Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 565_manual school1 (1)

565_manual school1 (1)

Published by rada chomchom, 2019-11-25 23:17:05

Description: 565_manual school1 (1)

Search

Read the Text Version

๒๙๙ การปกครอง วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เป็นต้น โดยคานึงถึงการพัฒนาอย่าง ต่อเนื่องตลอดชวี ิต เจตนารมณ์ของแผน แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ มเี จตนารมณเ์ พือ่ มุ่ง ๑. พัฒนาชีวิตให้เป็น “มนุษย์ท่ีสมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรม และวฒั นธรรมในการดารงชีวติ สามารถอยู่รว่ มกับผอู้ ่นื ได้อยา่ งมีความสขุ ” ๒. พัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมที่มีความเข้มแข็งและมีดุลยภาพใน ๓ ด้าน คือ เป็นสังคม คุณภาพ สังคมแห่งภมู ิปัญญาและการเรยี นรู้ และสังคมสมานฉันทแ์ ละเอื้ออาทรต่อกัน วัตถุประสงค์ของแผน เพื่อให้บรรลุตามปรัชญาหลักและเจตนารมณ์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรบั ปรงุ (พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๙) จึงกาหนดวตั ถุประสงคข์ องแผนฯ ทส่ี าคัญ ๓ ประการ ดังน้ี ๑. พัฒนาคนอยา่ งรอบดา้ นและสมดุลเพ่ือเปน็ ฐานหลกั ของการพัฒนา ๒. เพื่อสร้างสงั คมไทยให้เปน็ สงั คมคุณธรรม ภมู ปิ ญั ญาและการเรยี นรู้ ๓. เพื่อพัฒนาสภาพแวดล้อมของสังคมเพ่ือเป็นฐานในการพัฒนาคน และสร้างสังคมคุณธรรม ภูมิปญั ญา และการเรยี นรู้ ๓.๓ แนวนโยบาย เป้าหมาย และกรอบการดาเนินงาน เพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ท้ังสามประการดังกล่าว ประกอบกับการคานึงถึงทิศทางการพัฒนา ประเทศในอนาคตท่ีเน้นการใช้ความรู้เป็นฐานของการพัฒนา ท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประชากร สิง่ แวดล้อม วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี จงึ ไดก้ าหนดแนวนโยบายในแต่ละวัตถปุ ระสงค์ ดงั น้ี วตั ถปุ ระสงค์ ๑ พัฒนาคนอย่างรอบด้าน และสมดลุ เพอื่ เปน็ ฐานหลกั ของการพฒั นา แนวนโยบาย ๑.๑ พัฒนาคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ในทกุ ระดบั และประเภทการศกึ ษา ๑.๒ ปลูกฝังและเสริมสร้างให้ผู้เรียนมีศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม มีจิตสานึกและมีความ ภูมิใจในความเปน็ ไทย มรี ะเบียบวนิ ัย มีจติ สาธารณะ คานึงถึงประโยชน์ส่วนรวม และยึดมั่นในการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และรังเกียจการทุจริต ต่อต้านการซื้อสิทธ์ิขาย เสียง ๑.๓ เพ่ิมโอกาสทางการศึกษาให้ประชาชนทุกคนต้ังแต่แรกเกิดจนตลอดชีวิตได้มีโอกาสเข้าถึง บริการการศึกษาและการเรียนรู้ โดยเฉพาะผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ หรือทุพพลภาพ ยากจน อยู่ในท้องถิ่นห่างไกล ทุรกนั ดาร ๑.๔ ผลติ และพฒั นากาลังคนให้สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ และเสริมสร้างศักยภาพ การแขง่ ขัน และรว่ มมอื กับนานาประเทศ ๑.๕ พัฒนามาตรฐานและระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ท้ังระบบประกันคุณภาพภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก ๑.๖ ผลิตและพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐาน มี คุณธรรม และมีคณุ ภาพชีวติ ทด่ี ี คู่มอื ปฏบิ ัติงาน โรงเรยี นพระปริยัตธิ รรม แผนกสามัญศึกษา

๓๐๐ วตั ถุประสงค์ ๒ สร้างสงั คมไทยให้เป็นสังคมคุณธรรม ภมู ปิ ัญญาและการเรยี นรู้ แนวนโยบาย ๒.๑ ส่งเสริมการจัดการศึกษา อบรม และเรียนรู้ของสถาบันศาสนา และสถาบันทางสังคม ท้งั การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ๒.๒ ส่งเสริมสนับสนุนเครือข่ายภูมิปัญญา และการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ศิลปะ วัฒนธรรม พลศึกษา กีฬาเปน็ วิถชี ีวติ อยา่ งมีคณุ ภาพและตลอดชวี ิต ๒.๓ ส่งเสริมการวจิ ัยและพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้ นวัตกรรม และทรัพย์สินทางปัญญา พัฒนา ระบบบรหิ ารจดั การความรู้ และสรา้ งกลไกการนาผลการวจิ ัยไปใช้ประโยชน์ วตั ถปุ ระสงค์ ๓ พัฒนาสภาพแวดล้อมของสังคม เพอ่ื เปน็ ฐานในการพัฒนาคน และสร้างสงั คมคุณธรรม ภมู ปิ ัญญาและการเรียนรู้ แนวนโยบาย ๓.๑ พัฒนาและนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพ่ือการพัฒนาคุณภาพเพ่ิมโอกาสทางการศึกษา และการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต ๓.๒ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ โดยเร่งรัดกระจายอานาจการบริหารและจัดการศึกษา ไปสู่โรงเรยี น ๓.๓ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคเอกชน ประชาชน ประชาสังคม และทุกภาคส่วนของสังคม ในการบริหารจัดการศกึ ษา และสนับสนนุ สง่ เสริมการศกึ ษา ๓.๔ ระดมทรัพยากรจากแหล่งต่างๆ และการลงทุนเพื่อการศึกษา ตลอดจนบริหารจัดการ และ ใช้ทรัพยากรอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ๓.๕ ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศด้านการศึกษา พัฒนาความเป็นสากลของการศึกษา เพ่ือรองรับการเป็นประชาคมอาเซียน และเพิ่มศักยภาพการแข่งขันของประเทศภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ ขณะเดยี วกนั สามารถอย่รู ว่ มกันกับพลโลกอยา่ งสันติสขุ มกี ารพึง่ พาอาศัยและเก้อื กูลกัน ๓.๔ ขน้ั ตอนการทาแผนกลยุทธ์ ๑. รวบรวมข้อมูลสารสนเทศ แหล่งข้อมูลสารสนเทศท่ีนามาใช้ประกอบการจัดทาแผนฯ มี รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติการศึกษา แผนการศึกษาแห่งชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายทางการศึกษาของรัฐบาล แผนสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ยุทธศาสตร์การ พัฒนาการศึกษา การวิจัย แนวคิดทฤษฎี SBM รายงานผลการประเมินตนเอง (SAR) รายงานผลการ ประเมนิ ภายนอก ๒. วิเคราะห์สภาพแวดล้อมของโรงเรียนด้วยเทคนิค SWOT ภายใน ๒S โครงสร้าง และ การให้บริการ ๔M อ่อน – แข็ง ภายนอก STEP สังคม เทคโนเศรษฐกิจ การเมือง โอกาส(เอ้ือ) อุปสรรค ๓. การประเมินสถานภาพของโรงเรยี นว่าอยูใ่ นจุด/ตาแหนง่ ใดเออื้ และแขง็ ตาแหน่งใด ๔. การจัดวางทิศทางของโรงเรยี น กาหนดวสิ ัยทัศน์ พันธกจิ และ เปา้ ประสงค์ ๕. การกาหนดกลยุทธ์ของโรงเรียนกาหนดกลยุทธ์ (นโยบาย) จะถูกกาหนดเป็นแผนงาน ให้สอดคล้องกับพันธกิจมีกลยุทธ์ระดับองค์กร (หน่วยงาน) ระดับแผนงาน และระดับโครงการ (แต่ละ แผนงานก็จะกาหนดโครงการมารองรบั ) การเลอื กกลยุทธ์ใหเ้ ลือกใช้ตามสถานภาพ เช่น เอื้อและแข็ง ใช้กล ยุทธ์สร้างความเจริญเติบโต ขยาย พัฒนา ส่งเสริม เอ้ือแต่อ่อน ใช้กลยุทธ์ความถนัด เร่งรั ด ปรับปรุง กระบวนท่าแก้ไขจุดอ่อนภายใน ส่งเสริมพร้อมรับโอกาส ไม่เอื้อแต่แข็ง ใช้กลยุทธ์รักษาเสถียรภาพ การ คู่มือปฏบิ ัติงาน โรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา

๓๐๑ ปรับปรุงกิจกรรมที่ดาเนินอยู่ ชะลอเพ่ือรอโอกาสและจังหวะ ไม่เอ้ือและอ่อน ใช้กลยุทธ์ การตัดทอน ยกเลิก ยบุ ควบกิจการ หลบภยั อปุ สรรค รีบแกไ้ ขปญั หาภายใน เป็นต้น ๖. การดาเนินการ/ปฏบิ ตั ิตามแผนเป็นการปฏบิ ัติงานตามโครงการทจี่ ัดทาซงึ่ ถือเปน็ การดาเนนิ งานให้ บรรลุตามแผนงาน ตามกลยุทธ์ของโรงเรยี น ๗. การติดตามประเมินผล รายงานผลการปฏิบัติงานการติดตามประเมินผลโครงการถือเป็น การติดตามผลการดาเนินงานให้บรรลุตามแผนงาน ตามกลยุทธ์ของโรงเรียน เพราะโครงการเป็นส่ือ/ เครอ่ื งมอื ของการปฏบิ ตั ิงานตามแผนงานหรือตามกลยุทธ์ของโรงเรียนน่ันเอง โรงเรียนจะประเมินโครงการ แล้วจัดทารายงานผลการประเมินโครงการใช้แหล่งข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ มาประกอบการจัดทาแผนฯ เช่นพระราชบัญญัติการศึกษา แผนการศึกษาแห่งชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบาย ทางการศึกษาของรัฐบาล แผนสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ยุทธศาสตร์การพัฒนา การศึกษา การวิจัย หลักสูตรแกนกลางฯ ๒๕๕๑ แนวคิดทฤษฎี SBM รายงานผลการประเมินตนเอง SAR รายงานผลการประเมนิ ภายนอก ๔. การจัดระบบบรหิ ารและการพฒั นาองคก์ ร ๔.๑ ความหมายขององคก์ ร มีผู้ให้ความหมายขององค์กรไว้หลายความหมาย เช่น Alvin Brown ซึ่งกล่าวว่า องค์กร หมายถึง หน้าที่ซ่ึงสมาชิกแต่ละคนของหน่วยงานถูกคาดหมายให้ประพฤติปฏิบัติและถูกคาดหมายความสัมพันธ์ ระหว่างสมาชิกเพ่ือนาไปสู่วัตถุประสงค์ของหน่วยงานอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นความหมายท่ีเน้น ภารกิจ หนา้ ที่ Louis Allen พจิ ารณาองคก์ รในแง่ของโครงสรา้ งซึ่งเป็นกลไกท่ีทาให้ชีวิตสามารถร่วมกันทางานได้ดี โดยต้องมีการจัดกลุ่มทางาน กาหนดและมอบหมายหน้าท่ี ความรับผิดชอบ กาหนดความสัมพันธ์ให้บรรลุ ถงึ เป้าหมายอย่างมปี ระสิทธภิ าพ เปน็ ความหมายทเี่ น้นกระบวนการ ๔.๒ ความสาคญั ของการจดั องคก์ ร องค์กรเป็นท่ีรวมของคนและเป็นท่ีรวมของงานต่างๆ เพ่ือให้พนักงานขององค์การปฏิบัติงาน ได้อย่างเต็มท่ีและเต็มสามารถจึงจาเป็นต้องจัดแบ่งหน้าที่การงานกันทา และมอบอานาจให้รับผิดชอบ ตามความสามารถและความถนัด ถ้าเป็นองค์การขนาดใหญ่และมีคนมาก ตลอดจนงานท่ีต้องทามีมาก ก็จะต้องจัดหมวดหมู่ของงานท่ีเป็นอย่างเดียวกันหรือมีลักษณะใกล้เคียงกันมารวมเข้าด้วยกันเรียกว่า ฝ่าย หรอื แผนกงาน แลว้ จดั ใหค้ นที่มีความสามารถในงานนั้นๆ มาปฏิบัติงานรวมกันในแผนกน้ัน และตั้งหัวหน้า ขึ้นรับผิดชอบควบคุม ดังนั้น จะเห็นได้ว่าการจัดองค์การมีความจาเป็นและก่อให้เกิดประโยชน์หลายด้าน ดังน้ี ๑. การจัดระบบการบรหิ าร แนวทางการปฏิบตั ิ ๑) ศึกษาวิเคราะห์โครงสร้าง ภารกิจ การดาเนินงาน ปริมาณ คุณภาพและสภาพของ โรงเรยี น ๒) วางแผนออกแบบการจัดระบบโครงสร้างการแบ่งส่วนงานภายใน ระบบการทางานและ การบรหิ ารงานของโรงเรยี น ๓) นาเสนอคณะกรรมการ พจิ ารณาใหค้ วามเหน็ ชอบในการแบ่งส่วนงานในโรงเรียน ๔) ประกาศและประชาสมั พันธใ์ ห้ประชาชนท่ัวไปทราบ ๕) ดาเนินการบรหิ ารจัดการให้เป็นไปตามโครงสรา้ งการแบ่งสว่ นงานที่กาหนด คมู่ ือปฏิบตั ิงาน โรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา

๓๐๒ ๖) ติดตามประเมินผลและปรับปรงุ การจดั ระบบบริหารใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ ๒. การพัฒนาองค์กร แนวทางการปฏบิ ัติ ๑) ศึกษา วิเคราะห์ขอ้ มูล สภาพปัจจุบันปัญหาและความต้องการจาเป็นในการพัฒนาองค์กร ของโรงเรียนกาหนดแนวทางการพัฒนาองค์กรให้ครอบคลุมโครงสร้าง ภารกิจ บุคลากร เทคโนโลยี และกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับสภาพปัจจุบันและความต้องการจาเป็นของ โรงเรียน ๒) การดาเนินการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ ความสามารถท่ีเหมาะสม กบั โครงสรา้ งภารกจิ เทคโนโลยีและกลยทุ ธข์ องโรงเรียน ๓) กาหนดเปา้ หมาย ผลผลติ ผลลพั ธ์ ตัวชวี้ ัด ในการปฏบิ ตั งิ านของบคุ ลากร ๔) ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานตามแนวทางการพัฒนาองค์กรเป็นระยะ ๆ อย่าง ต่อเนื่องและสมา่ เสมอ ๕) นาผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรุงพัฒนาองค์กรและกระบวนการปฏิบัติงานให้ เหมาะสมและมปี ระสทิ ธภิ าพ ๕. การพฒั นามาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน หน่วยงานต้นสังกัดได้กาหนดแนวทางและให้ความสาคัญของมาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียน มัธยมศึกษาฉบับนี้โดยมุ่งหวังให้โรงเรียนได้ใช้เป็นคู่มือในการประเมินความจาเป็นพ้ืนฐานเป็นข้อมูล ในการปรับปรุงและพัฒนาการบริหารจัดการศึกษาให้มีคุณภาพสูงสุดรวมทั้งเป็นเครื่องมือให้ หน่วยงานต้น สงั กัดใช้ในการบรหิ ารจดั การและสนับสนุนใหโ้ รงเรียนพัฒนาเข้าสู่มาตรฐานได้อย่างมีประสิทธิภาพตรงตาม สภาพที่แทจ้ ริงของโรงเรียน สาระสาคัญ มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษาพ.ศ.๒๕๕๒ ฉบับน้ีแบ่งออกเป็น ๒ ด้านคือแนวทาง การประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการปฏิบัติงานและเกณฑ์มาตรฐานด้านปริมาณของโรงเรียนมัธยมศึกษา ซ่ึงแนวทางการประเมินด้านคุณภาพน้ันจะนาไปใช้ประเมินมาตรฐานการปฏิบัติงานท่ีเป็นความจาเป็น พื้นฐานของโรงเรียนมัธยมศึกษาส่วนเกณฑ์มาตรฐานด้านปริมาณนั้นนาเสนอไว้เพื่อให้โรงเรียนได้ทราบ ถึงเกณฑ์การจัดสรรต่าง ๆ ท่ีควรจะเป็นโดยมีเน้ือหาสาระสาคัญครอบคลุมกลไกการบริหารโรงเรียน ทั้ง ๔ ดา้ นประกอบดว้ ยเรื่องตา่ งๆ ดังน้ี ๕.๑ งานแผนงานและประกนั คณุ ภาพ ๕.๒ งานวิชาการ ๕.๓ งานกจิ การนักเรยี น ๕.๔ งานบคุ คล ๕.๕ งานธรุ การ ๕.๖ งานการเงินและพัสดุ ๕.๗ งานบรกิ ารอาคารสถานทแ่ี ละสภาพแวดลอ้ ม ๕.๘ งานชมุ ชนและภาคีเครือข่าย ค่มู อื ปฏิบตั งิ าน โรงเรียนพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามัญศกึ ษา

๓๐๓ ๕.๑ งานแผนงาน งานแผนงาน คือ สิ่งท่ีแสดงถึงความตั้งใจล่วงหน้าที่จะดาเนินการใดๆ ภายในระยะเวลาหนึ่ง เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้ผลท่ีเกิดจากการวางแผนส่วนหน่ึงจะปรากฏในรูปเอกสาร เพื่อใช้เป็น หลักฐานยืนยันการตัดสินใจ ซึ่งจะระบุถึงสิ่งที่จะกระทาเหตุผลที่เลือกทาวิธีการดาเนินการผู้ดาเนินงาน และสถานท่ีดาเนินงานด้านการศึกษาการวางแผนหมายถึงการกาหนดความต้องการวิธีการดาเนินการ และผลท่ีคาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตโดยใช้หลักวิชาเหตุผลมีข้อมูลประกอบมีการนาเสนอปัญหาเพ่ือขจัด อุปสรรคที่จะเกิดกับเป้าหมายข้างหน้าทาให้ผู้ปฏิบัติรู้ว่าจะทาอะไรที่ไหนเม่ือใดกับใครทาอย่างไร และทา เพ่ื ออ ะไ รอ ย่า งชั ดเ จน ซ่ึ งจ ะน าไ ปสู่ กา รป ฏิบั ติง า นท่ี ถูก ต้อ งแ ล ะ บร รลุ วัต ถุ ปร ะส งค์ กา รว าง แผ นจึ ง มี ความสาคัญอย่างย่ิงเปรียบเสมือนกับเข็มทิศแผนที่เดินทางหรือพิมพ์เขียว (Blue Print) เป็นยานพาหนะที่ นาไปสู่การเปลยี่ นแปลงอยา่ งมีระบบ หากปราศจากการวางแผนท่ีดีระบบก็ไม่สามารถปรับเปล่ียนตัวให้เข้า กบั อทิ ธิพลของสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกนั ไดจ้ งึ มีคากล่าวว่า “การวางแผนท่ีดีย่อมนาไปสู่ความสาเร็จกว่าครึ่ง (Well begun is half done)” หรืออาจกล่าวได้อีกนัยหนึ่งว่า การวางแผนท่ีดีมีความสาคัญอย่างยิ่งต่อ ความสาเรจ็ ตามวัตถุประสงค์ขององคก์ รในประการต่าง ๆ เช่น การทางานของบคุ ลากรเกดิ การประสานงาน ซึ่งกันและกัน ช่วยให้เกิดการประหยัดทางการบริหารทั้งคนเงินวัสดุและการจัดการช่วยให้การปฏิบัติงาน สาเร็จลุล่วงไปอย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพเป็นการกระจายงานแบ่งเบาภาระความรับผิดชอบของ ผู้บริหารสามารถระดมสรรพกาลังทรัพยากร (Mobilization of resources) ได้ตามความต้องการอย่าง ประสิทธิภาพผู้บริหารสามารถทราบปัญหาอุปสรรคท่ีเกิดจากการปฏิบัติงานตามข้ันตอนของแผนได้ อย่างชัดเจน (Plenum Lamentation) สามารถดาเนินการแก้ไขปรับปรุงได้ทันต่อเหตุการณ์คุ้มค่า และลดความสูญเปลา่ ๕.๒ งานวชิ าการ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย กาหนดไว้ว่า “บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษา ขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า ๑๒ ปี ที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ”และ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๑๐ เชน่ เดียวกนั และในหมวด ๔ แนวทางการจัดการศึกษาระบุไวใ้ นมาตรา ๒๒ ถึงมาตรา ๓๐ ท่ีให้ความสาคัญ กับผเู้ รียนและกระบวนการจดั การศึกษาอยา่ งชัดเจน สรปุ ได้ว่า บทบาทสาคัญของโรงเรียนต้องยึดหลักตอบสนองต่อผู้เรียน โดยยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคน มีความรูค้ วามสามารถและพัฒนาตนเองได้ ถือว่าผู้เรียนสาคัญท่ีสุดการจัดการเรียนการสอนต้องจัด กจิ กรรมสง่ เสรมิ ใหเ้ หมาะสมกบั ความสนใจความถนัดของผู้เรียนมุ่งเน้นประเมินพัฒนาการของผู้เรียนความ ประพฤตแิ ละพฤติกรรมการเรียนการเข้าร่วมกิจกรรมวัดผลและประเมินผลผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสมกับระดับและรูปแบบการจัดการศึกษา หากเปรียบงานแผนงานเป็นสมองเป็นแผนที่เป็นเข็มทิศ ของชีวิต งานวิชาการก็คือหัวใจของโรงเรียนที่มีความสัมพันธ์กับงานแผนอย่างแยกกันไม่ได้การ จะบริหารงานวิชาการให้ประสบผลสัมฤทธ์ิต้องตระหนักว่าหัวใจของการจัดการศึกษาคือผู้เรียนหากจะดูว่า งานวิชาการโรงเรียนใดเปน็ อยา่ งไรดูได้จากนักเรยี นในโรงเรียนน้ันๆ ๕.๓ งานกิจการนักเรียน กิจการนักเรียนเป็นอีกหนึ่งภาระงานที่สาคัญ โรงเรียนมีบทบาทหน้าท่ีจัดระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียนอย่างชัดเจนและมีประสิทธิภาพรู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคลมีข้อมูลสารสนเทศเก่ียวกับผู้เรียน ท่คี รบถ้วนและเป็นปัจจุบันเพื่อช่วยให้ครูเข้าใจเข้าถึงและพัฒนานักเรียนโดยผ่านกระบวนการวางแผนและ คู่มอื ปฏบิ ัตงิ าน โรงเรยี นพระปริยัตธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา

๓๐๔ การบริหารจัดการเพ่ือสร้างคุณลักษณะพึงประสงค์ของผู้เรียนให้สอดคล้องกับสภาวะเศรษฐกิจ สังคม การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง สิ่งแวดล้อมเทคโนโลยี ท่ีเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว นอกจากน้ีต้องพัฒนา ผู้เรียนให้มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัยภาคภูมิใจในความเป็นชาติไทยเกิดการเรียนรู้ระบอบ ประชาธิปไตยผา่ นกระบวนการและกจิ กรรมต่างๆในโรงเรียนเทิดทูนและจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนาและ พระมหากษัตริย์มีจิตสาธารณะใช้ชีวิตอย่างพอเพียงปรับตัวมีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกัน สามารถเลือกดาเนิน ชวี ิตอยา่ งผู้มีภมู ิร้แู ละมีภมู ิธรรม ๕.๔ งานบคุ คล การพัฒนาองค์กรจะประสบผลสัมฤทธ์ิหรือไม่เพียงใด บุคคลซ่ึงเป็นหน่ึงในส่ีประเด็นหลักของ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร มี ค ว า ม ส า คั ญ อ ย่ า ง ยิ่ ง ต่ อ ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น อ ง ค์ ก ร ไ ป ข้ า ง ห น้ า เ พื่ อ ต อ บ ส น อ ง ต่ อ การเปล่ียนแปลงของบริบทการพัฒนาในกระแสโลกาภิวัฒน์ ท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี โรงเรียนจึงต้องมีหน่วยงานดังกล่าวอย่างเป็นรูปธรรมเพื่อขับเคลื่อนองค์กรสู่ความเป็นเลิศงานบุคคลเป็น หน่วยสนับสนุนบุคลากรท่ีสาคัญในโรงเรียนมีจุดประสงค์หลักของงานบุคคลเพื่อดูแลอานวยความสะดวก ให้กับบุคลากรในโรงเรียน สร้างขวัญกาลังใจ ดูแลการรักษาสิทธิประโยชน์อันพึงมีพึงได้ของบุคลากร ดาเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความรู้ความสามารถให้กับบุคลากรเช่นจัดการปฐมนิเทศให้ บุคลากรเพ่ือใหท้ ราบภาระงานเมื่อเร่มิ เขา้ สู่องคก์ รจัดทาเอกสารแนะแนวทางปฏิบัติงานจัดการนิเทศภายใน เพอ่ื ทบทวนบทบาทหน้าท่ีความรับผิดชอบจัดการประชมุ สมั มนาศึกษาดงู านเพ่อื เพิ่มพูนทักษะและศักยภาพ ในการปฏิบัติงานของบุคลากร จัดระบบประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อนาข้อมูลท่ีได้ไปใช้ปรับปรุงการ ทางานอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ๕.๕ งานธุรการ งานธุรการ เปน็ หนว่ ยงานสนบั สนุนทสี่ าคัญและจาเป็นหน่วยหน่ึงในโรงเรียนมีหน้าที่หลัก ๆ ท่ีต้อง ปฏิบัติเพื่อความสาเร็จขององค์กรได้แก่ การรวบรวมข้อมูลระเบียบ และแนวปฏิบัติในส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับ งานธุรการ การปฏิบัติงานด้านสารบรรณ การลงทะเบียนรับ-ส่งหนังสือ การโต้ตอบหนังสือราชการและ หนงั สือท่ีมีมาถงึ โรงเรยี น รวมถงึ การจัดเกบ็ และทาลายหนงั สือ ๕.๖ งานการเงนิ และพัสดุ งานการเงินและพัสดุเป็นหน่วยสนับสนุนท่ีสาคัญช่วยให้การบริหารจัดการและการดาเนินกิจกรรม ต่างๆเป็นไปด้วยความราบร่ืนมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลถูกต้องตามระเบียบ กฎแนวปฏิบัติ และ มีหลักฐานครบถ้วนถูกต้องคุ้มค่าประหยัดและเกิดประโยชน์ โปร่งใส ตรวจสอบได้ ตามหลักธรรมาภิบาล ภาระหน้าท่ีงานการเงินและ พัสดุประกอบด้วยการบริหารการเงิน ตามระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง การจัดทาและตรวจสอบเอกสารหลักฐานให้ถูกต้องเป็นปัจจุบันและเป็นไปตามแผน การประเมินความ ค้มุ ค่าการจัดทาทะเบยี นควบคมุ พัสดุเพื่อใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บและง่ายต่อการตรวจสอบ ๕.๗ งานบรกิ ารอาคารสถานท่แี ละสภาพแวดลอ้ ม งานบรกิ ารและงานอาคารสถานทเี่ ป็นงานทีช่ ่วยสนบั สนนุ และสง่ เสรมิ งานต่าง ๆ อย่างเป็นรูปธรรม ภาระงานเก่ียวข้องกับการวางแผนพัฒนาอาคารสถานท่ีและสิ่งแวดล้อมการจัดบรรยากาศทั้งภายใน ห้องเรียนและภายในโรงเรียนให้เกิดความร่มร่ืนเป็นสัดส่วน สวยงาม เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน จัดดูแล บารุงรักษาอาคารเรียนอาคารประกอบ ห้องเรียน ห้องพิเศษ และห้องบริการต่างๆให้ใช้ประโยชน์ได้อย่าง คมู่ ือปฏิบัตงิ าน โรงเรียนพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา

๓๐๕ คุ้มค่าตามเกณฑ์ปริมาณและตรงตามมาตรฐาน จัดให้มีเอกสารการใช้อาคารและจัดทาประวัติการ บารงุ รักษาและสรุปประเมินผลอยา่ งชัดเจน ๕.๘ งานชมุ ชนภาคแี ละเครอื ขา่ ย งานชุมชนและภาคีเครือข่ายมีความสาคัญอย่างยิ่งในยุคปัจจุบัน งานชุมชน ตามพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๕๘ ที่บัญญัติ “ให้มี การระดมทรัพยากรและการลงทุนด้านงบประมาณการเงินท้ังจากรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพสถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอ่ืนๆ โดยเป็นผู้จัดและมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา” ภาคีเครือข่าย คือ การจัดหรือเชื่อมโยงกลุ่มบุคคลหรือ องค์กรท่ีสมัครใจที่จะแลกเปล่ียนข่าวสารร่วมกัน เรียนรู้และทากิจกรรมร่วมกันด้วยความเป็นอิสระเท่า เทียมกันภายใต้พื้นฐานของการเคารพในสิทธิของแต่ละคนเชื่อถือเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน การจัดภาคี เครอื ขา่ ยในโรงเรยี นมที ้ังในส่วนทีก่ าหนดไว้ในพระราชบัญญัติในระเบียบและข้อบังคับและคณะกรรมการที่ จัดต้ังให้สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน เช่น คณะกรรมการโรงเรียนขั้นพ้ืนฐาน คณะกรรมการมูลนิธิ คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองคณะกรรมการบริหารงานวิชาการสมาคมผู้ปกครองและครู สมาคม นักเรียนเก่าหรือสมาคมศิษย์เก่า หน้าท่ีสาคัญของหน่วยงานนี้ คือการสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน จัดทา ข้อมูลพื้นฐานและสภาพแวดล้อมของชุมชนและภาคีเครือข่ายให้บริการแก่ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา ชุมชนประสานและขอรับการสนับสนุนด้านต่างๆ จากชุมชน รวมท้ังประเมินผลความต้องการและความพึง พอใจของชมุ ชนเพอ่ื สรา้ งเครือขา่ ยที่ยั่งยนื ตอ่ ไป ๖. การดาเนนิ งานธรุ การ งานสารบรรณ หมายถึง งานทเี่ ก่ียวกับการบริหารงานเอกสาร เร่ิมตั้งแต่การจัดทา การรับ การส่ง การเกบ็ รักษา การยืม จนถึงการทาลาย หนังสอื หมายถงึ หนงั สอื ราชการ ปลัดสานกั นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รักษาการระเบียบและมีอานาจ ตคี วามและวนิ ิจฉัยปัญหาเก่ียวกับการปฏบิ ัติตามระเบียบ ๖.๑ ชนิดของหนงั สอื ราชการ หนังสอื ราชการ คอื เอกสารทเี่ ป็นหลกั ฐานในราชการ ได้แก่ ๑. หนงั สอื ทม่ี ไี ปมาระหว่างส่วนราชการ ๒. หนังสอื ทส่ี ่วนราชการมีไปมาถึงหนว่ ยงานอ่ืนใด ซ่ึงมใิ ช่สว่ นราชการทม่ี ี ไปถงึ บคุ คลภายนอก ๓. หนงั สอื ท่ีหนว่ ยงานอื่นซึ่งมใิ ช่ส่วนราชการหรอื ท่ีบุคคลภายนอกมีมาถงึ ส่วนราชการ ๔. หนงั สือท่รี าชการจดั ทาขนึ้ เพอื่ เปน็ หลกั ฐานในราชการ ๕. เอกสารที่ทางราชการจัดทาข้นึ ตามกฎหมาย ระเบยี บ หรอื ขอ้ บังคับ โดยหนังสอื ราชการ แบ่งเป็น ๖ ชนิด ดงั ตอ่ ไปน้ี ๑. หนังสือภายนอก คือ หนังสอื ทีต่ ิดต่อราชการทีเ่ ปน็ แบบพธิ ีโดยใช้กระดาษตราครุฑ เป็นหนังสือ ตดิ ตอ่ ระหว่างส่วนราชการหรอื สว่ นราชการมถี ึงหน่วยงานอน่ื ใดซึง่ มิใช่สว่ นราชการ หรือบคุ คลภายนอก ๒. หนังสือภายใน คือ หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธีน้อยกว่าหนังสือภายนอก เป็นหนังสือ ติดตอ่ ภายในกระทรวง ทบวง กรม หรือจงั หวัดเดยี วกนั ใชก้ ระดาษบันทึกข้อความ ๓. หนงั สือประทับตรา คือ หนงั สอื ทใี่ ชป้ ระทับตราแทนการลงชอ่ื ของหัวน้าส่วนราชการระดับกรม ข้ึนไป โดยให้หัวหน้าส่วนราชการระดับกอง หรือผู้ท่ีได้รับมอบหมายจากหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมข้ึน คูม่ อื ปฏิบตั งิ าน โรงเรยี นพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามัญศกึ ษา

๓๐๖ ไปเป็นผู้รับผิดชอบลงช่ือย่อกากับตราและให้ใช้ท้ังระหว่างส่วนราชการกับส่วนราชการ และระหว่างส่วน ราชการกบั บุคคลภายนอก เฉพาะกรณที ไี่ มใ่ ชเ่ รือ่ งสาคญั ใช้กระดาษตราครุฑ ๔. หนังสือสั่งการ คือ หนังสือที่จัดทาขึ้นโดยมิใช่เพื่อทาการติดต่อสอบถาม หรือแจ้งให้ ทราบแตจ่ ดั ทาขน้ึ เพอื่ ความม่งุ หมายโดยเฉพาะคอื เพือ่ สงั่ การ ใช้กระดาษตราครุฑ มี ๓ ชนดิ คือ ๔.๑ คาสงั่ คอื บรรดาขอ้ ความทผี่ ู้บงั คบั บญั ชาสั่งการใหป้ ฏบิ ัติโดยชอบดว้ ยกฎหมาย ๔.๒ ระเบียบ คือ บรรดาข้อความทผ่ี ้มู อี านาจหน้าท่ีได้วางไว้โดยจะอาศัยอานาจของ กฎหมายหรอื ไม่ก็ได้ เพือ่ ถอื หลักปฏบิ ตั งิ านเปน็ ประจา ๔.๓ ขอ้ บังคับ คอื บรรดาขอ้ ความทผ่ี มู้ ีอานาจหนา้ ทกี่ าหนดใหใ้ ช้โดยอาศยั อานาจของ กฎหมายที่บัญญตั ิให้กระทาได้ ๕. หนังสือประชาสัมพนั ธ์ คอื หนงั สือทีท่ างราชการจัดทาข้ึนเพ่ือเผยแพร่ใหท้ ราบ มี ๓ ชนิด คอื ๕.๑ ประกาศ คือ บรรดาข้อความท่ีทางราชการชี้แจงให้ทราบหรือแนะแนวทางปฏิบัติใช้ กระดาษตราครฑุ ๕.๒ แถลงการณ์ คือ บรรดาขอ้ ความท่ที างราชการแถลง เพื่อทาความเข้าใจในกิจการของ ทางราชการหรือเหตุการณ์หรือกรณีใด ๆ ให้ทราบชัดเจนโดยท่วั กัน ใช้กระดาษตราครุฑ ๕.๓ ข่าว คือ บรรดาขอ้ ความทีท่ างราชการเหน็ สมควรเผยแพร่ใหท้ ราบ ๖. หนังสือท่ีเจ้าหน้าที่ทาข้ึนหรือรับไว้เป็นหลักฐาน คือ หนังสือท่ีราชการทาขึ้น หรือหนังสือ ที่หน่วยงาน อื่นใดซึ่งมิใช่ส่วนราชการ หรือบุคคลภายนอกมีมาถึงส่วนราชการ และส่วนราชการรับไว้ เป็นหลกั ฐานของทางราชการ มี ๔ ชนิด คอื ๖.๑ หนังสือรับรอง คือ หนังสือที่ส่วนราชการออกให้เพื่อรับรองแก่บุคคล นิติบุคคล หรือ หน่วยงานเพื่อวัตถุประสงค์อย่างหนึ่งอย่างใดให้ปรากฏแก่บุคคลโดยท่ัวไป ไมจ่ าเพาะเจาะจง ใช้กระดาษตราครฑุ และในกรณที ่ีเปน็ เรื่องสาคญั ทีอ่ อกให้แก่ บุคคลใหต้ ิดรปู ถ่ายของ ผู้ที่ได้รับรอง ขนาด ๔ X ๖ ชม. ไม่สวมหมวกและให้ผู้น้ันลง ลายมือชื่อไวใ้ ตร้ ูปถ่ายดว้ ย ๖.๒ รายงานการประชุม คือ การบันทึกความคิดเห็นของผู้มาประชุม ผู้เข้าร่วมประชุม และมติของท่ีประชุมไว้เป็นหลักฐาน การบันทึกช่ือบุคคลในการประชุมให้แยก เปน็ ๓ กลุม่ คือ ผู้มาประชมุ ผ้ไู ม่มาประชมุ และผเู้ ข้ารว่ มประชุม (ถ้าม)ี ๖.๓ บันทึก คือ ข้อความซึ่งผู้ใต้บังคับบัญชาเสนอต่อผู้บังคับบัญชา หรือผู้บังคับบัญชา ส่ังการแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาหรือข้อความท่ีเจ้าหน้าท่ีหรือหน่วยงานระดับต่ากว่า ส่วนราชการระดับกรมตดิ ตอ่ กนั ในการปฏบิ ตั ริ าชการ ใช้กระดาษบนั ทึกข้อความ ๖.๔ หนงั สอื อื่น คอื หนังสอื หรอื เอกสารอนื่ ใดทีเ่ กิดข้ึน เนอื่ งจากการปฏิบัติงานของ เจา้ หน้าทเ่ี พื่อเป็นหลักฐานในราชการ ซึ่งรวมถึง ภาพถ่าย ฟิล์ม แถบบันทึกเสียง แถบบันทึกภาพ หรือหนังสือของบุคคลภายนอกที่ยื่นต่อเจ้าหน้าที่และเจ้าหน้าที่ ได้รับเข้าทะเบียนรับหนังสือทางราชการแล้ว รูปแบบของหนังสือชนิดน้ีเป็นไป ตามที่กระทรวง ทบวง กรมจะกาหนดขึ้นใช้ตามความเหมาะสม หรือ ตามที่ กฎหมายกาหนด เช่น โฉนด แผนผัง สัญญา หลักฐานการสืบสวนและสอบสวน เป็นต้น คู่มอื ปฏิบัติงาน โรงเรียนพระปริยตั ิธรรม แผนกสามัญศึกษา

๓๐๗ ๖.๒ ชนั้ ความเร่งด่วน หนงั สอื ท่ีจะต้องส่งและดาเนินการทางสารบรรณด้วยความรวดเร็วเป็นพิเศษ แบ่งเป็น ๓ ประเภท ซ่งึ จะตอ้ งระบชุ ั้นความเร็วดว้ ยตัวอกั ษรสีแดง ขนาดไม่เลก็ กวา่ ๓๒ พอยท์ ไดแ้ ก่ ๑. ดว่ นท่สี ดุ ใหเ้ จ้าหนา้ ที่ปฏิบัตใิ นทันทีทไ่ี ดร้ ับหนงั สอื ๒. ด่วนมาก ให้เจ้าหนา้ ทป่ี ฏบิ ตั โิ ดยเรว็ ๓. ดว่ น ให้เจา้ หน้าทีป่ ฏิบัตเิ รว็ กวา่ ปกตเิ ทา่ ทจ่ี ะทาได้ ในกรณีท่ตี ้องการให้หนังสือถึงผู้รับภายในเวลาทีก่ าหนด ให้ระบุคาว่าด่วนภายใน แล้วลงวันเดือนปี และกาหนดเวลาท่ตี อ้ งการให้หนังสอื นน้ั ไปถึงผรู้ ับ เร่อื งราชการท่จี ะดาเนนิ การหรือสง่ั การดว้ ยหนงั สือไม่ทัน ให้สง่ ข้อความทางเคร่ืองมอื สื่อสารได้ ๖.๓ สาเนาหนงั สือและหนงั สอื เวียน หนังสือท่ีจัดทาข้ึนโดยปกติให้มีสาเนาคู่ฉบับ เก็บไว้ที่ต้นเร่ือง ๑ ฉบับ และเก็บไว้ที่หน่วยงานสาร บรรณกลางอีก ๑ ฉบับ หนังสือที่เจ้าของหนังสือเห็นว่า ส่วนราชการอื่นท่ีเก่ียวข้องควรได้รับทราบด้วย ให้เพม่ิ รหัสตวั พยัญชนะ ว หน้าเลขทะเบยี นหนงั สอื สง่ ซง่ึ กาหนดเปน็ เลขทห่ี นงั สอื เวยี นโดยเฉพาะ ๖.๓.๑ การเกบ็ รักษาหนังสือราชการ แบง่ เป็น ๓ ประเภท ได้แก่ ๑. การเกบ็ ระหว่างปฏบิ ตั ิ คือ การเก็บหนังสือทป่ี ฏบิ ตั ิยังไมเ่ สรจ็ ใหอ้ ยใู่ นความรับผิดชอบ ของเจ้าของเร่อื งโดยใหก้ าหนดวิธีการเก็บ ให้เหมาะสมตามข้ันตอนการปฏิบตั ิงาน ๒. เก็บเมอ่ื ปฏบิ ัตเิ สรจ็ แล้ว คอื การเกบ็ หนงั สอื ที่ปฏิบตั ิเสร็จเรียบร้อยแล้วและไม่มีอะไรท่ี จะต้องปฏิบตั ติ อ่ ไปอกี ๓. การเก็บไวเ้ พอื่ ใช้ในการตรวจสอบ คอื การเก็บหนงั สือที่ปฏบิ ัติงานเสรจ็ เรียบรอ้ ยแล้ว แตจ่ าเปน็ จะต้องใช้ในการตรวจสอบเป็นประจา ๖.๓.๒ อายกุ ารเก็บหนงั สอื โดยปกตเิ กบ็ ไว้ไมน่ ้อยกวา่ ๑๐ ปี เว้นแต่ - หนงั สอื ท่ีไดป้ ฏบิ ัติงานเสร็จแล้วและเป็นคู่สาเนาท่ีมีต้นเรื่องจะค้นได้จากท่ีอื่น ให้ เก็บไว้ไม่น้อยกวา่ ๕ ปี - หนงั สือทีเ่ ป็นเรือ่ งธรรมดาซ่งึ ไมส่ าคัญ และเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นเป็นประจาให้เก็บไว้ ไมน่ อ้ ยกว่า ๑ ปี - หนังสือท่ีต้องการสงวนเป็นความลับ หนังสือท่ีเป็นหลักฐานทางอรรถคดี ให้ ปฏิบตั ิตามกฎหมายหรอื ระเบยี บวา่ ดว้ ยการน้ัน - หนังสือท่ีเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ หรือเร่ืองท่ีต้องใช้สาหรับศึกษาค้นคว้าให้เก็บไว้ ตลอดไป ๖.๓.๔ การยืม การยมื หนงั สือทีส่ ่งเกบ็ แล้ว ผู้ยืมจะต้องแจ้งให้ทราบว่าเรื่องที่ยืมน้ันจะนาไปใช้ในราชการ ใด และจะต้องมอบหลักฐานการยืมให้เจ้าหน้าที่เก็บ การยืมระหว่างส่วนราชการ ผู้ยืมและผู้อนุญาตให้ยืม ต้องเป็นหัวหน้าส่วนราชการระดับกองขึ้นไป การยืมภายในส่วนราชการเดียวกัน ผู้ยืมและผู้อนุญาตให้ยืม ตอ้ งเปน็ หวั หนา้ ส่วนราชการระดบั แผนกขึ้นไป ค่มู ือปฏิบตั ิงาน โรงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามัญศึกษา

๓๐๘ ๖.๓.๕ การทาลายหนงั สอื ราชการ เมื่อหนังสือราชการครบกาหนดอายุการเก็บรักษา ให้เจ้าหน้าที่จัดทาบัญชีหนังสือขอทาลาย เสนอหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมเพื่อพิจารณา แต่งตั้งคณะกรรมการทาลายหนังสือประกอบด้วย ประธานกรรมการ และกรรมการอีกอย่างน้อยสองคน ซ่ึงโดยปกติให้แต่งตั้งจากข้าราชการตั้งแต่ระดับ ๓ ขนึ้ ไป ๖.๔ มาตรฐาน แบบพิมพ์และซอง ตราครุฑสาหรับแบบพมิ พ์ มี ๒ ขนาด คือ ขนาดตัวครฑุ สงู ๓ ซม. และ ๑.๕ ซม. ตราชือ่ สว่ นราชการ เป็นรูปวงกลมสองวงซอ้ นกนั ขนาดเส้นผา่ นศนู ยก์ ลาง ๔.๕ ซม. และ ๓.๕ ซม. และมีชื่อหน่วยงานอยูร่ ะหว่างวงกลม กระดาษท่ีใช้ ใหใ้ ชก้ ระดาษปอนด์ขาว ๖๐ กรัมมี ๓ ขนาด คือ ขนาด เอ ๔ เอ ๕ และ เอ ๘ ซองหนังสือให้ใช้กระดาษสีขาวหรือสีน้าตาล มี ๔ ขนาด คือ ขนาด ซี ๔ ใช้ใส่แบบไม่ต้องพับ ขนาด ซี ๕ ใชใ้ ส่กระดาษพับ ๒ ขนาด ซี ๖ ใช้ใสก่ ระดาษพับ ๔ และดแี อล ใชใ้ สก่ ระดาษพับ ๓ เลขท่ีออกหนังสือ รหัสตัวพยัญชนะที่กาหนดระเบียบสารบรรณ มี ๒ ชนิด คือ สาหรับประจา กระทรวง ทบวง และส่วนราชการที่ไม่สังกัดสานักงานนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง และสาหรับ ประจาจังหวัด โดยให้ใช้อักษรย่อ ๒ ตัว เช่น กระทรวงมหาดไทย ย่อว่า มท. เลขประจาของส่วนราชการ เจ้าของเร่ือง ประกอบด้วยเลข ๔ ตัว โดยสองตัวแรก หมายถึง ส่วนราชการระดับกรม หรือ อาเภอ/ก่ิงอาเภอ ในภมู ิภาค สองตวั หลงั หมายถึง กอง หรอื แผนงานตา่ ง ๆ ของจงั หวดั อาเภอ/กงิ่ อาเภอ ท้ังนี้ การปรับปรุงเลขประจาของเจ้าของเรื่องให้มีการปรับปรุงทุก ๆ ๕ ปี โดยถือเอาปี พ.ศ. ท่ีลง ทา้ ยดว้ ยเลข ๕ และเลข ๐ เป็นหลัก คาขน้ึ ตน้ คาลงท้าย หนังสอื ถึง บุคคลธรรมดา ใหข้ ึน้ ต้นดว้ ย “เรียน” ลงทา้ ยด้วย “ขอแสดงความนบั ถอื ” หนงั สอื ถึง ประธานองคมนตรี นายกรัฐมนตรี ประธานรฐั สภา วฒุ สิ ภา สภาผู้แทนราษฎร ศาลฎีกา รฐั บรุ ษุ ให้ขนึ้ ตน้ ดว้ ย “กราบเรยี น” ลงทา้ ยดว้ ย “ขอแสดงความนบั ถืออย่างยิ่ง” ผรู้ ับหนงั สือ คาข้นึ ตน้ สรรพนาม คาลงท้าย คาที่ใช้ในการจ่า หน้าซอง พระภิกษุ ขอประทาน ใต้ฝา่ พระบาท ควรมิควรแล้วแตจ่ ะ ๑. สมเดจ็ พระ กราบทลู (ออกพระนาม) ขา้ พระพุทธเจา้ โปรดกระหม่อม ขอประทานกราบทลู กราบทลู ...... ฝา่ พระบาท ควรมคิ วรแลว้ แต่ (ระบพุ ระนาม) สังฆราชเจ้า (ชาย) เกลา้ กระหมอ่ ม จะโปรด กราบทูล ๒. สมเดจ็ พระสงั ฆราช นมัสการ....... (หญงิ ) เกล้ากระหมอ่ มฉนั (ระบุพระนาม) พระคณุ เจา้ ขอนมัสการด้วย ๓.สมเด็จพระราชาคณะ นมสั การ…. กระผม - ดฉิ นั ความเคารพอย่างยงิ่ นมัสการ…. รองสมเดจ็ นมสั การ...... พระราชาคณะ พระคุณเจา้ กระผม - ขอนมสั การด้วย นมัสการ…. ดิฉนั ความเคารพอย่างสูง ๔. พระราชาคณะ ท่าน ผม – ดฉิ ัน ขอนมัสการ นมสั การ.... ดว้ ยความเคารพ ๕. พระภิกษุสงฆ์ทวั่ ไป คูม่ อื ปฏบิ ัติงาน โรงเรียนพระปริยัตธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา

๓๐๙ ๖.๕ รายงานการประชมุ ๑. การจดรายงานการประชุม การจดรายงานการประชุมโดยวิธีใดน้ัน ให้ท่ีประชุมน้ันเองเป็นผู้ กาหนดหรอื ใหป้ ระธานและเลขานุการของทปี่ ระชมุ ปรกึ ษาหารือกันและกาหนด ซง่ึ อาจทาได้ ๓ วธิ ี ดงั น้ี ๑) จดละเอยี ดทกุ คาพูดของกรรมการ หรอื ผ้เู ขา้ รว่ มประชุมทุกคน พรอ้ มดว้ ยมติ ๒) จดยอ่ คาพดู ที่เป็นประเดน็ สาคัญของกรรมการหรือผู้เข้าร่วมประชุม อันเป็นเหตุผล นาไปสู่มติของทีป่ ระชุม พร้อมดว้ ยมติ ๓) จดแต่เหตผุ ลกบั มตขิ องทปี่ ระชมุ ๒. การรับรองรายงานการประชุม สามารถทาได้ ๓ วิธี ดังนี้ ๑) การรับรองในการประชุมครั้งนั้น ใช้สาหรับกรณีเรื่องเร่งด่วนให้ประธานหรือ เลขานุการของที่ประชมุ อา่ นสรุปมติให้ท่ปี ระชมุ พจิ ารณารับรอง ๒) รับรองในการประชุมครั้งต่อไป ประธานหรือเลขานุการเสนอรายงานการประชุม ครัง้ ท่แี ล้วมาใหท้ ี่ประชุมพิจารณารบั รอง ๓) รับรองโดยการแจ้งเวียน ใช้ในกรณีท่ีไม่มีการประชุมคร้ังต่อไป หรือมีแต่ยัง กาหนดเวลาประชุมครงั้ ตอ่ ไปไม่ได้ หรอื มรี ะยะเวลาหา่ งจากการประชุมคร้ังนั้นมาก ให้เลขานุการส่งรายงานการประชุมไปให้บุคคลในคณะกรรมการพิจารณารับรอง ภายในระยะเวลาทีก่ าหนด ๖.๖ การเสนอหนังสอื ๑. การเสนอหนังสือ คือการนาหนังสือราชการที่ดาเนินการข้ันเจ้าหน้าที่เสร็จแล้วเสนอต่อ ผู้บงั คับบญั ชา ซง่ึ อาจเป็นการเสนอเพ่ือ ๑) พจิ ารณาตรวจแก้ไข ๒) บันทกึ ส่ังการ ๓) ทราบ ๔) ลงชื่อ อย่าง ใดอย่างหนึ่งเพื่อใหร้ าชการนั้น ๆ ดาเนินต่อไปตามสายงานจนเสร็จสิน้ ๒. วิธีเสนอหนังสือ เจ้าหน้าที่ผู้รวบรวมเรื่องเสนองานสารบรรณ ควรจะแยกหนังสือท่ีจะเสนอ ออกเปน็ ประเภท ๆ เสยี กอ่ น เชน่ เร่ืองดว่ น เรอ่ื งเพือ่ ทราบ เร่ืองสงั่ การ เรือ่ งพจิ ารณา ถ้าสามารถทาได้ควร แยกแฟ้มเสนอออก ตามประเภทเร่ืองดังกล่าว โดยเฉพาะเร่ืองด่วน ควรแยกออกและเขียนตัวอักษรด่วน ปดิ หนา้ ปกแฟม้ เสนอใหเ้ หน็ โดยชัดเจน ๓. การตรวจเอกสารที่จะนาเสนอ ไม่ว่าในกรณีท่ีเจ้าหน้าท่ีฝ่ายใด ๆ จะเป็นผู้เสนอเอกสารก็ตาม ผ้นู ั้นจะต้องพิจารณาตรวจสอบเอกสารท่ีจะนามาเสนอทุกฉบบั โดยถือหลัก ดังน้ี ๑) เอกสารนั้นสะอาด เรียบร้อย ถูกต้องตามระเบียบงานฯ แบบธรรมเนียมที่ทาง ราชการวางไว้แล้วหรือยัง เช่น ถ้าเป็นหนังสือราชการภายนอกก็ต้องตรวจดูตาม แบบว่าหนังสือราชการ ภายนอกวางรูปอย่างไร ใช้คาย่อหรือคาเต็ม ถ้าเป็นคาสั่งดู แบบรูปคาส่ังให้ถูกต้องเป็นต้น ท้ังน้ีรวมถึงการเขียนคาให้ถูกต้องเป็นต้น ท้ังนี้รวมถึงการเขียนคาให้ถูกต้องตามพจนานุกรม และมีวรรคตอน ย่อหน้าให้ ถกู ตอ้ งเหมาะสม ๒) เอกสารน้นั ได้ผ่านเจ้าหนา้ ท่ผี เู้ กี่ยวของตามสายงานพจิ ารณาครบถ้วน แลว้ หรอื ยัง ๓) ถ้าเอกสารนั้นอ้างอิงถึงหลักฐานแบบธรรมเนียมใด ให้ดูว่าได้แนบหลักฐานนั้น ๆ เสนอมาด้วยหรือไม่ เพื่อมิให้เสียเวลาท่ีผู้บังคับบัญชาจะต้องขอดูและไปค้นหา ในภายหลงั ตอ้ งเตรยี มหลกั ฐานอ้างอิงไว้ให้พร้อม เพ่ือผู้บังคับบัญชาขอดูก็สามารถ เสนอได้ทนั ที คู่มือปฏิบัตงิ าน โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา

๓๑๐ ๔) เอกสารฉบับใดท่ีมีท้ังต้นฉบับและสาเนาคู่ฉบับ หากมีการแก้ไขข้อความใด ๆ จะ เปน็ ตวั หนังสอื หรอื ตวั เลขก็ตามตอ้ งระวงั แก้ไขให้ตรงกันทั้งสองฉบบั ๕) ถ้าผู้เสนอเอกสารไม่ใช่เจ้าของเรื่อง เม่ือมีหน้าท่ีตรวจสอบเอกสารก่อนนาเสนอ ถ้ามีบกพร่องตามท่ีได้กล่าวมาข้างบนนี้ อย่าได้แก้ไปโดยพลการ เช่น การสั่งการท่ี จะใชค้ าว่า “รับคาสง่ั ...” จะใชเ้ ม่ือใด กบั ใครเปน็ ต้น ๖) ถ้าเอกสารน้ันจะต้องมีการบันทึกเพ่ือให้ผู้บังคับบัญชาลงชื่อ เจ้าหน้าที่หรือเจ้าของ เร่อื งตอ้ งบันทกึ ให้ถูกตอ้ งตามแบบธรรมเนียมของทางราชการ เช่น การสั่งการที่จะ ใ ช้ คาวา่ “รับสั่ง...” จะใช้เมือ่ ใด กบั ใครเปน็ ต้น ๔. การจัดเข้าแฟ้มเสนอ ดังได้กลา่ วไว้ในหวั ขอ้ วธิ เี สนอแล้วว่า ถ้าสามารถทาได้ควรแยกแฟ้มเสนอ ออกเป็นประเภทหรือรวมแฟม้ มีหลักง่าย ๆ ในการจัดเอกสารเข้าแฟม้ ดงั นี้ ๑) เรื่องง่าย ๆ ไม่มีปัญหาพิจารณาอย่างใดๆ เช่นเพียงลงชื่อเท่าน้ัน ควรเรียงไว้ ข้างหน้า ๒) เร่ืองที่มีปัญหายุ่งยาก จะต้องพิจารณาตรวจแก้ หรือมีการตัดสินใจต้องเอาไว้ที หลงั หรอื แยกแฟ้มเสนอเพราะผู้บงั คับบญั ชาต้องใชว้ ธิ ีพิจารณาตกลงใจหรือแก้ไข งานธรรมดาจะไดอ้ อกมากอ่ น ๓) แฟ้มเซ็นทราบ เช่น สาเนาคาสั่ง ประกาศ แจ้งความอ่ืน ๆ ควรแยกแฟ้ม เมื่อ ผ้บู ังคบั บัญชาว่างจะได้ลงนาม ๔) กรณเี รง่ ดว่ นจดั เข้าแฟม้ เสนอด่วน แลว้ รีบเสนอทันทไี ม่ตอ้ งคอยเรอ่ื งให้เตม็ แฟม้ ๕) ผู้เสนอจะต้องใช้ไหวพริบตามสมควรให้เหมาะกับกาลเทศะและนิสัยของบังคับ บญั ชา เช่น เวลามีน้อยเพราะท่านจะต้องรีบไปประชุม หรือกลับมาจากประชุมมี เวลาน้อยแล้วควรเสนอเร่ืองเร่งด่วน หรือเรื่องท่ีไม่มีปัญหาไปก่อน เรื่องไม่ด่วน เรอื่ งท่ีตอ้ งใชเ้ วลาพจิ ารณาใหร้ อไวเ้ สนอในโอกาสต่อไป ๖.๗ การร่างหนงั สอื การร่างหนังสือ คือ การเรียบเรียงชั้นต้นตามเร่ืองที่แจ้งความประสงค์ไปยังผู้รับ หรือผู้ท่ีต้องการ ทราบหนงั สอื กอ่ นที่จะใช้เปน็ ต้นฉบับ เหตุผลทจี่ าเป็นตอ้ งรา่ งหนังสอื ก็เพือ่ ให้มกี ารตรวจแก้ไขให้เหมาะสม ถูกต้องตามระเบียบแบบแผนเสียก่อน และเก็บไว้เป็นหลักฐาน เว้นแต่หนังสือที่เป็นงานประจาปกติไม่ต้อง ร่างกไ็ ด้ หลักการร่างหนังสือ ผู้ร่างจะต้องรู้และเข้าใจให้แจ่มแจ้ง แยกประเด็นที่เป็นเหตุผลและความมุ่ง หมายที่จะทาหนังสือน้ัน การร่างให้ขึ้นต้นเร่ิมใจความท่ีเป็นเหตุก่อน ต่อไปจึงเป็นข้อความที่เป็นความ ประสงค์และข้อตกลง ถ้ามีหลายข้อให้แยกเป็นข้อ ๆ เพื่อให้ชัดเจนและเข้าใจง่าย ความใดเท้าถึงบท กฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ คาสั่ง หรือเรื่องตัวอย่าง ต้องพยายามระบุให้เพ่ือให้ชัดเจน พอที่ฝ่าย ผู้เรียนจะค้นหามาตรวจสอบได้สะดวก การร่างควรใช้ถ้อยคาที่ต้องการพูดส้ัน ๆ แต่เข้าใจง่าย พยายามใช้ คาธรรมดาท่ีมีความหมายได้หลายทาง สานวนท่ีไม่เหมาะสมสาหรับใช้เป็นสานวนหนังสือก็ไม่ควรใช้ ควร ระวังอกั ขรวธิ ี ตวั สะกดการันตแ์ ละวรรคตอนให้ถกู ต้อง ข้อสาคัญต้องระลึกถึงผู้ท่ีจะรับหนังสือเข้าใจถูกต้อง ตามความประสงคท์ ี่มหี นงั สอื ไป การร่างหนังสือโต้ตอบ จะต้องร่างตามแบบที่มีระเบียบกาหนดไว้ ชื่อเรื่องควรให้ส้ั นแต่มี ความหมายกว้าง ผู้ร่างจะต้องพิจารณาด้วยว่าหนังสือที่ร่างนั้นควรจะมีถึงใครบ้าง เป็นการประสานงาน คู่มอื ปฏบิ ัตงิ าน โรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามัญศึกษา

๓๑๑ แล้วบันทึกไว้ในร่าง การอ้างเท้าความต้องพิจารณาว่าเรื่องที่จะร่างนี้ผู้รับหนังสือทราบมาก่อนหรืออย่างไร ถ้าเคยทราบมาก่อนแล้วความตอนใดที่เป็นเหตุก็ย่อลงได้ ถ้าเป็นการตอบหนังสือที่ผู้รับมีมา ข้อความ ที่เป็นเหตุเพียงแต่อ้างถึงเร่ืองก็พอ หนังสือโต้ตอบแม้เป็นเพียงหนังสือราชการ และจะถึงผู้ใดก็ตาม ควรใชถ้ ้อยคาสุภาพ อ่อนโยน และสมกบั ฐานะของผรู้ ับ ถ้าเป็นการปฏิเสธคาขอ ก็ควรมีเหตุผลในการท่ีต้อง ปฏิเสธให้ผู้ขอเหน็ ใจ การร่างหนังสือส่ังการ เช่น ข้อบังคับ คาส่ัง ต้องร่างขึ้นตามแบบท่ีกาหนดไว้ และต้องมีข้อความ อันเปน็ เหตผุ ลเช่นเดยี วกัน การใช้คาต้องรัดกุมอย่างเปิดช่องให้ตีความได้หลายนัย ซ่ึงอาจเป็นการเข้าใจผิด ข้อความที่เป็นเหตุในคาสั่งจะเป็นประโยชน์ ๒ ประการ คือ ช่วยในการแสดงเจตนารมณ์ของการส่ังการ ให้ชัดเจน เพื่อสะดวกในการตีความเมื่อจาเป็น และกระทาให้ผู้ปฏิบัติรู้ความหมายชัดเจนช่วยให้ปฏิบัติ ให้ถูกต้อง และอาจพิจารณาแก้ไขปัญหาได้เมื่อมีอุปสรรค ก่อนร่างควรพิจารณาค้นคว้าว่ามีบทกฎหมาย ให้อานาจส่ังการไว้แล้ว ประการใด คาสั่งการต้องไม่ขัดกับบทกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับใดถ้าขัดกับคาส่ัง เก่าก็ต้องยกเลิกคาสั่งเก่าเสียก่อน ปัญหาท่ีต้องพิจารณาอีกเร่ืองหน่ึงคือคาสั่งการนั้น ผู้รับคาส่ังสามารถ ปฏบิ ตั ิงานไดแ้ ละจะได้ผลสมความมุ่งหมาย ๖.๘ การบันทกึ หนังสือ การบันทึก คือ การเขียนข้อความราชการเพื่อเสนอต่อผู้บังคับบัญชา หรือผู้บังคับบัญชาส่ังการ แก่ผใู้ ตบ้ ังคบั บัญชา หรือระหวา่ งหนว่ ยราชการเดยี วกันตดิ ต่อกนั เหตุจาเป็นที่ต้องมีการบันทึก เพ่ืออานวย ความสะดวกในการตดิ ตอ่ ประสานงานและส่งั การภายในหน่วยราชการ ๑. ประโยชนแ์ ละความจาเปน็ ๑) เพือ่ เปน็ การแบง่ เบาภาระของผู้บังคับบญั ชา ๒) เพ่ือให้ผู้บังคับบัญชาทราบความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่เฉพาะเรื่องนั้น ๆ ตลอดทั้ง ผลดีผลเสีย สาหรับเปน็ แนวความคิดในการตกลงใจ สง่ั การหรอื ลงนาม ๓) เพื่อให้ผู้บังคับบัญชาทราบกฎ ข้อบังคับ แบบธรรมเนียม อันเก่ียวข้องกับเรื่อง น้ัน ๆ ก่อนตกลงใจ ๒. หลกั การบันทกึ ๑) เรื่องน้ันเป็นหน้าท่ีโดยตรงของผู้ใด ต้องให้ผู้นั้น หน่วยนั้นบันทึกก่อนแล้วจึง บนั ทกึ ตามลาดับชั้นจนถงึ ผบู้ งั คับบญั ชาผู้มอี านาจสง่ั หรอื ตกลงใจ ๒) ข้อความท่ีบนั ทึกต้องเปน็ ความคดิ เหน็ บริสุทธ์ิถกู ตอ้ งตามระเบยี บ ข้อบังคับ กฎต่าง ๆ ๓) เปน็ ขอ้ ความส้ัน ๆ แตช่ ัดเจนพอให้ผู้บงั คบั บญั ชาเข้าใจ สามารถตกลงใจได้ ๔) อยา่ ใหค้ วามเห็นไปกา้ วก่ายงานในหน้าทขี่ องผอู้ ่นื ๕) ถา้ เป็นเรอ่ื งสาคญั ควรปรึกษาผู้ใหญก่ อ่ นแล้วจึงบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ๖) ผู้บนั ทกึ ตอ้ งรับผิดชอบในขอ้ ความทบ่ี ันทกึ เสนอนน้ั ๓. ข้อควรระวงั ในการบันทกึ ๑) พยายามอยา่ ให้กระทบกระเทือนใจระหวา่ งหนว่ ยหรอื บุคคล ๒) ตอ้ งทาตวั เป็นกลาง สิง่ ท่เี ปน็ อานาจของผบู้ ังคบั บัญชาควรใหผ้ บู้ ังคับบญั ชาวนิ ิจฉัยเอง ๓) อยา่ นาเรือ่ งส่วนตวั มาพัวพนั กบั เรอ่ื งทีบ่ นั ทึก คูม่ ือปฏบิ ตั งิ าน โรงเรยี นพระปริยัติธรรม แผนกสามญั ศึกษา

๓๑๒ ๔. ตาแหนง่ ของผู้บนั ทกึ ๑) ถ้าเป็นเร่ืองท่ีจะออกไปนอกหน่วย ไม่ว่าหน่วยเหนือ หน่วยรอง หน่วยข้างเคียง ต้องให้หัวหน้าหน่วยนั้น เป็นผู้บันทึก (ลงนาม) ส่วนความคิดเห็นท่ีเจ้าหน้าที่ช้ัน รองบันทึกไวค้ งอยู่ แตภ่ ายในหน่วยเท่านน้ั ๒) ถ้าเปน็ เรื่องทเี่ วยี นอยู่ภายในหน่วย เจ้าหน้าท่ีที่เกย่ี วขอ้ งบันทึกติดต่อโต้ตอบกันมาตาม หนา้ ท่ที เ่ี กยี่ วขอ้ ง ๕. ประเภทการบนั ทึก โดยปกตกิ ารบันทึก แบง่ ออกเป็น ๔ ประเภท คือ ๑. บันทึกย่อเรื่อง เป็นการเขียนข้อความย่อจากเร่ือง เก็บเอาแต่ประเด็นสาคัญๆมาให้สมบูรณ์ เพื่อท่ผี ู้บงั คับบญั ชาอา่ นแตเ่ ร่อื งท่ียอ่ แลว้ สามารถเข้าใจได้ โดยไม่ผดิ พลาด ๒. บันทึกรายงาน เป็นการเขียนข้อความรายงานเรื่องที่ตนปฏิบัติหรือประสบมา เพ่ือเสนอ ผู้บังคับบัญชา จะเป็นเรื่องในหน้าท่ี หรือเรื่องใดเร่ืองหน่ึงตามท่ีได้รับมอบหมายก็ได้ หรืออาจเป็นรายงาน เพ่ือประโยชน์แก่ราชการด้วยความหวังดีก็ได้ แม้จะเป็นการนอกเหนือหน้าท่ี การบันทึกรายงานควรให้ส้ัน ระบคุ าส่งั ผลการสอบสวนหรอื ผลการปฏิบัติ หรือผลของงานตามหัวข้อท่ีผู้บงั คับบัญชาตอ้ งการทราบ ๓. บันทึกความเห็น เป็นการเขียนข้อความเสนอผู้บังคับบัญชาแสดงความเห็นของเจ้าหน้าที่ เกี่ยวกับเร่ืองที่เสนอเพื่อช่วยผู้บังคับบัญชาทราบความเป็นมา ปัญหา ข้อพิจารณา ผลดี ผลเสีย โดยยกเอา หลักฐานตา่ งๆท่เี ปน็ แบบธรรมเนียมมาใหผ้ บู้ งั คับบญั ชาสามารถพิจารณาตกลงใจสั่งการได้ การทาบันทึกข้อ ความเห็นพ.ศ.๒๕๐๗ เป็นแนวทาง ความมุ่งหมายของระเบียบนี้ก็เพ่ือให้การบันทึกความเห็นของฝ่าย อานวยการของหน่วยต่างๆ มลี กั ษณะเป็นมาตรฐานเดียวกัน หวั ขอ้ ทีก่ าหนดในการบันทึกความเห็นมี ๔ หวั ขอ้ คอื ๑) ปัญหา ๒) ข้อเท็จจรงิ ๓) ข้อพจิ ารณา ๔) ข้อเสนอ การทาบนั ทกึ ความเห็น บางคร้ังเรอ่ื งเดิมอาจไม่มใี จความให้ผู้บันทึกนาเข้ามากับหัวข้อทั้ง ๔ ข้างบนนี้ ซ่ึงกรณีนี้ก็ไม่จาเป็นต้องบันทึกให้ครบทั้ง ๔ หัวข้อ และเม่ือบันทึกไปตมหัวข้อนี้จนบังเกิดความเคยชินแล้ว จะใช้เพียงหมายเลข ๑ ๒ ๓ โดยไมต่ ้องใชต้ วั หนังสือกากับกไ็ ด้ ๔. บันทึกต่อและส่ังการ เป็นการเขียนข้อความราชการติดต่อภายในหน่วยเดียวกัน หรือ ผูบ้ ังคบั บัญชาสัง่ การไปยงั ผู้ใตบ้ งั คับบญั ชาการคดั สาเนาเอกสารและแจกจา่ ย ๑. ความมงุ่ หมายในการคดั เลือกสาเนาเอกสาร ๑) เพ่อื เป็นหลกั ฐานเกบ็ ไว้ทหี่ นว่ ย ถา้ เร่ืองนน้ั จะตอ้ งสง่ กลับคืนหน่วยเดมิ หรือหน่วยต่อไป ๒) เพ่ือประโยชน์ในการส่งเรือ่ งคัดไวไ้ ปใหห้ นว่ ยรองหรือหนว่ ยอน่ื ทราบเปน็ การติดต่อ หรอื เปน็ แบบธรรมเนียม ๓) เพอ่ื ความรวดเร็วและแนน่ อนในการคดั สาเนาสง่ ให้หนว่ ยท่ีจะต้องปฏบิ ตั ทิ ราบ เช่น สาเนาคาสงั่ ตงั้ กรรมการตา่ งๆ คาสั่งย้าย คาส่งั เข้ารับราชการ คาสง่ ต่อทา้ ยเรอ่ื ง เพือ่ ให้ผเู้ กีย่ วขอ้ งปฏิบัติ คมู่ อื ปฏบิ ัตงิ าน โรงเรียนพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามัญศกึ ษา

๓๑๓ ๒. ลกั ษณะการคดั สาเนา ๑) คัดเก็บไว้เป็นหลักฐาน เชน่ แบบธรรมเนยี มตา่ งๆต้องมีลักษณะเหมอื นตัวจริง ลงช่อื ผู้พิมพ์ ผู้ทานกากบั ไว้ ๒) คัดเพื่อประกอบหลักฐาน เช่น สาเนาคาส่งั ย้ายอาจคดั เฉพาะชื่อทตี่ ้องการ สาเนา ทะเบยี นบา้ นคงคดั เหมือนตัวจริงเท่านนั้ ท่ีจาเปน็ ๓) คัดสาเนาสง่ หน่วยอ่นื เพอ่ื ทราบ เพ่ือปฏิบัติ เพอ่ื เก็บเป็นหลกั ฐานต้องคัดให้เหมือน ตัวจริงและคดั หมด โดยให้มผี ้รู ับรองสาเนา ๓. หลักการคัดสาเนา ๑) พิมพ์หรือเขียนกึ่งกลางของหน้าเอกสารว่า “สาเนา” ใช้คาว่า “ลงช่ือ” ข้างหน้านาม ของผลู้ งนามจรงิ ในเอกสารนั้น ๒) นามและนามสกุลของผู้ลงนามตัวจริง เวลาสาเนาต้องพิมพ์ให้ถูกต้องอย่าพิมพ์ผิด ๆ และอยา่ ใชค้ าว่า “อา่ นไม่ออก” งา่ ยๆ ๓) ต้องไม่เปลีย่ นแปลงข้อความจากตัวจรงิ เว้นแตค่ าสะกดทีผ่ ดิ พลาด ๔) การคัดสาเนาเอกสารราชการเพ่ือกิจกรรมของบุคคลต้องขออนุญาตจากผู้ท่ีมีอานาจ หนา้ ทก่ี อ่ นจงึ คดั ได้ ๕) การคัดสาเนาเอกสารส่ังการ ควรมีสาเนาน้ันติดเรื่องเดิม ๑ ชุด เพ่ือเป็นหลักฐาน ตรวจสอบหากเกิดการผดิ พลาดขนึ้ ๖) ตอ้ งตรวจทานให้ถกู ตอ้ งกบั ต้นฉบับ ลงชื่อผพู้ มิ พ์ ผู้ทาน และวัน เดือน ปี กากบั ไว้ ๗) ต้องมีคาว่า “สาเนาถูกต้อง” ต่อท้ายผู้ลงลายมือชื่อรับรองสาเนา และวัน เดือน ปี ให้ เปน็ ไปตามระเบยี บงานสารบรรณ ๘) การคัดเลือกเอกสารลับ ให้ปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัย แหง่ ชาติ ๔. หลักการแจกจ่าย ๑) พิจารณาแจกจ่ายให้ผู้เก่ียวข้องหรือหน่วยที่จาเป็นต้องทราบให้เพียงพอที่จะปฏิบัติ ราชการทันเวลา อย่าให้หนว่ ยอน่ื เสยี เวลาคัดสาเนา ๒) ในทานองเดยี วกันอย่าจ่ายเกินความจาเป็นจนหนว่ ยทไี่ ดร้ บั เอาไวท้ ้ิงเปน็ การสิ้นเปลือง ๓) สาเนาเอกสารลับ ถือหลกั เช่นเดียวกับการส่งเอกสารลับ ๔) บรรดาคาสั่ง ระเบียบ ประกาศ แถลงการณ์ นอกจากจะส่งหน่วยรองแล้ว ต้องส่ง สาเนาต่อผู้บังคับบัญชาโดยตรงทราบด้วย หรือคณะกรรมการต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องในการ ประชุมคร้ังนั้นๆ คมู่ อื ปฏิบัติงาน โรงเรียนพระปริยตั ิธรรม แผนกสามญั ศึกษา

๓๑๔ ตัวอย่างการจดั ทาหนงั สอื ราชการ หนังสอื ราชการ หมายถึง เอกสารท่เี ป็นหลกั ฐานในราชการ ซ่งึ เปน็ เรอ่ื งเกยี่ วกับ ๑. หนงั สือทมี่ ไี ปมาระหว่างสว่ นราชการ เชน่ กระทรวงมหาดไทยมีหนงั สอื ถึงสานักงาน ก.พ. กระทรวงศึกษาธกิ ารมีหนังสอื ถึงกรมการบนิ พาณิชย์ เปน็ ตน้ ๒. หนงั สอื ที่ส่วนราชการมีไปถึงหน่วยงานอืน่ ซงึ่ มใิ ช่สานกั งานราชการหรือไปถึงบุคคลภายนอก เชน่ กรมชลประทานมีหนงั สือถงึ นายชศู กั ด์ิ เจริญชยั กรมตรวจบัญชีสหกรณ์มีหนังสอื ถึงร้านสหกรณ์กรุงเทพ จากดั เป็นตน้ ๓. หนังสือที่หน่วยงานอ่ืนใดซ่ึงมิใช่ส่วนราชการหรือที่บุคคลภายนอกมีมาถึงส่วนราชการ เช่น นายสมชาย ชืน่ จติ มีหนงั สอื ถงึ กรมวิชาการเกษตร มลู นิธิ ๕ ธนั วามหาราช มีหนังสือถึงกระทรวงหมาดไทย เป็นตน้ ๔. เอกสารทที่ างราชการจัดทาขนึ้ เพ่ือเป็นหลักฐานในราชการ เช่น รายงานการประชุม หนังสือ รบั รอง ใบเสรจ็ รบั เงิน เปน็ ต้น ๕. เอกสารท่ีทางราชการจัดทาขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบหรือข้อบังคับ เช่น คาส่ัง ระเบียบ ขอ้ บงั คับ ประกาศ เปน็ ต้น หนังสอื ราชการตามระเบยี บสานกั นายกรัฐมนตรวี ่าดว้ ยงานสารบรรณ มี ๖ ชนดิ คือ ๑. หนงั สือภายนอก ใช้ตดิ ตอ่ ราชการท่เี ป็นแบบพิธรี ะหว่างสว่ นราชการ หรือส่วนราชการมถี งึ หนว่ ยงานอนื่ ใดซง่ึ มใิ ชส่ ว่ นราชการ หรือที่มีถงึ บคุ คลภายนอก ๒. หนงั สือภายใน ใช้ในการติดต่อราชการภายในกระทรวงทบวงกรม หรอื จงั หวัดเดยี วกัน ๓. หนงั สอื ประทบั ตรา ใชใ้ นการตดิ ต่อราชการเฉพาะกรณีที่ไมใ่ ชเ่ รื่องสาคัญ ๔. หนงั สือส่ังการ ได้แก่ คาสั่ง ระเบยี บ และขอ้ บังคับ ๕. หนงั สือประชาสัมพันธ์ ได้แก่ ประกาศ แถลงการณ์ และขา่ ว ๖. หนังสือที่ทาข้ึนหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ ไดแ้ ก่ หนงั สือรับรอง รายงานการประชุม บนั ทึกและหนงั สอื อน่ื คู่มือปฏบิ ัตงิ าน โรงเรียนพระปริยตั ิธรรม แผนกสามัญศกึ ษา

๓๑๕ หนงั สือภายนอก คือ หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธี โดยใช้กระดาษตราครุฑเป็นหนังสือติดต่อระหว่างส่วน ราชการ หรือส่วนราชการมีถึงหน่วยงานอ่ืนใดซ่ึงมิใช่ส่วนราชการ หรือท่ีมีถึงบุคคลภายนอก รวมถึง ขา้ ราชการบานาญ โครงสรา้ ง ประกอบด้วยสว่ นสาคัญ ๔ ส่วน ท.่ี ............ ตราครุฑ (ส่วนราชการเจา้ ของหนงั สอื ) หวั หนงั สือ (วนั เดอื น ปี) เร่ือง............................ เรยี น.............................. อา้ งถงึ (ถา้ ม)ี ............................ สิง่ ท่สี ่งมาด้วย (ถา้ มี).............................. เหตทุ มี่ ีหนังสอื ไป (ข้อความ)............................................................................................................................ จุดประสงค์ ............................................................................................................................................................ ทีม่ ีหนงั สือไป ........................................................... ทา้ ยหนงั สือ (ข้อความ)............................................................................................................................ .................................................................................จึง...................................................................... (คาลงทา้ ย)........................ (ลงช่อื )............................................... (พิมพ์ชอื่ เต็ม)............................ (ตาแหน่ง)............................ (ส่วนราชการเจ้าของเรอื่ ง)........... โทร. x xxxx xxxx โทรสาร x xxxx xxxx ไปรษณียอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส.์ .......... สาเนาส่ง (ถา้ ม)ี …………………… ๑. ท่ี ให้ลงรหัสตัวพยัญชนะและเลขประจาของเร่ืองตามที่กาหนดไว้ แล้วทับด้วยเลขทะเบียน หนงั สือส่ง (เลขทะเบยี นเรม่ิ ต้นทกุ ปีปฏทิ ิน) ตวั อยา่ ง - หนังสอื ของสานักบริหารกลาง กษ ๐๔๐๑/๒๔๕ - หนงั สือเวยี นทม่ี ถี งึ ผ้รู ับจานวนมาก โดยมีข้อความอยา่ งเดยี วกนั ให้เพมิ่ รหสั ตัวพยัญชนะ “ว” หนา้ เลขทะเบยี นหนงั สอื เช่น กษ ๐๔๐๑/ว ๗๗๑ - หนังสอื ของคณะกรรมการ ให้กาหนดรหัสตวั พยญั ชนะเพิม่ ขึน้ ได้ตามความจาเปน็ หรือใชท้ ี่ของหน่วยงานระดบั กองท่ีเลขาฯ คณะสงั กัด ๒. ส่วนราชการเจ้าของหนังสือ ให้ลงชื่อส่วนราชการ สถานที่ราชการ หรือคณะกรรมการซ่ึงเป็น เจ้าของหนังสือน้นั และลงทตี่ ง้ั ไว้ดว้ ย ซึง่ ส่วนราชการเจา้ ของหนังสอื ต้องสอดคลอ้ งกบั ผ้ลู งนามหนังสือ ค่มู ือปฏบิ ตั ิงาน โรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามัญศึกษา

๓๑๖ ๓. วัน เดือน ปี ให้ลงเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือน และตัวเลขของปีพุทธศักราชที่ออกหนังสือ (ไม่ต้องแสดงพยัญชนะ พ.ศ.) เช่น ๓๐ เมษายน ๒๕๕๖ ๔. เร่ือง ให้ลงเร่อื งยอ่ ที่เปน็ ใจความส้ันทีส่ ุดของหนงั สอื ฉบบั นั้น ในกรณที ี่เป็นหนังสือต่อเนื่องให้ลง เร่อื งของหนงั สอื ฉบบั เดิม ๕. คาขึ้นต้น ให้ใช้คาข้ึนต้นตามฐานะของผู้รับหนังสือตามรายการใช้คาข้ึนต้น สรรพนาม และ คาลงทา้ ย ท่กี าหนดไว้ในระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ แล้วลงตาแหน่งของผู้ท่ีหนังสือ นั้นมถี ึง หรอื ช่ือบุคคลในกรณีทมี่ ีถงึ ตวั บุคคลไม่เก่ียวกับตาแหนง่ หน้าท่ี ตัวอยา่ ง เรยี น อธิบดกี รมทีด่ นิ เรียน นายระเบียบ ประกอบกิจ ๖. อ้างถึง (ถ้ามี) ให้อ้างถึงหนังสือท่ีเคยมีติดต่อกันเฉพาะหนังสือท่ีส่วนราชการผู้รับหนังสือได้รับ มาก่อนแล้ว จะจากส่วนราชการใดก็ตาม โดยเรียงลาดับ ดังน้ี ช่ือส่วนราชการเจ้าของหนังสือ ชั้นความลับ (ถ้าม)ี ชัน้ ความเร็ว (ถ้าม)ี เลขท่ีหนงั สือ และวนั ท่ี เดือน ปี ของหนงั สือน้นั ตวั อย่าง อ้างถึง หนังสือสานักงาน ก.พ. ลับ ด่วนมาก ท่ี นร ๐๗๐๘๓๓/๑๔๒ ลงวันท่ี ๑๕ มนี าคม ๒๕๕๖ กรณเี ปน็ หนังสอื ถึงประชาชนท่มี หี นังสือมา โดยไมม่ ีเลขทห่ี นังสือ ตัวอย่าง อา้ งถงึ หนังสือของทา่ น ลงวนั ที่............................ อ้างถึง หนังสือของท่าน เรือ่ ง............................... (กรณีไมไ่ ดล้ งวนั ที่) ๗. ส่ิงท่ีส่งมาด้วย (ถ้ามี) ให้ลงชื่อส่ิงของ เอกสาร หรือบรรณสารที่ส่งไปพร้อมกับหนังสือ หากมีหลายชุดให้ระบุจานวนชุดไว้ด้วย (กรณีมีสิ่งที่ส่งมาด้วยต้ังแต่ ๒ หัวข้อขึ้นไป ในเน้ือหาของหนังสือ จะต้องบอกส่ิงทส่ี ่งมาด้วยทง้ั หมด เชน่ รายละเอียดตามสงิ่ ที่ส่งมาด้วย ๑ และ ๒) ในกรณีที่ไม่สามารถส่งไป ในซองเดียวกนั ไดใ้ ห้แจง้ ด้วยวา่ สง่ ไปโดยทางใด ตวั อย่าง กรณีเพยี งเรอ่ื งเดยี ว แสดงดังน้ี สิ่งท่สี ง่ มาด้วย รายงานการประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงาน จานวน ๕ ชุด กรณีมีเอกสารสง่ มากกวา่ ๑ เรอ่ื ง แสดงดังน้ี ส่งิ ทีส่ ่งมาด้วย ๑. แบบประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงาน จานวน ๓ ชดุ ๒. รายชอ่ื ขา้ ราชการทม่ี คี ุณสมบตั ิ จานวน ๒ ชดุ ๘. ขอ้ ความ ใหล้ งสาระสาคญั ของเรอื่ งให้ชดั เจนและเข้าใจง่าย หากมีความประสงค์หลายประการ ให้แยกเปน็ ข้อ  เหตุท่ีมีหนังสือไป เป็นข้อความที่ผู้มีหนังสือไป แจ้งเหตุที่ต้องมีหนังสือไปยังผู้รับหนังสือ ซง่ึ อาจเป็นข้อความตอนเดยี ว หรอื ๒ ตอน หรอื หลายตอนก็ได้ คู่มือปฏิบัติงาน โรงเรียนพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามัญศกึ ษา

๓๑๗  จุดประสงคท์ ่มี ีหนงั สอื ไป เปน็ ข้อความแสดงความประสงคท์ ี่มีหนังสือไปให้ผู้รับหนังสือว่า มจี ดุ ประสงคใ์ ห้ทาอะไร ตัวอยา่ ง จึงเรียนมาเพ่อื ทราบ (ผ้บู ังคับบญั ชา มีถึงผูใ้ ต้บงั คับบญั ชา) จึงเรียนมาเพอ่ื โปรดทราบ (ผู้ใต้บงั คบั บญั ชา มีหนงั สือถงึ ผ้บู ังคับบัญชา หรือในกรณีทีอ่ ยใู่ นระดับเดียวกนั หรือในกรณที ่ีให้เกยี รตผิ ู้รบั ถงึ แมจ้ ะอยู่ในระดับต่างกนั ) จึงขอเรยี นหารือมาวา่ .......... จงึ เรยี นขอความกรณุ ามาเพื่อโปรดอนเุ คราะห์ จงึ ขอกาชบั มาเพื่อจักไดร้ ะมัดระวังมใิ ห้เกดิ กรณเี ชน่ นขี้ น้ึ อีก ๙. คาลงท้าย ใหใ้ ชค้ าลงทา้ ยตามฐานะของผ้รู บั หนังสอื ตามตารางการใชค้ าข้นึ ต้น สรรพนาม และ คาลงท้าย ทีก่ าหนดไว้ในระเบยี บสานกั นายกรัฐมนตรีวา่ ดว้ ยงานสารบรรณ ๑๐. ลงช่อื ให้ลงลายมอื ช่ือเจ้าของหนงั สอื และให้พิมพช์ ่ือเต็มของเจ้าของลายมือช่อื ไวใ้ ตล้ ายมือชื่อ ๑๑. ตาแหน่ง ให้ลงตาแหน่งของเจ้าของหนังสือ (ตาแหน่งของผู้ลงลายมือช่ือต้องสอดคล้องกับ ส่วนราชการเจ้าของหนงั สือ) ๑๒. ส่วนราชการเจ้าของเรอื่ ง ให้ลงชือ่ ส่วนราชการเจา้ ของเรือ่ ง หรอื หนว่ ยงานทีอ่ อกหนังสอื  ส่วนราชการทอ่ี อกหนังสอื อยู่ระดับกระทรวงหรือทบวง ให้ลงช่ือส่วนราชการเจ้าของเรื่อง ทงั้ ระดับกรมและระดับกอง  ส่วนราชการท่ีออกหนังสืออยู่ในระดับกรมลงมา ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเร่ืองเพียง ระดบั กองหรอื หนว่ ยงานท่ีรับผิดชอบ ๑๓. โทร. ให้ลงหมายเลขโทรศพั ท์ของสว่ นราชการเจา้ ของเรื่อง ตามหนังสือสานกั นายกรัฐมนตรี หรือหนว่ ยงานทอี่ อกหนงั สือ ที่ นร ๑๓๐๕/ว ๖๐๖๙ ลว.๑๘ ก.ค.๒๕๔๔ ๑๔. โทรสาร ให้ลงหมายเลขโทรสารของสว่ นราชการ เจ้าของเรอื่ ง หรือหนว่ ยงานท่อี อกหนังสอื ต่อจากหมายเลขโทรศัพท์ เรอื่ งการระบเุ ลขหมายโทรศัพท์ โทรสาร และไปรษณยี ์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ๑๕. ไปรษณยี อ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (ถ้าม)ี ให้ระบไุ ปรษณีย์ อเิ ลก็ ทรอนิกสท์ ่ใี ช้ในการรบั ส่งขอ้ มลู ข่าวสารอิเล็กทรอนิกส์ คมู่ อื ปฏิบัติงาน โรงเรียนพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา

๓๑๘ ตัวอย่างสว่ นทา้ ยหนงั สอื (๑๒ – ๑๕) สว่ นราชการเจ้าของเรอ่ื ง สว่ นราชการเจ้าของหนังสอื กองกลาง สานักงานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ โทร xxxxxx โทรสาร x xxxx xxxx ไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนกิ ส์ onab๑@onab.go.th ส่วนราชการเจา้ ของหนังสอื ส่วนราชการเจา้ ของเร่ือง กองพุทธศาสนศกึ ษา ฝา่ ยบรหิ ารงานท่ัวไป โทร xxxxxx คณะกรรมการ............... โทรสาร x xxxx xxxx ไปรษณยี ์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ onab๒@onab.go.th สานักงานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ ฝ่าย............... (ทเี่ ปน็ เลขาฯ คณะ) โทร. x xxxx xxxx โทรสาร x xxxx xxxx ไปรษณยี ์อิเลก็ ทรอนิกส์ onab๓@onab.go.th กองพทุ ธศาสนศกึ ษา ฝา่ ยการจดั การศกึ ษา โทร. x xxxx xxxx โทรสาร x xxxx xxxx ไปรษณียอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์ onab๔@onab.go.th ๑๖. สาเนาส่ง (ถ้ามี) ในกรณีท่ีผู้ส่งจัดทาสาเนาส่งไปให้ส่วนราชการ หรือบุคคลอ่ืนทราบ และ ประสงค์จะให้ผู้รับทราบว่าได้มีสาเนาส่งไปให้ผู้ใดแล้วให้พิมพ์ชื่อเต็ม หรือชื่อย่อของส่วนราชการ หรือชื่อ บคุ คลทส่ี ง่ สาเนาไปให้ เพอื่ ใหเ้ ปน็ ที่เข้าใจระหว่างผู้ส่งและผรู้ บั ถ้าหากมีรายชือ่ ทสี่ ง่ มากให้พิมพ์ว่าส่งไปตาม รายชือ่ ทแี่ นบ และแนบรายชอื่ ไปด้วย คู่มอื ปฏบิ ัติงาน โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศึกษา

๓๑๙ รปู แบบหนงั สือภายนอก ขนาดครฑุ ชน้ั ความลับ (ถา้ ม)ี สูง ๓ ซ.ม. ชั้นความเร็ว (ถา้ มี) ๒ (สว่ นราชการเจ้าของหนังสอื ) ๓ ๑ ๑๒ บรรทัด ที่ .................๑ (วัน เดอื น ปี) ๑๒ เร่ือง ……………………………….........................………๔………๑….๑๒ บรรทัด ๑ บรรทัด ………ต…า…แ…หน…ง่…ห…ร…ือ…ช…อื่ …บ…ุคค…ล…………๕ (คาขึน้ ต้น) ๑ ๒๑อ้าบงถรงึ ร(ทถัด้ามี) ………………………………………………. ๖ ๑ ๒๑ส่ิงบทร่ีสรง่ ทมาัดด้วย (ถา้ มี) ……………………………………๗… ๑ ๒๑ บรรทัด (ข้อความ)…..……….……เห…ต…ุท…่ีม…หี …น…งั ส…ือ…ไ…ป………………….................................…………………………… ๒ ซม. ๓ ซม…….…………๑……๑๒…………บ…………รร……ท……ดั …………………………………………………………………………จ………ุด………ป………ร……ะ………ส…ง………ค………ท์ ………ี่ม………ีห………น……งั…ส………อื………ไ……ป…………………….….………………………………………………………………………………………………….………………….….…………….………………………………………………๘_๘……… ………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………..……… ………………………………………………………………………………………………..………………………………………………..…………… ๑ ๒๑ บรรทัด จงึ …………ส…ร…ุป…จ…ดุ ป…ร…ะ…ส…งค…์ท…่มี …ีห…น…ัง…ส…อื ไ…ป……………………………… ๑ ๒๑ บรรทัด (คาลงท้าย)................................ ๙ ๓ บรรทัด (ลงชอื่ )......................................... ๑๐ ๐๑๑ ๗ บรรทดั (กรณใี ช้ตรายางประทับชอื่ ผลู้ ง (พิมพ์ชือ่ เต็ม)…………..…………..…… ๑ ๑ ๑๒ บรรทัด (ตาแหนง่ )..................................... นาม) (ส่วนราชการเจา้ ของเร่อื ง)..................... ๑๒ โทร. x xxxx xxxx ๑๓ โทรสาร x xxxx xxxx ๑๔ ไปรษณีย์อิเลก็ ทรอนกิ ส.์ ............ ๑๕ สาเนาสง่ (ถา้ มี) ๑๖ คู่มือปฏบิ ัตงิ าน โรงเรยี นพระปริยตั ิธรรม แผนกสามญั ศึกษา

๓๒๐ ตัวอยา่ ง อ.ต.ส. ปฏบิ ัติราชการแทน อ.ต.ส. ลงนามรกั ษาการแทน อตส. ลบั ช้นั ความลับ (ถา้ ม)ี ด่วนทสี่ ุดตัวอกั ษร xx xxxxxx xxxx ๒ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ไมเ่ ล็กกว่า ๓๒ pt ๑ ๑๒ เบทรเรวทศดัร์ กทม. ๑๐๒๐๐ ที่ กษ .............๑... ๓ เร่อื ง ……………………………….........................………๔………๑….๑๒ บรรทดั ๑ ๒๑ (บคำรขรึ้นทตัด้น) ………ต…า…แ…หน…่ง…ห…ร…ือ…ช…ื่อ…บ…ุคค…ล…………๕ ๑ ๑๒ อบ้างรถรงึ ท(ดัถ้าม)ี ………………………………………………. ๖ ๑ ๑๒ส่ิงทบ่ีสร่งรมทาดดั ว้ ย (ถ้ำมี) ……………………………………๗… ๑ ๑๒ บรรทัด (ข้อความ)…..……….……เห…ต…ุท…่ีม…ีห…น…งั ส…ือ…ไ…ป………………….................................…………………………… ๒ ซม. ๓ ซม……. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………….………….….……….………………………………๘ ๑ ๒๑ บรรทดั ……………………จ…ดุ …ป…ระ…ส…ง…ค…์ท…ี่ม…ีหน…ัง…ส…อื …ไป……………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………..……… ………………………………………………………………………………………………..………………………………………………..…………… ๑ ๑๒ บรรทดั จงึ …………ส…ร…ปุ …จ…ุดป…ร…ะ…ส…งค…์ท…ี่ม…ีห…น…งั …ส…อื ไ…ป……………………………… ๑ ๒๑ บรรทัด ขอแสดงความนับถอื ๙ ๓ บรรทัด ๑๐ ๑๐๑ ๗ บรรทัด (กรณีใช้ตรายางประทบั ช่ือผู้ลง (.................…………..…………..……..) ๑ นาม) อธบิ ดกี รมตรวจบัญชีสหกรณ์ สานักบรหิ ารกลาง ๑๒ ๑ ๑๒ บรรทัด กรณีปฏบิ ตั ริ าชการแทน โทร. ๐ ๒๖๒8 ๕๐๐๓ ๑๓ (.......................................................) โทรสาร ๐ ๒๒8๒ ๐889 @cad.go๑.t๔h ผอู้ านวยการสานักบรหิ ารกลาง ปฏิบตั ิราชการแทน ไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์ secretary ๑๕ กรณีรกั ษากอาธรบิ แดทีกนรมตรวจบญั ชสี หกรณ์ (.......................................................) รองอธิบดกี รมตรวจบญั ชสี หกรณ์ รักษาการแทน อธิบดกี รมตรวจบัญชสี หกรณ์ คมู่ อื ปฏบิ ัตงิ าน โรงเรียนพระปริยัตธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา

๓๒๑ ตัวอยา่ ง สานัก/ศนู ยใ์ นสว่ นกลาง ลงนาม ตัวอกั ษรขนาดใหญ่กวา่ อักษรธรรมดา ลบั ใชส้ แี ดงหรือสอี นื่ ทีเ่ ห็นได้เด่นและชัดเจน ๒ สานักบรหิ ารกลาง ตัวอกั ษร กรมตรวจบัญชสี หกรณ์ ด่วนทสี่ ุดไม่เล็กกวา่ ๓๒ pt เทเวศร์ กทม. ๑๐๒๐๐ ที่ กษ ๐๔๐๑/....... ๑ เรื่อง ……………………………….........................………๔………๑….๑๒ บรรทดั xx xxxxxx xxxx ๓ ๑ ๑๒(คบาขรึน้ รตทน้ ัด) ………ต…า…แ…หน…่ง…ห…ร…ือ…ช…อื่ …บ…ุคค…ล…………๕ ๑ ๒๑อา้ บงถรึงร(ทถดั้าม)ี ………………………………………………. ๖ ๑ ๒๑สิ่งบทรส่ี ร่งมทาัดด้วย (ถา้ ม)ี ……………………………………๗… …………๓……๑……ซ……๒๑ม……. ……บ……ร……รท…………ดั …………(ข……้อ……ค……วา……ม……)……….…….……………………….………………เห………ต………ุท………ี่ม………ีห………น………งั ส………ือ………ไ………ป………………….….………………………………….…..….…..….…..….…..….…..….…..….…..….…..…...….…..….…....….…………….………………………………………………๘……… ๒ ซม. ๑ ๑๒ บรรทดั ……………………จ…ดุ …ป…ระ…ส…ง…ค…ท์ …ี่ม…หี …นัง…ส…อื …ไป……………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………..……… ………………………………………………………………………………………………..………………………………………………..…………… ๑ ๒๑ บรรทัด จึง…………ส…ร…ุป…จ…ุดป…ร…ะ…ส…งค…์ท…่มี …หี …น…งั …ส…อื ไ…ป……………………………… ๑ ๑๒ บรรทัด ขอแสดงความนบั ถือ ๙ ๓ บรรทัด ๑๐ ๑๐๑ ๗ บรรทดั (กรณใี ชต้ รายางประทบั ช่อื ผูล้ ง (................…………..…………..……..) ๑ นาม) ผู้อานวยการสานกั บริหารกลาง ฝา่ ยบริหารทว่ั ไป ๑๒ ๑ ๒๑ บรรทัด ๑๓ โทร. ๐ ๒๖๒๘ ๕๐๐๓ ๑๔ โทรสาร ๐ ๒๒๘๒ ๐๘๘๙ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนกิ ส์ [email protected] ๑๕ ค่มู ือปฏิบัตงิ าน โรงเรียนพระปรยิ ตั ิธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา

๓๒๒ ตวั อยา่ ง คณะกรรมการ (ส่วนกลาง) ลงนาม ถึงหนว่ ยงาน/บคุ คลภายนอก ตัวอักษรขนาดใหญก่ วา่ อกั ษรธรรมดา ใชส้ ีแดงหรอื สอี ื่นที่เห็นได้เดน่ และชัดเจน ตัวอกั ษร ลบั ไมเ่ ล็กกวา่ ๓๒ pt ๒ คณะกรรมการ…... ด่วนทสี่ ุด กรมตรวจบัญชสี หกรณ์ ที่ ....................... ๑ เทเวศร์ กทม. ๑๐๒๐๐ xx xxxxxx xxxx ๓ ๑๒ เร่อื ง ……………………………….....................๔....… ๑ ๑๒ บรรทดั ๑ บรรทัด ………ต…า…แ…หน…่ง…ห…ร…อื …ช…่ือ…บ…ุคค…ล…………๕ ๑๒ (คาขึ้นต้น) ๑ บรรทดั ………………………………………………. ๖ ๑๒ อ้างถงึ (ถ้าม)ี ๑ บรรทัด ……………………………………๗… สิ่งท่ีสง่ มาด้วย (ถ้าม)ี ๑ ๑๒ บรรทดั (ข้อความ)…..……….……เห…ต…ุท…ี่ม…หี …น…ังส…ือ…ไ…ป………………….................................…………………………… ๒ ซม. ๓ ซ……ม……. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….….………………………………………………………………….………….….……….………………………………๘ ๑ ๑๒ บรรทัด ……………………จ…ดุ …ป…ระ…ส…ง…ค…ท์ …่ีม…ีห…นัง…ส…อื …ไป……………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………..……… จงึ …………ส…ร…ุป…จ…ุดป…ร…ะ…ส…งค…์ท…ี่ม…หี …น…งั …ส…อื ไ…ป……………………………… ๙ ๑ ๑๒ บรรทดั ขอแสดงความนับถอื ๓ บรรทัด ๑๐ ๐๑๑ ๗ บรรทดั (กรณใี ช้ตรายางประทบั ช่ือผ้ลู ง (................…………..…………..……..) ๑ นาม) ………………………………………………. ๑ ๒๑ กลมุ่ ..(ท่ีเลขาฯ สังกดั ).............. ๑๒ บรรทดั โทร. x xxxx xxxx ๑๓ โทรสาร x xxxx xxxx ๑๔ คู่มอื ปฏบิ ตั งิ าน โรงเรียนพระปรยิ ตั ิธรรม แผนกสามัญศึกษา

๓๒๓ สง่ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ลงนาม ลบั ตัวอกั ษรขนาดใหญ่กวา่ อกั ษรธรรมดา ใช้สแี ดงหรือสอี ่ืนท่เี ห็นไดเ้ ดน่ และชัดเจน ตัวอักษร ไมเ่ ล็กกว่า ๓๒ pt ด่วนทส่ี ุด ๒ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ท่ี กษ ๐๔.../............. ๑ ถนนราชดาเนนิ นอก กทม.๑๐๒๐๐ xx xxxxxx xxxx ๑ ๒๑ บรรทดั เร่ือง ………………………………........................๔.………๔………๑….๑๒ บรรทดั ๓ ๑ ๒๑ บรรทัด ………ต…า…แ…หน…ง่…ห…ร…ือ…ช…่อื …บ…ุคค…ล…………๕ ๑๒ (คาขึ้นต้น) ๑ บรรทดั ………………………………………………. ๖ อ้างถึง (ถา้ ม)ี ๑ ๒๑ บรรทดั ……………………………………๗… สง่ิ ท่สี ง่ มาด้วย (ถ้ามี) ๑ ๒๑ บรรทัด (ข้อความ)…..……….……เห…ต…ุท…ี่ม…หี …น…ังส…ือ…ไ…ป………………….................................…………………………… ๒ ซม. ๓ ซม.…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………….………….….……….………………………………๘ ๑ ๑๒ บรรทัด ……………………จ…ุด…ป…ระ…ส…ง…ค…์ท…่ีม…ีห…นงั…ส…ือ…ไป……………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………..……… ………………………………………………………………………………………………..………………………………………………..…………… ๑ ๒๑ บรรทดั จึง…………ส…ร…ุป…จ…ดุ ป…ร…ะ…ส…งค…์ท…ีม่ …ีห…น…งั …ส…อื ไ…ป……………………………… ๑ ๒๑ บรรทดั ขอแสดงความนับถอื ๙ ๓ บรรทัด ๑๐ ๐๑๑ ๗ บรรทัด (กรณใี ชต้ รายางประทับชอื่ ผู้ลง (.................…………..…………..……..) ๑ นาม) ........................................................... กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ๑๒ ๑ ๒๑ บรรทัด สานักบรหิ ารกลาง ๑๓ ๑๔ โทร. ๐ ๒๖๒8 ๕๐๐๓ โทรสาร ๐ ๒๒8๒ ๐889 ๑๕ ไปรษณยี อ์ ิเล็กทรอนิกส์ [email protected] หมายเหต;ุ ให้ใชต้ ราสญั ลกั ษณ์โรงเรยี นของตนเองแทนตราครุฑ คู่มือปฏิบตั งิ าน โรงเรียนพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา

๓๒๔ หนังสือภายใน คือ หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธีน้อยกว่าหนังสือภายนอก เป็นหนังสือติดต่อภายใน กระทรวงทบวงกรม หรอื จงั หวัดเดียวกัน ใช้กระดาษบันทึกข้อความในการจัดทา โครงสร้าง ประกอบดว้ ยสว่ นสาคัญ ๔ ส่วน หวั หนงั สอื ส่วนราชการ........................................................................................................................ ที.่ ...........................................วันท.่ี .................................................................................... เหตทุ ี่มหี นงั สือไป เร่อื ง.................................................................................................................................... จดุ ประสงค์ (คาข้นึ ตน้ ).......................................... (ข้อความ).................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... จงึ .................................................................. ............................................................. ................................................................................................................. ท้ายหนังสอื (ลงชือ่ )...................................................... (พิมพช์ ่ือเต็ม)..................................... (ตาแหน่ง)...................................... ๑. ส่วนราชการ ให้ลงชื่อส่วนราชการเจา้ ของเรอ่ื ง หรือหน่วยงานที่ออกหนังสือโดยมีรายละเอียด พอสมควร ถ้าส่วนราชการท่ีออกหนังสืออยู่ในระดับกรมข้ึนไป ให้ลงช่ือส่วนราชการเจ้าของเรื่องทั้งระดับ กรมและกอง ถ้าส่วนราชการท่ีออกหนังสืออยู่ในระดับต่ากว่ากรมลงมา ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเร่ือง เพียงระดับกอง หรือส่วนราชการเจ้าของเรื่อง พร้อมท้ังหมายเลขโทรศัพท์ โทรสาร (ถ้ามี) และไปรษณีย์ อิเล็กทรอนกิ ส์ (ถ้าม)ี ๒. ที่ ใหล้ งรหัสตวั พยัญชนะและเลขประจาของเรอื่ ง ตามท่กี าหนดไว้ทับเลขทะเบียนหนงั สอื สง่ ตัวอย่าง - หนังสือของสานักบรหิ ารกลาง กษ ๐๔๐๑/๒๔๕ - หนงั สอื เวียนที่มีถึงผู้รับจานวนมาก โดยมีขอ้ ความอย่างเดยี วกนั ใหเ้ พม่ิ รหสั ตวั พยัญชนะ “ว” หน้าเลขทะเบียนหนงั สอื เช่น กษ ๐๔๐๑/ว ๗๗๑ - หนงั สอื ของคณะกรรมการ ใหก้ าหนดรหสั ตวั พยญั ชนะเพิม่ ขึ้นได้ตามความจาเปน็ หรอื ใชท้ ข่ี องหนว่ ยงานระดับกองทเี่ ลขาฯ คณะสังกัด ๓. วนั เดอื น ปี ใหล้ งเลขของวันที่ ชื่อเตม็ ของเดอื น และตัวเลขของปีพทุ ธศกั ราชท่ีออกหนังสอื ๔. เร่ือง ให้ลงเร่ืองย่อท่ีเป็นใจความส้ันท่ีสุดของหนังสือฉบับน้ัน ในกรณีที่เป็นหนังสือต่อเนื่อง ให้ลงเรื่องของหนงั สอื ฉบบั เดมิ ๕. คาข้ึนต้น ให้ใช้คาขึ้นต้นตามฐานะของผู้รับหนังสือตามรายการใช้คาขึ้นต้น สรรพนามและ คาลงท้ายท่ีกาหนด แล้วลงตาแหน่งของผู้ที่หนังสือน้ันมีถึง หรือช่ือบุคคลในกรณีท่ีมีถึงตัวบุคคลไม่เกี่ยวกับ ตาแหน่งหน้าที่ คมู่ ือปฏบิ ตั งิ าน โรงเรียนพระปริยัตธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา

๓๒๕ ๖. ข้อความ ให้ลงสาระสาคัญของเร่ืองให้ชัดเจนและเข้าใจง่าย หากมีความประสงค์หลาย ประการ ใหแ้ ยกเป็นขอ้ ๆ ในกรณีที่มีการอ้างถึงหนังสือที่เคยมีติดต่อกันหรือมีส่ิงท่ีส่งมาด้วย ให้ระบุไว้ในข้อ นี้ ๗. ลงชอ่ื ใหล้ งลายมือช่อื เจ้าของหนังสือ และใหพ้ ิมพ์ช่ือเตม็ ของเจา้ ของลายมือชื่อไวใ้ ตล้ ายมอื ชอ่ื ๘. ตาแหน่ง ให้ลงตาแหน่งของเจ้าของหนังสือ ในกรณีที่กระทรวงทบวงกรมหรือจังหวัดใด ประสงคจ์ ะกาหนดแบบการเขียนโดยเฉพาะ เพอื่ ใช้ตามความเหมาะสมกใ็ ห้กระทาได้ รูปแบบหนงั สือภายใน ขนาด สงู ๑.๕ ซ.ม. ชัน้ ความลับ (ถา้ ม)ี ตวั หนา ๒๙ pt ตรา ส่วนร…ร…. ………ช……้ัน…ค…ว…า…ม……เร…ว็ ……(…ถ…า้ …ม…ี)……๑…………………………บ…นั …ท…กึ ข…อ้…ค…ว…าม…………………………………..………… เทร่ีื่อ…ง………………………………………………………………………………………………………..…………๔๒………...….ว…นั ท……่ี…………..…………………….………………………………………………………………………………………………………….…….…๓… ๑ ๒๑ (คบารขรนึ้ ทตดั้น) .........................๕................. ๑ ๑๒...…บ…ร…รท…ดั…………………(ข…้อ.ค…ว…าม…)……………………………………๖…………………………………………เห……ต……ุท……่ีม……หี ……น……ังส……อื……ไ……ป………………………………………………….……………………………………………..……… …...………………….………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………….………………………………………………………………………………………………….. ๑ ๑๒ บรรทดั ...…………………………………….…………………………………………………………………………………………….. ………………….………………………………………………………จดุ…ป…ร…ะ…ส…งค…ท์ …ี่ม…หี …น…งั …สือ…ไ…ป……………..….. ๓ บรรทดั (ลงชือ่ ).............................. ๗ (พมิ พช์ ือ่ เตม็ )..................... ๘ (ตาแหนง่ )...................... ค่มู อื ปฏิบัติงาน โรงเรียนพระปรยิ ตั ิธรรม แผนกสามญั ศึกษา

๓๒๖ ตวั อยา่ ง อ.ต.ส. หรอื ปฏบิ ัตริ าชการแทน อ.ต.ส. หรือ รักษาการแทน อตส. ลงนาม ชัน้ ความลบั (ถา้ ม)ี ด่วนทส่ี ุด ลบัตวั อกั ษร ไมเ่ ล็กกว่า ๓๒ pt ๑ บันทกึ ขอ้ ความ สว่ นราชการ กรมตรวจบญั ชีสหกรณ์ สานักบรหิ ารกลาง โทร. ๐ ๒๖๒๘ ๕๐๐๓ โทรสาร ๐ ๒๒๘๒ ๐๘๘๙ ที่ กษ ๐๔๐๑/ ๒ วันที่ สิงหาคม ๒๕๕๖ .. เรอื่ ง …………………………………………………………๔………………..…………………………………………………………………๓…… ๑เร๒๑ยี นบอรธรบิทดัดีกรมส่งเสรมิ สหกรณ์ ๕ ๑ .๒๑..……บ…ร…ร…ท…ดั ……………(ข…อ้ .ค…ว…าม…)……………………………………๖…………………………………………เห……ต……ุท……ี่ม……ีห……น……ังส……อื……ไ……ป………………………………………………….……………………………………………..……… …...………………….………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………….………………………………………………………………………………………………….. ๑ ๑๒ บรรทดั ...…………………………………….…………………………………………………………………………………………….. ………………….………………………………………………………จดุ…ป…ร…ะ…ส…งค…ท์ …ี่ม…ีห…น…ัง…สือ…ไ…ป……………..….. ๓ บรรทัด (..............................................) ๗ อธบิ ดีกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ๘ กรณีปฏิบัตริ าชการแทน (.......................................................) ผอู้ านวยการสานักบรหิ ารกลาง ปฏิบตั ริ าชการแทน อธิบดกี รมตรวจบญั ชสี หกรณ์ กรณีรกั ษาการแทน (.......................................................) รองอธบิ ดกี รมตรวจบญั ชสี หกรณ์ รกั ษาการแทน อธบิ ดกี รมตรวจบัญชสี หกรณ์ คู่มือปฏิบัติงาน โรงเรียนพระปรยิ ตั ิธรรม แผนกสามญั ศึกษา

๓๒๗ ตัวอยา่ ง ผอ.สานัก ลงนาม ถึงหนว่ ยงานภายนอก ในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ด่วนทสี่ ุด ตัวอกั ษรขนาดใหญ่กวา่ อักษรธรรมดา ใช้สแี ดงหรอื สีอื่นทเี่ ห็นไดเ้ ดน่ และชดั เจน ลบั ๑ บนั ทกึ ขอ้ ความ ส่วนราชการ สานักบรหิ ารกลาง กรมตรวจบัญชสี หกรณ์ โทร. ๐ ๒๖๒๘ ๕๐๐๓ โทรสาร ๐ ๒๒๘๒ ๐๘๘๙ ท่ี กษ ๐๔๐๑/ ๒ วนั ที่ สงิ หาคม ๒๕๕๖ .. ๑เเรร๑๒ืีอย่ นงบ…อร…ธร…บิทด…ดั กี …ร…มส…่ง…เส…ร…มิ ส…ห…ก…รณ……์ ……………๔๕……………………..……………………………………………………………………๓… ๑..๑๒.……บ…ร…ร…ท…ดั ……………(ข…อ้ .ค…ว…าม…)……………………………………๖…………………………………………เห……ต……ุท……ี่ม……ีห……น……งั ส……อื……ไ……ป………………………………………………….………………………………………………………..… …...………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………….. ๑ ๒๑ บรรทัด ...…………………………………….…………………………………………………………………………………………….. ………………….………………………………………………………จุด…ป…ร…ะ…ส…งค…์ท…่ีม…หี …น…ัง…สอื…ไ…ป………………………………………………..….. ๓ บรรทดั ๗ ๘ (..............................................) ผูอ้ านวยการสานักบรหิ ารกลาง คมู่ อื ปฏิบัติงาน โรงเรยี นพระปริยตั ิธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา

๓๒๘ ตวั อย่าง ผอ.สานกั ลงนาม ถงึ หน่วยงาน ในสงั กัดกรมตรวจบัญชสี หกรณ์ ด่วนทสี่ ุด ลบั ๑ บันทกึ ข้อความ ส่วนราชการ สานักบริหารกลาง ฝา่ ยบรหิ ารทั่วไป โทร. ๐ ๒๖๒๘ ๕๐๐๓ โทรสาร ๐ ๒๒๘๒ ๐๘๘๙ . เทรี่ื่อกงษ…๐…๔…๐…๑…/ ……………………………………๒……………วัน…ท…่ี ……..……ส…ิงห…า…ค…ม…๒…๕…๕…๖…………………………………..……๓…… ๑เร๒๑ียน บผรอู้ ราทนวัดยการสานักงานตรวจบญั ชสี ห๔กรณท์ ่ี ๑ ๕ กลุ่ม/ฝา่ ยท่ีเปน็ เจ้าของเร่อื ง ๑..๑๒.……บ…ร…ร…ท…ดั ……………(ข…้อ.ค…ว…าม…)……………………………………๖…………………………………………เห……ต……ุท……ี่ม……หี ……น……ังส……อื……ไ……ป………………………………………………….……………………………………………..……… …...………………….………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………….………………………………………………………………………………………………….. ๑ ๒๑ บรรทดั ...…………………………………….…………………………………………………………………………………………….. ………………….………………………………………………………จุด…ป…ร…ะ…ส…งค…์ท…่ีม…หี …น…ัง…สอื…ไ…ป……………..….. ๓ บรรทัด (..............................................) ๗ ผู้อานวยการสานกั บรหิ ารกลาง ๘ ค่มู อื ปฏบิ ตั ิงาน โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา

๓๒๙ ตวั อยา่ ง ผอ.กลุ่ม/หวั หนา้ ฝ่าย ลงนาม บันทกึ ข้อความ ๑ ส่วนราชการ กลุ่มบริหารงานคลัง สานักนักบริหารกลาง โทร. ๐ ๒๖๒๘ ๕๗๕๐ โทรสาร ๐ ๒๒๘๒ ๒๖๕๑. ที่ กษ ๐๔๐๑.๓/ ๒ วนั ท่ี สงิ หาคม ๒๕๕๖ ๓ เร่อื ง ๑…ผ๑๒…ู้อา…บน…รวร…ยทก…ดั า…ร…สา…น…กั …งา…น…บ…รหิ…า…ร…ก๔ล…า…ง………๕………………..……………………………………………………… เรยี น ๑ ๒๑ บรรทดั (ข้อความ)…………๖………………เห…ตุท…่ีม…หี น…งั …สือ…ไป…………………………………………….………………………… …… ...……………………………….………………………………………………………………………………………………………………… …….. …...………………….…………………………………………………………………………………………………………………………… …….. ……………………………………………………….…………………………………………………………………………………………… ๑…๑๒…บ..รรทัด …….. ...………………………………จดุ…ป…ระ.…สง…ค์ท…ี่ม…ีห…นัง…สือ…ไป…………………………………………………………………… ………………….………………………………………………………………………………………………………..….. ๓ บรรทดั (..............................................) ๗ ผอู้ านวยการกลุ่มบริหารงานคลงั ๘ ๘ ๘ ข ข ๘ ๘ คูม่ อื ปฏิบตั ิงาน โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา

๓๓๐ ตวั อยา่ ง คณะกรรมการ ลงนาม (ถึงภายในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์) บนั ทึกขอ้ ความ ส่วนราชการ คณะ…..........๒........................................ โทร. ..................... โทรสาร ..๓.....................๑.. .ที่ ๔ วันท่ี สิงหาคม ๒๕๕๖ เร๑ือ่ ๑๒ง …บร…รท…ัด………………………………………………………………..…………………………………………………… เรยี น ................................................. ๕ ๑ ๑๒ บรรทดั (ขอ้ ความ)…………๖………………เห…ตทุ…่ีม…หี …นงั…สือ…ไ…ป ………………………………………….………………………… ...……………………………….………………………………………………………………………………………………………………… …...………………….…………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………….…………………………………………………………………………………………… …๑…๒๑.. บรรทัด ………………….….…..………………………………………………………………จดุ……ป……ระ.……ส…ง…ค…ท์…ี่ม……หี …น……ัง…ส…อื…ไ…ป………………………………………………………………………………….….……..…………………… ๓ บรรทัด (..............................................) ๗ ..................................................... ๘ ประธานคณะ............................. หมายเหตุ ที่หนังสอื ๒ ให้กาหนดรหัสพยัญชนะเพ่ิมขึน้ ตามความจาเปน็ หรือใชท้ ข่ี องหน่วยงาน ระดับกองท่ีเลขาคณะสงั กดั อยู่ ให้ใชต้ ราสัญลักษณ์โรงเรียนของตนเองแทนตราครุฑ ค่มู ือปฏบิ ัติงาน โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา

๓๓๑ หนังสอื ประทับตรา คือ หนังสือท่ีใช้กระดาษตราครุฑจัดทา โดยประทับตราแทนการลงช่ือของ หัวหน้าส่วนราชการ ระดับกรมข้ึนไป โดยให้หัวหน้าส่วนราชการระดับกอง หรือผู้ท่ีได้รับมอบหมายจากหัวหน้าส่วนราชการ ระดับกรมขึ้นไป เป็นผู้รับผิดชอบลงชื่อย่อกากับตราหนังสือประทับตราให้ใช้ได้ทั้งระหว่างส่วนราชการกับ สว่ นราชการ และระหวา่ งสว่ นราชการกับบคุ คลภายนอกเฉพาะกรณที ี่ไมใ่ ชเ่ ร่ืองสาคัญ ไดแ้ ก่ ๑. การขอรายละเอียดเพ่ิมเตมิ ๒. การสง่ สาเนาหนังสือ สงิ่ ของ เอกสาร หรอื บรรณสาร ๓. การตอบรบั ทราบทีไ่ มเ่ ก่ียวกบั ราชการสาคญั หรือการเงิน ๔. การแจ้งผลงานที่ได้ดาเนนิ การไปแลว้ ใหส้ ว่ นราชการที่เกี่ยวข้องทราบ ๕. การเตือนเรอ่ื งที่คา้ ง ๖. เรื่องซง่ึ หวั หนา้ สว่ นราชการระดบั กรมขนึ้ ไปกาหนดโดยทาเป็นคาสง่ั ใหใ้ ชห้ นงั สือประทบั ตรา โครงสร้าง ประกอบดว้ ยสว่ นสาคัญ ๓ สว่ น ตราครุฑ หวั หนังสอื ท.่ี ............ ถึง............................ เหตุและจุดประสงค์ (ข้อความ)..................................................................................................................... ท่ีมีหนังสือไป ..................................................................................................................................................... .............. ท้ายหนังสอื ..................................................................................................................................................... ....... ................................................................(.ส..่ว...น..ร..า..ช..ก...า..ร..เ.จ..า้..ข...อ..ง..ห..น...ัง..ส..ือ...)........................................ ....... ตราชือ่ ส่วนราชการ (วนั เดอื น ปี) (สว่ นราชการเจ้าของเรื่อง)........... โทร. x xxxx xxxx โทรสาร x xxxx xxxx ไปรษณียอ์ ิเล็กทรอนิกส์........... ๑. ท่ี ใหล้ งรหสั ตัวพยัญชนะและเลขประจาของเจ้าของเรอ่ื ง ตามท่กี าหนดไว้ ๒. ถึง ให้ลงชอ่ื ส่วนราชการ หนว่ ยงาน หรือบุคคลท่ีหนังสือนั้นมีถึง เช่น ถึง กรมพัฒนาที่ดิน, นายขจร เพียร ทา ๓. ข้อความ ใหล้ งสาระสาคัญของเร่อื งให้ชดั เจนและเขา้ ใจง่าย ๔. ชื่อส่วนราชการท่สี ง่ หนังสือออก ให้ลงชอื่ สว่ นราชการท่สี ง่ หนงั สอื ออก ๕. ตราชื่อส่วนราชการ ให้ประทับตราช่ือส่วนราชการด้วยหมึกแดง และให้ผู้รับผิดชอบลงลายมือ ชือ่ ยอ่ กากับตรา ๖. วนั เดือน ปี ให้ลงตัวเลขของวันท่ี ช่ือเต็มของเดอื นและตวั เลขของปพี ทุ ธศกั ราช ทอี่ อกหนังสือ ๗. สว่ นราชการเจา้ ของเรื่อง ให้ลงชอื่ สว่ นราชการเจ้าของเรือ่ ง หรอื หนว่ ยงานที่ออกหนงั สือ คมู่ อื ปฏิบตั ิงาน โรงเรยี นพระปริยัติธรรม แผนกสามญั ศึกษา

๓๓๒ ๘. โทร. หรือท่ีต้ัง ให้ลงหมายเลขโทรศัพท์ของส่วนราชการเจ้าของเรื่อง และหมายเลขภายในตู้สาขา (ถา้ ม)ี ในกรณีที่ไม่มีโทรศัพท์ ใหล้ งชื่อทีต่ ง้ั ของสว่ นราชการเจ้าของเรือ่ งโดยใหล้ งตาบลท่ีอยู่ตามความจาเป็น และแขวงไปรษณีย์ (ถ้าม)ี ๙. ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (ถ้ามี) ให้ระบุไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการรับส่งข้อมูลข่าวสาร อิเล็กทรอนกิ ส์ รูปแบบหนงั สือประทับตรา ชน้ั ความลับ (ถา้ ม)ี ช้ันความเรว็ (ถา้ มี) ๒ ซม. ๑ถทงึ ่ี ๑๒…..….บ......ร...ร....ท......ดั........................…………… ๑ ๑๒ บรรทัด (ข้อความ)…..……….……………………………………………........................................……………………………… ………………………………………………………………เห…ต…ุแ…ล…ะจ…ุด…ป…ร…ะ…ส…งค…์ …..………………………………………….………………… ………………๓…………ซ……ม.………………………………………………………………………………………………ท……ีม่ ……หี ……นงั……ส……ือ……ไป………………………………...……………………………………………………………. ๓ บรรทดั ๓ บรรทัด (ส่วนราชการเจ้าของเร่ือง)....... (สว่ นราชการเจา้ ของหนังสอื ) โทร. x xxxx xxxx (วนั เดือน ป)ี โทรสาร x xxxx xxxx ไปรษณียอ์ ิเล็กทรอนกิ ส.์ ............ ผรู้ บั ผิดชอบลงลายมือชือ่ ย่อกากบั ตรา (ในบรเิ วณจุดไหนก็ได้) เส้นผา่ ศนู ย์กลางวงนอก ๔.๕ ซ.ม. เส้นผา่ ศนู ย์กลางวงนอก ๓.๕ ซ.ม. ค่มู อื ปฏบิ ัติงาน โรงเรียนพระปริยัตธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา

๓๓๓ ตวั อักษร ตวั อย่างหนังสือประทับตรา ไม่เล็กกวา่ ๓๒ pt ชนั้ ความลับ (ถ้าม)ี ลบั ด่วนทส่ี ุด ท่ี กษ ๐๔๐๑/๑๑๑ ถึง สานกั งาน ก.พ. ตามหนังสือสานักงาน ก.พ. ที่ นร ๐๖๐๑/๑๔๗๕ ลงวันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๖ ขอให้ส่ง ข้อมูลเพิม่ เติมเกย่ี วกบั การย้ายข้าราชการ รายนายสมชาติ ไทยนิยม นน้ั กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ จึงขอส่งสาเนาคาสั่งกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ท่ี ๑๗๔/๒๕๕๖ ลง วนั ที่ ๙ สงิ หาคม ๒๕๕๖ เรื่อง การย้ายขา้ ราชการ รายดังกล่าวมาเพ่ือเป็นขอ้ มลู เพ่มิ เตมิ ต่อไป กรมตรวจบญั ชสี หกรณ์ สงิ หาคม ๒๕๕๖ สานกั บรหิ ารกลาง โทร. ๐ ๒๖๒๘ ๕๒๔๐ – ๕๙ ตอ่ ๒๑๐๓ โทรสาร ๐ ๒๒๘๒ ๐๘๘๙ ไปรษณียอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์ [email protected] หมายเหตุ ให้ใชต้ ราสัญลกั ษณโ์ รงเรียนของตนเองแทนตราครุฑ คูม่ อื ปฏิบตั ิงาน โรงเรียนพระปรยิ ตั ธิ รรม แผนกสามัญศึกษา

๓๓๔ หนังสอื สง่ั การ หนังสอื สง่ั การ มี ๓ ชนดิ ได้แก่ คาส่งั ระเบียบ และขอ้ บงั คับ ใชก้ ระดาษตราครุฑ และใหจ้ ัดทา  คาส่ัง คอื บรรดาขอ้ ความทผ่ี ู้บังคับบญั ชาสัง่ การให้ปฏบิ ตั ิโดยชอบดว้ ยกฎหมาย ๑. คาสงั่ ใหล้ งชอ่ื สว่ นราชการ หรือตาแหนง่ ของผูม้ ีอานาจทอี่ อกคาสั่ง ๒. ที่ ให้ลงเลขที่ท่ีออกคาส่ัง โดยเร่ิมฉบับแรกจากเลข ๑ เรียงเป็นลาดับไปจนสิ้นปีปฏิทินทับเลขปี พทุ ธศักราช ทีอ่ อกคาส่งั เช่น ๓/๒๕๕๖ ๓. เรอ่ื ง ให้ลงช่ือเรือ่ งทอ่ี อกคาสงั่ ๔. ข้อความ ให้อ้างเหตุที่ออกคาสั่ง และอ้างถึงอานาจที่ให้ออกคาส่ัง (ถ้ามี) ไว้ด้วย แล้วจึงลง ขอ้ ความทสี่ ่งั และวนั ใช้บังคับ ๕. สัง่ ณ วนั ที่ ให้ลงตวั เลขของวนั ที่ ข่ือเต็มของเดอื น และตัวเลขของปีพุทธศักราชที่ออกคาสัง่ ตัวอยา่ ง สง่ั ณ วันท่ี ๑๙ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ๖. ลงชอ่ื ให้ลงลายมอื ช่อื ผอู้ อกคาส่งั และพมิ พ์ชือ่ เต็มของเจ้าของลายมือชอ่ื ไวใ้ ต้ลายมอื ช่ือ ๗. ตาแหนง่ ให้ลงตาแหน่งของผู้ออกคาส่ัง  ระเบยี บ คือ บรรดาขอ้ ความท่ีผู้มีอานาจหน้าท่ีได้วางไว้ โดยจะอาศัยอานาจของกฎหมายหรือไม่ก็ได้ เพอ่ื ถอื เปน็ หลกั ปฏิบตั งิ านเป็นการประจา ๑. ระเบียบ ให้ลงชอื่ ส่วนราชการทีอ่ อกระเบียบ ๒. วา่ ด้วย ใหล้ งช่อื ของระเบียบ ๓. ฉบับท่ี ถ้าเป็นระเบียบที่กล่าวถึงเป็นคร้ังแรกในเร่ืองนั้น ไม่ต้องลงว่าเป็นฉบับที่เท่าใด แต่ถ้า เปน็ ระเบยี บเรือ่ งเดียวกันทม่ี ีการแก้ไขเพิ่มเตมิ ใหล้ งเป็น ฉบับท่ี ๒ และทถ่ี ดั ๆ ไปตามลาดบั ๔. พ.ศ. ให้ลงตัวเลขของปีพุทธศักราชที่ออกระเบยี บ ๕. ข้อความ ให้อ้างเหตุผลโดยย่อ เพื่อแสดงถึงความมุ่งหมายท่ีต้องออกระเบียบ และอ้างถึง กฎหมาย ที่ให้อานาจออกระเบียบ (ถา้ มี) ๖. ข้อ ให้เรยี งขอ้ ความที่จะใชเ้ ป็นระเบยี บเป็นข้อ ๆ โดยให้ข้อ ๑ เป็นช่ือระเบียบ ข้อ ๒ เป็นวันใช้ บังคบั กาหนดว่าให้ใช้บงั คับตง้ั แตเ่ ม่อื ใด และขอ้ สุดท้ายเป็นข้อผู้รักษาการ ระเบียบใดถ้ามีมากข้อหรือหลาย เรื่อง จะแบง่ เป็นหมวดก็ได้ โดยให้ย้ายข้อผูร้ ักษาการไปเป็นข้อสุดทา้ ยก่อนทจี่ ะขึน้ หมวด ๑ ๗. ประกาศ ณ วันที่ ให้ลงตัวเลขของวันที่ ช่ือเต็มของเดือน และตัวเลขของปีพุทธศักราชที่ออก ระเบยี บ ๘. ลงชื่อ ใหล้ งลายมือช่ือผู้ออกระเบียบ และพิมพช์ อ่ื เต็มของเจ้าของลายมือช่อื ไว้ใตล้ ายมือชื่อ ๙. ตาแหน่ง ให้ลงตาแหน่งของผูอ้ อกระเบยี บ  ข้อบังคับ คือ บรรดาข้อความท่ีผู้มีอานาจหน้าที่กาหนดให้ใช้โดยอาศัยอานาจของกฎหมายท่ี บัญญัติให้กระทาได้ ใช้กระดาษตราครุฑ และให้จัดทาตามแบบท่ี ๖ ท้ายระเบียบ โดยกรอกรายละเอียด ดงั นี้ ๑. ข้อบงั คบั ให้ลงชือ่ ส่วนราชการที่ออกขอ้ บังคบั ๒. วา่ ด้วย ใหล้ งช่ือของขอ้ บังคับ คู่มอื ปฏบิ ัตงิ าน โรงเรียนพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา

๓๓๕ ๓. ฉบับที่ ถ้าเป็นข้อบังคับที่กล่าวถึงเป็นคร้ังแรกในเร่ืองน้ัน ไม่ต้องลงว่าเป็นฉบับท่ีเท่าใด แต่ถ้า เป็นขอ้ บงั คับเรอ่ื งเดียวกนั ท่มี กี ารแก้ไขเพ่ิมเตมิ ให้ลงเป็นฉบบั ที่ ๒ และทถี่ ดั ๆ ไปตามลาดบั ๔. พ.ศ. ใหล้ งตัวเลขของปพี ุทธศกั ราชทอ่ี อกขอ้ บังคับ ๕. ข้อความ ให้อ้างเหตุผลโดยย่อเพ่ือแสดงถึงความมุ่งหมายท่ีต้องออกข้อบังคับและอ้างถึง กฎหมายทใ่ี หอ้ านาจออกข้อบงั คับ ๖. ข้อ ให้เรียงข้อความที่จะใช้บังคับเป็นข้อ ๆ โดยให้ ข้อ ๑ เป็นชื่อข้อบังคับ ข้อ ๒ เป็นวันใช้ บังคับกาหนดว่าให้ใช้บังคับตั้งแต่เมื่อใด และข้อสุดท้ายเป็นข้อผู้รักษาการ ข้อบังคับใดถ้ามีมากข้อหรือหลาย เร่ืองจะแบ่งเปน็ หมวดกไ็ ด้ โดยใหย้ ้ายขอ้ ผรู้ กั ษาการไปเป็นข้อสดุ ทา้ ยก่อนท่จี ะขนึ้ หมวด ๑ ๗. ประกาศ ณ วันท่ี ให้ลงตัวเลขของวันท่ี ชื่อเต็มของเดือน และตัวเลขของปีพุทธศักราช ที่ออก ข้อบงั คบั ๘. ลงชอ่ื ใหล้ งลายมือชอ่ื ผอู้ อกข้อบังคับ และพมิ พ์ชื่อเตม็ ของเจา้ ของลายมือชือ่ ไว้ใต้ลายมือชือ่ ๙. ตาแหนง่ ใหล้ งตาแหนง่ ของผู้ออกขอ้ บงั คบั รูปแบบคาส่งั คาส่ัง………………………………………… ๑ ที่ ............../................. ๒ เร่ือง ........................................................... ๓ (ข้อความ)…..……….…………๔…………………………………........................................……………………… ………………………………………………………………………………………………..………………………………………….………… ……………………………………………………………………………………………………..……………………………………………… ………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ทั้งนี้ ตัง้ แต่.................................................................. สง่ั ณ วันท่.ี .............................พ.ศ. ........ ๕ (................................................) ๖ ................................................. ๗ พมิ พ์ช่ือเตม็ ตวั อยา่ งคาส่งั กรมตรวจบัญชสี หกรณ์ ตาแหนง่ ค่มู อื ปฏบิ ัตงิ าน โรงเรยี นพระปริยตั ิธรรม แผนกสามัญศึกษา

๓๓๖ คาสั่งกรมตรวจบัญชสี หกรณ์ ๑ ที่ ............../................. ๒ เรอื่ ง ........................................................... ๓ (ข้อความ)…..……….…………๔…………………………………........................................……………………… …………………………๓……ซ……ม.…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………....…………………………………………………………………………………….…………๒……ซ…ม…. ………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ๑ ๑๒ บรรทัด ทั้งน้ี ตั้งแต.่ ................................................................. ๑ ๑๒ บรรทดั ส่ัง ณ วนั ท.่ี .............................พ.ศ. ........ ๕ ๓ (................................................) ๖ บรรทัด ................................................. ๗ พมิ พ์ช่อื เตม็ ตาแหนง่ คู่มือปฏิบตั ิงาน โรงเรียนพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามัญศกึ ษา

๓๓๗ ตัวอย่างคาสั่งกระทรวงเกษตร คาส่ังกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๑ ท่ี ............../................. ๒ เรอ่ื ง ........................................................... ๓ (ขอ้ ความ)…..……….…………๔…………………………………........................................………………………. ๓ ซม…….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………....……………………………………………………………………………………๒.………ซ…ม……. …… ………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ๑ ๒๑ บรรทดั ทั้งน้ี ตั้งแต.่ ................................................................. ๑ ๑๒ บรรทดั สง่ั ณ วันท่.ี ...............................พ.ศ. .............. ๕ ๓ บรรทัด (................................................) ๖ ........................................... ๗ หมายเหตุ กรณเี ป็นคาสั่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ท่ีกรมจดั ทาสง่ ให้กระทรวง ลงนาม ใหใ้ ช้ตราสญั ลักษณ์โรงเรียนของตนเองแทนตราครฑุ คู่มือปฏบิ ัตงิ าน โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา

๓๓๘ หนงั สือประชาสัมพนั ธ์ หนงั สือประชาสัมพันธม์ ี ๓ ชนดิ ได้แก่ ประกาศ แถลงการณ์ และขา่ ว ใช้กระดาษตราครุฑในการจัดทา  ประกาศ คอื บรรดาข้อความท่ที างราชการประกาศหรอื ช้ีแจงให้ทราบ หรือแนะแนวทางปฏบิ ัติ ๑. ประกาศ ให้ลงช่ือสว่ นราชการทีอ่ อกประกาศ ๒. เรอ่ื ง ใหล้ งชื่อเรอ่ื งที่ประกาศ ๓. ข้อความ ให้อา้ งเหตุผลท่ตี ้องออกประกาศและข้อความท่ปี ระกาศ ๔. ประกาศ ณ วันที่ ให้ลงตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือนและตัวเลขของปี พุทธศักราชที่ออก ประกาศ ๕. ลงชอ่ื ให้ลงลายมอื ชอื่ ออกประกาศ และพมิ พ์ชอ่ื เต็มของเจ้าของลายมือชอ่ื ไว้ใตล้ ายมือชอ่ื ๖. ตาแหน่ง ให้ลงตาแหน่งของผู้ออกประกาศในกรณีท่ีกฎหมายกาหนดให้ทาเป็นแจ้งความให้ เปลยี่ นคาวา่ ประกาศ เปน็ แจ้งความ  แถลงการณ์ คือ บรรดาข้อความที่ทางราชการแถลงเพ่ือทาความเข้าใจในกิจการของทางราชการ หรือเหตกุ ารณห์ รอื กรณีใด ๆ ให้ทราบชดั เจนโดยท่ัวกนั ๑. แถลงการณ์ ใหล้ งช่ือส่วนราชการท่ีออกแถลงการณ์ ๒. เร่อื ง ใหล้ งช่อื เร่ืองทอ่ี อกแถลงการณ์ ๓. ฉบับท่ี ใช้ในกรณีท่ีจะต้องออกแถลงการณ์หลายฉบับในเรื่องเดียวที่ต่อเน่ืองกันให้ลงฉบับท่ีเรียง ตามลาดบั ไวด้ ว้ ย ๔. ข้อความ ใหอ้ า้ งเหตผุ ลท่ตี ้องออกแถลงการณแ์ ละขอ้ ความที่แถลงการณ์ ๕. ส่วนราชการทอี่ อกแถลงการณ์ ให้ลงชื่อสว่ นราชการทีอ่ อกแถลงการณ์ ๖. วัน เดือน ปี ให้ลงตัวเลขของวันท่ี ชื่อเต็มของเดือน และตัวเลขของปีพุทธศักราชที่ออก แถลงการณ์  ข่าว คือ บรรดาข้อความทท่ี างราชการเหน็ สมควรเผยแพร่ใหท้ ราบ ๑. ขา่ ว ใหล้ งชื่อสว่ นราชการทอี่ อกขา่ ว ๒. เรอื่ ง ให้ลงชื่อเรอ่ื งทอี่ อกขา่ ว ๓. ฉบับท่ี ใช้ในกรณีท่ีจะต้องออกข่าวหลายฉบับในเร่ืองเดียวท่ีต่อเน่ืองกัน ให้ลงฉบับท่ีเรียงตาม ลาดับไวด้ ว้ ย ๔. ขอ้ ความ ใหล้ งรายละเอียดเกย่ี วกบั เร่ืองของข่าว ๕. สว่ นราชการที่ออกขา่ ว ให้ลงช่ือสว่ นราชการทอี่ อกข่าว ๖. วัน เดือน ปี ใหล้ งตัวเลขของวนั ท่ี ช่อื เตม็ ของเดือน และตวั เลขของปีพุทธศกั ราชท่อี อกข่าว คู่มือปฏิบัตงิ าน โรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามัญศึกษา

๓๓๙ รูปแบบประกาศ ประกาศ………………………………………… ๑ เรอื่ ง ........................................................... ๒ ……………………(ข…อ้ ค…ว…า…ม)………..………………….…………………………………………………………………………………………..….......…...…...…...…...…...๓…...…...…...…...…...…...………………………….…………………… ๓ ซ…ม.……………………………………………………………………………………………..…………………………………………………๒…ซม. ………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ๑ ๒๑ บรรทดั ประกาศ ณ วนั ที.่ ...............................พ.ศ. ............... ๔ ๓ บรรทัด (................................................) ๕ ................................................. ๖ พมิ พช์ ่ือเตม็ ตาแหน่ง รปู แบบแถลงการณ์ ค่มู อื ปฏิบัติงาน โรงเรยี นพระปริยัตธิ รรม แผนกสามัญศึกษา

๓๔๐ แถลงการณ…์ ……………….………………… ๑ เรอื่ ง ........................................................... ๒ ฉบบั ท.่ี ...................(ถ้ามี) ๓ ……………………(ข…อ้ ค…ว…า…ม)………..………………….……………๔……………………………………………………………………………..….......…...…...…...…...…...…...…...…..…...…...…...….……………………….…………………… ………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… (สว่ นราชการที่ออกแถลงการณ์) ๕ (วนั เดือน ป)ี ๖ หมายเหตุ ให้ใช้ตราสญั ลกั ษณ์โรงเรยี นของตนเองแทนตราครุฑ คมู่ ือปฏบิ ตั ิงาน โรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา

๓๔๑ หนงั สอื ที่เจ้าหนา้ ทท่ี าขึ้นหรือรบั ไวเ้ ป็นหลกั ฐานในราชการ คือ หนังสือที่ทางราชการทาข้ึนนอกจากท่ีกล่าวมาแล้วข้างต้นหรือหนังสือที่หน่วยงานอ่ืนใด ซึ่งมิใช่ส่วนราชการหรือบุคคลภายนอกมีมาถึงส่วนราชการและส่วนราชการรับไว้เป็นหลักฐานของ ทางราชการ มี ๔ ชนดิ คอื หนังสือรบั รองรายงาน การประชมุ บันทกึ และหนงั สืออนื่  หนังสือรับรอง คือ หนังสือท่ีส่วนราชการออกให้เพ่ือรับรองแก่ บุคคล นิติบุคคล หรือหน่วยงาน เพ่ือวัตถุประสงค์อย่างหนึง่ อย่างใดใหป้ รากฏแก่บุคคลโดยท่วั ไปไมจ่ าเพาะเจาะจง ๑. สว่ นราชการทอี่ อกข่าว ใหล้ งชื่อส่วนราชการทีอ่ อกขา่ ว ๒. เลขที่ ให้ลงเลขที่ของหนังสือรับรองโดยเฉพาะ เร่ิมต้ังแต่เลข ที่ ๑ เรียงเป็นลาดับไปจนถึงส้ินปี ปฏทิ ินทับเลขปีพทุ ธศักราชทอ่ี อกหนังสือรับรอง หรือลงเลขท่ีของหนังสือท่ัวไปตามแบบหนังสือภายนอกอย่าง หนง่ึ อย่างใด ๓. สว่ นราชการเจา้ ของหนงั สือ ใหล้ งชื่อสว่ นราชการซ่งึ เป็นเจ้าของหนังสือน้ัน และจะลงสถานท่ีตั้ง ของสว่ นราชการเจ้าของหนังสือด้วยกไ็ ด้ ๔. ข้อความ ให้ลงขอ้ ความข้นึ ต้นวา่ หนงั สอื ฉบับน้ีให้ไวเ้ พอ่ื รบั รองว่า แล้วต่อดว้ ยช่ือบุคคล นิติบุคคล หรือหน่วยงานท่ีทางราชการรับรองในกรณีเป็นบุคคลให้พิมพ์ช่ือเต็มโดยมีคานาหน้านาม ชื่อ นามสกุล ตาแหนง่ หน้าที่ และสังกดั หนว่ ยงานทผ่ี ู้นน้ั ทางานอย่อู ย่างชัดแจ้ง แล้วจึงลงขอ้ ความท่ีรบั รอง ๕. ให้ไว้ ณ วันที่ ให้ลงตัวเลขของวนั ที่ ชื่อเต็มของเดอื น และตัวเลขของปพี ทุ ธศกั ราชทอ่ี อกหนังสอื รบั รอง ๖. ลงช่อื ให้ลงลายมือช่ือหัวหน้าส่วนราชการผู้ออกหนังสือหรือ ผู้ที่ได้รับมอบหมายและพิมพ์ช่ือเต็ม ของเจา้ ของลายมือชอื่ ไว้ใต้ลายมอื ช่ือ ๗. ตาแหนง่ ให้ลงตาแหน่งของผู้ลงลายมอื ชือ่ ในหนังสอื ๘. รูปถ่ายและลายมือช่ือผู้ได้รับการรับรอง ในกรณีท่ีการรับรองเป็นเร่ืองสาคัญท่ีออกให้แก่บุคคล ให้ติดรูปถ่ายของผู้ท่ีได้รับการรับรอง ขนาด ๔ x ๖ เซนติเมตร หน้าตรง ไม่สวมหมวก ประทับตราชื่อส่วน ราชการที่ออกหนังสือบนขอบล่างด้านขวาของรูปถ่ายคาบต่อลงบนแผ่นกระดาษ และให้ผู้น้ันลงลายมือช่ือ ไวใ้ ต้รูปถ่าย พรอ้ มทงั้ พิมพช์ อ่ื เตม็ ของเจา้ ของลายมือชอ่ื ไวใ้ ต้ลายมือช่ือด้วย  บันทึก คือ ข้อความซึ่งผู้ใต้บังคับบัญชาเสนอต่อผู้บังคับบัญชาหรือผู้บังคับบัญชาส่ังการแก่ ผู้ใต้บังคับบัญชา หรือข้อความท่ีเจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานระดับต่ากว่าส่วนราชการระดับกรมติดต่อกันใน การปฏิบัตริ าชการ โดยปกตใิ หใ้ ชก้ ระดาษบนั ทึกข้อความและให้มีหัวข้อดังต่อไปน้ี ๑. ชื่อตาแหน่งท่ีบนั ทึกถึง โดยใชค้ าขึ้นตน้ ตามทก่ี าหนดไว้ในภาคผนวก ๒ ๒. สาระสาคญั ของเรอ่ื ง ให้ลงใจความของเรื่องทบ่ี ันทึก ถา้ มีเอกสารประกอบก็ใหร้ ะบุไว้ดว้ ย ๓. ชื่อและตาแหน่ง ให้ลงลายมือช่ือและตาแหน่งของผู้บันทึก และในกรณีที่ไม่ใช้กระดาษบันทึก ข้อความให้ลงวันเดือนปที ี่บันทึกไวด้ ว้ ย การบันทึกต่อเนื่อง โดยปกติให้ผู้บันทึกระบุคาข้ึนต้นใจความบันทึก และลงชื่อเช่นเดียวกับที่ได้กล่าวไว้ ข้างต้น และให้ลงวัน เดือน ปี กากับใต้ลายมือชื่อผู้บันทึก หากไม่มีความเห็นใดเพิ่มเติมให้ลงช่ือและวัน เดือน ปี กากับเทา่ นนั้  หนังสืออ่ืน คือ หนังสือ หรือ เอกสารอื่นใดท่ีเกิดขึ้น เน่ืองจากการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ เพ่ือเป็น หลักฐานในทางราชการ ซ่ึงรวมถึง ภาพถ่าย ฟิล์ม แถบบันทึกเสียง แถบบันทึกภาพด้วย หรือหนังสือของ บคุ คลภายนอกท่ยี นื่ ตอ่ เจา้ หน้าที่และเจา้ หน้าที่ได้รบั เข้าทะเบยี นรับหนังสือของทางราชการแล้วมีรูปแบบตามท่ี กระทรวงทบวงกรมจะกาหนดข้ึนใช้ตามความเหมาะสม เว้นแต่มีแบบตามกฎหมายเฉพาะเรื่องให้ทาตามแบบ เช่น โฉนด แผนที่ แบบ แผนผัง สญั ญา หลกั ฐานการสบื สวนและสอบสวน และคารอ้ ง เปน็ ตน้ ค่มู ือปฏบิ ัติงาน โรงเรียนพระปรยิ ตั ิธรรม แผนกสามัญศึกษา

๓๔๒ รปู แบบหนงั สือรับรอง เลขที่ ................. ๑ (สว่ นราชการเจา้ ของหนังสอื ) ๒ (ข้อความ) หนังสือฉบับนี้ให้ไว้เพ่ือรับรองว่า (ระบุช่ือบุคคล นิติบุคคลหรือหน่วยงานท่ีจะให้ …กา…ร…รับ…ร…อ…ง …พ…ร้อ…ม…ท…้งั ล…ง…ต…าแ…ห…น…ง่ แ…ล…ะ…ส…งั ก…ดั …ห…ร…ือ…ท…่ีตั้ง…แ…ล…้ว…ต.่อ…ด…้ว…ยข…้อ…ค…วา…ม…ท…รี่ ับ…ร…อ…๓ง)…..…...…...…...….……..…...….....…...…...…...……….. …………………………………………………………………………………………...….…………………พ………………………………… …………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ให้ไว้ ณ วนั ที่..................................พ.ศ. ............... ๔ (ลงชื่อ) ๕ ............ (พมิ พช์ ่อื เตม็ )................. ๖ ................(ตาแหนง่ )……………… (สว่ นน้ใี ช้สาหรับเร่ืองท่สี าคญั เทา่ นั้น ซึง่ อยใู่ นดุลพนิ ิจของหัวหน้าสว่ นราชการ) รปู ถ่าย (ถ้าม)ี ๗ (ประทบั ตราชอ่ื สว่ นราชการ) (ลงชือ่ ผ้ไู ด้รับการรับรอง) (พิมพ์ชอ่ื เตม็ ) หมายเหตุ หนังสอื ทกุ ชนดิ ให้ใชต้ ราสญั ลกั ษณโ์ รงเรียนของตนเองแทนตราครุฑ คู่มอื ปฏบิ ตั ิงาน โรงเรียนพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามัญศึกษา

๓๔๓ รายงานการประชมุ คือ การบนั ทกึ ความคดิ เหน็ ของผมู้ าประชมุ ผ้เู ข้ารว่ มประชมุ และมตขิ องทปี่ ระชุมไวเ้ ปน็ หลกั ฐาน ๑. รายงานการประชมุ ให้ลงชอ่ื คณะท่ปี ระชมุ หรือชือ่ การประชมุ นน้ั ๒. คร้งั ท่ี ให้ลงครัง้ ที่ประชมุ เช่น ครัง้ ท่ี ๕/๒๕๔๗ ๓. เมื่อ ให้ลงวนั เดอื นปีท่ปี ระชมุ เชน่ วนั จนั ทรท์ ่ี ๕ กรกฎาคม ๒๕๔๗ ๔. ณ ให้ลงสถานท่ที ่ปี ระชมุ เช่น ห้องประชุม ๑ อาคาร ๓ ชน้ั ๒ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ๕. ผู้มาประชุม ให้ลงชื่อและหรือตาแหน่งของผู้ได้รับแต่งตั้งเป็นคณะท่ีประชุมซึ่งมาประชุม ในกรณที ี่มผี ู้มาประชมุ แทนให้ลงชอ่ื ผู้มาประชมุ แทน และลงวา่ มาประชมุ แทนผใู้ ดหรือตาแหน่งใด ตัวอย่าง ๑. นายสมศกั ด์ิ มงุ่ การงาน เจา้ หน้าทีฝ่ ึกอบรม ๘ ว ประธาน ๒. นางจงดี มที รพั ย์ เจ้าหนา้ ทพี่ ัสดุ ๗ กรรมการ ๓. นางอบุ ล รอดบุญ บุคลากร ๖ กรรมการและเลขานกุ าร ๖. ผู้ไม่มาประชุม ให้ลงช่ือและหรือตาแหน่งของผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นคณะที่ประชุมซึ่งมิได้มา ประชุมพร้อมท้ังเหตุผล ตวั อยา่ ง นางสมพศิ สจุ รติ เจา้ หนา้ ทีก่ ารเงินและบัญชี ๖ ไปราชการ ๗. ผู้เข้าร่วมประชุม ให้ลงชื่อและหรือตาแหน่งของผู้ที่มิได้รับการแต่งต้ังเป็นคณะท่ีประชุมซ่ึงได้เข้า รว่ มประชุม ๘. เร่มิ ประชมุ เวลา ให้ลงเวลาท่เี รมิ่ ประชมุ ๙. ข้อความ ให้บันทึกข้อความท่ีประชุม โดยปกติเริ่มต้นด้วยประธานกล่าวเปิดประชุมและเรื่องท่ี ประชมุ กบั มตหิ รอื ข้อสรุปของทีป่ ระชุมในแต่ละเร่ืองตามลาดับ ๑๐. เลกิ ประชุมเวลา ให้ลงเวลาท่เี ลิกประชมุ ๑๑. ผูจ้ ดรายงานการประชมุ ให้ลงชอ่ื ผู้จดรายงานการประชมุ ครั้งนั้น ตวั อยา่ ง ………………………………………….. (นางสดใส ตง้ั ใจจริง) ผ้จู ดรายงานการประชมุ หรือ ………………..…………………….. ผ้จู ดรายงานการประชุม (นางสดใส ตั้งใจจรงิ ) เจ้าหนา้ ท่ีธรุ การ ๕ คมู่ อื ปฏบิ ัติงาน โรงเรยี นพระปรยิ ตั ิธรรม แผนกสามญั ศึกษา

๓๔๔ รูปแบบรายงานการประชุม รายงานการประชุม………………..… คร้ังที่………/………… เม่ือ………………………….………. ณ ……………………………………..… ผมู้ าประชมุ ผู้ไม่มาประชมุ (ถา้ ม)ี ผู้เขา้ ร่วมประชุม (ถา้ มี) เร่มิ ประชุมเวลา (ขอ้ ความ)…………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………….……………………………….… ……………………………………………………….. เลกิ ประชมุ เวลา …………………………….…………… ผจู้ ดรายงานการประชมุ การเตรยี มการและจัดทารายงานการประชมุ การเตรียมการประชุม เป็นการเตรียมความพร้อมเพ่ือให้การประชุมดาเนินไปด้วยความเรียบร้อย เริ่มต้ังแต่ก่อนประชุม ระหว่างประชุม หลังประชุมและเพ่ือการประชุมคร้ังต่อไป ซ่ึงผู้มีหน้าท่ีในการจัด เตรยี มการประชุม หรือเปน็ เลขานกุ ารคณะกรรมการฯ จะตอ้ งดแู ลความเรียบรอ้ ย ดงั นี้ ก่อนประชุม ควรมีข้อมูลท่ีต้องทราบว่า จะประชุมอะไร มีวาระการประชุมอะไร (เพื่อจัดเตรียม ข้อมูลและเอกสารประกอบ) คณะกรรมการหรือผู้เข้าร่วมประชุมคือใคร และท่านใดติดภารกิจในช่วงไหน (เพ่อื เปน็ ข้อมูลในการกาหนดการประชมุ ) เมือ่ ได้ขอ้ มูลเบื้องตน้ แลว้ หากหนว่ ยงานของตนเองไมม่ ีสถานที่สาหรับการประชุม เป็นหน้าท่ีของผู้ จัดต้องหาสถานท่ีเพ่ือใช้ประชุม โดยดูว่าสถานที่น้ันอยู่ในความดูแลของใคร ห้องประชุมท่ีใช้เพียงพอกับ จานวนผู้เข้าร่วมประชุมหรือไม่ วัสดุอุปกรณ์ท่ีมีตรงตามความต้องการและมีประสิทธิภาพหรือไม่ มีวันใดท่ี ห้องประชุมน้ันว่าง เม่ือได้ข้อมูลและความพร้อมของห้องประชุมแล้ว ให้แจ้งประธานท่ีประชุมทราบเพื่อ พิจารณาว่าเหน็ ควรประการใด และจะกาหนดวันประชมุ เปน็ วนั และเวลาใด เมือ่ ประธานที่ประชมุ เหน็ ควรและกาหนดวนั เวลา และสถานท่ี ที่ประชุมแล้ว ข้ันต่อไป คือ แจ้งให้ ผู้เข้าร่วมประชุมทราบ โดยจัดทาหนังสือเชิญประชุม (กรณีท่ีเร่งด่วนไม่สามารถจัดทาหนังสือเชิญได้ทัน ให้ประสานงานแจ้งโดยวาจาเพ่ือให้ผู้เข้าประชุมทราบ) แจ้งให้คณะกรรมการฯ หรือผู้เข้าประชุมทราบ พรอ้ มสง่ เอกสารประกอบการประชมุ (หากสามารถจัดเตรยี มได้ทนั ) กรณที ไี่ ม่สามารถจัดเอกสารประกอบการ คู่มอื ปฏบิ ัติงาน โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา

๓๔๕ ประชุมส่งไปพรอ้ มกบั หนังสือเชิญประชุมได้ ให้จัดส่งภายหลังแต่ควรส่งก่อนการประชุมเพ่ือให้ผู้เข้าประชุม ได้ศึกษาขอ้ มูล และเตรียมการในส่วนทเ่ี กย่ี วขอ้ ง วนั ประชมุ กอ่ นทจี่ ะมีการประชุมผู้มีหน้าที่ในการจัดเตรียม ต้องไปตรวจสอบความพร้อมของสถานท่ี วัสดุอุปกรณ์ท่ีใช้ในการประชุม ว่าเรียบร้อยและพร้อมในการประชุมหรือไม่ หากพบปัญหาจะได้แก้ไขได้ทัน ก่อนเริ่มประชุม อย่ารอให้ถึงเวลาเข้าประชุมเพราะถ้าพบปัญหาอาจไม่สามารถแก้ไขได้ทัน ซ่ึงจะถือเป็นความ บกพร่องของผ้จู ดั เตรียมการประชมุ ระหว่างการประชุม ให้ตรวจสอบองค์ประชุม ว่าจานวนผู้มาประชุมเพียงพอที่จะเปิดการประชุม หรือไม่ โดยท่ัวไปจะมีจานวน ๓ ใน ๔ ของผู้มาประชุม (ไม่นับผู้เข้าร่วมประชุม) จึงจะเปิดการประชุมได้ หลังจากน้ันให้บันทึกรายช่ือผู้มาประชุม ผู้ไม่มาประชุม และผู้เข้าร่วมประชุม ท้ังนี้ ในระหว่างการประชุม จะต้องเตรียมเจ้าหน้าท่ีเพ่ืออานวยความสะดวกในการประชุมด้วย เช่น เจ้าหน้าท่ีที่จะทาการนาเสนอข้อมูล ขึ้นหน้าจอ หรอื เขยี นกระดาน เจ้าหนา้ ทป่ี ระสานดา้ นอ่นื ๆ เป็นต้น จุดมุ่งหมายของการจดรายงานการประชมุ ๑. เพอ่ื เก็บไว้เปน็ หลักฐานอ้างองิ ๒. เพ่อื ยนื ยนั การปฏิบตั ิงาน ว่าใครทาอะไร มีการอภิปรายอยา่ งไร มมี ตใิ นเรอ่ื งใดไว้อย่างไร ใครจะต้องปฏบิ ัตติ ่อไป และแสดงถึงขอ้ เทจ็ จรงิ และเหตุผลในการพิจารณาของที่ประชมุ ๓. เพอ่ื แสดงถงึ ผลงานทไ่ี ดด้ าเนินการมาแลว้ วา่ ได้ทาอะไรมาบ้าง ๔. เปน็ เคร่ืองมือในการตดิ ตามงาน ที่ไดม้ อบหมายว่าไดด้ าเนินการอย่างไร ๕. เพือ่ แจ้งผลการประชุมใหบ้ ุคคลทีเ่ ก่ยี วขอ้ งทราบและปฏบิ ตั ติ ่อไป วิธีการจดรายงานการประชมุ ทาได้ ๓ วิธี ๑. จดละเอยี ดทุกคาพดู พร้อมด้วยมติของท่ปี ระชุม ๒. จดยอ่ เรื่องท่พี จิ ารณาเฉพาะประเด็นสาคญั ท่นี าไปสมู่ ติของทีป่ ระชุม พรอ้ มด้วยมติการประชุม ๓. จดสรุปสาระสาคญั ของเรอื่ งท่พี ิจารณาความเหน็ เหตุผลในการพจิ ารณาของที่ประชุม และมตขิ องท่ีประชมุ เรื่องทน่ี าเสนอในการประชุมจะจัดเป็นหัวข้อ ที่เรียกว่า “วาระ” หรือ “ระเบียบวาระการประชุม” ในแต่ละวาระก็จะมเี ร่ืองย่อย ๆ ออกไป ตวั อยา่ งวาระการประชมุ วาระท่ี ๑ เรอ่ื งท่ปี ระธานแจ้งใหท้ ี่ประชุมทราบ เรื่องท่ี ๑ …………………………………………….. เรื่องที่ ๒ …………………………………………….. วาระท่ี ๒ รับรองรายงานการประชมุ ………………………………………………………. วาระที่ ๓ เร่อื งสบื เนือ่ ง (หรอื ค้างการพจิ ารณา) เร่ืองที่ ๑ …………………………………………….. เร่อื งท่ี ๒ …………………………………………….. วาระท่ี ๔ เร่อื งเสนอเพ่อื พจิ ารณา เรอ่ื งที่ ๑ …………………………………………….. เรอ่ื งที่ ๒ …………………………………………….. วาระที่ ๕ เรอื่ งอ่ืน ๆ ………………………………………………………… คมู่ ือปฏิบัตงิ าน โรงเรยี นพระปริยัตธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา

๓๔๖ ในบางกรณี จะจดั เปน็ เรื่อง ๆ โดยไมแ่ ยกเปน็ “วาระ” กม็ ี กรณีเชน่ นี้การจดรายงานการประชมุ จะจดเปน็ เรอื่ งๆ ไป ตวั อย่าง เร่อื งท่ี ๑ เรื่องท่ปี ระธานแจ้งใหท้ ่ปี ระชุมทราบ เรอื่ งที่ ๒ รบั รองรายงานการประชมุ เร่อื งที่ ๓ เร่ืองเสนอเพอ่ื พจิ ารณา เรื่องที่ ๔ …………………………………………….. ตวั อยา่ ง วาระท่ี ๑ เรอื่ งท่ีประธานแจง้ ใหท้ ่ีประชุมทราบ เรอื่ งที่ ๑ ………………………………………… ประธานแจง้ ให้ท่ปี ระชุมทราบว่า……….. เรอ่ื งที่ ๒ ………………………………………… ฯลฯ วาระที่ ๒ รบั รองรายงานการประชุม ประธานขอใหท้ ่ีประชุมพิจารณารบั รองรายงานการประชมุ ของคณะกรรมการฯ จากการสมั มนาปญั หาการสอบบญั ชี คร้ังท่ี ๑ เม่ือวนั จนั ทรท์ ี่ ๗ มิถนุ ายน ๒๕๔๗ มตทิ ่ปี ระชมุ รับรอง วาระที่ ๓ เรือ่ งคา้ งการพจิ ารณา ประธานแจง้ ใหท้ ป่ี ระชมุ รว่ มกันพิจารณาเรอ่ื งทค่ี า้ งไวจ้ ากจากประชมุ คร้ังท่ี ๑/๒๕๔๗ เร่ือง……………. วาระที่ ๔ เร่อื งเสนอเพื่อพจิ ารณา นางจงดี มที รัพย์ ชี้แจงวา่ ………………………………………………………………………… นายบญุ ถึง แดนไทย ได้แจ้งตอ่ ที่ประชุมวา่ วันทีก่ าหนดเปดิ การสัมมนา นางจงดี มีทรพั ย์ เสนอให้…………………………..……………………………………………. ทป่ี ระชมุ ได้ร่วมกันอภปิ ราย …………………………………………..……………………….. มติทป่ี ระชมุ เหน็ ชอบและรับทราบ วาระที่ ๕ เรื่องอน่ื ๆ ………………………………………….…………………………………………………… คมู่ ือปฏิบตั งิ าน โรงเรียนพระปรยิ ตั ิธรรม แผนกสามญั ศึกษา

๓๔๗ เทคนคิ การจดรายงานการประชุม ควรจะตอ้ งมเี ครื่องมือชว่ ย ดงั น้ี ๑. เคร่อื งบนั ทกึ เสยี ง ๒. เจ้าหน้าท่ีในการจดบันทึก เพื่อจดชื่อผู้พูด สาระสาคัญในการประชุม ควบคู่ไปกับการบันทึกเสียง (เพราะบางช่วงเครื่องบันทึกเสียงอาจมีปัญหา เช่น เสีย มีเหตุให้ไม่สามารถบันทึกเสียงได้ ซ่ึงอาจทาให้ ข้อความขาดหายไป) การจดบันทึกของเจ้าหน้าที่จะจดสรุปสาระสาคัญ ความเห็น เหตุผลในการพิจารณา และประเด็นที่สาคัญ ผู้จดต้องมีความสามารถในการจับประเด็นและใจความได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และทันการ ปัญหาในการทจี่ ะเขยี นรายงานการประชมุ คือ ขาดความม่ันใจในการเขียน ขาดประสบการณ์ในการจัดทา ดังนั้น จึงต้องหมั่นฝึกฝนตนเอง ในการจับประเด็นของการประชุม การใช้สานวนในการเขียนข้อความ การใช้คาเช่ือมต่อประโยค โดยการอ่านหนังสือท่ีผ่านเรื่องเข้ามาหรือออกไปให้มากข้ึน ดูการเขียนรายงานการประชุมของผู้อ่ืนท่ีผ่าน เรื่องมาที่หน่วยงาน แล้วใช้ความสังเกตว่าข้อความในหนังสือนั้นใช้สานวนอะไร จึงทาให้เน้ือหามีความ สละสลวย มีวิธีการเรียบเรียงอย่างไร จึงออกมาได้ดีและที่สาคัญท่านต้องลงมือเขียนรายงานการประชุม ด้วยตนเอง เม่ือทาแล้วผิดก็แก้เพราะไม่ใช่เร่ืองเสียหายอะไร ถ้าไม่สร้างความมั่นใจ เขียนแล้วกลัวผิด ไม่สร้างประสบการณ์ อย่างน้ีเมื่อไรจึงจะทาได้ การจะทาสิ่งใดไม่อยากเกินกว่าการเรียนรู้ ถ้าไม่ทาไม่ลงมือ เม่ือไรก็ทาไม่ได้ หากท่านตั้งใจหม่ันศึกษาสร้างประสบการณ์ รับรองได้เลยว่าท่านจะสามารถเขียน รายงานการประชุมได้ดแี น่นอน ๗. การดแู ลอาคารสถานทแี่ ละสภาพแวดลอ้ ม อาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อมที่ดีช่วยเสริมสร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ส่งเสริมและเอื้ออานวย ต่อการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนให้เกิดประสิทธิผลอย่างมีประสิทธิภาพ อาคารสถานท่ีและสิ่งแวดล้อม ท่ีดีจึงมีส่วนสาคัญต่อความสาเร็จในการจัดการศึกษาทาให้นักเรียนเกิดการพัฒนาท้ังผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผู้ปกครอง ชุมชนรวมทั้งผู้รับบริการเกิดความเชื่อม่ัน ศรัทธาต่อ โรงเรียนซึ่งเป็นผลดีต่อการระดมทรัพยากรและความรว่ มมือในการพฒั นาในอนาคต ๗.๑ การบรกิ ารอาคารสถานทีแ่ ละสภาพแวดลอ้ ม ๑. การพัฒนาอาคารสถานทีแ่ ละสภาพแวดลอ้ ม ๑) มีการกาหนดแนวทาง วางแผนการบริหารจัดการ อาคารสถานท่ี และสภาพแวดล้อม ของโรงเรียน ๒) มกี ารดแู ลและพัฒนาอาคารสถานท่ีและสภาพแวดลอ้ มของโรงเรียนให้อยู่ในสภาพท่ีมั่นคง ปลอดภัยเหมาะสม พรอ้ มที่จะใชป้ ระโยชน์ ๓) มีการติดตามตรวจสอบการใช้อาคารสถานท่ีและสภาพแวดล้อมของโรงเรียนเพ่ือให้เกิด ความคุ้มค่า และเอ้ือประโยชน์ตอ่ การเรียนรู้ ๔) มีการสารวจความพงึ พอใจจากผทู้ ี่เก่ียวข้อง ๕) มีการสรปุ กรประเมินผลและรายงานการใช้อาคารสถานทแี่ ละสภาพแวดลอ้ มของโรงเรยี น คู่มือปฏบิ ตั งิ าน โรงเรียนพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา

๓๔๘ ๒. การจดั บรรยากาศ มีการจัดบรรยากาศของโรงเรียนให้เกิดความสะอาด ความร่มรื่น ความสวยงามความปลอดภัย และความสะดวกในเรื่องต่อๆไปน้ี ๑) มกี ารจัดบรเิ วณเป็นสดั สว่ น ๒) มคี วามรม่ รืน่ ๓) มีการตกแต่งบรเิ วณสวยงาม ๔) มีสถานท่ีเล่น ออกกาลงั กาย และพักผ่อน ๕) มอี ากาศปลอดโปร่ง ๖) ไม่เป็นแหลง่ มลพษิ ๗) มีบรรยากาศที่เอ้อื ตอ่ การเรยี นรู้ ๘) มีทางสญั จรที่เปน็ ระเบยี บ ๙) มีร้ัวหรอื เคร่อื งหมายแสดงแนวเขต ๑๐)มีการใช้และบารงุ รกั ษาใหม้ ีความเปน็ ระเบยี บและปลอดภยั ๗.๒ การบริการอาคารเรียน ๑. การจัดบรรยากาศภายในอาคารเรยี น มีการจัดบรรยากาศในอาคารเรียนให้เกิดความสะอาด ความร่มร่ืน ความสวยงาม ความปลอดภัย และความสะดวก ในเรื่องต่อไปน้ี ๑) มกี ารตกแตง่ ทส่ี วยงาม ๒) มีแสงสว่างเพยี งพอ ๓) ประตูหน้าต่างอยู่ในสภาพดีมอี ุปกรณย์ ึดมนั่ คง ๔) ระบบไฟฟ้า ประปา โทรศพั ท์อย่ใู นสภาพเรียบรอ้ ยและการไดด้ ี ๕) มกี ารดูแลสภาพสีของอาคารใหอ้ ยใู่ นสภาพทสี่ ะอาดเรียบร้อย ๖) มีปา้ ยบอกช่ืออาคารและห้องตา่ งๆ ๗) มีความเปน็ ระเบียบ ๘) มีบรรยากาศเออื้ ตอ่ การเรียนรู้ ๒. การใชป้ ระโยชน์จากอาคารเรยี น ๑) มหี อ้ งเรยี นเพียงพอตามเกณฑ์มาตรฐาน ๒) มหี อ้ งเรียนพิเศษเพียงพอตามเกณฑม์ าตรฐาน ๓) มหี ้องบริการเพยี งพอตามเกณฑ์มาตรฐาน ๓. การดแู ลรักษาอาคารเรียน ๑) มกี ารดแู ลรักษาอาคารเรียน ๒) มกี ารแต่งตั้งผ้รู ับผดิ ชอบในการดูแลเปน็ ลายลักษณอ์ ักษร ๓) มกี ารบารงุ รกั ษาให้คงสภาพมีระเบยี บสวยงามใชก้ ารได้และเออื้ ต่อการเรยี นรู้ ๔) มกี ารซ่อมแซมหรอื ปรับปรุงให้ดขี ึน้ ๕) สภาพอาคารยังไดร้ บั การบารงุ รักษาให้อยใู่ นสภาพทม่ี ั่นคงแข็งแรงและสะอาดสวยงาม คูม่ อื ปฏิบัติงาน โรงเรียนพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามญั ศึกษา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook