Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือครูสังคม ม.2

คู่มือครูสังคม ม.2

Published by K. Klompanya, 2021-11-02 06:42:55

Description: คู่มือครูสังคม ม.2

Search

Read the Text Version

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั สอน   ๓) ปัญหาทรัพยากรแร่และแร่ พลังงาน  ทวีปแอฟริกามีทรัพยากรแร่และแร่ ขั้นที่ 1 การต้ังคําถามเชงิ ภูมศิ าสตร พลงั งานทมี่ คี วามสา� คญั ทางเศรษฐกจิ หลายชนดิ   เช่น  เพชร  ทองค�า  ทองแดง  เหล็ก  ถ่านหิน  ครูใหนักเรียนชวยกันตั้งประเด็นคําถามทาง นา้� มนั ดบิ และแกส๊ ธรรมชาต ิ การสา� รวจและผลติ ภูมิศาสตรเก่ียวกับปญหาทรัพยากรธรรมชาติ แร่และแร่พลังงานเป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอมและแนวทางการจัดการของทวีป ของหลายประเทศ  เช่น  แองโกลา  แอลจีเรีย  แอฟรกิ า เพ่ือคน หาคาํ ตอบ เชน ลเิ บีย แซมเบีย ไนจเี รีย แอฟรกิ าใต ้ โดยมีการ ส่งออกแร่และแร่พลังงานให้กับกลุ่มประเทศ • ลักษณะทางกายภาพของทวีปแอฟริกา อุตสาหกรรมในทวปี ยุโรป อเมรกิ าเหนือ เอเชีย  สงผลตอปญหาทรัพยากรธรรมชาติและ และออสเตรเลีย  ส่งผลให้แร่และแร่พลังงาน สงิ่ แวดลอ มท่แี ตกตา งกันอยางไร  การสา� รวจพ้นื ทท่ี �าเหมืองแร ่ในทวปี แอฟรกิ า หลายชนิดลดจ�านวนลงอย่างรวดเร็ว  และม ี • แนวทางการจดั การปญ หาทรพั ยากรธรรมชาติ แนวโน้มท่จี ะขาดแคลนไดใ้ นอนาคต และสงิ่ แวดลอ มของทวปี แอฟรกิ าอยา งยง่ั ยนื   นอกจากนี้  การท�าเหมืองแร่ที่ต้องมีการขุดดินและท�าลายพ้ืนท่ีป่าไม้  ได้ก่อให้เกิด สามารถทําไดอ ยางไร ปญั หาส่งิ แวดลอ้ มตามมา  เน่ืองจากการทา� ลายแหลง่ ตน้ น�า้ ท่อี ยู่อาศยั ของสัตว์ป่า  และก่อให้เกิด  ปัญหามลพษิ ท๔า)งอปาัญกหาศาซทึ่งรเัพปน็ยสาากเรหปต่าุขไอมงภ้ าทววะีปโลแกอรฟอ้ รนิกอากีมดีพ้วื้นยท่ีป่าฝน1ท่ีอุดมสมบูรณ์เหลือเพียง ข้นั ที่ 2 การรวบรวมขอมลู ร้อยละ  ๑๘  ของเนื้อที่ป่าของโลก  เป็นทวีป  ท่ีมีการบุกรุกท�าลายป่ามากท่ีสุดในปัจจุบัน  ครูใหนักเรียนแบงกลุมศึกษาคนควาขอมูล เน่ืองจากหลายประเทศมีการตัดไม้และแปรรูป เรื่อง ปญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เป็นสินค้าส่งออก  เช่น  แกมเบีย  ไนเจอร ์ ของทวีปแอฟริกา ประกอบการใชเครื่องมือทาง ภมู ศิ าสตร ขัน้ ที่ 3 การจดั การขอ มูล 1. สมาชิกในกลมุ นําขอมูลมาแลกเปล่ยี นกัน 2. สมาชิกในกลมุ ชว ยกนั คัดเลือกขอมูล สาธารณรัฐแอฟริกากลาง  สาธารณรัฐคองโก  และจากการใช้ชีวิตของประชากร  เช่น  การใช้ ถ่านและฟืนเป็นเชื้อเพลิง  การท�าไร่เล่ือนลอย  การท�าฟาร์มเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจขนาดใหญ่ เฉลยี่ ในแตล่ ะปมี ีการท�าลายป่าไม้มากถึง  ๕.๓  ตารางกโิ ลเมตร จงึ ทา� ใหพ้ น้ื ทป่ี า่ ของทวปี ลดลง  และเป็นการเพ่ิมการขยายตัวของพ้ืนท่ีทะเล  ไมแ้ ปรรปู ทพ่ี บไดม้ ากในทวปี แอฟรกิ า มสี ว่ นทา� ใหท้ รพั ยากร  ทราย โดยเฉพาะบรเิ วณตอนกลางของทวปี  เชน่   ป่าไม้ทอ่ี ดุ มสมบูรณ์ลดจา� นวนลง ซดู าน ยกู นั ดา สาธารณรฐั แอฟรกิ ากลาง ๓06 นักเรียนควรรู กิจกรรม ทา ทาย 1 พ้ืนที่ปาฝน เปนพื้นที่อุดมสมบูรณมีตนไมปกคลุมในหลายระดับ ปาฝน ใหนกั เรยี นรวมกนั ต้ังคําถาม กลมุ ละ 2-3 ขอ เชน มีความหลากหลายทางชีวภาพสูงท่ีสุดในโลก รอยละ 70-90 ของทุกสปชีส • สาเหตุสําคัญของปญหาทรัพยากรแรและแรพลังงานในทวีป บนพน้ื ผวิ โลกอยใู นปา เขตนี้ ปจ จบุ นั ปา ฝนเขตรอ นมพี น้ื ทเี่ หลอื อยเู พยี งรอ ยละ 6 ของพนื้ ผวิ โลก และกาํ ลงั ถกู บกุ รกุ ทาํ ลายอยา งรวดเรว็ ปา ฝนสว นใหญอ ยบู รเิ วณ แอฟรกิ าคอื อะไร สง ผลกระทบตอส่งิ ใด ใกลเสนศูนยสูตร ไดแ ก ทวีปอเมริกาใต แอฟริกา และเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต • สาเหตสุ าํ คญั ของปญ หาทรพั ยากรปา ไมใ นทวปี แอฟรกิ าคอื อะไร สงผลกระทบตอส่งิ ใด นกั เรียนแตละกลมุ ผลัดกันตอบคําถามใหไดใจความทสี่ มบูรณ T336

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ   ๕) ปัญหาขยะและส่ิงปฏิกูล  ขน้ั สอน ปจั จบุ นั หลายประเทศในทวปี แอฟรกิ าประสบกบั ปญั หาขยะอเิ ลก็ ทรอนกิ ส ์ (e-waste) โดยเฉพาะ ข้นั ที่ 4 การวิเคราะหแ ละแปลผลขอ มลู ประเทศในภมู ภิ าคแอฟรกิ าตะวนั ตก เชน่  กานา  เซเนกัล  และหลายประเทศในภูมิภาคยุโรป  1. แตละกลุมนําขอมูลท่ีรวบรวมมาไดทําการ ตะวนั ออก เช่น ยูกันดา โซมาเลยี  เคนยา โดย วเิ คราะหร วมกันเพ่ืออธิบายคาํ ตอบ ขยะอิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ  ได้แก่  คอมพิวเตอร ์ เคร่ืองพิมพ ์ โทรศพั ทเ์ คลือ่ นท ่ี เครื่องใช้ไฟฟ้า  2. ตัวแทนกลุมนําเสนอผลงานหนา ชั้นเรียน และอปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ สอ์ นื่  ๆ มกี ารนา� เขา้ มา 3. ครแู ละนกั เรยี นรว มกนั วเิ คราะหเ ชอื่ มโยงขอ มลู ในรปู ของสง่ิ ของบรจิ าคและสนิ คา้ ทสี่ ว่ นใหญไ่ ม่ สามารถใช้งานไดใ้ นระยะยาว และในทส่ี ดุ กต็ ้อง  ขยะอิเล็กทรอนิกส์ท่ีมีปริมาณมากในทวีปแอฟริกา  หาก  เกี่ยวกับปญหาขยะอิเล็กทรอนิกส ซ่ึงเปน ไมไ่ ดร้ บั การกา� จดั อยา่ งถกู วธิ จี ะกอ่ สารพษิ จนเปน็ อนั ตราย ปญหาใหญท่ีเกิดขึ้นในทวีปแอฟริกาวา เปน นา� ไปทงิ้  รวมทง้ั การลกั ลอบนา� เขา้ มาเพอ่ื กา� จดั ต่อสรรพชวี ติ ปญ หาทม่ี สี าเหตมุ าจากสง่ิ ใด และสง ผลกระทบ จรบัากกทารวรีปไี ยซโุ เรคปิล ทสี่ถหกูรัฐวอิธีจเมะกริกอ่ าให แ้เลกะิดญสาี่ปรุ่นพ ขษิ ย ะไดเหแ้ ลก่า่ นตย้ี ะากกว่ั ต อ่แกคาดรเกมา�ยี จมัด1 หปรรอื อรทีไซ แเคลิละ สเาพรรพาษิะหอา่นื ก ๆไม ซไ่ ดึง่ ้ อยา งไร เป็นมลพิษต่อสขุ ภาพและสิ่งแวดล้อม (แนวตอบ ปญหาขยะอิเล็กทรอนิกสในทวีป   นอกจากน้ี  ยังมีปัญหาขยะและส่ิงปฏิกูลจากชุมชนที่มีการปล่อยท้ิงลงแม่น้�าต่าง ๆ  แอฟริกาเกิดข้ึนจากสภาพการทํางานและ แมน่ า�้ ทมี่ มี ลพษิ จากขยะมากทส่ี ดุ อยใู่ นทวปี แอฟรกิ า  ไดแ้ ก ่ แมน่ า้� ไนล ์ และแมน่ า�้ ไนเจอร ์ ขยะทมี่  ี มาตรฐานทางดานส่ิงแวดลอมที่ไมมีคุณภาพ จึงทําใหมีการสงขยะอิเล็กทรอนิกสมาท้ิงหรือ กําจัดในทวีปแอฟริกา ซ่ึงโดยมากจะเปนไป โดยผดิ กฎหมาย จงึ ทาํ ใหก ารกาํ จดั หรอื ทาํ ลาย ขยะเหลา นไี้ มม กี ารควบคมุ สง ผลใหเ กดิ ปญ หา ตอ สิ่งแวดลอ มและสขุ ภาพของผคู นทว่ั ไป) มากข้นึ ในแม่น้า� จะถูกปล่อยลงสู่ทะเลตามการไหลของแมน่ ้�า เนือ่ งจากไมม่ มี าตรการในการก�าจัด หรอื กกั เกบ็ ขยะ บางพนื้ ทใี่ ชว้ ธิ กี ารงา่ ย ๆ ดว้ ยการฝงั กลบลงในดนิ หรอื เผาทง้ิ  แตก่ ไ็ มส่ ามารถกา� จดั ได้หมด  จึงเกิดเป็นภูเขาขยะขึ้นโดยท่ัวไป  และส่งผลเสียต่อสภาพแวดล้อม  ส่วนการก�าจัดขยะ  ทถ่ี ูกต้องโดยการส่งเข้าโรงงานที่มรี ะบบท่ปี ลอดภัยตอ่ สขุ ภาพอนามยั และส่งิ แวดล้อมมนี อ้ ยมาก  บริเวณก�าจดั ขยะท่ีไม่ได้มาตรฐานในทวปี แอฟริกา ๓07 กิจกรรม สรางเสริม นักเรียนควรรู ใหนกั เรียนรว มกันอภิปรายในประเดน็ “ขยะอิเล็กทรอนิกส : 1 แคดเมียม เปนธาตุโลหะหนักที่มีสีเงินแกมขาว มีคุณสมบัติเบา ออน มหันตภัยของโลก” วาสรางปญหามลพิษตอส่ิงแวดลอม และ ดัดโคงไดงาย ทนตอการกรอน และมีความถวงจําเพาะ ดังน้ัน เมื่อมีการใช สุขภาพของชาวแอฟริกันหรือไม อยา งไร ความรอนสูง เชน การบัดกรี การหลอมเหล็ก การเผาของเสีย จะทําใหมีไอ ของแคดเมียมออกมาไดในระหวางกระบวนการท่มี ีการใหความรอ น จากการท่ี แคดเมยี มถกู นาํ มาใชป ระโยชนใ นอตุ สาหกรรมและสนิ คา อปุ โภคตา งๆ จงึ ทาํ ให แคดเมียมปนเปอนอยูใ นส่ิงแวดลอม บรรยากาศ และในอาหาร T337

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขนั้ สอน ๖) ปญหาทรัพยากรสัตวปา พน้ื ทบี่ างบรเิ วณของทวปี แอฟรกิ า เชน ทงุ หญา ขั้นท่ี 4 การวิเคราะหแ ละแปลผลขอ มลู สะวันนาในประเทศแทนซาเนีย เคนยา ปาฝน เขตรอ นในประเทศคองโก หรอื ทะเลสาบวกิ ตอเรยี 4. ครตู ง้ั ประเดน็ คาํ ถามเพอื่ ฝก ทกั ษะการคดิ ของ ในประเทศแทนซาเนีย ยูกันดา ลวนแลวแต นกั เรียน เชน เปนตัวอยางของพ้ืนที่ที่มีความหลากหลายทาง • การที่พ้ืนที่บางบริเวณของทวีปแอฟริกาถูก ชีววิทยาสูงมากแหงหนึ่งของโลก ประมาณ บุกรกุ จะสง ผลกระทบตอ ส่ิงใด รอยละ ๒๕ ของพันธุพืชและพันธุสัตวอยูใน (แนวตอบ สง ผลกระทบตอ ความอดุ มสมบรู ณ ทวปี แอฟรกิ า โดยเฉพาะสตั วป า หลากหลายชนดิ ของส่ิงมีชีวิตท่ีหลากหลาย รวมถึงทําให ปริมาณปาไม พืชพรรณ และสัตวปา ลดจาํ นวนลงอยา งรวดเร็ว) แตปจจุบันสัตวปาลดจํานวนลงมาก เนื่องจาก พนื้ ทป่ี า และทงุ หญา ซง่ึ เปน แหลง ทอี่ ยอู าศยั และ  ตัวอยางสัตวป า ทพ่ี บไดม ากในแอฟรกิ าตอนกลาง แหลง อาหารของสตั วป า มจี ํานวนลดลง จากการ ถกู บกุ รกุ ทาํ ลายพ้ืนท่เี พ่อื ประโยชนท างเศรษฐกจิ ตลอดจนการลาสตั วเ พ่อื การคา เชน ในประเทศ แอฟรกิ าใตม กี ารอนญุ าตใหค า นอแรดอยา งถกู กฎหมาย รวมถงึ มกี ารเพาะเลยี้ งแรดเพอ่ื การลา และ แกาอรฟพราิกณาชิ มยอีจกีํานดวว นยลกดาลรงลอา ยสาตั งวรป วา ดสเงรผ็วลเใชหนป จ แจรบุ ดนั1ชสตัา งวป ราวบมาถงึงชสนง ดิผลซใง่ึ หเคธ ยรรมมเี ปชนาตจาเิํ สนอ่ื วมนโมทารกมในจทนวปีมี ผลกระทบตอสิ่งมีชวี ิตในพ้นื ที่น้ัน ๆ  ทุงหญาสะวันนา แหลงท่ีอยูอาศัยหลักของสัตวปาในทวีปแอฟริกา แตปจจุบันถูกบุกรุกทําลายจากการลาสัตวเพื่อการคา ๓๐๘ จนสง ผลใหส ตั วป า มีจาํ นวนลดลง นักเรียนควรรู ขอ สอบเนน การคดิ 1 แรด องคก รระหวา งประเทศเพอ่ื การอนรุ กั ษธ รรมชาติ (International Union สาเหตสุ าํ คญั ทที่ ําใหสัตวป าในทวีปแอฟริกาลดลงคอื อะไร for Conservation of Nature: IUCN) ระบุวา แรดมสี ถานภาพเปน สัตวทใ่ี กล สูญพันธุอ ยา งย่งิ ชนดิ ของแรดในปจจบุ ันมที ้ังส้นิ 5 ชนดิ ในทวปี แอฟรกิ าพบ (แนวตอบ ถูกทําลายจากการลาโดยตรง ไมวาจะเปนการลา 2 ชนดิ ไดแก แรดขาวและแรดดํา ในทวีปเอเชียพบ 3 ชนิด ไดแก แรดอินเดีย เพ่ือเปนอาหาร ลาเพื่อการคา หรือลักลอบลาโดยผิดกฎหมาย แรดชวา และแรดสุมาตรา การจําแนกชนิดของแรดสามารถจําแนกไดโดยใช การทําลายถิ่นท่ีอยูอาศัยของสัตวปา ซึ่งไดแก การที่ปาไมถูก ลกั ษณะสัณฐาน เชน ขนาดลําตวั จาํ นวนของนอ ผิวหนงั และรอยยน ทําลายดวยวิธีการตางๆ เชน การถางหรือเผาเพื่อทําการเกษตร การบุกรุกทําลายเพื่อผลประโยชนทางเศรษฐกิจ การสูญพันธุ หรือลดลงตามธรรมชาติ หรือสาเหตุจากภัยธรรมชาติ เชน ภยั แลง ไฟปา ) T338

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขกอางร ชหา้ายงไแป อฟริกา1 ขน้ั สอน   การอยรู่ อดของชา้ งแอฟรกิ า ใน พ.ศ. ๒๔๗๓ พบวา่ มอี ยปู่ ระมาณ ๑๐ ลา้ นตวั   ขนั้ ท่ี 4 การวเิ คราะหและแปลผลขอ มูล แตเ่ นอื่ งจากการถกู ลา่ และรกุ ลา�้ ทอ่ี ยอู่ าศยั  ทา� ใหป้ จั จบุ นั เหลอื อยเู่ พยี ง ๓๐๐,๐๐๐ ตวั เทา่ นน้ั  โดยเฉพาะงาชา้ งจะถกู นา� ไปทา� ยาสมนุ ไพร เครอ่ื งประดบั  หรอื แมก้ ระทง่ั 5. ครูเช่ือมโยงประเด็นปญหาการหายไปของ ตะเกยี บ การทตี่ า่ งชาตเิ ขา้ มาลงทนุ ในทวปี แอฟรกิ ามปี ระโยชนอ์ ยา่ งมากตอ่ การพฒั นา ชา งแอฟรกิ า จากหนงั สอื เรยี น สงั คมศึกษาฯ ม.2 แลวใหนักเรียนรวมกันอภิปรายถึงปญหา ๑๕ประเทศ แตไ่ มม่ ากพอสา� หรบั การพฒั นาเพอื่ สตั วป์ า่ และสง่ิ แวดลอ้ มทางธรรมชาติ  ทุก ๆ  นาที ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมของทวีป ช้างจะ แอฟริกา และวิเคราะหถึงสาเหตุ ผลกระทบ ราคา งาชา้ ง หายไป ๑ ตวั จากปญ หาดงั กลา ว แนวทางการปอ งกนั รวมถงึ จา� นวนชา้ ง ใน พ.ศ. ๒๔๘๓ - ๒๕๕๗ มาตรการตางๆ ของประเทศในการปองกัน จ�านวนช้างทเี่ หลือ (ตวั ) และแกไขปญ หา ๓,๐๐๐,๐๐๐ ๓๒ป๐๐ร๐,ะ๐ม,๐๐าณ๐๐๐- 6. ครูใหนักเรียนรวมกันยกตัวอยางแนวทาง ๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท การจัดการปญหาทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดลอมของทวีปแอฟริกา พรอมกับบอก ๓๐๐,๐๐๐ ๑ กก. แนวทางการนํามาประยุกตใชกับประเทศไทย เพ่ิมเตมิ ๒๔๘๓     ๒๕๒๓    ๒๕๕๗ พ.ศ. ผลติ ภัณฑจ์ ากงาชา้ ง 7. ครูนําสนทนาถึงบทบาทของหนวยงานหรือ ลดลง ๘๕จา� นวนชา้ ง  ตะเกียบ เปียโน เครอ่ื งประดบั สมุนไพร องคกรตางๆ ท่ีเก่ียวกับการจัดการปญหา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จากนั้น อภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ รว มกนั ถงึ % ประเทศทส่ี ง่ ออกงาชา้ งมากทส่ี ดุ จนี ประเทศทม่ี กี ารลกั ลอบซอื้ งาชา้ ง ไทย เวยี ดนาม เคนยา มาเลเซยี แทนซาเนยี แซมเบีย แอฟริกาใต้ ทม่ี า :  eWiao-irnldte Wrnialdtiloifen .oFrugn, ds,h beoldrnrifcrkewe.ioldrlgif,e atriudsfot.roarfgri,c iaw.oorogy,.org ๓09   กิจกรรม Geo - Literacy นักเรียนควรรู ใหนักเรียนสืบคนขอมูลเก่ียวกับสถานการณสัตวปาปจจุบัน 1 ชางแอฟริกา เปนสัตวบกที่มีขนาดใหญที่สุด ออกหากินท้ังกลางวันและ ในทวีปแอฟริกา โดยสรุปขอมูลท่ีไดเปนประเด็นตาง ๆ จากนั้น กลางคนื ใชเ วลาหาอาหารและแหลงนาํ้ วนั ละประมาณ 18-20 ชั่วโมง อาหาร รวมกันเสนอแนวทางในการอนุรักษ แลวใหนักเรียนรวมกัน ท่ีชอบจะเปนพวกใบไมสดหรือแหง เปลือกไม ผลไม ชางแอฟริกาเหลืออยู แสดงความคิดเห็นวา แนวทางขางตนสามารถนํามาปรับใชกับ อยางนอย 2 สายพันธุ ไดแก ชางทุงแอฟริกา (Savanna Elephant) และ สถานการณสัตวป าของประเทศไทย และประเทศในทวีปอื่นๆ ได ชา งปา แอฟริกา (Forest Elephant) ปจ จุบนั ชา งแอฟริกาอยใู นสถานภาพเกือบ หรือไม อยา งไร อยใู นขา ยใกลสญู พนั ธุ T339

นาํ สอน สรุป ประเมิน ขนั้ สอน 6.๒ แนวทางการจดั การทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ขัน้ ท่ี 4 การวิเคราะหแ ละแปลผลขอ มูล   จากปัญหาภัยพิบัติและสิ่งแวดล้อมท่ีเกิดข้ึนในทวีปแอฟริกา  ท้ังประเทศในทวีปแอฟริกา  และนานาชาติต่างให้ความส�าคัญในการแกไ้ ขปญั หา โดยมแี นวทาง ดังน้ี 8. ครูใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันทําใบงานท่ี 13.7 เรื่อง ปญหาทรัพยากรธรรมชาติและ   ๑) การปฏริ ปู กฎหมายและการบงั คบั ใช้ หลายประเทศมกี ารปฏริ ปู กฎหมายเพอื่ ส่ิงแวดลอมและแนวทางการจัดการของทวีป แอฟริกา โดยครูแนะนาํ เพิม่ เตมิ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโลกท่ีพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว รวมถึงมีการบังคับใช้กฎหมายและ ออกบทลงโทษอย่างเคร่งครัด เช่น การออกกฎหมายห้ามใช้ถุงพลาสติก เม่ือ พ.ศ. ๒๕๕๙ ใน ข้นั ที่ 5 การสรุปเพือ่ ตอบคาํ ถาม ประเทศโมร็อกโก ซึ่งเป็นประเทศท่ีมีการใช้ถุงพลาสติกมากที่สุดในทวีป หรือการออกกฎหมาย เก่ียวกบั ถงุ พลาสตกิ  ทงั้ การผลติ  จ�าหนา่ ย หรือการใช ้ ในประเทศเคนยาเม่อื  พ.ศ. ๒๕๖๐ 1. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลการสืบคน การทาํ ใบงานที่ 13.7   ๒) การสรา้ งเอกภาพในการแกป้ ญั หา ไดม้ กี ารประชมุ เพอ่ื สรา้ งความรว่ มมอื และ 2. นกั เรยี นในชน้ั เรียนรวมกนั สรปุ เกี่ยวกับการใช ก�าหนดแนวทางในการแก้ไขปัญหาส่ิงแวดล้อมในทวีปอย่างต่อเนื่อง  รวมถึงสหภาพแอฟริกาก็มี เครอื่ งมอื ทางภมู ศิ าสตร และรว มกนั สรปุ สาระ การรณรงค ์ใหค้ นแอฟรกิ นั ใสใ่ จสงิ่ แวดลอ้ มมากขน้ึ  ขณะเดยี วกนั ภาคเอกชนยงั ไดร้ ว่ มมอื กนั จดั ตง้ั สําคัญเพอ่ื ตอบคาํ ถามเชงิ ภมู ศิ าสตร องค์กรเอกชนเพ่ือแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม เช่น องค์กรเฝ้าติดตามสิ่งแวดล้อมแอฟริกา (Africa  Environment Watch: AEW) สมาคมสัตว์ป่าและสิ่งแวดล้อมแอฟริกาใต้ (The Wildlife and  3. ครูมอบหมายใหนักเรียนทําช้ินงาน/ภาระงาน Environment Society of South Africa: WESSA) (รวบยอด) การจัดทําหนังสือเลมเล็กเก่ียวกับ ทวปี แอฟรกิ า โดยครูแนะนําเพ่มิ เตมิ   ๓) การร่วมมือกับองค์กรนานาชาติ  หลายประเทศในทวีปแอฟริกามีข้อจ�ากัด  4. นักเรียนทําแบบฝกสมรรถนะฯ ภูมิศาสตร ในเรือ่ งงบประมาณ  บุคลากร  อปุ กรณ์เครื่องมือในการแก้ไขปญั หาภยั พบิ ัตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มอยา่ ง ม.2 เรื่อง ปญหาทรัพยากรธรรมชาติและ ต่อเน่ือง จึงได้มีหน่วยงานร่วมจัดการและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น เช่น โครงการส่ิงแวดล้อมแห่ง ส่ิงแวดลอมและแนวทางการจัดการของทวีป สหประชาชาต ิ (United Nations Environment Programme: UNEP) ท�าหน้าทป่ี ระสานงานกับ แอฟรกิ า หน่วยงานอ่นื  ๆ ของสหประชาชาต ิ องคก์ รนานาชาติ และประเทศในทวปี แอฟริกา รวมไปถึงการ ลงนามในอนุสัญญาหลายฉบับ เช่น อนุสัญญาไซเตส  (CITES) ว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศ  5. ครูใหนักเรียนทําแบบวัดฯ ภูมิศาสตร ม.2 ซง่ึ ชนดิ สตั วป์ า่ และพชื ปา่ ท ี่ใกลส้ ญู พนั ธ ์ุ อนสุ ญั ญาวา่ ดว้ ยความหลากหลายทางชวี ภาพ (Convention  เร่ือง ทวีปแอฟริกา เพ่ือทดสอบความรู on Biological Diversity: CBD) เพอื่ การอนรุ ักษ์และใชป้ ระโยชน์อย่างยุตธิ รรมและเทา่ เทยี ม ขน้ั สรปุ กลา่ วโดยสรุป แมท้ วีปแอฟรกิ าจะเปน็ ทวีปใหญ่ มปี ระชากรและทรัพยากรมาก แต่จาก ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ที่มีลักษณะทางกายภาพส่วนใหญ่เป็นพ้ืนที่แห้งแล้ง ครแู ละนักเรยี นรว มกนั สรุป หรือใช PPT สรุป ทรุ กนั ดาร รวมทง้ั ขาดแคลนสาธารณปู โภคพนื้ ฐาน เงนิ ทนุ เทคโนโลย ี ปญั หาความไมส่ งบและ สาระสาํ คญั ของเนอื้ หา การสู้รบในหลายพื้นที่ ท�าให้การพัฒนาภายในทวีปแอฟริกาเป็นไปได้ยาก ส่งผลต่อคุณภาพ ชีวิตของประชากรในทวีป เช่น มีการศึกษาต�่า มีสุขภาพอนามัยที่ ไม่ดี ท�าให้ภาพลักษณ์ของ ขนั้ ประเมนิ ทวปี แอฟรกิ าเปน็ ทวปี ทย่ี ากจนและขาดการพฒั นา ดงั นน้ั การศกึ ษาทวปี แอฟรกิ าจะชว่ ยใหม้ ี ความรคู้ วามเขา้ ใจในแง่มุมตา่ ง ๆ ของทวปี ไดม้ ากขึน้ 1. ครูประเมินผลโดยสังเกตจากการตอบคําถาม การรว มกนั ทํางาน และการนําเสนอผลงาน ๓๑0 2. ครตู รวจสอบผลจากการทาํ ใบงาน และแบบฝก สมรรถนะฯ ภูมศิ าสตร ม.2 3. ครใู หน กั เรยี นทาํ แบบทดสอบหลังเรียน หนวยการเรยี นรูท ่ี 13 เร่ือง ทวปี แอฟริกา แนวทางการวัดและประเมินผล กิจกรรม 21st Century Skills ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจเน้ือหา เร่ือง ปญหาทรัพยากร นักเรียนเลือกปญหาส่ิงแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติของ ธรรมชาติและส่ิงแวดลอม และแนวทางการจัดการทรัพยากรของทวีปแอฟริกา ทวีปแอฟริกาที่สนใจ แลวเขียนวิเคราะหถึงสภาพปญหา สาเหตุ ไดจากการใชเคร่ืองมือทางภูมิศาสตรในการสืบคนและนําเสนอผลงานหนา ของปญหา บริเวณท่ีเกิดปญหา ผลกระทบ แนวทางปองกันและ ช้ันเรียน โดยศึกษาเกณฑการวัดและประเมินผลจากแบบประเมินการนําเสนอ แกไขปญหา และมาตรการการจัดการปญหา โดยใหเปรียบเทียบ ผลงานทแ่ี นบมาทา ยแผนการจดั การเรยี นรหู นว ยที่ 13 เรอ่ื ง ทวปี แอฟรกิ า ประเด็นปญหาดังกลาวกับทวีปอื่นๆ จากน้ันสรุปผลการวิเคราะห เปรียบเทียบปญหาส่ิงแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติในรูปแบบ แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ท่นี กั เรยี นถนัดหรือสนใจ แลวนาํ สงครูผสู อน คาช้ีแจง : ให้ผู้สอนประเมนิ ผลการนาเสนอผลงานของนักเรียนตามรายการ แล้วขีด ลงในช่องท่ี ตรงกบั ระดับคะแนน ลาดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดับคะแนน 1 32 1 ความถูกตอ้ งของเนอ้ื หา 2 การลาดับข้ันตอนของเร่ือง 3 วิธีการนาเสนอผลงานอย่างสร้างสรรค์ 4 การใชเ้ ทคโนโลยใี นการนาเสนอ 5 การมีสว่ นร่วมของสมาชกิ ในกลุ่ม รวม ลงชื่อ...................................................ผปู้ ระเมิน ............/................./................ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินสมบูรณช์ ัดเจน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินเป็นส่วนใหญ่ ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมินบางส่วน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ T340 12 - 15 ดี 8 - 11 พอใช้ ต่ากวา่ 8 ปรบั ปรุง

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ คÓถาม ประจÓหน่วยการเรียนรู้ เฉลย คาํ ถามเนน การคดิ ๑. ลักษณะทางกายภาพทีส่ ามารถบ่งบอกได้ถงึ ความเป็นทวีปแอฟรกิ ามีลกั ษณะอย่างไร ๒. ค  วามขัดแย้งระหว่างความล้าหลังและความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรของทวีปแอฟริกา  1. เปนพ้ืนที่ทะเลทรายกวางใหญ มีฝนตก นอยมาก ตอนกลางวันอากาศรอน แหงแลง เป็นผลมาจากปัจจัยทางภูมศิ าสตร ์ และปจั จัยทางสังคมในดา้ นใด สวนตอนกลางคืนอากาศหนาวจัด พืชพรรณ ๓. ท  วีปแอฟริกาในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงในด้านประชากร เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ธรรมชาตมิ อี ยบู า ง เชน กระบองเพชร อนิ ทผลมั อย่างไร อธบิ ายพอสงั เขป 2. ทวีปแอฟริกามีสภาพภูมิประเทศแตกตางกัน ๔. ป  ัจจุบันทวีปแอฟริกาเผชิญปัญหาภัยพิบัติและสิ่งแวดล้อมใดบ้าง และจากปัญหาดังกล่าว  หลายบริเวณมีความแหงแลง ทุรกันดาร มี ทะเลทรายท่ีกวางใหญไพศาล มีอากาศรอน สง่ ผลกระทบต่อประชากรอย่างไร เปนบริเวณกวาง แตมีทรัพยากรธรรมชาติ ๕. แ  นวทางในการแก้ไขปัญหาภัยพิบัติและปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในทวีป ท่ีอุดมสมบูรณและหลากหลาย แตหลาย ประเทศมีปญหาการเมือง ภัยพิบัติทาง แอฟริกาทย่ี ง่ั ยืนสามารถทา� ได้อย่างไร ธรรมชาติ จึงทําใหภาพรวมของทวีปยังคง ลา หลัง กิจกรรม สรา้ งสรรค์พัฒนาการเรยี นรู้ 3. จํานวนประชากรเพิ่มมากข้ึน มีการขยายตัว กจิ กรรมท่ี ๑  น  กั เรียนแบง่ กลุ่ม สืบค้นขอ้ มลู เก่ียวกบั ลกั ษณะทางกายภาพ ลกั ษณะประชากร  ทางเศรษฐกิจจากการเขามาลงทุนของ นักลงทนุ จากยุโรป สหรัฐอเมริกา และจนี มี ลักษณะสังคมและวัฒนธรรม  ลักษณะเศรษฐกิจ  ภัยพิบัติ  ปัญหาทรัพยากร  การติดตอสื่อสารกับทวีปอื่นเพิ่มข้ึน มีการ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และแนวทางการจัดการในแต่ละภูมิภาค จากนั้นให้ พัฒนาเสนทางคมนาคมขนสงท่ีสะดวกข้ึน นกั เรยี นนา� เสนอขอ้ มลู จากการสบื คน้ ประกอบการใชเ้ ครอ่ื งมอื ทางภมู ศิ าสตร ์ เชน่   สภาพสังคมและวัฒนธรรมชนเผามีการ แผนท ่ี ลกู โลก ภาพถา่ ยทางอากาศ หรือภาพจากดาวเทยี ม เปลย่ี นแปลงมากขึ้นในหลายๆ เผา เนื่องจาก มกี ารตดิ ตอกับบุคคลภายนอก กจิ กรรมที่ ๒  น  กั เรยี นรว่ มกนั ทา� กจิ กรรม “ถา้ ฉนั เปน็ ...” โดยวเิ คราะหถ์ งึ แนวทางการปฏบิ ตั ติ น  4. เชน ปญ หาภยั แลง ทาํ ใหเ กดิ การขาดแคลนนา้ํ การด�ารงชวี ติ  หรือการพฒั นาคณุ ภาพชีวิตตามสถานการณ์ ดงั น้ี อยางรุนแรง พ้ืนท่ีทางการเกษตรไดรับความ   ๑. หวั หนา้ กลุ่มชนเผ่าท่ีต้องปรับตวั ให้เข้ากบั กระแสโลกาภวิ ัตน์ เสยี หาย ปศสุ ตั วล ม ตาย ปญ หาการขาดแคลน   ๒. ผูส้ ่งออกผลผลติ ทางการเกษตร นา้ํ และมลพษิ ทางนา้ํ ทาํ ใหไ มม นี าํ้ สะอาดเพอื่   ๓. นกั ลงทนุ ชาวจนี การอปุ โภคบรโิ ภค และการทําการเกษตร   ๔. กลุม่ อนุรักษ์และคุม้ ครองสตั วป์ ่า   ๕. กล่มุ ผู้ช่วยเหลือผปู้ ระสบภัยจากสหประชาชาติ 5. เชน ใหการศึกษาและความรูแกประชาชน เพ่ือใหประชาชนตระหนักถึงผลกระทบท่ีจะ เกิดข้ึนจากการท่ีสิ่งแวดลอมเส่ือมโทรมลง ใหความรวมมือกับองคกรนานาชาติ เพ่ือ ใหการจัดการมีประสิทธิภาพมากขึ้น และมี การติดตามการแกไ ขปญหาอยา งตอ เน่อื ง ๓๑๑ เฉลย แนวทางประเมินกจิ กรรมพฒั นาทกั ษะ ประเมนิ ความรอบรู • ใชในการประเมินความรอบรูในหลักการพ้ืนฐาน กระบวนการความสัมพันธของข้ันตอนการปฏิบัติงาน รวมถึงทักษะการคิดในเร่ืองตางๆ โดยท่ัวไป งานหรือชิน้ งานใชเวลาไมนาน งานสําหรับประเมนิ รูปแบบนีอ้ าจเปน คาํ ถามปลายเปดหรอื ผังมโนทศั น นยิ มสําหรบั ประเมินผูเ รียนรายบคุ คล ประเมนิ ความสามารถ • เชน ความคลอ งแคลว ในการใชเ ครอื่ งมอื ทางภมู ศิ าสตร การแปลความหมายขอ มลู ทกั ษะการตดั สนิ ใจ ทกั ษะการแกป ญ หา งานหรอื ชน้ิ งานจะสะทอ นถงึ ทกั ษะและระดบั ความสามารถในการนาํ ความรไู ปใช อาจเปน การประเมนิ การเขยี น ประเมินกระบวนการทํางานทางภูมศิ าสตรตางๆ หรอื การวิเคราะห และการแกปญ หา ประเมนิ ทักษะ • มเี ปาหมายหลายประการ ผูเ รยี นไดแ สดงทักษะ ความสามารถทางภมู ิศาสตรต า งๆ ที่ซบั ซอนข้ึน งานหรือช้นิ งานมกั เปน โครงงานระยะยาว ซ่ึงผูเรียน ตองมีการนําเสนอผลการปฏบิ ตั งิ านตอผูเกี่ยวขอ งหรือตอสาธารณะ สิ่งที่ตองคํานึงถึงในการประเมิน คือ จํานวนงานหรือกิจกรรมท่ีผูเรียนปฏิบัติ ซึ่งผูประเมินควรกําหนดรายการประเมินและทักษะท่ีตองการประเมินให ชัดเจน T341

บรรณานุกรม กระมล  ทองธรรมชาติ และคณะ. ๒๕๔๕. โลกของเรา. กรงุ เทพมหานคร : อกั ษรเจรญิ ทศั น.์ กระมล  ทองธรรมชาต.ิ ๒๕๔๘. องคก์ รตามรัฐธรรมนูญกบั การคมุ้ ครองสทิ ธิเสรีภาพของประชาชน. กรงุ เทพมหานคร : (ม.ป.ท.). กญั ญา  ลลี าสัย. ๒๕๔๔. ประวัติศาสตรช์ นชาติไทย. กรุงเทพมหานคร : สถาบนั วิถที รรศน์. เกรยี งศักดิ์  ราชโคตร์. ๒๕๕๒. การเมอื งการปกครองไทย (๙๐๑-๑๐๖) : Thai Government and Politices. กรงุ เทพมหานคร :  ดวงแกว้ . คณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาต,ิ สำ�นักงาน. ๒๕๕๐. หนทางสรา้ งสขุ ของคนในสังคมไทย.กรงุ เทพมหานคร : (ม.ป.ท.). คณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำ�ริ, สำ�นักงาน. ๒๕๕๑. การประกวดผลงานตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพยี ง. กรงุ เทพมหานคร : อรุณการพิมพ.์ คณะกรรมการวฒั นธรรมแห่งชาติ, สำ�นักงาน. ๒๕๔๔. แนวทางการสืบค้นวัฒนธรรมทอ้ งถิน่ ไทย. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ ์ ครุ สุ ภาลาดพร้าว. คณนิ   บุญสวุ รรณ. ๒๕๔๒. สิทธเิ สรีภาพของคนไทย. กรุงเทพมหานคร : วญิ ญูชน. จตุรสั   วรรณกร. ๒๕๔๖. บนเส้นทางการต่อสเู้ พอ่ื ประชาธิปไตย ๓๐ ปี ๑๔ ตลุ า. กรุงเทพมหานคร : วรรณสาสน์ . จารมุ า  อชั กลุ (บรรณาธกิ าร). ๒๕๕๑. การวเิ คราะหส์ ถานภาพความสามารถในการแขง่ ขนั ของไทยในเศรษฐกจิ โลก.กรงุ เทพมหานคร : จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. จรนิ ทร์  เทศวานชิ . ๒๕๔๕. การเงนิ และการธนาคาร. กรงุ เทพมหานคร : โอเดียนสโตร์. เฉลยี ว  ฤกษร์ จุ พิ มิ ล. ๒๕๔๓. “การจัดระเบียบสังคม” ในสังคมวิทยา. กรงุ เทพมหานคร : มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.์ ชยั วัฒน์  วงศว์ ฒั นศานต์. ๒๕๔๓. กฎหมายคุ้มครองผบู้ รโิ ภค. กรุงเทพมหานคร : วญิ ญูชน. ชาญชัย  แสวงศักด์ิ. ๒๕๔๕. คู่มือประชาชนเรื่องความรู้เก่ียวกับสิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ของประชาชน. กรุงเทพมหานคร : ส�ำ นักงานศาลปกครอง. ชาญวิทย ์ เกษตรศิร.ิ (ม.ป.ป.). บนั ทึกประวัติศาสตร์ ๑๔ ตลุ าคม ๒๕๑๖. กรงุ เทพมหานคร : สายธาร. ชูศักดิ์  จรญู ศกั ดิ์. ๒๕๔๕. การลงทนุ และการออมทรัพย์ ในชีวติ ประจำ�วนั . กรุงเทพมหานคร : โอเดยี นสโตร์. ดวงธิดา  ราเมศวร์. ๒๕๕๑. ๒ อารยธรรมยิ่งใหญ่แห่งอาเซีย อินเดีย-จีน : The 2 Giant Civilize of Asia India-China. กรุงเทพมหานคร : มายิก. ด�ำ รงค ์ ฐานด.ี ๒๕๔๔. มานษุ ยวิทยาเบอ้ื งตน้ . กรงุ เทพมหานคร : โอเดียนสโตร.์ ธีระวัฒน์  จันทรสมบูรณ์ และสานิต ศรีสังข์. ๒๕๔๗. “การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสินค้าหรือบริการท่ัวไปด้านอาหารและยา” ใน เอกสารการสอนชุดวชิ ากฎหมายพาณชิ ย์ ๑ หน่วยท่ี ๖ สาขาวิชานติ ิศาสตร์ มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช. นนทบุรี : มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช. นนั ทวัฒน ์ บรมานนั ท.์ (ม.ป.ป.). กฎหมายปกครอง. กรุงเทพมหานคร : วิญญูชน. นราทพิ ย ์ ชุตวิ งศ์ และชลดา  จามรกลุ . ๒๕๔๑. พื้นฐานเศรษฐศาสตรจ์ ุลภาค. กรงุ เทพมหานคร : คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. บุญทรง  พฤกษาพงศ์ และสัก กอแสงเรือง. (ม.ป.ป.). รวมกฎหมายแรงงาน. กรุงเทพมหานคร : นติ ิบรรณการ. ประสพสขุ   บญุ เดช. ๒๕๕๒. หลกั กฎหมายครอบครัว. กรุงเทพมหานคร : วญิ ญชู น. ประเสริฐ  ล่ิมประเสริฐ และสมรกั ษ ์ พรหมมา. ๒๕๔๕. กฎหมายครอบครัว : Family Law. กรุงเทพมหานคร : พิมพอ์ ักษร. ผู้ตรวจการแผ่นดินและสำ�นักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน, สำ�นักงาน. (ม.ป.ป.). รวมกฎหมาย ท่ปี ระชาชนควรร้.ู กรุงเทพมหานคร : (ม.ป.ท.). T342

เพชรี  ขมุ ทรัพย.์ ๒๕๔๐. หลักการลงทุน. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพม์ หาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร.์ ไพโรจน์  อาจรักษา. ๒๕๔๕. บรโิ ภคอย่างชาญฉลาด อ่านฉลากกอ่ นซอ้ื . กรุงเทพมหานคร : วญิ ญูชน. มานษุ ยวิทยาสริ นิ ธร, ศูนย.์ ๒๕๔๒. สังคมและวฒั นธรรมไทย. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พเ์ รอื นแก้วการพมิ พ์. ราชบณั ฑติ ยสถาน. ๒๕๔๕. ประกาศส�ำ นกั นายกรฐั มนตรแี ละประกาศราชบัณฑติ ยสถาน เร่ือง ก�ำ หนดชื่อประเทศ ดนิ แดน เขต การปกครอง และเมอื งหลวง. กรุงเทพมหานคร : อรุณการพมิ พ.์ . ๒๕๔๙. พจนานุกรม ช่ือภูมิศาสตร์สากล เล่ม ๑ (อักษร A-L) ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพมหานคร : ราชบณั ฑิตยสถาน. . ๒๕๕๐. พจนานุกรม ช่ือภูมิศาสตร์สากล เล่ม ๒ (อักษร M-Z) ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพมหานคร : ราชบณั ฑิตยสถาน. . ๒๕๕๖. พจนานกุ รมศพั ทก์ ฎหมายไทย ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน. (พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๔). กรงุ เทพมหานคร : ราชบณั ฑติ ยสถาน. . ๒๕๕๖. พจนานุกรมศัพทร์ ัฐศาสตร์ ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน. (พมิ พค์ รั้งท่ี ๔). กรงุ เทพมหานคร : ราชบณั ฑิตยสถาน. . ๒๕๕๘. พจนานกุ รมศัพท์เศรษฐศาสตร.์ (พมิ พค์ ร้ังที่ ๓). กรุงเทพมหานคร : ราชบัณฑติ ยสถาน. วรนนั ท ์ กิตตอิ มั พานนท์. ๒๕๕๓. เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ. กรงุ เทพมหานคร : โอเดยี นสโตร.์ วนั รกั ษ ์ มงิ่ มณนี าคนิ และคณะ. ๒๕๕๐. หลกั เศรษฐศาสตรม์ หภาค. (พมิ พค์ รง้ั ที่ ๑๔). กรงุ เทพมหานคร : มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร.์ ศิรริ ัตน์  แอดสกลุ . ๒๕๕๙. ความรเู้ บ้ืองต้นทางสงั คมวิทยา. กรงุ เทพมหานคร : จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั . ศกึ ษาธิการ, กระทรวง, กรมวิชาการ. ๒๕๔๒. แนวทางการจัดการเรยี นร้เู กษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์  การศาสนา. ศกึ ษาธิการ, กระทรวง และสำ�นกั พมิ พ์ร่วมด้วยชว่ ยกนั . ๒๕๔๔. ทฤษฎ ีใหม ่ในหลวงชวี ิตพอเพยี ง. กรุงเทพมหานคร : กระทรวง  ศกึ ษาธกิ ารและร่วมด้วยชว่ ยกัน. ศาลรัฐธรรมนญู , ส�ำ นักงาน. ๒๕๔๖. ความรู้เบ้อื งตน้ เก่ียวกับศาลรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพมหานคร : พี. เพรส. . ๒๕๕๑. รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๐. กรุงเทพมหานคร : คณะรัฐมนตรีและราชกจิ จา- นุเบกษา. สภาทนายความ. ๒๕๔๐. กฎหมายเบือ้ งต้นส�ำ หรบั ประชาชน. กรุงเทพมหานคร : ประยรู วงศ์พรน้ิ ต้งิ . ส�ำ นกั งานพฒั นาเทคโนโลยอี วกาศและภูมิสารสนเทศ (องคก์ ารมหาชน). ๒๕๕๒. ต�ำ ราเทคโนโลยอี วกาศและภมู ิสารสนเทศศาสตร.์ กรุงเทพมหานคร : อมั รนิ ทรพ์ รนิ้ ติง้ แอนดพ์ ับลิชช่ิง. สรุ พล  ไตรเวทย์. (ม.ป.ป.). พระมหากษัตรยิ ์ รฐั ธรรมนูญ และประชาธิปไตย. กรุงเทพมหานคร : วญิ ญชู น. เสน่ห์  จามริก. ๒๕๔๙. การเมืองไทยกับพัฒนาการรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิโครงการตำ�ราสังคมศาสตร์และ มนุษยศาสตร.์ แสวง  บุญเฉลิมวิภาส. (ม.ป.ป.). ประวัตศิ าสตร์กฎหมายไทย. กรงุ เทพมหานคร : วิญญชู น. หยดุ   แสงอทุ ยั . ๒๕๔๕. กฎหมายอาญาภาคทวั่ ไป. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. อคนิ   รพพี ฒั น.์ ๒๕๕๑. วัฒนธรรมคอื ความหมาย. กรงุ เทพมหานคร : ศูนย์มานษุ ยวทิ ยาสิรนิ ธร. อานนท์  ผกากรอง. ๒๕๕๑. การผลติ และการบรโิ ภคในสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร : จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . อมร  รักษาสัตย์ และคณะ. ๒๕๔๓. ประชาธิปไตย : อุดมการณ์ หลักการ และแบบอย่างการปกครองของหลายประเทศ. กรงุ เทพมหานคร : จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. อมร  สุวรรณบปุ ผา. (ม.ป.ป.). ๑๔ ตลุ า ๑๖ วันมหาวิปโยค. กรงุ เทพมหานคร : สภาสังคมสงเคราะหแ์ ห่งประเทศไทย ในพระบรม- ราชูปถมั ภ.์ T343

Aksorn Map Project. 2015. (ม.ป.ป). Aksorn World Geography Atlas. กรุงเทพมหานคร : อักษรเจรญิ ทศั น์. Aryeetey-Attoh, Samuel and others. 2009. Geography of Sub-Saharan Africa. New Jerrey: Prentice Hall Inc. Blouet, Brian-W. 2008. The EU and Neighbors: A Geography of Europe in the Modern World. Shichester:  John Wiley & Sons. Hill, Marquita K. 2004. Understanding Environmental Pollution. Cambridge: University of Cambridge. Holden, Joseph W. 2012. An Introduction to Physical Geography and the Environment. 3rd ed. Milan: Rotolito  Lombarda. Janssen Sarah. 2017. The World Almanac and Book of Facts 2018. Indiana: LSC Communications. Joyce, Alan C. 2015. The World Almanac and Book of Fact 2015. New York: Hamilton Printing Company. Kaplan, David H., Monmonier, Mark. 2006. Perthes World Atlas. Gotha: Klett-Perthes Verlag. Royal Geographic Society. 2008. Philip’s Modern School Atlas. 96th ed. London: Philip’s. Ruffin Roy and Paul Gregory. 2008. Principle of Economics. Scott, Foresman and Company. สอื่ ข้อมลู อิเล็กทรอนกิ ส์ ซีอารซ์ ีไทวสั ดุ. ๒๕๕๕. เคลด็ ลับการท�ำความสะอาดพน้ื ผวิ ต่าง ๆ ภายในบ้าน. (ออนไลน์). สืบค้นเมอื่ ๒๔ สงิ หาคม ๒๕๖๑. จาก http://www.homeworks.co.th/howto5html ไทยทิคเกต็ เมเจอร์. ๒๕๖๑. จดั สวนดว้ ยไม้ดอกหอม ร้ทู ศิ ร้มู มุ มีสวนหอมทัง้ ป.ี (ออนไลน)์ . สบื คน้ เมอ่ื ๒๖ สิงหาคม ๒๕๖๑. จาก http://www.thaiticketmajor.com/variety/lifestyle/9577/ ส�ำนกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สุขภาพ. ๒๕๕๘. ผงซกั ฟอกภัยเงียบจากครวั เรอื น. (ออนไลน์). สบื คน้ เม่อื ๒๔ สงิ หาคม ๒๕๖๑. จาก http://www2.thaihealth.or.th/Content/26211- ส�ำนกั งานกองทุนสนับสนนุ การสร้างเสรมิ สุขภาพ. ๒๕๕๕. สารพิษในพลาสตกิ ปนเปือ้ นอาหาร. (ออนไลน)์ . สืบคน้ เม่ือ ๒๔ สงิ หาคม ๒๕๖๑. จาก http://www.thaihealth.or.th/Content/18232- อัค๊ โซ่ โนเบล เพ้นท์ส (ประเทศไทย). ๒๕๖๑. ไอเดยี แต่งห้องนอนของคณุ ด้วยสีแห่งปี ๒๐๑๘. (ออนไลน์). สืบคน้ เมื่อ ๒๔ สงิ หาคม ๒๕๖๑. จาก https://www.dulux.co.th/th/colour-inspiration/4-ways-to-use-colour-of-the-year-in-your-bedroom Estopolas. ๒๕๖๑. ๒๐ ไอเดีย จัดสวนถาดแคคตัส. (ออนไลน์). สบื ค้นเม่ือ ๒๖ สงิ หาคม ๒๕๖๑. จาก https://www.estopolis. com/article/20-ไอเดีย-การจัดสวนถาดจากต้นแคคตสั -กระบองเพชร T344


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook