ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรสู้ งิ่ ต่าง ๆ รอบตวั 52 สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
53 คมู่ อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรยี นรู้สิ่งตา่ ง ๆ รอบตัว แนวการประเมินการเรียนรู้ การประเมนิ การเรยี นรู้ของนักเรยี นทาได้ ดงั น้ี 1. ประเมนิ ความรเู้ ดิมจากการอภิปรายในชนั้ เรยี น 2. ประเมนิ การเรียนร้จู ากคาตอบของนกั เรียนระหว่างการจดั การเรียนร้แู ละจากแบบบนั ทึกกจิ กรรม 3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 จากการทากจิ กรรมของนกั เรียน การประเมนิ จากการทากจิ กรรมท่ี 2.2 การใชจ้ านวนทาได้อยา่ งไร ระดับคะแนน 1 คะแนน หมายถงึ ควรปรับปรุง 3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถงึ พอใช้ รหสั ส่งิ ท่ปี ระเมนิ ระดับคะแนน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S2 การวัด S3 การใช้จานวน S8 การลงความเหน็ จากขอ้ มลู ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 C5 ความร่วมมอื รวมคะแนน สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คูม่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 1 การเรยี นรสู้ ่ิงต่าง ๆ รอบตัว 54 ตาราง แสดงการวเิ คราะหท์ ักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ตามระดับความสามารถของนกั เรยี น โดยอาจใช้เกณฑก์ ารประเมนิ ดังนี้ ทกั ษะกระบวนการ รายการประเมนิ ระดับความสามารถ ทางวิทยาศาสตร์ S2 การวดั การใช้เครือ่ งชง่ั ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรุง (1) อา่ นค่ามวลและ S3 การใช้จานวน ระบุหน่วยของมวล สามารถใช้เครื่องชง่ั ชง่ั มวล สามารถใช้เครื่องชง่ั ไม่สามารถใชเ้ ครื่องชงั่ S12 การลง การคานวณหา และอา่ นค่ามวลได้อยา่ ง ชัง่ มวลและอ่านค่า ช่ังมวลและอ่านค่ามวล ความเห็นจาก คา่ เฉลี่ยมวลของ ขอ้ มูล วัตถแุ ละระบุ ถกู ต้องดว้ ยตนเอง และ มวลได้อยา่ งถกู ต้อง ไม่ถูกต้องรวมท้งั ไม่ จานวนผลไม้ท่ี บรรจุถุงไดห้ นัก 1 ระบุหนว่ ยของมวลได้อยา่ ง และระบหุ นว่ ยของ สามารถระบหุ นว่ ยของ กิโลกรมั ถูกต้อง มวลไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง มวลได้ แมว้ า่ ครูหรือ การนาค่ามวลมา คานวณหาค่าเฉลย่ี โดยตอ้ งอาศัยการ ผอู้ ื่นช่วยแนะนาหรอื มวลและระบุ จานวนผลไมท้ ี่ ช้แี นะจากครหู รือ ชแ้ี นะ บรรจุในถงุ ได้หนัก 1 กโิ ลกรัม ผูอ้ ่ืน สามารถคานวณหาค่าเฉลี่ย สามารถคานวณหา ไม่สามารถคานวณหา มวลของวัตถุและระบุ คา่ เฉล่ียมวลของวตั ถุ ค่าเฉลี่ยมวลของวัตถุ จานวนผลไมท้ ใี่ ส่ถงุ ไดห้ นัก และระบจุ านวน และระบุจานวนผลไม้ 1 กิโลกรมั ได้ถูกต้องดว้ ย ผลไม้ท่ใี สถ่ ุงไดห้ นัก ท่บี รรจุถงุ ไดห้ นัก 1 ตนเอง 1 กิโลกรัมได้ถูกต้อง กิโลกรัม แม้วา่ ครูหรือ โดยอาศัยการชแี้ นะ ผ้อู ื่นช่วยแนะนาหรอื ของครูหรือผูอ้ น่ื ช้ีแนะ สามารถเพ่ิมเตมิ ความ สามารถเพ่ิมเติม ไม่สามารถเพิ่มเตมิ คดิ เห็นเกย่ี วกบั ข้อมูลทีม่ ี ความคดิ เห็นเกย่ี วกบั ความคดิ เห็นเก่ียวกับ อยู่จากการช่งั มวลผลไม้ ขอ้ มลู ที่มอี ยู่จากการ ข้อมลู ที่มีอยู่จากการ การคานวณคา่ เฉลย่ี มวล ช่ังมวลผลไม้การ ชัง่ มวลผลไม้การ และระบจุ านวนผลไม้ท่ี คานวณคา่ เฉลยี่ มวล คานวณค่าเฉลีย่ มวล บรรจุในถุงหนกั 1 กโิ ลกรมั และระบจุ านวน และระบุจานวนผลไม้ ไดถ้ ูกตอ้ ง มีเหตผุ ล ด้วย ผลไมท้ ี่บรรจใุ นถุง ท่ีบรรจุในถงุ หนัก 1 ตนเอง หนกั 1 กิโลกรัมได้ กโิ ลกรมั แม้ว่าครูหรือ ถูกต้อง มีเหตผุ ล โดย ผอู้ นื่ ชแี้ นะ อาศยั การชี้แนะจาก ครูหรอื ผอู้ ่ืน สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
55 คู่มอื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรู้ส่งิ ตา่ ง ๆ รอบตัว ตาราง แสดงการวเิ คราะหท์ ักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ตามระดบั ความสามารถของนกั เรียน โดยอาจใชเ้ กณฑ์การประเมิน ดังนี้ ทกั ษะแห่ง รายการประเมนิ ดี (3) ระดบั ความสามารถ ควรปรบั ปรงุ (1) ศตวรรษที่ 21 มสี ว่ นรว่ มในการ พอใช้ (2) ไมม่ ีส่วนร่วมในการ C5 ความ การมีส่วนร่วมใน รวบรวมข้อมูลการชัง่ รวบรวมข้อมลู การชง่ั รว่ มมอื การรวบรวมข้อมูล มวล คานวณคา่ เฉล่ีย มสี ว่ นรว่ มในการ มวล คานวณคา่ เฉลี่ย การช่งั มวล คานวณ มวล และระบจุ านวน รวบรวมขอ้ มูลการชัง่ มวล และระบุจานวน ค่าเฉลีย่ มวลและ ผลไมท้ บ่ี รรจุถุงไดห้ นกั มวล คานวณค่าเฉลยี่ ผลไมท้ ีบ่ รรจุถงุ หนัก 1 ระบุจานวนผลไม้ที่ 1 กิโลกรมั การบนั ทกึ ผล มวล และระบจุ านวน กโิ ลกรัม การบนั ทึกผล ใส่ถงุ หนกั 1 การอภปิ รายและ ผลไมท้ ่ีใส่ถุงไดห้ นัก 1 การอภิปรายและ กโิ ลกรมั การบันทึก นาเสนออย่าง กโิ ลกรมั การบันทึกผล นาเสนอแมว้ ่าครหู รือ ผล การอภิปราย กระตือรือรน้ โดย การอภิปรายและ ผู้อ่นื จจะช่วยกระต้นุ และนาเสนอ รว่ มงานกบั เพ่ือนในกลุม่ นาเสนอโดยอาศัยการ หรือชแ้ี นะ ไดด้ ว้ ยตนเอง กระต้นุ และช้ีแนะจาก ครหู รือผอู้ ืน่ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรียนร้สู งิ่ ตา่ ง ๆ รอบตวั 56 เร่ืองท่ี 3 การทดลองของนักวิทยาศาสตร์ ในเรือ่ งนี้นกั เรียนจะได้เรียนรู้เกีย่ วกบั การทดลอง หน้า 24-32 หน้า 21-26 จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ อธบิ ายทักษะการทดลองเพือ่ รวบรวมขอ้ มลู ในการ สืบเสาะหาความรู้ เวลา 2 ชัว่ โมง วสั ดุ อุปกรณ์สาหรบั ทากจิ กรรม ไข่นกกระทา นาฬิกาจบั เวลา เชอื กฟาง ถุงพลาสตกิ แกว้ พลาสตกิ สือ่ การเรียนรแู้ ละแหลง่ เรยี นรู้ 1. หนังสอื เรียน ป.4 เลม่ 1 2. แบบบนั ทกึ กิจกรรม ป.4 เล่ม 1 สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
57 คมู่ ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรู้สง่ิ ต่าง ๆ รอบตวั แนวการจัดการเรียนรู้ (60 นาที) ข้นั ตรวจสอบความรู้ (10 นาที) 1. ครนู าเข้าสู่บทเรยี นโดยชักชวนนักเรียนอภิปรายในเร่ือง ดังตอ่ ไปน้ี นักเรียนเคยมีความสงสัยเกยี่ วกบั สิ่งต่าง ๆ รอบตัว หรือไม่ เชน่ ออกกาลงั กายแบบใดทาใหห้ วั ใจเตน้ เร็วที่สดุ ละอองเกสรพืชชนดิ ใดทที่ าให้เราจาม สุนขั ที่เลย้ี งไว้ชอบกินเนอื้ หมหู รือเนอื้ ไก่มากกว่ากัน 2. ครใู หข้ ้อสังเกตว่าชกั ชวนนักเรียนว่าในการหาคาตอบข้อสงสัย เหลา่ นี้ อาจตอ้ งใชท้ กั ษะการทดลอง ซึ่งนักเรยี นจะได้เรียนรู้ เก่ียวกบั การทดลองในกจิ กรรมน้ี ขนั้ ฝกึ ทักษะการอ่าน (40 นาท)ี 3. นกั เรียนอ่าน ชื่อเรอ่ื ง และ คิดก่อนอา่ น ในหนงั สอื เรียนหน้า 24 แล้วร่วมกนั อภิปรายในกล่มุ เพ่ือหาแนวคาตอบ ครูบันทึก คาตอบของนกั เรียนบนกระดานเพื่อเปน็ ข้อมูลในการแก้ไขความ เขา้ ใจคลาดเคลื่อนของนักเรยี น 4. นักเรียนอ่านคาใน คาสาคัญ ท้งั ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (หากนักเรียนอา่ นไม่ได้ ครูควรสอนการอ่านให้ถูกตอ้ ง) จากนั้น อธบิ ายความหมายของคาตามความเข้าใจ ครชู กั ชวนใหน้ ักเรียน หาความหมายของคาภายหลังจากการอา่ นเนื้อเรื่อง 5. นกั เรยี นอ่านเนื้อเรื่อง ตามวิธีการอา่ นทเี่ หมาะสมกบั ความสามารถของนกั เรยี น จากนัน้ รว่ มกันอภปิ รายใจความ สาคญั ตามแนวคาถามดงั น้ี 5.1 เราสามารถใช้กระบวนการใดในการหาคาตอบเกี่ยวกบั ส่งิ ตา่ ง ๆ (กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร)์ 5.2 การสารวจตรวจสอบทาได้อย่างไรบา้ ง ยกตัวอย่าง (การ สังเกต การสารวจ การสืบค้นขอ้ มลู ) 5.3 จากตัวอย่าง นักเรียนจะรู้ได้อย่างไรวา่ เสน้ ทางไปโรงเรยี น ทางใดใช้เวลานอ้ ยทสี่ ุด (จบั เวลาเดินทางในแตล่ ะเสน้ ทาง เปรยี บเทยี บเวลาท่ใี ชเ้ ดินทางในแต่ละเสน้ ทาง) 5.4 จากสถานการณ์ สมมตฐิ านของการทดลองคอื อะไร (ดิน ร่วนทาใหผ้ กั บงุ้ เจรญิ เติบโตได้ดีทสี่ ุด) สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ค่มู ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 1 การเรียนรสู้ ิ่งต่าง ๆ รอบตวั 58 5.5 ส่ิงใดบา้ งที่อาจเก่ียวข้องกบั การเจรญิ เติบโตของพืช (นา้ การเตรียมตัวลว่ งหน้าสาหรบั ครู แสง ชนดิ ของดิน) เพือ่ จดั การเรยี นรู้ในครง้ั ถดั ไป 5.6 ตัวแปรต้นของการทดลองนคี้ ืออะไร (ชนิดของดิน) ในครั้งถัดไป นักเรยี นจะได้ทา 5.7 ตัวแปรตามของการทดลองนคี้ ืออะไร (การเจรญิ เตบิ โตของ กิจกรรมท่ี 3 การทดลองทาไดอ้ ย่างไร ครูเตรียมการจัดกจิ กรรมโดยสารวจ ผักบุ้ง) บรเิ วณทีจ่ ะเปน็ จุดปล่อยร่มซึ่งมีความสูง 5.8 การเจริญเติบโตของผักบ้งุ สังเกตหรือวัดจากอะไร (วดั จาก ประมาณ 3 เมตรจดุ นี้ควรเป็นบรเิ วณท่ี ปลอดภัยต่อการทากิจกรรมของนักเรยี น ความสูงของต้นผกั บุ้งจากยอดจนถงึ โคนหรอื ถา้ ผักบงุ้ ทอดยอดอาจวดั ความยาวจากยอดผังบุง้ จนถงึ โคน) 5.9 เพราะเหตุใดจึงต้องมีการกาหนดนยิ ามเชิงปฏบิ ัติการ (เพอื่ กาหนดให้เข้าใจตรงกันวา่ จะสังเกตหรอื วัดการเจริญเตบิ โต จากอะไร) 5.10 การกาหนดนยิ ามเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารคืออะไร (คือการ กาหนดให้เข้าใจตรงกนั วา่ จะสังเกตหรือวัดตัวแปรตาม อย่างไร) 5.11 การทดลองคืออะไร (กระบวนการปฏิบตั ิในการหา คาตอบเพื่อตรวจสอบสมมตฐิ าน) 5.12 สมมติฐานทตี่ ้ังไว้ถกู ต้องเสมอไปหรือไม่ (ไม่เสมอไปผลที่ ได้อาจจะไม่เป็นไปตามสมมติฐานก็ได้) ข้นั สรปุ จากการอา่ น (10 นาที) 6. ครแู ละนักเรยี นช่วยกนั สรุปเรื่องที่อา่ นซ่งึ ควรสรปุ ไดว้ ่าการหา คาตอบบางอยา่ งอาจจะต้องทาการทดลอง ซง่ึ ประกอบดว้ ยการ ตัง้ สมมตฐิ าน การกาหนดและควบคมุ ตัวแปร การกาหนดนิยาม เชิงปฏบิ ตั ิการ การทดลองคือกระบวนการในการปฏบิ ตั เิ พื่อ ตรวจสอบสมมติฐานท่ีต้ังไว้ โดยมขี นั้ ตอนคือการออกแบบการ ทดลอง การทดลอง และบนั ทึกผลการทดลอง 7. นกั เรยี นตอบคาถามใน รู้หรือยัง ในแบบบนั ทึกกิจกรรม หน้า 21 8. ครูและนกั เรียนร่วมกนั อภิปรายเพ่ือเปรยี บเทยี บคาตอบของนกั เรยี น ในรูห้ รือยังกบั คาตอบทเ่ี คยตอบและบันทึกไวใ้ นคดิ ก่อนอา่ น 9. ครูชักชวนนักเรียนให้หาคาตอบร่วมกันในกิจกรรมต่อไปโดย ใช้คาถาม เช่น นอกจากการทดลองจะใช้เพื่อค้นหาคาตอบว่า ดินชนิดใดทาให้พืชเจริญเติบโตได้ดีที่สุดแล้ว ยังมีประโยชน์ อะไรอีกบ้าง สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
59 คมู่ อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรียนรู้ส่งิ ตา่ ง ๆ รอบตวั แนวคาตอบในแบบบนั ทกึ กจิ กรรม สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คมู่ อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรยี นรูส้ ิ่งตา่ ง ๆ รอบตวั 60 กจิ กรรมท่ี 3 การทดลองทาไดอ้ ยา่ งไร กิจกรรมนีน้ ักเรียนจะได้ฝกึ ทักษะการทดลองโดย การตัง้ คาถามการทดลอง ตง้ั สมมตฐิ าน ระบตุ ัวแปร กาหนดนยิ ามเชิงปฏบิ ัติการเก่ียวกบั รม่ แบบใดจะตกถงึ พื้นไดช้ ้ากวา่ โดยกล่องอาหารและอาหารไม่เสยี หายเพ่ือ ฝกึ ทกั ษะการทดลอง เวลา 1 ชวั่ โมง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ อธิบายทักษะการทดลองเพอ่ื รวบรวมขอ้ มลู ใน การสบื เสาะหาความรู้ วัสดุ อุปกรณ์สาหรับทากจิ กรรม สงิ่ ท่คี รตู ้องเตรียม/กลมุ่ สือ่ การเรยี นรแู้ ละแหลง่ เรียนรู้ 1. ไขน่ กกระทา 2 ฟอง 1. หนงั สอื เรียน ป.4 เลม่ 1 หนา้ 27-30 2. แบบบนั ทกึ กจิ กรรม ป.4 เลม่ 1 หน้า 22-26 2. นาฬกิ าจบั เวลา 1 เรือน 3. ตวั อย่างวดี ิทศั นป์ ฏบิ ตั ิการวทิ ยาศาสตร์เรอื่ ง 3. เชอื กฟาง 3-4 เส้น ทาการทดลองได้อย่างไร http://ipst.me/8123 4. ถงุ พลาสติก 2-3 ใบ 5. ถว้ ยพลาสตกิ 2 ใบ ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ S1 การสังเกต S2 การวดั S3 การใชจ้ านวน S8 การลงความเห็นจากข้อมูล ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 C4 การสื่อสาร C5 ความร่วมมือ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
61 คมู่ อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 1 การเรยี นรู้สง่ิ ต่าง ๆ รอบตัว แนวการจัดการเรยี นรู้ ค รู รั บ ฟั ง เ ห ตุ ผ ล ข อ ง นักเรียนเป็นสาคัญ ครูยังไม่ 1. ครูสาธิตหนา้ ชน้ั เรยี น โดยนากระดาษ A4 แบบเรียบ จานวน 1 เฉลยคาตอบใด ๆ แต่ชักชวนให้ แผน่ และกระดาษ A4 ทขี่ ยาแลว้ มาใหน้ กั เรยี นดู แล้วถามวา่ ถ้า หาคาตอบท่ีถูกต้องจากกิจกรรม ปล่อยกระดาษทัง้ 2 แบบให้ตกถึงพ้ืนด้วยระยะความสูงเทา่ กนั จบั ต่าง ๆ ในบทเรียนี้ เวลาต้งั แต่ปลอ่ ยกระดาษจนกระดาษตกถงึ พ้ืน นักเรยี นคดิ ว่า กระดาษแบบใดจะตกถึงพื้นเร็วกว่ากัน และเป็นเพราะเหตใุ ด (นกั เรยี นตอบไดต้ ามความเข้าใจ) ครนู านกั เรยี นเขา้ สกู่ จิ กรรมซึ่ง นักเรยี นจะได้เรียนรู้เก่ยี วกับการทดลองเปรียบเทยี บการตกของ วตั ถุเมือ่ ใช้ขนาดวตั ถุตา่ งกัน 2. นักเรียน อา่ นช่ือกิจกรรมและ ทาเป็นคดิ เปน็ ในหนังสอื เรียน หนา้ 27 ครูตรวจสอบความเขา้ ใจของนักเรยี นเกยี่ วกบั สิ่งทีจ่ ะเรียน โดย ใชค้ าถามดังต่อไปน้ี 2.1กิจกรรมน้นี ักเรียนจะได้เรียนเกี่ยวกบั เรอ่ื งอะไร (ทักษะการ ทดลอง) 2.2นกั เรยี นจะเรยี นเรื่องน้ดี ว้ ยวธิ ีใด (ทดลอง) 2.3เมอ่ื เรยี นแล้วนกั เรยี นจะทาอะไรได้ (อธิบายทักษะการทดลอง) 3. ครนู าเขา้ สู่กจิ กรรม โดยใหน้ กั เรียนอ่าน ทาอยา่ งไร ในหนงั สือเรียน หนา้ 27 โดยใช้วธิ กี ารอา่ นตามความเหมาะสมกับความสามารถของ นกั เรยี น ครูตรวจสอบความเขา้ ใจข้ันตอนการทากิจกรรม โดยอาจ ใช้คาถามดังนี้ 3.1 เรอ่ื งที่อ่านในสถานการณ์ เกี่ยวกบั อะไร (เหตุการณ์นา้ ท่วมทา ให้ผูป้ ระสบภยั ขาดแคลนยาและอาหาร อาจชว่ ยเหลือโดยใช้ เฮลิคอปเตอรส์ ง่ ยาและอาหารแกผ่ ้ปู ระสบภัย) 3.2 วิธีการขนสง่ กลอ่ งอาหารและยาโดยไม่ทาให้เสยี หายต้องทา อย่างไร(ผูกกล่องกบั รม่ แลว้ ปลอ่ ยลงจากเฮลิคอปเตอร์) 3.3 จากสถานการณ์ นกั เรยี นต้องทาอย่างไร (ออกแบบและ วเิ คราะห์รม่ จานวน 2 แบบและนาไปทดสอบโดยที่เมอื่ ปล่อย กลอ่ งอาหารกับร่มแลว้ กล่องอาหารไม่เสียหาย) 3.4 การทดลองน้ีมีการกาหนดเง่ือนไขอะไรบา้ ง (ปล่อยรม่ จาก ความสูง 3 เมตร กล่องอาหารคือถว้ ยพลาสติก และอาหารคือ ไข่นกกระทา ตวั ร่มทาจากถงุ พลาสตกิ และเชือกฟาง) 3.5 จากนนั้ นักเรยี นต้องทาอย่างไร (อภิปรายเพื่อต้ังคาถามการ ทดลอง ต้งั สมมตฐิ าน ระบตุ วั แปรต้น ตัวแปรตามและ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ค่มู ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรูส้ ิ่งตา่ ง ๆ รอบตัว 62 ตวั แปรทีต่ ้องควบคมุ ใหค้ งท่ี ร่วมกันวางแผนการทดลองและ กาหนดนยิ ามเชิงปฏิบตั ิการ) 3.6 นักเรยี นตอ้ งทาอย่างไรต่อไป (ดาเนินการทดลองตามท่ี วางแผนและบันทึกผล) 3.7 จากน้ันนักเรียนต้องทาอย่างไรอีก (ตีความหมายข้อมลู และ ลงขอ้ สรุป) 4. เมอ่ื นกั เรยี นเข้าใจวธิ ีการทากิจกรรมแล้ว ให้นักเรยี นเร่มิ ทากจิ กรรม ทลี ะข้อ และบนั ทึกผลในแบบบนั ทึกกิจกรรมหน้า 22-24 ดงั นี้ 4.1 นกั เรียนร่วมกันต้งั คาถามในการทดลอง ตง้ั สมมติฐาน ระบุตวั แปร (S9) (S11) 4.2 วางแผนการทดลองและกาหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ(S10) (S12) 4.3 ดาเนนิ การทดลอง บันทกึ ผล (S12) (C5) 4.4 นาเสนอร่มทีด่ ีท่ีสดุ (C4) 4.5 ตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป(S13) 5. นักเรียนนาเสนอผลการทากิจกรรม 6. นักเรยี นนาผลการทากจิ กรรมมาอภิปรายร่วมกนั โดยอาจใช้คาถาม ดงั ต่อไปนี้ 6.1 คาถามการทดลองของแตล่ ะกลุ่มเป็นอยา่ งไร (นักเรยี นตอบได้ตาม ความเขา้ ใจ) 6.2 สมมติฐานการทดลองของแต่ละกลุ่มเหมือนหรือแตกต่างกัน อยา่ งไร (นกั เรียนตอบตามความเข้าใจ เช่น แตกต่างกนั ) 6.3 การทดลองน้มี ตี วั แปรต้น ตวั แปรตามและตัวแปรที่ต้องควบคุมให้ คงท่ี คืออะไร (ตัวแปรต้นคือ ขนาดของรม่ ตัวแปรตาม คอื ระยะเวลาทีร่ ่มตกถึงพื้น ตวั แปรทต่ี ้องควบคุมให้คงที่ ได้แก่ ชนดิ ของวัสดุที่ทาร่ม ความยาวของเชือก จานวนเชือก จานวนไข่นก กระทา ขนาดและชนดิ ของวัสดุที่ใช้ทาถ้วย) 6.4 ผลการทดลองแตล่ ะกล่มุ เป็นอย่างไร เปน็ ไปตามสมมติฐานหรือไม่ (รม่ ขนาดใหญต่ กช้ากว่ารม่ ขนาดเลก็ ) 6.5 การทดลองน้ี สรปุ ไดว้ ่าอยา่ งไร (ร่มขนาดแตกตา่ งกนั ใช้เวลาตกถงึ พื้นแตกต่างกัน) 6.6 นักเรยี นต้องดาเนินการทดลองอยา่ งไรบา้ ง (ต้ังคาถามการทดลอง วางแผนการทดลอง ทาการทดลอง และบนั ทกึ ผลการทดลอง) สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
63 คูม่ อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรยี นรู้สง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตวั 6.7 การทดลองครัง้ น้ใี ช้ทักษะใดร่วมด้วย (การสังเกต การตง้ั สมมตฐิ าน การกาหนดและควบคุมตัวแปร การตีความหมายข้อมลู และลง ข้อสรุป) 7. ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั อภิปรายและสรุปกจิ กรรมนี้วา่ เปน็ การ เรยี นรทู้ ักษะการทดลองโดยผ่านการทากจิ กรรมเปรียบเทยี บขนาด ของรม่ มผี ลต่อการตกถงึ พน้ื เร็วช้าตา่ งกนั หรือไม่และไม่ทาใหส้ ่งิ ของ เสยี หาย ซึง่ การทดลองเป็นการปฏบิ ัตเิ พอ่ื ตรวจสอบสมมตฐิ านโดย เรม่ิ จากการตัง้ คาถามการทดลอง การต้งั สมมตฐิ าน การวางแผน การทดลอง การกาหนดและควบคมุ ตัวแปร การดาเนนิ การทดลอง บนั ทึกผลการทดลอง นาเสนอผลการทดลอง 8. นักเรียนรว่ มกนั อภิปรายคาตอบในฉนั รู้อะไร โดยครูอาจเพิ่มเติม คาถามในการอภปิ ราย เพื่อให้ไดแ้ นวคาตอบตามคาถามทา้ ย กิจกรรมน้ี 9. ครูใหน้ กั เรยี นสรปุ ส่งิ ท่ีได้เรียนรู้ในกจิ กรรมน้ี จากน้ันครใู ห้นักเรยี น อ่านส่ิงท่ไี ด้เรยี นรู้ และเปรยี บเทียบกับข้อสรปุ ของตนเอง 10. นกั เรียนตง้ั คาถามในอยากรู้อีกว่า จากนั้นครูสุ่มนักเรียน 2-3 คน นาเสนอคาถามของตนเองหน้าชนั้ เรียน 11. ครนู าอภิปรายเพอ่ื ใหน้ ักเรียนทบทวนว่าไดฝ้ ึกทกั ษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ในข้ันตอนใดบา้ ง 12. นกั เรยี นรว่ มกนั อ่าน รอู้ ะไรในเรื่องน้ี เรอื่ งที่ 3 การทดลองของ นกั วทิ ยาศาสตร์ ในหนังสือเรียนหนา้ 31-32 ครนู าอภิปรายเพ่อื นาไปสูข่ ้อสรุปเก่ยี วกับส่ิงท่ีได้เรียนรูใ้ นเรอื่ งนี้ จากนนั้ ครูชักชวนให้ นักเรยี นตอบคาถาม เช่น ถ้าอยากทราบวา่ รม่ ท่ีทาจากวสั ดุชนิดใด ตกถงึ พน้ื ชา้ ที่สุด จะมีวิธกี ารทดลองอยา่ งไร โดยครูและนักเรียน ร่วมกันอภิปรายแนวทางการตอบคาถาม โดยเนน้ ใหน้ ักเรยี นตอบ คาถามพร้อมอธบิ ายเหตผุ ลประกอบ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คู่มือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ รอบตวั 64 แนวการประเมินการเรียนรู้ การประเมินการเรยี นรูข้ องนกั เรียนทาได้ ดังน้ี 1. ประเมินความรเู้ ดิมจากการอภปิ รายในช้นั เรียน 2. ประเมนิ การเรียนรจู้ ากคาตอบของนกั เรียนระหวา่ งการจัดการเรียนรู้และจากแบบบันทึกกจิ กรรม 3. ประเมนิ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 จากการทากิจกรรมของนกั เรยี น การประเมนิ จากการทากจิ กรรมที่ 3 การทดลองทาไดอ้ ย่างไร ระดบั คะแนน 1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรุง 3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถงึ พอใช้ รหัส สิง่ ท่ปี ระเมิน ระดบั คะแนน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S1 การสังเกต S2 การวัด S9 การตั้งสมมตฐิ าน S10 การกาหนดนยิ ามเชิงปฏบิ ัตกิ าร S11 การกาหนดและควบคุมตัวแปร S12 การทดลอง S13 การตีความหมายข้อมูลและลงขอ้ สรปุ ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 C2 การคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ C4 การสือ่ สาร C5 ความรว่ มมือ รวมคะแนน สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
65 คู่มอื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรยี นรู้สงิ่ ต่าง ๆ รอบตัว ตาราง แสดงการวเิ คราะห์ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรต์ ามระดบั ความสามารถของนกั เรยี น โดยอาจใช้เกณฑ์การประเมนิ ดังนี้ ทักษะกระบวนการ รายการประเมิน ระดับความสามารถ ทางวิทยาศาสตร์ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรงุ (1) S1 การสังเกต การบรรยาย สามารถใช้ประสาทสมั ผัส สามารถใชป้ ระสาทสมั ผัส ไมส่ ามารถใช้ประสาท ลักษณะของไข่นก เกบ็ รายละเอยี ดและ เก็บรายละเอยี ดและบรรยาย สมั ผัสเก็บรายละเอยี ด กระทาก่อนและ บรรยายเก่ยี วกับลกั ษณะ เก่ียวกับลักษณะของไขน่ ก และบรรยายเกย่ี วกับ ภายหลังจากที่ตก ของไข่นกกระทากอ่ นและ กระทาก่อนและภายหลงั จาก ลกั ษณะของไขน่ ก ถึงพนื้ ภายหลงั จากตกถึงพื้น ตกถึงพ้นื โดยต้องอาศยั การ กระทาก่อนและ ด้วยตนเอง โดยไมเ่ พ่ิม ช้ีแนะของครูหรือผู้อื่น ภายหลงั จากที่ตกถงึ พ้ืน ความคิดเห็น แมว้ ่าครหู รือผู้อื่นช่วย แนะนาหรือช้ีแนะ S2 การวัด การใช้อุปกรณ์การ สามารถใช้อุปกรณว์ ัด สามารถใชอ้ ปุ กรณว์ ดั ความ ไม่สามารถใชอ้ ุปกรณ์ วัดความยาวและ ความยาววสั ดุทาร่มและ ยาววัสดทุ าร่มและระบหุ นว่ ย วัดความยาววัสดุทารม่ การระบหุ นว่ ยท่ีได้ ระบหุ นว่ ยไดอ้ ย่างถูกต้อง ได้อย่างถกู ต้องโดยต้องอาศยั และระบุหน่วยไดแ้ มว้ ่า จากการวัด ด้วยตนเอง และระบุหนว่ ย การชแ้ี นะจากครหู รอื ผู้อื่น ครูหรอื ผอู้ ่ืนช่วยแนะนา ของมวลได้อย่างถูกต้อง หรอื ชี้แนะ S9 การ การเขยี นหรอื พดู สามารถเขียนหรือพดู สามารถเขียนหรือพดู ไม่สามารถเขยี นหรือ ตั้งสมมติฐาน ข้อความที่ ขอ้ ความท่คี าดคะเนผลการ ข้อความท่ีคาดคะเนผลการ พดู ข้อความท่คี าดคะเน คาดคะเนผลการ ทดลองลว่ งหนา้ ไดด้ ้วย ทดลองล่วงหน้าไดแ้ ตต่ ้อง ผลการทดลองล่วงหน้า ทดลองล่วงหนา้ ตนเอง อาศยั การช้ีแนะของครูหรือ ได้แม้วา่ จะไดร้ บั โดยข้อความนน้ั ผ้อู ่ืน คาแนะนาจากครูหรือ แสดงใหเ้ ห็น ผู้อ่ืน ความสมั พันธ์ของ ตัวแปรตน้ และตวั แปรตามได้ดงั นีร้ ม่ ขนาดใหญจ่ ะตกชา้ กวา่ ร่มขนาดเล็ก โดยไข่นกกระทาไม่ เสียหาย สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ค่มู ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรยี นรู้ส่ิงตา่ ง ๆ รอบตัว 66 ทักษะกระบวนการ รายการประเมนิ ระดบั ความสามารถ ทางวิทยาศาสตร์ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรงุ (1) S10 การกาหนด การระบวุ ิธกี าร สามารถกาหนดนิยามเชงิ สามารถกาหนดนิยามเชงิ ไมส่ ามารถกาหนดนิยาม นยิ ามเชงิ สงั เกตความ ปฏบิ ัติการเก่ียวกบั ความ ปฏิบัตกิ ารเกี่ยวกบั ความ เชงิ ปฏิบัตกิ ารเกีย่ วกับ ปฏิบัตกิ าร เสียหายของไข่นก เสียหายของไข่นกกระทา เสียหายของไข่นกกระทาได้ ความเสยี หายของไขน่ ก กระทา ไดถ้ ูกต้องด้วยตนเองวา่ ถกู ต้องวา่ ความเสียหาย กระทาได้ถูกต้องว่าความ ความเสยี หายหมายถึง มี หมายถึง มีรอยบบุ แตก เสยี หายหมายถงึ มีรอย รอยบุบ แตก หรือร้าวทีผ่ ิว หรือร้าวที่ผวิ ไข่ จากการ บุบ แตก หรือรา้ วที่ผิวไข่ ไข่ ช้ีแนะของครูหรือผอู้ ่นื แม้วา่ ครูหรอื ผู้อนื่ ชว่ ย แนะนาหรือช้แี นะ S11 การกาหนด การกาหนดตวั แปร สามารถกาหนดตวั แปรตน้ สามารถกาหนดตัวแปรต้น ไมส่ ามารถกาหนดตัว และควบคมุ ตัว ต้น ตวั แปรตาม ตวั ตวั แปรตาม ตัวแปรท่ีต้อง ตวั แปรตาม ตัวแปรทตี่ ้อง แปรตน้ ตัวแปรตาม ตวั แปร แปรทตี่ ้องควบคุม ควบคุมใหค้ งที่ซึ่ง ควบคมุ ใหค้ งทีซ่ ึง่ สอดคล้อง แปรที่ต้องควบคุมให้ ให้คงทีซ่ ่ึงสอดคล้อง สอดคล้องกบั คาถามในการ กบั คาถามในการทดลอง การ คงทซี่ ่งึ สอดคล้องกับ กับคาถามในการ ทดลอง การกาหนดตวั แปร กาหนดตวั แปรนส้ี ามารถทา คาถามในการทดลอง ทดลอง ดังนี้ ตัว นส้ี ามารถทาไดด้ ้วยตนเอง ไดโ้ ดยอาศัยการชแ้ี นะจาก แม้ แปรตน้ คือ ขนาด และถูกตอ้ ง ครูหรอื ผู้อ่ืน ว่าจะได้รบั คาแนะนา ของรม่ (ใหญ่ เล็ก) จากครูหรือผู้อืน่ ตวั แปรตาม คือ ระยะเวลาท่ีตกถึง พืน้ ความเสยี หาย ของไข่นกกระทา ตัวแปรที่ต้อง ควบคุมให้คงที่ เช่น ชนดิ ของวัสดุที่ใช้ ทาตวั ร่ม เชือกและ ภาชนะใส่ไข่ ความ ยาวของเส้นเชือก ขนาดและรปู ร่าง ของแกว้ พลาสติก ขนาดและรูปร่าง ของไข่นกกระทา สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
67 ค่มู ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรู้ส่งิ ต่าง ๆ รอบตวั ทกั ษะกระบวนการ รายการประเมนิ ระดบั ความสามารถ ทางวิทยาศาสตร์ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรงุ (1) S12 การทดลอง การต้ังคาถามการ สามารถตั้งคาถามการ สามารถตั้งคาถามการทดลอง ไม่สามารถตง้ั คาถาม ทดลอง การ ทดลอง ออกแบบการ ออกแบบการทดลอง ทดลอง การทดลอง ออกแบบ ออกแบบการ ทดลอง ทดลอง และ และสรุปผลการทดลองเพ่ือ การทดลอง ทดลอง ทดลอง การ สรปุ ผลการทดลองเพอ่ื หา หาคาตอบทีส่ งสยั ไดจ้ าก และสรปุ ผลการทดลอง ทดลอง และ คาตอบท่สี งสยั ไดด้ ้วย การชีแ้ นะของครูหรอื ผู้อ่ืน เพอื่ หาคาตอบทสี่ งสัย สรุปผลการทดลอง ตนเอง แมว้ า่ จะได้รบั เพอ่ื หาคาตอบใน คาแนะนาจากครูหรือ คาถามทสี่ งสยั ผู้อ่นื S13 การ การตคี วามหมาย สามารถตคี วามหมาย สามารถตคี วามหมายข้อมูลที่ ไม่สามารถ ตคี วามหมาย ข้อมูลท่ีได้จากการ ข้อมลู ที่ได้จากการทดลอง ได้จากการทดลอง เพ่ือลง ตคี วามหมายข้อมูลทไ่ี ด้ ขอ้ มูลและลง ทดลอง เพื่อลง เพื่อลงข้อสรุปไดว้ า่ รม่ ขอ้ สรุปได้ว่าร่มขนาดใหญต่ ก จากการทดลอง เพ่ือลง ข้อสรุป ข้อสรปุ เกีย่ วกับ ขนาดใหญ่ตกชา้ กว่าร่ม ช้ากว่าร่มขนาดเล็กและไมท่ า ขอ้ สรุปไดว้ ่าร่มขนาด คาตอบท่ีได้จาก ขนาดเล็กและไม่ทาให้ไข่ ใหไ้ ข่นกกระทาเสยี หาย การ ใหญ่ตกชา้ กวา่ รม่ ขนาด การทดลอง นกกระทาเสียหาย การ ตีความหมายข้อมลู เพื่อลง เล็กและไมท่ าให้ไขน่ ก ตคี วามหมายข้อมูลเพ่ือลง ขอ้ สรปุ น้สี ามารถทาไดโ้ ดย กระทาเสยี หาย ข้อสรุปน้ีสามารถทาไดด้ ้วย อาศัยการช้ีแนะจากครูหรือ ตคี วามหมายข้อมูลเพ่ือ ตนเอง ผ้อู น่ื ลงข้อสรปุ นไ้ี มส่ ามารถ ทาได้แมว้ า่ ได้รับ คาแนะนาจากครหู รือ ผ้อู น่ื สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คมู่ ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรียนรสู้ งิ่ ต่าง ๆ รอบตัว 68 ตาราง แสดงการวิเคราะห์ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ตามระดบั ความสามารถของนักเรยี น โดยอาจใช้เกณฑก์ ารประเมนิ ดงั น้ี ทักษะแห่ง รายการประเมนิ ระดบั ความสามารถ ควรปรับปรุง (1) ศตวรรษท่ี 21 ดี (3) พอใช้ (2) ไมส่ ามารถคดิ โดยใช้ C2 การคดิ เหตุผลทเ่ี หมาะสมในการ อย่างมี การคิดอยา่ งมี สามารถคิดโดยใชเ้ หตผุ ลท่ี สามารถคิดโดยใช้เหตผุ ลที่ ตดั สนิ ใจเพื่อการ วจิ ารณญาณ เหตุผลในการ เหมาะสมในการตดั สินใจ เหมาะสมในการตดั สนิ ใจ ออกแบบการทดลอง ตัดสินใจเพื่อการ เพื่อการออกแบบการ เพ่ือการออกแบบการ และสรปุ ผลการทดลอง C4 การส่อื สาร ออกแบบการ ทดลอง และสรุปผลการ ทดลอง และสรุปผลการ ได้ แม้วา่ ครหู รือผู้อืน่ ทดลอง และสรุปผล ทดลองได้ดว้ ยตนเอง ทดลองได้โดยอาศัยการ ช่วยแนะนาหรือช้แี นะ การทดลอง ชีแ้ นะของครหู รือผอู้ ื่น ไมส่ ามารถการนาเสนอ สิ่งทคี่ ้นพบเพ่ือหา การนาเสนอส่งิ ที่ สามารถนาเสนอส่งิ ที่คน้ พบ สามารถนาเสนอส่งิ ที่ค้นพบ คาตอบที่สงสยั ให้ผอู้ น่ื ค้นพบเพอ่ื หา เพ่อื หาคาตอบที่สงสยั ให้ เพอื่ หาคาตอบทีส่ งสัยให้ รับรูไ้ ด้ แม้วา่ ครูหรือผูอ้ ื่น คาตอบทีส่ งสัยให้ ผอู้ น่ื รับร้ไู ด้อยา่ งชัดเจน ผู้อน่ื รับรู้ได้อย่างชัดเจน ชว่ ยแนะนาหรอื ชแ้ี นะ ผู้อืน่ รบั รู้ ด้วยตนเอง จากการช้แี นะของครหู รือ ผู้อ่ืน C5 ความ การมีส่วนรว่ มใน มีส่วนร่วมทุกครง้ั ในการตงั้ มีส่วนรว่ มในการต้ังคาถาม ไมม่ ีสว่ นรว่ มในการต้ัง ร่วมมอื การต้ังคาถาม คาถาม รวบรวมข้อมลู รวบรวมข้อมูล บันทึกผล อภิปรายผลการ รวบรวมขอ้ มูล บันทึกผล คาถาม รวบรวมข้อมูล บันทึกผล อภปิ ราย ทดลอง สรปุ ผลการทดลอง ผลการทดลอง สืบค้นข้อมูลเพมิ่ เตมิ การ อภปิ รายผลการทดลอง บันทกึ ผล อภิปรายผล สรปุ ผลการทดลอง นาเสนอผลการทดลองได้ สบื ค้นขอ้ มูล ดว้ ยตนเอง การมสี ่วนรว่ มนี้ สรปุ ผลการทดลอง สบื ค้น การทดลอง สรปุ ผลการ เพม่ิ เติม การ เป็นไปโดยสมา่ เสมอตลอด นาเสนอผลการ การทากิจกรรม ข้อมูลเพิม่ เติม การนาเสนอ ทดลอง สืบค้นขอ้ มลู ทดลอง ผลการทดลองทั้งนโี้ ดยการ เพมิ่ เติม การนาเสนอผล ชี้แนะของครูหรือผอู้ น่ื การมี การทดลองแมว้ า่ จะมีครู ส่วนร่วมนเี้ ป็นไปเปน็ หรือผ้อู ่นื ชว่ ยแนะนาหรือ บางคร้ังที่ทากิจกรรม ช้แี นะ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
69 คมู่ อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรียนรู้ส่งิ ตา่ ง ๆ รอบตวั แนวคาตอบในแบบบนั ทึกกจิ กรรม สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรสู้ งิ่ ต่าง ๆ รอบตวั 70 สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
71 คมู่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรยี นรู้ส่งิ ต่าง ๆ รอบตวั สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรสู้ งิ่ ต่าง ๆ รอบตวั 72 สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
73 คมู่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรยี นรู้ส่งิ ต่าง ๆ รอบตวั สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ค่มู อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรยี นร้สู งิ่ ต่าง ๆ รอบตัว 74 กิจกรรมทา้ ยบทท่ี 1 การเรยี นรแู้ บบนกั วิทยาศาสตร์ (2 ช่วั โมง) 1. นักเรียนวาดรูปหรอื เขียนสรุปส่ิงทีไ่ ด้เรยี นรู้แบบนักวิทยาศาสตร์จาก บทนี้ ในแบบบันทึกกิจกรรมหน้า 27 2. นักเรยี นตรวจสอบการสรปุ ส่งิ ที่ได้เรียนรู้ของตนเองโดยเปรียบเทียบ กบั แผนภาพในหัวข้อรอู้ ะไรในบทนี้ ในหนังสอื เรยี น หน้า 33 3. นักเรียนตรวจสอบคาตอบของตนเองในสารวจความรู้กอ่ นเรยี น ในแบบบนั ทึกกิจกรรมหนา้ 3-4 อีกครัง้ ถ้าคาตอบของนักเรียนไม่ ถูกต้อง ให้แกไ้ ขให้ถูกต้องด้วยปากกาต่างสี นอกจากน้คี รูอาจนา คาถาม ในรูปนาบทในหนงั สือเรียนหนา้ 3 มารว่ มกนั อภปิ รายคาตอบ กบั นักเรียนอีกคร้ัง ดังนี้ “นักวิทยาศาสตรใ์ ช้การสืบเสาะหาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์อะไรบา้ ง ในการหาคาตอบในเรื่องที่สงสัย” ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันอภิปราย แนวทางการตอบคาถาม เช่น นกั วิทยาสาศาสตร์ใชก้ ารสืบเสาะหา ความรทู้ างวทิ ยาศาสตรจ์ นได้คาตอบในคาถามทส่ี งสยั ซง่ึ ประกอบด้วยการมีสว่ นร่วมในการต้ังคาถามทางวทิ ยาศาสตร์ การ รวบรวมขอ้ มลู หรือหลักฐานที่เกี่ยวขอ้ ง การอธบิ ายส่งิ ท่ีสงสัยดว้ ย ขอ้ มลู หรือหลักฐานอยา่ งมีเหตุผล การอธิบายเชื่อมโยงสิง่ ทไี่ ดค้ ้นพบ กับความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ และการสอื่ สารส่งิ ทไี่ ด้ค้นพบและให้ เหตผุ ล การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์จะได้ใชท้ กั ษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หลายประการ เชน่ การสงั เกต การ ทดลองเพ่อื รวบรวมข้อมูล การจดั กระทาและสื่อความหมายข้อมูลท่ี รวบรวมได้ นกั เรยี นอาจมีคาตอบท่ีแตกต่างจากนี้ ครูควรเน้นให้ นกั เรียนตอบคาถามพร้อมอธิบายเหตผุ ลประกอบ 4. นกั เรยี นทาแบบฝึกหัดทา้ ยบทที่ 1 การเรียนรแู้ บบนักวิทยาศาสตร์ นาเสนอคาตอบหน้าชั้นเรยี น ถ้าคาตอบยงั ไม่ถูกต้องครนู าอภปิ ราย หรอื ใหส้ ถานการณเ์ พมิ่ เติมเพ่ือแก้ไขแนวคดิ คลาดเคล่ือนให้ถูกต้อง 5. นักเรยี นรว่ มกนั ทากจิ กรรมร่วมคดิ รว่ มทา โดยต้งั สมมติฐาน กาหนด และควบคุมตัวแปร ทดลองและบันทกึ ผลการทดลอง เพือ่ ตอบ คาถามท่ีนกั เรยี นกล่มุ หนงึ่ สงสัยว่า เมลด็ ข้าวเปลือกท่ีแช่น้าและไมแ่ ช่ น้าก่อนนาไปลงแปลงปลูก เมลด็ ใดจะงอกไดเ้ รว็ กวา่ กัน 6. นกั เรียนรว่ มกันอ่านและอภปิ รายเน้ือเรือ่ งในหวั ข้อวทิ ย์ใกลต้ ัว โดย ครกู ระตุ้นให้นกั เรียนเห็นความสาคัญของความรจู้ ากสง่ิ ที่ได้เรยี นใน สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
75 คู่มอื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรยี นรู้สง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตวั หนว่ ยนว้ี า่ สามารถนาไปใช้ประโยชนใ์ นชีวิตประจาวันได้ ครูอาจใช้ คาถามในการอภปิ รายดงั ต่อไปน้ี 6.1 ยงุ เปน็ อนั ตรายต่อเราอย่างไร (เปน็ พาหะของโรคตดิ ต่อ เชน่ ไขเ้ ลือดออก ไข้มาลาเรีย) 6.2 หากเราไดเ้ รียนรวู้ ฏั จกั รของยุงจะมปี ระโยชนต์ ่อเราอย่างไร (ชว่ ยใหเ้ ราทราบวัฏจักรชีวติ ของยงุ และนามาใชใ้ นการแก้ปัญหา อันตรายทเ่ี กดิ จากยุงได้) 6.3 การจัดกระทาและส่ือความหมายขอ้ มูลช่วยให้เราไดเ้ รยี นรู้วฏั จกั รชีวิตของยุงมากขน้ึ เพราะอะไร (เพราะเมือ่ เราได้นาข้อมูล มาจัดกระทาในรูปแผนภาพ จะชว่ ยสื่อความเข้าใจให้ผูอ้ ืน่ ได้งา่ ย มากกว่าเป็นตวั หนงั สือ) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คู่มอื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรียนร้สู ิ่งต่าง ๆ รอบตวั 76 สรปุ ผลการเรียนรูข้ องตนเอง สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
77 คมู่ อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรู้สิ่งต่าง ๆ รอบตวั แนวคาตอบในแบบฝกึ หัดท้ายบท สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรสู้ งิ่ ต่าง ๆ รอบตวั 78 สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
79 คมู่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรยี นรู้ส่งิ ต่าง ๆ รอบตวั สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรสู้ งิ่ ต่าง ๆ รอบตวั 80 สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
81 คูม่ อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยที่ 2 สิ่งมีชีวิต หน่วยท่ี 2 ส่งิ มชี วี ติ ภาพรวมการจัดการเรยี นรปู้ ระจาหน่วยท่ี 2 สง่ิ มชี ีวติ บท เรอ่ื ง กจิ กรรม ลาดบั การจดั การเรียนรู้ ตวั ชี้วดั บทที่ 1 ส่ิงมีชีวิต เรอื่ งที่ 1 การจัดกลุ่ม กจิ กรรมที่ 1.1 เรา สิ่งมีชีวิตมีหลายชนิด แต่ละชนิดมี ว 1.3 รอบตวั สงิ่ มีชีวติ จาแนกสงิ่ มชี วี ติ ได้ ลักษณะบางลักษณะเหมือนกันและบาง ป. 4/1 จาแนกส่ิงมชี ีวิต อย่างไร ลักษณะแตกต่างกัน ถ้าใช้การเคลื่อนที่ โดยใชค้ วามเหมอื น และสรา้ งอาหารเปน็ เกณฑ์ในการจาแนก และความแตกต่าง จะได้เป็นกลุ่มพืช กลุ่มสัตว์ และกลุ่มท่ี ของลกั ษณะของ ไม่ใชพ่ ชื และสตั ว์ ส่งิ มชี ีวิต เป็นกลุ่ม กลุ่มพืชเป็นกลุ่มที่สร้างอาหารเองได้ พืชและกลุ่มสัตว์ แตเ่ คลื่อนที่ด้วยตนเองไมไ่ ด้ และบอกชื่อ กลุ่มสัตว์เป็นกลุ่มท่ีสร้างอาหารเอง สงิ่ มีชีวติ อนื่ ท่ไี ม่ใช่ ไม่ได้ต้องกินสิ่งมีชีวิตอ่ืนเป็นอาหาร พืชและสตั ว์ แต่สามารถเคลื่อนท่ีได้ ป.4/2 จาแนกพชื กลุ่มท่ีไม่ใช่พืชและสัตว์ เช่น เห็ด รา ออกเปน็ พชื ดอก แบคทเี รีย และพชื ไมม่ ดี อก กจิ กรรมท่ี 1.2 เรา สตั ว์มหี ลายชนิด สามารถจาแนกสตั วไ์ ด้ โดยใช้การมดี อก โดยใช้การมกี ระดูกสันหลงั เป็นเกณฑ์ได้ เปน็ เกณฑ์ จาก จาแนกสตั ว์ได้ ขอ้ มูลที่รวบรวมได้ อยา่ งไร เป็นสัตวม์ ีกระดูกสนั หลังและสัตวไ์ ม่มี ป.4/3 จาแนกสัตว์ กิจกรรมท่ี 1.3 เรา กระดูกสนั หลงั จาแนกสัตวม์ ี สัตว์มีกระดูกสันหลังมีหลายกลุ่ม ได้แก่ ออกเปน็ สัตวม์ ี กระดูกสนั หลงั ได้ กลุ่มปลา เชน่ ปลาชอ่ น กลุ่มสัตว์สะเทิน กระดูกสนั หลัง และ อย่างไร น า ส ะ เ ทิ น บ ก เ ช่ น ก บ ก ลุ่ ม สัตวไ์ มม่ ีกระดูกสัน สัตว์เลือยคลาน เช่น จระเข้ กลุ่มนก หลัง โดยใชก้ ารมี เช่น นกเอียง และกลุ่มสัตว์เลียงลูกด้วย กระดูกสันหลงั เป็น นานม เช่น แมว ซ่ึงแต่ละกลุ่มจะมี เกณฑ์ จากข้อมูลท่ี ลักษณะเฉพาะหลายลักษณะที่สังเกตได้ รวบรวมได้ แตกต่างกัน เช่น ลักษณะผิวหนัง การมี ป.4/4 บรรยาย ลกั ษณะเฉพาะท่ี สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คมู่ อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 2 ส่ิงมชี ีวติ 82 บท เร่อื ง กจิ กรรม ลาดบั การจัดการเรยี นรู้ ตวั ช้วี ัด กจิ กรรมท่ี 1.4 เรา ขน การมีเกล็ดท่ีผิวหนัง การมีขา สงั เกตได้ของสตั ว์ จาแนกพชื ได้ จานวนขา การมีปีก การมีครีบ การมี มกี ระดูกสนั หลงั ใน อยา่ งไร นานมเลยี งลกู และการออกลกู กลุ่มปลา กลุ่มสตั ว์ สะเทินนาสะเทิน พืชมีหลายชนิด สามารถจาแนกพืชได้ บก กลมุ่ โดยใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์ ได้เป็นพืช สัตว์เลือยคลาน ดอกและพืชไม่มีดอก กลุ่มนก และกลุ่ม สัตวเ์ ลยี งลกู ด้วย นานม พรอ้ มทงั ยกตวั อยา่ งสิ่งมีชีวิต ในแตล่ ะกลุ่ม ร่วมคิดร่วมทา บทท่ี 2 ส่วนต่าง ๆ เร่ืองท่ี 1 หน้าที่ส่วน กจิ กรรมท่ี 1.1 ราก ส่วนตา่ ง ๆ ของพืชดอกทาหน้าที่ ว 1.2 ของพืชดอก ต่าง ๆ ของพชื ดอก และลาต้นของพืช แตกต่างกัน ป. 4/1 บรรยายหน้าที่ ของราก ลาต้น ใบ ทาหนา้ ทอี่ ะไร รากทาหน้าที่ดดู นาและแรธ่ าตขุ นึ ไปยงั แ ล ะ ด อ ก ข อ ง พื ช ลาตน้ ดอกโดยใช้ข้อมูลท่ี รวบรวมได้ ลาตน้ ทาหนา้ ท่ีลาเลยี งนาต่อไปยงั สว่ น กิจกรรมที่ 1.2 ใบ ต่าง ๆ ของพชื ของพืชทาหน้าที่ ใบทาหนา้ ทสี่ ร้างอาหาร อาหารทีพ่ ชื อะไร สร้างขึนคอื นาตาลซง่ึ จะเปลย่ี นเปน็ แป้ง ดอกทาหน้าที่สืบพันธ์ุ ประกอบด้วย ส่วนต่าง ๆ ได้แก่ กลีบเลียง กลีบดอก กิ จ ก ร ร ม ท่ี 1.3 เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย ซ่ึง ด อ ก ข อ ง พื ช ท า ส่วนประกอบแต่ละส่วนของดอกทา หนา้ ท่ีอะไร หนา้ ทแี่ ตกต่างกนั ร่วมคดิ ร่วมทา สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
83 ค่มู อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 2 สิง่ มีชีวติ บทท่ี 1 สิ่งมีชีวิตรอบตวั จุดประสงคก์ ารเรยี นรปู้ ระจาบท เม่ือเรียนจบบทนี นักเรยี นสามารถ บทนีม้ อี ะไร 1. จาแนกส่ิงมีชีวิตออกเป็นกลุ่มพืช กลุ่มสัตว์ และ เรอ่ื งที่ 1 การจัดกลุ่มส่ิงมชี ีวติ กลุ่มท่ีไม่ใช่พืชและสัตว์ โดยใช้การเคลื่อนท่ีและ การสรา้ งอาหารเปน็ เกณฑ์ คาสาคัญ เกณฑ์การจาแนก (classification criteria) 2. จาแนกสัตว์ออกเป็นกลุ่มสัตว์มีกระดูกสันหลัง กิจกรรมที่ 1.1 เราจาแนกสงิ่ มีชวี ติ ได้อย่างไร และกลุ่มสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง โดยใช้การมี กระดูกสันหลงั เป็นเกณฑ์ กิจกรรมที่ 1.2 เราจาแนกสัตว์ได้อย่างไร กิจกรรมที่ 1.3 เราจาแนกสัตว์มีกระดูกสัน หลังไดอ้ ย่างไร 3. บรรยายลักษณะเฉพาะท่ีสังเกตได้ของสัตว์มี กิจกรรมท่ี 1.4 เราจาแนกพชื ได้อย่างไร กระดูกสันหลังในกลุ่มปลา กลุ่มสัตว์สะเทินนา สะเทินบก กลุ่มสัตว์เลือยคลานกลุ่มนก และกลุ่ม สัตว์เลียงลูกด้วยนานม พร้อมยกตัวอย่างสัตว์แต่ ละกลมุ่ 4. จาแนกพืชออกเป็นกลุ่มพืชดอกและกลุ่มพืชไม่มี ดอกโดยใชก้ ารมีดอกเป็นเกณฑ์ แนวคิดสาคญั ส่ิงมีชีวิตมีหลายชนิดซ่ึงมีลักษณะบางอย่างเหมือนกัน และแตกต่างกัน ซ่ึงสามารถนามาใช้เป็นเกณฑ์ในการ จาแนกสงิ่ มชี วี ิตออกเป็นกลุ่มพชื กลมุ่ สัตว์ และกลุ่มท่ีไม่ใช่ พืชและสัตว์ ในกลุ่มพืชและกลุ่มสัตว์ ยังสามารถจัดเป็น กลุ่มยอ่ ยได้อีกขนึ อยกู่ บั เกณฑ์ที่ใช้ สอ่ื การเรียนรูแ้ ละแหลง่ เรียนรู้ 1. หนังสือเรียน ป. 4 เลม่ 1 หนา้ 39-75 2. แบบบันทึกกิจกรรม ป. 4 เล่ม 1 หน้า 34-65 สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คมู่ อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 2 ส่งิ มีชีวติ 84 ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 รหสั ทกั ษะ กิจกรรมที่ 1.1 1.2 1.3 1.4 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S1 การสังเกต S2 การวัด S3 การใช้จานวน S4 การจาแนกประเภท S5 การหาความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง สเปซกบั สเปซ สเปซกบั เวลา S6 การจัดกระทาและสอ่ื ความหมายข้อมูล S7 การพยากรณ์ S8 การลงความเหน็ จากข้อมูล S9 การตังสมมตฐิ าน S10 การกาหนดนิยามเชิงปฏิบตั ิการ S11 การกาหนดและควบคุมตัวแปร S12 การทดลอง S13 การตคี วามหมายข้อมลู และลงข้อสรปุ S14 การสรา้ งแบบจาลอง ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 C1 การสร้างสรรค์ C2 การคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ C3 การแกป้ ัญหา C4 การสื่อสาร C5 ความรว่ มมือ C6 การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
85 คมู่ ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 2 ส่ิงมีชีวิต แนวคดิ คลาดเคลื่อน ครบู ันทึกแนวคิดท่ีไดจ้ ากการฟงั การสนทนาและการอภิปราย เพอ่ื นาไปใช้ในการจดั การเรียนรใู้ ห้สามารถแกไ้ ขแนวคิด คลาดเคลือ่ นและต่อยอดแนวคิดท่ีถูกตอ้ ง แนวคดิ คลาดเคลื่อน แนวคดิ ทถ่ี กู ตอ้ ง มนษุ ย์ไม่ใช่สัตว์ (Missouri Department of Elementary มนษุ ยม์ สี มบตั ิและมีลักษณะของร่างกายทีจ่ ัดอยใู่ นกลุ่มสัตว์เลียง and Secondary Education, 2005) ลูกดว้ ยนานม เต่าเปน็ สตั ว์ไมม่ ีกระดูกสนั หลงั เพราะเตา่ มีกระดองที่แขง็ อยู่ เต่าเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลัง รา่ งกายของเต่ามโี ครงร่างแข็งคอื นอกรา่ งกาย สว่ นของร่างกายทอี่ ยูภ่ ายในกระดองจะอ่อนนุ่ม กระดองปกคลุมรา่ งกาย ส่วนภายในกระดองมีกระดกู สันหลัง การใชข้ นาดของรา่ งกายทีใ่ หญ่ ความเร็วในการเคลื่อนท่ี การ การจาแนกสตั ว์ออกเปน็ กลมุ่ สัตวม์ ีกระดูกสนั หลงั และสตั ว์ไมม่ ี มคี อ การทส่ี ามารถยืนและนั่งได้เปน็ เกณฑ์ จาแนกสัตว์ กระดูกสันหลังจะใช้เกณฑ์การมีกระดูกสนั หลงั ออกเปน็ สตั วม์ กี ระดูกสนั หลัง (Naz and Nasreen, 2013) การใช้ขนาดของร่างกายท่เี ล็ก ความสามารถในการยืดหยุ่น การจาแนกสตั ว์ออกเปน็ กลมุ่ สัตวม์ กี ระดูกสนั หลงั และสตั ว์ไม่มี ของรา่ งกาย การเลือยเป็นเกณฑ์ จาแนกสตั ว์ออกเป็นสตั ว์ไม่ กระดูกสันหลังจะใช้เกณฑ์การมกี ระดูกสันหลัง มกี ระดูกสันหลงั การจาแนกสตั วท์ ่ีอาศยั อยู่ในนาทุกชนิดเป็นกลุ่มปลา เช่น การจาแนกสตั ว์มีกระดูกสนั หลังออกเปน็ กลมุ่ ตา่ ง ๆ จะใชอ้ วัยวะ เพนกวนิ วาฬ จาแนกสตั ว์ทบ่ี ินได้เปน็ กล่มุ นก เช่น ค้างคาว ทีใ่ ช้ในการเคลื่อนท่ี การออกลูกเปน็ ไขห่ รือเป็นตวั ลักษณะของ (Cardak, 2009) ผวิ หนัง และการเลยี งลูกด้วยนานมเป็นเกณฑ์ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คมู่ อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 2 ส่ิงมีชีวิต 86 บทนีเ้ ริ่มตน้ อย่างไร (1 ชว่ั โมง) ค รู รั บ ฟั ง เ ห ตุ ผ ล ข อ ง นักเรียนเป็นสาคัญ ครูยังไม่ 1. ครูทบทวนความร้พู นื ฐานของนักเรียนเกี่ยวกับลักษณะของส่ิงมีชีวิต เฉลยคาตอบใด ๆ แต่ชักชวนให้ ซ่ึงเคยเรียนผ่านมาแล้วในชันประถมศึกษาปีท่ี 2 โดยถามว่า หาคาตอบที่ถูกต้องจากกิจกรรม ส่ิงมีชีวิตมีลักษณะใดบ้าง (ลักษณะของสิ่งมีชีวิต เช่นสืบพันธ์ุได้ ตา่ ง ๆ ในบทเรยี นนี เคลื่อนไหวหรือเคลื่อนที่ได้ หายใจได้ ขับถ่ายได้ และตอบสนองต่อ สงิ่ เร้าได)้ 2. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเรื่องการจัดกลุ่มส่ิงมีชีวิต โดยให้นักเรียน สังเกตภาพพืชและสัตว์ อย่างละ 1 ชนิด และใช้คาถามในการ อภิปรายดงั นี 2.1 ส่ิงมีชีวิตทัง 2 ชนิดในภาพ มีส่วนประกอบใดบ้างท่ีเหมือนกัน และแตกต่างกัน (ไม่มีส่วนประกอบที่เหมือนกัน แต่มี ส่วนประกอบท่แี ตกตา่ งกนั คือ พชื มีลาต้น ใบ ดอก ผล แต่สัตว์ ไมม่ ี สัตว์มีศีรษะ ตา หู จมกู ปาก แขน ขา แตพ่ ืชไม่ม)ี 2.2 นักเรียนคิดว่าส่ิงมีชีวิตทัง 2 ชนิดนีเป็นส่ิงมีชีวิตในกลุ่มเดียวกัน ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของ ตนเอง) 3. ครูชักชวนนักเรียนศึกษาเรื่องการจัดกลุ่มของส่ิงมีชีวิตโดยให้อ่านชื่อ หน่วย ช่ือบท และอ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ประจาบท ในหนังสือ เรียนหน้า 39 จากนันครูใช้คาถามว่า เมื่อจบบทเรียนนักเรียนจะ สามารถทาอะไรได้บ้าง (สามารถจาแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่มพืช กลุ่มสัตว์ และกลุ่มท่ีไม่ใช่พืชและสัตว์ โดยใช้เกณฑ์การเคลื่อนท่ีและ การสร้างอาหาร รวมทังจาแนกกลุ่มสัตว์และกลุ่มพืชออกเป็นกลุ่มได้ อีก ซงึ่ ขนึ อยูก่ ับเกณฑ์ที่ใช้) 4. นักเรียนอ่านชื่อบทและแนวคิดสาคัญ ในหนังสือเรียนหน้า 40 จากนันครูใช้คาถามว่าในบทนีจะเรียนเรื่องอะไรบ้าง (ในบทนีจะได้ เรียนเร่อื งการจาแนกสงิ่ มีชวี ิตออกเป็นกลุม่ โดยใชเ้ กณฑท์ ่ีกาหนด) 5. ครูชักชวนให้นักเรียนสังเกตรูป และอ่านเนือเรื่องในหน้า 40 โดยใช้ วิธีอ่านตามความเหมาะสม แล้วตรวจสอบความเข้าใจในการอ่าน โดยใช้คาถามดงั ตอ่ ไปนี 5.1 รอบตัวนักเรียนในขณะนีมีส่ิงมีชีวิตใดบ้าง (นักเรียนตอบตาม ความเปน็ จริง) สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
87 คมู่ อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 2 สิ่งมีชวี ิต 5.2 เราสามารถใช้เกณฑ์ใดบ้างในการจาแนกสิ่งมีชีวิตที่อยู่รอบตัว การเตรยี มตวั ลว่ งหน้าสาหรบั ครู เรา (นักเรยี นตอบตามความเขา้ ใจของตนเอง) เพื่อจัดการเรยี นรใู้ นครง้ั ถัดไป 5.3 จากรูปนักเรียนสังเกตเห็นสิ่งมีชีวิตใดบ้าง แต่ละชนิดมีลักษณะ ในครังถัดไป นักเรียนจะได้เรียน อย่างไร (นักเรยี นตอบตามความเขา้ ใจของตนเอง) เรื่องที่ 1 การจัดกลุ่มส่ิงมีชีวิต โดยครู เตรียมสื่อการสอน เช่น ภาพ หรือวีดิทัศน์ 5.4 ถ้าจะจดั กลมุ่ สงิ่ มีชีวิตในรูป จะใช้อะไรเป็นเกณฑ์ และจัดได้เป็น เก่ียวกับค้างคาวแม่ไก่ และนกนางนวลที่ กกี่ ลุ่ม อะไรบ้าง (นักเรียนตอบตามความเขา้ ใจของตนเอง) แสดงให้เห็นลักษณะของร่างกายได้อย่าง ชัดเจน เพ่ือให้นักเรียนได้สังเกตประกอบ 6. ครูชักชวนนักเรียนตอบคาถามเก่ียวกับส่ิงมีชีวิตรอบตัวในสารวจ เนอื หาในเร่อื งท่อี า่ น ความรู้ก่อนเรียน โดยอาจใช้คาถามว่านักเรียนรู้อะไรแล้วบ้าง เกย่ี วกับการจดั กลุ่มสิ่งมชี ีวติ ท่อี ยรู่ อบตัวเรา 7. นักเรียนทากิจกรรมสารวจความรู้ก่อนเรียน ในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 34 โดยอา่ น ช่อื หน่วย ชือ่ บท 8. นักเรียนอ่านคาถาม ครูตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนเกี่ยวกับ คาถามแต่ละข้อ จนแน่ใจว่านักเรียนสามารถทาได้ด้วยตนเอง จึงให้ นักเรียนตอบคาถาม โดยคาตอบของแต่ละคนอาจแตกต่างกัน และ คาตอบอาจถูกหรอื ผิดก็ได้ 9. ครูสังเกตการตอบคาถามของนักเรียนเพื่อตรวจสอบว่านักเรียนมี แนวคิดเก่ียวกับการจัดกลุ่มส่ิงมีชีวิตอย่างไรบ้าง หรืออาจสุ่มให้ นักเรียน 2 – 3 คน นาเสนอคาตอบของตนเอง ครูยังไม่ต้องเฉลย คาตอบ แต่จะให้นักเรียนย้อนกลับมาตรวจสอบอีกครังหลังเรียนจบ บทนีแล้ว ทังนีครูอาจบันทึกแนวคิดคลาดเคล่ือนหรือแนวคิดที่ น่าสนใจของนักเรียน แล้วนามาออกแบบการจัดการเรียนการสอน เพ่ือแก้ไขแนวคิดคลาดเคลื่อนให้ถูกต้อง และต่อยอดแนวคิดที่ นา่ สนใจของนกั เรยี น สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ค่มู ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยที่ 2 สิ่งมชี ีวติ 88 แนวคาตอบในแบบบันทึกกจิ กรรม การสารวจความรูก้ ่อนเรียน นักเรียนอาจตอบคาถามถูกหรือผดิ ก็ไดข้ ึนอยกู่ ับความรู้เดมิ ของนักเรยี น แตเ่ มื่อเรยี นจบบทเรยี นแลว้ ใหน้ ักเรยี นกลับมาตรวจสอบคาตอบอีกครังและแก้ไขให้ถกู ต้อง ดงั ตัวอยา่ ง 12 11 22 31 13 13 21 1 สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
89 คู่มือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยที่ 2 สงิ่ มีชีวติ 3 4 5 7 10 12 19 8 11 26 สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คู่มอื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 2 ส่งิ มีชีวติ 90 เร่ืองที่ 1 การจดั กลุ่มสิง่ มชี ีวติ ในเร่ืองนีนักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการจาแนก สื่อการเรียนรู้และแหลง่ เรียนรู้ สิ่งมีชีวิตโดยใช้การเคลื่อนที่และการสร้างอาหารเป็น เกณฑ์ซึ่งจาแนกออกเป็นกลุ่มพืช กลุ่มสัตว์ และกลุ่มท่ี 1. หนังสอื เรยี น ป.4 เลม่ 1 หนา้ 43–72 ไม่ใช่พืชและสัตว์ จาแนกสัตว์โดยใช้การมีกระดูกสันหลัง 2. แบบบันทกึ กิจกรรม ป.4 เล่ม 1 หนา้ 36–61 เป็นเกณฑ์จาแนกออกเป็นกลุ่มสัตว์มีกระดูกสันหลังและ กลุ่มสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง นอกจากนียังจาแนกสัตว์มี กระดูกสันหลังโดยใช้ลักษณะเฉพาะท่ีสังเกตได้ออกเป็น กลุ่มต่าง ๆ รวมทังการจาแนกพืชโดยใช้การมีดอกเป็น เกณฑ์ออกเป็นกลุม่ พชื ดอกและกลุ่มพืชไมม่ ดี อก จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. รวบรวมข้อมูล เปรียบเทียบลักษณะของสิ่งมีชีวิต และจาแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่มโดยใช้การเคลื่อนท่ี และการสร้างอาหารเป็นเกณฑ์ 2. สังเกต อธิบายโครงสร้างภายนอกและโครงสร้าง ภายในของสัตว์ชนิดต่าง ๆ และจาแนกสัตว์ออกเป็น กลุ่มโดยใช้การมีกระดกู สันหลงั เปน็ เกณฑ์ 3. สังเกต และบรรยายลักษณะเฉพาะที่สังเกตได้ของ สัตว์มีกระดูกสันหลังกลุ่มต่าง ๆ พร้อมยกตัวอย่าง สัตว์มกี ระดกู สนั หลังในแตล่ ะกล่มุ 4. สังเกต รวบรวมข้อมูลและบอกส่วนต่าง ๆ ของพืช รวมทังจาแนกพืชออกเป็นกลุ่มโดยใช้การมีดอกเป็น เกณฑ์ เวลา 9.5 ชั่วโมง วสั ดุ อุปกรณส์ าหรับทากจิ กรรม บัตรภาพสิ่งมีชีวิต ถาด ถุงมือยาง มีด กุ้ง ปลา บัตร ภาพโครงสร้างภายนอก-ภายในของสัตว์ บัตรภาพสัตว์มี กระดูกสันหลงั กลุ่มตา่ ง ๆ พืชชนดิ ต่าง ๆ แวน่ ขยาย สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
91 คู่มือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 2 สิ่งมีชีวติ แนวการจดั การเรียนรู้ (30 นาท)ี ขนั้ ตรวจสอบความรู้ (5 นาที) 1. ครูนารูปสิ่งต่าง ๆ ที่ใกล้ตัวนักเรียน เช่น ต้นมะละกอ ขวดนา แมว ในการตรวจสอบความรู้ ครู เก้าอี กิงก่า ต้นดาวเรือง สมุด ดินสอ ยางลบ กระเป๋านักเรียน มาให้ เพียงรับฟังเหตุผลของนักเรียนและ นักเรียนสังเกตและลองจาแนกส่ิงของต่าง ๆ เหล่านีออกเป็นกลุ่ม เพื่อ ยังไม่เฉลยคาตอบใด ๆ แต่ชักชวน ตรวจสอบความรเู้ ดิมเกย่ี วกบั การจาแนก และนาอภิปรายโดยใช้คาถาม ให้นักเรียนไปหาคาตอบด้วยตนเอง ดังนี จากการอ่านเนอื เรือ่ ง 1.1 นักเรียนจัดส่ิงต่าง ๆ ได้ก่ีกลุ่ม แต่ละกลุ่มมีอะไรบ้าง (นักเรียน ตอบตามความเข้าใจ เช่น จัดออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มส่ิงมีชีวิต ประกอบดว้ ย มะละกอ แมว กิงก่า ต้นดาวเรืองและกลุ่มสิ่งไม่มีชีวิต ประกอบด้วย ขวดนา เกา้ อี สมดุ ดนิ สอ ยางลบ กระเป๋านักเรียน) 1.2 นักเรียนใช้เกณฑ์อะไรในการจัดส่ิงต่าง ๆ เหล่านันออกเป็นกลุ่ม (นักเรียนตอบตามความเข้าใจ เช่น ใช้การมีชีวิตและไม่มีชีวิตเป็น เกณฑ์) 2. ครูเช่ือมโยงความรู้เดิมของนักรียนสู่การเรียนเรื่องการจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต โดยใชค้ าถามวา่ ถ้าเราจะจาแนกส่งิ มีชวี ิตออกเปน็ กลมุ่ เราจะจาแนกได้ อยา่ งไร ครูชกั ชวนนักเรียนหาคาตอบจากอ่านเรื่องการจดั กลุม่ ส่งิ มีชีวิต ขัน้ ฝกึ ทักษะจากการอา่ น (20 นาที) 3. นักเรียนอ่านชื่อเรื่อง และคาถามในคิดก่อนอ่าน ในหนังสือเรียนหน้า 43 แล้วร่วมกันอภิปรายในกลุ่มเพ่ือหาแนวคาตอบตามความเข้าใจของ กลุ่ม ครูบันทึกคาตอบของนักเรียนบนกระดานเพื่อใช้เปรียบเทียบ คาตอบภายหลงั การอา่ นเนอื เร่ือง 4. นักเรียนอ่านคาใน คาสาคัญ ทังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (หาก นักเรียนอ่านไม่ได้ ครูควรสอนอ่านให้ถูกต้อง) จากนันอธิบาย ความหมายตามความเขา้ ใจ ครูชักชวนให้นักเรียนหาความหมายของคา ภายหลังจากการอา่ นเนือเร่ือง 5. นักเรียนอ่านเนือเร่ืองตามวิธีการอ่านที่เหมาะสมกับความสามารถของ นกั เรยี น และร่วมกันอภปิ รายใจความสาคญั โดยใช้คาถามดังนี ย่อหน้าที่ 1 5.1 จากรปู คา้ งคาวแม่ไกม่ ีลักษณะอย่างไร (นักเรียนตอบตามลักษณะท่ี สังเกตได้ เช่น มีหัวและหน้ายาวเหมือนสุนัข มีหูเป็นแผ่นปลาย สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คูม่ ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 2 ส่ิงมชี ีวิต 92 แหลม มจี มูก 2 รูเหน็ ชดั เจน ปีกมพี งั ผืดเชือ่ มระหว่างกระดูก ลาตัว นักเรียนอาจไม่สามารถตอบ มีขนปุยสีนาตาลเท้าสดี ามเี ลบ็ เทา้ มมี อื 2 ขา้ ง มขี า 2 ขา้ ง) คาถามหรืออภิปรายได้ตามแนว 5.2 นกนางนวลมีลักษณะอย่างไร (ลาตัว ปีกและหางมีขนเป็นแผง มี คาตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด จะงอยปากแหลมสดี า มีขาและเทา้ 2 ข้าง) อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน 5.3 ค้างคาวแม่ไก่จัดเป็นส่ิงมีชีวิตกลุ่มเดียวกับนกหรือไม่ (ค้างคาวแม่ แ ล ะ รั บ ฟั ง แ น ว ค ว า ม คิ ด ข อ ง ไก่ไม่ไดจ้ ัดอยใู่ นกล่มุ เดยี วกบั นกนางนวล) นกั เรียน ครูอาจใช้คาถามในเนือเร่ืองถามนักเรียนได้ แต่ครูยังไม่เฉลย คาตอบ โดยแนะว่านักเรียนสามารถหาคาตอบเหล่านีได้จากการทา การเตรยี มตวั ล่วงหนา้ สาหรับครู กิจกรรมต่าง ๆ ในเรอ่ื งนี เพอ่ื จดั การเรยี นรู้ในครง้ั ถัดไป ย่อหนา้ ที่ 2 5.4 นักวิทยาศาสตร์มีวิธีการอย่างไรในการจัดกลุ่มส่ิงมีชีวิต ในครังถัดไป นักเรียนจะได้ทา (นักวิทยาศาสตร์รวบรวมข้อมูลลักษณะต่าง ๆ ของส่ิงมีชีวิต และ กิจกรรมที่ 1.1 เราจาแนกส่ิงมีชีวิตได้ กาหนดเกณฑ์การจาแนกขึนมาเพ่ือจัดส่ิงมีชีวิตท่ีมีลักษณะตาม อย่างไร ซึ่งจะมีการจาแนกส่ิงมีชีวิต เกณฑ์เหมอื นกันอยกู่ ลมุ่ เดยี วกนั ) ออกเป็นกลุ่มโดยใช้ข้อมูลท่ีได้จากการ 5.5 เกณฑก์ ารจาแนกคอื อะไร มีความสาคัญอย่างไร (เกณฑ์การจาแนก รวบรวมมากาหนดเกณฑ์ของตนเอง และ คือส่งิ ที่ใชใ้ นการพจิ ารณาแยกสง่ิ ต่าง ๆ ออกเปน็ กล่มุ ) ใช้การเคล่ือนที่และการสร้างอาหารเป็น ข้นั สรุปจากการอ่าน (5 นาที) เกณฑ์การจาแนก ขันนาเข้าสู่กิจกรรม ครูควรเตรียมภาพส่ิงมีชีวิตเพ่ือทาเป็น 6. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่านักวิทยาศาสตร์จัด เกมทายชอ่ื สง่ิ มีชีวิต โดยปิดกระดาษแผ่น กลุ่มสิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่มโดยใช้ข้อมูลลักษณะต่าง ๆ ที่รวบรวมได้มา เล็กๆ ท่ีมีหมายเลขบนกระดาษซ่ึงปิดทับ กาหนดเกณฑก์ ารจาแนกและจัดกลมุ่ สง่ิ มีชวี ิตตามเกณฑ์ทีก่ าหนดขึน บนภาพสิ่งมีชีวิต แล้วให้นักเรียนเลือก เปิดครังละ 1 หมายเลข เพื่อให้นักเรียน 7. นักเรียนตอบคาถามจากเรื่องท่ีอ่านใน รู้หรือยัง ในแบบบันทึกกิจกรรม เห็นภาพบางส่วนแล้วทายช่ือสงิ่ มชี ีวติ หนา้ 36 ขั น ส อ น ค รู อ า จ เ ต รี ย ม 8. ครูและนกั เรยี นร่วมกันอภิปรายเพ่ือเปรียบเทียบคาตอบของนักเรียนใน ภาพเคลื่อนไหวของส่ิงมีชีวิตแต่ละชนิด รู้หรือยงั กบั คาตอบที่เคยตอบในคดิ ก่อนอา่ น ซึง่ ครูบนั ทึกไว้บนกระดาน ต า ม บั ต ร ภ า พ ม า ใ ห้ นั ก เ รี ย น สั ง เ ก ต เพม่ิ เติม 9. ครูชักชวนนกั เรยี นลองตอบคาถามท้ายเร่ืองท่ีอ่าน ดงั นี 9.1 รอบ ๆ ตวั นกั เรียนมสี ิง่ มีชวี ิตอะไรบ้าง สามารถจาแนกได้ก่ีกลุ่ม แต่ ละกลุ่มมอี ะไรบ้าง และใชอ้ ะไรเป็นเกณฑ์ในการจาแนก 9.2 นักเรียนมีวิธีการอย่างไรในการจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตรอบตัว วิธีของ นักเรยี นเหมอื นหรอื แตกตา่ งจากวธิ ขี องนักวิทยาศาสตร์ ครูบันทึกคาตอบของนักเรียนบนกระดานโดยยังไม่เฉลยคาตอบแต่ ชกั ชวนใหน้ กั เรียนหาคาตอบจากการทากิจกรรม สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
93 คมู่ อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 2 ส่งิ มีชวี ิต แนวคาตอบในแบบบนั ทึกกิจกรรม นักวิทยาศาสตร์รวบรวมข้อมูลลักษณะต่าง ๆ ของส่ิงมีชีวิต และกาหนดเกณฑ์ การจาแนกขึ้นมาเพื่อจัดสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะตามเกณฑ์เหมือนกันอยู่กลุ่ม เดียวกัน สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ค่มู อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยที่ 2 สงิ่ มชี ีวิต 94 กจิ กรรมท่ี 1.1 เราจาแนกสง่ิ มชี วี ิตไดอ้ ยา่ งไร กิจกรรมนีนักเรียนจะได้รวบรวมข้อมูลลักษณะ ส่อื การเรยี นรู้และแหลง่ เรียนรู้ ตา่ ง ๆ ของ ส่ิงมีชีวิต เช่น การกินอาหาร การเคล่ือนไหว การหายใจ การเจริญเติบโต การสืบพันธุ์ รวมถึงข้อมูล 1. หนังสอื เรยี น ป.4 เล่ม 1 หนา้ 45-51 เก่ียวกับที่อยู่อาศัย เพื่อนามาใช้ในการจาแนกส่ิงมีชีวิต ออกเป็นกลุ่มโดยใช้เกณฑ์ของตนเองเกณฑ์การเคลื่อนที่ 2. แบบบนั ทกึ กจิ กรรม ป.4 เลม่ 1 หน้า 37-43 และการสร้างอาหาร เวลา 2 ชว่ั โมง จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. รวบรวมขอ้ มลู และเปรียบเทียบลกั ษณะของสง่ิ มชี ีวิต 2. จาแนกส่งิ มชี ีวติ ออกเป็นกลุม่ โดยใช้การเคล่ือนท่แี ละ การสรา้ งอาหารเปน็ เกณฑ์ วัสดุ อุปกรณส์ าหรับทากจิ กรรม ส่ิงท่ีครูต้องเตรียม/กลุ่ม บตั รภาพสง่ิ มีชีวิต 1 ชดุ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ S1 การสังเกต S4 การจาแนกประเภท S6 การจัดกระทาและสือ่ ความหมายข้อมูล S8 การลงความเหน็ จากข้อมูล S13 การตีความหมายข้อมลู และลงข้อสรุป ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 C4 การสื่อสาร C5 ความร่วมมือ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
95 คูม่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยที่ 2 สิ่งมีชวี ติ แนวการจัดการเรยี นรู้ ในการตรวจสอบความรู้ ครู เพียงรับฟังเหตุผลของนักเรียน 1. ครตู รวจสอบความรู้เดิมเกีย่ วกับลกั ษณะของส่ิงมีชวี ติ ชนดิ ตา่ ง ๆ โดยเล่น เป็นสาคัญ และยังไม่เฉลย เกมทายชื่อส่ิงมีชีวิตจากภาพ ครูเตรียมภาพท่ีมีกระดาษแผ่นเล็ก ๆ ซ่ึงมี คาตอบใด ๆ ให้กับนักเรียน แต่ หมายเลขกากับปิดทับบนภาพ เริ่มเกมโดยให้นักเรียนเลือกหมายเลขบน ชักชวนนักเรียน ไปหาคาตอบท่ี กระดาษแผ่นเล็ก เพื่อเปิดให้เห็นบางส่วนของภาพ จากนันให้นักเรียน ถูกต้องจากกิจกรรมต่าง ๆ ใน ทายช่ือส่ิงมีชีวิตบนภาพนัน (ควรเป็นภาพส่ิงมีชีวิตท่ีเป็นพืช สัตว์ เห็ด บทเรยี นนี และราที่ไม่ซากบั สิง่ มชี ีวติ ในกจิ กรรมท่ี 1.1) ครูซักถามว่าสิ่งมีชีวิตในภาพ คืออะไร เพราะเหตุใดจึงคิดเช่นนัน (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของ ตนเอง) 2. เมื่อนักเรียนเล่นเกมครบทุกภาพแล้ว ครูใช้คาถามเพ่ือตรวจสอบความรู้ เดมิ เกี่ยวกบั การจัดกลุ่มส่งิ มชี วี ิตของนักเรียน ดังนี 2.1 จากภาพมสี ิ่งมีชวี ิตชนดิ ใดบ้าง (นักเรียนตอบตามภาพทเ่ี หน็ ) 2.2 ส่ิงมีชีวิตแต่ละชนิดมีลักษณะอย่างไร (นักเรียนตอบตามลักษณะ ของสิง่ มีชีวิตทีส่ งั เกตได้จากภาพ) 2.3 ถ้าจะจาแนกส่ิงมีชีวิตเหล่านีออกเป็นกลุ่ม จะใช้ลักษณะใดเป็น เกณฑ์ในการจาแนก และจาแนกได้ก่ีกลุ่ม (นักเรียนตอบตามความ เข้าใจ) 3. ครูเชื่อมโยงความรู้เดิมของนักเรียนเข้าสู่กิจกรรมท่ี 1.1 โดยใช้คาถามว่า ถ้าจะจาแนกสิ่งมีชีวิตรอบตัวเราออกเป็นกลุ่ม จะใช้อะไรเป็นเกณฑ์ใน การจาแนก และสามารถจาแนกสิ่งมีชีวติ ออกได้กีก่ ลุ่ม 4. นักเรียนอ่านช่ือกิจกรรม และ ทาเป็นคิดเป็น และร่วมกันอภิปรายเพื่อ ตรวจสอบความเข้าใจเก่ียวกับจุดประสงค์ในการทากิจกรรม โดยใช้ คาถามดังนี 4.1 กิจกรรมนีนักเรียนจะได้เรียนเรื่องอะไร (การจาแนกสิ่งมีชีวิต ออกเปน็ กลุ่ม) 4.2 นักเรียนจะได้เรียนรู้เร่ืองนีด้วยวิธีใด (สังเกต รวบรวมข้อมูลและ เปรยี บเทยี บลกั ษณะของส่ิงมชี วี ติ ท่ีกาหนดให้) 4.3 เมือ่ เรยี นแล้วนักเรียนจะทาอะไรได้ (จาแนกส่ิงมีชีวิตออกเป็นกลุ่ม โดยใช้การเคล่ือนที่และการสร้างอาหารเปน็ เกณฑ์) 5. นักเรียนบันทึกจุดประสงค์ลงในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 37 และ อ่าน ส่งิ ท่ตี อ้ งใช้ในการทากจิ กรรม สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คมู่ ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 2 สิ่งมชี ีวิต 96 6. นักเรียนอ่าน ทาอย่างไร โดยฝึกอ่านตามความเหมาะสม ครูนาอภิปราย นักเรียนอาจไม่สามารถตอบ เพอ่ื สรุปลาดับขนั ตอน ตามแนวคาถามตอ่ ไปนี คาถามหรืออภิปรายได้ตามแนว 6.1 นักเรียนต้องสังเกตและบันทึกลักษณะอะไรของสิ่งมีชีวิต (ลักษณะ คาตอบ ครูควรให้เวลานักเรียน การกินอาหาร การเคลื่อนไหว การหายใจ การเจริญเติบโต การ คดิ อยา่ งเหมาะสม รอคอยอย่าง สบื พนั ธ์ุ และลักษณะอ่ืน ๆ เช่น ลักษณะท่อี ยู่อาศยั ) อดทน และรับฟังแนวความคิด 6.2 ในบัตรภาพมีสิ่งมีชีวิตอะไรบ้าง (กบ ปลา เห็ด รา คน จระเข้ ของนกั เรยี น กหุ ลาบ ข้าว เฟนิ เสือ กงุ้ เปด็ ) 6.3 นอกจากการสังเกตจากบัตรภาพแล้ว นักเรียนสามารถสืบค้นข้อมูล เพิ่มเติมเกี่ยวกับเห็ดและราจากท่ีใด (จากการอ่านใบความรู้เรื่อง เหด็ และรา ในหนงั สือเรยี นหนา้ 50) 6.4 เม่ือสังเกตและบันทึกข้อมูลลักษณะของส่ิงมีชีวิตชนิดต่าง ๆ แล้ว นักเรียนต้องทาอะไรอีกบ้าง (กาหนดเกณฑ์ในการจาแนกส่ิงมีชีวิต แล้วจาแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่มตามเกณฑ์ท่ีกาหนด จากนัน นาเสนอ) 6.5 หลังจากนักเรียนนาเสนอผลการจาแนกส่ิงมีชีวิตตามเกณฑ์ของ ตัวเองแล้วต้องทาอะไรต่อ (จาแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่มโดยใช้การ เคลอ่ื นทแี่ ละการสรา้ งอาหารเป็นเกณฑ์) ครูอาจช่วยเขียนสรุปเป็นขันตอนสันๆ บนกระดาน และอาจถ่าย เอกสารบตั รภาพทังหมดมาใหน้ ักเรียนทกุ กลมุ่ สังเกต กลมุ่ ละ 1 ชุด 7. เม่ือนักเรียนเข้าใจวิธีทากิจกรรมในทาอย่างไรแล้ว นักเรียนจะได้ปฏิบัติ ตามขันตอน ดังนี 7.1 สงั เกตและบันทึกขอ้ มลู ลกั ษณะของส่งิ มีชวี ติ ชนิดต่าง ๆ (S1) 7.2 อ่านใบความรู้และบันทึกข้อมูลลักษณะของส่ิงมีชีวิตชนิดต่าง ๆ เพมิ่ เติม 7.3 ร่วมกนั ลงความเหน็ เกี่ยวกับลกั ษณะต่าง ๆ ของสง่ิ มชี ีวิต (S8) 7.4 กาหนดเกณฑ์การจาแนกสิ่งมีชีวิต และจาแนกส่ิงมีชีวิตออกเป็น กลมุ่ ตามเกณฑท์ ี่กาหนด (S4, S6) (C2) 7.5 นาเสนอผลการจาแนกส่งิ มีชวี ติ (C4, C5) 7.6 จาแนกส่ิงมีชีวิตออกเป็นกลุ่มโดยใช้การเคล่ือนท่ีและการสร้าง อาหารเป็นเกณฑ์ และนาเสนอ (S4) (C2, C4) 7.7 นกั เรียนร่วมกนั ลงความเหน็ เกี่ยวกับการจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตโดยใช้การ เคลือ่ นทแ่ี ละการสร้างอาหารเป็นเกณฑ์ (S8) สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
97 คมู่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 2 สงิ่ มีชวี ติ 7.8 นักเรียนร่วมกันตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุปเกี่ยวกับการ นักเรียนอาจไม่สามารถตอบ จาแนกสง่ิ มชี ีวิต (S13) คาถามหรืออภิปรายได้ตามแนว คาตอบ ครูควรให้เวลานักเรียน 8. หลังจากทากิจกรรมแล้ว ครูนาอภปิ รายผลการทากิจกรรม โดยใช้คาถาม คดิ อย่างเหมาะสม รอคอยอย่าง ดงั ต่อไปนี อดทน และรับฟังแนวความคิด 8.1 ส่ิงมชี วี ิตแต่ละชนดิ ท่ีนักเรียนสังเกตมีลักษณะอยา่ งไรบา้ ง ของนกั เรียน - กบ กินสิ่งมีชีวิตอ่ืนเป็นอาหาร เคล่ือนไหวและเคลื่อนที่ได้ หายใจได้ เจริญเติบโตได้ สืบพันธุ์ได้ อาศัยอยู่ทังบนบกและใน นา - ปลา กินส่ิงมีชีวิตอ่ืนเป็นอาหาร เคล่ือนไหวและเคลื่อนที่ได้ หายใจได้ เจริญเติบโตได้ สืบพันธุไ์ ด้ อาศัยอยู่ในนา - คน กินส่ิงมีชีวิตอ่ืนเป็นอาหาร เคลื่อนไหวและเคลื่อนที่ได้ หายใจได้ เจริญเติบโตได้ สืบพันธไ์ุ ด้ อาศัยอยบู่ กบน - เห็ด ได้รับอาหารจากการย่อยสลายซากของสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น ๆ เคลื่อนไหวได้ เคล่ือนท่ีไม่ได้ หายใจได้ เจริญเติบโตได้ สืบพันธ์ุ ได้ อาศยั อยบู่ นซากส่งิ มีชีวิตชนิดอื่น - จระเข้ กินส่ิงมีชีวิตอ่ืนเป็นอาหาร เคลื่อนไหวและเคลื่อนที่ได้ หายใจได้ เจริญเติบโตได้ สบื พันธุ์ได้ อาศัยอยทู่ ังในนาและบนบก - รา ได้รับอาหารจากการย่อยสลายซากของสิ่งมีชีวิตชนิดอ่ืน ๆ เคล่ือนไหวได้ เคลื่อนท่ีไม่ได้ หายใจได้ เจริญเติบโตได้ สืบพันธ์ุ ได้ อาศยั อยู่บนซากส่งิ มีชวี ติ ชนิดอ่ืน - กุหลาบ สร้างอาหารเองได้ เคลื่อนไหวได้ เคลื่อนที่ไม่ได้ หายใจ ได้ เจริญเติบโตได้ สืบพันธไ์ุ ด้ อาศยั อยู่บนบก - เป็ด กินสิ่งมีชีวิตอ่ืนเป็นอาหาร เคล่ือนไหวและเคล่ือนที่ได้ หายใจได้ เจริญเติบโตได้ สืบพนั ธุ์ได้ อาศยั อยบู่ นบกและในนา - ข้าว สร้างอาหารเองได้ เคล่ือนไหวได้ เคล่ือนที่ไม่ได้ หายใจได้ เจริญเติบโตได้ สืบพันธุ์ได้ อาศัยอยู่ในเจริญเติบโตบนดินท่ีมีนา และดินแหง้ - เฟิน สร้างอาหารเองได้ เคล่ือนไหวได้ เคล่ือนท่ีไม่ได้ หายใจได้ เจรญิ เตบิ โตได้ สบื พนั ธุ์ได้ อาศัยอย่บู นบก - เสือ กินสิ่งมีชีวิตอ่ืนเป็นอาหาร เคล่ือนไหวและเคล่ือนท่ีได้ หายใจได้ เจรญิ เตบิ โตได้ สบื พันธไ์ุ ด้ อาศยั อยู่บนบก - กุ้ง กินส่ิงมีชีวิตอ่ืนเป็นอาหาร เคลื่อนไหวและเคล่ือนท่ีได้ หายใจได้ เจริญเติบโตได้ สืบพันธุไ์ ด้ อาศัยอยใู่ นนา สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คูม่ ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 2 ส่ิงมชี ีวิต 98 - 8.2 ส่ิงมีชีวิตทุกชนิดมีลักษณะใดบ้างที่เหมือนกัน (การสืบพันธุ์ การ หายใจ การเจรญิ เตบิ โต) 8.3 ส่ิงมีชีวิตชนิดใดบ้างที่กินสัตว์อื่นเป็นอาหาร (กบ ปลา คน จระเข้ เป็ด เสือ กงุ้ ) 8.4 สิง่ มชี วี ิตใดบ้างทส่ี รา้ งอาหารไดเ้ อง (กุหลาบ ขา้ ว เฟิน) 8.5 ส่ิงมีชีวิตใดบ้างท่ีเคล่ือนไหวและเคลื่อนที่ได้ (กบ ปลา คน จระเข้ เป็ด เสอื กงุ้ ) 8.6 สิ่งมีชีวิตใดบ้างที่เคลื่อนไหวได้แต่เคล่ือนท่ีไม่ได้ (กุหลาบ ข้าว เฟิน เห็ด รา) 8.7 นักเรียนใช้เกณฑ์ใดในการจัดสิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่ม (นักเรียนตอบ ตามข้อมูลจรงิ ในหอ้ งเรยี น) 8.8 ครูอาจสุ่มเลือกเกณฑ์ท่ีนักเรียนใช้ในการจาแนกสิ่งมีชีวิตมา 1 เกณฑ์ เช่น เกณฑแ์ หล่งที่อยู่ และถามว่า ถา้ ใช้แหล่งท่ีอยู่เป็นเกณฑ์ จะจาแนกส่ิงมีชีวิตออกเป็นกี่กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีสิ่งมีชีวิตชนิดใดบ้าง (นักเรยี นตอบตามขอ้ มูลจรงิ ในห้องเรียน) 8.9 ถ้าเปลีย่ นเกณฑก์ ารจาแนกส่งิ มีชวี ิต ชนดิ ของสงิ่ มีชวี ิตในกลุ่มต่าง ๆ เหมอื นเดิมหรือไม่ (อาจเหมือนเดมิ หรือเปลี่ยนแปลงไป) 8.10 ถ้าใช้การเคลื่อนท่ีและการสร้างอาหารเป็นเกณฑ์ สามารถจาแนก สิ่งมีชีวิตได้กี่กลุ่ม อะไรบ้าง (3 กลุ่ม คือ กลุ่มท่ีสร้างอาหารเองได้แต่ เคลื่อนที่ไม่ได้ กลุ่มที่สร้างอาหารเองไม่ได้แต่เคล่ือนที่ได้ และกลุ่มที่ ไดร้ บั อาหารจากการย่อยสลายปสิ่งมีชวี ิตอื่นหรือสร้างอาหารเองไม่ได้ และเคลอ่ื นท่ไี ม่ได)้ 8.11แตล่ ะกลมุ่ มีส่งิ มีชวี ิตอะไรบา้ ง - กลุ่มท่ีสร้างอาหารเองได้แต่เคล่ือนท่ีไม่ได้ ได้แก่ กุหลาบ ข้าว เฟิน - กลุ่มที่สร้างอาหารเองไม่ได้แต่เคล่ือนท่ีได้ ได้แก่ กบ ปลา คน จระเข้ เปด็ เสอื กุ้ง - กลุ่มท่ีสร้างอาหารเองไม่ได้แต่ได้รับอาหารจากการย่อยสลาย สงิ่ มีชีวิตอ่นื และเคลื่อนทีไ่ มไ่ ด้ ได้แก่ เหด็ รา 9. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุป ดังนี เราเรียกกลุ่ม สิง่ มีชวี ติ ที่สรา้ งอาหารเองไดแ้ ตเ่ คลอื่ นท่ีไม่ได้ว่า กลุ่มพืช เรียกส่ิงมีชีวิต ที่สร้างอาหารเองไม่ได้แต่เคลื่อนท่ีได้ว่า กลุ่มสัตว์ และเรียกส่ิงมีชีวิต สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
99 คมู่ ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 2 ส่งิ มีชีวติ กลุ่มที่สร้างอาหารเองไม่ได้และเคล่ือนท่ีไม่ได้ว่า กลุ่มที่ไม่ใช่พืชและ สัตว์ 10. ครเู ปดิ โอกาสให้นกั เรยี นยกตัวอย่างและบรรยายลักษณะสิ่งมีชีวิตที่ ตนเองรู้จัก จากนันให้เพ่ือนช่วยกันตอบว่าสิ่งมีชีวิตนีควรจัดอยู่ใน กลุ่มใดทงั นโี ดยใช้การสร้างอาหารและการเคลื่อนท่ีเป็นเกณฑ์ หรือ ครูอาจยกตัวอย่างสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ท่ีนอกเหนือจากกิจกรรมเพื่อให้ นักเรยี นจาแนกส่งิ มชี วี ิตท่ีหลากหลายขึน 11.นั ก เ รี ย น ร่ ว ม กั น อ ภิ ป ร า ย แ ล ะ ล ง ข้ อส รุ ป ว่ า ส า มา ร ถจ า แ น กส่ิ ง มีชี วิ ต ออกเป็นกลุ่มต่าง ๆ ออกได้เป็น 3 กลุ่ม โดยใช้เกณฑ์การเคลื่อนท่ีและ การสรา้ งอาหาร คือ กลุม่ พชื กลุม่ สตั ว์ และกลุ่มที่ไม่ใชพ่ ชื และสตั ว์ 12. นักเรียนร่วมกันอภิปรายคาตอบใน ฉันรู้อะไร โดยครูอาจใช้คาถาม เพิม่ เตมิ ในการอภิปรายเพื่อใหไ้ ด้แนวคาตอบท่ีถูกต้อง 13.นักเรียนสรุปสิ่งท่ีได้เรียนรู้จากกิจกรรมนี จากนันนักเรียนอ่าน ส่ิงท่ีได้ เรียนรู้ และเปรียบเทยี บกบั ข้อสรปุ ของตนเอง 14. ครูกระตุ้นให้นักเรียนฝึกตังคาถามเก่ียวกับเรื่องที่สงสัยหรืออยากรู้ เพ่ิมเติมใน อยากรู้อีกว่า จากนันครูอาจสุ่มนักเรียน 2 -3 คน นาเสนอ คาถามของตนเองหน้าชันเรียน และให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ คาถามทีน่ าเสนอ 15. ครูนาอภิปรายเพื่อให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 อะไรบ้างและในขันตอน ใดบ้าง และบันทึกลงในแบบบันทึกกิจกรรมหน้า 43 การเตรยี มตัวล่วงหน้าสาหรบั ครเู พอ่ื จัดการเรียนรใู้ นครงั้ ถดั ไป ในครังถัดไป นักเรียนจะได้ทากิจกรรม 1.2 เราจาแนกสัตว์ได้อย่างไร ซึ่งจะมีการจาแนกสัตว์ออกเป็น กลมุ่ โดยใชก้ ารมีกระดูกสันหลงั เปน็ เกณฑ์ ครูเตรยี มสื่อเพ่ือจัดการเรยี นการสอน ดงั นี 1. เตรียมฉลากที่มีช่ือของสัตว์ 8 ชนิด (ทังสัตว์มีกระดูกสันหลัง และสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง) และทา ฉลากช่ือสัตวช์ นิดละ 5 ใบ สาหรับเลน่ เกมเพอ่ื ตรวจสอบความรูก้ ่อนเรยี น 2. เตรยี มบัตรภาพโครงสร้างภายนอกและโครงสร้างภายในของสัตว์ท่ีมีกระดูกสันหลังและไม่มีกระดูกสัน หลังมาใหน้ ักเรยี นสงั เกต ซ่ึงบัตรภาพสามารถดาวนโ์ หลดได้จาก QR code ในหนงั สอื เรยี นหน้า 52 3. เตรยี มปลา และกุ้งเท่าจานวนกลุ่มของนักเรียน หรอื มอบหมายให้นักเรียนเตรียมมาเอง อาจใช้ปลาที่ นง่ึ สกุ แลว้ แทนปลาสดได้ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คมู่ ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 2 สง่ิ มีชีวติ 100 แนวคาตอบในแบบบันทึกกจิ กรรม 1. รวบรวมข้อมลู และเปรียบเทียบลักษณะของส่ิงมีชิวิต 2. จาแนกส่ิงมีชีวติ ออกเปน็ กลมุ่ โดยใชก้ ารเคลื่อนทแ่ี ละการสรา้ ง อาหารเป็นเกณฑ์ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
101 คมู่ ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 2 สง่ิ มีชีวิต สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379