ๒ พระโกศ (กรมศิลปากร ๒๕๔๒: ๔๔๔) ภาพท่ี ๑ พระท่นี ัง่ สุรยิ าสนอ์ มรินทร์ ภาพที่ ๒ พระที่น่งั บรรยงก์รัตนาสน์ สว่ นหลกั ฐานประเภทคำ� ใหก้ ารของชาวกรงุ ศรอี ยธุ ยาทถี่ กู กวาดตอ้ นไปองั วะคราวเสยี กรงุ ครงั้ ท่ี ๒ พ.ศ. ๒๓๑๐ พบวา่ ใน คำ� ใหก้ ารชาวกรงุ เกา่ กลา่ วถงึ ขน้ั ตอนทเ่ี กย่ี วกบั พระราชพธิ พี ระบรม ศพในหัวขอ้ “ประเพณีสรงสะการพระบรมศพ” ดงั น้ี “เมอื่ สมเดจ็ พระเจา้ มหาธรรมราชา พระเจา้ กรงุ ศรอี ยธุ ยาสวรรคต ไดจ้ ดั การ พระบรมศพตามโบราณราชประเพณีดังน้ีคือ สรงน้�ำช�ำระพระบรมศพสะอาดแล้ว ถวายสุคนธ์สรงพระบรมศพ แล้วเอาผ้าคลุมบรรทมมีลายริมเงินคลุมพระบรมศพไว้ จนถงึ เวลา (พระเจา้ แผ่นดินองคใ์ หม่) สรงนำ้� พระบรมศพ คร้นั สรงเสร็จแลว้ ถวาย พระภูษาอาภรณ์ทรงพระบรมศพ แลทรงสังวาลแลพระชฎา (เชิญพระบรมศพสู่ พระบรมโกษฐ์) ประดิษฐานไว้ยังพระแท่นในพระมหาปราสาท” (ประชุมค�ำให้การ กรุงศรอี ยธุ ยารวม ๓ เรอื่ ง ๒๕๕๓: ๒๐๗) 81เสด็จส่แู ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชือ่ ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
ข้อความข้างต้นจะเห็นว่ามีข้ันตอนเริ่มจากการสรงน้�ำเพื่อช�ำระพระบรมศพ จากนั้น จึงจะถวายพระสุคนธ์คือเคร่ืองหอม ซ่ึงคล้ายคลึงกับประเพณีของราษฎรท่ีมีการอาบน�้ำท�ำความ สะอาดศพ และทาเครื่องสมุนไพรดับกลิ่น ส่วนผู้ที่เป็นประธานในการถวายน้�ำสรงพระบรมศพ คอื พระมหากษตั รยิ ์พระองค์ใหม่ เมื่อถวายนำ้� สรงแล้วจึงจะเชญิ พระบรมศพลงพระโกศประดิษฐาน ในพระมหาปราสาทต่อไป สำ� หรบั นำ้� ทใี่ ชส้ รงพระบรมศพพระเจา้ อยหู่ วั บรมโกศ ใน คำ� ใหก้ ารขนุ หลวงวดั ประดทู่ รงธรรม กล่าวว่าประกอบไปด้วย “...นำ�้ หอมแลน้ำ� ดอกไม้เทศแลน�้ำกุหลาบหอมตา่ งๆ...” (ประชมุ ค�ำใหก้ าร กรุงศรีอยุธยารวม ๓ เรื่อง ๒๕๕๓: ๒๙๘) ซ่ึงการใช้เครื่องหอมน้ีสะท้อนอิทธิพลของวัฒนธรรม เปอร์เซีย เพราะมีสินค้าส�ำคัญที่มีช่ือเสียงคือน้�ำกุหลาบกล่ัน เรียกอีกช่ือหน่ึงว่าน้�ำดอกไม้เทศ (ซ่งึ ค�ำว่า เทศ น้หี มายถงึ ต่างประเทศ เทียบได้กับค�ำวา่ นอก เช่น เมอื งนอก ของนอก คำ� ว่าเทศ ในสมยั โบราณหมายถงึ แขกเปอร์เซยี โดยเฉพาะ (ขุนวิจติ รมาตรา ๒๕๔๒: ๑๔๒) การสรงนำ�้ และประดษิ ฐานพระบรมศพในสมยั กรุงรตั นโกสินทร์ พระราชพิธีสมัยรัตนโกสินทร์มีหลายอย่างที่สืบทอดมาจากสมัยก่อนหน้านี้ ผู้ที่เสด็จมา ประกอบพระราชพิธีสรงน�้ำพระบรมศพในสมัยรัตนโกสินทร์คือพระบรมวงศานุวงศ์ที่จะได้ข้ึนครอง แผ่นดินสบื ตอ่ จากพระมหากษัตรยิ ์ท่สี วรรคตไปแลว้ มรี ายละเอียดดังต่อไปน้ี ๑. การสรงน�ำ้ พระบรมศพพระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเสด็จสวรรคต ณ พระที่น่ังไพศาล ทักษิณ เมื่อวันท่ี ๗ กันยายน พ.ศ.๒๓๕๒ พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลท่ี ๒ ฉบับเจ้าพระยาทิพากรวงศ์ ระบุว่าหลังจากสวรรคตแล้ว ในวันรุ่งข้ึนรัชกาลที่ ๒ หรือสมเด็จ กรมพระราชวังบวรในขณะน้ัน เสด็จพร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์มาถวายน้�ำสรงพระบรมศพ ดงั ข้อความที่ว่า “ความในแผน่ ดนิ พระบาทสมเดจพระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาไลยนนั้ วา่ ครง้ั รงุ่ ขน้ึ วันศุกรแรมสิบสี่ค�่ำเวลาเช้า สมเดจพระเจ้าอยู่หัวกรมพระราชวังบวรสถานมงคล พระบัณฑูรใหญ่ กับสมเดจพระอนุชาธิราชเจ้าฟ้ากรมหลวงเสนานุรักษซึ่งด�ำรงที่ พระบัณฑูรน้อย พร้อมด้วยพระราชวงษานุวงษฝ่ายน่าฝ่ายในเสดจเข้าไปสรงน้�ำ ทรงเครื่องพระบรมศพส�ำหรับกระษัตรเสรจแล้ว เชิญพระบรมศพลงพระลองเงิน กรมพระตำ� รวจแหแ่ ต่พระมหามณเฑยี รออกประตสู นามราชกจิ ” (เจา้ พระยาทพิ ากรวงศ์ มหาโกษาธบิ ดี ๒๕๔๘: ๓) หลักฐานข้างต้นแสดงให้เห็นถึงขั้นตอนการประดิษฐานพระบรมศพท่ีสืบทอดมาจากสมัย กรุงศรีอยุธยาที่เริ่มจากถวายน�้ำสรงพระบรมศพ ทรงเคร่ืองพระบรมศพ และอัญเชิญพระบรมศพ ไปประดิษฐาน ณ พระที่นั่ง โดยในชน้ั กรงุ รตั นโกสินทร์ประดษิ ฐานพระบรมศพไว้ ณ พระที่นัง่ ดสุ ิต มหาปราสาท ซึ่งเป็นพระท่ีนั่งที่ถ่ายแบบมาจากพระท่ีนั่งสุริยาสน์อมรินทร์ในพระราชวังหลวง กรงุ ศรีอยธุ ยา และใช้เปน็ ท่ีประดษิ ฐานพระบรมศพเชน่ เดียวกนั 82 เสด็จสู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
๒. การสรงนำ้� พระบรมศพพระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหล้านภาลัย ๓ จดหมายเหตวุ า่ ดว้ ยการพระบรมศพ รชั กาลท่ี ๒ จ.ศ.๑๑๘๖ (พ.ศ.๒๓๖๗) กลา่ วถงึ ขนั้ ตอน การเตรียมพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย โดยเจ้าพนักงานถวายพระภูษา คลุมพระบรมศพ ดงั น้ี “ก�ำหนดแต่สมเดจพระพุทธเจ้าอยู่หัวเสดจได้มหาปราบดาภิเษกเปนเอก ราชาธปิ ไตยในศิรริ าชสมบตั ิได้ ๑๖ ปี พระชนมายุได้ ๕๘ พรรษาเสดจสวรรคาไลย ในพระท่ีนั่งพระมหามณเฑียร องค์บุรพทิศ สมเดจพระบรมโอรสาธิราชเจ้า ถวาย พระภูษาทรงคลุมประทมพระบรมศพด้วยพระภูษาส่วนสีเสวตรชั้นในองค์หนึ่ง พระภูษาตาดทองดอกไหมชั้นนอกองค์หน่ึงคลุมพระบรมศพไว้บนพระแท่นที่ทรง พระประชวรแล้วสมเดจพระบรมโอรสาธิราชเจ้าก็เสดจฯ ออกมาสถิตที่พระท่ีนั่ง พระมหาจกั รพรรดิพิมาน... ครนั้ เวลาเชา้ สามโมงสมเดจพระบรมโอรสาธริ าชเจา้ เสดจฯ เขา้ ไป ณ พระทนี่ งั่ พระมหามณเฑียร พร้อมด้วมพระบรมขัติยวงษานุวงษฝ่ายน่าฝ่ายใน ขณะนั้น พนกั งานดรุ ยิ างคแ์ ตรสงั ขส์ งิ่ ประโคมกป็ ระโคมขน้ึ พรอ้ มกนั สมเดจพระบรมโอรสาธริ าช เจ้า แลพระบรมขัติยวงษานุวงษกราบถวายบังคมพระบรมศพ จึ่งเชิญพระบรมศพ สรงพระอธุ กทระสคุ นธว์ มิ ลราชกจิ เปนสทุ ธราชสการ” (คณะกรรมการเฉลมิ พระเกยี รติ ๒๐๐ ปี พระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว ๒๕๓๐: ๑๕-๑๖) ข้อความข้างต้นสะท้อนให้เห็นว่าการสรงน้�ำพระบรมศพยังมิได้ท�ำขึ้นทันทีหลังจากที่ เสด็จสวรรคต ทว่าจะมีการจัดเตรียมสถานท่ีและแจ้งข่าวแก่พระบรมวงศานุวงศ์เพื่อท่ีจะเสด็จมา ถวายนำ�้ สรงพระบรมศพในวนั รงุ่ ขนึ้ โดยมกี รมหมนื่ เจษฎาบดนิ ทร์ (รชั กาลที่ ๓) เปน็ ประธานในการ ถวายนำ้� สรง ภาพท่ี ๓ สมุดไทยตัวเขยี น จดหมายเหตุว่าด้วยการพระบรมศพ รัชกาลที่ ๒ จ.ศ.๑๑๘๖ (พ.ศ.๒๓๖๗) 83เสด็จส่แู ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชือ่ ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
๓. การสรงนำ้� พระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระน่ังเกล้าเจา้ อยู่หัว พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจ้าอยหู่ วั เสด็จสวรรคต ณ พระท่นี ั่งจกั รพรรดพิ ิมาน ขา้ งทิศ ตะวันตก เม่ือวนั ท่ี ๒ เมษายน พ.ศ.๒๓๙๔ ในวนั รุ่งขึน้ เจ้าพระยาพระคลังวา่ ท่สี มหุ พระกลาโหม และพระยาราชสุภาวดีว่าท่ีสมุหนายกพร้อมด้วยขุนนางไปทูลเชิญเสด็จพระภิกษุเจ้าฟ้ามงกุฎจาก วดั บวรนเิ วศวหิ าร ลงเรอื พระทน่ี งั่ ออกปากคลองบางลำ� ภมู ายงั พระราชวงั หลวง ใน พระราชพงศาวดาร กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ รชั กาลที่ ๔ ฉบบั เจา้ พระยาทพิ ากรวงศ์ ระบุไวด้ ังนี้ “พระบาทสมเดจ็ พระอนชุ าธริ าชเสดจ็ ทรงพระราชยาน ขา้ ราชการแหพ่ รอ้ ม ตามเป็นกระบวนถ้วนทุกพนักงาน เสด็จเข้าสู่พระราชวังสถานประทับศาลาหน้า พระท่ีน่ังอมรินทร์วินิจฉัย พร้อมด้วยพระบรมวงษานุวงษ์ผู้ใหญ่ผู้น้อย โดยเสด็จ พระราชด�ำเนินเข้าไปสรงน้�ำพระบรมศพ แล้วเจ้าพนักงานทรงพระเคร่ืองต้นตาม ขัติยราชประเพณีเชิญพระบรมศพเข้าสู่โกศทองค�ำจ�ำหลักลายกุดั่น ประดับพลอย เนาวรัตนต้ังกระบวนแหอ่ อกประตสู นามราชกิจ ไปประดษิ ฐานไว้ ณ พระท่นี ่ังดสุ ติ มหาปราสาทตามบรู าณราชประเพณ”ี (เจา้ พระยาทพิ ากรวงศ์ มหาโกษาธบิ ดี ๒๕๔๗: ๒) ความจริง ก่อนที่รัชกาลที่ ๓ จะเสด็จสวรรคตเล็กน้อย ในขณะนั้นเจ้าฟ้ามงกุฎยังมิได้ ทรงลาผนวช ดว้ ยเงอ่ื นไขทางการเมอื งหลายประการทำ� ใหข้ นุ นางผใู้ หญไ่ ดท้ ลู เชญิ ใหพ้ ระองคเ์ สดจ็ ครองราชสมบตั ใิ นชว่ งเวลานนั้ ภายหลงั จากทพ่ี ระองคเ์ สดจ็ ไปถวายนำ�้ สรงพระบรมศพแลว้ บรรดา พระบรมวงศานวุ งศแ์ ละขา้ ราชการจงึ ทลู อญั เชญิ ใหข้ นึ้ เสวยราชยใ์ นพระอโุ บสถวดั พระศรรี ตั นศาสดาราม ดงั นนั้ จงึ อาจกลา่ วไดว้ า่ การสรงนำ�้ พระบรมศพถอื เปน็ สญั ลกั ษณส์ ำ� คญั อยา่ งหนง่ึ ทกี่ ษตั รยิ พ์ ระองค์ ใหม่ตอ้ งท�ำเพอื่ เป็นการถวายความเคารพต่อกษตั รยิ ์พระองค์เกา่ ๔. การสรงนำ้� พระบรมศพพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อย่หู ัว พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จสวรรคตเม่ือวันท่ี ๑ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๑๑ ณ พระท่ีน่ังภานุมาศจ�ำรูญในหมู่พระอภิเนาว์นิเวศที่ทรงสร้างข้ึน ต่างจากพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลก่อนหน้าที่เสด็จสวรรคตในหมู่พระมหามณเฑียร การสรงน้�ำพระบรมศพ จงึ กระท�ำขนึ้ ในพระท่นี ่งั ภานมุ าศจ�ำรญู ในวนั ศุกร์ เดือน ๑๑ แรมค่�ำ ๑ ตรงกบั วันศกุ ร์ที่ ๒ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๑๑ ด้วยเหตนุ ี้ เจา้ พระยาศรสี ุรยิ วงศจ์ งึ ใหพ้ ระยาสรุ วงศว์ ัยวฒั น์ไปเชญิ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เจ้าฟา้ กรมขนุ พนิ ติ ประชานาถ (รัชกาลท่ี ๕ ในขณะนั้น) ทพ่ี ระต�ำหนักสวนกุหลาบ แตข่ ณะนั้นทรง พระประชวร จงึ ตอ้ งโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ มเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ เจา้ ฟา้ ฯ กรมขนุ บำ� ราบปรปกั ษ์ ถวาย นำ้� สรงพระบรมศพแทน เหตกุ ารณใ์ นครงั้ นนั้ มบี นั ทกึ อยใู่ น จดหมายเหตเุ รอ่ื งพระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั สวรรคต พระนิพนธใ์ นสมเด็จฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ดงั น้ี “...ต้องเชิญเสด็จทรงพระเก้าอ้ีหามขึ้นไปจนในพระท่ีน่ังภานุมาศจ�ำรูญ ที่สรงพระบรมศพ พอ [กรมขุนพินิตประชานาถ] ทอดพระเนตรเห็นพระบรมศพ สมเด็จพระบรมชนกนารถ ได้แต่ยกพระหัตถ์ข้ึนถวายบังคมเท่าน้ันแล้วทรงสลบ 84 เสดจ็ สูแ่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
นง่ิ แนไ่ ป เจา้ นายผใู้ หญซ่ ง่ึ เสดจ็ อยทู่ นี่ นั่ กบั หมอทตี่ ามเสดจ็ กำ� กบั เขา้ ไป ชว่ ยกนั แกไ้ ข ๓ พอฟน้ื คนื ไดส้ มประฤดี แตพ่ ระกำ� ลงั ยงั ออ่ นนกั ไมส่ ามารถจะเคลอ่ื นพระองคอ์ อกจาก เก้าอี้ได้ จึงมีรับสั่งขอให้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมขุนบ�ำราบปรปักษ์ ถวายน้�ำสรงทรงเครื่องพระบรมศพแทนพระองค์ เจ้านายผู้ใหญ่เห็นว่าจะให้สมเด็จ พระเจ้าอย่หู วั ประทับอยทู่ ่นี น่ั ตอ่ ไป เกรงพระอาการประชวรจะกลบั กำ� เริบขน้ึ จึงสัง่ ให้เชิญเสด็จมายังพระท่ีนั่งอมรินทรวินิจฉัย ซ่ึงได้จัดในห้องพระฉากข้างด้านตะวัน ออกไวเ้ ป็นทปี่ ระทบั ระหว่างเวลากวา่ จะได้ทำ� การพระราชพิธบี รมราชาภิเษกเฉลิม พระราชมณเฑยี ร ทางโนน้ เจา้ ฟา้ กรมขนุ บำ� ราบปรปักษถ์ วายน�ำ้ สรง ทรงเครื่องพระบรมศพ แล้วเชิญลงพระลองเงินแห่พระบรมศพเป็นกระบวนมา ออกประตูสนามราชกิจ เชิญพระโกศข้ึนต้ังบนพระยานนุมาศสามล�ำคาน ประกอบพระโกศทองใหญ่ มีพระ มหาเศวตฉัตรกั้น แห่กระบวนใหญ่ไปยังพระท่ีน่ังดุสิตมหาปราสาท” (สมเด็จฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ๒๕๔๒: ๔๑๐-๔๑๑) จะเหน็ ได้ว่ารชั กาลท่ี ๑-๔ เสดจ็ สวรรคตในพระบรมมหาราชวัง การสรงน�้ำพระบรมศพจะ กระทำ� ขน้ึ ในพระทนี่ ง่ั ทเ่ี สดจ็ สวรรคต กอ่ นทจ่ี ะอญั เชญิ พระบรมศพสพู่ ระบรมโกศ แลว้ เชญิ ออกทาง ประตสู นามราชกจิ ซง่ึ เปน็ แบบแผนเดยี วกนั ทง้ั ๔ รชั กาล กอ่ นทจ่ี ะอญั เชญิ ไปประดษิ ฐานยงั พระทน่ี งั่ ดุสติ มหาปราสาท ภาพท่ี ๔ ประตสู นามราชกิจใพระบรม ภาพท่ี ๕ ภาพถ่ายพระอภิเนาว์นิเวศน์ เห็นหลังคาพระท่ีน่ังภาณุมาศ มหาราชวงั กรุงเทพมหานคร จำ� รูญพระวิมานบรรทมและสถานทเ่ี สด็จสวรรคตของรชั กาลท่ี ๔ ๕. การสรงน�ำ้ พระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อย่หู วั เสดจ็ สวรรคตเม่ือวันท่ี ๒๓ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๕๓ ณ พระทน่ี งั่ อมั พรสถาน พระราชวงั ดสุ ติ นบั เปน็ พระมหากษตั รยิ ใ์ นพระบรมราชจกั รวี งศพ์ ระองคแ์ รก 85เสด็จสแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
ที่เสด็จสวรรคตนอกพระบรมมหาราชวัง ท�ำใหก้ ารถวายสรงนำ�้ พระบรมศพต้องจัดข้นึ ณ พระท่นี ั่ง อัมพรสถาน เมอ่ื พระบรมวงศานวุ งศไ์ ดก้ ราบบงั คมทลู เชญิ สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช เจา้ ฟา้ มหาวชริ าวธุ ขึ้นเถลงิ ถวลั ยราชสมบัติ ได้มกี ารประชมุ องคมนตรเี กีย่ วกบั การจัดพระบรมศพ ในหนังสอื ประวตั ิ ต้นรัชกาลท่ี ๖ พระราชนิพนธพ์ ระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยู่หวั ระบุไวว้ ่า แตเ่ ดิมพระบาท สมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงมพี ระราชปรารภวา่ ใหต้ ง้ั พระบรมศพ ณ พระทน่ี ง่ั อนนั ตสมาคม ทป่ี ระชมุ พจิ ารณาเหน็ วา่ เกดิ จากพระราชดำ� รทิ จี่ ะโปรดเกลา้ ให้ สมเดจ็ เจา้ ฟา้ มหาวชริ าวธุ เปน็ ผสู้ ำ� เรจ็ ราชการ แล้วพระองค์จะประทับอยู่ ณ พระราชวังสวนดุสิต แต่การก็ยังมิได้ด�ำเนินไปอย่างท่ีทรง พระราชปรารภ อกี ทงั้ พระทน่ี ง่ั อนนั ตสมาคมยงั สรา้ งไมเ่ สรจ็ ทป่ี ระชมุ จงึ มมี ตใิ หอ้ ญั เชญิ พระบรมศพ ประดษิ ฐาน ณ พระทน่ี งั่ ดสุ ติ มหาปราสาทตามโบราณราชประเพณี และใหม้ ที หารอยา่ งใหมใ่ นกระบวน อญั เชญิ พระบรมศพแทนทหารแบบเกา่ ทแี่ ตง่ ชดุ เสนากฏุ (พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ๒๕๕๕: ๔๙-๕๐) หลักฐานที่กล่าวถึงการจัดเตรียมพระบรมศพ และข้ันตอนการสรงน�้ำพระบรมศพคือ จดหมายเหตพุ ระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระประชวรจนถงึ สวรรคต ของพระยาบรุ ษุ รัตนราชพัลลภ (นพ ไกรฤกษ์) บันทึกขั้นตอนการจัดเตรียมพระบรมศพไว้ว่า “...เชิญพระองค์ เลอื่ นไปหนนุ กบั พระเขนย จดั ตบแตง่ พระเขนยและผา้ ลาดพระที่ ทงั้ จดั แตง่ พระองคใ์ หเ้ รยี บรอ้ ย แลว้ พระเจ้านอ้ งยาเธอ กรมขนุ สรรพสทิ ธ์ิ กบั ขา้ พเจ้าถวายพระภูษาคลุมพระบรรทมคนละขา้ ง พระนาง เจ้าสุขุมาลมารศรี พระราชเทวี ประทับเป็นประธานอยู่ด้วย ครั้นจัดเรียบร้อยปิดพระวิสูตรแล้ว กราบถวายบงั คมลากลบั ลงไปข้างล่าง...” (พระยาบรุ ษุ รตั นราชพลั ลภ ๒๕๕๓: ๑๕๕) การสรงน้�ำพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แบ่งเป็น ๒ ช่วง คือ ตอนเช้าส�ำหรับฝ่ายใน และตอนบ่ายส�ำหรับฝ่ายหน้า พระยาบุรุษรัตนราชพัลลภ (นพ ไกรฤกษ์) บันทึกไว้ว่า “...ข้าพเจ้าได้ขึ้นไปเฝ้ากราบถวายบังคมพระบรมศพอีกครั้งหนึ่งพร้อมด้วยเจ้าหม่ืน สรรเพธภกั ดี เจา้ หมน่ื เสมอใจราช และหลวงศกั ดนิ์ ายเวร (ม.ร.ว.อรณุ วงศ)์ พรอ้ มกนั อญั เชญิ พระบรมศพ จากพระแท่นที่พระบรรทมไปประทับพระแท่นส�ำหรับสรง แล้วรื้อพระแท่นท่ีบรรทมออก สมเด็จ พระนางเจา้ สวา่ งวฒั นาพระบรมราชเทวปี ระทบั เปน็ ประธานในการถวายนำ�้ สรงพระบรมศพเปน็ สว่ น ฝา่ ยใน ครัน้ แลว้ จึงเชิญพระบรมศพขนึ้ พระแทน่ ท่ีจัดไว้ใหมส่ �ำหรับพระเกียรติยศ เพ่อื ถวายน�้ำสรง พระบรมศพเปน็ พระราชพธิ ตี อนบา่ ย...” (พระยาบรุ ษุ รตั นราชพลั ลภ ๒๕๕๓: ๑๕๕-๑๕๖) สว่ นฉลอง พระองคข์ ณะนัน้ ม.จ.จงจิตร ถนอม ดิศกลุ กลา่ ววา่ “อยบู่ นพระแทน่ ทรงพระภูษาแดงลอยชาย” (สลุ กั ษณ์ ศวิ รักษณ์ ๒๕๕๕: ๑๔๔) อย่างไรก็ตาม การถวายน้�ำสรงพระบรมศพของเจ้านายและข้าราชการฝ่ายหน้าได้มี การก�ำหนดไว้ในเวลา ๑๔.๐๐ น. แต่เล่ือนมาเป็น ๑๖.๐๐ น. เน่ืองจาก “การตระเตรียมต่างๆ ไม่พร้อมได้ทัน” (พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ๒๕๕๕: ๕๑) สาเหตุดังกล่าวน้ัน นายแพทย์มัลคอล์ม สมิธ นายแพทย์ประจ�ำราชส�ำนัก ได้อธิบายไว้ว่าเน่ืองจากรัชสมัยที่ยาวนาน 86 เสดจ็ สู่แดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอื่ ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
กว่า ๔๒ ปี จึงไม่มกี ารตระเตรยี มการพระบรมศพลว่ งหนา้ ด้วยเป็นการไมส่ มควร ทำ� ใหข้ าดผู้รเู้ รอ่ื ง ๓ พระราชพิธีพระบรมศพ ดงั ข้อความท่วี ่า “พระราชพธิ มี ีก�ำหนดไว้ในโบราณราชประเพณี แตไ่ มส่ ามารถหาผทู้ ี่จดจ�ำ ไดอ้ ยา่ งแมน่ ยำ� เปน็ เวลานานถงึ ๔๒ ปี ตงั้ แตพ่ ระเจา้ แผน่ ดนิ สยามองคล์ า่ สดุ [รชั กาล ที่ ๔] เสด็จสวรรคต จะตระเตรียมล่วงหนา้ เพราะการปรกึ ษาหารอื เรื่องพระราชพธิ ี พระบรมศพขณะพระเจ้าแผ่นดินยังด�ำรงพระชนม์ชีพอยู่ถือเป็นการประสงค์ร้าย ต้องมีรายละเอียดของหมายกำ� หนดการด้วย ดงั นน้ั จึงมีการคน้ คว้าทางเอกสารของ ราชการ หลกั ฐานเกา่ ๆ ถูกนำ� มาอา้ งอิง มีการถกเถยี งกนั ไมส่ นิ้ สดุ ทัง้ หมดหมายถงึ การล่าช้าเชือนแช ผลก็คือแทนที่จะได้ท�ำในตอนบ่ายต้องไปกระท�ำหลังพระอาทิตย์ ตกน่ันคือเวลาหนึ่งทุ่มและมืดสนิทกว่าพระราชพิธีสรงน�้ำพระบรมศพจะเสร็จส้ิน” (มลั คอลม์ สมิธ ๒๕๔๖: ๑๖๙-๑๗๐) ในการสรงนำ้� ของฝา่ ยหนา้ สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ ๖ เสดจ็ เขา้ ไปสรงนำ�้ พระบรมศพ เป็นพระองค์แรก ตามด้วยบรรดาพระบรมวงศานุวงศ์ ในระหว่างนี้เจ้าพนักงานประโคมแตรสังข์ กลองชนะ มโหระทกึ (จมน่ื อมรดรณุ ารกั ษ์ ๒๕๑๔: ๑๖) หลงั จากถวายนำ้� สรงพระบรมศพแลว้ สมเดจ็ พระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ทรงสางพระเกศาพระบรมศพด้วยพระสางไม้ แล้วทรงหักทิ้งเพื่อ ไมใ่ หส้ ามารถน�ำมาใชไ้ ด้อกี (มลั คอล์ม สมิธ ๒๕๔๖: ๑๗๐) จากน้ันเจา้ พนกั งานกรมพระภูษามาลา ถวายเครอ่ื งทรง แลเชญิ พระบรมศพลงพระลองเงนิ ลงมาจากพระทนี่ ง่ั อมั พรสถาน ขนึ้ มาประดษิ ฐาน บนพระยานมาศสามล�ำคาน มีพระนพปฎลมหาเศวตรฉัตรคันดาล (เศวตรฉัตรท่ีใช้คันหักมุมเป็น ฉากออกไปเพื่อใหต้ วั ฉัตรอยู่กึง่ กลางพระบรมโกศ) กน้ั ทหารมหาดเลก็ พรอ้ มแตรวงถวายวนั ทยาวธุ และบรรเลงเพลงสรรเสรญิ พระบารมี เจา้ พนกั งาน ประกอบพระโกศทองใหญ่ พระเจา้ ลกู ยาเธอพระองคเ์ จา้ ดลิ กนพรตั น์ และพระเจา้ ลกู ยาเธอพระองคเ์ จ้า สรุ ยิ งคป์ ระยรู พนั ธเ์ ปน็ ผปู้ ระคองพระโกศ เขา้ กระบวนอญั เชญิ พระบรมศพไปยงั พระบรมมหาราชวงั โดยตลอดเวลาทมี่ กี ารถวายนำ�้ สรงพระบรมศพ กรมทหารบกและทหารเรอื ยงิ สลตุ ปนื ใหญถ่ วายคำ� นบั ทุกนาที จนกระทง่ั พระบรมศพประดษิ ฐานบนพระท่ีนงั่ ดุสติ มหาปราสาทเสร็จสิน้ ในเวลา ๒๒.๐๐ น. จึงหยดุ ยงิ ปืนใหญ่ (จม่ืนอมรดรุณารักษ์ ๒๕๑๔: ๑๖-๒๕) ๖. การสรงน้ำ� พระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ ัว พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั เสดจ็ สวรรคตเมอ่ื วนั ที่ ๒๖ พฤศจกิ ายน พ.ศ.๒๔๖๘ เวลา ๐๑.๔๕ น. ณ พระทน่ี งั่ จกั รพรรดพิ มิ าน การถวายนำ้� สรงพระบรมศพจงึ จดั ขน้ึ ณ พระทน่ี งั่ แห่งนี้ ซง่ึ ต้องดว้ ยพระราชประสงค์ของรชั กาลท่ี ๖ ดงั ทท่ี รงมีรบั สง่ั ในพระราชพินัยกรรมไวเ้ มื่อวันที่ ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๖๓ กอ่ นเสดจ็ สวรรคต ๕ ปี วา่ “...ถา้ ขา้ พเจา้ สวรรคตลง ณ แหง่ ใดแหง่ หนง่ึ นอกจากในพระบรมมหาราชวงั ให้เชิญพระบรมศพโดยเงียบๆ เข้าไปยังพระท่นี งั่ จกั รพรรดพิ ิมาน แลว้ จงึ ใหเ้ ชญิ ไปประดษิ ฐาน ณ พระท่นี งั่ ดุสติ มหาปราสาท...” (จมื่นอมรดรุณารกั ษ์ ๒๕๑๔: ๖๑) 87เสด็จสแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชอ่ื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
การสรงนำ้� พระบรมศพเรม่ิ ขนึ้ ในเวลา ๑๓.๐๐ น. ขณะน้นั มีการยิงปืนใหญน่ าทลี ะ ๑ นัด จนกว่าจะเสร็จส้นิ การประดิษฐานพระบรมศพ เมอื่ สรงพระบรมศพแล้วจึงอัญเชิญลงสพู่ ระลองเงนิ เชญิ จากพระทนี่ ง่ั จกั รพรรดพิ มิ านขนึ้ ประดษิ ฐานเหนอื พระเสลยี่ งแวน่ ฟา้ ออกทางประตสู นามราชกจิ เช่นเดียวกับพระบรมศพรัชกาลที่ ๑-๔ และเชิญขึ้นประดิษฐานเหนือพระยานนุมาศสามล�ำคาน ปกั พระมหาเศวตรฉตั รคนั ดาล ประกอบพระโกศทองใหญ่ ตงั้ กระบวนพยหุ ยาตรา ๔ สายไปประดษิ ฐาน ยังพระทนี่ ่งั ดุสติ มหาปราสาท (ประยทุ ธ สิทธพิ นั ธ์ ๒๕๑๕: ๔๑๖-๔๑๗) ๗. การสรงน้ำ� พระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจ้าอยหู่ ัว พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสละราชสมบัติเน่ืองจากทรงขัดแย้งกับ คณะราษฎรในเหตกุ ารณ์ ๒๔๗๕ เปน็ เหตใุ หพ้ ระองคจ์ ำ� ตอ้ งเสดจ็ ไปประทบั ณ พระตำ� หนกั คอมพต์ นั ประเทศอังกฤษ ดังน้ัน ในส่วนของการจัดการพระบรมศพ จึงทรงมีพระราชประสงค์และรับสั่งให้ ขา้ ราชบริพารผใู้ กล้ชิดจัดการใหเ้ ป็นไปอยา่ งเรยี บง่าย ดงั ที่ ม.จ.พูนพิศมยั ดศิ กุล บนั ทึกไว้วา่ “สมเดจ็ พระปกเกลา้ ทรงสงั่ ไวว้ า่ ถา้ พระองคส์ วรรคตเมอื่ ไรใหท้ รงพระภษู า แดงและทรงสะพักผ้าขาวผืนเดียวเอาลงหีบแล้วให้รีบถวายพระเพลิงพระบรมศพ ให้เร็วเท่าท่ีจะท�ำได้. และไม่ให้รับเกียรติยศอย่างใดๆ จนอย่างเดียวท้ังในทางต่าง ประเทศและทางไทย. ให้เอาซอไวโอลินไปเลน่ เพลงที่พระองคโ์ ปรดคนั เดียวในเวลา ทีก่ ำ� ลงั ถวายพระเพลงิ เพอื่ แทนการประโคม” (พนู พศิ มัย ดิศกุล ๒๕๕๑: ๑๗๘) เม่ือพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตด้วยพระอาการพระหทัยวายเม่ือ วนั ที่ ๓๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๔ ในหนงั สอื เจ้าฟา้ ประชาธิปกผ้นู ิราศ กล่าวถึงขั้นตอนการสรงน้�ำ พระบรมศพไวว้ า่ ขา้ ราชบรพิ ารทชี่ อ่ื นายบวย เปน็ ผสู้ รงนำ�้ พระบรมศพทเี่ จอื ดว้ ยนำ้� อบไทย จากนนั้ มกี ารแตง่ ฉลองพระองคด์ ว้ ยพระภษู าสแี ดง ทรงเสอื้ ชน้ั นอกปดิ คอสขี าว และหวพี ระเกศา สว่ นการจดั พระบรมศพนน้ั เนอื่ งจากไมไ่ ดเ้ ขา้ พระบรมโกศจงึ จดั ใหอ้ ยใู่ นทา่ บรรทมตามปกติ จากนนั้ “...สปั เหรอ่ ฝรงั่ สองคนพรอ้ มดว้ ยหบี ศพไมแ้ บบยโุ รปสเี่ หลยี่ มขา้ งในบนุ วมแพรกม็ าถงึ สปั เหรอ่ ฉดี ยาใหพ้ ระบรมศพ แล้วก็อัญเชิญลงสู่หีบไม้เปิดฝาไว้ ใช้ผ้าคลุม เพ่ือให้ผู้ที่จะถวายบังคมพระบรมศพได้มองเห็น พระพักตร์เป็นครง้ั สดุ ทา้ ย...” (ศลิ ปชยั ชาญเฉลมิ ๒๕๓๐: ๖๗๕) อาจกล่าวได้ว่าพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์จักรี เพียงพระองค์เดียวท่ีสวรรคตในต่างประเทศ และมิได้มีการจัดพระราชพิธีพระบรมศพตามอย่าง โบราณราชประเพณี เนอื่ งจากพระราชประสงคท์ ม่ี ใิ หเ้ ชญิ พระบรมศพกลบั มายงั ประเทศไทย รวมถงึ ปัจจัยทางการเมืองในขณะน้ันท่ีท�ำให้พระบรมวงศานุวงศ์ หรือขุนนางส่วนหนึ่งไม่กล้าไปร่วมงาน พระบรมศพ เนอื่ งจากกลวั ขอ้ กลา่ วหาทางการเมอื ง ดงั ท่ี ม.จ.พนู พศิ มยั บนั ทกึ ไวว้ า่ “...งานพระบรมศพ กม็ เี พยี งรถยนตส์ มเดจ็ พระนางรำ� ไพฯ และพระญาตพิ ระวงศช์ น้ั เดก็ ๆ ตามไปแค่ ๓ รถ ไมม่ ใี ครกลา้ เกี่ยวขอ้ งด้วยได้, เพราะเกรงไปวา่ จะเปน็ การเมือง. ในฐานะทีพ่ ระองคถ์ กู เป็นศตั รูของรัฐบาลไทย. จงึ ไมม่ ีใครกล้าแมจ้ ะนึกถึงด้วยความสงสาร...” (พูนพิศมยั ดิศกลุ ๒๕๕๑: ๑๘๐) 88 เสด็จสู่แดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
๘. การสรงน�้ำพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล ๓ ภายหลังสถานการณ์ทางการเมอื งระหว่างรัฐบาลกบั ราชสำ� นกั ผ่อนคลายข้ึน ในกรณขี อง การจดั การพระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหดิ ล ซงึ่ เสดจ็ สวรรคต ณ พระทนี่ ง่ั บรมพิมาน วันท่ี ๙ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๘๙ น้ัน การสรงน้�ำพระบรมศพได้จัดในวันรุ่งขึ้นในเวลา ๑๐.๐๐ น. บุรุษพยาบาล ๔ คน พยาบาล ๒ คนจากสภากาชาด เชิญพระบรมศพประดิษฐาน บนเปลพยาบาลออกจากพระท่ีนั่งบรมพิมาน อัญเชิญข้ึนยังรถกาชาดไปยังพระท่ีนั่งพิมานรัตยา (สรรใจ แสงวเิ ชียร และวมิ ลพรรณ ปีตธวชั ชยั ๒๕๑๗: ๒๒) เมอื่ ถวายนำ�้ สรงพระบรมศพ ปืนใหญ่ ยงิ ถวายคำ� นบั สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ ๙ ถวายบงั คมพระบรมศพแลว้ ทรงหวพี ระเกศา จากนน้ั เจ้าพนกั งานเชญิ พระบรมศพลงพระลองเงนิ ไปประดษิ ฐานยังพระท่นี ัง่ ดุสติ มหาปราสาท (สุมนชาติ สวสั ดกิ ลุ ๒๕๔๗: ๑๗๐) ๙. การสรงน้�ำพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช เป็นที่ทราบกันดีว่า ในหลวงรัชกาลท่ี ๙ เสด็จสวรรคต ณ โรงพยาบาลศิริราช เมื่อวัน พฤหัสบดที ี่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๙ ต่อมาในวันศกุ ร์ท่ี ๑๔ ตุลาคม ๒๕๕๙ ได้มีการเชิญพระบรมศพลง จากอาคารเฉลิมพระเกียรติ ชั้น ๑๖ โรงพยาบาลศิริราช มายังรถพยาบาล จากน้ันขบวนรถเชิญ พระบรมศพเคล่ือนออกจากโรงพยาบาลศิริราชไปยังพระบรมมหาราชวังเข้าทางประตูวิเศษไชยศรี ประตูพิมานไชยศรี แลว้ เชญิ พระบรมศพเขา้ ในพระทน่ี ั่งพมิ านรัตยาเพอ่ื ถวายน้�ำสรงพระบรมศพ ภาพท่ี ๖ พระท่ีนงั่ พิมานรัตยา (ซ้ายสุด) และมุขกระสนั ท่เี ชอ่ื มตอ่ กับพระทน่ี ั่งดสุ ติ มหาปราสาท (ที่มา: แสงสรู ย์ ลดาวัลย์ ๒๕๑๙) จากทก่ี ลา่ วมาทง้ั หมดสรปุ ไดว้ า่ แบบแผนการสรงนำ้� พระบรมศพในยคุ รชั กาลท่ี ๑-๖ จะจดั ขน้ึ ณ พระทีน่ ่ังที่พระมหากษัตรยิ เ์ สด็จสวรรคต ก่อนทจ่ี ะมกี ารอัญเชิญพระโกศพระบรมศพมายัง 89เสด็จสแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
พระท่ีน่ังดุสิตมหาปราสาท ต่อมาในช่วงหลังเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕ ธรรมเนียม การสรงนำ้� พระบรมศพไดม้ กี ารเปลยี่ นแปลงจากเดมิ เนอ่ื งจากปจั จยั ทางการเมอื งและสงั คม รวมถงึ พระราชประสงค์ท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดพระราชพิธี ดังจะเห็นได้จากการถวายน้�ำสรงพระบรมศพ ของรชั กาลท่ี ๗ ท่เี ป็นไปอย่างเรียบง่าย ๑. พระฉาก ๒. พระแท่นประดิษฐานพระบรมศพ ๓. เครือ่ งทองน้อยและทที่ รงกราบ ๔. พระราชอาสน์ ๕. พระพทุ ธรปู ประจำ� พระชนมวาร เครือ่ งทองน้อย และพานใสแ่ ผน่ ทองคำ� จำ� หลกั ลายดนุ ปดิ พระพกั ตร์ ซองพระศรี และพระชฎา ๖. ชาวพนกั งานประโคม แผนผังที่ ๑ การจดั เตรียมสถานท่สี ำ� หรับถวายนำ�้ สรงพระบรมศพสมเด็จพระนางเจา้ ร�ำไพพรรณี พระบรมราชนิ ี ในรชั กาลที่ ๗ (ท่ีมา: กรมศลิ ปากร ๒๕๒๙: ๕๐) ในขณะที่งานพระบรมศพรัชกาลที่ ๘ และรัชกาลท่ี ๙ มีการลดทอนขั้นตอนในการเชิญ พระบรมศพขนึ้ พระยานมาศเขา้ กระบวนแหม่ ายงั พระทนี่ ง่ั ดสุ ติ มหาปราสาท แตเ่ ปลย่ี นเปน็ การอญั เชญิ พระบรมศพโดยรถยนตม์ ายงั พระทน่ี งั่ พมิ านรตั ยาเพอ่ื ถวายนำ�้ สรงพระบรมศพ กอ่ นทจ่ี ะประดษิ ฐาน พระบรมศพ ณ พระท่ีน่งั ดสุ ิตมหาปราสาท ขนั้ ตอนการสรงนำ�้ พระบรมศพ หลักฐานที่ระบุถึงข้ันตอนการสรงน้�ำพระบรมศพอย่างละเอียดเป็นคร้ังแรก ปรากฏอยู่ใน จดหมายเหตุงานพระบรมศพสมเด็จพระนางเจ้าร�ำไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลท่ี ๗ เม่ือ พ.ศ.๒๕๒๗ บนั ทึกถงึ การจดั เตรยี มสถานทีแ่ ละเครอ่ื งสรงพระบรมศพ ณ พระท่นี ัง่ พมิ านรตั ยาไว้ว่า กลางพระทนี่ ่งั ต้ังพระฉากตราแผน่ ดนิ รัชกาลท่ี ๕ แบ่งกั้นพ้ืนเป็น ๒ ส่วนคอื (ดูแผนผงั ท่ี ๑) ส่วนแรก พื้นท่ีทางด้านเหนือพระท่ีน่ัง ส�ำหรับทอดพระราชอาสน์ส�ำหรับพระบาทสมเด็จ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช สมเด็จพระนางเจา้ สิริกติ ิ์ พระบรมราชินีนาถ พร้อมทงั้ ที่ประทับ ของพระบรมวงศานวุ งศ์ 90 เสดจ็ สูแ่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
๓ ภาพท่ี ๗ การจดั เตรยี มพระแท่นประดิษฐานพระบรมศพสมเด็จ ภาพท่ี ๘ พระชฎา แผน่ ทองจำ� หลักปิดพระพกั ตร์ พระนางเจ้าร�ำไพพรรณีฯ ในพระที่นั่งพิมานรัตยา (ท่ีมา: กรม ซองพระศรี และพระสาง (ท่ีมา: กรมศิลปากร ศิลปากร ๒๕๒๙: ๓๐) ๒๕๒๙: ๓๐) ส่วนทีส่ อง พืน้ ทที่ างดา้ นใต้ มกี ารจดั เตรยี มดงั นี้ ๑. ตง้ั พระแทน่ ปดิ ทองลายสลกั เทา้ สงิ หป์ พู รมลาดพระสจุ หนเ่ี ยยี รบบั ทอดพระยภ่ี พู่ ระเขนยผา้ สีขาวส�ำหรบั สรงพระบรมศพ ซ่งึ บรรทมหนั พระเศียรไปทางทิศตะวันออก ๒. ด้านเหนือพระเศียร ต้ังม้าหมู่ส�ำหรับประดิษฐานพระพุทธรูปประจ�ำพระชนมวารของ สมเดจ็ พระนางเจา้ รำ� ไพพรรณี พระบรมราชนิ ี พรอ้ มดว้ ยเครอื่ งทองนอ้ ย ๑ เครอื่ ง และตง้ั พานทองคำ� ดนุ สำ� หรับถวายปิดพระพักตร์ ซองพลูทองคำ� ลงยา มดี อกบัวธูปไม้ระก�ำ ๑ เทยี น ๑ สำ� หรบั ถวาย พระพนม และพระชฎาทองคำ� ลงยาสำ� หรบั สวมเมอื่ เชิญส่พู ระโกศ ๓. หนา้ พระแท่นประดิษฐานพระบรมศพ ต้งั เคร่ืองทองน้อย ๒ เคร่อื ง และลาดพระสจุ หน่ี สำ� หรับทรงกราบราบทหี่ นา้ พระแท่นมณฑล ๔. เครอื่ งใชส้ �ำหรับพระราชพิธีที่เจา้ พนกั งานจัดเตรยี ม ไดแ้ ก่ หม้อน�้ำทองค�ำลงยาบรรจุ น้�ำสรง ผอบทองค�ำลงยาใส่น้�ำขมิ้น น้�ำพระสุคนธ์ พระโกศและพระลองทองใหญ่องค์ท่ีสร้างข้ึนใน รัชกาลที่ ๕ พระภูษาฉลองพระองค์ยกทองพื้นสีขาว และเครื่องพระสุก�ำส�ำหรับทรงพระบรมศพ (กรมศลิ ปากร ๒๕๒๙: ๕๐) จากหลักฐานทางเอกสารในสมัยต่างๆ สามารถประมวลขั้นตอนการสรงน�้ำพระบรมศพ ในแต่ละลำ� ดับไดด้ งั น้ี ๑. พระมหากษตั รยิ ์ หรอื องคพ์ ระรชั ทายาท หรอื พระบรมวงศานวุ งศท์ เ่ี สดจ็ มาเปน็ ประธาน ในพระราชพธิ ี ทรงจดุ ธปู เทยี นเครอื่ งทองนอ้ ยสำ� หรบั พระบรมศพบชู าพระพทุ ธรปู ประจำ� พระชนมวาร และจุดธปู เทียนเครอ่ื งทองนอ้ ย กราบถวายบังคมพระบรมศพ ๒. ถวายน�้ำสรงพระบรมศพ ในขั้นตอนน้ีจะมีรายละเอียดแตกต่างกันไปตามพระราช อิสริยยศของเจ้านายแต่ละพระองค์ ดังจะเห็นได้จากการถวายน�้ำสรงพระบรมศพพระบาทสมเด็จ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช เมือ่ วนั ที่ ๑๔ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๙ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงรับขวดน้�ำพระสุคนธ์จากเจ้าพนักงาน ถวายสรงที่พระบาทพระบรมศพ 91เสดจ็ สแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
(เป็นการส่วนพระองค์) แล้วทรงกราบถวายบังคมพระบรมศพ จากน้ันทรงรับหม้อน้�ำพระสุคนธ์ โถนำ้� ขมนิ้ และโถนำ้� อบไทยจากเจา้ พนกั งานสนมพลเรอื น ถวายสรงทพ่ี ระบาทพระบรมศพ (เดลนิ วิ ส์ ๒๕๕๙: ๘) สังเกตได้ว่าพระบรมศพของพระมหากษัตริย์จะถวายน�้ำสรงท้ังหมดท่ีบริเวณพระบาท และถวายบังคมทำ� ความเคารพเพียงอยา่ งเดยี ว เนือ่ งจากมีพระอสิ ริยยศทส่ี ูงสดุ ในแผ่นดิน ในขณะเดียวกันเมื่อคร้ังงานพระบรมศพสมเด็จพระนางเจ้าร�ำไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลท่ี ๗ พ.ศ.๒๕๒๗ และงานพระบรมศพสมเด็จพระศรนี ครินทราบรมราชชนนี พ.ศ.๒๕๓๘ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงรับหมอ้ นำ�้ ผอบน�้ำขมน้ิ และน้ำ� พระสุคนธ์ จากเจ้าพนักงาน ถวายน�้ำสรงที่พระอุระ แล้วทรงคม (ประนมมือไหว้) ก่อนที่จะเสด็จไปท่ีปลาย พระแทน่ เพอ่ื ถวายน�ำ้ พระสุคนธ์สรงที่พระบาท แล้วทรงกราบราบท่ีหน้าพระแท่น ส่วนพระบรมวงศานุวงศ์ในล�ำดับชั้นอื่นๆ เช่น ในงานพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนากรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ พ.ศ.๒๕๕๑ และงานพระศพสมเด็จพระเจ้า ภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี พ.ศ.๒๕๕๔ น้ัน สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ จะทรงรับขวดน�้ำพระสุคนธ์มาสรงท่ีพระศพเป็นการส่วนพระองค๑์ จากนั้น พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงรับหม้อพระสุคนธ์และโถน�้ำขมิ้นจาก เจา้ พนักงานสนมพลเรือนถวายสรงท่อี ุระพระบรมศพ (ไม่มกี ารสรงน�้ำท่ีพระบาทแตอ่ ยา่ งใด) แลว้ ทรงกราบทพ่ี ระสจุ หนหี่ นา้ พระแท่นพระศพ ๓. หลงั เสรจ็ สน้ิ การสรงนำ้� พระบรมศพเปน็ ขน้ั ตอนหวเี สน้ พระเจา้ หรอื พระเกศา โดยหวขี น้ึ คร้งั หน่งึ ลงครัง้ หนง่ึ แลว้ หวกี ลับขน้ึ อกี ครัง้ หน่งึ ด้วยพระสางวงเดือน ท�ำดว้ ยไมจ้ นั ทน์ แล้วทรงหกั พระสางวางไว้ในพานซึง่ เจา้ พนักงานเชิญอยู่ ในขณะท่ีในประเพณีราษฎร์มีขั้นตอนการหวีผมให้ศพแล้วหักหวีทิ้ง โดยพระยา อนมุ านราชธน อธบิ ายไวว้ า่ การหกั หวที ง้ิ นถ้ี อื วา่ เปน็ หวขี องคนตาย ใชส้ ำ� หรบั คนเปน็ มไิ ด้ บางแหง่ มกี ารหกั หวีออกเป็นสามท่อน แล้วกล่าววา่ “อนจิ จฺ ํ ทุกขฺ ํ อนตตฺ า” อธบิ ายเข้ากับปรศิ นาธรรมทวี่ ่า หวีดีๆ หักออกไปเป็นสามท่อนฉันใด ชีวิตมนุษย์ก็ฉันนั้น ต้องแตกดับไปเป็นธรรมดา (พระยา อนมุ านราชธน ๒๕๓๐: ๓๗) ดนตรปี ระโคมระหวา่ งสรงน้�ำ ในระหว่างที่มีการสรงน้�ำพระบรมศพจะมีการประโคมดนตรี ซึ่งถือเป็นเคร่ืองประกอบ พระเกียรติยศของพระบรมวงศานุวงศ์ โดยมีเครื่องประโคมระหว่างเวลาถวายน�้ำสรงพระบรมศพ พระศพ หรอื ในเวลาพระราชทานน้ำ� สรงพระศพต่างกันออกไปดงั น้ี ๑ ในงานพระศพสมเดจ็ พระเจา้ พีน่ างเธอ เจา้ ฟา้ กัลยาณิวฒั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครนิ ทร์ พ.ศ.๒๕๕๑ สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ นี าถ ทรงรบั ขวดพระสคุ นธถ์ วายสรงทพ่ี ระชงฆ์ (สว่ นพระองค)์ แลว้ ทรงคม สว่ นงาน พระศพสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี พ.ศ.๒๕๕๔ ทรงรับขวดพระสุคนธ์มา พระราชทานสรงทพ่ี ระบาทพระศพ แลว้ ทรงคม 92 เสดจ็ สู่แดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชอื่ ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
ฐานนั ดร, ชน้ั ยศ เครื่องประโคม พระมหากษัตรยิ ์ มโหระทึก สงั ข์ แตรงอน แตรฝรั่ง ป่ี กลองชนะ ลายทอง ๓ สมเดจ็ พระราชนิ ี สังข์ แตรงอน แตรฝรั่ง ป่ี กลองชนะลายทอง สมเดจ็ พระบรมราชินนี าถ สมเดจ็ พระบรมราชชนนี สมเดจ็ พระยุพราช สมเดจ็ พระบรมราชกมุ ารี สมเดจ็ เจ้าฟา้ สงั ข์ แตรงอน แตรฝร่ัง ปี่ กลองชนะแดงลายทอง สมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์ สงั ข์ แตรงอน แตรฝรั่ง ป่ี กลองชนะ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระวรวงศ์เธอ หมอ่ มเจา้ ทไ่ี ดร้ บั พระราชทานเครอื่ งราช แตรงอน แตรฝรัง่ ป่ี กลองชนะ อิสริยาภรณ์ประถมาภรณ์มงกุฎไทย ข้ึนไป หรือได้รับพระราชทานตราทุติย จลุ จอมเกลา้ วิเศษ หมอ่ มเจ้า ปี่ กลองชนะ หมายเหตุ ปรบั ปรงุ จากฝา่ ยประชาสมั พนั ธแ์ ละเผยแพรส่ ำ� นกั พระราชวงั ๒๕๔๗: ๑๒๘-๑๔๘ จะเห็นได้ว่าพระบรมศพของพระมหากษัตริย์จะมีเคร่ืองดนตรี “มโหระทึก” อยู่ในชุด เคร่ืองประโคมเป็นการเฉพาะ แสดงให้เห็นถึงร่องรอยวัฒนธรรมในช่วงก่อนประวัติศาสตร์ท่ีมี พัฒนาการสืบทอดมา ในอดีตกลองมโหระทึกถือเป็นสมบัติและสัญลักษณ์ของหัวหน้าเผ่า เพราะ ถือเป็นของหายาก และมคี วามศักดสิ์ ทิ ธิ์ (เจนจริ า เบญจพงศ์ ๒๕๕๕: ๓๒๗) กลองมโหระทึกจะใช้ เมือ่ พิธกี รรมสำ� คญั ประจำ� เผา่ พนั ธ์ุ เช่น การตีกลองขอฝน และพิธศี พ ในสมัยกรงุ ศรอี ยุธยาปรากฏ ในกฎมณเฑียรบาลถึงการ “ตีหรทึก” ในพระราชพิธีที่เกี่ยวกับพระเจ้าแผ่นดิน และที่เกี่ยวกับ ความอดุ มสมบรู ณ์ของอาณาจกั ร ซ่ึงใชส้ บื เนอ่ื งมาจนถงึ กรุงรัตนโกสินทร์ (สุจิตต์ วงษเ์ ทศ ๒๕๕๑) นอกจากน้ี ในช่วงเวลาเดียวกัน ทหารกองเกียรติยศส�ำหรับพระบรมศพ/พระศพ ถวายความเคารพ แตรวงบรรเลงเพลงประกอบพระเกยี รตยิ ศระหวา่ งการสรงนำ�้ เพลงทใ่ี ชบ้ รรเลงนนั้ จะขนึ้ อยกู่ บั พระราชอสิ รยิ ยศ กลา่ วคอื พระมหากษตั รยิ ์ สมเดจ็ พระบรมราชนิ ี สมเดจ็ พระบรมราชชนนี พระรัชทายาท จะใชเ้ พลงสรรเสริญพระบารมี ส่วนเจ้านายในระดับชั้นพระราชโอรส พระราชธิดาของพระมหากษัตริย์ สมเด็จพระเจ้า พ่ียาเธอ สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ สมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอ และสมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ ในพระมหากษตั รยิ ท์ กุ รชั กาล จะใชเ้ พลงมหาชยั ในการบรรเลงประกอบพระเกยี รตยิ ศ (คณะอนกุ รรมการ 93เสด็จส่แู ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเช่อื ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
เฉพาะกิจจัดท�ำเพลงส�ำคัญของแผ่นดินในคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ ๒๕๔๗: ๑๙-๒๐) การประโคมดนตรีจะส้ินสดุ ลงเมื่อพระบรมศพหรือพระศพประดิษฐานทพ่ี ระแทน่ เปน็ ทเี่ รียบร้อย ผ้มู สี ิทธถิ์ วายน�้ำสรงพระบรมศพ เมื่อพระมหากษัตริย์เสด็จมาถวายน�้ำสรงพระบรมศพแล้ว จะโปรดเกล้าให้พระบรมวงศ์ พระราชวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ต้ังแต่ชั้นพระองค์เจ้าข้ึนไปถวายน้�ำสรงที่พระบาทตามล�ำดับ ซึ่งถือกันอย่าง เครง่ ครัด ดังจะเห็นไดจ้ ากเมอื่ คร้งั สรงน�ำ้ พระบรมศพรชั กาลท่ี ๕ คร้งั น้นั ม.จ.จงจิตรถนอม ดิศกุล ประทานสมั ภาษณไ์ วว้ า่ ไดท้ รงสรงนำ้� ถวายพระบรมศพเปน็ กรณพี เิ ศษ เนอื่ งจากเปน็ ผทู้ คี่ อยถวาย การรับใชก้ อ่ นจะเสด็จสวรรคต ทำ� ให้สมเดจ็ พระศรพี ัชรินทราพระบรมราชนิ ีนาถ ทรงกริว้ เนอ่ื งจาก ตามธรรมเนียมถวายน�้ำสรงพระบรมศพพระมหากษัตริย์จะอนุญาตเฉพาะหม่อมเจ้าช้ันพานทอง เท่านั้น (สลุ กั ษณ์ ศิวรกั ษ์ ๒๕๕๕: ๑๔๔) เรอ่ื งขา้ งตน้ นส้ี อดคลอ้ งกบั บนั ทกึ ของ ม.จ.พนู พศิ มยั ดศิ กลุ ทที่ รงพระนพิ นธไ์ วว้ า่ เมอ่ื ครงั้ ถวายน้ำ� สรงพระบรมศพรชั กาลท่ี ๖ นน้ั ม.จ.พูนพศิ มยั ทรงรธู้ รรมเนียมทวี่ ่า “...ยศหม่อมเจ้าไม่สงู พอจะไดส้ รงพระบรมศพพระเจา้ แผน่ ดนิ ...” จงึ ประทบั คอยอยทู่ พ่ี ระปรศั วซ์ า้ ย ในระหวา่ งทส่ี มเดจ็ ฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพขณะขึ้นไปถวายน้�ำสรงในพระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน และทรงบันทึกว่า “...เหน็ เจ้านายทรงเครือ่ งขาวขน้ึ ไปบนพระทนี่ งั่ ...” (พูนพิศมยั ดศิ กลุ ๒๕๑๘: ๑๓๖) หลงั จากทพ่ี ระบรมวงศานวุ งศถ์ วายนำ�้ สรงพระบรมศพแลว้ ธรรมเนยี มทมี่ มี าแตเ่ ดมิ จะตอ่ ดว้ ยเสนาบดแี ละเจา้ พระยา ตอ่ มาหลงั เปลยี่ นแปลงการปกครอง เมอื่ ถงึ คราวถวายนำ�้ สรงพระบรมศพ รัชกาลที่ ๘ จึงเปลี่ยนเป็นนายกรัฐมนตรี ประธานรัฐสภา ศาลฎีกา และคร้ังสมเด็จพระพันวัสสา อยั ยิกาเจ้า เพมิ่ คณะองคมนตรี (กรมศลิ ปากร ๒๕๒๙: ๕๓) ครนั้ ถึงงานพระบรมศพสมเด็จพระศรี นครินทราบรมราชชนนี ได้มีการเปลี่ยนแปลงข้ันตอน โดยก่อนท่ีจะเสด็จพระราชด�ำเนินมายัง พระที่น่ังพิมานรัตยา ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้สมเด็จพระบรมวงศ์ พระราชวงศ์ถวายน้�ำสรง พระบรมศพท่ีสายสิญจน์ซึ่งคลอ้ งจากพระบาทมพี านทองรองรบั พรอ้ มดว้ ยพระบรมวงศานุวงศช์ นั้ พระองคเ์ จา้ ขน้ึ ไป รวมถงึ ขา้ ราชการชน้ั ผใู้ หญ่ ไดแ้ ก่ คณะองคมนตรี นายกรฐั มนตรี ประธานรฐั สภา ประธานศาลฎีกา ประธานวุฒิสภา และอดีตนายกรัฐมนตรี (หอจดหมายเหตุแห่งชาติ ๒๕๓๙: ๖๔) ส�ำหรับการถวายน้�ำสรงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เมื่อวันที่ ๑๔ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๕๙ นายกรัฐมนตรี ขา้ ราชการผู้ใหญ่ ตลอดจนเอกอคั รราชทูตประเทศ ตา่ งๆ และอดตี นายกรฐั มนตรี ถวายนำ�้ สรงทศ่ี าลาสหทยั สมาคม ซง่ึ ประดษิ ฐานพระบรมฉายาลกั ษณ์ บนโตะ๊ หมูบ่ ูชา โยงสายภูษามายงั โอ่งบรรจนุ ำ้� สรงพระบรมศพ (เดลนิ ิวส์ ๒๕๕๙: ๘) มีท่ีต่างออกไปคือในงานพระบรมศพสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ถือเป็นงาน พระบรมศพคร้ังแรกที่ประชาชนได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าให้เข้าถวายน้�ำสรงพระบรมศพหน้า พระบรมฉายาลักษณ์ ซึ่งประดิษฐาน ณ ศาลาสหทัยสมาคม ในพระบรมมหาราชวัง ตั้งแต่เวลา ๙.๐๐-๑๖.๐๐ น. ของวันท่ี ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๓๘ (หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาติ ๒๕๓๙: ๕๑) และ ไดเ้ ปน็ ธรรมเนียมปฏิบัติสืบมา 94 เสดจ็ สแู่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
กรอกปรอท ๓ ขั้นตอนการกรอกปรอทถือเป็นวิธีการรักษาศพเพื่อไม่ให้เน่าเปื่อย เน่ืองจากในอดีตต้อง เก็บศพไวท้ ำ� พธิ ที างศาสนาเปน็ เวลายาวนานหลายวนั ในสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา ลา ลแู บร์ บนั ทกึ ไวว้ า่ “...เจา้ ศพจงึ พยายามอย่างนอ้ ยที่สุด กท็ �ำลายไสข้ องผู้ตายเสียด้วยปรอท ซง่ึ เขากรอกเขา้ ไปในปาก ศพ และกลา่ วกันว่าไหลออกมาได้ทางทวารหนกั ...” (ลา ลแู บร์ ๒๕๔๘: ๓๓๖) ส่วนบันทึกของอาเดรียง โลเนย์ บาทหลวงชาวฝร่ังเศส กล่าวถึงพระบรมศพสมเด็จ พระนางเจา้ สุนันทากุมารีรัตน์ และสมเด็จฯ เจา้ ฟา้ กรรณาภรณเ์ พ็ชรรตั น์ วา่ “...พระศพของสมเดจ็ พระนางเจา้ และพระราชธดิ าถูกฉีดดว้ ยสารปรอทเพ่อื ท�ำให้แห้ง...” (อาเดรียง โลเนย์ ๒๕๔๒: ๒๑) ซง่ึ นา่ จะเปน็ ความเขา้ ใจทค่ี ลาดเคลอ่ื นของผบู้ นั ทกึ เนอื่ งจากในไทยไมม่ กี ารฉดี มแี ตก่ ารกรอกปรอท เทา่ น้นั ในประเพณีท้องถ่ินของชาวปักษ์ใต้มีการรักษาศพให้อยู่ได้นานด้วยการเอาน�้ำผ้ึงรวง ผสมการบูรกรอกปากศพ โดยเอายอดกล้วยมาท�ำเป็นหลอด เพื่อให้น�้ำผ้ึงรวงลงไปได้มากที่สุด (สืบพงศ์ ธรรมชาติ ๒๕๔๐: ๕๕) ต่อมาเม่ือมีการฉีดยารักษาศพไม่ให้เน่าเปื่อย การกรอกปรอท จงึ หมดไปจากประเพณที �ำศพ ถวายเครือ่ งพระมหาสกุ �ำพระบรมศพ พจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ.๒๔๙๓ ใหค้ วามหมายของค�ำวา่ สุกำ� หมายถึง “เคร่ืองขาวแต่งศพ” (ราชบัณฑิตยสถาน ๒๕๑๖: ๙๑๖) สว่ นฉบบั พ.ศ. ๒๕๕๔ ใหค้ วามหมายของ สุก�ำศพ ไว้ว่าหมายถึงข้ันตอนที่ “เจ้าพนักงานภูษามาลาหรือเจ้าพนักงานสนมพลเรือนเอาผ้าขาว หอ่ ศพและใชด้ า้ ยดบิ มดั ตราสงั แลว้ บรรจลุ งโกศหรอื หบี ศพซง่ึ มกี ระดาษฟางปรู องรบั เชน่ เจา้ หนา้ ที่ จะสุกำ� ศพ, ท�ำสุกำ� ศพ” (ราชบัณฑติ ยสถาน ๒๕๕๖: ๑๒๔๑) ธรรมเนียมการถวายเครอ่ื งพระมหาสกุ �ำพระบรมศพ เทียบกับประเพณีราษฎรคือข้นั ตอน ทม่ี กี ารแตง่ ตวั ศพ หอ่ ผา้ ขาว มดั ตราสงั กอ่ นทจี่ ะบรรจศุ พลงในโลง สว่ นการจดั การพระบรมศพและ พระศพของเจา้ นายชนั้ สูงจะบรรจุลงพระโกศ สนั นษิ ฐานกนั วา่ ธรรมเนียมการบรรจุศพลงในโกศมีวิวฒั นาการมาจากพธิ ีฝงั ศพครั้งท่ี ๒ ตัง้ แต่สมยั ก่อนประวตั ศิ าสตร์ กล่าวคอื เมอ่ื มคี นตาย จะมกี ารทำ� พิธีเกบ็ ศพไว้หลายวันเพอื่ เปน็ การ ส่งวิญญาณ จากนน้ั จงึ นำ� ศพไปฝังดินเพอ่ื ให้เนอื้ หนงั ยอ่ ยสลายเหลือแตก่ ระดกู แล้วจึงขุดขึน้ มาใส่ ในภาชนะ ดงั พบรอ่ งรอยหลักฐานไหหิน ทีท่ งุ่ ไหหินในลาว อกี ทง้ั ยังพบว่าในบางกลมุ่ มกี ารฝงั ศพ แบบท่านั่งงอเข่า แสดงให้เห็นถึงร่องรอยท่ีสืบเน่ืองมาจนถึงประเพณีการบรรจุพระศพลงโกศของ ชนชน้ั สงู ซงึ่ มคี ตทิ เี่ ชอ่ื วา่ คนตายคอื คนทกี่ ลบั สถู่ น่ิ เกา่ คอื ครรภม์ ารดา ตอ่ มาเมอื่ มกี ารรบั วฒั นธรรม เผาศพตามอย่างอินเดียจึงมีการผสมผสานเข้ากับประเพณีดั้งเดิม โดยน�ำศพท่ีจัดท่างอเข่าอยู่ใน ภาชนะ ไปเผาในบรเิ วณที่กำ� หนดไว้ (สจุ ิตต์ วงษเ์ ทศ ๒๕๕๑: ๙-๑๐) จากหลกั ฐานทางเอกสารในสมยั ตา่ งๆ สามารถประมวลขน้ั ตอนการถวายสกุ ำ� พระบรมศพ ไดด้ ังน้ี 95เสดจ็ ส่แู ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชือ่ ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
๑. เจา้ พนกั งานเชญิ เครอื่ งพระสกุ ำ� แตง่ พระบรมศพ มรี ายละเอยี ดตา่ งกนั ไปในแตล่ ะรชั กาล ดงั ตวั อยา่ งจากคำ� ใหก้ ารขนุ หลวงวดั ประดทู่ รงธรรม กลา่ วถงึ การถวายเครอ่ื งพระมหาสกุ ำ� พระบรมศพ สมเด็จพระเจา้ อยู่หัวบรมโกศวา่ ครั้นสรงนำ�้ หอมแล้วจง่ึ ทรงสุคนธารส แลกระแจะจวงจนั ทนท์ งั้ ปวง แลว้ ทรง พระสนบั เพลาเชงิ งอนทองชน้ั ใน แลว้ ทรงพระภษู าพนื้ ขาวปกั ทองชนั้ นอก แลว้ จงึ ทรง เครื่องต้นแลเครื่องทองแล้วจึงทรงฉลองพระองค์อย่างใหญ่ กรองทอง สังเวียรหยัก แลชายไหว ชายแครงตาบทพิ แลตาบหนา้ สงั วาลประดบั เพชร แลว้ จง่ึ ทรงทองตน้ พระกร แลปลายพระกรประดบั เพชร พระมหาชฎาเดนิ หนมหี า้ ยอด แลว้ ทรงพระธำ� มรงคเพชร อยเู่ พลงิ ทงั้ สบิ นว้ิ พระหตั ถแ์ ละสบิ นว้ิ พระบาท (ประชมุ คำ� ใหก้ ารกรงุ ศรอี ยธุ ยา ๒๕๕๓: ๒๙๘-๒๙๙) ๒. ถวายแผน่ ทองคำ� จำ� หลกั ลายดนุ มพี ระกรรณ สำ� หรบั ปดิ ทพ่ี ระพกั ตร์ ซงึ่ ใน จดหมายเหตุ งานพระบรมศพรัชกาลท่ี ๒ มีช่ือเรียกว่า “พระสุพรรณแผ่นจ�ำหลักปริมณฑลฉลองพระพักตร์” ขน้ั ตอนนใ้ี นประเพณรี าษฎรจ์ ะมกี ารนำ� ขผี้ งึ้ หนาประมาณครง่ึ นว้ิ มาแผป่ ดิ หนา้ ผตู้ าย หรอื บางทปี ดิ ทตี่ าและปาก ในกรณผี มู้ ที รพั ยจ์ ะใชท้ องคำ� เปน็ หนา้ กากปดิ หนา้ หรอื อาจจะปดิ ทองคำ� เปลวบนขผี้ ง้ึ ตามแต่ฐานะของเจ้าภาพ การท�ำเช่นน้เี พอ่ื ปอ้ งกันการอุจาดตา และเมื่อเผาศพเรยี บร้อยจะนำ� ทอง ไปสร้างพระพุทธรูป (พระยาอนมุ านราชธน ๒๕๓๙: ๔๗) ๓. เจา้ พนักงานภูษามาลาจัดพระบรมศพใหอ้ ยใู่ นทา่ ที่พระชานุ (เขา่ ) ทั้งสองยกข้ึนแนบ เสมอพระองค์ ๔. ถวายพระปทมุ ปตั นกิ าร หรอื ไมก้ าจบั หลกั ดา้ นลา่ งมแี ปน้ เปน็ ฐานรปู สเี่ หลยี่ ม ทป่ี ลาย ไม้ดา้ นบนทำ� เป็นทรงโค้งเพื่อรองรบั พระหนุ (คาง) เจ้าพนกั งานจะสอดไมก้ าจบั หลกั เข้าไประหวา่ ง พระบาท ใหป้ ลายไม้ดา้ นบนรองรับพระหนุ เพ่อื จัดพระเศยี รใหอ้ ยู่ในทา่ ทีเ่ หมาะสม ม.ล.ชัยนิมติ นวรตั น อธบิ ายประโยชนข์ องการใช้ไมก้ าจับหลกั ไว้ว่า ในสมัยทีเ่ ทคโนโลยี การเกบ็ รกั ษาศพยงั ไมก่ ้าวหนา้ เมื่อเกบ็ รกั ษาศพไว้เป็นเวลานานราวร้อยวนั ศพจะมีสภาพแหง้ ยบุ กองลงกับพนื้ ในโกศ ถา้ เกินรอ้ ยวนั ศพจะเรม่ิ แห้ง สว่ นศีรษะที่มไี ม้กาจบั หลักค�ำ้ อยู่จะไมก่ องลงมา รวมกับอวัยวะเบื้องล่าง แต่จะยังคงชูอยู่กับกระดูกสันหลัง ต่อมาในสมัยหลังมีการฉีดยารักษาศพ ไมก้ าจบั หลังจงึ หมดความจำ� เป็นไปในท่ีสุด (ชัยนมิ ิต นวรัตน ๒๕๕๘: ๕๓-๕๕) ๕. เจา้ พนกั งานเชญิ พระพาหาโอบมาดา้ นหนา้ และจดั อยใู่ นทา่ ประนมพระหตั ถ์ ทพี่ ระหตั ถ์ ถวายซองพระศรีทองคำ� ลงยา บรรจุดอกบวั ธปู เทียน เป็นเคร่ืองสกั การบชู าพระมหาจฬุ ามณเี จดยี ์ ๖. ถวายพระกัปปาสิกสูตร (ด้ายสุก�ำ) เป็นการมัดตรึงพระบรมศพให้คงรูปด้วยด้ายสุก�ำ ซง่ึ เป็นด้ายดบิ ท�ำจากฝา้ ย ในจดหมายเหตุพระบรมศพรัชกาลที่ ๒ กล่าวถงึ ข้นั ตอนน้ีไว้วา่ “...แล้ว ถวายพันธิการ ด้วยพระกัปปาสิกะสูตรเปนบ่วงขันธห้า แต่พระบาทเปนประถมขึ้นไปตามล�ำดับ” (คณะกรรมการเฉลิมพระเกยี รติ ๒๐๐ ปี พระบาทสมเดจ็ พระน่งั เกลา้ เจ้าอย่หู วั ๒๕๓๐: ๑๖) ๗. เชิญพระบรมศพประทับนั่งบนผ้าขาวซึ่งเรียกว่า “พระกัปปาสิกะเสวตรพัตร” หรือท่ี คำ� ใหก้ ารขนุ หลวงวดั ประดทู่ รงธรรมเรยี กวา่ “ผา้ หอ่ เมยี่ ง” ซง่ึ มขี นาดยาวหกศอก ปซู อ้ นเปน็ หกแฉก 96 เสด็จสู่แดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชือ่ ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
๓ ภาพที่ ๙ ภาพลายเสน้ แสดงการสุกำ� การห่อผา้ ขาวก่อน ภาพที่ ๑๐ พระชฎาห้ายอด รัชกาลท่ี ๖ (ที่มา: ลงโกศ และลกั ษณะท่าน่งั ของศพในโกศ (ทมี่ า: ชัยนิมิต พิชญา ส่มุ จินดา ๒๕๕๙: ภาพจากกรมศลิ ปากร) นวรตั น ๒๕๕๘: ๕๗) เจา้ พนกั งานจะรวมชายผา้ ขน้ึ ประชมุ ไวเ้ หนอื พระเศยี ร แลว้ ถวายพนั ธกิ ารคอื มดั ตง้ั แตเ่ บอื้ งลา่ งจนถงึ ชายผ้าท่ีรวมไว้ด้านบน แล้วปล่อยให้เหลือชายพระกัปปาสิกสูตรไว้ส�ำหรับผูกโยงสดับปกรณ์ จากนั้นเชิญผ้าอีกผืนหน่ึงมาห่อต้ังแต่พระบาท (เท้า) ไปถึงพระกัณฐา (คอ) แล้วพันเหน็บผ้าไว้ (คณะกรรมการเฉลมิ พระเกยี รติ ๒๐๐ ปี พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจา้ อย่หู ัว ๒๕๓๐: ๑๖-๑๗) ๘. เชิญพระบรมศพลงพระลอง หนุนพระเขนยโดยรอบเพ่อื กันเอียง ๙. ถวายพระชฎาห้ายอด ซึ่งเป็นชฎาส�ำหรับพระมหากษัตริย์ทรงในวโรกาสส�ำคัญแทน พระมหาพิชัยมงกุฎท่ีมีน้�ำหนักมาก เช่น กระบวนพยุหยาตราเลียบพระนคร หรือพระราชทาน ผา้ พระกฐนิ จงึ เรยี กอกี ชอื่ วา่ พระชฎามหากฐนิ และถอื เปน็ ประเพณปี ฏบิ ตั ทิ จี่ ะตอ้ งนำ� มาถวายสำ� หรบั ทรงพระบรมศพพระมหากษตั ริย์เมื่อเสด็จสวรรคต (พิชญา สุ่มจนิ ดา ๒๕๕๙: ๑๓๓-๑๓๔) ผู้ที่จะถวายพระชฎามหากฐินจะต้องเป็นองค์รัชทายาทผู้สืบราชสันตติวงศ์เท่าน้ัน (จมื่น อมรดรุณารกั ษ์ ๒๕๑๔: ๑๗) ในจดหมายเหตงุ านพระบรมศพรัชกาลที่ ๒ ระบุว่า กรมหม่นื เจษฎา บดนิ ทรผ์ ู้เปน็ “สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช” รชั ทายาทผ้ขู น้ึ ครองแผน่ ดิน ถวายพระชฎามหากฐิน ภายหลังจากท่ีทรงผา้ สกุ �ำพระบรมศพและเชิญลงพระลองเงนิ ๑๐. เจา้ พนกั งานปดิ ฝาพระลอง กอ่ นทจ่ี ะปดิ จะเชญิ พระชฎาออก แลว้ ถวายผา้ คลมุ ตาดทอง จากนน้ั จึงจะเป็นขั้นตอนทีเ่ จ้าพนักงานเชิญขนึ้ บนพระแทน่ สวุ รรณเบญจดลตอ่ ไป 97เสดจ็ สูแ่ ดนสรวง ศลิ ปะ ประเพณี และความเชอื่ ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
ในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้มีการเปลี่ยนแปลง ขัน้ ตอนในการสุกำ� พระบรมศพ เม่ือคร้งั งานพระบรมศพสมเด็จพระศรีนครนิ ทราบรมราชชนนี และ งานพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรง พระกรณุ าโปรดเกล้าใหเ้ ชญิ พระบรมศพ/พระศพลงหบี พระศพแทนการบรรจุลงในพระโกศ ส�ำหรับพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชนั้น มีข้ันตอน การบรรจุพระบรมศพดังน้ี “ทหารมหาดเลก็ ราชวลั ลภรกั ษาพระองคเ์ ชญิ พระหบี พระบรมศพมาเทยี บที่ พระแทน่ บรรทมพระบรมศพ สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี สมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอเจา้ ฟา้ จฬุ าภรณวลยั ลักษณ์ อคั รราชกุมารี และทูลกระหมอ่ มหญงิ อุบลรัตนร์ าชกัญญา สริ ิโสภาพรรณวดี ประทับทอดพระเนตรการย้ายพระบรมศพลงพระหีบ แพทย์ พยาบาล ท่ีถวายงาน ถวายการจดั แตง่ ผา้ คลมุ พระองค์ และจดั พระบรมศพใหเ้ ปน็ ทเ่ี รยี บรอ้ ยสมพระเกยี รติ เจา้ พนกั งานถวายซองพระศรี บรรจดุ อกบวั และธปู เทยี น ทรงวางซองพระศรี บรรจุดอกบัวและธูปเทียน แล้วพระราชทานคืนเจ้าพนักงาน ทรงรับและทรงวาง แผน่ ทองคำ� จำ� หลกั ลายปดิ พระพกั ตร์ แลว้ พระราชทานคนื เจา้ พนกั งาน ทรงรบั พระชฎา ห้ายอด ทรงวางข้างพระเศียรแล้วพระราชทานคืนเจา้ พนกั งาน จากนั้นทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์ ๑๐ นาย เชิญพระหีบ พระบรมศพ มตี ำ� รวจหลวงนำ� ๔ นาย ไปยงั พระทนี่ ง่ั ดสุ ติ มหาปราสาท สมเดจ็ พระบรม โอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร และพระบรมวงศานุวงศ์ เสด็จตามพระบรมศพ ประทบั ยนื ทหี่ นา้ พระราชอาสน์ ทหารมหาดเลก็ ราชวลั ลภรกั ษาพระองค์ เชญิ พระหบี พระบรมศพ ขึ้นประดิษฐานบนพระเแท่นแว่นฟ้าหลังพระแท่นสุวรรณเบญจดล เสรจ็ แล้ว ทหารปืนใหญห่ ยดุ ยงิ ถวายพระเกยี รติ” (เดลินวิ ส์ ๒๕๕๙: ๘) จะเห็นได้ว่าการบรรจุพระบรมศพลงหีบจะไม่มีการถวายผ้าพระกัปปาสิกะเสวตรพัตร เหมือนกับการบรรจุลงพระโกศ มีเพียงการถวายเพียงผ้าคลุมพระบรมศพ ส่วนการถวายพระชฎา หา้ ยอดจะวางข้างพระเศยี ร และหีบพระบรมศพจะประดษิ ฐานอยู่บนพระแทน่ แวน่ ฟา้ หลังพระแทน่ สุวรรณเบญจดล ซึ่งยังคงมีการประดิษฐานพระบรมโกศประกอบพระราชอิสริยยศตามโบราณราช ประเพณี ประดษิ ฐานพระบรมโกศ การประดษิ ฐานพระบรมโกศในมขุ ตะวนั ตกของพระทนี่ งั่ ดสุ ติ มหาปราสาท มกี ารบนั ทกึ ไว้ เมื่อครั้งงานพระบรมศพสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ท�ำให้เห็นถึงหลักปฏิบัติตาม ธรรมเนยี มโบราณคอื เรม่ิ จากการวดั ระยะทง้ิ สายดงิ่ จากเพดาน โดยวดั จากดาวเพดานหมกู่ ลางของ หอ้ งทส่ี องในมขุ ตะวนั ตก จากนั้นจึงปูพรมสแี ดงเตม็ พื้นทมี่ ุขตะวันตก แล้วเชิญพระแท่นทองทราย ๒ ช้นั ตัง้ วางให้จดุ ศนู ย์กลางตรงกบั สายดิง่ 98 เสดจ็ ส่แู ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอื่ ในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ
ลำ� ดบั ตอ่ ไปจงึ เชญิ พระแทน่ สวุ รรณเบญจดลทอดเหนอื พระแทน่ ทองทราย ซง่ึ จดุ ศนู ยก์ ลาง ๓ ของพระแทน่ จะตอ้ งตรงกบั สายดงิ่ เชน่ กนั แลว้ จงึ เชญิ ฐานบวั รองรบั พระบรมโกศทอดเหนอื พระแทน่ สุวรรณเบญจดล จากนั้นจึงเชญิ เศวตฉัตรแขวนเหนือพระแทน่ โดยใช้ลวดร้อยบนเพดานตรงจุดท้ิง สายดิ่งผูกกบั ยอดเศวตฉตั รแล้วเชญิ ขึ้น จากน้นั จึงเชิญพระลองตั้ง ประกอบพระโกศ และตั้งเครือ่ ง ประกอบตามพระอิสริยยศเปน็ อนั เสร็จขั้นตอน (นนทพร อยมู่ ่ังมี ๒๕๕๙: ๖๑) ส�ำหรับพระบรมศพหรือพระศพของเจ้านายที่มีการบรรจุในโกศ จะมีการรองรับพระลอง ดว้ ยใบบวั ดบี กุ เจาะรูตรงกลาง มีก้านท่อท�ำจากกระบอกไมไ้ ผ่ตอ่ ลงไปยงั ถำ้� พระบุพโพ (ตุ่มเคลอื บ ดนิ เผา) ซึง่ อยตู่ รงกลางของช้นั เบญจดล ดสุ ิตมหาปราสาทคือสวรรค์ชนั้ ดสุ ิต พระที่น่ังดุสิตมหาปราสาทในพระบรมมหาราชวัง สร้างในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เดิมเป็นพระท่ีน่ังไม้ชื่อว่าพระท่ีน่ังอมรินทราภิเษก ต่อมาเกิดเพลิงไหม้ จงึ โปรดใหส้ รา้ งขน้ึ ใหมด่ ว้ ยอฐิ ถา่ ยแบบจากพระทน่ี งั่ สรุ ยิ าศนอ์ มรนิ ทรค์ รงั้ กรงุ เกา่ มาสรา้ งใหมเ่ ปน็ ปราสาททรงจตั รุ มุข พระทนี่ ัง่ องค์น้ใี ชเ้ ป็นท่ีประดิษฐานพระบรมศพพระมหากษัตรยิ ์ พระอัครมเหสี และสมเดจ็ เจา้ ฟา้ พระราชโอรส พระราชธดิ า หรอื สมเดจ็ พระบรมวงศช์ นั้ ผใู้ หญ่ ซงึ่ ดำ� รงพระอสิ รยิ ยศ สมเด็จเจา้ ฟ้า หรอื เทยี บเท่าเป็นกรณีพเิ ศษ นามของพระท่นี ั่ง “ดสุ ิต” จึงหมายถึงดุสติ สวรรคช์ ั้นท่ี ๔ อันเป็นทป่ี ระทับของพุทธบิดา พุทธมารดา พระมหาสัพพัญญูโพธิสัตว์ พระปัจเจกโพธิสัตว์ พุทธสาวก ถือเป็นถ่ินท่ีอยู่ของ “หนอ่ พทุ ธางกรู บรมโพธสิ ตั ว์” ทกุ พระองค์ กอ่ นทจี่ ะจตุ ิลงมาตรัสรู้เปน็ พระพุทธเจา้ (พระยาธรรม ปรชี า ๒๕๓๕: ๑๐๔๔-๑๐๔๕) ดังน้ัน การประดิษฐานพระบรมศพไว้ ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทจึงสะท้อนให้เห็นถึง สถานะพระมหากษัตริย์แบบธรรมิกราช ที่ยกย่องว่าพระมหากษัตริย์ผู้ปกครองโดยธรรมเปรียบ เสมอื นพระพทุ ธเจา้ หรือพระโพธสิ ัตวท์ จ่ี ะมาตรสั รู้เปน็ พระพุทธเจ้าในอนาคต ส่งทา้ ย: แรกเปิดให้ประชาชนเขา้ ถวายบงั คมพระบรมศพ เดิมไม่มีธรรมเนียมท่ีราชส�ำนักอนุญาตให้ประชาชนเข้าถวายบังคมพระบรมศพที่ ประดษิ ฐานอยูบ่ นพระท่นี ัง่ ดุสติ มหาปราสาท การอนญุ าตจากราชสำ� นักคร้ังแรกปรากฏเมอ่ื แผ่นดิน พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในครั้งน้ันทรงพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ราษฎร ทม่ี ารว่ มงาน นำ� เครอ่ื งบชู ามาสกั การะถวายบงั คมพระบรมอฐั พิ ระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ที่พระเมรมุ าศ โดยมีก�ำหนดจนกวา่ จะเสร็จการพระบรมศพ (สมภพ ภิรมย์ ๒๕๓๙: ๖๔) อย่างไรก็ตามเหตุการณ์คร้ังน้ันเป็นเพียงการอนุญาตให้ราษฎรถวายบังคมพระบรมอัฐิ หลงั จากถวายพระเพลิง ส่วนการอนุญาตใหร้ าษฎรมาสักการะถวายบังคมพระบรมศพบนพระที่นงั่ ดสุ ติ มหาปราสาท ซึ่งเปน็ ชว่ งระยะเวลากอ่ นการถวายพระเพลงิ น้ัน ได้มขี ้ึนเม่อื ครัง้ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต ปรากฏว่าราษฎรเดินตามขบวนที่อัญเชิญพระบรมศพ มาจนถงึ พระบรมมหาราชวัง จึงมีการประชมุ และอนญุ าตใหม้ าเฝ้าสักการะพระบรมศพได้ 99เสดจ็ สแู่ ดนสรวง ศิลปะ ประเพณี และความเชอื่ ในงานพระบรมศพและพระเมรมุ าศ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402