Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 565_manual school1 (1)

565_manual school1 (1)

Published by rada chomchom, 2019-11-25 23:17:05

Description: 565_manual school1 (1)

Search

Read the Text Version

๒๕๐ ๔.๕ การลาอปุ สมบท ครูและบุคลากรทางการศึกษาซ่ึงประสงค์จะลาอุปสมบทในพระพุทธศาสนา ให้เสนอ หรือจัดส่งใบลาต่อผู้บังคับบัญชาตามลาดับ จนถึงผู้มีอานาจพิจารณาหรืออนุญาตก่อนวันอุปสมบท ไมน่ อ้ ยกวา่ ๖๐ วนั ในกรณีมีเหตุพิเศษไม่อาจเสนอหรือจัดส่งใบลาก่อนตามวรรคหน่ึง ให้ชี้แจงเหตุผล ความจาเปน็ ประกอบการลา และให้อยู่ในดลุ พินิจของผมู้ อี านาจทีจ่ ะพจิ ารณาให้ลาหรือไม่ก็ได้ ครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ลาอุปสมบท จะต้อง อุปสมบทภายใน ๑๐ วัน นบั แต่วันเร่ิมลา และจะต้องกลับมารายงานตัวเข้าปฏิบัติราชการภายใน ๕ วัน นับ แต่วันที่ลาสกิ ขา ๔.๖ การลาเข้ารบั การตรวจเลือก หรอื เข้ารับการเตรยี มพล ครูและบุคลากรทางการศึกษาท่ีได้รับหมายเรียกเข้ารับการตรวจเลือก ให้รายงานลาต่อ ผู้บังคับบัญชาก่อนวันเข้ารับการตรวจเลือกไม่น้อยกว่า ๔๘ ช่ัวโมง ส่วนครูและบุคลากรทางการศึกษา ท่ีได้รับหมายเรียกเข้ารับการเตรียมพล ให้รายงานลาต่อผู้บังคับบัญชาภายใน ๔๘ ช่ัวโมง นับแต่เวลา รับหมายเรียกเป็นต้นไป และให้ไปเข้ารับการตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพลตามวันเวลาในหมายเรียกนั้น โดยไมต่ อ้ งรอรบั คาสัง่ อนุญาต และให้ผูบ้ ังคับบญั ชาเสนอรายงานการลาไปตามลาดบั จนถึงหวั หน้าสถานศึกษา ๔.๗ การลาไปปฏิบตั ิงานในองค์กรระหวา่ งประเทศ ครูและบุคลากรทางการศึกษาซ่ึงประสงค์จะลาไปปฏิบัติงานใน องค์กรระหว่างประเทศ ให้เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อผู้บังคับบัญชาตามลาดับ จนถึงรัฐมนตรีเจ้าสังกัดเพื่อพิจารณา โดยถือปฏิบัติ ตามหลกั เกณฑท์ ก่ี าหนด ๔.๘ การลาตดิ ตามคูส่ มรส ครูและบุคลากรทางการศึกษาซึ่งประสงค์ติดตามคู่สมรส ให้เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อ ผู้บังคับบัญชาตามลาดับจนถึงปลัดกระทรวงหรือหัวหน้าสถานศึกษาขึ้นตรงแล้วแต่กรณี เพ่ือพิจารณา อนุญาตให้ลาได้ไมเ่ กนิ สองปี และในกรณีจาเป็นอาจอนุญาตให้ลาได้อีกสองปี แต่เมื่อรวมแล้วต้องไม่เกินสี่ปี ถ้าเกินส่ีปีให้ลาออกจากราชการ สาหรับปลัดกระทรวง หัวหน้าสถานศึกษาขึ้นตรง และครูและบุคลากร ทางการศึกษาในราชบัณฑิตยสถาน ให้เสนอหรือจัดส่งใบลาตอ่ รฐั มนตรีเจ้าสงั กดั ส่วนปลัดกรุงเทพมหานคร ใหเ้ สนอหรือจดั สง่ ใบลาตอ่ ผูว้ ่าราชการกรุงเทพมหานคร เพอ่ื พิจารณาอนญุ าต ๔.๙ การลาไปศกึ ษา ฝกึ อบรม ดูงาน หรือปฏบิ ตั ิงานวจิ ัย ครูและบุคลากรทางการศึกษาซ่ึงประสงค์จะลาไปศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน หรือปฏิบัติการวิจัย ณ ต่างประเทศให้เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อผู้บังคับบัญชาตามลาดับจนถึงปลัดกระทรวงหรือหัวหน้า สถานศกึ ษาข้ึนตรง เพือ่ พิจารณาอนุญาต ๕. การประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ าน การประเมินผลการปฏิบัติงาน นับเป็นเคร่ืองมือหรือองค์ประกอบหนึ่งในกระบวนการ บริหารทรัพยากรมนุษย์ โดยที่องค์ประกอบต่าง ๆ มีความเชื่อมโยงและเป็นอันหน่ึงอันเดียวกัน ท้ังยัง มีความสัมพันธ์สอดคล้องกับแผนงานขององค์กร ซ่ึงการประเมินผลการปฏิบัติงานน้ันมีส่วนสาคัญท่ีจะ ช่วยให้การหาทรัพยากรบุคคลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ข้อมูลท่ีได้จากการประเมินสามารถนาไปใช้ ประโยชน์ตั้งแต่กระบวนการสรรหา การคัดเลือกบุคลากรสาหรับการฝึกอบรมและการพัฒนาบุคลากร คู่มือปฏบิ ตั งิ าน โรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา

๒๕๑ นอกจากนี้ ยังเป็นเคร่ืองมือที่ช่วยให้ผู้บริหารทราบจุดเด่น จุดด้อย ระดับขีดความสามารถ และศักยภาพ ของครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา จากความหมายข้างต้น สรุปได้ว่า การประเมินผลการปฏิบัติงานเป็นกระบวนการประเมินค่า ของบุคคลผู้ปฏิบัติงานในด้านต่าง ๆ ทั้งผลงานและคุณลักษณะอ่ืน ๆ ที่มีคุณค่าต่อการปฏิบัติงานภายใน ระยะเวลาท่ีกาหนดไว้อย่างแน่นอน ภายใต้การสังเกต จดบันทึกและประเมินโดยหัวหน้างาน โดยอยู่บนพ้ืนฐาน ของความเป็นระบบและมีมาตรฐานแบบเดียวกัน มีเกณฑ์การประเมินที่มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติ ให้ความเป็นธรรมโดยทวั่ กนั เคร่อื งมอื การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงาน ๑. ศูนย์การประเมินผล (Assessment Center) ศูนย์การประเมินผล (Assessment Center) เป็นเทคนิคและกระบวนการท่ีใช้ในการประเมิน ศักยภาพของบุคคล เพื่อเข้าสู่สายงานในระดับบริหารโดยรวมเทคนิคการประเมินผลหลาย ๆ อย่าง เข้าด้วยกัน การประเมินผลโดยวิธีนี้ ผู้ประเมินและผู้ถูกประเมินต้องใช้เวลาร่วมกันหลายวัน การใชแ้ บบทดสอบข้ึนอยกู่ ับลกั ษณะขององค์กรงานหรือตาแหนง่ นั้นๆวตั ถปุ ระสงค์เพื่อให้ได้คนท่ีมีศักยภาพ สูงและมีคุณสมบตั ิตรงกับความตอ้ งการขององค์กร ๒. ตวั ช้ีวดั ผลงานหลัก (Key Performance Indecators : KPIs) การชี้วัดผลงานหลัก (Key Performance Indicator - KPIs) KPIs หมายถึง ตัวบ่งช้ีถึงผลงานหลัก ท่ีมีความสาคัญและส่งผลกระทบต่อความสาเร็จของผลงานท่ีต้องการในตาแหน่งงานนั้น ๆ กระบวนการ กาหนดตัวชีว้ ดั ผลงานหลกั (KPIs) ๑) ระบกุ จิ กรรมของตาแหน่งงานเพื่อให้ทราบตาแหน่งนั้น ๆ มีกิจกรรมใดบา้ ง ซึ่งสามารถ พจิ ารณาจากลักษณะงาน ๒) กาหนดผลงานท่ีต้องการ การพิจารณาผลงานท่ีองค์กรต้องการ จากงานหรือกิจกรรมนั้นๆ ว่าคอื อะไร งานหน่ึง ๆ อาจมผี ลงานที่ต้องการมากกว่าหนึ่งอยา่ งก็ได้ ๓) การจดั กล่มุ ของผลงาน มีการจัดกล่มุ ผลงานทีม่ ีลกั ษณะใกล้เคยี งกนั เป็น ๓ – ๗ กล่มุ ๔) การกาหนดชื่อของกลุ่มผลงานเมื่อจัดกลุ่มผลงานแล้ว ข้ันต่อไป คือ การกาหนดชื่อ KPIs สาหรับกลมุ่ ผลงานน้ันๆ โดยใชค้ าหรอื ข้อความท่ีสะท้อนใหเ้ หน็ ถึงผลงานในภาพรวม ๕) การกาหนดตวั ชีว้ ัดยอ่ ย (Objectives) ของ KPIs การกาหนดตวั ช้ีวัดยอ่ ยหลัก มีดงั ตอ่ ไปนี้ คือ - ความเฉพาะเจาะจง - สามารถวดั ได้ - ความเปน็ ไปได้ - เวลา - ตรวจสอบได้ ๖) กาหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติ งานประจาปี การนา KPIs และตัวชี้วัดย่อยไปต้ังเป็น เป้าหมายในการประเมินผลงานประจาปี ทง้ั น้ี KPIs ของแต่ละตาแหน่งงานและตัวชี้วัด ย่อยสามารถเปล่ียนแปลงได้ ข้ึนอยู่กับยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ และเป้าหมายของแต่ละ องค์กร คู่มอื ปฏิบตั ิงาน โรงเรียนพระปริยตั ิธรรม แผนกสามญั ศึกษา

๒๕๒ ๓. ความสามารถ (Competencies) ความสามารถ (Competencies) หมายถึง ความรู้ ความสามารถ พฤติกรรม ทักษะแรงจูงใจ ที่มีความสัมพันธ์และส่งผลกระทบต่อความสาเร็จของเป้าหมายในตาแหน่งน้ันๆ แนวคิดการจัดทา Competencies ๑) การวิจัย (Research-Based Approach) การจัดทา competencies โดยการวิจัย พฤตกิ รรมของผู้ ประสบความสาเร็จมาแล้วเพ่ือค้นหาพฤติกรรมอะไรทาให้เขาประสบ ความสาเรจ็ โดยการสมั ภาษณแ์ บบเจาะลึก ๒) กลยุทธ์ขององค์กร (Strategy-Based Approach) การจัดทา competencies โดยพิจารณาจากกลยุทธ์ขององค์ การในอนาคตว่า competencies ใดสาคัญ และ จาเป็น จากการเก็บข้อมูลโดย สัมภาษณ์ผู้ บริหาร หรือนาข้อมูลพฤติกรรมในอดีต มาทานายอนาคต ๓) คุณค่าขององค์กร (Value-Based Approach) การกาหนด competencies โดยพิจารณาจากคุณค่าขององค์กรผู้บริหารระดับสูงอาจเป็นผู้กาหนดเพียงผู้เดียว วิสัยทัศน์ (vision) ของผู้บริหารนาไปสู่กรอบของภารกิจ (mission) และกลยุทธ์ของ องคก์ รต่อไป ๔. การประเมินผลแบบ ๓๖๐ องศา (๓๖๐ Degree-Feedback) การประเมินผลแบบ ๓๖๐ องศา (๓๖๐-Degree feedback) หมายถึง วิธีการประเมินผล ความสามารถ (competencies) ผู้ปฏิบัติงาน โดยอาศัยมุมมองของบุคคลรอบข้างที่เกี่ยวข้อง เช่น หัวหน้างาน เพ่ือนรว่ มงาน ผู้ใตบ้ งั คบั บัญชาตนเอง ๕. การประเมนิ ผลแบบ ๕๔๐ องศา (๕๔๐ Degree- Feedback) การประเมินผลแบบ ๕๔๐ องศา (๕๔๐-Degree feedback) หมายถึง การประเมินผล การปฏิบัติงานของพนักงานท่ีมีมุมมองของผู้เก่ียวข้อง ได้แก่ ผู้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน ตนเอง ผู้ใต้บังคับบัญชานักเรียน ผู้ปกครอง หรือหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง การประเมินแบบนี้จะได้ข้อมูล ที่ค่อนข้างครอบคลุมเกือบทุกด้านท่ีเก่ียวข้องกับผู้ปฏิบัติงาน โดยเฉพาะมุมมองของนักเรียน ผู้ปกครอง หรือ หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง จะช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานนามาพัฒนาหรือปรับปรุงแก้ไขพฤติกรรม หรือการปฏิบัติงานท่ีดีขึ้น อย่างไรก็ตาม การที่ผู้บริหารทราบว่าครูหรือบุคลากรทางการศึกษามีผลงาน ต ร ง ต า ม ป ริ ม า ณ แ ล ะ คุ ณ ภ า พ ต า ม ม า ต ร ฐ า น ท่ี ก า ห น ด ไ ว้ ห รื อ ไ ม่ ก า ร วั ด ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ว่ า บุ ค ล า ก ร มีความสามารถปฏิบัติงานได้ดีเพียงใดจึงใช้การประเมินบุคคลเป็นเคร่ืองมือในการวิเคราะห์ตรวจสอบ และควบคุมการทางานของผู้ปฏิบัติงานซึ่งกระทาหลังจากที่ครูหรือบุคลากรทางการศึกษาเข้ามาทางาน ในโรงเรียนแล้ว และหากมีการบริหารผลการปฏิบัติงานที่ดีจะช่วยให้เป็นแนวทางในการพัฒนางานของครู หรือบคุ ลากรทางการศึกษา ตอ่ ไปได้ คูม่ ือปฏบิ ตั ิงาน โรงเรียนพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามญั ศึกษา

๒๕๓ ๖. การดาเนนิ การทางวินยั และการลงโทษ วินัยและการดาเนินการทางวนิ ยั วินัย หมายถึง การควบคุมความประพฤติของคนในองค์กรให้เป็นไปตามแบบแผนที่พึงประสงค์ วินัยครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยอนุโลมตามข้อบัญญัติที่กาหนดเป็นข้อห้ามและข้อปฏิบัติตามหมวด ๖ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม ฉบบั ที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๑ โทษทางวนิ ยั มี ๕ สถาน ดงั นี้ วนิ ัยรา้ ยแรง วินยั ไมร่ า้ ยแรง ๔. ปลดออก ๑. ภาคทัณฑ์ ๕. ไลอ่ อก ๒. ตัดเงนิ เดือน ๓. ลดข้ันเงินเดือน - การว่ากล่าวตักเตือนหรือการทาทัณฑ์บน ไม่ถือว่าเป็นโทษทางวินัย ใช้ในกรณีท่ีเป็นความผิด เลก็ นอ้ ยและมเี หตุอนั ควรงดโทษ - การว่ากล่าวตกั เตือนไมต่ ้องทาเป็นหนงั สือ แต่การทาทณั ฑบ์ นตอ้ งทาเป็นหนังสอื (มาตรา ๑๐๐ วรรคสอง) - โทษภาคทณั ฑ์ ใช้ลงโทษในกรณีที่เป็นความผิดเล็กน้อย หรือมีเหตุอันควรลดหย่อน โทษภาคทัณฑ์ไม่ ตอ้ งห้ามการเล่ือนเงินเดือน - โทษตัดเงนิ เดอื นและลดขนั้ เงินเดือน ใช้ลงโทษในความผดิ ท่ไี มถ่ ึงกับเป็นความผิดร้ายแรง และไม่ใช่ กรณที เ่ี ปน็ ความผดิ เลก็ นอ้ ย - โทษปลดออกและไล่ออก ใช้ลงโทษในกรณีที่เป็นความผิดวินัยร้ายแรงเท่านั้น การลดโทษความผิด วินยั รา้ ยแรง ห้ามลดโทษต่ากวา่ ปลดออก - ผู้ถูกลงโทษปลดออกมีสิทธิได้รับบาเหน็จบานาญเสมือนลาออกการสั่งให้ออก การเป็นครูและ บคุ ลากรทางการศกึ ษาในโรงเรียนไม่ใช่โทษทางวินัย ๖.๑ วินัยไมร่ ้ายแรง วินยั ไม่รา้ ยแรง ไดแ้ ก่ ๑. ไม่สนับสนุนการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ตามรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทยดว้ ยความบริสทุ ธิ์ใจ ๒. ไม่ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซ่ือสัตย์สุจริต เสมอภาค และเที่ยงธรรม ต้องมีความวิริยะ อุตสาหะ ขยันหม่ันเพียร ดูแลเอาใจใส่ รักษาประโยชน์ของทางโรงเรียน และต้องปฏิบัติตนตามมาตรฐานและ จรรยาบรรณวิชาชีพ ๓. อาศัยหรือยอมให้ผู้อ่ืนอาศัยอานาจและหน้าท่ีราชการของตนไม่ว่าจะโดยทางตรง หรือทางอ้อม หาประโยชน์ใหแ้ ก่ตนเองและผู้อ่นื ๔. ไม่ปฏิบัติหน้าท่ีให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ แบบแผนของทางโรงเรียนและหน่วยงานฯ การศึกษา มติ ครม. หรอื นโยบายของรัฐบาล คูม่ ือปฏบิ ตั ิงาน โรงเรียนพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามัญศกึ ษา

๒๕๔ ๕. ไม่ปฏิบัติตามคาส่ังของผู้บังคับบัญชาซ่ึงสั่งในหน้าท่ีราชการโดยชอบด้วยกฎหมายและระเบียบ ของทางราชการ แต่ถ้าเห็นว่าการปฏิบัติตามคาสั่งน้ันจะทาให้เสียหายแก่ราชการ หรือจะเป็นการไม่รักษา ประโยชน์ของทางราชการ จะเสนอความเห็นเป็นหนังสือภายใน ๗ วัน เพื่อให้ผู้บังคับบัญชาทบทวนคาส่ัง และเม่ือเสนอความเหน็ แลว้ ถ้าผู้บังคับบัญชายืนยันเป็นหนังสือให้ปฏิบัติตามคาสั่งเดิม ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา ต้องปฏิบตั ติ าม ๖. ไม่ตรงต่อเวลา ไม่อุทิศเวลาของตนให้แก่ทางราชการและผู้เรียน ละท้ิงหรือทอดทิ้งหน้าท่ี ราชการโดยไมม่ เี หตุผลอันสมควร ๗. ไม่ประพฤติตนเป็นแบบอย่างท่ีดีแก่ผู้เรียน ชุมชน สังคม ไม่สุภาพเรียบร้อย และไม่รักษา ความสามัคคี ไม่ช่วยเหลือเก้ือกูลต่อผู้เรียนและครูและบุคลากรทางการศึกษาด้วยกัน หรือผู้ร่วมงาน ไม่ตอ้ นรบั หรือให้ความสะดวก ใหค้ วามเป็นธรรมตอ่ ผ้เู รียนและประชาชนผ้มู าติดตอ่ ราชการ ๘. กล่ันแกลง้ กล่าวหา หรือรอ้ งเรยี นผู้อืน่ โดยปราศจากความเป็นจรงิ ๙. กระทาการหรือยอมให้ผู้อ่ืนกระทาการหาประโยชน์อันอาจทาให้เส่ือมเสียความเที่ยงธรรมหรือ เสอื่ มเสยี เกยี รติศกั ดิใ์ นตาแหนง่ หนา้ ท่รี าชการของตน ๑๐. เป็นกรรมการผู้จัดการ หรือผู้จัดการ หรือดารงตาแหน่งอื่นใดที่มีลักษณะงานคล้ายคลึงกันน้ัน ในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท ๑๑. ไม่วางตนเป็นกลางทางการเมืองในการปฏิบัติหน้าท่ี และในการปฏิบัติการอ่ืนท่ีเกี่ยวข้อง กับประชาชน อาศัยอานาจและหน้าที่ราชการของตนแสดงการฝักใฝ่ส่งเสริม เกื้อกูล สนับสนุนบุคคล กลุ่มบคุ คลหรอื พรรคการเมอื งใด ๑๒. กระทาการอนั ใดอนั ไดช้ ือ่ ว่าเป็นผู้ประพฤติช่ัว ๑๓. ไม่เสริมสร้างและพัฒนาให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชามีวินัย ไม่ป้องกันมิให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชากระทา ผดิ วินยั หรือละเลย หรอื มีพฤติกรรมปกปอ้ งช่วยเหลือมิให้ผอู้ ยใู่ ตบ้ งั คับบัญชาถูกลงโทษทางวินัยหรือปฏิบัติ หนา้ ที่ดังกลา่ วโดยไมส่ ุจริต ๖๒ วนิ ยั ร้ายแรง วินยั ร้ายแรง ไดแ้ ก่ ๑. ทุจรติ ต่อหน้าที่ ๒. จงใจไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ แบบแผนของทางราชการและหน่วยงานการศึกษา มติ ครม. หรือนโยบายของรัฐบาล ประมาทเลินเล่อหรือขาดการเอาใจใส่ระมัดระวังรักษาประโยชน์ของทางราชการ อันเปน็ เหตุใหเ้ กิดความเสียหายแก่ราชการอย่างรา้ ยแรง ๓. ขัดคาส่ังหรือหลีกเล่ียงไม่ปฏิบัติตามคาส่ังของผู้บังคับบัญชาซ่ึงสั่งในหน้าท่ีราชการ โดยชอบ ดว้ ยกฎหมายและระเบียบของทางราชการ อันเปน็ เหตุใหเ้ สียหายแกร่ าชการอย่างร้ายแรง ๔. ละทิง้ หน้าท่หี รอื ทอดท้งิ หน้าท่รี าชการ โดยไมม่ เี หตุผลอนั สมควร เปน็ เหตุให้เสียหายแก่ราชการ อยา่ งร้ายแรง ๕. ละทงิ้ หน้าทร่ี าชการติดต่อในคราวเดียวกนั เป็นเวลาเกินกว่า ๑๕ วัน โดยไมม่ ีเหตุผลอนั สมควร ๖. กลนั่ แกลง้ ดหู ม่ิน เหยยี ดหยาม กดข่ี หรือข่มเหงผู้เรียนหรอื ประชาชนผมู้ าตดิ ตอ่ ราชการอย่างรา้ ยแรง ๗. กลั่นแกล้ง กล่าวหา หรือร้องเรียนผู้อ่ืนโดยปราศจากความเป็นจริง เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับความ เสียหายอย่างร้ายแรง คมู่ ือปฏิบตั งิ าน โรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา

๒๕๕ ๘. กระทาการหรือยอมให้ผู้อ่ืนกระทาการหาประโยชน์อันอาจทาให้เสื่อมเสีย ความเท่ียงธรรม หรือเสื่อมเสียเกียรติศักด์ิในตาแหน่งหน้าท่ีราชการ โดยมุ่งหมายจะให้เป็นการซ้ือขาย หรือให้ได้รับแต่งตั้ง ใหด้ ารงตาแหน่งหรอื วทิ ยฐานะใดโดยไมช่ อบด้วยกฎหมาย หรือเป็นการกระทาอันมีลักษณะเป็นการให้หรือ ไดม้ าซึง่ ทรัพย์สินหรือสิทธิประโยชน์อื่นเพอ่ื ใหต้ นเองหรือผู้อนื่ ไดร้ บั การบรรจุและแต่งตัง้ โดยมิชอบ ๙. คัดลอกหรือลอกเลียนผลงานทางวิชาการของผู้อื่นโดยมิชอบหรือนาเอาผลงานทางวิชาการ ของผอู้ ่นื หรอื จา้ ง วาน ใช้ผู้อน่ื ทาผลงานทางวชิ าการ เพอื่ ไปใช้ในการเสนอขอปรับปรุงการกาหนดตาแหน่ง การเลือ่ นตาแหนง่ การเล่อื นวิทยฐานะ หรอื การใหไ้ ด้รับเงนิ เดือนในระดับทส่ี งู ขึ้น ๑๐. ร่วมดาเนินการคัดลอกหรือลอกเลียนผลงานของผู้อ่ืนโดยมิชอบ หรือรับจัดทาผลงานทาง วิชาการ ไม่ว่าจะมีค่าตอบแทนหรือไม่ เพื่อให้ผู้อื่นนาผลงานนั้นไปใช้ประโยชน์เพื่อปรับปรุงการกาหนด ตาแหน่ง เลอ่ื นตาแหนง่ เล่อื นวิทยฐานะ หรือให้ไดร้ ับเงินเดอื นในอนั ดับท่สี ูงข้นึ ๑๑. เข้าไปเกี่ยวข้องกับการดาเนินการใด ๆ อันมีลักษณะเป็นการทุจริตโดยการซื้อสิทธิ หรือ ขายเสียงในการเลือกตงั้ สมาชิกรัฐสภา สมาชกิ สภาทอ้ งถิ่น ผู้บริหารท้องถ่ิน หรือการเลือกตั้งอ่ืนที่มีลักษณะ เป็นการส่งเสริมการปกครองในระบอบประชาธิปไตย รวมท้ังการส่งเสริม สนับสนุน หรือชักจูงให้ผู้อื่น กระทาการในลักษณะเดยี วกัน ๑๒. กระทาความผิดอาญาจนได้รับโทษจาคุก หรือโทษท่ีหนักกว่าจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุด ใหจ้ าคกุ หรือใหร้ ับโทษที่หนักกว่าจาคกุ เวน้ แตเ่ ป็นโทษสาหรับความผิดที่ได้กระทาโดยประมาทหรือลหุโทษ หรอื กระทาการอืน่ ใดอันได้ชอื่ วา่ เปน็ ผปู้ ระพฤตชิ ่วั อยา่ งรา้ ยแรง ๑๓. เสพยาเสพติด หรอื สนับสนนุ ใหผ้ ูอ้ ่นื เสพยาเสพตดิ ๑๔. เล่นการพนันเป็นอาจณิ ๑๕. กระทาการล่วงละเมิดทางเพศต่อผู้เรียนหรือนักศึกษา ไม่ว่าจะอยู่ในความดูแลรับผิดชอบ ของตนหรือไม่ ๖.๓ การดาเนนิ การทางวนิ ยั การดาเนินการทางวินัย (อนุโลมตาม ก.ค.ศ. ว่าด้วยกรณีความผิดที่ปรากฏชัดแจ้ง พ.ศ. ๒๕๔๙) หมายถึง กระบวนการและข้ันตอนการดาเนินการในการออกคาส่ังลงโทษซึ่งเป็นขั้นตอนที่มีลาดับก่อนหลัง ต่อเนื่องกัน อันได้แก่ การตั้งเร่ืองกล่าวหา การสืบสวนสอบสวนการพิจารณาความผิดและกาหนดโทษ และการสงั่ ลงโทษ รวมท้ังการดาเนนิ การต่าง ๆ ในระหว่างการสอบสวนพิจารณา เช่น การส่ังพัก การส่ังให้ ออกไวก้ ่อน เพอื่ รอฟงั ผลการสอบสวนพจิ ารณาหลกั การดาเนนิ การทางวินัย ๑. กรณีท่ีผู้บังคับบัญชาพบว่าผู้ใต้บังคับบัญชาผู้ใดกระทาผิดวินัยโดยมีพยานหลักฐานในเบื้องต้น อยแู่ ลว้ ผบู้ ังคบั บัญชากส็ ามารถดาเนนิ การทางวินัยไดท้ ันที ๒. กรณที ่ีมกี ารรอ้ งเรยี นด้วยวาจาใหจ้ ดปากคา ให้ผู้ร้องเรียนลงลายมือชื่อ และวัน เดือน ปี พร้อม รวบรวมพยานหลักฐานอ่ืน ๆ ประกอบการพิจารณาแล้วดาเนินการให้มีการสืบสวนข้อเท็จจริง โดยต้ังกรรมการ สบื สวนหรอื สง่ั ให้บคุ คลใดไปสบื สวน หากเห็นวา่ มีมูล ก็ตงั้ คณะกรรมการสอบสวนตอ่ ไป ๓. กรณีมีการร้องเรียนเป็นหนังสือ ผู้บังคับบัญชาต้องสืบสวนในเบ้ืองต้นก่อน หากเห็นว่าไม่มีมูล ก็สงั่ ยตุ ิเรื่อง ถ้าเหน็ ว่ามีมูลกต็ ง้ั คณะกรรมการสอบสวนตอ่ ไป กรณีหนังสือร้องเรียนไม่ลงลายมือช่ือและท่ีอยู่ ของผู้ร้องเรียนหรือไม่ปรากฏพยานหลักฐานท่ีแน่นอนจะเข้าลักษณะของบัตรสนเท่ห์ มติ ครม. ห้ามมิให้ รับฟังเพราะจะทาใหค้ รูและบุคลากรทางการศึกษาเสียขวัญในการปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ คมู่ อื ปฏบิ ัติงาน โรงเรียนพระปริยัตธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา

๒๕๖ ๖.๔ ขนั้ ตอนการดาเนินการทางวินยั ๑. การตัง้ เรือ่ งกล่าวหา เป็นการต้ังเร่อื งดาเนินการทางวินัยแก่ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา เมื่อปรากฏกรณีมีมูลท่ีควร กล่าวหาว่ากระทาผิดวินัย มาตรา ๙๘ กาหนดให้ผู้บังคับบัญชาแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวน เพื่อดาเนินการ สอบสวนใหไ้ ด้ความจรงิ และความยตุ ิธรรมโดยไม่ชักชา้ ผู้ต้ังเร่ืองกล่าวหาคือผู้บังคับบัญชาของผู้ถูกกล่าวหา ความผิดวินัยไม่ร้ายแรง ผู้บังคับบัญชาช้ันต้น คือ ผู้อานวยการสถานศึกษา สามารถแต่งตั้งกรรมการ สอบสวนครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนทุกคน ความผิดวินัยร้ายแรง ผู้บังคับบัญชาผู้มีอานาจ บรรจแุ ละแตง่ ต้ังตาม มาตรา ๕๓ เปน็ ผู้มอี านาจบรรจแุ ละแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน ๒. การแจ้งขอ้ กลา่ วหา ในการสอบสวนจะต้องแจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหา เท่าที่มีให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ โดยระบุหรือไม่ระบุช่ือพยานก็ได้ เพื่อให้ผู้ถูกกล่าวหามีโอกาสช้ีแจงและ นาสบื แก้ข้อกลา่ วหา ๓. การสอบสวน การรวบรวมพยานหลักฐานและการดาเนินการท้ังหลายอ่ืนเพื่อจะทราบข้อเท็จจริงและ พฤติการณ์ต่าง ๆ หรือพิสูจน์เกี่ยวกับเรื่องท่ีกล่าวหาเพ่ือให้ได้ความจริงและยุติธรรม และเพื่อพิจารณาว่า ผู้ถูกกล่าวหาไดก้ ระทาผิดวนิ ยั จรงิ หรือไม่ ๓.๑ การกระทาผิดวินยั อย่างไม่รา้ ยแรง ทเี่ ปน็ กรณีความผิดท่ีปรากฏอย่างชดั แจ้ง ไดแ้ ก่ ๑) กระทาความผิดอาญาจนต้องคาพิพากษาถึงที่สุดว่าผู้น้ันกระทาผิดและผู้บังคับบัญชา เหน็ วา่ ขอ้ เท็จจรงิ ตามคาพิพากษาประจักษช์ ัด ๒) กระทาผดิ วนิ ยั ไมร่ ้ายแรงและไดร้ ับสารภาพเป็นหนงั สอื ต่อผูบ้ ังคับบัญชาหรือให้ถ้อยคา รับสารภาพต่อผู้มีหน้าที่สืบสวนหรือคณะกรรมการสอบสวน โดยมีการบันทึกถ้อยคา เปน็ หนังสือ ๓.๒ การกระทาผิดวนิ ัยอย่างรา้ ยแรงท่เี ปน็ กรณคี วามผิดท่ีปรากฏชดั แจง้ ไดแ้ ก่ ๑) กระทาความผิดอาญาจนได้รับโทษจาคุกหรือโทษท่ีหนักกว่าจาคุกโดยคาพิพากษาถึง ที่สุดใหจ้ าคุกหรือลงโทษทหี่ นกั กวา่ จาคุก ๒) ละทิ้งหน้าที่ราชการติดต่อในคราวเดียวกันเป็นเวลาเกินกว่า ๑๕ วัน ผู้บังคับบัญชา สืบสวนแล้วเห็นวา่ ไม่มเี หตุผลสมควร หรือมีพฤติการณ์อันแสดงถึงความจงใจไม่ปฏิบัติ ตามระเบียบของทางราชการ ๓) กระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรงและได้รับสารภาพเป็นหนังสือต่อผู้บังคับบัญชา หรือ ใหถ้ ้อยคารับสารภาพต่อผู้มีหน้าที่สืบสวนหรือคณะกรรมการสอบสวนโดยมีการบันทึก ถอ้ ยคาเป็นหนังสอื คูม่ อื ปฏิบัติงาน โรงเรียนพระปริยัตธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา

๒๕๗ ๗. การอทุ ธรณ์และการร้องทกุ ข์ ๗.๑ การอทุ ธรณ์ โดยอนุโลมตามพระราชบัญญตั ริ ะเบยี บขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ และ อาศยั อานาจตามประกาศคณะกรรมการการศึกษาพระปริยตั ิธรรม ว่าด้วยพนักงานศาสนการด้านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๕ เงอ่ื นไขในการอทุ ธรณ์ ผู้อุทธรณ์ ต้องเป็นผู้ที่ถูกลงโทษทางวินัยและไม่พอใจผลของคาสั่งลงโทษ ผู้อุทธรณ์ต้องอุทธรณ์ เพือ่ ตนเองเท่าน้ัน ไม่อาจอุทธรณ์แทนผอู้ ืน่ ได้ ระยะเวลาอุทธรณ์ ภายใน ๓๐ วนั นบั แต่วนั ท่ไี ด้รบั แจ้งคาส่งั ลงโทษ ต้องทาเปน็ หนังสือ การอุทธรณ์โทษวนิ ยั ไม่ร้ายแรง การอุทธรณ์คาส่ังโทษภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน หรือลดข้ันเงินเดือนท่ีผู้บังคับบัญชาส่ังด้วยอานาจ ของตนเอง ต้องอทุ ธรณ์ตอ่ ประธานกลมุ่ โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามญั ศึกษา ทโ่ี รงเรยี นตง้ั อยู่ การอทุ ธรณโ์ ทษวินยั รา้ ยแรง การอุทธรณ์คาส่ังลงโทษปลดออกหรือไล่ออกจากการปฏิบัติงาน ต้องอุทธรณ์ต่อ ประธานกลุ่ม โรงเรยี นพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา ทั้งน้กี ารร้องทุกข์คาสั่งให้ออกจากการปฏิบัติงาน หรือคาส่ังพัก ราชการหรือให้ออกจากการปฏิบัติงาน ไว้ก่อน ก็ต้องร้องทุกข์ต่อ ประธานกลุ่มโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศกึ ษา เช่นเดียวกัน ๗.๒ การร้องทุกข์ การรอ้ งทกุ ข์ หมายถงึ ผู้ถกู กระทบสิทธิหรือไม่ได้รับความเป็นธรรมจากคาส่ังของฝ่ายบริหาร หรือ คับข้องใจจากการกระทาของผู้บังคับบัญชา ใช้สิทธิร้องทุกข์ขอความเป็นธรรม ขอให้เพิกถอนคาส่ัง หรอื ทบทวนการกระทาของฝ่ายบริหารหรือของผบู้ ังคบั บญั ชา ภายใน ๓๐ วัน ผมู้ ีสทิ ธริ ้องทกุ ข์ ได้แก่ ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาครูและบุคลากรทางการศึกษา เหตุที่จะรอ้ งทกุ ข์ ๑) ถูกสง่ั ใหอ้ อกจากตาแหน่ง ๒) ถกู สั่งพักงาน ๓) ถูกส่งั ให้ออกจากตาแหน่งไวก้ อ่ น ๔) ไมไ่ ดร้ ับความเป็นธรรม หรือคบั ขอ้ งใจจากการกระทาของผู้บังคบั บัญชา ๕) ถูกต้ังกรรมการสอบสวน ๘. การออกจากการปฏบิ ัติงาน (การปฏิบัตหิ น้าท่ขี องครูและบคุ ลากรทางการศึกษา) ครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ออกจากการ ปฏิบตั ิหน้าที่หรือสิ้นสดุ การปฏบิ ัตหิ นา้ ทเี่ มือ่ ๑. มรณภาพ/ตาย ๒. พน้ จากการปฏิบตั หิ นา้ ทีแ่ ละไดร้ บั อนญุ าตใหล้ าออก ๓. ลาออกจากการปฏิบัติหนา้ ทแี่ ละไดร้ บั อนุญาตใหล้ าออก ๔. ถกู ส่งั ใหอ้ อก ๕. ถูกสงั่ ลงโทษปลดออกหรอื ไล่ออก คูม่ อื ปฏบิ ัตงิ าน โรงเรียนพระปริยตั ิธรรม แผนกสามญั ศึกษา

๒๕๘ ๖. ถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ เว้นแต่ได้รับแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งอื่นท่ีไม่ต้องมี ใบอนุญาตประกอบวชิ าชพี ๙. การจัดระบบและการจัดทาทะเบยี นประวัติ ทะเบียนประวัติเป็นเอกสารท่ีอ้างอิง เกี่ยวข้อง หรือใช้ยืนยันข้อมูลในบัตรประวัติท้ังหมด ท่ีมคี วามสาคญั ตอ้ งใชเ้ อกสารของทางราชการประกอบ เชน่ สาเนาหลกั ฐานการศกึ ษา สาเนาบัตรประจาตัว ประชาชน สาเนาทะเบียนบา้ น สาเนาหนังสือสทุ ธิ หนงั สือส่ังการตา่ ง ๆ การจัดทาทะเบียนประวัติ จะทาให้ มีฐานข้อมูลครูและบุคลากรทางการศึกษาที่เป็นปัจจุบัน (Real Time) และเป็นฐานข้อมูลเดียวกัน ท้ังระบบ ซ่ึงจะทาให้การทางานไม่ซ้าซ้อน มีความถูกต้องรวดเร็ว สามารถใช้ข้อมูลในการบริหารงานบุคคล ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ เช่น การวางแผนอัตรากาลงั คน การพัฒนาบุคลากร เปน็ ตน้ ๙.๑ ทะเบียนประวตั ิ ทะเบยี นประวตั ิมขี ้อมลู สาคญั ๒ สว่ น ไดแ้ ก่ ๑. ข้อมูลส่วนตัว ชื่อสกุล วันเดือนปีเกิด คู่สมรส บิดามารดา ประวัติการศึกษา ตั้งแต่ ช้ันประถมศกึ ษาจนถึงช้ันสูงสุด การฝึกอบรม การดูงาน สถานท่ีเกิด สถานที่อยู่ ภาพถ่ายและลายมือชื่อใต้ ภาพถ่าย ๒. ขอ้ มูลการปฏบิ ัติงาน โรงเรียนทสี่ ังกดั ช่อื ตาแหน่ง เลขท่ใี บแตง่ ตั้ง บันทกึ การเปลย่ี นแปลงต่างๆ ความผิดทางวินัย อัตราเงินเดือน ๙.๒ การบนั ทกึ รายการในทะเบยี นประวัติ การบนั ทึกรายการในทะเบยี นประวตั ิ มี ๒ สว่ น ได้แก่ สวนท่ี ๑ เจ้าของประวัติ เป็นผู้เขียนบันทึก ประกอบด้วย ตาแหน่งช่ือ – สกุล วัน เดือน ปีเกิด วนั เกษียณอายุ สถานท่ี เกิด ท่อี ยปู่ ัจจบุ ัน ช่อื คสู่ มรส ชื่อบดิ ามารดา ประวัติการศกึ ษา การฝึกและการอบรม ส่วนท่ี ๒ เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบ เป็นผู้เขียนบันทึก ประกอบด้วย ช่ือ หน่วยงานต้นสังกัด อาเภอ จังหวัด ตาแหน่ง เลขที่ตาแหน่ง วันเริ่มปฏิบัติงาน บันทึกการเปลี่ยนแปลง ความผิดทางวินัย ตาแหน่ง และอตั ราเงินเดอื น การบันทึกข้อมูลลงในทะเบียนประวัติ ข้อมูลท่ีบันทึกจะต้องมีความสาคัญ เพราะจะเป็น เอกสารอา้ งองิ ของการปฏบิ ัตงิ านต่อไปในอนาคต จึงมีความสาคัญมาก ดังน้ัน ต้องบันทึกตามความเป็นจริง ตามหลักฐานทม่ี ีอยู่จริง ตอ้ งเขียนบนั ทึกด้วยปากกาสีดาหรืปากกาสนี ้าเงนิ ลายมือตวั บรรจงชัดเจนและอ่านง่าย ข้อควรระวังในการกรอกทะเบยี นประวัติ ๑. ก่อนเร่ิมทางานวันแรกโรงเรียนควรให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาทาทะเบียนประวัติ ใหเ้ รียบร้อย โดยโรงเรียนตอ้ งจดั ทาแบบฟอรม์ ใหเ้ รียบรอ้ ย ๒. การเขียนตอ้ งบรรจง ชัดเจน สวยงามและอา่ นงา่ ย ๓. วนั เดอื น ปี ใหเ้ ขยี นเต็ม อยา่ ย่อ และให้ใช้ ปี พ.ศ. เท่านน้ั ๑๐. การสง่ เสรมิ และยกย่องเชิดชูเกยี รติ ครูและบุคลากรทางการศึกษา หมายถึง ครู ผู้บริหารสถานศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาอ่ืน ของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ที่เป็นแบบอย่างที่ดีในด้านการปฏิบัติตน และด้าน การปฏบิ ตั ิงานและพัฒนาคณุ ภาพชีวิตของตนให้ดีขึน้ เปน็ ทป่ี ระจักษต์ อ่ สาธารณชน ประกอบดว้ ย ๓ รางวัล ดงั นี้ ค่มู ือปฏิบัติงาน โรงเรียนพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา

๒๕๙ ๑๐.๑ ครุ สุ ดุดี คุรุสภา ในฐานะสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความมุ่งม่ันท่ีจะพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพ ทางการศึกษาให้มีเกียรติและศักด์ิศรีเป็นท่ียอมรับของสังคม โดยได้กาหนดจรรยาบรรณของวิชาชีพ เป็นเกณฑ์ในการปฏิบัติตนของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา และเพ่ือเป็นการยกย่องผู้ประกอบวิชาชีพ ดังกล่าวท่ีต้ังใจปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ จนสามารถเป็นแบบอย่างและเป็นที่เคารพยกย่อง อย่างสูงของของศิษย์และบุคคลทั่วไป สมกับเป็นปูชนียบุคคล และมีความเสียสละ อุทิศตนเพ่ือประโยชน์ แก่วิชาชีพ ตลอดระยะเวลาของการปฏิบัติงาน ให้มีขวัญกาลังใจท่ีจะปฏิบัติงานในหน้าที่ให้เกิดประโยชน์ แก่ศิษย์ยิ่ง ๆ ข้ึนไป จึงกาหนดวิธีการคัดเลือกผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาเพื่อรับเครื่องหมายเชิดชู เกยี รตคิ ุรสุ ดดุ ี หลกั เกณฑก์ ารพิจารณาใหเ้ ป็นผู้มสี ทิ ธไิ ดร้ ับเครอ่ื งหมายเชดิ ชูเกียรติ ๑) ประพฤติปฏบิ ตั ติ นตามจรรยาบรรณของวชิ าชพี ครบ ๙ ขอ้ อยา่ งเคร่งครดั ๒) ประพฤตปิ ฏบิ ัตติ นตามจรรยาบรรณของวชิ าชพี เดน่ ชดั เป็นพิเศษ (๑ ใน ๙ ข้อ) ๓) ไม่เคยกระทาความเสอ่ื มเสียใด ๆ อันเป็นการบกพร่องในศลี ธรรมอนั ดี ๔) ไม่มีกรณีถูกดาเนินการทางวินัย หรือเป็นผู้ไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยแม้จะได้รับการล้างมลทิน ตามพระราชบัญญัติล้างมลทินแลว้ ๕) ผ่านการประเมินตามหลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกเพ่ือรับเคร่ืองหมายเชิดชูเกียรติ คุรุสดุดี ทีค่ รุ ุสภากาหนด ๖) ไมเ่ คยไดร้ ับเครื่องหมายเชดิ ชเู กยี รตคิ รุ สุ ดุดี มาก่อน ๑๐.๒ รางวัลหน่งึ แสนครูดี คุรุสภา ในฐานะสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา มีหน้าท่ีส่งเสริม สนับสนุน ยกย่อง และผดุงเกียรติ ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตามพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๙ (๕) (๖) ดังน้ัน คุรุสภาจึงกาหนดให้มีการคัดเลือกผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา เพื่อรับรางวัล หน่ึงแสนครูดี ประจาปี พ.ศ. ๒๕๕๖ เพ่อื เปน็ การสร้างแรงจูงใจให้ผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา ทมี่ คี วามม่งุ ม่ัน ตั้งใจประกอบวิชาชีพด้วยการครองตน ครองคน ครองงาน จนเป็นแบบอย่างของผู้มีจิตวิญญาณครู รวมท้ัง เพื่อกระตุ้นให้ผู้ประกอบวิชาชีพที่ยังไม่ได้รับการยกย่อง ได้เร่งพัฒนางานและพัฒนาตนให้เหมาะสมกับ การเปน็ ครดู ี ซ่ึงจะสง่ ผลตอ่ การพัฒนาคุณภาพเยาวชนและการศึกษาของชาตติ ่อไป คณุ สมบตั ิ คุณสมบัตขิ องผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาที่ไดร้ บั การคดั เลือก มีดงั น้ี ๑. ปัจจุบัน เป็นผู้มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตามพระราชบัญญัติสภาครูและ บุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๖ ๒. เป็นผดู้ ารงตาแหน่งผู้ประกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา ดังนี้ ๒.๑ ผู้ประกอบวิชาชีพครู ต้องมีระยะเวลาการปฏิบัติงานในหน้าที่ตามตาแหน่งต่อเนื่องกัน ไม่นอ้ ยกว่า ๕ ปี นับถึงวนั ออกประกาศ ๒.๒ ผูป้ ระกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา หรือ ศึกษานิเทศก์ ต้องมีระยะเวลา การปฏิบตั งิ านในหน้าท่ีที่ดารงตาแหนง่ แล้วแตก่ รณี ตอ่ เนื่องกนั ไม่นอ้ ยกวา่ ๒ ปี นับถึงวันออกประกาศ ๓. ไม่เคยเปน็ ผไู้ ด้รับรางวลั หนง่ึ แสนครดู ี มากอ่ น ๔. ไม่เคยเป็นผู้ประพฤตบิ กพรอ่ งในศีลธรรมอันดี คมู่ ือปฏิบตั ิงาน โรงเรียนพระปริยัตธิ รรม แผนกสามัญศึกษา

๒๖๐ ๕. ไม่เป็นผู้ประพฤติตนเกี่ยวข้องกับอบายมุข หรือสิ่งเสพติดจนขาดสติ หรือแสดงกิริยาไม่สุภาพ จนเปน็ ที่รังเกียจของเพอ่ื นร่วมวิชาชีพ ชมุ ชน หรือสังคม ทั้งดา้ นส่วนตวั และครอบครัว ๖. เป็นผู้มีความสามารถในการครองงาน โดยมผี บู้ งั คับบญั ชารบั รองตามแบบประเมิน ท่คี รุ สุ ภากาหนด เกณฑ์การคดั เลือก การคดั เลือกผู้ประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ประกอบดว้ ยเกณฑ์ ๓ ดา้ น ดังนี้ ๑. ด้านการครองตน (วนิ ัย คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวิชาชพี ) - มีความประพฤตเิ ป็นแบบอยา่ งท่ีดีท้งั ทางกาย วาจา ใจ - มวี นิ ัยในตนเอง สารวม ระวังความประพฤติ ละเว้นจากอบายมขุ - มีความขยันหมั่นเพยี ร อตุ สาหะ - มีความซื่อสตั ย์สุจรติ และจริงใจในการปฏิบัติงาน - เป็นผพู้ ฒั นาตนเอง ทันต่อเหตกุ ารณ์ วทิ ยาการ ตามสภาพเศรษฐกจิ และสงั คมอยู่เสมอ ๒. ด้านการครองคน (คุณลักษณะทด่ี ีตอ่ ผูอ้ น่ื และสังคม) - รกั เมตตา และเอาใจใสต่ อ่ ศษิ ย์ ผ้ใู ต้บังคับบญั ชา เพ่อื นรว่ มงาน และผู้บังคบั บญั ชา - วางตนเป็นกลาง ใจกวา้ งยอมรบั ฟงั ความคดิ เห็นของผู้รว่ มงาน โดยเหน็ ประโยชน์ ของส่วนรวมเปน็ สาคัญ - รับผดิ ชอบต่อวชิ าชีพ และเปน็ สมาชิกทด่ี ีต่อองค์กรวิชาชีพ - มีลกั ษณะความเป็นผู้นาในการอนรุ ักษ์ พัฒนาเศรษฐกจิ สงั คม ศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรม ภมู ิปัญญา สิ่งแวดลอ้ ม ๓. ดา้ นการครองงาน (การปฏิบตั งิ าน) - มีความสามารถทางวชิ าการ การมีความรู้ ความเข้าใจในสิง่ ทปี่ ฏิบัตอิ ย่างแทจ้ รงิ - ใฝ่เรียนรู้ ศึกษาค้นคว้าและติดตามความก้าวหน้าของข้อมูลข่าวสาร และข้อมูล ทางวิชาการนามาพัฒนางานและพัฒนาตนอย่างสมา่ เสมอ - กระตือรอื ร้นหาสาเหตขุ องปญั หาในงาน และหาแนวทางแกไ้ ขไดด้ ีอย่เู สมอ - วิเคราะห์ พัฒนา และปรบั ปรงุ งานให้มีประสทิ ธิภาพให้เป็นท่ยี อมรับ - มีความคิดรเิ ร่มิ สร้างสรรคน์ วัตกรรม สือ่ เพื่อเสริมสร้างความเขม้ แขง็ ในการปฏิบตั งิ าน ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ๑๐.๓ ผทู้ าคณุ ประโยชนท์ างด้านการศกึ ษาของสานักงานคณะกรรมการ (สกสค.) สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) กาหนดให้มีการยกย่องเชิดชูเกียรติครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อสรรหาและคัดเลือกครูและบุคลากร ทางการศึกษาทุกสังกัดที่เป็นผู้ทาคุณประโยชน์ทางด้านการศึกษา เป็นแบบอย่างท่ีดีในด้านการปฏิบัติตน และด้านการปฏิบัติงาน อีกท้ังได้พัฒนาคุณภาพชีวิตของตนให้ดีขึ้นเป็นท่ีประจักษ์ต่อสาธารณชน และ เ ป็ น ก า ร ส ร้ า ง ข วั ญ ก า ลั ง ใ จ ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ห น้ า ท่ี ข อ ง ค รู แ ล ะ บุ ค ล า ก ร ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า ใ ห้ ไ ด้ รั บ ร า ง วั ล ผ้ทู าคุณประโยชน์ทางดา้ นการศกึ ษาของสานกั งานคณะกรรมการ (สกสค.) เพ่ือให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์การยกย่องเชิดชูเกียรติครูและบุคลากรทางการศึกษาของสานักงาน คณะกรรมการ (สกสค.) สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ จึงขอประกาศหลักเกณฑ์การคัดเลือกครู และบุคลากรทางการศึกษา/โรงเรยี นพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา มรี ายละเอยี ด ดังนี้ คูม่ ือปฏิบตั งิ าน โรงเรียนพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา

๒๖๑ ความหมายและขอบข่าย ครูและบุคลากรทางการศึกษา หมายถึง ครู ผู้บริหารสถานศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาอ่ืน ของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ที่เป็นแบบอย่างที่ดีในด้านการปฏิบัติตน และด้าน การปฏบิ ัตงิ านและพัฒนาคุณภาพชวี ิตของตนใหด้ ขี น้ึ เปน็ ท่ปี ระจักษ์ตอ่ สาธารณชน คุณสมบัติผมู้ สี ทิ ธิได้รบั รางวลั ๑. เป็นครู ผู้บริหารสถานศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามญั ศึกษา ๒. เป็นผู้มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานมาไม่น้อยกว่า ๕ ปี และมีระยะเวลาการปฏิบัติงาน ในพื้นท่ตี ่อเนอ่ื งมาแลว้ ไมน่ อ้ ยกวา่ ๒ ปี ๓. เป็นผู้ไม่เคยถูกลงโทษทางวินัย หรืออยู่ในระหว่างการดาเนินการทางวินัยและไม่เคยต้องโทษ จาคุกโดยคาพพิ ากษาถึงทสี่ ุดให้จาคกุ เว้นแต่เป็นโทษสาหรับความผิดที่ได้กระทาโดยประมาทหรือความผิด ลหุโทษ ท้ังนี้การล้างมลทินตามพระราชบัญญัติล้างมลทินไม่ก่อให้เกิดสิทธิใดๆ แก่ผู้ได้รับการล้างมลทิน ท้ังสนิ้ ๔. เป็นผู้ไม่เคยได้รับการคัดเลือกให้รับรางวัล ผู้ทาคุณประโยชน์ทางด้านการศึกษาของสานักงาน คณะกรรมการ (สกสค). ในระดบั ประเทศ หลกั เกณฑ์การสรรหาและคดั เลือก พจิ ารณาจากองคป์ ระกอบ ๓ ด้าน ดงั นี้ ๑. ด้านการปฏบิ ัติตน ๑.๑ คฤหัสถ์ ๑) เป็นผมู้ คี วามประพฤติและปฏบิ ตั ติ นเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ีตามมาตรฐานและจรรยาบรรณ ของวชิ าชีพ ๒) มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และซือ่ สัตยส์ ุจรติ ต่อวชิ าชีพ ๓) เปน็ ผ้มู กี ารดารงชวี ติ อยา่ งเหมาะสมด้วยหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ๔) เปน็ บคุ คลตัวอย่างท่ีดขี องครอบครวั และชมุ ชนในดา้ นการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ๑.๒ พระภิกษุ ๑) เปน็ ผู้ที่มีความประพฤตปิ ฏิบัตทิ ่ถี กู ต้องตามหลักพระธรรมวนิ ยั ๒) เปน็ แบบอยา่ งที่ดีด้านสมณวสิ ัย (มีศลี าจารวัตรงดงาม) ๓) เปน็ ท่ีเคารพศรัทธาและยอมรับของผู้รว่ มงาน ๒. ดา้ นการปฏิบตั งิ าน ๒.๑ การแสวงหาและประยกุ ต์ความรู้ ๑) เปน็ ผศู้ กึ ษาหาความรโู้ ดยการเข้ารบั การอบรม สมั มนา เพอ่ื พฒั นา ตนเองใหม้ ี ความรูท้ นั สมัยและทันต่อเหตกุ ารณอ์ ย่างต่อเนื่อง ๒) เป็นผนู้ าความรไู้ ปประยุกต์และพัฒนางานของตนเองให้เกิดประโยชน์ต่อ หนว่ ยงานและชุมชน ๒.๒ การปฏิบัติหนา้ ที่ ๑) เป็นผู้มีความรบั ผดิ ชอบในหน้าที่ เปน็ แบบอย่างทดี่ ขี องสงั คม ๒) เป็นผมู้ คี วามอุตสาหะในการปฏิบัติหนา้ ท่ีด้วยความมุมานะ อดทน เหนอื่ ยยาก หรอื ปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ในพน้ื ทที่ รุ กนั ดารและ/หรอื พื้นที่เส่ียงภัย คมู่ อื ปฏิบัตงิ าน โรงเรียนพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามัญศึกษา

๒๖๒ ๓) เปน็ ผเู้ สยี สละกาลังกาย กาลงั ทรัพยส์ ว่ นตัวอทุ ิศเวลาเพอ่ื พฒั นางานใหก้ ับชมุ ชน และสงั คมนอกเหนอื เวลางานโดยไม่หวงั สิง่ ตอบแทน ๒.๓ ผลงาน ๑) เป็นผมู้ ผี ลงานดีเด่นเป็นทปี่ ระจักษแ์ ก่บุคคลทั่วไป ๒) เปน็ ผ้มู ผี ลงานดีเด่น สะท้อนตอ่ การพฒั นาคุณภาพผ้เู รยี น ๓) เป็นผมู้ คี วามคิดริเร่มิ สรา้ งสรรคง์ านใหม่ๆ อยเู่ สมอ ๔) เป็นผ้ไู ดร้ บั การยอมรบั นบั ถอื ของศษิ ย์ ชมุ ชน และบคุ คลทัว่ ไป ๑๑. การส่งเสริมมาตรฐานวิชาชพี และจรรยาบรรณวชิ าชีพ ๑๑.๑ มาตรฐานความรแู้ ละประสบการณว์ ิชาชพี มาตรฐานความรู้ มีคุณวุฒิไม่ต่ากว่าปริญญาตรีทางการศึกษาหรือเทียบเท่า หรือคุณวุฒิอ่ืนท่ีคุรุสภา รบั รอง โดยมคี วามรูด้ ังตอ่ ไปนี้ ๑. ภาษาและเทคโนโลยีสาหรับครู ๒. การพัฒนาหลักสูตร ๓. การจัดการเรียนรู้ ๔. จติ วิทยาสาหรบั ครู ๕. การวดั และประเมินผลการศกึ ษา ๖. การบริหารจัดการในห้องเรยี น ๗. การวิจยั ทางการศึกษา ๘. นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศึกษา ๙. ความเป็นครู สาระความรแู้ ละสมรรถนะของครู ๑. ภาษาและเทคโนโลยสี าหรบั ครู สาระความรู้ ๑) ภาษาไทยสาหรบั ครู ๒) ภาษาองั กฤษหรือภาษาตา่ งประเทศอ่ืน ๆ สาหรับครู ๓) เทคโนโลยีสารสนเทศสาหรบั ครู สมรรถนะ ๑) สามารถใช้ทกั ษะในการฟงั การพูด การอา่ น การเขยี นภาษาไทย เพ่อื การสอื่ ความหมายได้อยา่ งถูกต้อง ๒) สามารถใชท้ ักษะในการฟงั การพูด การอา่ น การเขยี นภาษาอังกฤษ หรอื ภาษาต่างประเทศอื่น ๆ เพอ่ื การสอ่ื ความหมายได้อยา่ งถูกต้อง ๓) สามารถใชค้ อมพวิ เตอรข์ ั้นพ้ืนฐาน ๒. การพฒั นาหลกั สตู ร สาระความรู้ ๑) ปรัชญา แนวคดิ ทฤษฎีการศกึ ษา ๒) ประวัติความเป็นมาและระบบการจัดการศกึ ษาไทย คมู่ ือปฏิบตั งิ าน โรงเรียนพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามญั ศึกษา

๒๖๓ ๓) วสิ ัยทัศนแ์ ละแผนพัฒนาการศึกษาไทย ๔) ทฤษฎหี ลักสตู ร ๕) การพัฒนาหลักสตู ร ๖) มาตรฐานและมาตรฐานช่วงชน้ั ของหลกั สูตร ๗) การพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษา ๘) ปัญหาและแนวโนม้ ในการพฒั นาหลักสตู ร สมรรถนะ ๑) สามารถวิเคราะหห์ ลักสตู ร ๒) สามารถปรบั ปรงุ และพฒั นาหลักสตู รได้อย่างหลากหลาย ๓) สามารถประเมินหลักสตู รไดท้ ้ังก่อนและหลงั การใชห้ ลกั สูตร ๔) สามารถจดั ทาหลกั สูตร ๓. การจดั การเรียนรู้ สาระความรู้ ๑) ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน ๒) รูปแบบการเรยี นรแู้ ละการพฒั นารปู แบบการเรยี นการสอน ๓) การออกแบบและการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ ๔) การบรู ณาการเนอ้ื หาในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ๕) การบรู ณาการการเรยี นรู้แบบเรยี นรวม ๖) เทคนิคและวทิ ยาการจดั การเรียนรู้ ๗) การใชแ้ ละการผลติ ส่ือและการพัฒนานวตั กรรมในการเรียนรู้ ๘) การจดั การเรยี นรแู้ บบยึดผู้เรยี นเปน็ สาคัญ ๙) การประเมินผลการเรียนรู้ สมรรถนะ ๑) สามารถนาประมวลรายวิชามาจัดทาแผนการเรียนรู้รายภาคและตลอดภาค ๒) สามารถออกแบบการเรียนรูท้ ีเ่ หมาะสมกับวยั ของผ้เู รียน ๓) สามารถเลอื กใช้ พัฒนา และสรา้ งสื่ออปุ กรณท์ ี่ส่งเสริมการเรยี นรขู้ องผเู้ รียน ๔) สามารถจัดกิจกรรมท่ีส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนและจาแนกระดับการเรียนรู้ของผู้เรียน จากการประเมนิ ผล ๔. จติ วทิ ยาสาหรบั ครู สาระความรู้ ๑) จติ วิทยาพืน้ ฐานทเี่ กี่ยวข้องกับพฒั นาการมนุษย์ ๒) จิตวทิ ยาการศกึ ษา ๓) จิตวิทยาการแนะแนวและใหค้ าปรกึ ษา คมู่ อื ปฏบิ ัตงิ าน โรงเรียนพระปริยัตธิ รรม แผนกสามัญศึกษา

๒๖๔ สมรรถนะ ๑) เข้าใจธรรมชาตขิ องผเู้ รียน ๒) สามารถชว่ ยเหลอื ผู้เรียนให้เรยี นรู้และพฒั นาได้ตามศกั ยภาพของตน ๓) สามารถให้คาแนะนาชว่ ยเหลือผู้เรียนให้มีคณุ ภาพชีวิตทีด่ ีข้นึ ๔) สามารถสง่ เสรมิ ความถนดั และความสนใจของผู้เรียน ๕. การวัดและประเมนิ ผลการศึกษา สาระความรู้ ๑) หลักการและเทคนคิ การวดั และประเมนิ ผลทางการศึกษา ๒) การสร้างและการใช้เครื่องมอื วัดผลและประเมินผลการศึกษา ๓) การประเมนิ ตามสภาพจริง ๔) การประเมนิ จากแฟม้ สะสมงาน ๕) การประเมนิ ภาคปฏิบตั ิ ๖) การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม สมรรถนะ ๑) สามารถวดั และประเมินผลได้ตามสภาพความเป็นจรงิ ๒) สามารถนาผลการประเมินไปใช้ในการปรบั ปรุงการจดั การเรยี นรู้และหลกั สตู ร ๖. การบรหิ ารจัดการในหอ้ งเรียน สาระความรู้ ๑) ทฤษฎแี ละหลักการบรหิ ารจัดการ ๒) ภาวะผู้นาทางการศึกษา ๓) การคิดอยา่ งเปน็ ระบบ ๔) การเรียนร้วู ัฒนธรรมองคก์ ร ๕) มนษุ ยสัมพันธใ์ นองค์กร ๖) การติดต่อสือ่ สารในองคก์ ร ๗) การบริหารจดั การชั้นเรียน ๘) การประกันคณุ ภาพการศึกษา ๙) การทางานเป็นทีม ๑๐) การจัดทาโครงงานทางวชิ าการ ๑๑) การจดั โครงการฝึกอาชพี ๑๒) การจดั โครงการและกจิ กรรมเพ่ือพัฒนา ๑๓) การจดั ระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารจดั การ ๑๔) การศกึ ษาเพือ่ พัฒนาชมุ ชน ค่มู ือปฏบิ ัตงิ าน โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศึกษา

๒๖๕ สมรรถนะ ๑) มีภาวะผู้นา ๒) สามารถบรหิ ารจัดการในช้นั เรยี น ๓) สามารถสือ่ สารไดอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ ๔) สามารถในการประสานประโยชน์ ๕) สามารถนานวตั กรรมใหม่ ๆ มาใช้ในการบริหารจดั การ ๗. การวจิ ยั ทางการศึกษา สาระความรู้ ๑) ทฤษฎีการวิจัย ๒) รูปแบบการวิจัย ๓) การออกแบบการวิจยั ๔) กระบวนการวจิ ัย ๕) สถิตเิ พ่ือการวิจยั ๖) การวิจยั ในช้นั เรยี น ๗) การฝึกปฏบิ ัติการวจิ ยั ๘) การนาเสนอผลงานวิจัย ๙) การคน้ ควา้ ศกึ ษางานวจิ ัย ในการพฒั นากระบวนการจัดการเรียนรู้ ๑๐) การใชก้ ระบวนการวิจยั ในการแกป้ ัญหา ๑๑) การเสนอโครงการเพือ่ ทาวิจยั สมรรถนะ ๑) สามารถนาผลการวิจยั ไปใช้ในการจดั การเรยี นการสอน ๒) สามารถทาวิจัยเพื่อพฒั นาการเรียนการสอนและพฒั นาผู้เรยี น ๘. นวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศกึ ษา สาระความรู้ ๑) แนวคดิ ทฤษฎี เทคโนโลยี และนวตั กรรมการศึกษาท่ีส่งเสริมการพฒั นาคณุ ภาพ การเรยี นรู้ ๒) เทคโนโลยแี ละสารสนเทศ ๓) การวเิ คราะห์ปัญหาทเี่ กดิ จากการใชน้ วัตกรรม เทคโนโลยี และสารสนเทศ ๔) แหลง่ การเรยี นรแู้ ละเครือขา่ ยการเรียนรู้ ๕) การออกแบบ การสร้าง การนาไปใช้ การประเมิน และการปรับปรุงนวัตกรรม สมรรถนะ ๑) สามารถเลือกใช้ ออกแบบ สรา้ ง และปรบั ปรุงนวัตกรรม เพ่ือใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดการเรียนรู้ท่ีดี ๒) สามารถพฒั นาเทคโนโลยีและสารสนเทศ เพื่อใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การเรียนร้ทู ีด่ ี ๓) สามารถแสวงหาแหล่งเรียนรูท้ ห่ี ลากหลาย เพอื่ สง่ เสริมการเรยี นรขู้ องผ้เู รียน คมู่ อื ปฏิบตั งิ าน โรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา

๒๖๖ ๙. ความเปน็ ครู สาระความรู้ ๑) ความสาคญั ของวิชาชีพครู บทบาท หน้าที่ ภาระงานของครู ๒) พัฒนาการของวิชาชพี ครู ๓) คุณลกั ษณะของครทู ่ดี ี ๔) การสร้างทศั นคติทด่ี ีต่อวชิ าชพี ครู ๕) การเสริมสร้างศักยภาพและสมรรถภาพความเปน็ ครู ๖) การเปน็ บคุ คลแห่งการเรียนรูแ้ ละการเป็นผู้นาทางวชิ าการ ๗) เกณฑม์ าตรฐานวชิ าชพี ครู ๘) จรรยาบรรณของวิชาชีพครู ๙) กฎหมายทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั การศกึ ษา สมรรถนะ ๑) รกั เมตตา และปรารถนาดีต่อผเู้ รียน ๒) อดทนและรับผิดชอบ ๔) มีวสิ ยั ทศั น์ ๕) ศรัทธาในวิชาชพี ครู ๖) ปฏบิ ตั ติ ามจรรยาบรรณของวชิ าชีพครู ๑๑.๒ มาตรฐานประสบการณ์ของครู ผ่านการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตามหลักสูตรปริญญาทางการศึกษาเป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๑ ปี และผ่านเกณฑ์การประเมินปฏิบัติการสอนตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขท่ีคณะกรรมการคุรุสภา กาหนด ดงั นี้ ๑. การฝกึ ปฏบิ ตั วิ ชิ าชีพระหว่างเรียน ๒. การปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศึกษาในสาขาวชิ าเฉพาะ สาระการฝึกทกั ษะและสมรรถนะของครู ๑. การฝกึ ปฏบิ ตั ิวชิ าชพี ระหว่างเรยี น สาระการฝกึ ทกั ษะ ๑) การบรู ณาการความรูท้ ัง้ หมดมาใช้ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพในสถานศึกษา ๒) ฝึกปฏบิ ัติการวางแผนการศกึ ษาผู้เรียน โดยการสังเกต สัมภาษณ์ รวบรวมข้อมลู และนาเสนอผลการศกึ ษา ๓) มีส่วนรว่ มกบั สถานศึกษาในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร รวมทั้งการนาหลักสตู รไปใช้ ๔) ฝึกการจัดทาแผนการเรยี นรูร้ ่วมกับสถานศึกษา ๕) ฝกึ ปฏิบตั ิการดาเนินการจัดกิจกรรมเก่ียวกับการจดั การเรียนรู้ โดยเขา้ ไปมีสว่ นรว่ ม ในสถานศึกษา ๖) การจัดทาโครงงานทางวชิ าการ คมู่ ือปฏบิ ัตงิ าน โรงเรียนพระปรยิ ตั ิธรรม แผนกสามญั ศึกษา

๒๖๗ สมรรถนะ ๑) สามารถศึกษาและแยกแยะผู้เรยี นได้ตามความแตกตา่ งของผเู้ รียน ๒) สามารถจัดทาแผนการเรยี นรู้ ๓) สามารถฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารสอน ตงั้ แตก่ ารจดั ทาแผนการสอน ปฏบิ ัติการสอน ประเมินผล และปรบั ปรุง ๔) สามารถจดั ทาโครงงานทางวิชาการ ๒. การปฏิบตั ิการสอนในสถานศกึ ษาในสาขาวชิ าเฉพาะ สาระการฝกึ ทักษะ ๑) การบรู ณาการความรทู้ ้ังหมดมาใชใ้ นการปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศึกษา ๒) การจัดทาแผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ยดึ ผเู้ รียนเป็นสาคัญ ๓) การจัดกระบวนการเรยี นรู้ ๔) การเลอื กใช้ การผลิตสอ่ื และนวัตกรรมทสี่ อดคลอ้ งกับการจดั การเรยี นรู้ ๕) การใช้เทคนิคและยทุ ธวิธีในการจัดการเรยี นรู้ ๖) การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ๗) การทาวจิ ยั ในชั้นเรยี นเพอื่ พฒั นาผ้เู รียน ๘) การนาผลการประเมินมาพฒั นาการจดั การเรยี นรแู้ ละพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น ๙) การบนั ทกึ และรายงานผลการจดั การเรียนรู้ ๑๐) การสมั มนาทางการศึกษา สมรรถนะ ๑) สามารถจัดการเรยี นรใู้ นสาขาวิชาเฉพาะ ๒) สามารถประเมนิ ปรบั ปรุง และพัฒนาการจดั การเรียนรูใ้ ห้เหมาะสมกับศกั ยภาพของผู้เรียน ๓) สามารถทาวิจยั ในชั้นเรียนเพ่ือพฒั นาผู้เรยี น ๔) สามารถจัดทารายงานผลการจดั การเรียนรูแ้ ละการพัฒนาผเู้ รียน ๑๑.๓ มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน มาตรฐานท่ี ๑ ปฏิบตั กิ จิ กรรมทางวิชาการเกีย่ วกบั การพัฒนาวิชาชีพครูอยู่เสมอ การปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเก่ียวกับการพัฒนาวิชาชีพครู หมายถึง การศึกษา ค้นคว้าเพื่อพัฒนา ตนเอง การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ และการเข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาการท่ีองค์กรหรือหน่วยงาน หรือ สมาคมจัดข้ึน เช่น การประชุม การอบรม การสัมมนา และการประชุมปฏิบัติการ เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีผลงาน หรอื รายงานทป่ี รากฏชดั เจน มาตรฐานท่ี ๒ ตดั สินใจปฏิบัติกจิ กรรมต่าง ๆ โดยคานงึ ถึงผลท่จี ะเกิดแก่ผูเ้ รียน การตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ โดยคานึงถึงผลที่จะเกิดกับผู้เรียน หมายถึง การเลือกอย่างชาญฉลาด ด้วยความรัก และหวังดีต่อผู้เรียน ดังน้ัน ในการเลือกกิจกรรมการเรียนการสอนและกิจกรรมอื่น ๆ ครูต้อง คานึงถึงประโยชน์ที่จะเกดิ แกผ่ ้เู รียนเปน็ หลกั คูม่ อื ปฏิบตั งิ าน โรงเรียนพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามัญศกึ ษา

๒๖๘ มาตรฐานท่ี ๓ มงุ่ มนั่ พฒั นาผ้เู รียนใหเ้ ตม็ ตามศักยภาพ การมุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียน หมายถึง การใช้ความพยายามอย่างเต็มความสามารถของครูท่ีจะให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้ให้มากท่ีสุดตามความถนัด ความสนใจ ความต้องการ โดยวิเคราะห์วินิจฉัยปัญหา ความต้องการที่แท้จริงของผู้เรียน ปรับเปล่ียนวิธีการสอนที่จะให้ได้ผลดีกว่าเดิม รวมท้ังการส่งเสริม พฒั นาการดา้ นตา่ ง ๆ ตามศกั ยภาพของผเู้ รยี นแต่ละคนอยา่ งเปน็ ระบบ มาตรฐานที่ ๔ พฒั นาแผนการสอนใหส้ ามารถปฏบิ ัติได้เกิดผลจริง การพัฒนาแผนการสอนให้สามารถปฏิบัติได้เกิดผลจริง หมายถึง การเลือกใช้ ปรับปรุง หรอื สร้างแผนการสอน บันทึกการสอน หรือเตรียมการสอนในลักษณะอื่น ๆ ท่ีสามารถนาไปใช้จัดกิจกรรม การเรียนการสอน ให้ผเู้ รียนบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ของการเรยี นรู้ มาตรฐานท่ี ๕ พฒั นาส่ือการเรยี นการสอนให้มีประสิทธภิ าพอยูเ่ สมอ การพัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพอยู่เสมอ หมายถึง การประดิษฐ์ คิดค้นผลิต เลือกใช้ ปรับปรุงเครื่องมืออุปกรณ์ เอกสารสิ่งพิมพ์ เทคนิควิธีการต่าง ๆ เพ่ือให้ผู้เรียนบรรลุจุดประสงค์ ของการเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๖ จัดกิจกรรมการเรยี นการสอนโดยเน้นผลถาวรท่เี กดิ แก่ผเู้ รียน การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผลถาวรที่เกิดแก่ผู้เรียน หมายถึง การจัดการเรียนการสอน ท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรยี นประสบผลสาเรจ็ ในการแสวงหาความรู้ ตามสภาพความแตกต่างของบุคคลด้วยการปฏิบัติ จรงิ และสรุปความรู้ทั้งหลายได้ด้วยตนเอง ก่อให้เกิดค่านิยมและนิสัยในการปฏิบัติจนเป็นบุคลิกภาพถาวร ตดิ ตวั ผูเ้ รยี นตลอดไป มาตรฐานท่ี ๗ รายงานผลการพฒั นาคุณภาพของผเู้ รยี นได้อย่างมรี ะบบ การรายงานผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนได้อย่างมีระบบ หมายถึง การรายงานผลการพัฒนา ผู้เรียนท่ีเกิดจากการปฏิบัติการเรียนการสอนให้ครอบคลุมสาเหตุ ปัจจัย และการดาเนินงานท่ีเก่ียวข้อง โดยครูนาเสนอรายงานการปฏบิ ตั ใิ นรายละเอียด ดงั น้ี ๑) ปญั หาความต้องการของผูเ้ รยี นท่ตี อ้ งไดร้ บั การพฒั นา และเปา้ หมายของการพฒั นา ผู้เรียน ๒) เทคนคิ วิธกี าร หรอื นวตั กรรมการเรยี นการสอนท่ีนามาใช้เพ่อื การพัฒนาคณุ ภาพของ ผูเ้ รยี น และขั้นตอนวธิ กี ารใช้เทคนคิ วิธีการหรอื นวัตกรรมน้นั ๆ ๓) ผลการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนตามวธิ ีการท่ีกาหนดท่ีเกดิ กบั ผ้เู รยี น ๔) ขอ้ เสนอแนะแนวทางใหม่ ๆ ในการปรับปรุงและพฒั นาผเู้ รียนใหไ้ ด้ผลดยี ง่ิ ขึ้น มาตรฐานท่ี ๘ ปฏบิ ตั ติ นเป็นแบบอย่างท่ีดีแก่ผเู้ รียน การปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน หมายถึง การแสดงออก การประพฤติและปฏิบัติ ในดา้ นบุคลกิ ภาพทัว่ ไป การแต่งกาย กิริยา วาจา และจริยธรรมที่เหมาะสมกับความเป็นครูอย่างสม่าเสมอ ทท่ี าให้ผู้เรียนเล่อื มใสศรทั ธาและถอื เปน็ แบบอย่าง ค่มู อื ปฏิบัติงาน โรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา

๒๖๙ มาตรฐานท่ี ๙ ร่วมมอื กบั ผอู้ ่ืนในสถานศกึ ษาอย่างสรา้ งสรรค์ การร่วมมือกับผู้อ่ืนในสถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์ หมายถึง การตระหนักถึงความสาคัญรับฟัง ความคิดเห็น ยอมรับในความรู้ความสามารถ ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ของเพื่อน ร่วมงานดว้ ยความเต็มใจ เพ่อื ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายของสถานศึกษา และร่วมรบั ผลทเ่ี กดิ ข้นึ จากการกระทาน้ัน มาตรฐานที่ ๑๐ รว่ มมือกบั ผอู้ ่ืนในชุมชนอย่างสรา้ งสรรค์ การร่วมมือกับผู้อ่ืนในชุมชนอย่างสร้างสรรค์ หมายถึง การตระหนักถึงความสาคัญ รับฟังความ คิดเห็น ยอมรับในความรู้ความสามารถของบุคคลอื่นในชุมชน และร่วมมือปฏิบัติงานเพ่ือพัฒนางานของ สถานศึกษา ให้ชุมชนและสถานศึกษามีการยอมรับซง่ึ กันและกัน และปฏิบตั งิ านร่วมกนั ดว้ ยความเต็มใจ มาตรฐานท่ี ๑๑ แสวงหาและใช้ขอ้ มูลข่าวสารในการพัฒนา การแสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนา หมายถึง การค้นหา สังเกต จดจา และรวบรวม ขอ้ มลู ข่าวสารตามสถานการณ์ของสังคมทุกด้าน โดยเฉพาะสารสนเทศเกี่ยวกับวิชาชีพครูสามารถวิเคราะห์ วิจารณ์อย่างมีเหตุผล และใช้ข้อมูลประกอบการแก้ปัญหา พัฒนาตนเองพัฒนางาน และพัฒนาสังคม ได้อย่างเหมาะสม มาตรฐานท่ี ๑๒ สร้างโอกาสใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ รียนรูใ้ นทกุ สถานการณ์ การสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในทุกสถานการณ์ หมายถึง การสร้างกิจกรรมการเรียนรู้ โดยการนาเอาปัญหาหรือความจาเป็นในการพัฒนาต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้นในการเรียนและการจัดกิจกรรมอื่น ๆ ในโรงเรียนมากาหนดเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ เพ่ือนาไปสู่การพัฒนาของผู้เรียนท่ีถาวรเป็นแนวทาง ในการแก้ปญั หาของครอู ีกแบบหนึง่ ที่จะนาเอาวกิ ฤตติ า่ ง ๆ มาเป็นโอกาสในการพฒั นาครูจาเป็นต้องมองมุม ต่าง ๆ ของปัญหาแล้วผันมุมของปัญหาไปในทางการพัฒนา กาหนดเป็นกิจกรรมในการพัฒนาของผู้เรียน ครูจึงต้องเป็นผู้มองมุมบวกในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ กล้าท่ีจะเผชิญปัญหาต่าง ๆ มีสติในการแก้ปัญหา มิได้ตอบสนองปัญหาต่าง ๆ ด้วยอารมณ์หรือแง่มุมแบบตรงตัวครูสามารถมองหักมุมในทุก ๆ โอกาส มองเห็นแนวทางท่ีนาสผู่ ลก้าวหนา้ ของผูเ้ รียน ๑๑.๓ มาตรฐานการปฏิบตั ิตน จรรยาบรรณต่อตนเอง ๑. ผู้ประกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษาต้องมีวินัยในตนเอง พฒั นาตนเอง ด้านวชิ าชีพ บคุ ลกิ ภาพและวิสัยทัศน์ ให้ทนั ต่อการพฒั นา ทางวทิ ยาการ เศรษฐกจิ สังคม และการเมอื งอยูเ่ สมอ จรรยาบรรณตอ่ วิชาชีพ ๒. ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศกึ ษาต้องรัก ศรัทธา ซอ่ื สัตย์สุจรติ และรบั ผดิ ชอบต่อวิชาชีพเป็นสมาชกิ ท่ีดีขององค์กรวิชาชีพ จรรยาบรรณตอ่ ผู้รบั บริการ ๓. ผ้ปู ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลอื สง่ เสริมให้กาลงั ใจแกศ่ ษิ ย์และผ้รู บั บริการตามบทบาทหน้าที่ โดยเสมอหน้า ๔. ผู้ประกอบวิชาชพี ทางการศึกษา ตอ้ งส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทกั ษะ และนสิ ยั ทีถ่ ูกตอ้ งดีงามแก่ศิษย์ และผรู้ บั บรกิ าร ตามบทบาทหน้าที่อย่างเตม็ ความสามารถด้วยความบรสิ ุทธ์ิใจ คู่มอื ปฏิบัติงาน โรงเรียนพระปริยัตธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา

๒๗๐ จรรยาบรรณตอ่ ผ้รู ับบรกิ าร ๕. ผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษาตอ้ งประพฤติปฏบิ ัตติ น เป็นแบบอย่างท่ีดี ทัง้ ทางกายวาจาและ จติ ใจ ๖. ผปู้ ระกอบวิชาชพี ทางการศึกษาต้องไม่กระทาตนเป็นปฏปิ ักษ์ต่อ ความเจรญิ ทางกายสตปิ ัญญา จติ ใจ อารมณ์ และสงั คมของศิษย์ และผ้รู บั บริการ ๗. ผู้ประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษาต้องใหบ้ รกิ ารด้วยความจริงใจ และเสมอภาค โดยไมเ่ รียกรับ หรอื ยอมรบั ผลประโยชน์ จากการใชต้ าแหนง่ หนา้ ท่ีโดยมิชอบ จรรยาบรรณตอ่ ผรู้ ว่ มประกอบวิชาชีพ ๘. ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษาพึงชว่ ยเหลอื เก้ือกูลซ่ึง กนั และกนั อย่างสร้างสรรค์ โดยยึดม่ันในระบบคุณธรรม สร้างความสามคั คีในหมคู่ ณะ จรรยาบรรณต่อสังคม ๙. ผู้ประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา พงึ ประพฤติปฏิบตั ติ น เป็นผนู้ า ในการอนรุ กั ษ์ และพฒั นาเศรษฐกจิ สงั คม ศาสนา ศลิ ปวัฒนธรรม ภมู ิปัญญา ส่ิงแวดล้อม รกั ษาผลประโยชน์ของส่วนรว่ มและยึดมน่ั ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั ริยท์ รง เป็นประมุข ๑๒. การริเร่มิ ส่งเสรมิ การขอรบั ใบอนุญาต ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ๑๒.๑ ความหมายของใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ใบอนุญาตประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา เป็นหลกั ฐานการอนุญาตให้วิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษาเป็นวิชาชีพควบคุมตามมาตรา ๔๓ ของพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากร ทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ ซึ่งผู้มีสิทธิในการประกอบวิชาชีพ ได้แก่ ผู้ปฏิบัติงานในตาแหน่งครู ผู้บริหาร สถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาอื่น ท้ังน้ีเป็นไปตาม มาตรา ๕๓ ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ที่กาหนดให้ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหาร สถานศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาอื่น ทั้งของรัฐและเอกชนต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ยกเว้น บุคลากรทางการศึกษาที่จัดการศึกษาตามอัธยาศัย การจัดการศึกษาในศูนย์การเรียน ผู้บริหารการศึกษา ระดับเหนือเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และวิทยากรพิเศษทางการศึกษารวมทั้งคณาจารย์ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษาในระดับอุดมศึกษาระดับปริญญา ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาอ่ืน การประกอบวิชาชีพควบคุมโดยไม่ได้รับอนุญาตหรือแสดงด้วยวิธีการใด ๆ ให้ผู้อ่ืนเข้าใจว่าตนมีสิทธิหรือพร้อมที่จะประกอบวิชาชีพรวมท้ังสถานศึกษาที่รับผู้มิได้รับใบอนุญาต เข้าประกอบวิชาชีพควบคุมในสถานศึกษาจะต้องได้รับโทษตามท่ีกาหนดไว้นาพระราชบัญญัติสภาครูและ บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ คมู่ ือปฏิบตั ิงาน โรงเรียนพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา

๒๗๑ ๑๒.๒ ประเภทของใบอนญุ าตประกอบวชิ าชีพ ใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพท่จี ะออกให้ผูป้ ระกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา มี ๔ ประเภท คือ ๑. ใบอนุญาตประกอบวิชาชพี ครู ๒. ใบอนุญาตประกอบวชิ าชพี ผบู้ ริหารสถานศึกษา ๓. ใบอนญุ าตประกอบวิชาชพี ผูบ้ รหิ ารการศกึ ษา ๔. ใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพบุคลากรทางการศกึ ษาอ่นื ผู้ประกอบวิชาชีพควบคุมทุกตาแหน่งต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู เม่ือจะประกอบวิชาชีพ ผู้บริหารสถานศึกษา หรือผู้บริหารการศึกษา หรือบุคลากรทางการศึกษาอ่ืน ก็จะต้องมีใบอนุญาตประกอบ วชิ าชพี ประเภทน้นั ๆ อกี ๑๒.๓ การขอขึ้นทะเบยี นรับใบอนญุ าต ข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ได้มีผลบังคับใช้แล้วต้ังแต่วันท่ี ๙ ธันวาคม ๒๕๔๗ และกาหนดให้เวลาผู้ประกอบวิชาชีพอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งได้แก่ ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา ย่นื คาแบบคาขอข้ึนทะเบียนรบั ใบอนญุ าตภายใน ๑๒๐ วนั ซ่ึงมีแนวทางดาเนนิ การ ดงั นี้ ๑. ครูซึ่งเป็นสมาชิกคุรุสภาตาม พ.ร.บ. ครู ๒๔๘๘ อยู่ก่อนวันที่ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๔๖ (วันท่ี พ.ร.บ.สภาครูฯ ใช้บังคับ) ซึ่งได้แก่ ครูและบุคลากรทางการศึกษาครู ครูและบุคลากรทางการศึกษา ครูกรุงเทพมหานคร พนักงานครูเทศบาล และครูโรงเรียนเอกชน ให้ย่ืนแบบคาขอโดยไม่ต้องแสดง วฒุ ิปริญญาทางการศึกษา ๒. ครูซ่ึงบรรจุแต่งต้ังให้ทาการสอนตั้งแต่วันที่ พ.ร.บ. สภาครูฯ ใช้บังคับ (วันที่ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๔๖) เป็นต้นมา และครูอัตราจ้างให้ย่ืนแบบคาขอได้โดยจะต้องแสดงวุฒิปริญญาทางการศึกษา หรือปริญญาอื่น ที่ ก.ค. กาหนดเปน็ วุฒิท่ใี ช้ในการบรรจแุ ละแตง่ ตั้งเป็นครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาครดู ว้ ย ๓. ครูซ่ึงประกอบวิชาชีพอยู่ก่อนวันท่ี พ.ร.บ.สภาครูฯ ใช้บังคับ (วันท่ี ๑๒ มิถุนายน ๒๕๔๖) ต่อมาลาออกหรือเกษียณอายุหรือพ้นจากหน้าท่ีครู ถ้าหากประสงค์จะขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ใหย้ ื่นแบบคาขอโดยไมต่ ้องแสดงวฒุ ิปริญญาทางการศกึ ษา ๔. ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาอ่ืน (ท่ีต้องมีใบอนุญาต) ให้ย่ืนแบบคาขอมีใบอนุญาตโดยจะต้องขอมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู และใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ที่ตนประกอบวิชาชพี อยู่ในปัจจบุ ันเพ่มิ ขึน้ อกี ๕. ผูท้ ย่ี งั ไม่ได้เป็นครแู ต่มคี วามประสงคจ์ ะขอรบั ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ให้ยื่นแบบคาขอพร้อม ทั้งแสดงวุฒิปริญญาทางการศกึ ษา หรอื ปรญิ ญาอืน่ ท่ี ก.ค. กาหนดให้วุฒิท่ีใช้ในการบรรจุและแต่งตั้งเป็นครู และบุคลากรทางการศึกษาครู แต่ย่นื ได้ไมเ่ กนิ วนั ท่ี ๑๑ มิถุนายน ๒๕๔๙ ๑๒.๔ เอกสารหลกั ฐานประกอบการย่ืนแบบคาขอ การย่ืนคาขอต้องใช้แบบคาขอขึ้นทะเบียนของคุรุสภา ซ่ึงสามารถขอรับได้จากหน่วยงาน ทางการศึกษา หรือ Download จาก Website ของสานักงานเลขาธิการคุรุสภา และมีเอกสารประกอบ ดังน้ี ๑. สาเนาทะเบียนบา้ นหรือบัตรประจาตวั ประชาชน หรือสาเนาบัตรประจาตวั เจ้าหนา้ ท่ขี องรฐั ๒. สาเนาบัตรสมาชิกครุ ุสภาหรือหนังสอื รับรองการเปน็ สมาชกิ คุรุสภาตาม พ.ร.บ. ครู พ.ศ. ๒๔๘๘ หรือหลักฐานอื่น เช่น บัตรประจาตัว คาสั่งบรรจุแต่งต้ัง หรือหนังสือรับรองของผู้บังคับบัญชา เป็นต้น (ผทู้ เ่ี ป็นครตู ้งั แต่วัน พ.ร.บ.ประกาศใช้ หรอื ครูอัตราจา้ งไม่ต้องแสดงบัตรการเป็นสมาชิกคุรุสภา) ๓. รูปถา่ ยหนา้ ตรงครงึ่ ตัว ไมส่ วมแวน่ ตาดา ขนาด ๑ น้วิ ถ่ายไวไ้ ม่เกนิ ๖ เดอื น จานวน ๒ รูป คู่มอื ปฏิบตั ิงาน โรงเรียนพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา

๒๗๒ ๔. หลักฐานแสดงวุฒิปริญญาทางการศึกษา หรือปริญญาอื่นที่ ก.ค. กาหนดเป็นวุฒิท่ีใช้ใน การบรรจุและแต่งต้ังเป็นครูและบุคลากรทางการศึกษาครู (สาหรับผู้ที่เป็นครูต้ังแต่วันที่ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๔๖ เป็นตน้ มา ฉบับละ ๕๐๐ บาท) ๑๒.๕ อายุใบอนญุ าตประกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา กาหนดไว้ตามข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๔๗ ให้มีอายุใช้ได้คราวละ ๕ ปี นับแต่วันออกใบอนุญาตผู้ได้รับใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาจะต้องขอต่อใบอนุญาตประกอบวิชาชีพก่อนวันหมดอายุใบอนุญาตไม่น้อยกว่า ๑๘๐ วัน ๑๒.๖ คุณสมบัติของผ้ขู อต่ออายใุ บอนญุ าตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ๑. มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามท่ีกาหนดในพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากร ทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ ๒. มีมาตรฐานความร้แู ละประสบการณว์ ชิ าชพี ๓. มผี ลการปฏิบตั งิ านตามมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน ๔. ประพฤตติ นตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ ๑๓. การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา การดาเนินการที่เก่ียวข้องกับการบริหาร งานบคุ คลใหเ้ ป็นไปตามกฎหมายว่าดว้ ยการนน้ั การพฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ๑๓.๑ การฝกึ อบรม การฝึกอบรม หมายถึง การเพ่ิมพูนความรู้ความชานาญ หรือประสบการณ์ด้วยการเรียนหรือ การวิจัยตามหลักสูตรของการฝึกอบรม หรือการสัมมนาอบรมเชิงปฏิบัติการ การดาเนินงานตามโครงการ แลกเปล่ียนกับต่างประเทศ การไปเสนอผลงานทางวิชาการ และการประชุมเชิงปฏิบัติการ ทั้งน้ีโดยมิได้มี วัตถุประสงค์เพ่ือให้ได้มาซ่ึงปริญญาหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพท่ี ก.พ. รับรองและหมายความรวมถึง การฝึกฝนภาษาและการรับคาแนะนาก่อนฝึกอบรมหรือการดูงานที่เป็นส่วนหน่ึงของการฝึกอบรมหรือ ต่อจากการฝกึ อบรมนน้ั ด้วย ๑๓.๒ การดงู าน การดูงาน หมายถงึ การเพ่ิมพูนความรู้และประสบการณ์ด้วยการสังเกตการณ์และการแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น (การดูงานมีระยะเวลาไม่เกิน ๑๕ วัน ตามหลักสูตรหรือโครงการหรือแผนการดูงาน ในตา่ งประเทศ หากมีระยะเวลาเกนิ กาหนดให้ดาเนนิ การเปน็ การฝึกอบรม) ๑๓.๓ การศึกษาต่อ การศึกษาต่อ หมายถึงการเพ่ิมพูนความรู้ด้วยการเรียนหรือการวิจัยตามหลักสูตรของ สถาบันการศึกษา หรือสถาบันวิชาชีพ เพ่ือให้ได้มาซ่ึงปริญญาหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพที่ ก.พ. รับรอง และหมายความรวมถึงการฝึกฝนภาษาและการได้รับคาแนะนาก่อนเข้าศึกษา และการฝึกอบรมหรือ การดูงานทเี่ ปน็ ส่วนหนึง่ ของการศึกษา หรอื ต่อจากการศึกษานน้ั ดว้ ย คู่มือปฏิบตั งิ าน โรงเรียนพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา

คู่มือปฏบิ ตั ิงาน โรงเรยี นพระปริยัตธิ รรม แผนกสามัญศึกษา การบริหารงานทั่วไป

๒๗๓ การบริหารงานทวั่ ไป งานด้านการบริหารท่ัวไป เป็นภารกิจหน่ึงของโรงเรียนในการสนับสนุนส่งเสริมการปฏิบัติงาน ของโรงเรียนให้บรรลุตามนโยบาย และมาตรฐานการศึกษาท่ีโรงเรียนกาหนดให้มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล เช่น การดาเนินงานธุรการ งานเลขานุการคณะกรรมการโรงเรียนขั้นพ้ืนฐานงานพัฒนาระบบ และเครอื ข่าย ขอ้ มูลสารสนเทศการประสานและพฒั นาเครอื ข่ายการศกึ ษาการจัดการระบบการบริหารและ พัฒนาองค์กรงานเทคโนโลยีสารสนเทศ การส่งเสริมสนับสนุนด้านวิชาการ งบประมาณ บุคลากรและ บริหารท่ัวไป การดูแลอาคารสถานท่ีและสภาพแวดล้อม การจัดทาสามะโนผู้เรียน การรับนักเรียน การส่งเสริมและประสานงานการศึกษาในระบบ การระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา งานส่งเสริมกิจการ นกั เรยี น การประชาสัมพันธ์ งานการศกึ ษา การส่งเสรมิ สนับสนุน และสถาบันสังคมอื่นท่ีจัดการศึกษา การ จัดระบบการควบคุมในหน่วยงาน งานบริการสาธารณะซ่ึงควรทจ่ี ะไดร้ บั รแู้ นวปฏบิ ัตใิ นการปฏบิ ัติ ดงั น้ี ๑. การกาหนดเวลาทางานและวนั หยุด พนักงานศาสนการด้านการศึกษา ผู้ปฏิบัติงานในโรงเรียน ต้องปฏิบัติตามระเบียบว่าต้อง กาหนดเวลาทางานและวนั หยดุ ของโรงเรียน ดงั น้ี ๑. ให้โรงเรยี นเริม่ ทางานตงั้ แต่เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๖.๓๐ น. พักกลางวัน เวลา ๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. เป็นเวลาทางานตามปกติ โดยมีวันหยุดประจาสัปดาห์ คือ วันพระและวันอาทิตย์ ซ่ึงหยุดราชการเต็มวันทั้ง สองวนั แตท่ งั้ น้ที ั้งนั้น เวลาทางานในโรงเรียนอาจมกี ารเปลยี่ นแปลงตามความเหมาะสม ขึ้นอยู่กับข้อตกลง ของผู้บรหิ ารโรงเรยี น ๒. วันปิดภาคเรียนให้ถือว่าเป็นวันพักผ่อนของนักเรียน ซ่ึงโรงเรียนอาจอนุญาตให้พนักงาน ศาสนการด้านการศึกษาหยุดพักผ่อนด้วยก็ได้ แต่ถ้ามีงานจาเป็นให้พนักศาสนการด้านการศึกษามา ปฏิบัติงานเหมือนการมาปฏิบัติงานตามปกติ ๓. วันท่ีโรงเรียนทาการสอนชดเชยหรือทดแทน เน่ืองจากโรงเรียนสั่งปิดด้วยเหตุพิเศษ หรือ กรณพี เิ ศษต่าง ๆ ให้ถือว่าเปน็ วนั ทางานปกติ ๒. การเปดิ และปดิ โรงเรียน ช่วงเวลารอบปีการศึกษาหนึ่ง ถือว่าวันที่ ๑๖ พฤษภาคม เป็นวันเริ่มต้นปีการศึกษา และวันท่ี ๑๕ พฤษภาคมของปีถัดไป เป็นวันส้ินปีการศึกษา ซ่ึงในรอบปีการศึกษาหนึ่งโรงเรียนได้กาหนด วันเปดิ และปดิ โรงเรยี นเป็น ๒ ภาคเรียน คือ ๑. ภาคเรยี นที่หนง่ึ  วันเปิดภาคเรียน คือ วันท่ี ๑๖ พฤษภาคม  วนั ปิดภาคเรียน คอื วันท่ี ๑๑ ตลุ าคม ๒. ภาคเรียนท่ีสอง  วันเปิดภาคเรยี น คอื วนั ที่ ๑ พฤศจิกายน  วันปิดภาคเรียน คอื วันที่ ๑ เมษายน ของปถี ัดไป ในการเปิด – ปิดโรงเรียน อาจมีการเปล่ียนแปลงตามความเหมาะสม ข้ึนอยู่กับดุลยพินิจของ ส่วนหนว่ ยงานต้นสังกดั เป็นผู้กาหนดตามทีเ่ หน็ สมควร คมู่ ือปฏบิ ัตงิ าน โรงเรยี นพระปริยัตธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา

๒๗๔ ๓. การสอบ ในการดาเนินการจัดการสอบทุกประเภท ผู้ทาหน้าที่กากับการสอบมีส่วนสาคัญท่ีจะทาให้ การดาเนินการสอบเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น ผู้กากับการสอบจึงจาเป็นต้องทราบถึงข้อปฏิบัติ ต่าง ๆ เก่ียวกบั หนา้ ท่ขี องตนเองทั้งในด้านที่พึงกระทาและไม่พึงกระทา ดังต่อไปน้ี ๑. ปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนเกี่ยวกับการสอบ ไปถึงสถานท่ีสอบก่อนเวลาเริ่มสอบตาม สมควร หากไมส่ ามารถปฏบิ ัติไดด้ ้วยเหตผุ ลใด ๆ ใหร้ บี รายงานผ้บู ังคับบัญชาทราบโดยดว่ น ๒. กากบั การสอบ ให้ดาเนนิ ไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ย ไม่อธบิ ายคาถามใด ๆ ในข้อสอบแกผ่ ู้สอบ ๓. ไม่กระทาการใด ๆ อันเป็นการรบกวนแก่ผู้เข้าสอบ รวมทั้งไม่กระทาการใด ๆ อันเป็นการ ทาใหก้ ารปฏิบตั ขิ องผู้กากับการสอบไมส่ มบรู ณ์ ๔. แต่งกายให้สุภาพเรียบร้อยตามแบบท่ีโรงเรียนกาหนด หากผู้กากับการสอบไม่ปฏิบัติ ให้ผู้บงั คับบญั ชาพิจารณาความผิดและลงโทษตามควรแก่กรณี ๕. ผูก้ ากับการสอบมีความประมาทเลินเล่อหรือจงใจ ละเว้นหรือรู้เห็นแล้วไม่ปฏิบัติตามหน้าท่ี หรอื ไม่รายงานจนเปน็ เหตุให้มกี ารทจุ ริตในการสอบเกิดข้ึนถือวา่ เปน็ การประพฤตผิ ิดวินัยรา้ ยแรง ๔. การศกึ ษานอกสถานที่ การนานักเรียนไปนอกโรงเรียน หมายความว่า การที่ครู หรือผู้บริหารโรงเรียน นานักเรียน ไปทากิจกรรมการเรียนการสอนนอกโรงเรียนตั้งแต่สองรูปข้ึนไปซ่ึงอาจไปเวลาเปิดทาการสอนหรือไม่ก็ ได้ แต่ไม่รวมถึงการเดินทางไกลและการเข้าค่ายพักแรม และการไปนอกสถานท่ีตามคาส่ัง การขออนุญาตนานักเรยี นไปนอกสถานท่ี การขออนุญาตนานกั เรียนไปนอกสถานที่ สามารถจาแนกได้ ๓ ประเภท ดังนี้ ๑. การนาไปนอกโรงเรยี นไม่คา้ งคืน ขั้นตอน ครูผรู้ ับผิดชอบโครงการทาเรอื่ งเสนอผู้บริหารโรงเรียนพจิ ารณาอนญุ าต ๒. การนาไปนอกโรงเรียนคา้ งคืน ขัน้ ตอน ครูผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการทาเรือ่ งเสนอผู้บริหารโรงเรยี น ส่งเร่อื งให้ประธานกลมุ่ โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศึกษา พจิ ารณาอนุญาต ๓. การไปนอกราชอาณาจักร ขนั้ ตอน ครผู ้รู ับผดิ ชอบโครงการทาเรอื่ งเสนอผ้บู ริหาร และโรงเรียนส่งเรือ่ งให้ประธาน กลุม่ โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศกึ ษา พิจารณาเพื่อดาเนนิ การตาม ขนั้ ตอน ทั้งนี้ การนานักเรียนไปศึกษานอกสถานที่ โรงเรียนต้องจัดทาประกันชีวิตให้กับครูและ นักเรียนทุกรปู /คน ทุกครั้ง ข้อกาหนดที่ควรทราบ ๑. ครูผู้ควบคุมจาเป็นต้องมีครูที่เป็นผู้ช่วยผู้ควบคุมเพื่อดูแลในการเดินทาง โดย กาหนดให้ครู ๑ รปู /คน ตอ่ นกั เรยี นไม่เกิน ๓๐ รปู ๒. ทาการขอความร่วมมือไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องเพ่ือขอคาแนะนาหรือขอความ รว่ มมือ และต้องทาป้ายแสดงให้เห็นวา่ ยานพาหนะนั้นบรรทกุ นักเรียน ๓. การดาเนินการทุกข้ันตอน ต้องดาเนินการขออนุญาตผู้ปกครองของนักเรียนทุกคร้ัง และ หลงั จากกลบั มาตอ้ งรายงานผลการพานักเรียนและนกั ศึกษาไปนอกโรงเรยี นใหก้ ับผูส้ ่งั อนุญาตทราบ คูม่ ือปฏิบัติงาน โรงเรียนพระปริยตั ิธรรม แผนกสามญั ศึกษา

๒๗๕ ๕. การจดั ระบบงานและกจิ การในการแนะแนวให้คาปรกึ ษา กิจกรรมแนะแนว หมายความว่า กิจกรรมที่เกี่ยวกับงานแนะแนว การให้คาปรึกษา และ ฝึกอบรมเพื่อส่งเสริมความประพฤติที่เหมาะสม ความรับผิดชอบต่อสังคม และความปลอดภัยแก่ นักเรียน นักศึกษาและผู้ปกครอง ซึ่งโรงเรียนต้องจัดให้มีระบบงานและกิจกรรมที่เกี่ยวกับงานแนะแนว การให้คาปรึกษาและฝึกอบรมแก่นักเรียน โดยมีสาระสาคัญ ดังน้ี ๑. พัฒนาระบบงานแนะแนวที่จะช่วยเหลือดูแลนักเรียนเป็นรายบุคคล ครูทุก รูป/คน มีบทบาทในการแนะแนว รู้จักและเข้าใจผู้เรียน ค้นพบและจัดการเรียนรู้ที่จะพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน ให้คาปรึกษาด้านการดารงชีวิต การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเป็นระบบและต่อเน่ือง ๒. สารวจ เฝ้าระวัง และติดตามนักเรียนที่เสี่ยงต่อการกระทาผิด เพื่อจัดกิจกรรมในการ พัฒนาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ๓. แจ้งให้ผู้ปกครองของนักเรียนที่เสี่ยงต่อการกระทาผิดทราบถึงพฤติกรรม และหาแนว ทางแก้ไขปัญหาร่วมกัน ๔. จัดให้มีมาตรการส่งเสริมความปลอดภัย ป้องกัน และแก้ไขปัญหาความรุนแรง โดยมี แผนงาน ผู้รับผิดชอบ และการติดตามตรวจสอบ ๕. สนับสนุนให้ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมรับผิดชอบในการส่งเสริมความประพฤติ และความปลอดภัยของนักเรียน ๖. จัดให้มีระบบการติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการดาเนินงานต่อหน่วยงานต้น สังกัด อย่างนอ้ ยปีละหนงึ่ คร้งั ๖. การลงโทษนกั เรียน โทษท่จี ะลงโทษแกน่ ักเรียนทก่ี ระทาผดิ มี ๕ สถาน ดังนี้ ๑. วา่ กล่าวตกั เตือน ๒. ทาทณั ฑ์บน ๓. ตดั คะแนนความประพฤติ ๔. ทากิจกรรมเพ่ือปรับเปลยี่ นพฤตกิ รรม ๕. พกั การเรียน โดยการพักการเรียนใหท้ าได้ในกรณอี ย่างใดอย่างหน่งึ ดังตอ่ ไปนี้ - แสดงพฤตกิ รรมก้าวรา้ วเกนิ กว่าปกติ อนั มผี ลกระทบต่อร่างกายหรือจติ ใจของผู้อนื่ - แสดงพฤติกรรมทีข่ ดั ตอ่ ความสงบเรียบรอ้ ย หรือธรรมวินัยอยา่ งร้ายแรง - แสดงพฤติกรรมรนุ แรงทอ่ี าจละเมิดสิทธขิ องผู้อื่น - กระทาการที่เสีย่ งตอ่ การเกดิ อาชญากรรม ท้ังน้ี สาหรับการให้พ้นการเรียนจะส่ังพักการเรียนครั้งหนึ่งได้ไม่เกิน ๗ วัน โดยให้อานาจ ของคณะกรรมการโรงเรียนเป็นผู้พิจารณา ผ่านความเห็นชอบของประธานกลุ่มโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศกึ ษา การดาเนนิ การเพอื่ ให้ปรบั เปลีย่ นพฤติกรรม ใหป้ ฏบิ ตั ิอย่างใดอยา่ งหนง่ึ ดังน้ี ๑. ทาคุณประโยชน์ต่อสาธารณะ เชน่ ทาความสะอาดโรงเรียน ฯลฯ ๒. พฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม เช่น เขา้ ค่ายอบรมหลักสูตรคณุ ธรรม ๓. ส่งจิตแพทย์หรือนักจิตวิทยาเพ่ือการบาบัดฟ้ืนฟู ซ่ึงการดาเนินการในส่วนนี้จาเป็นต้องทา รว่ มกนั ระหวา่ งโรงเรยี นกบั บดิ ามารดา ผู้ปกครองนกั เรียน ค่มู อื ปฏิบตั งิ าน โรงเรยี นพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา

๒๗๖ ๗. ความสมั พันธก์ บั ชุมชน การบรหิ ารโรงเรยี นดา้ นการสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน เป็นการดาเนินงานของบุคคลในโรงเรียน เพ่ือสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน สาหรับบุคคลในโรงเรียนนั้น ประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียน ผู้ช่วย ผ้บู รหิ ารโรงเรียน รวมทัง้ ครู อาจารยท์ ุกคน จะดาเนนิ งานในการสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน เช่น การเรียน การสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยสอนให้ผู้เรียนนาความรู้ไปใช้ท่ีบ้านหรือนาไปใช้ในชุมชน หรือนา ความรู้ไปช่วยแก้ไขปัญหาในชุมชน บุคคลในโรงเรียนไปร่วมกิจกรรมในชุมชน โรงเรียนให้ความช่วยเหลือ ชมุ ชนใชท้ รัพยากรในชุมชน เป็นต้น การสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนจะช่วยพัฒนาคนให้มีคุณภาพหรือเป็นคนเก่ง คนดีได้ เช่น การสอนให้ผู้เรียนนาความรู้ไปใชท้ ่ีบา้ น หรือนาไปใช้ในชมุ ชน ไม่ใช่สอนให้ท่องจา ไม่ใช่สอนให้นาความรู้ไป สอบหรอื การสอนให้นกั เรียนนาความร้ไู ปชว่ ยแก้ไขปัญหาในชุมชนได้ หรือการเชิญปูชนียบุคคลในชุมชนมา ให้ความรู้แก่ผู้เรียน ย่อมจะทาให้ผู้เรียนมีความรู้กว้างขวางขึ้น ยิ่งไปกว่านั้นการบริหารงานด้านการสร้าง ความสัมพันธ์กับชุมชนจะต้องดาเนินงานไปพร้อม ๆ กับการบริหารงานด้านอ่ืน ๆ อย่างเท่าเทียมกัน จึงจะชว่ ยพัฒนาคนให้มคี ุณภาพ คือ เปน็ ท้ังคนเกง่ และคนดีได้ การสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน การดาเนินการอย่างจริงจังและจริงใจจะช่วยแก้ปัญหาการศึกษา ไดอ้ ย่างดี โดยการสร้างความสัมพนั ธก์ ับชุมชนสามารถดาเนนิ การได้หลายวิธี ดงั น้ี ๑. การสอนให้ผูเ้ รียนนาความรู้ไปใช้ในครอบครัวและชุมชน เช่น การละเว้นจากยาเสพติด การลด ละเลกิ อบายมขุ การลดละเลกิ ใชย้ าฆา่ แมลง ในการใชเ้ คร่ืองใช้ไฟฟ้า การปลูกผักปลอดสารพิษ การปลูกป่า รักษาธรรมชาติส่ิงแวดล้อม ฯลฯ เนื้อหาวิชาเหล่านี้เมื่อผู้เรียนเรียนในโรงเรียนแล้วผู้สอนจะย้าให้ผู้เรียน นาไปใช้ในครอบครัวและชุมชน และติดต่อประสานงานกับผู้ปกครองให้อบรมดูแลว่า ผู้เรียนสามารถนา ความรู้ไปใช้ไดห้ รอื ไมอ่ ย่างไร ๒. โรงเรยี นขอความร่วมมอื จากชุมชน ตัวอยา่ งเช่น - ขอความร่วมมือในด้านการเป็นวิทยากร หรือเป็นแหล่งศึกษาหาความรู้ เช่น ในชุมชนมี ภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ เหล่าน้ี - ขอความร่วมมือในด้านทุนทรัพย์ วัสดุ ครุภัณฑ์จากชุมชน เช่น ขอบริจาคเงินจากธนาคาร/ บริษัท/ห้างร้าน ในชุมชนเพ่ือนามาใช้จ่ายในโรงเรียน หรือเป็นเงินทุนสาหรับผู้เรียนท่ียากจน ขอบริจาค หนังสือ เครื่องเขียนจากสานักพิมพ์ โรงพิมพ์ ร้านจาหน่ายเครื่องเขียนแบบเรียนขอบริจาคข้าวสาร ผัก ผลไม้ ไข่ไก่ จากประชาชนในชุมชนเพอ่ื นามาทาอาหารกลางวนั แก่ผเู้ รยี นในโรงเรียน เป็นตน้ ๓. โรงเรียนให้ความช่วยเหลือชมุ ชน ตัวอย่างเช่น - จัดให้มีการสอนหรือฝึกอบรมเก่ียวกับวิชาชีพให้กับประชาชนในชุมชน เช่น การตอน การติด ตา การตอ่ ก่งิ ตน้ ไม้ การเกษตรผสมผสาน การใช้คอมพิวเตอร์ การแกแ้ ละซอ่ มเครอ่ื งยนต์ เป็นตน้ - ให้ความช่วยเหลือในด้านความรู้ และเผยแพร่ความรู้ใหม่ ๆ แก่ประชาชนในชุมชน เช่น ความรู้เกี่ยวกับอาหาร การรักษาโรคแบบธรรมชาติบาบัด อันตรายจากยาฆ่าแมลงในผักผลไม้ การเกษตร ทฤษฎใี หม่ เกษตรกรรมทางเลือก เปน็ ตน้ - จัดบริการขา่ วสารเพอื่ พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนในชุมชน เช่น โรงเรียนทาหอกระจาย ขา่ ว แลว้ ถ่ายทอดเสยี งจากรายการวิทยทุ ่เี ป็นความรู้เพ่ือประชาชนจะได้นาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้ หรอื อ่านขา่ วสารความรเู้ ก่ียวกบั การรักษาสขุ ภาพอนามัย เปน็ ต้น - การเป็นผ้นู าและให้ความร่วมมือในการพฒั นาชมุ ชน โรงเรยี นจะดาเนินการได้โดยจัดโครงการ พัฒนาชุมชน โดยชมุ ชนสนับสนุนดา้ นบุคลากรและวัสดุอปุ กรณ์ เช่น ทาความสะอาดชมุ ชน เปน็ ตน้ คู่มือปฏิบัติงาน โรงเรียนพระปรยิ ตั ิธรรม แผนกสามญั ศึกษา

๒๗๗ ๔. บรกิ ารเกี่ยวกับอาคารสถานที่ของโรงเรียนแก่ประชาชนในชุมชน เช่น ให้ประชาชนในชุมชนใช้ หอประชุม ใช้หอ้ งสมดุ ใช้ห้องพยาบาล ใช้โรงอาหาร เปน็ ตน้ ๕. การออกเย่ยี มเยยี นผ้ปู กครอง และผู้เรียนตามวัด เช่น เม่ือผู้เรียนเจ็บป่วย หรือผู้สอนไปแนะนา ผู้เรยี น รวมทัง้ การเข้าร่วมกจิ กรรมของชมุ ชน เป็นต้น ๖. การประชาสัมพันธ์โรงเรียน เช่น จัดให้มีส่ิงพิมพ์เพื่อเผยแพร่ข่าวสารของโรงเรียนอาจทาในรูป ของจดหมายข่าว วารสาร จัดให้มเี จา้ หนา้ ทปี่ ระชาสัมพันธเ์ พอื่ ให้ข้อมูลแก่ผู้มาติดต่อสอบถาม หรือให้ความ สะดวกแก่ผตู้ ดิ ตอ่ โรงเรียน ๗. การเชิญผู้ปกครองและประชาชนในชุมชนมาประชุม เช่น ในวันปฐมนิเทศนักเรียนใหม่ วันเปิด เรียนในภาคเรยี นแรกของปีการศกึ ษา เปน็ ต้น ๘. การรายงานผลการเรียนอื่น ๆ ให้ผู้ปกครองทราบ เช่น การรายงานเป็นประจาวันหรือทาสมุด พกประจาตัวนกั เรียน ซ่ึงจะมีทัง้ ผลการเรียน ความประพฤติ สุขภาพ และอน่ื ๆ ๙. การใชท้ รัพยากรท้องถ่นิ ในงานวิชาการ แบง่ ออกได้เป็น ๔ ข้อย่อย ดงั น้ี ๑) ทรัพยากรบุคคล ได้แก่ นักวิชาการ ครู อาจารย์จากโรงเรียนอื่น ศิลปินพื้นบ้าน ผู้อาวุโส ผู้เป็นปูชนียบุคคลในหมู่บ้าน ผู้ปกครองนักเรียน ซ่ึงนามาใช้ในลักษณะขอคาปรึกษาและ ข้อเสนอแนะ หรือเชิญเปน็ วิทยากรให้ความรแู้ ก่ผเู้ รยี น เปน็ ต้น ๒) ทรัพยากรวัตถุท่ีมนุษย์สร้างขึ้น ได้แก่ โสตทัศนูปกรณ์ โรงเรียนอื่น นามาใช้ในลักษณะของ การสนับสนุนวสั ดุอุปกรณ์การศกึ ษา การรว่ มมอื ทางวิชาการ เปน็ ต้น ๓) ทรัพยากรธรรมชาติ ได้แก่ ป่าไม้ ภูเขา ทะเล ปะการัง หิน แร่ธาตุ สัตว์ป่า สมุนไพร ซงึ่ จะนามาใช้ในลกั ษณะเปน็ สือ่ การเรียนการสอน การไปทัศนศกึ ษา การชว่ ยกันอนรุ กั ษ์ไว้ เปน็ ต้น ๔) ทรัพยากรสังคม ได้แก่ วันสาคัญ ศิลปะพื้นบ้าน วัฒนธรรมพ้ืนบ้าน โบราณสถาน โบราณวัตถุ ประเพณีต่าง ๆ ซึ่งจะนามาใช้ได้ในลักษณะให้ครู อาจารย์ นิสิต นักศึกษา นักเรียนเข้าร่วม กจิ กรรมโดยตรง จดั นิทรรศการ การศกึ ษาหาข้อมูลเพ่อื จะไดช้ ว่ ยกันอนรุ ักษ์ไว้ เปน็ ตน้ ๑๐. การมีปฏิสัมพันธ์ท่ีดีกับชุมชน ความใกล้ชิดและเป็นกันเองของบุคลากรกับชุมชนถือเป็นส่วน หน่ึงทที่ าให้เกดิ ความสัมพนั ธ์ท่ีดกี บั ชมุ ชนอยา่ งแนบแน่น โรงเรียนเรานั้นมีแนวปฏิบัติเกี่ยวกับความสัมพันธ์ กบั ชุมชนหลายงานด้วยกนั คือ ๑) งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ครูทุกคนจะต้องมีเด็กที่ต้องดูแล ด้วยการออกเยี่ยมบ้าน นักเรียนของบุคลากรทุกท่านเพื่อได้พูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปัญหา ความพึงพอใจและความต้องการ ของชุมชนต่อโรงเรียน และโรงเรียนต่อชุมชน จึงเป็นส่วนหนึ่งให้ผู้ปกครองนักเรียน และครูได้มีส่วน ปฏิสัมพันธ์ที่ดีตอ่ กนั ๒) การต้อนรับผู้ปกครองท่ีเข้ามาสู่โรงเรียนด้วยไมตรีจิตท่ีดี ทักทาย พูดคุย แนะนาข้อมูลด้วย ความเปน็ กันเอง ๓) การมีโอกาสทไี่ ด้พบปะสังสรรคก์ ับชมุ ชนนอกโรงเรยี น อา้ งองิ ข้อมลู จาก ๑. รองศาสตราจารย์หวน พินธุพนั ธ์ การบรหิ ารโรงเรยี นดา้ นการสร้างความสัมพันธ์กับชมุ ชน ๒. นายสมชาย ลิม้ ประจันทร์ โรงเรียนหนองวลั ย์เปรียงวิทยา คู่มือปฏบิ ัตงิ าน โรงเรียนพระปริยตั ิธรรม แผนกสามัญศกึ ษา

๒๗๘ ๑. การจดั ระบบบรหิ ารและสารสนเทศภายในโรงเรียน ๑.๑ การจัดระบบบริหารและสารสนเทศภายในโรงเรยี น การปฏิรูปการศึกษารอบสอง มีความต้องการเน้น ๒ เรื่องหลัก คือ คุณภาพการศึกษาและโอกาส ทางการศึกษา ซ่ึงจะเน้นไปท่ีคุณภาพครู เพราะเป็นปัจจัยสาคัญไปสู่คุณภาพของผู้เรียน ซึ่งถือเป็นโอกาส ทางการศึกษา ซ่ึงถือเป็นตรรกะท่ีชี้ชัดอยู่แล้วว่า คุณภาพของครูจะส่งผลให้ผู้เรียนมีความรู้ เก่ง มีคุณธรรม มีรากเหง้าของความเป็นไทย ขณะเดียวกันจะให้ทุกคนเข้าถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพ เปิดโอกาสให้ทุกฝ่าย เข้ามามีส่วนร่วมจัดการศึกษาและผลักดันการศึกษา การเรียนรู้ไปจนตลอดชีวิตของเราในสังคมข้างนอก ซ่ึงจะส่งผลถึงความสามารถในการแข่งขันของประชาชนในประเทศให้เพิ่มข้ึนด้วย นอกจากน้ีการปฏิรูป การศกึ ษารอบสอง จะต้องทาใหเ้ ดก็ ของเราเป็นคนเก่ง ดี มีความสขุ แนวความคิดปฏิรูปการศึกษาจึงจะต้อง ปรับเปลี่ยนใหม่ ไม่ใช่ถูกกาหนดโดยเอาแต่ตามตัวบทกฎหมายการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ กาหนด ชดั เจนมานานว่าต้องเน้นผู้เรียนเป็นหลัก (Student Center) มีครูเป็นผู้อานวยให้เกิดความรู้ (Facilitator) นาหลักเร่ืองการศึกษาของทุกคน และทุกคนเพื่อการศึกษา (Education for all-All education) เพื่อให้ ทุกภาคส่วนได้เข้ามามีส่วนร่วมจัดการศึกษาของชาติ แต่ยังมีปัจจัยสาคัญที่ต้องนามาพิจารณาอีกมาก เช่น คุณลักษณะประจาชาติของคนไทย (National characteristics) และกระบวนทัศน์ในกระแสหลัก โลกาภิวัฒน์ (Globalization – main streams) ล้วนเป็นองค์ประกอบสาคัญของการปฏิรูปการศึกษา การปฏิรูปการศึกษาในระบบ (Formal Education) ซึ่งจะต้องเป็นสิ่งที่ใส่เข้าไป (In-put) สาหรับผู้เรียน และกระบวนการในการจัดการศึกษาระบบนี้เอง คือ ส่ิงท่ีอบรม ส่ังสอน (Imposition Oriented Approach) ให้กับผู้เรียน กระบวนการเหล่าน้ีจะหล่อหลอมเด็กให้มีคุณลักษณะประจาชาติ อัตลักษณ์ ของความเป็นชาติ (Out-put) จะเป็นลักษณะพึงประสงค์ของความเป็นคนไทยอย่างท่ีคาดหวัง ดังนั้น จึงมีแนวคดิ ใหม่ในการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา เพ่มิ โอกาสทางการศึกษาและเรียนรู้ และส่งเสริมการมีส่วน รว่ มของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา ๔ ประการ ดังนี้ ประการทีห่ นงึ่ คอื การพฒั นาคุณภาพคนไทยยุคใหม่ เด็กไทยและคนไทยในอนาคต เป็นคนเก่ง ดี มีความสขุ ดารงรกั ษาความเป็นไทย และรู้เทา่ ทนั กับสถานการณ์ของโลก ประการท่ีสอง คือ การพัฒนาครูยุคใหม่ โครงการครูพันธุ์ใหม่ ด้วยกระบวนการผลิตการอบรม ครปู ระจาการให้มคี วามพรอ้ มมากย่ิงขน้ึ ให้มจี ติ วญิ ญาณแห่งความเป็นครู และเป็นวิชาชพี ทีส่ ูง ประการท่ีสาม คือ การพัฒนาโรงเรียนและแหล่งความรู้ยุคใหม่ โดยโรงเรียน ทุกระดับและทุก ประเภทต้องได้รับการพัฒนาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพ และพัฒนาแหล่งเรียนรู้อ่ืน ๆ เช่น ห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ สวนสัตว์ อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นต้น ให้เป็นศูนย์เรียนรู้สาหรับเด็กและประชาชน ทว่ั ไป ประการที่ส่ี คือ การพัฒนาการบริหารจัดการใหม่ ที่มุ่งเน้นเร่ืองการกระจายอานาจ เพื่อที่ให้ การบริหารโรงเรียนมีความคลอ่ งตัวและเปน็ อสิ ระมากทส่ี ุดควบคู่ไปกับการเน้นธรรมาภบิ าล ท้ังน้ี การขบั เคล่อื นแนวทาง ๔ ประการให้สาเร็จเป็นรูปธรรม โดยมีเป้าหมาย ๓ ประการ คือ การ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาและเรียนรู้ และการส่งเสริมและการ พฒั นาการมสี ว่ นรว่ มของทกุ ภาคสว่ นในการจัดการศึกษา โรงเรียนต้องทบทวนการจัดระบบบริหารทรัพยากรท่ีมีอยู่ ว่ามีความเหมาะสมกับองค์ภาระงาน ความจาเป็นของโรงเรียน เอื้อต่อการดาเนินงาน โดยผ่านกระบวนการวิเคราะห์วางแผน กาหนดเป้าหมาย ความสาเร็จอย่างชัดเจน บนพื้นฐานของการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้องได้แก่ ผู้เรียน ครูผู้สอน คณะกรรมการโรงเรียน ผู้บริหารโรงเรียน มีการกระจายอานาจอย่างสมดุลและคุณภาพได้รับการพัฒนา จากการนาผล การวิเคราะห์วิจัยมาใช้ การจัดระบบสารสนเทศเน้นให้เกิดการบันทึก การเก็บและวิเคราะห์ คู่มอื ปฏบิ ัตงิ าน โรงเรียนพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา

๒๗๙ ข้อมูลอย่างเป็นระบบที่สมบูรณ์ มีความครอบคลุม และตรวจสอบได้ นามาใช้ในการตัดสินใจได้ โรงเรียน อาจจะพัฒนาให้ทันสมัย เช่น พัฒนาระบบสารสนเทศที่ใช้คอมพิวเตอร์ (Computer-Based Information Systems: CBIS) ในโรงเรียน เป็นต้น ๑.๒ แนวคดิ และหลักการของระบบบริหารและสารสนเทศ ระบบบริหารและสารสนเทศภายในโรงเรยี น ๑. แนวคิดและหลกั การจัดระบบบริหารและสารสนเทศภายในโรงเรียน การจัดระบบบริหารและสารสนเทศของโรงเรียน นับว่ามีความสาคัญและจาเป็นอย่างย่ิง ในการดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพ ของโรงเรียน เป็นไปตามมาตรฐานที่ต้องการ และครอบคลุมภารกิจด้านบริหารจัดการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ โรงเรียนต้องมีระบบการบริหารและการจัดการศึกษา ท่ีนาไปสู่คุณภาพของผู้เรียน รวมถึง ระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ เป็นระบบ ถูกต้อง สมบูรณ์ เป็นปัจจัยและสามารถเรียกใช้ข้อมูล สารสนเทศไดต้ ลอดเวลา โดยผบู้ ริหารโรงเรียนสามารถนาไปใช้ในการตัดสนิ ใจดาเนินการต่าง ๆ ตามระบบ การประกนั คุณภาพภายในโรงเรยี นไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ในการดาเนินการจัดระบบบริหารและสารสนเทศ เพ่ือให้ได้ข้อมูลสารสนเทศที่มีคุณภาพ สาหรับการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนให้ได้ตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน ผู้ท่ีเก่ียวข้องควรศึกษาแนวคิดและดาเนินการทั้งสองส่วนควบคู่กันไปในขณะเดียวกัน เพ่ือให้มีความ สอดคล้องและเกิดประโยชน์สูงสุดในการบริหารและการจัดการศึกษา เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพทั้ง ภายในและภายนอก โรงเรียนทุกแห่งมีความต้องการให้องค์กรบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพเป็นท่ี ยอมรับของสังคม ต้องได้ดาเนินการ สร้างระบบ กลไกหรือกระบวนการในการบริหารจัดการศึกษาให้มี คุณภาพได้มาตรฐานตามที่กาหนด เพ่ือให้สอดคล้องกับแนวคิดของการประกันคุณภาพการศึกษา สร้างความม่ันคงและหลักประกันต่อผู้ปกครอง ชุมชน และสังคมว่าโรงเรียนสามารถจัดการศึกษาได้ตาม แนวคิดและหลักการบริหารโรงเรียนให้ได้คุณภาพจึงมีความสาคัญต่อผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้อง ท่ีจะนาองค์ ความรู้ไปใชใ้ นการวางระบบการบริหารโรงเรียนได้อยา่ งเหมาะสม ๒. ระบบสารสนเทศในโรงเรยี น ในโรงเรียนมีข้อมูลมากมายกระจัดกระจายอยู่ในส่วนต่าง ๆ ตามภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบของครู บุคลากรและผู้ที่เก่ียวข้อง หากไม่มีการจัดระบบข้อมูลสารสนเทศให้เป็นระบบ ระเบยี บแลว้ จะเกิดความไมส่ ะดวกหรือเกิดความยุ่งยากในการนาไปใช้ หรือมีข้อมูลสารสนเทศท่ีไม่ตรงกับ ความตอ้ งการของผู้ใช้ ซ่ึงไมเ่ กดิ ประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพของโรงเรียน เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกัน ขอนาเสนอความหมายของคาท่ีเก่ียวข้องกับการจดั ระบบสารสนเทศในโรงเรยี น ดงั น้ี  ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ซึ่งอาจแสดงเป็นตัวเลข ตัวหนังสือ หรือ สัญลักษณ์ ข้อเท็จจริงเหล่าน้ีเป็นส่ิงที่เก็บรวบรวมมาโดยยังไม่ผ่านการประมวลผล หรือการวิเคราะห์จัดทา จึงทาให้ส่วนมากไม่มีความหมายสมบูรณ์พอที่จะนาไปใช้ ประกอบการตัดสินใจ ตัวอย่างของข้อมูล เช่น จานวนห้องเรียน จานวนนักเรียน น้าหนัก ส่วนสูง เกรดเฉล่ีย คะแนนสอบ O-NET B-NET ผลการประเมินตัวชี้วัดตาม มาตรฐานหลกั สูตรโรงเรียน เปน็ ต้น คมู่ ือปฏิบตั ิงาน โรงเรยี นพระปริยัตธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา

๒๘๐  สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลที่ได้ผ่านการประมวลผลหรือ การวิเคราะห์ด้วยวิธีการ ต่าง ๆ จนอยู่ในรูปแบบที่มีความหมาย สามารถนาไปใช้ ประกอบการตัดสนิ ใจหรือนาไปใช้ในเร่ืองต่าง ๆ ได้ตามวัตถุประสงค์ เช่น อัตราส่วน ครูต่อนักเรียน การเปรียบเทียบผลการดาเนินงาน ตั้งแต่เริ่มดาเนินการ การจัด เรียงลาดับคะแนนของนักเรียน ร้อยละของนักเรียนท่ีมีผลการเรียนต้ังแต่ระดับ ๓ ขึ้นไป ร้อยละของนักเรียนที่ผ่านการประเมินคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร ต้งั แตร่ ะดับ ๓ ข้นึ ไป ร้อยละของนักเรียนที่ผา่ นการประเมินคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ตามหลักสตู รโรงเรยี นในระดบั ดีเย่ียม ดี ผา่ น ไม่ผ่าน เปน็ ตน้  ระบบสารสนเทศ (Information System) หมายถึง กระบวนการเก็บรวบรวม ข้อมูล การประมวลผลให้อยู่ในรูปสารสนเทศท่ีเป็นประโยชน์สูงสุดและการจัดเก็บ รักษาอย่างมีระบบเพ่ือความสะดวกต่อการนาไปใช้ สารสนเทศท่ีเป็นประโยชน์ที่ถูก จัดเก็บอย่างเป็นระบบ จะสามารถนาไปใช้สนับสนุนการบริหารและการตัดสินใจ ทั้งในระดับผู้ปฏิบัตกิ ารและระดับผบู้ รหิ ารโรงเรยี น จากความหมายที่กล่าวมาข้างต้น สารสนเทศของโรงเรียน จึงเกิดจากการนาข้อมูลต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนจากการปฏิบัติตามหน้าท่ีความรับผิดชอบของครู บุคลากรในโรงเรียนและผู้ที่เก่ียวข้องมาจัดทา ประมวลผลหรือวิเคราะห์ดว้ ยวิธีการต่าง ๆ เช่น การจัดหมวดหมู่ การเรียงลาดับ การแจงนับ การวิเคราะห์ ฯลฯ ตลอดจนการใช้สูตรทางคณิตศาสตร์ต่าง ๆ (คานวณหาค่าร้อยละค่าเฉล่ียส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความ แปรปรวน ฯลฯ) ผลที่ได้จากการจัดกระทาด้วยวิธีต่าง ๆ จะเป็นสารสนเทศ ซึ่งสามารนาเสนอได้ในหลาย รปู แบบ เช่น ตาราง แผนภาพ กราฟ หรือ การบรรยายความเรียง เปน็ ต้น ในส่วนของระบบสารสนเทศน้ัน จากข้อมูลสารสนเทศท่ีมีอยู่มากมายในโรงเรียน ต้องมีกระบวนการหรือข้ันตอนการจัดระบบสารสนเทศท่ีดีจึงจะได้สารสนเทศท่ีมีคุณภาพ ตรงกับความ ต้องการของผใู้ ช้ โดยท่วั ไป การจดั ระบบสารสนเทศ จะมขี น้ั ตอนการดาเนินงานหลกั ๆ ๕ ขั้นตอน คอื ๑. การรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ นั้น จะต้องกาหนดรายการข้อมูล ที่ต้องการ กาหนดวิธีการจัดเก็บ สร้างหรือจัดหาเครื่องมือในการจัดเก็บให้สอดคล้องกับลักษณะของข้อมูลและ แหล่งข้อมูล เช่น แบบสารวจ แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม แบบบันทึก แบบสังเกต เป็นต้น นอกจากนั้น ควรกาหนดเวลาในการจัดเก็บหรือผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บโดยในการจัดเก็บโดยต้องคานึ งถึงข้อมูลท่ีตรง กับความต้องการที่กาหนดไว้และมีความเช่ือถือได้ การกาหนดรายการข้อมูลท่ีต้องการนั้น อาจดาเนินการโดยศึกษาจากมาตรฐานการศึกษา ในระบบการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียน มาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเพื่อการประเมินคุณภาพ ภายในของกระทรวงศึกษาธิการ มาตรฐานการศึกษาเพ่ือการประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ. มาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ฯลฯ จากน้ันจึง กาหนดวธิ ีการและเครอ่ื งมอื สาหรับรวบรวมข้อมลู ให้มีความสอดคลอ้ งกนั เช่น กาหนดวิธีการรวบรวมข้อมูล ดว้ ยการสอบถาม เครื่องมือทใ่ี ช้ควรเป็นแบบสอบถาม หรือใช้วิธกี ารรวบรวมขอ้ มลู ดว้ ยการสังเกต เคร่ืองมือ ที่ใชก้ ค็ วรเป็นแบบสังเกต เป็นต้น คู่มือปฏิบตั ิงาน โรงเรียนพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา

๒๘๑ ๒. การตรวจสอบขอ้ มูล ข้อมูลท่ีเก็บรวบรวมมาได้ก่อนที่จะนาไปประมวลผล ควรมีการตรวจสอบความถูกต้องข องข้อมูลก่อน โดยพิจารณาจากความถกู ตอ้ ง ความสมบูรณ์ และความเปน็ ปจั จบุ นั ของข้อมลู ๓. การประมวลผลข้อมลู ขั้นน้ี เป็นการนาข้อมูลมาประมวลผลให้เป็นสารสนเทศ หรือเป็นการเปล่ียนแปลงข้อมูล ให้อยู่ในรูปแบบที่นาไปใช้ประโยชน์ได้ ข้อมูลใดที่เป็นสารสนเทศอยู่แล้ว ก็นามาจัดกลุ่ม แยกแยะตาม ลักษณะและประเภทของสารสนเทศ ซึ่งการประมวลผลน้ันอาจเป็นการจัดหมวดหมู่ การเรียงลาดับ การแจงนบั ตลอดไปถึงการใช้สูตรทางคณิตศาสตร์ การดาเนินการอาจใช้วิธีการง่าย ๆ ที่เรียกว่าทาด้วยมือ ใชเ้ คร่อื งคานวณเล็ก ๆ มาช่วย จนกระท่ังใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่คือ คอมพิวเตอร์ก็ได้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ควรใช้ค่าสถิติที่ง่ายและตรงท่ีสุด ค่าสถิติที่นิยมนามาใช้ เช่น ค่าร้อยละ อัตราส่วน ค่าเฉลี่ย ค่าเบ่ียงเบน มาตรฐาน หรอื แม้กระทั่งการ แจกแจงความถ่ี ทเี่ ป็นการหาค่าสถติ ิท่งี า่ ยทส่ี ดุ ๔. การนาเสนอขอ้ มูลและสารสนเทศ ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลหรือจัดทาเป็นสารสนเทศที่มีความหมายชัดเจน มีความ กะทัดรัด ตรงกับความต้องการและสะดวกต่อการนาไปใช้ อาจนาเสนอในรูปของตาราง แผนภาพ กราฟ หรือการบรรยายเป็นความเรียงก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของการนาไปใช้และลักษณะของ สารสนเทศนั้น ๆ ๕. การจัดเกบ็ ขอ้ มูลและสารสนเทศ เป็นการจัดเก็บท้ังส่วนท่ีเป็นข้อมูลและส่วนที่เป็นสารสนเทศไว้ในสื่อต่าง ๆ อย่างมี ระเบียบ สะดวกต่อการค้นหาเพ่ือนามาใช้ประโยชน์ การจัดเก็บอาจจัดเก็บเป็นแฟ้มเอกสารหรือแฟ้ม อิเล็กทรอนิกส์ ตามศักยภาพของโรงเรียน แต่ต้องคานึงถึงระบบของการค้นหาให้สะดวกต่อการ เปล่ียนแปลง ปรับปรุงข้อมูลเป็นปัจจุบัน การนาข้อมูลไปประมวลผลใหม่ รวมท้ังการนาสารสนเทศไปใช้ ประโยชน์ในงานต่าง ๆ โรงเรียนท่ีมีระบบสารสนเทศท่ีสมบูรณ์ ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน เรียกใช้ได้สะดวกและตรง ตามความต้องการ จะช่วยให้โรงเรียนสามารถดาเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล เป็นการสร้างความม่ันใจที่ตั้งอยู่บนรากฐานของหลักวิชา หลักฐานข้อเท็จจริงที่ สามารถตรวจสอบได้ มีกระบวนการวิเคราะห์ ประมวลผลท่ีเป็นวิทยาศาสตร์ มีความสมเหตุสมผล เพราะ สารสนเทศทั้งหลายนั้นนอกจากจะใช้ในการวางแผนการดาเนินงานและประกอบการตัดสินใจแล้ว ยัง นาไปสกู่ ารพฒั นาแนวความคิด และสร้างทางเลอื กใหม่ ๆ ในการดาเนินการต่าง ๆ ดว้ ย ตัวอย่างการจดั เก็บข้อมลู สารสนเทศ โดยใชแ้ ฟม้ เอกสาร อาจแบ่งได้ ดังนี้ ๑. แฟ้มขอ้ มลู หลัก : เปน็ ขอ้ มูลพ้นื ฐานซ่งึ แบง่ เปน็ หลายแฟ้มตามโครงสร้างของงาน ๒. แฟ้มข้อมูลยอ่ ย : เปน็ แฟ้มข้อมลู ใหม่ ๆ ของแฟม้ ข้อมลู หลักแตย่ ังอาจต้องปรับ ให้เปน็ ปัจจบุ นั ๓. แฟม้ ดัชนี : เปน็ แฟม้ เลขดัชนีทรี่ ะบุว่าข้อมลู ใดอย่สู ่วนไหนของข้อมูลหลกั ๔. แฟม้ ตารางอา้ งอิง : เป็นแฟม้ รวบรวมข้อมูลในลกั ษณะตารางซ่งึ ใช้ประโยชนก์ ารอ้างอิง ๕. แฟม้ ข้อมลู สรปุ : เปน็ แฟม้ ที่รวบรวมขอ้ มลู ในรูปแบบของการสรุปผล ๖. แฟม้ ขอ้ มลู สารอง : เป็นการสรา้ งแฟ้มสารองขอ้ มูลสาคญั ๆ เพื่อประโยชนใ์ นกรณีทขี่ ้อมูล เดิมสญู หาย ค่มู อื ปฏบิ ัติงาน โรงเรยี นพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา

๒๘๒ กระบวนการจดั ระบบบริหารและสารสนเทศของโรงเรียน ๑ องคป์ ระกอบของระบบบรหิ ารภายในโรงเรียน โรงเรียนเป็นองคก์ รท่เี ปน็ ระบบ ประกอบด้วยระบบย่อยภายในอีกหลายระบบด้วย ซึ่งแต่ละระบบ มีวัตถุประสงค์เฉพาะ มีโครงสร้างและกลไกในการสร้างงานเฉพาะของตน ซึ่งจะนาไปสู่วัตถุประสงค์ ของโรงเรยี น ท้ังน้ี ระบบย่อยภายในโรงเรยี นมีองคป์ ระกอบสาคัญ ๕ ด้าน ดังนี้ ๑. ปัจจยั นาเข้า (Input) เปน็ ทรัพยากรหรอื ส่ิงท่ีจาเปน็ เพอ่ื นาไปสู่ระบบและก่อให้เกิดการทางาน ได้แก่ นกั เรียน ครู อาจารย์ วสั ดุอุปกรณ์ งบประมาณ อาคารสถานที่ เทคโนโลยี หลักสูตร โรงเรียน เปน็ ต้น ๒. กระบวนการ (Process) เป็นการทาหน้าท่ีแปรสภาพทรัพยากรหรือประมวลผลให้เป็นผลผลิต ไดแ้ ก่ กระบวนการเรยี นการสอน กระบวนการบริหาร กระบวนการจดั ระบบสารสนเทศ เป็นต้น ๓. ผลผลิต (Output) เปน็ สิ่งทีต่ ้องการให้เกิดขึ้นตามวัตถุประสงค์ของระบบ ได้แก่ นักเรียนที่จบ การศึกษามีความรู้ครบถ้วนตามหลกั สูตร ความพงึ พอใจของนักเรยี น ผปู้ กครองและครู เป็นตน้ ๔. ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) เป็นส่วนที่ใช้ควบคุมการทางานของระบบให้เป็นไปตาม วตั ถุประสงค์ รวมถึงชี้ให้เห็นข้อดีและข้อบกพร่องของปัจจัยนาเข้า กระบวนการ และผลผลิต ซึ่งจะนาไปสู่ การปรับปรุงเพื่อให้ได้มาซ่ึงคุณภาพตามต้องการ ได้แก่ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน ผลการ ปฏบิ ตั ิงานของครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ผลการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา เป็นต้น ๕. สภาพแวดล้อม (Environment) เป็นสภาพทั่วไปของบริบทที่อยู่ล้อมรอบระบบหรือองค์กร ได้แก่ ที่ต้ัง ชุมชน ผู้ปกครอง บรรยากาศขององค์กร เป็นต้นความสัมพันธ์ระหว่างระบบบริหารและ สารสนเทศกับระบบประกนั คุณภาพภายในของโรงเรียน เม่ือพิจารณาหลักการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนตามกฎกระทรวงว่าด้วย ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ ซ่ึงประกอบด้วย การประเมินคุณภาพ การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา การพัฒนาคุณภาพกับหลักการบริหารที่เป็นระบบ ต้องมีความ สอดคล้องกนั ๒ รปู แบบการบริหารและจดั การศกึ ษาในโรงเรยี น การส่งเสริมให้โรงเรียนมีการพัฒนาระบบบริหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมุ่งเน้นการปฏิบัติจริง แล้วนาไปสู่การขยายผลภายในโรงเรียนและการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย ท่ีเก่ียวข้องในการปฏิบัติงานอย่าง เป็นกัลยาณมิตร ในรูปแบบของการพัฒนาโรงเรียน ทั้งระบบ (Whole School Approach) เพื่อให้ สอดคล้องกับการดาเนินงานตามกฎกระทรวง ว่าด้วยระบบภายนอกโดยสานักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมนิ คุณภาพการศึกษา(องคก์ ารมหาชน) หรอื สมศ. ในรอบถดั ไป ๓ สารสนเทศในโรงเรียน ปัจจุบันในการจัดเก็บข้อมูล และการประมวลผลหรือการวิเคราะห์ข้อมูล มักมีการใช้เทคโนโลยี เช่น คอมพิวเตอร์ เป็นเคร่ืองมือที่จะใช้ในการดาเนินการดังกล่าวสามารถกระทาได้รวดเร็วและถูกต้อง ท้ังนี้ การประมวลผล อาจจัดกระทาในลักษณะของข้อมลู เชงิ คุณภาพ ตามกระบวนการวิจยั เชิงคณุ ภาพก็ได้ เทคโนโลยีสารสนเทศจึงเป็นส่วนหนึ่งท่ีเข้ามามีบทบาทในการจัดการระบบสารสนเทศในโรงเรียน ในรูปของโปรแกรมประยุกต์ ซึ่งพัฒนาโดยสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จึงขอนาเสนอ โปรแกรมประยุกต์ใช้และแนวปฏิบัติในการจัดการระบบข้อมูลสารสนเทศในโรงเรียน เทคนิควิธีการปฏิบัติ โปรแกรมในการจัดการระบบข้อมูลสารสนเทศของโรงเรยี น คมู่ ือปฏิบัตงิ าน โรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา

๒๘๓ ข้อมูลสารสนเทศท่ีทันสมัยด้วยแล้วผู้บริการที่ดีจึงจาเป็นอย่างย่ิงท่ีต้องมีความรู้ ทักษะในการนา ขอ้ มูลสารสนเทศมาใช้ในการบริหารงานในโรงเรยี นตามโครงสร้างการบริหารโรงเรียนในปัจจุบันได้แบ่งงาน ออกเป็น ๔ ด้าน ดังน้ี การบริหารงานวิชาการ การบริหารงานบุคลากร การบริหารงานท่ัวไป และการบริหารงบประมาณ ซ่ึงงานแต่ละงานมีความสาคัญต้องดาเนินการให้ถูกต้อง รวดเร็ว และเป็น ปัจจุบัน โดยแต่ละงานยังใช้ข้อมูลสารสนเทศจากโปรแกรมที่แตกต่างกัน เช่น eis ระบบสารสนเทศทาง การศึกษา โปรแกรม e-office ด้านงานธุรการ การบริหารงานวชิ าการจะใชโ้ ปรแกรม Student ๔๔ ในด้าน งานทะเบียนและวัดผล ซึ่งข้อมูลสารสนเทศที่จัดทาขึ้นจะต้องนาไปใช้ในการให้บริการหน่วยงานอื่นและผู้ ขอรับบริการจากโรงเรียน e-citizen ระบบจัดเก็บข้อมูลรายบุคคล GPA โปรแกรมจัดทาผลการเรียนเฉล่ีย เป็นตน้ ประเภทของสารสนเทศในโรงเรยี น มีดงั นี้ ๑. งานวชิ าการ ๒. งานงบประมาณ ๓. งานบริหารงานบคุ คล ๔. งานบรหิ ารงานทว่ั ไป เน่ืองจากการบริหารงานของโรงเรียนจะเก่ียวข้องกับบุคลากรในโรงเรียนทุกคน ผู้บริหารในฐานะ ผนู้ าจึงจาเปน็ ตอ้ งมคี วามรู้ ความเข้าใจหลักในการบรหิ ารและใช้ข้อมลู สารสนเทศ และมีทักษะในการเข้าถึง ข้อมูลต่าง ๆ เหล่านี้ได้ด้วยตนเอง ฉะนั้น บทบาทสาคัญในการบริหารงานข้อมูลสารสนเทศของผู้บริหาร สามารถสรปุ ได้ ดงั นี้ ๑. คัดเลือกบุคลากรท่ีมีความรู้ความสามารถในด้านการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีข้อมูล สารสนเทศ ให้มีหน้าท่ีจัดทาข้อมูลตามระบบการใช้โปรแกรมข้อมูลสารสนเทศ ให้เข้ารับการอบรม ในโปรแกรมต่าง ๆ ที่หน่วยงานต้นสังกัดจัดขึ้น บุคลากรในด้านน้ีจะต้องเป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบ และมีความตงั้ ใจในการปฏิบตั ิหนา้ ที่ ๒. ผู้บริหารควรให้การสนับสนุน บุคลากรในโรงเรียนให้ได้รับการอบรม พัฒนาทักษะด้านการใช้ นวัตกรรมและเทคโนโลยีข้อมูลสารสนเทศในดา้ นต่าง ๆ อย่างต่อเน่ือง ๓. ผูบ้ ริหารมีบทบาทในการตรวจสอบความถกู ตอ้ ง สมบรู ณ์ของข้อมูลสารสนเทศท่ีทางโรงเรียนได้ จัดทาขึ้นกอ่ นนาไปใช้เพื่อให้เกดิ ผลดีต่อภาพพจน์ของโรงเรยี น ๔. ผู้บริหารควรสนับสนุนให้บุคลากรในโรงเรียนทุกคนมีความรู้ และสามารถสืบค้นข้อมูล สารสนเทศท่ีทางโรงเรียนจัดทาข้ึนได้ด้วยตนเอง โดยมีการจัดทาห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ไว้ให้บริการ และให้ผู้ท่ีเป็นเจ้าหน้าท่ีจัดทาข้อมูลสารสนเทศในด้านต่าง ๆ เป็นผู้แนะนาขั้นตอนการสืบค้นข้อมูล สารสนเทศ ๔ การพัฒนาระบบสารสนเทศเพอ่ื การประกันคุณภาพภายในโรงเรียน ต่อไปนี้เป็นตัวอย่างข้อมูลสารสนเทศของโรงเรียน ที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบของครู บุคลากรในโรงเรียนและผู้ที่เกี่ยวข้อง อันส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน ในการประเมิน คุณภาพผเู้ รียนเพ่ือจัดทาข้อมลู สารสนเทศน้นั โรงเรียนตอ้ งประเมินจากผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรโรงเรียน ผลการดาเนนิ งานตามแผนปฏิบตั ิการประจาปี และผลการดาเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามนโยบายพิเศษ จะได้ข้อมูลสารสนเทศท่ีสมบูรณ์ พร้อมนาไปใช้ในการเขียนรายงานและเป็นข้อมูลสาหรับวางแผนพัฒนา ในปีตอ่ ไป คมู่ อื ปฏบิ ตั งิ าน โรงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา

๒๘๔ ลกั ษณะหรือรูปแบบการจดั เกบ็ อาจจาแนกเปน็ ๓ ลักษณะ ไดแ้ ก่ ๑. ข้อมูลพ้ืนฐานของโรงเรยี น ๒. ขอ้ มลู สารสนเทศท่ีเกิดจากการจดั การเรียนรตู้ ามหลักสตู รโรงเรียน ๓. ขอ้ มูลสารสนเทศทเี่ กิดจากการดาเนินงานตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี นอกจากนี้ โรงเรียนควรจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศย้อนหลังอย่างน้อย ๓ ปี เพื่อประโยชน์ในการ พัฒนาคุณภาพโรงเรียน และเตรียมความพร้อมในการรับรองการประเมินคุณภาพภายนอก ซ่ึงควรจัดเก็บ ผลการดาเนนิ งานของโรงเรยี นให้ครอบคลมุ มาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรยี น ดงั น้ี ๑. ผลการประเมนิ คุณภาพภายในของโรงเรยี น (ผลจาก SAR ของโรงเรยี นย้อนหลัง) ๒. ผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบตั กิ ารประจาปีย้อนหลัง ๓. ผลการจดั การเรยี นรู้ตามหลักสูตรโรงเรยี นย้อนหลัง คมู่ ือปฏิบตั ิงาน โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศึกษา

๒๘๕ (ตวั อย่าง) แบบบนั ทกึ ข้อมูลสารสนเทศของโรงเรยี น ๑. ข้อมลู พ้ืนฐานของโรงเรียน ๑.๑ ขอ้ มลู ทว่ั ไป ชื่อโรงเรยี น.........................ที่ตงั้ ............ตาบล................อาเภอ...................จงั หวัด.................. สังกัด.................โทร...................โทรสาร...................e-mail………….website………………………………………… เปิดสอนระดับช้ัน...............................ถึงระดับช้ัน.....................เน้ือที่......................ไร่............................ ตารางวา เขตพ้ืนทบี่ ริการ................................................................................................................................................ ประวตั ิโรงเรยี นโดยยอ่ ….………………………………………………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… แผนทโ่ี รงเรยี นโดยย่อ ๑.๒ รองผู้อานวยการโรงเรยี น..........................รปู /คน ชือ่ -สกุล/ฉายา.......................................วฒุ กิ ารศกึ ษาสูงสดุ ........................โทร........................ ชอ่ื -สกุล/ฉายา.......................................วุฒิการศึกษาสงู สดุ ........................โทร....................... ชอื่ -สกลุ /ฉายา.......................................วุฒิการศึกษาสงู สุด........................โทร....................... คู่มือปฏบิ ตั งิ าน โรงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา

๒๘๖ ๑.๓ ข้อมูลนักเรียน (ณ วนั ที่ ๑๐ มิถุนายน ของปกี ารศกึ ษา) ๑) จานวนนกั เรียนในเขตพืน้ ทบี่ ริการท้งั สิ้น...........................รูป ๒) จานวนนักเรียนทงั้ สน้ิ .......................รปู จาแนกตามระดับชัน้ เปิดสอน ระดบั ช้ันเรียน จานวนหอ้ ง นกั เรยี น รวม เฉลี่ย พระ สามเณร ตอ่ ห้อง ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖ รวมทั้งหมด ๓) จานวนนักเรยี นท่มี สี มรรถภาพทางกาย..............................รูป คิดเป็นร้อยละ..................... ๔) จานวนนักเรยี นท่ีมีนา้ หนกั ส่วนสูงตามเกณฑ์ของกรมอนามัย.....รปู คิดเปน็ รอ้ ยละ............. ๕) จานวนนกั เรียนที่มีความบกพรอ่ งเรยี นรว่ ม.........รปู คดิ เป็นรอ้ ยละ..................................... ๖) จานวนนักเรยี นมภี าวะทพุ โภชนาการ................รปู คดิ เป็นร้อยละ....................................... ๗) จานวนนักเรยี นปัญญาเลิศ............................รูป คดิ เปน็ ร้อยละ............................................ ๘) จานวนนกั เรยี นต้องการความช่วยเหลือเปน็ พเิ ศษ.......รูป คดิ เปน็ ร้อยละ............................. ๙) จานวนนกั เรยี นท่ลี าออกกลางคัน (ปจั จุบัน)...........รปู คิดเป็นร้อยละ.................................. ๑๐) สถติ ิการขาดเรยี น / เดอื น ...................รูป คดิ เป็นร้อยละ................................................. ๑๑) จานวนนักเรียนทเ่ี รยี นซา้ ช้ัน ..............รูป คดิ เป็นรอ้ ยละ................................................... ๑๒) จานวนนักเรียนทจี่ บหลกั สตู ร ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ จานวน............รปู คดิ เป็นร้อยละ.................................................... ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ จานวน............รปู คิดเป็นรอ้ ยละ.................................................... ๑๓) อัตราส่วนครู : นักเรียน = ………………… : …………………. ๑.๔ ขอ้ มูลครแู ละบุคลากร ครูประจาการ ท่ี ชื่อ-สกลุ อายุ ตาแหน่ง/ วฒุ ิ วิชาเอก สอนวชิ า จานวนครง้ั จริง งาน วทิ ยฐานะ /ชน้ั ช่ัวโมงที่รบั การพฒั นา/ปี ๑ ๒ ฯลฯ ๑) จานวนครผู สู้ อนทีส่ อนวิชาตรงเอก......................รูป/คน คดิ เป็นรอ้ ยละ.............................. ๒) จานวนครูผสู้ อนท่สี อนตรงความถนดั ..................รปู /คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ............................. ครพู เิ ศษ คมู่ ือปฏบิ ตั งิ าน โรงเรียนพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา

๒๘๗ ท่ี ช่ือ-สกลุ อายุ ประสบการณ์ วุฒิ วิชาเอก สอนวิชา/ จา้ งด้วยเงนิ การสอน (ปี) ช้ัน ๑ ๒ ฯลฯ ๑.๕ ข้อมูลอาคารสถานท่ี อาคารเรยี นจานวน...............................หลงั อาคารประกอบจานวน................................หลงั ๑.๖ ข้อมูลงบประมาณ งบประมาณ (รับ-จ่าย) รายจา่ ย จานวน/บาท รายรบั จานวน/บาท งบดาเนินการ/เงินเดือน-ค่าจา้ ง เงินลงประมาณ งบพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา เงินนอกงบประมาณ งบอน่ื ๆ (ระบุ) เงินอืน่ ๆ (ระบุ) รวมรายรับ รวมรายจา่ ย งบดาเนนิ การ/เงนิ เดือน – คา่ จ้าง คิดเป็นรอ้ ยละ...................ของรายรบั งบพฒั นาคุณภาพการศึกษาคิดเปน็ รอ้ ยละ............................ของรายรับ ๑.๗ ขอ้ มูลสภาพชมุ ชนโดยรวม ๑) สภาพชุมชนรอบบรเิ วณโรงเรียนมีลกั ษณะ .........มปี ระชากรประมาณ............................... คน บรเิ วณใกลเ้ คยี งโดยรอบโรงเรยี น ไดแ้ ก.่ .....................อาชีพหลักของชุมชน คือ.......................ส่วนใหญ่ นับถอื ศาสนา...........ประเพณ/ี ศิลปวฒั นธรรมท้องถิ่นทเ่ี ป็นที่รู้จักโดยท่วั ไป คอื .............................................. ๒) ผู้ปกครองสว่ นใหญ่ จบการศกึ ษาระดบั .............อาชีพหลกั คือ.........................ส่วนใหญน่ ับ ถือศาสนา.............ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได้โดยเฉลี่ยต่อครอบครัว ต่อปี.............บาท จานวนคนเฉล่ียต่อ ครอบครวั ..............คน ๓) โอกาสและข้อจากัดของโรงเรียน(บรรยายโดยย่อ เช่น อยู่ใกล้แหล่งการเรียนรู้ อยู่ใน บริเวณวัด ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนจากชุมชน ผู้นาชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หรือยู่ใกล้แหล่งเสื่อม โทรม โรงงาน ฯลฯ ๑.๘ โครงสร้างหลักสูตรโรงเรยี น………………………………………………………………………………………… ๑.๙ แหล่งเรียนรู้ ภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่น ๑) หอ้ งสมุดมขี นาด.....................ตารางเมตร จานวนหนงั สอื ในห้องสมดุ ..................เลม่ การสบื คน้ หนงั สือราชการ และการยืม-คนื ใช้ระบบ ................................ ๒) หอ้ งปฏิบัติการวทิ ยาศาสตร์ จานวน......................หอ้ ง ห้องปฏิบตั กิ ารคอมพิวเตอร์ จานวน.....................หอ้ ง ห้องปฏิบตั ิการทางภาษา จานวน.........................ห้อง ห้องอื่นๆ.................(ระบ)ุ จานวน......................หอ้ ง คมู่ ือปฏบิ ัติงาน โรงเรียนพระปริยตั ิธรรม แผนกสามญั ศึกษา

๒๘๘ ๓) คอมพวิ เตอร์ จานวน........................................เครื่อง ใชเ้ พ่อื การเรียนการสอน..................................เคร่อื ง ใชเ้ พือ่ สบื คน้ ข้อมลู ทางอนิ เทอรเ์ น็ต..................เคร่อื ง ใช้เพอื่ การบริหารจดั การ..................................เคร่อื ง ๔) แหลง่ การเรียนร้ภู ายในโรงเรยี น สถิติการใช้จานวนครัง้ /ปี แหลง่ การเรียนรู้ภายใน ช่ือแหล่งเรียนรู้ ๑. ๒. ฯลฯ ๕) แหลง่ เรยี นรูภ้ ายนอกโรงเรียน สถติ ิการใชจ้ านวนครั้ง/ปี แหล่งการเรยี นรภู้ ายนอก ช่อื แหล่งเรียนรู้ ๑. ๒. ฯลฯ ๖) ปราชญ์ชาวบ้าน/ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้ทรงคุณวุฒิ ท่ีโรงเรียนเชิญมาให้ความรู้แก่ครู นกั เรียน ในปีการศกึ ษาทีร่ ายงาน ๖.๑) ชอื่ -สกลุ .............................ใหค้ วามร้เู รอื่ ง..........................เม่อื ................................... ๖.๒) ช่ือ-สกุล.............................ให้ความรู้เรื่อง..........................เม่ือ................................... ๖.๓) ชื่อ-สกุล.............................ให้ความร้เู รื่อง..........................เมอื่ ................................... ฯลฯ ๑.๑๐ เกียรติยศและผลงานดเี ด่นในรอบปที ผ่ี า่ นมา ๑) ผลงานดเี ดน่ ระดับรางวลั /ช่ือรางวัลทไี่ ด้รับ หน่วยงานทีม่ อบรางวลั ประเภท โรงเรยี น ผู้บริหาร(ระบุชอ่ื ) ครู (ระบชุ อื่ ) นักเรียน (ระบชุ ่ือ) คมู่ อื ปฏิบัตงิ าน โรงเรียนพระปริยัตธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา

๒๘๙ ๒) งาน/โครงการ/กจิ กรรม ท่ปี ระสบผลสาเร็จ ที่ ชื่อ หลกั ฐานยนื ยัน วธิ ีดาเนินการ ตวั บง่ ช้ี (ย่อๆ) ความสาเรจ็ งาน/โครงงาน/กจิ กรรม ความสาเร็จ (จานวน/รอ้ ยละ) ๒. ข้อมลู สารสนเทศทเี่ กิดจากการเรียนร้ตู ามหลักสตู รโรงเรียน จากการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรโรงเรียน โดยผ่านการเรียนรู้ท้ัง ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เกิดคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ของ แต่ละ กลุ่มสาระการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ข้อมูลด้านคุณภาพผู้เรียนดังกล่าวสามารถนามาจัดระบบ สารสนเทศตามมาตรฐานการศกึ ษา โดยใชเ้ กณฑ์ ดังน้ี เกณฑ์การประเมินคณุ ภาพผู้เรียน ระดับดมี าก หมายถงึ ผเู้ รยี นมีผลการประเมนิ รอ้ ยละ ๙๐ ขน้ึ ไป ระดับดี หมายถึง ผู้เรยี นมผี ลการประเมินรอ้ ยละ ๗๕-๘๖ ระดับพอใช้ หมายถงึ ผูเ้ รียนมผี ลการประเมนิ รอ้ ยละ ๕๐-๗๔ ระดับปรับปรุง หมายถงึ ผ้เู รียนมผี ลการประเมินตา่ กว่ารอ้ ยละ ๕๐ ตารางที่ ๑ เป็นตัวอย่างแบบบันทึกสารสนเทศท่ีแสดงผลการเรียนรู้และรายวิชาของผู้เรียน ท่ีสอด รับกับมาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรียน ตารางท่ี ๑ ร้อยละผ้เู รียนท่ีมคี ุณภาพมาตรฐานการศึกษาของโรงเรยี น รายวิชา..............ชั้น................... เป็นรายหน่วยการเรียนร้แู ละโดยรวม หน่วย มาตรฐานการเรยี นร้/ู ๑ รอ้ ยละผูเ้ รียนทมี่ คี ุณภาพระดับดีขน้ึ ไป ๖ ระดบั การ ตวั ชี้วดั ตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน เฉลี่ย คุณภาพ เรียนรู้ (ตามกลมุ่ สาระการเรยี นรู)้ มาตรฐานท่ี ฯลฯ ๒๓๔๕ ๑ ท๑.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓... ๒ ให้ระบตุ ามทจ่ี ดั ในหน่วย ๓ ให้ระบุตามท่ีจัดในหนว่ ย ฯลฯ รวมเฉลยี่ คมู่ ือปฏบิ ตั งิ าน โรงเรยี นพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา

๒๙๐ ตารางที่ ๒ เป็นตัวอย่างแบบบันทึกสารสนเทศท่ีแสดงคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน รายกลุ่มสาระการเรยี นรู้ทกุ ระดบั ชนั้ เรยี น ตารางท่ี ๒ เฉลี่ยรอ้ ยละและระดบั คุณภาพผู้เรยี นตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรยี น กลุ่มสาระการเรยี นรู.้ ...................................เป็นรายระดับชน้ั เรยี นและโดยรวม ร้อยละผเู้ รยี นทมี่ ีคุณภาพระดับดีข้ึนไป ระดับชัน้ เรียน ตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน เฉล่ยี ระดบั คณุ ภาพ มาตรฐานที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ฯลฯ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ๗๖.๖๖ ๘๒.๕๐ ๘๓.๓๓ ๗๑.๖๖ ๗๕.๐๐ ๘๐.๐๐ ๗๘.๑๙ ดี มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๔ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๕ มัธยมศึกษาปที ี่ ๖ รวมเฉล่ยี ๗๖.๖๖ ๘๒.๕๐ ๘๓.๓๓ ๗๑.๖๖ ๗๕.๐๐ ๘๐.๐๐ ๗๘.๑๙ ดี ตารางที่ ๓ เป็นตัวอย่างแบบบันทึกสารสนเทศที่แสดงคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการศึกษาของ โรงเรียน ระดบั โรงเรียน ทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ตารางท่ี ๓ เฉลี่ยร้อยละและระดับคุณภาพผเู้ รียนตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรยี น เป็นรายกลุ่มสาระการเรียนรแู้ ละโดยรวม เฉล่ยี รอ้ ยละผเู้ รยี นที่มคี ณุ ภาพระดับดขี ึ้นไป กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรยี น เฉลี่ย ระดับ มาตรฐานที่ คณุ ภาพ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ฯลฯ ดี ดี ภาษาไทย ๗๗.๔๔ ๘๕.๐๐ ๘๓.๖๖ ๗๔.๓๒ ๗๔.๐๐ ๘๒.๓๓ ๗๙.๔๖ ดี ดี คณติ ศาสตร์ ๘๐.๐๐ ๗๘.๐๐ ๘๐.๓๓ ๗๕.๖๖ ๗๐.๐๐ ๗๕.๐๐ ๗๖.๕๐ ดี วทิ ยาศาสตร์ ๘๕.๐๐ ๘๐.๐๐ ๘๓.๔๕ ๗๘.๓๓ ๗๒.๒๐ ๘๐.๐๐ ๗๙.๘๓ ดี ดี สงั คมศกึ ษา ศาสนาและ ๙๒.๖๖ ๙๐.๐๐ ๘๕.๖๖ ๘๐.๐๐ ๗๕.๐๐ ๘๒.๓๓ ๘๔.๒๘ พอใช้ วฒั นธรรม ดี สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๙๐.๐๐ ๙๐.๐๐ ๘๕.๖๖ ๘๐.๐๐ ๗๕.๐๐ ๘๒.๓๓ ๘๔.๑๖ ศิลปะ ๘๐.๐๐ ๘๒.๐๐ ๘๕.๓๓ ๗๕.๖๖ ๗๒.๐๐ ๘๐.๐๐ ๗๙.๑๗ การงานอาชพี และ ๘๘.๖๖ ๘๒.๐๐ ๘๕.๓๓ ๗๕.๖๖ ๗๒.๐๐ ๘๐.๐๐ ๘๒.๖๖ เทคโนโลยี ภาษาต่างประเทศ ๗๘.๓๓ ๘๐.๐๐ ๘๓.๖๖ ๗๒.๓๓ ๖๕.๐๐ ๗๐.๓๓ ๗๔.๙๔ รวมเฉลี่ย ๘๔.๐๑ ๘๒.๗๙ ๘๔.๘๒ ๗๖.๖๖ ๗๓.๐๙ ๗๙.๓๗ ๘๐.๑๒ คู่มอื ปฏิบตั ิงาน โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา

๒๙๑ ตารางท่ี ๔ เป็นตัวอย่างแบบบันทึกสารสนเทศระดับห้องเรียน ที่แสดงคุณภาพผู้เรียน ตาม มาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรยี น เปน็ รายบุคคล ในรายวชิ า .......................ช้นั ................. ตารางท่ี ๔ ระดับคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน รายวิชา................ช้นั ................ เป็นรายบคุ คลและโดยรวม รายช่ือนักเรยี น ระดับคุณภาพผเู้ รียนตามมาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรียน คณุ ภาพ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ฯลฯ โดยเฉลี่ย ๑ สามเณรจิณวัตร แกว้ ใส ดี ดี ดมี าก พอใช้ พอใช้ ดี ดี ดมี าก ๒ สามเณรชนก ชนื่ ใจ ดีมาก ดี ดีมาก ดมี าก ดี ดีมาก ดมี าก ๓ สามเณรวษิ ณุ ทรัพย์มาก ดี ดี ดีมาก ดมี าก ดี ดมี าก ดี ฯลฯ สรปุ คณุ ภาพโดยรวม ดี ดี ดีมาก ดี ดี ดี หมายเหตุ สรุปคุณภาพโดยรวมใช้ความถ่ีของระดับคุณภาพ (Mode) ๓. ข้อมูลสารสนเทศทเี่ กิดจากการดาเนนิ งานตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปี ในการปฏิบตั หิ น้าท่ีของครูในโรงเรียน นอกจากจัดการเรียนรู้แล้ว ยังต้องปฏิบัติงานตามโครงการ/ กิจกรรมในความรับผิดชอบตามแผนปฏิบัติการประจาปี ผลจากการดาเนินงานโครงการ/กิจกรรม ต้อง นาไปจัดกระทาหรือประมวลผลให้อยู่ในลักษณะของสารสนเทศ เพ่ือนาไปประกอบการประเมินคุณภาพ ภายในของโรงเรยี น ตามมาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรยี น ดงั ตัวอยา่ ง ในตารางต่อไปน้ี (ควรเรียงลาดับตาม กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรมในแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปี ตามภาระการบริหารงานนิติบุคคลของโรงเรียน และ ควรตรวจสอบว่าตอบสนองมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนครบทุกมาตรฐานทุกตัวบง่ ชหี้ รือไม)่ ชื่อโครงการ/ ขนั้ ตอนกิจกรรม ข้อมลู /สารสนเทศที่ได้จาก สนอง การนาข้อมูลสารสนเทศ กิจกรรม โครงการ/กิจกรรม มาตรฐาน ไปใช้ - พัฒนาครใู หม้ คี วามสามารถใน การศึกษาของ งานวชิ าการ การจัดการเรยี นร้เู พ่อื พัฒนา - ครู จานวน....../รปู .คน โรงเรียนท่ี - การทาวจิ ัยในช้ันเรียน ๑. โครงการพัฒนา ทักษะการคิด คิดเป็นรอ้ ยละ............. ของครู ทกั ษะการคดิ ของ - จัดทา/จดั หา ชุดฝกึ ทกั ษะการ จดั ทาแผนการจัดการเรียนรู้ มาตรฐานท่ี ๔ - การทาวิจัยของผู้บริหาร นกั เรียน คดิ ของนักเรียนทกุ กลุ่มสาระการ เพื่อพฒั นาทักษะการคิด ตัวบ่งช้ีท่ี ๔.๑ โรงเรยี น (วิจัยสถาบัน) เรยี นรทู้ ุกระดบั ชนั้ - ครู จานวน.......รูป/คน -๔.๔ - การทาผลงานทาง - ใช้ชุดฝกึ ทกั ษะการคิดกบั คดิ เป็นร้อยละ.......... วชิ าการ นกั เรียนทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ จัดทาชุดฝึกทักษะการคดิ มาตรฐานท่ี ๗ - ประเมินคณุ ภาพภายใน ทกุ ระดบั ชั้น ของครู (สื่อการสอน) ตวั บง่ ช้ีที่ ๗.๓ ของโรงเรยี น - ประเมินทักษะการคดิ ฯ ของ จานวน..........ชดุ -๗.๔ - เขียนรายงานประจาปี นักเรยี นทกุ รูป - นักเรยี นจานวน....รูป ของโรงเรยี น คดิ เป็นรอ้ ยละ.........ผ่าน - กาหนดแผนงาน/ เกณฑก์ ารประเมนิ ทกั ษะ โครงการในปีต่อไป การคิด - กาหนดนโยบายของ ผบู้ ริหารโรงเรยี น คู่มอื ปฏิบตั งิ าน โรงเรยี นพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา

๒๙๒ ช่ือโครงการ/ ขน้ั ตอนกจิ กรรม ขอ้ มลู /สารสนเทศท่ีไดจ้ าก สนอง การนาข้อมูลสารสนเทศ กิจกรรม โครงการ/กจิ กรรม มาตรฐาน ไปใช้ -จดั คา่ ยฝึกอบรมคุณธรรม การศึกษาของ ๒. โครงการเขา้ นกั เรียน โดยเชิญภูมิปญั ญา -นักเรยี นจานวน..รปู โรงเรียนท่ี ………………………………… ค่ายฝึกอบรม ท้องถนิ่ และพระสงฆเ์ ป็นวิทยากร คดิ เป็นรอ้ ยละ.......... ฯลฯ คุณธรรมนกั เรยี น เนน้ คณุ ธรรม ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ มาตรฐานท่ี ๑ เกีย่ วกบั การอยูร่ ่วมกนั ในสงั คม พฤติกรรมดา้ นคุณธรรม ตัวบง่ ช้ีที่ ๑.๑ ………………………………… ๓. โครงการพัฒนา ความภูมิใจในความเป็นไทย ตามวัตถุประสงค/์ เปา้ หมาย – ๑.๖ ฯลฯ ความสามารถใน ความกตญั ญกู ตเวที ฯลฯ ของโครงการและตาม การจัดการเรยี นรู้ -อบรมคุณธรรม จรยิ ธรรม คุณลักษณะที่พึงประสงคใ์ น ………………………………… ทเี่ น้นผูเ้ รียนเป็น นกั เรียนทกุ วัน หลักสูตรโรงเรยี น ฯลฯ สาคัญของครูโดย -อบรมและสอดแทรกคณุ ธรรม ใชก้ ารนเิ ทศ ระหว่างการจัดกจิ กรรมการ -ครจู านวน….รปู /คน ภายในแบบมีส่วน เรียนรู้ คิดเป็นรอ้ ยละ......... รว่ ม - ประชุมครู กาหนดหลกั สูตร ได้รับการพัฒนาโครงการ การฝกึ อบรม ฝึกอบรม ๔. โครงการ..... -จดั อบรมครเู ก่ียวกับการจดั ทา -ครูจานวน...รปู /คน ฯลฯ แผนการจดั การเรียนรูเ้ ทคนิค/ คิดเป็นรอ้ ยละ.......... วิธีการจัดการเรยี นรู้ท่เี นน้ ผู้เรียน เนน้ ผู้เรียนเปน็ สาคญั งานงบประมาณ เป็นสาคญั การใชแ้ หล่งเรียนรู้ -ครูจานวน....รูป/คน ๑.โครงการ....... และภูมิปญั ญาท้องถ่ิน การวดั คิดเป็นรอ้ ยละ.......... และประเมินผลตามสภาพจรงิ ไดร้ บั การนเิ ทศการสอน ฯลฯ โดยวิทยากรภายนอก -ครจู านวน....รปู /คน งานบริหารงาน -นเิ ทศภายในโดยผู้บริหาร คดิ เปน็ ร้อยละ........ บคุ คล โรงเรยี น และผนู้ เิ ทศภายในที่ มีผลการประเมินการ ๑. โครงการ......... ไดร้ ับการแต่งต้ังดาเนินการ นิเทศ จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน ภายในตาม เปน็ สาคัญอย่ใู นระดบั ดี ฯลฯ - ปฏทิ นิ งานบรหิ ารงาน - ประเมินผลการจัดการเรียนรู้ที่ ............................................ มาตรฐานที่..... ทั่วไป เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญของครูทุก ฯลฯ ตวั บง่ ชี้ท.ี่ ........ ๑.โครงการ......... รูป/คน ............................................ มาตรฐานที่..... ฯลฯ ................................................... ฯลฯ ตัวบ่งช้ีท่.ี ........ ฯลฯ ............................................ มาตรฐานที่..... ................................................... ฯลฯ ตัวบง่ ช้ีที.่ ........ ฯลฯ ................................................... ฯลฯ คู่มือปฏบิ ัตงิ าน โรงเรียนพระปริยัตธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา

๒๙๓ (ตัวอยา่ ง) แบบบนั ทกึ การจดั เกบ็ ข้อมูลสารสนเทศย้อนหลัง ๓ ปี ๑. ผลการประเมนิ คุณภาพภายในของโรงเรียน (ผลจาก SAR ของโรงเรยี นยอ้ นหลัง) ระดบั การศึกษาข้นั พื้นฐาน มาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรยี น *ระดบั คณุ ภาพการศึกษา ระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ย้อนหลังปที ี่ ๑ ยอ้ นหลงั ปที ่ี ๒ ย้อนหลงั ปีที่ ๓ (๒๕๕…..) (๒๕๕…..) (๒๕๕…..) มาตรฐานที่ ..... (เพ่มิ เติม) หมายเหต*ุ ระดับคุณภาพ (ใหร้ ะบุ)................................................................................................................................... ๒. ผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัตกิ ารประจาปียอ้ นหลงั ระดับการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ผลสาเรจ็ ของโครงการ/กจิ กรรม(เชงิ ปรมิ าณและเชงิ คณุ ภาพ โครงการ/กจิ กรรม ย้อนหลงั ปีท่ี ๑ ยอ้ นหลังปีที่ ๒ ย้อนหลังปีที่ ๓ (๒๕๕…..) (๒๕๕……) (๒๕๕…….) ๑.โครงการ............................................ ผู้เรยี นร้อยละ................. ผ้เู รียนร้อยละ....................... ผู้เรียนร้อยละ.................... กิจกรรม............................. ฯลฯ ๒.โครงการ............................................ ผเู้ รยี นรอ้ ยละ................. ผู้เรียนรอ้ ยละ....................... ผู้เรียนรอ้ ยละ.................... กจิ กรรม............................ ฯลฯ ๓.ผลการจัดการเรยี นรู้ตามหลกั สูตรโรงเรยี นยอ้ นหลงั ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ๑) ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น (ระดบั โรงเรียน) ร้อยละของผูเ้ รียนท่มี ผี ลการเรยี นรู้ระดับ ๓ ข้ันไป กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ยอ้ นหลงั ปีที่ ๑ (๒๕๕……) ย้อนหลงั ปีที่ ๒ (๒๕๕…..) ยอ้ นหลงั ปที ี่ ๓ (๒๕๕…..) เปา้ หมาย ผลสาเรจ็ เป้าหมาย ผลสาเรจ็ เป้าหมาย ผลสาเร็จ ภาษาไทย ๗๐ ๗๔ ๗๐ ๗๗ ๗๐ ๗๗ คณิตศาสตร์ ๖๕ ๖๙ ๖๕ ๕๙ ๖๕ ๖๓ วทิ ยาศาสตร์ ๖๕ ๕๓ ๖๕ ๖๖ ๖๕ ๖๔ สงั คมศึกษาฯ ๗๕ ๗๒ ๗๕ ๗๓ ๗๐ ๗๖ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๙๐ ๙๒ ๘๕ ๘๘ ๘๐ ๘๒ ศิลปะ ๘๕ ๙๐ ๘๐ ๘๓ ๘๕ ๘๕ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๘๕ ๘๕ ๘๐ ๘๒ ๗๕ ๘๐ ภาษาตา่ งประเทศ ๗๕ ๖๐ ๘๐ ๘๒ ๗๕ ๘๐ ภาพรวมเฉล่ยี ๗๖.๒๕ ๗๔.๓๘ ๗๓.๑๓ ๗๓.๒๕ ๗๑.๘๘ ๗๓.๓๘ คู่มอื ปฏิบัติงาน โรงเรียนพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา

๒๙๔ ๒) ผลการประเมินคุณภาพการศึกษา (ระดบั ชาต)ิ ๒.๑) ช้ันมัธยมปที ่ี ๓ ค่าเฉลย่ี ร้อยละและร้อยละของผเู้ รียนทไ่ี ดร้ ะดับดี กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ยอ้ นหลงั ปที ่ี ๑ (๒๕๕...) ยอ้ นหลังปที ี่ ๒ (๒๕๕...) ย้อนหลังปที ี่ ๓ (๒๕๕...) คา่ เฉล่ีย ร้อยละ คา่ เฉล่ีย รอ้ ยละ คา่ เฉล่ยี รอ้ ยละ รอ้ ยละ ของผูเ้ รยี น รอ้ ยละ ของผู้เรียน รอ้ ยละ ของผเู้ รยี น คณติ ศาสตร์ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ สงั คมศึกษาฯ สุขศกึ ษาและพละศึกษา ศลิ ปะ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ภาษาตา่ งประเทศ ๒.๒) ชัน้ มัธยมปที ่ี ๖ คา่ เฉล่ยี รอ้ ยละและรอ้ ยละของผ้เู รียนท่ีได้ระดบั ดี กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ยอ้ นหลงั ปที ี่ ๑ (๒๕๕...) ย้อนหลงั ปที ี่ ๒ (๒๕๕...) ย้อนหลงั ปีท่ี ๓ (๒๕๕...) ค่าเฉลยี่ ร้อยละ ค่าเฉลย่ี รอ้ ยละ ค่าเฉลย่ี รอ้ ยละ ร้อยละ ของผูเ้ รียน รอ้ ยละ ของผูเ้ รยี น ร้อยละ ของผ้เู รียน คณติ ศาสตร์ ภาษาไทย วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศึกษาฯ สุขศกึ ษาและพละศึกษา ศิลปะ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ภาษาต่างประเทศ ๓) ผลการทดสอบความรู้ระดับชาตดิ า้ นพระพทุ ธศาสนา ๓.๑) ชนั้ มธั ยมปที ี่ ๓ คา่ เฉลย่ี รอ้ ยละและรอ้ ยละของผูเ้ รยี นที่ไดร้ ะดบั ดี กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ย้อนหลังปที ี่ ๑ (๒๕๕...) ยอ้ นหลงั ปที ี่ ๒ (๒๕๕...) ยอ้ นหลงั ปที ่ี ๓ (๒๕๕...) คา่ เฉลย่ี รอ้ ยละ ค่าเฉลยี่ ร้อยละ ค่าเฉล่ีย ร้อยละ ร้อยละ ของผู้เรยี น ร้อยละ ของผเู้ รยี น ร้อยละ ของผูเ้ รยี น ธรรม ศาสนปฏบิ ัติ บาลี คู่มอื ปฏิบัติงาน โรงเรียนพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา

๒๙๕ ๓.๒) ชัน้ มัธยมปีที่ ๖ คา่ เฉลย่ี ร้อยละและร้อยละของผูเ้ รยี นทีไ่ ดร้ ะดับดี กลุ่มสาระการเรียนรู้ ย้อนหลังปีท่ี ๑ (๒๕๕...) ย้อนหลงั ปที ่ี ๒ (๒๕๕...) ยอ้ นหลงั ปที ่ี ๓ (๒๕๕...) ค่าเฉลย่ี รอ้ ยละ คา่ เฉลย่ี รอ้ ยละ ค่าเฉล่ีย ร้อยละ ร้อยละ ของผู้เรียน ร้อยละ ของผู้เรียน รอ้ ยละ ของผู้เรียน ธรรม ศาสนปฏบิ ัติ บาลี ๓.๓) ผลการประเมนิ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรยี น ระดบั ชัน้ จานวนผเู้ รียน รอ้ ยละของผเู้ รียนที่มคี ุณภาพระดับดีขึน้ ไป ทัง้ หมด ยอ้ นหลังปที ี่ ๑ ย้อนหลังปีที่ ๒ ย้อนหลงั ปที ี่ ๓ (๒๕๕...) (๒๕๕...) (๒๕๕...) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๒ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ รวมจานวนนักเรยี น สรุปคณุ ภาพโดยรวม หมายเหตุ สรุปคณุ ภาพโดยรวมใชค้ วามถข่ี องระดับคุณภาพ (Mode) ๓.๔) ผลการประเมนิ การอา่ นคดิ วิเคราะห์และเขยี นของนักเรยี น ระดับช้ัน จานวนผู้เรียน ร้อยละของผ้เู รยี นที่มีคุณภาพระดับดขี ึ้นไป ท้ังหมด ยอ้ นหลงั ปที ่ี ๑ ย้อนหลงั ปที ี่ ๒ ย้อนหลังปที ่ี ๓ (๒๕๕...) (๒๕๕...) (๒๕๕...) ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๑ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ รวมจานวนนักเรียน สรปุ คณุ ภาพโดยรวม หมายเหตุ สรุปคณุ ภาพโดยรวมใช้ความถี่ของระดบั คณุ ภาพ (Mode) ๓.๕) ผลการประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน ระดบั ชั้น จานวนผเู้ รยี น ร้อยละของผู้เรียนที่มีผลประเมิน “ผ่าน” ทงั้ หมด ย้อนหลงั ปที ี่ ๑ ยอ้ นหลังปีท่ี ๒ ย้อนหลงั ปที ่ี ๓ (๒๕๕...) (๒๕๕...) (๒๕๕...) ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๒ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ รวมจานวนนักเรียน สรปุ คุณภาพโดยรวม หมายเหตุ สรุปคณุ ภาพโดยรวมใช้ความถี่ของระดับคุณภาพ (Mode) คู่มอื ปฏบิ ัตงิ าน โรงเรยี นพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา

๒๙๖ ๒. การประสานงานและพัฒนาเครอื ขา่ ยการศกึ ษา การพฒั นาระบบภาคเี ครือขา่ ย ภาคีเครือข่าย หมายถึง กลุ่มบุคคล องค์กรท่ีมีเป้าหมายร่วมกัน มารวมตัวกันด้วยความสมัครใจ เพื่อทากิจกรรมให้บรรลุเป้าหมาย (ร่วมคิด วางแผน ร่วมทา ร่วมประเมินผล) โดยมีความสัมพันธ์แนวราบ มีความเสมอภาค และเรียนรู้ร่วมกันอย่างต่อเน่ือง โดยเน้นการพัฒนาและยกระดับคุณภาพ การศึกษา รวมท้ังส่งเสริมสนับสนุนให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับต่างๆ ตามแนวคิดพ้ืนฐานการพัฒนา แบบเครอื ข่ายมสี ว่ นร่วม ซึ่งประกอบดว้ ย ๑) กลมุ่ เครือข่ายส่งเสริมประสิทธภิ าพ การมัธยมศกึ ษาตอนตน้ และศูนยพ์ ัฒนากลมุ่ สาระการเรียนรู้ ๒) กลุม่ เครือข่ายส่งเสริมประสิทธภิ าพ การมัธยมศกึ ษาตอนปลายและศูนย์พัฒนากลุ่มสาระการเรยี นรู้ ตัวช้วี ัดความเข้มแข็งของภาคเี ครอื ข่าย - มีเป้าหมายรว่ มกนั ชดั เจน - มรี ะบบบริหารจดั การทด่ี ี - มกี จิ กรรมร่วมกันอย่างตอ่ เนื่อง - มกี ารแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ร่วมกัน - มีการไหลเวยี นขอ้ มลู ข่าวสารอยา่ งตอ่ เน่ือง - มีนวัตกรรมท่ีเกดิ จากการทางานเครอื ขา่ ย - มกี ารสรปุ บทเรยี นร่วมกัน (เพ่อื จัดทาแผนปตี อ่ ไป) นอกจากน้ีในการทางานร่วมกันกับหน่วยงานหรือองค์กรอื่นในลักษณะของเครือข่ายย่อมขึ้นอยู่กับ ระดับของความรว่ มมอื คือ ๑) การประสานงาน (Coordination) หมายถึง วิธีซึ่งคนจานวนมาก มาร่วมกันทางานเพื่อให้ บรรลุวัตถุประสงค์ตามท่ีได้ตกลงกันไว้ โดยกาหนดกิจกรรมต่างๆ ออกเป็นหมวดหมู่ เพ่ือมอบหมาย ให้ผู้รับผิดชอบปฏิบัติด้วยความสามัคคี สมานฉันท์ และมีประสิทธิภาพที่สุด หรืออาจกล่าวได้ว่ า การประสานงาน หมายถึง การจัดระเบียบวิธีการทางาน เพื่อให้เจ้าหน้าท่ีฝ่ายต่างๆ ร่วมมือปฏิบัติงานเป็น น้าหนึ่งใจเดียวกัน เพ่ือให้งานหรือกิจกรรมดาเนินไปอย่างราบรื่นสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ และนโยบาย ขององคก์ รนั้นอย่างสมานฉันท์ ๒) ความร่วมมือ (Cooperation) หมายถึง ความเต็มใจของแต่ละคนในการช่วยเหลือซึ่งกัน และกัน เพ่ือไปสู่เป้าหมายใดเป้าหมายหนึ่ง ตามเป้าหมายขององค์การหรือหน่วยงานความร่วมมือ จะเป็น การท่ีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็น “เจ้าของหรือเจ้าภาพ” งานหรือกิจกรรมน้ันๆ แล้วขอให้ฝ่ายอื่นเข้ามาร่วม มี ลกั ษณะเกดิ ข้ึนเปน็ ครั้งๆไป ไม่มุ่งความต่อเนื่องและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้เข้าร่วมกิจกรรม แต่มุ่ง จะให้กิจกรรมนั้นๆ แล้วเสร็จตามความต้องการของฝ่ายเจ้าของงาน ความร่วมมือเป็นการช่วยเหลือด้วย ความสมัครใจ แม้จะไม่มีหน้าที่โดยตรง อาจจะทาเรื่องเดียวกันในเวลาเดียวกันหรือต่างเวลาก็ได้ แม้กระท่ัง อาจให้ความรว่ มมือทาบางเรอื่ งบางเวลา ๓) การทางานร่วมกัน (Collaboration) หมายถึง การที่บุคคล ตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป หรือ องค์กรตงั้ แต่ ๒ องคก์ รข้นึ ไป มาทางานร่วมกนั มีการชว่ ยเหลือซ่ึงกนั และกันในกลมุ่ และรบั รู้วา่ ตนเป็นส่วน หน่ึงของกลุ่มตามโครงสร้างที่มีอยู่ในองค์กร รวมทั้งเข้าใจวัตถุประสงค์ของการทางานร่วมกัน เพ่ือให้บรรลุ จดุ มงุ่ หมายเดียวกันอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ และผูป้ ฏิบัตงิ าน ต่างกเ็ กดิ ความพอใจในการทางานนัน้ คูม่ อื ปฏิบตั งิ าน โรงเรียนพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามัญศึกษา

๒๙๗ ๔) การมีส่วนร่วม (Participation) หมายถึง การที่สมาชิกทุกคนของหน่วยงานหรือองค์กร ร่วมกันดาเนินการอย่างใดอย่างหน่ึง โดยมีลักษณะของกระบวนการ (Process) มีขั้นตอนท่ีมุ่งหมายจะให้ เกดิ การเรียนรู้ (Learning) อยา่ งตอ่ เน่อื ง มพี ลวตั (Dynamic) กล่าวคือ มีการเคล่ือนไหวเปล่ียนแปลงอย่าง ต่อเนื่องสม่าเสมอ มีการแก้ปัญหา การร่วมกันกาหนดแผนงานใหม่ๆ เพ่ือสร้างความย่ังยืนในความสัมพันธ์ ของทุกฝ่ายที่เข้าร่วมดาเนินการ การมีส่วนร่วมก่อให้เกิดผลดีต่อการขับเคล่ือนองค์กรหรือเครือข่าย ผูท้ เ่ี ข้ามามีส่วนร่วมย่อมเกิดความภาคภมู ิใจที่ไดเ้ ป็นสว่ นหนง่ึ ของการบริหาร และท่ีสาคัญผู้ท่ีมีส่วนร่วมจะมี ความรู้สึกเป็นเจา้ ของเครอื ขา่ ย ความรู้สกึ เป็นเจ้าของจะเป็นพลังในการขบั เคลอ่ื นเครือข่ายทด่ี ีที่สุด ๓. การวางแผนการบรหิ ารงานการศกึ ษา ๓.๑ นโยบายและการวางแผนการศึกษา การวางแผนการศึกษา เป็นเคร่ืองมือสาคัญย่ิงของผู้บริหารการศึกษาทุกระดับ เนื่องจากการ วางแผนเป็นข้ันตอนแรกท่ีจะต้องดาเนินการก่อนส่ิงอื่นๆท้ังสิ้นมิฉะนั้นแล้วผู้บริหารจะไม่มีกรอบ หรือเค้า โครงการดาเนินงานท่ีต่อเนื่องและสัมพันธ์กันหรือกล่าวได้ว่าไม่มีคู่มือที่ใช้กากับควบคุมการดาเนินงานให้ บรรลุตามวัตถุประสงค์และระยะเวลาท่ีกาหนดไว้ การวางแผนการศึกษาจึงสาคัญยิ่งต่อการบริหารจัด การศึกษาให้ประสพความสาเร็จ ท่ีควรเกิดจากผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่ายร่วมกันวางแผนอย่างเป็นกระบวนการ โดยอาศัยการรวบรวมข้อมูลสารสนเทศ การวิเคราะห์สภาพปัจจุบันของการจัดการศึกษา การกาหนด วัตถุประสงค์ การจัดทาแผน การจัดทารายละเอียดของแผน การนาแผนไปปฏิบัติ การติดตามประเมินผล การวางแผนการศึกษาให้ประสบความสาเร็จ ต้องสอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ฯลฯ เป็นไปตามความต้องการและบรรลุเป้าหมายของหน่วยงานการศึกษาแต่ละระดับ ดังน้ัน จึงจาเป็นต้องศึกษา วิเคราะห์พิจารณาให้สอดคล้องกับ กฎหมายสูงสุดของประเทศ กฎหมายการศึกษา แผนพัฒนาฯ นโยบายทางการศึกษา ดังรายละเอียดต่อไปน้ี ๑. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๔๐ ท่ีเก่ียวข้องกับการศึกษาโดยตรงมี ๒ มาตรา คอื ๑.๑ มาตรา ๔๓ บคุ คลย่อมมีสทิ ธ์ิเสมอกนั ในการรับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานไมน่ ้อยกว่า ๑๒ ปี ทร่ี ฐั จะตอ้ งจดั ให้อย่างทว่ั ถงึ และมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จา่ ย ๑.๒ มาตรา ๘๑ รัฐต้องจัดการศึกษา อบรมและสนับสนุนให้เอกชนจัดการศึกษา อบรมให้เกิด ความรู้คู่คุณธรรม จัดให้มีกฎหมายเก่ียวกับการศึกษาแห่งชาติ ปรับปรุงการศึกษาให้สอดคล้องกับ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และสังคมจะเห็นได้ว่า รัฐธรรมนูญฉบับน้ี ทาให้ประเทศไทยมีกฎหมาย เก่ยี วกบั การศกึ ษาแห่งชาติ นัน่ คอื พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ๒. รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ ท่ีเกยี่ วขอ้ งกับการศึกษามี ๒ มาตรา คือ ๒.๑ มาตรา ๔๙ บคุ คลย่อมมีสิทธิ์เสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๒ ปี ทรี่ ฐั จะต้องจัดใหอ้ ย่างทวั่ ถึงและมคี ุณภาพโดยไมเ่ กบ็ คา่ ใช้จ่าย ๒.๒ มาตรา ๕๐ บุคคลย่อมมีเสรีภาพในทางวิชาการ การศึกษาอบรม การเรียนการสอน การวิจัย และการเผยแพร่งานวจิ ยั ตามหลกั วชิ าการ ๓. พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ๓.๑ มาตรา ๓๓ สภาการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมแห่งชาติ มีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนและมาตรฐานการศึกษาของชาติ นโยบาย และแผนด้านศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม จาก พรบ. ๒๕๔๒ มาตรา ๓๓ ทาให้เกิดนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษาของชาติขึ้นมาใช้ในการ บรหิ ารจัดการศึกษาของไทย คู่มือปฏบิ ตั งิ าน โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศึกษา

๒๙๘ ๓.๒ มาตรา ๖ การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จติ ใจ สตปิ ญั ญา ความร้แู ละคณุ ธรรม มีจรยิ ธรรมและวฒั นธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ อยา่ งมีความสุข ๓.๓ มาตรา ๗ ในกระบวนการเรียนรู้ต้องมุ่งปลูกฝังจิตสานึกท่ีถูกต้องเกี่ยวกับการเมือง การปกครอง ในระบอบประชาธปิ ไตย และสง่ เสริมสิทธิ หนา้ ที่ เสรีภาพ ๓.๔ มาตรา ๘ การจดั การศกึ ษาใหย้ ึดหลกั ๑) เป็นการศกึ ษาตลอดชีวิตสาหรบั ประชาชน ๒) ใหส้ งั คมมีสว่ นรว่ มในการจัดการศึกษา ๓) การพฒั นาสาระและกระบวนการเรียนร้ใู ห้เป็นไปอยา่ งต่อเนื่อง ๓.๕ มาตรา ๑๐ การจัดการศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาข้ัน พื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีท่ีรัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายเพ่ือให้เป็นไปตาม ความมุง่ หมายและหลักการของการศึกษา จึงกาหนดแนวการจัดการศึกษาในมาตรา ๒๒ – ๓๐ ซึ่งอยู่ในหมวด ๔ ของ พรบ. และถือเป็นหัวใจของ พรบ.ในการที่จะจัดการศึกษาใหป้ ระสบความสาเรจ็ บรรลุเปา้ หมายที่วางไว้ ๓.๖ มาตรา ๒๒ การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญท่ีสุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถ พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศกั ยภาพ ๔. แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับ ๑๑ พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้ให้ความสาคัญกับการมีส่วนร่วมของ ภาคีการพฒั นาทกุ ภาคส่วน ร่วมกนั กาหนดวิสัยทศั น์ และทิศทางการพัฒนาประเทศ เห็นพ้องร่วมกันน้อมนา หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นปรัชญานาทางในการพัฒนาประเทศอย่างต่อเน่ือง เพื่อมุ่งให้เกิด ภมู ิค้มุ กันและมีการบรหิ ารจัดการความเส่ียงอย่างเหมาะสม เพื่อให้เกิดการพัฒนาสู่ความสมดุลและยั่งยืน เตรียมความพร้อม คน สังคม และระบบเศรษฐกิจให้สามารถปรับตัวรับการเปล่ียนแปลงได้อย่าง เหมาะสม ให้ความสาคัญกับการพัฒนาคนและสังคมให้มีคุณภาพ มีโอกาสเข้าถึงทรัพยากร รวมทั้งสร้าง โอกาสทางเศรษฐกิจด้วยฐานความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์บนพื้นฐานการผลิตและ การบริโภคท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม ๕. แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๕๙ แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับเดิม (พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๕๙) นั้น เป็นแผนระยะยาวที่สอดคล้อง กับพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ จึงเห็นควรให้คงปรัชญาหลัก เจตนารมณ์ และวตั ถปุ ระสงค์ของแผนฉบบั เดิมไว้ แล้วปรับปรุงในส่วนของนโยบายเป้าหมาย และกรอบการดาเนินงาน ให้สอดคลอ้ งกับสถานการณ์ทเ่ี ปล่ียนแปลงไป ซ่งึ สรปุ สาระสาคัญไดด้ งั น้ี ๓.๒ ปรัชญาหลักและกรอบแนวคิด การจัดทาแผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๕๙) ยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ยึดทางสายกลางอยู่บนพื้นฐานของความสมดุลพอดี รู้จักพอประมาณ อย่างมีเหตุผล มีความรอบรู้เท่าทันโลก เพื่อมุ่งให้เกิดการพัฒนาท่ีย่ังยืนและความอยู่ดีมีสุขของคนไทย เกิดการบูรณาการ แบบองค์รวมที่ยึด “คน” เป็นศูนย์กลางของการพัฒนาอย่างมี “ดุลยภาพ” ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง สิ่งแวดล้อม เป็นแผนที่บูรณาการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และกีฬากับการศึกษาทุกระดับ รวมทั้งเชื่อมโยงการพัฒนาการศึกษากับการพัฒนาด้านต่าง ๆ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ค่มู อื ปฏบิ ตั งิ าน โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook