รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 203 ตัวบง่ ชที้ ี่ ๗.๖ สถานศึกษาประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษาตามมาตรฐานการศึกษา ผลการประเมนิ ระดับคุณภาพ ดมี าก รอ่ งรอยการพัฒนา/โครงการ/กิจกรรม/หลักฐาน ที่ได้ดำเนนิ การ 1. คำสั่งแตง่ ตง้ั คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา 2. รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ 3. บนั ทกึ การส่งรายงานผลการประเมินคณุ ภาพภายในต่อหน่วยงานต้นสังกดั 4. โครงการจดั ทำแผนพฒั นาสถานศกึ ษา ปญั หา/อุปสรรคต่อการดำเนินการ การดำเนินการประกันคุณภาพภายในขาดการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา อยา่ งต่อเนอื่ ง ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข กำกบั ใหม้ ีการติดตามตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษาอย่างตอ่ เน่ือง ตัวบง่ ชี้ท่ี ๗.๗ สถานศกึ ษาจัดทำรายงานประจำปที เี่ ป็นรายงานประเมนิ คุณภาพภายใน ผลการประเมิน ระดับคณุ ภาพ ดมี าก ร่องรอยการพฒั นา/โครงการ/กิจกรรม/หลกั ฐาน ที่ไดด้ ำเนนิ การ 1. คำสัง่ แตง่ ต้งั คณะกรรมการจดั ทำรายงานประจำปี 2. รายงานการประเมินตนเอง ประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ 3. รายงานประชุมคณะกรรมการสถานศกึ ษาใหค้ วามเหน็ ชอบรายงานการประเมิน ตนเอง 4. โปรแกรมการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา เว็บไซตโ์ รงเรียนอนุบาลเทศบาล นครภูเกต็ ปัญหา/อปุ สรรคต่อการดำเนินการ ขั้นตอนในการดำเนินงานรวบรวมข้อมูลสารสนเทศ วิเคราะห์และแปลผลไม่เป็นไป ตามกำหนดเวลา ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข กำหนดการกำกับติดตาม จัดทำปฏิทิน และกำหนดระยะเวลาให้ชัดเจนให้สามารถสรุป ข้อมูลสารสนเทศเพอ่ื ให้การจดั ทำรายงานประจำปีเป็นไปตามกำหนดเวลา ตวั บ่งชท้ี ่ี ๗.๘ สถานศกึ ษาพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาอยา่ งต่อเนอื่ ง ผลการประเมนิ ระดบั คุณภาพ ดี รอ่ งรอยการพฒั นา/โครงการ/กจิ กรรม/หลักฐาน ท่ีไดด้ ำเนินการ 1. โครงการจดั ทำแผนพฒั นาสถานศกึ ษา ปญั หา/อปุ สรรคตอ่ การดำเนินการ สถานศึกษาขาดการสรา้ งเครอื ขา่ ย และแลกเปลี่ยนเรยี นรเู้ พือ่ พัฒนาการศึกษารว่ มกัน ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข จัดกิจกรรมสรา้ งเครอื ขา่ ยแลกเปลยี่ นเรียนรู้เพอื่ พัฒนาการศึกษาร่วมกัน
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า 204 ผลการประเมินแบบองิ สถานศกึ ษา ๑. ผลการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพองิ เกณฑ์ปีการศกึ ษาทีผ่ ่านมา ปีการศกึ ษา ๒๕๕๙ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ดี ผลการประเมินระดบั คณุ ภาพองิ เกณฑ์ ปกี ารศกึ ษาปจั จบุ นั ๒๕๖๐ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ดีมาก ๒. สถานศกึ ษาดำเนินการตามขอ้ เสนอแนะของผ้ปู ระเมนิ ภายใน- ภายนอก / แผนพฒั นาการศกึ ษา ดำเนินการ ไม่ดำเนินการ ผลการประเมินระดบั คุณภาพองิ สถานศกึ ษา มาตรฐานที่ 1 ของสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2560 สรปุ ว่า มีพัฒนาการของคณุ ภาพการศึกษา ไม่มพี ัฒนาการของคุณภาพการศกึ ษา สรปุ ผลการประเมนิ ความสำเร็จบรรลมุ าตรฐานหรอื เป้าหมายตามแผนในมาตรฐานที่ 1 ของสถานศึกษา บรรลุมาตรฐาน/เปา้ หมายตามแผน ไมบ่ รรลมุ าตรฐาน/เปา้ หมายตามแผน แต่มีความตระหนกั และความพยายามในการปฏบิ ัตติ ามแผน ไม่บรรลุมาตรฐาน/เป้าหมายตามแผน ผลการประเมนิ คะแนน ระดบั คณุ ภาพ ผลการประเมนิ ระดับคุณภาพองิ เกณฑ์ ๔ ดมี าก ผลการประเมนิ ระดับคณุ ภาพอิงสถานศกึ ษา ๕ ดเี ยี่ยม ผลการประเมินระดบั คุณภาพองิ เกณฑ์และองิ สถานศึกษา ๔.๕0 ดเี ยี่ยม สรปุ ผลประเมนิ มาตรฐานท่ี ๗ สถานศกึ ษาจัดระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา ❑ ได้มาตรฐานคณุ ภาพขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ เพราะ ผลการประเมินระดับคุณภาพอิงเกณฑ์ และองิ สถานศึกษา ในระดับคุณภาพ ดเี ยีย่ ม มีคา่ เฉลย่ี ตง้ั แต่ 3.00 ขนึ้ ไป จากระบบ ๕ คะแนน คือ มีค่าเฉลยี่ 4.๕0 ❑ ไมไ่ ดม้ าตรฐานคณุ ภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ในระดับคณุ ภาพ...................... เพราะ ผลการประเมนิ ระดับคุณภาพอิงเกณฑ์ และองิ สถานศกึ ษา มคี า่ เฉลย่ี น้อยกวา่ 3.00 คอื มคี ่าเฉล่ีย.................. เหตุปจั จยั ท่ที ำให้สถานศกึ ษาไม่ไดร้ บั การรับรองในมาตรฐานท่ี ๗ - ข้อเสนอแนะสำคัญโดยสรุป(ไม่เกนิ 3 ขอ้ ) และกำหนดระยะเวลาท่ีจะทำใหส้ ถานศึกษาพฒั นาส่มู าตรฐาน ๑) วางแผนกำหนดตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษาอย่างเปน็ ระบบอยา่ งนอ้ ยภาคเรยี นละ ๑ เรื่อง
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า 205 มาตรฐานที่ ๘ สถานศกึ ษาพฒั นาตามนโยบาย และแนวทางการปฏิรูปการศกึ ษาทเี่ ปน็ มาตรการเสรมิ เพ่อื ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาให้สงู ข้ึน ผลการประเมินแบบองิ เกณฑ์ ตัวบง่ ชี้ คะแนน ระดับคณุ ภาพ (ร้อยละ) ปรบั ปรงุ พอใช้ ดี ดีมาก ดเี ย่ียม ๘.๑ สถานศกึ ษาจดั โครงการ/กจิ กรรมสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ตาม ๘๓.๓๓ นโยบายที่เกย่ี วกับการจัดการศึกษา ๘.๒ สถานศึกษาดำเนินงานให้บรรลตุ ามเป้าหมายในการยกระดับ ๙๓.๓๓ คณุ ภาพ รกั ษามาตรฐานและพฒั นาสูค่ วามเปน็ เลศิ ตาม แนวทางปฏริ ปู การศกึ ษา สรปุ ผลการประเมินองิ เกณฑ์ ๘๘.๓๓ ผลการดำเนนิ การในแตล่ ะตัวบ่งช้ี ตวั บง่ ชที้ ี่ ๘.1 สถานศกึ ษาจัดโครงการ/กิจกรรมสง่ เสริมสนับสนนุ ตามนโยบายที่เกี่ยวกบั การจดั การศกึ ษา ผลการประเมิน ระดับคณุ ภาพ ดีมาก รอ่ งรอยการพฒั นา/โครงการ/กิจกรรม/หลกั ฐาน ท่ีได้ดำเนินการ ๑. โครงการจดั ทำแผนพฒั นาสถานศึกษา ๒. โครงการจดั การเรียนการสอนแบบ Project Approach ๓. โครงการจดั การเรียนการสอนแบบ Project Approach / กิจกรรมนำเสนอผลการ จัดการศกึ ษา Open House ปญั หา/อปุ สรรคตอ่ การดำเนนิ การ การดำเนนิ การนิเทศตดิ ตามการดำเนินงานขาดความตอ่ เนือ่ ง ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข กำกับให้มีการนิเทศติดตามการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง และบรรลุเป้าหมายตามแผน ทกี่ ำหนดไว้ ตัวบ่งชท้ี ี่ ๘.๒ สถานศึกษาดำเนินงานให้บรรลตุ ามเปา้ หมายในการยกระดับคณุ ภาพ รกั ษามาตรฐานและ พัฒนาสู่ความเปน็ เลศิ ตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา ผลการประเมิน ระดบั คณุ ภาพ ดีเยยี่ ม รอ่ งรอยการพฒั นา/โครงการ/กจิ กรรม/หลกั ฐาน ทไี่ ดด้ ำเนินการ ๑. โครงการจดั ทำแผนพฒั นาสถานศึกษา / โครงการจัดการเรียนการสอนแบบ Project Approach ๒. โครงการจดั การเรียนการสอนแบบ Project Approach ๓. รายงานผลการดำเนินงานโครงการจัดการเรยี นการสอนแบบ Project Approach / โครงการจดั นิทรรศการแสดงผลงานทางวชิ าการ Open House ปญั หา/อปุ สรรคตอ่ การดำเนนิ การ บุคลากรขาดความตระหนักในการมสี ว่ นรว่ มในการดำเนนิ งานตามโครงการ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข สร้างความตระหนักแกบ่ คุ ลากรในการมีส่วนรว่ มในการดำเนนิ งานตามโครงการ โดยการ มอบหมายหนา้ ท่ีรบั ผดิ ชอบอยา่ งชดั เจน กำกบั ตดิ ตามผลการปฏิบัตงิ าน
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า 206 ผลการประเมนิ แบบอิงสถานศกึ ษา ๑. ผลการประเมินระดบั คุณภาพองิ เกณฑ์ปีการศกึ ษาท่ผี า่ นมา ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ดีมาก ผลการประเมนิ ระดบั คุณภาพอิงเกณฑ์ ปีการศกึ ษาปัจจบุ ัน ๒๕๖๐ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ดมี าก ๒. สถานศึกษาดำเนนิ การตามขอ้ เสนอแนะของผู้ประเมินภายใน- ภายนอก / แผนพัฒนาการศึกษา ดำเนนิ การ ไม่ดำเนนิ การ ผลการประเมินระดบั คณุ ภาพอิงสถานศกึ ษา มาตรฐานที่ 1 ของสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2560 สรุปวา่ มีพัฒนาการของคณุ ภาพการศึกษา ไมม่ พี ฒั นาการของคณุ ภาพการศกึ ษา สรุปผลการประเมนิ ความสำเรจ็ บรรลุมาตรฐานหรือเปา้ หมายตามแผนในมาตรฐานที่ 1 ของสถานศึกษา บรรลุมาตรฐาน/เป้าหมายตามแผน ไม่บรรลุมาตรฐาน/เป้าหมายตามแผน แตม่ ีความตระหนกั และความพยายามในการปฏิบัตติ ามแผน ไมบ่ รรลมุ าตรฐาน/เปา้ หมายตามแผน ผลการประเมนิ คะแนน ระดบั คณุ ภาพ ผลการประเมนิ ระดบั คุณภาพองิ เกณฑ์ ๔ ดีมาก ผลการประเมนิ ระดับคุณภาพอิงสถานศกึ ษา ๕ ดเี ยี่ยม ผลการประเมินระดบั คุณภาพอิงเกณฑแ์ ละอิงสถานศกึ ษา ๔.๕0 ดีเย่ยี ม สรปุ ผลประเมินมาตรฐานที่ ๘ สถานศึกษาพฒั นาตามนโยบาย และแนวทางการปฏริ ูปการศกึ ษาทเ่ี ปน็ มาตรการเสรมิ เพอื่ ยกระดับคุณภาพการศึกษาใหส้ งู ขึน้ ❑ ไดม้ าตรฐานคุณภาพขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ เพราะ ผลการประเมินระดับคุณภาพอิงเกณฑ์ และอิงสถานศึกษา ในระดบั คุณภาพ ดีเย่ียม มีคา่ เฉล่ยี ต้งั แต่ 3.00 ขน้ึ ไป จากระบบ ๕ คะแนน คือ มีค่าเฉลย่ี 4.๕0 ❑ ไมไ่ ด้มาตรฐานคุณภาพขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ในระดับคุณภาพ...................... เพราะ ผลการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพอิงเกณฑ์ และองิ สถานศกึ ษา มีคา่ เฉล่ียนอ้ ยกวา่ 3.00 คอื มคี า่ เฉลย่ี .................. เหตปุ จั จัยที่ทำใหส้ ถานศึกษาไมไ่ ด้รับการรับรองในมาตรฐานที่ ๘ - ขอ้ เสนอแนะสำคญั โดยสรปุ (ไม่เกนิ 3 ขอ้ ) และกำหนดระยะเวลาทีจ่ ะทำใหส้ ถานศกึ ษาพฒั นาสู่มาตรฐาน ๑) ดำเนินการนิเทศตดิ ตามการดำเนินงานเพอ่ื ใหบ้ รรลเุ ป้าหมายตามแผนทก่ี ำหนด
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า 207 มาตรฐานดา้ นผลผลิตทางการศกึ ษา มาตรฐานท่ี ๙ เด็กมีพฒั นาการด้านรา่ งกายเหมาะสมตามวยั ผลการประเมนิ แบบองิ เกณฑ์ ตัวบ่งช้ี คะแนน ระดับคณุ ภาพ ดีเย่ยี ม (ร้อยละ) ปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก ๙.๑ เดก็ มีน้ำหนัก ส่วนสูง ตามเกณฑ์ของกรมอนามัย ๙๑.๗๖ ๙.๒ เด็กมสี มรรถภาพทางกายและกลไกเหมาะสมตามวยั ๑๐๐.๐๐ ๙.๓ เด็กมสี ขุ นสิ ยั ในการดแู ลสุขภาพ และความปลอดภัยของ ๙๙.๗๗ ตนเองเหมาะสมตามวยั สรุปผลการประเมนิ องิ เกณฑ์ ๙๗.๑๘ ผลการดำเนนิ การในแต่ละตัวบง่ ช้ี ตัวบ่งช้ีที่ ๙.1 เดก็ มนี ำ้ หนัก สว่ นสงู ตามเกณฑข์ องกรมอนามยั ผลการประเมิน ระดับคณุ ภาพ ดีเยยี่ ม ร่องรอยการพัฒนา/โครงการ/กิจกรรม/หลกั ฐาน ทีไ่ ดด้ ำเนินการ ๑. เครือ่ งมือประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาปฐมวัย ของ อปท.ด้านร่างกาย ๒. แบบบนั ทกึ น้ำหนักส่วนสูง ๓. กจิ กรรมโภชนาการและอาหารกลางวัน ๔. กจิ กรรมออกกำลงั กายตอนเช้า ๕. กจิ กรรมแก้ไขปญั หานักเรียนทีม่ นี ้ำหนกั เกินเกณฑ์ ปัญหา/อปุ สรรคตอ่ การดำเนินการ ขาดความรว่ มมือจากผู้ปกครองในการดูแลภาวะโภชนาการของนกั เรยี น ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข ใหค้ วามรแู้ กผ่ ้ปู กครองให้มคี วามตระหนักในการดแู ลบตุ รใหม้ ภี าวะโภชนาการสมวัย เช่นการจดั อบรมให้ความรู้แก่ผปู้ กครอง วารสาร ฯลฯ ตัวบ่งชที้ ่ี ๙.๒ เดก็ มีสมรรถภาพทางกายและกลไกเหมาะสมตามวยั ผลการประเมิน ระดับคณุ ภาพ ดีเยีย่ ม ร่องรอยการพัฒนา/โครงการ/กจิ กรรม/หลักฐาน ที่ได้ดำเนนิ การ ๑. เครื่องมอื ประเมินคุณภาพการศึกษาปฐมวัย ของ อปท.ดา้ นร่างกาย ปัญหา/อุปสรรคตอ่ การดำเนนิ การ พนื้ ทใี่ นการจดั กจิ กรรมเพื่อเสรมิ สรา้ งสมรรถนะทางกายมจี ำกดั ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข จดั กจิ กรรมนอกหอ้ งเรยี น และกจิ กรรมเคล่ือนไหวและกลางแจ้งเพื่อเสรมิ สรา้ ง สมรรถนะทางกายให้เหมาะสมตามวัย
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า 208 ตวั บ่งชีท้ ่ี ๙.๓ เดก็ มีสขุ นิสยั ในการดูแลสขุ ภาพ และความปลอดภัยของตนเองเหมาะสมตามวัย ผลการประเมนิ ระดบั คุณภาพ ดีเยี่ยม รอ่ งรอยการพัฒนา/โครงการ/กจิ กรรม/หลักฐาน ทีไ่ ดด้ ำเนินการ ๑. เครือ่ งมอื ประเมินคุณภาพการศึกษาปฐมวัย ของ อปท.ด้านรา่ งกาย ๒. กิจกรรมให้ความร้เู รอื่ งสขุ ภาพ ๓. กจิ กรรมหนูน้อยสขุ ภาพดี การตรวจสุขภาพ ปัญหา/อุปสรรคต่อการดำเนนิ การ นักเรยี นขาดความระมัดระวงั ในการดแู ลความปลอดภัยในตนเอง ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข ครูผ้สู อนจัดกจิ กรรมท่ีสรา้ งความตระหนักใหน้ กั เรยี นรจู้ ักดูแลตนเองใหม้ คี วามปลอดภัย ผลการประเมินแบบองิ สถานศึกษา ๑. ผลการประเมินระดับคุณภาพองิ เกณฑ์ปกี ารศกึ ษาที่ผา่ นมา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๙ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ดีเยีย่ ม ผลการประเมนิ ระดับคุณภาพอิงเกณฑ์ ปกี ารศกึ ษาปจั จุบนั ๒๕๖๐ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ดเี ยีย่ ม ๒. สถานศึกษาดำเนนิ การตามข้อเสนอแนะของผูป้ ระเมินภายใน- ภายนอก / แผนพัฒนาการศึกษา ดำเนินการ ไมด่ ำเนินการ ผลการประเมนิ ระดับคณุ ภาพองิ สถานศึกษา มาตรฐานท่ี 1 ของสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2560 สรปุ วา่ มีพฒั นาการของคุณภาพการศึกษา ไม่มีพฒั นาการของคณุ ภาพการศกึ ษา สรุปผลการประเมินความสำเรจ็ บรรลมุ าตรฐานหรือเป้าหมายตามแผนในมาตรฐานที่ ๙ ของสถานศกึ ษา บรรลมุ าตรฐาน/เป้าหมายตามแผน ไม่บรรลุมาตรฐาน/เป้าหมายตามแผน แต่มีความตระหนัก และความพยายามในการปฏิบตั ติ ามแผน ไมบ่ รรลุมาตรฐาน/เปา้ หมายตามแผน ผลการประเมนิ คะแนน ระดับคุณภาพ ผลการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพอิงเกณฑ์ ๕ ดมี าก ผลการประเมินระดบั คุณภาพองิ สถานศกึ ษา ๕ ดเี ย่ยี ม ผลการประเมินระดับคณุ ภาพอิงเกณฑ์และองิ สถานศกึ ษา ๕.๐0 ดีเย่ยี ม สรปุ ผลประเมนิ มาตรฐานที่ ๙ เดก็ มีพฒั นาการดา้ นร่างกายเหมาะสมตามวยั ❑ ไดม้ าตรฐานคุณภาพขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ เพราะ ผลการประเมินระดบั คุณภาพองิ เกณฑ์ และอิงสถานศกึ ษา ในระดับคุณภาพ ดีเย่ยี ม มคี ่าเฉล่ยี ต้งั แต่ 3.00 ขึน้ ไป จากระบบ ๕ คะแนน คอื มคี า่ เฉล่ีย ๕.๐0 ❑ ไมไ่ ด้มาตรฐานคุณภาพขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น ในระดบั คณุ ภาพ...................... เพราะ ผลการประเมินระดบั คณุ ภาพองิ เกณฑ์ และองิ สถานศกึ ษา มีคา่ เฉลีย่ น้อยกวา่ 3.00 คอื มีคา่ เฉลย่ี .................. เหตุปจั จัยทท่ี ำให้สถานศึกษาไมไ่ ดร้ ับการรบั รองในมาตรฐานท่ี 1 - ขอ้ เสนอแนะสำคญั โดยสรปุ (ไม่เกิน 3 ข้อ) และกำหนดระยะเวลาทจ่ี ะทำให้สถานศกึ ษาพฒั นาสมู่ าตรฐาน ๑) ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองใหม้ คี วามตระหนักในการดแู ลบุตรให้มีภาวะโภชนาการสมวัย ๒) จดั กจิ กรรมนอกหอ้ งเรยี น และกจิ กรรมเคลอื่ นไหวและกลางแจ้งเพื่อเสรมิ สรา้ งสมารถนะทางกาย ให้เหมาะสมตามวัย
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า 209 มาตรฐานที่ ๑๐ เด็กมพี ัฒนาการด้านอารมณ์ และจติ ใจเหมาะสมตามวยั ผลการประเมนิ แบบอิงเกณฑ์ ตวั บง่ ช้ี คะแนน ระดับคณุ ภาพ ดเี ย่ยี ม (ร้อยละ) ปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก ๑๐.๑ เด็กรา่ เริงแจม่ ใส มีมนษุ ยสัมพนั ธ์ทีด่ ตี อ่ เพื่อน ครู และผู้อื่น ๑๐๐.๐๐ ๑๐.๒ เด็กมคี วามมนั่ ใจ กล้าแสดงออกอยา่ งเหมาะสม ๙๘.๔๐ ๑๐.๓ เดก็ สนใจ ชืน่ ชมกิจกรรมดา้ นศลิ ปะ ดนตรี การเคล่อื นไหว ๑๐๐.๐๐ และรกั ธรรมชาติ สรปุ ผลการประเมนิ อิงเกณฑ์ ๙๙.๔๗ ผลการดำเนนิ การในแต่ละตัวบ่งช้ี ตัวบ่งชีท้ ่ี ๑๐.1 เดก็ รา่ เรงิ แจม่ ใส มมี นษุ ยสัมพนั ธ์ท่ีดตี อ่ เพื่อน ครู และผู้อืน่ ผลการประเมนิ ระดบั คุณภาพ ดีเยีย่ ม รอ่ งรอยการพฒั นา/โครงการ/กจิ กรรม/หลักฐาน ทีไ่ ดด้ ำเนนิ การ ๑. เครอื่ งมอื ประเมินคุณภาพการศึกษาปฐมวยั ของ อปท.ด้านอารมณ์ จติ ใจ ๒. กิจกรรมดนตรพี ฒั นาอจั ฉริยภาพ ปัญหา/อุปสรรคตอ่ การดำเนนิ การ -ไมม่ ี- ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข -ไมม่ ี- ตัวบ่งชท้ี ่ี ๑๐.๒ เดก็ มคี วามม่นั ใจ กลา้ แสดงออกอยา่ งเหมาะสม ผลการประเมิน ระดบั คุณภาพ ดีเยี่ยม รอ่ งรอยการพัฒนา/โครงการ/กจิ กรรม/หลกั ฐาน ที่ได้ดำเนินการ ๑. เคร่ืองมอื ประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาปฐมวัย ของ อปท.ดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ปัญหา/อุปสรรคตอ่ การดำเนนิ การ นักเรียนบางส่วนไมม่ คี วามกลา้ แสดงออก ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข จดั กจิ กรรมทส่ี ่งเสริมใหน้ กั เรียนมคี วามกลา้ แสดงออก เชน่ การเลา่ นิทาน การแสดง บทบาทสมมติ การเล่าขา่ ว การนำเสนอโครงงาน การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรยี น ฯลฯ ตัวบง่ ชี้ที่ ๑๐.๓ เดก็ สนใจ ชืน่ ชมกจิ กรรมด้านศิลปะ ดนตรี การเคลือ่ นไหวและรักธรรมชาติ ผลการประเมนิ ระดับคุณภาพ ดเี ยยี่ ม ร่องรอยการพัฒนา/โครงการ/กิจกรรม/หลักฐาน ทไ่ี ดด้ ำเนนิ การ ๑. เคร่ืองมอื ประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาปฐมวยั ของ อปท.ดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ปญั หา/อุปสรรคต่อการดำเนนิ การ ขาดบุคลากรทม่ี คี วามเชยี่ วชาญดา้ นศลิ ปะ ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข จา้ งบุคคลภายนอกจดั กิจกรรมพฒั นานักเรยี นดา้ นศิลปะ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 210 ผลการประเมนิ แบบอิงสถานศกึ ษา ๑. ผลการประเมินระดับคุณภาพองิ เกณฑป์ กี ารศึกษาท่ีผา่ นมา ปีการศกึ ษา ๒๕๕๙ ไดร้ ะดับคุณภาพ ดเี ย่ยี ม ผลการประเมนิ ระดับคุณภาพอิงเกณฑ์ ปกี ารศกึ ษาปัจจบุ ัน ๒๕๖๐ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ดเี ยี่ยม ๒. สถานศกึ ษาดำเนนิ การตามข้อเสนอแนะของผปู้ ระเมินภายใน- ภายนอก / แผนพัฒนาการศึกษา ดำเนินการ ไม่ดำเนนิ การ ผลการประเมนิ ระดับคณุ ภาพอิงสถานศกึ ษา มาตรฐานท่ี 1 ของสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2560 สรปุ วา่ มพี ัฒนาการของคุณภาพการศึกษา ไมม่ ีพฒั นาการของคณุ ภาพการศกึ ษา สรุปผลการประเมนิ ความสำเรจ็ บรรลุมาตรฐานหรอื เปา้ หมายตามแผนในมาตรฐานท่ี 1 ของสถานศึกษา บรรลมุ าตรฐาน/เป้าหมายตามแผน ไม่บรรลุมาตรฐาน/เป้าหมายตามแผน แต่มีความตระหนกั และความพยายามในการปฏิบตั ิตามแผน ไมบ่ รรลมุ าตรฐาน/เป้าหมายตามแผน ผลการประเมิน คะแนน ระดบั คุณภาพ ผลการประเมินระดับคณุ ภาพอิงเกณฑ์ ๕ ดมี าก ผลการประเมนิ ระดบั คุณภาพองิ สถานศกึ ษา ๕ ดเี ย่ียม ผลการประเมินระดับคุณภาพอิงเกณฑ์และอิงสถานศึกษา ๕.๐0 ดเี ยี่ยม สรุปผลประเมนิ มาตรฐานที่ ๑๐ เด็กมีพฒั นาการด้านอารมณ์ จิตใจเหมาะสมตามวยั ❑ ได้มาตรฐานคุณภาพขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น เพราะ ผลการประเมนิ ระดับคณุ ภาพองิ เกณฑ์ และองิ สถานศกึ ษา ในระดบั คณุ ภาพ ดเี ย่ียม มคี ่าเฉลย่ี ต้งั แต่ 3.00 ข้นึ ไป จากระบบ ๕ คะแนน คอื มคี า่ เฉลยี่ ๕.๐0 ❑ ไม่ได้มาตรฐานคณุ ภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ในระดบั คณุ ภาพ...................... เพราะ ผลการประเมินระดบั คุณภาพองิ เกณฑ์ และอิงสถานศกึ ษา มีค่าเฉลย่ี นอ้ ยกว่า 3.00 คือ มคี า่ เฉลย่ี .................. เหตปุ จั จยั ทท่ี ำให้สถานศึกษาไม่ได้รบั การรับรองในมาตรฐานที่ 1๐ - ข้อเสนอแนะสำคัญโดยสรุป(ไม่เกิน 3 ขอ้ ) และกำหนดระยะเวลาทีจ่ ะทำให้สถานศึกษาพัฒนาส่มู าตรฐาน ๑) สง่ เสรมิ ให้ผเู้ รียนไดน้ ำความสามารถทางดา้ น ศิลปะ นาฏศิลป์ และความเป็นไทย เผยแพรใ่ หก้ ว้างขวาง ยง่ิ ขึ้น
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 211 มาตรฐานที่ ๑๑ เดก็ มพี ัฒนาการดา้ นสังคมเหมาะสมตามวยั ผลการประเมินแบบองิ เกณฑ์ ตวั บง่ ช้ี คะแนน ระดับคุณภาพ ดีเยย่ี ม (ร้อยละ) ปรบั ปรุง พอใช้ ดี ดีมาก ๑๑.๑ เด็กมคี วามรับผิดชอบและปฏบิ ตั ติ นตามข้อตกลง ๑๐๐.๐๐ ๑๑.๒ เดก็ มคี วามกตัญญู มมี ารยาทปฏบิ ตั ิตนตามวฒั นธรรมไทย ๑๐๐.๐๐ และหลักศาสนาที่ตนนับถอื ๑๑.๓ เด็กมีความซือ่ สตั ยส์ จุ ริตเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่มคี วามรสู้ กึ ทีด่ ตี ่อ ๑๐๐.๐๐ ตนเองและผอู้ ื่น ๑๑.๔ เดก็ รูจ้ กั ประหยัด ใชท้ รพั ยากรและรกั ษาสง่ิ แวดลอ้ ม ๑๐๐.๐๐ ๑๑.๕ เดก็ มีการปรบั ตวั ในการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมรว่ มกับผอู้ น่ื ๑๐๐.๐๐ ๑๑.๖ เดก็ เป็นสมาชกิ ทด่ี ีของครอบครัว ชุมชน และปฏบิ ัติตนตาม ๑๐๐.๐๐ ระบอบประชาธิปไตยอนั มี พระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ สรปุ ผลการประเมนิ องิ เกณฑ์ ๑๐๐.๐๐ ผลการดำเนินการในแต่ละตัวบง่ ชี้ ตัวบง่ ชี้ท่ี ๑๑.1 เด็กมคี วามรับผิดชอบและปฏิบตั ติ นตามขอ้ ตกลง ผลการประเมิน ระดบั คุณภาพ ดเี ยีย่ ม รอ่ งรอยการพัฒนา/โครงการ/กจิ กรรม/หลกั ฐาน ท่ไี ดด้ ำเนินการ ๑. เครื่องมอื ประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาปฐมวยั ของ อปท.ด้านสังคม ๒. กิจกรรมห้องเรียนระเบียบวนิ ัยดีเด่น ปญั หา/อุปสรรคตอ่ การดำเนินการ นักเรียนยงั ขาดความตระหนักในการปฏบิ ตั ิตนตามข้อตกลง ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข จัดกิจกรรมสร้างข้อตกลงในห้องเรียน และสร้างความตระหนักให้นักเรียนปฏิบัติตน ตามข้อตกลง ตัวบ่งชที้ ่ี ๑๑.๒ เดก็ มคี วามกตญั ญู มีมารยาทปฏบิ ัตติ นตามวัฒนธรรมไทยและหลักศาสนาท่ตี นนับถือ ผลการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ ดีเย่ยี ม ร่องรอยการพัฒนา/โครงการ/กจิ กรรม/หลกั ฐาน ที่ไดด้ ำเนินการ ๑. เครอ่ื งมอื ประเมินคุณภาพการศึกษาปฐมวยั ของ อปท.ด้านสงั คม ๒. กจิ กรรมวันพอ่ แหง่ ชาติ ๓. กจิ กรรมวนั แม่แหง่ ชาติ ๔. โครงการวันสำคญั ทางศาสนา ๕. โครงการงามอยา่ งไทย ปญั หา/อุปสรรคต่อการดำเนนิ การ ในการจดั กิจกรรมเพือ่ ส่งเสริมให้นกั เรยี นไดแ้ สดงความรกั ตอ่ บิดามารดา ผปู้ กครองบาง คนติดภารกจิ ไม่สามารถมาร่วมกิจกรรมได้ ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข แจ้งผูป้ กครองใหม้ ารว่ มกิจกรรมลว่ งหน้า และหากไมส่ ามารถมาไดใ้ หส้ ง่ ตัวแทน
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 212 ตัวบ่งชท้ี ี่ ๑๑.๓ เด็กมีความซ่อื สัตย์สุจรติ เออื้ เฟอ้ื เผ่อื แผ่มีความรู้สกึ ทด่ี ตี ่อตนเองและผอู้ นื่ ผลการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ ดเี ยย่ี ม รอ่ งรอยการพัฒนา/โครงการ/กจิ กรรม/หลกั ฐาน ที่ได้ดำเนนิ การ ๑. เครอ่ื งมอื ประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาปฐมวัย ของ อปท.ดา้ นสงั คม ๒. โครงการส่งเสรมิ คุณธรรมจรยิ ธรรมและค่านยิ มทพ่ี งึ ประสงค์ ปญั หา/อปุ สรรคตอ่ การดำเนนิ การ - ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข - ตวั บง่ ชี้ท่ี ๑๑.๔ เด็กร้จู กั ประหยัด ใช้ทรพั ยากรและรกั ษาสงิ่ แวดล้อม ผลการประเมิน ระดบั คุณภาพ ดเี ยีย่ ม รอ่ งรอยการพฒั นา/โครงการ/กิจกรรม/หลักฐาน ที่ได้ดำเนินการ ๑. เคร่อื งมือประเมนิ คุณภาพการศึกษาปฐมวัย ของ อปท.ด้านสังคม ๒. โครงการหนูนอ้ ยปฐมวัยใส่ใจส่งิ แวดลอ้ ม ๓. กจิ กรรมประหยดั พลงั งาน ๔. กิจกรรมประกวดพ้นื ทร่ี กั ษ์สะอาด ปญั หา/อปุ สรรคต่อการดำเนนิ การ - ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข - ตัวบ่งชท้ี ่ี ๑๑.๕ เด็กมกี ารปรับตวั ในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมร่วมกับผอู้ ่นื ผลการประเมิน ระดบั คณุ ภาพ ดเี ยีย่ ม รอ่ งรอยการพัฒนา/โครงการ/กจิ กรรม/หลักฐาน ท่ีไดด้ ำเนินการ ๑. เครื่องมือประเมินคุณภาพการศกึ ษาปฐมวยั ของ อปท.ด้านสังคม ๒. แบบประเมินกิจวัตรประจำวัน ปัญหา/อุปสรรคต่อการดำเนินการ - ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข - ตัวบง่ ชท้ี ี่ ๑๑.๖ เดก็ เป็นสมาชกิ ทดี่ ีของครอบครวั ชมุ ชน และปฏบิ ัตติ นตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมี พระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข ผลการประเมิน ระดับคณุ ภาพ ดเี ยีย่ ม ร่องรอยการพฒั นา/โครงการ/กจิ กรรม/หลักฐาน ที่ได้ดำเนนิ การ ๑. เครื่องมอื ประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาปฐมวัย ของ อปท.ดา้ นสังคม ๒. กิจกรรมสง่ เสริมประชาธปิ ไตยในโรงเรียน (สภาจวิ๋ ) ปัญหา/อุปสรรคตอ่ การดำเนินการ - ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข -
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า 213 ผลการประเมนิ แบบอิงสถานศกึ ษา ๑. ผลการประเมนิ ระดบั คุณภาพอิงเกณฑ์ปีการศกึ ษาทผี่ า่ นมา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๙ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ดีเยี่ยม ผลการประเมินระดับคุณภาพอิงเกณฑ์ ปกี ารศกึ ษาปัจจบุ ัน ๒๕๖๐ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ดเี ยีย่ ม ๒. สถานศึกษาดำเนินการตามข้อเสนอแนะของผปู้ ระเมินภายใน- ภายนอก / แผนพฒั นาการศกึ ษา ดำเนินการ ไม่ดำเนินการ ผลการประเมินระดบั คุณภาพองิ สถานศึกษา มาตรฐานที่ 1 ของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2560 สรุปวา่ มีพฒั นาการของคณุ ภาพการศกึ ษา ไม่มีพัฒนาการของคุณภาพการศกึ ษา สรุปผลการประเมินความสำเรจ็ บรรลุมาตรฐานหรือเปา้ หมายตามแผนในมาตรฐานท่ี 1 ของสถานศึกษา บรรลมุ าตรฐาน/เป้าหมายตามแผน ไมบ่ รรลมุ าตรฐาน/เป้าหมายตามแผน แต่มีความตระหนัก และความพยายามในการปฏบิ ตั ติ ามแผน ไม่บรรลมุ าตรฐาน/เปา้ หมายตามแผน ผลการประเมนิ คะแนน ระดบั คณุ ภาพ ผลการประเมินระดับคณุ ภาพองิ เกณฑ์ ๕ ดีมาก ผลการประเมินระดบั คุณภาพองิ สถานศึกษา ๕ ดีเยย่ี ม ผลการประเมินระดบั คณุ ภาพองิ เกณฑแ์ ละองิ สถานศกึ ษา ๕.๐0 ดีเยี่ยม สรปุ ผลประเมินมาตรฐานท่ี ๑๑ เด็กมีพฒั นาการดา้ นสงั คมเหมาะสมตามวัย ❑ ไดม้ าตรฐานคุณภาพขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น เพราะ ผลการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพองิ เกณฑ์ และอิงสถานศกึ ษา ในระดับคุณภาพ ดเี ยย่ี ม มีค่าเฉลีย่ ตง้ั แต่ 3.00 ข้ึนไป จากระบบ ๕ คะแนน คอื มคี า่ เฉลี่ย ๕.๐0 ❑ ไมไ่ ดม้ าตรฐานคณุ ภาพขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ในระดบั คณุ ภาพ...................... เพราะ ผลการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพอิงเกณฑ์ และอิงสถานศึกษา มคี า่ เฉลยี่ น้อยกวา่ 3.00 คอื มคี า่ เฉลี่ย.................. เหตปุ จั จยั ทท่ี ำใหส้ ถานศกึ ษาไม่ได้รบั การรับรองในมาตรฐานที่ 1๑ - ข้อเสนอแนะสำคัญโดยสรุป(ไม่เกนิ 3 ขอ้ ) และกำหนดระยะเวลาทจี่ ะทำให้สถานศึกษาพฒั นาสมู่ าตรฐาน ๑) ปลกู ฝังการกราบและการไหวข้ องนักเรียนให้มีความถูกตอ้ งและสวยงาม
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า 214 มาตรฐานท่ี ๑๒ เด็กมีพฒั นาการดา้ นสตปิ ญั ญาเหมาะสมตามวัย ผลการประเมินแบบอิงเกณฑ์ ตวั บ่งชี้ คะแนน ระดับคณุ ภาพ ดเี ยีย่ ม (รอ้ ยละ) ปรับปรงุ พอใช้ ดี ดมี าก ๑๒.๑ เด็กมที ักษะความร้พู ้ืนฐานทจ่ี ำเป็นตามหลกั สูตร ๙๘.๕๒ ๑๒.๒ เด็กมีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คดิ รเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์ ๙๘.๐๙ และมีจนิ ตนาการ ๑๒.๓ เด็กมีทักษะในการใชภ้ าษาส่อื สารเหมาะสมตามวัย ๙๘.๘๖ ๑๒.๔ เดก็ มที ักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ ๙๘.๕๔ ๑๒.๕ เด็กมที กั ษะในการแสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง รักการเรยี นรู้ ๙๘.๘๕ และพัฒนาตนเองอยา่ งตอ่ เน่ือง สรปุ ผลการประเมนิ อิงเกณฑ์ ๙๘.๕๗ ผลการดำเนนิ การในแตล่ ะตัวบ่งช้ี ตวั บง่ ชที้ ่ี ๑๒.1 เด็กมที ักษะความรพู้ ้นื ฐานทีจ่ ำเปน็ ตามหลกั สตู ร ผลการประเมิน ระดับคณุ ภาพ ดีเยยี่ ม รอ่ งรอยการพัฒนา/โครงการ/กิจกรรม/หลักฐาน ทไ่ี ดด้ ำเนนิ การ ๑. เครื่องมือประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาปฐมวัย ของ อปท.ดา้ นสติปญั ญา ปัญหา/อุปสรรคตอ่ การดำเนินการ นกั เรยี นบางคนมีพัฒนาการไมเ่ หมาะสมตามวยั ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข จัดกิจกรรมสง่ เสริมพฒั นาการเด็กออ่ น ตวั บง่ ช้ที ่ี ๑๒.๒ เดก็ มคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดริเร่ิมสร้างสรรค์ และมีจินตนาการ ผลการประเมิน ระดับคณุ ภาพ ดเี ยีย่ ม รอ่ งรอยการพฒั นา/โครงการ/กจิ กรรม/หลกั ฐาน ทไี่ ด้ดำเนนิ การ ๑. เครอื่ งมอื ประเมินคุณภาพการศกึ ษาปฐมวยั ของ อปท.ด้านสตปิ ญั ญา ปัญหา/อุปสรรคต่อการดำเนินการ นักเรยี นบางส่วนขาดทกั ษะในดา้ นความคิดรเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์และการมจี นิ ตนาการ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข จัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะด้านความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และการมีจินตนาการ เล่น กิจกรรมศิลปะ ทหี่ ลากหลาย ตัวบง่ ชี้ที่ ๑๒.๓ เดก็ มที กั ษะในการใช้ภาษาส่ือสารเหมาะสมตามวัย ผลการประเมนิ ระดบั คุณภาพ ดีเยย่ี ม ร่องรอยการพฒั นา/โครงการ/กิจกรรม/หลักฐาน ทไี่ ด้ดำเนนิ การ ๑. เครือ่ งมอื ประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาปฐมวัย ของ อปท.ด้านสติปัญญา ๒. บันทึกคำพูดนกั เรยี นในผลงานศิลปะสรา้ งสรรค์
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า 215 ปัญหา/อุปสรรคตอ่ การดำเนนิ การ นกั เรียนเขา้ ถึงเทคโนโลยี ขาดการปฏิสัมพนั ธ์กับคนรอบข้างและขาดทกั ษะการสื่อสาร ทีเ่ หมาะสมตามวยั ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข จัดกิจกรรมส่งเสริมการสื่อสารที่เหมาะสมตามวัย เช่นกิจกรรมเล่านิทานยามเช้า เลา่ ข่าวเช้านี้ การนำเสนออภปิ รายกล่มุ การตงั้ คำถามแก่นักเรียน ฝึกการสนทนาถามตอบ ตัวบ่งชท้ี ี่ ๑๒.๔ เดก็ มีทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ ผลการประเมิน ระดบั คุณภาพ ดีเยีย่ ม ร่องรอยการพฒั นา/โครงการ/กิจกรรม/หลักฐาน ที่ได้ดำเนนิ การ ๑. เครอ่ื งมือประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาปฐมวยั ของ อปท.ด้านสติปัญญา ๒. โครงการจดั การเรียนการสอนแบบ Project Approach ปัญหา/อปุ สรรคตอ่ การดำเนินการ นกั เรยี นยงั ขาดทกั ษะการตง้ั คำถามและการคดิ วิเคราะห์ ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ครูจดั กจิ กรรมท่ีสง่ เสรมิ ให้นกั เรยี นเกดิ ทักษะการต้ังคำถาม .ตวั บ่งชท้ี ่ี ๑๒.๕ เดก็ มีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรยี นรู้ และพฒั นาตนเองอยา่ งต่อเนอื่ ง ผลการประเมิน ระดับคุณภาพ ดเี ยยี่ ม รอ่ งรอยการพัฒนา/โครงการ/กิจกรรม/หลักฐาน ท่ีได้ดำเนินการ ๑. เครื่องมือประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาปฐมวยั ของ อปท.ด้านสติปญั ญา ๒. โครงการสง่ เสริมการอา่ น ปญั หา/อปุ สรรคต่อการดำเนินการ ขาดเคร่อื งมือในการให้นกั เรยี นสามารถแสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง เช่นคอมพิวเตอร์ ห้องสมุด ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข ส่งเสรมิ ใหน้ ักเรยี นรู้จกั แหลง่ ค้นคว้าหาความรดู้ ้วยตนเอง ผลการประเมนิ แบบอิงสถานศึกษา ๑. ผลการประเมนิ ระดับคุณภาพอิงเกณฑ์ปกี ารศึกษาท่ผี า่ นมา ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ไดร้ ะดับคุณภาพ ดมี าก ผลการประเมินระดบั คุณภาพองิ เกณฑ์ ปกี ารศกึ ษาปจั จบุ ัน ๒๕๖๐ ไดร้ ะดับคุณภาพ ดเี ยี่ยม ๒. สถานศกึ ษาดำเนนิ การตามข้อเสนอแนะของผปู้ ระเมินภายใน- ภายนอก / แผนพฒั นาการศกึ ษา ดำเนนิ การ ไมด่ ำเนินการ ผลการประเมนิ ระดับคณุ ภาพองิ สถานศึกษา มาตรฐานท่ี 1 ของสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2560 สรุปวา่ มีพัฒนาการของคุณภาพการศึกษา ไมม่ พี ฒั นาการของคุณภาพการศกึ ษา สรุปผลการประเมนิ ความสำเร็จบรรลมุ าตรฐานหรือเป้าหมายตามแผนในมาตรฐานที่ ๑๒ ของสถานศึกษา บรรลมุ าตรฐาน/เป้าหมายตามแผน ไมบ่ รรลุมาตรฐาน/เปา้ หมายตามแผน แตม่ ีความตระหนัก และความพยายามในการปฏบิ ัติตามแผน ไม่บรรลุมาตรฐาน/เป้าหมายตามแผน
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 216 ผลการประเมนิ คะแนน ระดับคุณภาพ ผลการประเมินระดบั คุณภาพองิ เกณฑ์ ๕ ดีมาก ผลการประเมนิ ระดบั คุณภาพอิงสถานศึกษา ๕ ดเี ยยี่ ม ผลการประเมินระดบั คุณภาพอิงเกณฑแ์ ละองิ สถานศึกษา ๕.๐0 ดีเยีย่ ม สรปุ ผลประเมินมาตรฐานท่ี ๑๒ เดก็ มีพฒั นาการดา้ นสตปิ ญั ญาเหมาะสมตามวยั ❑ ไดม้ าตรฐานคณุ ภาพขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ เพราะ ผลการประเมินระดับคณุ ภาพอิงเกณฑ์ และองิ สถานศึกษา ในระดบั คณุ ภาพ ดเี ยีย่ ม มคี ่าเฉล่ียตั้งแต่ 3.00 ข้นึ ไป จากระบบ ๕ คะแนน คอื มีคา่ เฉลี่ย ๕.๐0 ❑ ไม่ไดม้ าตรฐานคณุ ภาพขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ในระดบั คุณภาพ...................... เพราะ ผลการประเมินระดับคุณภาพอิงเกณฑ์ และองิ สถานศึกษา มคี ่าเฉลย่ี นอ้ ยกว่า 3.00 คอื มคี า่ เฉลยี่ .................. เหตุปจั จยั ท่ที ำใหส้ ถานศกึ ษาไม่ไดร้ ับการรับรองในมาตรฐานที่ 1 - ข้อเสนอแนะสำคัญโดยสรปุ (ไม่เกนิ 3 ขอ้ ) และกำหนดระยะเวลาท่จี ะทำใหส้ ถานศึกษาพัฒนาสูม่ าตรฐาน ๑) สง่ เสรมิ การออกแบบการเรยี นรู้ทเี่ น้นให้นักเรยี นมีทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ๒) ส่งเสริมการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้แบบ Project Approach มาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษาบรรลตุ ามเป้าหมาย ปรชั ญา วสิ ัยทัศน์ และจดุ เน้น ผลการประเมนิ แบบอิงเกณฑ์ ตวั บง่ ช้ี คะแนน ระดับคุณภาพ (รอ้ ยละ) ปรบั ปรุง พอใช้ ดี ดมี าก ดีเยีย่ ม ๑๓.๑ สถานศึกษาพัฒนาเดก็ บรรลุตามเปา้ หมาย ปรัชญา ๙๓.๓๓ วิสยั ทศั น์ และวัตถุประสงค์ปรากฏเปน็ อัตลกั ษณ์ของเด็ก ๑๓.๒ สถานศกึ ษาบรรลุผลการพฒั นาปรากฏเปน็ เอกลักษณ์ ๙๓.๓๓ ของสถานศกึ ษา สรุปผลการประเมนิ อิงเกณฑ์ ๙๓.๓๓ ผลการดำเนินการในแตล่ ะตวั บง่ ชี้ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๓.1 สถานศกึ ษาพัฒนาเด็กบรรลตุ ามเป้าหมาย ปรชั ญา วิสัยทัศน์ และวัตถปุ ระสงค์ปรากฏ เป็นอัตลกั ษณข์ องเดก็ ผลการประเมิน ระดับคุณภาพ ดีเยยี่ ม รอ่ งรอยการพัฒนา/โครงการ/กจิ กรรม/หลักฐาน ทีไ่ ดด้ ำเนนิ การ ๑. กจิ กรรมจดั ทำแผนพัฒนาสถานศึกษา ปัญหา/อปุ สรรคตอ่ การดำเนินการ สถานศึกษาพัฒนาใหน้ กั เรยี นบรรลปุ รากฏเปน็ อัตลักษณไ์ ด้แตไ่ ม่ยั่งยืน ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข จัดกิจกรรมปลูกฝังให้นักเรียนมีคุณลักษณะอัตลักษณ์ปรากฏให้เป็นที่ชัดเจนและยั่งยืน เช่นการสง่ เสริมและปลกู ฝังโดยการจัดกิจกรรมบูรณาการในกจิ กรรมหลกั ในห้องเรยี น
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 217 ตวั บ่งชี้ที๑๓.๒ สถานศกึ ษาบรรลผุ ลการพัฒนาปรากฏเปน็ เอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา ผลการประเมิน ระดบั คณุ ภาพ ดีเยย่ี ม ร่องรอยการพัฒนา/โครงการ/กิจกรรม/หลกั ฐาน ที่ได้ดำเนนิ การ ๑. กจิ กรรมจัดทำแผนพฒั นาสถานศึกษา ปญั หา/อปุ สรรคตอ่ การดำเนนิ การ สถานศกึ ษาพัฒนานกั เรยี นใหบ้ รรลปุ รากฏเป็นอตั ลกั ษณ์ไดแ้ ต่ไม่ย่งั ยืน ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข จัดกจิ กรรมปลกู ฝงั ใหน้ ักเรยี นมคี ุณลกั ษณะอตั ลักษณ์ปรากฏให้เป็นทช่ี ดั เจนและย่ังยืน เช่นการส่งเสรมิ และปลกู ฝังโดยการจดั กจิ กรรมบรู ณาการในกิจกรรมหลกั ในห้องเรยี น ผลการประเมินแบบอิงสถานศกึ ษา ๑. ผลการประเมินระดับคณุ ภาพอิงเกณฑป์ กี ารศกึ ษาทผี่ ่านมา ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ดมี าก ผลการประเมนิ ระดับคณุ ภาพอิงเกณฑ์ ปีการศกึ ษาปัจจบุ นั ๒๕๖๐ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ดีเยย่ี ม ๒. สถานศกึ ษาดำเนินการตามข้อเสนอแนะของผ้ปู ระเมินภายใน- ภายนอก / แผนพฒั นาการศกึ ษา ดำเนนิ การ ไม่ดำเนนิ การ ผลการประเมินระดับคุณภาพองิ สถานศึกษา มาตรฐานท่ี 1 ของสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2560 สรุปวา่ มพี ัฒนาการของคุณภาพการศึกษา ไม่มพี ฒั นาการของคณุ ภาพการศกึ ษา สรปุ ผลการประเมินความสำเรจ็ บรรลุมาตรฐานหรือเป้าหมายตามแผนในมาตรฐานท่ี 1 ของสถานศกึ ษา บรรลุมาตรฐาน/เปา้ หมายตามแผน ไม่บรรลมุ าตรฐาน/เป้าหมายตามแผน แตม่ ีความตระหนกั และความพยายามในการปฏิบัติตามแผน ไมบ่ รรลมุ าตรฐาน/เปา้ หมายตามแผน ผลการประเมนิ คะแนน ระดับคณุ ภาพ ผลการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพองิ เกณฑ์ ๕ ดมี าก ผลการประเมินระดับคุณภาพองิ สถานศึกษา ๕ ดีเยีย่ ม ผลการประเมินระดับคณุ ภาพองิ เกณฑแ์ ละองิ สถานศกึ ษา ๕.๐0 ดเี ย่ียม สรุปผลประเมินมาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษาบรรลุผลตามเป้าหมาย ปรชั ญา วสิ ยั ทัศน์ และจดุ เนน้ ❑ ไดม้ าตรฐานคณุ ภาพขององคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ เพราะ ผลการประเมินระดับคุณภาพอิงเกณฑ์ และองิ สถานศึกษา ในระดับคุณภาพ ดีเย่ียม มีคา่ เฉล่ยี ต้งั แต่ 3.00 ขน้ึ ไป จากระบบ ๕ คะแนน คือ มีค่าเฉลีย่ ๕.๐0 ❑ ไม่ไดม้ าตรฐานคุณภาพขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ในระดับคณุ ภาพ...................... เพราะ ผลการประเมินระดับคุณภาพอิงเกณฑ์ และอิงสถานศึกษา มีค่าเฉลี่ยนอ้ ยกวา่ 3.00 คอื มีคา่ เฉลีย่ .................. เหตปุ ัจจัยทท่ี ำให้สถานศกึ ษาไมไ่ ด้รับการรับรองในมาตรฐานท่ี 1๓ - ขอ้ เสนอแนะสำคัญโดยสรุป(ไม่เกนิ 3 ขอ้ ) และกำหนดระยะเวลาทีจ่ ะทำใหส้ ถานศกึ ษาพัฒนาส่มู าตรฐาน ๑) ส่งเสริมคุณลักษณะของผู้เรียนให้สอดคล้องกับจุดเน้น และอัตลัษณ์ของโรงเรียนในเชิงประจักษ์ อยา่ งต่อเน่อื ง
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 218 มาตรฐานท่ี ๑๔ ผ้บู ริหารสถานศึกษา ครู และเด็กมคี ณุ ภาพเป็นที่ยอมรับของผปู้ กครองและชุมชน ผลการประเมินแบบองิ เกณฑ์ ตวั บง่ ชี้ คะแนน ระดบั คุณภาพ (ร้อยละ) ปรับปรงุ พอใช้ ดี ดมี าก ดีเย่ียม ๑๔.๑ ผปู้ กครองและชุมชนมคี วามพงึ พอใจตอ่ คุณภาพของเด็ก ๘๗.๐๔ ๑๔.๒ ผู้ปกครองและชมุ ชนมีความพึงพอใจต่อครู ๘๙.๓๕ ๑๔.๓ ผปู้ กครองและชุมชนมคี วามพงึ พอใจต่อผู้บรหิ ารสถานศึกษา ๙๐.๐๕ ๑๔.๔ ผ้ปู กครองและชมุ ชนมีความพึงพอใจตอ่ สถานศกึ ษา ๙๐.๕๙ สรปุ ผลการประเมนิ อิงเกณฑ์ ๘๙.๒๖ ผลการดำเนินการในแต่ละตัวบง่ ช้ี ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๑๔.๑ แบบสอบถามความพงึ พอใจของผ้ปู กครองต่อคณุ ภาพของเด็ก ผลการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ ดมี าก ร่องรอยการพัฒนา/โครงการ/กจิ กรรม/หลกั ฐาน ทไ่ี ดด้ ำเนนิ การ ๑. แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ปกครองตอ่ คณุ ภาพของเดก็ ปัญหา/อปุ สรรคตอ่ การดำเนนิ การ การประชาสมั พันธ์ขา่ วสารถงึ ผปู้ กครองไมท่ ั่วถึง เช่นการแจกวารสารประชาสัมพนั ธ์ ข่าวสารต่างๆ ผู้ปกครองไมไ่ ด้หยบิ เอกสารอา่ น ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข ครูประจำชั้นแจกเอกสารประชาสมั พันธ์ให้ถึงมือผู้ปกครองและเน้นยำ้ ให้อ่านขา่ วสาร เพอื่ ทำความเข้าใจให้ตรงกนั เกิดความพงึ พอใจตอ่ การบริหารจดั การศกึ ษา เปลย่ี นจากการวางเอกสารไว้หน้าห้องเรียนใหผ้ ู้ปกครองหยบิ มาเป็นใหน้ ักเรยี นส่งให้ผูป้ กครอง เพ่ือเปน็ การตรวจสอบความรบั ผิดชอบของนักเรียน และจดั ทำแบบตอบรับการรบั เอกสารทุกครั้ง ตัวบง่ ชี้ที่ ๑๔.๒ ผู้ปกครองและชุมชนมีความพงึ พอใจตอ่ ครู ผลการประเมิน ระดบั คุณภาพ ดีมาก ร่องรอยการพฒั นา/โครงการ/กจิ กรรม/หลกั ฐาน ที่ไดด้ ำเนินการ ๑. แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ปกครองต่อครู ปัญหา/อุปสรรคตอ่ การดำเนนิ การ การประชาสัมพนั ธ์ข่าวสารถงึ ผูป้ กครองไม่ทั่วถึง เช่นการแจกวารสารประชาสัมพันธ์ ขา่ วสารตา่ งๆ ผู้ปกครองไม่ได้หยบิ เอกสารอ่าน ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข ครปู ระจำชั้นแจกเอกสารประชาสมั พนั ธ์ให้ถึงมือผู้ปกครองและเนน้ ย้ำใหอ้ า่ นขา่ วสาร เพ่ือทำความเข้าใจให้ตรงกนั เกดิ ความพงึ พอใจตอ่ การบริหารจดั การศกึ ษา ตัวบง่ ช้ที ี่ ๑๔.๓ ผู้ปกครองและชุมชนมคี วามพึงพอใจตอ่ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ผลการประเมนิ ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม รอ่ งรอยการพัฒนา/โครงการ/กิจกรรม/หลกั ฐาน ทไี่ ดด้ ำเนนิ การ ๑. แบบสอบถามความพงึ พอใจของผปู้ กครองต่อผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา ปัญหา/อปุ สรรคตอ่ การดำเนินการ - ไมม่ ี- ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข - ไมม่ ี-
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า 219 ตัวบ่งชี้ที่ ๑๔.๔ ผ้ปู กครองและชุมชนมีความพงึ พอใจต่อสถานศกึ ษา ผลการประเมิน ระดบั คณุ ภาพ ดีเยย่ี ม ร่องรอยการพฒั นา/โครงการ/กจิ กรรม/หลกั ฐาน ท่ีได้ดำเนินการ ๑. แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ปกครองต่อสถานศกึ ษา ปญั หา/อุปสรรคต่อการดำเนินการ การประชาสมั พนั ธ์ข่าวสารถงึ ผู้ปกครองไม่ท่วั ถงึ เชน่ การแจกวารสารประชาสัมพันธ์ ข่าวสารต่างๆ ผู้ปกครองไม่ได้หยิบเอกสารอา่ น ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข ครปู ระจำช้ันแจกเอกสารประชาสมั พันธใ์ ห้ถึงมอื ผปู้ กครองและเนน้ ยำ้ ใหอ้ ่านขา่ วสาร เพอ่ื ทำความเข้าใจใหต้ รงกัน เกิดความพงึ พอใจตอ่ การบริหารจดั การศึกษา ผลการประเมนิ แบบองิ สถานศกึ ษา ๑. ผลการประเมินระดับคณุ ภาพอิงเกณฑป์ กี ารศกึ ษาที่ผา่ นมา ปกี ารศึกษา ๒๕๕๙ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ดมี าก ผลการประเมินระดบั คุณภาพอิงเกณฑ์ ปกี ารศกึ ษาปัจจบุ นั ๒๕๖๐ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ดมี าก ๒. สถานศึกษาดำเนนิ การตามขอ้ เสนอแนะของผู้ประเมินภายใน- ภายนอก / แผนพฒั นาการศึกษา ดำเนินการ ไมด่ ำเนินการ ผลการประเมินระดับคณุ ภาพองิ สถานศกึ ษา มาตรฐานท่ี 1 ของสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2560 สรุปว่า มีพัฒนาการของคณุ ภาพการศึกษา ไม่มพี ฒั นาการของคณุ ภาพการศกึ ษา สรปุ ผลการประเมินความสำเร็จบรรลุมาตรฐานหรอื เป้าหมายตามแผนในมาตรฐานท่ี 1 ของสถานศึกษา บรรลุมาตรฐาน/เปา้ หมายตามแผน ไม่บรรลมุ าตรฐาน/เป้าหมายตามแผน แตม่ ีความตระหนกั และความพยายามในการปฏบิ ัตติ ามแผน ไมบ่ รรลมุ าตรฐาน/เป้าหมายตามแผน ผลการประเมิน คะแนน ระดับคณุ ภาพ ผลการประเมินระดบั คณุ ภาพองิ เกณฑ์ ๔ ดมี าก ผลการประเมินระดับคณุ ภาพอิงสถานศกึ ษา ๕ ดีเย่ียม ผลการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพองิ เกณฑแ์ ละอิงสถานศกึ ษา ๔.๕0 ดเี ยยี่ ม สรปุ ผลประเมนิ มาตรฐานที่ ๑๔ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และเด็กมีคณุ ภาพเป็นที่ยอมรับของผู้ปกครอง และชมุ ชน ❑ ได้มาตรฐานคุณภาพขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น เพราะ ผลการประเมนิ ระดับคุณภาพอิงเกณฑ์ และอิงสถานศกึ ษา ในระดับคุณภาพ ดีเย่ียม มีค่าเฉลยี่ ตง้ั แต่ 3.00 ขึน้ ไป จากระบบ ๕ คะแนน คือ มีค่าเฉลย่ี ๔.๕0 ❑ ไมไ่ ดม้ าตรฐานคณุ ภาพขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น ในระดบั คุณภาพ...................... เพราะ ผลการประเมนิ ระดับคุณภาพอิงเกณฑ์ และองิ สถานศกึ ษา มีค่าเฉล่ยี นอ้ ยกวา่ 3.00 คอื มคี า่ เฉลย่ี .................. เหตุปจั จัยที่ทำให้สถานศึกษาไมไ่ ด้รับการรับรองในมาตรฐานท่ี 1 - ขอ้ เสนอแนะสำคัญโดยสรุป(ไม่เกนิ 3 ข้อ) และกำหนดระยะเวลาที่จะทำให้สถานศกึ ษาพัฒนาสู่มาตรฐาน ๑) แต่ละฝา่ ยควรมกี ารจัดทำแบบสอบถามความพงึ พอใจจากผู้ปกครองและชมุ ชน
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 220 ๓. ผลการประเมนิ คณุ ภาพตามมาตรฐานการประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา 4.1 ระดับการศกึ ษาปฐมวยั มาตรฐานดา้ นปจั จัยทางการศึกษา มาตรฐานที่ ๑ ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มีความสามารถในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้นเด็ก เป็นสำคัญ กระบวนการพฒั นา พฒั นาครูใหม้ คี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม และมคี วามสามารถในการ จดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ทีเ่ น้นเด็กเปน็ สำคญั โดยการสง่ ครแู ละบคุ ลากรเขา้ รบั การอบรมโครงการ ครมู ียกระดับคุณภาพการศกึ ษาปฐมวยั สูม่ าตรฐาน กจิ กรรมอบรมพฒั นาบคุ ลากร กจิ กรรมอบรม คอมพิวเตอร์สำหรับครูปฐมวัย กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนารูปแบบการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงงาน Project Approach กิจกรรมนิเทศการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ด้วยกระบวนการ PLC อบรมพัฒนาครูในการผลิตสื่อการสอน ส่งเสริมให้ครูจัดทำส่อื การสอนจัดทำรายงานและประเมินผลการใช้สื่อ ส่งเสริมให้ครูใช้กระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนา กระบวนการเรียนร้ขู องนกั เรียน โครงการพัฒนาคุณธรรมจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชพี ครู สู่มาตรฐาน กิจกรรมพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน กิจกรรม อบรมจรรยาบรรณสำหรับครู และบุคลากรทางการศึกษา การเสริมสร้างศักยภาพในการ ปฏิบัติงานสำหรับครูและบุคลากร การเสริมสร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของครูและ บุคลากร เข้ารับการอบรมและพัฒนาตนเองตามมาตรฐานวิชาชีพ เช่น การอบรมผลิตสือ่ การอบรมการใช้ภาษาต่างประเทศ การอบรมพัฒนาหลกั สตู ร การอบรมใช้ เทคโนโลยี การอบรมลกู เสอื การอบรมโรงเรียนพอเพียง ครูเขา้ ร่วมกจิ กรรม กับชุมชน เชน่ กิจกรรม ยอ้ นอดตี เมอื งภูเก็ต กจิ กรรมถือศลี กนิ ผกั และวนั สาํ คญั ทางศาสนาต่างๆ ผลการดำเนินงาน ครูมีคุณธรรมจริยธรรม ปฏิบัติตนตามมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณ วิชาชีพ มีความรู้ความเข้าใจปรัชญา หลักการและจุดหมายของการจัดการศึกษาปฐมวัย มีความสามารถในการจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย และนำไปจัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีเน้นเด็กเป็นสำคัญ บริหารจัดการชั้นเรียนที่สร้างวินัย เชิงบวก มีความสามารถในการแสวงหาสื่อและเทคโนโลยีมาใช้เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ มีการประเมินพัฒนาการที่สอดคล้องกับสภาพจริงเหมาะสมกับวัย และนำผลการประเมิน มาพัฒนาเด็กให้เต็มตามศักยภาพ มีการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ จัดสภาพแวดล้อม ทีเ่ อื้อตอ่ การเรยี นรไู้ ด้อย่างเหมาะสม มปี ฏสิ ัมพันธท์ ด่ี ีกบั เดก็ ผู้ปกครองและชุมชน ผลการประเมิน ๘๙.00 โดยมคี า่ เฉล่ยี ๔.๕๐ ระดบั คณุ ภาพ ดเี ย่ียม
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 221 จุดเด่น ครูผู้สอนมจี บการศึกษาระดับปรญิ ญาตรี สาขาปฐมวัยครู จัดสภาพแวดล้อมทั้งภายใน และภายนอกเพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้ มีความสะอาด ปลอดภัย จัดวัสดุอุปกรณ์ที่หลากหลาย เพื่อส่งเสรมิ พฒั นาการของเดก็ ไดค้ รอบคลุมทงั้ ๔ ด้าน จุดที่ควรพัฒนา ส่งเสริม และสนับสนุนการทำวิจัยอย่างมีคุณภาพ เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียน มี พฒั นาการเหมาะสมตามวยั มาตรฐานท่ี 2 ผูบ้ ริหารสถานศึกษามีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีภาวะผู้นำ และมีความสามารถในการบริหาร จดั การศึกษา กระบวนการพัฒนา ผู้บริหารมีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง และนำความรู้ที่ได้จากการ อบรมมาพัฒนาการจัดการศึกษาในทุก ๆ ด้าน เพื่อมุ่งเน้นให้เกิดประโยชน์กับเด็ก และสร้าง ช่อื เสียงใหก้ บั สถานศกึ ษา ผลการดำเนินงาน ผู้บรหิ ารมีคุณธรรมจริยธรรม ปฏิบัติตนตามมาตรฐานวิชาชีพ เข้าใจปรชั ญา และหลกั การจัดการศกึ ษาปฐมวัย มีความสามารถในการบรหิ ารงานอยา่ งมีคุณภาพ ผลการประเมนิ ๘๘.๕๗ โดยมคี ่าเฉลย่ี ๔.๕๐ ระดับคณุ ภาพ ดเี ย่ยี ม จุดเด่น ผู้บริหารมีความมุ่งมั่นในการบริหารเพื่อประโยชน์ของเด็กเป็นสำคัญ อุทิศเวลาให้กับ การปฏิบตั ิงาน สามารถแสดงทศิ ทางการพฒั นาการศึกษาอยา่ งชัดเจน จุดท่ีควรพฒั นา ส่งเสรมิ สนบั สนุนใหท้ กุ คนร่วมกันพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา มาตรฐานที่ 3 สถานศกึ ษามจี ำนวนเดก็ มีทรพั ยากร และสภาพแวดลอ้ มทีส่ ่งเสริมสนบั สนุนใหเ้ ปน็ สังคม แหง่ การเรียนรู้ กระบวนการพัฒนา ดำเนินการ จัดโครงการปรับปรุงภูมิอาคารสถานที่ทั้งภายในและภายนอก สถานศึกษา เช่น ติดตั้งสนามเด็กเล่น พัฒนาสวนหย่อมภายในโรงเรียน ซ่อมแซมบำรุงอาคาร เรียน ซ่อมแซมระบบไฟฟ้าและแสงสว่าง ทายสีภายนอกอาคาร ๒ ซ่อมแซมฝ้าเพดาน จัดทำ แหล่งเรียนรู้หอ้ งศนู ย์การเรยี นรู้ปฐมวยั จัดทำแหลง่ เรียนรูห้ ้องสมุด จดั ซ้ือจัดหาวัสดุอุปกรณ์เพ่ือ การบริหารจัดการสถานศึกษา จัดซื้อครุภัณฑ์เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและบริหารจัดการ สถานศึกษา ติดตั้งอินเตอร์เน็ตเพื่อการเรียนการสอน ใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ พัฒนาภูมิทัศน์ ใหเ้ ออื้ ตอ่ การเรียนรู้ การระดมทรัพยากรเพอื่ การจัดการศึกษาปฐมวยั ผลการดำเนินงาน สถานศึกษามีอาคารเรียน ห้องเรียน ห้องสนับสนุนการจัดประสบการณ์ วัสดุครุภัณฑ์เพียงพอ อยู่ในสภาพใช้การได้ดี ถูกสุขลักษณะ มีมาตรการป้องกันการบาดเจ็บ และเสรมิ สร้างความปลอดภยั มงี บประมาณและทรัพยากรเพอ่ื จดั การศึกษา และพัฒนาบุคลากร มสี ือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และนวตั กรรมทีเ่ หมาะสมต่อการจัดการศกึ ษา
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า 222 ผลการประเมิน ๗8.33 โดยมีค่าเฉลีย่ ๔.๐๐ ระดบั คุณภาพ ดีมาก จุดเด่น โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีอาคารที่เหมาะสม สะอาด สะดวก ปลอดภัย เอ้อื ต่อการจัดประสบการณ์ สามารถพัฒนาผเู้ รยี นได้เหมาะสมตามวัย จุดที่ควรพัฒนา พัฒนาสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก และพัฒนาแหล่ง เรียนรูท้ างธรรมชาติภายในโรงเรียน มาตรฐานดา้ นกระบวนการทางการศกึ ษา มาตรฐานที่ 4 สถานศึกษาดำเนนิ การบรหิ ารจดั การศกึ ษาโดยใช้โรงเรียนเปน็ ฐาน กระบวนการพัฒนา ผู้บริหารสถานศึกษามอบหมายงานอย่างชัดเจนในรูปของคำส่ัง มอบหมายหน้าที่การปฏิบัติงาน จัดระบบข้อมูลสารสนเทศ เพื่อการประกันคุณภาพ เช่น การ จัดเก็บข้อมูลด้วยโปรแกรม SIS จัดทำข้อมูลผลงานดีเด่น จัดทำข้อมูลพื้นฐานสถานศึกษา จัดระบบสถิติและข้อมูลนักเรียน ข้อมูลสารสนเทศทางการเงินและงบประมาณ (เงินรายได้ สถานศึกษา ,เงินบริจาค , เงินบำรุงการศึกษา , เงินสวัสดิการ) ข้อมูลสารสนเทศดา้ นบุคลากร บริหารโดยใช้หลักการมีส่วนร่วม ดำเนินโครงการพัฒนาความร่วมมือของคณะกรรมการถาน ศึกษาขั้นพื้นฐาน โครงการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและชุมชน กิจกรรมประชุม พบปะผู้ปกครองสัญจร กิจกรรมประชุมคณะกรรมการบริหารชมรมผู้ปกครอง กิจกรรมมอบ เกียรติบัตรคณะกรรมการบริหารชมรมผู้ปกครอง กิจกรรมอบรมผู้ปกครองประจำปี กิจกรรม แข่งขันกีฬาผู้ปกครอง จัดทำแผนพัฒนาสถานศึกษา ประกอบด้วย การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ พัฒนาสถานศึกษา การจัดทำแผนพัฒนาสถานศึกษา ๔ ปี การจัดทำแผนประจำปีการศึกษา การ จัดทำแผนพัฒนาสถานศึกษาประจำปีงบประมาณ การจัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามแผน ประจำปีการศกึ ษา ผลการดำเนินงาน โรงเรียนดำเนนิ การบริหารจดั การศกึ ษาโดยใชโ้ รงเรยี นเปน็ ฐาน มี การกระจายอำนาจบริหารและการจัดการศึกษา โดยใช้หลักการมีส่วนร่วม คณะกรรมการ สถานศกึ ษาร่วมพัฒนาสถานศึกษา การบริหารงานทม่ี งุ่ ผลสมั ฤทธ์ิ มีการตรวจสอบ และ ถว่ งดลุ การปฏิบตั งิ าน ผลการประเมนิ ๗๖.๘๙ โดยมคี า่ เฉลีย่ ๔.๐๐ ระดบั คณุ ภาพ ดีมาก จุดเด่น ผู้บริหารมอบหมายงานอย่างชัดเจนในรูปแบบของคำสั่ง บริหารโดยใช้หลักการ มสี ่วนร่วม เปิดโอกาสให้ผูเ้ กี่ยวข้องแสดงความคิดเหน็ และตัดสินใจร่วมกนั จุดที่ควรพัฒนา การนิเทศติดตามผลการปฏิบัติงาน นำผลการประเมินไปปรับปรุงและพัฒนา ผลการปฏิบตั ิงาน
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า 223 มาตรฐานท่ี 5 สถานศึกษาจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัยที่เน้นเด็กเป็นส ำคัญ กระบวนการพัฒนา โรงเรียนจัดทำและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอย่างต่อเนื่องให้เหมาะสม กับเด็ก และบริบทของท้องถิ่น มีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการ สถานศึกษา จัดทำหลักสูตรสถานศึกษาที่สอด คล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย กระทรวงศึกษาธิการ นำหลักสูตรสถานศึกษา ที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานไปใช้ในการจัดประสบการณ์ ประเมินการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โดยการมีส่วนของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ส่งเสริมกำกับดูแลให้ครูจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ โดยมีการสำรวจข้อมูลเก่ียวกับความถนัดและความสามารถ ของเด็ก จัดทำแผนการจัดประสบการณท์ ี่หลากหลายสอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคล มีการนิเทศติดตามการนำผลการใช้แผนการจัดประสบการณ์ ส่งเสริมให้ครูผลิตสื่อ สื่อธรรมชาติ และสื่อเทคโนโลยี นวัตกรรมที่เหมาะสมกับวัย ประเมนิ ผลการผลติ และการใช้สอ่ื จัดทำทะเบียน สื่อ จัดประสบการณ์ที่หลากหลายเหมาะสมกับวัย กำกับให้ครูจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน รายงานผลการส่งต่ออย่างเป็นระบบ มีการนิเทศติดตามผลการจัดประสบการณ์อย่างเป็นระบบ จัดทำปฏิทินการนิเทศ นิเทศกำกับติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติตามปฏิทินการนิเทศ และรายงานผลการนิเทศใหค้ รูทราบทกุ เดอื น ผลการดำเนินงาน สถานศึกษาจดั ทำและพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวัยใหเ้ หมาะสมกับเด็ก และบริบทท้องถิ่น ครูจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ ครูผลิตสื่อเทคโนโลยี สารสนเทศ และพัฒนานวัตกรรมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่หลากหลาย เหมาะสมกบั วยั มีระบบดแู ลช่วยเหลอื เดก็ รายงานขอ้ มูลส่งตอ่ อยา่ งเปน็ ระบบ มีระบบการนิเทศ การจัดประสบการณ์ด้วยกระบวนการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ด้วยกระบวนการ PLC อยา่ งเปน็ ระบบ ผลการประเมิน ๘๐.๓๗ โดยมคี า่ เฉลี่ย ๔.๕๐ ระดับคุณภาพ ดีมาก จดุ เดน่ ครจู ดั ทำแผนการจดั ประสบการณท์ ่ีเน้นเดก็ เป็นสำคัญ จดั กจิ กรรมทห่ี ลากหลาย สอดคล้องกบั ความแตกต่างระหวา่ งบุคคลไปใช้ในการจดั ประสบการณ์ จดุ ทค่ี วรพฒั นา สถานศกึ ษาควรมีการประเมนิ การใชห้ ลกั สูตรสถานศกึ ษาโดยการมสี ่วนรว่ ม ของทกุ ฝ่ายที่เก่ยี วข้อง
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 224 มาตรฐานที่ 6 สถานศึกษาสนับสนนุ การใชแ้ หลง่ เรียนรู้ และภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น กระบวนการพัฒนา สถานศึกษาจัดทำข้อมูลแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และแลกเปลี่ยน เชื่อมโยงการจัดกิจกรรม โดยสำรวจข้อมูลแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างหลากหลาย จัดทำสารสนเทศแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นปัจจุบัน จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง เช่นกิจกรรมเรียนรู้วิถีชีวิตคนภูเก็ตถนนถลาง เรยี นรู้วดั คูบ่ า้ นคูเ่ มอื งจังหวัดภูเก็ต กิจกรรมหนง่ึ หอ้ งเรียนหนง่ึ แหล่งเรยี นรู้ ผลการดําเนินงาน มีการสำรวจและจัดทำข้อมูลแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น จัดกิจกรรม การเรียนร้โู ดยใช้แหลง่ เรียนรู้ และภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ อยา่ งตอ่ เน่ือง ผลการประเมนิ ๗๙.๑๗ โดยมคี า่ เฉลี่ย ๔ ระดบั คุณภาพ ดีมาก จดุ เด่น จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้โดยใชแ้ หล่งเรียนรู้ และภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่นอย่างต่อเนอ่ื ง จุดทค่ี วรพฒั นา จดั ทำแผนการใช้แหลง่ เรียนรแู้ ละภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ อยา่ งชดั เจน สรา้ งเครือขา่ ย เผยแพร่ แลกเปล่ียนข้อมูล มาตรฐานที่ 7 สถานศกึ ษาจดั ระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา กระบวนการพฒั นา สถานศกึ ษาจดั ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา แตง่ ตง้ั คณะกรรมการจัดทำมาตรฐาน และตัวบ่งชี้เพื่อการประกันคุณภาพ ที่สอดคล้อง กับ ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายสถานศึกษา จัดทำและประกาศมาตรฐานให้ผู้เกี่ยว ข้อง ทราบ จัดทำแผนพัฒนาการศึกษาของสถานศกึ ษาทค่ี รอบคลมุ สอดคล้องกบั มาตรฐานการศึกษา กระบวนการดำเนินงานเป็นระบบ PDCA มีเครื่องมือในการเก็บข้อมูลหรือเครื่องมือ ในการ ประเมนิ ผลการดำเนนิ งาน ข้อมูลสารสนเทศของโรงเรยี น ผลการดำเนินงาน โรงเรียนมีมาตรฐานการศึกษาที่มีคุณภาพตามที่กรมส่งเสริมการปกครอง สว่ นทอ้ งถิ่นกำหนดให้ รวมทง้ั มกี ารพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ผลการประเมนิ ๗๕.๒๔ โดยมีคา่ เฉลยี่ ๔.๕๐ ระดับคุณภาพ ดีเย่ียม จุดเดน่ สถานศกึ ษาดำเนินงานตามแผนพัฒนาการศึกษาของสถานศกึ ษาอย่างตอ่ เน่ือง จดุ ท่ีควรพัฒนา โรงเรียนควรตดิ ตามการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาตามแผนท่กี ำหนด มาตรฐานท่ี 8 สถานศึกษาพัฒนาตามนโยบาย และแนวทางการปฏริ ปู การศึกษาท่เี ปน็ มาตรการเสริมเพื่อ ยกระดบั คุณภาพการศึกษาใหส้ งู ขึน้ กระบวนการพัฒนา สถานศึกษาดำเนินการจดั โครงการเพ่ือเปน็ มาตรการยกระดับคุณภาพ การศกึ ษา คอื โครงการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรแู้ บบโครงงาน Project Approach ผลการดำเนินงาน โครงการต่างๆที่สถานศึกษาจัดขึ้น เป็นการพัฒนาตามนโยบายสถานศึกษา และเป็นการยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สูงขึ้น ซึ่งส่งผลกับเด็กโดยตรง รวมถึงการสร้าง ชื่อเสยี งใหก้ บั สถานศึกษา จนเป็นที่ยอมรับของทกุ ภาคสว่ น ผลการประเมนิ ๘๘.๓๓ โดยมคี ่าเฉลี่ย ๔.๕๐ ระดบั คุณภาพ ดีเยย่ี ม
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 225 จุดเด่น โรงเรียนจัดโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมสนับสนุนตามนโยบาย เกี่ยวกับการจัดการศึกษา ตามแผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการประจำปี 2560 และจัดทำโครงการพิเศษอย่างต่อเนื่อง และเป็นระบบตามแผนดำเนนิ งาน ประจำปี 2560 และสรา้ งคุณคา่ ต่อโรงเรียนและชุมชน จดุ ทค่ี วรพฒั นา ควรจัดอบรมพัฒนาบคุ ลากรในการจดั ทำแผนพัฒนาสถานศกึ ษา มาตรฐานดา้ นผลผลิตทางการศกึ ษา มาตรฐานที่ 9 เดก็ มพี ัฒนาการดา้ นร่างกายเหมาะสมตามวยั กระบวนการพัฒนา จัดประสบการณ์การเรียนรู้เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายเหมาะสม ตามวยั โดยการจดั การเรยี นร้แู บบบูรณาการในห้องเรยี น สาระการเรียนรูเ้ รอื่ งราวเก่ยี วกบั ตวั เดก็ หน่วยกินดีอยู่เป็น เล่นอย่างสร้างสรรค์ ขยับกายสบายชีวี กิจกรรมการเล่นกลางแจ้ง กิจกรรมแข่งขันกีฬาสอี นุบาลสัมพันธ์ โครงการโรงเรยี นส่งเสริมสขุ ภาพ กิจกรรมหนูน้อยสุขภาพ ดี กิจกรรมชั่งน้ำหนัก – วัดส่วนสูง กิจกรรมหนูน้อยรักษ์ฟัน กิจกรรมห้องเรียนปลอดเหา กิจกรรมแก้ไขปัญหานักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ โครงการโรงเรียนอนุบาลน่าอยู่ปลอดโรค กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้เรื่องสุขภาพ กิจกรรมห้องรียนวัคซีน ๑๐๐ % กิจกรรมรณรงค์ ป้องกันไข้เลือดออก กิจกรรม Big Clearning Day กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้เพื่อป้องกัน ยาเสพติด กิจกรรมโภชนาการสมวัยเพื่อเด็กปฐมวัย โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต กิจกรรมอาหารเสรมิ นมโรงเรยี น ผลการดำเนินงาน เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายเหมาะสมตามวัย มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ ของกรมอนามัย มีสมรรถภาพทางกายและกลไกลเหมาะสมตามวัย และมีสุขนิสัยในการดูแล สุขภาพและความปลอดภยั ของตนเองเหมาะสมตามวยั ผลการประเมนิ ๙๗.๑๘ โดยมคี า่ เฉลีย่ 5 ระดบั คุณภาพ ดีเยย่ี ม จดุ เดน่ เด็กมีสุขนิสยั ในการดูแลสขุ ภาพ และความปลอดภยั ของตนเองเหมาะสมตามวยั จุดที่ควรพัฒนา กจิ กรรมการแกไ้ ขปัญหานกั เรียนทีม่ ภี าวะทุพโภชนาการ มาตรฐานที่ 10 เด็กมีพฒั นาการดา้ นอารมณ์ และจิตใจเหมาะสมตามวยั กระบวนการพัฒนา จัดประสบการณ์การเรียนรู้เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ เหมาะสมตามวัย โดยการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการในห้องเรียนผ่านกิจกรรมการเคลื่อนไหว และจงั หวะ กจิ กรรมศิลปะสรา้ งสรรค์ และจดั กจิ กรรมฝึกสมาธยิ ามเช้ากจิ กรรมจิตศึกษา ดอกไม้ ลอยน้ำ กิจกรรมเรียงดอกรัก เพื่อเป็นการฝึกสมาธิให้พร้อมก่อนการเริ่มกิจกรรม โครงการ ส่งเสริมความสามารถตามศักยภาพ (นาฏศิลป์ไทย , โขน , วาดภาพระบายสี , การต่อเลโก้ สร้างสรรค์ , กิจกรรมร้องประสานเสียง) โครงการจัดการเรียนการสอนดนตรีพัฒนาอัจฉริยภาพ กิจกรรมสง่ เสรมิ อตั ลักษณ์นกั เรยี น ท.๖
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 226 ผลการดำเนินงาน เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์ และจิตใจเหมาะสมตามวัย ร่าเริงแจ่มใส มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครู และผู้อื่น มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม สนใจ ชื่นชมในกจิ กรรมศิลปะ ดนตรี การเคลือ่ นไหว และรกั ธรรมชาติ ผลการประเมนิ 9๙.๔๗ โดยมีค่าเฉลี่ย 5 ระดบั คณุ ภาพ ดเี ย่ยี ม จุดเด่น ผู้เรียนมีความสนใจในสุนทรียภาพ ด้านศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว มีความมั่นใจ กลา้ แสดงออก และชื่นชมในผลงานของตนเอง และผอู้ ืน่ จดุ ทค่ี วรพัฒนา ส่งเสรมิ ใหเ้ ดก็ มีความมนั่ ใจในตนเอง กล้าแสดงออก มาตรฐานที่ 11 เด็กมีพัฒนาการด้านสังคมเหมาะสมตามวยั กระบวนการพัฒนา จัดประสบการณ์การเรียนรู้เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม เหมาะสมตามวัย โดยการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการในห้องเรียนผ่านกิจกรรมการเคลื่อนไหว และจังหวะ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมการเล่นกลางแจ้ง กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ การทำงานกลุ่ม การสร้างข้อตกลงร่วมกันในห้องเรียน การประเมินการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน โครงการร่วมสืบสานประเพณีและวัฒนธรรมไทย กิจกรรมบูรณาการวันไหว้ครู วันลอยกระทง วันเข้าพรรษา โครงการหนูน้อยปฐมวัยใส่ใจสิ่งแวดล้อม กิจกรรมสายตรวจประหยัดพลังงาน กิจกรรมโรงเรียนสวยด้วยมือเรา กิจกรรมประกวดเขตพื้นที่รักษาความสะอาด กิจกรรมชวนลูก ปลูกต้นไม้ โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ กิจกรรมสุดยอด นักออม กิจกรรมค่ายพุทธบุตรน้อย กิจกรรมห้องเรียนระเบียบวินัยดีเด่น กิจกรรมส่งเสริม ประชาธปิ ไตยในโรงเรียน (สภาจวิ๋ ) โครงการวนั สำคัญทางศาสนา กิจกรรมบรู ณาการวันมาฏบูชา กิจกรรมบูรณาการวนั วิสาขบูชา กิจกรรมบูรณาการวันอาสาฬหบูชา โครงการวันสำคัญของชาติ กิจกรรมวนั แมแ่ หง่ ชาติ กจิ กรรมเฉลิมพระชนมพรรษาสมเดก็ จพระเจ้าอย่หู ัวรชั กาลท่ี ๑๐ ผลการดําเนินงาน เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม เหมาะสมตามวัย มีความรับผิดชอบและปฏิบัติ ตนตามข้อตกลง มีความกตัญญูกตเวที มีมารยาท ปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทยและหลักศาสนา ที่ตนนับถือ ซื่อสัตย์สุจริต เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ รู้จักประยัด ใช้ทรัพยากรและรักษาสิ่งแวดล้อม โครงการลูกเสือน้อย มีการปรับตัวในการปฏิบัติกิจกรรรมร่วมกับผู้อื่น เป็นสมาชิกที่ดี ของครอบครัว ชุมชน และปฏบิ ัตติ นตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ ทรง เป็นประมขุ ผลการประเมนิ ๑๐๐.๐๐ โดยมีคา่ เฉลยี่ 5 ระดับคุณภาพ ดีเย่ียม จุดเด่น โรงเรียนจัดกิจกรรมอย่างหลากลายส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ทำงานเป็นทีม รู้จักเสียสละ และแบ่งปนั รูจ้ ักช่วยเหลือผู้อืน่ เมื่อมโี อกาส และเพือ่ ฝึกการเป็นผนู้ ำ และผตู้ ามที่ดี จุดท่คี วรพัฒนา จดั กจิ กรรมท่ีสง่ เสริมให้เดก็ รจู้ กั มีมารยาทในการพดู และการฟงั
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 227 มาตรฐานท่ี 12 เดก็ มพี ฒั นาการด้านสติปญั ญาเหมาะสมตามวยั กระบวนการพัฒนา จัดประสบการณ์การเรียนรู้เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา เหมาะสมตามวยั โดยการจดั การเรียนรแู้ บบบูรณาการในห้องเรยี นผา่ นการบรู ณาการ ๖ กิจกรรมหลัก เน้นกิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมเกมการศึกษา กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ โครงการสง่ เสรมิ และพฒั นาประสบการณก์ ารเรียนร้ใู ห้กบั นกั เรยี นระดับปฐมวัย กิจกรรม Smart Child Smile Family กิจกรรมอบรมเตรียมความพรอ้ มนักเรียนอนบุ าล ๑ กิจกรรมเตรียมความ พร้อมนกั เรียนอนบุ าล ๒ สชู่ นั้ ป.๑ กจิ กรรมส่งเสริมพัฒนาการเดก็ ปฐมวัย กจิ กรรมส่งเสรมิ ความ เป็นเลิศด้านวิชาการ โครงการส่งเสริมการอ่านออกเขียนได้ โครงการจัดการเรียนการสอน ภาษาอังกฤษ โครงการจดั กาเรียนการสอนคอมพิวเตอร์ โครงการพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ วิถีชีวิตวัฒนธรรมท้องถิ่นสู่ประชาคมอาเซียน โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านวิทยาศาสตร์ โครงการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน Project Approach ผลการดำเนินงาน เด็กมี พัฒนาการด้านสติปัญญาเหมาะสมตามวัย มีทักษะความรู้พื้นฐานที่จำเป็นตามหลักสูตร มี ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คดิ ริเริม่ สรา้ งสรรค์ มจี ินตนาการ มีทักษะในการใชภ้ าษาสอ่ื สาร ได้เหมาะสมกับวัย มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วย ตนเอง รกั การเรียนรู้และพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเนอื่ ง ผลการประเมนิ 9๘.๕๗ โดยมีค่าเฉลย่ี 5 ระดบั คณุ ภาพ ดเี ยย่ี ม จุดเด่น เด็กมีทักษะในการใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมตามวัย สามารถใช้ภาษาสื่อสารให้ผู้อื่น ได้รับรู้และเข้าใจ และบอกความรู้สึกภายในเพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นได้ และสามารถอ่าน ภาพหรือใช้ภาษาท่าทาง เพื่อบอกความหมายของสัญลักษณ์ในการสื่อสาร และสามารถเขียน ภาพสญั ลักษณ์ เพ่อื ส่ือความหมายได้ จุดที่ควรพัฒนา ครูออกแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มาตรฐานท่ี 13 สถานศกึ ษาบรรลผุ ลตามเปา้ หมาย ปรัชญา วสิ ยั ทัศน์ และจดุ เนน้ กระบวนการพฒั นา จดั การประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษา เพอื่ จดั การวางแผน การ ดำเนินงานตามปรัชญา วิสัยทัศน์ และอัตลักษณ์ของโรงเรียนให้บรรลุตามเป้าหมาย โดย จดั โครงการตา่ งๆ ใหป้ รากฏเดน่ ชดั ยง่ิ ขน้ึ รวมถึงเปน็ ทย่ี อมรับของหนว่ ยงานภายนอก ผลการดําเนินงาน คณะกรรมการสถานศึกษา มีส่วนร่วมในการดำเนินงานตามปรัชญา วิสยั ทัศน์ เอกลักษณ์ และอัตลกั ษณ์ของโรงเรยี น ทำให้ผลการดำเนินงานเปน็ ไปตามเป้าหมาย ผลการประเมนิ ๙๓.๓๓ โดยมคี า่ เฉล่ยี 5 ระดับคณุ ภาพ ดเี ยยี่ ม จุดเด่น สถานศึกษาได้ดำเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมาย ปรัชญา วิสัยทัศน์ จุดเน้นตาม ที่ โรงเรียนได้กำหนดไว้ให้เป็นผลสำเร็จเพื่อพัฒนาสถานศึกษาและพัฒนาผู้เรียน ให้เป็นทปี่ ระจักษ์ และเป็นท่ียอมรับของผปู้ กครอง ชมุ ชน และบุคคลทั่วไป จุดที่ควรพัฒนา โรงเรียนจะดำเนินงานตามโครงการ/กิจกรรมที่มุ่งพัฒนาครู และเด็กให้บรรลุ ตามเปา้ หมาย ปรชั ญา วสิ ัยทัศน์ และจุดเน้นของสถานศกึ ษาอยา่ งต่อเน่ือง
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า 228 มาตรฐานที่ 14 ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และเด็กมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับของผู้ปกครองและชุมชน กระบวนการพัฒนา โรงเรียนจัดทำแบบสอบถามความพึงพอใจทุกภาคส่วนที่มีต่อเด็ก ครู ผบู้ ริหาร และสถานศกึ ษา ผลการดำเนินงาน โรงเรียนได้ทราบถึงความพึงพอใจของทุกภาคส่วนที่มีต่อเด็ก ครู ผู้บริหาร และสถานศกึ ษา ผลการประเมิน ๘๙.๒๖ โดยมคี ่าเฉลี่ย ๔.๕๐ ระดบั คุณภาพ ดเี ยีย่ ม จดุ เด่น ผู้ปกครอง และชุมชนมีความพึงพอใจต่อผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาในการใหบ้ รกิ ารชมุ ชน จุดที่ควรพัฒนา ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชน โดยพัฒนาให้เครือข่ายผู้ปกครอง มคี วามเข้มแขง็ มากขึ้นกว่าเดิม
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า 229 4. ผลการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา 4.1 ผลการประเมินพฒั นาการของผู้เรียนระดับการศึกษาปฐมวยั ผลการประเมินพัฒนาการของผู้เรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 – ๒ โรงเรียนได้ทำการประเมินพัฒนาการ ดา้ นร่างกาย ดา้ นอารมณ์ ดา้ นสังคม และด้านสติปญั ญา แสดงผลการประเมนิ ดงั ตารางต่อไปนี้ ชั้นอนุบาล จำนวน คะแนนเฉลีย่ พัฒนาการดา้ น รวม เฉลย่ี ระดับ ปที ่ี นักเรียน ร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา รวม คณุ ภาพ 1 ๒๑๙ ๒.๖๔ ๒.๙๔ ๒.๙๔ ๒.๘๕ ๑๑.๓๗ ๒.๘๔ ๓ 2 ๒๑๘ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๒.๙๘ ๑๑.๙๘ ๒.๙๙ ๓ เฉลยี่ รวม ๒.๘๒ ๒.๙๗ ๒.๙๗ ๒.๙๑ ๒.๙๑ ระดับคณุ ภาพ ๓๓๓๓ ๓ สรปุ ผลการประเมนิ พัฒนาการของผ้เู รยี น ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ ผลการประเมินพัฒนาการของผเู้ รียนชนั้ อนุบาลปีท่ี 1 พฒั นาการดา้ นร่างกาย มคี ่าเฉลี่ย ๒.๖๔ ระดับคุณภาพ ๓ พัฒนาการด้านอารมณ์ มคี ่าเฉลีย่ ๒.๙๔ ระดับคุณภาพ ๓ พฒั นาการด้านสังคม มคี า่ เฉลีย่ ๒.๙๔ ระดับคณุ ภาพ ๓ พัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา มคี ่าเฉลย่ี ๒.๘๕ ระดับคุณภาพ ๓ เฉล่ยี รวมทงั้ 4 ดา้ น มีค่าเฉลี่ย ๒.๘๔ ระดบั คุณภาพ ๓ ผลการประเมนิ พฒั นาการของผ้เู รียนชั้นอนบุ าลปีท่ี 2 พัฒนาการดา้ นร่างกาย มีคา่ เฉลี่ย ๓.๐๐ ระดับคุณภาพ ๓ ระดบั คุณภาพ ๓ พฒั นาการดา้ นอารมณ์ มคี า่ เฉลย่ี ๓.๐๐ ระดับคุณภาพ ๓ ระดับคุณภาพ ๓ พฒั นาการด้านสงั คม มีค่าเฉลยี่ ๓.๐๐ ระดบั คณุ ภาพ ๓ พัฒนาการด้านสติปญั ญา มีค่าเฉล่ีย ๒.๙๘ เฉลี่ยรวมท้งั 4 ดา้ น มคี ่าเฉลีย่ ๒.๙๙ 4.๒ นวตั กรรมหรือตวั อยา่ งการปฏบิ ัติทดี่ ี (Best Practice) ของสถานศึกษาที่เปน็ ประโยชน์ต่อบุคคล และหนว่ ยงานอนื่ (รวมถึงอตั ลักษณ์ และเอกลักษณ์ ของสถานศึกษา) ๑) การจดั ประสบการณ์การเรยี นรแู้ บบโครงงาน Project Approach
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 230 5. สรุปผลการประเมินคุณภาพการศกึ ษาในภาพรวม 5.๑ ระดบั การศึกษาปฐมวยั ด้านปัจจัยทางการศึกษา ผลการประเมินในภาพรวมอยู่ในระดับดีเยี่ยม ด้านครู ครูมีคุณธรรมจริยธรรมและปฏิบัติตน ตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพ มีความรู้ความสามารถ สอนตรงตามวุฒิ/ความถนัด มีการจัดทำ แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อเด็ก ผู้ปกครอง และชุมชน ด้านผู้บริหาร ผู้บริหารมีคุณธรรมจรยิ ธรรม และปฏิบัติตนตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชพี สามารถแสดงทิศทางการ พัฒนาการศึกษาอย่างชัดเจน ทันต่อการเปลี่ยนแปลง และใช้หลักการมีส่วนร่วมรับฟังความคิดเห็นข้อเสนอ แนะต่างๆ ด้านสถานศึกษา สถานศึกษามีความพร้อมในเรื่องอาคารเรียน ห้องเรียน ห้องสนับสนุนการเรียน เทคโนโลยี และมีงบประมาณสนับสนุนเพียงพอในส่วนการพัฒนา ควรเพิ่มเติมการใช้สื่อ/นวัตกรรมใหม่ๆ ของครูและการทำวิจยั ดา้ นกระบวนการทางการศกึ ษา ผลการประเมินในภาพรวมอยู่ในระดับดีเยี่ยม สถานศึกษาบริหารจัดการศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน โดยการมีส่วนร่วมเปิดโอกาสในการบริหารจัดการร่วมกัน มีการจัดทำแผนปฏิบัติการของสถานศึกษา ปฏิบัติงานตามแผน มีระบบการประเมินตรวจสอบ จัดโครงการและกิจกรรมที่สนับสนุนนโยบายการจดั การศึกษา ส่งเสริมใหค้ รูจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ จัดกิจกรรมที่ส่งเสรมิ ผู้เรียนอยา่ งหลากหลาย ใช้แหล่งเรียนรูแ้ ละภมู ิ ปัญญาท้องถิ่นในการให้ความรู้/จัดกิจกรรมต่างๆ ในส่วนของการพัฒนาควรให้ความรู้ครูเพิ่มเติม เก่ียวกบั มาตรฐาน และการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา กำหนดการเกบ็ ขอ้ มลู หลกั ฐานตา่ งๆ ตามมาตรฐาน และตวั บ่งช้ีที่กำหนด เพ่อื ยกระดับคา่ คะแนนในปกี ารศึกษาถัดไป ด้านผลผลติ ทางการศึกษา ผลการประเมินในภาพรวมอยู่ในระดับดีเยี่ยม นักเรียนมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาอยูใ่ นเกณฑ์ดีเยี่ยม ผู้ปกครองและชุมชนมีความพึงพอใจต่อผลพัฒนาการของนักเรยี น ครู ผู้บริหาร สถานศึกษาเป็นที่ยอมรับ ในส่วนของการพัฒนา ควรเพิ่มเติมเนื้อหา/กิจกรรมที่ส่งเสริมกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ให้แก่นักเรียน และกิจกรรมที่พัฒนานักเรียนจนเกิดเป็นอัตลักษณ์ และเป็นเอกลักษณ์ของ สถานศึกษาอยา่ งชดั เจน
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า 231 ตอนท่ี 3 สรปุ ผลการพฒั นา แนวทางการพัฒนา ความต้องการและความช่วยเหลือ จากผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานในระดับการศึกษาปฐมวัย ผลการประเมินพัฒนาการ ถือเป็นข้อมลู สารสนเทศทีส่ ำคัญที่สถานศึกษาได้นำไปวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมลู เพ่อื สรุปผลการพฒั นาเพือ่ นำไปสู่การเชื่อมโยง หรือสะท้อนภาพความสำเร็จกับแผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาและวางแนวทางการนำไปใช้วางแผนการ พัฒนาคณุ ภาพของสถานศกึ ษาในอนาคต ดังนั้นจากผลการดำเนินงานของสถานศึกษา สามารถสรุปผลการพัฒนา ในภาพรวมของจุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา ของแต่ละมาตรฐาน พร้อมทั้งได้วางแนวทางการพัฒนาในอนาคต และความตอ้ งการ ความชว่ ยเหลอื ไว้ดังนี้ 1. สรุปผลการประเมิน 1.1 มาตรฐานการศกึ ษาปฐมวยั จดุ เด่น จุดทคี่ วรพัฒนา • ดา้ นปจั จยั • ด้านปัจจยั 1) บคุ ลากรจบการศกึ ษาปรญิ ญาตรดี า้ น ๑) สรรหาบุคลากรท่มี ีความถนัด และมี การศกึ ษาปฐมวยั มคี ุณวฒุ ิตรงตามงานท่ี ความสามารถเฉพาะทาง ไดร้ ับมอบหมาย 2) บุคลากรไดร้ ับการพฒั นาอยา่ งตอ่ เนือ่ ง ๒) ส่งเสรมิ ให้บุคลากรมที ักษะในการทำงานเป็น 3) ผบู้ รหิ ารเทศบาลให้ความสำคัญต่อการจัด ทมี การศกึ ษา มนี โยบายส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การศกึ ษาอย่างจริงจงั ๓) การส่งเสริมให้บุคลากรมคี วามรคู้ วามชำนาญ 4) มีแหลง่ เรียนร้แู ละภมู ิปัญญาท้องถ่นิ ท่ีเออื้ ตอ่ ในการใช้สือ่ เทคโนโลยีทท่ี ันสมยั การจดั หลกั สตู รท้องถน่ิ และสามารถนำ นกั เรยี นออกไปศึกษาไดง้ ่าย ๔) พัฒนาบคุ ลากรใหม้ ที ักษะการจดั การเรยี นรู้ 5) สถานศึกษาอยใู่ นชุมชน และสะดวกตอ่ การ แบบ Active Learning คมนาคม • ด้านกระบวนการ • ด้านกระบวนการ ๑) ระบบการตรวจสอบ นเิ ทศและการพฒั นา 1) มีการปรบั ปรงุ พฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษา การศกึ ษาไมต่ อ่ เนื่อง ขาดการนำผลการ อยา่ งต่อเนื่อง ประเมินมาปรบั ปรงุ พฒั นางาน 2) มีการสรา้ งชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ PLC และมี การนิเทศการจดั ประสบการณอ์ ยา่ งต่อเนื่อง 3) ผู้ปกครองและชมุ ชนใหค้ วามรว่ มมอื ชว่ ยเหลอื กจิ กรรมตา่ ง ๆ ของโรงเรียนเปน็ อยา่ งดี จดุ เด่น จดุ ทคี่ วรพฒั นา • ด้านผลผลิต • ดา้ นผลผลติ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 232 1) นักเรยี นมีสขุ นสิ ัย สขุ ภาพกาย และ ๑) ผ้ปู กครองขาดความรู้เรือ่ งการจดั การศกึ ษา สุขภาพจิตดี ปฐมวัย 2) นักเรยี นมคี วามสามารถด้านศิลปะ ๒) กิจกรรมภายนอกมีมาก ทำให้การจัดการเรยี นรู้ ดนตรี กีฬา และมีความกล้าแสดงออก ไมเ่ ปน็ ไปตามแผนการจดั การเรียนรทู้ วี่ างไว้ 3) สถานศกึ ษาจัดการศกึ ษาเปน็ ทพี่ อใจ และยอมรับของผปู้ กครองและชุมชน 2. ทิศทาง/แนวทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต ๑. พัฒนานักเรียนให้อา่ นออกเขียนได้ ๒. พฒั นานักเรยี นใหม้ ที กั ษะในการส่ือสาร ภาษาที่ ๒ และภาษาท่ี ๓ ๓. พฒั นานกั เรียนโดยใช้รูปแบบการสอบ แบบโครงงาน Project Approach และแบบสมดุลภาษา ๔. พัฒนานักเรียนให้มสี ขุ ภาวะสมวัย ๕. พัฒนานักเรียนให้เป็นคนดี มีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และผู้อื่น มีระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบ รา่ เริงแจ่มใส ม่ันใจในตนเอง มีจิตสาธารณะ และรักท้องถิน่ ๖. พฒั นานกั เรียนให้มีทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการ Project Approach ๗. ส่งเสริมความเป็นเลศิ นกั เรียนทม่ี ีความสามารถพิเศษ ๘. พัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรให้สามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้ด้วยกระบวนการ Active Learning ๙. พัฒนาระบบบริหารจัดการให้ได้มาตรฐานโดยใชโ้ รงเรยี นเป็นฐาน ๑๐.พัฒนาระบบประกันคุณภาพดว้ ยกระบวนการมสี ่วนร่วม ๑๑.พัฒนาสือ่ นวตั กรรม แหล่งเรียนรู้ และเทคโนโลยีที่ทนั สมัยเพื่อพัฒนาคุณภาพในการจัดการเรียนการ สอน และการบริหารจดั การ ๑๒.พัฒนาอาคารสถานที่ สภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้สะอาด ปลอดภัย ร่มรื่น เอื้อต่อการเรียนรู้ และเออ้ื ต่อการปฏิบตั ิหนา้ ที่ของครแู ละบุคลากร ๑๓.ส่งเสรมิ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งโรงเรียน บ้าน และชุมเพือ่ ร่วมมอื กนั พัฒนาการศกึ ษา 3. ความต้องการและการช่วยเหลือ ๑. บคุ ลากรเฉพาะทางในการจดั การจดั การศึกษา ดา้ นการสอนภาษาองั กฤษ ดนตรี นาฏศิลป์ และ ศิลปะ เพ่ือสนบั สนนุ ความสามารถพิเศษเฉพาะทาง ๒. งบประมาณในการจดั ทำหลังคาคลุมสนามเดก็ เล่น
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า 233 ภาคผนวก
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า 234 คณะทำงาน คณะท่ีปรกึ ษา ๑. นางสาวสมใจ สุวรรณศภุ พนา นายกเทศมนตรีนครภเู กต็ ๒. นางสาวสมจติ ต์ สุทธางกรู รองนายกเทศมนตรนี ครภูเกต็ ๓. นางสาวชตุ ิมา สนทิ เปรม รองปลัดเทศบาล รกั ษาราชการแทน ผ้อู ำนวยการสำนักการศกึ ษา ๔. นายเธียรศกั ดิ์ สันติกยาวกลุ ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พนื้ ฐาน ๕. นายธรากร เหล็กกลา้ คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ๖. นางธนวรรณ อารีย์พงศ์ ผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา ๗. นางจฑุ ามาศ กุลสวรรค์ ศึกษานิเทศชำนาญการพเิ ศษ ๘. นายชีวธนั ย์ เธียรชลรี กั ษ์ ประธานชมรมผู้ปกครองโรงเรยี นอนุบาลเทศบาล นครภูเกต็ ๙. นายสมปอง ตณั ฑศิลป์ ทป่ี รกึ ษาชมรมผู้ปกครองโรงเรยี นอนุบาล เทศบาลนครภูเกต็ ผรู้ บั ผดิ ชอบงานประกนั คณุ ภาพของโรงเรยี น ๑. นางธนวรรณ อารียพ์ งศ์ ตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศกึ ษา ๒. นางสาวปาล์มวรรณ อนิ จนั ทร์ ตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา ๓. นางชฎาพร ทวิสุวรรณ หวั หนา้ ฝ่ายบริหารวชิ าการ ๔. นางสาวขนิษฐา เชาวส์ มชาติ ตำแหนง่ หวั หนา้ งานประกันคุณภาพการศกึ ษา ๕. นางสาวคันธารตั น์ ชว่ ยเมอื ง หัวหน้าฝ่ายแผนงานและงบประมาณ ๖. นางสาวกญั ญารตั น์ ณ ตะกวั่ ทุง่ หัวหน้าฝา่ ยบรหิ ารบคุ คล ๗. นางจรรจุรยี ์ คล้ายเถาว์ หัวหนา้ ฝา่ ยบริหารทว่ั ไป ๘. นางรัตนาวดี หมนื่ ปราบ หัวหนา้ สายชัน้ อนุบาล ๑ ๙. นางสาวแววเดือน ชยั วิเศษ หวั หนา้ สายชนั้ อนุบาล ๒ คณะกรรมการประเมินคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา ๑. นางธนวรรณ อารียพ์ งศ์ ตำแหนง่ ผู้อำนวยการสถานศกึ ษา ๒. นางสาวปาล์มวรรณ อนิ จนั ทร์ ตำแหนง่ รองผูอ้ ำนวยการสถานศกึ ษา ๓. นายชวี ธนั ย์ เธียรชลีรักษ์ ประธานชมรมผู้ปกครอง ๔. นางสาวคันธารตั น์ ช่วยเมอื ง หวั หนา้ ฝา่ ยแผนงานและงบประมาณ ๕. นางพวงศรี แซ่ตนั หวั หนา้ ฝา่ ยบรหิ ารบุคคล ๖. นางชฎาพร ทวสิ ุวรรณ หัวหน้างานวดั และประเมนิ ผล ๗. นางสาวขนิษฐา เชาว์สมชาติ หัวหนา้ งานประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา ๘. นางจรรจุรีย์ คล้ายเถาว์ หัวหน้าฝ่ายบริหารทว่ั ไป ๙. นางสาวจันทนา ทรัพยเ์ จริญวงศ์ หัวหน้างานอาคารสถานท่ี ๑๐.นางสาวแววเดือน ชยั วเิ ศษ หัวหน้างานพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา ๑๑.นางรตั นาวดี หมื่นปราบ หวั หนา้ สายชั้นอนบุ าล ๑ ๑๒.นายพรี ะพล ศรีธรรม หัวหน้างานประชาสมั พนั ธ์ ๑๓.นางสาวกติ ยิ า คงใหม่ หัวหนา้ งานธุรการ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 235 ผ้จู ัดทำเอกสาร อารีย์พงศ์ ตำแหนง่ ผ้อู ำนวยการสถานศกึ ษา ๑. นางธนวรรณ อนิ จันทร์ ตำแหนง่ รองผ้อู ำนวยการสถานศกึ ษา ๒. นางสาวปาลม์ วรรณ ทวสิ ุวรรณ หัวหนา้ งานวดั และประเมินผล ๓. นางชฎาพร ชว่ ยเมือง หวั หนา้ ฝ่ายแผนงานและงบประมาณ ๔. นางสาวคนั ธารตั น์ เชาวส์ มชาติ หัวหน้างานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ๕. นางสาวขนษิ ฐา แซ่ตัน หวั หน้าฝ่ายบรหิ ารบคุ คล ๖. นางพวงศรี คลา้ ยเถาว์ หัวหน้าฝา่ ยบรหิ ารทวั่ ไป ๗. นางจรรจรุ ยี ์ หมน่ื ปราบ หวั หน้าสายชนั้ อนบุ าล ๑ ๘. นางรัตนาวดี ศรธี รรม ฝ่ายเทคโนโลยีและสารสนเทศ ๙. นายพรี ะพล ชัยฤทธพิ งศ์ เลขานุการฝ่ายบรหิ ารวชิ าการ ๑๐.นางสาวรุ้งทพิ ย์
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384