Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ-วิทยาศาสตร์ ป.4

คู่มือ-วิทยาศาสตร์ ป.4

Published by Phatwarin Srikhamnoy, 2019-04-10 04:27:49

Description: คู่มือ-วิทยาศาสตร์ ป.4

Search

Read the Text Version

คู่มอื ครูรายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรียนรสู้ ิง่ ต่าง ๆ รอบตัว 2 บท เรือ่ ง กจิ กรรม ลาํ ดบั การจัดการเรยี นรู้ ตัวชี้วัด เรื่องท่ี 3 การทดลองของ กิจกรรมท่ี 3 การทดลองทํา หรือการหาคา่ เฉลยี่ รวมท้ัง นกั วทิ ยาศาสตร์ ได้อยา่ งไร การนบั จาํ นวนสง่ิ ของได้ ถกู ต้อง รว่ มคิด ร่วมทาํ  การตั้งสมมติฐานเป็นการ คาดคะเนคาํ ตอบลว่ งหน้า  ก า ร กํ า ห น ด นิ ย า ม เ ชิ ง ปฏิบัติการ เป็นการกําหนด ความหมายของคําต่าง ๆ ในสมมติฐานให้สังเกตหรือ วัดได้  การกําหนดและควบคุมตัว แปร โดยการกําหนดตัวแปร ต้นหรือส่ิงท่ีจัดให้ต่างกันใน การทดลอง ตัวแปรตาม หรือผลท่ีเกิดจากตัวแปรต้น และตัวแปรท่ีต้องควบคุมให้ คงท่ีหรือส่ิงท่ีต้องควบคุมให้ คงท่ีในการทดลอง  ก า ร ท ด ล อ ง เ ป็ น กระบวนการท่ีมีการปฏิบัติ อย่างต่อเนื่องมีแบบแผน เ พ่ื อ ห า คํ า ต อ บ จ า ก สมมติฐาน โดยการทดลองมี ขั้นตอน ประกอบด้วย การ ออกแบบการทดลอง การ ทดลอง และการบันทึกผล การทดลอง ในการทดลอง จะใช้ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์และทักษะ อื่น ๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ ถูกตอ้ ง แมน่ ยํา สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

3 คมู่ อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรียนรู้ส่งิ ตา่ ง ๆ รอบตัว บทที่ 1 การเรียนรแู้ บบนกั วทิ ยาศาสตร์ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ประจาบท บทน้มี ีอะไร เมื่อเรียนจบบทนี้ นักเรยี นสามารถ เรอ่ื งที่ 1 การสบื เสาะหาความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ 1. อธิบายและใช้การสืบเสาะหาความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ในการเรยี นรู้สงิ่ ต่าง ๆ คาสาคญั การตง้ั สมมติฐาน (formulating hypothesis) 2. อธบิ ายและใชท้ ักษะการวัด การใช้จานวน การ ตวั แปรตน้ (independent variable) ต้ังสมมติฐาน การกาหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ ตัวแปรตาม (dependent variable) การกาหนดและควบคุมตัวแปร การทดลอง ตัวแปรที่ตอ้ งควบคุมให้คงที่ และการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุปใน (controlling variable) การเรียนรูส้ ิ่งตา่ ง ๆ กจิ กรรมท่ี 1 ถัว่ เขียวเตน้ ระบาอยา่ งไร แนวคิดสาคัญ เรอื่ งที่ 2 การวัดและการใชจ้ านวนของ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เกิดจากความสงสัยของมนุษย์ นักวทิ ยาศาสตร์ เก่ียวกับส่ิงต่าง ๆ รอบตัว มนุษย์จึงพยายามหาคาตอบ คาสาคัญ การใช้จานวน (using number) ด้วยการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้ทักษะ กิจกรรมที่ 2.1 การวัดทาได้อย่างไร กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีทั้งที่เป็นทักษะ กิจกรรมที่ 2.2 การใช้จานวนทาไดอ้ ย่างไร ข้ันพ้ืนฐาน เช่น การสังเกต การวัด การใช้จานวน และ เร่อื งท่ี 3 การทดลองของนกั วิทยาศาสตร์ ทักษะข้ันผสม เช่น การตั้งสมมติฐาน การกาหนดนิยาม คาสาคญั การกาหนดนิยามเชิง เชิงปฏิบัติการ การกาหนดและควบคุมตัวแปร การทดลอง การตคี วามหมายข้อมูลและลงข้อสรุป ปฏิบัตกิ าร (defining operationally) กิจกรรมท่ี 3 การทดลองทาไดอ้ ยา่ งไร สอ่ื การเรยี นรแู้ ละแหลง่ เรียนรู้ 1. หนังสอื เรยี น ป.4 เลม่ 1 หนา้ 1-37 2. แบบบันทกึ กจิ กรรม ป.4 เล่ม 1 หนา้ 1-32  สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรยี นรสู้ ิ่งตา่ ง ๆ รอบตวั 4 ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 รหสั ทักษะ กจิ กรรมท่ี 1 2.1 2.2 3 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S1 การสงั เกต   S2 การวัด S3 การใช้จานวน  S4 การจาแนกประเภท S5 การหาความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง  - สเปซกับสเปซ  - สเปซกบั เวลา  S6 การจดั กระทาและส่อื ความหมายข้อมลู S7 การพยากรณ์  S8 การลงความเห็นจากข้อมลู S9 การตงั้ สมมตฐิ าน  S10 การกาหนดนยิ ามเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร  S11 การกาหนดและควบคุมตวั แปร  S12 การทดลอง S13 การตคี วามหมายข้อมลู และลงข้อสรุป   S14 การสร้างแบบจาลอง ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21  C1 การสรา้ งสรรค์  C2 การคิดอย่างมวี ิจารณญาณ C3 การแก้ปัญหา C4 การส่อื สาร C5 ความร่วมมือ C6 การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

5 คู่มือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรียนรู้สิ่งตา่ ง ๆ รอบตัว แนวคดิ คลาดเคลอ่ื น ครูควรฟังการสนทนาอภิปรายของนกั เรียนอยา่ งตอ่ เนอื่ ง พรอ้ มบนั ทกึ แนวคิดของนักเรยี นไว้ เพ่ือที่จะจัดการเรียนรู้ให้ สามารถแกไ้ ขแนวคดิ คลาดเคลอ่ื นและต่อยอดแนวคดิ ท่ีถูกต้อง แนวคิดคลาดเคลอื่ น แนวคิดที่ถูกต้อง การทากจิ กรรมทุกกิจกรรมเป็นการทดลอง การทากิจกรรมบางกิจกรรมไม่ใช่การทดลอง เน่ืองจากการ ทดลองต้องมีการออกแบบการทดลอง ทดลองและรายงานผล การทดลอง ซึ่งบางกิจกรรมอาจไม่จาเป็นต้องออกแบบการ ทดลอง เช่น การสงั เกตจานวนขาของสตั ว์ต่าง ๆ  สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยที่ 1 การเรียนรสู้ ิง่ ต่าง ๆ รอบตวั 6 บทนี้เร่มิ ต้นอย่างไร (1 ชัว่ โมง) ค รู รั บ ฟั ง เ ห ตุ ผ ล ข อ ง นักเรียนเป็นสาคัญ ครูยังไม่ 1. ครูทบทวนความรู้เดิมของนักเรียนเก่ียวกับการสืบเสาะหาความรู้ทาง เฉลยคาตอบใด ๆ แต่ชักชวนให้ วิทยาศาสตร์ โดยเล่าสถานการณ์ให้เห็นถึงลักษณะสาคัญของการสืบเสาะ หาคาตอบที่ถูกต้องจากกิจกรรม หาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ การมีส่วนร่วมในการต้ังคาถามทาง ตา่ ง ๆ ในบทเรียนี้ วิทยาศาสตร์ การรวบรวมข้อมูลหรือหลักฐานท่ีเก่ียวข้อง การอธิบาย สิง่ ท่สี งสยั ด้วยข้อมูลหรือหลักฐานอย่างมีเหตุผล การอธิบายเช่ือมโยง สิ่งที่ได้ค้นพบกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และการส่ือสารสิ่งท่ีได้ ค้นพบและให้เหตุผล เช่น เด็กคนหนึ่งเจอมอดในข้าวสารที่อยู่ใน ภาชนะปิด จึงเกิดความสงสัยว่ามอดมาจากไหน จากน้ันครูใช้คาถาม ดงั ตอ่ ไปน้ี 1.1 จากสถานการณ์น้ี มีลักษณะของการสืบเสาะหาความรู้ทาง วิทยาศาสตรห์ รอื ไม่ อะไรบา้ ง (มี คอื การมีสว่ นรว่ มในการต้งั คาถาม) 1.2 จากคาถามท่ีว่า มอดมาจากไหน จะใช้ลักษณะของการสืบเสาะ หาความรทู้ างวิทยาศาตร์อะไรอีกบ้างในการค้นหาคาตอบ (ต้อง รวบรวมข้อมูลหรือหลักฐานท่ีเก่ียวข้อง อธิบายสิ่งท่ีสงสัยด้วย ขอ้ มลู หรอื หลกั ฐานอยา่ งมีเหตผุ ล อธิบายเช่ือมโยงส่ิงที่ได้ค้นพบ กับความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และส่ือสารส่ิงท่ีได้ค้นพบและให้ เหตุผล) 1.3 การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์เก่ียวข้องกับทักษะ- กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์บา้ งหรือไม่ อย่างไร (นักเรียนตอบ ตามความเข้าใจของตนเอง) 2. ครูชักชวนนักเรียนให้ทาความเข้าใจเกี่ยวกับการสืบเสาะหาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ นักเรียน อ่านชื่อหน่วย ชื่อบทและจุดประสงค์การเรียนรู้ประจาบท ใน หนังสือเรียนหน้า 1 จากน้ันครูใช้คาถามว่า เม่ือเรียนจบบทน้ี นักเรียนจะสามารถทาอะไรได้บ้าง (อธิบายและใช้การสืบเสาะหา ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ รวมท้ังอธิบายและใช้ ทกั ษะการวดั การใช้จานวน การตั้งสมมติฐาน การกาหนดนิยามเชิง- ปฏิบัติการ การกาหนดและควบคุมตัวแปร การทดลองและ การตคี วามหมายข้อมูลและลงขอ้ สรุปในการเรยี นร้สู ง่ิ ต่าง ๆ) สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

7 คมู่ อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 1 การเรียนรู้สิ่งตา่ ง ๆ รอบตวั 3. ครูชักชวนนักเรียนศึกษาเรื่องการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ โดยให้นักเรียนอ่านช่ือหน่วย ช่ือบทและแนวคิดสาคัญในหนังสือ เรียนหน้า 2 จากนั้นครูใช้คาถามดังตอ่ ไปน้ี 3.1 บทเรียนน้ี นักเรียนจะได้เรียนเกี่ยวกับเรื่องอะไร (อธิบาย ลักษณะของการสืบเสาะหาความรู้และทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ ได้แก่ การวัด การใช้จานวน การตั้งสมมติฐาน การกาหนดนยิ ามเชิงปฏิบัติการ การกาหนดและควบคุมตัวแปร การทดลอง และการตีความหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรุป) 4. ถ้าพบปัญหานักเรียนอ่านคาไม่คล่อง เช่น สมมติฐาน ครูควรช่วยฝึก อา่ นคาให้ถกู ต้อง 5. ครูชักชวนนักเรียนให้มาเรียนรู้กันว่าการเรียนรู้แบบนักวิทยาศาสตร์ ทาได้อย่างไรบ้าง โดยให้นักเรียนสังเกตรูปในหนังสือหน้า 2-3 แล้ว อา่ นเรอื่ งในบทนาโดยใช้วธิ กี ารอ่านตามความสามารถของนักเรยี น 6. นักเรียนอภิปรายเนื้อเรื่องท่ีอ่าน จากนั้นครูซักถามโดยใช้คาถาม ดงั ตอ่ ไปนี้ 6.1 เร่ืองที่นักเรียนอ่านน้ี กล่าวถึงใคร (ปิแอร์และมารี คูรีท้ังสอง ท่าน เปน็ นกั วทิ ยาศาสตรท์ ม่ี ชี ่อื เสยี งของโลก) 6.2 ปิแอร์และมารี คูรี กาลังทาอะไร (ทดลองแยกธาตุเรเดียมออก จากแร่พิทซ์เบลนด)์ 6.3 ความรู้ใหม่ที่ทั้งสองท่านค้นพบคืออะไร (รังสีเรเดียมช่วยรักษา โรคผิวหนังและมะเร็งได้) 6.4 ปิแอร์และมารี คูรี มีลักษณะใดบ้างท่ีทาให้ค้นพบความรู้ ใหม่ ๆ ได้ (เป็นคนช่างสังเกต อยากรู้คาตอบในเร่ืองที่สงสัยมีความ พยายาม อดทน เสยี สละ) 7. ครูชักชวนให้นักเรียนอ่าน เรียนรู้อย่างปลอดภัย และช่วยอธิบาย เพิ่มเติมให้ระมัดระวังร่างกายไม่ให้สัมผัสธาตุกัมมันตรังสีเพราะมี อนั ตรายต่อรา่ งกาย 8. นักเรียนตอบคาถามเกี่ยวกับการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ในสารวจความรู้ก่อนเรียน โดยอาจถามว่านักเรียนรู้อะไรบ้าง เก่ยี วกบั การสบื เสาะหาความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ 9. นกั เรียนทาสารวจความรูก้ อ่ นเรียน ในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 2-4 โดยอา่ นชือ่ หนว่ ย และชอื่ บท  สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรียนรสู้ ิ่งต่าง ๆ รอบตวั 8 10. นักเรียนอ่านสถานการณ์และคาถาม ครูตรวจสอบความเข้าใจของ ครูรับฟังคาตอบและเหตุผล นักเรียนเก่ียวกับคาถามแต่ละข้อ จนแน่ใจว่านักเรียนสามารถทาได้ ของนักเรียนเป็นสาคัญ ครูยังไม่ ด้วยตนเอง จึงให้นักเรียนตอบคาถาม โดยคาตอบของแต่ละคนอาจ เฉลยคาตอบใด ๆ แต่ชักชวนให้ไป แตกต่างกัน และคาตอบอาจถูกหรือผดิ กไ็ ด้ หาคาตอบที่ถูกต้องจากกิจกรรม ตา่ ง ๆ ในบทเรยี นนี้ 11.ครูสังเกตการตอบคาถามของนักเรียนเพ่ือตรวจสอบว่านักเรียนมี แนวคิดเก่ียวกับการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์และทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์อยา่ งไรบ้าง อาจสุ่มให้นักเรียน 2-3 คน นาเสนอคาตอบของตนเอง โดยครูยังไม่เฉลยคาตอบ แต่จะให้ นักเรียนย้อนกลับมาตรวจสอบอีกคร้ังหลังเรียนจบบทเรียนน้ีแล้ว ท้ังน้ีครูอาจบันทึกแนวคิดคลาดเคล่ือนหรือแนวคิดที่น่าสนใจของ นักเรียน แล้วนามาออกแบบการจัดการเรียนการสอนเพ่ือแก้ไข แนวคิดท่ีคลาดเคลื่อนให้ถูกต้อง และต่อยอดแนวคิดท่ีน่าสนใจของ นักเรียน การเตรียมตวั ล่วงหน้าสาหรบั ครู เพือ่ จัดการเรยี นรู้ในครง้ั ถดั ไป ในครั้งถัดไป นักเรียนจะได้เรียนเรื่อง ที่ 1 การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ โดยครจู ะตอ้ งเตรยี มตวั ดงั น้ี 1. เตรียมบัตรคาคาสาคัญทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ และบัตรคาวิธีการ สะกดคาและออกเสียงคาใหถ้ ูกตอ้ ง 2. อาจเตรียมนาเสนอเร่ืองราวของเร่ืองท่ี อ่านในรูปแบบที่น่าสนใจ เช่น แสดง บทบาทสมมติ เพื่อให้นักเรียนจดจาคา สาคัญต่าง ๆ ได้ง่าย เพราะคาเหล่าน้ี เป็นคาใหม่สาหรับนกั เรียน ครูเตรียมไข่ต้ม น้าแข็ง กระดาษ ไม้ขีดไฟ และขวดแก้วปากกว้างที่จะวางไข่ต้มบนปาก ขวดได้ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

9 คูม่ อื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรยี นรู้สิ่งตา่ ง ๆ รอบตัว แนวคาตอบในแบบบนั ทกึ กจิ กรรม คาตอบของนักเรียนในการสารวจความรูก้ ่อนเรียน อาจตอบถกู หรือผิดกไ็ ด้ข้นึ อย่กู บั ความรู้เดมิ ของนกั เรยี น แตเ่ มือ่ เรยี นจบบทเรียนแลว้ ใหน้ ักเรยี นกลับมาตรวจสอบคาตอบอกี ครั้งและแก้ไขให้ถูกต้อง ดังตวั อยา่ ง  สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรียนรู้ส่ิงตา่ ง ๆ รอบตวั 10 เรอื่ งท่ี 1 การสืบเสาะหาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ ในเร่ืองน้ีนักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับลักษณะการ สืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ท่ีเน้นการรวบรวม ขอ้ มลู จากการทดลองเพอ่ื หาคาตอบท่ีสงสัย จุดประสงค์การเรียนรู้ อธบิ ายการสบื เสาะหาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ใน การตอบคาถามท่ีสงสัย เวลา 4 ชวั่ โมง วัสดุ อุปกรณส์ าหรับทากจิ กรรม เมล็ดถั่วเขียว เมล็ดถ่ัวเขียวต้ม น้าโซดา น้าอัดลมใส ไม่มีสี น้าเปล่า เมล็ดพืชชนิดอ่ืน เช่น เมล็ดงาดา น้าเกลือ แก้วใส ส่ือการเรยี นรู้และแหลง่ เรียนรู้ หน้า 7-13 หน้า 5-10 1. หนงั สอื เรยี น ป.1 เล่ม 1 2. แบบบนั ทึกกจิ กรรม ป.1 เล่ม 1 สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

11 คมู่ อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรยี นรู้ส่ิงตา่ ง ๆ รอบตวั แนวการจัดการเรียนรู้ (1 ชวั่ โมง) ขน้ั ตรวจสอบความรู้ (10 นาที) 1. ครตู รวจสอบความรู้เดิมเก่ียวกบั ลักษณะของการสบื เสาะหาความรู้ ในการตรวจสอบความรู้ ครูเพียง ทางวทิ ยาศาสตร์ในเร่ืองการรวบรวมข้อมลู จากการทดลองเพื่อหา รับฟังเหตุผลของนักเรียน และยังไม่ คาตอบที่สงสัย เช่น คาถามในการทดลองนคี้ ือ ขวดใบไหนจะทาให้ เฉลยคาตอบใด ๆ ให้กับนักเรียน แต่ ไขต่ ้มเกิดการเปลี่ยนแปลง โดยครูอาจเล่าเกย่ี วกบั สถานการณ์ทีเ่ ปน็ ชักชวนนักเรียน ไปหาคาตอบด้วย การทดลอง เช่น ครูนาขวดปากกว้างท่ีมีรปู ร่างและขนาดเท่ากัน 2 ตนเองจากการอ่านเนอ้ื เรอ่ื ง ขวด ขวดใบทหี่ นึ่งบรรจนุ ้าแข็งขวดอกี ใบบรรจุนา้ ร้อน วางไข่ตม้ ขนาดเทา่ กนั ไวท้ ป่ี ากขวด ขวดละ 1 ฟอง จากนนั้ ใหน้ ักเรียนลองตอบ คาถามดังต่อไปน้ี 1.1 นักเรียนจะต้งั สมมติฐานจากการทดลองนี้ไดว้ า่ อยา่ งไร 1.2 การทดลองน้ีมตี วั แปรตน้ ตวั แปรตาม และตวั แปรท่ีต้องควบคมุ ให้คงที่ คืออะไรบ้าง 1.3 นกั เรยี นคดิ ว่าผลการทดลองจะเป็นอย่างไร เพราะเหตุใด (นกั เรียนตอบไดต้ ามความเข้าใจของตนเอง ครบู ันทึกคาตอบของ นักเรยี นบนกระดาน) 2. ครูเช่ือมโยงความรเู้ ดมิ ของนักเรียนสูก่ ารเรยี นเร่อื งการสืบเสาะหา ความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์โดยใช้คาถามวา่ การสบื เสาะหาความรทู้ าง วิทยาศาสตร์มีลกั ษณะอะไรบ้าง ซง่ึ ครแู นะวา่ นักเรยี นสามารถหา คาตอบไดจ้ ากการอา่ นเน้ือเร่ือง ขัน้ ฝกึ ทกั ษะจากการอา่ น (45 นาท)ี 3. นกั เรียนอา่ นชอื่ เรื่องและคาถามในคดิ ก่อนอา่ น ในหนังสอื เรยี นหน้า 30 แล้วรว่ มกันอภิปรายในกลุ่มเพื่อหาแนวคาตอบ ครูบันทึกคาตอบ ของนักเรยี นบนกระดานเพอื่ ใชเ้ ปรียบเทยี บคาตอบหลังการอ่านเนอื้ เรื่อง 4. นกั เรยี นอ่านคาในคาสาคญั ท้งั ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ หาก นักเรียนอ่านไม่ได้ ครูควรสอนการอา่ นใหถ้ ูกต้อง จากน้นั นักเรียน อธิบายความหมายตามความเข้าใจ ครูชกั ชวนใหน้ กั เรยี นหา ความหมายของคาภายหลงั จากการอา่ นเนอื้ เรื่อง 5. นกั เรียนอ่านเนื้อเรื่อง ตามวธิ ีการอ่านที่เหมาะสมกับความสามารถของ นกั เรียน จากนั้นรว่ มกนั อภิปรายใจความสาคัญตามแนวคาถาม ดังนี้  สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรยี นร้สู ่งิ ตา่ ง ๆ รอบตวั 12 5.1 เน้ือเรอ่ื งท่ีอ่านเกย่ี วกบั อะไร (เรอ่ื งท่ีอ่านเกี่ยวกับการเลยี้ งไก่ นักเรียนอาจไม่สามารถตอบ ของเด็กคนหนึง่ ) คาถามหรืออภิปรายได้ตามแนว คาตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด 5.2 แมข่ องเดก็ คนน้ีเลีย้ งไกด่ ้วยอาหารอะไรบา้ ง (ขา้ วเปลอื ก ราข้าว อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน และหนอนแมลงวัน) และรับฟังแนวความคดิ ของนกั เรยี น 5.3 เด็กคนนีม้ ีคาถามสงสัยเกยี่ วกับเรอื่ งอะไร (ไก่ชอบกินอาหาร ชนดิ ใดมากท่สี ดุ ) 5.4 จากคาถามที่สงสัย เด็กคนนตี้ ้ังสมมตฐิ านวา่ อะไร (ไกช่ อบกิน ขา้ วเปลือกมากทีส่ ุด) 5.5 สมมตฐิ านหมายความว่าอยา่ งไร (การคาดคะเนคาตอบ ลว่ งหน้า) 5.6 เดก็ คนนี้ตรวจสอบสมมติฐานท่ตี ั้งไวโ้ ดยการรวบรวมข้อมลู เพ่ือหา คาตอบในคาถามทสี่ งสัยด้วยวิธีการใด (การทดลองเล้ียงไก่ด้วย อาหาร 3 ชนดิ ได้แก่ ข้าวเปลือก ราขา้ วและหนอนแมลงวัน) 5.7 ตวั แปรตน้ หมายถงึ อะไร และในการทดลองน้ีตวั แปรต้นคอื อะไร (ตวั แปรตน้ หมายถึงสงิ่ ท่ีจัดให้ตา่ งกนั ในการทดลอง ได้แก่ อาหารทใ่ี ชเ้ ลยี้ งไก่ 3 ชนิด) 5.8 ตัวแปรตามหมายถงึ อะไร และในการทดลองน้ีตัวแปรตามคือ อะไร (ตวั แปรตามหมายถึงผลมาจากตัวแปรต้น ได้แก่ ปริมาณ อาหารท่ีไก่กนิ ทกุ วัน) 5.9 ตวั แปรท่ีตอ้ งควบคุมให้คงท่ีหมายถงึ อะไร และในการทดลองน้ี คือตวั แปรท่ีต้องควบคุมใหค้ งท่ีอะไร (ตวั แปรที่ต้องควบคุมให้ คงท่หี มายถึงสิ่งท่จี ดั ใหเ้ หมือนกันในการทดลอง ได้แก่ ปรมิ าณ อาหาร เวลาท่ใี หไ้ ก่กินอาหาร ขนาดภาชนะ) 5.10 เดก็ คนน้ที ดลองให้อาหารไก่เป็นเวลาก่วี ัน (7 วนั ) 5.11 เมอื่ ครบ 7 วนั เดก็ คนนอี้ ธิบายผลการทดลองวา่ อย่างไร หลกั ฐานคอื อะไร (ไก่กินหนอนแมลงวนั มากทสี่ ดุ เพราะทกุ วนั จะเหลอื ปริมาณหนอนแมลงวันนอ้ ยที่สุด) 5.12 หลงั จากท่ไี ดผ้ ลการทดลอง เดก็ คนนท้ี าอะไรต่อไป (สืบค้น ขอ้ มลู เกีย่ วกบั อาหารของไก่จากแหล่งการเรียนรู้ที่เชอื่ ถือได้) 5.13 เด็กคนน้ีสื่อสารส่งิ ทไ่ี ด้ค้นพบอย่างไร (นาเสนอสิง่ ที่ค้นพบให้ เพ่ือน ๆ รบั ทราบ) 5.14 จากเรือ่ งทอี่ า่ น เด็กคนน้ีไดค้ ้นพบคาตอบดว้ ยการสบื เสาะหา ความร้ทู างวทิ ยาศาสตร์หรอื ไม่ (ไดใ้ ช)้ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

13 คมู่ ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรียนรู้สิง่ ตา่ ง ๆ รอบตวั 5.15 ลกั ษณะสาคัญของการสืบเสาะหาความรูท้ างวิทยาศาสตร์ที่ การเตรยี มตัวลว่ งหนา้ สาหรบั ครู เด็กคนนี้ใช้ในการหาคาตอบจากคาถามท่สี งสยั ได้แก่ เพอื่ จดั การเรียนร้ใู นครง้ั ถดั ไป อะไรบ้าง (การมีสว่ นรว่ มในการตงั้ คาถามทางวิทยาศาสตร์ การรวบรวมขอ้ มลู หรือหลักฐานที่เก่ียวข้อง การอธิบายส่ิงที่ ในครง้ั ถัดไป นักเรยี นจะได้ทา สงสยั ดว้ ยขอ้ มลู หรือหลักฐานอย่างมเี หตุผล การอธบิ าย กิจกรรมที่ 1 ถั่วเตน้ ระบาได้อย่างไร โดย เชือ่ มโยงส่งิ ทีไ่ ด้ค้นพบกบั ความรทู้ างวิทยาศาสตร์ และการ ครเู ตรยี มสง่ิ ตา่ ง ๆ ดังต่อไปน้ี สอ่ื สารสง่ิ ท่ไี ด้ค้นพบและให้เหตผุ ล) 1. เมลด็ พืชหลาย ๆ ชนดิ เชน่ 6. ครตู รวจสอบความเขา้ ใจของนักเรียนโดยใช้สถานการณ์ทไ่ี ด้เลา่ เมลด็ ถ่วั เขียวดบิ เมล็ดถว่ั เขยี ว ไปแล้วในขัน้ นาเขา้ สู่บทเรยี นโดยการสาธิตวา่ จะเกดิ อะไรข้ึน ให้ ต้ม เมลด็ พืชชนดิ อ่นื ๆ ที่หาได้ นกั เรยี นสงั เกตผลและตอบคาถามเก่ียวกับลกั ษณะของการสบื ง่ายในท้องถ่ิน เพือ่ นามาให้ เสาะหาความรูท้ างวิทยาศาสตร์ การตัง้ สมมตฐิ าน ตวั แปรต้น นักเรยี นเลือกในการทากจิ กรรม ตัวแปรตาม และตัวแปรทต่ี ้องควบคุมให้คงที่ ตามความสนใจ ข้ันสรุปจากการอ่าน (5 นาท)ี 2. เตรยี มข้อมลู เก่ยี วกบั การเต้น ระบาได้ของถว่ั เขยี ว โดยอาจทา 7. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันอภปิ รายเพ่อื ใหไ้ ด้ขอ้ สรุปวา่ ลักษณะ ใบความรู้ หรือแนะนา สาคัญของการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในการหา แหล่งข้อมลู ให้อา่ น คาตอบจากคาถามทีส่ งสัย ไดแ้ ก่ การมีส่วนรว่ มในการตงั้ คาถามทางวิทยาศาสตร์ การรวบรวมข้อมูลหรอื หลักฐานที่ เกย่ี วขอ้ ง การอธบิ ายส่ิงทีส่ งสัยดว้ ยข้อมูลหรอื หลักฐานอย่างมี เหตุผล การอธบิ ายเชื่อมโยงสิง่ ทไ่ี ดค้ น้ พบกบั ความรทู้ าง วทิ ยาศาสตร์ และการสอ่ื สารส่ิงทไี่ ด้คน้ พบและใหเ้ หตุผล การรวบรวมข้อมูลสามารถทาได้โดยใช้การทดลอง ซ่งึ มีการ ตง้ั สมมติฐาน การกาหนดตวั แปรต้น ตวั แปรตาม และตวั แปรที่ ต้องควบคุมให้คงท่ี 8. นกั เรียนตอบคาถามในร้หู รือยัง ในแบบบนั ทึกกิจกรรมหนา้ 5 9. ครูและนักเรียนรว่ มกนั อภิปรายเพ่ือเปรยี บเทียบคาตอบของนกั เรียน ในรหู้ รอื ยังกับคาตอบทีเ่ คยตอบและบนั ทึกไว้ในคดิ ก่อนอ่าน 10. ครูชักชวนนักเรียนให้ตอบคาถามทา้ ยเร่ืองที่อ่าน ดงั น้ี เราจะใช้ การสบื เสาะหาความร้ทู างวิทยาศาสตรเ์ พ่ือหาคาตอบท่ีเราสงสยั ได้อย่างไร ทง้ั นีเ้ พื่อใหน้ ักเรยี นไปหาคาตอบร่วมกันในกจิ กรรม ตอ่ ไป  สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรยี นรู้สิ่งต่าง ๆ รอบตัว 14 แนวคาตอบในแบบบันทึกกจิ กรรม สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

15 ค่มู อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยที่ 1 การเรียนรู้สงิ่ ตา่ ง ๆ รอบตวั กิจกรรมท่ี 1 ถวั่ เต้นระบาได้อยา่ งไร กิจกรรมนี้นักเรยี นจะได้อธบิ ายการสืบเสาะหาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ โดยการทากิจกรรมซ่ึงประกอบด้วยการ สังเกต การตั้งคาถาม การออกแบบการทดลอง การ ทดลอง การสรุปผล การสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติม และ นาเสนอผล เวลา 3 ชว่ั โมง จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ อธิบายการสบื เสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในการ ตอบคาถามที่สงสัย วัสดุ อุปกรณส์ าหรบั ทากจิ กรรม สง่ิ ที่ครตู อ้ งเตรยี ม/ห้อง 1. เมล็ดพืชชนิดต่าง ๆ ได้แก่ เมลด็ ถ่วั เขยี ว เมลด็ - สอ่ื การเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ ถว่ั เขียวตม้ เมล็ดพืชอืน่ ๆ 2. นา้ โซดา 4 ขวด 1. หนังสือเรียน ป.1 เลม่ 1 หน้า 10-12 3. น้าอดั ลมใสไม่มสี ี 4 ขวด 2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.1 เล่ม 1 หนา้ 6-10 4. น้าเกลอื 4 ขวด 3. ตัวอย่างวีดิทัศน์ปฏิบัติการวิทยาศาสตร์เรื่อง การ 5. นา้ เปล่า 4 ขวด ต้ังสมมตฐิ านทาได้อยา่ งไร http://ipst.me/8124 สง่ิ ท่คี รตู อ้ งเตรียม/กลุ่ม 4. ตัวอย่างวีดิทัศน์ปฏิบัติการวิทยาศาสตร์เรื่องการกาหนด 1. แกว้ ใส 2 ใบ และควบคุมตัวแปร และการกาหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ทาได้อย่างไร http://ipst.me/8125 S1 การสังเกต S9 การตง้ั สมมติฐาน S11 การกาหนดและควบคุมตัวแปร S12 การทดลอง S13 การตคี วามหมายข้อมลู และลงข้อสรุป ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 C2 การคดิ อยา่ งมีวจิ ารญาณ C4 การสอ่ื สาร C5 ความรว่ มมือ  สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรียนร้สู ิ่งตา่ ง ๆ รอบตวั 16 แนวการจัดการเรียนรู้ ค รู รั บ ฟั ง เ ห ตุ ผ ล ข อ ง นักเรียนเป็นสาคัญ ครูยังไม่ 1. ครทู บทวนความร้เู กีย่ วกับลกั ษณะของการสืบเสาะหาความรู้ทาง เฉลยคาตอบใด ๆ แต่ชักชวนให้ วทิ ยาศาสตร์ว่ามอี ะไรบ้าง จากนนั้ เช่ือมโยงสู่กิจกรรมที่ 1 ถัว่ เต้น หาคาตอบที่ถูกต้องจากกิจกรรม ระบาได้อย่างไร ต่าง ๆ ในบทเรียนี้ 2. นกั เรียนอา่ นช่ือกิจกรรมที่ 1 และทาเป็นคดิ เป็น โดยร่วมกนั อภิปรายทลี ะประเดน็ เพ่อื ตรวจสอบความเข้าใจเก่ียวกับจุดประสงค์ ในการทากจิ กรรม โดยใช้คาถาม ดังนี้ 2.1 กิจกรรมนี้นักเรยี นจะไดเ้ รียนเร่อื งอะไร (การสืบเสาะหาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์) 2.2 นกั เรยี นจะได้เรยี นเรื่องนด้ี ว้ ยวธิ ีใด (ทากิจกรรมโดยใช้การ สังเกต การทดลอง การสรปุ ผลและการนาเสนอความรทู้ ี่ได้) 2.3 เม่ือเรียนแลว้ นักเรยี นจะทาอะไรได้ (สามารถอธบิ ายการสบื เสาะหาความรทู้ างวิทยาศาสตร์ได้) 3. นักเรยี นบันทกึ จดุ ประสงคล์ งในแบบบนั ทกึ กิจกรรม หน้า 6 และอา่ น สง่ิ ทตี่ ้องใชใ้ นการทากจิ กรรม ครูแนะนาวสั ดุอุปกรณส์ าหรับการทา กจิ กรรม 4. นกั เรยี นอ่านทาอย่างไร ทลี ะข้อ แล้วรว่ มกนั อภปิ รายเพื่อสรุปลาดบั ขนั้ ตอนตามความเข้าใจ ครูเขียนสรุปบนกระดาน และนาอภิปราย ตามแนวคาถาม ดังน้ี 4.1 นกั เรียนต้องเร่ิมตน้ สงั เกตอะไร (สงั เกตผลท่ีเกิดข้ึนเมื่อใสเ่ มลด็ ถว่ั เขยี ว 2-3 เมล็ดลงในแกว้ น้าโซดา) 4.2 นกั เรียนต้องทาอะไรในลาดับถดั ไป (สังเกตวสั ดุอปุ กรณ์ที่ครู เตรยี มไว้ แล้วต้ังคาถามท่ีสงสัยโดยใช้ผลการสังเกตเมล็ดถั่วเขียว ในน้าโซดามาเปน็ แนวในการต้งั คาถาม) 4.3 เมอ่ื ตั้งคาถามได้แล้ว นักเรียนแต่ละกลมุ่ ต้องทาอะไรต่อไป (เลอื กคาถามทส่ี ามารถนาไปสู่การทดลอง และรว่ มกนั ต้งั สมมตฐิ าน กาหนดตัวแปรทเ่ี ก่ียวข้อง ออกแบบการทดลอง และเขยี นแผนภาพสรปุ ขั้นตอนการทดลอง) 4.4 จากนัน้ นกั เรียนต้องสืบค้นข้อมลู เรอ่ื งอะไร (เรือ่ งท่ที ดลอง คอื การเต้นระบาของถวั่ ) 4.5 นกั เรยี นสบื ค้นข้อมลู จากท่ีใด (สืบคน้ จากอินเทอร์เน็ต ผู้รู้ หนงั สือทีเ่ ช่อื ถือได้ ซง่ึ ครูเป็นผแู้ นะนา) สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

17 คู่มือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรียนรู้ส่งิ ต่าง ๆ รอบตัว 4.6 เพราะเหตุใด นักเรยี นต้องสืบค้นขอ้ มูลเพ่ิมเติมเกย่ี วกับเรื่องท่ี ถา้ นกั เรียนไม่สามารถตอบคาถาม ทดลอง (เพอื่ นาความรู้มาปรับคาอธิบายในผลทสี่ งั เกตไดจ้ าก หรอื อภิปรายไดต้ ามแนวคาตอบ ครู การทดลอง) ควรใหเ้ วลานักเรยี นคิดอย่าง เหมาะสม รอคอยอย่างอดทน และ 4.7 ในขนั้ ตอนสดุ ทา้ ย นักเรยี นต้องทาอะไร (นาเสนอความรู้ใน รับฟังแนวความคดิ ของนักเรียน รูปแบบที่น่าสนใจ) 5. เมอ่ื นกั เรียนเข้าใจวิธกี ารทากิจกรรมแล้ว ใหน้ กั เรียนเรม่ิ ทากจิ กรรม ทลี ะข้อ และบนั ทกึ ผลในแบบบันทึกกจิ กรรมหน้า 6-7 ดงั นี้ 5.1 สังเกตผลทเี่ กดิ ขนึ้ เม่ือหยอ่ นเมลด็ ถว่ั ลงในแกว้ นา้ โซดา บันทกึ ผล (S1) 5.2 สงั เกตวสั ดอุ ปุ กรณ์และตัง้ คาถามที่สงสัย 5.3 รว่ มกนั เลือกคาถามท่นี าไปทดลองได้ บันทกึ ผล (C2, C5) 5.4 รว่ มกนั ตั้งสมมติฐาน กาหนดตวั แปรท่เี ก่ยี วข้อง ออกแบบการ ทดลอง ทดลองและสงั เกตผลทไี่ ด้ บันทึกผล (S1, S9, S11, S12) (C2, C5) 5.5 ร่วมกนั อภปิ รายและสรุปผลการทดลอง (S13) 5.6 สบื คน้ ขอ้ มูลเพมิ่ เติมเกยี่ วกบั เรื่องท่ีทดลองและปรบั คาอธบิ าย บนั ทึกผล 5.7 นาเสนอความรทู้ ่ีค้นพบ (C4) 6. เมื่อนักเรยี นนาเสนอผลการทากิจกรรมแล้ว ครูและนักเรยี นร่วมกัน อภปิ รายโดยใช้คาถามดังต่อไปนี้ 6.1 นกั เรียนมีสว่ นร่วมในการตงั้ คาถามซง่ึ เป็นลกั ษณะหน่ึงของการ สบื เสาะหาความรทู้ างวิทยาศาสตร์หรอื ไม่ อยา่ งไร (มีส่วนร่วม ในการตง้ั คาถาม ซ่งึ เป็นคาถามทน่ี าไปสู่การทดลองได)้ 6.2 คาถามทนี่ าไปสู่การทดลอง มีคาถามอะไรบา้ ง (นกั เรียนตอบ ตามคาถามที่ต้ังขึ้น) 6.3 นกั เรยี นรวบรวมขอ้ มลู หรือหลักฐานท่เี กยี่ วข้องหรือไม่ อย่างไร อธิบาย (รวบรวมข้อมลู โดยออกแบบการทดลอง และทดลอง) ครูอาจสมุ่ ใหน้ ักเรียนเลา่ ขน้ั ตอนการทดลองใหเ้ พ่ือนฟัง 6.4 นักเรยี นอธบิ ายสิ่งทีส่ งสยั ด้วยข้อมลู หรือหลกั ฐานอย่างมเี หตุผล หรือไม่ อยา่ งไร (อธบิ ายส่งิ ทีส่ งสัยด้วยผลการสงั เกตท่ีได้จาก การทดลอง) 6.5 นกั เรยี นได้อธิบายเช่ือมโยงสิง่ ที่ค้นพบกับความร้ทู าง วทิ ยาศาสตร์หรือไม่ อย่างไร (ได้มกี ารสบื ค้นข้อมลู เพม่ิ เติม  สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรยี นรูส้ ่ิงต่าง ๆ รอบตวั 18 เกยี่ วกบั การเต้นระบาของถ่วั จากแหล่งการเรยี นรู้ที่เชอ่ื ถือได้ การเตรยี มตวั ลว่ งหน้าสาหรบั ครู เพอื่ นาความรู้มาปรบั คาอธบิ ายท่ีไดจ้ ากการสงั เกตให้นา่ เชอ่ื ถือ เพ่ือจดั การเรียนรู้ในครง้ั ถดั ไป มากขน้ึ ) 6.6 นกั เรยี นสอ่ื สารสิ่งที่ค้นพบและให้เหตผุ ลหรอื ไม่ อยา่ งไร (มีการ ในคร้ังถดั ไป นกั เรียนจะได้เรยี น นาเสนอสิง่ ทคี่ ้นพบให้เพ่ือนฟัง) เรื่องท่ี 2 การวดั และการใช้จานวนของ 7. ครูและนักเรียนร่วมกันเชื่อมโยงสิ่งท่ีได้เรียนรู้จากกิจกรรมเพ่ือลง นักวทิ ยาศาสตร์ โดยครเู ตรียมเทอร์มอ- ความเห็นว่าในกิจกรรมนี้ นักเรียนได้ฝึกเรียนรู้ลักษณะสาคัญ 5 มิเตอรด์ ังตวั อยา่ งในหนังสือเรียนหน้า 14 ลกั ษณะของการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์จนได้คาตอบจาก หรอื เทอร์มอมิเตอรว์ ดั ไข้มาแสดงให้ คาถามทีส่ งสยั ไดแ้ ก่ การมีสว่ นรว่ มในการต้ังคาถามทางวิทยาศาสตร์ นกั เรียนดู การรวบรวมข้อมูลหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้อง การอธิบายส่ิงที่สงสัย ด้วยข้อมูลหรือหลักฐานอย่างมีเหตุผล การอธิบายเช่ือมโยงส่ิงที่ ค้นพบกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และการส่ือสารสิ่งที่ค้นพบและให้ เหตผุ ล 8. นักเรียนร่วมกันอภิปรายคาตอบในฉันรู้อะไร โดยครูอาจเพ่ิมเติม คาถามในการอภปิ ราย เพ่ือใหไ้ ดแ้ นวคาตอบทีถ่ กู ต้อง 9. นักเรียนสรุปส่ิงที่ได้เรียนรู้ในกิจกรรมน้ี จากนั้นอ่านส่ิงที่ได้เรียนรู้ และเปรียบเทียบกบั ขอ้ สรุปของตนเอง 10. ครูกระตุ้นให้นักเรียนฝึกต้ังคาถามเกี่ยวกับเรื่องท่ีสงสัยหรืออยากรู้ เพ่ิมเติมใน อยากรูอ้ กี ว่า จากนนั้ ครูอาจสมุ่ นกั เรยี น 2 -3 คน นาเสนอ คาถามของตนเองหน้าช้ันเรียน และให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย เก่ียวกับคาถามที่นาเสนอครูนาอภิปรายเพ่ือให้นักเรียนทบทวนว่าได้ ฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 อะไรบ้างและในข้ันตอนใดบ้าง และบันทึกลงในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 10 11.นกั เรียนร่วมกันอา่ น รูอ้ ะไรในเรอื่ งน้ี เรอ่ื งที่ 1 การสืบเสาะหาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ ในหนังสือเรียนหน้า 13 ครูนาอภิปรายเพื่อนาไปสู่ ข้อสรุปเกี่ยวกับสิ่งท่ีได้เรียนรู้ในเรื่องน้ี จากนั้นครูกระตุ้นให้นักเรียน ตอบคาถามในช่วงท้ายของเนื้อเรื่อง ดังนี้ “ในแต่ละวันเราใช้การสืบ เสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์เพื่ออธิบายส่ิงต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนบ้าง หรือไม”่ โดยครูและนกั เรียนร่วมกนั อภปิ รายแนวทางการตอบคาถาม โดยเน้นให้นกั เรียนตอบคาถามพรอ้ มอธบิ ายเหตุผลประกอบ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

19 คมู่ อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรียนรู้ส่งิ ตา่ ง ๆ รอบตวั แนวคาตอบในแบบบันทึกกจิ กรรม  สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรสู้ งิ่ ต่าง ๆ รอบตวั 20 สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

21 คมู่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรยี นรู้ส่งิ ต่าง ๆ รอบตวั  สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรสู้ งิ่ ต่าง ๆ รอบตวั 22 สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

23 คมู่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรยี นรู้ส่งิ ต่าง ๆ รอบตวั  สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรยี นร้สู ิ่งต่าง ๆ รอบตวั 24 แนวการประเมินการเรียนรู้ การประเมนิ การเรียนร้ขู องนกั เรียนทาได้ ดังน้ี 1. ประเมินความรเู้ ดิมจากการอภิปรายในชน้ั เรียน 2. ประเมนิ การเรยี นรจู้ ากคาตอบของนกั เรียนระหวา่ งการจัดการเรียนรูแ้ ละจากแบบบนั ทึกกจิ กรรม 3. ประเมนิ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 จากการทากจิ กรรมของนักเรยี น การประเมินจากการทากิจกรรมท่ี 1 ถ่วั เตน้ ระบาได้อยา่ งไร ระดบั คะแนน 1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรงุ 3 คะแนน หมายถงึ ดี 2 คะแนน หมายถงึ พอใช้ รหัส สิ่งทป่ี ระเมนิ ระดบั คะแนน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S1 การสังเกต S9 การตง้ั สมมติฐาน S11 การกาหนดและควบคมุ ตัวแปร S12 การทดลอง S13 การตคี วามหมายข้อมูลและลงขอ้ สรปุ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 C2 การคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ C4 การส่อื สาร C5 ความรว่ มมอื รวมคะแนน สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

25 คูม่ อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรียนรู้ส่งิ ตา่ ง ๆ รอบตวั ตาราง แสดงการวเิ คราะห์ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ตามระดบั ความสามารถของนักเรยี น โดยอาจใช้เกณฑ์การประเมนิ ดังนี้ ทกั ษะกระบวนการ รายการประเมนิ ระดบั ความสามารถ ทางวิทยาศาสตร์ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรงุ (1) S1 การสังเกต การบรรยาย ใช้ประสาทสมั ผสั เกบ็ ใชป้ ระสาทสัมผสั เกบ็ ไม่สามารถใช้ ลักษณะการ รายละเอียดเกยี่ วกับ รายละเอยี ดเกี่ยวกบั ประสาทสมั ผัสเก็บ เคลื่อนที่ของเมล็ด ลกั ษณะการเคลื่อนท่ีของ ลกั ษณะการเคลอ่ื นท่ี รายละเอยี ดเก่ยี วกบั พชื ท่ีอยู่ในของเหลว เมลด็ พืชที่อยู่ในของเหลว ของเมลด็ พืชที่อยใู่ น ลักษณะการเคลอ่ื นท่ี ชนิดต่าง ๆ ชนดิ ต่าง ๆ ดว้ ยตนเอง ของเหลวชนิดตา่ ง ๆ ของเมล็ดพชื ท่ีอยูใ่ น โดยไม่เพ่ิมความคิดเหน็ โดยต้องอาศยั การ ของเหลวชนิดต่าง ๆ ชี้แนะจากครูหรือผูอ้ น่ื แม้วา่ ครหู รือผู้อน่ื ชว่ ยแนะนาหรือ ชแ้ี นะ S9 การ การเขียนหรอื พดู สามารถเขียนหรือพูด สามารถเขียนหรือพดู ไมส่ ามารถเขียนหรือ ตงั้ สมมตฐิ าน ขอ้ ความท่ี ขอ้ ความคาดคะเนผลการ ข้อความคาดคะเนผล พูดข้อความ คาดคะเนผลการ ทดลองลว่ งหน้าโดย การทดลองลว่ งหน้า คาดคะเนผลการ ทดลองลว่ งหน้า ขอ้ ความนน้ั แสดงใหเ้ หน็ โดยขอ้ ความน้นั แสดง ทดลองล่วงหน้าโดย โดยข้อความนั้น ความสมั พนั ธข์ องตัวแปร ให้เห็นความสมั พันธ์ ขอ้ ความนัน้ แสดงให้ แสดงให้เห็น ต้นและตวั แปรตามได้ด้วย ของตวั แปรต้นและตวั เหน็ ความสัมพนั ธ์ ความสัมพนั ธข์ อง ตนเอง แปรตามไดจ้ ากการ ของตวั แปรต้นและ ตัวแปรต้นและตัว ชแ้ี นะของครูหรือผอู้ ่นื ตวั แปรตาม แมว้ ่า แปรตาม จะได้รบั คาแนะนา จากครูหรอื ผู้อ่ืน  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรยี นรูส้ ิง่ ต่าง ๆ รอบตัว 26 ทักษะกระบวนการ รายการประเมนิ ระดบั ความสามารถ ทางวิทยาศาสตร์ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรงุ (1) S11 การกาหนด การกาหนดตวั แปร กาหนดตัวแปรต้น ตวั แปร กาหนดตัวแปรตน้ ตวั ไมส่ ามารถกาหนด และควบคมุ ตัว ตน้ ตัวแปรตาม ตาม ตัวแปรที่ต้องควบคุม แปรตาม ตวั แปรทตี่ ้อง ตวั แปรต้น ตวั แปร แปร ตวั แปรทีต่ ้อง ใหค้ งท่ซี ่ึงสอดคล้องกบั ควบคุมใหค้ งทซี่ งึ่ ตาม ตวั แปรที่ต้อง ควบคมุ ให้คงที่ซึง่ คาถามในการทดลองได้ สอดคล้องกบั คาถามใน ควบคุมใหค้ งทซี่ งึ่ สอดคลอ้ งกับ ด้วยตนเอง การทดลอง ทง้ั น้ีโดย สอดคลอ้ งกับคาถาม คาถามในการ อาศยั การช้แี นะจากครู ในการทดลอง ทดลอง หรอื ผอู้ ืน่ แมว้ ่าจะได้รับ คาแนะนาจากครู หรือผอู้ ่นื S12 การทดลอง การออกแบบการ ออกแบบการทดลอง ออกแบบการทดลอง ไม่สามารถออกแบบ ทดลอง ดาเนนิ การ ดาเนินการทดลอง และ ดาเนนิ การทดลอง การทดลอง ทดลอง และ สรปุ ผลการทดลองเพือ่ หา และสรุปผลการ ดาเนนิ การทดลอง สรุปผลการทดลอง คาตอบในคาถามทส่ี งสยั ได้ ทดลองเพอื่ หาคาตอบ และสรุปผลการ เพอ่ื หาคาตอบใน ดว้ ยตนเอง ในคาถามทสี่ งสยั ทงั้ นี้ ทดลองเพื่อหา คาถามทส่ี งสัย โดยอาศยั การช้ีแนะ คาตอบในคาถามที่ จากครหู รือผู้อื่น สงสยั แม้วา่ จะไดร้ บั คาแนะนาจากครู หรอื ผอู้ น่ื S13 การ การตีความหมาย ตคี วามหมายข้อมลู ทไี่ ด้ ตคี วามหมายข้อมลู ท่ี ไมส่ ามารถ ตีความหมาย ขอ้ มลู ที่ได้จากการ จากการทดลองและการ ไดจ้ ากการทดลองและ ตคี วามหมายข้อมูลที่ ขอ้ มูลและลง ทดลองและการ สืบคน้ ขอ้ มูลเพ่ิมเติม เพ่ือ การสืบค้นข้อมูล ได้จากการทดลอง ขอ้ สรปุ สืบคน้ ข้อมูล ลงข้อสรปุ เกี่ยวกับคาตอบ เพม่ิ เติม เพื่อลงข้อสรุป และการสืบค้นข้อมูล เพิม่ เติม เพ่ือลง ของปัญหาท่สี งสยั ได้ดว้ ย เกยี่ วกับคาตอบของ เพ่ิมเติม เพื่อลง ขอ้ สรุปเกีย่ วกับ ตนเอง ปญั หาทส่ี งสยั ทง้ั น้ี ขอ้ สรุปเกยี่ วกับ คาตอบของปัญหา โดยอาศยั การชี้แนะ คาตอบของปญั หาที่ ท่ีสงสัย จากครหู รอื ผู้อน่ื สงสัย แมว้ ่าจะ ได้รับคาแนะนาจาก ครหู รือผู้อ่ืน สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

27 คมู่ ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรยี นรู้ส่ิงตา่ ง ๆ รอบตวั ตาราง แสดงการวเิ คราะหท์ ักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ตามระดบั ความสามารถของนักเรยี น โดยอาจใช้เกณฑก์ ารประเมิน ดังนี้ ทักษะแห่ง รายการประเมิน ระดับความสามารถ ควรปรบั ปรุง (1) ศตวรรษที่ 21 ดี (3) พอใช้ (2) ไมส่ ามารถคิดโดยใช้ C2 การคิดอยา่ งมี การคดิ คาถามอย่าง การคดิ คาถามอย่างมี การคดิ โดยใช้เหตุผลท่ี เหตผุ ลทีเ่ หมาะสมใน วิจารณญาณ มีเหตุผลเพอ่ื นาไปสู่ เหตุผลเพ่อื นาไปสู่การ เหมาะสมในการคิด การคิดคาถามท่ี การทดลอง การ ทดลอง การออกแบบการ คาถามที่นาไปสู่การ นาไปสู่การทดลอง C4 การส่ือสาร ออกแบบการ ทดลอง และสรปุ ผลการ ทดลอง การออกแบบ การออกแบบการ ทดลอง และสรปุ ผล ทดลองได้ด้วยตนเอง การทดลอง และ ทดลอง และสรปุ ผล C5 ความร่วมมือ การทดลอง การทดลองได้ แมว้ ่า สรปุ ผลการทดลองได้ ครูหรอื ผ้อู นื่ ช่วย การนาเสนอสิง่ ท่ี จากการชี้แนะของครู แนะนาหรือชแี้ นะ ค้นพบจากการหา หรอื ผอู้ นื่ ไม่สามารถนาเสนอ คาตอบในคาถามท่ี สง่ิ ทค่ี น้ พบจากการ สงสยั ให้ผู้อืน่ รับรู้ สามารถนาเสนอสงิ่ ท่ี สามารถนาเสนอสง่ิ ที่ หาคาตอบในคาถาม ทส่ี งสัยให้ผอู้ ่นื รับร้ไู ด้ การมีส่วนร่วมใน ค้นพบจากการหาคาตอบ คน้ พบจากการหา แม้ว่าครหู รือผู้อนื่ การตัง้ คาถาม ช่วยแนะนาหรือ รวบรวมขอ้ มลู ในคาถามทีส่ งสยั ให้ผู้อน่ื คาตอบในคาถามที่ ชแี้ นะ บนั ทกึ ผล อภิปราย ไมม่ สี ว่ นร่วมในการ ผลการทดลอง รบั รู้ไดอ้ ย่างชดั เจน ด้วย สงสยั ให้ผ้อู ื่นรบั รไู้ ด้ ต้ังคาถาม รวบรวม สรุปผลการทดลอง ขอ้ มูล บนั ทึกผล สืบค้นข้อมลู เพม่ิ เติม ตนเอง อย่างชดั เจน โดย อภิปรายผลการ การนาเสนอผล ใน ทดลอง สรปุ ผลการ การสืบเสาะหา อาศยั การชแ้ี นะของครู ทดลอง สบื คน้ ขอ้ มูล ความรู้ทาง เพ่มิ เติม การนาเสนอ วิทยาศาสตร์ หรอื ผูอ้ น่ื ผล ในการสืบเสาะหา ความร้ทู าง มีส่วนร่วมในการตง้ั คาถาม มีสว่ นร่วมในการตง้ั วทิ ยาศาสตรแ์ มว้ ่าครู หรือผูอ้ ่นื ช่วยแนะนา รวบรวมขอ้ มูล บันทกึ ผล คาถาม รวบรวมข้อมูล หรือช้แี นะ อภปิ รายผลการทดลอง บนั ทึกผล อภปิ รายผล สรปุ ผลการทดลอง สบื ค้น การทดลอง สรุปผล ข้อมูลเพิม่ เติม การ การทดลอง สืบคน้ นาเสนอผล ในการสบื ข้อมูลเพมิ่ เติม การ เสาะหาความรู้ทาง นาเสนอผล ในการสบื วิทยาศาสตรร์ ว่ มกบั เพื่อน เสาะหาความร้ทู าง ในกลมุ่ ได้ด้วยตนเองอยา่ ง วิทยาศาสตร์รว่ มกบั ตอ่ เน่อื งตลอดการทา เพ่อื นในกล่มุ ได้บา้ ง กจิ กรรม ทง้ั นโี้ ดยอาศยั การ ช้ีแนะของครหู รือผู้อนื่  สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มอื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรียนรู้สง่ิ ต่าง ๆ รอบตวั 28 เร่ืองท่ี 2 การวดั และการใชจ้ านวนของนักวิทยาศาสตร์ ในเรอื่ งนน้ี ักเรยี นจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการวัดและการ ใชจ้ านวน จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. เพอ่ื อธบิ ายทักษะการวัดในการหามวลและปริมาตร ของวัตถุ 2. เพ่ืออธบิ ายทักษะการใช้จานวนบอกปริมาณที่ได้ จากการวัดสิง่ ตา่ ง ๆ เวลา 3 ชว่ั โมง วัสดุ อุปกรณ์สาหรับทากจิ กรรม น้าสี ภาชนะใส่นา้ สี ผลไม้ เชน่ สม้ บกี เกอร์ กระบอกตวง เครื่องช่ังแบบคาน 3 แขน สอ่ื การเรยี นร้แู ละแหล่งเรียนรู้ หน้า 14-23 หน้า 11-20 1.หนังสือเรยี น ป.4 เลม่ 1 2. แบบบนั ทึกกจิ กรรม ป.4 เลม่ 1 สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

29 คู่มือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรยี นรู้สิ่งต่าง ๆ รอบตวั แนวการจัดการเรียนรู้ (60 นาที) ข้นั ตรวจสอบความรู้ (10 นาที) 1. ครทู บทวนความรูเ้ ก่ียวกบั การวัดโดยอาจใช้สถานการณ์ดงั ต่อไปนี้ ในการตรวจสอบความรู้ ครู หนตู วั หนึ่งทารงั อยใู่ นป่าใกล้ๆ หมบู่ า้ น ตกกลางคนื หนชู อบ เพียงรับฟังเหตุผลของนักเรียนและ มาเท่ยี วเลน่ ตามบา้ นต่าง ๆ หนไู ดพ้ บส่ิงของชิ้นหนงึ่ เปน็ รปู ยังไม่เฉลยคาตอบใด ๆ แต่ชักชวน สี่เหลยี่ มทาจากโลหะมรี ูปรอยเท้าคนสองข้างบนแผ่นโลหะน้ัน ให้นักเรียนไปหาคาตอบด้วยตนเอง ระหวา่ งรูปรอยเท้ามหี น้าปดั และภายในหนา้ ปัดมีขีดตรงเลข 0 จากการอ่านเน้อื เรอ่ื ง และข้างๆเลข 0 มีตัวอักษรวา่ kg เม่ือหนูขึ้นไปยืนบนแผ่นโลหะ เขม็ เลื่อนไปเลก็ น้อย หนสู งสยั ว่าสิง่ น้เี อาไว้ทาอะไรนะ นักเรียนคดิ วา่ สิ่งของท่ีหนูพบในบา้ นคืออะไร และใชท้ า อะไร (นกั เรียนตอบตามความเขา้ ใจ เชน่ เปน็ เครอ่ื งชั่งใช้ ชง่ั นา้ หนกั ) ขั้นฝกึ ทักษะการอ่าน (40 นาท)ี 2. นักเรยี นอา่ น ชื่อเร่ือง และคาถามใน คิดก่อนอ่าน ในหนา้ 14 แลว้ ร่วมกันอภิปรายในกลมุ่ เพือ่ หาแนวคาตอบ ครบู นั ทึกคาตอบ ของนักเรียนบนกระดานเพอ่ื ใชเ้ ปรยี บเทียบคาตอบภายหลงั การ อ่านเนอ้ื เรื่อง 3. นักเรยี นอ่านคาใน คาสาคัญ ท้งั ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ หาก นกั เรยี นอา่ นไม่ได้ ครูควรสอนการอ่านให้ถกู ต้อง นักเรียนอธบิ าย ความหมายตามความเข้าใจ ครูชักชวนให้นักเรยี นหาความหมาย ของคาภายหลงั จากการอ่านเน้อื เร่ือง 4. ครูชวนนกั เรยี นอ่านเนื้อเรื่อง ตามวธิ ีการอา่ นที่เหมาะสมกับ ความสามารถของนักเรยี น จากนน้ั รว่ มกนั อภปิ รายใจความสาคญั ตามแนวคาถามดังนี้ 4.1 การวดั อุณหภมู ิของร่างกายทาได้อย่างไรบา้ ง (ใช้มือแตะ หน้าผาก หรือใช้เทอร์มอมิเตอร์) 4.2 เพราะเหตุใด จงึ ต้องใช้เครื่องมอื ในการวัดอุณหภมู ิ (เพราะจะได้ข้อมลู ที่ถกู ต้องและแม่นยามากกว่า) 4.3 หนว่ ยทไ่ี ด้จากการวัดอุณหภูมิโดยใช้เทอร์มอมิเตอร์มี หนว่ ยอะไรบา้ ง (องศาเซลเซียส องศาฟาเรนไฮต)์  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยที่ 1 การเรียนรสู้ งิ่ ตา่ ง ๆ รอบตัว 30 4.4 สิ่งทีไ่ ด้จากการวดั อณุ หภูมิดว้ ยเทอรม์ อมิเตอรม์ ีอะไรบา้ ง การเตรยี มตัวล่วงหน้าสาหรับครู (ตัวเลขท่บี อกปรมิ าณและหน่วยที่บอกปริมาณ) เพือ่ จัดการเรียนรูใ้ นครง้ั ถัดไป 4.5 ปรมิ าณยาท่หี มอสัง่ ใหค้ นไข้พิจารณาจากส่งิ ใด (อาการ ในคร้ังถดั ไป นักเรยี นจะได้เรยี น ของโรค อายแุ ละสภาพรา่ งกาย) กจิ กรรมท่ี 2.1 การวดั ทาได้อย่างไร โดย ครูเตรยี มตรวจสอบเครื่องชั่งแบบ 3 แขน 4.6 เดก็ ชายอายุ 10 ปี นา้ หนกั 30 กโิ ลกรัม ควรรบั ประทาน ว่าสามารถใชง้ านได้หรือไม่ ยาลดไข้ไม่เกินวันละเทา่ ใด รู้ได้อยา่ งไร (2,250 กรมั จาก การคานวณโดยนานา้ หนัก 30 กิโลกรมั มาคูณกับ 75 กรมั ) 4.7 การใช้จานวนหมายถึงอะไร (เปน็ การจัดกระทาข้อมูลให้ เกดิ ค่าใหมด่ ้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การบวก การลบ การคูณ การหารจากข้อมูลทไ่ี ดจ้ ากการวดั หรืออน่ื ๆ ซึง่ คา่ นนั้ มี ปริมาณและหน่วยกากบั ) 4.8 การตคี วามหมายข้อมลู และลงข้อสรปุ หมายถงึ อะไร (การ บรรยายลกั ษณะของข้อมลู ที่รวบรวมไว้และบอก ความสัมพันธข์ องข้อมลู ) 4.9 ในเรอ่ื งน้ี การวดั มปี ระโยชนอ์ ยา่ งไร (ชว่ ยให้ทราบ อุณหภูมิของรา่ งกาย) 4.10การใชจ้ านวนมีประโยชนอ์ ย่างไร(คานวณปริมาณยาได้ ละเอียดและถูกต้อง เหมาะสมกบั อายุ สภาพรา่ งกาย) ข้ันสรปุ จากการอา่ น (5 นาท)ี 5. ครแู ละนักเรยี นชว่ ยกันสรปุ เรอื่ งที่อ่านซึง่ สรุปได้วา่ การวัดอุณหภูมิ ของรา่ งกายอาจใชห้ ลังมือแตะหน้าผากหรือใช้เครื่องมือวดั อุณหภมู ไิ ดแ้ กเ่ ทอร์มอมเิ ตอร์ ซึง่ การวัดดว้ ยเทอร์มอมิเตอร์จะได้ ค่าเป็นตวั เลขและมีหนว่ ยกากับ 6. นกั เรียนตอบคาถามใน รู้หรือยัง ในแบบบนั ทกึ กจิ กรรม หน้า 11 7. ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั อภปิ รายเพอื่ เปรียบเทยี บคาตอบของ นักเรยี นในรู้หรือยงั กบั คาตอบท่ีเคยตอบและบันทกึ ไวใ้ นคิดก่อน อา่ น 8. นกั เรยี นอภปิ รายเก่ยี วกบั คาถาม ได้แก่ นอกจากการวัดอุณหภูมิ ช่งั นา้ หนักและวัดสว่ นสงู แล้วยังมกี ารวัดอะไรอีกบ้างเพ่ือชักชวน ใหน้ ักเรียนหาคาตอบรว่ มกันในกจิ กรรมต่อไป สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

31 คมู่ ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยที่ 1 การเรียนรู้ส่งิ ตา่ ง ๆ รอบตวั แนวคาตอบในแบบบนั ทึกกิจกรรม  สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรยี นรู้ส่งิ ต่าง ๆ รอบตัว 32 กิจกรรมที่ 2.1 การวัดทาได้อยา่ งไร กิจกรรมนีน้ ักเรียนจะได้วัดมวลของผลไม้และวัด ปริมาตรของน้าสีเพ่อื ฝึกทกั ษะการวัด เวลา 1 ชวั่ โมง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ อธิบายและใช้ทักษะการวัดในการหามวลและ ปรมิ าตรของวัตถุ วัสดุ อปุ กรณ์สาหรบั ทากจิ กรรม 3 เครื่อง สงิ่ ที่ครตู ้องเตรยี ม/หอ้ ง 5 ลิตร ส่ือการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ 1. เครอ่ื งชั่งแบบคาน 3 แขน 1 ใบ 1 ผล 1. หนงั สือเรยี น ป.4 เล่ม 1 หน้า 16-19 สิง่ ทคี่ รตู ้องเตรียม/กลมุ่ 1 ใบ 2. แบบบนั ทกึ กิจกรรม ป.4 เล่ม 1 หน้า 12-17 1 กระบอก 3. ตัวอย่างวีดิทัศน์ปฏิบัติการวิทยาศาสตร์เร่ือง 1. น้าสี 2. ภาชนะใสน่ ้าสี การวัดทาไดอ้ ย่างไร http://ipst.me/8116 3. ผลไม้ เชน่ สม้ 4. บกี เกอร์ 50 ml 5. กระบอกตวง 50 ml ทกั ษะกระบวนการวทิ ยาศาสตร์ S1 การสังเกต S2 การวัด S8 การลงความเห็นจากข้อมลู ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 C4 การส่อื สาร C5 ความร่วมมือ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

33 คู่มอื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรยี นรู้สิ่งต่าง ๆ รอบตัว แนวการจดั การเรยี นรู้ ค รู รั บ ฟั ง เ ห ตุ ผ ล ข อ ง นักเรียนเป็นสาคัญ ครูยังไม่ 1. ครูทบทวนความรู้เกย่ี วกับการวดั โดยอาจใชค้ าถามดงั น้ี เฉลยคาตอบใด ๆ แต่ชักชวนให้ 1.1 นักเรียนใช้อปุ กรณ์ชนิดใดวดั อุณหภูมริ ่างกาย (เทอรม์ อมิเตอร)์ หาคาตอบท่ีถูกต้องจากกิจกรรม 1.2 ข้อมูลท่ีได้จากการวัดมีอะไรบ้าง (ตัวเลขที่บอกปริมาณและ ตา่ ง ๆ ในบทเรียน้ี หน่วยท่ีบอกปรมิ าณนัน้ ๆ) 1.3 ครูตอ้ งการย้ายโต๊ะซึง่ วางอยหู่ นา้ หอ้ งเรยี นเขา้ มาในห้อง ถ้าครู ไม่ทราบวา่ โตะ๊ ตัวนีจ้ ะมีความยาวมากกว่าหรอื นอ้ ยกวา่ ความ กว้างของประตหู ้องครจู ะทาอยา่ งไร (นกั เรียนตอบตามความ เข้าใจแต่ควรตอบไดว้ ่า ใชอ้ ุปกรณว์ ัดความยาว เชน่ ไมบ้ รรทดั ) 1.4 การดื่มน้าประมาณวันละ 8 แกว้ ดตี ่อสุขภาพ ครูอยากรู้ว่า น้า 8 แกว้ มีปริมาตรเทา่ ใด ครจู ะทาอยา่ งไร และใช้อุปกรณ์อะไรใน การวัด (นกั เรยี นตอบตามความเข้าใจ) 2. ครูชักชวนนักเรียนทากิจกรรมซึ่งเป็นกิจกรรมที่จะทาให้เราเรียนรู้ ทักษะการวดั 3. นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรมท่ี 2.1 การวัดทาได้อย่างไร และทาเป็นคิด เป็น โดยร่วมกันอภิปรายทีละประเด็นเพ่ือตรวจสอบความเข้าใจ เก่ียวกบั จุดประสงคใ์ นการทากจิ กรรม โดยใชค้ าถาม ดงั น้ี 3.1 กิจกรรมนี้นักเรยี นจะได้เรียนเร่ืองอะไร (การวัด) 3.2 นกั เรียนจะได้เรยี นเร่ืองนี้ด้วยวิธีใด (สังเกต) 2.3 เมอ่ื เรยี นแล้วนกั เรยี นจะทาอะไรได้ (อธิบายทกั ษะการวัด) 4. นักเรียนอ่านสิ่งท่ีต้องใช้ในการทากิจกรรมและตรวจสอบรายการ สง่ิ ของโดยครูอาจแสดงสง่ิ ของต่าง ๆ ใหน้ ักเรียนดู 5. นักเรียนอ่านทาอย่างไร ตอนท่ี 1 แล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อสรุป ลาดับข้ันตอนตามความเข้าใจ และครูอาจช่วยเขียนสรุปสั้น ๆ บน กระดาน และนาอภิปรายตามแนวคาถามว่านักเรียนต้องทาอย่างไร บ้าง (สงั เกตและคาดคะเนมวลของผลไม้ โดยวางผลไม้บนมือข้างหน่ึง สังเกตเครื่องช่ัง อภิปรายวิธีการใช้งานและนาเสนอ จากน้ันช่ังมวล ของผลไม้และเปรยี บเทยี บผลจากการคาดคะเนและมวลท่ีชง่ั ได้) 6. นกั เรยี นเรมิ่ ทากจิ กรรมใน ขอ้ ท่ี 1 และ ข้อท่ี 2 ดงั นี้ -สังเกตและคาดคะเนมวลของผลไม้ บนั ทึกผล (S1) -สงั เกตเครอ่ื งช่ัง อภปิ รายวธิ กี ารใช้งานและนาเสนอ 7. ครูและนักเรียนร่วมกันอภปิ รายโดยอาจใชค้ าถามดังน้ี  สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยที่ 1 การเรียนร้สู ง่ิ ต่าง ๆ รอบตัว 34 7.1 มวลของผลไม้เมื่อวางบนมือ ผลไม้มีมวลเท่าใด (มวลของผลไม้ ข้นึ อยกู่ ับคาตอบของนกั เรยี น) 7.2 เคร่ืองชั่งแบบคาน 3 แขน มีส่วนประกอบอะไรบ้าง (จานชั่ง แขนเคร่ืองชงั่ เขม็ ชี้ ตมุ้ นา้ หนัก) 7.3 เคร่ืองชั่งใช้งานอย่างไร (นักเรยี นตอบตามความเขา้ ใจ) 8. ครูให้ความรู้เพ่ิมเติมเก่ียวกับวิธีใช้เคร่ืองชั่งแบบคาน 3 แขน ดังนี้ วางเครอื่ งช่ังในแนวราบ ปรับให้คานชั่งอยู่ตาแหน่งสมดุลโดยหมุนสก รูปรับให้เข็มช้ีไปท่ีเลข 0 วางวัตถุที่ต้องการชั่งบนจานชั่ง เลื่อนตุ้ม น้าหนักมาตรฐานจนคานชั่งอยู่ในสมดุลคือเข็มชี้ท่ีเลข 0 จากนั้นอ่าน ค่ามวลของวัตถุ 9. นักเรียนทากิจกรรมในข้อ 3 เริ่มช่ังมวลของผลไม้ อภิปรายเพื่อ เปรยี บเทียบกับมวลทีว่ างบนมือและบนั ทกึ ผล 10.นกั เรยี นนาเสนอผลการทากจิ กรรม 11. ครูนาผลการทากิจกรรมมาอภปิ รายรว่ มกัน โดยอาจใช้คาถามดงั น้ี 11.1 การชงั่ มวลใชอ้ ปุ กรณ์ใด (เคร่อื งชง่ั แบบคาน 3 แขน) 11.2 หนว่ ยของมวลคืออะไร (กรมั ) 12. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปกิจกรรมตอนท่ี 1 ว่าการช่ังมวลของวัตถุ ทาไดโ้ ดยใชเ้ ครือ่ งชั่งแบบคาน 3 แขน หนว่ ยของมวลคือกรมั 13. นักเรียนอ่าน ทาอย่างไร ตอนท่ี 2 ในหนังสือเรียนหน้า 17 และ ตรวจสอบความเข้าใจโดยใชค้ าถามดังตอ่ ไปนี้ 13.1 นกั เรียนต้องสังเกตอุปกรณ์ใดบ้าง (บีกเกอร์ กระบอกตวง) 13.2 นักเรียนต้องทาอย่างไรกับบีกเกอร์และกระบอกตวง (สังเกต และอภิปรายวธิ ีใช้งาน) 13.3 นักเรียนต้องทาอย่างไรต่อไป (คาดคะเนว่าบีกเกอร์และ กระบอกตวงสามารถใช้ตวงน้าสีปริมาตร 20 กับ 17 ลูกบาศก์ เซนติเมตรได้หรือไม่และทากิจกรรมเพ่ือตรวจสอบการ คาดคะเนและอภิปรายว่าอุปกรณ์ใดเหมาะสมท่ีจะตวงน้าสีได้ ถกู ต้องทสี่ ดุ ) 14. นักเรยี นทากิจกรรม ดังตอ่ ไปนี้  สังเกต บกี เกอร์ กระบอกตวง แล้วอภปิ รายวธิ ีการใช(้ S1)  คาดคะเนว่าบีกเกอร์และกระบอกตวงสามารถใช้ตวงน้าสี ปริมาตร 20 และ 17 ลูกบาศก์เซนติเมตรได้หรือไม่ และทา กจิ กรรมเพ่ือตรวจสอบการคาดคะเน (S2) สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

35 ค่มู ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรยี นรู้สงิ่ ต่าง ๆ รอบตัว  อภิปรายว่าบีกเกอร์หรือกระบอกตวงเหมาะสมท่ีจะตวงน้าสีได้ ถกู ต้องที่สดุ (S8) (C2, C5) 15. ครูและนกั เรียนร่วมกันอภิปรายผลการทากิจกรรม ดังน้ี 15.1 บกี เกอร์และกระบอกตวงเป็นอปุ กรณใ์ ช้ทาอะไร (ตวงปริมาตร ของเหลว) 15.2 หนว่ ยท่ีได้จากการตวงปรมิ าตรคอื หนว่ ยอะไร (มิลลลิ ิตร) 15.3 อุปกรณ์ชนิดใดเหมาะท่ีจะตวงปริมาตรน้าสี เพราะเหตุใด (กระบอกตวง เพราะมีสเกลละเอียดกว่าทาให้ตวงปริมาตรได้ ถกู ตอ้ งมากกว่า) 16.ครแู ละนักเรียนร่วมกันอภิปรายจนได้ข้อสรุปว่า การตวงสารสามารถ ใช้อุปกรณ์ท่ีมีสเกลในการตวงสาร อุปกรณ์ท่ีมีสเกลละเอียดมากกว่า จะทาให้ตวงสารไดถ้ กู ตอ้ งมากกว่า 17.นกั เรียนรว่ มกันอภปิ รายคาตอบในฉันรู้อะไร โดยครูอาจเพิ่มเติมคาถาม ในการอภิปราย เพ่อื ใหไ้ ดแ้ นวคาตอบตามคาถามท้ายกจิ กรรมน้ี 18.นักเรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ในกิจกรรมน้ี จากนั้นนักเรียนอ่านส่ิงที่ได้ เรยี นรู้ และเปรียบเทยี บกบั ขอ้ สรุปของตนเอง 19.นักเรียนต้ังคาถามในอยากรู้อีกว่า จากน้ันครูสุ่มนักเรียน 2-3 คน นาเสนอคาถามของตนเองหนา้ ชน้ั เรยี น 20.ครูนาอภปิ รายเพอื่ ให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 อะไรบ้างและในข้ันตอน ใดบา้ ง และให้บันทกึ ในแบบบันทึกกจิ กรรมหน้า 16  สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรยี นร้สู ง่ิ ต่าง ๆ รอบตัว 36 แนวคาตอบในแบบบันทกึ กจิ กรรม สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

37 คมู่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรยี นรู้ส่งิ ต่าง ๆ รอบตวั  สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรสู้ งิ่ ต่าง ๆ รอบตวั 38 สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

39 คมู่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรยี นรู้ส่งิ ต่าง ๆ รอบตวั  สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรสู้ งิ่ ต่าง ๆ รอบตวั 40 สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

41 คมู่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรยี นรู้ส่งิ ต่าง ๆ รอบตวั  สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรียนรู้ส่ิงตา่ ง ๆ รอบตวั 42 แนวการประเมินการเรียนรู้ การประเมินการเรียนรู้ของนกั เรียนทาได้ ดังนี้ 1. ประเมนิ ความรเู้ ดิมจากการอภปิ รายในช้ันเรยี น 2. ประเมนิ การเรยี นรู้จากคาตอบของนักเรียนระหวา่ งการจัดการเรียนรู้และจากแบบบนั ทึกกิจกรรม 3. ประเมินทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 จากการทากจิ กรรมของนักเรียน การประเมินจากการทากจิ กรรมที่ 2.1 การวัดทาได้อย่างไร ระดบั คะแนน 1 คะแนน หมายถงึ ควรปรับปรงุ 3 คะแนน หมายถงึ ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช้ รหสั ส่ิงทป่ี ระเมนิ ระดับคะแนน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S1 การสังเกต S2 การวัด S8 การลงความเหน็ จากขอ้ มลู ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 C2 การคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ C5 ความรว่ มมือ รวมคะแนน สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

43 ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรยี นรู้สิง่ ต่าง ๆ รอบตัว ตาราง แสดงการวเิ คราะห์ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ตามระดับความสามารถของนักเรียน โดยอาจใชเ้ กณฑก์ ารประเมิน ดงั น้ี ทักษะกระบวนการ รายการประเมนิ ระดบั ความสามารถ ควรปรับปรงุ (1) ทางวิทยาศาสตร์ ไมส่ ามารถใช้ S1 การสงั เกต การบรรยาย ดี (3) พอใช้ (2) ประสาทสัมผสั เก็บ ลกั ษณะของเคร่ือง สามารถใช้ประสาทสมั ผัส สามารถใชป้ ระสาท รายละเอียดเกย่ี วกับ ชงั่ แบบคาน 3 เกบ็ รายละเอยี ดเกีย่ วกับ สัมผัสเก็บรายละเอยี ด ลักษณะของเครื่อง แขน บีกเกอร์และ ลกั ษณะของเครื่องชงั่ แบบ เกี่ยวกบั ลกั ษณะของ ชง่ั แบบคาน 3 แขน กระบอกตวง คาน 3 แขน บีกเกอร์และ เครื่องช่งั แบบคาน 3 บกี เกอร์และ กระบอกตวง ดว้ ยตนเอง แขน บีกเกอรแ์ ละ กระบอกตวง แม้วา่ โดยไมเ่ พิ่มความคดิ เห็น กระบอกตวง โดยตอ้ ง ครูหรือผู้อื่นช่วย แนะนาหรอื ชีแ้ นะ อาศัยการช้ีแนะจากครู หรอื ผู้อืน่ S2 การวัด การใชเ้ คร่ืองช่ัง สามารถใช้เคร่ืองชัง่ แบบ สามารถใชเ้ ครื่องชง่ั ไม่สามารถใชเ้ ครื่อง การอ่านคา่ มวล คาน 3 แขน ได้อยา่ ง แบบคาน 3 แขนได้ ชัง่ แบบคาน 3 แขน และการระบหุ นว่ ย ถูกต้อง อ่านค่ามวลและ โดยมขี อ้ ผดิ พลาดบ้าง ไดถ้ ูกต้อง ไม่ ทไ่ี ดจ้ ากการช่ัง ระบหุ นว่ ยของมวลได้อยา่ ง อา่ นคา่ มวลและระบุ สามารถอา่ นค่ามวล ถูกต้องด้วยตนเอง หนว่ ยของมวลได้อย่าง และระบหุ นว่ ยของ ถกู ต้อง โดยอาศยั การ มวลได้ แมว้ า่ ครูหรือ แนะนาจากครูหรอื ผ้อู นื่ ชว่ ยแนะนาหรือ ผอู้ น่ื ชี้แนะ  สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยที่ 1 การเรยี นรูส้ ่ิงตา่ ง ๆ รอบตวั 44 ทักษะกระบวนการ รายการประเมนิ ระดับความสามารถ ทางวิทยาศาสตร์ การระบุอปุ กรณ์ท่ี ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรงุ (1) S8 การลง ใช้วัดมวลและ ความเห็นจาก ปริมาตรของวัตถุ สามารถเพ่ิมเตมิ ความ สามารถเพ่ิมเติมความ ไมแ่ สดงความคิดเห็น ขอ้ มูล คิดเห็นเก่ียวกับขอ้ มลู ทม่ี ีอยู่ คดิ เหน็ เก่ยี วกับขอ้ มลู ท่ี หรือเพิม่ เติมความ จากการวดั มวลและปริมาตร มอี ยู่จากการวดั มวล คดิ เหน็ แม้วา่ ครหู รือ เพ่ือระบอุ ุปกรณ์ทใี่ ชว้ ัดมวล และปริมาตรเพ่ือระบุ ผอู้ ืน่ ชว่ ยแนะนาหรอื และปริมาตรได้อยา่ งถูกต้อง อปุ กรณ์ท่ีใชว้ ัดมวลและ ชีแ้ นะเกย่ี วกบั ขอ้ มลู ท่ี มีเหตผุ ล จากความรู้หรือ ปริมาตรได้ถูกต้อง มีอยู่จากการวัดมวล ประสบการณ์เดิมได้ด้วย บางส่วน พยายามให้ และปรมิ าตรเพ่ือระบุ ตนเอง เหตุผลจากความรหู้ รือ อุปกรณ์ท่ใี ชว้ ดั มวล ประสบการณ์เดมิ โดย และปรมิ าตร การชแี้ นะของครหู รอื ผู้อน่ื สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

45 คูม่ ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรยี นรู้สง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตวั ตาราง แสดงการวเิ คราะหท์ ักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ตามระดับความสามารถของนักเรยี น โดยอาจใช้เกณฑก์ ารประเมิน ดงั นี้ ทกั ษะแห่ง รายการประเมนิ ดี (3) ระดับความสามารถ ควรปรบั ปรงุ (1) ศตวรรษที่ 21 สามารถอภปิ รายและ พอใช้ (2) ไม่สามารถวเิ คราะห์ C2 การคดิ การอภิปรายและ เลือกอุปกรณ์ที่ใชว้ ัด และเลือกอุปกรณ์ท่ีใช้ อยา่ งมี เลือกอุปกรณ์ที่ใช้วดั ปรมิ าตรโดยมีความ สามารถวิเคราะห์และ วดั ปรมิ าตรโดยมีความ วจิ ารณญาณ ปรมิ าตรโดยมคี วาม คลาดเคลือ่ นน้อยท่ีสดุ เลอื กอุปกรณ์ท่ใี ช้วดั คลาดเคล่อื นน้อยทส่ี ดุ คลาดเคลื่อนน้อย และวัดปริมาตรได้ ปรมิ าตรโดยมคี วาม แมว้ ่าครหู รือผู้อนื่ ช่วย C5 ความ ทีส่ ุด ถูกต้องด้วยตนเอง คลาดเคลือ่ นน้อยทส่ี ดุ แนะนาหรือช้ีแนะ ร่วมมอื และวดั ปรมิ าตรได้ การมีสว่ นรว่ มใน มีส่วนร่วมในการ ถกู ต้องโดยอาศัยการ ไม่มีส่วนรว่ มในการ การรวบรวมข้อมลู รวบรวมขอ้ มลู บันทกึ ช้ีแนะของครหู รือผอู้ ืน่ รวบรวมข้อมูล บนั ทกึ บันทกึ ผล อภปิ ราย ผล อภปิ รายผลการวัด มีส่วนร่วมในการ ผล อภิปรายผลการวัด ผลการวัดและ และสรุปผลการวดั รวบรวมขอ้ มลู บันทกึ และสรุปผลการวัด การ สรปุ ผลการวดั การ การนาเสนอผล ผล อภปิ รายผลการวดั นาเสนอผล แม้วา่ ครู นาเสนอผล รว่ มกับเพ่ือนในกลุ่มได้ และสรปุ ผลการวัด การ หรอื ผู้อน่ื ช่วยแนะนา ดว้ ยตนเองตลอด นาเสนอผล ร่วมกบั หรือช้ีแนะ กจิ กรรม เพอ่ื นในกล่มุ ได้ จาก การช้แี นะของครหู รือ ผู้อน่ื  สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรยี นรสู้ ่งิ ต่าง ๆ รอบตวั 46 กิจกรรมที่ 2.2 การใชจ้ านวนทาได้อยา่ งไร กจิ กรรมนี้นักเรียนจะได้วดั มวลของผลไม้ แล้ว หาคา่ เฉล่ียเพื่อฝึกทักษะการใชจ้ านวน เวลา 1 ชั่วโมง ทกั ษะกระบวนการวทิ ยาศาสตร์ S1 การสังเกต S2 การวดั S3 การใช้จานวน S8 การลงความเหน็ จากข้อมูล ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 C5 ความรว่ มมือ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ อธบิ ายและใชท้ ักษะการใชจ้ านวนบอกปริมาณท่ีได้จาก การวดั ส่ิงต่าง ๆ วสั ดุ อุปกรณ์สาหรบั ทากจิ กรรม 3 เคร่ือง สอ่ื การเรยี นรู้และแหล่งเรียนรู้ ส่ิงท่คี รตู ้องเตรียม/หอ้ ง 1 ผล 1. หนงั สือเรียน ป.4 เลม่ 1 หนา้ 20-21 1. เคร่อื งชง่ั แบบคาน 3 แขน 2. แบบบนั ทกึ กิจกรรม ป.4 เลม่ 1 หนา้ 18-20 สง่ิ ทีค่ รตู ้องเตรียม/กลมุ่ 1. ผลไม้ เชน่ สม้ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

47 คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 1 การเรียนรู้สง่ิ ต่าง ๆ รอบตัว แนวการจดั การเรียนรู้ 1. ครูทบทวนและตรวจสอบความรเู้ กี่ยวกบั การใช้จานวน โดยใช้คาถามดังน้ี 1.1 ครตู อ้ งการย้ายโต๊ะซ่ึงวางอยหู่ นา้ ห้องเรยี นเขา้ มาในหอ้ ง ถา้ ครูไม่ทราบว่าโต๊ะตวั นี้มีความยาว มากกวา่ หรือนอ้ ยกวา่ ความกวา้ งของประตูห้อง ครูจะทาอย่างไร (นกั เรยี นตอบตามความเข้าใจ แต่ควรตอบไดว้ ่า ใช้อปุ กรณ์วัดความยาว เชน่ ไมบ้ รรทดั ) 1.2 จะทราบได้อย่างไรวา่ กระเปา๋ นักเรยี นที่บรรจุ หนังสือ หนกั ก่ีกโิ ลกรัม (นกั เรียนตอบตามความ เข้าใจ) 1.3 การด่ืมน้าประมาณวนั ละ 8 แกว้ ดีตอ่ สขุ ภาพ ครู อยากรู้ว่า นา้ แต่ละแก้วมีปริมาตรเทา่ ใด และนา้ ทั้ง 8 แกว้ มีปริมาตรเท่าใด ครูจะทาอย่างไร และใชอ้ ปุ กรณ์อะไรในการวัด (นักเรียนตอบตาม ความเขา้ ใจ) ครชู กั ชวนนักเรียนเขา้ สู่การทากิจกรรมว่าเราจะหา มวลของสงิ่ ต่าง ๆ เมื่อนามารวมกนั ว่ามมี วลเท่าใด และจะใช้อุปกรณใ์ ดที่เหมาะสมในการหามวล เราจะ ไดเ้ รียนรู้จากกจิ กรรมนี้ 2. นกั เรียนอา่ นชอ่ื กิจกรรมและ ทาเปน็ คิดเป็น ใน หนังสอื เรียน หนา้ 20 ครตู รวจสอบความเข้าใจของ นกั เรียนเกีย่ วกับส่งิ ท่จี ะเรยี น โดยใชค้ าถาม ดังต่อไปน้ี 2.1 กจิ กรรมนีน้ ักเรยี นจะไดเ้ รียนเกี่ยวกับเรื่องอะไร (ทักษะการใช้จานวน) 2.2 นักเรียนจะเรยี นเร่ืองน้ดี ว้ ยวิธีใด (การใช้จานวน) 2.3 เมอื่ เรยี นแลว้ นักเรียนจะทาอะไรได้ (อธิบาย ทักษะการใช้จานวน) 3. ครนู าเขา้ สกู่ จิ กรรม โดยใหน้ กั เรียนอ่าน ทาอยา่ งไร ในหนงั สอื เรียนหน้า 20 โดยใช้วธิ ีการอ่านตามความ เหมาะสมกบั ความสามารถของนกั เรยี น ครู  สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มอื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 1 การเรยี นรสู้ ิง่ ต่าง ๆ รอบตัว 48 ตรวจสอบความเขา้ ใจขนั้ ตอนการทากิจกรรม โดย อาจใช้คาถามดงั น้ี 3.1 นกั เรียนต้องทาอย่างไรบ้าง (ชัง่ มวลของผลไม้ 1 ผลจานวน 5 ครัง้ ) 3.2 การหาค่าเฉลี่ยมวลของผลไม้ทาได้อยา่ งไร (นา ผลรวมมวลของผลไม้ หารด้วยจานวนครง้ั ทช่ี ่งั ) 3.3 นักเรียนทาอย่างไร ในขอ้ ท่ี 3 (คานวณหา จานวนผลไม้ที่บรรจลุ งในถถงุ ได้ไม่เกิน 1 กโิ ลกรัม) 3.4 ผลไม้ 1 กิโลกรัมคิดเป็นก่ีกรัม (1000 กรัม) 4. นักเรยี นเริ่มทากจิ กรรมทีละข้อ และบันทึกผลใน แบบบันทกึ กิจกรรมหนา้ 18 ดงั นี้ 4.1 ช่งั มวลผลไม้ จานวน 5 ครง้ั บนั ทึกผล (S2) 4.2 หาค่าเฉลยี่ มวลของผลไม้ บันทึกผล(S3) (C5) 4.3 คานวณหาจานวนผลไมท้ ่ีบรรจุในถงุ ได้ไม่เกนิ 1 กโิ ลกรัม บันทกึ ผล (S3) (C5) 4.4 อภปิ รายและลงข้อสรุป (S8) 5. นกั เรยี นนาเสนอผลการทากิจกรรม 6. นักเรยี นนาผลจากการทากจิ กรรมมาอภปิ รายร่วมกัน โดยอาจใชค้ าถามดงั ต่อไปนี้ 6.1 มวลของผลไม้ท่ีชง่ั ได้ทัง้ 5 ครง้ั เหมือนหรือ แตกต่างกนั อย่างไร (นักเรียนตอบตามความ เข้าใจ) 6.2 คา่ เฉลีย่ มวลของผลไม้เป็นเทา่ ใด คานวณได้ อย่างไร (คาตอบคา่ เฉลี่ยมวลขน้ึ อยู่กับนกั เรียน วธิ คี านวณคือนาผลรวมของมวลท้งั 5 ครงั้ มา หารดว้ ยจานวนครง้ั ท่ี ชงั่ ) 6.3 เราสามารถบรรจุผลไม้ในถงุ ไดก้ ผ่ี ลและคานวณ ไดอ้ ย่างไร (คาตอบเกยี่ วกบั จานวนผลที่บรรจุได้ ในถุงข้ึนอยกู่ ับคาตอบของนักเรยี น คานวณโดย ใชก้ ารบวก หรอื การหาร เชน่ ถ้าเปน็ การบวกอาจนาค่ามวลผลไม้ 1 ผล มา บวกกันทลี ะผล เร่ือย ๆ จนตวั เลขใกล้เคยี ง สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

49 คมู่ ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรยี นรู้ส่งิ ตา่ ง ๆ รอบตัว 1000 กรมั มากท่สี ดุ แต่ไมเ่ กิน 1000 กรัม เช่น 93.74 + 93.74 = 187.48, 187.48+ 93.74 =281.22, 281.22+ 93.74=374.96, …. = 937.4เมือ่ นับจานวนตัวเลขมวลผลไม้ 1 ผลท่ี นามาบวกกนั พบว่าได้ 10 ครงั้ แสดงว่า 10 คือ จานวนผลไมม้ ากทส่ี ุดท่ีบรรจุลงในถุงได้ หรอื ถ้าเปน็ การหาร อาจนาตวั เลข 1000 แลว้ หาร ด้วยคา่ มวลของผลไม้ 1 ผล เช่น 1000/93.74 = 10.66 แสดงว่าบรรจุผลไม้ได้มากทส่ี ดุ 10 ผล) 7. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั อภิปรายและสรุปกิจกรรมน้ี วา่ เปน็ การเรียนรู้ทกั ษะการใช้จานวนผ่านการทา กจิ กรรมชั่งมวลของผลไม้ หาคา่ เฉลย่ี มวลของผลไม้ และหาจานวนผลไมท้ ่ีใสใ่ นถุงไม่เกนิ 1 กโิ ลกรัม 8. นกั เรยี นรว่ มกันอภิปรายคาตอบในฉันรอู้ ะไร โดยครู อาจเพิ่มเติมคาถามในการอภิปราย เพอ่ื ให้ได้แนว คาตอบตามคาถามทา้ ยกจิ กรรมน้ี 9. นกั เรียนสรปุ สิ่งท่ไี ด้เรียนรู้จากกิจกรรมน้ี จากนน้ั นักเรยี นอ่านสิ่งท่ีได้เรยี นรู้ และเปรยี บเทยี บกับ ขอ้ สรุปของตนเอง 10. นกั เรยี นต้งั คาถามในอยากรู้อีกวา่ จากนั้นครสู ่มุ นกั เรียน 2-3 คน นาเสนอคาถามของตนเองหนา้ ชนั้ เรียน 11. ครูนาอภปิ รายเพอื่ ใหน้ ักเรยี นทบทวนวา่ ได้ฝึกทกั ษะ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ในข้นั ตอนใดบ้าง 12. นักเรียนร่วมกันอ่าน รอู้ ะไรในเรือ่ งนี้ เร่ืองที่ 2 การ วัดและการใชจ้ านวน ในหนังสอื เรยี นหนา้ 22-23 ครู นาอภิปรายเพ่ือนาไปส่ขู อ้ สรุปเก่ียวกบั สิง่ ที่ไดเ้ รียนรู้ ในเรอื่ งน้ี จากน้ันครูชักชวนใหน้ กั เรียนตอบคาถาม เช่น จะใช้วิธีการใดและอปุ กรณใ์ ดในการหาปริมาตร นมท่เี หลืออยู่ในกล่องหรือในถุง ครแู ละนักเรียน ร่วมกนั อภิปรายแนวทางการตอบคาถาม โดยเน้นให้ นกั เรยี นตอบคาถามพร้อมอธบิ ายเหตผุ ลประกอบ  สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 1 การเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ รอบตัว 50 แนวคาตอบในแบบบนั ทกึ กจิ กรรม สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

51 คมู่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 1 การเรยี นรู้ส่งิ ต่าง ๆ รอบตวั  สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook