๔๓ ผู้บริหารสถานศึกษา มีส่วนร่วมกับครูและผู้เรียนในการจัดกระบวนการเรียนรู้ ส่งเสริมสนับสนุน และอานวยความสะดวกในการจัดกระบวนการเรียนรู้ ส่งเสริมสนับสนุนและอานวยความสะดวกในการจัด กระบวนการเรียนรู้และรว่ มประเมินการดาเนินการ นักเรียน ผู้เรียนเดิมมีบทบาทน้อยมากในการจัดกระบวนการเรียนรู้ ผู้เรียนในระบบใหม่สามารถ เสนอความต้องการการเรียนได้ ร่วมวางแผน กาหนดกิจกรรม และประเมินการเรียนรู้ ตลอดจนสามารถ เลอื กเรยี นตามความถนัด ความสนใจ ผู้ปกครอง มีส่วนสาคัญมาก เพราะอยู่กับผู้เรียนเป็นส่วนใหญู่ สามารถให้ความร่วมมือในการจัด กระบวนการเรยี นรใู้ หไ้ ดผ้ ลดี เป็นท่ีปรึกษาของบตุ รหลานในการจัดกระบวนการ เรียนรู้ ชุมชน ก็มีบทบาทสาคัญในการเรียนรู้ เพราะเดิมการจัดการเรียนการสอนจัดเฉพาะในห้องเรียน สีเ่ หล่ียมเท่าน้ัน ปัจจบุ นั ชมุ ชนเป็นแหลง่ เรียนรทู้ ส่ี าคญั และ เป็นแหลง่ ของภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ ผูเ้ รียนสามารถ เรียนรจู้ ากชุมชนได้ นอกจากนีย้ ังมีอีกหลายหน่วยทีม่ ีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ เพราะเป้าหมายที่สาคัญของการจัด กระบวนการเรียนรู้ กค็ ือ ผู้เรยี น ได้เกิดการเรียนร้ทู ีม่ ีประสิทธิภาพประสิทธิผล และมีความสุขในการเรียนรู้ การนิเทศมีบทบาทสาคัญย่ิงในการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ โดยวิธีการแบบร่วมคิดร่วมทากับครู โดย สามารถทาตาม การนิเทศ ตดิ ตามผล ประเมินผล สามารถดาเนนิ การได้ เช่น ๑) สง่ เสรมิ พัฒนาหลักสตู รการศืกษาขันพนื้ ฐาน การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ในระดับนโยบายของหน่วยเหนือ ต้องการให้มีการเรียนรู้ตามศักยภาพ ผู้เรียน เชื่อมโยงหลักสูตร สาระการเรียนรู้ของผู้เรียน ปฏิรูปวิธีการเรียนรู้ วิธีสอนโดยใช้กระบวนการวิจัย ให้แหล่งเรียนรู้ทุกรูปแบบ ประเมินผลจากของผู้เรียนและใช้วิธีการท่ีหลากหลายนอกจากนี้ยังต้องมีการใช้ สื่อและเทคโนโลยีแห่งการเรียนรู้ ศึกษานโยบายหน่วยเหนือเพ่ือปรับเป็นเเนวปฏิบัติ ศึกษาหลักสูตร การศึกษาข้ันพื้นฐาน เช่ือมโยงนโยบายหน่วยงานต้นสังกัด นากรอบแนวคิดเทคนิควิธีการจัดการให้สนอง กับวัตถุประสงค์ของหลักสูตรและนโยบายของหน่วยเหนือพัฒนาครู/ผู้บริหารการศึกษาให้เข้าใจแนวคิด กระบวนการเรียนรขู้ องหลกั สูตร สง่ เสรมิ ให้มกี ารประชุมเชงิ ปฏิบัตกิ ารเพ่ือพัฒนาหลักสูตรระหว่างครูและผู้ มีส่วนได้ส่วนเสีย ส่งเสริมให้มีการจัดหลักสูตรพิเศษเฉพาะด้าน (โรงเรียนบาลีดีเด่น) ส่งเสริมให้มีการจัด การศึกษาสนับสนุนให้ครูจัดการเรียนรู้ โดยยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลางส่งเสริมการจัดทาวิจัยในช้ันเรียนการ นเิ ทศภายใน พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ...และหลกั สูตร อ้างองิ การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ๒) วิจยั การพัฒนาหลักสตู รและกระบวนการเรยี นรู้ ในระดับนโยบาย ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการสร้างผู้นาในการเปล่ียนแปลง (ครู) เพื่อให้รู้ การค้นคว้าหาความรู้/ความจริงโดยการวิจัย มีการปรึกษาหารือ พ่ึงพาอาศัยแลกเปล่ียนข้อมูลเรียนรู้ ซ่ึงกันและกัน กาหนดแนวปฏิบัติส่งเสริมขวัญกาลังใจให้ครู สนับสนุนให้ครูดาเนินการวิจัยในการค้นหา ความรู้ในโรงเรียน เพ่ือแบบอย่างในโรงเรียนและชุมชน และประชาสัมพันธ์ให้ชุมชนทราบถึงการพัฒนา หลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ โดยใชก้ ระบวนการวจิ ัย และส่งเสริมให้ดาเนนิ การอย่าง ต่อเนือ่ ง คู่มอื ปฏบิ ัตงิ าน โรงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา
๔๔ ๓) ส่งเสริม การจัดและประเมินผล การพัฒนาเครื่องมือการวัดและประเมินผลการติดตาม ตรวจสอบ การวัดและประเมินผล การทดสอบทางการศกึ ษา รวมถึงการทดสอบการศึกษา/การทดสอบ ทางการศกึ ษา การศกึ ษาในระบบการศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอธั ยาศยั ดาเนินการให้ครู/ผู้บริหาร การศึกษากาหนดรูปแบบ หลักการวิธีการดาเนินการวัดและประเมินผลให้เข้าใจและสามารถปฏิบัติได้ (สามารถทาโดยการจัดทาค่มู อื หรอื การประชุมปฏิบัติการ) การศึกษารูปแบบ หลักการ วิธีการดาเนินการวัด และประเมินผลจะดาเนินการจัดทาเครื่องมือสาหรับการวัดและประเมินผล ควบคู่กันไปและอาจมีการ ทดสอบทางการศึกษา ร่วมมือกันทดลองเคร่ืองมือการวัดและดาเนินการ ประเมินสภาพจริงของโรงเรียน การวัดและประเมินผล ตามสาระการเรียนรู้ ส่วนการทดสอบทางการศึกษาจะประสานความร่วมมือกับ สานักงานทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ ส่งผลต่อการประเมินผู้เรียนในแต่ละระดับช้ัน ทราบความสนใจ ความถนัด ผลการเรยี นร้ขู องผเู้ รยี นอย่างแทจ้ ริง การวดั และการประเมินผลเป็นการทาเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ มกี ารตดิ ตามตรวจสอบ การวัดและการประเมินผล รายงานผลการติดตามประเมินผลการพัฒนาคลังข้อมูล เผยแพร่ให้ทราบ การดาเนินการด้านต่างๆ สามารถพัฒนาโครงสร้าง กลไกของโรงเรียน และของชุมชนให้ สามารถตรวจสอบ ติดตาม ดูแล การกับการดาเนินงานของโรงเรียนได้การวัดและประเมินผล ทุกคนเข้า สภาพจริงของโรงเรียน ครูต้องทาเรอ่ื งน้ีอยา่ งตอ่ เนอื่ งกับผเู้ รียนทาความเข้าใจกบั ผู้เรียน พ่อเเมผ่ ู้ปกครอง พ.ร.บ.การศึกษาแหง่ ชาติ.. อา้ งอิง พ.ร.บ.ขอ้ มลู ขา่ วสารของทางราชการ หลักสูตรการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ๔) การพฒั นาสอื่ นวัตกรรม เทคโนโลยที างการศกึ ษา ศึกษาการพัฒนาส่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา ค้นคว้า พัฒนา จัดทาต้นแบบประชุม เพ่ือการแลกเปล่ียนส่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา แลกเปล่ียนรูปแบบต้นแบบ ผลการศึกษา เพอ่ื นาไปพัฒนาให้เหมาะสมตอ่ ไป ๕) ส่งเสริม/พัฒนาระบบนิเทศและการจัดกระบวนการเรียนรู้ การสนับสนุนเครือข่ายการ นเิ ทศของสานกั งานกล่มุ โรงเรียนฯ และสานักงานพระพุทธศาสนาจงั หวัด การจัดการเรียนการสอน เพ่ือให้ผู้เรียนเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทางร่างกาย จิตใจ ความรู้คุณธรรม จริยธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข ครูต้องคานึงถึงมาตรฐานคุณภาพ การเรียนรู้ มกี ารจัดระบบนเิ ทศและกระบวนการเรยี นรู้ เพอื่ ให้การจัดกระบวนการเรียนรู้ตรงตามเป้าหมาย ท่ีต้องการ วิเคราะห์ความต้องการการเรียนรู้ เพ่ือการวางแผนการเรียนรู้ การจัดการ ร่วมกันพัฒนาทักษะ การเรียนรู้ การแสวงหาและการใชแ้ หลง่ การเรียนรู้ การใช้วิธกี ารท่ีหลากหลาย ในการเรียนรู้ การตรวจสอบ ความรู้ นาสาระ/กระบวนการเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ นาไปทดลองใช้ ประเมิน/ปรับปรุงและเผยแพร่ มีการแลกเปลีย่ นความรู้ จดั เครือข่ายบคุ คล ครแู กนนา ครตู ้นแบบครูแห่งชาติ เพือ่ นเิ ทศในโรงเรียนเดียวกัน หรอื ตา่ งโรงเรยี น รายงานผล จัดทารูปแบบ/คู่มือเผยแพร่เทคนิคและวธิ กี าร ตดิ ตาม ประเมนิ ผล รายงานผล อ้างองิ พ.ร.บ.การศึกษาแหง่ ชาติ คูม่ อื ปฏบิ ตั งิ าน โรงเรยี นพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามัญศกึ ษา
๔๕ ๖) การนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลการบรหิ ารจัดการการศกึ ษาของสถานศึกษา วางแผนการนิเทศ ประชุมเตรียมการเร่ือง ระบบข้อมูลสารสนเทศการนิเทศ ติดตามตรวจสอบ ประเมินผลการบริหารจัด การการศึกษาของสถานศึกษา กาหนดเกณฑ์และการชี้วัด ดังน้ันการช้ีวัด การบรหิ ารและการจดั การ สื่อ เอกสาร แบบสอบถามท่ใี ช้ในการนิเทศ ส่ิงใดท่ีจะมอบให้โรงเรียน ส่ิงใดท่ีจะ ทากลับ สิ่งใดท่ีจะให้โรงเรียนดาเนินการต่อไป ดาเนินการการนิเทศ ติดตามตรวจสอบ ประเมินผล การบรหิ ารจัดการการศกึ ษาของสถานศกึ ษา สรุปผล ตดิ ตาม ตรวจสอบประเมนิ ผล รายงานและเผยแพร่ พ.ร.บ.การศึกษาแหง่ ชาติ...และหลกั สูตร อา้ งองิ พ.ร.บ.ระเบียบบรหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ ๗) การศึกษา คน้ คว้า การพฒั นาระบบบรหิ ารและการจดั การศึกษา การศึกษาสภาพปัจจุบันของการพัฒนาระบบบริหารและการจัดการศึกษา ดาเนินการค้นคว้า วิจัย การพัฒนาระบบบริหารและการจัดการศึกษา การนิเทศ ติดตาม ประเมินผล การพัฒนาเครือข่าย การนิเทศนาผลการศึกษา ค้นควา้ วิจยั ไปใชใ้ นการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ๘) พัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา การตรวจสอบคุณภาพ การส่งเสริมและการ ประสานงาน มาตรฐานและการประกนั คุณภาพ ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา เป็นระบบท่ีทางสถานศึกษา ชุมชน หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง สร้างความมันใจให้ผู้เก่ียวข้องว่าผู้เขียนจะได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพจากสถานศึกษาเพื่อการพัฒนา ความรู้ ความสามารถ คุณลักษณะทีพ่ึงประสงค์ ตามมาตรฐานท่ีกาหนด ศึกษาระบบหลักเกณฑ์ วิธีการ ประกนั คุณภาพการศึกษาจากกฎกระทรวง จัดระบบการบริหาร โครงสร้างการบริหารจัดการให้ทุกฝ่ายทุก คนมีส่วนร่วมในการทางาน แต่งต้ังคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษเพื่อกาหนดแนวทาง วิธีการ ดาเนินการ กากับ ติดตาม ให้ความเห็นชอบ เสนอแนะ เกี่ยวกับการดาเนินการของสถานศึกษา เสนอสถานศึกษาเเต่งตั้งคณะกรรมการรับผิดชอบเก่ียวกับการประกันคุณภาพการศึกษา จัดหาข้อมูลให้ เพียงพอ ในการกาหนดวิสัยทศั น์ พันธกิจ แผนการดาเนินงานใน สถานศกึ ษา รว่ มกันกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาในระดับสถานศึกษา ให้ครอบคลุมสาระการเรียนรู้กระบวนการ เรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ให้เหมาะสมกบั ผ้เู รยี น ให้ครอบคลุมสาระการเรยี นรู้ ร่วมกัน/เสนอแนะจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ พันธกิจเป้าหมาย สภาพความสาเร็จของการพัฒนา แนวปฏิบัติที่ครอบคลุมทุกกิจกรรม เพ่ือให้เป็นไปตามเป้าหมาย สอดคล้องกบั วิสัยทัศน์ มาตรฐานการศึกษา ร่วมดาเนินการตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างเป็นระบบ จัดทาแผนปฏิบัติการครอบคลุม แผนงาน/โครงการของสถานศกึ ษา เพือ่ ใหบ้ รรลแุ ผนพฒั นาคุณภาพของสถานศึกษา ร่วมการตรวจสอบคุณภาพ/ทบทวนคุณภาพ ตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษาทบทวน วิสัยทัศน์และพันธกิจของสถานศึกษา ตรวจสอบและทบทวนแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาตรวจสอบและ ทบทวนการเรียนการสอน ด้านสภาพแวดล้อมของการเรียนรู้ด้านยุทธศาสตร์และวิธีสอนด้านกระบวนการ เรียนรู้ การตอบสนองของผู้เรียน ตรวจสอบ/ทบทวนการเรียนรู้ ความก้าวหน้าและผลการเรียนรู้ การ พัฒนาหลักสูตร ผลงานผู้เรียน ระบบการวัดและประเมินผล การสนับสนุนการเรียนรู้การตรวจสอบ/ ทบทวน การบริหารแล้วการจัดสถานศึกษา วิสัยทัศน์และพันธกิจ ภาวะผู้นาและการบริหารโครงสร้างของ องคก์ ร การพฒั นาวชิ าชพี ของบคุ ลากร คมู่ ือปฏิบตั ิงาน โรงเรยี นพระปริยตั ิธรรม แผนกสามญั ศึกษา
๔๖ ร่วมประเมินคณุ ภาพการศึกษา ประเมินผลสมั ฤทธ์ิวชิ าแกนหลัก/คุณลักษณะสาคญั ของ ผู้เรียน การจัดทารายงานคุณภาพการศึกษาประจาปี (SAR: Self Assessment Report) ระบุความสาเร็จ ตามเป้าหมายทกี่ าหนดในแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา พร้อมหลักฐาน ข้อมูลผลการประเมินผลสัมฤทธ์ิใน วชิ าแกนหลัก คุณลกั ษณะท่ีสาคัญของผู้เรียน เสนอ สานักงานกลุ่มโรงเรียนต้นสังกัด สาธารณชนการนิเทศ กากับ ตดิ ตามผล เป็นเรอ่ื งท่ที าให้ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษาประสบ ผลสาเร็ ประสานงานการประกนั คณุ ภาพภายในและภายนอกสถานศึกษา สง่ เสริม/สนับสนุนให้สถานศึกษา ประเมินตนเอง/จัดทารายงานการประเมินตนเอง เพ่ือนาผลการประเมินพัฒนาให้สถานศึกษาของตนเองดี ขึ้น สถานศึกษาจะมีประสบการณ์ในการประเมิน ประสานงานกับสถานศึกษาท่ีมีความพร้อมรับการ ประเมินภายนอก เพ่ือเสนอต่อสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ประสาน การตดิ ตามผล ประเมินภายนอก ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยมาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา ส่งเสริม/สนับสนุนให้ สถานศึกษาดาเนินการวิจัย/ประกันคุณภาพการศึกษา/ประเมินผลของสถานศึกษาต่างๆ นาผลไปใช้ในการ พฒั นาคุณภาพการศกึ ษา พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติประกาศ อ้างองิ กระทรวงศกึ ษาธิการ เรอ่ื ง ระบบหลักเกณฑ์ วธิ กี ารประกันคุณภาพการศึกษามาตรฐาน การศึกษาแหง่ ชาติ ๑๐. งานแนะแนว ๑) จัดระบบการแนะแนวทางวิชาการและวิชาชีพภายในสถานศึกษา โดยเช่ือมโยงกับระบบดูแล ช่วยเหลอื นกั เรียนและกระบวนการเรียนการสอน - ตัง้ คณะกรรมการแนะแนวภายในสถานศึกษา - วางแผนจัดกจิ กรรมแนะแนวทางวชิ าการและวิชาชพี ภายในสถานศกึ ษา ๒) ดาเนนิ การแนะแนวและพัฒนาศกั ยภาพผ้เู รียน โดยความรว่ มมอื ของครูทุกคนในสถานศึกษา - ประสานความร่วมมือกับฝ่ายปกครอง ครูท่ีปรึกษาและครูทุกคน เพื่อทาความเข้าใจและ ขอความรว่ มมอื จัดกิจกรรมตามแผน - จัดกจิ กรรมแนะแนววิชาการและวิชาชพี ตามแผนท่ีวางไว้ ๓) ติดตามและประเมนิ ผลระบบและกระบวนการแนะแนวในสถานศึกษา - จัดทาเครื่องมือประเมินผลระบบแนะแนวให้ครอบคลมุ วตั ถุประสงค์และกจิ กรรมแนะแนว - ดาเนินการติดตาม ประเมนิ ผลการจดั กิจกรรมอย่างต่อเน่ือง ๔) ประสานความร่วมมือ แลกเปล่ียนเรียนรู้และประสบการณ์ด้านการแนะแนวกับสถานศึกษาอื่น หรอื เครอื ขา่ ยแนะแนวภายในเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา - รวบรวมข้อมูลสถานศึกษาที่จัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนและแนะแนวดีเด่นเป็น แบบอย่างได้ - ศกึ ษาดงู านสถานศึกษาทีจ่ ดั ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียนและการแนะแนวดเี ด่น - พฒั นาระบบแนะแนวภายในสถานศกึ ษา แนวทางการดาเนินงาน คมู่ อื ปฏบิ ตั งิ าน โรงเรยี นพระปริยตั ิธรรม แผนกสามญั ศึกษา
๔๗ การพัฒนาระบบการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา แนวทางการดาเนนิ งานของสถานศึกษา ประกอบดว้ ย ๑. จัดทาระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาตามท่ีกฎกระทรวงกาหนด ดังน้ี - การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ - การพัฒนามาตรฐานการศึกษา - การจัดทาแผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาหรอื แผนกลยุทธ์ และแผนปฏบิ ตั ิการประจาปี - การดาเนินงานตามแผน - การประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา - การรายงานคุณภาพการศึกษาประจาปี - การผดุงระบบการประกันคุณภาพการศึกษา โดยการจัดระบบการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา ควรยึดหลักการการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานที่เก่ียวข้อง เช่น สานักงานกลุ่มโรงเรียนต้นสังกัด และ คณะกรรมการการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนก สามัญศึกษา เปน็ ต้น ๒. จัดโครงสร้างการบริหารท่ีเอ้ือต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามระบบการประกันคุณภาพ การศกึ ษาภายในสถานศึกษา ๓. แตง่ ตั้งคณะกรรมการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา โดยมอี านาจและหนา้ ที่ ดงั น้ี ๑) กาหนดแนวทางและวธิ ีดาเนินการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ๒) กากับติดตาม ให้ความเห็นและข้อเสนอแนะเก่ียวกับการดาเนินการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศกึ ษา ๓) เสนอสถานศึกษาแต่งต้ังคณะบุคคลทาหน้าท่ีตรวจสอบ ทบทวน และรายงานการพัฒนา คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา (รายงานประจาปี) ทั้งน้ีให้กาหนดอานาจและหน้าท่ีไว้ในคาสั่งแต่งตั้ง พร้อมทั้งประชาสัมพนั ธใ์ หร้ บั ทราบอยา่ งทัว่ ถึง ๔) สร้างความตระหนัก เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับระบบการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศกึ ษา ๕) บุคลากรภายในสถานศกึ ษารว่ มจดั ทาแนวปฏิบตั ิในการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เพือ่ การยอมรับและยึดถือปฏิบัตริ ่วมกนั ๖) จัดระบบข้อมูลสารสนเทศที่มีข้อมูลสารสนเทศครอบคลุมภารกิจ และสามารถแสดงถึง ประสิทธิภาพ ประสทิ ธิผลของการบรหิ ารจัดการศึกษาของสถานศึกษาได้อย่างพอเพียง ถูกต้องชัดเจน เป็น ปัจจุบนั และสามารถจัดเกบ็ เรียกใช้ขอ้ มูลสารสนเทศไดอ้ ยา่ งสะดวกรวดเร็ว ๗) กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และสามารถเพ่ิมเติมเฉพาะในส่วนที่เปน็ เอกลกั ษณ์ของท้องถนิ่ ได้ ๘) จัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาหรือแผนกลยุทธ์ของสถานศึกษา และจัดทา แผนปฏิบตั ิการประจาปรี องรบั โดยควรคานึงและครอบคลุมในเรอื่ งต่อไปนี้ - เป็นแผนท่ีใช้ข้อมูลจากการวิเคราะห์สภาพปัญหาและความจาเป็นของ สถานศึกษาอยา่ งเปน็ ระบบ - กาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ผลผลิต และสภาพความสาเร็จของการ พัฒนา เช่น ผลสมฤทธิ์ในวิชาการหลัก คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ เป็นต้น ซึ่ง กาหนดไวอ้ ย่างตอ่ เนอื่ งชัดเจน และเปน็ รปู แบบ คมู่ ือปฏบิ ตั ิงาน โรงเรยี นพระปริยตั ิธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา
๔๘ - กาหนดวิธีการดาเนินงาน/กลยุทธ์ที่มีหลักวิชา ผลวิจัยหรือข้อมูลเชิงประจักษ์ท่ี อ้างองิ ได้ และสามารถนาไปสูเ่ ปา้ ประสงคท์ ก่ี าหนดไวไ้ ด้ - กาหนดแหลง่ /หนว่ ยงานที่ใหก้ ารสนับสนนุ และเกีย่ วข้องในแตล่ ะด้าน - กาหนดบทบาทหน้าท่ีของผู้รับผิดชอบ และการเข้ามามีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชนไวใ้ หช้ ัดเจน - กาหนดแผนการใช้งบประมาณและทรัพยากรอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ๙) จดั ทาแผนการกากบั ตดิ ตาม ตรวจสอบ ทบทวน และรายงานผลการดาเนินงานตามแผน ๑๐) ดาเนินการตามแผนพฒั นาคณุ ภาพ/แผนกลยุทธ์ ๑๑) ดาเนินการกากับ ติดตาม ตรวจสอบ ทบทวน และรายงานผลการดาเนินงานตาม แผนพฒั นาคณุ ภาพเเผนกลุยทธ์ ๑๒) ประเมินผลการดาเนินงานและความก้าวหน้าของการพัฒนาสถานศึกษาตามมาตรฐาน การศึกษาทีก่ าหนด ๑๓) จัดทารายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจาปี (รายงานประจาปี) เสนอหน่วยงาน ต้นสังกดั หน่วยงานทีเ่ กีย่ วขอ้ ง ๑๑. การประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา เป็นระบบท่ีสถานศึกษาร่วมกับชุมชน และหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ภายใต้การกากับ ดูแลและสนับสนุนส่งเสริมของหน่วยงานต้นสังกัดเพ่ือ สร้างความมั่นใจที่ต้ังอยู่บนพื้นฐานของหลักวิชา ข้อมูลหลักฐานที่ตรวจสอบได้ เเละการมีส่วนร่วมของ ทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้องว่า ผู้เรียนทุกคนจะได้รับบริการด้านการศึกษาท่ีมีคุณภาพจากสถานศึกษาเพื่อพัฒนา ความรู้ ความสามารถ และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ตามท่ีกาหนดในมาตรฐานหลักสูตรและมาตรฐาน การศกึ ษา แนวคดิ และหลักการในการประกนั คุณภาพ การประกันคุณภาพการศึกษา หมายถึง การบริหารจัดการ และการดาเนินกิจกรรมตามภารกิจ ปกติของสถานศึกษาเพ่อื พฒั นาของผู้เรียนอยา่ งตอ่ เน่ือง การดาเนินการเพ่ือให้มีการประกันคุณภาพการศึกษาตามความหมายข้างต้นการศึกษาขั้นตอน การดาเนนิ งานตามแนวคิดหลกั ตอ่ ไปนี้ แนวคดิ เก่ียวกับระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษา ระบบการประกันคุณภาพทางการศึกษา ได้มีการพัฒนากันอยู่ในขณะน้ี เเนวคิดเพ่ือส่งเสริมและ เสนอแนวทางเก่ียวกบั การพฒั นาคณุ ภาพทางการศึกษา โดยมีการดาเนนิ งาน ๓ ขนั้ ตอน ดงั น้ี ๑. การควบคุมคุณภาพ เปน็ การกาหนดมาตรฐานคุณภาพ การพฒั นาสถานศึกษาใหเ้ ข้าสู่มาตรฐาน ๒. การตรวจสอบคณุ ภาพ เปน็ การตรวจสอบและติดตามผลการดาเนนิ งาน ๓. การประเมินคุณภาพ เป็นการประเมินคุณภาพของสถานศึกษา โดยหน่วยงานท่ีกากับดูแลใน เขตพนื้ ท่ี คมู่ อื ปฏิบัตงิ าน โรงเรยี นพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา
๔๙ แนวคดิ ตามหลกั การบริหาร ตามหลักการบริหาร การประกันคุณภาพภายใน เป็นกระบวนการบริหารจัดการเพื่อให้บรรลุ เป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพเปน็ ไปตามเป้าหมาย กระบวนการพัฒนาคนในสถานศึกษาเหมือนกับการสร้างบ้าน ซ่ึงเป็นบุคคลภายนอกดาเนินการ เมื่อสร้างเสร็จก็ เสร็จเลย แต่กระบวนการสร้างคนนั้น ผู้ที่เป็นสถาปนิกคือ ครู และผู้บริหาร เป็นบุคคล ภายในต้องร่วมพัฒนาเด็กให้มีคุณภาพดี ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่องโดยไม่หยุดผู้บริหาร เเละครู ในสถานศึกษามกี ารรว่ มกนั กาหนดเป้าหมายท่ีชดั เจน ตอ้ งพัฒนาเด็กใหม้ ีคุณสมบตั เิ ป็นอย่างไร ถ้าจะให้เด็ก มีคุณสมบัติช่วยกันคิด และช่วยกันวางเเผน (plan) ช่วยกันทา (Do) ช่วยกันตรวจสอบ (check) ปรับปรุง เเก้ไขขอ้ บกพร่อง (Action) เพ่อื ให้บรรลตุ ามเป้าหมายกาหนดอย่างตอ่ เนอ่ื งเพอื่ พฒั นาปรับปรุงคุณภาพให้ดี ขึน้ โดยร่วมกันทางานเป็นทีม ความสัมพนั ธ์ระหว่างแนวคดิ ของระบบการประกนั คุณภาพแนวคดิ ตามหลกั การบริหาร พิจารณาแนวคิดเก่ียวกับระบบการประกันคุณภาพด้วยการควบคุม และการตรวจสอบคุณภาพ การบริหารเป็นระบบครบวงจร (PDCA) ประกอบด้วยการร่วมกันวางแผน (P) ปฏิบัติตามแผน (D) ตรวจสอบ (C) ปรบั ปรงุ (A) มคี วามสอดคล้องกันดงั น้ี การควบคุมคุณภาพและการตรวจสอบคุณภาพ คือ กระบวนการบริหารเพื่อพัฒนาคุณภาพ ตามหลักการบริหาร โดยการควบคุมคุณภาพ คือสถานศึกษาต้องร่วมกันวางแเผนและดาเนินการตามแผน เพือ่ พัฒนาสถานศกึ ษาให้มคี ณุ ภาพตามเปา้ หมายมาตรฐานการศกึ ษา สว่ นการตรวจสอบคุณภาพ คือ การที่ สถานศกึ ษารว่ มกนั ตรวจสอบ เพ่ือพฒั นาปรับปรุงคณุ ภาพให้เปน็ ไปตามเปา้ หมาย หลักการสาคัญของการประกนั คณุ ภาพภายใน หลักการสาคัญการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษาตามแนวคิดข้างต้น ไดเ้ เก่ ๑. จุดมุ่งหมายของการประกันคุณภาพภายใน คือการท่ีสถานศึกษาร่วมกันพัฒนาปรับปรุง คณุ ภาพ ให้เปน็ ไปตามมาตรฐานการศกึ ษา คมู่ อื ปฏบิ ตั งิ าน โรงเรยี นพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา
๕๐ ๒. ดาเนินการให้บรรลุเป้าหมาย ต้องทาให้การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของ กระบวนการบรหิ ารจัดการและการทางานของบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา ๓. การประกันคุณภาพเป็นหน้าที่ของบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา ไม่ว่าจะเป็นผู้บริหาร ครู อาจารย์ และบคุ ลากรอ่นื ๆ ในสถานศึกษา ขนั้ ตอนการดาเนนิ การประกันคณุ ภาพภายใน ระบบการประกันคุณภาพภายในเป็นกระบวนการบริหารงานอย่างมีคุณภาพหรือวงจร PDCA การประกนั คุณภาพจงึ ไม่ใช่เร่อื งใหม่ ต้องไม่แปลกแยกจากการทางานตามปกติของสถานศึกษาเป็นระบบท่ี ผสมผสานในกระบวนการบรหิ ารและการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่เกดิ ขน้ึ ในชีวิตประจาวัน พัฒนาระบบพัฒนาการประกนั คณุ ภาพภายในเปน็ ส่วนหนึ่งของกระบวนการการบริหารการทางาน คานึงถงึ เงื่อนไขสาคัญทาให้ประสบความสาเร็จในการดาเนินงาน ผลที่ได้จากการวิจัยในสถานศึกษานาร่อง ได้แก่ ผู้บริหารจะต้องมีความตระหนัก เข้ามามีส่วนส่งเสริม สนับสนุน และร่วมคิดร่วมทา จะต้องมีการ ทางานเปน็ ทมี ขนั้ ตอนการดาเนินการประกนั คณุ ภาพภายใน การเตรียมการ การดาเนินการ การรายงาน ๑. เตรียมความพรอ้ มของ บคุ ลากรสร้างความตระหนกั ๑. การวางแผนการปฏบิ ัตงาน (P) จดั ทารายงานประเมนิ - พฒั นาความรูแ้ ละทักษะ - กาหนดเปา้ หมายหรอื มาตรฐาน ตนเองหรอื รายงานประจาปี การศกึ ษา - รวบรวมผลการดาเนินงานและ ๒. แตง่ ตั้งกรรมการที่รับผิดชอบ - จดั ลาดบั ความสาคัญของเปา้ หมาย ผลการประเมิน - กาหนดแนวทางการดาเนินงาน - วเิ คราะหต์ ามมาตรฐาน - กาหนดระยะเวลา - เขยี นรายงาน - กาหนดงบประมาณ - กาหนดผู้รบั ผดิ ชอบ ๒. ดาเนินการตามแผน (D) - สง่ เสรมิ สนับสนนุ - จัดสงิ่ อานวยความสะดวก สนบั สนุน ทรัพยากร - กากบั ตดิ ตาม - ใหก้ ารนิเทศ ๓. ตรวจสอบประเมนิ ผล (C) - วางกรอบการประเมิน - จัดหาหรือจัดทาเคร่ืองมือ - เกบ็ ข้อมูล - วิเคราะห์ขอ้ มลู - แปลความหมาย - ตรวจสอบ/ปรับปรงุ คุณภาพ ๔. นาผลการประเมินมาปรบั ปรุงงาน (A) - ปรับปรุงการปฏิบตั ิของบุคลากร - วางแผนในระยะต่อไป - จดั ทาข้อมูลสารนิเทศ คู่มือปฏิบตั งิ าน โรงเรยี นพระปริยัตธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา
๕๑ ระบบประกันคุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา (InternaI Quality Assurance System) สถานศึกษาจะต้องจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา เพื่อสร้างความ ม่ันใจให้แก่ผู้ที่เกี่ยวข้องว่า ผู้เรียนทุกคนจะได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพจากสถานศึกษาเพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามมาตรฐานการศึกษาและตัวบ่งชี้ที่กาหนดในหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาเป็นส่วน หน่ึงของการบริหารการศึกษา ซึ่งเป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเน่ือง โดยให้สถานศึกษายึดหลักการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยการส่งเสริม สนับสนุน และกากับ ดแู ลของหน่วยงานตน้ สังกดั ประกอบด้วย ๑) การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ ด้วยการจัดทาโครงสร้างการบริหารให้เอื้อต่อการ ดาเนินงาน ทุกคนมีส่วนร่วมและมีการประชาสัมพันธ์กับทุกฝ่ายที่เก่ียวข้อง แต่งตั้งคณะกรรมการเพ่ือ กาหนดแนวทางให้ความเห็นและข้อเสนอแนะและแต่งตั้งคณะบุคคลทาการตรวจสอบ ทบทวนและรายงาน คุณภาพการศกึ ษา และจัดใหม้ ีขอ้ มลู ที่เพยี งพอในการดาเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาเพื่อนามากาหนด วสิ ยั ทศั น์ ภารกจิ และแผนพฒั นา ๒) การพัฒนามาตรฐานการศึกษา โดยมุ่งเน้นมาตรฐาน ผลการเรียนรู้ของผู้เรียนท่ีสอดคล้อง กบั มาตรฐานชว่ งชั้นท่ีหลักสูตรกาหนด ๓) การจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ด้วยการจัดทาแผนอย่างเป็นระบบพื้นฐานของ ข้อมูลสถานศึกษา ซง่ึ ประกอบดว้ ย เปา้ หมาย ยทุ ธศาสตร์ และแนวปฏิบัติที่ชัดเจน สมบูรณ์ ครอบคลุมการ พัฒนาทุกกิจกรรมท่ีเป็นส่วนประกอบหลักของการจัดการศึกษาและเป็นที่ยอมรับร่วมกันของทุกฝ่ายที่ เก่ยี วข้องนาไปปฏิบัติ เพ่ือให้บรรลุตามเป้าหมายของแต่ละกิจกรรมท่ีกาหนดอย่างสอดรับกับวิสัยทัศน์และ มาตรฐานหลกั สูตรการศึกษาขัน้ พื้นฐาน ๔) การดาเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยการกากับ ติดตามการดาเนินงาน อย่างต่อเน่ืองให้บรรลุเป้าหมาย ตามแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาท่ีกาหนดไว้โดยจัดทาแผนปฏิบัติการ ประจาปีทชี่ ัดเจนครอบคลุมงาน/โครงการของสถานศึกษา ๕) การตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษา จะประกอบด้วยการตรวจสอบและทบทวน ภายในโดยนคลากรในสถานศึกษาดาเนนิ การและการตรวจสอบและทบทวนจากหน่วยงานทต่ี น้ สังกัด ๖) การประเมินคุณภาพการศึกษา โดยมุ่งเน้นการประเมินผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนในระดับชั้น ท่ีเป็นตัวประโยค ได้แก่ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ และ ๖ ในวิชาพื้นฐานร่วมโดยใช้แบบทดสอบมาตรฐาน จากหนว่ ยงานสว่ นกลางร่วมกบั ตน้ สงั ก้ด และเขตพื้นทก่ี ารศึกษาดาเนนิ การ ๗) การรายงานคุณภาพการศึกษาประจาปี เป็นการนาข้อมูลผลการประเมินมาตรฐานคุณภาพ การตรวจสอบและทบทวนภายในและภายนอกมาประมวลรายงานผลการพฒั นาคุณภาพประจาปีการศึกษา ซ่ึงจะนาไปใชเ้ ป็นข้อมูลสาหรบั การวางแผนพฒั นาคุณภาพต่อไป ๘) การผดุงระบบการประกันคุณภาพการศึกษา เป็นกลไกส่วนหนึ่งของระบบประกันคุณภาพ ภายใน เพ่ือให้ข้อมูลย้อนกลับเพ่ือการส่งเสริม พัฒนาและประเมินประสิทธิภาพการดาเนินงานของระบบ ประกนั คณุ ภาพ คมู่ อื ปฏิบตั ิงาน โรงเรยี นพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามัญศึกษา
๕๒ หลักเกณฑ์ และวธิ กี ารประกันคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ๑) สถานศึกษาจะต้องจัดทาโครงสร้างการบริหารการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามระบบ ประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ๒) สถานศึกษาจะต้องแต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาให้มี อานาจและหน้าที่ ดงั น้ี (๑) กาหนดแนวทางและวธิ ดี าเนินการประกนั คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา (๒) กากับ ติดตาม และให้ความเห็นและข้อเสนอแนะเก่ียวข้องกับการดาเนินการประกัน คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ๓) สถานศึกษาจะต้องจัดระบบสารสนเทศท่ีมีข้อมูลอย่างเพียงพอต่อการดาเนินงานประกัน คุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา ๔) สถานศึกษาจะต้องกาหนดมาตรฐานการศึกษาระดับสถานศึกษาที่ครอบคลุมสาระการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับสภาพผู้เรียน สถานศึกษา ท้องถ่ินและสอดคล้องกับ มาตรฐานการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ๕) สถานศึกษาจะต้องจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษา โดยคานึงถึงหลักการและ ครอบคลมุ ในเรือ่ ง ตอ่ ไปนี้ (๑) เป็นแผนยุทธศาสตร์ท่ีใช้ข้อมูลจากการวิเคราะห์สภาพปัญหาและความจาเป็นอย่าง เป็นระบบและมีแผนปฏิบตั ิการประจาปีรองรบั (๒) กาหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ เป้าหมาย และสภาพความสาเร็จของการพัฒนาไว้อย่าง ต่อเนอ่ื ง ชดั เจน และเปน็ รูปธรรม (๓) กาหนดวิธีดาเนินงานท่ีมีหลักวิชาหรือผลการวิจัย หรือข้อมูลเชิงประจักษ์ที่อ้างถึงให้ ครอบคลมุ การพฒั นาด้านการจัดประสบการณ์เรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ การส่งเสริม การเรียนรู้การวัดและประเมินผล การพัฒนาบุคลากรและการบริหารจัดการ เพ่ือ นาไปส่เู ปา้ หมายที่กาหนดไว้ (๔) กาหนดแหลง่ วิทยาการภายนอกทใี่ หก้ ารสนบั สนุนทางวชิ าการ (๕) กาหนดบทบาทหน้าที่ให้บุคลากรของสถานศึกษาทุกคนรวมทั้งผู้เรียน รับผิดชอบและ ดาเนนิ งานตามที่กาหนดไวอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ (๖) กาหนดบทบาทหน้าท่ี และแนวทางให้บิดา มารดา ผู้ปกครองและบุคลากรในชุมชน เข้ามามสี ว่ นร่วมในการดาเนินงาน (๗) กาหนดการจัดงบประมาณและการใช้ทรพั ยากรอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ๖) สถานศึกษาจะตอ้ งดาเนนิ การตามแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา รวมท้ังมีการ กากับ ติดตามการดาเนินงานให้เป็นไปอย่างต่อเนอ่ื งและบรรลเุ ปา้ หมายทีก่ าหนดไว้ ๗) ให้คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาดาเนินการตรวจสอบทบทวน และรายงานการดาเนนิ งานตามแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา สาหรับในการตรวจสอบและ ทบทวนคณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษาให้ใช้วธิ กี ารที่หลากหลายและเหมาะสม (การสังเกตพฤติกรรม และกระบวนการทางาน กระบวนการจัดการเรียนการสอนการสอบถาม การสัมภาษณ์ การพิจารณา หลักฐาน ร่องรอยการปฏิบัติงาน ตัวอย่างผลงาน และแฟ้มสะสมงาน แบบสารวจ แบบสอบถาม แบบทดสอบและแบบวัดมาตรฐาน) การตรวจสอบ และทบทวนคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ค่มู อื ปฏิบัตงิ าน โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา
๕๓ จะต้องดาเนินการอย่างเป็นระบบ ต่อเนื่องเพ่ือนาไปใช้ ในการปรับปรุง แก้ไข เปล่ียนแปลงและพัฒนา คณุ ภาพการศึกษา ๘) สถานศึกษาจะต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนในทุกระดับช่วงช้ันที่หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐูาน กาหนด ได้รบั การประเมินผลสมั ฤทธิ์ ๘ กล่มุ สาระและคุณลกั ษณะทสี่ าคญั ดว้ ยเคร่อื งมอื มาตรฐาน ๙) สถานศึกษาจะต้องจัดทารายงานคุณภาพการศึกษาประจาปี โดยระบุความสาเร็จตาม เป้าหมายท่ีกาหนดในแบบพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาพร้อมหลักฐานข้อมูล และผลการ ประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ิ ตามข้อ (๘) เสนอต่อหน่วยงานต้นสงั กัด หนว่ ยงานทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง และสาธารณชน ๑๐) หน่วยงานต้นสังกัดเเละหน่วยงานต้นสังกัดระดับกลุ่มโรงเรียน ส่งเสริม สนับสนุน และร่วม ดาเนินการตามระบบการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษาดงั นี้ (๑) จัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาให้มปี ระสิทธภิ าพ (๒) จัดให้มีการกาหนดสาระการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ในวิชา พ้ืนฐาน ๘ กลุ่มสาระและสาระการเรียนรู้ พุทธประวัติ ภาษาบาลี พระพุทธศาสนา ธรรมวินยั และกระทูธ้ รรม หลกั ของสถานศึกษาร่วมกันเปน็ รายปี/รายภาค (๓) จัดให้มีการประเมินผลสัมฤทธ์ิในวิชาพื้นฐาน เเละคุณลักษณะท่ีสาคัญด้วยเคร่ืองมือ มาตรฐาน ๑๑) หน่วยงานตน้ สังกัดระดับกลุ่มโรงเรียน ดาเนินการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพสถานศึกษา อย่างน้อยหน่ึงคร้ังในทุกสามปี และรายงานผลให้สถานศึกษา และหน่วยงานต้นสังกัดทราบ ท้ังน้ีการ ตรวจสอบและทบทวนให้เป็นไปตามข้อ (๗) โดยอนุโลม ๑๒) หนว่ ยงานตน้ สังกัดศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เเละเผยแพร่นวัตกรรมเกี่ยวกับรูปแบบและ เทคนิค วิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งกากับ สนับสนุนส่งเสริม ติดตาม ประเมินผลและผดงุ ประสิทธภิ าพของระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา ด้วย ขั้นตอนการประกนั คุณภาพการศึกษา ๑) การควบคมุ คณุ ภาพ (Quality Control) (๑) ศึกษาและเตรยี มการ - ต้ังคณะทางานประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา - ให้ความรแู้ กบ่ คุ ลากรทุกฝา่ ย - ตัง้ คณะทางานฝ่ายตา่ งๆ (๒) วางแผนการประกันคุณภาพการศึกษา - กาหนดมาตรฐานคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา - สรา้ งเครอ่ื งมอื ประเมินคณุ ภาพตามมาตรฐาน - จัดทาสารสนเทศสภาพปัจจุบัน (ข้อมูลพ้ืนฐาน) - จดั ทาเเผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีตามแผนยุทธศาสตรใ์ นธรรมนญู สถานศกึ ษา - จดั ทามาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานตา่ งๆ ของสถานศกึ ษา - ประเมินสภาพปจั จุบนั ของสถานศึกษาตามมาตรฐาน - จดั ทาแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา คมู่ ือปฏบิ ัตงิ าน โรงเรยี นพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา
๕๔ (๓) ดาเนนิ การประกันคณุ ภาพการศึกษาตามแผน - ปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของสถานศึกษา และตามแผนปฏิบัติการของ สถานศกึ ษา - นิเทศ กากับ ติดตามผลการดาเนินงานตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษา ๒) การตรวจสอบ ทบทวน และปรับปรงุ คุณภาพ (Quality Audit) (๑) ตรวจสอบ และทบทวนคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา - แตง่ ต้ังกรรมการตรวจสอบคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา - กาหนดระยะเวลาเเละเเนวทางการตรวจสอบ - ประเมินคุณภาพของสถานศึกษาตามมาตรฐานของสถานศึกษาคร้ังที่ ๒ หลังจาก ปฏบิ ัตงิ านไปไดร้ ะยะเวลาหนงึ่ - จัดทาสารสนเทศแสดงผลการปฏิบัติงานตามตัวช้ีวัดและเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพ การศกึ ษาของสถานศกึ ษา (๒) พัฒนาและปรบั ปรงุ คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา - ปรับปรุง แก้ไขการปฏิบัตงิ านท่ีไม่เปน็ ไปตามมาตรฐานคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา - ติดตาม ตรวจสอบการแก้ไข ปรับปรุงการปฏิบัติงานที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานของ สถานศกึ ษา - สรุปผลการตรวจสอบ จัดทาสารสนเทศ (ข้อมูลพื้นฐาน) คร้ังท่ี ๒ และรายงานการ ตรวจสอบ การประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา - พฒั นาการปฏบิ ตั ิงานใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพยิง่ ขนึ้ ๓) การประเมนิ (Quality Assessment) และรบั รองคุณภาพ (Quality Accreditation) - เตรียมการเพ่ือรับการประเมินจากสานักงานรับรองมาตรฐาน เเละประเมินคุณภาพ การศึกษา ดงั น้ี - จัดเตรียมหลักฐาน เเละข้อมูลต่างๆ ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพ่ือรับการ ประเมนิ จากสานกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา - ถ้าได้รับการรับรอง เเละได้ใบรับรอง สถานศึกษารักษามาตรฐานคุณภาพให้คงไว้ และรายงานผลการประเมิน - ถ้ายังไม่ได้รับการรับรอง สถานศึกษาปรับปรุงแก้ไข และขอรับการประเมินใหม่ตาม เวลาท่กี าหนด แนวการดาเนนิ การตามขัน้ ตอนการประกนั คุณภาพการศึกษา ๑) การศึกษา และเตรียมการ มแี นวการดาเนินการ ดังน้ี (๑) ตงั้ คณะทางาน และพัฒนาระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาเพ่ือ - ศกึ ษาแนวคิด รูปแบบ และวธิ กี ารประกันคุณภาพการศกึ ษา - พัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา โดยกาหนดรูปแบบ ทส่ี ถานศกึ ษาสามารถปฏิบตั ไิ ดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ - จัดทาสื่อ เอกสาร คู่มือ และเครื่องมอื ตา่ งๆ เพอ่ื คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา คมู่ ือปฏบิ ัตงิ าน โรงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา
๕๕ (๒) ให้การศกึ ษาแกค่ รู และบุคลากรทเี่ กี่ยวข้องเพือ่ - สร้างความรู้ ความเข้าใจ ให้เกิดความตระหนัก และเห็นความสาคัญของการประกัน คุณภาพ การศกึ ษา เพื่อทุกภาคสว่ นจะไดใ้ ห้ความร่วมมือในการปฏิบัติงานต่างๆ เพ่ือ คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา - ให้ช่วยกันสร้างแนวคิดการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาและกาหนด รูปแบบการดาเนินงานทเ่ี หมาะสมกับสถานศกึ ษา (๓) ต้งั คณะกรรมการ และคณะอนุกรรมการ ในการดาเนินการประเมินคุณภาพการศึกษา เพ่ือ - กาหนดบทบาทหน้าท่ี ความรับผิดชอบงานต่างๆ ที่สถานศึกษาต้องจัดทาเพ่ือการ ประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา - การสร้างทีมงานตา่ งๆ ของสถานศกึ ษาใหเ้ ข้มแข็ง - การพฒั นาความสามารถในการปฏบิ ัตงิ านตา่ งๆ เพอื่ การประกนั คุณภาพการศึกษา - ของ สถานศึกษา ๒) การวางแผนการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา โดยวางแผนการดาเนนิ การประกนั คุณภาพ การศึกษาของสถานศกึ ษาโดย (๑) กาหนดมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาท่ีเป็นการกาหนดจากมาตรฐาน การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน และมาตรฐานการศึกษาของหนว่ ยงานต้นสงั กัด มีข้นั ตอน ดงั น้ี - ตงั้ คณะทางานยกร่างมาตรฐานคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา - ประชุมพิจารณา ความเหมาะสมของร่างมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา - ปรบั ปรุง และจัดทาเปน็ มาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาใหบ้ ุคลากรของ สถานศกึ ษานาไปเปน็ แนวทางในการพัฒนาสถานศึกษา ใหเ้ ขา้ สู่มาตรฐานของ สถานศกึ ษา ตอ่ ไป (๒) จดั ทามาตรฐานการปฏิบตั ิงานตา่ งๆ ของสถานศึกษาเพื่อควบคมุ ใหผ้ ้รู ับผิดชอบงาน คณุ ภาพตา่ งๆ ทเ่ี กยี่ วข้องกบั มาตรฐาน และตัวชว้ี ดั ที่กาหนดปฏบิ ตั ิงานอย่างมคี ุณภาพสมา่ เสมอตลอดเวลา มขี ้นั ตอน ดงั น้ี - ต้ังคณะทางานยกร่างมาตรฐานการปฏิบัตงิ าน สาหรบั งานต่างๆ ทีว่ ิเคราะห์มาจาก มาตรฐานคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา - จัดประชุมพิจารณาทบทวน และรับรองมาตรฐานการปฏิบัติงานท่ีเขียนขึ้นพร้อมกับ ปรับปรุงแกไ้ ขให้เหมาะสมกบั การปฏิบัตงิ านในสถานศึกษา - จัดทาเป็นมาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานของสถานศึกษาและประกาศใหท้ ุกคนนาไปปฏบิ ตั ิ (๓) สร้างเครื่องมือประเมินคุณภาพการศึกษา ตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ที่กาหนดขึ้น เพ่ือเก็บรวบรวมข้อมูลคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา มาจัดทาเป็นข้อมูลพื้นฐานของ สถานศกึ ษา ทจี่ ะใชใ้ นการหาจดุ ทีจ่ ะพฒั นาสถานศึกษาตอ่ ไป มขี น้ั ตอนดังนี้ - ตั้งกรรมการสร้างเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลพ้ืนฐานของสถานศึกษาตามมาตรฐาน คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา - ดาเนินการสร้างเคร่ืองมือเก็บรวบรวมข้อมูล ตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของ สถานศกึ ษา คู่มอื ปฏิบตั ิงาน โรงเรยี นพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามญั ศึกษา
๕๖ - ตรวจสอบคณุ ภาพของเคร่อื งมือรวบรวมขอ้ มูล - จดั เก็บเครอื่ งมอื เพอื่ การนาไปใชต้ ่อไป (๔) ประเมินสุขภาพปัจจุบัน หรือเก็บข้อมูลสภาพปัจจุบันของสถานศึกษา โดยใช้เครื่องมือ ประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาทีส่ ร้างขนึ้ โดยมขี น้ั ตอนดังน้ี - วางแผนกาหนดการประเมนิ คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ตลอดปกี าร ศึกษา - แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา เป็นคณะเล็กๆ คณะละ ๒-๓ คน โดยให้มีการประเมินข้ามฝ่าย เพ่ือป้องกันการประเมินท่ีเข้าข้าง ฝ่ายของตนจะได้ช่วยกันหากข้องบกพร่องของการปฏิบัติงาน ที่จะช่วยกันแก้ไข ให้ งานนั้นๆ มีคุณภาพ และป้องกนั ไม่ให้ขอ้ บกพรอ่ งน้นั ๆ เกิดข้นึ อกี - เตรียมเครื่องมือประเมนิ โดยรวบรวมเครือ่ งมอื ประเมินทเี่ กย่ี วขอ้ งกับนักเรียนหรือครู หรือผู้ปกครอง ฯลฯ ให้เป็นฉบับเดียวกันสาหรับแต่ละกลุ่ม เพื่อใช้การประเมินเพียง คร้ังเดียวแล้วทาให้ได้ข้อมูลทุกมาตรฐาน และตัวชี้วัด ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มงานนั้นๆ อย่างครบถ้วน ทัง้ นีเ้ พ่อื ไมใ่ หเ้ กิดความราคาญแก่ผใู้ ห้ข้อมลู - ดาเนนิ การประเมิน และสรุปผลการประเมินตามมาตรฐาน และตัวชวี้ ดั (๕) จัดทาสารสนเทศ หรือข้อมูลพ้ืนฐานสภาพปัจจุบันของสถานศึกษา โดยนาผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา มาจัดทาข้อมูลพ้ืนฐานแสดงผลการปฏิบัติงานของสถานศึกษา โดยจดั กลุ่มของขอ้ มูล ตามมาตรฐานและตวั ชวี้ ดั คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา (๖) จัดทาแผนกลยุทธ์ของสถานศึกษา หรือแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา มี ขน้ั ตอน ดังนี้ - ตั้งคณะทางานร่างแผนกลยทุ ธห์ รือแผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา - สารวจความต้องการของผู้ปกครอง ชุมชน สังคม ตรวจสอบนโยบายของรัฐ ด้านการศึกษา สภาพขีดความสามารถของสถานศึกษา และผลการประเมินคุณภาพ การศึกษาของสถานศึกษาสาหรับมาตรฐาน และตวั ชวี้ ัดคณุ ภาพท่ียังต้องปรับปรุง มา เป็นข้อมูลหนึ่งในการจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จัดทา แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี ตามแผนกลยุทธข์ องสถานศกึ ษา - รา่ งแผนกลยทุ ธ์หรอื แผนพฒั นาสถานศกึ ษาระยะ ๓ ปี - ประชุมคณะกรรมการบริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา พิจารณา ให้ ข้อเสนอแนะ - ปรบั ปรุงรา่ งแผนกลยทุ ธ์หรอื แผนพฒั นา สถานศึกษา - สง่ ให้ประธานคณะกรรมการโรงเรยี น ใหค้ วามเห็นชอบและลงนาม - ประกาศใช้เป็น แผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษาตอ่ ไป (๗) จัดทาแผนปฏิบัติการตามแผนกลยุทธ์ของสถานศึกษา โดยการนากลยุทธ์และกิจกรรมใน แต่ละปีการศึกษา ท่ีกาหนดไว้ นากลยุทธ์สถานศึกษา ไปวางแผนการปฏิบัติประจาปี ซ่ึงอาจจะมีข้ันตอน การดาเนินงานตอ่ ไปน้ี - ตง้ั คณะทางาน ยกร่างกาหนดกรอบเเผนงาน โครงการของสถานศกึ ษา - ประชมุ พจิ ารณากรอบแผนงาน โครงการ เเละงบประมาณ - ใหท้ ุกฝา่ ย/กลมุ่ สาระการเรียนรู้/งาน รว่ มกันวางเเผนปฏิบตั ิการของตน คู่มือปฏบิ ัติงาน โรงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา
๕๗ - ประชุมชแี้ จง พจิ ารณารา่ งเเผนปฏบิ ตั กิ าร - ปรบั ปรงุ และจดั ทาแผนปฏบิ ัตกิ ารที่สมบรู ณ์ - ขอความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการโรงเรยี น - จัดทาเป็นแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปขี องสถานศกึ ษา ๓) การดาเนินการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา มีขั้นตอนการดาเนนิ การ ดงั น้ี (๑) ทบทวนการประกันคุณภาพการศึกษา โดยทบทวนงานต่างๆ ท่ีสถานศึกษาได้ทาการ วางแผนไวใ้ ห้ทกุ คนเข้าใจ และนาไปปฏบิ ตั ิ (๒) ปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของสถานศึกษาและตามแผนปฏิบัติการของ สถานศกึ ษาโดยดาเนนิ การ ดังน้ี - ให้ผู้เกี่ยวข้อง เละผู้รับผิดชอบปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของสถานศึกษาท่ี รับผิดชอบ เเละปฏิบัติงานตามแผน/โครงการ ที่รับผิดชอบให้เต็มความสามารถ พรอ้ มเกบ็ รวบรวมหลักฐานการปฏบิ ตั งิ านไว้อย่างเปน็ ระบบ ท่คี น้ หางา่ ย รวดเรว็ - ติดตามการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน เเลัวติดตามการทางานตาม โครงการทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย - แก้ไข ปรบั ปรุงข้อบกพรอ่ งทพ่ี บจากการติดตามการปฏิบตั งิ าน (๓) นเิ ทศ กากับ ติดตามผลการดาเนินงานตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ระหว่างท่ีทุกฝ่ายของสถานศึกษา ได้ดาเนินงานไป ขณะเดียวกัน ก็ช่วยกันแก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึนให้สาเร็จ ลลุ ่วงไป เพือ่ ให้คณุ ภาพของสถานศึกษาเขา้ สมู่ าตรฐานทีก่ าหนดไวเ้ รว็ ข้ึน ๔) การตรวจสอบ ทบทวน และปรับปรุงคุณภาพ การตรวจสอบ และทบทวนคุณภาพ การศึกษาของสถานศึกษา โดยดาเนนิ การ ดังน้ี (๑) เเตง่ ตงั้ คณะกรรมการมาตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา (๒) กาหนดระยะเวลา และแนวทางการตรวจสอบ หรือวางแผนการตรวจสอบซึ่งการ ตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา สถานศึกษาควรทาการตรวจสอบทั้งการ ปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน และตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐาน คุณภาพการศกึ ษา (มาตรฐานและตวั ช้ีวดั ) ของสถานศกึ ษาด้วย (๓) เนินการตรวจสอบตามแผนท่ีวางไว้สาหรับการประเมินสุขภาพของสถานศึกษาตาม มาตราฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาคร้ังที่ ๒ หลังจากได้ปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน ของสถานศึกษา ไปได้ระยะเวลาหน่ึง โดยนาเครื่องมือประเมินคุณภาพการศึกษาที่สร้าง เเละทาการ ประเมินคุณภาพการศึกษา จากน้ันจัดทาสารสนเทศหรือข้อมูลพ้ืนฐานของสถานศึกษาคร้ังท่ี ๒ เพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าของตัวช้ีวัด และมาตรฐานคุณภาพการศึกษา ที่บกพร่องท่ีพบจากการประเมิน คร้ังท่ี ๒ และเพ่ือตรวจสอบ เละเเกไ้ ขสิ่งท่ยี งั ไมเ่ ปน็ ไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษาต่อไป ๕) การพัฒนา และการปรบั ปรงุ คณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา โดย (๑) ปรับปรุง เเก้ไขการปฏิบัติงานที่พบว่าไม่เป็นไปตามมาตรฐานการปฏิบัติงานและ มาตรฐานคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา คู่มือปฏิบตั ิงาน โรงเรยี นพระปริยัตธิ รรม แผนกสามัญศึกษา
๕๘ (๒) ติดตาม ตรวจสอบแก้ไขปรับปรุงการปฏิบัติงานที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ตามระยะเวลาที่เหมาะสมได้กาหนดไว้ว่าจะแก้ไขเสร็จ ท้ังนี้ เพอื่ ใหแ้ นใ่ จว่าขอ้ บกพร่องที่พบ ได้รับการแกไ้ ขอยา่ งจริงจงั (๓) สรุปผลการตรวจ และรายงานผลการตรวจสอบการประกันคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษาโดยการจดั ทารายงานผลการประเมินตนเอง (SAR) (๔) สาหรับงานท่ีมีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานท่ีกาหนดไว้ ให้พัฒนาการปฏิบ้ติงานให้มี ประสิทธิภาพยิง่ ๆ ขึ้นต่อไป ๖) การประเมินเเละรับรองคุณภาพ การเตรียมการเพ่ือรับการประเมินจากสานักงานรับรอง มาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศึกษา โดยดาเนนิ การ ดงั นี้ (๑) ผู้เกี่ยวข้องจัดเตรียมหลักฐานการปฏิบัติงาน และข้อมูลต่างๆ ตามมาตรฐานคุณภาพ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และรายงานการประเมินตนเองไว้ล่วงหน้าให้พร้อม เพ่ือรับการประเมินจากองค์กร ภายนอก ท่ีเป็นผู้แทนสานักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษาตามกาหนดระยะเวลาที่ องคก์ รภายนอกจะมาประเมินคุณภาพของสถานศกึ ษา (๒) รับการประเมินจากองค์กรภายนอก โดยองค์กรภายนอกจะทาการประเมินคุณภาพของ สถานศึกษาตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษาข้ันพื้นฐาน ซ่ึงเมื่อองค์กรภายนอกจัดส่งรายงานข้อเท็จจริง ดังกล่าวใหก้ ับสานกั งานรับรองมาตรฐานเเละประเมินคุณภาพการศึกษา (๓) ถ้าสานักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา พิจารณารายงาน ข้อเท็จจริงแล้ว เห็นว่า สถานศึกษามีคุณภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐานครบถ้วนทั้งหมด ก็จะให้การรับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ซึ่งหมายความว่า สถานศึกษาได้รับการ รับรองคุณภาพการศึกษาจากสานักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษาแล้วซ่ึงการรับรอง ดังกล่าวจะมีอายุ ๕ ปี คือ เมื่อครบ ๕ ปี สถานศึกษาจะต้องถูกประเมินคุณภาพใหม่ทั้งหมด อย่างไรก็ตาม ระหว่างที่สถานศึกษาได้รับใบรับรองคุณภาพการศึกษา องค์กรภายนอกจะมาทาการประเมินคุณภาพ การศกึ ษาของสถานศกึ ษาอย่างสม่าเสมอ ตลอดเวลา (๔) ถ้าสถานศึกษาไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐาน สถานศึกษาต้องปรับปรุงคุณภาพของสถานศึกษาให้ได้มาตรฐาน ตามระยะเวลาที่คณะกรรมการประเมิน กาหนดแล้วขอรับการประเมินใหม่ แต่ถ้าถึงระยะเวลาที่กาหนดแล้ว สถานศึกษายังมีการพัฒนายังไม่ถึง เกณฑ์ สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ต้องรายงานต่อคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน เพื่อให้ดาเนินการปรับปรุงแก้ไขตามมาตรา ๕๑ ของหมวด ๖ ของพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพ่มิ เตมิ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ การประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษา การประเมินคุณภาพภายใน (lnternaI Guality Assessment) เป็นกระบวนการประเมินผล การดาเนินงานของหน่วยงานท่ีกระทาโดยบุคลากรในหน่วยงาน หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง อย่างต่อเนื่อง เพ่ือให้ได้ ข้อมูลมาใช้ในการปรับปรุงพัฒนาการดาเนินงานให้บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ ซ่ึงการประเมินภายในน้ีถือ เป็นกระบวนการตรวจสอบการทางานของตนเอง (self evaluation) สถานศึกษาควรกาหนดให้ การประเมินภายในเป็นกิจกรรมหน่ึงที่ต้องปฏิบัติอย่างต่อเนื่องของสถานศึกษา และถ้าโรงเรียนจัดทา มาตรฐานการปฏิบัติงานแล้ว ดังนั้น ในการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนควรดาเนินการ ประเมิน ๒ ลักษณะ ได้แก่ คมู่ อื ปฏิบัตงิ าน โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา
๕๙ ๑) ประเมินผลการปฏิบตั งิ านตามมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ๒) ประเมินการปฏบิ ัติงานตามมาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านของทุกฝา่ ยในโรงเรยี น เพ่ือให้โรงเรยี นมี การดาเนินงานมคี ุณภาพอย่างสมา่ เสมอ วตั ถปุ ระสงค์ของการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา ๑) เพื่อตรวจสอบคุณภาพ และผลการปฏิบัติงานของโรงเรียน ตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา ขัน้ พ้นื ฐาน ๒) เพื่อนาผลการประเมินมาจัดทาข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน และนามาใช้ในการตัดสินใจวางแผนพัฒนา และปรบั ปรุงคณุ ภาพการศึกษาของโรงเรียน ๓) เพอื่ รายงานผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนต่อหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องและ สาธารณชน ๔) เพ่ือเตรียมความพร้อมในการรับการประเมินจากองค์กรภายนอกเพ่ือนาไปสู่การรับรอง คณุ ภาพการศกึ ษา คุณสมบตั ิของผู้ทาหน้าท่ปี ระเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาท่ีดี ๑) มที ักษะในการพดู การเขยี น ท่สี ามารถสอ่ื สารกบั ผ้อู นื่ ได้อย่างชัดเจน ๒) มคี วามรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกบั มาตรการการศกึ ษาระดับการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ๓) มีความรเู้ รอ่ื งกระบวนการตรวจสอบ และการประเมนิ ภายในเป็นอยา่ งดี ๔) มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับงานที่จะทาการตรวจประเมินผลพอสมควร (ที่เหลืออาจจะ ศกึ ษาเพ่มิ เตมิ อีก กอ่ นทาการตรวจประเมิน) ๕) มคี วามเป็นกันเอง และบุคลิกทีเ่ ป็นผู้ใหญ่พอสมควร ๖) มหี ลกั การเเนน่ อน ไม่เอนเอยี งไปตามคาพดู ของผูร้ ับการตรวจประเมนิ ๗) สามารถวเิ คราะห์เรอื่ ง/เหตกุ ารณ์ตา่ งๆ อย่างมเี หตผุ ล ๘) เข้าใจสถานการณ์ กฎ และระเบียบตา่ งๆ ท่เี กี่ยวขอ้ งกบั โรงเรยี น ๙) ควรผ่านการฝึกอบรมวิธกี ารตรวจประเมินภายในสถานศึกษา ปัจจยั ทสี่ ่งผลต่อการตรวจประเมินคณุ ภาพภายในสถานศึกษา การตรวจประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา จะประสบความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ของ การประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษา หรือไม่ ขึ้นอยู่กับปจั จัยต่อไปนี้ ๑) การให้การสนับสนุนของฝ่ายบรหิ ารของสถานศึกษา ระหวา่ งทท่ี าการตรวจประเมิน ๒) ความพร้อมของบุคลากร และหลักฐานต่างๆ เพื่อรับการตรวจ ตลอดจนส่ิงอานวยความ สะดวกต่างๆ ท่ีเกย่ี วข้องกับการตรวจประเมิน ๓) ความชัดเจนของอานาจหน้าที่ และความรับผิดชอบ รวมทั้งความเป็นอิสระของคณะผู้ตรวจ ประเมนิ ๔) ความร่วมมอื ของผบู้ รหิ ารตรวจประเมนิ ๕) ความถูกต้อง ชัดเจนของการรายงานผลการตรวจประเมิน ซึ่งต้องรายงานการตรวจประเมิน ใหผ้ ูบ้ รหิ าร และผู้รับการตรวจประเมินทราบ ๖) การดูแลของฝ่ายบริหาร เพื่อให้มีการแก้ไขข้อบกพร่อง หรือสิ่งท่ียังไม่เป็นไปตามมาตรฐานที่ พบระหว่างการตรวจประเมิน ๗) มวี ธิ กี ารตรวจสอบการแก้ไขข้อบกพร่องที่เหมาะสม คูม่ ือปฏบิ ัตงิ าน โรงเรยี นพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา
๖๐ ลักษณะการตรวจประเมินที่ดี ๑) ผู้ทาหน้าที่ตรวจประเมิน มีความเข้าใจวัตถุประสงค์ของการตรวจประเมินท่ีชัดเจนและ ดาเนินการตรวจประเมนิ อย่างต่อเนอื่ ง ตามข้นั ตอน ๒) มีการวางแผน และเตรียมตัวที่ดี โดยต้องทาให้ผู้รับการตรวจประเมินมีความสบายใจไม่รู้สึก เครียด วุ่นวาย และกังวล ๓) ต้องมกี ารแจง้ กาหนดการตรวจประเมินไว้ล่วงหน้าอย่างน้อย ๒ สัปดาห์ และก่อนเข้าไปตรวจ ประเมนิ ตอ้ งแจง้ ซ้าอกี คร้งั หนง่ึ ๔) ผูต้ รวจประเมนิ ตอ้ งมคี วามเป็นกลาง และเป็นอสิ ระจากงานที่จะไปตรวจ (ไม่เป็นผู้ท่ีทางานใน ฝ่ายท่ีรับการตรวจ) มีการช้ีแจงวัตถุประสงค์ของการตรวจ มีการแจ้งข้อบกพร่องที่ชัดเจนและรับฟัง คาอธบิ ายของผู้รับการตรวจทุกอย่าง อยา่ งเตม็ ที่ (แตอ่ ย่าเชอ่ื จนกว่าจะมหี ลักฐานมาใหด้ ู) ๕) ผู้ตรวจประเมินต้องมีไหวพริบ ควบคุมอารมณ์ได้ดี วางตัวเหมาะสม มีความรู้ความเข้าใจ เกย่ี วกบั มาตรฐาน และตัวบ่งชท้ี จี่ ะตรวจอยา่ งชดั เจนตามมารยาทของผูต้ รวจประเมิน มารยาทของผูต้ รวจประเมิน ๑) ปฏิบัตหิ นา้ ทตี่ รวจประเมินอยา่ งบริสุทธิใ์ จ ไมมลี บั ลมคมใน และไมส่ ับสน ๒) ใหม้ ีการสอ่ื สาร ๒ ทาง ให้เกียรตแิ ก่ผรู้ บั การตรวจประเมนิ ไมท่ าพฤตกิ รรมสอบสวน คดี ๓) สรา้ งบรรยากาศเป็นกันเอง ใหผ้ ้รู บั การตรวจประเมนิ สบายใจและไม่รู้สึกว่ากาลังถกู จับผิด ๔) เช่อื ในคาอธบิ ายของผรู้ บั การตรวจประเมนิ แตต่ ้องพิสจู นด์ ว้ ยหลกั ฐาน ๕) พิจารณาบรรยากาศการทางานของผู้รับการตรวจประเมินให้รอบคอบ ก่อนทาการตรวจ ประเมนิ เเละไมใ่ ช้คาถามท่ที าให้เกิดความแตกแยก ๖) ไม่ดถู กู ไมห่ ัวเราะเยาะ และไม่พดู คาใสร่ า้ ยผรู้ บั การตรวจประเมนิ ๗) ตรงตอ่ เวลานดั หมาย และรักษาคาพูด การประเมินผลการปฏิบตั ิงานตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา การดาเนินการประเมินผลการปฏิบัติตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา ภายในสถานศึกษา มีแนวทางในการดาเนนิ การประเมนิ ๒ วิธี ไดแ้ ก่ ๑) การประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการศึกษา โดยการนาผลการปฏิบัติงานพัฒนา โรงเรยี นเปน็ ปกติ มาสรปุ เขยี นรายงานการประเมนิ ตนเอง ๒) การประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการศึกษา โดยการสร้างเคร่ืองมือวัดสาหรับตัว บ่งชีท้ กุ ตัว เเล้วประเมนิ คุณภาพการจดั การศึกษาของโรงเรียน แลว้ สรุปเขียนรายงานการ ประเมิน ตนเอง วิธีท่ี ๑ การประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการศึกษา โดยการนาผลการปฏิบัติงาน พฒั นาโรงเรยี นเปน็ ปกติ มาสรุปเขียนรายงานการประเมินตนเอง การประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานตามมาตรฐานการศึกษาวิธีนี้ โรงเรียนไม่ต้องสร้างเคร่ืองมือวัดแต่ครู ทุกคนในโรงเรียนต้องช่วยกันเก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการปฏิบัติงานท่ีโรงเรียนมอบหมายเป็นปกติ ให้สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ แล้วมาสรุปรวมกัน{ป็นหมวดวิชา/งาน/ฝ่าย โดยให้สรุปจากความถ่ีมากที่สุด สาหรับข้อมูลตัวบ่งชี้เดียวกัน ก็ได้มาจากหลายวิชา/หลายงานแล้วสรุปเขียนรายงาน กระบวนการ ดาเนนิ งาน อาจจะมีลักษณะ ดงั นี้ ๑) แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาภายในโรงเรียน ซึ่งอาจจะ ประกอบด้วย รองผู้อานวยการโรงเรียน หัวหน้ากลุ่มการบริหาร หัวหน้างาน เเละหัวหน้ากลุ่มสาระการ ค่มู อื ปฏิบัติงาน โรงเรียนพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา
๖๑ เรียนรู้ ให้มีหน้าท่ีในการ เก็บรวบรวมข้อมูลที่เป็นผลการปฏิบัติงานของแต่ละกลุ่มการบริหาร/กลุ่มสาระ การเรียนรู้/งาน ตามตวั บง่ ชี้รายงานข้อบกพร่องที่ไม่เป็นไปตามระดับคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาของ โรงเรียนท่ีได้กาหนดไว้ ให้ผู้บริหารทราบ เพ่ือการดาเนินการ แก้ไขต่อไป เเล้วสรุปเขียนเป็นรายงานการ ประเมนิ ตนเอง ๒) แต่ละกลุ่มการบริหาร/กลุ่มสาระการเรียนรู้/งาน วิเคราะห์ผลการปฏิบัติงาน หรือผลการ จัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับมาตรฐาน และตัวบ่งช้ีของมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้น พนื้ ฐาน ๓) แต่ละกลุ่มการบริหาร/กลุ่มสาระการเรียนรู้/งาน ปฏิบัติงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามท่ี โรงเรียนมอบหมายอย่างเป็นปกติ (อาจจะปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของโรงเรียน ถ้าโรงเรียน ได้จัดทามาตรฐานการปฏิบัติงานไว้เเล้ว พร้อมกับเก็บข้อมูลท่ีเป็นผลการปฏิบัติงานเป็นปกติ เเยกเป็น มาตรฐาน และตัวบ่งช้ีที่ได้วิเคราะห์/ขั้นตอนที่ ๒ โดย เก็บข้อมูล เป็นระดับคุณภาพของการจัดการศึกษา ตามมาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรยี นที่ไดก้ าหนดไวพ้ ร้อมเกบ็ หลกั ฐานการประเมนิ ไว้สาหรับการตรวจสอบ ๔) แต่ละกลุ่มการบริหาร/กลุ่มสาระการเรียนรู้/งาน เก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ปฏิบัติงานในฝ่าย/ หมวด/งานเดยี วกนั มาสรปุ เป็นคุณภาพการพัฒนาโรงเรียน โดยนาข้อมูลของผลการปฏิบัติงานท่ีเป็นตัวบ่งช้ี เดียวกันจากผู้ปฏิบัติงาน มาสรุปให้เป็นผลสุดท้ายสาหรับตัวบ่งช้ีนั้นๆ โดยสรุปจากความถี่ของระดับ คุณภาพของตัวบ่งช้ีนั้น ถ้าความถี่ของระดับคุณภาพใดมีมากที่สุดให้สรุปว่า คุณภาพการจัดการศึกษาของ โรงเรียนตามตัวบ่งช้ีน้ัน เป็นไปตามระดับคุณภาพที่มีความถ่ีมากที่สุด บางตัวบ่งช้ี อาจจะต้องสรุปรวมจาก หลายหมวดเพอื่ ตอบตัวบ่งชี้ ซง่ึ เเล้วเเต่ดุลยพินิจของโรงเรียน ๕) สรปุ คุณภาพการจดั การศกึ ษาของโรงเรียน จากขอ้ มูลทเ่ี ก็บรวบรวมไว้ ๖) แก้ไขข้อบกพร่องของผลการจัดการศกึ ษาของโรงเรียน (มาตรฐาน และตัวบ่งชี้ ท่ียังมีคุณภาพ ไมเ่ ปน็ ทน่ี ่าพอใจ) ๗) สรปุ เขยี นรายงานการประเมนิ ตนเอง วิธที ่ี ๒ การประเมินผลการปฏิบตั งิ านตามมาตรฐานการศกึ ษาโดยการสร้างเครื่องมือวัด การประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ านตามมาตรฐานการศึกษา วิธนี โ้ี รงเรียนต้องสร้างเคร่ืองมือวัด คุณภาพ การจัดการศึกษาของโรงเรียนทุกตัวบ่งชี้ แล้วนามาประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนใน ระยะเวลาที่ต้องการทราบผลการจัดการศึกษาของโรงเรียน วิธีนี้ โรงเรียนอาจจะต้องทางานมากคือต้อง สร้างเครื่องมือประเมินทุกตัวบ่งชี้ แล้วทาการประเมินคุณภาพทุกตัวบ่งชี้ ซึ่งต้องใช้เวลาและต้องจัดการ เก่ียวกับเคร่ืองมือประเมินให้เป็นระบบ เช่น เครื่องมือประเมินที่เก่ียวกับการประเมินคุณภาพของนักเรียน ต้องนามาเข้ากลุ่มรวมกันไว้หมด เเล้วนามาประเมินนักเรียน เม่ือได้ผลการประเมินแล้วต้องนาคาตอบของ นักเรียนมาแยกออกตามมาตรฐาน และตัวบ่งช้ี เพ่ือการสรุปรายงาน เป็นต้นกระบวนการดาเนินงาน อาจจะเปน็ ดงั น้ี ๑) แตง่ ตงั้ คณะกรรมการสรา้ งเครื่องมือเกบ็ รวบรวมข้อมูล ๒) สรา้ งเคร่อื งมือเกบ็ รวบรวมข้อมูล ตามมาตรฐาน และตัวบ่งชท้ี ุกมาตรฐาน ๓) แต่งต้ังคณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาท่ีประกอบด้วยบุคลากรจาก ทุกฝ่ายของโรงเรียน พร้อมทั้งมอบหมายให้ทาการตรวจประเมินข้ามฝ่ายกันเพื่อจะได้พบข้อบกพร่องของ การทางานง่ายขน้ึ ซ่ึงจะไดช้ ว่ ยกนั แกไ้ ขขอ้ บกพร่องน้ันต่อไป คู่มอื ปฏิบตั งิ าน โรงเรยี นพระปรยิ ตั ิธรรม แผนกสามัญศกึ ษา
๖๒ ๔) อบรม/ทาความเข้าใจเก่ียวกับการปฏิบัติหน้าท่ีตรวจประเมินภายใน และทาความเข้าใจ เกย่ี วกบั มาตรฐาน และตัวบ่งชคี้ ณุ ภาพการศึกษา และเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ตลอดจนการ สรุปผลการประเมิน ๕) โรงเรียนวางแผนกาหนดเวลาในการประเมนิ คณุ ภาพของสถานศึกษาตลอดปี ๖) กรรมการตรวจประเมินวางแผนกาหนดระยะเวลาในการทาการตรวจประเมินคุณภาพภายใน แต่ละคร้งั แล้วแจง้ ใหผ้ รู้ ับการตรวจประเมินทราบล่วงหน้าอย่างน้อย ๒ สัปดาห์ ๗) คณะกรรมการตรวจประเมินเตรียมเอกสาร และเครื่องมือประเมินหลายๆ ตัวบ่งช้ีเข้าด้วยกัน สาหรับการถามบุคลากรแต่ละประเภท เช่น ควรตรวจสอบเคร่ืองมือประเมินที่ใช้กับนักเรียนทั้งหมด แล้ว ออกแบบว่าจะจัดทาก่ีฉบับ จะจัดพิมพ์อย่างไรจะดาเนินการอย่างไร เป็นต้น เพ่ือไม่ให้เกิดความราคาญแก่ ผู้ตอบแบบสอบถาม/ผู้รับการประเมิน ซึ่งถ้าทาการสอบถามบ่อย หรือสอบถามทุกวัน จะทาให้เกิดราคาญ และความเบอื่ หน่ายของผตู้ อบ อันจะทาใหไ้ ดข้ อ้ มูลที่ไม่ตรงกบั ความเปน็ จริง ๘) ดาเนินการตรวจประเมิน โดยใช้เครื่องมือประเมินท่ีสร้างขึ้นและเก็บรวบรวมข้อเท็จจริงที่พบ ตามเครอ่ื งมือประเมิน ๙) สรปุ ผลการตรวจประเมนิ ๑๐) เขยี นรายงานผลการประเมนิ ตนเอง ๑๑) ส่งรายงานใหห้ น่วยงานตน้ สงั กัด ผู้เก่ียวขอ้ ง และสาธารณชน ตามความเหมาะสม การสร้างเครื่องมือเกบ็ รวบรวมข้อมูล การสร้างเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล อาจจะดาเนินการได้ดังนี้ กาหนดกรอบการตรวจประเมิน คุณภาพภายในโรงเรียน เพ่ือเก็บรวบรวมเป็นข้อมลู พื้นฐานตามมาตรฐาน และตัวบ่งช้ีคุณภาพการศึกษาข้ัน พ้ืนฐาน โดยวางแผนกาหนดส่ิงต่อไปนี้ ด้านท่ีจะประเมิน (ผลผลิต/กระบวนการ/ปัจจัย) มาตรฐานที่จะ ประเมิน ตวั บ่งช้ที จ่ี ะประเมนิ แหลง่ ข้อมลู /แหล่งที่สามารถให้ข้อมูลได้ วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลเครื่องมือท่ี ใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูล วธิ ีวเิ คราะห์ และสรุปขอ้ มูล เกณฑร์ ะดับคุณภาพของผลการประเมิน การเตรยี มการกอ่ นดาเนนิ การประกนั คุณภาพภายใน พัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการจัดการ เรียนการ สอน การเตรยี มการในเรอื่ งตา่ งๆ การเตรยี มการมคี วามสาคัญมากทส่ี ุดคือ - เตรียมความพร้อมของบคุ ลากร - การแตง่ ตง้ั คณะกรรมการหรือคณะทางาน เพ่อื รบั ผิดชอบในการประสานงาน ๑. การเตรยี มความพร้อมของบุคลากร ปัญหาสาคัญในการดาเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา คือการที่บุคลากรยังไม่เข้าใจ ชดั เจนว่าการประกันคุณภาพภายใน คือการบริหารคณุ ภาพที่เปน็ ส่วนหนึง่ ของกระบวนการทางาน ปกติ ๑.๑ การสร้างความตระหนกั ถึงคณุ ค่าของการประเมนิ คุณภาพภายในและการทางานเป็นทีม ๑) สถานศกึ ษาทมี่ ีบคุ ลากรแกนนา ๒) ในกรณที ี่การมอบหมายให้บุคลากรท่เี ป็นแกนนา ๓) การชแ้ี จงทาความเข้าใจ ไมว่ า่ จะดาเนนิ การโดยบคุ ลากรภายใน หรอื วิทยากรมืออาชพี ๑.๒ การพัฒนาความรู้และทักษะเกยี่ วกับการประกนั คุณภาพภายใน ๑) การจดั ประชมุ เชิงปฏิบัติการโดยใหท้ ุกคนเข้ารว่ มประชุม ๒) ในการจัดประชุมเชงิ ปฏิบัตกิ ารนัน้ ควรแบ่งเป็นช่วงๆ คูม่ อื ปฏิบตั งิ าน โรงเรยี นพระปริยัตธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา
๖๓ ช่วงแรก เนน้ เนือ้ หาเกี่ยวกับภาพรวมของระบบ ช่วงสอง เน้นเนื้อหาเกีย่ วกับการกาหนดกรอบและวางแผน ช่วงสาม เน้นเนอื้ หาเกยี่ วกบั การวิเคราะห์ข้อมูล ๒. การแตง่ ตั้งคณะกรรมการ การประกันคุณภาพภายในเป็นภารกิจของบุคลากร ในการดาเนินงานจาเป็นต้องมีผู้รับผิดชอบใน การประสาน กากับ ดูแล ชว่ ยเหลือ สนับสนุนให้ทกุ ฝ่ายทางานรว่ มกนั และเชื่อมโยงเป็นทมี การดาเนนิ การประกนั คุณภาพภายใน ขั้นตอนหลัก ๔ ขั้นตอน คือการวางแผน การปฏิบัติตามแผน การตรวจสอบ ประเมินผลและการ พัฒนาปรับปรงุ มรี ายละเอยี ดแตล่ ะขัน้ ตอน ดังนี้ ๑. การวางแผน เป็นการคิดเตรียมการไว้ล่วงหน้าเพื่อทางานให้สาเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ การ วางแผนต้องมีการกาหนดเป้าหมาย ความเชื่อมโยงต่อเนื่องกันโดยตลอด คือแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา เป็นแผนระยะยาวที่ครอบคลุมเป้าหมายและแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ขั้นตอนการวางแผนใน การวางแผนมีขั้นตอนสาคัญ คือการกาหนดเป้าหมาย จัดอันดับความสาคัญของเป้าหมาย การกาหนดแนว ทางการดาเนนิ งาน กาหนดระยะเวลาดาเนนิ การ ๑.๑ การกาหนดเป้าหมาย วางแผนควรทาเร่ิมจากการกาหนดเป้าหมาย แสดงถึงคุณลักษณะที่ ตอ้ งการในสถานศึกษา ระบชุ ดั เจนในธรรมนูญสถานศึกษากาหนดเปา้ หมาย มีวิธกี าร ดงั นี้ ๑) สถานศกึ ษาวิเคราะห์ขอ้ มลู กอ่ นการวางแผน ข้อมูลต่างๆ ที่ควรวเิ คราะห์ ๒) วเิ คราะห์และสงั เคราะหข์ อ้ มลู เพือ่ กาหนดเปา้ หมายของสถานศึกษา ๑.๒ การจัดอันดับความสาคัญของเป้าหมาย ความสาคัญของเป้าหมายช่วยให้การวางแผนมี ประสทิ ธภิ าพมากข้ึน สถานศึกษา ทราบเป้าหมายต่างๆ การน้ัน เป้าหมายสาคัญมากน้อยกว่าเพียงใด เพื่อ กจิ กรรม บคุ ลากร ทรัพยากรและช่วงระยะเวลาทจี่ ะดาเนินการพฒั นาเป้าหมายนั้นๆ ๑.๓ กาหนดแนวทางการดาเนินหรือวิธีปฏิบัติงาน กาหนดแนวทางหรือวิธีปฏิบัติ คือการนา เป้าหมายที่มีลักษณะเป็นนามธรรม ทาให้เป็นรูปธรรมในทางปฏิบัติ คิดโครงการหรือกิจกรรมทาให้บรรลุ เปา้ หมายท่ตี อ้ งการ ๑.๔ การกาหนดระยะเวลา ทาแผนการกาหนดระยะเวลาท่ีเหมาะสมสาหรับการดาเนินงานของ โครงการหรอื กจิ กรรมตา่ งๆ การกาหนดระยะเวลาจะชว่ ยให้การทางานมปี ระสิทธิภาพ ๑.๕ การกาหนดงบประมาณ คิดงบประมาณในการจดั ซ้ือวัสดุ อุปกรณ์ ค่าตอบแทน และค่าใช้จ่าย อ่นื ๆ ๑.๖ การกาหนดผู้รับผิดชอบ กาหนดผู้รับผิดชอบ ให้ดาเนินการแต่ละขั้นตอนในกิจกรรมและ โครงการตา่ งๆ ปจั จัยสาคัญทช่ี ่วยใหแ้ ผนดงั กลา่ วสามารถดาเนนิ การใหบ้ รรลุเปา้ หมาย ๒. การปฏิบัตติ ามแผน เมือ่ สถานศึกษาวางแผนการปฏิบตั งิ านเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ บคุ ลากรร่วมกัน ดาเนินการตามแผนที่จัดทาไว้โดยในระหว่างการดาเนินงาน ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลกรทุกคนทางาน อย่างมีความสขุ ๓. การตรวจสอบประเมินผล เป็นกลไกสาคัญกระตุ้นให้เกิดการพัฒนา ทาให้ได้ข้อมูลย้อนกลับ สะท้อนให้เห็นถึงการดาเนินงานที่ผ่านมาว่าบรรลุเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ ต้องปรับปรุงแก้ไขเร่ืองใดบ้าง ตระหนกั ถึงความสาคัญของงานประเมินผล ไม่กลัวการประเมนิ ผลโดยเฉพาะการประเมินตนเอง ซ่ึงเป็นการ ประเมนิ ทม่ี งุ่ เพ่ือการพัฒนาไมใ่ ช่การตัดสินถูก-ผิด ไม่ใช่การประเมิน เพ่ือประเมิน และไม่ใช่เร่ืองทายาก ไม่ ต้องคดิ เครอื่ งมือหรอื แบบประเมนิ มากมาย ค่มู อื ปฏิบตั ิงาน โรงเรยี นพระปริยัตธิ รรม แผนกสามัญศึกษา
๖๔ ๓.๑ การวางกรอบการประเมิน คณะกรรมการประชุมร่วมกันกับผู้เก่ียวข้อง การวางแผนการ ประเมินเพื่อกาหนดแนวทางในการประเมินว่า ประเมินอะไร ใครเป็นผู้ประเมิน มีรูปแบบการประเมินเป็น อย่างไรกรอบการประเมินต้องเช่ือมโยงกับเป้าหมายคุณภาพหรือมาตรฐานการศึกษา ระบุในแผนพัฒนา และแผนปฏบิ ตั กิ าร เพอื่ กาหนดวา่ ควรประเมินอะไร เป้าตวั บ่งช้ีความสาเรจ็ การดาเนนิ งานตามเปา้ หมาย ๓.๒ การจัดหา/จัดทาเครอ่ื งหมาย คณะกรรมการประชมุ รว่ มกบั ผเู้ ก่ยี วข้อง เพื่อกาหนดเครื่องมือท่ี ใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูล หลังจากนั้นก็จัดหา-จัดทาเครือ่ งมอื ข้นั ตอน ๓.๓ การเก็บรวบรวมขอ้ มูล การเก็บรวบรวมขอ้ มลู พจิ ารณาจากประเด็นแนวทางการเกบ็ ข้อมูล ๓.๔ การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลของสถานศึกษา ผู้รับผิดชอบควรร่วมกันพิจารณา กรอบการวิเคราะห์ วธิ ีการวิเคราะห์ ๓.๕ การแปลความหมาย ข้อมลู ทไี่ ด้จากการวิเคราะห์นามาใช้ประโยชน์ต่อเมื่อสถานศึกษาได้แปล ความหมายของข้อมูล มกี ารเปรยี บเทยี บกับเกณฑท์ ่ีกาหนด ๓.๖ การตรวจสอบ/ปรับปรุงคณุ ภาพการประเมนิ สถานศึกษาไดด้ าเนินการแผนท่ีกาหนดไว้ ต้องมี การตรวจสอบกระบวนการและผลการประเมนิ ความเหมาะสม ถูกต้องและน่าเช่อื ถอื ๔. การนาผลการประเมินมาปรับปรงุ บุคลากรแต่ละคน แต่ละฝ่ายมีการประเมินผลเสร็จเรียบร้อย ส่งผลให้กับคณะกรรมการ ท่ีรับผิดชอบ ต้องรวบรวมผลการประเมินมาวิเคราะห์ สังเคราะห์ แปลผลในภาพรวมทั้งหมด เเล้วนาเสนอ ผลการประเมนิ ตอ่ ผู้เกยี่ วข้อง ๔.๑ การปรับปรุงการปฏิบัติงานของผูบ้ ริหารและบุคลากร ๔.๒ การวางแผนในระยะต่อไป ๔.๓ การจัดทาข้อมูลสารสนเทศ การจัดทารายงานประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) หรือรายงานประจาปี สถานศกึ ษาดาเนนิ การตามแผน มกี ารประเมนิ ผลภายในเสร็จเรียบร้อย จัดทารายงานการประเมิน ตนเองหรือรายงานประจาปี เพ่ือเผยแพร่ให้ผู้เกี่ยวข้องทุกกลุ่มได้เนื้อหาสาระท่ีนาเสนอในรายงานการ ประเมินตนเองหรอื รายงานประจาปี ควรมีดังน้ี ๑. ขอ้ มูลสภาพทว่ั ไปของสถานศึกษา ๒. วสิ ยั ทศั น์ เป้าหมายหรอื มาตรฐาน ๓. ผลการประเมินตามมาตรฐานและตัวบง่ ช้ี ๔. สรุปผลการประเมนิ ของมาตรฐานเเต่ละดา้ น ๕. ภาคผนวก บทบาทของผู้เก่ียวขอ้ ง บทบาทเดมิ ผู้บริหาร และครู ในสถานศึกษาส่วนใหญ่ มักจัดการศึกษาโดยไม่เน้นการประกันคุณภาพภายใน อาจจะจัดการเรียนการสอนโดยไม่ค่อยมีการวางแผน รวมทั้งบุคลากรและองค์กรอื่นที่เก่ียวข้องเข้า มามีสว่ นร่วมเทา่ ที่ควร บทบาททพี่ งึ ประสงค์ ผู้บริหาร ครู ผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชน สานักงานกลุ่มโรงเรียน และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องอื่นๆ เข้ามามีบทบาทรว่ มกันในการประกนั คุณภาพภายใน ค่มู อื ปฏบิ ัตงิ าน โรงเรยี นพระปริยัตธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา
๖๕ ผู้บริหาร มีบทบาทในการบริหารจัดการ ส่งเสริม สนับสนุน อานวยความสะดวกให้คาปรึกษา แนะนา ครูและบุคลากร ในสถานศึกษา มีบทบาทร่วมกับผู้เก่ียวข้องในการดาเนินงาน ประกันคุณภาพ ภายใน ข้ันตอน คณะกรรมการบริหารโรงเรียน มีบทบาทในการกากับ ส่งเสริม และสนับสนุนการพัฒนา สถานศกึ ษา ผ้เู รยี น พอ่ แม่ ผู้ปกครอง มีบทบาทเข้ามสี ่วนรว่ มในการประกนั คณุ ภาพภายใน ชุมชน มีบทบาทร่วมคดิ /ร่วมทา และใช้ข้อมลู เพื่อกาหนดเป้าหมาย จัดทาแผนพฒั นา ตรวจสอบ สานักงานกลุ่มโรงเรียน และหน่วยงานท่ีกากับดูแล มีบทบาทในการให้ความช่วยเหลือด้าน วชิ าการ สื่อมวลชน มีบทบาทในการประชาสัมพนั ธ์ ผลทผี่ ู้มีส่วนรว่ มจะได้รบั - ผ้เู รยี นเและผู้ปกครองมีหลักประกนั - ครูไดท้ างานอยา่ งมีอาชพี - ผบู้ รหิ ารมภี าวะผนู้ าเเละความรู้ - กรรมการบริหารโรงเรียน ได้ทางานตามหน้าที่อย่างเหมาะสม - หน่วยงานที่กากับดูเเล - ชุมชนและสังคมประเทศชาติ ได้เยาวชนและคนทด่ี ี ๑๒. การส่งเสริมชุมชนใหม้ คี วามเขม้ แขง็ ทางวิชาการ แนวทางการส่งเสรมิ สนบั สนุน ๑) ดาเนินการเสริมความรู้และประสบการณ์ให้กับชุมชนโดยร่วมมือกับบุคคล ชุมชน องค์กร หน่วยงานและสถาบันทางสงั คมอน่ื ๒) ส่งเสริมและสนับสนุนให้ชุมชนสามารถเลือกสรรภูมิปัญญาและวิทยากรต่างๆ เพื่อพัฒนา ชุมชนให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการ โดยร่วมมือกับบุคคล ชุมชน องค์กร หน่วยงาน และ สถาบันทางสงั คมอนื่ ๓) สนับสนุนและช่วยเหลือให้มีการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ระหว่างชุมชน โ โดยร่วมมือกับบุคคล ชุมชน องค์กร หน่วยงาน และสถาบันทางสังคมอื่น การจัดองค์กร กลุ่มบริหารงาน วิชาการ มกี ารจัดการศึกษาระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย จะมีโครงสร้างการบริหาร จดั การทีแ่ ตกตา่ งกับโรงเรยี นอน่ื ๆ บา้ งเล็กนอ้ ย ตามสภาพของทอ้ งถิ่น คณะกรรมการบริหารงานวิชาการได้ ศึกษาวิเคราะห์สภาพโดยภาพรวมของโรงเรียน จากยุทธศาสตร์ นโยบาย ขอบเขตภารกิจของโรงเรียน สภาพความต้องการของท้องถ่ิน ตลอดจนศักยภาพของโรงเรียนและหลักสูตรท่ีใช้ในปัจจุบัน จึงได้กาหนด โครงสรา้ งในการบริหารงานท่ีเออ้ื กับการปฏบิ ัตงิ าน ๑๓. การประสานความร่วมมอื ในการพฒั นาวชิ าการกับสถานศกึ ษาและองคก์ รอ่นื แนวทางการสง่ เสรมิ สนับสนุน ๑) ระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ตลอดจนวิทยากรภายนอกและ ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพอ่ื เสริมสร้างพัฒนาการของนักเรยี นทกุ ดา้ น รวมทง้ั สบื สานจารตี ประเพณีศิลปวัฒนธรรมของท้องถ่นิ คู่มือปฏิบัตงิ าน โรงเรยี นพระปริยัติธรรม แผนกสามญั ศึกษา
๖๖ ๒) เสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษากับชุมชน ตลอดจนประสานงานกับองค์กรทั้ง ภาครัฐและเอกชน เพื่อให้สถานศึกษาเป็นแหล่งวิทยาการของชุมชน และมีส่วนในการพัฒนาชุมชนและ ทอ้ งถ่ิน ๓) ใหบ้ รกิ ารด้านวิชาการท่ีสามารถเชื่อมโยงหรอื แลกเปล่ยี นข้อมลู ข่าวสารกบั แหล่งวชิ าการในทีอ่ ื่น ๆ ๔) จัดกิจกรรมร่วมกับชุมชน เพ่ือส่งเสริมวัฒนธรรมการสร้างความสัมพันธ์อันดีกับศิษย์เก่า การ ประชุมผู้ปกครองนักเรียน การปฏิบัติงานร่วมกับชุมชน การร่วมกิจกรรมกับสถาบันการศึกษาอ่ืน เอ็มโอยู (MOU-Memorandum Of Understanding) หรือบันทึกความเข้าใจ เป็นหนังสือซ่ึงฝ่ายหนึ่งแสดงความ สมัครใจจะปฏิบตั อิ ย่างหนึง่ อยา่ งใด และตามเง่ือนไขทปี่ รากฏในหนงั สอื น้ันกับอกี ฝ่ายหนง่ึ ๕) โดยท่ีหนังสือนี้ไม่ถือว่าเป็นสัญญาผูกมัด แต่แสดงความต้องการอันแน่วแน่ของผู้ลงนามว่าจะ ปฏิบัติดังท่ีได้ระบุไว้ เช่น สถาบันการศึกษาแห่งหน่ึงในประเทศไทย ทาบันทึกความเ ข้าใจกับ สถาบันการศึกษาในต่างประเทศ เพอ่ื ความรว่ มมอื ทางวชิ าการ การแลกเปลยี่ นอาจารยแ์ ละนักศึกษา ขณะที่ บันทึกข้อตกลง (Memorandum Of Agreement) อันเป็นหนังสือหรือสัญญา ซ่ึงมีข้อความท่ี ระบุเป็นหลักเกณฑ์หรือวิธีการให้บุคคลท่ีเก่ียวข้องต้องปฏิบัติหรือดาเนินการในเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง เป็นข้อกติกา ข้อท่ีนัดหมายกันไว้ หรือเงื่อนไขที่กาหนดไว้ จึงมีใช้ได้ทั้ง 2 คา แต่จะใช้บันทึกความเข้าใจมากกว่า เช่น MOU ระหว่างมหาวทิ ยาลยั กบั สว่ นราชการ ในการแลกเปลี่ยนวิชาการเรือ่ งใดเรอื่ งหนงึ่ แต่อย่างไรก็ตาม หากมีการฟ้องละเมิดกันจะได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย ในฐานะอาจเป็น สัญญาได้ ส่วนสัญญาน้ัน นักกฎหมายต่างทราบดีอยู่แล้วว่าเป็นทางการมากกว่า มีสภาพบังคับ และมีผล ตามกฎหมายท่ตี ้องการให้เปน็ ไปแตล่ ะเร่อื ง คมู่ อื ปฏิบตั ิงาน โรงเรยี นพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา
๖๗ (ตัวอย่าง) บันทกึ ข้อตกลง (MOU) วา่ ดว้ ยความร่วมมอื ดา้ นการจดั การเรยี นร้เู พอื่ พัฒนาคณุ ภาพนักเรยี นโครงการโรงเรียนดปี ระจาตาบล ระหวา่ ง โรงเรยี น……………… อาเภอ……………. จงั หวัด…………… กบั สานักงานเทศบาล……………….. ตาบล……………… อาเภอ………………. จังหวัด…………… ....................................... บันทึกข้อตกลงความร่วมมือฉบับน้ีทาข้ึนระหว่างโรงเรียน…………..……………….... อาเภอ……..…… จังหวัด…………….. กับสานักงานเทศบาล………………….. ตาบล……………… อาเภอ…………… จังหวัด………… เพอื่ ให้การสนับสนุนดูแลนักเรียนและส่งเสริมความร่วมมือของเครือข่ายผู้ปกครอง คณะกรรมการโรงเรียน องค์กรภาครัฐ และเอกชนเพื่อระดมสรรพกาลังในการพฒั นาคุณภาพการศึกษา ท้ังสองฝ่ายจงึ ตกลงความร่วมมอื ดังนี้ ๑. ส่งเสรมิ สนับสนนุ ในการบริหารจัดการ และการดาเนินการบรหิ ารจัดการรถรับ – สง่ ในการเดนิ ทางมาเรยี นของนักเรยี น ๒. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ อาหาร อาหารเสรมิ (นม) และสง่ เสริมสขุ ภาพใหน้ กั เรียนทุกรูป มีคุณภาพต้ังแต่ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี ๑ ถงึ ๖ ๓. ส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมทางวิชาการ และกิจกรรมอืน่ เพื่อการพัฒนาผเู้ รยี น ให้มีคณุ ภาพ มคี ุณธรรม และมีคุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ ตามความต้องการของ ทอ้ งถิน่ และชมุ ชนตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ๔. สง่ เสรมิ สนับสนุนการพัฒนาจัดหาสอ่ื การเรยี นการสอน จดั หาแหล่งเรยี นรใู้ นโรงเรียน ในท้องถิน่ เพื่อให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรูอ้ ย่างต่อเน่ืองและย่ังยนื ๕. สง่ เสริมสนบั สนนุ การเรียนร้ทู ี่เป็นการส่งเสรมิ อาชีพในท้องถน่ิ เพือ่ ให้นกั เรียนและ เยาวชน ไดเ้ กดิ การเรยี นรูแ้ ละนาความรูท้ ่ีไดร้ บั ไปใชป้ ระโยชน์ในการประกอบอาชพี ๖. สง่ เสริมสนับสนนุ และพัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาให้มคี วามรู้ เพ่ิมพนู ทักษะ มขี วญั กาลงั ใจ ในการปฏบิ ัติงานเพ่ือเปน็ กาลังสาคญั ในการพัฒนาผ้เู รยี น ๗. สง่ เสริมการจดั สภาพแวดล้อมในโรงเรยี นให้เออ้ื ตอ่ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ๘. ฯลฯ ทง้ั น้ี ทง้ั สองหนว่ ยงานจะประสานความรว่ มมอื ระหว่างกนั และจะสนับสนนุ การดาเนินงาน ตลอดจนตดิ ตาม ประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน ตามบันทกึ ความเขา้ ใจให้เกิดประโยชนส์ งู สดุ เปน็ ระยะต่อไป บันทึกข้อตกลงนี้ จัดทาขึ้นเป็น ๒ ฉบับ มีข้อความถูกต้องตรงกัน ทุกฝ่ายได้อ่านทาความ เข้าใจตามข้อตกลงโดยละเอียดแล้ว จึงได้ลงลายมือช่ือไว้เป็นสาคัญต่อหน้าพยานและคู่สัญญาต่างยึดถือไว้ ฝา่ ยละ ๑ ฉบับ คูม่ ือปฏิบตั ิงาน โรงเรยี นพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศกึ ษา
๖๘ ลงนาม ณ สานักงานเทศบาล……………………. ตาบล………………..………….. อาเภอ…………….……… จังหวดั …………….. เมอ่ื วนั ที่ ………… เดือน ………………… พ.ศ. ๒๕………… (ลงนาม) (ลงนาม) (………………………………) (………………………………) ผู้อานวยการโรงเรยี น……………. นายกเทศมนตรี………………….. (ลงนาม) (……………………..) ปลัดเทศบาล…….…………….. (ลงนาม) พยาน (……………………….) รองผูอ้ านวยการสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา………….. (ลงนาม) พยาน (……………………..) ผูอ้ านวยการสานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษา……………… คมู่ ือปฏิบตั งิ าน โรงเรียนพระปริยตั ิธรรม แผนกสามัญศึกษา
๖๙ ๑๔. การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน สถานประกอบการ และสถาบันอ่ืนที่จดั การศึกษา แนวทางการส่งเสรมิ สนบั สนุน ๑) สารวจและศึกษาข้อมูลการจัดการศึกษารวมทั้งความต้องการในการได้รับการสนับสนุน ด้านวิชาการของบุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน และสถาบันสงั คมอื่นที่จดั การศึกษา ๒) ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาวิชาการและการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ในการจัดการศึกษา ของบคุ คล ครอบครัว องค์กร หนว่ ยงาน และสถาบันสังคมอ่นื ทจ่ี ดั การศกึ ษา ๓) จัดให้มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ในการจัดการศึกษาของบุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน และสถาบนั สังคมอน่ื ท่จี ัดการศกึ ษา ๑๕. การจดั ทาระเบยี บและแนวปฏบิ ตั ิเกย่ี วกับงานดา้ นวิชาการของสถานศึกษา เมื่อสถานศึกษาจัดทาหลักสูตรที่สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และเหมาะสมกับสภาพบริบทของตนเองแล้ว ภารกิจต่อไปคือ วางแผนการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดาเนินการวัดและประเมินผล ในระดับชั้นเรียนสาหรับผู้สอน โดยในการประเมินความรู้ และทักษะต่างๆ ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ควรบูรณาการไปพร้อมๆ กับการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ และการประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน นอกจากนี้ สถานศึกษาต้องตรวจสอบเพิ่มเติมเพื่อให้มั่นใจว่าการจัดการเรียนรู้และการประเมินผล การเรียนรู้ทคี่ รูผู้สอนดาเนินการนนั้ นาไปสกู่ ารพัฒนาสมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน ๕ ประการ ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กาหนด ได้แก่ ความสามารถในการส่ือสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี โดยสมรรถนะสาคัญท้ัง ๕ ประการนั้น ควรเป็นผลการประเมิน องคป์ ระกอบทง้ั ๔ ดา้ น ไปพรอ้ มๆ กบั การประเมินคณุ ลกั ษณะอื่นๆ แนวทางการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ สถานศึกษาต้องดาเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา โดยมีแนวทาง การดาเนินการ ดังน้ี ๑) สถานศึกษาต้องดาเนินการวัดและประเมินผลให้ครบองค์ประกอบทั้ง ๔ ด้าน ตามแนวทาง และวิธีการของการวัดและประเมินผลแต่ละองค์ประกอบ และกาหนดเอกสารบันทึกผลการประเมิน ใหส้ อดคล้องกบั แนวทางการวดั และประเมินผล ๒) ให้ครูผู้สอนนาผลการประเมินแต่ละองค์ประกอบบันทึกลงในเอกสารบันทึกผลการประเมิน ตามทีส่ ถานศึกษากาหนดและนาเสนอผบู้ รหิ ารโรงเรียน ๓) ผู้บรหิ ารโรงเรียนเปน็ ผูอ้ นุมัตผิ ลการประเมนิ ๔) ให้มีการรายงานความก้าวหน้าผลการพัฒนาองค์ประกอบทั้ง ๔ ด้าน ให้ผู้ปกครองทราบเป็น ระยะๆ และรายงานสรปุ ผลการเรียนปลายปี/ปลายภาค ๕) ผู้บริหารโรงเรียนต้องกาหนดวิธีการและมอบหมายผู้รับผิดชอบ ปรับปรุง พัฒนาผู้เรียน ท่ไี ดผ้ ลการเรยี นซา้ รายวชิ าหรอื ซา้ ชั้น ๖) สถานศึกษากาหนดแนวทางในการกากับ ติดตามการบันทึกผลการประเมินในเอกสาร หลักฐานการศึกษา ทั้งแบบท่ีกระทรวงศึกษาธิการกาหนด และแบบที่สถานศึกษากาหนด แนวท าง การวัดและประเมนิ ผลองคป์ ระกอบท้งั ๔ ดา้ น มรี ายละเอยี ดดงั น้ี คมู่ ือปฏิบตั ิงาน โรงเรยี นพระปริยัตธิ รรม แผนกสามัญศึกษา
๗๐ การประเมินผลการเรียนรตู้ ามกลมุ่ สาระการเรียนรู้ การประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ท้ัง ๘ กลุ่มสาระ และสาระพระพุทธศาสนา เป็นการประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ เจตคติ ทักษะการคิดท่ีกาหนดอยู่ในตัวชี้วัดในหลักสูตร ซ่ึงจะนาไปสู่การสรุปผลการเรียนรู้ของผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้ต่อไป ภารกิจของสถานศึกษา ในการดาเนนิ การประเมินผลการเรียนรูต้ ามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ มรี ายละเอยี ด ดงั น้ี ๑) กาหนดสัดส่วนคะแนนระหว่างเรียนกับคะแนนปลายปี/ปลายภาค โดยให้ความสาคัญของ คะแนนระหวา่ งเรยี นมากกว่าคะแนนปลายป/ี ปลายภาค เช่น ๖๐ : ๔๐ : ๗๐ : ๓๐ : ๘๐ : ๒๐ เปน็ ตน้ ๒) กาหนดเกณฑ์การตัดสินผลการเรียน สาหรับระดับมัธยมศึกษากาหนดเป็นระดับผลการเรียน ๘ ระดับ และกาหนดเงื่อนไขต่างๆ ของผลการเรียน เช่น การประเมินที่ยังไม่สมบูรณ์ (ร.) การไม่มีสิทธิเข้า รับการสอบปลายภาค (มส.) เป็นต้น นอกจากน้ี สถานศึกษาอาจกาหนดคุณลักษณะของความสาเร็จตาม มาตรฐานการศึกษาแตล่ ะชั้นปเี ปน็ ระดับคณุ ภาพเพิม่ อีกก็ได้ ๓) กาหนดแนวปฏิบัติในการสอนซ่อมเสริมระหว่างเรียน กรณีผู้เรียนมีผลการประเมินตัวช้ีวัด/ มาตรฐานการเรียนรไู้ ม่ผ่านตามเกณฑท์ ส่ี ถานศกึ ษากาหนด ๔) กาหนดแนวปฏิบัติในการสอนซ่อมเสริม การสอบแก้ตัว กรณีผู้เรียนมีระดับผลการเรียน “๐” หรือมีระดับคุณภาพต่ากว่าเกณฑ์ และแนวดาเนินการกรณีผู้เรียนมีผลการเรียนที่มีเง่ือนไขคือ “ร” หรือ “มส” ๕) กาหนดแนวทางในการอนมุ ัตผิ ลการเรยี น ๖) กาหนดแนวทางในการรายงานผลการประเมนิ ตอ่ ผเู้ กี่ยวขอ้ ง การประเมนิ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ถือเป็นความสามารถหลักท่ีสาคัญซึ่งจาเป็นต้องปลูกฝังและ พัฒนาให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนด้วยกระบวนการจัดการศึกษาตามหลักสูตร ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ขณะเดียวกันก็จาเป็นต้องตรวจสอบว่า ความสามารถดังกล่าวเกิดขึ้นแล้วหรือยัง เน่ืองจากการพัฒนา ความสามารถด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ผู้เรียนจะได้รับการพัฒนาตามลาดับอย่างต่อเน่ือง ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือกิจกรรมต่างๆ กระบวนการตรวจสอ บ ความก้าวหน้าทีเ่ กดิ ขนึ้ ทัง้ ความรูค้ วามเขา้ ใจในการปฏิบัติ จะดาเนินการไปดว้ ยกันในกระบวนการ หลกั การประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน ๑) เป็นการประเมินเพ่ือการปรับปรุงพัฒนาผู้เรียนและประเมินเพื่อการตัดสินการเล่ือนช้ัน และจบการศึกษาระดบั ต่างๆ ๒) ใชว้ ธิ กี ารท่ปี ระเมินทห่ี ลากหลาย เพ่ือให้ผู้เรียนมีโอกาสได้แสดงออกซึ่งความสามารถดังกล่าว อย่างเต็มตามศกั ยภาพและทาใหผ้ ลการประเมินที่ไดม้ คี วามเชื่อมั่น ๓) การกาหนดภาระงานให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติควรสอดคล้องกับขอบเขตและประเด็นการประเมิน ทีก่ าหนด ๔) ใชร้ ูปแบบวธิ กี ารประเมินและเกณฑก์ ารประเมินท่ีไดจ้ ากการมีสว่ นรว่ มของผเู้ กีย่ วข้อง ๕) การสรุปผลการประเมินเพ่ือรายงาน เน้นการรายงานคุณภาพของความสามารถในการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี น เป็น ๔ ระดบั คอื ดเี ย่ียม ดี ผา่ น และไม่ผา่ น คมู่ อื ปฏบิ ตั ิงาน โรงเรยี นพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา
๗๑ แนวดาเนินการพฒั นาและประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขียน สถานศึกษาควรดาเนินการพัฒนาและประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน เปน็ กระบวนอยา่ งชดั เชน่ สามารถตรวจสอบดาเนนิ งานได้ การพฒั นาและประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี น สถานศึกษาอาจดาเนนิ การตามกระบวนการต่อไปน้ี ๑) แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาและประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ซ่ึงประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้แทนคณะกรรมการบริหารโรงเรียน ผู้แทนครูผู้สอน ผู้แทน ผู้ปกครองนักเรียน และผู้แทนนักเรียน เพื่อกาหนดแนวทางในการพัฒนา ประเมิน ปรับปรุงแก้ไข และ ตดั สินผลการประเมินความสามารถในการอ่าน คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขียน รายภาค (ระดับมัธยมศึกษา) และจบ การศกึ ษาแตล่ ะระดับชัน้ ๒) ศึกษานิยามหรือความหมายของความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนกาหนด ขอบเขต และตัวชี้วัดท่ีแสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ให้สอดคล้องกับบริบท และจดุ เนน้ ของสถานศกึ ษาในแต่ละระดับการศึกษา ๓) ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมกันศึกษาหลักการประเมิน และพิจารณากาหนดรูปแบบ วิธีการพัฒนา และประเมินความสามารถในการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียนของสถานศกึ ษา ๔) กาหนดแนวทางการพัฒนาและประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ให้สอดคล้องกับขอบเขตและตัวช้ีวัดท่ีกาหนดใน ข้อ ๒ และกาหนดระดับคุณภาพ หรือเกณฑ์ประเมิน เป็น ๔ ระดับ คือดีเยี่ยม ดี ผ่าน และไม่ผ่าน เพ่ือใช้ในการตัดสินผลรายปี (ระดับประถมศึกษา) รายภาค (ระดบั มธั ยมศึกษา) และจบการศึกษาแตล่ ะระดับชน้ั ๕) ดาเนนิ การพฒั นา ประเมนิ และปรับปรงุ แกไ้ ขความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ตามรปู แบบและวธิ ีการท่ีกาหนดอยา่ งตอ่ เน่อื ง ๖) สรุปและตัดสินผลการประเมิน บันทึกและรายงานผลการประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ต่อผู้เกี่ยวข้องเพ่ือให้เกิดความชัดเจนต่อผู้ปฏิบัติในการประเมินความสามารถด้าน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน จึงได้กาหนดความหมายและขอบเขตการประเมินเป็นระดับชั้น ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย ให้เป็นกรอบในการประเมินเพ่ือตัดสินการ เลอ่ื นชน้ั และจบการศึกษาแต่ระดับ ความสาคญั ของการประเมินการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขียน การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน เป็นการประเมินศักยภาพของผู้เรียนในการอ่าน จากหนังสือ ตาราเรียน เอกสาร และสื่อต่างๆ เพ่ือหาและหรือเพ่ิมพูนความรู้ ประสบการณ์ ความสุนทรีย์ และประยุกต์ใช้ แล้วนาเนื้อหาสาระที่อ่านมาคิดวิเคราะห์ นาไปสู่แสดงความคิดเห็น การสังเคราะห์ สร้างสรรค์ การแก้ปัญหาในเรื่องต่างๆ และถ่ายทอดความคิดน้ันด้วยการเขียนท่ีมีสานวนภาษาถูกต้อง มี เหตุผลและลาดับข้ันตอนในการนาเสนอ สามารถสร้างความเข้าใจแก่ผู้อ่านได้อย่างชัดเจนตามระดับ ความสามารถในแตร่ ะดับช้ัน ค่มู ือปฏบิ ตั งิ าน โรงเรยี นพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามัญศึกษา
๗๒ ขอบเขตการประเมนิ และตัวชี้วดั ทแี่ สดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี น ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ – ๓ ขอบเขตการประเมนิ การอ่านจากส่ือส่ิงพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ท่ีให้ข้อมูลสารสนเทศ ข้อคิด ความรู้เก่ียวกับสังคม และสิ่งแวดล้อม ท่ีเอ้ือให้ผู้อ่านนาไปคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ สรุปคุณค่าแนวคิดที่ได้นาไปประยุกต์ใช้ด้ว ย วจิ ารณญาณ และถ่ายทอดเปน็ ข้อเขียน เชงิ สร้างสรรค์หรือรายงาน ด้วยภาษาที่ถูกต้องเหมาะสม เช่น อ่าน หนังสือพมิ พ์ วารสาร หนังสือเรยี น บทบาท สนุ ทรพจน์ คาแนะนา คาเตอื น แผนภมู ิ ตาราง แผนท่ี ตัวชีว้ ัดความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี น ๑) สามารถคัดสรรสื่อที่ต้องการอ่านเพื่อหาข้อมูลสารสนเทศได้ตามวัตถุประสงค์สามารถ สร้างความเข้าใจ และประยกุ ต์ใชค้ วามร้จู ากการอ่าน ๒) สามารถจับประเดน็ สาคญั และประเด็นสนับสนุน โต้แย้ง ๓) สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ ความสมเหตุสมผล ความน่าเชื่อถือ ลาดับความ และความเป็นไป ไดข้ องเร่ืองอา่ น ๔) สามารถสรปุ คณุ คา่ แนวคิด แง่คิดทไ่ี ด้จากการอ่าน ๕) สามารถสรุป อภิปราย ขยายความ แสดงความคิดเห็น โต้แย้งสนับสนุน โน้มน้าว โดยการ เขยี นสอื่ รูปแบบต่างๆ เชน่ ผงั ความคดิ เป็นต้น ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๔-๖ ขอบเขตการประเมนิ การอ่านจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่ให้ข้อมูลสารสนเทศ ความรู้ ประสบการณ์แนวคิด ทฤษฎี รวมท้ังความงดงามทางภาษาที่เอ้ือให้ผู้อ่านวิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น โต้แย้ง หรอื สนับสนุน ทานาย คาดการณ์ ตลอดจนประยกุ ตใ์ ช้ในการตัดสนิ ใจ แก้ปัญหา และถ่ายทอดเป็นข้อเขียน เชิงสร้างสรรค์ รายงาน บทความทางวิชาการอย่างถูกต้องตามหลักวิชา เช่น อ่านบทความวิชาการ วรรณกรรมประเภทต่างๆ ตัวชี้วดั ความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี น ๑) สามารถอ่านเพ่ือการศึกษาค้นคว้า เพิ่มพูนความรู้ ประสบการณ์ และการประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจาวนั ๒) สามารถจบั ประเดน็ สาคัญลาดับเหตุการณ์จากการอ่านหนังสอื ทมี่ ีความซบั ซ้อน ๓) สามารถวิเคราะห์สิ่งท่ีผู้เขียนต้องการส่ือสารกับผู้อ่าน และสามารถวิพากษ์ ให้ข้อเสนอแนะ ในแงม่ ุมตา่ งๆ ๔) สามารถประเมนิ ความนา่ เช่ือถือ คุณค่า แนวคดิ ทไ่ี ดจ้ ากการอา่ นอยา่ งหลากหลาย ๕) สามารถเขียนแสดงความคิดเห็นโต้แย้ง สรุป โดยมีข้อมูลอธิบายสนับสนุนอย่างเพียงพอและ สมเหตุสมผล คมู่ ือปฏิบัตงิ าน โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา
๗๓ รูปแบบประเมนิ ความสามารถในการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขียน การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน เป็นเงื่อนไขสาคัญประการหนึ่งที่ผู้เรียนทุกคน จะต้องได้รับการประเมินให้ผ่านตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากาหนด จึงจะได้รับการตัดสินให้ผ่านการเลื่อนช้ัน และผ่านการศึกษาแต่ละระดับการศึกษา ถือเป็นมาตรการสาคัญอย่างหนึ่งในการพัฒนาและยกระดับ เพ่อื คุณภาพการศกึ ษา ซ่งึ จะชว่ ยผ้เู รยี นทุกคนให้ได้รับการฝึกฝนให้มีความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ แเละเขียน โดยสถานศึกษาอาจเลือกรูปแบบใดรูปแบบหน่ึง หรือหลายรูปเเบบในการประเมิน ไปใช้ ใหเ้ หมาะสมกับสภาพและบริบทของโรงเรยี น ดังน้ี รปู แบบที่ ๑ การบรู ณาการตวั ช้ีวดั ของการประเมินการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียนรว่ มกับการ ประเมนิ ผล กลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กล่มุ สาระการเรยี น สารวจตรวจสอบว่าตัวชี้วัดของการประเมินความสามารถการอ่าน คิดวิเคราะห์ เเละเขียน มีอยู่ในหน่วยการเรียนรู้ของแต่ละรายวิชาใดบ้าง หากยังไม่มีหรือมีเล็กน้อย ให้นาเข้าไปบูรณาการ ในหน่วยการเรียนรู้หรือแผนการเรียนรู้ของรายวิชาน้ัน เมื่อนาหน่วยการเรียนรู้ไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผลการประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียนที่เป็นผลงานในรายวิชานั้น นับเป็นผลการประเมินความสามารถการ อ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนด้วย หากมีการวางแผนกาหนดหน่วยการเรียนรู้ของแต่ละรายวิชาในแต่ละปี (ระดับประถมศึกษา) แต่ละภาคเรียน (ระดับมัธยมศึกษา) ให้มีการกระจายตัวชี้วัดลงทุกรายวิชา ในท่ีสุด ส่วนที่เพียงพอและมีผลงานปรากฏชัดเจน เป็นตัวแทนความสามารถในการประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์ และเขียนไดต้ ามเกณฑ์การประเมินท่ีสถานศึกษากาหนด แล้วนาผลการประเมินท้ัง ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ไปสรุปในภาพรวมเป็นผลการประเมินความสามารถการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน รายปี/รายภาค โดย อาศัยค่าสถิติท่ีเหมาะสม เช่น ฐานนิยม (Mode) หรือค่าเฉลี่ย (Average) รูปแบบนี้มีความเหมาะสมกับ โรงเรียนท่มี คี วามพร้อมปานกลาง รูปแบบท่ี ๒ การใชเ้ คร่ืองมือเเบบทดสอบประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขียน สถานศึกษาสามารถที่จะสร้างและพัฒนาแบบทดสอบตามตัวชี้วัดการประเมินค วามสามารถการ อ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนได้ โดยใช้กระบวนการสร้างและพัฒนาแบบทดสอบ แบบทดสอบ ที่มี ประสิทธิภาพ ซึ่งต้องมั่นใจในความเที่ยงตรง (Validity) ความยุติธรรม (Fairly) และความเชื่อถือได้ (Reliability) ของแบบทดสอบนั้นๆ ที่จะนามาประเมินกับผู้เรียนทุกคน หรือติดต่อขอใช้บริการ แบบทดสอบมาตรฐานจากหน่วยงานท่ีให้บริการแบบทดสอบมาตรฐาน เพื่อประเมินความสามารถการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน เช่น สานักทดสอบทางการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน รปู แบบนีเ้ หมาะสาหรบั โรงเรยี นทมี่ ีความพร้อมมาก มีขนาดใหญ่ หรือขนาดใหญ่พเิ ศษ รปู แบบที่ ๓ การกาหนดโครงการ กิจกรรมส่งเสรมิ ความสามารถในการอา่ นคดิ วิเคราะห์ และ เขยี นใหเ้ รียนปฏิบัติโดยเฉพาะ ศึกษาตัวช้ีวัด ขอบเขต เกณฑ์และแนวการให้คะแนน (Rubric) ของการประเมินความสามารถ ในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน แล้วจัดทาโครงการ/กิจกรรมให้ผู้เรียนปฏิบัติเป็นกลุ่มหรือเป็น รายบุคคลหรือการมอบหมายให้ผู้เรียนไปศึกษาค้นคว้าแล้วเขียนเป็นรายงานเกี่ยวกับการอ่านการคิด วิเคราะห์ และการเขียน หรือรวบรวมและนาเสนอในรูปของแฟ้มสะสมงาน เพ่ือประเมินศักยภาพของ ผู้เรียนในการอ่านหนังสือ เอกสาร และสื่อต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง คล่องแคล่ว แล้วนามาคิดสรุปเป็นความรู้ ความเข้าใจ สามารถคิดวิเคราะห์เน้ือหาสาระของเรื่องที่อ่าน นาไปสู่การสังเคราะห์สร้างสรรค์ และแสดง ความคิดเห็นในเร่ืองต่างๆ และถ่ายทอดความคิดเหล่านั้นด้วยการเขียนส่ือความท่ีสะท้อนถึงสติปัญญา คูม่ ือปฏิบตั ิงาน โรงเรยี นพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา
๗๔ ความรูค้ วามเข้าใจ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ แก้ปัญหาและสร้างสรรค์จินตนาการอย่าง เหมาะสมและมีคุณคา่ เช่น โครงการรกั อ่าน รกั การเขียน เป็นต้น รูปแบบนี้เหมาะสาหรับโรงเรียนท่ีมีความ พร้อมมาก มีขนาดใหญ่หรือขนาดใหญพู่ เิ ศษ รูปแบบท่ี ๔ การบูรณาการตัวช้ีวัดการประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และ เขียน ร่วมกับการประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น ศึกษาตัวช้ีวัด ขอบเขต เกณฑ์ และแนวการให้คะแนน (Rubric) ของการประเมินความสามารถใน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน แล้วบูรณาการเข้ากับแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนนาแผนการจัด กิจกรรมไปสู่การปฏิบัติ และประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรมตามภาระงานท่ีได้เรียนรู้ผลงานที่เก่ียวข้องกับ การประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี นตามกิจกรรมนับเป็นการประเมินท่ีนาข้อมูลมา ตัดสินผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนได้ โดยนาไปเทียบกับเกณฑ์และแนวทางการให้ คะแนน (Rubric) ตามที่สถานศกึ ษากาหนด ไปแบบนมี้ คี วามเหมาะสมกับโรงเรียนท่ีมีความพร้อมปานกลาง มีครทู คี่ รบชั้นเรียนและมคี รพู เิ ศษบ้าง ครูคนหน่งึ อาจรบั ผิดชอบทั้งงานสอนและงานพิเศษ วธิ กี ารประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน วิธีการประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ควรจัดในระหว่างการเรียนการ สอนในห้องเรียนตามปกติเป็นดีท่ีสุด ไม่ควรแยกมาจัดสอบเหมือนการสอบปลายภาคหรือปลายปี ของการจบการศึกษาภาคบังคับ และการจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยกเว้นถ้าสถานศึกษาได้พัฒนา แบบทดสอบหลายๆ ดา้ น โดยนามาใช้ประเมนิ เพ่อื ตรวจสอบพฒั นาการของผู้เรยี น ในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ในระหว่างการเรียนการสอนแล้วนามาสรุปผลเป็นระยะๆ สาหรับรายงานผลความก้าวหน้าเมื่อ เทียบกบั เกณฑก์ ารประเมินที่สถานศึกษากาหนดไว้ ทั้งนี้ ก่อนที่จะทาการประเมินผลสิ่งใด ผู้ท่ีประเมินควร ทาความเข้าใจสงิ่ ทีจ่ ะประเมนิ ใหช้ ดั เจนครอบคลมุ ประเดน็ ต่อไปน้ี ๑) อะไรคอื สิ่งที่จะทาการประเมิน ผู้ประเมินต้องศึกษาความหมาย ขอบเขตและตัวชี้วัดของความสามารถการอ่านคิดวิเคราะห์ และเขียน ให้เข้าใจว่า เราต้องการให้ผู้เรียนคิดในสิ่งท่ีอ่าน อ่านโดยใช้กระบวนการคิด ท่ีมีประสิทธิภาพ ทั้งน้ี ควรคานึงถึงการประเมินผลให้เป็นการประเมินลักษณะองค์รวม โดยประเมินผลงานท่ีเป็นการเขียน ตามเกณฑท์ ค่ี รอบคลมุ ความสามารถในการอา่ น ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ และความสามารถในการ เขียนที่อธิบายระดับคุณภาพท่ียอมรับได้ไว้ก่อน และควรแจ้งให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง และคณะกรรมการ สถานศกึ ษาได้ทราบลว่ งหน้าก่อนจัดการเรยี นการสอน ๒) อะไรคอื เป้าหมายของการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขยี น ก่อนจะเลือกวิธีการหรือเคร่ืองมือประเมินผลท่ีเหมาะสม การกาหนดเป้าหมายของการประเมิน ความสามารถการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน เป็นสิ่งที่ต้องตัดสินใจเป็นอันดับแรกมีเป้าหมาย เ พ่ื อ น า ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น ไ ป ใ ช้ ใ น ก า ร ตั ด สิ น ก า ร เ ล่ื อ น ช้ั น ก า ร ตั ด สิ น ก า ร จ บ ก า ร ศึ ก ษ า ภ า ค บั ง คั บ และการจบการศึกษาข้ันพื้นฐาน รวมทั้งเพื่อนาข้อมูลที่ได้จากผลการประเมินไปใช้วางแผนปรับปรุงพัฒนา ความสามารถผู้เรยี นไปสเู่ กณฑ์ทส่ี ถานศกึ ษากาหนด คมู่ ือปฏิบตั งิ าน โรงเรยี นพระปริยัติธรรม แผนกสามญั ศึกษา
๗๕ ๓) ขอบเขตและตวั ช้ีวัดอะไรบ้างท่จี ะทาการประเมนิ การเตรียมการประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียนเกี่ยวกับความสามารถการอ่านคิดวิเคราะห์ และ เขยี น ครคู วรพจิ ารณาถึงความสามารถผูเ้ รยี นในแตล่ ะระดับการศึกษาจะสามารถทาได้ผลงานจากการเขียน สื่อสารความรู้ ความคิด ความรู้สึก เจตคติ แล้วยังเป็นหลักฐานที่แสดงออกถึงความสามารถในการคิด วเิ คราะหอ์ กี ด้วย และถา้ หากผลงานเขียนช้ินเดียวนั้นมาจากการคิดในส่ิงท่ีอ่านเป็นหลักฐานท่ีใช้ประเมินได้ ทัง้ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ดังน้ัน ครูต้องศึกษาขอบเขต และตัวชี้วัดการประเมินก่อนจึงจะช่วยให้ เลือกวิธกี ารท่ีจะใช้ในการประเมินการอา่ น การคิดวเิ คราะห์ และการเขยี นได้อยา่ งเหมาะสม ๔) ผลของการประเมนิ จะรายงานอย่างไร การรายงานผลการประเมินเป็นส่ิงสาคัญ ครูจะต้องดาเนินการอย่างรวดเร็วและเช่ือถือได้มีความ ถูกต้องครบถ้วน การรายงานผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ขึ้นอยู่กับการออกแบบ การจัดการเรียนรู้ การวางแผนร่วมกันของผู้บริหาร ครู และคณะกรรมการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน จะจัดให้มีการรายงานกี่ครั้ง ท้ังนี้ ควรจัดให้มีการรายงานผลการประเมินระหว่าง พัฒนาการ เเละผลการประเมินสรุปแบบรายงานผลการประเมินควรออกแบบอย่างง่ายต่อการสื่อ ความหมาย และทาให้เห็นร่องรอยของพัฒนาการ ไม่ควรเปรียบเทียบกับผู้เรียนคนอื่น และเป็นการ รายงานท่ีรวดเรว็ ใหค้ วามยุตธิ รรมแกผ่ ู้เรียนเทยี่ งตรงและเช่ือถอื ได้ ๕) วิธีการประเมนิ การอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขียน ทาได้อยา่ งไร สถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินความสามารถการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนตามแนว ทางการพัฒนาการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน แล้วร่วมกันกาหนดรูปแบบการประเมินท่ีเหมาะสม กับสภาพความพร้อมและบริบทของโรงเรียนท่ีสามารถดาเนินการประเมินความสามารถการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่วนมากสถานศึกษามักจะบูรณาการร่วมกับกลุ่มสาระการ เรยี นรูท้ งั้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ หรอื ใช้หลายๆ รปู แบบ เช่น การมอบหมายงานให้ผู้เรียนปฏิบัติจัดทาเป็น โครงการ/กิจกรรมการบูรณาการเข้ากับกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และการใช้แบบทดสอบมาตรฐานทดสอบ ผู้เรียนทกุ คน ทง้ั น้ี ควรเลือกใหเ้ หมาะสมกับสถานศึกษา และไม่ควรเพิ่มภาระงานและเวลาของครูมากนัก ๖) จะประเมนิ ความสามารถการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี น ได้ในเวลาใด การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ควรประเมินในห้องเรียนตามปกติเป็นดีที่สุด หรือใช้เวลานอกห้องเรียนจากการมอบหมายให้ผู้เรียนทางานกลุ่มท่ีสะท้อนความสามารถในการอ่า น คิดวิเคราะห์ และเขียนเป็นพิเศษ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนและการประเมินเป็นคร้ังๆ แล้วนาผลมา สรุปรวม โดยควรแบ่งระยะเวลาสรุปเป็นช่วงๆ ทั้งนี้ คณะกรรมการประเมินควรร่วมกันพิจารณาเพื่อมุ่ง พัฒนาผู้เรยี นใหไ้ ปสู่ตวั ชวี้ ดั ความสามารถในการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขยี น เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียน การประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ เเละเขียนของผู้เรียนเพื่อเลื่อนชั้นและจบ การศึกษาแต่ละระดับการศึกษา ตามเกณฑ์ที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และสถานศึกษากาหนด การตัดสินผลการประเมินเพ่ือเลื่อนช้ันใช้ผลการประเมินปลายปี ส่วนการตัดสิน การจบระดับการศึกษา ใช้ผลการประเมนิ ปลายปสี ุดท้ายของระดับการศึกษา คมู่ อื ปฏบิ ัติงาน โรงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา
๗๖ การประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน กาหนดเกณฑ์การตัดสินคุณภาพ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน เป็น ๔ ระดับ คือ ดเี ยีย่ ม ดี ผา่ น และไม่ผา่ น ดีเยยี่ ม หมายถึง มีผลงานท่แี สดงถึงความสามารถในการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น ทม่ี คี ุณภาพดเี ลศิ อยู่เสมอ ดี หมายถงึ มผี ลงานทีแ่ สดงถึงความสามารถในการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขียน ทม่ี คี ุณภาพเปน็ ท่ียอมรบั ผ่าน หมายถงึ มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน ทม่ี ขี ้อบกพรอ่ งบางประการ ไมผ่ า่ น หมายถงึ ไมม่ ีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน หรอื ถ้ามผี ลงาน ผลงานน้นั ยังมีขอ้ บกพร่องทต่ี อ้ งไดร้ ับการปรับปรุง แก้ไข หลาย ประการ นาผลการประเมินมาอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียนส่งนายทะเบียนวดั ผลเพอ่ื ประกาศใหน้ กั เรยี น และรายงานผ้ทู เ่ี กี่ยวขอ้ งได้ทราบ แนวทางการแกไ้ ขผู้เรยี นกรณีไม่ผ่านเกณฑ์ ในกรณีท่ีผู้เรียนมีผลการประเมินอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน อยู่ในระดับไม่ผ่านครูผู้สอน และคณะกรรมการประเมินควรเร่งดาเนินการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้ผู้เรียนมีความก้าวหน้า ในตัวชี้วัดที่มีจุดบกพร่อง สมควรได้ร้บการ เเก้ไขในระยะเวลาพอสมควรท่ีผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้ และ สร้างผลงานท่ีสะท้อนความสามารถในตัวช้ีวัดท่ีต้องปรับปรุงแก้ไขได้อย่างแท้จริงด้วยวิธีการที่หลากหลาย เชน่ มอบหมายงานใหผ้ ้เู รียนได้อา่ น ได้คดิ วิเคราะห์จากเรอื่ งท่อี า่ น และสามารถสื่อสารสาระสาคัญจากเร่ือง ทอ่ี ่านโดยการเขียนอย่างมีประสิทธิภาพ แล้วนาผลงานไปเทียบกับแนวการให้คะแนนและเกณฑ์การตัดสิน ทสี่ ถานศกึ ษากาหนดตงั้ แตร่ ะดบั ดเี ย่ียม ดี ผา่ น ขอ้ แนะนาเกีย่ วกับเครอื่ งมือและวธิ ีการประเมิน เพือ่ ใหไ้ ด้ผลการประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ท่ีสะท้อนความสามารถ ท่แี ท้จริงของผู้เรยี นผปู้ ระเมินควรให้ความสาคัญกบั เคร่ืองมือและวธิ กี ารประเมนิ ในประเด็น ต่อไปนี้ ลักษณะภาระงานที่กาหนดใหผ้ ู้เรยี นปฏบิ ัติ - ชือ่ ทใี่ ห้ผูเ้ รียนต้องอา่ นมีความสอดคล้องกับขอบเขตการประเมินในแตล่ ะระดบั - การกาหนดเง่ือนไขการปฏิบัตใิ ห้เป็นไปตามประเดน็ การตรวจสอบ - ประเดน็ คาถาม กระตุ้นให้ผู้เรียนได้แสดงออกถึงความรู้ความเข้าใจ ความคิดเกี่ยวกับสิ่ง ทีอ่ ่านและเขียน ถา่ ยทอดความรคู้ วามคิดของตนเอง ลกั ษณะเครื่องมอื วิธีการประเมิน - ให้ผูเ้ รียนได้ปฏบิ ตั จิ ริง - ทดสอบโดยการสอบข้อเขียน - การใหผ้ เู้ รยี นประเมินตนเอง/เพือ่ นประเมนิ - การพดู คยุ ซกั ถาม ถามตอบปากเปล่า - การตรวจผลงาน คู่มอื ปฏิบตั งิ าน โรงเรยี นพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามัญศึกษา
๗๗ การใชผ้ ลการประเมินระหวา่ งการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูเ้ พอ่ื เป็นข้อมลู ย้อนกลับแก่ผ้เู รยี น สาหรับการปรับปรุงพัฒนา ดูความก้าวหน้า ปัญหาอุปสรรคในการเรียน เน้นลักษณะการประเมิน เพ่อื การเรยี นรู้ (Assessment for Learning) มากกว่าการประเมนิ เพ่ือสรุปผลการเรียนรู้ (Assessment of Learning) มีผลการวิจยั ระบุวา่ การใชข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั ด้วยคาพดู จะกระตุน้ ใหเ้ กิดการพฒั นา การประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็นหลักสูตรอิงมาตรฐานซ่ึงกาหนด สิง่ ที่ผ้เู รยี นพึงรแู้ ละปฏบิ ัติไดไ้ ว้ในมาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชี้วัด ซึ่งจะประกอบด้วยความรู้ ความสามารถ คุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ เมื่อผู้เรียนได้รับการพัฒนาไปเเล้ว นอกจากจะมีความรู้ความสามารถ ตลอดจนคุณธรรมจริยธรรมที่กาหนดไว้ในมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดแล้ว จะนาไปสู่การมีสมรรถนะ สาคัญ ๕ ประการ และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๘ ประการอีกด้วย คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ท่ีหลักสูตรกาหนดน้ันต้องได้รับการปลูกฝัง และพัฒนาผ่านการจัดการเรียนการสอน การปฏิบัติกิจกรรม พฒั นาผูเ้ รียนในลักษณะตา่ งๆ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ในตวั ผู้เรียน การประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ต้องใช้ข้อมูลจากการสังเกตพฤติกรรม ซึ่งใช้เวลาในการเก็บ ข้อมูลพฤติกรรมเพื่อนามาประเมินและตัดสินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ หมายถึง ลักษณะท่ีสังคมต้องการ ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนในด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม จิตสานึก สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมี ความสุข ท้ังในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก ตามที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กาหนด ซง่ึ มีอยู่ ๘ คณุ ลกั ษณะ ได้แก่ รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซ่ือสัตยส์ จุ ริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้อยู่อย่าง พอเพียง มงุ่ ม่นั ในการทางาน รกั ความเปน็ ไทย มจี ิตสาธารณะ เอกสารนไี้ ดน้ าเสนอนยิ าม ตัวช้ีวัด และเกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ทั้ง ๘ คุณลักษณะ ซงึ่ สถานศึกษาสามารถนาไปใชเ้ ป็นแนวทางในการพัฒนาและประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ได้ แนวดาเนนิ การพัฒนาและประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ การพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษาจะบรรลุผลได้น้ัน ต้องอาศัยการบริหาร จดั การและการมีส่วนรว่ มจากทุกฝา่ ย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ครู ที่ปรึกษา ครูผู้สอน ผู้ปกครองและชุมชนที่ต้องขัดเกลา บ่มเพาะ ปลูกฝังคุณลักษณะอันพึงประสงค์ให้ เกดิ ขนึ้ แก่ผ้เู รียน ในการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์สามารถกระทาได้โดยนาพฤติกรรมบ่งช้ี หรือพฤติกรรม ท่ีแสดงออกของคุณลักษณ์ แต่ละด้านที่วิเคราะห์ บูรณาการในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของกลุ่มสาระ การเรียนรู้ต่างๆ ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโครงการพิเศษต่างๆ ท่ีสถานศึกษาจัดทาข้ึนเช่น โครงการวันพ่อ วันแม่แห่งชาติ โครงการลดภาวะโลกร้อน วันรักษ์สิ่งแวดล้อม แห่เทียนพรรษาตามรอยคนดี หรือวันสาคัญ ทางพระพทุ ธศาสนา เปน็ ต้น ในการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์นั้น สถานศึกษาควรจัดให้มีการประเมินเป็นระยะๆ โดยอาจประเมินผลเป็นรายสัปดาห์ รายเดือน รายภาค หรือรายปี เพ่ือให้มีการสั่งสม และการพัฒนา อยา่ งตอ่ เนื่อง โดยเฉพาะการนาไปใช้ในชีวติ ประจาวัน แล้วสรุปปรับเงินผลเมื่อจบปีสุดท้ายของแต่ละระดับ การศกึ ษา คมู่ ือปฏิบัตงิ าน โรงเรยี นพระปรยิ ตั ิธรรม แผนกสามัญศึกษา
๗๘ สถานศึกษาควรดาเนินการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์อย่างเป็นระบบชัดเจน แลว้ สามารถตรวจสอบไดซ้ ่งึ อาจใชแ้ นวทางในแผนภาพต่อไปนี้ แผนภาพ แสดงข้นั ตอนการดาเนนิ การวัดและประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของสถานศกึ ษา จากแผนภาพดงั กลา่ ว สถานศึกษาสามารถนาไปปรบั ใชต้ ามบรบิ ทของสถานศึกษา โดย ๑) แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษาเพ่ือ ดาเนนิ การ ดังน้ี - กาหนดแนวทางในการพัฒนา แนวทางการประเมิน เกณฑ์การประเมิน และแนวทาง การปรบั ปรงุ แกไ้ ข ปรบั พฤตกิ รรม - พิจารณาตัดสินผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รายภาค (ระดับมัธยมศึกษา) และการจบการศกึ ษาแตล่ ะระดบั - จัดระบบการปรับปรุงแก้ไข หรือปรับพฤติกรรมด้วยวิธีการท่ีเหมาะสม และส่งต่อข้อมูล ของผเู้ รยี นเพอ่ื การพฒั นาอย่างตอ่ เนื่อง ๒) พิจารณานยิ ามหรือความหมายของแต่ละคณุ ลกั ษณะ พร้อมทั้งกาหนดตัวช้ีวัด หรือพฤติกรรม บ่งช้ีหรือพฤติกรรมที่แสดงออกของแต่ละคุณลักษณะ และหากสถานศึกษาได้กาหนดคุณลักษณะอันพึง ประสงคเ์ พมิ่ เตมิ สถานศึกษาตอ้ งจดั ทานยิ าม พรอ้ มทงั้ ตัวชวี้ ัดเพมิ่ เติมดว้ ย ๓) กาหนดเกณฑแ์ ละแนวทางการประเมินคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ให้สอดคล้องกับบริบทและ จดุ เน้นของสถานศึกษา กาหนดระดับคุณภาพ หรอื เกณฑใ์ นการประเมินตามท่หี ลกั สตู ร ค่มู ือปฏบิ ัติงาน โรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา
๗๙ แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐูาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กาหนดไว้ ๔ ระดับ คือดีเย่ียม ดี ผ่าน และไม่ผ่าน กาหนดประเดน็ การประเมนิ ใหส้ อดคล้องกบั ตัวชวี้ ดั ของคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ๔) แจ้งให้ครูผู้สอน ครูท่ีปรึกษา ครูประจาชั้น หรือผู้ท่ีได้รับมอบหมาย ดาเนินการพัฒนา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประเมินและส่งผลการประเมินให้ผู้เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอย่างย่ิงฝ่ายทะเบียน วัดผล ๑ กรณีท่ีนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ให้ผู้รับผิดชอบดาเนินการ ปรบั ปรงุ พัฒนาและประเมนิ ตามเกณฑท์ สี่ ถานศึกษากาหนด ๕) ฝ่ายทะเบียนและวัดผลประมวลผลตามเกณฑ์ที่คณะกรรมการฯ กาหนด สรุปผลการ ประเมิน และบนั ทกึ ข้อมลู ลงใน ปพ.๑ แล้วสง่ ครูทปี่ รกึ ษาหรอื ครปู ระจาช้ัน ๖) ครทู ป่ี รึกษาหรอื ครูประจาช้ันแจ้งผลการประเมินตอ่ ผ้เู รยี นและผู้เกี่ยวขอ้ ง ๗) คณะกรรมการฯ นาขอ้ มลู ต่างๆ มาพจิ ารณาวางแผนงานต่อไป แนวทางการพัฒนาและประเมินท่ีนาเสนอในตัวอย่างแต่ละรูปแบบต่อไปในสถานศึกษาสามารถ เลอื กนาไปใชไ้ ด้ตามความเหมาะสม รูปแบบน้ีเหมาะสาหรับสถานศึกษาท่ีมีความพร้อมในด้านทรัพยากรต่างๆ ค่อนข้างสูงถึงสูงมาก และเหมาะสาหรับสถานศึกษาท่ีต้องการเน้นด้านการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สู่ความเป็นเลิศ โดยมีนโยบายที่จะให้บุคลากรครูทุกคน ได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ทุกข้อตามท่ีสถานศึกษากาหนด โดยมีคณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ของสถานศึกษา เป็นองค์คณะบุคคลท่ีคอยช่วยเหลือคณะครูในการที่พบว่าผู้เรียนบางคน มีปัญหาที่ซับซ้อนและไม่สามารถจะพัฒนาด้วยกระบวนการธรรมดาได้จาเป็นต้องทากรณีศึกษา ค่มู ือปฏิบัติงาน โรงเรยี นพระปริยตั ิธรรม แผนกสามัญศกึ ษา
๘๐ คณะกรรมการชุดนี้จะทางานร่วมกับครูประจาชั้น หรือครูท่ีปรึกษา หรือครูท่านอ่ืนท่ีสนใจทากรณีศึกษา รวมกัน นอกจากน้ี อาจนาสภานักเรียนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้วย โดยสถานศกึ ษารบั ฟังความคดิ เหน็ ของสภานกั เรยี นถงึ วิธกี ารท่ีเหมาะสมกบั วัยของผ้เู รยี น สถานศึกษาที่มีความพร้อมสูงสามารถเลือกใช้รูปแบบการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ที่สอดแทรกการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ท้ังในช่ัวโมงการเรียนของผู้เรียนและการเชิญผู้เรียน มาทาความเข้าใจเป็นรายบุคคลหรือกลุ่มย่อย เมื่อพบว่าผู้เรียนคนใดคนหน่ึงหรือกลุ่มเล็กๆ มีคุณลักษณะ บางประการอยู่ในระดับที่ไม่น่าพึงพอใจ เป็นการอบรมส่ังสอนในลักษณะกัลยาณมิตร แบบพ่อแม่สอนลูก ท่ีมีบรรยากาศของความรักและห่วงใย นอกจากนี้ สถานศึกษายังอาจจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ของผู้เรียนเพ่ิมเติม ในรูปของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนหรือเป็นกิจกรรมเสริมจุดเน้นของ สถานศึกษาก็ได้ เช่น โครงการค่ายอบรมวิปัสสนากรรมฐานประจาปี โครงการศึกษาเรียนรู้นอกสถานที่ โครงการเรียนรตู้ ามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นต้น โดยที่ทุกกิจกรรมไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมการเรียนหรือ กิจกรรมเสริม จะเน้นการพัฒนาและตรวจสอบคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตลอดเวลา ไม่ได้คานึงว่าจะ สอดคล้องกับมาตรฐานหรือตัวช้ีวัดในบทเรียนหรือไม่ ทั้งน้ี สถานศึกษาอาจมีเป้าหมายว่า ผู้เรียนร้อยละ ๘๐ ขน้ึ ไป จะต้องมีคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์อยู่ในระดับ “ด”ี เปน็ อยา่ งน้อย การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ควรแยกจากการประเมินของกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยสามารถดาเนนิ การไดด้ ังน้ี ๑) คณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา ทาความ เข้าใจกับคณะครูผู้สอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา ครูที่ปรึกษา ครูผู้ดูแลกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ถึงนโยบายของสถานศึกษา ในการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน โดยขอให้ครูที่ปรึกษาครู ประจาสาระวิชา ครูผู้รับผิดชอบโครงการต่างๆ ได้ให้ความสนใจร่วมกันพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผู้เรียนทุกข้อ และร่วมกาหนดตัวช้ีวัดหรือพฤติกรรมบ่งช้ีหรือพฤติกรรมที่แสดงออกของแต่ละ คณุ ลักษณะตามท่ีคณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษาได้วิเคราะห์ ให้เหมาะสมกับธรรมชาติของวัยและวฒุ ิภาวะของผู้เรยี น ๒) กาหนดเกณฑ์และคาอธิบายระดับคุณภาพ ให้สอดคล้องกับเกณฑ์การประเมินที่ หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กาหนด ๓) กาหนดวธิ ีการและเครอื่ งมือการประเมินให้เหมาะสมกับตัวชี้วัด ๔) ดาเนินการประเมนิ ผู้เรยี นอยา่ งตอ่ เน่อื งและรายงานผลการประเมินเปน็ ระยะๆ ๕) กาหนดระดับของพฤติกรรมบ่งช้ีว่า พฤติกรรมผู้เรียนอยู่ในระดับ“ เส่ียง” กล่าวคือ การพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนด้วยวิธีธรรมดา อาจจะไม่สามารถทาให้ผู้เรียนบรรลุ ตามเกณฑ์ได้ ครูทป่ี รึกษาหรอื ครูผ้สู อนร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของสถานศึกษา ตอ้ งใชก้ ระบวนการวจิ ัยเขา้ มาช่วยในการแกป้ ญั หาโดยอาจทากรณีศกึ ษา ๖) เม่ือส้ินภาคเรียน/สิ้นปี ครูผู้สอนแต่ละคนส่งผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผู้เรียนทุกคนที่รับผิดชอบให้คณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ สถานศึกษา โดยมีครวู ัดผลเปน็ เลขานุการ ๗) ครวู ัดผลดาเนินการประมวลผลตามเกณฑ์ท่สี ถานศึกษากาหนด ๘) เสนอผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษาเพอ่ื พจิ ารณาอนุมัติ คมู่ อื ปฏบิ ตั งิ าน โรงเรยี นพระปริยัตธิ รรม แผนกสามัญศึกษา
๘๑ เป็นรูปแบบท่ีเหมาะสมกับโรงเรียนท่ีมีความพร้อมปานกลาง กล่าวคือ มีจานวนบุคลากรครู ท่ีครบชั้นเรียน มีครูพิเศษบ้างแต่ไม่มากนัก ครูคนหนึ่งอาจต้องทางานทั้งเป็นผู้สอนเเละทางานส่งเสริม รวมท้ังรับผิดชอบกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้วย สถานศึกษาประเภทดังกล่าวสามารถเลือกใช้รูปแบบการ ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รูปแบบนี้ โดยการเลือกคุณลักษณะอันพึงประสงค์เฉพาะข้อท่ีมีเนื้อหา ใกล้เคียงกับมาตรฐานหรือตัวชี้วัดในกลุ่มสาระนั้นๆ ด้วยในคราวเดียวกัน การประเมินคุณลักษณะอันพึง ประสงคก์ ด็ าเนินการรว่ มกับการประเมินตวั ชว้ี ัดในแต่ละกลุ่มสาระการเรยี นรู้โดยสถานศึกษาคาดหวังว่าเมื่อ ได้ดาเนนิ การในภาพรวมแล้ว การพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์จะครบทุกข้อตามท่ีสถานศึกษากาหนด โดยดาเนนิ การดงั น้ี ๑) คณะกรรมการการพัฒนาแล้วประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา และ ครูผู้สอน ร่วมกันวิเคราะห์มาตรฐาน/ตัวช้ีวัดเนื้อหาในกลุ่มสาระวิชา และพิจารณาเลือกคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ท่ีสอดคล้องกับธรรมชาติวิชาท่ีครูแต่ละคนรับผิดชอบ รวมทั้งสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี นดว้ ย ๒) ครูผู้สอนตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ท่ีคัดเลือกไว้ไปบูรณาการกับตัวชี้วัดของกลุ่ม สาระการเรียนรู้ดาเนินการพัฒนาและประเมนิ รว่ มกัน ๓) ครูผู้สอนส่งผลการประเมินให้ครูวัดผล เพ่ือสรุปผลการประเมินตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา กาหนด และนาเสนอผูบ้ ริหารเพอ่ื พิจารณาอนมุ ตั ิต่อไป คู่มอื ปฏบิ ตั งิ าน โรงเรยี นพระปริยตั ิธรรม แผนกสามญั ศึกษา
๘๒ ตัวอยา่ งรูปแบบที่ ๓ ครปู ระจาช้นั หรือครปู ระจาวิชาพัฒนาและประเมิน หรือรว่ มพฒั นาและประเมนิ รูปแบบท่ี ๓ เป็นรูปแบบท่ีเหมาะสาหรับโรงเรียนขนาดเล็กท่ีมีครูไม่ครบช้ัน หรือครบช้ันพอดี แต่ครคู นหน่ึงต้องทางานหลายหนา้ ที่ อกี ทง้ั ความพรอ้ มของทรัพยากรดา้ นอื่นๆ มนี ้อย ดังนั้นการดาเนินการ พัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ควรเปิดโอกาสให้ชุมชนอันได้แก่ พ่อเเม่ ผู้ปกครอง ผู้นาชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน เข้ามามีส่วนร่วมในการประเมินด้วยซึ่งจะทาให้ผลการประเมินมี ความเท่ียงตรงมากขึ้น การพัฒนาและการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามรูปแบบนี้ ครูประจาช้ันและครูประจา วชิ ารว่ มกันพัฒนาและประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ของผู้เรยี นทุกคน ทกุ ข้อโดยดาเนินการ ดังนี้ ๑) ครูประจาช้ันและ/หรือครูประจาวิชา ซ่ึงรับผิดชอบการสอนมากกว่าหน่ึงช้ัน หรือหน่ึง กลุ่มสาระบูรณาการทุกกลุ่มสาระและคุณลักษณะอันพึงประสงค์เข้าด้วยกัน ร่วมกันพัฒนาและประเมิน โดยอาจใช้การสังเกตพฤติกรรมตามสภาพจริง เปิดโอกาสให้ชุมชน ได้แก่ พ่อแม่ ผู้ปกครอง ผู้นาชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน ร่วมประเมินด้วย ท้ังน้ี กรณีที่มีผู้เรียนบางคนไม่ผ่านการประเมินคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ข้อใด ครูร่วมกับชุมชนดาเนินการพัฒนาจนกระท่ังทั้งสองฝ่ายมีความเห็นตรงกันว่าผู้เรียนมีคุณสมบัติ ตามเกณฑ์แล้ว จงึ ให้ผา่ นการประเมนิ ๒) ครูประจาช้นั และ/หรอื ครูประจาวิชารว่ มกันสรุปผลการประเมินตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา กาหนด และนาเสนอผ้บู ริหารสถานศึกษาเพ่ืออนุมัติ คู่มอื ปฏบิ ตั ิงาน โรงเรียนพระปริยตั ิธรรม แผนกสามัญศกึ ษา
๘๓ การออกแบบการวัดและประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ เมื่อทาความเข้าใจเก่ียวกับคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ เคร่ืองมือที่จะใช้ในการวัดและประเมิน และวิธีการหาคุณภาพของเคร่ืองมือเเล้ว ครูผู้สอนสามารถออกแบบการวัดและประเมินผลคุณลักษณะ อันพึงประสงคใ์ นช้ันเรยี นได้ ดังนี้ ๑) กาหนดคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์/ตวั ชว้ี ดั /พฤติกรรมบง่ ช้ีท่ีจะประเมิน ๒) วเิ คราะห์พฤติกรรมสาคัญของพฤติกรรมบง่ ชท้ี จ่ี ะประเมิน ๓) เลือกใช้วิธีการ เครื่องมือให้เหมาะสมกบั คุณลกั ษณะอันพึงประสงคท์ จ่ี ะประเมนิ ๔) กาหนดเกณฑ์การให้คะแนน (sconing Rubnics) ดังตวั อยา่ งการออกแบบการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคด์ า้ นมวี ินัยในตารางที่ ๓.๑ การสรา้ งเคร่ืองมือประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เคร่ืองมือวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่นิยมใช้ในสถานศึกษา เนื่องจากใช้ง่าย และสะดวก ได้แก่ แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ แบบตรวจสอบรายการ แบบมาตราส่วน ประมาณค่า แบบวัดสถานการณ์ แบบบันทึกพฤติกรรม และแบบรายงานตนเอง ครูผู้สอนควรใช้เครื่องมือ เเละวิธีการ ตลอดจนแหล่งขอ้ มลู และผู้ประเมนิ ท่ีหลากหลาย เพอ่ื ให้ข้อมูลทีไ่ ด้นา่ เช่อื ถอื และเลือกเครื่องมือท่ีเหมาะสม กบั พฤตกิ รรมบ่งช้ี การสรา้ งเครือ่ งมือประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ควรคานึงถึงการเขียนข้อความ หรือรายการ ที่จะวัดว่ามีความชัดเจน และเป็นพฤติกรรม/รายการที่ครอบคลุมตัวช้ีวัด โดยพิจารณาพฤติกรรมบ่งช้ีท่ี กาหนดไว้แล้วในคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ถ้าเป็นข้อความที่แสดงพฤติกรรมสาคัญ และยังไม่สามารถ ประเมินได้ ครูผู้สอนต้องวิเคราะห์เป็นพฤติกรรมสาคัญย่อยๆ เช่น คุณลักษณะการมีวินัย พฤติกรรมบ่งช้ีมี ๑ ข้อ คือ ปฏิบัตติ ามขอ้ บกพรอ่ ง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครวั โรงเรยี น และ สงั คม คมู่ อื ปฏบิ ตั ิงาน โรงเรยี นพระปริยัตธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา
๘๔ เม่ือพิจารณาจากตัวบ่งช้ีจะพบว่า บางพฤติกรรมไม่สามารถดูรายละเอียดและประเมินได้ ดังนั้น จาเป็นตอ้ งวเิ คราะห์พฤตกิ รรมดังกล่าวให้เปน็ พฤติกรรมท่ีสงั เกตและวดั ได้ ดังนี้ ๑) จัดเกบ็ ส่งิ ของเป็นที่ระเบยี บ ๒) นุ่งหม่ จีวรเรียบร้อยถูกต้องตามระเบียบของโรงเรียน ๓) มีมารยาทในการเข้าประชุม ๔) เข้าแถวรบั อัฐบรขิ าร / สิ่งของตามลาดบั ๕) ท้งิ ขยะในท่ที จ่ี ัดเตรียมไว้ ๖) ทากิจวตั รของตนตามเวลา / บิณฑบาต / ทาวตั รเช้า-เยน็ ๗) ไปโรงเรียนทนั เวลา ๘) เมือ่ ถึงชั่วโมงเรียน เขา้ เรยี นตามเวลา ๙) ทางานเสรจ็ ตามเวลาท่ีกาหนด ๑๐) เขา้ ร่วมกจิ กรรมตามเวลาทีน่ ัดหมาย เม่ือกาหนดข้อความหรือรายการที่จะวัดแล้วก็สามารถนาไปไว้ในเคร่ืองมือประ เมินได้ดังตาราง ท่ี ๓.๒ แสดงตัวอย่างแบบสารวจรายการพฤติกรรมของนักเรียนเพื่อประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตารางที่ ๓.๓ แสดงตัวอย่างแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเพื่อประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และตารางที่ ๓.๔ แสดงตัวอย่างแบบมาตรประมาณคา่ เพ่ือประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ต่อไปน้ี ค่มู ือปฏิบตั ิงาน โรงเรียนพระปรยิ ตั ิธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา
๘๕ ตารางที่ ๓.๒ แสดงตัวอย่างแบบสารวจรายการพฤติกรรมของนักเรียนเพื่อประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ข้อ ๓ มีวนิ ยั ชือ่ -สกุล..........................................ช้ัน……………….... ภาคเรยี นที่………...... ปีการศึกษา....................... คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ข้อ ๓ มีวินยั คาชแ้ี จง ใหก้ าเคร่ืองหมาย / ท่ีตรงกบั พฤติกรรมนักเรยี น ………... ๑. จดั เก็บส่งิ ของเป็นระเบียบ ............ ๒. นงุ่ หม่ จีวรให้เรยี บร้อยถูกต้องตามระเบียบของโรงเรยี น ............ ๓. มีมารยาทในการเข้าประชมุ ............ ๔. เขา้ แถวรับอฐั บรขิ าร / ส่ิงของตามลาดับ ............ ๕. ทิ้งขยะในที่ท่จี ดั เตรียมไว้ ............ ๖. ทากิจวตั รของตนตามเวลา / บิณฑบาต / ทาวัตรเชา้ - เยน็ ............ ๗. ไปโรงเรียนทนั เวลา ............ ๘. เม่ือถงึ ช่ัวโมงเรียนเขา้ เรยี นตามเวลา ............ ๙. ทางานเสร็จตามเวลาท่ีกาหนด ......... ๑๐. เข้าร่วมกิจกรรมตามเวลาท่นี ัดหมาย ลงชอื่ .................................................. ผู้ประเมิน (............................................... ) สถานภาพของผู้ประเมนิ ตนเอง เพอ่ื น พอ่ แม่/ผปู้ กครอง ครู เกณฑก์ ารประเมิน แสดงพฤติกรรม ๙-๑๐ พฤติกรรม หมายถงึ ดเี ยยี่ ม (๓) เเสดงพฤติกรรม ๗-๘ พฤติกรรม หมายถึง ดี (๒) แสดงพฤติกรรม ๕-๖ พฤติกรรม หมายถึง ผา่ น (๑) แสดงพฤติกรรม ๑-๔ พฤติกรรม หมายถึง ไมผ่ ่าน (๐) สรปุ ผลการประเมิน ผ่าน มีพฤติกรรม ๕-๑๐ ข้อ ไม่ผา่ น มพี ฤติกรรมน้อยกว่า ๕ ขอ้ คู่มือปฏิบตั งิ าน โรงเรยี นพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศึกษา
๘๖ ตารางท่ี ๓.๓ แสดงตวั อยา่ งแบบบนั ทึกการสงั เกตพฤติกรรมเพื่อประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ขอ้ ๓ มีวนิ ัย ชื่อ-สกลุ .......................................................ชั้น……………….... ภาคเรียนท่ี………...... ปกี ารศึกษา ....................... คาชี้แจง ให้พจิ ารณาพฤติกรรมต่อไปนี้ แลว้ ทาเครื่องหมาย / ในแต่ละครั้งเม่ือนักเรียนแสดงพฤตกิ รรม รายการพฤติกรรม ครัง้ ทสี่ ังเกต รวม ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑. จัดเก็บสิ่งของเปน็ ระเบยี บ ๒. นุ่งหม่ จีวรใหเ้ รยี บรอ้ ยถกู ต้องตาม ระเบยี บของ โรงเรียน ๓. มีมารยาทในการเขา้ ประชุม ๔. เข้าแถวรับอฐั บรขิ าร / ส่ิงของ ตามลาดบั ๕. ทง้ิ ขยะในที่ท่จี ัดเตรียมไว้ ๖. ทากจิ วตั รของตนตามเวลา / บณิ ฑบาต /ทาวัตรเชา้ – เย็น ๗. ไปโรงเรยี นทนั เวลา ๘. เมือ่ ถงึ ชั่วโมงเรียนเขา้ เรยี นตามเวลา ๙. ทางานเสร็จตามเวลาท่ีกาหนด ๑๐. เขา้ รว่ มกจิ กรรมตามเวลาทีน่ ัดหมาย รวมทั้งหมด ลงช่ือ.................................................. ผู้ประเมิน (............................................... ) สถานภาพของผู้ประเมนิ ตนเอง เพอ่ื น พอ่ แม่/ผ้ปู กครอง ครู เกณฑ์การประเมนิ แสดงพฤตกิ รรม ๙-๑๐ พฤติกรรม หมายถงึ ดีเยีย่ ม (๓) เเสดงพฤติกรรม ๗-๘ พฤติกรรม หมายถึง ดี (๒) แสดงพฤติกรรม ๕-๖ พฤติกรรม หมายถึง ผา่ น (๑) แสดงพฤตกิ รรม ๑-๔ พฤติกรรม หมายถงึ ไม่ผา่ น (๐) สรปุ ผลการประเมนิ ผ่าน มพี ฤติกรรม ๕-๑๐ ขอ้ ไม่ผา่ น มพี ฤติกรรมน้อยกว่า ๕ ข้อ สรปุ ผลการประเมิน หาคา่ เฉล่ียรวมของพฤติกรรมท่แี สดงแล้ว เทียบกบั เกณฑ์การประเมนิ คมู่ ือปฏบิ ัตงิ าน โรงเรยี นพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามัญศกึ ษา
๘๗ ตารางท่ี ๓.๔ แสดงตวั อยา่ งแบบบนั ทึกคะแนนเพอ่ื ประเมินคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ขอ้ ๓ มีวนิ ยั ชือ่ -สกลุ ..................................................ชั้น……………….... ภาคเรยี นท่ี………...... ปีการศึกษา....................... คาชแี้ จง ให้พจิ ารณาพฤติกรรมต่อไปนี้แลว้ ให้ระดบั คะแนนท่ีตรงกับการปฏิบัติของนักเรียนตามความเป็นจริง ระดับคะแนน ๓ หมายถึง ปฏบิ ตั ิเปน็ ประจา ๒ หมายถึง ปฏบิ ัตเิ ป็นบางครั้ง ๑ หมายถึง ปฏบิ ัติน้อย ๐ หมายถงึ มีพฤติกรรมไม่ชัดเจน หรือไม่มหี ลกั ฐานท่นี ่าเชอ่ื ถอื รายการพฤติกรรม คะแนน ๓๒๑๐ ๑. จดั เกบ็ ส่ิงของเปน็ ระเบยี บ ๒. นงุ่ ห่มจวี รให้เรียบรอ้ ยถูกต้องตามระเบยี บของโรงเรยี น ๓. มมี ารยาทในการเข้าประชมุ ๔. เข้าแถวรับอฐั บรขิ าร / ส่งิ ของตามลาดบั ๕. ทงิ้ ขยะในท่ีทีจ่ ดั เตรยี มไว้ ๖. ทากิจวัตรของตนตามเวลา / บิณฑบาต / ทาวัตรเชา้ – เยน็ ๗. ไปโรงเรียนทนั เวลา ๘. เมอื่ ถึงชัว่ โมงเรยี นเขา้ เรยี นตามเวลา ๙. ทางานเสรจ็ ตามเวลาท่กี าหนด ๑๐. เข้ารว่ มกจิ กรรมตามเวลาท่นี ดั หมาย รวม คะแนน คะแนนเฉลี่ย สถานภาพของผู้ประเมิน ตนเอง เพื่อน พ่อแม่/ผปู้ กครอง ครู เกณฑ์การประเมิน แสดงพฤตกิ รรม ๙-๑๐ พฤติกรรม หมายถึง ดเี ยีย่ ม (๓) เเสดงพฤติกรรม ๗-๘ พฤติกรรม หมายถงึ ดี (๒) แสดงพฤตกิ รรม ๕-๖ พฤติกรรม หมายถึง ผา่ น (๑) แสดงพฤติกรรม ๑-๔ พฤติกรรม หมายถงึ ไมผ่ ่าน (๐) สรปุ ผลการประเมิน ดีเย่ยี ม ดี ผ่าน ไม่ผา่ น คมู่ ือปฏิบัติงาน โรงเรยี นพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามญั ศึกษา
๘๘ การสร้างเกณฑ์การประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์จะต้องกาหนดเกณฑ์การประเมินให้ชัดเจนเหมาะสม เพราะเกณฑ์การประเมินเป็นแนวทางในการให้คะแนนที่ประกอบด้วยเกณฑ์ด้านต่างๆ เพ่ือใช้ประเมินค่า ผลการประพฤตปิ ฏิบัตขิ องผ้เู รียน เกณฑ์เหลา่ นีค้ ือสิ่งสาคัญที่ผู้เรียนควรประพฤติจนกลายเป็นลักษณะนิสัย เกณฑก์ ารประเมินมี ๒ ลกั ษณะ คือ ๑) เกณฑ์การประเมินเเบบภาพรวม (HolistiC Rubrics) คือ แนวทางการให้คะแนนโดย พิจารณาจากภาพรวมการปฏิบัติ โดยจะมีคาอธิบายลักษณะของการปฏิบัติในแต่ละระดับไว้อย่างชัดเจน เชน่ มวี ินยั ระดบั ๓ ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบังคบั ของครอบครวั และโรงเรยี น ปฏบิ ตั ิกิจกรรมหรือทางานท่ีไดร้ ับมอบหมายเสร็จทันเวลาได้ด้วยตนเอง ระดบั ๒ ปฏบิ ัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ ระเบยี บ ขอ้ บังคบั ของครอบครัวเเละโรงเรียน โดยต้องมกี ารเตือนเป็นบางครง้ั ระดบั ๑ ปฏบิ ัตติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ขอ้ บังคับของครอบครัวและโรงเรยี น โดยตอ้ งมกี ารเตอื นเป็นสว่ นใหญู่ ๒) เกณฑ์การประเมนิ แบบแยกประเด็น (AnalyticaI Rubrics) คอื แนวทางการให้คะแนนโดย พจิ ารณาแต่ละส่วนของการปฏบิ ัติ ซง่ึ แตล่ ะส่วนจะต้องกาหนดคาอธบิ ายลักษณะของการปฏิบัติในสว่ นน้ันๆ ไวอ้ ย่างชัดเจน เช่น มวี นิ ยั รายการประเมนิ ระดับคะแนน ปฏบิ ัตติ ามข้อตกลง ๑ ๒๓ กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ปฏบิ ัตติ ามข้อตกลง ขอ้ บงั คับของ กฎเกณฑ์ระเบียบขอ้ บังคบั ปฏบิ ัตติ ามข้อตกลง ปฏบิ ัตติ ามข้อตกลง ครอบครัวและ ของครอบครัวและโรงเรียน โรงเรยี น โดยมกี ารเตือนเป็นบางครั้ง กฎเกณฑร์ ะเบียบ กฎเกณฑร์ ะเบียบ การตรงต่อเวลา ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมหรือทางาน ขอ้ บังคบั ของครอบคร้ว ขอ้ บงั คับของครอบครวั ทีไ่ ด้รบั มอบหมายเสร็จ ทันเวลาไดด้ ้วยตนเองโดย และโรงเรยี นโดยมีการ และโรงเรียนโดยไม่มีการ ตอ้ งมีการเตือนเป็นส่วน ใหญ่ เตอื น เตือน ปฏิบตั ิกิจกรรมหรือ ปฏิบตั ิกิจกรรมหรือ ทางานท่ีไดร้ ับมอบหมาย ทางานที่ได้รับมอบหมาย เสร็จทันเวลาไดด้ ว้ ย เสรจ็ ทนั เวลาได้ด้วย ตนเองโดยมีการเตอื น ตนเอง เปน็ บางคร้ัง สรปุ ผลการประเมนิ ๕ – ๖ คะแนน หมายถงึ ดีเยี่ยม ๓ – ๔ คะแนน หมายถึง ดี ๑ – ๒ คะแนน หมายถงึ ผา่ น คู่มอื ปฏบิ ตั งิ าน โรงเรยี นพระปริยัติธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา
๘๙ การสรปุ ผลการประเมิน การวัดและประเมนิ ผลด้านคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์น้ัน มีความละเอียดอ่อน เพราะเป็นเรื่องของ การพัฒนาคุณลักษณะที่ต้องการปลูกฝังให้เกิดในตัวผู้เรียน การวัดและประเมินผลจึงต้องคานึงถึงผลท่ี เกิดข้ึนในตัวผู้เรียนเม่ือได้รับการพัฒนาเป็นระยะ หรือเม่ือส้ินปีการศึกษา ดังนั้นเพ่ือให้มีแนวทางการ สรุปผลการประเมินทช่ี ดั เจน เป็นธรรมสาหรบั ผู้เรียน จึงขอเสนอแนวทางการกาหนดเกณฑ์พจิ ารณาสรุปผล การประเมนิ ในแตล่ ะข้นั ตอน ดงั นี้ เกณฑ์พจิ ารณาสรุปผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคแ์ ตล่ ะคณุ ลักษณะ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ข้อที่ ๑ รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ตวั ชว้ี ัด ๑.๑ เป็นพลเมืองดขี องชาติ ๑.๒ ดารงไว้ซ่ึงความเป็นชาติไทย ๑.๓ ศรัทธา ยดึ ม่นั และปฏิบัติตนตามหลักศาสนา ๑.๔ เคารพเทิดทูนสถาบนั พระมหากษตั ริย์ ระดบั เกณฑ์การพิจารณา ดีเยี่ยม (๓) ๑. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดบั ดเี ยี่ยมจานวน ๓-๔ ตัวช้วี ดั และไม่มีตัวชว้ี ดั ใดได้ผลการประเมินตา่ กวา่ ระดบั ดี ดี (๒) ๑. ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จานวน ๑-๒ ตวั ชวี้ ัด และไม่มีตวั ชีว้ ดั ใดไดผ้ ลการประเมินต่ากว่าระดบั ดี หรอื ผา่ น (๑) ๒. ได้ผลการประเมินระดับดีทกุ ตัวช้ีวดั หรอื ไม่ผ่าน (๐) ๓ ไดผ้ ลการประเมินต้งั แตร่ ะดับดีข้นึ ไป จานวน ๓ ตัวชี้วดั และระดับผา่ น จานวน ๑ ตัวชว้ี ดั ๑.ได้ผลการประเมินระดบั ผ่าน ทกุ ตวั ช้ีวัด หรือ ๒. ได้ผลการประเมินต้งั แต่ระดับดีขนึ้ ไป จานวน ๑-๒ ตวั ช้ีวัด และตัวชวี้ ัดทเ่ี หลือได้ผลการประเมินระดับผา่ น ไดผ้ ลการประเมินระดบั ไม่ผา่ น ต้งั แต่ ๑ ตัวช้วี ดั ข้ึนไป ๑๖. การคดั เลอื กหนังสือ แบบเรยี น เพ่อื ใช้ในสถานศกึ ษา หนังสือเรียน เป็นส่ือการเรียนรู้ท่ีมีเน้ือหาหรือสาระการเรียนรู้ตามท่ีหลักสูตรกาหนด กระทรวงศกึ ษาธิการสนบั สนุนหนังสอื เรยี น สาระการเรียนรู้หรือรายวิชาพื้นฐาน ท่ีนักเรียนทุกคนต้องเรียน ใน ๘ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ และสาระพระพทุ ธศาสนา คอื - ภาษาไทย - คณิตศาสตร์ - วิทยาศาสตร์ - สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม - สขุ ศึกษาและพลศึกษา - ศิลปะ คมู่ อื ปฏบิ ัติงาน โรงเรยี นพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา
๙๐ - การงานอาชีพและเทคโนโลยี - ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) - พระพทุ ธศาสนา แบบฝึกหัด (หมายรวมถึงแบบฝึกกิจกรรม/แบบฝึกทักษะ) เป็นสื่อการเรียนรู้สาหรับให้ผู้เรียน ได้ฝึกปฏิบัติเพื่อช่วยเสริมให้ผู้เรียนเกิดทักษะและความแตกฉานในบทเรียน กระทรวงศึกษาธิการกาหนด ใหม้ แี บบฝึกหดั เฉพาะเท่าทจ่ี าเป็นใน ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดับ ประถมศกึ ษาเทา่ น้ัน คือ - ภาษาไทย - คณิตศาสตร์ - ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ก า ร จั ด ซื้ อ ห นั ง สื อ เ รี ย น แ ล ะ แ บ บ ฝึ ก หั ด เ พ่ื อ ใ ช้ ใ น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ ต า ม ห ลั ก สู ต ร ข อ ง กระทรวงศกึ ษาธกิ าร มีแนวปฏิบตั ิ ดงั น้ี ๑. ให้สถานศึกษาพิจารณาคัดเลือกหนังสือเรียนสาระการเรียนรู้รายวิชาพ้ืนฐาน ตามนโยบาย เรียนฟรี ๑๕ ปีอย่างมีคุณภาพ ได้จากบัญชีกาหนดส่ือการเรียนรู้สาหรับเลือกใช้ในสถานศึกษา ท่ีกระทรวงศึกษาธิการอนุญาตให้ใช้ในสถานศึกษาท้ัง ๒ ฉบับของกระทรวงศึกษาธิการ โดยสานักวิชาการ และมาตรฐานการศึกษา/สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และฉบับของสานักพิมพ์ เอกชนท่ีผ่านการตรวจประเมินและไดร้ บั ใบอนญุ าตให้ใช้ในสถานศึกษา รวมถึงฉบับของสานักพิมพ์เอกชนที่ ผา่ นการประกันคุณภาพโดยผผู้ ลิต ๒. ใหส้ ถานศกึ ษาพจิ ารณาเลอื กใชแ้ บบฝกึ หดั สาระการเรยี นรู้/รายวชิ าพ้นื ฐาน ตามนโยบายเรียน ฟรี ๑๕ ปี อยา่ งมีคุณภาพ ได้จากบัญชีกาหนดสื่อการเรียนรู้สาหรับเลือกใช้ในสถานศึกษา โดยสถานศึกษา สามารถเลอื กใชฉ้ บับของ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร หรือฉบบั ของสานกั พิมพ์เอกชนท่ีผ่านการตรวจประเมินและ ได้รับใบอนญุ าตให้ใช้ใน สถานศกึ ษา รวมถึงฉบบั ของสานักพิมพเ์ อกชนที่ผา่ นการประกนั คณุ ภาพโดยผู้ผลติ กระบวนการคัดเลือกหนังสือเรียนและแบบฝึกหัดตามนโยบายเรียนฟรี ๑๕ ปีอย่าง มีคุณภาพ ให้สถานศึกษาดาเนินการโดยให้ครูผู้สอนแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้เป็นผู้พิจารณาคัดเลือกหนังสือเรียน และแบบฝึกหัดตามเกณฑ์การประเมินคุณภาพส่ือการเรียนรู้ที่สถานศึกษากาหนด เสนอให้คณะกรรมการ วิชาการของสถานศึกษาพิจารณาก่อนเสนอขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาและ คณะกรรมการภาค ๔ ฝ่าย (ผแู้ ทนครู ผู้แทนผปู้ กครอง ผูแ้ ทนกรรมการนักเรยี น และผแู้ ทนชุมชน) ส่ือการเรียนรู้สาระการเรียนรู้พื้นฐานและสาระการเรียนรู้เพ่ิมเติม นอกเหนือจากที่ กระทรวงศึกษาธิการ กาหนดไว้ในนโยบายเรียนฟรี ๑๕ ปีอย่างมีคุณภาพ สถานศึกษาสามารถพิจารณา เลือกใช้ได้โดยอยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษา แต่ต้องไม่บังคับให้นักเรียน/ผู้ปกครองเสียค่าใช้จ่าย ทั้งนี้ สามารถเลือกใช้จากบัญชีกาหนดส่ือการเรียนรสู้ าหรับเลือกใช้ในสถานศึกษาท่ี สพฐ. จัดทาแยกไว้จากบัญชี ตามนโยบายเรียนฟรี ๑๕ ปี สถานศึกษาสามารถศึกษาบัญชีกาหนดสื่อการเรียนรู้สาหรับเลือกใช้ในสถานศึกษาได้จากเว็บไซต์ ของสานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา http://academic.obec.go.th และสานักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน (http://www.obec.go.th) คู่มือปฏบิ ตั ิงาน โรงเรียนพระปริยัตธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา
๙๑ ส่ือเสริมการเรียนรู้ ได้แก่ หนังสืออ่านเพ่ิมเติม/หนังสืออ่านประกอบ หนังสือค้นคว้า อ้างอิง ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เช่น ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วีดีทัศน์ ฯลฯ ซ่ึงอยู่นอกเหนือ จากท่ี กระทรวงศึกษาธิการกาหนดไว้ในนโยบายเรียนฟรี สถานศึกษาสามารถพิจารณาเลือกใช้เพ่ือ การศกึ ษา ค้นควา้ ของผู้เรยี นและผ้สู อนไดต้ ามความต้องการ/จาเป็นโดยอยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษา แต่ ตอ้ งไมบ่ งั คับให้นักเรียน/ผปู้ กครองเสียคา่ ใช้จ่าย ให้สถานศึกษาประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ท่ีเลือกใช้อย่างสม่าเสมอ โดยให้ครูผู้สอน ประเมิน หรอื ประเมินในรปู คณะกรรมการ ให้สถานศึกษารายงานรายชื่อส่ือการเรียนรู้ที่เลือกใช้ให้สานักงานกลุ่มโรงเรียน รวบรวม จัดเป็น ข้อมลู ในการสง่ เสริมและพัฒนางานด้านสือ่ การเรยี นรู้ แลว้ รายงานคณะกรรมการการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศกึ ษา ๑๗. การพฒั นาและใชส้ ่อื เทคโนโลยที างการศึกษา ๑) ศึกษา สารวจ วิเคราะห์สภาพปัญหา การจัดหา การเลือก การใช้ และการประเมินคุณภาพ สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพ่ือใช้จัดการเรียนการสอนและการบริหารงานวิชาการ ของสถานศกึ ษาในทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สาหรบั เดก็ ปกติและเดก็ พิการเรียนร่วม ๒) จัดหาสื่อและเทคโนโลยที ี่ทันสมัยอย่างหลากหลาย เพือ่ ใช้ในการเรียนการสอนและการพัฒนา งานดา้ นวิชาการ ๓) เลือกใช้สื่อและเทคโนโลยีที่ผ่านการประเมินคุณภาพทางวิชาการ จากคณะกรรมการบริหาร โรงเรยี น คณะกรรมการของ กล่มุ โรงเรยี น และหรือกระทรวงศึกษาธิการแล้ว โดยดาเนินการคัดเลือกในรูป ของคณะกรรมการและประเมินการใชส้ อื่ อย่างสมา่ เสมอ ๔) ผลิต พัฒนาส่ือ นวัตกรรมการเรียนการสอน รวมทั้งประเมินคุณภาพส่ือฯ เพ่ือเลือกใช้ ประกอบการเรียนการสอนทุกกล่มุ สาระการเรียนรู้ ๕) มีส่วนร่วมในการพัฒนาศนู ยส์ ื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี เพอ่ื การศึกษาในสถานศกึ ษา ๖) ประสานความร่วมมือในการผลิต จัดหา พัฒนา และแลกเปล่ียนการใช้ส่ือ นวัตกรรมและ เทคโนโลยี เพื่อการศึกษาท่ีทันสมัย สาหรับใช้จัดการเรียนการสอนและพัฒนางานด้านวิชาการกับ สถานศึกษา เขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา ผ้ปู กครอง องค์กรในท้องถ่ิน รวมทัง้ หน่วยงานและสถาบันอนื่ ๆ ๗) ประเมินผลการผลิต จัดหา พัฒนา และใช้ส่ือ นวัตกรรม และเทคโนโลยี เพื่อการศึกษาอย่าง ตอ่ เนอ่ื ง ๘) เผยแพร่สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยี เพ่ือการศึกษาท่ีครูผลิตและพัฒนาให้เพื่อนครู สถาบันการศึกษา ท้ังภายในและภายนอกได้ใช้ประโยชน์ต่อการเรียนการสอนและการพัฒนาวิชาชีพครู อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ คู่มือปฏิบัตงิ าน โรงเรยี นพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา
คมู่ ือปฏิบตั ิงาน โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศกึ ษา การบริหารงานงบประมาณ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406