Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิทยาการคำนวณ ป5

วิทยาการคำนวณ ป5

Published by naree.ced55, 2021-07-21 08:36:02

Description: วิทยาการคำนวณ ป5

Search

Read the Text Version

รายการตรวจสอบและอนุญาตให้ใช้  เห็นควรอนญุ าตให้ใช้การสอนได้  ควรปรบั ปรุง  อ่นื ๆ ...................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ลงช่อื (นางสาวดารณี ปานทอง) หัวหน้าระดับช้ันประถมศึกษา  เหน็ ควรอนุญาตให้ใชก้ ารสอนได้  ควรปรับปรุง  อ่ืนๆ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ลงช่ือ.............................................. (นายชนาธปิ กาละพนั ธ์) รองผู้อานวยการ  เหน็ ควรอนุญาตให้ใช้การสอนได้  ควรปรับปรงุ  อน่ื ๆ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ลงชอ่ื .............................................. (นายประเวศ ทัง่ จันทร์แดง) ผู้อานวยการโรงเรยี น

คานา ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด สาระเทคโนโลยี กลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อให้สถานศกึ ษานาไปใชเ้ ป็นกรอบทศิ ทางในการพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา วางแผนการจัดการเรยี นการสอนและ จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามเป้าหมายของ หลักสูตร ตลอดจนให้เกิดผลสาเร็จตามเจตนารมณ์ของการปฏิรูปการศึกษา ดังน้ัน ขั้นตอนการนาหลักสูตร สถานศึกษาไปปฏบิ ัติจรงิ ในช้นั เรียนของครูผู้สอน จึงจัดเปน็ หวั ใจสาคัญในการพฒั นาผู้เรียน บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด ได้จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาพ้ืนฐาน เทคโนโลยี (วิทยาการ คานวณ) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ขึ้น เพ่ือให้ครูผู้สอนใช้เป็นแนวทางวางแผนจัดการเรียนรู้แก่ผู้เรียน โดยจัดทาเป็น หน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานและออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดการออกแบบย้อนกลับ (Backward Design) ตลอดจนเน้นกิจกรรมแบบ Active Learning อันจะช่วยให้ผู้ปกครองและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการ ประเมินคุณภาพการศึกษา สามารถม่ันใจในผลการเรียนรู้และคุณภาพของผู้เรียนที่มีหลักฐานตรวจสอบผลการ เรยี นรอู้ ย่างเปน็ ระบบ ผูส้ อนสามารถนาแผนการจัดการเรียนรู้เล่มน้ี ไปเป็นแนวทางวางแผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ประกอบการ ใชห้ นังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 5 ทีท่ างบรษิ ัทจัดพิมพ์จาหน่าย โดยท้งั นกี้ ารออกแบบการเรยี นรู้ (Instructional Design) ไดด้ าเนนิ การตามกระบวนการ ดงั นี้ 1 หลกั การจดั การเรียนรู้อิงมาตรฐาน หน่วยการเรียนรู้แต่ละหน่วยจะกาหนดผลการเรียนรู้ไว้เป็นเป้าหมายในการจัดการเรียนการสอน ผู้สอน จะต้องศึกษาและวเิ คราะห์รายละเอยี ดของมาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชี้วัดทุกข้อว่า ระบุใหผ้ เู้ รียนต้องมีความรูค้ วาม เข้าใจเกี่ยวกับเร่ืองอะไร และต้องสามารถลงมือปฏิบัติอะไรได้บ้าง และมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่เกิดข้ึนกับ ผเู้ รียนจะนาไปสกู่ ารเสรมิ สร้างสมรรถนะสาคัญและคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ด้านใดแกผ่ ู้เรียน มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ช้ีวัด ผเู้ รยี นรู้อะไร ผูเ้ รยี นทำอะไรได้ นาไปสู่ สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

2 หลักการจดั กจิ กรรมการเรียนรทู้ เี่ นน้ ผ้เู รยี นเป็นสาคัญ เม่ือผู้สอนวิเคราะห์รายละเอยี ดของมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชว้ี ัด และได้กาหนดเป้าหมายการจดั การเรียน การสอนเรียบร้อยแล้ว จึงกาหนดขอบข่ายสาระการเรียนรู้และแนวทางการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรีย นลงมือ ปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนของกจิ กรรมการเรียนรู้ทีอ่ อกแบบไว้จนบรรลุมาตรฐานและตัวชีว้ ัดทกุ ข้อ มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ช้วี ดั เป้าหมาย หลักการจดั การเรียนรู้ การเรยี นรู้ สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน และการพฒั นา เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ คณุ ภาพ สนองควำมแตกต่ำงระหวำ่ งบคุ คล คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ของผู้เรยี น เนน้ พฒั นำกำรทำงสมอง ของผเู้ รียน กระตุ้นกำรคิด เนน้ ควำมรคู้ คู่ ณุ ธรรม 3 หลกั การบูรณาการกระบวนการเรียนรสู้ ผู่ ลการเรียนรู้ เมื่อผู้สอนกาหนดขอบข่ายสาระการเรียนรู้ และแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไว้แล้ว จึงกาหนด รปู แบบการเรียนการสอนและกระบวนการเรยี นรู้ ท่ีจะฝึกฝนใหผ้ ู้เรียนเกิดการเรียนรู้ บรรลตุ ามมาตรฐานการเรยี นรู้ และตัวช้ีวัด โดยเลือกใช้กระบวนการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดที่เป็นเป้าหมายในหน่วย น้ัน ๆ เชน่ กระบวนการเรยี นรแู้ บบบรู ณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการเรยี นรูด้ ้วยตนเอง กระบวนการ เผชิญสถานการณ์และการแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการคิดวเิ คราะห์อยา่ งมีวิจารณญาณ กระบวนการทางสังคม ฯลฯ กระบวนการเรียนรู้ท่ี มอบหมายให้ผู้เรียนลงมอื ปฏิบัติน้ันจะต้องนาไปสู่การเสริมสรา้ งสมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ของ ผู้เรยี นตามสาระการเรียนรทู้ ่ีกาหนดไวใ้ นแตล่ ะหน่วยการเรียนรู้ 4 หลักการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละหน่วย ผู้สอนต้องกาหนดขั้นตอนและ วิธปี ฏิบตั ิใหช้ ดั เจน โดยเนน้ ใหผ้ เู้ รียนได้ลงมอื ฝกึ ฝนและฝึกปฏิบตั ิมากท่ีสดุ ตามแนวคดิ และวธิ กี ารสาคญั คอื 1) การเรียนรู้ เป็นกระบวนการทางสติปัญญา ท่ีผู้เรียนทุกคนต้องใช้สมองในการคิดและทาความเข้าใจ ในสิ่งต่างๆ ร่วมกับการลงมือปฏิบัติ ทดลองค้นคว้า จนสามารถสรุปเป็นความรู้ได้ด้วยตนเอง และ สามารถนาเสนอผลงาน แสดงองคค์ วามรู้ทเ่ี กดิ ขึ้นในแต่ละหน่วยการเรียนร้ไู ด้

2) การสอน เป็นการเลือกวิธีการหรอื กิจกรรมทีเ่ หมาะสมกับการเรียนรใู้ นหนว่ ยน้ัน ๆ และที่สาคญั คือ ต้อง เป็นวธิ ีการทสี่ อดคล้องกบั สภาพผู้เรียน ผูส้ อนจึงต้องเลือกใชว้ ิธกี ารสอน เทคนิคการสอน และรูปแบบการ สอนอยา่ งหลากหลาย เพอื่ ช่วยใหผ้ เู้ รยี นปฏิบตั ิกิจกรรมการเรยี นรไู้ ดอ้ ยา่ งราบรนื่ จนบรรลุตวั ช้ีวัดทกุ ขอ้ 3) รูปแบบการสอน ควรเป็นวิธีการและขั้นตอนฝึกปฏิบัติท่ีส่งเสริมหรือกระตุ้นให้ผู้เรียนสามารถคิดอย่าง เป็นระบบ เช่น รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) รูปแบบการสอนโดยใช้การคิดแบบ โยนิโสมนสิการ รูปแบบการสอนแบบ CIPPA Model รูปแบบการเรียนการสอนตามวัฏจักรการเรียนรู้ แบบ 4MAT รปู แบบการเรยี นการสอนแบบร่วมมอื เทคนิค JIGSAW, STAD, TAI, TGT 4) วิธกี ารสอน ควรเลือกใช้วธิ ีการสอนที่สอดคลอ้ งกับเนอ้ื หาของบทเรียน ความถนัด ความสนใจ และสภาพ ปัญหาของผูเ้ รียน วิธสี อนท่ีดีจะช่วยใหผ้ ู้เรียนสามารถบรรลุผลการเรียนรตู้ ามในระดบั ผลสัมฤทธ์ิท่ีสูง เช่น วิธีการสอนแบบบรรยาย การสาธิต การทดลอง การอภิปรายกลุ่มย่อย การแสดงบทบาทสมมติ การใช้ กรณตี ัวอย่าง การใช้สถานการณจ์ าลอง การใช้ศนู ย์การเรียน การใช้บทเรยี นแบบโปรแกรม เปน็ ต้น 5) เทคนิคการสอน ควรเลือกใชเ้ ทคนคิ การสอนท่สี อดคลอ้ งกบั วิธีการสอน และชว่ ยให้ผ้เู รียนเข้าใจเน้ือหาใน บทเรียนได้ง่ายข้ึน สามารถกระตุ้นความสนใจและจูงใจให้ผู้เรียนร่วมปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้อย่างมี ประสิทธิภาพ เช่น เทคนิคการใช้ผังกราฟิก (Graphic Organizers) เทคนิคการเล่านิทาน การเล่นเกม เทคนิคการใชค้ าถาม การใช้ตัวอยา่ งกระตนุ้ ความคิด การใช้สอ่ื การเรียนรู้ท่นี ่าสนใจ เป็นต้น 6) สื่อการเรียนการสอน ควรเลือกใช้สื่อหลากหลายกระตุ้นความสนใจ และทาความกระจ่างให้เน้ือหา สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ และเป็นเครื่องมือช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้บรรลุตัวช้ีวัดอย่างราบรื่น เช่น ส่ือสิ่งพิมพ์ เอกสารประกอบการสอน แถบวีดิทัศน์ แผ่นสไลด์ คอมพิวเตอร์ VCD LCD Visualizer เปน็ ต้น ควรเตรียมส่อื ใหค้ รอบคลมุ ทง้ั สื่อการสอนของครูและสอ่ื การเรยี นรู้ของผู้เรยี น 5 หลกั การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบยอ้ นกลับตรวจสอบ เมื่อผู้สอนวางแผนออกแบบการจัดการเรียนรู้ รวมถึงกาหนดรูปแบบการเรียนการสอนไว้เรียบร้อยแล้ว จึงนา เทคนิควิธีการสอน วิธีจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และส่ือการเรียนรู้ไปลงมือจัดการเรียนการสอน ซ่ึงจะนาผู้เรียนไปสู่ การสร้างช้ินงานหรือภาระงาน เกิดทักษะกระบวนการและสมรรถนะสาคัญตามธรรมชาติวิชา รวมท้ังคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดที่เป็นเป้าหมายของหน่วยการเรียนรู้ ตามลาดับข้ันตอน การเรียนรู้ที่กาหนดไว้ ดงั นี้

จากเปา้ หมายและ เป้าหมายการเรยี นรขู้ องหน่วย หลักฐาน คดิ ยอ้ นกลบั หลักฐานช้ินงาน/ภาระงาน แสดงผลการเรยี นรขู้ องหนว่ ย สู่จดุ เรม่ิ ตน้ ของกจิ กรรมการเรียนรู้ 4 กิจกรรม คาถามชวนคดิ แสดงผลการเรยี นรูข้ องหนว่ ย 3 กิจกรรม คาถามชวนคดิ จากกิจกรรมการเรยี นรู้ 2 กิจกรรม คาถามชวนคดิ ทลี ะข้นั บันได 1 กิจกรรม คาถามชวนคิด สหู่ ลกั ฐานและ เปา้ หมายการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีมีประสิทธิภาพ นอกจากจะเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงแล้ว จะต้อง ฝึกฝนกระบวนการคิดทุกข้ันตอน โดยใช้เทคนิคการต้ังคาถามกระตุ้นความคิด และใช้ระดับคาถามให้สัมพันธ์กับ เน้ือหาการเรียนรู้ ตั้งแต่ระดับความรู้ ความจา ความเข้าใจ การนาไปใช้ การวิเคราะห์ การประเมินค่า และ การสร้างสรรค์ นอกจากจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจบทเรียนอย่างลึกซึ้งแล้ว ยังเป็นการเตรียมความพร้อม เพื่อสอบ O-NET ซงึ่ เป็นการทดสอบระดบั ชาตทิ เ่ี น้นกระบวนการคิดระดับวเิ คราะหด์ ้วย และในแตล่ ะแผนการเรียนรู้ จึงมีการระบุคาถามเพื่อกระตุ้นความคิดของผู้เรียนไว้ด้วยทุกกิจกรรม ผู้เรียนจะได้ฝึกฝนวิธีการทาข้อสอบ O-NET ควบคไู่ ปกบั การปฏบิ ตั กิ ิจกรรมการเรยี นรตู้ ามผลการเรียนรู้ทีส่ าคัญ ทั้งนี้การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละหน่วยจะครอบคลุมกิจกรรมการเรียนรู้ และการ ประเมินผลด้านความรู้ความเข้าใจ (K) ด้านทักษะกระบวนการ (P) และด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตาม มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วดั สาระเทคโนโลยี กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตาม หลักสูตรแกนกลางฯ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 พร้อมทั้งออกแบบเคร่ืองมือการวัดและประเมินผล ตลอดจนแบบบันทึกผลการเรียนรู้ด้านต่าง ๆ ไว้ครบถ้วน สอดคล้องกับมาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน เช่น แบบบันทึกผลด้านการคดิ วิเคราะห์ ด้านการอ่านและแสวงหาความรู้ ด้านสมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตร เป็นต้น ผู้สอนสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ และใช้ประกอบการจัดทารายงานการ ประเมินตนเอง (Self Assessment Reports) จึงมั่นใจอยา่ งย่ิงว่า การนาแผนการจัดการเรยี นรูเ้ ล่มนไี้ ปเป็นแนวทาง จัดการเรียนการสอนจะช่วยพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้นตามมาตรฐานการศึกษาและการ ประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษาทุกประการ

สารบญั สรปุ หลักสูตรฯ วทิ ยาศาสตร์ หน้า พเิ ศษ 1-3 มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง วทิ ยาศาสตร์ พเิ ศษ 4-5 คาอธบิ ายรายวิชา เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ป.5 พเิ ศษ 6 โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ป.5 พิเศษ 7-8 Pedagogy พิเศษ 9-10 โครงสร้างแผนการจัดการเรยี นรู้ เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ป.5 พิเศษ 11-17 หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 เหตุผลเชิงตรรกะกับการแก้ปัญหา แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 การแกป้ ัญหาดว้ ยเหตผุ ลเชงิ ตรรกะ 1 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 การทานายผลลพั ธจ์ ากปัญหาอยา่ งงา่ ย 13 22 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 2 การเขียนโปรแกรมโดยใชเ้ หตผุ ลเชงิ ตรรกะ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 1 การออกแบบโปรแกรมด้วยการเขยี นข้อความ 39 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 2 การออกแบบโปรแกรมดว้ ยการเขยี นผงั งาน 55 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 3 การเขียนโปรแกรมโดยใช้ภาษา Scratch 63 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 4 การตรวจสอบขอ้ ผิดพลาดของโปรแกรม 73 82 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 3 ข้อมูลสารสนเทศ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 รจู้ กั ข้อมูล 101 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 2 ลักษณะของข้อมลู ท่ีดี 118 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 แหลง่ ข้อมูล 127 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 4 การรวบรวมข้อมูล 136 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 5 การประมวลผลข้อมลู 144 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 6 การสบื คน้ ขอ้ มลู โดยใช้อินเทอรเ์ นต็ 152 160

สารบญั หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 4 การใช้อนิ เทอร์เนต็ อยา่ งปลอดภัย หนา้ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 การตดิ ต่อสื่อสารผ่านอนิ เทอร์เน็ต แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 2 อาชญากรรมทางอนิ เทอรเ์ นต็ 181 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 มารยาทในการติดต่อส่ือสารผ่านอินเทอร์เน็ต 198 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 4 ข้อมลู เพื่อการตดั สนิ ใจ 208 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 5 การนาเสนอขอ้ มลู และการทาแบบสารวจความคิดเหน็ ออนไลน์ 216 222 229

สรปุ หลกั สูตร วทิ ยาศาสตร์* ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 น้ี ได้กาหนดสาระการเรียนรู้ออกเป็น 4 สาระ ได้แก่ สาระท่ี 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ และสาระท่ี 4 เทคโนโลยี มีสาระเพิ่มเติม 4 สาระ ได้แก่ สาระชีววิทยา สาระเคมี สาระฟิสิกส์ และสาระโลก ดาราศาสตร์ และ อวกาศ องค์ประกอบของหลักสูตร ท้ังในด้านของเน้ือหา การจัดการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผลการ เรียนรู้น้ันมีความสาคัญอย่างยิ่งในการวางรากฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของผู้เรียนในแต่ละระดับช้ันให้มีความ ต่อเนื่องเช่ือมโยงกันตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 สาหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ได้กาหนดตัวชี้วัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลางที่ผู้เรียนจาเป็นตอ้ งเรียนเปน็ พ้ืนฐาน เพื่อให้สามารถนา ความรู้น้ีไปใช้ในการดารงชีวิต หรือศึกษาต่อในวิชาชีพท่ีต้องใช้วิทยาศาสตร์ได้ โดยจัดเรียงลาดับความยากง่ายของ เน้ือหาในแต่ละระดับช้ันให้มีการเช่ือมโยงความรู้กับกระบวนการเรียนรู้ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ ผู้เรียนพัฒนาความคิด ท้ังความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์วิจารณ์ มีทักษะท่ีสาคัญท้ังทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะในศตวรรษท่ี 21 ในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ด้วยกระบวนการสืบ เสาะหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลหลากหลายและประจักษ์พยานท่ี ตรวจสอบได้ ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 น้ี ได้ปรับปรุงเพื่อให้มีความสอดคล้องและเชื่อมโยงกัน ภายในสาระการเรียนรู้เดียวกัน และระหว่างสาระการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตลอดจนการ เช่ือมโยงเนื้อหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ด้วย นอกจากน้ี ยังได้ปรับปรุงเพ่ือให้มีความทันสมัยต่อการ เปลย่ี นแปลง และความเจริญกา้ วหน้าของวทิ ยาการต่าง ๆ และทัดเทียมกับนานาชาติ ซงึ่ สรุปไดด้ งั แผนภาพ *สรุปและลดทอนจาก สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, ตัวชว้ี ดั และสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง กลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชมุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่ง ประเทศไทย จากดั , 2560). พิเศษ 1

พเิ ศษ 2

พเิ ศษ 3

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง วิทยาศาสตร์ สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคดิ เชิงคานวณในการแก้ปัญหาทพ่ี บในชวี ติ จรงิ อยา่ งเปน็ ข้นั ตอนและเป็นระบบ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารในการเรียนรู้ การทางาน และการแก้ปญั หาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รู้เทา่ ทนั และมีจริยธรรม ชั้น ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป.5 1. ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปญั หา  การใชเ้ หตุผลเชงิ ตรรกะเปน็ การนากฎเกณฑ์ หรอื เง่ือนไข การอธิบายการทางาน การคาดการณ์ ที่ครอบคลุมทกุ กรณีมาใช้พิจารณาในการแกป้ ญั หา ผลลัพธ์ จากปัญหาอยา่ งง่าย การอธิบายการทางาน หรอื การคาดการณผ์ ลลัพธ์  สถานะเรม่ิ ต้นของการทางานท่แี ตกต่างกันจะใหผ้ ลลัพธ์ท่ี แตกตา่ งกัน  ตัวอย่างปัญหา เช่น เกม Sudoku โปรแกรมทานาย ตัวเลข โปรแกรมสร้างรปู เรขาคณติ ตามค่าข้อมูลเข้า การจัดลาดับการทางานบา้ นในชว่ งวันหยุด จดั วางของ ในครัว 2. ออกแบบ และเขียนโปรแกรมทม่ี ีการใช้  การออกแบบโปรแกรมสามารถทาไดโ้ ดยเขียนเปน็ เหตุผลเชงิ ตรรกะอย่างง่าย ตรวจหา ขอ้ ความหรือผังงาน ขอ้ ผิดพลาดและแก้ไข  การออกแบบและเขียนโปรแกรมทม่ี กี ารตรวจสอบ เงื่อนไขที่ครอบคลุมทุกกรณีเพ่ือให้ได้ผลลพั ธท์ ่ถี ูกต้อง ตามความตอ้ งการ  หากมีข้อผดิ พลาดใหต้ รวจสอบการทางานทีละคาส่ัง เมอ่ื พบจดุ ที่ทาใหผ้ ลลัพธ์ไมถ่ กู ต้อง ให้ทาการแกไ้ ข จนกวา่ จะได้ผลลพั ธ์ทถ่ี กู ตอ้ ง  การฝึกตรวจหาข้อผิดพลาดจากโปรแกรมของผอู้ ื่น จะชว่ ยพัฒนาทกั ษะการหาสาเหตุของปญั หาไดด้ ีย่ิงข้ึน  ตัวอย่างโปรแกรม เช่น โปรแกรมตรวจสอบเลขคู่ เลขค่ี โปรแกรมรบั ข้อมูลน้าหนักหรือสว่ นสูง แล้วแสดงผลความ สมสว่ นของรา่ งกาย โปรแกรมสง่ั ใหต้ วั ละครทาตาม เงือ่ นไขทกี่ าหนด  ซอฟต์แวร์ทใี่ ช้ในการเขยี นโปรแกรม เชน่ Scratch, logo พเิ ศษ 4

ช้ัน ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง 3. ใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ คน้ หาข้อมูล ติดต่อสือ่ สาร  การค้นหาข้อมูลในอนิ เทอร์เนต็ และการพจิ ารณาผล และทางานร่วมกนั ประเมินความนา่ เช่ือถือ การค้นหา ของข้อมูล  การติดตอ่ ส่อื สารผา่ นอินเทอรเ์ นต็ เช่น อีเมล บล็อก โปรแกรมสนทนา  การเขียนจดหมาย (บรู ณาการกบั วชิ าภาษาไทย)  การใช้อนิ เทอรเ์ น็ตในการติดต่อส่อื สารและทางานร่วมกัน เช่น ใช้นดั หมายในการประชมุ กล่มุ ประชาสัมพนั ธ์ กจิ กรรมในห้องเรียน การแลกเปลีย่ นความรู้ ความคดิ เห็นในการเรยี น ภายใตก้ ารดูแลของครู  การประเมนิ ความน่าเชื่อถือของข้อมูล เช่น เปรยี บเทียบ ความสอดคล้อง สมบรู ณ์ของข้อมูลจากหลายแหล่ง แหลง่ ต้นตอของข้อมูล ผู้เขยี นวนั ท่ีเผยแพร่ข้อมลู  ข้อมลู ทีด่ ตี อ้ งมรี ายละเอยี ดครบทกุ ด้าน เช่น ขอ้ ดีและ ขอ้ เสีย ประโยชน์และโทษ 4. รวบรวม ประเมนิ นาเสนอข้อมูลและ  การรวบรวมข้อมูล ประมวลผล สรา้ งทางเลอื ก สารสนเทศตามวตั ถปุ ระสงคโ์ ดยใช้ ประเมินผล จะทาให้ได้สารสนเทศเพื่อใช้ในการแกป้ ญั หา ซอฟตแ์ วรห์ รอื บริการบนอินเทอรเ์ น็ตที่ หรอื การตัดสนิ ใจได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ หลากหลาย เพือ่ แก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน  การใชซ้ อฟต์แวร์หรือบรกิ ารบนอนิ เทอร์เน็ตที่ หลากหลายในการวบรวม ประมวลผล สรา้ งทางเลือก ประเมินผล นาเสนอ จะชว่ ยใหก้ ารแก้ปัญหาทาได้อย่าง รวดเรว็ ถกู ต้อง และแม่นยา  ตวั อยา่ งปญั หา เชน่ ถา่ ยภาพ และสารวจแผนที่ใน ท้องถ่ินเพ่ือนาเสนอแนวทางในการจดั การพนื้ ที่ว่างให้เกิด ประโยชน์ ทาแบบสารวจความคดิ เหน็ ออนไลน์ และ วิเคราะหข์ ้อมูล นาเสนอข้อมูลโดยการใช้ blog หรอื web page 5. ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย  อันตรายจากการใช้งานและอาชญากรรมทางอนิ เทอร์เน็ต มีมารยาท เขา้ ใจสิทธิและหนา้ ทขี่ องตน  มารยาทในการตดิ ต่อสื่อสารผ่านอินเทอร์เนต็ เคารพในสทิ ธิของผ้อู ืน่ แจ้งผเู้ กยี่ วข้อง (บูรณาการกบั วิชาที่เก่ียวข้อง) เมื่อพบข้อมูลหรือบุคคลที่ไม่เหมาะสม พเิ ศษ 5

คาอธบิ ายรายวชิ า รายวชิ าพื้นฐาน เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) กลุม่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 5 เวลา 40 ชั่วโมง ศึกษาการใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การทางาน การคาดการณ์ผลลัพธ์จากปัญหาอย่างง่าย การ ออกแบบและเขียนโปรแกรมท่ีมกี ารใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะอย่างง่าย ตรวจหาขอผิดพลาดและแกไ้ ข การใช้อินเทอร์เน็ต ค้นหาข้อมูล ติดต่อสื่อสารและทางานร่วมกัน ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล การรวบรวม ประเมิน นาเสนอ ข้อมูล และสารสนเทศตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตท่ีหลากหลายเพื่อแก้ปัญหาใน ชวี ติ ประจาวัน การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีมารยาท เข้าใจสิทธิและหน้าท่ขี องตนเอง เคารพในสทิ ธิ ของผอู้ นื่ และแจง้ ผ้เู ก่ียวขอ้ งเมอ่ื พบข้อมลู หรือบุคคลทไี่ มเ่ หมาะสม โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Base Learning) เพ่ือเน้นให้ผู้เรียนเกิดการ เรยี นรู้จากการฝึกแก้ปัญหาต่าง ๆ ผา่ นกระบวนการคดิ การปฏิบัติอย่างมีระบบ และสร้างองค์ความรใู้ หม่จากการใช้ ปัญหาทีเ่ กิดข้ึนจริงในชีวติ ประจาวันได้ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะการคิดเชิงคานวณ การคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาเป็นขั้นตอนและ เป็นระบบ มีทักษะในการต้ังคาถาม หรือกาหนดปัญหาเก่ียวกับส่ิงท่ีจะเรียนรู้ตามท่ีกาหนดให้ หรือตามความสนใจ คาดคะเนคาตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐานท่ีสอดคลอ้ งกับคาถาม วางแผนและสารวจตรวจสอบโดยใช้เครอื่ งมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศทเ่ี หมาะสมในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ท้งั เชิงปรมิ าณและคณุ ภาพ คน้ หาข้อมูลอย่าง มีประสิทธิภาพและประเมินความน่าเช่ือถือ ตัดสินใจเลือกข้อมูล ให้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา ตลอดจนนา ความรู้ความเข้าใจในวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและการดารงชีวิต จนสามารถ พัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจัดการทักษะในการส่ือสาร ความสามารถในการตัดสินใจ และเป็นผู้มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอยา่ งสร้างสรรค์ ตัวชี้วัด ว 4.2 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4 ป.5/5 รวม 5 ตวั ชีว้ ัด พิเศษ 6

โครงสรา้ งรายวชิ า เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชนั้ ป.5 ลาดบั ท่ี ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐาน มโนทศั นส์ าคญั เวลา 1. เหตุผลเชิงตรรกะกับ การเรยี นร้/ู ตัวชว้ี ดั (ชม.) 2. การแก้ปัญหา ว 4.2 ป.5/1 การใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหาเป็น วิ ธี ก า ร ที่ เป็ น ก า ร น าก ฎ เก ณ ฑ์ ห รื อ เงื่อ น ไข ที่ 6 3. การเขยี นโปรแกรม ว 4.2 ป.5/2 ครอบคลุมทุกกรณีมาใช้ เพ่ือพิจารณาปัญหา โดยใชเ้ หตผุ ลเชิง วิธีการแก้ปัญหา ทาให้สามารถคาดการณ์ 10 ตรรกะ ว 4.2 ป.5/3 ผ ล ลั พ ธ์ ที่ จ ะ เกิ ด ข้ึ น ได้ อ ย่ า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ป.5/4 ซึ่งวิธีการแก้ปัญหาท่ีได้มักจะถูกนามาแสดงให้ 12 ขอ้ มลู สารสนเทศ อยู่ในรูปแบบของลาดับขั้นตอนหรือท่ีเรียกว่า อัลกอริทึม เพราะจะช่วยให้สามารถแก้ไข ปัญหาอยา่ งงา่ ยไดอ้ ยา่ งมีข้ันตอน การออกแบบโปรแกรมโดยการเขียนข้อความ เป็นการอธิบายการทางานของโปรแกรมท่ีใช้ ภาษาพูดท่ีเข้าใจง่าย เพ่ืออธิบายข้ันตอนการ เขียนโปรแกรม ส่วนการออกแบบโปรแกรม ด้วยการเขยี นผังงานเป็นการนาสัญลักษณ์มาใช้ แ ท น ล า ดั บ ข้ั น ต อ น ใ น ก า ร เขี ย น โ ป ร แ ก ร ม จากนั้นนามาเขียนคาส่ังควบคุมการทางาน ให้กับตัวละครแตล่ ะตัวที่สร้างขึ้น โดยใช้คาสัง่ ที่ เข้าใจง่ายในการสงั่ ให้ทางาน สาหรับข้นั ตอนใน การเขยี นโปรแกรม ประกอบด้วย การวิเคราะห์ ปัญหา ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา และการ เขียนโปรแกรม และเมื่อเขียนโปรแกรมเสร็จ เรียบร้อยแล้ว ผู้เขียนจะต้องตรวจสอบว่า ผลลัพธ์เพือ่ หาขอ้ ผิดพลาดของโปรแกรม ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ สามารถแบ่งออกเป็น 5 ประเภท คือ ข้อมูล ตัวอักขระ ข้อมูลภาพ ข้อมูลตัวเลข ข้อมูลเสียง และข้อมูลอื่น ๆ การค้นหาข้อมูลเพื่อทาการ ส่ิงใดสิ่งหนึ่ งต้องพิ จารณ าข้อมูลที่ ดีที่ สุด พิเศษ 7

ลาดับท่ี ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน มโนทัศนส์ าคัญ เวลา 4 การเรยี นร/ู้ ตัวชว้ี ดั (ชม.) การใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ต ซึ่งข้อมูลท่ีอยู่รอบตัวเรามีจานวนมาก ข้อมูล อยา่ งปลอดภัย ว 4.2 ป.5/3 บางอย่ างสามารถน ามาใช้ ได้ ทั นที และข้ อมู ล 12 ป.5/4 บางอย่างจะต้องนาไปประมวลผลให้เป็ น ป.5/5 สารสนเทศก่อนนามาใช้งาน เพ่ือให้นาข้อมูลไป ใช้ ได้ อ ย่ า ง ส ะ ด ว ก แ ล ะ เกิ ด ป ร ะ โย ช น์ สู งสุ ด ปัจจุบันได้มีการค้นหาข้อมูลท่ีรวดเร็วโดยใช้ เว็บไซต์ท่ีเรียกว่า Search Engine ในการสืบค้น ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ จะต้องมีการ ประเมินความถูกต้อง ความน่าเช่ือถือของข้อมูล เพือ่ ใหไ้ ด้ขอ้ มูลทีต่ รงตามความต้องการ ในปัจจุบันการติดต่อส่ือสารผา่ นอินเทอร์เน็ตทา ได้หลากหลายและช่วยตอบสนองความต้องการ ของมนุษย์ ให้มีความสะดวกสบายมากย่งิ ข้ึนใน ด้านการส่ือสาร ดังนั้น จึงมีผู้ใช้คอมพิวเตอร์ และเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นเคร่ืองมือในการ กระทาความผิด เพ่ือให้ผู้อื่นเสียหายหรือเสื่อม เสียช่ือเสียง โดยมักจะเรียกว่า อาชญากรรม ทางอินเทอร์เน็ต ดังน้ัน ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ที่ดี จะต้องมีแนวทางป้องกันการเกิดอาชญากรรม ทางอินเทอร์เน็ต รวมถึงการใช้อินเทอร์เน็ต อ ย่ า ง มี ม า ร ย า ท เพ ร า ะ น อ ก จ า ก ก า ร ติดต่อสื่อสารแล้ว อินเทอร์เน็ตยังถูกนามาใช้ สาหรับการวิเคราะห์ข้อมูล การรวบรวมข้อมูล การประมวลผลข้อมูล เพ่ือพิจารณาทางเลือกท่ี เปน็ ไปได้ และเหมาะสมมากทสี่ ุด พเิ ศษ 8

Pedagogy สื่อการเรียนรู้รายวิชาพ้ืนฐาน เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ป.5 ผู้จัดทาได้ออกแบบการสอน (Instructional Design) อันเป็นวธิ ีการจัดการเรียนรแู้ ละเทคนิคการสอนที่เป่ียมด้วยประสิทธภิ าพและมีความหลากหลายใหก้ ับผู้เรียน เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถบรรลุผลสัมฤทธ์ิตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด รวมถึงสมรรถนะและคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ของผู้เรียนที่หลักสตู รกาหนดไว้ โดยครูสามารถนาไปใชส้ าหรับจดั การเรยี นร้ใู นชัน้ เรยี นไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งในรายวิชานี้ ได้นารูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) และรูปแบบการสอน แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (problem - based learning) มาใชใ้ นการออกแบบการสอน ดงั นี้ กระบวนการเรียนรู้ เลือกใช้รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) เนื่องจากเป็นรูปแบบการ สอนแบบท่ีมุ่งให้ผเู้ รียนได้สร้างองค์ความรู้ใหม่ โดยเชอ่ื มโยงสิ่งที่เรยี นรู้เขา้ กบั ประสบการณ์หรือความเดิมให้เป็นองค์ ความรู้หรือแนวคิดของผู้เรียนเอง ดังนนั้ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้จึงสามารถพัฒนาผเู้ รียนให้มคี วามสามารถในการ แก้ปัญหาโดยเน้นการปฏิบัติจริง มีการแลกเปล่ียนความรู้ระหว่างกัน เสริมสร้างความรู้ด้วยตนเองผ่านกระบวนการ ขัน้ ตอนอยา่ งเป็นวัฏจกั ร ซงึ่ กระบวนการปฏบิ ตั ิมขี ัน้ ตอนดังน้ี 1. กระต้นุ ความสนใจ ใหผ้ ูเ้ รยี นสนใจใครร่ ใู้ นเรือ่ งท่ีเรียน มีลักษณะเป็นการนาเข้าสบู่ ทเรยี น 2. สารวจและค้นหา เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรียนได้รับประสบการณต์ รง ร่วมกนั สร้างและพัฒนาความคิดรวบยอด 3. อธิบายความรู้ นาเอาความรู้จากการสารวจและค้นหา ที่พัฒนาเป็นความคิดรวบยอดมาอภิปราย แลกเปล่ยี นความคดิ เห็นซ่ึงกนั และกัน 4. ขยายความเข้าใจ ผู้เรยี นได้ขยายความรู้ความเข้าใจในความคดิ รวบยอดใหก้ วา้ งขวางและลึกซง้ึ ยิง่ ข้นึ 5. ตรวจสอบผล ผู้เรียนไดต้ รวจสอบแนวความคิดท่ไี ด้เรยี นรมู้ าแล้วว่าถกู ต้องและไดร้ บั การยอมรับเพียงใด เลือกใช้รูปแบบการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (problem - based learning) เพ่ือเน้นให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้จากการฝึกแก้ปัญหาต่าง ๆ ผ่านกระบวนการคิด การปฏิบัติอย่างมีระบบ และสร้างองค์ความรู้ใหม่จาก การใช้ปัญหาที่เกิดข้ึนจริงในชีวิตประจาวันได้ ซ่ึงการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐานเป็นการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหา เปน็ เครื่องมอื ในการกระตุ้นให้ผเู้ รยี นมีความสนใจและต้องการศึกษาคน้ คว้าข้อมลู เพ่ือนาไปสูก่ ารแกป้ ญั หา ซ่ึงผู้เรยี น จะได้วิเคราะหแ์ ละแก้ปัญหาและทาใหเ้ กิดความเข้าใจปัญหาอย่างชัดเจนและสามารถใช้ทักษะกระบวนการทน่ี าไปสู่ การแก้ปญั หาได้ โดยผ่านกระบวนการจดั กิจกรรมท่สี าคัญ ดงั น้ี 1. กาหนดปญั หา ผู้สอนจัดสถานการณ์ตา่ ง ๆ กระต้นุ ให้ผ้เู รยี นเกิดความสนใจ มองเหน็ ปญั หา และเกิดความ สนใจที่จะคน้ หาคาตอบ 2. ทาความเขา้ ใจกับปญั หา ผู้เรียนจะต้องทาความเข้าใจปัญหาทีต่ อ้ งการเรยี นรู้ ซ่งึ ผู้เรียนจะต้องอธิบายสงิ่ ต่าง ๆ ที่เก่ยี วข้องกบั ปญั หาได้ พิเศษ 9

3. ดาเนนิ การศึกษาค้นควา้ ผเู้ รยี นต้องกาหนดส่ิงท่ตี ้องเรียน ดาเนนิ การศึกษาคน้ ควา้ ด้วยตนเองโดยใช้ วธิ กี ารทหี่ ลากหลาย 4. สังเคราะหค์ วามรู้ ผู้เรยี นนาความรู้ทไ่ี ด้คน้ ควา้ มาแลกเปล่ยี นเรียนรู้ร่วมกนั อภิปรายผล และสังเคราะห์ ความรทู้ ่ีได้มาว่ามีความเหมาะสมหรือไม่ 5. สรปุ และประเมินค่าของคาตอบ ผเู้ รียนสรปุ ผลงานของกลมุ่ หรือผลงานของตนเอง และประเมินผลงานว่า ขอ้ มลู ที่ได้ศกึ ษาค้นควา้ มีความเหมาะสมหรือไม่ โดยตอ้ งตรวจสอบแนวคิดอย่างอิสระ และสรปุ เป็นองคค์ วามรู้ใน ภาพรวมของปัญหาอกี คร้ัง 6. นาเสนอและประเมินผลงาน ผเู้ รยี นนาขอ้ มูลท่ีไดม้ าจัดระบบองค์ความรู้และนาเสนอเป็นผลงานใน รปู แบบทห่ี ลากหลาย ผู้เรียนทกุ กลุ่มรวมทงั้ ผู้ที่เกยี่ วข้องกับปญั หาร่วมกันประเมินผลงาน วธิ ีการสอน (Teaching Method) ผู้จัดทาเลือกใช้วธิ ีสอนท่ีหลากหลาย เช่น การอภิปราย การใช้สถานการณ์จาลอง การใช้เกม เป็นต้น เพื่อสง่ เสริม การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) การเรยี นรู้แบบใช้ปญั หาเป็นฐาน (problem - based learning) ให้เกิดประสิทธภิ าพมากท่ีสุด และยังมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดองค์ความรจู้ ากประสบการณ์ตา่ ง ๆ โดยการคิด และลงมือปฏิบัติ ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรยี นมคี วามรแู้ ละเกิดทกั ษะที่คงทน เทคนิคการสอน (Teaching Technique) ผู้จัดทาเลือกใช้เทคนิคการสอนที่หลากหลายและเหมาะสมกับเรื่องท่ีเรียน เช่น การต้ังคาถาม การยกตัวอย่าง การใช้ส่ือการเรียนรู้ท่ีน่าสนใจ เพ่ือส่งเสริมวิธีการสอนและรูปแบบการสอนให้มีประสิทธิภาพในการจัดการเรียนรู้ให้ มากข้ึน ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข สามารถปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถฝึกทกั ษะการเรยี นรู้และทกั ษะการปฏิบัติเกย่ี วกับงานตา่ ง ๆ ในศตวรรษท่ี 21 ได้ พเิ ศษ 10

โครงสร้างแผนการจดั การเรยี นรู้ รายว หน่วยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ วธิ ีสอน/วิธกี ารจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 1 เหตุผลเชิงตรรกะ แผนที่ 1 การแกป้ ญั หาดว้ ยเหตผุ ลเชงิ แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es กบั การแก้ปัญหา ตรรกะ (5Es Instructional Model) แผนที่ 2 การทานายผลลพั ธ์จาก แบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es ปัญหาอย่างงา่ ย (5Es Instructional Model) พเิ ศ

วิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ป.5 เวลา 40 ช่วั โมง ทกั ษะทไ่ี ด้ การประเมิน เวลา (ชั่วโมง) 1. ทักษะการทางานรว่ มกนั 1. ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น หนว่ ยการเรยี นรู้ 2. ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ ที่ 1 เหตผุ ลเชิงตรรกะกับการแก้ปัญหา 4 3. ทกั ษะการสังเกต 4. ทกั ษะการแกป้ ัญหา 2. ตรวจใบงานท่ี 1.1.1 เรอ่ื ง การแก้ปญั หาดว้ ย 2 5. ทักษะการสอ่ื สาร เหตผุ ลเชงิ ตรรกะ 6. ทกั ษะการแลกเปลี่ยนข้อมลู 3. ประเมนิ การนาเสนอผลงาน 1. ทกั ษะการส่ือสาร 4. สังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล 2. ทักษะการแลกเปล่ยี นขอ้ มลู 5. สังเกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ 3. ทกั ษะการสบื ค้นขอ้ มลู 6. สังเกตความมีวนิ ยั ความรับผดิ ชอบ ใฝ่เรียนรู้ 4. ทักษะการแกป้ ัญหา 5. ทกั ษะการสังเกต มุง่ มน่ั ในการทางาน 6. ทกั ษะการทางานรว่ มกัน 1. ตรวจใบงานท่ี 1.2.1 เรอ่ื ง การทานายผลลัพธ์ 7. ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ 8. ทักษะการคดิ เชงิ คานวณ จากปัญหาอยา่ งงา่ ย 2. ประเมนิ การนาเสนอผลงาน 3. สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล 4. สงั เกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ 5. สังเกตความมีวนิ ยั ความรบั ผดิ ชอบ ใฝ่เรยี นรู้ ม่งุ มน่ั ในการทางาน 6. ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เหตุผลเชงิ ตรรกะกบั การแก้ปญั หา 7. ตรวจชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) เร่อื ง การแกป้ ัญหาด้วยเหตุผลเชิงตรรกะ ศษ 11

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ วิธสี อน/วธิ กี ารจัด กจิ กรรมการเรยี นรู้ 2 การเขยี นโปรแกรม แผนที่ 1 การออกแบบโปรแกรมดว้ ย แบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es โดยใช้เหตผุ ลเชิง การเขยี นขอ้ ความ (5Es Instructional Model) ตรรกะ แผนที่ 2 การออกแบบโปรแกรมดว้ ย แบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es การเขียนผังงาน (5Es Instructional Model) แผนที่ 3 การเขียนโปรแกรมโดยใช้ แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es ภาษา Scratch (5Es Instructional Model) พิเศ

ทกั ษะทีไ่ ด้ การประเมิน เวลา (ชว่ั โมง) 1. ทกั ษะการแลกเปลี่ยนขอ้ มลู 1. ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หนว่ ยการเรยี นรู้ 2. ทักษะการคดิ วิเคราะห์ ท่ี 2 การเขียนโปรแกรมโดยใชเ้ หตผุ ลเชิงตรรกะ 2 3. ทักษะการสบื ค้นขอ้ มลู 4. ทกั ษะการสังเกต 2. ตรวจใบงานท่ี 2.1.1 เร่อื ง การออกแบบ 4 5. ทกั ษะการทางานรว่ มกนั โปรแกรมดว้ ยการเขยี นขอ้ ความ 6. ทักษะการสอ่ื สาร 2 3. ประเมินการนาเสนอผลงาน 1. ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้ 4. สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล 2. ทกั ษะการสังเกต 5. สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ 3. ทกั ษะการสบื คน้ ขอ้ มลู 6. สังเกตความมวี ินยั ความรับผิดชอบ ใฝเ่ รยี นรู้ 4. ทักษะการสอ่ื สาร 5. ทกั ษะการทางานรว่ มกัน มุ่งมั่นในการทางาน 6. ทักษะการคิดวเิ คราะห์ 1. ตรวจใบงานที่ 2.2.1 เรื่อง การออกแบบ 1. ทกั ษะการสบื ค้นข้อมลู โปรแกรมด้วยการเขยี นผงั งาน 2. ทกั ษะการแลกเปลี่ยนข้อมลู 2. ประเมินการนาเสนอผลงาน 3. ทกั ษะการคิดเชิงคานวณ 3. สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล 4. ทักษะการสังเกต 4. สังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ 5. ทักษะการประยกุ ต์ใช้ความรู้ 5. สงั เกตความมวี ินยั ความรบั ผิดชอบ ใฝเ่ รียนรู้ 6. ทกั ษะการทางานรว่ มกัน 7. ทักษะการสอ่ื สาร ม่งุ มั่นในการทางาน 1. ตรวจใบงานท่ี 2.3.1 เรอ่ื ง การเขยี นโปรแกรม โดยใช้ภาษา Scratch 2. ประเมนิ การนาเสนอผลงาน 3. สังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล 4. สังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ 5. สงั เกตความมีวินยั ความรับผิดชอบ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ันในการทางาน ศษ 12

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ วิธสี อน/วิธีการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ แผนท่ี 4 การตรวจสอบข้อผิดพลาด แบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es ของโปรแกรม (5Es Instructional Model) 3. ข้อมูลสารสนเทศ แผนที่ 1 รู้จักข้อมลู แบบใชป้ ญั หาเป็นฐาน (Problem–based Learning) พิเศ

ทกั ษะที่ได้ การประเมนิ เวลา (ชวั่ โมง) 1. ทักษะการสืบคน้ ขอ้ มลู 1. ตรวจใบงานท่ี 2.4.1 เรอ่ื ง การตรวจสอบ 2. ทักษะการแลกเปลีย่ นข้อมลู ข้อผดิ พลาดของโปรแกรม 2 3. ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ 4. ทกั ษะการแกป้ ัญหา 2. ประเมินการนาเสนอผลงาน 2 5. ทกั ษะการทางานรว่ มกนั 3. สังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล 6. ทกั ษะการสื่อสาร 4. สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ 5. สงั เกตความมีวนิ ยั ความรบั ผดิ ชอบ ใฝ่เรียนรู้ 1. ทักษะการส่ือสาร 2. ทักษะการแลกเปลีย่ นขอ้ มลู มงุ่ มน่ั ในการทางาน 3. ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ 6. ตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 4. ทกั ษะการคิดอย่างสร้างสรรค์ 5. ทกั ษะการสื่อสาร การตรวจสอบขอ้ ผิดพลาดของโปรแกรม 6. ทกั ษะการทางานรว่ มกนั 7. ตรวจช้นิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) เรื่อง 7. ทกั ษะการสารวจ 8. ทักษะการสบื ค้นขอ้ มลู การเขยี นโปรแกรมโดยใช้เหตผุ ลเชงิ ตรรกะ 9. ทกั ษะกระบวนการทาง 1. ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยการเรยี นรู้ เทคโนโลยี ที่ 3 ข้อมลู สารสนเทศ 2. ตรวจใบงานท่ี 3.1.1 เรอื่ ง ประเภทของขอ้ มูล 3. ประเมนิ การนาเสนอผลงาน 4. สงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล 5. สังเกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ 6. สังเกตความมวี นิ ยั ความรับผดิ ชอบ ใฝ่เรียนรู้ มงุ่ ม่นั ในการทางาน ศษ 13

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ วธิ สี อน/วธิ ีการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ แผนที่ 2 ลักษณะของข้อมูลท่ีดี แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) แผนที่ 3 แหลง่ ขอ้ มลู แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) แผนที่ 4 การรวบรวมขอ้ มลู แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) แผนที่ 5 การประมวลผลข้อมลู แบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) พิเศ

ทักษะท่ีได้ การประเมิน เวลา (ชวั่ โมง) 1. ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ 1. ตรวจใบงานที่ 3.2.1 เร่อื ง ลกั ษณะของข้อมลู ทดี่ ี 2. ทักษะการแลกเปลี่ยนข้อมลู 2. ประเมนิ การนาเสนอผลงาน 2 3. ทักษะการสืบคน้ ขอ้ มลู 3. สงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล 4. ทักษะการทางานรว่ มกนั 4. สังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ 2 5. ทกั ษะการสื่อสาร 5. สงั เกตความมีวินยั ความรับผดิ ชอบ ใฝ่เรียนรู้ 2 1. ทักษะการสบื ค้นข้อมลู มุ่งมน่ั ในการทางาน 2. ทักษะการสงั เกต 1. ตรวจใบงานท่ี 3.3.1 เรอื่ ง แหลง่ ข้อมูล 2 3. ทักษะการคิดวเิ คราะห์ 2. ประเมนิ การนาเสนอผลงาน 3. สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล 1. ทกั ษะการสอ่ื สาร 4. สังเกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ 2. ทกั ษะการแลกเปลี่ยนขอ้ มลู 5. สงั เกตความมีวนิ ยั ความรับผิดชอบ ใฝ่เรยี นรู้ 3. ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ 4. ทกั ษะการทางานรว่ มกัน มุ่งมัน่ ในการทางาน 5. ทักษะการสบื ค้นขอ้ มลู 1. ตรวจใบงานท่ี 3.4.1 เรอื่ ง การรวบรวมข้อมลู 2. ประเมนิ การนาเสนอผลงาน 1. ทักษะการส่ือสาร 3. สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล 2. ทกั ษะการสืบค้นขอ้ มลู 4. สังเกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ 3. ทักษะการคดิ วิเคราะห์ 5. สังเกตความมวี นิ ยั ความรบั ผดิ ชอบ ใฝ่เรียนรู้ 4. ทกั ษะการทางานร่วมกนั 5. ทักษะการแลกเปล่ยี นข้อมลู ม่งุ มัน่ ในการทางาน 1. ตรวจใบงานท่ี 3.5.1 เร่อื ง การประมวลผลข้อมลู ศษ 14 2. ประเมนิ การนาเสนอผลงาน 3. สงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล 4. สังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ 5. สังเกตความมีวนิ ยั ความรบั ผดิ ชอบ ใฝเ่ รยี นรู้ มงุ่ ม่ันในการทางาน

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ วิธสี อน/วธิ ีการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ แผนท่ี 6 การสบื คน้ ข้อมลู โดยใช้ แบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es อินเทอร์เน็ต (5Es Instructional Model) 4. การใช้อินเทอร์เน็ต แผนที่ 1 การตดิ ตอ่ สอื่ สารผ่าน แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) อยา่ งปลอดภยั อนิ เทอรเ์ น็ต พิเศ

ทกั ษะทไ่ี ด้ การประเมิน เวลา (ชว่ั โมง) 1. ทักษะการส่อื สาร 1. ตรวจใบงานท่ี 3.6.1 เร่อื ง การสืบคน้ ข้อมลู ดว้ ย 2. ทักษะการสบื ค้นข้อมลู อนิ เทอรเ์ น็ต 2 3. ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ 4. ทกั ษะการคดิ อย่างมี 2. ประเมินการนาเสนอผลงาน 4 3. สังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล วจิ ารณญาณ 4. สังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ 5. ทักษะการทางานรว่ มกนั 5. สังเกตความมีวนิ ยั ความรบั ผิดชอบ ใฝ่เรียนรู้ 6. ทักษะการแลกเปล่ยี นข้อมลู ม่งุ มน่ั ในการทางาน 1. ทกั ษะการสอ่ื สาร 6. ตรวจแบบทดสอบหลังเรยี น หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 3 2. ทกั ษะการแลกเปล่ียนข้อมลู 3. ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ ข้อมลู สารสนเทศ 4. ทกั ษะการแกป้ ญั หา 7. ตรวจชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) เร่ือง ข้อมูล 5. ทักษะการทางานร่วมกนั 6. ทักษะการสืบค้นขอ้ มลู สารสนเทศ 7. ทกั ษะกระบวนการทาง 1. ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยการเรยี นรู้ เทคโนโลยี ที่ 4 การใช้อินเทอรเ์ น็ตอย่างปลอดภยั 2. ตรวจใบงานที่ 4.1.1 เรอื่ ง โปรแกรมสนทนา ออนไลน์ 3. ประเมนิ การนาเสนอผลงาน 4. สงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล 5. สงั เกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ 6. สงั เกตความมีวนิ ยั ความรับผิดชอบ ใฝ่เรยี นรู้ มุ่งมัน่ ในการทางาน ศษ 15

หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ วธิ ีสอน/วิธีการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ แผนที่ 2 อาชญากรรมทาง แบบใช้ปัญหาเปน็ ฐาน อนิ เทอรเ์ นต็ (problem- based learning) แผนท่ี 3 มารยาทในการติดตอ่ ส่ือสาร แบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es ผ่านอินเทอรเ์ น็ต (5Es Instructional Model) แผนที่ 4 ข้อมูลเพื่อการตดั สินใจ แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) พิเศ

ทกั ษะท่ีได้ การประเมิน เวลา (ชว่ั โมง) 1. ทกั ษะการสอ่ื สาร 1. ตรวจใบงานที่ 4.2.1 เรอื่ ง การป้องกันการเกดิ 2. ทักษะการสบื คน้ ขอ้ มลู ปัญหาอาชญากรรมทางอนิ เทอรเ์ นต็ 2 3. ทักษะการคดิ อยา่ งมี 2. ประเมินการนาเสนอผลงาน 2 วิจารณญาณ 3. สงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล 4. ทกั ษะการสงั เกต 4. สังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ 2 5. ทกั ษะการทางานร่วมกัน 5. สงั เกตความมีวินยั ความรบั ผดิ ชอบ ใฝเ่ รยี นรู้ 6. ทกั ษะการแลกเปลีย่ นขอ้ มลู 1. ทกั ษะการแลกเปลี่ยนข้อมลู มุง่ ม่นั ในการทางาน 2. ทักษะการสืบคน้ ขอ้ มลู 1. ประเมนิ การนาเสนอผลงาน 3. ทกั ษะการคิดอยา่ งมี 2. สงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล 3. สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ วิจารณญาณ 4. สังเกตความมวี นิ ยั ความรบั ผิดชอบ ใฝ่เรียนรู้ 4. ทกั ษะการสงั เกต 5. ทกั ษะการทางานรว่ มกัน มงุ่ ม่ันในการทางาน 6. ทักษะการสารวจ 7. ทกั ษะการส่อื สาร 1. ประเมินการนาเสนอผลงาน 1. ทักษะการสบื ค้นขอ้ มลู 2. สงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล 2. ทักษะการแลกเปลี่ยนขอ้ มลู 3. สังเกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ 3. ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ 4. สงั เกตความมวี ินยั ความรับผดิ ชอบ ใฝเ่ รียนรู้ 4. ทักษะการสังเกต 5. ทักษะการทางานรว่ มกัน มุ่งมน่ั ในการทางาน 6. ทักษะการสอ่ื สาร ศษ 16

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ วธิ ีสอน/วธิ ีการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ แผนที่ 5 การนาเสนอข้อมลู และ แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es การทาแบบสารวจความคดิ (5Es Instructional Model) เห็นออนไลน์ พิเศ

ทกั ษะทีไ่ ด้ การประเมิน เวลา (ชัว่ โมง) 1. ทกั ษะการสือ่ สาร 1. ประเมนิ การนาเสนอผลงาน 2. ทักษะการแลกเปล่ยี นข้อมลู 2. สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล 2 3. ทักษะการคิดวเิ คราะห์ 3. สังเกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ 4. ทักษะการสงั เกต 4. สังเกตความมวี นิ ยั ความรบั ผดิ ชอบ ใฝเ่ รียนรู้ 5. ทักษะการทางานร่วมกัน 6. ทักษะกระบวนการทาง มงุ่ มนั่ ในการทางาน 5. ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 4 เทคโนโลยี 7. ทักษะการสบื ค้นข่อมลู การใช้อินเทอร์เนต็ อยา่ งปลอดภัย 6. ตรวจชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) เรอื่ ง การใช้ อนิ เทอร์เนต็ อยา่ งปลอดภยั ศษ 17

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เหตุผลเชิงตรรกะกบั การแก้ปัญหา หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1 เหตผุ ลเชงิ ตรรกะกับการแกป้ ญั หา เวลา 6 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชว้ี ดั ว 4.2 เข้าใจและใชแ้ นวคดิ เชิงคานวณในการแกป้ ัญหาท่ีพบในชีวติ จรงิ อย่างเปน็ ข้ันตอนและเป็นระบบ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารในการเรียนรู้ การทางาน และการแกป้ ัญหาไดอ้ ย่าง มปี ระสิทธภิ าพ ร้เู ท่าทัน และมจี ริยธรรม ว 4.2 ป.5/1 ใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะในการแก้ปัญหา การอธบิ ายการทางาน การคาดการณ์ ผลลัพธ์จากปญั หาอยา่ งง่าย 2. สาระการเรยี นรู้ 2.1 สาระการเรียนร้แู กนกลาง 1) การใช้เหตุผลเชิงตรรกะเป็นการนากฎเกณฑ์ หรือเงอ่ื นไขที่ครอบคลุมทุกกรณมี าใช้พิจารณา ในการแก้ปญั หา การอธิบายการทางาน หรอื การคาดการณ์ผลลพั ธ์ 2) สถานะเริ่มตน้ ของการทางานท่ีแตกต่างกันจะให้ผลลัพธ์ท่แี ตกต่างกัน 3) ตัวอย่างปญั หา เชน่ เกม Sudoku โปรแกรมทานายตัวเลข โปรแกรมสร้างรูปเรขาคณิต ตามค่าข้อมลู เข้า การจัดลาดับการทางานบ้านในชว่ งวันหยุด จัดวางของในครวั 2.2 สาระการเรยี นร้ทู ้องถิน่ (พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา) 3. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด การใชเ้ หตุผลเชงิ ตรรกะในการแกป้ ญั หาเป็นวิธกี ารท่ีเป็นการนากฎเกณฑห์ รอื เงื่อนไขที่ครอบคลุม ทุกกรณมี าใช้ เพ่ือพิจารณาปัญหา วธิ ีการแกป้ ญั หา ทาใหส้ ามารถคาดการณผ์ ลลัพธท์ ่จี ะเกดิ ขึ้นได้ อย่างมีประสิทธภิ าพ ซง่ึ วธิ ีการแก้ปัญหาที่ได้มักจะถูกนามาแสดงใหอ้ ยู่ในรูปแบบของลาดับขนั้ ตอน หรือทเี่ รยี กว่า อัลกอริทมึ เพราะจะชว่ ยให้สามารถแก้ไขปัญหาอย่างง่ายได้อย่างมีข้ันตอน 4. สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รียนและคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 1. มวี ินัย รบั ผิดชอบ - ทักษะการส่ือสาร 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุ่งมนั่ ในการทางาน เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) 1

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 เหตุผลเชิงตรรกะกบั การแก้ปัญหา สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ - ทกั ษะการแลกเปลย่ี นข้อมูล 2. ความสามารถในการคิด - ทักษะการคิดวเิ คราะห์ - ทักษะการคิดเชิงคานวณ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา - ทกั ษะการแก้ปัญหา - ทักษะการสังเกต 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ - ทกั ษะการทางานร่วมกัน 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี - ทกั ษะการสบื คน้ ข้อมูล 5. ช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) - ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) เรื่อง การแกป้ ญั หาดว้ ยเหตุผลเชงิ ตรรกะ 6. การวัดและการประเมินผล วธิ วี ัด เคร่อื งมอื เกณฑก์ ารประเมิน รายการวดั - ตรวจชิน้ งาน/ภาระ - แบบประเมินชนิ้ งาน ระดับคุณภาพ 2 งาน (รวบยอด) /ภาระงาน (รวบยอด) ผา่ นเกณฑ์ 6.1 การประเมนิ ช้นิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) เรอ่ื ง การแก้ปญั หา ดว้ ยเหตผุ ลเชงิ ตรรกะ 6.2 การประเมินก่อนเรยี น - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบก่อนเรยี น ประเมินตามสภาพจริง - แบบทดสอบก่อนเรียน ก่อนเรยี น - ใบงานที่ 1.1.1 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรอ่ื ง เหตผุ ลเชิงตรรกะ - ตรวจใบงานที่ 1.1.1 กบั การแกป้ ญั หา 6.3 ประเมนิ ระหวา่ งการจดั กิจกรรม การเรยี นรู้ 1) การแก้ปัญหาดว้ ยเหตุผล เชงิ ตรรกะ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) 2

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เหตผุ ลเชงิ ตรรกะกบั การแก้ปญั หา รายการวัด วิธีวัด เคร่ืองมอื เกณฑ์การประเมิน 2) การทานายผลลพั ธ์ - ตรวจใบงานท่ี 1.2.1 - ใบงานที่ 1.2.1 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ จากปัญหาอย่างงา่ ย - ประเมินการนาเสนอ - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ 2 3) การนาเสนอผลงาน ผลงาน การนาเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์ 4) พฤตกิ รรมการทางาน - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดบั คุณภาพ 2 รายบคุ คล การทางานรายบุคคล การทางานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ 5) พฤติกรรมการทางานกลมุ่ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ 6) คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ การทางานกลุ่ม การทางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 6.4 การประเมินหลังเรียน - สังเกตความมวี นิ ยั - แบบประเมิน ผา่ นเกณฑ์ - แบบทดสอบหลังเรียน ความรบั ผิดชอบ คุณลกั ษณะ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งมน่ั อนั พึงประสงค์ เหตุผลเชงิ ตรรกะ ในการทางาน กบั การแกป้ ญั หา - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบหลังเรียน ประเมินตามสภาพจริง หลังเรยี น 7. กจิ กรรมการเรียนรู้ นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรยี นหน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เหตุผลเชิงตรรกะกบั การแก้ปญั หา เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) 3

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เหตุผลเชิงตรรกะกบั การแกป้ ญั หา เร่ืองที่ 1 : การแกป้ ัญหาด้วยเหตุผลเชิงตรรกะ เวลา 4 ชวั่ โมง วธิ ีการสอนโดยเนน้ รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ข้นั นา ข้ันท่ี 1 กระตุน้ ความสนใจ (Engagement) 1. ครูถามกระต้นุ ความสนใจของนกั เรียนวา่ “ในวันหยดุ สุดสปั ดาหน์ ี้ นกั เรยี นวางแผนจะทาสิง่ ใด” 2. ครูอธบิ ายกบั นักเรยี น และถามคาถามประจาหวั ข้อกับนกั เรียนว่า“เหตผุ ลเชงิ ตรรกะชว่ ยในการ แก้ปัญหาได้อย่างไร” ขน้ั สอน ข้ันท่ี 2 สารวจคน้ หา (Exploration) 1. นกั เรียนแบง่ กลุ่ม กล่มุ ละ 3-4 คน เพ่อื ศกึ ษาและสงั เกตสถานการณต์ ัวอย่างจากหนงั สือเรียน เก่ยี วกับข้ันตอนการวางแผนเพ่อื จะไปดูภาพยนตร์ของโป้ พร้อมเปิดโอกาสให้นักเรียน ไดแ้ ลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ รว่ มกันภายในกลุ่ม ขนั้ ที่ 3 อธบิ ายความรู้ (Explanation) 2. ครอู ธบิ ายความรู้กับนักเรียนว่า“การเขียนวิธกี ารแกป้ ญั หาแบบการแสดงลาดบั ข้ันตอน มชี ่อื เรยี กอกี ช่ือวา่ อลั กอริทมึ (Algorithm)” 3. ครสู ุ่มนักเรยี น 2-3 กลุ่ม ออกมานาเสนอหน้าชัน้ เรียนเก่ียวกบั ลักษณะการวางแผน การแกป้ ัญหาเพ่ือจะไปดูภาพยนตรข์ องโป้ตามที่ไดศ้ ึกษาจากหนงั สอื เรียน และให้นกั เรยี น แต่ละกลมุ่ ลงมอื ทาใบงานท่ี 1.1.1 เร่ือง การแก้ปัญหาดว้ ยเหตุผลเชงิ ตรรกะ และให้แต่ละกลมุ่ ส่งตวั แทนออกมานาเสนอผลงานหน้าชน้ั เรียนตามท่ีได้ระดมความคิดเห็นรว่ มกนั 4. นกั เรียนศกึ ษาตวั อยา่ งการแก้ปญั หาเกมลูกเต๋าจากหนังสือเรียน โดยพจิ ารณาลูกเตา๋ ที่กาหนดให้และเตมิ ลูกเต๋าท่ีหายไปลงในช่องว่างโดยไม่ซ้ากันท้ังแนวนอน แนวตง้ั และ ในตารางย่อย จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานาเสนอแนวคดิ ในการแก้ปัญหา เกมลูกเตา๋ ตามทน่ี ักเรยี นแต่ละกล่มุ ค้นพบหน้าชนั้ เรียน ขัน้ ที่ 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaboration) 5. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ร่วมกันระดมความคิดเหน็ ในการทากจิ กรรมฝกึ ทกั ษะ โดยใหน้ ักเรียน แกป้ ัญหาเกมซูโดกุอย่างมีเหตุผลเชิงตรรกะ แต่ละกล่มุ ส่งตัวแทนออกมานาเสนอแนวคิด ในการแก้ปญั หาเกมซูโดกุหน้าช้นั เรียนพรอ้ มอภิปรายร่วมกันในห้องเรียน เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) 4

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เหตุผลเชงิ ตรรกะกบั การแกป้ ัญหา ข้นั สรปุ ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluation) 1. ครปู ระเมนิ ผลโดยการสงั เกตการตอบคาถาม การทาใบงาน และการนาเสนอผลงาน 2. ครตู รวจสอบความถูกต้องของการทาใบงานท่ี 1.1.1 และกิจกรรมฝึกทักษะ 3. นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้เกยี่ วกับการแก้ปญั หาด้วยเหตผุ ลเชงิ ตรรกะวา่ “เมือ่ พบปัญหาควรใช้เหตผุ ลเชงิ ตรรกะในการพิจารณากฎเกณฑ์หรือเง่ือนไขต่าง ๆ ที่ครอบคลุมทุกกรณมี าใชใ้ นการแก้ปัญหา เพราะทาใหส้ ามารถคาดการณผ์ ลลพั ธท์ ่ีอาจเกิดข้นึ และทาให้สามารถแก้ปญั หาน้ันได้อย่างถูกตอ้ งและเหมาะสม” เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) 5

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เหตุผลเชิงตรรกะกบั การแกป้ ัญหา เรือ่ งท่ี 2 : การทานายผลลัพธ์จากปญั หาอย่างง่าย เวลา 2 ชัว่ โมง วิธีการสอนโดยเนน้ การจัดการเรยี นรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน(problem- based learning) ขน้ั นา ข้นั ท่ี 1 กระตุ้นความสนใจ (Engagement) ครถู ามคาถามกระตุ้นความสนใจของนักเรยี นว่า“ถ้านักเรยี นไม่ต้งั ใจเรียนจะสง่ ผลกบั นักเรียน อยา่ งไรบ้าง” พรอ้ มสรปุ คาตอบใหน้ กั เรียนฟงั และเช่อื มโยงเขา้ สู่บทเรียน ข้ันสอน ขน้ั ท่ี 2 สารวจค้นหา (Exploration) 1. ครถู ามคาถามประจาหวั ข้อกับนกั เรียนวา่ “การทานายผลลพั ธ์จากโปรแกรมสามารถทาได้ อยา่ งไร” จากน้ันครูเปิดโอกาสให้นกั เรียนไดส้ บื ค้นขอ้ มลู จากเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ของตนเอง พรอ้ มสุ่มถามนักเรยี นจานวน 2-3 คน ออกมาอภิปรายหน้าช้นั เรียน 2. นกั เรยี นสงั เกตการใชบ้ ตั รคาส่ังแสดงลาดบั ข้นั ตอนการแกป้ ัญหาอย่างง่ายจากสถานการณ์ ในหนังสอื เรยี น ขัน้ ที่ 3 อธบิ ายความรู้ (Explanation) 3. นกั เรยี นแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน หรอื ตามความเหมาะสม เพอ่ื ส่ือสารและแลกเปลย่ี นข้อมลู ความคิดเห็น รวมถงึ วเิ คราะห์โปรแกรมเสน้ ทางจากสถานการณ์ร่วมกัน 4. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มส่งตัวแทนออกมาอภิปรายความรูจ้ ากการทากิจกรรมหน้าชน้ั เรยี น ขั้นท่ี 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaboration) 5. นักเรยี นร่วมกันทากจิ กรรมฝึกทักษะเพ่ือขยายความเขา้ ใจ โดยให้นักเรยี นนาบัตรคาสั่ง ท่ีกาหนดให้ เขียนบอกเสน้ ทางในการเดินทางของต้นไม้จากนน้ั บันทึกข้อมูลลงใน สมุดประจาตัว 6. ครูสุ่มนักเรียน 2-3 คน ออกมาหนา้ ช้ันเรยี น จากน้นั ให้ทากิจกรรมโดยการเล่นเกมทายใจ ในหนังสือเรียน โดยครูอธบิ ายกตกิ าในการเล่นเกมและสาธิตวธิ ีการเลน่ ใหเ้ ปน็ ตวั อย่าง เพ่อื ให้นักเรียนเข้าใจมากย่ิงข้ึน เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) 6

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เหตุผลเชงิ ตรรกะกับการแก้ปญั หา 7. ใหน้ ักเรียนไดเ้ ล่นเกมทายใจ โดยใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะ ในการทานายผลลพั ธต์ ามความเหมาะสม และมอบหมายใหน้ ักเรียนแต่ละคนทาใบงานท่ี 1.2.1 เรื่องการทานายผลลพั ท์จากปัญหา อย่างงา่ ย และประเมนิ ผลตนเองหลังเรียนจบหน่วยใหต้ รงกับระดับความสามารถของตนเอง ข้ันสรุป ขน้ั ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluation) 1. ครปู ระเมนิ ผลนักเรยี นโดยการสังเกตจากการตอบคาถาม การทาใบงาน และการนาเสนอ ผลงาน 2. ครูตรวจสอบการทาใบงานที่ 1.2.1 กิจกรรมฝกึ ทกั ษะ และกิจกรรมเสรมิ สร้างการเรยี นรู้ 3. นกั เรียนและครรู ่วมกนั สรุปเก่ียวกับเหตุผลเชงิ ตรรกะกับการแกป้ ญั หาจากการสรปุ สาระสาคญั ในหนงั สือเรยี น 4. นกั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยการเรียนท่ี 1 เหตผุ ลเชิงตรรกะกับการแก้ปญั หา 5. นักเรยี นทากิจกรรมเสริมสรา้ งการเรยี นรูจ้ ากหนงั สือเรียน และทาช้ินงาน/ภาระงาน(รวบยอด) เรอื่ ง การแก้ปญั หาด้วยเหตผุ ลเชงิ ตรรกะ และนามาส่งในชั่วโมงถดั ไป เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) 7

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เหตผุ ลเชิงตรรกะกบั การแกป้ ญั หา 8. ส่อื /แหล่งการเรยี นรู้ 8.1 สื่อการเรยี นรู้ 1) หนงั สือเรียนรายวชิ าพนื้ ฐาน เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ป.5 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เร่ือง เหตผุ ลเชิงตรรกะกบั การแก้ปัญหา 2) ใบงานที่ 1.1.1 เรอ่ื ง การแก้ปัญหาดว้ ยเหตผุ ลเชิงตรรกะ 3) ใบงานท่ี 1.2.1 เรื่อง การทานายผลลพั ธ์จากปญั หาอยา่ งง่าย 4) เครื่องคอมพวิ เตอร์ 8.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1) อินเทอร์เนต็ 2) ห้องคอมพวิ เตอร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) 8

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 เหตุผลเชงิ ตรรกะกับการแกป้ ญั หา แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 คาช้แี จง : ใหน้ กั เรยี นเลือกคาตอบที่ถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว 1. จากภาพควรเติมหน้าลูกเต๋าในข้อใดลงในชอ่ งวา่ ง 4. ข้นั ตอนการอธิบายปญั หาทเี่ กิดขน้ึ นักเรยี นคดิ ว่า ควรจะอธิบายตามข้อใดจึงจะเหมาะสมท่ีสุด ก. แยกยอ่ ยปัญหา ข. หารปู แบบของปญั หา ค. แยกย่อยสาระสาคญั ของปัญหา ง. เขยี นลาดบั ข้นั ตอนวิธี ก. \\ 5. ไบรท์ ตอ้ งการเล่นแท็บเล็ตหลงั เวลา 20.00 น. โดยมเี งื่อนไขคือจะต้องทากจิ วัตรประจาวัน ข. ใหเ้ สรจ็ ก่อน ดังน้นั ไบร์ทจะตอ้ งทาอะไรตามลาดับ กอ่ น-หลงั โดยกจิ วัตรประจาวันมดี ังนี้ ค. 1. ออกกาลังกาย 2. อาบนา้ ง. 3. รับประทานอาหาร 2. ขัน้ ตอนการแก้ปญั หาทีถ่ ูกต้องควรเริ่มจากข้อใด 4. ทาการบา้ น ก. ทาตามแผนท่วี างไวแ้ ละประเมนิ ผล ก. 3 > 2 > 1 > 4 ข. ฝึกการใช้ทกั ษะใหเ้ ชี่ยวชาญยิ่งขน้ึ ข. 2 > 1 > 3 > 4 ค. ทาความเขา้ ใจปัญหา ค. 2 > 3 > 1 > 4 ง. วางแผนแก้ปัญหา ง. 1 > 2 > 3 > 4 3. การแก้ปัญหาอยา่ งเป็นระบบควรเรม่ิ ต้นจากขอ้ ใด 6. ข้อใดกลา่ วถงึ การแกป้ ัญหาเชิงตรรกะ ก. แยกย่อยปัญหา ก. เป็นการแกป้ ัญหาโดยการใชก้ ฎเกณฑต์ า่ ง ๆ ข. แยกย่อยสาระสาคัญของปัญหา มาอา้ งองิ เพอื่ นาไปสวู่ ิธกี ารแก้ไขปัญหา ค. หารูปแบบของปญั หา ข. เปน็ การแก้ปญั หาที่ไมต่ ้องอาศัยหลักการทาง ง. เขยี นลาดบั ข้ันตอนวิธี วิทยาศาสตร์ ค. เปน็ การแกป้ ญั หาโดยใชค้ วามร้สู ึกมาตดั สิน ปัญหา ง. เป็นการแก้ปญั หาเฉพาะหน้าอย่างรวดเรว็ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) 9

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เหตผุ ลเชงิ ตรรกะกบั การแก้ปญั หา 7. การแสดงลาดับขน้ั ตอนการแกป้ ัญหามีชื่อเรยี ก 10. จากสถานการณ์หนูนิดสามารถเลือกวธิ ีการเดินทาง จากบ้านไปยังสวนสนกุ ด้วยวิธีใดได้บา้ ง เพื่อรับชม อกี ช่ือวา่ อะไร การแสดงสตั ว์โลกนา่ รักได้ทันเวลา ก. อลั -กอร์ สถานการณ์ : ขณะนเี้ วลา 08.30 น. หนูนิดต้องการ เดินทางไปยังสวนสนุกเพอ่ื รับชมการแสดงสัตว์โลก ข. อังกอร์ นา่ รกั รอบ 09.00 น. โดยการเดินทางจากบ้านไปยัง สวนสนุก หนนู ิดสามารถเดินทางไดห้ ลายวธิ ี และ ค. อัลกอริทมึ ในแต่ละวธิ ีใช้เวลาทแ่ี ตกตา่ งกนั ดงั น้ี รถยนต์ ใชร้ ะยะเวลาในการเดินทาง 45 นาที ง. อัลกอรลิ า่ รถจกั รยานยนต์ ใชร้ ะยะเวลาในการเดินทาง 30 นาที เรือ ใชร้ ะยะเวลาในการเดินทาง 20 นาที 8. ปาลม์ ตอ้ งการไปถึงโรงเรียนใหท้ นั เวลา 07.30 น. เดนิ เทา้ ใชร้ ะเวลาในการเดนิ ทาง 55 นาที แต่ตอ้ งใช้ระยะเวลาในการเดินทาง 45 นาที ก. รถจักรยานยนต์ , เดนิ เท้า ข. เดนิ เท้า , เรือ ดังนัน้ ปาล์มจะตอ้ งข้ึนรถเมล์ในเวลาใด ค. รถยนต์ , รถจกั รยานยนต์ ง. รถจักรยานยนต์ , เรือ เพอื่ ให้ไปถึงโรงเรยี นใหท้ ันเวลา ก. 6.50 น. ข. 6.30 น. ค. 7.00 น. ง. 6.55 น. 9. จากภาพข้อใดคือเส้นทางการเดินทางจากบ้าน ไปยังโรงพยาบาลโดยหา้ มผา่ นทุง่ นา ก.        ข.       ค.       ง.       เฉลย 1. ก 2. ค 3. ก 4. ง 5. ง 6. ก 7. ค 8. ข 9. ก 10. ง เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) 10

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เหตุผลเชงิ ตรรกะกบั การแก้ปญั หา แบบทดสอบหลงั เรยี น หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 1 คาชี้แจง : ใหน้ ักเรยี นเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. จากภาพควรเตมิ หนา้ ลูกเต๋าในข้อใด 3. ข้อใดหมายถึงขั้นตอนการทาความเข้าใจปัญหา ลงในชอ่ งวา่ งท้ัง 2 ช่อง ก. กาหนดปญั หาให้ชัดเจน รวบรวมข้อมลู อยา่ งเปน็ ระบบ และกาหนดเปา้ หมาย ข. กาหนดปญั หาใหช้ ดั เจน กาหนดเปา้ หมาย และ รวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ ค. รวบรวมขอ้ มลู อยา่ งเปน็ ระบบ กาหนดปัญหาให้ ชัดเจน และกาหนดเป้าหมาย ก. ง. กาหนดปัญหาให้ชดั เจน กาหนดเป้าหมาย และ รวบรวมขอ้ มลู อย่างเปน็ ระบบ ข. 4. ข้อใดไม่ใช่กฏเกณฑห์ รือเง่ือนไขในการแก้ปัญหา ค. ก. แมเ่ รียกไปกนิ ข้าว ข. จานวนเงนิ 300 บาท ง. ค. พี่สาวของแมเ่ รยี กว่าป้า 2. ขัน้ ตอนการแกป้ ญั หาในข้อใด สง่ ผลใหส้ ามารถ ง. นา้ พรกิ หน่มุ เปน็ อาหารประจาภาคเหนอื แกป้ ัญหาได้อยา่ งถูกต้อง 5. โฟกสั ไดว้ างแผนการแก้ปัญหาเนื่องจากทาการบา้ น ก. ทาความเขา้ ใจปญั หาวางแผนแกป้ ัญหา ทา ไมเ่ สร็จตามระยะเวลาท่ีกาหนด ดังนี้ โฟกัสจะรบี นอน ตามแผนท่วี างไว้ประเมนิ ผล และไปโรงเรียนให้ทันเวลา 07.20 น. เพื่อทาการบา้ น ฝึกการใช้ทักษะให้เชี่ยวชาญยงิ่ ขนึ้ ตอ่ หรอื ทาต่อในเวลา 12.00 น. หรือยอมให้ครูประจา ข. วางแผนแก้ปญั หาฝกึ การใชท้ ักษะ รายวชิ าทาโทษเน่ืองจากทาการบ้านไม่เสร็จ ใหเ้ ชีย่ วชาญยิง่ ขึ้นทาความเข้าใจปญั หา ทา จากเหตุการณ์ดงั กล่าว อยากทราบว่าโฟกสั มีแนวทาง ตามแผนท่ีวางไว้ประเมนิ ผล ในการแก้ไขก่ขี ้อ ค. ฝึกการใช้ทกั ษะใหเ้ ชีย่ วชาญยิง่ ขึน้  ก. 1 เงื่อนไข ข. 2 เงื่อนไข ทาตามแผนทว่ี างไว้ประเมินผล ค. 3 เงอ่ื นไข ง. 4 เง่อื นไข ทาความเข้าใจปญั หาวางแผนแกป้ ัญหา 6. ข้อใดคือประโยชน์ของการแก้ปญั หาอย่างมีระบบ ง. ทาความเขา้ ใจปัญหาฝึกการใช้ทกั ษะ ก. ทาให้นักเรยี นรจู้ ักการวางแผน ให้เชีย่ วชาญยิง่ ข้นึ วางแผนแกป้ ญั หา ทาตาม ข. ทาให้นกั เรียนรจู้ ักการแก้ปัญหา แผนท่ีวางไว้ประเมนิ ผล ค. ทาใหน้ กั เรียนมเี หตุผลมากขึ้น ง. ทาให้นักเรยี นรจู้ ักสรา้ งและนาตน้ แบบไปใช้ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) 11

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เหตผุ ลเชงิ ตรรกะกับการแกป้ ัญหา 9. ข้อใดกล่าวถึง อลั กอรทิ ึม ไดถ้ ูกต้องที่สุด ก. เป็นการแสดงแผนภาพการวิเคราะห์ข้อมลู 7.  จากเสน้ ทางดังกล่าวตรงกบั ข. เป็นการแสดงลาดับข้นั ตอนการแกป้ ัญหา ภาพการเดนิ ทางในข้อใด เพือ่ ให้สามารถเดนิ ทาง ค. เป็นการแสดงแผนผงั การสรุปขอ้ มลู จากบา้ นไปยงั สวนดอกไม้ ง. เปน็ การแสดงตารางในการประเมนิ ผลข้อมูล ก. 10. ไอซ์ต้องการรบั ชมการ์ตูนในวันหยดุ โดยมีเวลา ข. สาหรับรบั ชมการ์ตนู 2 ชว่ั โมง 45 นาที ดังน้นั ไอซจ์ ะสามารถรบั ชมภาพยนตร์เร่ืองใดบา้ ง ค. จากตารางรายชือ่ การต์ ูนทก่ี าหนดให้ ง. รายช่อื การต์ นู ระยะเวลา Pokemon 80 นาที 8. พลอยใสตอ้ งการเดนิ จากตึกเรียนไปยังโรงอาหาร Angry Birds 45 นาที โดยมเี ส้นทางต่าง ๆ ดงั นี้ Toy Story 50 นาที เสน้ ทางที่ 1 มรี ะยะทาง 500 เมตร Smurfs 60 นาที เสน้ ทางที่ 2 มีระยะทาง 300 เมตร Doraemon 55 นาที เส้นทางที่ 3 มรี ะยะทาง 315 เมตร เส้นทางท่ี 4 มรี ะยะทาง 325 เมตร ก. Doraemon / Angry Birds / Toy Story พลอยใสควรเลอื กเส้นทางใดในการเดนิ ทาง ข. Toy Story / Doraemon / Pokemon เพอ่ื ใหไ้ ดร้ ะยะทางท่ใี กล้ท่ีสดุ ค. Pokemon / Smurfs / Doraemon ก. เส้นทางที่ 4 ง. Toy Story / Smurfs / Doraemon ข. เสน้ ทางท่ี 2 ค. เสน้ ทางท่ี 3 ง. เส้นทางที่ 1 เฉลย 1. ง 2. ก 3. ข 4. ก 5. ค 6. ก 7. ง 8. ข 9. ข 10. ง เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) 12

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 เหตุผลเชิงตรรกะกบั การแกป้ ัญหา แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1 การแก้ปญั หาดว้ ยเหตผุ ลเชิงตรรกะ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 1 การแก้ปัญหาด้วยเหตุผลเชงิ ตรรกะ เวลา 4 ชั่วโมง 1. มาตรฐาน/ตัวชีว้ ดั 1.1 ตวั ชว้ี ัด ว 4.2 ป.5/1 ใช้เหตผุ ลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การอธบิ ายการทางาน การคาดการณผ์ ลลัพธ์ จากปัญหาอย่างง่าย 2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธิบายความหมายของการใช้เหตผุ ลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหาได้ถูกต้อง (K) 2. อธิบายขนั้ ตอนการแก้ปัญหาได้ (K) 3. อธิบายกระบวนการทางานในการแกป้ ญั หาได้ (K) 4. เขียนวธิ ีการแก้ปญั หาโดยใช้เหตผุ ลเชงิ ตรรกะได้ถกู ต้อง (P) 5. เห็นความสาคญั และประโยชน์ของการแกป้ ัญหาดว้ ยเหตผุ ลเชิงตรรกะ (A) 3. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ทอ้ งถ่นิ พจิ ารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา สาระการเรยี นรู้แกนกลาง - การใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะเป็นการนากฎเกณฑ์ หรือ เงื่อนไขที่ครอบคลมุ ทุกกรณีมาใช้พิจารณา ในการแก้ปัญหา การอธิบายการทางาน หรอื การคาดการณผ์ ลลพั ธ์ - ตัวอย่างปัญหา เช่น เกม Sudoku โปรแกรม ทานายตัวเลข โปรแกรมสร้างรูปเรขาคณิต ตามคา่ ข้อมูลเขา้ การจดั ลาดับการทางานบ้าน ในชว่ งวนั หยุด จดั วางของในครัว 4. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด การใช้เหตุผลเชิงตรรกะเปน็ การนากฎเกณฑห์ รอื เงอื่ นไขที่ครอบคลุมทุกกรณมี าใช้ เพอ่ื พิจารณา ในการแก้ปญั หา ทาให้สามารถคาดการณผ์ ลลพั ธ์ทจี่ ะเกิดขึ้นได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ซง่ึ การนาวธิ ีการ แกป้ ญั หาท่ีได้มาแสดงเปน็ ลาดบั ข้นั ตอนจะเรียกว่า อัลกอริทึม เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) 13

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เหตุผลเชงิ ตรรกะกบั การแกป้ ัญหา แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1 การแก้ปัญหาดว้ ยเหตุผลเชิงตรรกะ 5. สมรรถนะสาคัญของผ้เู รียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการส่อื สาร 1. มวี นิ ยั รับผิดชอบ - ทกั ษะการสื่อสาร 2. ใฝเ่ รียนรู้ - ทักษะการแลกเปลี่ยนข้อมูล 3. ม่งุ มน่ั ในการทางาน 2. ความสามารถในการคิด - ทักษะการคดิ วิเคราะห์ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา - ทักษะการสงั เกต - ทักษะการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต - ทกั ษะการทางานร่วมกัน 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. กิจกรรมการเรยี นรู้  วิธกี ารสอนโดยเนน้ รปู แบบการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชวั่ โมงท่ี 1-2 ขน้ั นา ขั้นท่ี 1 กระตุ้นความสนใจ (Engagement) 1. ครูให้นักเรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี นหน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เหตผุ ลเชงิ ตรรกะกับการแก้ปญั หา เพ่อื วัดทักษะการแกป้ ัญหา ทักษะการคิดเชิงคานวณของนักเรียนก่อนเข้าส่กู ิจกรรม 2. ครูถามกระตุ้นความสนใจของนกั เรยี นว่า“ในวันหยุดสุดสัปดาหน์ ้ี นักเรยี นวางแผนจะทาสง่ิ ใด” (แนวตอบ : คาตอบของนกั เรียนขนึ้ อย่กู ับดลุ ยพินิจของครูผู้สอน) 3. ครูอธิบายกบั นักเรยี นวา่ “การวางแผนเปน็ ส่วนหนง่ึ ของการใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะเข้ามาชว่ ย ในการพจิ ารณา โดยนากฎเกณฑ์หรือเง่อื นไขตา่ ง ๆ ที่ครอบคลุมเขา้ มามีสว่ นช่วยเหลือใน การวางแผนหรือการคาดการณผ์ ลลพั ธ์ท่ีจะเกิดข้นึ ” เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) 14

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เหตุผลเชิงตรรกะกบั การแกป้ ญั หา แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1 การแก้ปัญหาดว้ ยเหตุผลเชิงตรรกะ 4. จากนั้นครูถามคาถามประจาหวั ขอ้ กับนักเรียนว่า“เหตผุ ลเชงิ ตรรกะชว่ ยในการแก้ปญั หา ไดอ้ ยา่ งไร” (แนวตอบ : เข้ามาช่วยในการพิจารณาสาเหตุของปัญหา วธิ ีการแก้ปัญหา การตรวจสอบ การแก้ปัญหา เปน็ ต้น) ขัน้ สอน ขั้นที่ 2 สารวจค้นหา (Exploration) 1. นักเรยี นแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละ 3-4 คน เพือ่ ศึกษาและสังเกตสถานการณต์ ัวอยา่ งจากหนังสือเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ป.5 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เหตผุ ลเชงิ ตรรกะ กบั การแกป้ ญั หา เกีย่ วกับขั้นตอนการวางแผนเพ่ือจะไปดภู าพยนตร์ของโป้ โดยใหน้ ักเรียน พจิ ารณาถึงสถานการณ์และเง่ือนไขต่าง ๆ ท่ีมสี ว่ นชว่ ยในการแกป้ ัญหาโดยใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะ 2. เปดิ โอกาสให้นักเรียนได้แลกเปล่ยี นความคิดเห็นร่วมกนั ภายในกลุ่ม เก่ียวกบั การวางแผน แกป้ ญั หาจากสถานการณใ์ นหนงั สือเรียน โดยทาเปน็ ข้อสรุปของกลมุ่ ทแ่ี สดงเป็นลาดับขั้นตอน การแก้ปัญหาในการวางแผนเพอื่ จะไปดภู าพยนตรข์ องโป้ โดยใช้เหตผุ ลเชงิ ตรรกะโดยนกั เรียน สามารถศึกษาแนวคิดจากอนิ เทอรเ์ นต็ ได้ ขน้ั ท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (Explanation) 3. ครูอธบิ ายความรู้กับนักเรียนว่า“การเขียนวิธีการแกป้ ัญหาแบบการแสดงลาดับขัน้ ตอน มีชื่อเรียกอีกช่ือวา่ อัลกอรทิ ึม (Algorithm)” 4. ครสู ่มุ นักเรียน 2-3 กล่มุ ออกมานาเสนอหน้าช้ันเรียนเกี่ยวกับลักษณะการวางแผน การแก้ปัญหาเพ่ือจะไปดูภาพยนตร์ของโป้ตามที่ไดศ้ ึกษาจากหนังสอื เรยี น 5. ใหน้ กั เรยี นแต่ละกลมุ่ ลงมือทาใบงานท่ี 1.1.1 เรือ่ ง การแก้ปญั หาด้วยเหตผุ ลเชิงตรรกะ โดยให้นกั เรียนรว่ มกันวางแผนและพจิ ารณารว่ มกนั ถึงสถานการณ์และเง่ือนไขตา่ ง ๆ ท่ีมี สว่ นชว่ ยในการแกป้ ญั หา จากนัน้ ให้นกั เรียนรว่ มกันเขยี นวิธีการแก้ปัญหาโดยใช้เหตผุ ล เชิงตรรกะ 6. ใหน้ ักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลงานจากการทาใบงานหนา้ ชน้ั เรียน โดยแสดงถึง วิธีการพิจารณาสถานการณ์ เง่อื นไขตา่ ง ๆ และวธิ กี ารแก้ปัญหาโดยใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะ ตามท่ีแตล่ ะกลมุ่ ได้ระดมความคดิ เห็นรว่ มกันในการทากิจกรรมกลุม่ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) 15

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เหตุผลเชงิ ตรรกะกับการแกป้ ญั หา แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1 การแก้ปัญหาดว้ ยเหตุผลเชิงตรรกะ ช่ัวโมงท่ี 3-4 ขน้ั สอน ขน้ั ที่ 3 อธิบายความรู้ (Explanation) 7. ครอู ธิบายกบั นักเรียนวา่ “เหตุผลเชิงตรรกะถกู นามาใชใ้ นการแก้ปญั หาในชีวิตประจาวนั เชน่ ปญั หาการเรยี น ปัญหาในการใช้ชวี ติ เปน็ ต้น” 8. นักเรยี นแบง่ กลุ่ม (กลมุ่ เดิม) เพ่อื ศกึ ษาตัวอยา่ งการแกป้ ญั หาเกมลูกเต๋าจากหนงั สือเรียน โดยใหน้ ักเรียนพิจารณาลูกเต๋าทก่ี าหนดให้และเติมลูกเตา๋ ที่หายไปลงในชอ่ งว่างโดยไม่ซ้ากัน ท้ังแนวนอน แนวต้ัง และในตารางย่อย 9. เปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นแต่ะละกลุ่มศกึ ษาการพจิ ารณาการแก้ปญั หาจากเกมลูกเต๋าทงั้ 4 หลกั และอภิปรายร่วมกันภายในกลมุ่ เกย่ี วกับวิธีการคิดในการแก้ปัญหาเกมลกู เต๋าโดยใช้เหตุผล เชิงตรรกะ 10. จากน้ันให้นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มส่งตัวแทนออกมานาเสนอแนวคดิ ในการแก้ปญั หาเกมลูกเต๋า ตามทีน่ ักเรยี นแต่ละกลุม่ คน้ พบ โดยครคู อยให้คาแนะนาเพิ่มเติมตามความเหมาะสม 11. ครอู ธิบายเพิ่มเติมเกีย่ วกับการแก้ปัญหาดว้ ยเหตุผลเชงิ ตรรกะวา่ “การแก้ปญั หาอย่างมตี รรกะ จะชว่ ยใหเ้ กิดโอกาสผดิ พลาดน้อย เพราะเมื่อเกดิ ความเคยชินกับการแก้ปญั หาอย่างมตี รรกะ จะทาให้ไม่เชือ่ เร่ืองอะไรง่ายๆ นอกจากนนั้ ยังทาให้ความคิดของเราท่ีมีการนาเสนอออกไป ได้รบั การยอมรับจากผู้อืน่ มากข้ึนดว้ ย” ข้นั ท่ี 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaboration) 12. นักเรียนแตล่ ะกล่มุ ร่วมกันระดมความคิดเหน็ ในการทากิจกรรมฝกึ ทักษะ โดยให้นักเรยี น แกป้ ญั หาเกมซูโดกุอย่างมีเหตุผลเชิงตรรกะ 13. นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ ออกมานาเสนอแนวคดิ ในการแก้ปัญหาเกมซโู ดกหุ น้าชั้นเรียนพรอ้ ม อภปิ รายรว่ มกันในห้องเรียน Note วตั ถุประสงค์ของกิจกรรมเพือ่ ให้นกั เรยี น - มีทักษะการสงั เกตโดยให้นกั เรียนสังเกตสถานการณ์ตัวอย่างจากหนังสอื เรียน ทใ่ี ชก้ ารแก้ปญั หาดว้ ยเหตผุ ลเชงิ ตรรกะ และใช้ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ในการพิจารณา ถึงปัญหาและวธิ ีการแก้ปัญหาโดยใชท้ ักษะการแกป้ ญั หาเพ่ือให้การแกป้ ัญหาทถ่ี ูกวิธี - มที กั ษะการทางานรว่ มกนั โดยใชก้ ระบวนการกลุ่มในการทางานเพ่ือการสือ่ สาร และแลกเปลย่ี นข้อมูลร่วมกันเกยี่ วกับสถานการณต์ วั อย่างจากหนงั สอื เรยี น เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) 16

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 เหตุผลเชิงตรรกะกบั การแกป้ ัญหา แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 1 การแกป้ ญั หาดว้ ยเหตผุ ลเชิงตรรกะ ขนั้ สรปุ ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluation) 1. ครปู ระเมินผลโดยการสงั เกตการตอบคาถาม การทาใบงาน และการนาเสนอผลงาน 2. ครูตรวจสอบความถูกต้องของการทาใบงานท่ี 1.1.1 และกจิ กรรมฝึกทักษะ 3. นักเรยี นและครูรว่ มกันสรุปความรู้เก่ียวกับการแก้ปัญหาด้วยเหตุผลเชิงตรรกะว่า “เมื่อพบปัญหาควรใชเ้ หตผุ ลเชงิ ตรรกะในการพจิ ารณากฎเกณฑห์ รือเงื่อนไขตา่ ง ๆ ทค่ี รอบคลุมทุกกรณีมาใชใ้ นการแก้ปญั หา เพราะทาให้สามารถคาดการณ์ผลลัพธ์ ท่อี าจเกดิ ขน้ึ และทาให้สามารถแก้ปญั หานัน้ ได้อยา่ งถูกต้องและเหมาะสม” 7. การวัดและประเมนิ ผล วธิ วี ดั เครือ่ งมือ เกณฑก์ ารประเมิน - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบก่อนเรยี น ประเมนิ ตามสภาพจรงิ รายการวัด กอ่ นเรียน - ใบงานท่ี 1.1.1 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 7.1 การประเมินก่อนเรียน - ตรวจใบงานที่ 1.1.1 - แบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เหตุผลเชงิ ตรรกะ กบั การแกป้ ญั หา 7.2 ประเมนิ ระหวา่ งการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ 1) การแก้ปญั หาดว้ ยเหตุผล เชิงตรรกะ 2) การนาเสนอผลงาน - ประเมนิ การนาเสนอ - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ 2 ผลงาน การนาเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์ 3) พฤตกิ รรมการทางาน รายบุคคล - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ 2 การทางานรายบุคคล การทางานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ 4) พฤติกรรมการทางานกลุ่ม - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2 5) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผา่ นเกณฑ์ การทางานกลุ่ม การทางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 - สงั เกตความมีวินัย - แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์ ความรบั ผดิ ชอบ คณุ ลกั ษณะ ใฝเ่ รียนรู้ และมุ่งมน่ั อันพงึ ประสงค์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) 17

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เหตุผลเชิงตรรกะกบั การแก้ปญั หา แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1 การแกป้ ัญหาดว้ ยเหตุผลเชิงตรรกะ รายการวดั วธิ ีวัด เครื่องมือ เกณฑก์ ารประเมิน ในการทางาน 8. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้ 8.1 สอ่ื การเรียนรู้ 1) หนังสือเรยี นรายวิชาพน้ื ฐาน เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ป.5 หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 เร่ือง เหตุผลเชงิ ตรรกะกบั การแกป้ ญั หา 2) ใบงานท่ี 1.1.1 เรื่อง การแกป้ ัญหาดว้ ยเหตผุ ลเชงิ ตรรกะ 8.2 แหล่งการเรียนรู้ - อนิ เทอร์เน็ต เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) 18


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook