Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ-วิทยาศาสตร์ ป.4

คู่มือ-วิทยาศาสตร์ ป.4

Published by Phatwarin Srikhamnoy, 2019-04-10 04:27:49

Description: คู่มือ-วิทยาศาสตร์ ป.4

Search

Read the Text Version

คู่มอื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 2 สิ่งมีชีวิต 200 บนั ทึกชนดิ พชื ทใ่ี ช้ในหอ้ งเรยี นจรงิ เช่น หญ้ามาเลเซีย ชบา ผักบุง้ หญ้ามาเลเซีย ชบา ผักบงุ้ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

201 คมู่ ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยที่ 2 สิง่ มีชีวติ แป้ง สรา้ งอาหารโดยการสังเคราะห์ดว้ ยแสง นา้ ตาล แปง้ มนั สาปะหลังและแป้งข้าวโพดไดผ้ ลเหมือนกัน คือ เมอ่ื หยดสารละลายไอโอดนี ลงบนแป้ง จะเหน็ ว่าแป้งที่ผสมกบั สารละลายไอโอดีนเปน็ สนี า้ เงิน แตเ่ ม่ือหยดสารละลายไอโอดีนลงบนแป้งฝนุ่ สีของสารละลายไอโอดีนไม่มกี ารเปลย่ี นแปลง ถ้าเป็นแป้งจากพชื สขี องสารละลายไอโอดนี จะเปลย่ี นจากสนี ้าตาลเป็นสีน้าเงินเข้ม ใบพืชท้ัง 3 ชนดิ มสี เี ขียวเหมอื นกัน แตม่ รี ปู รา่ งแตกตา่ งกัน ใบหญ้ามาเลเซียมี รูปร่างเรียวยาว ใบผกั บุง้ คล้ายรปู หัวใจ ส่วนในชบาจะเป็นวงรี ส่วนปลายใบแหลม ต้มใบพืชในนา้ เดือดเพอ่ื ใหเ้ ซลล์ตาย ทาให้กิจกรรมตา่ ง ๆ ในใบหยดุ ลง ต้มใบพืชใน เอทานอลเพอื่ สกดั คลอโรฟลิ ลห์ รือสารสีเขียวออกจากใบพืช พบแปง้ เพราะสีสารละลายไอโอดนี เปลี่ยนจากสนี า้ ตาลเป็นสนี ้าเงินเข้ม  สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 2 สิ่งมีชีวิต 202 เก่ียวข้อง เพราะสงิ่ ท่ีพบในใบพืช คือ แป้ง ซ่ึงเป็นอาหารของพืช เกดิ จากการเปล่ยี นแปลง ของน้าตาล และเปน็ ส่ิงที่พืชสรา้ งข้นึ โดยการสังเคราะห์ด้วยแสง ใบพืชอาจมรี ปู รา่ งแตกต่างกัน แต่ใบพืชทุกชนิดท่ีมีสีเขียวจะสรา้ งอาหารได้โดยการ สงั เคราะหด์ ว้ ยแสง อาหารที่พืชสร้างขน้ึ คือน้าตาล และพืชจะสะสมน้าตาลไวใ้ นรูป ของแป้ง เม่ือทดสอบใบพชื ด้วยสารละลายไอโอดนี จึงเห็นวา่ สีของสารละลาย ไอโอดีนจะเปล่ยี นจากสนี า้ ตาลเปน็ สีนา้ เงิน เหมอื นการทดสอบกับแป้งมันสาปะหลัง และแปง้ ขา้ วโพด ใบของพชื ท่ีมีสเี ขียวมหี นา้ ที่สร้างอาหารโดยการสงั เคราะห์ดว้ ยแสง อาหารของพืช คอื น้าตาล สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

203 คูม่ อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 2 สิ่งมีชวี ติ คาถามของนักเรยี นทตี่ ้ังตามความอยากรูข้ องตนเอง       สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยที่ 2 ส่ิงมชี ีวิต 204 แนวการประเมินการเรียนรู้ การประเมินการเรียนร้ขู องนกั เรียนทาได้ ดังน้ี 1. ประเมนิ ความรเู้ ดิมจากการอภปิ รายในชั้นเรยี น 2. ประเมินการเรยี นร้จู ากคาตอบของนักเรียนระหวา่ งการจดั การเรยี นรูแ้ ละจากแบบบนั ทึกกจิ กรรม 3. ประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 จากการทากจิ กรรมของนกั เรยี น การประเมนิ จากการทากิจกรรมท่ี 1.2 ใบของพชื ทาหนา้ ที่อะไร ระดบั คะแนน 1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรุง 3 คะแนน หมายถงึ ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช้ รหสั ส่งิ ทีป่ ระเมิน ระดับ คะแนน ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ S1 การสังเกต S6 การจดั กระทาและส่อื ความหมายข้อมลู S8 การลงความเห็นจากข้อมลู S13 การตีความหมายข้อมลู และลงขอ้ สรุป ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 C4 การสื่อสาร C5 ความรว่ มมอื รวมคะแนน สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

205 คมู่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยที่ 2 สิ่งมีชีวิต ตาราง แสดงการวิเคราะหท์ ักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรต์ ามระดับความสามารถของนักเรียน โดยอาจใช้เกณฑ์การประเมนิ ดังนี้ ทกั ษะกระบวนการ รายการประเมิน ระดับความสามารถ ทางวิทยาศาสตร์ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรุง (1) S1 การสงั เกต ก า ร บ ร ร ย า ย สามารถใช้ประสาทสัมผัส สามารถใช้ประสาทสัมผัส ไ ม่ ส า ม า ร ถ ใ ช้ ร า ย ล ะ เ อี ย ด เ ก็ บ ร า ย ล ะ เ อี ย ด แ ล ะ เ ก็ บ ร า ย ล ะ เ อี ย ด แ ล ะ ประสาทสัมผัสเก็บ เก่ียวกับลักษณะ บรรยายเก่ียวกับลักษณะ บรรยายเกี่ยวกับลักษณะ ร า ย ล ะ เ อี ย ด แ ล ะ ของใบพืชก่อนและ ของใบพืชก่อนและหลัง ของใบพืชกอ่ นและหลังการ บร ร ยา ย เ กี่ย ว กั บ หลังการทดสอบ ก า ร ท ด ส อ บ ด้ ว ย ทดสอบด้วยสารละลาย ลักษณะของใบพืช ด้ ว ย ส า ร ล ะ ล า ย สารละลายไอโอดีนได้ด้วย ไอโอดีนจากการช้ีแนะของ ก่อนและหลังการ ไอโอดีน ตนเอง โดยไม่เพิ่มเติม ครูหรือผู้อ่ืน หรือมีการ ท ด ส อ บ ด้ ว ย ความคิดเห็น เพิม่ เตมิ ความคดิ เหน็ สารละลายไอโอดีน แม้ ว่ า จ ะ ไ ด้ รั บ ค า ชี้ แ น ะ จ า ก ค รู ห รื อ ผูอ้ น่ื S6 การจัดกระทาและ นาข้อมูลที่ได้จาก สามารถนาข้อมูลที่ได้จาก สามารถนาข้อมูลท่ีได้จาก ไม่สามารถนาข้อมูล สื่อความหมายขอ้ มูล การสังเกตและการ ก า ร สั ง เ ก ต แ ล ะ ก า ร ก า ร สั ง เ ก ต แ ล ะ ก า ร ท่ีได้จากการสังเกต รวบรวมเก่ียวกับ รวบรวมเก่ียวกับลักษณะ รวบรวมเกี่ยวกับลักษณะ และ การ รว บ รว ม ของใบพืชก่อนและหลัง ของใบพืชก่อนและหลัง เก่ียวกับลักษณะของ ลักษณะของใบพืช ก า ร ท ด ส อ บ ด้ ว ย ก า ร ท ด ส อ บ ด้ ว ย ใบพืชก่อนและหลัง ก่อนและหลังการ สารละลายไอโอดีนมาจัด สารละลายไอโอดีนมาจัด ก า ร ท ด ส อ บ ด้ ว ย ท ด ส อ บ ด้ ว ย กระทาโดยการวาดภาพ กระทาโดยการวาดภาพ สารละลายไอโอดีน สารละลายไอโอดีน และสื่อความหมายของ และส่ือความหมายของ มาจดั กระทาโดยการ มาจัดกระทาโดย หน้าที่ของใบพืชให้ผู้อ่ืน หน้าที่ของใบพืชให้ผู้อ่ืน ว า ด ภ า พ แ ล ะ ไ ม่ การวาดภาพ และ เข้าใจได้อย่างถูกต้องได้ เข้าใจไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง จาก ส า ม า ร ถ สื่ อ สื่อให้ผู้อื่นเข้าใจ ดว้ ยตนเอง การชีแ้ นะของครูหรือผู้อน่ื ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง หน้าที่ของใบของ หน้าท่ีของใบพืชให้ ผู้อื่นเข้าใจได้ แม้ว่า พชื จะได้รับคาชี้แนะ จากครหู รอื ผอู้ ืน่  สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 2 ส่ิงมชี ีวติ 206 ทกั ษะกระบวนการ รายการประเมิน ระดบั ความสามารถ ทางวิทยาศาสตร์ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรุง (1) S8 การลงความเห็น ลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก ไ ม่ ส า ม า ร ถ ล ง จากข้อมลู ข้อมู ลว่ าใบ พืช มี ข้อมูลได้ว่าใบพืชมีแป้ง ข้อมูลได้ว่าใบพืชมีแป้ง ความเห็นจากข้อมูล แป้งจากการสังเกต จ า ก ก า ร สั ง เ ก ต ก า ร จ า ก ก า ร สั ง เ ก ต ก า ร ได้ว่าใบพชื มีแป้งจาก การเปลี่ยนแปลงสี เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง สี ข อ ง เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง สี ข อ ง ก า ร สั ง เ ก ต ก า ร ข อ ง ส า ร ล ะ ล า ย สารละลายไอโอดีนจากสี สารละลายไอโอดีนจากสี เปล่ียนแปลงสีของ ไ อ โ อ ดี น จ า ก สี น้าตาลเป็นสีน้าเงิน ได้ น้าตาลเป็นสีน้าเงินได้ สารละลายไอโอดีน น้าตาลเปน็ สีน้าเงิน อย่างถูกต้องและชัดเจน อย่างถูกต้องและชัดเจน จากสีน้าตาลเป็นสี ได้ดว้ ยตนเอง จากการชี้แนะของครูหรือ น้าเงิน แม้ว่าจะได้ ผู้อน่ื รับคาชี้แนะจากครู หรือผู้อ่ืน S13 การตีความหมาย ตีความหมายข้อมูล สาม ารถ ตีคว ามห มา ย สามารถตีความหมาย ไ ม่ ส า ม า ร ถ ข้อมูลและลงข้อสรปุ จากการสังเกตและ ข้อมูลจากการสังเกตและ ข้อมูลจากการสังเกตและ ตีความหมายข้อมูล การอ่านใบความรู้ การอ่านใบความรู้ได้ว่า การอ่านใบความรู้ได้ว่า จากการสังเกตและ ได้ว่า เมื่อทดสอบ เ ม่ื อ ท ด ส อ บ แ ป้ ง ด้ ว ย เ ม่ื อ ท ด ส อ บ แ ป้ ง ด้ ว ย การอ่านใบความรู้ได้ แป้งด้วยสารละลาย สารละลายไอโอดีนบนใบ สารละลายไอโอดีนบนใบ ว่า เม่ือทดสอบแป้ง ไอโอดีนบนใบพืช พื ช จ ะ เ ห็ น สี ข อ ง พื ช จ ะ เ ห็ น สี ข อ ง ด้ ว ย ส า ร ล ะ ล า ย จ ะ เ ห็ น สี ข อ ง สารละลายไอโอดีนเปลี่ยน ส า ร ล ะ ล า ย ไ อ โ อ ดี น ไอโอดีนบนใบพืชจะ สารละลายไอโอดีน จากสีน้าตาลเป็นสีน้าเงิน เปลี่ยนจากสีน้าตาลเป็นสี เหน็ สขี องสารละลาย เปลย่ี นจากสีนา้ ตาล เข้ม และลงข้อสรุปใบของ น้าเงินเข้ม และลงข้อสรุป ไอโอดนี เปลี่ยนจากสี เป็นสีน้าเงินเข้ม พืชท่ีมีสีเขียวมีหน้าที่สร้าง ใบของพืชท่ีมีสีเขียวมี น้าตาลเป็นสีน้าเงิน และลงข้อสรุปใบ อาหารโดยการสังเคราะห์ หน้าที่สร้างอาหารโดย เข้ม และไม่สามารถ ของพืชท่ีมีสีเขียวมี ด้วยแสง และอาหารของ การสังเคราะห์ด้วยแสง ลงข้อสรุปใบของพืช หน้าท่ีสร้างอาหาร พืช คือ น้าตาล ได้ด้วย และอาหารของพืช คือ ท่ีมีสีเขียวมีหน้าท่ี โดยการสังเคราะห์ ตนเอง น้าตาล จากการช้ีแนะ สร้างอาหารโดยการ ดว้ ยแสง ของครูหรอื ผอู้ นื่ สังเคราะห์ด้วยแสง และอาหารของพืช คือ น้าตาล แม้ว่า จ ะ ไ ด้ รั บ ค า ช้ี แ น ะ จากครหู รอื ผู้อ่นื สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

207 คูม่ ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยที่ 2 สิง่ มีชีวิต ตาราง แสดงการวเิ คราะหท์ ักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ตามระดบั ความสามารถของนกั เรยี น โดยอาจใช้เกณฑก์ ารประเมนิ ดงั น้ี ทักษะแห่ง รายการประเมิน ดี (3) ระดับความสามารถ ควรปรบั ปรุง (1) ศตวรรษที่ 21 สามารถนาเสนอขอ้ มูล พอใช้ (2) ไมส่ ามารถนาเสนอข้อมูล C4 การสื่อสาร นาเสนอข้อมลู จาก จากการอภิปรายเก่ยี วกบั จากการอภปิ รายเกี่ยวกับ การอภิปราย การจาแนกกลุ่มสัตวโ์ ดย สามารถนาเสนอขอ้ มลู จาก การจาแนกกลุ่มสัตว์โดย C5 ความร่วมมือ เกยี่ วกบั การจาแนก ใชเ้ กณฑ์การมีกระดูกสนั การอภปิ รายเกี่ยวกับการ ใช้เกณฑ์การมีกระดูกสัน กลุ่มสัตว์โดยใช้ หลัง ในรปู แบบแผนภาพ จาแนกกลมุ่ สัตวโ์ ดยใช้เกณฑ์ หลัง ในรูปแบบแผนภาพ เกณฑ์การมีกระดูก หรอื รปู แบบอน่ื ๆ ให้ การมกี ระดกู สันหลงั ใน หรือรูปแบบอ่ืน ๆ ให้ สันหลงั ในรปู แบบ ผู้อน่ื เขา้ ใจไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง รปู แบบแผนภาพหรือรปู แบบ ผู้ อ่ื น เ ข้ า ใ จ ไ ด้ อ ย่ า ง แผนภาพหรอื ไดด้ ้วยตนเอง อน่ื ๆ ให้ผอู้ ื่นเขา้ ใจได้อย่าง ถูกต้อง แม้ว่าจะได้รับคา รปู แบบอนื่ ๆ ให้ ถูกต้อง จากการช้ีแนะของครู ช้แี นะจากครหู รือผ้อู ่นื ผ้อู ่ืนเข้าใจ ส า ม า ร ถ ท า ง า น ร่ ว ม กั บ หรอื ผ้อู ่ืน ไม่สามารถทางานร่วมกับ ทางานร่วมกับผู้อื่น ผู้อื่นในการสังเกต การ ผู้อื่นได้ ตลอดเวลาที่ทา ในการสังเกต การ นาเสนอ และการแสดง สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นใน กจิ กรรม นาเสนอ และการ ความคิดเห็นเพ่ือจาแนก การสังเกต การนาเสนอ และ แสดงความคิดเห็น สตั ว์ออกเป็นสัตว์มีกระดูก การแสดงความคิดเห็นเพื่อ เ พ่ื อ จ า แ น ก สั ต ว์ สันหลัง แล ะสั ตว์ไม่ มี จาแนกสัตว์ออกเป็นสัตว์มี อ อ ก เ ป็ น สั ต ว์ มี กระดูกสันหลัง รวมท้ัง กระดูกสันหลัง และสัตว์ไม่มี กระดูกสันหลัง และ ยอมรับความคิดเห็นของ กระดูกสนั หลัง รวมท้ังยอมรับ สัตว์ไม่มีกระดูกสัน ผอู้ ่ืนตั้งแตเ่ รม่ิ ตน้ จนสาเรจ็ ความคิดเห็นของผู้อื่น บาง หลัง รวมท้ังยอมรับ ช่วงเวลาทท่ี ากจิ กรรม ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ผอู้ ื่น  สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 2 ส่ิงมีชีวติ 208 กิจกรรมที่ 1.3 ดอกของพชื ทาหนา้ ท่อี ะไร กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้สังเกตลักษณะดอกของพืช และรวบรวบข้อมูลเก่ียวกับหน้าที่ส่วนประกอบต่าง ๆ ของ ดอก เพ่ือบรรยายการทาหน้าที่ร่วมกันของส่วนประกอบ ของดอกในการสบื พนั ธ์ุ เวลา 2 ชว่ั โมง จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. สงั เกตสว่ นประกอบของดอก รวบรวมข้อมูลและ บรรยายหนา้ ทีส่ ่วนต่าง ๆ ของดอก 2. อภิปรายและสรุปการทาหน้าที่ร่วมกนั ของสว่ นประกอบ ของดอก วัสดุ อปุ กรณส์ าหรบั ทากจิ กรรม ส่ิงท่คี รตู อ้ งเตรยี ม/กลมุ่ 1. ดอกของพืชชนดิ ตา่ ง ๆ 2 ชนิด ส่อื การเรียนรู้และแหลง่ เรียนรู้ 2. แว่นขยาย 2-3 อนั 1. หนังสอื เรียน ป.4 เล่ม 1 หน้า 91–94 2. แบบบนั ทึกกิจกรรม ป.4 เล่ม 1 หน้า 79-82 ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 3. ตัวอย่างวีดิทัศน์ปฏิบัติการวิทยาศาสตร์เร่ือง S1 การสังเกต สว่ นประกอบของดอกมหี น้าทอี่ ะไร S6 การจดั กระทาและสื่อความหมายข้อมลู http://ipst.me/8114 S8 การลงความเห็นจากข้อมูล S13 การตคี วามหมายข้อมลู และลงขอ้ สรุป ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 C4 การสอ่ื สาร C5 ความรว่ มมือ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

209 คูม่ ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยที่ 2 สิ่งมีชีวิต แนวการจัดการเรียนรู้ ในการทบทวนความรู้ท่ีเคย เรียนมาแล้ว คุณครูควรให้เวลา 1. ครทู บทวนความรู้พื้นฐานเก่ียวกับพืชดอกซ่ึงนักเรียนได้เรียนมาแล้ว โดยให้ นักเรียนคิดอย่างเหมาะสม รอ นักเรยี นยกตัวอย่างพืชดอกท่ีนักเรียนรู้จัก เช่น กุหลาบ มะลิ ครูจดช่ือพืชที่ คอยอย่างอดทน นักเรียนต้อง นักเรียนตอบบนกระดาน ครูซักถามว่าเพราะเหตุใดนักเรียนจึงคิดว่าพืชท่ี ตอบคาถามเหล่าน้ีได้ถูกต้อง นักเรยี นยกตัวอยา่ งเป็นพืชดอก (เปน็ พชื ดอกเพราะมดี อก) หากตอบไม่ได้หรือลืมครูต้องให้ ความรทู้ ถ่ี กู ต้องทนั ที 2. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเก่ียวกับหน้าที่ของดอก โดยให้นักเรียนวาดรูป ดอกไมต้ ามความเข้าใจของตนเอง แลว้ ใชค้ าถามเพอ่ื การอภปิ รายดังน้ี ในการตรวจสอบความรู้ ครู 2.1 ดอกของพืชท่ีนักเรียนวาดมีส่วนประกอบใดบ้าง (นักเรียนตอบตาม เพียงรับฟังเหตุผลของนักเรียน ความเข้าใจ) เป็นสาคัญ และยังไม่เฉลย 2.2 ดอกของพชื มีความสาคญั อยา่ งไร (นักเรยี นตอบตามความเขา้ ใจ) คาตอบใด ๆ ให้กับนักเรียน แต่ ถ้ามีนักเรียนตอบว่า ดอกมีความสาคัญเพราะทาหน้าที่สืบพันธ์ุ ให้ครูใช้ ชักชวนนักเรียน ไปหาคาตอบท่ี คาถามตอ่ ไปน้ใี นการอภปิ รายเพ่มิ เติม ถูกต้องจากกิจกรรมต่าง ๆ ใน 2.3 การสืบพันธุ์หมายความว่าอย่างไร (การมีลูกหลานเพ่ือดารงพันธุ์ไม่ให้ บทเรยี นนี้ สญู พนั ธ์ุ) 2.4 ดอกของพชื สืบพันธ์ุไดอ้ ย่างไร (นกั เรียนตอบตามความเขา้ ใจ) 3. ครูเช่ือมโยงความรู้เดิมของนักเรียนเข้าสู่กิจกรรมท่ี 1.3 โดยชักชวนให้ นกั เรียนมารว่ มกันสังเกตว่าดอกของพืชมีส่วนประกอบอะไรบ้าง และดอกมี หนา้ ทส่ี บื พนั ธ์ไุ ด้อยา่ งไร 4. นักเรียนอ่านช่ือกิจกรรม และ ทาเป็นคิดเป็น โดยร่วมกันอภิปรายเพ่ือ ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์ในการทากิจกรรม โดยใช้คาถาม ดังนี้ 4.1 กจิ กรรมนน้ี ักเรยี นจะได้เรยี นเรอ่ื งอะไร (หนา้ ทขี่ องดอก) 4.2 นกั เรยี นจะไดเ้ รยี นรเู้ รอ่ื งนดี้ ้วยวธิ ใี ด (การสงั เกต รวบรวมขอ้ มูล) 4.3 เมื่อเรียนแล้วนักเรียนจะทาอะไรได้ (บรรยายหน้าท่ีของส่วนต่าง ๆ ของดอก) 5. นักเรียนบันทึกจุดประสงค์ลงในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า79 และ อ่านส่ิงที่ ตอ้ งใชใ้ นการทากจิ กรรม 6. นักเรียนอ่าน ทาอย่างไร ทีละข้อ โดยฝึกอ่านตามความเหมาะสม ครูนา อภิปรายเพื่อสรุปลาดับขั้นตอน ตามแนวคาถามต่อไปนี้ ครูอาจช่วยเขียน สรุปเป็นข้นั ตอนสัน้ ๆ บนกระดาน  สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 2 สง่ิ มีชีวติ 210 6.1 นักเรียนมีวิธีสังเกตส่วนประกอบของดอกอย่างไร (สังเกต นักเรียนอาจไม่สามารถตอบ ส่วนประกอบของดอกเป็นช้ัน ๆ เริ่มจากช้ัน ก ไปจนถึงช้ัน ง โดยใช้ คาถามหรืออภิปรายได้ตามแนว แวน่ ขยายชว่ ยในการสังเกต จากนนั้ วาดรูปส่วนประกอบของดอก) คาตอบ ครูควรให้เวลานักเรียน คดิ อย่างเหมาะสม รอคอยอย่าง 6.2 นอกจากสังเกตและวาดรูปลักษณะของส่วนต่าง ๆ ของดอกแล้ว อดทน และรับฟังแนวความคิด นักเรียนต้องอภิปรายสิ่งใดเพิ่มเติม (หน้าท่ีส่วนประกอบ แต่ละส่วน ของนกั เรยี น ของดอก) 6.3 นักเรียนอ่านใบความรู้เร่ืองอะไร ท่ีหน้าใด (อ่านใบความรู้เร่ือง สว่ นประกอบของดอก หน้า 94) 6.4 นกั เรยี นอา่ นใบความร้แู ลว้ ตอ้ งทาอะไรต่อไป (อภิปรายเก่ียวกับการทา หนา้ ท่รี ่วมกนั ของแต่ละสว่ นประกอบของดอก) ครอู าจชว่ ยเขียนสรุปเป็นขน้ั ตอนส้นั ๆ บนกระดาน 7. เมื่อนักเรยี นเขา้ ใจวธิ ีการทากิจกรรมในทาอย่างไรแล้ว นักเรียนจะได้ปฏิบัติ ตามขน้ั ตอน ดังนี้ 7.1 สังเกตส่วนประกอบของดอก โดยใช้แว่นขยาย และวาดรูปในแบบ บันทึกกจิ กรรม (S1, S6) 7.2 นาเสนอผลการสังเกตสว่ นประกอบของดอก (C4) 7.3 ร่วมกันลงความเหน็ เกย่ี วกับลักษณะส่วนตา่ ง ๆ ของดอก (S8) ครูให้ความรู้เพิ่มเติมว่าดอกของพืชส่วนใหญ่มีส่วนประกอบ 4 ส่วน คือ กลีบเล้ียงอย่วู งนอกสดุ ถดั เข้าไปเป็นกลีบดอก ซึ่งส่วนใหญ่จะมีสีสัน ถัดเข้า ไปเป็นเกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย ซึ่งดอกของพืชบางชนิดจะขาดส่วนใด สว่ นหน่งึ ไปได้ เช่น ดอกมะละกอมี 3 แบบ คอื มสี ่วนประกอบของดอกครบ ทงั้ 4 สว่ น บางดอกขาดเกสรเพศผู้ และบางดอกขาดเกสรเพศเมีย 7.4 รวบรวมข้อมูลหน้าที่ของแตล่ ะส่วนประกอบ 7.5 นักเรียนอ่านใบความรู้และอภิปรายเก่ียวกับการทาหน้าท่ีร่วมกันของ แตล่ ะสว่ นประกอบของดอก นาเสนอผลการอภปิ ราย (C5, C6) 7.6 นักเรียนร่วมกนั สรุปขอ้ มูลเก่ยี วกบั หนา้ ที่ของดอก (S13) 8. หลังจากทากิจกรรมแล้ว ครูนาอภิปรายผลการทากิจกรรม โดยใช้คาถาม ดังต่อไปน้ี 8.1 ดอกของพืชมีส่วนประกอบก่ีส่วน อะไรบ้าง (4 ส่วน กลีบเล้ียง กลีบ ดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมยี ) (S8) 8.2 ส่วนประกอบของดอกแต่ละส่วนมีลักษณะอย่างไร (นักเรียนตอบตาม ลักษณะทส่ี ังเกตได้จริง) สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

211 คู่มอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 2 สิง่ มีชวี ิต 8.3 ดอกของพชื แต่ละชนดิ มีส่วนประกอบครบท้ัง 4 ส่วน หรือไม่ (นักเรียน ตอบตามข้อมูลจริง เช่น ดอกชบามีส่วนประกอบครบทั้ง 4 ส่วน แต่ ดอกมะละกอบางดอกไม่มีเกสรเพศผู้ บางดอกไม่มีเกสรเพศเมีย บาง ดอกมีครบสว่ นประกอบครบทัง้ 4 ส่วน) 8.4 กลบี เลี้ยงมีหนา้ ท่อี ะไร (ห่อหุม้ ดอกทีย่ ังตูมอย่)ู 8.5 กลีบดอกมีหนา้ ท่ีอะไร (ดึงดูดสตั ว์ให้เขา้ มาชว่ ยถา่ ยเรณู) 8.6 เกสรเพศผมู้ หี นา้ ทอี่ ะไร (สร้างเซลลส์ บื พันธเ์ุ พศผู)้ 8.7 เกสรเพศผู้ประกอบดว้ ยส่วนใดบ้าง (ก้านชอู ับเรณู อบั เรณ)ู 8.8 เซลลส์ บื พนั ธุ์เพศผเู้ รียกวา่ อะไร (สเปริ ์ม) 8.9 สเปิรม์ อย่ใู นสว่ นใด (เรณู) 8.10 เกสรเพศเมียมหี นา้ ที่อะไร (สรา้ งเซลลส์ ืบพนั ธ์ุเพศเมยี ) 8.11 เกสรเพศเมียประกอบด้วยส่วนใดบ้าง (รังไข่ ก้านเกสรเพศเมีย ยอด เกสรเพศเมีย มีออวุลอยใู่ นรงั ไข่) 8.12 เซลล์สบื พันธุ์เพศเมยี เรยี กว่าอะไร (เซลลไ์ ข)่ 8.13 เซลล์ไข่อยู่ท่ีส่วนใด (ในออวลุ ) 8.14 นักเรยี นคิดว่าสว่ นประกอบต่าง ๆ ของดอก ทาหน้าทีร่ ่วมกันในเรื่อง ใด (ทาหน้าทีร่ ่วมกันในการสบื พันธุ์ 9. ครแู นะนาใหน้ กั เรยี นใชแ้ อฟลเิ คชนั สาหรบั การสังเกตภาพเสมือนจริง (AR) สว่ นประกอบของดอก จากหนังสอื เรยี น หน้า 94 10. ครใู ห้ความรู้เพิ่มเติมว่าการสืบพันธ์ุของพืชแบบอาศัยเพศ จะมีการผสมกัน ของเซลลส์ ืบพนั ธเุ์ พศผ้หู รอื สเปิรม์ กับเซลลส์ บื พันธ์ุเพศเมียหรือเซลล์ไข่ โดย การท่ีสเปิร์มจากเรณูท่ีอยู่ในอับเรณูจะเคล่ือนย้ายไปยังยอดเกสรเพศเมีย เพื่อเข้าไปผสมกับเซลล์ไข่ในออวุลได้นั้น อาจมีตัวช่วย เช่น สัตว์ ลม น้า และส่ิงที่ช่วยในการดึงดูดสัตว์ คือ สีสันของกลีบดอก และ/หรือกลีบดอก กลน่ิ และน้าหวาน 11. นักเรียนร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่าดอกของพืชมีส่วนประกอบ 4 ส่วน ได้แก่ กลีบเล้ียง กลีบดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย ซึ่งแต่ละ สว่ นทาหนา้ ท่รี ่วมกนั ในการสืบพันธขุ์ องพืชดอก (S13) 12. นักเรียนร่วมกันอภิปรายคาตอบใน ฉันรู้อะไร โดยครูอาจใช้คาถาม เพ่ิมเติมในการอภปิ รายเพอ่ื ให้ไดค้ าตอบที่ถกู ต้อง 13. นกั เรยี นสรุปสง่ิ ที่ได้เรียนร้ใู นกจิ กรรมนี้ จากน้ันครูให้นักเรียนอา่ น สิง่ ที่ได้ เรียนรู้ และเปรยี บเทยี บกับขอ้ สรุปของ ตนเอง  สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 2 สงิ่ มีชีวิต 212 14. ครกู ระตุน้ ใหน้ ักเรียนฝึกต้ังคาถามเกีย่ วกับเร่ืองที่สงสัยหรืออยากรู้เพิ่มเติม ใน อยากรูอ้ ีกว่า จากนั้นครูอาจสุ่มนักเรียน 2 -3 คน นาเสนอคาถามของ ตนเองหน้าช้ันเรียน และให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับคาถามที่ นาเสนอ 15. ครูนาอภิปรายเพ่ือให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 อะไรบ้างและในขั้นตอนใด แล้วให้บันทกึ ในแบบบันทกึ กิจกรรมหนา้ 82 16. นักเรียนร่วมกันอ่านรู้อะไรในเร่ืองน้ี ในหนังสือเรียน หน้า 95 ครูนา อภิปรายเพ่ือนาไปสู่ข้อสรุปเกี่ยวกับส่ิงที่ได้เรียนรู้ในเรื่องน้ี จากนั้นครู กระตุ้นให้นักเรียนตอบคาถามในช่วงท้ายของเนื้อเร่ือง ดังนี้ “พืชใช้ส่วน ต่าง ๆ ทาหน้าที่อย่างไร และอาหารท่ีพืชสร้างคืออะไร” ครูและนักเรียน ร่วมกันอภิปรายแนวทางการตอบคาถาม เช่น พืชใช้รากในการดูดน้า น้า จะถูกลาเลียงส่งต่อไปยังลาต้น และส่วนอ่ืน ๆ ของพืช พืชใช้ใบในการ สร้างอาหารโดยการสังเคราะห์ด้วยแสง ใช้ดอกในการสืบพันธ์ุโดย ส่วนประกอบต่าง ๆ ของดอกทาหน้าที่ร่วมกันให้ดอกสามารถสืบพันธุ์ได้ ครคู วรเนน้ ให้นักเรยี นตอบคาถามพรอ้ มอธิบายเหตุผลประกอบ 16. ครูชักชวนนักเรียนร่วมกันอภิปรายคาถาม ใน ชวนคิด ในหนังสือเรียน หน้า 93 และแนะนาให้นักเรียนไปสืบค้นข้อมูลเพื่อหาคาตอบจาก แหลง่ ขอ้ มูลต่าง ๆ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

213 คูม่ อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 2 สง่ิ มีชีวติ แนวคาตอบในแบบบนั ทกึ กจิ กรรม 1. สังเกตส่วนประกอบของดอก รวบรวมข้อมลู และบรรยายหนา้ ที่ส่วนต่าง ๆ ของดอก 2. อภิปรายและสรปุ การทาหนา้ ทร่ี ว่ มกนั ของส่วนประกอบของดอก นกั เรียนบนั ทกึ ผลตามชนดิ ดอกพชื ทใี่ ช้จรงิ และจากการอภปิ รายของกลุ่ม เช่น ชบา หุม้ ดอก ลอ่ แมลง สรา้ งเซลล์สืบพนั ธ์ุ สร้างเซลล์สบื พนั ธุ์ ตาลึง หมุ้ ดอก ลอ่ แมลง สรา้ งเซลลส์ ืบพนั ธุ์ สร้างเซลล์สบื พนั ธ์ุ  สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 2 สง่ิ มีชีวติ 214 กลบี เลี้ยง หอ่ ห้มุ ดอกขณะทยี่ งั ตูมอยู่ กลีบดอก เกสรเพศผู้ ดึงดูดสตั ว์ใหเ้ ข้ามาถา่ ยเรณู สรา้ งเซลล์สบื พนั ธเุ์ พศผู้ เกสรเพศเมีย สร้างเซลลส์ บื พันธเุ์ พศเมีย ทาหน้าที่ร่วมกันในการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ โดยดอกที่ยังตูมอยู่จะมีกลีบเลี้ยง ห่อหุ้มส่วนอื่นๆ ของดอกไวเ้ พื่อใหเ้ จรญิ เติบโต พรอ้ มท่ีจะสืบพันธุ์ เม่ือเจริญเติบโต เตม็ ทกี่ ลีบดอกจะบานดึงดูดสัตวใ์ หเ้ ขา้ มาถ่ายเรณจู ากเกสรเพศผไู้ ปยังเกสรเพศเมีย ทาใหเ้ กดิ การผสมกันของเซลลส์ ืบพันธ์ุเพศผู้และเซลลส์ ืบพนั ธุ์เพศเมยี กลบี เลี้ยง กลบี ดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย นกั เรียนตอบตามผลการสงั เกตจรงิ ในหอ้ งเรียน เชน่ ดอกของพืชทส่ี ังเกตมีสว่ นประกอบ แตกตา่ งกัน คือดอกชบามีสว่ นประกอบครบทง้ั 4 ส่วน แตด่ อกตาลงึ ไม่มเี กสรเพศเมีย สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

215 คมู่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 2 สงิ่ มีชวี ิต กลบี เลี้ยงมหี น้าที่หอ่ หมุ้ ดอกขณะทีด่ อกยังตมู กลีบดอกมหี น้าท่ดี งึ ดดู สตั วใ์ หเ้ ข้ามาถ่ายเรณู เกสรเพศผมู้ ีหนา้ ทสี่ ร้างเซลล์สืบพันธุเ์ พศผู้ เกสรเพศเมียมหี น้าท่ีสรา้ งเซลล์สบื พันธ์ุเพศเมยี เกสรเพศผแู้ ละเกสรเพศเมยี ดอกของพชื มีสว่ นประกอบ 4 ส่วน คือ กลีบเล้ียง กลบี ดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศ เมีย ซ่งึ แตล่ ะส่วนมีหน้าทีแ่ ตกตา่ งกนั แต่ทาหนา้ ที่ร่วมกนั ในการสืบพันธ์ขุ องพืชดอก ดอกของพชื ดอกมหี น้าท่ใี นการสบื พันธุ์ คาถามของนักเรยี นท่ีต้ังตามความอยากรขู้ องตนเอง  สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 2 สิ่งมชี ีวิต 216      สามารถสืบพนั ธุ์ได้ เพราะการสบื พันธข์ุ องพืชจะมกี ารถ่ายเรณจู ากเกสรเพศผู้ไป ยังเกสรเพศเมยี ซึ่งเกดิ ข้ามดอกได้ โดยอาศยั สตั ว์ ลม หรือน้า ช่วยนาเรณูจาก ดอกที่มีเกสรเพศผ้ไู ปยังดอกทมี่ ีเกสรเพศเมียได้ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

217 คู่มือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 2 สง่ิ มีชวี ติ แนวการประเมินการเรียนรู้ การประเมนิ การเรียนรู้ของนกั เรียนทาได้ ดังนี้ 1. ประเมนิ ความร้เู ดิมจากการอภปิ รายในชน้ั เรยี น 2. ประเมนิ การเรยี นรจู้ ากคาตอบของนักเรยี นระหวา่ งการจดั การเรยี นรู้และจากแบบบนั ทึกกิจกรรม 3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จากการทากจิ กรรมของนักเรียน การประเมนิ จากการทากจิ กรรมที่ 1.3 เราจาแนกสัตวม์ กี ระดูกสนั หลงั ได้อยา่ งไร ระดับคะแนน 1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรุง 3 คะแนน หมายถงึ ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช้ รหสั สง่ิ ทีป่ ระเมิน ระดับ คะแนน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S1 การสังเกต S6 การจดั กระทาและสือ่ ความหมายขอ้ มูล S8 การลงความเห็นจากขอ้ มูล S13 การตคี วามหมายขอ้ มูลและลงขอ้ สรุป ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 C4 การสอ่ื สาร C5 ความรว่ มมือ รวมคะแนน  สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 2 สงิ่ มชี ีวติ 218 ตาราง แสดงการวเิ คราะหท์ ักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ตามระดบั ความสามารถของนกั เรยี น โดยอาจใช้เกณฑ์การประเมิน ดงั นี้ ทกั ษะกระบวนการ รายการประเมนิ ระดบั ความสามารถ ทางวิทยาศาสตร์ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรุง (1) S1 การสังเกต ก า ร บ ร ร ย า ย สามารถใช้ประสาทสัมผัส สามารถใช้ประสาทสัมผัส ไ ม่ ส า ม า ร ถ ใ ช้ ร า ย ล ะ เ อี ย ด เ ก็ บ ร า ย ล ะ เ อี ย ด แ ล ะ เ ก็ บ ร า ย ล ะ เ อี ย ด แ ล ะ ประสาทสัมผัสเก็บ เกี่ยวกับลักษณะ บรรยายเก่ียวกับลักษณะ บรรยายเก่ียวกับลักษณะ ร า ย ล ะ เ อี ย ด แ ล ะ ส่วนประกอบแต่ละ ส่วนประกอบแต่ละส่วน ส่วนประกอบแต่ละส่วน บร ร ยา ย เ ก่ีย ว กั บ สว่ นของดอก ของดอกได้ด้วยตนเอง ของดอก จากการช้ีแนะ ลั ก ษ ณ ะ โ ด ย ไ ม่ เ พิ่ ม เ ติ ม ค ว า ม ข อ ง ค รู ห รื อ ผู้ อื่ น ห รื อ ส่วนประกอบแต่ละ คิดเห็น เพมิ่ เตมิ ความคดิ เห็น ส่วนของดอก แม้ว่า จ ะ ไ ด้ รั บ ค า ช้ี แ น ะ จากครหู รอื ผู้อน่ื S6 การจัดกระทาและ การนาข้อมูลท่ีได้ สามารถนาข้อมูลท่ีได้จาก สามารถนาข้อมูลท่ีได้จาก ไม่สามารถนาข้อมูล สื่อความหมายข้อมูล จากการสังเกตและ การสังเกตและการอ่านใบ การสังเกตและการอ่านใบ ท่ีได้จากการสังเกต การอ่านใบความรู้ ความรู้เกี่ยวกับลักษณะ ความรู้เก่ียวกับลักษณะ แ ล ะ ก า ร อ่ า น ใ บ แ ล ะ ห น้ า ท่ี ข อ ง แ ล ะ ห น้ า ท่ี ข อ ง ค ว า ม รู้ เ ก่ี ย ว กั บ เ ก่ี ย ว กั บ ลั ก ษ ณ ะ ส่วนประกอบแต่ละส่วน ส่วนประกอบแต่ละส่วน ลักษณะและหน้าท่ี แ ล ะ ห น้ า ที่ ข อ ง ข อ ง ด อ ก ข อ ง พื ช ม า ว า ด ของดอกของพืชมาวาด ของส่วนประกอบแต่ ส่วนประกอบแต่ละ ภาพ และส่ือให้ผู้อื่นเข้าใจ ภาพ และส่ือใหผ้ ู้อนื่ เข้าใจ ละส่วนของดอกของ ส่วนของดอกของ หน้าท่ีของดอกได้อย่าง หน้าท่ีของดอกได้อย่าง พืชมาวาดภาพ และ พื ช ม า ว า ด ภ า พ ถูกตอ้ ง ได้ด้วยตนเอง ถูกต้อง จากการชี้แนะ ส่ื อ ใ ห้ ผู้ อ่ื น เ ข้ า ใ จ แ ล ะ สื่ อ ใ ห้ ผู้ อื่ น ของครูหรอื ผอู้ นื่ ห น้ า ท่ี ข อ ง ด อ ก ไ ด้ เ ข้ า ใ จ ห น้ า ที่ ข อ ง อย่างถูกต้อง จาก ดอก ก า ร ช้ี แ น ะ ข อ ง ค รู หรอื ผ้อู นื่ แม้ว่าจะได้ รับคาช้ีแนะจากครู หรอื ผอู้ น่ื สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

219 คูม่ ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 2 สิ่งมีชวี ิต ทกั ษะกระบวนการ รายการประเมิน ระดบั ความสามารถ ทางวิทยาศาสตร์ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรงุ (1) S8 การลงความเห็น ลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก ไ ม่ ส า ม า ร ถ ล ง จากขอ้ มูล ข้ อ มู ล ว่ า ด อ ก มี ข้ อ มู ล ไ ด้ ว่ า ด อ ก มี ข้ อ มู ล ไ ด้ ว่ า ด อ ก มี ความเห็นจากข้อมูล ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ 4 ส่วนประกอบ 4 ส่วน แต่ ส่วนประกอบ 4 ส่วน แต่ ไ ด้ ว่ า ด อ ก มี ส่วน แต่ละส่วนทา ละส่วนทาหน้าที่แตกต่าง ละส่วนทาหน้าที่แตกต่าง ส่วนประกอบ 4 ส่วน หนา้ ท่แี ตกตา่ งกนั กันได้อย่างถูกต้องและ กันได้อย่างถูกต้องและ แต่ละส่วนทาหน้าที่ ชดั เจน ไดด้ ว้ ยตนเอง ชัดเจน จากการช้ีแนะ แตกตา่ งกัน แม้ว่าจะ ของครหู รือผูอ้ น่ื ได้รับคาช้ีแนะจาก ครหู รอื ผู้อ่นื S13 การตคี วามหมาย ตีความหมายข้อมูล สาม ารถ ตีคว ามห มา ย สามารถตีความหมาย ไ ม่ ส า ม า ร ถ ขอ้ มูลและลงข้อสรุป จากการสังเกตและ ข้อมูลจากการสังเกตและ ข้อมูลจากการสังเกตและ ตีความหมายข้อมูล การอ่านใบความรู้ การอ่านใบความรู้ได้ว่า การอ่านใบความรู้ได้ว่า จากการสังเกตและ ได้ว่าดอกของพืชมี ด อ ก ข อ ง พื ช มี ด อ ก ข อ ง พื ช มี การอ่านใบความรู้ได้ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ 4 ส่วนประกอบ 4 ส่วน คือ ส่วนประกอบ 4 ส่วน คือ ว่ า ด อ ก ข อ ง พื ช มี สว่ น และลงข้อสรุป กลีบเล้ียง กลีบดอก เกสร กลีบเล้ียง กลีบดอก เกสร สว่ นประกอบ 4 สว่ น เกี่ยวกับหน้าที่ของ เพศผู้ และเกสรเพศเมีย เพศผู้ และเกสรเพศเมีย คือ กลีบเลี้ยง กลีบ ดอก และลงข้อสรุปได้ว่าแต่ละ และลงข้อสรุปได้ว่าแต่ละ ด อ ก เ ก ส ร เ พ ศ ผู้ ส่วนมีหน้าท่ีแตกต่างกัน ส่วนมีหน้าท่ีแตกต่างกัน และเกสรเพศเมีย แต่จะทาหน้าท่ีร่วมกันใน แต่จะทาหน้าท่ีร่วมกันใน และไม่สามารถลง การสืบพันธุ์ของพืชดอก การสืบพันธ์ุของพืชดอก ข้อสรุปได้ว่าแต่ละ ไดด้ ้วยตนเอง จากการช้ีแนะของครูหรือ ส่วนมีหน้าท่ีแตกต่าง ผ้อู ื่น กัน แต่จะทาหน้าท่ี ร่ ว ม กั น ใ น ก า ร สืบพันธ์ุของพืชดอก แม้ ว่ า จ ะ ไ ด้ รั บ ค า ชี้ แ น ะ จ า ก ค รู ห รื อ ผู้อืน่  สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยที่ 2 ส่งิ มีชีวิต 220 ตาราง แสดงการวิเคราะห์ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ตามระดับความสามารถของนกั เรยี น โดยอาจใช้เกณฑก์ ารประเมิน ดังนี้ ทักษะแห่ง รายการประเมิน ระดับความสามารถ ศตวรรษที่ 21 C4 การสือ่ สาร นาเสนอข้อมลู จาก ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรงุ (1) การอภปิ ราย สามารถนาเสนอข้อมลู เก่ยี วกับหน้าท่ีของ จากการอภิปรายเก่ยี วกับ สามารถนาเสนอข้อมูลจาก ไม่สามารถนาเสนอข้อมูล ดอก หน้าท่ีของดอกได้อยา่ ง ถูกต้อง ได้ดว้ ยตนเอง การอภิปรายเกี่ยวกับหน้าที่ จากการอภิปรายเก่ียวกับ ของดอกได้อย่างถูกต้อง จาก หน้าท่ีของดอกได้ แม้ว่า การชีแ้ นะของครหู รือผู้อื่น จะได้รับคาชี้แนะจากครู หรือผอู้ ื่น C5 ความร่วมมือ ทางานร่วมกับผู้อ่ืน สามารถทางานร่วมกับ สามารถทางานร่วมกับผู้อ่ืนใน ไมส่ ามารถทางานร่วมกับ ในการสังเกต การ ผู้อ่ืนในการสังเกต การ การสังเกต การนาเสนอ และ ผู้อื่นได้ตลอดเวลาที่ทา นาเสนอ และการ นาเสนอ และการแสดง การแสดงความคิดเห็นเพ่ือ กจิ กรรม แสดงความคิดเห็น ความคิดเห็นเพื่อบรรยาย บรรยายลักษณะและหน้าท่ี เ พื่ อ บ ร ร ย า ย ลักษณะและหน้าที่ของ ของดอก รวมท้ังยอมรับความ ลักษณะและหน้าที่ ดอก รวมทั้งยอมรับความ คิดเห็นของผู้อื่น บางช่วงเวลา ของดอก รวมท้ัง คิดเห็นของผู้อ่ืน ตั้งแต่ ที่ทากิจกรรม ย อ ม รั บ ค ว า ม เรมิ่ ตน้ จนสาเร็จ คิดเหน็ ของผอู้ นื่ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

221 คมู่ อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 2 สง่ิ มีชีวติ กจิ กรรมทา้ ยบทที่ 2 ส่วนตา่ ง ๆ ของพชื ดอก (1 ชว่ั โมง) 1. นักเรยี นวาดรูปหรอื เขยี นสรุปส่งิ ทไี่ ดเ้ รยี นรจู้ ากบทน้ี ในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 83 2. นักเรียนตรวจสอบการสรุปสิ่งท่ีได้เรียนรู้ของตนเองโดยเปรียบเทียบกับผัง มโนทัศน์ในหวั ข้อ ร้อู ะไรในบทนี้ ในหนงั สอื เรียน หนา้ 97 3. นักเรียนกลบั ไปตรวจสอบคาตอบของตนเองในสารวจความรู้ก่อนเรียน ใน แบบบนั ทกึ กิจกรรม หนา้ 66 อกี ครงั้ ถ้าคาตอบของนักเรียนไม่ถูกต้องให้ขีด เส้นทับข้อความเหล่านั้น แล้วแก้ไขให้ถูกต้อง หรืออาจแก้ไขคาตอบด้วย ปากกาที่มีสีต่างจากเดิม นอกจากน้ีครูอาจนาคาถามในรูปนาบทในหนังสือ เรยี น หน้า 78 มาร่วมกันอภิปรายคาตอบกับนักเรียนอีกคร้ัง ดังน้ี “จากรูป นาบทส่วนต่าง ๆ ของพืช ทาหน้าที่อะไรบ้าง” ครูและนักเรียนร่วมกัน อภปิ รายแนวทางการตอบคาถาม เช่น จากรูปต้นไฮเดรนเยียมีดอก ดอกทา หน้าที่สืบพันธุ์ ส่วนใบของพืชทุกชนิดมีหน้าท่ีสร้างอาหาร ลาต้นมีหน้าท่ี ลาเลียงนา้ ธาตุอาหาร 4. นักเรียนทา แบบฝึกหัดท้ายบทท่ี 2 ส่วนต่าง ๆ ของพืชดอก โดยนาเสนอ คาตอบหน้าช้ันเรียน ถ้าคาตอบยังไม่ถูกต้อง ให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย หรอื ให้สถานการณเ์ พิม่ เตมิ เพ่อื แก้ไขแนวคิดคลาดเคล่อื นให้ถกู ต้อง 5. นักเรียนร่วมกันทากิจกรรม ร่วมคิดร่วมทา โดยให้นักเรียนออกแบบเพ่ือ ศกึ ษาว่าใบพชื ทม่ี สี อี ื่นๆ นอกจากสเี ขียวมีการสรา้ งอาหารหรือไม่ 6. นักเรียนทาแบบทดสอบท้ายเล่ม เพื่อเป็นการประเมินการเรียนรู้ของ นักเรียนตลอดภาคเรียน หากนักเรียนยังมีแนวคิดคลาดเคล่ือน ครูและ นักเรียนอาจรว่ มกนั อภปิ รายคาตอบเพอ่ื ช่วยใหน้ กั เรยี นมแี นวคดิ ทถ่ี ูกต้อง  สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 2 สง่ิ มชี ีวิต 222 สรปุ ผลการเรยี นรขู้ องตนเอง รปู หรือข้อความสรุปสิ่งทไี่ ด้เรียนร้จู ากบทนต้ี ามความเข้าใจของนักเรียน สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

223 คมู่ ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยที่ 2 ส่งิ มีชวี ติ แนวคาตอบในแบบฝึกหัดท้ายบท ข้อ ค. เพราะใบที่มีสเี ขียวและไดร้ ับแสงจะมีการสงั เคราะห์ดว้ ยแสง ดังน้นั ส่วนของใบท่ี มกี ระดาษสีดาปิดไวไ้ มไ่ ดร้ บั แสงจงึ ไมม่ ีการสังเคราะห์ดว้ ยแสงเกิดข้ึน  สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 2 สง่ิ มชี ีวิต 224 ส่วนราก ลาต้น และใบทีเ่ หลืออยู่ทาหน้าท่ีร่วมกนั เพ่ือการเจรญิ เตบิ โต โดยรากจะดูดนา้ ลาเลยี งไปยังลาตน้ และลาต้นจะลาเลยี งไปยังใบ ใบทมี่ ีสีเขียวจะใชน้ ้า แสง แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ ในการสร้างอาหารโดยการสังเคราะห์ด้วยแสง ไดเ้ ป็นน้าตาล สาหรับใช้ในการดารงชีวติ ต้นผักชีจึงมีการเจริญเติบโตต่อได้ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

225 คมู่ ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยที่ 2 ส่ิงมีชวี ิต นักเรียนออกแบบการทดลองตามแนวทางของตนเอง เช่น นาใบพชื ท่ี มหี ลายสี หรือใบพืชทด่ี า่ งขาว มาต้มและสกัดคลอโรฟิลล์ออกด้วย แอลกอฮอล์ และทดสอบแป้งดว้ ยสารละลายไอโอดีน  สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี



คู่มือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 3 แรงและพลังงาน 226 หนว่ ยท่ี 3 แรงและพลงั งาน ภาพรวมการจัดการเรยี นรู้ประจาหน่วยท่ี 3 แรงและพลังงาน บท เรือ่ ง กิจกรรม ลาดบั การจดั การเรียนรู้ ตัวชว้ี ัด บทท่ี 1 มวลและ เรื่องที่ 1 มวลและแรงโนม้ กจิ กรรมท่ี 1.1 วัตถุ  มวลเป็นปรมิ าณเนือของ ว 2.2 นาหนกั ถว่ งของโลก เคลื่อนท่ีอยา่ งไรเมื่อถูก ปล่อยจากมือ สสารทังหมดที่ประกอบกัน เป็นวัตถุ มวลของวตั ถจุ ะคงตัว ป.4/1 ระบุผลของ แรงโนม้ ถ่วงทม่ี ตี ่อ ไมเ่ ปล่ียนแปลง  โลกมแี รงดงึ ดดู มวลของ วตั ถจุ ากหลกั ฐาน วัตถุ ทาใหว้ ัตถุตกสู่พืน เชงิ ประจักษ์  แรงท่ีโลกดงึ ดูดหรือแรง ป.4/2 ใชเ้ ครอ่ื งช่งั โน้มถ่วงทาให้วัตถมุ ีนาหนกั สปริงในการวดั นาหนักของวตั ถุ  นาหนกั ของวตั ถวุ ัดได้โดย ใชเ้ คร่อื งชัง่ สปริง กิจกรรมที่ 1.2 มวลและ  มวลและนาหนกั เกี่ยวขอ้ ง ป.4/3 บรรยาย สัมพนั ธก์ นั วัตถุท่ีมมี วลมากจะ มวลของวตั ถุทมี่ ี นาหนกั สมั พนั ธ์กัน มีนาหนักมากกวา่ วตั ถุทีม่ ีมวล นอ้ ย อย่างไร ผลตอ่ การ กิจกรรมท่ี 1.3 มวลมีผล  มวลของวัตถุมผี ลตอ่ การ เปลย่ี นแปลงการ ต่อการเปลี่ยนแปลงการ เปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของ เคล่อื นที่ของวัตถุ เคลอื่ นท่ีของวัตถอุ ย่างไร วตั ถนุ ัน วัตถทุ ่มี ีมวลมากจะ จากหลกั ฐานเชิง เปลยี่ นแปลงการเคลื่อนที่ได้ ประจกั ษ์ ยากกวา่ วัตถทุ ่ีมมี วลน้อย รว่ มคิด ร่วมทา สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

227 ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 3 แรงและพลงั งาน บท เร่ือง กจิ กรรม ลาดับการจดั การเรียนรู้ ตวั ชวี้ ดั บทที่ 2 ตวั กลางของ เร่ืองที่ 1 การมองเห็นสิ่ง กจิ กรรมที่ 1 ลกั ษณะ  เมื่อมองส่ิงต่าง ๆ โดยมี ว 2.3 แสง ต่างๆ ผา่ นวัตถทุ ่ีนามากัน การมองเห็นตา่ งกนั วตั ถตุ า่ งชนิดกนั มากัน จะทา อย่างไรเมื่อมีวตั ถุมา กนั แสง ให้ลักษณะการมองเห็นสิ่ง ป.4/1 จาแนกวัตถุ นันๆ แตกต่างกัน เป็นตัวกลางโปร่งใส  จาแนกวัตถุท่ีใช้กันแสง ตัวกลางโปร่งแสง ต า ม เ ก ณ ฑ์ ลั กษ ณ ะ ก า ร มองเห็นได้ 3 ประเภท คือ แ ล ะ วัต ถุทึบ แ ส ง ตัวกลางโปร่งใส ตัวกลาง จากลั กษณ ะกา ร โปร่งแสง และวตั ถทุ บึ แสง มองเห็นส่ิงต่าง ๆ ผ่ า น วัต ถุนัน เ ป็ น เ ก ณ ฑ์ โ ด ย ใ ช้ ห ลั ก ฐ า น เ ชิ ง ประจกั ษ์ รว่ มคิด ร่วมทา  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 3 แรงและพลงั งาน 228 บทที่ 1 มวลและนา้ หนัก จุดประสงค์การเรยี นรู้ประจาบท บทน้มี อี ะไร เมื่อเรยี นจบบทนี นักเรยี นสามารถ เรอ่ื งที่ 1 มวลและแรงโน้มถว่ งของโลก คาสาคัญ มวล (mass) 1. บอกความหมายและระบคุ วามแตกตา่ งระหวา่ ง มวลและนาหนกั แรงโนม้ ถ่วง (gravitational force) นาหนัก (weight) 2. ระบผุ ลของแรงโนม้ ถ่วงที่มีตอ่ วัตถุ กจิ กรรมที่ 1.1 วัตถเุ คล่ือนที่อย่างไรเม่ือถูกปล่อยจากมือ 3. วัดนาหนกั ของวัตถโุ ดยใชเ้ ครื่องชั่งสปรงิ 4. บอกความสมั พันธร์ ะหวา่ งมวลและนาหนัก กิจกรรมที่ 1.2 มวลและนาหนกั สัมพนั ธก์ นั อย่างไร 5. บรรยายมวลกบั การเปลีย่ นแปลงการเคล่ือนที่ กิจกรรมท่ี 1.3 มวลมผี ลตอ่ การเปลย่ี นแปลงการเคล่ือนท่ี ของวตั ถุ ของวัตถุอย่างไร แนวคิดสาคัญ มวลและนาหนักแตกต่างกัน โดยมวลเป็นเนือ ของวัตถุทังหมดหรือเป็นการต้านการเปลี่ยนแปลงการ เคลื่อนที่ของวัตถุ แต่นาหนักคือ แรงโน้มถ่วงของโลกท่ี ก ร ะ ท า ต่ อ ม ว ล ข อ ง วั ต ถุ แ ล ะ ท า ใ ห้ วั ต ถุ ต ก สู่ พื น โ ล ก วัดนาหนกั ได้โดยใช้เครื่องชงั่ สปรงิ ส่ือการเรยี นรู้และแหลง่ เรียนรู้ 1. หนังสือเรยี น ป.4 เลม่ 1 หนา้ 103-121 2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.4 เลม่ 1 หน้า 89-109 3. วีดทิ ศั น์เกยี่ วกับการใชช้ ีวติ ในสถานีอวกาศของ นักบินอวกาศจาก YouTube สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

229 คูม่ อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยที่ 3 แรงและพลงั งาน ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 รหัส ทกั ษะ กิจกรรมท่ี 1.1 1.2 1.3 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S1 การสังเกต  S2 การวัด  S3 การใช้จานวน S4 การจาแนกประเภท S5 การหาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง  สเปซกับสเปซ  สเปซกับเวลา S6 การจัดกระทาและส่อื ความหมายข้อมลู   S7 การพยากรณ์  S8 การลงความเห็นจากข้อมลู  S9 การตังสมมติฐาน S10 การกาหนดนยิ ามเชงิ ปฏิบตั กิ าร S11 การกาหนดและควบคุมตวั แปร S12 การทดลอง S13 การตีความหมายข้อมลู และลงข้อสรุป  S14 การสรา้ งแบบจาลอง ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 C1 การสรา้ งสรรค์ C2 การคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ C3 การแก้ปัญหา C4 การส่ือสาร  C5 ความรว่ มมือ  C6 การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร  สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 3 แรงและพลงั งาน 230 แนวคิดคลาดเคล่อื น ครบู นั ทกึ แนวคิดที่ไดจ้ ากการฟังการสนทนาและการอภิปราย เพ่อื นาไปใช้ในการจดั การเรียนรู้ให้สามารถแก้ไขแนวคิด คลาดเคลอื่ นและต่อยอดแนวคดิ ท่ีถูกตอ้ ง แนวคิดคลาดเคลอื่ น แนวคดิ ท่ถี กู ต้อง มวลและนาหนกั คือสิง่ เดยี วกัน มหี นว่ ยเดยี วกันคือกิโลกรัม มวลและนาหนักแตกต่างกัน มวลเปน็ ปรมิ าณเนือทงั หมดของ (Gonen, 2018; Stamenkovski and Zajkov, 2014) วัตถุ สว่ นนาหนกั เปน็ แรงดงึ ดูดหรอื แรงโนม้ ถว่ งของโลกทีก่ ระทา ต่อวตั ถุ มวลมีหนว่ ยเปน็ กรมั หรอื กิโลกรมั สว่ นนาหนักมีหน่วย เปน็ นิวตัน สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

231 คมู่ อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 3 แรงและพลังงาน บทนเ้ี รม่ิ ต้นอย่างไร (0.5 ช่ัวโมง) ค รู รั บ ฟั ง เ ห ตุ ผ ล ข อ ง นักเรียนเป็นสาคัญ ครูยังไม่ 1. ครนู าเขา้ สบู่ ทเรียนโดยให้นักเรยี นชมวีดทิ ศั น์เก่ียวกับการใช้ชวี ิต เฉลยคาตอบใด ๆ แต่ชักชวนให้ ของนักบินอวกาศในสถานีอวกาศเพือ่ ใหเ้ ห็นการทากจิ กรรมต่าง ๆ หาคาตอบที่ถูกต้องจากกิจกรรม ในสภาพไร้แรงดึงดดู ของโลก จากนนั ครูนาอภิปรายเพ่ือกระตุ้น ตา่ ง ๆ ในบทเรยี นี ความสนใจ โดยอาจใช้คาถามดงั นี 1.1 วีดิทัศน์นาเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับอะไร (นักเรียนตอบตาม ความเขา้ ใจ เช่น การใช้ชวี ิตของนกั บินอวกาศในสถานอี วกาศ) 1.2 นักเรียนเคยใฝ่ฝันเป็นนักบินอว กาศหรือไม่ ถ้าเคย เพราะเหตุใด (นกั เรียนตอบตามความเขา้ ใจของตนเอง) 1.3 นักบนิ อวกาศมีการเคลอื่ นท่เี หมอื นหรือแตกต่างจากนักเรียนที่ อยู่บนโลกหรือไม่ อย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของ ตนเอง เช่น เคลื่อนที่ไม่เหมือนกัน โดยนักบินอวกาศ ลอยไป มาในอวกาศได้) 2. ครชู ักชวนใหน้ ักเรยี นศกึ ษาเกี่ยวกบั มวลและแรงโน้มถว่ ง โดยให้ นักเรยี นเปดิ หนงั สอื เรยี นหน้า 103 แล้วเร่มิ อ่านชอ่ื หนว่ ย ชอื่ บท และจดุ ประสงคก์ ารเรียนร้ปู ระจาบท จากนนั ครซู ักถามวา่ เมือ่ จบ บทเรียนนี นักเรียนจะสามารถทาอะไรไดบ้ า้ ง (บอกความหมายและ ความแตกตา่ งระหว่างมวลและนาหนกั ระบผุ ลของแรงโน้มถว่ งทีม่ ี ต่อวัตถุ ใช้เครอื่ งชัง่ สปรงิ วัดนาหนักของวัตถุ พรอ้ มทังบอก ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งมวลและนาหนัก และบรรยายมวลกับการ เปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวตั ถุ) 3. ครูใหน้ กั เรียนเปดิ หนังสือเรียนหนา้ 104 อ่านชอ่ื บท และแนวคดิ สาคัญ จากนันครูซกั ถามว่าในบทนจี ะเรยี นเร่ืองอะไรบา้ ง (ในเร่อื งนี จะไดเ้ รยี นเรื่องมวล นาหนกั แรงโน้มถ่วงของโลก และการวดั นาหนัก ของวตั ถโุ ดยใชเ้ ครอื่ งช่ังสปริง) 4. นกั เรียนอา่ นเนือเรื่องในหนงั สือเรียนหน้า 2 ครอู าจใช้วิธีฝกึ การอา่ นที่ เหมาะสมกับนกั เรียน จากนันตอบคาถามเพอื่ ตรวจสอบความรู้เดิม ของนักเรยี นโดยใหน้ กั เรยี นรว่ มกันอภปิ ราย ดงั นี 4.1 นกั บินอวกาศอยู่ทีใ่ ด (นอกยานอวกาศ ทีล่ อยอยู่ในอวกาศ นอกโลก)  สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 3 แรงและพลงั งาน 232 4.2 นักบินอวกาศทาภารกจิ อะไร (กาลงั ซ่อมยานอวกาศหรอื ซ่อม การเตรียมตัวล่วงหนา้ สาหรบั ครู อปุ กรณ์ในอวกาศ) เพ่ือจัดการเรยี นรูใ้ นครงั้ ถัดไป 4.3 นกั บนิ อวกาศมีการเคลื่อนท่เี หมือนอยู่บนโลกหรอื ไม่ อยา่ งไร ในครังถัดไป นักเรียนจะได้อ่าน (ไมเ่ หมือนกัน ในอวกาศนกั บินอวกาศลอยไปมาได้อยา่ งสะดวก เร่ืองท่ี 1 มวลและแรงโน้มถ่วงของโลก ครูควรเตรียมวัตถุหลาย ๆ ประเภท เช่น 4.4 จากเรือ่ งท่ีอา่ น มีคาถามเกยี่ วกบั เรอ่ื งอะไรบ้างที่นักเรียนจะได้ หนังสือเรียน แปรงลบกระดาน หรือวัตถุ เรยี นรู้ในบทนี (มวล นาหนัก การลอยในอวกาศของนกั บนิ อื่น ๆ ที่หาได้ง่าย และเป็นสิ่งที่นักเรียน อวกาศ) พบเห็นได้ท่ัวไปในชีวิตประจาวัน สาหรับ ใช้เป็นส่ือการเรียนรู้เพ่ือแสดงให้เห็น 5. ครูชักชวนนกั เรียนตอบคาถามในสารวจความรู้ก่อนเรียน เก่ียวกับ แรงดึงดูดของโลกท่ีกระทาต่อมวลของ มวลและนาหนกั ของนักบินอวกาศเม่อื อยู่บนโลกและอยใู่ นอวกาศ วตั ถทุ ี่ทาให้วตั ถตุ กลงสพู่ นื 6. ครูให้นักเรียนทาสารวจความรู้ก่อนเรียนในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 90 โดยอา่ น ชอื่ หนว่ ย ช่อื บท 7. ครใู ห้นักเรียนอา่ นคาถาม และครูตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน เกี่ยวกับคาถามแต่ละข้อ จนแน่ใจว่านักเรียนสามารถทาได้ด้วย ตนเอง จึงให้นักเรียนตอบคาถามตามความเข้าใจของตนเอง ซึ่ง คาตอบของแต่ละคนอาจแตกต่างกัน และคาตอบอาจตอบถูกหรือ ผิดก็ได้ 8. ครูสังเกตการตอบคาถามของนักเรียนเพื่อตรวจสอบว่านักเรียนมี แนวคิดเกี่ยวกับมวลและนาหนักอย่างไรบ้าง ครูอาจสุ่มให้นักเรียน 2-3 คน นาเสนอคาตอบของตนเองในแต่ละข้อ โดยครูยังไม่ต้อง เฉลยคาตอบท่ีถูกต้อง แต่จะให้นักเรียนย้อนกลับมาตรวจสอบ อีกครังหลังเรียนจบบทนีแล้ว และครูอาจบันทึกแนวคิด คลาดเคลือ่ นหรอื แนวคิดท่ีนา่ สนใจของนักเรียน แล้วนามาออกแบบ การจัดการเรียนการสอนเพื่อแก้ไขแนวคิดคลาดเคลื่อนให้ถูกต้อง และตอ่ ยอดแนวคิดท่นี า่ สนใจของนักเรียน สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

233 คมู่ อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 3 แรงและพลังงาน แนวคาตอบในแบบบนั ทกึ กจิ กรรม การสารวจความร้กู ่อนเรยี น นกั เรียนอาจตอบคาถามถกู หรือผดิ ก็ไดข้ ึนอยู่กบั ความรเู้ ดิมของนักเรียน แตเ่ มื่อเรยี นจบบทเรียนแล้ว ใหน้ ักเรียนกลบั มาตรวจสอบคาตอบอกี ครังและแก้ไขให้ถูกต้อง ดังตวั อย่าง  มวลเป็นปริมาณเนอ้ื ของสสาร ในอวกาศ นักบินอวกาศกย็ ังคงมีปริมาณ ทั้งหมดท่รี วมกนั เปน็ ตัวนักบิน เน้ือของสสารทรี่ วมกนั เปน็ อวกาศ ตัวนักบินอวกาศเชน่ เดมิ  เมอ่ื อยูบ่ นโลก มีแรงโน้มถว่ งของ ในอวกาศ ไมม่ แี รงโน้มถ่วงของโลก โลกกระทาต่อตัวนกั บินอวกาศ ทกี่ ระทาตอ่ ตัวนักบินอวกาศ จึงทา ใหไ้ ม่มีนา้ หนัก มวลและนา้ หนักแตกต่างกัน มวลเป็นปริมาณเน้อื ของสสารทง้ั หมดท่ีประกอบกนั เป็นวัตถุ ส่วนน้าหนกั เปน็ แรงโน้มถว่ งของโลกทีก่ ระทาต่อมวลของวัตถุ มวลของ วัตถจุ ะเทา่ เดิมถา้ ไม่มีส่วนใดสว่ นหน่ึงของวตั ถหุ ายไปหรือเพม่ิ ข้นึ มา แตน่ า้ หนกั ของ วัตถเุ ปล่ียนแปลงได้ตามคา่ แรงโน้มถ่วงของโลก มวลมีหนว่ ยเป็นกรัมหรอื กิโลกรัม สว่ นนา้ หนกั มหี น่วยเป็นนวิ ตัน  สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 3 แรงและพลงั งาน 234 เร่ืองที่ 1 มวลและแรงโนม้ ถว่ งของโลก ในเรอื่ งนนี ักเรยี นจะไดเ้ รยี นรู้เกย่ี วกบั ความแตกต่าง ระหวา่ งมวลและนาหนักของวตั ถุ ผลของแรงโน้มถ่วง ของโลกที่กระทาต่อมวลของวตั ถุ รวมทังบอกความ สมั พนั ธร์ ะหวา่ งมวลและนาหนกั ตลอดจนเรียนรวู้ ธิ วี ัด นาหนกั ของวตั ถุ โดยใชเ้ คร่อื งช่งั สปริง และเรยี นรู้ เก่ยี วกับมวลมผี ลตอ่ การเปล่ียนแปลงการเคล่ือนท่ีของ วัตถุ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ วสั ดุ อุปกรณส์ าหรับทากจิ กรรม 1. บอกความหมายและระบุความแตกต่างระหว่างมวล ดินนามัน แท่งไม้ ใบไม้ ลูกบอล ฟองนา เมล็ดถั่ว และนาหนกั ถุงทราย 500 กรัม เคร่ืองช่ังสปริง เชือกฟาง ทราย คานไม้ ขวดนาพลาสตกิ 2. สังเกตและอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุเม่ือปล่อย วัตถจุ ากมอื สื่อการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ 3. สังเกตและบอกความสัมพันธ์ระหว่างมวลและ 1. หนงั สือเรยี น ป.4 เลม่ 1 หนา้ 106-118 นาหนกั ของวตั ถุ 2. แบบบันทกึ กิจกรรม ป.1 เลม่ 1 หน้า 91-105 4. ใช้เครื่องช่ังสปรงิ เพื่อวัดนาหนกั ของวัตถุ 5. สังเกตและบรรยายมวลกับการเปลี่ยนแปลงการ เคล่ือนทีข่ องวตั ถุ เวลา 7 ชัว่ โมง สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

235 คมู่ อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 3 แรงและพลังงาน แนวการจดั การเรียนรู้ (60 นาท)ี ขน้ั ตรวจสอบความรู้ (10 นาท)ี 1. ครูนาวัตถุต่าง ๆ เช่น หนังสือเรียน แปรงลบกระดานมาให้นักเรียน ในการตรวจสอบความรู้ ครู พิจารณา แล้วซกั ถามดงั นี เพียงรับฟังเหตุผลของนักเรียนและ 1.1 นักเรียนรู้จักคาว่ามวลหรือไม่ (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของ ยังไม่เฉลยคาตอบใด ๆ แต่ชักชวน ตนเอง) ให้นักเรียนไปหาคาตอบด้วยตนเอง 1.2 มวลของหนังสือ หรือแปรงลบกระดานคือส่วนใด (นักเรียนตอบ จากการอา่ นเนอื เรอ่ื ง ตามความเข้าใจของตนเอง เชน่ มวลของหนังสือคือกระดาษทังหมด ทร่ี วมเปน็ หนังสอื เล่มนนั ) 1.3 มวลกบั นาหนักเหมือนหรือตา่ งกัน อย่างไร (นักเรียนตอบตามความ เข้าใจของตนเอง เช่น มวลและนาหนักไม่แตกต่างกัน มวลมาก นาหนักจะมาก) ขั้นฝกึ ทักษะจากการอ่าน (35 นาท)ี 2. ครูให้นักเรียนอ่านช่ือเร่ือง และคาถามในคิดก่อนอ่าน ในหนังสือเรียน หน้า 106 แล้วร่วมกันอภิปรายในกลุ่มเพ่ือหาแนวคาตอบ ครูบันทึก คาตอบของนักเรียนบนกระดานเพือ่ ใช้เปรียบเทียบคาตอบภายหลังการ อ่านเรอื่ ง 3. นักเรียนอ่านคาในคาสาคัญ ทังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ หาก นักเรียนยังอ่านไม่ได้ ครูควรสอนการอ่านให้ถูกต้อง นักเรียนอธิบาย ความหมายตามความเขา้ ใจ ครชู ักชวนให้นักเรียนหาความหมายของคา ภายหลังจากการอ่านเนอื เร่อื ง 4. ครูชวนนักเรียนอ่านเนือเรื่องทีละย่อหน้าตามวิธีการอ่านท่ีเหมาะสมกับ ความสามารถของนักเรียน ร่วมกันอภิปรายใจความสาคัญตามแนว คาถามดังนี 4.1 เ พ ร า ะ เ ห ตุ ใ ด แ อ ป เ ปิ้ ล จึ ง มี ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ร่ า ง ก า ย (แอปเป้ิลทาให้ร่างกายแข็งแรง ไม่เปน็ โรคไดง้ า่ ย) 4.2 มวลคืออะไร (มวลเป็นปริมาณเนือของสสารทังหมดที่ ประกอบกนั เป็นวตั ถุ) 4.3 สสารที่นักเรียนรู้จักมีอะไรบ้าง (นักเรียนตอบตามความ เข้าใจ)  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 3 แรงและพลงั งาน 236 4.4 สสารมีลักษณะอยา่ งไร (นักเรียนตอบตามความเขา้ ใจ) ครูให้ความรู้เพ่ิมเติมเกี่ยวกับความหมายของสสารว่า สสาร เป็นสิ่งต่าง ๆ ท่ีสามารถจับต้องได้ สัมผัสได้ ต้องการที่อยู่ โดยครู อาจจะทบทวนกิจกรรมทน่ี กั เรียนเคยเรียนมาในชัน ป. 3 เช่น นาหรือ อากาศ เป็นสิ่งที่สามารถสัมผัสได้ มีนาหนัก และต้องการท่ีอยู่ ดังนัน นาและอากาศจงึ เปน็ สสาร 4.5 สสารอ่ืน ๆ รอบตัวนักเรียนมีอะไรอีกบ้าง เพราะเหตุใดจึง เป็นสสาร (นักเรียนตอบได้หลากหลาย เช่น ปากกา หนังสือ โต๊ะ รองเทา้ ตวั นกั เรยี น เปน็ สสาร เพราะสง่ิ ของต่าง ๆ นีจับ ตอ้ งได้ มนี าหนกั ตอ้ งการที่อยู่) 4.6 มวลของแอปเปลิ้ คือสว่ นใดบ้าง (เนือสสารทังหมดท่ีประกอบ กันเป็นผลแอปเปิ้ล ทังเปลือก เนือผล เมลด็ ขวั ผลไม้) 4.7 มวลของตัวนกั เรียนคือส่วนใดบา้ ง (ทุกส่วนที่ประกอบกันเป็น รา่ งกาย ทังเนอื ผม อวัยวะภายใน เลบ็ ฯลฯ) 4.8 มวลมีหนว่ ยอะไร (มวลมีหน่วยกรัมหรือกโิ ลกรัม) 4.9 เมอื่ ย้ายตาแหนง่ ท่ีอย่ขู องวตั ถุ มวลของวัตถเุ ปล่ยี นแปลง หรือไม่ อยา่ งไร (ไม่เปลยี่ นแปลง มวลของวัตถุมีค่าเท่าเดิมไม่ ว่าจะอยู่ท่ีใดบนโลกหรอื นอกโลก) 4.10มวลของวัตถุจะเปลี่ยนแปลงได้เม่ือใด (เม่ือมีส่วนใดส่วนหนึ่ง ของวัตถหุ ลดุ หายไปหรือเพิม่ ขึนมา) 4.11นักวิทยาศาสตร์ท่ีค้นพบแรงดึงดูดของโลกคือใคร (เซอร์ ไอแซก นวิ ตนั ) 4.12การค้นพบของนิวตันมีจุดเริ่มต้นจากอะไร (จากการ สังเกตเหน็ ผลแอปเป้หิ ล่นจากตน้ ลงสู่พืน และเกิดข้อสงสัยว่า ทาไมผลแอปเป้ิลจึงตกจากต้นสู่พืนดิน ทาให้นิวตัน ทาการศกึ ษาอย่างต่อเน่ือง) 4.13วัตถมุ ีนาหนักได้อยา่ งไร (แรงโน้มถ่วงของโลกกระทาต่อวัตถ)ุ 4.14นาหนักของวตั ถุมีหนว่ ยอะไร (นิวตนั ) สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

237 คมู่ อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 3 แรงและพลังงาน ขัน้ สรุปจากการอ่าน (15 นาที) 5. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายจนได้ข้อสรุปจากการอ่านว่า มวลเป็น การเตรยี มตวั ล่วงหน้าสาหรับครู ปริมาณเนือของสสารที่ประกอบกันเป็นวัตถุ มวลมีหน่วยกรัมหรือ เพ่อื จัดการเรยี นรใู้ นครงั้ ถดั ไป กิโลกรัม เซอร์ไอแซก นิวตัน เป็นนักวิทยาศาสตร์ท่ีตังข้อสงสัยจากการ สังเกตผลแอปเปิ้ล แล้วศึกษาอย่างต่อเน่ืองจนค้นพบว่าโลกมีแรงดึงดูด ในครังถัดไป นักเรียนจะได้ทา หรือแรงโน้มถ่วงซึ่งกระทาต่อมวลของวัตถุ ทาให้วัตถุมีนาหนักและ กิจกรรมท่ี 1.1 วัตถุเคลื่อนท่ีอย่างไรเมื่อ นาหนักมีหนว่ ยนิวตัน ถูกปลอ่ ยจากมอื โดยนกั เรียนจะได้สังเกต เส้นทางการเคล่ือนท่ีของวัตถุชนิดต่าง ๆ 6. ครูให้นักเรียนตอบคาถามใน รู้หรอื ยัง ในแบบบนั ทึกกิจกรรม หนา้ 9 เม่อื ถูกปล่อยจากมอื ตังแต่เร่ิมเคลื่อนที่จน 7. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั อภิปรายเพ่ือเปรียบเทียบคาตอบของนักเรียนใน หยุดน่ิง ครูจะต้องเตรียมวัตถุต่าง ๆ ล่วงหน้า คือ ดินนามัน ฟองนา แท่งไม้ รู้หรือยังกับคาตอบที่เคยตอบในคิดก่อนอ่าน ซ่ึงครูบันทึกไว้บน ใบไม้ ลูกบอล เมล็ดถั่ว หรืออุปกรณ์อ่ืนๆ กระดาน เพื่อให้นักเรียนสังเกตการเคลื่อนท่ีของ 8. ครูชกั ชวนนักเรยี นลองตอบคาถามท้ายเรื่องท่ีอ่าน ดงั นี วัตถเุ หล่านนั 8.1 แรงโนม้ ถ่วงของโลกมีผลอย่างไรต่อวตั ถอุ ีกบา้ ง 8.2 วัดนาหนักของวตั ถไุ ด้อย่างไร 8.3 มวลและนาหนักสัมพันธ์กันหรือไม่ มวลมีผลต่อการเปลี่ยนแปลง การเคล่ือนที่ของวตั ถุอยา่ งไร ครูบันทึกคาตอบของนักเรียนไว้โดยยังไม่เฉลยคาตอบแต่ชักชวน ให้นกั เรียนไปหาคาตอบรว่ มกันในกิจกรรมท่ีจะทาในครงั ถัดไป  สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 3 แรงและพลงั งาน 238 แนวคาตอบในแบบบันทึกกิจกรรม มวลเป็นปริมาณของเนอ้ื สสารทงั้ หมดทปี่ ระกอบเป็นวตั ถุ วัตถมุ ีน้าหนักเนอ่ื งจากมแี รงดงึ ดดู ของโลกกระทาต่อมวลของวัตถุ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

239 คมู่ อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 3 แรงและพลงั งาน กจิ กรรมท่ี 1.1 วตั ถุเคลือ่ นที่อย่างไรเม่อื ถกู ปลอ่ ยจากมือ กิ จ ก ร ร ม นี นั ก เ รี ย น จ ะ ไ ด้ สั ง เ ก ต เ ส้ น ท า ง ก า ร เคล่ือนที่ของวัตถุต่าง ๆ เม่ือถูกปล่อยจากมือตังแต่เริ่ม เ ค ลื่ อ น ท่ี จ น ห ยุ ด เ พ่ื อ อ ธิ บ า ย ไ ด้ ว่ า มี แ ร ง ดึ ง ดู ด ห รื อ แรงโนม้ ถว่ งของโลกกระทาต่อวตั ถุ ทาใหว้ ัตถุตกลงส่พู ืน เวลา 2 ชวั่ โมง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ สังเกตและอธิบายการเคลื่อนท่ีของวัตถุเมื่อถูกปล่อย จากมือ วัสดุ อุปกรณ์สาหรบั ทากจิ กรรม ส่งิ ที่ครูตอ้ งเตรียม/กลมุ่ 1. ดินนามัน 1 กอ้ น 2. ฟองนา 1 ชิน 3. แทง่ ไม้ 1 อัน 4. ใบไม้ 1 ใบ 5. ลกู บอล 1 ลกู 6. เมลด็ ถ่วั 1 เมล็ด ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ สื่อการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ S1 การสงั เกต 1. หนังสอื เรยี น ป.4 เลม่ 1 หนา้ 108-109 S6 การจดั กระทาและสือ่ ความหมายขอ้ มลู 2. แบบบันทกึ กิจกรรม ป.4 เลม่ 1 หน้า 92-95 S7 การพยากรณ์ 3. ตัวอย่างวีดิทัศน์ปฏิบัติการวิทยาศาสตร์เร่ืองแรงโน้มถ่วง S8 การลงความเหน็ จากขอ้ มูล ของโลกมีผลต่อวตั ถอุ ย่างไร http://ipst.me/8053 ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 C4 การสือ่ สาร C5 ความร่วมมอื  สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 3 แรงและพลังงาน 240 แนวการจัดการเรียนรู้ ค รู รั บ ฟั ง เ ห ตุ ผ ล ข อ ง นักเรียนเป็นสาคัญ ครูยังไม่ 1. ครูทบทวนเก่ียวกับนาหนักของวัตถุโดยอาจใช้คาถามดังนี วัตถุมี เฉลยคาตอบใด ๆ แต่ชักชวนให้ นาหนักได้อย่างไร (นาหนักเกิดจากแรงดึงดูดของโลกกระทาต่อมวล หาคาตอบท่ีถูกต้องจากกิจกรรม ของวตั ถ)ุ ตา่ ง ๆ ในบทเรียนี 2. ครูนาเข้าสู่กิจกรรมโดยการซักถามว่านอกจากแรงดึงดูดของโลกจะทา ให้วัตถุมีนาหนักแล้ว นักเรียนคิดว่าแรงดึงดูดของโลกมีผลอย่างไรต่อ วตั ถุอกี (นกั เรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง) 3. ใหน้ ักเรียนอา่ นชื่อกจิ กรรม และ ทาเปน็ คิดเป็น ในหนังสือเรียน หน้า 108 จากนันตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนเกี่ยวกับ จุดประสงคใ์ นการทากิจกรรม โดยอาจใช้คาถามดงั นี 3.1 กิจกรรมนีนกั เรียนจะได้เรียนเกย่ี วกบั เร่อื งอะไร (การเคล่ือนทขี่ องวัตถตุ ่าง ๆ เมอื่ ปล่อยวัตถจุ ากมือ) 3.2 นักเรียนจะไดเ้ รยี นเร่ืองนดี ้วยวธิ ีใด (การสงั เกต) 3.3 เมื่อเรยี นแลว้ นักเรียนจะทาอะไรได้ (อธิบายการเคล่ือนที่ของวัตถุ ทป่ี ล่อยจากมือได)้ นักเรียนบันทึกจุดประสงคล์ งในแบบบันทึกกจิ กรรม หน้า 92 4. นกั เรียนอา่ นสิง่ ที่ตอ้ งใช้ในการทากิจกรรม หน้า 108 จากนันครูนาวัสดุ อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เตรียมไว้ นามาแสดงให้นักเรียนดูทีละอย่าง พร้อมให้ นักเรียนบอกชื่อวัสดุอุปกรณ์นัน ๆ ทังนีครูยังไม่แจกวัสดุอุปกรณ์ให้ นกั เรียนในช่วงนี 5. นักเรียนอ่าน ทาอย่างไร ทีละข้อ โดยครูอาจใช้วิธีการอ่านท่ีเหมาะสม กบั ความสามารถของนกั เรยี น จากนันครูตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับ ลาดบั ขนั ตอนการทากิจกรรมทลี ะขัน โดยใชค้ าถามเพ่อื ชว่ ยสรปุ ดังนี 5.1 เร่ิมสังเกตแนวการเคล่ือนท่ีของวัตถุต่าง ๆ ตังแต่เมื่อใดถึงเมื่อใด (สังเกตตังแต่เร่ิมปล่อยวัตถุให้หลุดจากมือลงสู่พืนจนวัตถุหยุดการ เคลอ่ื นท)ี่ 5.2 นักเรียนจะบันทึกการสังเกตอย่างไร (บันทึกโดยการวาดลูกศร แสดงเส้นทางการเคล่ือนที่ของวัตถุแต่ละชนิดตังแต่เร่ิมปล่อยวัตถุ จนวัตถุหยุดการเคลื่อนที)่ 5.3 เม่ือบันทึกผลการสังเกตแล้ว นักเรียนต้องทาอะไรต่อไป (ร่วมกัน อภปิ รายเกี่ยวกบั สิง่ ทีท่ าใหว้ ัตถเุ คลือ่ นที่ เม่ือปลอ่ ยวตั ถจุ ากมอื ) สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

241 คูม่ อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 3 แรงและพลงั งาน 6. เมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีทากิจกรรมในทาอย่างไรแล้ว ให้นักเรียนรับวัสดุอุปกรณ์ แล้วเรม่ิ ทากจิ กรรม โดยปฏบิ ัติตามขันตอน ดงั นี 6.1 สังเกตลกั ษณะของวตั ถุตา่ ง ๆ ท่ีใชใ้ นกิจกรรม (S1) 6.2 พยากรณแ์ ละบนั ทึกเส้นทางการเคล่ือนที่ของวัตถุแต่ละชินตังแต่ ปล่อยจากมือจนวตั ถุหยดุ การเคลือ่ นที่ (S7) 6.3 สงั เกตเสน้ ทางการเคล่ือนที่ของวัตถุแต่ละชินตังแต่ปล่อยจากมือ จนหยดุ การเคล่ือนที่ (S1) บนั ทกึ ผล (S6) 6.4 นาเสนอและร่วมกันอภิปรายส่ิงที่เกิดขึน จากนันร่วมกันลง ความเห็นจากข้อมูลท่ีได้จากการทากิจกรรมเกี่ยวกับสิ่งท่ีทาให้ วัตถเุ คลอื่ นที่เม่อื ปลอ่ ยวัตถุจากมอื (S8) (C4,C5) 7.ครูและนักเรยี นรว่ มกนั อภปิ รายผลการทากจิ กรรมโดยอาจใช้คาถามดังนี 7.1 เมือ่ ถอื วัตถุในมอื วัตถุมกี ารเคลอื่ นท่ีหรอื ไม่ (วัตถุไมเ่ คลอ่ื นท่ี) 7.2 เม่ือปล่อยวัตถุจากมือ วัตถุแต่ละชนิดมีการเปลี่ยนแปลงการ เคล่ือนที่หรือไม่ อย่างไร (วัตถุแต่ละชนิดมีการเปลี่ยนแปลงการ เคลื่อนทเี่ หมือนกัน โดยเปล่ียนจากหยุดนิ่งในมือเป็นเคลื่อนที่ลง สูพ่ นื ) 7.3 เม่ือปล่อยวัตถุจากมือ มีแรงกระทาต่อวัตถุหรือไม่ รู้ได้อย่างไร (มี เพราะวัตถุมีการเปล่ียนแปลงการเคลื่อนท่ีได้เมื่อมีแรงมา กระทา) 7.4 เม่ือปล่อยวัตถุจากมือ มีแรงจากมือกระทาต่อวัตถุหรือไม่ (ไม่มี แรงกระทาจากมอื ) 7.5 เมื่อไม่มีแรงท่ีมือกระทาต่อวัตถุ วัตถุเปล่ียนแปลงการเคลื่อนที่ โดยมีแรงอะไรกระทาต่อวัตถุ (มีแรงอื่นท่ีไม่ใช่แรงจากมือ โดย แรงนนั เปน็ แรงโนม้ ถว่ งหรือแรงดึงดดู ของโลกท่ีกระทาตอ่ วัตถุ) 7.6 เสน้ ทางการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุแต่ละชินท่ีถูกปล่อยจากมือแตกต่าง กันหรือไม่ อย่างไร (แตกต่างกันคือ วัตถุบางชนิด เช่น ดินนามัน แท่งไม้ เคลื่อนที่ลงสู่พืนในแนวตรง แต่วัตถุบางชนิด เช่น ใบไม้ เคล่ือนทร่ี อ่ นไปมาขณะตกลงสู่พืน และวตั ถุบางชนิด เช่น ฟองนา เมล็ดถั่ว เม่อื ตกลงสู่พืนจะกระดอนขึนจากพืน แล้วจึงตกลงส่พู ืน) 7.7 วัตถุแต่ละชินหยุดเคล่ือนที่ที่ใด เหมือนกันหรือไม่ อย่างไร (วัตถุ แตล่ ะชินหยดุ การเคลื่อนที่ทีพ่ นื เหมอื นกนั ) 7.8 แรงโน้มถ่วงหรือแรงดึงดูดของโลกกระทาต่อวัตถุในทิศทางใด ร้ไู ด้อยา่ งไร (ทศิ ทางลงสู่พนื เสมอ เพราะวัตถุตกสู่พืนโลกเสมอ)  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 3 แรงและพลงั งาน 242 8. ครูและนักเรียนร่วมกันเชื่อมโยงส่ิงท่ีได้เรียนรู้จากกิจกรรมเพื่อลง ความเห็นว่าวัตถุทุกชนิดเมื่อปล่อยจากมือ จะตกลงสู่พืนเสมอ เน่อื งจากมีแรงดึงดดู ของโลกหรอื แรงโน้มถ่วงกระทาต่อวัตถุ 9. นักเรียนร่วมกันอภิปรายและตอบคาถามใน ฉันรู้อะไร โดยครูอาจ เพิ่มเติมคาถามในการอภิปรายเพ่อื ใหไ้ ด้แนวคาตอบท่ถี ูกตอ้ ง 10.ครูใหน้ ักเรยี นสรุปส่ิงท่ีได้เรียนรู้ในกิจกรรมนี จากนันนักเรียนอ่าน สิ่งที่ ไดเ้ รียนรู้ และเปรยี บเทียบกับข้อสรุปของตนเอง 11. ครูชักชวนนักเรียนตอบคาถามท้ายเรื่องท่ีอ่านซึ่งถามว่านอกจากแรง โน้มถว่ งของโลกจะทาให้วัตถุมีนาหนักแล้ว แรงโน้มถ่วงของโลกยังมีผล ต่อวัตถุอย่างไรบ้าง ซึ่งนักเรียนควรตอบได้ว่าแรงโน้มถ่วงของโลกทาให้ วัตถตุ กลงส่พู ืนโลก 12. ครูให้นักเรียนฝึกตังคาถามเกี่ยวกับเร่ืองที่สงสัยหรืออยากรู้เพิ่มเติมใน อยากรู้อีกว่า จากนันครูสุ่มนักเรียน 2-3 คน ให้นาเสนอคาถามของ ตนเองหน้าชันเรยี น 13. นักเรียนอ่านความรู้เพิ่มเติมเก่ียวกับแรงดึงดูดของโลกในหัวข้อ เกร็ดน่ารู้ จากนนั ครใู หน้ ักเรียนสรุปส่ิงท่ีอ่านเก่ียวกับแรงดึงดูดของโลก ซึง่ เป็นแรงไม่สมั ผัส และค่าของแรงขนึ อยู่กบั ระดบั ความสงู จากพืนโลก 14.ครูนาอภิปรายเพื่อให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 อะไรบ้างและในขันตอน ใดบ้าง จากนนั บันทกึ ในแบบบนั ทึกกิจกรรมหน้า 95 การเตรยี มตวั ล่วงหน้าสาหรบั ครู เพ่อื จัดการเรยี นรู้ในครงั้ ถัดไป ในครังถัดไป นักเรียนจะได้ทากิจกรรมท่ี 1.2 มวลและนาหนักสัมพันธ์กันอย่างไร โดยการใช้เครื่องช่ัง สปริงอ่านค่านาหนักของถุงทราย ทังนีครูต้องเตรียมเครื่องช่ังสปริง และถุงทรายมวล 500 กรัม ถ้าไม่มีถุง ทราย อาจใชว้ ัตถอุ ืน่ ท่ที ราบค่ามวลบรรจุลงในถงุ พลาสตกิ มหี ูหวิ แล้วจงึ นามาแขวนกับขอเกยี่ วของเคร่ืองช่ัง สปรงิ โดยวตั ถุทใี่ ช้จะตอ้ งมนี าหนักไม่เกนิ คา่ สงู สุดทเี่ ครอ่ื งชั่งสปริงอ่านได้ คือ 10 นวิ ตนั นอกจากนีครูเตรียมส่ือการสอนเพิ่มเติมโดยดาวน์โหลดแอพลิเคช่ันสาหรับดูส่ือความเป็นจริงเสริม (Augment Reality) สาหรับใหน้ ักเรียนศกึ ษาในเกรด็ ความรู้ในกจิ กรรมต่อไป สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

243 คมู่ ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยที่ 3 แรงและพลังงาน แนวคาตอบในแบบบันทึกกจิ กรรม สงั เกตและอธิบายการเคลอ่ื นทีข่ องวตั ถุต่างชนิดกัน เม่ือถูกปล่อยจากมือ ขึ้นอย่กู ับความคดิ และเหตุผลของนกั เรียน ขน้ึ อยู่กับความคิดและเหตุผลของนกั เรยี น  สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มือครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 3 แรงและพลังงาน 244 ขน้ึ อยู่กับความคดิ และเหตุผลของนกั เรียน ขน้ึ อยู่กับความคิดและเหตุผลของนกั เรยี น ข้ึนอย่กู ับความคิดและเหตุผลของนกั เรยี น ข้ึนอยูก่ ับความคดิ และเหตุผลของนักเรียน สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

245 คูม่ ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยที่ 3 แรงและพลงั งาน ขณะทวี่ ัตถุอย่ใู นมือ วตั ถไุ ม่มีการเคล่ือนท่ี เมือ่ ปล่อยวัตถจุ ากมอื วัตถทุ ุกชนดิ มกี ารเปลย่ี นแปลงการเคล่ือนทโ่ี ดยเปลยี่ น จากหยดุ นง่ิ ในมือเปน็ เคลื่อนที่ลงสูพ่ ้ืน เมอื่ ปล่อยวัตถจุ ากมือ มแี รงกระทาต่อวัตถุ รไู้ ด้จากวัตถุเปล่ียนแปลง การเคลือ่ นที่จากหยดุ นิง่ เป็นเคลอ่ื นท่ีลงสูพ่ ้ืน แรงทกี่ ระทาตอ่ วัตถุ เป็นแรงโน้มถว่ งของโลก วัตถุแต่ละชนิ้ มเี สน้ ทางการเคลอื่ นท่ีเหมือนหรือต่างกันกไ็ ด้ เชน่ ดนิ นา้ มัน แทง่ ไม้ ตกลงสู่ พ้ืนในแนวดงิ่ แล้วหยุดนง่ิ ขณะที่ลกู บอล ฟองน้า เมลด็ ถ่ัว จะตกในแนวดง่ิ เชน่ กัน เม่ือถงึ พ้ืนจะกระดอนขึน้ ลงจนหยดุ น่งิ สว่ นใบไม้เคลอ่ื นที่ร่อนไปทางซ้าย ทางขวาจนตกลงสู่พ้นื แตส่ ่ิงทีเ่ หมือนกนั คือวตั ถทุ ุกชนิด หยดุ เคล่อื นที่ท่ีพื้นเสมอ เม่ือปล่อยวตั ถุจากมอื เส้นทางการเคลอื่ นท่ขี องวตั ถุแต่ละชนิดที่ตกลงสพู่ ้ืนอาจ แตกต่างกนั แต่วัตถุทกุ ชนดิ จะหยุดเคล่อื นทท่ี ่พี น้ื เสมอ  สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยที่ 3 แรงและพลังงาน 246 เมอื่ ปล่อยวตั ถุจากมือ วัตถุทุกชนิดตกลงสู่พ้ืนเสมอเนอื่ งจากมแี รงโนม้ ถว่ งของโลก กระทาต่อวตั ถใุ นแนวด่ิง ในทิศทางลงสพู่ ้ืนโลก คาถามของนกั เรียนท่ีตั้งตามความอยากรู้ของตนเอง      สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

247 คมู่ ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยที่ 3 แรงและพลังงาน แนวการประเมินการเรียนรู้ การประเมินการเรียนรูข้ องนักเรยี นทาได้ ดงั นี 1. ประเมนิ ความร้เู ดิมจากการอภปิ รายในชันเรยี น 2. ประเมินการเรียนรู้จากคาตอบของนกั เรยี นระหวา่ งการจัดการเรยี นรู้และจากแบบบนั ทึกกจิ กรรม 3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จากการทากจิ กรรมของนักเรียน การประเมินจากการทากิจกรรมที่ 1.1 วตั ถุเคล่อื นที่อย่างไรเมื่อถกู ปลอ่ ยจากมือ ระดับคะแนน 1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรุง 3 คะแนน หมายถงึ ดี 2 คะแนน หมายถงึ พอใช้ รหสั สิ่งทปี่ ระเมนิ ระดบั คะแนน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S1 การสังเกต S6 การจดั กระทาและส่ือความหมายขอ้ มลู S7 การพยากรณ์ S8 การลงความเหน็ จากขอ้ มลู ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 C4 การส่ือสาร C5 ความร่วมมือ รวมคะแนน  สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 3 แรงและพลงั งาน 248 ตาราง แสดงการวิเคราะห์ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรต์ ามระดับความสามารถของนกั เรยี น โดยอาจใช้เกณฑก์ ารประเมิน ดังนี ทักษะกระบวนการ รายการประเมิน ดี (3) ระดบั ความสามารถ ควรปรับปรงุ (1) ทางวิทยาศาสตร์ พอใช้ (2) S1 การสงั เกต การบรรยาย สามารถใชป้ ระสาทสมั ผัส สามารถใชป้ ระสาทสัมผสั ไม่สามารถใช้ รายละเอยี ด เก็บรายละเอยี ดของ เกบ็ รายละเอียดของขอ้ มลู ประสาทสัมผัสเก็บ เกีย่ วกบั เส้นทาง ขอ้ มูลเก่ียวกับเส้นทาง เกยี่ วกบั เสน้ ทางการเคล่ือนท่ี รายละเอียดของ การเคลอ่ื นท่ขี อง การเคล่อื นที่ของวตั ถแุ ต่ ของวัตถุแตล่ ะชนิดเม่ือถูก ขอ้ มูลเกีย่ วกับ วัตถแุ ตล่ ะชนดิ ละชนิดเมือ่ ถกู ปล่อยจาก ปล่อยจากมือ จนวัตถหุ ยุดนงิ่ เส้นทางการ เม่อื ถูกปล่อยจาก มอื จนวัตถุหยดุ นิง่ ได้ ได้ จากการชแี นะของครูหรือ เคล่ือนที่ของวัตถแุ ต่ มอื จนวตั ถุหยุด ด้วยตนเอง โดยไม่เพิม่ เติม ผอู้ น่ื หรือมกี ารเพ่ิมเตมิ ละชนิดเม่ือถูก น่ิง ความคดิ เห็น ความคิดเห็น ปลอ่ ยจากมือ จน วัตถุหยุดน่ิงได้ แม้ว่าจะไดร้ บั คา ชีแนะจากครหู รือ ผู้อื่น S6 การจัดกระทาและ นาขอ้ มลู ท่ไี ด้จาก สามารถนาข้อมูลท่ีได้จาก สามารถนาเสนอขอ้ มลู ที่ได้ ไมส่ ามารถนาข้อมลู ส่ือความหมายข้อมูล การสังเกตเก่ียวกบั การสงั เกตเกี่ยวกับเสน้ ทาง จากการสังเกตเก่ยี วกับ ท่ไี ดจ้ ากการสงั เกต เส้นทางการ การเคลื่อนทข่ี องวัตถแุ ตล่ ะ เส้นทางการเคลอื่ นท่ีของวตั ถุ เกย่ี วกับเส้นทางการ เคลอ่ื นที่ของวัตถุ ชนิดเม่ือถูกปลอ่ ยจากมือ แต่ละชนดิ เม่ือถูกปลอ่ ยจาก เคล่ือนท่ีของวตั ถุแต่ แต่ละชนดิ เม่ือถูก จนวัตถุหยุดนงิ่ มาจัด มือ จนวตั ถุหยดุ น่งิ มาจดั ละชนิดเม่อื ถกู ปล่อย ปล่อยจากมือ จน กระทาโดยการเขยี น กระทาโดยการเขยี น จากมือ จนวัตถุหยุด วตั ถหุ ยดุ น่งิ มาจดั แผนภาพและส่ือ แผนภาพ และส่อื ความหมาย น่ิงมาจดั กระทาโดย กระทาโดยการ ความหมายการ การเปลย่ี นแปลงเคล่ือนท่ี การเขยี นแผนภาพ เขยี นแผนภาพ เปล่ยี นแปลงเคลือ่ นทขี่ อง ของวตั ถุแตล่ ะชนิดให้ผู้อ่ืน และไมส่ ามารถสื่อ และสื่อใหผ้ ู้อ่นื วตั ถุแตล่ ะชนดิ ให้ผอู้ ื่น เขา้ ใจได้อย่างถกู ต้อง จาก ความหมายการ เขา้ ใจการ เข้าใจได้อยา่ งถกู ต้อง ได้ การชแี นะของครหู รอื ผู้อ่นื เปลีย่ นแปลง เปลย่ี นแปลง ด้วยตนเอง เคลอ่ื นที่ของวัตถแุ ต่ เคลอ่ื นท่ีของวตั ถุ ละชนดิ ให้ผ้อู น่ื เข้าใจ แตล่ ะชนิด ได้ แม้ว่าจะไดร้ ับคา ชแี นะจากครหู รือ ผอู้ ื่น สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook