Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ-วิทยาศาสตร์ ป.4

คู่มือ-วิทยาศาสตร์ ป.4

Published by Phatwarin Srikhamnoy, 2019-04-10 04:27:49

Description: คู่มือ-วิทยาศาสตร์ ป.4

Search

Read the Text Version

คมู อื ครูรายวชิ าพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร เลม ๑ ตามมาตรฐานการเรียนรแู ละตวั ชวี้ ัด กลุมสาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ คมู อื ครอู ิเล็กทรอนิกส

คู่มอื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๔ เล่ม ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชวี้ ัด กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ จดั ทาโดย สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

คาช้แี จง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้จัดทาตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยมีจุดเน้นเพื่อต้องการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถที่ ทัดเทียมกับนานาชาติ ได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่เช่ือมโยงความรู้กับกระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้และ การแก้ปัญหาที่หลากหลาย มีการทากิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติเพื่อให้ผู้เรียนได้ใช้ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ซ่ึงในปีการศึกษา ๒๕๖๑ เป็นต้นไปน้ี โรงเรียนจะต้องใช้หลักสูตร กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) สสวท. จึงได้จัดทาหนังสือเรียนที่เป็นไป ตามมาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชวี้ ดั ของหลักสูตรเพื่อใหโ้ รงเรยี นได้ใช้สาหรับจัดการเรยี นการสอนในชั้นเรยี น คมู่ ือครูรายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๔ เล่ม ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เล่มน้ี สสวท. ได้พัฒนาข้ึน เพ่ือนาไปใช้ประกอบหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษา ปีที่ ๔ เลม่ ๑ โดยภายในคมู่ ือครปู ระกอบด้วยผังมโนทัศน์ ตัวช้ีวัด ข้อแนะนาการใช้คู่มือครู ตารางแสดงความ สอดคลอ้ งระหวา่ งเน้ือหาและกจิ กรรมในหนังสอื เรียนกบั มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตลอดจนแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะรอบด้าน ท้ังการอ่าน การฝกึ ปฏบิ ตั ิ การสารวจตรวจสอบ การปฏิบัติการทดลอง การสบื ค้นขอ้ มูล และการอภปิ ราย โดยมีเป้าหมาย ให้นักเรียนพัฒนาท้ังด้านความรู้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑ จิตวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ทักษะการคิด การอ่าน การส่ือสาร การแก้ปัญหา ตลอดจน การนาความรไู้ ปใช้ในชีวติ ประจาวันอย่างมีคุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมแห่ง การเปล่ียนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ อย่างมีความสุข ในการจัดทาคู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๔ เล่ม ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เล่มน้ี ได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่งจาก คณาจารย์ ผทู้ รงคุณวฒุ ิ นักวิชาการ และครูผูส้ อน จากสถาบนั การศึกษาตา่ ง ๆ จงึ ขอขอบคุณไว้ ณ ท่ีน้ี สสวท. หวังเป็นอย่างย่ิงว่าคู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๔ เล่ม ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์แก่ครูและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ที่จะช่วยให้การจัด การศึกษาด้านวิทยาศาสตร์มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล หากมีข้อเสนอแนะใดที่จะทาให้คู่มือครูเล่มนี้ สมบูรณย์ ิ่งขึน้ โปรดแจ้ง สสวท. ทราบด้วย จักขอบคุณย่งิ (ศาสตราจารย์ชูกิจ ลมิ ปิจานงค์) ผ้อู านวยการ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธิการ

สารบญั หน้า คาช้ีแจง เปา้ หมายของการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ก คุณภาพของผู้เรียนวทิ ยาศาสตร์เมือ่ จบชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ข ทกั ษะท่ีสาคัญในการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ง ผังมโนทัศน์รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4 เล่ม 1 ซ ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลางวิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 เล่ม 1 ฌ ขอ้ แนะนาการใช้คู่มือครู ฎ การจดั การเรยี นการสอนวิทยาศาสตร์ในระดับประถมศึกษา น การจดั การเรียนการสอนที่เน้นการสืบเสาะความร้ทู างวทิ ยาศาสตร์ น การจดั การเรียนการสอนท่สี อดคลอ้ งกบั ธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตรแ์ ละกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ พ การวดั ผลและประเมินผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ม ตารางแสดงความสอดคล้องระหวา่ งเนื้อหาและกิจกรรม ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 1 ล กับหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศักราช 2560) รายการวัสดอุ ปุ กรณว์ ิทยาศาสตร์ ศ หนว่ ยที่ 1 การเรยี นรูส้ ่งิ ต่าง ๆ รอบตวั 1 ภาพรวมการจัดการเรยี นรปู้ ระจาหนว่ ยที่ 1 การเรียนรสู้ ิ่งต่าง ๆ รอบตวั 1 บทท่ี 1 การเรยี นรู้แบบนกั วทิ ยาศาสตร์ 3 บทนเ้ี รม่ิ ต้นอย่างไร 6 เรื่องท่ี 1 การสบื เสาะหาความร้ทู างวิทยาศาสตร์ 10 กิจกรรมท่ี 1 ถ่ัวเต้นระบาได้อยา่ งไร 15 เร่อื งที่ 2 การวัดและการใช้จานวนของนกั วิทยาศาสตร์ 28 กจิ กรรมท่ี 2.1 การวัดทาได้อยา่ งไร 32 กจิ กรรมที่ 2.2 การใช้จานวนทาได้อยา่ งไร 46 เรื่องที่ 3 การทดลองของนักวิทยาศาสตร์ 56 กจิ กรรมที่ 3 การทดลองทาไดอ้ ย่างไร 60 กจิ กรรมทา้ ยบทท่ี 1 การเรียนรแู้ บบนักวทิ ยาศาสตร์ 74

แนวคาตอบในแบบฝกึ หัดท้ายบท สารบญั หนว่ ยท่ี 2 สิง่ มีชวี ติ หน้า 77 ภาพรวมการจดั การเรยี นรู้ประจาหน่วยท่ี 2 สิ่งมชี วี ติ 81 บทที่ 1 สงิ่ มชี ีวิตรอบตัว 81 บทน้เี รมิ่ ตน้ อย่างไร 83 เรื่องที่ 1 การจดั กลุ่มสิง่ มชี วี ิต 86 90 กจิ กรรมที่ 1.1 เราจาแนกสิง่ มชี ีวติ ได้อยา่ งไร 94 กจิ กรรมที่ 1.2 เราจาแนกสัตว์ไดอ้ ยา่ งไร 112 กจิ กรรมท่ี 1.3 เราจาแนกสตั วม์ ีกระดูกสนั หลงั ได้อย่างไร 129 กจิ กรรมท่ี 1.4 เราจาแนกพืชไดอ้ ยา่ งไร 147 กิจกรรมท้ายบทที่ 1 สงิ่ มีชวี ิตรอบตวั 161 แนวคาตอบในแบบฝึกหัดทา้ ยบท 163 บทที่ 2 ส่วนต่าง ๆ ของพืชดอก 165 เรื่องที่ 1 หน้าทสี่ ่วนตา่ ง ๆ ของพชื ดอก 173 กิจกรรมท่ี 1.1 รากและลาต้นของพืชทาหน้าท่ีอะไร 178 กิจกรรมที่ 1.2 ใบของพชื ทาหนา้ ที่อะไร 193 กจิ กรรมท่ี 1.3 ดอกของพชื ทาหนา้ ท่ีอะไร 208 กิจกรรมทา้ ยบทที่ 2 สว่ นต่าง ๆ ของพืชดอก 221 แนวคาตอบในแบบฝึกหัดทา้ ยบท 223 226 หน่วยท่ี 3 แรงและพลังงาน 226 228 ภาพรวมการจดั การเรียนรู้ประจาหนว่ ยท่ี 3 แรงและพลังงาน 231 บทที่ 1 มวลและน้าหนกั 234 บทน้เี ร่ิมต้นอย่างไร 239 เร่อื งที่ 1 มวลและแรงโนม้ ถ่วงของโลก กิจกรรมที่ 1.1 วัตถเุ คล่ือนท่ีอยา่ งไรเมอ่ื ถกู ปล่อยจากมอื

สารบญั กิจกรรมที่ 1.2 มวลและนา้ หนกั สมั พนั ธก์ ันอย่างไร หน้า กจิ กรรมท่ี 1.3 มวลมผี ลตอ่ การเปลยี่ นแปลงการเคลื่อนที่ของวตั ถุอยา่ งไร 251 กิจกรรมท้ายบทท่ี 1 มวลและนา้ หนกั 267 แนวคาตอบในแบบฝึกหัดท้ายบท 280 บทท่ี 2 ตัวกลางของแสง 282 บทนเ้ี รม่ิ ตน้ อย่างไร 286 เรอ่ื งท่ี 1 การมองเห็นสง่ิ ต่าง ๆ ผ่านวัตถทุ ่นี ามากน้ั 289 กิจกรรมท่ี 1 ลกั ษณะการมองเหน็ ต่างกนั อยา่ งไรเมื่อมวี ตั ถุมาก้ันแสง 292 กจิ กรรมท้ายบทท่ี 2 ตวั กลางของแสง 297 แนวคาตอบในแบบฝึกหัดทา้ ยบท 310 แนวคาตอบในแบบทดสอบทา้ ยเล่ม 313 บรรณานกุ รม 316 คณะทางาน 325 326

ก คู่มือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 เปา้ หมายของการจัดการเรยี นการสอนวทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์เป็นเรื่องของการเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติ โดยมนุษย์ใช้กระบวนการสังเกต สารวจ ตรวจสอบ และการทดลองเก่ียวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติและนาผลท่ีได้มาจัดระบบหลักการ แนวคิด และทฤษฎี ดังนั้นการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์จึงมุ่งเน้นให้นักเรียนได้เรียนรู้และค้นพบด้วยตนเองมากท่ีสุด น่นั คอื ใหไ้ ด้ทง้ั กระบวนการและองค์ความรู้ ตั้งแต่วัยเริ่มแรกก่อนเข้าเรียน เมื่ออยู่ในสถานศึกษา และเมื่อออก จากสถานศกึ ษาไปประกอบอาชีพแลว้ การจดั การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรใ์ นสถานศกึ ษามีเปา้ หมายสาคญั ดังน้ี 1. เพอ่ื ให้เข้าใจหลกั การ ทฤษฎี และกฎที่เป็นพืน้ ฐานในวชิ าวิทยาศาสตร์ 2. เพ่ือให้เข้าใจขอบเขตของธรรมชาติของวิชาวิทยาศาสตรแ์ ละข้อจากดั ในการศึกษาวิชาวทิ ยาศาสตร์ 3. เพือ่ ให้มที ักษะทส่ี าคญั ในการศึกษาค้นควา้ และคิดคน้ ทางเทคโนโลยี 4. เพ่ือให้ตระหนักถึงความสัมพันธ์ระหว่างวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนุษย์ และสภาพแวดล้อม ในเชิงทม่ี ีอิทธพิ ลและผลกระทบซง่ึ กันและกนั 5. เพ่อื นาความรู้ ความเข้าใจ ในวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและการ ดารงชีวิต 6. เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหา และการจัดการ ทักษะใน การสอ่ื สาร และความสามารถในการตดั สนิ ใจ 7. เพื่อให้เป็นผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีอยา่ งสรา้ งสรรค์  สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 ข คณุ ภาพของนักเรยี นวทิ ยาศาสตร์ เมอื่ จบช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 นักเรียนที่เรียนจบช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ควรมีความรู้ ความคิด ทักษะ กระบวนการ และจิตวิทยาศาสตร์ ดังน้ี 1. เข้าใจโครงสร้าง ลักษณะเฉพาะและการปรับตัวของส่ิงมีชีวิต รวมท้ังความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตใน แหลง่ ทีอ่ ยู่ การทาหน้าทขี่ องสว่ นตา่ ง ๆ ของพืช และการทางานของระบบยอ่ ยอาหารของมนุษย์ 2. เข้าใจสมบัติและการจาแนกกลุ่มของวัสดุ สถานะและการเปล่ียนสถานะของสสาร การละลาย การเปลี่ยนแปลงทางเคมี การเปลยี่ นแปลงทผี่ ันกลบั ได้และผนั กลบั ไม่ได้ และการแยกสารอยา่ งงา่ ย 3. เข้าใจลักษณะของแรงโน้มถ่วงของโลก แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน แรงไฟฟ้าและผลของแรงต่างๆ ผลที่ เกิดจากแรงกระทาต่อวัตถุ ความดัน หลักการท่ีมีต่อวัตถุ วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ปรากฏการณ์เบ้ืองต้น ของเสยี ง และแสง 4. เข้าใจปรากฏการณก์ ารข้ึนและตก รวมถึงการเปลี่ยนแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์ องค์ประกอบ ของระบบสุริยะ คาบการโคจรของดาวเคราะห์ ความแตกต่างของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ การขึ้น และตกของกลุ่มดาวฤกษ์ การใช้แผนท่ีดาว การเกิดอุปราคา พัฒนาการและประโยชน์ของเทคโนโลยี อวกาศ 5. เข้าใจลักษณะของแหล่งน้า วัฏจักรน้า กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้าค้าง น้าค้างแข็ง หยาดน้าฟ้า กระบวนการเกิดหิน วัฏจักรหิน การใช้ประโยชน์หินและแร่ การเกิดซากดึกดาบรรพ์ การเกิดลมบก ลมทะเล มรสุม ลักษณะและผลกระทบของภัยธรรมชาติ ธรณีพิบัติภัย การเกิดและผลกระทบของ ปรากฏการณเ์ รอื นกระจก 6. ค้นหาขอ้ มูลอย่างมปี ระสิทธภิ าพและประเมนิ ความน่าเชอ่ื ถอื ตัดสินใจเลือกข้อมูลใช้เหตุผลเชิงตรรกะ ในการแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการทางานร่วมกัน เข้าใจสิทธิและหน้าท่ี ของตน เคารพสิทธิของผ้อู นื่ 7. ตั้งคาถามหรือกาหนดปัญหาเก่ียวกับส่ิงที่จะเรียนรู้ตามที่กาหนดให้หรือตามความสนใจ คาดคะเน คาตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐานท่ีสอดคล้องกับคาถามหรือปัญหาที่จะสารวจตรวจสอบ วางแผนและสารวจตรวจสอบโดยใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเหมาะสม ในการ เก็บรวบรวมข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและคณุ ภาพ 8. วิเคราะห์ข้อมูล ลงความเห็น และสรุปความสัมพันธ์ของข้อมูลที่มาจากการสารวจตรวจสอบใน รูปแบบที่เหมาะสม เพื่อส่ือสารความรู้จากผลการสารวจตรวจสอบได้อย่างมีเหตุผลและหลักฐาน อ้างองิ 9. แสดงถึงความสนใจ มุ่งม่ัน ในสิ่งที่จะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เก่ียวกับเรื่องท่ีจะศึกษาตามความ สนใจของตนเอง แสดงความคิดเห็นของตนเอง ยอมรับในข้อมูลที่มีหลักฐานอ้างอิง และรับฟังความ คิดเห็นผอู้ ่ืน สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

ค คมู่ ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 10. แสดงความรับผดิ ชอบดว้ ยการทางานท่ีไดร้ บั มอบหมายอย่างมุง่ ม่นั รอบคอบ ประหยดั ซอื่ สตั ย์ จน งานลลุ ว่ งเปน็ ผลสาเร็จ และทางานร่วมกบั ผู้อ่นื อย่างสรา้ งสรรค์ 11. ตระหนกั ในคณุ คา่ ของความรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ใช้ความรูแ้ ละกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในการดารงชีวติ แสดงความช่นื ชม ยกย่อง และเคารพสทิ ธใิ นผลงานของผู้คดิ ค้นและศึกษาหาความรู้ เพม่ิ เติม ทาโครงงานหรือช้นิ งานตามที่กาหนดให้หรือตามความสนใจ 12. แสดงถงึ ความซาบซึ้ง หว่ งใย แสดงพฤตกิ รรมเกย่ี วกบั การใช้ การดแู ลรักษาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ ส่ิงแวดลอ้ มอย่างรคู้ ุณคา่  สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 ง ทักษะท่สี าคัญในการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ทกั ษะสาคัญทีค่ รูผสู้ อนจาเป็นต้องพัฒนาใหเ้ กิดขนึ้ กบั นักเรียนเมื่อมีการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เช่น ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Science Process Skills) การเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์จาเป็นต้องใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพ่ือนาไปสู่ การสืบเสาะค้นหาผ่านการสังเกต ทดลอง สร้างแบบจาลอง และวิธีการอ่ืนๆ เพ่ือนาข้อมูล สารสนเทศและ หลักฐานเชิงประจักษ์มาสร้างคาอธิบายเก่ียวกับแนวคิดหรือองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย ทกั ษะการสงั เกต (Observing) เป็นความสามารถในการใชป้ ระสาทสมั ผัสอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือ หลายอย่างสารวจวัตถุหรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในธรรมชาติหรือจากการทดลอง โดยไม่ลงความคิดเห็นของ ผู้สงั เกตลงไปด้วย ประสาทสมั ผสั ทัง้ 5 อยา่ ง ได้แก่ การดู การฟังเสยี ง การดมกลิ่น การชมิ รส และการสัมผัส ทักษะการวัด (Measuring) เป็นความสามารถในการเลือกใช้เครื่องมือในการวัดปริมาณต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม รวมถึงความสามารถในการหาปริมาณของสิ่งต่าง ๆ จากเคร่ืองมือท่ีเลือกใช้ออกมาเป็น ตัวเลขได้ถูกต้องและรวดเร็ว พรอ้ มระบหุ น่วยของการวัดได้อย่างถกู ต้อง ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล (Inferring) เป็นความสามารถในการคาดการณ์อย่างมี หลักการเก่ียวกับเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ โดยใช้ข้อมูล (Data) หรือสารสนเทศ (Information) ท่ีเคย เกบ็ รวบรวมไว้ในอดีต ทกั ษะการจาแนกประเภท (Classifying) เป็นความสามารถในการแยกแยะ จัดพวกหรือจัดกลุ่ม ส่ิงต่าง ๆ ท่ีสนใจ เช่น วัตถุ ส่ิงมีชีวิต ดาว และเทหะวัตถุต่าง ๆ หรือปรากฏการณ์ที่ต้องการศึกษาออกเป็น หมวดหมู่ นอกจากนี้ยังหมายถึงความสามารถในการเลือกและระบุเกณฑ์หรือลักษณะร่วมลักษณะใดลักษณะ หนง่ึ ของสิง่ ตา่ ง ๆ ทต่ี อ้ งการจาแนก ทักษะการหาความสัมพันธ์ของสเปซกับเวลา (Relationship of Space and Time) สเปซ คือ พ้ืนท่ีท่ีวัตถุครอบครอง ในที่นี้อาจเป็นตาแหน่ง รูปร่าง รูปทรงของวัตถุ ส่ิงเหล่าน้ีอาจมีความสัมพันธ์กัน ดังนี้ การหาความสมั พนั ธร์ ะหว่างสเปซกบั สเปซ เป็นความสามารถในการหาความเก่ียวข้อง สั ม พั น ธ์ กั น ร ะ ห ว่ า ง พื้ น ที่ ที่ วั ต ถุ ต่ า ง ๆ (Relationship between Space and Space) ครอบครอง สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

จ คู่มือครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 การหาความสมั พนั ธ์ระหว่างสเปซกบั เวลา เป็นความสามารถในการหาความเก่ียวข้อง (Relationship between Space and Time) สัมพันธ์กันระหว่างพื้นท่ีที่วัตถุครอบครอง เมื่อเวลาผ่านไป ทักษะการใช้จานวน (Using Number) เป็นความสามารถในการใช้ความรู้สึกเชิงจานวน และ การคานวณเพอ่ื บรรยายหรอื ระบุรายละเอยี ดเชิงปริมาณของส่งิ ทส่ี ังเกตหรือทดลอง ทักษะการจัดกระทาและส่ือความหมายข้อมูล (Organizing and Communicating Data) เป็นความสามารถในการนาผลการสงั เกต การวัด การทดลอง จากแหล่งต่าง ๆ มาจัดกระทาให้อยู่ในรูปแบบท่ี มคี วามหมายหรือมคี วามสัมพนั ธก์ ันมากขึ้น จนง่ายตอ่ การทาความเขา้ ใจหรือเหน็ แบบรปู ของข้อมูล นอกจากนี้ ยังรวมถึงความสามารถในการนาข้อมูลมาจัดทาในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ตาราง แผนภูมิ แผนภาพ วงจร กราฟ สมการ การเขียนบรรยาย เพอื่ สือ่ สารใหผ้ อู้ ืน่ เขา้ ใจความหมายของข้อมลู มากขึน้ ทักษะการพยากรณ์ (Predicting) เป็นความสามารถในบอกผลลัพธ์ของปรากฏการณ์ สถานการณ์ การสังเกต การทดลองท่ีได้จากการสังเกตแบบรูปของหลักฐาน (Pattern of Evidence) การพยากรณ์ท่ี แม่นยาจึงเป็นผลมาจากการสังเกตที่รอบคอบ การวัดที่ถูกต้อง การบันทึก และการจัดกระทากับข้อมูลอย่าง เหมาะสม ทักษะการตั้งสมมติฐาน (Formulating Hypotheses) เป็นความสามารถในการคิดหาคาตอบ ล่วงหน้าก่อนจะทาการทดลอง โดยอาศัยการสังเกต ความรู้ ประสบการณ์เดิมเป็นพ้ืนฐานคาตอบที่คิด ล่วงหน้าท่ียังไม่รู้มาก่อน หรือยังไม่เป็นหลักการ กฎ หรือ ทฤษฎีมาก่อน การตั้งสมมติฐานหรือคาตอบท่ีคิดไว้ ล่วงหน้ามักกล่าวไว้เป็นข้อความท่ีบอกความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้นกับตัวแปรตาม ซ่ึงอาจเป็นไปตามท่ี คาดการณไ์ ว้หรือไมก่ ็ได้ ทักษะการกาหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ (Defining Operationally) เป็นความสามารถในการ กาหนดความหมายและขอบเขตของสงิ่ ตา่ ง ๆ ท่อี ยใู่ นสมมติฐานของการทดลอง หรือที่เกี่ยวข้องกับการทดลอง ให้เขา้ ใจตรงกนั และสามารถสังเกตหรือวดั ได้ ทักษะการกาหนดและควบคุมตัวแปร (Controlling Variables) เป็นความสามารถในการ กาหนดตัวแปรต่าง ๆ ทั้งตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรท่ีต้องควบคุมให้คงที่ ให้สอดคล้องกับสมมติฐาน ของการทดลอง รวมถึงความสามารถในการระบุและควบคุมตัวแปรอื่น ๆ นอกเหนือจากตัวแปรต้น แต่อาจ ส่งผลต่อผลการทดลอง หากไม่ควบคุมให้เหมือนกันหรือเท่ากัน ตัวแปรท่ีเก่ียวข้องกับการทดลอง ได้แก่ ตวั แปรตน้ ตวั แปรตาม และตัวแปรทต่ี ้องควบคมุ ใหค้ งที่ ซงึ่ ล้วนเป็นปัจจัยที่เก่ียวขอ้ งกบั การทดลอง ดงั น้ี ตัวแปรตน้ สง่ิ ทีเ่ ปน็ ต้นเหตุทาให้เกดิ การเปล่ยี นแปลง จงึ ตอ้ งจดั (Independent Variable) สถานการณ์ให้มีสงิ่ นี้แตกตา่ งกัน  สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 ฉ ตวั แปรตาม สิ่งทเี่ ปน็ ผลจากการจัดสถานการณบ์ างอย่างให้ (Dependent Variable) แตกตา่ งกัน และเราต้องสังเกต วดั หรือติดตามดู ตวั แปรที่ต้องควบคุมให้คงท่ี สิง่ ตา่ ง ๆ ทอี่ าจส่งผลต่อการจัดสถานการณ์ จงึ ตอ้ งจดั (Controlled Variable) สงิ่ เหล่าน้ีให้เหมอื นกันหรือเท่ากนั เพ่ือให้มน่ั ใจวา่ ผล จากการจัดสถานการณ์เกดิ จากตวั แปรตน้ เท่าน้นั ทักษะการทดลอง (Experimenting) การทดลองประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ การออกแบบการ ทดลอง การปฏิบัติการทดลอง และการบันทึกผลการทดลอง ทักษะการทดลองจึงเป็นความสามารถในการ ออกแบบและวางแผนการทดลองได้อย่างรอบคอบ และสอดคล้องกับคาถาม การทดลองและสมมติฐาน รวมถึงความสามารถในการดาเนินการทดลองได้ตามแผน และความสามารถในการบันทึกผลการทดลองได้ ละเอยี ด ครบถ้วน และเท่ยี งตรง ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป (Interpreting and Making Conclusion) ความสามารถ ในการแปลความหมาย หรือการบรรยาย ลักษณะและสมบัติของข้อมูลท่ีมีอยู่ ตลอดจน ความสามารถในการสรุปความสมั พนั ธ์ของข้อมลู ท้ังหมด ทักษะการสร้างแบบจาลอง (Formulating Models) ความสามารถในการสร้างและใช้สิ่งที่ทา ขึ้นมาเพื่อเลียนแบบหรืออธิบายปรากฏการณ์ท่ีศึกษาหรือสนใจ เช่น กราฟ สมการ แผนภูมิ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว รวมถึงความสามารถในการนาเสนอข้อมูล แนวคิด ความคิดรวบยอดเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจในรูป ของแบบจาลองแบบตา่ ง ๆ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) ราชบัณฑิตยสถานได้ระบุทักษะที่จาเป็นแห่งศตวรรษท่ี 21 ท่ีสอดคล้องกับสมรรถนะท่ีควรมีในพลเมือง ยุคใหม่รวม 7 ด้าน (สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, 2558; ราชบัณฑิตยสถาน, 2557) ในระดบั ประถมศกึ ษาจะเน้นใหค้ รูผสู้ อนส่งเสรมิ ให้นักเรียนมีทักษะ ดงั ตอ่ ไปน้ี การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) หมายถึง การคิดโดยใช้เหตุผลที่หลากหลาย เหมาะสมกบั สถานการณ์ มีการคิดอย่างเป็นระบบ วเิ คราะห์ และประเมินหลักฐานและข้อคิดเห็นด้วยมุมมองที่ หลากหลาย สังเคราะห์ แปลความหมาย และจัดทาข้อสรุป สะท้อนความคิดอย่างมีวิจารณญาณโดยใช้ ประสบการณ์และกระบวนการเรยี นรู้ การแก้ปัญหา (Problem Solving) หมายถึง การแก้ปัญหาที่ไม่คุ้นเคย หรือปัญหาใหม่ได้ โดยอาจใช้ความรู้ ทักษะ วิธีการและประสบการณ์ที่เคยรู้มาแล้ว หรือการสืบเสาะหาความรู้ วิธีการใหม่มาใช้ แก้ปัญหาก็ได้ นอกจากน้ียังรวมถึงการซักถามเพื่อทาความเข้าใจมุมมองที่แตกต่าง หลากหลายเพื่อให้ได้วิธี แก้ปญั หาทดี่ มี ากข้ึน สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

ช คมู่ ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 การส่ือสาร (Communications) หมายถึง ความสามารถในการสื่อสารได้อย่างชัดเจน เชื่อมโยง เรียบเรียงความคิดเเละมมุ มองตา่ ง ๆ แล้วสื่อสารโดยการใช้คาพูด ไม่ใช้คาพูดหรือการเขียน เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจ ได้หลากหล ายรูปแบบและวัตถุประสงค์นอกจากนี้ยังรวมไปถึงการ ฟังอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้เข้าใจ ความหมายของผสู้ ่งสาร ความร่วมมือ (Collaboration) หมายถึง การแสดงความสามารถในการทางานร่วมกับคนกลุ่มต่าง ๆ ท่ีหลากหลายอย่างมีประสิทธิภาพและให้เกียรติ มีความยืดหยุ่นและยินดีท่ีจะประนีประนอม เพ่ือให้บรรลุ เป้าหมาย การทางาน พร้อมท้ังยอมรับและแสดงความรับผิดชอบต่องานที่ทาร่วมกัน และเห็นคุณค่าของ ผลงานที่พฒั นาข้นึ จากสมาชิกแต่ละคนในทีม การสร้างสรรค์ (Creativity) หมายถึง การใช้เทคนิคที่หลากหลายในการสร้างสรรค์แนวคิด เช่น การระดมพลังสมอง รวมถึงความสามารถในการพัฒนาต่อยอดแนวคิดเดิม หรือได้แนวคิดใหม่ และ ความสามารถในการกล่ันกรอง ทบทวน วเิ คราะห์ และประเมินแนวคิด เพ่ือปรับปรุงให้ได้แนวคิดท่ีจะส่งผลให้ ความพยายามอย่างสรา้ งสรรคน์ ้เี ปน็ ไปได้มากท่ีสดุ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (Information and Communication Technology (ICT)) หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพ่ือเป็นเครื่องมือในการสืบค้น จัดกระทา ประเมนิ และส่ือสารข้อมูลความรตู้ ลอดจนร้เู ทา่ ทนั สอ่ื โดยการใชส้ ื่อตา่ ง ๆ ได้อย่างเหมาะสมมปี ระสทิ ธภิ าพ  สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 ซ ผังมโนทัศน์ (concept map) รายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 4 เล่ม 1 เนอื้ หาการเรยี นรวู้ ิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 4 เล่ม 1 ประกอบด้วย หนว่ ยที่ 1 การเรียนรสู้ ิ่งต่าง ๆ หนว่ ยท่ี 2 สิ่งมีชีวติ หน่วยที่ 3 แรงและพลงั งาน รอบตัว ไดแ้ ก่ ไดแ้ ก่ ไดแ้ ก่ การจัดกล่มุ สง่ิ มีชีวติ มวลและแรงโนม้ ถ่วง การสืบเสาะหาความรู้ ของโลก ทางวิทยาศาสตร์ หนา้ ท่สี ่วนตา่ ง ๆ ของพืชดอก การมองเหน็ สิ่งต่าง ๆ การวดั และการใช้จานวน ผา่ นวตั ถุที่นามากั้น ของนกั วิทยาศาตร์ การทดลองของ นกั วิทยาศาสตร์ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

ฌ คูม่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง วิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 ตวั ช้วี ดั ชนั้ ปี สาระการเรียนรู้แกนกลาง ว 1.2 ป.4/1  สว่ นตา่ ง ๆ ของพืชดอกทาหนา้ ท่ีแตกต่างกนั บรรยายหน้าทีข่ องราก ลาต้น ใบ และดอก  รากทาหน้าทีด่ ดู นา้ และธาตุอาหารขึ้นไปยังลาต้น ของพืชดอก โดยใชข้ อ้ มลู ท่ีรวบรวมได้  ลาต้นทาหน้าท่ีลาเลียงน้าต่อไปยังส่วนต่าง ๆ ของพชื  ใบทาหน้าที่สร้างอาหาร อาหารที่พืชสร้างขึ้น คือ น้าตาลซึ่งจะเปลยี่ นเป็นแป้ง  ดอกทาหน้าท่ีสืบพันธุ์ ประกอบด้วยส่วนประกอบ ต่าง ๆ ได้แก่ กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผู้ และ เกสรเพศเมยี ซงึ่ ส่วนประกอบแต่ละส่วนของดอกทา หนา้ ทีแ่ ตกตา่ งกัน ว 1.3 ป.4/1  ส่ิงมีชีวิตมีหลายชนิด สามารถจัดกลุ่มได้ โดยใช้ จาแนกส่ิงมีชวี ิตโดยใช้ความเหมอื น และ ความเหมือนและความแตกต่างของลักษณะต่าง ๆ ความแตกตา่ งของลกั ษณะของส่งิ มชี ีวิต เช่น กลุ่มพืชสร้างอาหารเองได้ และเคลื่อนที่ด้วย ออกเป็นกลุ่มพชื กลมุ่ สัตว์ และกลุ่มท่ี ตนเองไม่ได้ กลุ่มสัตว์กินส่ิงมีชีวิตอ่ืนเป็นอาหาร ไม่ใชพ่ ชื และสัตว์ และเคล่ือนท่ีได้ กลุ่มท่ีไม่ใช่พืชและสัตว์ เช่น เห็ด รา จลุ ินทรยี ์ ว 1.3 ป.4/2  การจาแนกพืช สามารถใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์ จาแนกพชื ออกเปน็ พืชดอกและพืชไมม่ ี ในการจาแนก ได้เป็นพชื ดอกและพชื ไมม่ ดี อก ดอกโดยใชก้ ารมดี อกเปน็ เกณฑ์ โดยใช้ ข้อมลู ทีร่ วบรวมได้ ว 1.3 ป.4/3  การจาแนกสัตว์ สามารถใช้การมีกระดูกสันหลัง จาแนกสัตวอ์ อกเป็นสตั ว์มีกระดูกสันหลงั เป็นเกณฑ์ในการจาแนก ได้เป็นสัตว์มีกระดูกสัน และสัตว์ไม่มีกระดกู สนั หลงั โดยใชก้ ารมี หลังและสตั ว์ไม่มีกระดูกสนั หลัง กระดูกสนั หลงั เป็นเกณฑ์ โดยใชข้ อ้ มลู ที่ รวบรวมได้ ว 1.3 ป.4/4  สัตว์มีกระดูกสันหลังมีหลายกลุ่ม ได้แก่ กลุ่มปลา บรรยายลักษณะเฉพาะทีส่ งั เกตได้ของสตั ว์ กลุ่มสัตว์สะเทินน้าสะเทินบก กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน มีกระดูกสันหลังในกลุ่มปลา กลมุ่ สตั ว์ กลุ่มนก และกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม ซึ่งแต่ละ สะเทนิ นา้ สะเทนิ บก กล่มุ สัตวเ์ ล้ือยคลาน กลมุ่ จะมีลักษณะเฉพาะทสี่ ังเกตได้  สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 ญ ตัวชว้ี ัดช้ันปี สาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลมุ่ นก และกลุ่มสัตว์เลยี้ งลูกดว้ ยน้านม และยกตัวอย่างสิ่งมีชีวิตในแต่ละกลุ่ม ว 2.2 ป.4/1  แรงโน้มถ่วงของโลกเป็นแรงดึงดูดท่ีโลกกระทาต่อ ระบุผลของแรงโน้มถ่วงที่มตี อ่ วตั ถจุ าก วัตถุ มีทิศทางเข้าสู่ศูนย์กลางโลก และเป็นแรงไม่ หลกั ฐานเชิงประจักษ์ สัมผัส แรงดึงดูดที่โลกกระทากับวัตถุหนึ่ง ๆ ทาให้ วัตถุตกลงสู่พื้นโลก และทาให้วัตถุมีน้าหนัก วัด ว 2.2 ป.4/2 น้าหนักของวัตถุได้จากเครื่องช่ังสปริง น้าหนักของ ใชเ้ คร่อื งชงั่ สปรงิ ในการวัดนา้ หนักของ วัตถุขึ้นกับมวลของวัตถุ โดยวัตถุที่มีมวลมากจะมี วตั ถุ นา้ หนกั มาก วตั ถุทมี่ ีมวลนอ้ ยจะมีนา้ หนักน้อย ว 2.2 ป.4/3  มวล คือ ปริมาณเนื้อของสสารทั้งหมดท่ีประกอบ บรรยายมวลของวตั ถุที่มีผลต่อการ กันเป็นวัตถุ ซึ่งมีผลต่อความยากง่ายในการ เปลย่ี นแปลงการเคลื่อนทขี่ องวตั ถจุ าก เปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุ วัตถุท่ีมีมวลมาก หลักฐานเชิงประจักษ์ จะเปลี่ยนแปลงการเคล่ือนทไี่ ด้ยากกว่าวัตถุที่มีมวล น้อย ดังนั้นมวลของวัตถุนอกจากจะหมายถึงเน้ือ ทั้งหมดของวัตถุนั้นแล้วยังหมายถึงการต้านการ เปลยี่ นแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถนุ ้นั ด้วย ว 2.3 ป.4/1  เมื่อมองส่ิงต่าง ๆ โดยมีวัตถุต่างชนิดกันมาก้ันแสง จาแนกวตั ถุเป็นตัวกลางโปรง่ ใส ตวั กลาง- จะทาให้ลักษณะการมองเห็นส่ิงนั้น ๆ ชัดเจนต่างกัน โปร่งแสง และวัตถทุ บึ แสง จากลกั ษณะ จึงจาแนกวัตถุท่ีมาก้ันออกเป็น ตัวกลางโปร่งใส ซึ่ง การมองเห็นส่งิ ต่าง ๆ ผ่านวตั ถุนั้นเปน็ ทาให้มองเห็นส่ิงต่าง ๆ ได้ชัดเจน ตัวกลางโปร่งแสง เกณฑโ์ ดยใช้หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ ทาใหม้ องเหน็ ส่ิงต่าง ๆ ได้ไมช่ ดั เจน และวัตถุทึบแสง ทาใหม้ องไม่เหน็ สิ่งตา่ ง ๆ นนั้ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

ฎ ค่มู ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 ขอ้ แนะนาการใชค้ มู่ ือครู คมู่ อื ครูเลม่ นีจ้ ัดทาข้นึ เพอ่ื ใช้เป็นแนวทางการจัดกจิ กรรมสาหรับครู ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้นักเรียน จะไดฝ้ ึกทักษะจากการทากจิ กรรมตา่ ง ๆ ทัง้ การสังเกต การสารวจ การทดลอง การสืบค้นข้อมูล การอภิปราย การทางานรว่ มกัน ซง่ึ เปน็ การฝึกให้นักเรยี นชา่ งสงั เกต รู้จักต้ังคาถาม รู้จักคิดหาเหตุผล เพื่อตอบปัญหาต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง ให้นักเรียนได้เรียนรู้และค้นพบด้วยตนเองมากที่สุด ดังนั้นในการจัดการเรียนรู้ครูจึงเป็นผู้ ช่วยเหลือ ส่งเสริม และสนับสนนุ นักเรยี นใหร้ จู้ ักสบื เสาะหาความรู้และมีทักษะจากการศึกษาหาความรู้จากสื่อ และแหลง่ การเรียนรตู้ ่าง ๆ และเพ่ิมเติมข้อมลู ท่ถี กู ตอ้ งแกน่ ักเรยี น เพื่อใหเ้ กิดประโยชน์จากคูม่ ือครูเลม่ นม้ี ากทส่ี ุด ครคู วรทาความเข้าใจในรายละเอียดของแต่ละหัวขอ้ และข้อเสนอแนะเพ่มิ เติม ดงั นี้ 1. สาระการเรยี นรู้แกนกลาง เป็นสาระการเรียนรู้เฉพาะกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่ปรากฏในมาตรฐานการเรียนรู้และ ตัวชี้วัด ฯ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธกิ าร ซึ่งกาหนดไวเ้ ฉพาะส่วนทีจ่ าเปน็ สาหรับเป็นพื้นฐานเกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวัน และเป็นพ้ืนฐานในการศึกษาต่อในระดับท่ีสูงข้ึน โดยสอดคล้องกับสาระและความสามารถ ความถนัด และความสนใจของนักเรียน และในทุกกิจกรรมจะมีสาระสาคัญ ซึ่งเป็นเน้ือหาสาระท่ีปรากฏอยู่ตาม สาระการเรียนร้โู ดยสถานศึกษาสามารถพัฒนาเพ่ิมเตมิ ได้ตามความเหมาะสม สาหรับสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ฯ (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ได้เพ่ิมสาระเทคโนโลยี ซึ่งประกอบด้วยการออกแบบและเทคโนโลยี และวิทยาการคานวณ ทั้งน้ีเพ่ือเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ บูรณาการสาระทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กับกระบวนการเชิงวิศวกรรมตามแนวคิด สะเตม็ ศกึ ษา 2. ภาพรวมการจดั การเรยี นรปู้ ระจาหนว่ ย เป็นภาพรวมการจัดการเรียนรู้ประจาหน่วยมีไว้เพื่อเชื่อมโยงเนื้อหาสาระกับมาตรฐานการเรียนรู้ และตวั ชี้วดั ทีจ่ ะได้เรียนในแต่ละกิจกรรมของหน่วยน้ัน ๆ และเป็นแนวทางให้ครูผู้สอนนาไปปรับปรุง และเพิม่ เติมตามความเหมาะสม 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้นักเรียนจะได้ทากิจกรรมอย่างหลากหลาย ในแต่ละส่วนของหนังสือเรียน ทั้งส่วนนาบท นาเรื่อง และกิจกรรมมีจุดประสงค์การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับตัวช้ีวัดชั้นปีเพ่ือให้ นักเรียน เกดิ การเรียนรู้ โดยยึดหลักให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ สืบเสาะหาความรู้ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการแก้ปัญหา การส่ือสาร และความสามารถในการตัดสินใจ การนาความรู้ไปใช้ในชีวิตและ ในสถานการณใ์ หม่ มีทกั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยี มีเจตคติ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีเหมาะสม สามารถอยู่ในสงั คมไทยได้อย่างมีความสขุ  สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 ฏ 4. บทนี้มีอะไร เป็นส่วนท่ีบอกรายละเอียดในบทนั้น ๆ ซึ่งประกอบด้วยชื่อเรื่อง คาสาคัญ และชื่อกิจกรรม เพ่ือ ครจู ะได้ทราบองค์ประกอบโดยรวมของแตล่ ะบท 5. สือ่ การเรยี นรแู้ ละแหลง่ เรยี นรู้ เป็นส่วนทบี่ อกรายละเอียดส่อื การเรยี นรู้และแหล่งเรียนรู้ที่ต้องใช้สาหรับการเรียนในบท เรื่อง และ กิจกรรมน้ัน ๆ โดยสื่อการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ประกอบด้วยหน้าหนังสือเรียนและแบบบันทึกกิจกรรม และอาจมีโปรแกรมประยุกต์ เว็บไซต์ ส่ือสิ่งพิมพ์ ส่ือโสตทัศนูปกรณ์หรือตัวอย่างวีดิทัศน์ปฏิบัติการ ทางวิทยาศาสตรเ์ พอื่ เสรมิ สรา้ งความมนั่ ใจในการสอนปฏบิ ัติการวทิ ยาศาสตร์สาหรับครู 6. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 เป็นทักษะที่นักเรียนจะได้ฝึกปฏิบัติในแต่ละกิจกรรม โดยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นทักษะที่นักวิทยาศาสตร์นามาใช้ในกระบวนการต่าง ๆ ในการสืบเสาะหาความรู้ ส่วนทักษะแห่ง ศตวรรษท่ี 21 เป็นทักษะที่ช่วยเสริมสร้างการเรียนรู้และพัฒนาความสามารถของนักเรียนในด้านต่าง ๆ เพอ่ื ให้ทนั ตอ่ การเปลี่ยนแปลงของโลก สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

ฐ คมู่ ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 ตวั อยา่ งวดี ิทัศน์ปฏิบัติการวิทยาศาสตรเ์ พ่ือฝึกฝนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาส รายการตัวอย่างวดี ิทัศนป์ ฏบิ ตั ิการ ทกั ษะกระบวนการทางวิท ทางวิทยาศาสตร์ วดี ทิ ัศน์ การสังเกตและการลงความเหน็ จากขอ้ มูล การสงั เกตและการลงความเห็น ทาได้อย่างไร วดี ทิ ัศน์ การวัดทาไดอ้ ย่างไร การวดั วดี ทิ ศั น์ การใชต้ ัวเลขทาได้อยา่ งไร การใชจ้ านวน วีดทิ ัศน์ การจาแนกประเภททาได้อยา่ งไร การจาแนกประเภท วดี ิทัศน์ การหาความสัมพนั ธร์ ะหว่างสเปซ การหาความสมั พันธร์ ะหวา่ งสเ กบั สเปซทาไดอ้ ย่างไร  สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

สตรต์ า่ ง ๆ มีดังนี้ ทยาศาสตร์ Short link QR code นจากข้อมลู http://ipst.me/8115 http://ipst.me/8116 http://ipst.me/8117 http://ipst.me/8118 เปซกบั สเปซ http://ipst.me/8119

รายการตัวอย่างวีดิทัศน์ปฏบิ ัติการ ทกั ษะกระบวนการทางวิท ทางวิทยาศาสตร์ วีดิทศั น์ การหาความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสเปซกับเวลา การหาความสมั พนั ธ์ระหว่างสเ ทาได้อยา่ งไร วีดิทศั น์ การจัดกระทาและสื่อความหมายข้อมูล การจดั กระทาและส่ือความหม ทาได้อยา่ งไร วีดทิ ศั น์ การพยากรณ์ทาได้อย่างไร การพยากรณ์ วดี ิทศั น์ ทาการทดลองได้อยา่ งไร การทดลอง วีดทิ ัศน์ การตง้ั สมมติฐานทาได้อย่างไร การตง้ั สมมตฐิ าน

คมู่ ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 ฑ ทยาศาสตร์ Short link QR code เปซกับเวลา http://ipst.me/8120 มายข้อมูล http://ipst.me/8121 http://ipst.me/8122 http://ipst.me/8123 http://ipst.me/8124 สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

ฒ คูม่ อื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 รายการตวั อย่างวีดิทศั นป์ ฏบิ ตั ิการ ทักษะกระบวนการทางวิท ทางวิทยาศาสตร์ การกาหนดและควบคุมตัวแปร วีดิทศั น์ การกาหนดและควบคมุ ตวั แปร และ การกาหนดนิยามเชิงปฏบิ ตั กิ าร การกาหนดนยิ ามเชิงปฏิบัตกิ ารทาได้ อย่างไร วีดิทศั น์ การตีความหมายของข้อมูลและลงข้อสรปุ การตคี วามหมายข้อมูลและลงข ทาได้อย่างไร วดี ิทศั น์ การสรา้ งแบบจาลองทาได้อย่างไร การสร้างแบบจาลอง  สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ทยาศาสตร์ Short link QR code http://ipst.me/8125 ร และ ร ขอ้ สรุป http://ipst.me/8126 http://ipst.me/8127

คมู่ ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 ณ 7. แนวคดิ คลาดเคลื่อน เป็นความเชื่อ ความรู้ หรือความเข้าใจท่ีเกิดขึ้นกับนักเรียน ซ่ึงอาจเกิดขึ้นจากประสบการณ์ใน การเรียนรู้ท่ีรับมาผิดหรือนาความรู้ท่ีได้รับมาสรุปความเข้าใจของตนเองผิด แล้วไม่สามารถอธิบาย ความเข้าใจน้ันได้ โดยเม่ือเรียนจบบทน้ีแล้วครูควรแก้ไขแนวคิดคลาดเคลื่อนนั้นให้เป็นแนวคิดท่ี ถกู ตอ้ ง 8. บทนเ้ี ร่มิ ตน้ อยา่ งไร เปน็ แนวทางสาหรับครูในการจัดการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์เพอื่ ส่งเสริมให้นักเรยี นรจู้ กั คิดด้วยตนเอง รู้จักค้นคว้าหาเหตุผล โดยครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสนใจในบทเรียนน้ัน ๆ และให้นักเรียนตอบ คาถามสารวจความรกู้ ่อนเรียน จากนัน้ ครสู งั เกตการตอบคาถามของนักเรียนโดยครูยังไม่เฉลยคาตอบ ที่ถูกต้อง เพื่อใหน้ ักเรยี นไปหาคาตอบจากเรื่องและกิจกรรมต่าง ๆ ในบทนั้น 9. เวลาท่ใี ช้ เป็นการเสนอแนะว่าในแต่ละส่วนควรใช้เวลาประมาณกี่ช่ัวโมง เพ่ือช่วยให้ครูผู้สอนได้จัดทา แผนการจัดการเรยี นรู้ได้อยา่ งเหมาะสม อย่างไรก็ตามครูอาจปรับเปลี่ยนเวลาได้ตามสถานการณ์และ ความสามารถของนกั เรียน 10. วัสดุอปุ กรณ์ เป็นรายการวัสดุอุปกรณ์ท่ีใช้ท้ังหมดในการจัดกิจกรรม โดยอาจมีท้ังวัสดุส้ินเปลือง อุปกรณ์ สาเร็จรูป อปุ กรณพ์ ้ืนฐาน หรอื อ่ืน ๆ 11. การเตรยี มตวั ลว่ งหนา้ สาหรับครู เพอื่ จดั การเรยี นรู้ในคร้ังถัดไป เป็นการเตรียมตัวลว่ งหนา้ สาหรับครสู าหรบั การจัดการเรียนรู้ในครั้งถัดไป เพ่ือครูจะได้เตรียมสื่อ อุปกรณ์ เคร่ืองมือต่าง ๆ ที่ต้องใช้ในกิจกรรมให้อยู่ในสภาพที่ใช้การได้ดีและมีจานวนที่เพียงพอกับ นักเรียน โดยอาจมีบางกิจกรรมต้องทาล่วงหน้าหลายวัน เช่น การเตรียมถุงปริศนาและข้าวโพดค่ัว หรือส่ิงที่กินได้ ข้อเสนอแนะเพ่มิ เตมิ นักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษา มีกระบวนการคิดท่ีเป็นรูปธรรม จึงควรจัดการเรียนการสอนท่ี มุ่งเน้นให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติหรือทาการทดลองซึ่งเป็นวิธีหนึ่งที่นักเรียนจะได้มีประสบการณ์ตรง ดังน้ัน ครูผสู้ อนจึงตอ้ งเตรยี มตัวเองในเร่อื งต่อไปนี้ 11.1 บทบาทของครู โดยครูจะต้องเปลี่ยนแปลงบทบาทจากการเป็นผู้ช้ีนาหรือผู้ถ่ายทอด ความรู้เป็นผู้ช่วยเหลือ ส่งเสริมและสนับสนุนนักเรียนในการแสวงหาความรู้จากส่ือและ แหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ และให้ข้อมูลที่ถูกต้องแก่นักเรียน เพื่อนาข้อมูลเหล่าน้ันไปใช้ สรา้ งสรรคค์ วามรขู้ องตนเอง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

ด คู่มอื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 11.2 การเตรียมตัวของครูและนักเรียน โดยครูควรเตรียมนักเรียนให้พร้อมอยู่เสมอในการทา กจิ กรรมตา่ ง ๆ บางครงั้ นักเรยี นไม่เข้าใจและอาจจะทากิจกรรมไม่ถูกต้อง ดังน้ันครูจึงต้อง เตรียมตัวเอง โดยทาความเขา้ ใจในเรื่องตอ่ ไปน้ี การสืบค้นขอ้ มลู หรือการค้นคว้าเป็นการหาความรดู้ ว้ ยตนเอง โดยวิธีการต่าง ๆ เช่น การสอบถามจากผู้รู้ในท้องถ่ิน การดูจากรูปภาพแผนภูมิ การอ่านหนังสือหรือเอกสาร เท่าท่ีหาได้ น่ันคือการให้นักเรียนเป็นผู้หาความรู้และพบความรู้หรือข้อมูลด้วยตนเอง ซึ่ง เป็นการเรียนรู้วธิ แี สวงหาความรู้ การนาเสนอ มหี ลายวิธี เช่น การให้นักเรียนหรือตัวแทนกลุ่มออกมาเล่าเรื่องท่ีได้รับ มอบหมายให้ไปสารวจ สังเกต หรือทดลองหรืออาจให้เขียนเป็นคาหรือเป็นประโยคลงใน แบบบันทึกกิจกรรมหรือสมุดอื่นตามความเหมาะสม นอกจากน้ีอาจให้วาดรูป หรือตัด ข้อความจากหนงั สอื พิมพ์ แลว้ นามาตดิ ไว้ในห้อง เปน็ ตน้ การสารวจ ทดลอง สืบค้นข้อมูล สร้างแบบจาลองหรืออ่ืน ๆ เพื่อสร้างองค์ความรู้ เป็นสิ่งสาคัญย่ิงต่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ครูผู้สอนสามารถให้นักเรียนทากิจกรรมได้ทั้ง ในหอ้ งเรียน นอกหอ้ งเรยี นหรือท่ีบ้าน โดยไม่จาเป็นต้องใช้อุปกรณ์วิทยาศาสตร์ราคาแพง ซง่ึ อาจดัดแปลงจากสงิ่ ของเหลือใช้ หรือใช้วัสดุธรรมชาติ ส่วนต่างๆ ของพืช หรือสัตว์ มา ทากิจกรรมได้ ข้อสาคัญ คือ ครูผู้สอนตอ้ งใหน้ ักเรียนทราบว่า ทาไมจึงต้องทากิจกรรมน้ัน และจะตอ้ งทาอะไร อยา่ งไร ผลจากการทากิจกรรมจะสรุปผลอย่างไร ซึ่งจะทาให้นักเรียน ได้ความรู้ ความคิด และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์พร้อมกับเกิดค่านิยม คณุ ธรรม เจตคตทิ างวิทยาศาสตรด์ ว้ ย 12. แนวการจัดการเรยี นรู้ เป็นแนวทางสาหรับครูในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ท่ีมุ่งส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักคิด ด้วยตนเอง รู้จักค้นคว้าหาเหตุผลและสามารถแก้ปัญหาได้ด้วยการนาเอาวิธีการต่าง ๆ ของกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ วิธีการจัดการเรียนรู้ท่ี สสวท. เห็นว่าเหมาะสมที่จะนานักเรียนไปสู่เป้าหมายท่ี กาหนดไว้ก็คือ วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ซึ่งมีองค์ประกอบท่ีสาคัญ คือ การมองเห็นปัญหา การ สารวจตรวจสอบ และอภปิ รายซกั ถามระหว่างครกู ับนกั เรยี นเพื่อนาไปส่ขู ้อมลู สรุป ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ นอกจากครูจะจัดกิจกรรมต่าง ๆ ตามคู่มือครูนี้ ครูสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามบริบทของ ตนเองใหบ้ รรลจุ ดุ มุ่งหมาย โดยจะคานึงถึงเร่ืองตา่ ง ๆ ดังต่อไปนี้ 12.1 การมสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน โดยครูควรให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมใน กจิ กรรมการเรียนรู้ตลอดเวลาด้วยการกระตุ้นให้นักเรียนลงมือทากิจกรรมและอภิปรายผล โดยใช้เทคนิคต่าง ๆ ของการสอน เช่น การใช้คาถาม การเสริมพลังมาใช้ให้เป็นประโยชน์ ทจ่ี ะทาใหก้ ารเรียนการสอนนา่ สนใจและมชี วี ติ ชวี า  สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 ต 12.2 การใชค้ าถาม โดยครูควรวางแผนการใช้คาถามอย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือจะนานักเรียนเข้า สู่บทเรียนและลงข้อสรุปได้โดยท่ีไม่ใช้เวลานานเกินไป ซ่ึงครูควรเลือกใช้คาถามท่ีมีความ ยากงา่ ยพอเหมาะกบั ความสามารถของนักเรียน 12.3 การสารวจตรวจสอบซ้า เป็นส่ิงจาเป็นเพื่อให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือ ดังน้ันในการจัดการเรียนรู้ ครู ควรเนน้ ย้าให้นกั เรียนได้สารวจตรวจสอบซา้ เพอ่ื นาไปสู่ข้อสรปุ ท่ีถูกต้องมากข้ึนและเชอ่ื ถอื ได้ 13. ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เติม เป็นข้อเสนอแนะสาหรับครูที่อาจเป็นประโยชน์ในการจัดการเรียนรู้ เช่น ตัวอย่างวัสดุอุปกรณ์ที่ เหมาะสม หรือใช้แทน ข้อควรระวัง วิธีการใช้อุปกรณ์ให้เหมาะสมและปลอดภัย วิธีการทากิจกรรม เพ่ือลดขอ้ ผดิ พลาด ตัวอยา่ งตาราง และเสนอแหล่งเรยี นรเู้ พือ่ การค้นคว้าเพิ่มเติม 14. ความร้เู พ่ิมเติมสาหรบั ครู เป็นความรู้เพิ่มเติมในเน้ือหาที่สอนซึ่งจะมีรายละเอียดท่ีลึกข้ึน เพื่อเพิ่มความรู้และความมั่นใจ ให้กับครูในเร่ืองที่จะสอนและแนะนานักเรียนที่มีความสามารถสูง แต่ครูต้องไม่นาไปสอนนักเรียน เพราะไม่เหมาะสมกับวัยและระดบั ชน้ั 15. อยา่ ลืมนะ เป็นส่วนที่เตือนไม่ให้ครูเฉลยคาตอบที่ถูกต้องให้กับนักเรียน หรือครูรับฟังความคิดและ เหตุผลของนักเรียนก่อน โดยครูควรให้คาแนะนาที่จะช่วยให้นักเรียนหาคาตอบได้ด้วยตนเองและให้ ความสนใจต่อคาถามของนกั เรยี นทกุ คน เพ่อื ใหน้ กั เรียนไดค้ ิดด้วยตนเองและครจู ะได้ทราบว่านักเรียน มีความรู้ความเขา้ ใจในเรอื่ งนั้นอย่างไรบ้าง 16. แนวการประเมนิ การเรยี นรู้ เป็นการประเมินการเรียนรู้ของนักเรียนท่ีได้จากการอภิปรายในช้ันเรียน คาตอบของนักเรียน ระหว่างการจัดการเรียนรู้และในแบบบันทึกกิจกรรม รวมท้ังการฝึกทักษะกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์และทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 จากการทากจิ กรรมของนักเรยี น 17. กิจกรรมทา้ ยบท เปน็ สว่ นท่ใี หน้ ักเรยี นไดส้ รุปความรู้ ความเขา้ ใจ ในบทเรยี น และไดต้ รวจสอบความรใู้ น เนื้อหาที่เรยี นมาทงั้ บท หรอื อาจตอ่ ยอดความรู้ในเรอ่ื งนน้ั ๆ ขอ้ แนะนาเพ่มิ เติม 1. การสอนการอ่าน พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายของคาว่า “อ่าน” หมายถึง ว่าตาม ตวั หนังสอื ถา้ ออกเสียงด้วย เรยี กว่า อ่านออกเสียง ถ้าไม่ต้องออกเสียง เรียกว่า อ่านในใจ หรืออีกความหมาย ของคาว่า “อ่าน” หมายถึง สังเกตหรือพิจารณาดูเพ่ือให้เข้าใจ เช่น อ่านสีหน้า อ่านริมฝีปาก อ่านใจ ตีความ เช่น อ่านรหสั อ่านลายแทง สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

ถ ค่มู อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 เมื่อปีพุทธศักราช 2541 กรมวิชาการ ได้กล่าวถึงความสาคัญของการอ่านไว้ว่า การอ่านเป็นทักษะท่ี สาคัญ จาเป็นตอ้ งเน้นและฝึกฝนใหแ้ กน่ กั เรียนเป็นอย่างมาก เนื่องจากการอ่านเป็นกระบวนการสาคัญท่ีทาให้ ผ้อู ่านสรา้ งความหมายหรอื พฒั นาการวเิ คราะห์ ตคี วามในระหว่างอ่าน ผู้อ่านจะต้องรูห้ วั เร่อื ง รู้จุดประสงค์การ อ่าน มีความรู้ทางภาษาใกล้เคียงกับภาษาท่ีใช้ในหนังสือที่อ่านและจาต้องใช้ประสบการณ์เดิมท่ีเป็น ประสบการณ์พื้นฐานของผู้อ่าน ทาความเข้าใจเรื่องที่อ่าน ทั้งน้ีนักเรียนแต่ละคนอาจมีทักษะในการอ่านที่ แตกต่างกนั ข้ึนกับองค์ประกอบหลายอย่าง เช่น ประสบการณ์เดิมของนักเรียน ความสามารถด้านภาษา หรือ ความสนใจเร่ืองท่ีอ่าน ครูควรสังเกตนักเรียนว่านักเรียนแต่ละคนมีความสามารถในการอ่านอยู่ในระดับใด ซ่ึง ครูจะต้องพิจารณาท้ังหลักการอ่าน และความเข้าใจในการอ่านของนักเรียน ทั้งนี้ สสวท. ขอเสนอแนะวิธีการ สอนแบบต่าง ๆ เพือ่ เป็นการฝึกทกั ษะการอา่ นของนักเรยี น ดงั น้ี  เทคนคิ การสอนแบบ DR-TA (The directed reading-thinking activity) เป็นการสอนอ่านที่มุ่งเน้นให้นักเรียนได้ฝึกกระบวนการคิด กลั่นกรองและตรวจสอบข้อมูลที่ได้จากการ อ่านดว้ ยตนเอง โดยให้นักเรียนคาดคะเนเน้ือหาหรือคาตอบล่วงหน้าจากประสบการณ์เดิมของนักเรียน โดยมี ข้ันตอนการจัดการเรียนการสอน ดังนี้ 1. ครูจัดแบง่ เนอ้ื เรื่องทจี่ ะอา่ นออกเปน็ สว่ นยอ่ ย และวางแผนการสอนอา่ นของเนื้อเรอ่ื งทัง้ หมด 2. ในการนาเข้าสู่บทเรยี น ครูชักชวนให้นักเรียนคิดวา่ นักเรียนรู้อะไรเกยี่ วกับเรอื่ งท่จี ะอ่านบ้าง 3. ครูใหน้ กั เรยี นสังเกตรูปภาพ หวั ขอ้ หรืออน่ื ๆ ทีเ่ ก่ียวกับเน้อื หาท่ีจะเรียน 4. ครูตั้งคาถามให้นักเรียนคาดคะเนเน้ือหาของเร่ืองที่กาลังจะอ่าน ซึ่งอาจให้นักเรียนคิดว่าจะได้เรียน เกีย่ วกบั อะไร โดยครูพยายามกระตุ้นใหน้ ักเรียนไดแ้ สดงความคิดเหน็ หรือคาดคะเนเนื้อหา 5. ครูอาจให้นักเรียนเขียนสิ่งที่ตนเองคาดคะเนไว้ โดยจะทาเป็นรายคนหรือเป็นคู่ก็ได้ หรือครูนา อภปิ รายแลว้ เขียนแนวคดิ ของนักเรยี นแตล่ ะคนไวบ้ นกระดาน 6. นักเรียนอ่านเนื้อเรื่อง จากนั้นประเมินหรือตรวจสอบ และอภิปรายว่าการคาดคะเนของตนเองตรง กับเนื้อเรือ่ งที่อ่านหรือไม่ ถ้านักเรียนประเมินว่าเร่ืองที่อ่านมีเน้ือหาตรงกับที่คาดคะเนไว้ให้นักเรียน แสดงข้อความท่สี นบั สนุนการคาดคะเนของตนเองจากเน้ือเรอื่ ง 7. ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน โดยครูวิเคราะห์ว่านักเรียนแต่ละคนสามารถใช้การคาดคะเนด้วย ตนเองอย่างไรบา้ ง 8. ทาซ้าข้ันตอนเดิมในการอ่านเนื้อเรื่องส่วนอื่น ๆ เม่ือจบท้ังเรื่องแล้ว ครูปิดเรื่องโดยการทบทวน เนื้อหาและอภปิ รายถงึ วิธกี ารคาดคะเนของนักเรยี นที่ควรใช้สาหรบั การอา่ นเรื่องอืน่ ๆ  เทคนคิ การสอนแบบ KWL (Know – Want – Learning) เป็นการสอนอ่านที่มุ่งเน้นให้นักเรียนได้เช่ือมโยงประสบการณ์เดิมกับประสบการณ์ใหม่อย่างเป็น รูปธรรมและเป็นระบบ โดยผ่านตาราง 3 ช่อง คือ K-W-L (นักเรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับเร่ืองที่จะอ่าน นักเรียน ต้องการรู้อะไรเก่ียวับเร่ืองที่จะอ่าน นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากเรื่องที่อ่าน) โดยมีขั้นตอนการจัดการเรียน การสอน ดังนี้  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 ท 1. ครูนาเข้าสู่บทเรียนด้วยการกระตุ้นความสนใจของนักเรียนเพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่เรื่องท่ีจะอ่าน เช่น การใช้คาถาม การนาดว้ ยรปู ภาพหรือวดี ทิ ศั นท์ ี่เกยี่ วกับเนือ้ เรอื่ ง 2. ครูทาตารางแสดง K-W-L และอธิบายข้ันตอนการทากิจกรรมโดยใช้เทคนิค K-W-L ว่ามีข้ันตอน ดงั นี้ ขั้นที่ 1 กิจกรรมก่อนการอ่าน เรียกว่า ขั้น K มาจาก know (What we know) เป็นข้ันตอนท่ีให้ นักเรียนระดมสมองแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่จะอ่าน แล้วบันทึกสิ่งท่ีตนเองรู้ลงใน ตารางช่อง K ขั้นตอนนี้ช่วยให้นักเรียนรู้ว่าตนเองรู้อะไรแล้วต้องอ่านอะไร โดยครูพยายาม ตัง้ คาถามกระต้นุ ให้นักเรยี นได้แสดงความคิดเหน็ ขัน้ ท่ี 2 กิจกรรมระหว่างการอ่าน เรียกว่า ข้ัน W มาจาก want (What we want to know) เป็น ข้ันตอนท่ีให้นักเรียนต้ังคาถามเก่ียวกับส่ิงท่ีต้องการรู้เกี่ยวกับเรื่องท่ีกาลังจะอ่าน โดยครูและ นกั เรียนรว่ มกันกาหนดคาถาม แลว้ บนั ทกึ สิ่งท่ตี อ้ งการรลู้ งในตารางช่อง W ข้ันที่ 3 กิจกรรมหลังการอ่าน เรียกว่า ข้ัน L มาจาก learn (What we have learned) เป็น ข้ันตอนที่สารวจว่าตนเองได้เรียนรู้อะไรบ้างจากการอ่าน โดยหลังจากอ่านเนื้อเร่ือง นักเรียน หาข้อความมาตอบคาถามท่ีกาหนดไว้ในตารางช่อง W จากนั้นนาข้อมูลที่ได้จากการอ่านมา จดั ลาดบั ความสาคญั ของข้อมลู และสรุปเน้ือหาสาคัญลงในตารางช่อง L 3. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันสรุปเนือ้ หา โดยการอภปิ รายหรือตรวจสอบคาตอบในตาราง K-W-L 4. ครแู ละนกั เรียนอาจรว่ มกันอภิปรายเกยี่ วกบั การใช้ตาราง K-W-L มาช่วยในการเรียนการสอนการอ่าน  เทคนิคการสอนแบบ QAR (Question-answer relationship) เป็นการสอนอ่านท่ีมุ่งเน้นให้นักเรียนมีความเข้าใจในการจัดหมวดหมู่ของคาถามและตั้งคาถาม เพ่ือจะ ไดม้ าซง่ึ แนวทางในการหาคาตอบ ซ่ึงนักเรียนจะได้พิจารณาจากข้อมูลในเน้ือเรื่องที่จะเรียนและประสบการณ์ เดิมของนักเรียน โดยมขี ้ันตอนการจัดการเรียนการสอน ดังนี้ 1. ครจู ดั ทาชดุ คาถามตามแบบ QAR จากเรื่องท่ีนักเรียนควรรู้หรือเร่ืองใกล้ตัวของนักเรียน เพ่ือช่วยให้ นักเรียนเข้าใจถึงการจัดหมวดหมู่ของคาถามตามแบบ QAR และควรเช่ือมโยงกับเรื่องท่ีจะอ่าน ต่อไป 2. ครูแนะนาและอธิบายเกี่ยวกับการสอนแบบ QAR โดยครูควรชี้แจงนักเรียนในการอ่านและต้ังคาถาม ตามหมวดหมู่ ได้แก่ คาถามท่ีตอบโดยใช้เน้ือหาจากส่ิงที่อ่าน คาถามที่ต้องคิดและค้นคว้าจากส่ิงที่อ่าน คาถามทีไ่ มม่ คี าตอบโดยตรงในเนอื้ หาซ่ึงนักเรียนใช้ความรู้เดิมและสิ่งท่ีผู้เขียนเขียนไว้ และคาถามท่ี ใช้ความรเู้ ดมิ ของนกั เรยี นในการตอบคาถาม 3. นกั เรยี นอา่ นเนื้อเรื่อง ต้ังคาถามและตอบคาถามตามหมวดหมู่ และร่วมกันอภิปรายเพื่อสรุปคาตอบ ของคาถาม 4. ครูและนักเรยี นร่วมกนั อภิปรายเก่ยี วกบั การใชเ้ ทคนคิ นีด้ ้วยตนเองได้อยา่ งไร สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

ธ ค่มู อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 5. ครูและนักเรียนอาจร่วมกันอภิปรายเกยี่ วกบั การใช้ตาราง K-W-L มาช่วยในการเรยี นการสอนการอ่าน 2. การใชง้ านสือ่ QR CODE QR CODE เป็นรหัสหรือภาษาที่ต้องใช้โปรแกรมอ่านหรือสแกนข้อมูลออกมา ซ่ึงต้องใช้งานผ่าน โทรศัพท์เคลื่อนท่ีหรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีติดต้ังกล้องไว้ แล้วอ่าน QR Code ผ่านโปรแกรมต่าง ๆ เช่น LINE (สาหรับโทรศัพท์เคลื่อนท่ี) Code Two QR Code Reader (สาหรับคอมพิวเตอร์) Camera (สาหรับ ผลติ ภณั ฑ์ของ Apple Inc.) ขนั้ ตอนการใช้งาน 1. เปดิ โปรแกรมสาหรบั อา่ น QR Code 2. เล่ือนอุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ เชน่ โทรศัพท์เคล่อื นท่ี แท็บเล็ต เพือ่ ส่องรูป QR Code ได้ทั้งรูป 3. เปิดไฟล์หรือลงิ กท์ ่ีขึ้นมาหลังจากโปรแกรมได้อ่าน QR CODE **หมายเหตุ อุปกรณ์ที่ใช้อา่ น QR CODE ต้องเปดิ Internet ไว้เพือ่ ดึงข้อมูล 3. การใช้งานโปรแกรมประยุกต์ความจริงเสริม (ภาพเคล่ือนไหว 3 มิติ) โปรแกรมประยุกตค์ วามจริงเสริม (AR) เป็นโปรแกรมที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นสื่อเสริมช่วยให้นักเรียนเข้าใจ เนื้อหาสาระของแต่ละชั้นปีอย่างเป็นรูปธรรมมากข้ึน ซ่ึงสาหรับระดับประถมศึกษาปีท่ี 4 จะใช้งานผ่าน โปรแกรมประยกุ ต์ “วิทย์ ป.4” ซ่งึ สามารถดาวน์โหลดไดท้ าง Play Store หรือ Apps Store **หมายเหตุ เน่ืองจากโปรแกรมมีขนาดไฟล์ที่ใหญ่ประมาณ 150 เมกะไบต์ หากพื้นที่จัดเก็บไม่เพียงพออาจ ต้องลบขอ้ มูลบางอยา่ งออกก่อนติดตั้งโปรแกรม ข้นั ตอนการติดต้ังโปรแกรม 1. เข้าไปที่ Play Store ( ) หรือ Apps Store ( ) 2. ค้นหาคาวา่ “วิทย์ ป.4” 3. กดเขา้ ไปทโ่ี ปรแกรมประยุกต์ท่ี สสวท. พฒั นา 4. กด “ตดิ ตง้ั ” และรอจนติดตั้งเรยี บรอ้ ย 5. เข้าสู่โปรแกรมจะปรากฏหน้าแรก จากนั้นกด “วิธีการใช้งาน” เพ่ือศึกษาการใช้งานโปรแกรม เบื้องตน้ ดว้ ยตนเอง 6. หลังจากศึกษาวิธีการใช้งานด้วยตนเองแล้ว กด “สแกน AR” และเปดิ หนงั สือเรียนหนา้ ท่ีมสี ญั ลักษณ์ AR 7. ส่องรูปท่ีอยู่บริเวณสัญลักษณ์ AR โดยมีระยะห่างประมาณ 10 เซนติเมตร และเลือกดภู าพในมมุ มองตา่ ง ๆ ตามความสนใจ  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 น การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตรใ์ นระดบั ประถมศกึ ษา นักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนต้น (ป.1 - ป.3) ตามธรรมชาติแล้วมีความอยากรู้อยากเห็น เกย่ี วกับสงิ่ ตา่ งๆ รอบตวั และเรยี นรู้ไดด้ ีที่สดุ ดว้ ยการคน้ พบ จากการลงมือปฏบิ ตั ดิ ว้ ยตนเองโดยอาศัยประสาท สัมผัสท้ังห้า ส่วนนักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนปลาย (ป.4 - ป.6) มีพัฒนาการทางสติปัญญาจากข้ันการคิด แบบรูปธรรมไปสู่ขั้นการคิดแบบนามธรรม มีความสนใจในส่ิงต่าง ๆ รอบตัว และสนใจว่าส่ิงต่าง ๆ ถูกประกอบ เข้าด้วยกันอย่างไร และสิ่งเหล่านั้นทางานกันอย่างไร นักเรียนในช่วงวัยนี้สามารถทางานร่วมกันเป็นกลุ่มได้ ดังน้ันการจัดการเรียนการสอนให้กับนักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนต้น คือ การให้โอกาสนักเรียนมีส่วน รว่ มในการลงมอื ปฏบิ ัติ การสารวจตรวจสอบ การคน้ พบ ตามด้วยการตั้งคาถามเพื่อนาไปสู่การอภิปราย มีการ แลกเปลี่ยนผลการทดลองด้วยคาพูด หรือวาดภาพ และมีการอภิปรายเพ่ือสรุปผลร่วมกัน สาหรับนักเรียนใน ระดับช้ันประถมศึกษาตอนปลายต้องการโอกาสที่จะมีส่วนร่วมในการทากิจกรรมกลุ่มโดยการทางานแบบ ร่วมมือ ดังน้ันจึงควรส่งเสริมให้นักเรียนทาโครงงานวิทยาศาสตร์ร่วมกันซึ่งจะเป็นการสร้างความสามัคคี และ ประสานสัมพนั ธร์ ะหวา่ งนกั เรียนในระดบั น้ีด้วย การจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ การสบื เสาะหาความรูท้ างวทิ ยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรูท้ างวทิ ยาศาสตร์ หมายถึงวิธีการที่นักวิทยาศาสตร์ใช้เพื่อศึกษาสิ่งต่าง ๆ รอบตัวอย่าง เป็นระบบ และเสนอคาอธิบายเก่ียวกับสิ่งท่ีศึกษาด้วยข้อมูลที่ได้จากการทางานทางวิทยาศาสตร์ มีวิธีการอยู่ หลากหลาย เชน่ การสารวจ การสืบค้น การทดลอง การสร้างแบบจาลอง นักเรยี นทกุ ระดบั ชน้ั ควรได้รบั โอกาสในการสืบเสาะหาความรทู้ างวิทยาศาสตร์และพัฒนาความสามารถในการ คิดและแสดงออกด้วยวิธีการที่เชื่อมโยงกับการสืบเสาะหาความรู้ซึ่งรวมทั้งการต้ังคาถาม การวางแผนและดาเนินการ สืบเสาะหาความรู้ การใช้เคร่ืองมือและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมในการรวบรวมข้อมูล การคิดอย่างมีวิจารณญาณและมี เหตุผลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างพยานหลักฐานและการอธิบาย การสร้างและวิเคราะห์คาอธิบายที่หลากหลาย และการสื่อสารข้อโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ การจดั การเรียนการสอนที่เน้นการสบื เสาะหาความรู้ เป็นการจัดการเรียนการสอนที่ให้นักเรียนมีส่วนร่วมใน กระบวนการทานาย จัดกระทาและตีความหมายข้อมูล และสื่อสารเก่ียวกับผลท่ีได้โดยใช้คาศัพท์ทางวิทยาศาสตร์ วิธีการน้ีมีศักยภาพสูงในการจูงใจนักเรียนและทาให้นักเรียนตื่นตัว เป็นการกระตุ้นความอยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับ สิ่งต่างๆ รอบตัวนักเรียน และในขณะเดียวกันก็พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วย การนาวิธีนี้ไปใช้ได้ อยา่ งประสบความสาเรจ็ ต้องอาศัยการเตรยี มตัวและการคิดล่วงหน้าของครูผู้สอน การจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นการ สืบเสาะหาความรู้ ควรมีหลายรูปแบบ แต่ละรูปแบบมีความต่อเนื่องกันจากที่เน้นครูเป็นสาคัญไปจนถึงเน้นนักเรียน เป็นสาคัญ ดงั น้ี การสืบเสาะหาความรู้แบบครเู ป็นผกู้ าหนดแนวทาง (Structured Inquiry) การสืบเสาะหาความรู้แบบ ท้ังครแู ละนกั เรยี นเปน็ ผ้กู าหนดแนวทาง (Guided Inquiry) การสืบเสาะหาความรู้แบบนักเรียนเป็นผู้กาหนดแนวทาง สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

บ คมู่ อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 (Open Inquiry) นกั เรยี นทากจิ กรรมตามที่ครูกาหนด นักเรยี นพัฒนาวิธี ดาเนินการสารวจ ตรวจสอบจากคาถามที่ครู ต้ังขน้ึ นักเรยี นต้งั คาถามในหวั ขอ้ ท่คี รูเลือก พรอ้ มทง้ั ออกแบบการสารวจตรวจสอบด้วยตนเอง การสืบเสาะหาความรูแ้ บบครูเปน็ ผู้กาหนดแนวทาง (Structured Inquiry) การสืบเสาะหาความรู้ด้วยวิธีน้ีครูเป็นผู้ต้ังคาถามและบอกวิธีการให้นักเรียนค้นหาคาตอบ ครูช้ีแนะ นักเรียนทุกขั้นตอนโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เน้ือหาบางเร่ืองในสาระการเรียนรู้เหมาะท่ีจะใช้การ สืบเสาะด้วยวิธนี ้ี โดยเฉพาะเรือ่ งทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับคาถามตามมาตรฐานการเรียนรู้ท่ีต้องใช้เคร่ืองมือทดลองพิเศษ เช่น  พชื สญู เสยี น้าโดยผ่านทางใบใช่หรือไม่  อะไรบ้างท่ีจาเป็นต่อการเผาไหม้  อะไรคือความสัมพันธ์ระหว่างแรงและการเคล่ือนท่ี ประโยชน์ของการสืบเสาะหาความรู้โดยวิธีน้ีคือ ทาใหน้ กั เรยี นค้นุ เคยกบั วิธีการสืบเสาะหาความรู้ เพอ่ื นาไปสู่การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เนื่องจาก นักเรียนจะได้รับการฝึกฝนเทคนิคบางอย่าง เช่น การทดสอบค่า pH หรือการคานวณหาค่าความหนาแน่น ซ่ึงครู สามารถทราบลว่ งหน้าถึงคาถามที่นกั เรียนจะตั้งขน้ึ เพ่ือหาคาตอบ จงึ ทาใหค้ รูมีความพร้อมในสงิ่ ทต่ี อ้ งอภปิ รายรว่ มกนั การสืบเสาะหาความรู้แบบครูเป็นผู้กาหนดแนวทางอาจไม่ได้ทาให้นักเรียนมีส่วนร่วมทั้งหมดหรือไม่ได้ พัฒนาทักษะการคิดวจิ ารณญาณขั้นสงู เหมือนอย่างสองรูปแบบถัดไป การสบื เสาะหาความรู้แบบทั้งครแู ละนักเรียนเปน็ ผ้กู าหนดแนวทาง (Guided Inquiry) การสืบเสาะหาความรู้ด้วยวิธีน้ีครูเป็นผู้ตั้งคาถามและจัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสารวจตรวจสอบ ให้กับนักเรียน นักเรียนจะเป็นผู้ออกแบบการทดลองด้วยตัวเอง หัวข้อเรื่องตามมาตรฐานการเรียนรู้หลายหัวข้อ สามารถใชก้ ารสืบเสาะหาความรู้แบบนี้ คาถามทค่ี รอู าจใช้ถามนักเรียน เช่น ● จะเกิดอะไรขน้ึ กบั บอลลนู ถ้าบอลลนู ลอยจากบรเิ วณทม่ี ีอากาศร้อนไปสู่บริเวณท่มี ีอากาศเย็น ● พชื โดยทว่ั ไปมีโครงสร้างอะไรที่เหมือนกัน ● จะเกดิ อะไรขึน้ เมื่อหย่อนวัตถุท่ีมีมวลตา่ งกนั ลงในน้า การสบื เสาะหาความรู้แบบท้งั ครแู ละนกั เรียนเป็นผู้กาหนดแนวทางต้องการให้นักเรียนคุ้นเคยกับขั้นตอน หลักของการสืบเสาะหาความรู้ ครูมีความรับผิดชอบในการเตรียมการประเมินท่ีเน้นการสืบเสาะหาความรู้และ ตดิ ตามประเมินนักเรียน การสบื เสาะหาความรู้แบบนักเรียนเปน็ ผูก้ าหนดแนวทาง (Open Inquiry) การสบื เสาะหาความรู้ด้วยวิธีน้ีครูเป็นผู้จัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสารวจตรวจสอบให้กับนักเรียน แต่ นกั เรียนเป็นผตู้ ้ังคาถามและออกแบบการสารวจตรวจสอบด้วยตัวเอง ต่อไปนี้เป็นตัวอย่างวัสดุอุปกรณ์ที่ครูจัดหา ใหก้ บั นกั เรียน แลว้ ใหน้ ักเรยี นต้ังคาถามปัญหาท่ีเกี่ยวข้องกบั วัสดุอปุ กรณ์ทจี่ ัดให้ เชน่ ● เทยี นไข ไมข้ ดี ไฟ แผ่นกันแสงทีแ่ สงผา่ นได้ต่างกนั ● สง่ิ ของต่างๆ หลายชนิดที่อาจจมหรือลอยน้า ● ของแขง็ บกี เกอร์ นา้ และแท่งแก้วคน ● ถุงทม่ี ีกอ้ นหินขนาดต่าง ๆ 1 ถงุ  สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 ป เนื่องจากนักเรียนเป็นผู้ออกแบบการทดลองตามคาถามที่ต้ังข้ึนเอง จึงเป็นการยากท่ีจะใช้วิธีการนี้กับ หัวข้อเร่ืองตามมาตรฐานการเรียนรู้ สิ่งสาคัญในการสืบเสาะหาความรู้แบบน้ีคือ การที่นักเรียนเลือกหัวข้อเรื่อง หลังจากการตรวจสอบวัสดุอุปกรณ์ที่กาหนดมาให้ เพื่อให้ประสบความสาเร็จกับการสืบเสาะหาความรู้ด้วยวิธีน้ี ครูควรสามารถ จัดการเรียนการสอนได้ดงั น้ี ● วางแผนการประเมนิ ทีเ่ นน้ การสบื เสาะหาความรอู้ ย่างรอบคอบ ● สร้างกฎระเบียบในห้องเรียนในการทางานร่วมกันของนักเรียน และการใช้วัสดุอุปกรณ์การ ทดลองไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ● ใหค้ าแนะนากับนักเรียนทยี่ ังสับสนเกี่ยวกบั การสืบเสาะหาความร้โู ดยวิธนี ี้ ● เตรยี มคาถามหลงั จากการทากจิ กรรมเพื่อเช่ือมโยงกับมาตรฐานการเรียนรู้ การจัดการเรียนการ สอนแบบการสืบเสาะหาความรู้แบบนักเรียนเป็นผู้กาหนดแนวทางน้ี อาจทาให้ครูต้องเผชิญ ปัญหาเฉพาะหน้ามากขึ้นกว่า การจัดการเรียนการสอนแบบการสืบเสาะหาความรู้แบบครู เปน็ ผู้กาหนดแนวทาง แต่ถ้าใช้หัวข้อที่เหมาะสมและมีการเตรียมบทเรียนอย่างรอบคอบ วิธี นี้สามารถทาให้ท้ังนักเรียนและครูต่ืนตัว และยังเป็นการให้โอกาสนักเรียนในการพัฒนา ทกั ษะการสบื เสาะหาความร้แู ละการให้เหตุผลเชงิ วิทยาศาสตรอ์ ีกดว้ ย การสบื เสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในหอ้ งเรียน เราสามารถจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในห้องเรียนโดยจัดโอกาสให้นักเรียนได้สืบเสาะหาความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ตามท่ีหลักสูตรกาหนด ด้วยกระบวนการแบบเดียวกันกับท่ีนักวิทยาศาสตร์สืบเสาะ แต่อาจมี รูปแบบท่ีหลากหลายตามบรบิ ทและความพรอ้ มของครแู ละนกั เรยี น เช่น การสืบเสาะหาความรู้แบบปลายเปิด (Opened Inquiry) ที่นักเรียนเป็นผู้ควบคุมการสืบเสาะหาความรู้ของตนเองต้ังแต่การสร้างประเด็นคาถาม การสารวจตรวจสอบ (Investigation) และอธบิ ายสงิ่ ทีศ่ กึ ษาโดยใชข้ อ้ มูล (Data) หรอื หลักฐาน (Evidence) ท่ี ได้จากการสารวจตรวจสอบ การประเมินและเชื่อมโยงความรู้ท่ีเก่ียวข้องหรือคาอธิบายอื่นเพื่อปรับปรุง คาอธิบายของตนและนาเสนอต่อผู้อื่น นอกจากน้ี ครูอาจใช้การสืบเสาะหาความรู้ที่ตนเองเป็น ผู้กาหนด แนวในการทากิจกรรม (Structured Inquiry) โดยครูสามารถแนะนานักเรียนได้ตามความเหมาะสม ในการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ครูสามารถออกแบบการสอนให้มี ลกั ษณะสาคัญของการสืบเสาะ ดังน้ี 1. นักเรยี นมสี ว่ นรว่ มในประเดน็ คาถามทางวิทยาศาสตร์ คาถามทางวิทยาศาสตร์ในท่ีนี้หมายถึงคาถาม ที่นาไปสู่การสืบเสาะค้นหาและรวบรวมข้อมูลหลักฐาน คาถามท่ีดีควรเป็นคาถามที่นักเรียนสามารถ หาข้อมูลหรอื หลักฐานเชงิ ประจักษเ์ พ่ือตอบคาถามนนั้ ๆ ได้ 2. นักเรียนให้ความสาคัญกับข้อมูลหลักฐานในการอธิบายและประเมินคาอธิบายหรือคาตอบ นักเรียน ต้องลงมือทาปฏิบัติการ เช่น สังเกต ทดลอง สร้างแบบจาลอง เพ่ือนาหลักฐานเชิงประจักษ์ต่าง ๆ มาเชอ่ื มโยง หาแบบรูป และอธิบายหรือตอบคาถามทศี่ ึกษา สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

ผ คู่มอื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 3. นักเรียนอธิบายแนวคิดทางวิทยาศาสตร์จากหลักฐานเชิงประจักษ์ โดยต้องอยู่บนพ้ืนฐานของเหตุผล ต้องแสดงความสัมพันธ์ชองข้อมูลเชิงประจักษ์ท่ีรวบรวมได้ สามารถจาแนก วิเคราะห์ ลงความเห็น จากข้อมลู พยากรณ์ ตั้งสมมติฐาน หรือลงข้อสรุป 4. นักเรียนประเมินคาอธิบายของตนกับคาอธิบายอื่นๆ ที่สะท้อนให้เห็นถึงความเข้าใจแนวคิด ทางวิทยาศาสตร์ นักเรียนสามารถประเมิน (Judge) ข้อมูลและหลักฐานต่างๆ เพื่อตัดสินใจ (Make Decision) ว่าควรเพิกเฉยหรือนาคาอธิบายน้ันมาพิจารณาและปรับปรุงคาอธิบายของตนเอง ในขณะเดียวกันก็สามารถประเมินคาอธิบายของเพ่ือน บุคคลอ่ืน หรือแหล่งข้อมูลอ่ืน แล้วนามา เปรียบเทียบ เชื่อมโยง สมั พันธ์ แลว้ สร้างคาอธบิ ายอย่างมเี หตผุ ลและหลักฐานสนับสนุน ซง่ึ สอดคล้อง กบั ความรูท้ างวทิ ยาศาสตร์ที่ไดร้ บั การยอมรบั แลว้ 5. นักเรียนส่ือสารการค้นพบของตนให้ผู้อ่ืนเข้าใจ นักเรียนได้สื่อสารและนาเสนอการค้นพบของตนใน รูปแบบท่ีผู้อื่นเข้าใจ สามารถทาตามได้ รวมท้ังเปิดโอกาสให้ได้มีการซักและตอบคาถาม ตรวจสอบ ข้อมูล ให้เหตุผล วิจารณ์และรับคาวิจารณ์และได้แนวคิดหรือมุมมองอ่ืนในการปรับปรุงการ อธบิ าย หรอื วธิ กี ารสืบเสาะคน้ หาคาตอบ แผนผังการสืบเสาะหาความรู้ มสี ว่ นร่วมในคาถาม ส่อื สารและใหเ้ หตุผล เก็บข้อมูลหลกั ฐาน เช่ือมโยงสง่ิ ที่พบกบั ส่งิ ท่ผี ู้อืน่ พบ อธิบายสิง่ ที่พบ ภาพ วัฏจักรการสบื เสาะหาความรทู้ างวิทยาศาสตร์ในหอ้ งเรียน  สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 ฝ ในการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ ครูสามารถออกแบบการสอนให้เหมาะสม และสอดคล้องกับเน้ือหาท่ีสอน สภาพห้องเรียน ความพร้อมของครูและนักเรียน และบริบทอ่ืนๆ การยืดหยุ่น ระดบั การเรียนรแู้ บบสืบเสาะหาความรสู้ ามารถอธิบายได้ดงั ตารางท่ี 1 ตารางที่ 1 ลกั ษณะจาเป็นของการสืบเสาะหาความรใู้ นชน้ั เรยี นและระดบั ของการสืบเสาะหาความรู้ ลกั ษณะจาเป็น ระดับการสืบเสาะหาความรู้ 1. นักเรยี นมสี ่วนรว่ ม นักเรยี นเป็นผ้ถู าม นกั เรียนเลอื กคาถาม นักเรยี นพิจารณา นักเรยี นสนใจคาถาม ในประเด็นคาถาม คาถาม และสรา้ งคาถามใหม่ และปรบั คาถามท่ีครู จาก ส่อื การสอนหรอื ทางวทิ ยาศาสตร์ จากรายการคาถาม ถามหรือคาถามจาก แหลง่ อน่ื ๆ แหล่งอน่ื 2. นกั เรียนให้ นกั เรยี นกาหนด นักเรียนได้รับการ นกั เรียนได้รบั ข้อมลู นักเรียนไดร้ บั ข้อมลู ความสาคญั กบั ข้อมูลทีจ่ าเปน็ ในการ ช้นี าในการเกบ็ เพือ่ นาไปวเิ คราะห์ และการบอกเลา่ ขอ้ มลู หลกั ฐานที่ ตอบคาถามและ รวบรวมข้อมลู ท่ี เก่ยี วกับ การวเิ คราะห์ สอดคลอ้ งกบั รวบรวมขอ้ มลู จาเป็น ขอ้ มูล คาถาม 3. นกั เรียนอธบิ ายส่งิ นักเรยี นอธบิ ายส่ิงที่ นกั เรียนได้รับการ นักเรยี นไดร้ ับ นักเรยี นได้รบั หลกั ฐาน ท่ีศกึ ษาจาก ศึกษาหลงั จาก ชี้แนะในการสรา้ ง แนวทาง หรือขอ้ มลู หลกั ฐานหรอื รวบรวมและสรุป คาอธิบายจากขอ้ มูล ท่เี ป็นไปไดเ้ พอื่ สร้าง ข้อมูล ขอ้ มูล/หลักฐาน หลกั ฐาน คาอธบิ ายจากข้อมลู หลักฐาน 4. นักเรียนเชอ่ื มโยง นกั เรียนตรวจสอบ นักเรียนได้รับการ นกั เรยี นได้รบั การ นักเรียนได้รับการ คาอธิบายกบั แหล่งขอ้ มลู อืน่ และ ชี้นาเกย่ี วกับ แนะนาถึงความ เชื่อมโยงท้งั หมด องคค์ วามรูท้ าง เชอื่ มโยงกับ แหล่งข้อมูลและ เชอื่ มโยงทีเ่ ปน็ ไปได้ วทิ ยาศาสตร์ คาอธิบายที่สรา้ งไว้ ขอบเขตความรทู้ าง วิทยาศาสตร์ 5. นักเรียนสอ่ื สาร นักเรียนสรา้ ง นกั เรยี นไดร้ ับการ นกั เรียนได้รบั นักเรียนไดร้ บั และใหเ้ หตผุ ล ข้อคิดเหน็ ที่มีเหตุผล ฝกึ ฝนในการพฒั นา แนวทางกว้างๆ คาแนะนาถงึ ขั้นตอน เก่ียวกับการ และมหี ลักการเพือ่ วธิ ีการส่ือสาร สาหรับการสอื่ สารที่ และวิธกี ารสื่อสาร คน้ พบของตน สอ่ื สารคาอธิบาย ชดั เจน ตรงประเดน็ มาก ปริมาณการจัดการเรยี นรโู้ ดยนักเรยี น น้อย นอ้ ย ปริมาณการชนี้ าโดยครูหรอื ส่ือการสอน มาก สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

พ คูม่ ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 การจัดการเรยี นการสอนท่สี อดคลอ้ งกับธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตร์ และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ เป็นลักษณะเฉพาะตัวของวิทยาศาสตร์ท่ีมีความแตกต่างจากศาสตร์อ่ืน ๆ เป็นค่านิยม ข้อสรุป แนวคิด หรือคาอธิบายที่บอกว่า วิทยาศาสตร์คืออะไร มีการทางานอย่างไร นักวิทยาศาสตร์คือใคร ทางานอย่างไร และงานด้านวิทยาศาสตร์มีความสัมพันธ์อย่างไรกับสังคม ค่านิยม ขอ้ สรปุ แนวคดิ หรือคาอธิบายเหล่าน้ีจะผสมกลมกลนื อยู่ในตัววิทยาศาสตร์ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และการ พฒั นาความรู้ทางวิทยาศาสตร์สาหรับนกั เรียนในระดบั ประถมศึกษาตอนต้น ความเขา้ ใจเกี่ยวกับธรรมชาติของ วิทยาศาสตร์และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้ึนอยู่กับระดับพัฒนาการทางสติปัญญาของนักเ รียนและ ประสบการณ์ท่ีครูจัดให้กับนักเรียน ความสามารถของนักเรียนในการสังเกตและการส่ือความหมายในสิ่งท่ี สังเกตของนักเรียนในระดับนี้ค่อย ๆ พัฒนาข้ึน ครูควรอานวยความสะดวกในการพัฒนาทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์และแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน นักเรียนในระดับน้ีเร่ิมที่จะเข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ คืออะไร วิทยาศาสตร์ทางานอย่างไร และนักวิทยาศาสตร์ทางานกันอย่างไรจากการทากิจกรรมในห้องเรียน จากเร่อื งราวเกี่ยวกับนักวทิ ยาศาสตร์ และจากการอภปิ รายในหอ้ งเรียน นักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนปลายซ่ึงกาลังพัฒนาฐานความรู้โดยใช้การสังเกตมากขึ้น สามารถ นาความรู้มาใช้เพอ่ื กอ่ ให้เกดิ ความคาดหวงั เก่ยี วกับสิ่งตา่ ง ๆ รอบตวั โอกาสการเรียนรู้สาหรับนักเรียนในระดับนี้ ควรเน้นไปท่ีทักษะการต้ังคาถามเชิงวิทยาศาสตร์ การสร้างคาอธิบายท่ีมีเหตุผลโดยอาศัยพยานหลักฐานท่ี ปรากฏ และการส่ือความหมายเกยี่ วกับความคดิ และการสารวจตรวจสอบของตนเองและของนักเรียนคนอ่ืนๆ นอกจากน้ีเร่ืองราวทางประวัติศาสตร์สามารถเพ่ิมความตระหนักถึงความหลากหลายของคนในชุมชน วิทยาศาสตร์ นักเรียนในระดับน้ีควรมีส่วนร่วมในกิจกรรมท่ีช่วยให้เขาคิดอย่างมีวิจารณญาณเกี่ยวกับ พยานหลกั ฐานและความสมั พนั ธ์ระหว่างพยานหลกั ฐานกับการอธิบาย การเรียนรู้วิทยาศาสตรข์ องนกั เรยี นแตล่ ะระดับชน้ั มพี ฒั นาการเปน็ ลาดับดงั นี้ นักเรียนในระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 สามารถต้ังคาถาม บรรยายคาถามด้วยคาพูด และเขียน เก่ียวกับคาถาม เขาสามารถสารวจตรวจสอบคาถาม และรวบรวมพยานหลักฐานจากการสังเกต การสังเกต ของเขาจะมีรายละเอียดมากข้ึนและมีความสัมพันธ์กับคาถามท่ีมีอยู่ นักเรียนสามารถบันทึกข้อมูลในสิ่งที่ สังเกตและจากประสบการณ์ของเขา นักเรียนควรได้รับโอกาสในการฝึกทักษะเหล่านี้โดยผ่านการสารวจ ตรวจสอบในห้องเรียน นักเรียนควรได้รับโอกาสในการมองหาพยานหลักฐานและสังเกตแบบแผนท่ีเกิดข้ึน การอภิปรายในชั้นเรียนเพื่อแลกเปลี่ยนพยานหลักฐานและความคิดควรไปด้วยกันกับการสารวจตรวจสอบ เพ่ือให้นักเรียนได้ใช้ความสามารถท่ีเกิดข้ึนในการทบทวนความคิดที่ตั้งอยู่บนพยานหลักฐานใหม่ เร่ืองราว ต่างๆ ที่เกี่ยวกับนักวิทยาศาสตร์สามารถช่วยให้นักเรียนในระดับช้ันนี้เรียนรู้ว่า นักวิทยาศาสตร์มีความคิด  สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คูม่ ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 ฟ สรา้ งสรรค์และมคี วามอยากรู้อยากเหน็ และเขาสามารถเรียนรู้ร่วมกันและแลกเปลี่ยนความคิดของกันและกัน โดยผ่านเรื่องราวตา่ งๆทีป่ รากฏ นักเรียนสามารถเรยี นรูว้ า่ ทุกคนสามารถเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ได้ นักเรียนในระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 สามารถพัฒนาความสามารถในการออกแบบและดาเนินการ สารวจตรวจสอบเพ่ือตอบคาถามที่ได้ตั้งไว้ เขาควรได้รับการกระตุ้นในการวาดภาพส่ิงท่ีสังเกตได้และ ส่อื ความหมายความคดิ ของเขาจากสิ่งที่สังเกต เขาควรได้รับคาแนะนาในการใช้การสังเกตเพื่อสร้างคาอธิบายท่ี มีเหตุผลในการตอบคาถามของตัวเอง การอ่านและการอภิปรายเรื่องราวต่างๆ ว่าวิทยาศาสตร์คืออะไร และ วิทยาศาสตร์ทางานได้อย่างไร เหล่านี้ล้วนเป็นกลวิธีที่มีประสิทธิภาพท่ีจะทาให้นักเรียนเรียนรู้ธรรมชาติของ วิทยาศาสตรแ์ ละกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และสามารถชว่ ยนาเสนอแนวคิดเชิงวิทยาศาสตร์ใหม่ ๆ ด้วย นักเรียนในระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ในระดับน้ีครูสามารถสร้างความอยากรู้อยากเห็นเก่ียวกับ สิ่งต่าง ๆ รอบตัว โดยการให้นักเรียนได้ต้ังคาถามที่สามารถตอบได้โดยการใช้ฐานความรู้ทางวิทยาศาสตร์และ การสังเกตของตัวนักเรียนเอง นักเรียนสามารถทางานในกลุ่มแบบร่วมมือเพื่อทาการสารวจตรวจสอบที่ เริ่มต้นจากคาถามและกระบวนการท่ีนาไปสู่การค้นหาข้อมูลและการส่ือความหมายเก่ียวกับคาตอบของ คาถามน้ันๆ ครูควรเน้นให้นักเรียนสังเกตอย่างละเอียดถี่ถ้วนและสร้างคาบรรยายและคาอธิบายจากสิ่งที่ สังเกต ควรนาเสนอตัวอย่างทางประวัติศาสตร์ที่น่าสนใจของความแตกต่างระหว่างนักวิทยาศาสตร์หญิงและ ชายที่ทางานในชุมชนวิทยาศาสตร์จากเรื่องราวและวีดิทัศน์ ตัวอย่างเหล่าน้ีสามารถให้ข้อมูลเก่ียวกับว่า วิทยาศาสตรค์ อื อะไรและวิทยาศาสตร์ทางานอย่างไร นกั เรียนในระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 ควรได้รับโอกาสที่จะพัฒนาและทาการทดลองอย่างง่าย ๆ ที่ มกี ารเปลย่ี นแปลงตัวแปรเพยี งตวั เดยี วในแตล่ ะครั้งที่ทาการทดลอง นักเรียนอาจต้องการคาแนะนาบ้างในการ ทดลอง ครูจึงควรเข้าไปมีสว่ นร่วมในกิจกรรมท่ีจะชว่ ยเขาใหเ้ หตุผลเกี่ยวกับการสังเกต การสื่อความหมายกับ คนอื่น ๆ และวิจารณ์การทางานของตนเองและของคนอ่ืน ๆ โดยผ่านกิจกรรมท่ีลงมือปฏิบัติการทดลองและ การอภิปราย นักเรียน สามารถเรียนรู้ถึงความแตกต่างระหว่างการสังเกตและการลงความคิดเห็น (การ ตีความหมายสิ่งที่สังเกตได้) ขณะท่ีนักเรียนสารวจตรวจสอบคาถาม นักเรียนต้องการคาแนะนาในการค้นหา แหล่งขอ้ มูลท่ีเช่อื ถอื ไดแ้ ละบูรณาการขอ้ มูลเหล่าน้นั กบั การสังเกตของตนเอง นักเรียนควรอ่านเรื่องราวต่าง ๆ และดูวีดิทศั นเ์ กี่ยวกับตัวอยา่ งทางประวัติศาสตร์ของนักวิทยาศาสตร์ชายและหญิงที่ได้ช่วยพัฒนาวิทยาศาสตร์ นักเรียนควรมีส่วนร่วมในการอภิปรายเกี่ยวกับว่าวิทยาศาสตร์คืออะไร วิทยาศาสตร์ทางานอย่างไร และใคร ทางานวทิ ยาศาสตร์ นักเรียนในระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 ต้องการคาแนะนาในการพัฒนาและนาการสารวจ ตรวจสอบไปใช้ การสารวจตรวจสอบนี้ต้องทันสมัยและแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างการอธิบายและ พยานหลกั ฐานที่มี กจิ กรรมทนี่ กั เรียนทาให้คาถามชัดเจนช่วยให้เขาพัฒนาความสามารถในการต้ังคาถามทาง วิทยาศาสตร์ท่ีทดสอบได้ นักเรียนควรได้รับโอกาสในการตีความหมายข้อมูลและคิดอย่างมีวิจารณญาณว่า ใช่หรือไม่ที่พยานหลักฐานสนับสนุนหรือไม่สนับสนุนคาอธิบายทางวิทยาศาสตร์ ตัวอย่างทางประวัติศาสตร์ สามารถนามาใช้เพ่ือช่วยให้นักเรียนเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ว่า สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

ภ คมู่ อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 วทิ ยาศาสตร์คอื ความมานะอุตสาหะของมนษุ ย์และของคนในชุมชนวิทยาศาสตร์ และมนุษย์จะได้ผลประโยชน์ จากความรทู้ ี่เพิ่มขึ้นโดยผ่านทางวิทยาศาสตร์ นักเรียนในระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ควรเน้นการสารวจตรวจสอบท่ีท้าทายคาอธิบายและความ เข้าใจในปัจจุบันของพวกเขา นักเรียนในระดับน้ีควรดาเนินการสารวจตรวจสอบท่ีเน้นการหาคาอธิบายของ คาถาม การสารวจตรวจสอบเหล่านี้จะพัฒนานักเรียนในเร่ืองทักษะการสังเกต การทดสอบความคิด การ รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง การมองหาแบบแผนของข้อมูล การสื่อความหมายและการแลกเปล่ียนเรียนรู้ กับคนอ่ืน ๆ การฟังและการถามคาถามเก่ียวกับคาอธิบายที่นาเสนอโดยคนอ่ืนๆ เม่ือนักเรียนได้พัฒนาทักษะ เหล่านี้ นักเรียนเริ่มต้นท่ีจะเข้าใจว่านักวิทยาศาสตร์สร้างคาอธิบายโดยอาศัยพยานหลักฐานจานวนมาก วิทยาศาสตร์เปิดกว้างสู่แนวคิดใหม่ วิทยาศาสตร์ยอมรับความคิดใหม่ถ้าพยานหลักฐานชี้ว่าความคิดใหม่เป็น คาอธิบายท่ีดีที่สุด และพยานหลักฐานใหม่อาจเป็นสาเหตุให้เกิดการทบทวนความคิด การทาให้เกิดความ แตกต่างระหว่างวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สามารถเร่ิมต้นได้ในนักเรียนระดับนี้ถึงแม้ว่าจะไม่ง่ายนัก สาหรับนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ก็ตาม การมีส่วนร่วมในการออกแบบและการแก้ปัญหาเป็น พ้ืนฐานที่ทาให้เข้าใจถึงความเหมือน ความแตกต่าง และความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และสามารถช่วยให้นกั เรียนเกดิ การเรยี นรูว้ ่าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยตี า่ งก็ข้ึนอยู่กบั กันและกัน การใช้กรณี ตัวอย่างและเร่ืองราวทางประวัติศาสตร์สามารถช่วยให้นักเรียนเข้าใจว่าชุมชนวิทยาศาสตร์มีหลากหลาย นักวิทยาศาสตร์จานวนมากทางานเป็นทีม และนักวิทยาศาสตร์ท้ังหมดส่ือสารกันและกันในเร่ืองงานวิจัย พยานหลักฐาน และคาอธิบายของพวกเขา โดยผ่านท้ังตัวอย่างทางประวัติศาสตร์และตัวอย่างสมัยใหม่ ครู สามารถแสดงให้นักเรียนเห็นว่านักวิทยาศาสตร์ชายและหญิงไม่ว่าจะมาจากภูมิหลังทางเชื้อชาติ หรือ วัฒนธรรมที่แตกต่างกันสามารถมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ก็คือ ความมานะ พยายาม และความอุตสาหะของมนษุ ย์และคนในขุมชนวิทยาศาสตรท์ ี่มีพ้ืนฐานของความซื่อสัตย์ทางสติปัญญา ความสงสยั ใครร่ ู้ และใจกว้างต่อแนวคดิ ใหม่  สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 ม การวดั ผลและประเมินผลการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ แนวคดิ สาคญั ของการปฏริ ปู การศกึ ษาตามพระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และ ที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พุทธศักราช 2545 ที่เน้นนักเรียนเป็นสาคัญ คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เปิด โอกาสให้นักเรียนคิดและลงมือปฏิบัติด้วยกระบวนการท่ีหลากหลาย เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง เต็มตามศักยภาพ การวัดและประเมินผลจึงมีความสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่งต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ใน หอ้ งเรยี น เพราะสามารถทาให้ครปู ระเมินระดบั พัฒนาการการเรียนรู้ของนักเรยี นได้ กิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียนมีหลากหลาย เช่น กิจกรรมสารวจภาคสนาม กิจกรรมการสารวจ ตรวจสอบ การทดลอง กิจกรรมศึกษาคน้ คว้า กิจกรรมศกึ ษาปัญหาพิเศษ หรือโครงงานวิทยาศาสตร์ อย่างไรก็ ตามในการทากิจกรรมเหล่านี้ต้องคานึงว่านักเรียนแต่ละคนมีศักยภาพแตกต่างกัน นักเรียนจึงอาจทางาน ชน้ิ เดยี วกันไดเ้ สรจ็ ในเวลาท่ีแตกต่างกัน และผลงานที่ได้ก็อาจแตกต่างกันด้วย เม่ือนักเรียนทากิจกรรมเหล่าน้ี แล้วก็ต้องเก็บรวบรวมผลงาน เช่น รายงาน ชิ้นงาน บันทึก และรวมถึงทักษะปฏิบัติต่าง ๆ เจตคติทาง วทิ ยาศาสตร์ เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ ความรัก ความซาบซึ้ง กิจกรรมท่ีนักเรียนได้ทาและผลงานเหล่านี้ต้องใช้ วิธีประเมินที่มีความเหมาะสมและแตกต่างกันเพ่ือช่วยให้สามารถประเมินความรู้ความสามารถและความรู้สึก นกึ คิดท่ีแทจ้ ริงของนกั เรยี นได้ การวัดผลและประเมินผลจะมีประสิทธิภาพก็ต่อเม่ือมีการประเมินหลายๆ ด้าน หลากหลายวิธี ในสถานการณต์ ่าง ๆ ที่สอดคลอ้ งกับชีวิตจริง และต้องประเมินอย่างต่อเน่ือง เพื่อจะได้ข้อมูลท่ี มากพอทจี่ ะสะทอ้ นความสามารถทแี่ ทจ้ ริงของนกั เรียนได้ จดุ มุ่งหมายหลกั ของการวดั ผลและประเมินผล 1. เพื่อค้นหาและวินิจฉัยว่านักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเน้ือหาวิทยาศาสตร์ มีทักษะความชานาญใน การสารวจตรวจสอบทางวิทยาศาสตร์ รวมถึงมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์อย่างไรและในระดับใด เพ่ือเป็น แนวทางใหค้ รูสามารถวางแผนการจัดการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสมเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนได้ อยา่ งเตม็ ศักยภาพ 2. เพอ่ื ใชเ้ ป็นขอ้ มูลย้อนกลับใหก้ บั นกั เรยี นว่ามกี ารเรยี นร้อู ย่างไร 3. เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการสรุปผลการเรียน และเปรียบเทียบระดับพัฒนาการด้านการเรียนรู้ของนักเรียน แต่ละคน การประเมินการเรียนรู้ของนักเรียน มี 3 แบบ คือ การประเมินเพ่ือค้นหาและวินิจฉัย การประเมิน เพอื่ ปรบั ปรงุ การเรียนการสอน และการประเมินเพอื่ ตัดสนิ ผลการเรียนการสอน การประเมนิ เพ่ือคน้ หาและวินิจฉัย เป็นการประเมินเพ่ือบ่งช้ีก่อนการเรียนการสอนว่า นักเรียนมีพ้ืน ฐานความรู้ ประสบการณ์ ทกั ษะ เจตคติ และแนวคิดท่ีคลาดเคล่ือนอะไรบ้าง การประเมินแบบนี้สามารถบ่งช้ี สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

ย คมู่ อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 ได้ว่านักเรียนคนใดต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษในเรื่องท่ีขาดหายไป หรือเป็นการประเมินเพื่อพัฒนา ทักษะท่ีจาเป็นก่อนที่จะเรียนเรื่องต่อไป การประเมินแบบน้ียังช่วยบ่งช้ีทักษะหรือแนวคิดท่ีมีอยู่แล้วของ นักเรียนอีกด้วย การประเมินเพ่ือปรับปรุงการเรียนการสอน เป็นการประเมินในระหว่างช่วงที่มีการเรียนการ สอน การประเมินแบบน้ีจะช่วยครูบ่งชี้ระดับท่ีนักเรียนกาลังเรียนอยู่ในเร่ืองท่ีได้สอนไปแล้ว หรือบ่งชี้ความรู้ ของนักเรียนตามจุดประสงคก์ ารเรยี นร้ทู ไี่ ด้วางแผนไว้ เป็นการประเมินท่ีให้ข้อมูลย้อนกลับกับนักเรียนและกับ ครูวา่ เป็นไปตามแผนการทีว่ างไวห้ รอื ไม่ ข้อมลู ทีไ่ ดจ้ ากการประเมนิ แบบนไ้ี ม่ใช่เพื่อเป้าประสงค์ในการให้ระดับ คะแนน แต่เพ่ือช่วยครใู นการปรบั ปรุงการสอน และเพือ่ วางแผนประสบการณต์ า่ งๆ ทจ่ี ะให้กับนกั เรียนต่อไป การประเมินเพ่ือตัดสินผลการเรียนการสอน เกิดข้ึนเม่ือส้ินสุดการเรียนการสอนแล้ว ส่วนมากเป็น “การสอบ” เพื่อใหร้ ะดบั คะแนนกบั นกั เรยี น หรือเพ่ือให้ตาแหน่งความสามารถของนักเรียน หรือเพ่ือเป็นการบ่งชี้ ความก้าวหน้าในการเรียนของนักเรียน การประเมินแบบน้ีถือว่าสาคัญในความคิดของผู้ปกครองนักเรียน ครู ผูบ้ รหิ าร อาจารย์แนะแนว ฯลฯ แตก่ ไ็ ม่ใช่เป็นการประเมินภาพรวมท้ังหมดของความสามารถของนักเรียน ครูต้องระมัดระวังเมื่อประเมินผลรวมในการตัดสินผลการเรียนของนักเรียนเพ่ือให้เกิดความสมดุล ความ ยตุ ธิ รรม และเกดิ ความตรง การตัดสินผลการเรียนของนักเรียนมักจะมีการเปรียบเทียบกับส่ิงอ้างอิง ส่วนมากการประเมินมักจะ อ้างอิงกลุ่ม (norm reference) คือเป็นการเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนโดยเปรียบเทียบกับกลุ่มหรือ คะแนนของนักเรียนคนอ่ืนๆ การประเมินแบบกลุ่มน้ีจะมี “ผู้ชนะ” และ “ผู้แพ้” แต่ในหลายบริบท กลุ่มอ้างอิง หรือกลุ่มเปรียบเทียบน้ีจะมีความตรงและเหมาะสม อย่างไรก็ตาม การประเมินแบบอิงกลุ่มนี้จะมีนักเรียน คร่ึงหนึ่งท่ีอยู่ต่ากว่าระดับคะแนนเฉล่ียของกลุ่ม นอกจากนี้ยังมีการประเมินแบบอิงเกณฑ์ (criterion reference) ซึ่งเป็นการเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนกับเกณฑ์ที่ต้ังเอาไว้โดยไม่คานึงถึงคะแนนคนอ่ืนๆ ฉะน้ัน จุดมุ่งหมายในการเรียนการสอนจะต้องชัดเจนและมีเกณฑ์ที่บอกให้ทราบว่าความสามารถระดับใดจึงจะเรียกว่า บรรลุถึงระดับ “รอบรู้” โดยท่ีนักเรียนแต่ละคน หรือช้ันเรียนแต่ละช้ัน หรือโรงเรียนแต่ละโรงจะได้รับการตัดสิน ว่าประสบผลสาเร็จก็ต่อเม่ือ นักเรียนแต่ละคน หรือชั้นเรียนแต่ละช้ัน หรือโรงเรียนแต่ละโรงได้สาธิตผลสาเร็จ หรือสาธิตความรอบรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้หรือตามเกณฑ์ท่ีตั้งไว้ ข้อมูลที่ใช้สาหรับการประเมินเพ่ือวินิจฉัย หรือเพ่ือปรับปรุงการเรียนการสอน หรือเพื่อตัดสินผลการเรียนการสอนสามารถใช้การประเมินแบบอิงกลุ่มหรือ องิ เกณฑ์ เทา่ ท่ผี า่ นมาการประเมินเพ่ือตัดสนิ ผลการเรยี นการสอนจะใช้การประเมินแบบอิงกลุ่ม แนวทางการวดั ผลและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ การเรยี นรจู้ ะบรรลตุ ามเป้าหมายของการจัดกิจกรรมการเรียนรทู้ ว่ี างไว้ได้ ควรมีแนวทางดงั ตอ่ ไปน้ี 1. วัดและประเมินผลทั้งความรู้ความคิด ความสามารถ ทักษะกระบวนการ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยมในวิทยาศาสตร์ รวมทัง้ โอกาสในการเรียนรูข้ องนกั เรยี น 2. วธิ กี ารวดั และประเมนิ ผลตอ้ งสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ท่ีกาหนดไว้ 3. เกบ็ ข้อมลู ทไี่ ดจ้ ากการวดั และประเมินผลอย่างตรงไปตรงมา และต้องประเมนิ ผลภายใต้ข้อมูลทมี่ ีอยู่  สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 ร 4. ผลของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนต้องนาไปสู่การแปลผลและลงข้อสรุปที่ สมเหตุสมผล 5. การวัดและประเมินผลต้องมีความเท่ียงตรงและเป็นธรรม ท้ังในด้านของวิธีการวัดและโอกาสของการ ประเมนิ วิธกี ารและแหลง่ ขอ้ มูลท่ีใชใ้ นการวดั ผลและประเมนิ ผล เพ่ือใหก้ ารวดั ผลและประเมินผลได้สะท้อนความสามารถท่ีแท้จริงของนกั เรยี น ผลการประเมนิ อาจ ไดม้ าจากแหล่งข้อมลู และวธิ กี ารต่างๆ ดงั ต่อไปนี้ 1. สงั เกตการแสดงออกเปน็ รายบคุ คลหรอื รายกลุ่ม 2. ชนิ้ งาน ผลงาน รายงาน 3. การสมั ภาษณ์ท้ังแบบเปน็ ทางการและไมเ่ ป็นทางการ 4. บันทึกของนกั เรยี น 5. การประชมุ ปรึกษาหารอื ร่วมกันระหวา่ งนักเรียนและครู 6. การวัดและประเมินผลภาคปฏิบตั ิ 7. การวัดและประเมินผลด้านความสามารถ 8. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้โดยใชแ้ ฟ้มผลงาน สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

ล ค่มู ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 ตารางแสดงความสอดคลอ้ งระหวา่ งเนอื้ หาแล กับตวั ชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศกั ราช หน่วยการเรียนรู้ ชอ่ื กจิ กรรม หน่วยท่ี 1 การ บทท่ี 1 การเรยี นรแู้ บบนักวิทยาศาสตร์ เรียนร้สู งิ่ ตา่ ง ๆ เรือ่ งท่ี 1 การสืบเสาะหาความรทู้ างวิทยาศาสตร์ รอบตวั กิจกรรมที่ 1 ถัว่ เต้นระบาได้อยา่ งไร หนว่ ยที่ 2 เรอื่ งที่ 2 การวดั และการใช้จานวนของนักวทิ ยาศาสตร์ สิง่ มีชีวิต กิจกรรมท่ี 2.1 การวดั ทาได้อยา่ งไร กิจกรรมที่ 2.2 การใช้จานวนทาได้อยา่ งไร เรอ่ื งท่ี 3 การทดลองของนกั วิทยาศาสตร์ กจิ กรรมที่ 3 การทดลองทาไดอ้ ย่างไร บทท่ี 1 สิง่ มชี ีวิตรอบตัว เรอ่ื งที่ 1 การจัดกลมุ่ สิ่งมชี ีวติ กิจกรรมที่ 1.1 เราจาแนกส่ิงมชี ีวิตไดอ้ ย่างไร กจิ กรรมท่ี 1.2 เราจาแนกสตั วไ์ ดอ้ ย่างไร กิจกรรมที่ 1.3 เราจาแนกสัตว์มีกระดูกสนั หลงั ได้อยา่ งไร กจิ กรรมท่ี 1.4 เราจาแนกพชื ได้อยา่ งไร บทท่ี 2 ส่วนตา่ ง ๆ ของพืชดอก  สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ละกิจกรรม ระดับช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4 เล่ม 1 ช 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 เวลา ตวั ชีว้ ัด (ช่ัวโมง) - 1  บรรยายหนา้ ทีข่ องราก ลาต้น ใบ และดอกของพืชดอกโดย 1 ใชข้ อ้ มูลทร่ี วบรวมได้ 2 0.5  จาแนกสิ่งมีชวี ิตโดยใช้ความเหมือน และความแตกตา่ งของ 2 ลกั ษณะของสง่ิ มีชวี ิตออกเป็นกลมุ่ พืช กลุ่มสัตว์ และกลุ่มท่ี 1 ไมใ่ ช่พืชและสัตว์ 0.5 2  จาแนกพชื ออกเปน็ พืชดอกและพชื ไมม่ ีดอกโดยใชก้ ารมีดอก 1 เปน็ เกณฑ์ โดยใชข้ ้อมลู ท่รี วบรวมได้ 0.5 2  จาแนกสัตวอ์ อกเปน็ สตั ว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไมม่ ี 2 ร2 1 1

หน่วยการเรยี นรู้ ชือ่ กิจกรรม เรื่องท่ี 1 หนา้ ทีส่ ่วนต่าง ๆ ของพชื ดอก กจิ กรรมท่ี 1.1 รากและลาตน้ ของพชื ทาหนา้ ที่อะไร กิจกรรมที่ 1.2 ใบของพืชทาหนา้ ที่อะไร กิจกรรมท่ี 1.3 ดอกของพืชทาหนา้ ท่อี ะไร หน่วยที่ 3 แรง บทท่ี 1 มวลและน้าหนัก และพลังงาน เรอื่ งที่ 1 มวลและแรงโนม้ ถ่วงของโลก กจิ กรรมที่ 1.1 วตั ถุเคล่ือนทีอ่ ยา่ งไรเมื่อถูกปลอ่ ยจากมือ กจิ กรรมท่ี 1.2 มวลและน้าหนกั สัมพนั ธก์ ันอย่างไร กิจกรรมที่ 1.3 มวลมผี ลตอ่ การเปล่ียนแปลงการเคลื่อนท ของวัตถุอย่างไร บทที่ 2 ตัวกลางของแสง เรื่องที่ 1 การมองเหน็ สงิ่ ตา่ ง ๆ ผ่านวตั ถทุ ีน่ ามากน้ั กจิ กรรมที่ 1 ลักษณะการมองเหน็ ต่างกันอยา่ งไรเม่ือมี วัตถมุ าก้ันแสง รวมจานวนช่ัวโมง หมายเหตุ: กจิ กรรม เวลาทีใ่ ช้ และส่งิ ทต่ี ้องเตรียมลว่ งหน้านน้ั ครสู ามารถปรับเปล่ยี น

คูม่ ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 ว เวลา ตวั ชวี้ ัด (ชั่วโมง) 1 กระดูกสนั หลัง โดยใชก้ ารมีกระดูกสนั หลงั เปน็ เกณฑ์ โดยใช้ 2 ขอ้ มลู ทรี่ วบรวมได้ 2  บรรยายลกั ษณะเฉพาะทีส่ ังเกตได้ของสตั ว์มีกระดูกสันหลงั 2 ในกล่มุ ปลา กลุ่มสัตวส์ ะเทินน้าสะเทินบก กลุ่ม สัตวเ์ ล้ือยคลาน กล่มุ นก และกลมุ่ สตั ว์เลย้ี งลูกด้วยน้านม และยกตวั อย่างส่ิงมชี ีวติ ในแต่ละกล่มุ 0.5  ระบุผลของแรงโน้มถว่ งที่มีต่อวัตถจุ ากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ 1  ใชเ้ คร่ืองช่งั สปรงิ ในการวดั น้าหนกั ของวตั ถุ อ2  บรรยายมวลของวตั ถุท่มี ีผลต่อการเปลี่ยนแปลงการเคล่ือนท่ี 2 ของวัตถจุ ากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ ที่ 2  จาแนกวตั ถเุ ปน็ ตวั กลางโปรง่ ใส ตัวกลางโปรง่ แสง และวตั ถุ ทึบแสง จากลกั ษณะการมองเห็นสิ่งต่าง ๆ ผ่านวัตถุนน้ั เป็น 0.5 เกณฑ์โดยใชห้ ลักฐานเชิงประจักษ์ 0.5 0.5 2 36.5 นเพิ่มเติมได้ตามความเหมาะสมของสภาพท้องถน่ิ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

ศ คู่มอื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 รายการวัสดอุ ปุ กรณว์ ิทยาศาสตร์ ป.1 เล่ม 1 ลาดบั ท่ี รายการ จานวน/กลุ่ม จานวน/ห้อง จานวน/คน 10 เมล็ด 1 เมล็ดถ่วั เขียว 10 เมล็ด 5 ลิตร 10 เมลด็ 1 ใบ 2 เมล็ดถ่ัวเขียวตม้ 4 ขวด 4 ขวด 1 คู่ 3 เมล็ดพชื อืน่ ๆ 4 ขวด 4 ขวด 4 น้าโซดา 2 ใบ 5 น้าอัดลมใสไม่มีสี 1 ผล 1 ใบ 6 นา้ เกลอื 1 อนั 2 ฟอง 7 น้าเปล่า 1 เรือน 3-4 เส้น 8 แกว้ นา้ ใส 2-3 ใบ 2 ใบ 9 นา้ สี 1 ชุด 1 ชุด 10 ภาชนะใสน่ า้ สี 1 ใบ 1 เล่ม 11 ผลไม้ เช่น ส้ม 1 ตวั 12 บกี เกอร์ 50 cm3 1 ตวั 13 กระบอกตวง 50 cm3 14 ไขน่ กกระทา 15 นาฬิกาจับเวลา 16 เชอื กฟาง 17 ถงุ พลาสติก 18 ถว้ ยพลาสตกิ 19 บตั รภาพส่ิงมีชวี ติ 20 บัตรภาพโครงสรา้ งภายนอก – ภายในของสตั ว์ 21 ถาด 22 มดี 23 ถุงมือยาง 24 กุ้ง 25 ปลา  สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 ษ ลาดบั ท่ี รายการ จานวน/กล่มุ จานวน/ห้อง จานวน/คน 26 บัตรภาพสัตวม์ ีกระดกู สนั หลงั กลมุ่ ต่าง ๆ 1 ชดุ 27 พชื 1 ชนดิ 1 กลัก 28 แว่นขยาย 2-3 อนั 1 ขวด 29 มดี โกน 1 เลม่ 1 ขวด 30 ตน้ เทียน 1 ตน้ 31 ดนิ สอสี 1 กลอ่ ง 32 150 ลกู บาศก์ นา้ สแี ดง เซนตเิ มตร 33 1 ใบ 34 แก้วนา้ หรือภาชนะใส 35 ไมข้ ดี ไฟ 3 ใบ 36 สารละลายไอโอดนี 1 อัน 37 เอทานอล 1 ใบ 38 จานเพาะเช้อื 1 ช้อนเบอร์ 1 39 ปากคบี 1 ชอ้ นเบอร์ 1 40 กระป๋องทราย 1 ช้อนเบอร์ 1 41 แป้งมันสาปะหลัง 1 ใบ 42 แป้งขา้ วโพด 1 อนั 43 แปง้ ฝนุ่ 1 อนั 44 จานหลุม 1 อนั 45 ทจ่ี บั หลอดทดลอง 1 ชุด 46 หลอดหยด 1 หลอด บีกเกอร์ขนาด 250 cm3 47 2 ชนดิ 48 ชดุ ตะเกียงแอลกอฮอล์ 1 ก้อน 49 หลอดทดลองขนาดใหญ่ ใบพชื ชนิดต่าง ๆ ท่เี ปน็ แผ่นบาง เช่น ใบชบา ใบ 50 ผกั บงุ้ ใบหญา้ ดอกของพชื ชนดิ ตา่ ง ๆ 51 ดอกของพืชชนิดต่าง ๆ ดินน้ามัน สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

ส คูม่ อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 ลาดบั ที่ รายการ จานวน/กลมุ่ จานวน/หอ้ ง จานวน/คน 1 อนั 2 ใบ 52 ฟองน้า 1 อนั 1 ใบ 1 แผน่ 53 แทง่ ไม้ 1 ลกู 1 เมลด็ 54 ใบไม้ 2 ถุง 1 อนั 55 ลูกบอล 1 อัน 56 เมลด็ ถวั่ 2 เสน้ 2 ขวด 57 ถุงทรายขนาด 500 กรัม 1 ถัง 1 แผน่ 58 เคร่ืองช่งั สปรงิ 1 แผ่น 1 แผ่น 59 ขวดพลาสตกิ ปดิ ใหท้ ึบดว้ ยกระดาษ 1 เลม่ 1 แผ่น 60 คานไม้หรือไมเ้ มตร 1 กลกั 2 แผน่ 61 เชอื กฟาง 1 แผ่น 1 แผน่ 62 ขวดพลาสตกิ เปลา่ ขนาด 1 ลติ ร 63 ทราย 64 แผ่นไม้ 65 กระดาษไข 66 กระดาษแข็ง 67 เทยี นไข 68 กระจกฝ้า 69 ไม้ขีดไฟ 70 กระดาษแกว้ สตี ่าง ๆ 71 แผ่นพลาสตกิ ขนุ่ 72 แผพ่ ลาสตกิ ใส 73 แผ่นไม้  สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี



1 คู่มอื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรยี นรู้สิ่งตา่ ง ๆ รอบตวั หน่วยที่ 1 การเรียนรสู้ งิ่ ตา่ ง ๆ รอบตวั ภาพรวมการจัดการเรยี นรู้ประจาหนว่ ยท่ี 1 การเรียนรู้สิง่ ต่าง ๆ รอบตัว บท เร่ือง กิจกรรม ลาดับการจดั การเรยี นรู้ ตวั ชวี้ ดั เรอื่ งที่ 1 การสบื เสาะ กิจกรรมที่ 1 ถว่ั เต้น - บทท่ี 1 การเรยี นรู้ หาความรู้ทาง ระบาได้อย่างไร  การสบื เสาะหาความรู้ แบบนกั วิทยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ทางวทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือหา กจิ กรรมที่ 2.1 การวัดทาได้ คาตอบในสิง่ ทสี่ งสยั มี เรื่องท่ี 2 การวดั และการ อยา่ งไร ลักษณะตา่ ง ๆ ดงั น้ี ใช้จานวนของ นักวิทยาศาสตร์ กจิ กรรมท่ี 2.2 การใช้  การมีสว่ นร่วมในการต้งั จานวนทาไดอ้ ยา่ งไร คาถามทางวิทยาศาสตร์  การรวบรวมขอ้ มลู หรือ หลักฐานทเ่ี ก่ียวข้อง  การอธบิ ายส่งิ ทส่ี งสยั ด้วยข้อมลู หรอื หลักฐาน อย่างมเี หตุผล  การอธิบายเช่ือมโยงสงิ่ ท่ี ได้คน้ พบกับความรู้ทาง วิทยาศาสตร์  การสื่อสารสง่ิ ที่ได้ค้นพบ และใหเ้ หตุผล  การวัดเป็นการเลือกใช้ เครื่องมือในการวัดอย่าง เหมาะสมและวัดปริมาณ ต่าง ๆ ได้ อย่างถูกต้อง ออกมาเป็นตัวเลข และ ร ะ บุ ห น่ ว ย ข อ ง ก า ร วั ด ไ ด้ อยา่ งชัดเจน  การใชจ้ านวนเปน็ ความสามารถในการนา ตวั เลขมาคดิ คานวณโดย การบวก การลบ การหาร  สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook