Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ-วิทยาศาสตร์ ป.4

คู่มือ-วิทยาศาสตร์ ป.4

Published by Phatwarin Srikhamnoy, 2019-04-10 04:27:49

Description: คู่มือ-วิทยาศาสตร์ ป.4

Search

Read the Text Version

  อยไู่ ด้ท้งั บนบกและในน้า   อยใู่ นน้า    อยบู่ นบก   อยู่บนบก   อยไู่ ด้ทัง้ บนบกและใน   อยบู่นนา้ บก   อยบู่ นบก   อยู่ได้ทัง้ บนบกและในนา้    อย่ใู นดนิ ท่ีมนี ้า   อยู่บนบก  อยู่บนบก  อยใู่ นน้า

ค่มู ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 2 สิง่ มีชีวิต 102 ที่อยู่อาศัย 3 อาศัยอยู่บนบก คน เห็ด รา กหุ ลาบ เฟิน เสือ ข้าว อาศัยอยู่ในนา้ ปลา กุง้ อาศยั อยทู่ ้งั บนบกและในน้า กบ จระเข้ เป็ด สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

103 คูม่ ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 2 ส่งิ มีชีวติ 3 สรา้ งอาหารเองได้ แต่เคลือ่ นท่ีไมไ่ ด้ กุหลาบ เฟนิ ขา้ ว สรา้ งอาหารเองไมไ่ ด้ แต่เคลอ่ื นทไ่ี ด้ กบ คน เสอื จระเข้ เปด็ ปลา กุ้ง สร้างอาหารเองไมไ่ ด้ และเคลอื่ นท่ีไมไ่ ด้ เห็ด รา  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 2 สิ่งมีชีวิต 104 นกั เรยี นอาจตอบวา่ เหมอื นหรือแตกต่างขึ้นอยกู่ บั การจดั กลุม่ ของนกั เรียน เหมอื นกนั เพราะใช้เกณฑเ์ ดียวกนั คอื .... แตกตา่ งกัน เพราะใช้เกณฑต์ ่างกัน คอื .... จดั ได้ 3 กลุ่ม ไดแ้ ก่ กลุ่มพชื กลุ่มสัตว์ และกลมุ่ ท่ีไม่ใชพ่ ชื และสัตว์ กลมุ่ พชื สร้างอาหารเองไดแ้ ตเ่ คลื่อนทไ่ี มไ่ ด้ กลมุ่ สตั ว์ สรา้ งอาหารเองไมไ่ ด้ แต่ เคลือ่ นทไี่ ด้ สว่ นกลมุ่ ทไ่ี มใ่ ชพ่ ืชและสัตว์ สร้างอาหารเองไมไ่ ด้และเคลื่อนที่ไมไ่ ด้ กล่มุ พืช ประกอบด้วย กหุ ลาบ เฟิน ข้าว กลมุ่ สตั ว์ ประกอบดว้ ย กบ คน เสอื จระเข้ เป็ด ปลา กุ้ง และกลุ่มทไ่ี ม่ใชพ่ ชื และสตั ว์ ประกอบด้วย เหด็ รา สง่ิ มชี ีวติ มีลกั ษณะบางอยา่ งที่เหมือนกนั และบางอยา่ งท่ีแตกต่างกนั สามารถนา ลกั ษณะของสิ่งมีชีวิตมากาหนดเกณฑ์ในการจาแนกสงิ่ มชี ีวติ ออกเป็นกลุ่มได้ และ ถ้าใชเ้ กณฑ์การเคลอ่ื นทีแ่ ละการสรา้ งอาหารจะจดั กลุ่มสง่ิ มีชวี ติ ออกเปน็ 3 กลุ่ม คอื กลมุ่ พืช สรา้ งอาหารเองไดแ้ ตเ่ คลื่อนทไ่ี มไ่ ด้ ประกอบดว้ ย กุหลาบ เฟิน ขา้ ว กล่มุ สตั ว์ สรา้ งอาหารเองไม่ได้ แต่เคลอ่ื นทไี่ ด้ ประกอบด้วย กบ คน เสอื จระเข้ เป็ด ปลา กงุ้ สว่ นกลมุ่ ทไี่ มใ่ ชพ่ ชื และสัตว์ สรา้ งอาหารเองไมไ่ ด้และเคลอื่ นท่ไี ม่ได้ ประกอบดว้ ย เห็ด รา สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

105 คูม่ ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 2 สงิ่ มีชวี ติ ถ้าใชเ้ กณฑก์ ารเคล่อื นท่แี ละการสร้างอาหารได้จะจาแนกสง่ิ มชี วี ติ ออกเป็น 3 กลมุ่ คือ กล่มุ พชื กลมุ่ สัตว์ และกลมุ่ ที่ไม่ใช่พืชและสตั ว์ คาถามของนักเรียนที่ต้ังตามความอยากรู้ของตนเอง  สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 2 สิ่งมีชีวิต 106        สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

107 คูม่ ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยที่ 2 สง่ิ มีชวี ิต แนวการประเมินการเรียนรู้ การประเมินการเรยี นรู้ของนักเรยี นทาได้ ดังนี 1. ประเมินความรู้เดิมจากการอภปิ รายในชันเรยี น 2. ประเมนิ การเรยี นรจู้ ากคาตอบของนักเรยี นระหวา่ งการจัดการเรียนรูแ้ ละจากแบบบนั ทึกกิจกรรม 3. ประเมินทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 จากการทากิจกรรมของนักเรยี น การประเมินจากการทากิจกรรมที่ 1.1 เราจาแนกสิ่งมีชวี ติ ไดอ้ ยา่ งไร ระดับคะแนน 1 คะแนน หมายถงึ ควรปรับปรงุ 3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถงึ พอใช้ รหสั ส่งิ ทีป่ ระเมิน ระดับ คะแนน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S1 การสงั เกต S4 การจาแนกประเภท S6 การจดั กระทาและสื่อความหมายขอ้ มูล S8 การลงความเห็นจากขอ้ มลู S13 การตีความหมายขอ้ มลู และลงข้อสรปุ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 C4 การสือ่ สาร C5 ความร่วมมอื รวมคะแนน  สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 2 ส่ิงมชี ีวิต 108 ตาราง แสดงการวิเคราะหท์ ักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ตามระดับความสามารถของนักเรียน โดยอาจใช้เกณฑก์ ารประเมิน ดังนี ทกั ษะ ระดับความสามารถ กระบวนการทาง รายการประเมิน วิทยาศาสตร์ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรงุ (1) S1 การสังเกต ก า ร บ ร ร ย า ย สามารถใช้ประสาทสัมผัส สามารถใช้ประสาทสัมผัส ไ ม่ ส า ม า ร ถ ใ ช้ ร า ย ล ะ เ อี ย ด สั ง เ ก ต ลั ก ษ ณ ะ แ ล ะ สังเกตลักษณะและบรรยาย ป ร ะ ส า ท สั ม ผั ส เก่ียวกับลักษณะ บรรยายรายละเอียดของ รายละเอียดของสิ่งมีชีวิตท่ี สังเกตลักษณะและ ของสิ่งมีชีวิตท่ีอยู่ สิ่งมีชีวิตที่อยู่ในกลุ่มพืช อยู่ในกลุ่มพืช สัตว์ และ บรรยายรายละเอียด ในกลุ่มพืช สัตว์ สัตว์ และสิ่งมีชีวิตท่ีไม่ใช่ สิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่พืชและสัตว์ ของส่ิงมีชีวิตที่อยู่ใน แล ะ ส่ิ งมี ชี วิ ต ที่ พืชและสัตว์ได้ด้วยตนเอง ได้ จากการชีแนะของครู กลุ่มพืช สัตว์ และ ไม่ใช่พชื และสัตว์ โ ด ย ไ ม่ เ พ่ิ ม เ ติ ม ค ว า ม หรือผู้อ่ืน หรือมีการเพ่ิมเติม สิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่พืช คิดเหน็ ความคิดเห็น และสัตว์ แม้ว่าจะได้ รับคาชีแนะจากครู หรอื ผู้อ่นื S4 การจาแนก การกาหนดเกณฑ์ สามารถกาหนดเกณฑ์และ สามารถกาหนดเกณฑ์และ ไม่สามารถกาหนด ประเภท ก า ร จ า แ น ก จาแนกสิ่งมีชีวิตตามเกณฑ์ จาแนกส่ิงมีชีวิตตามเกณฑ์ท่ี เกณฑ์และจาแนก ส่ิงมีชีวิตและการ ที่กาหนดเป็นกลุ่มพืช สัตว์ กาหนดเป็นกลุ่มพืช สัตว์ ส่ิงมีชีวิตตามเกณฑ์ท่ี และส่งิ มีชีวติ ท่ีไมใ่ ช่พืชและ และส่ิงมีชีวิตที่ไม่ใช่พืชและ กาหนดเป็นกลุ่มพืช จาแนกส่ิงมีชีวิต สัตว์ โดยใช้การเคลื่อนท่ี สัตว์ โดยใช้การเคลื่อนที่และ สัตว์ และสิ่งมีชีวิตที่ ต า ม เ ก ณ ฑ์ ท่ี และการสร้างอาหารเป็น การสร้างอาหารเป็นเกณฑ์ได้ ไม่ใช่พืช และสัตว์ กาหนดเป็นกลุ่ม เกณฑ์ได้อย่างถูกต้องได้ อย่างถูกต้อง จากการชีแนะ โดยใช้การเคล่ือนที่ พื ช สั ต ว์ แ ล ะ ดว้ ยตนเอง ของครหู รือผู้อื่น และการสร้างอาหาร สิ่ ง มี ชี วิ ต ท่ี ไ ม่ ใ ช่ เป็นเกณฑ์ได้ แม้ว่า พืชและสัตว์ โดย จ ะ ไ ด้ รั บ ค า ชี แ น ะ ใ ช้ ก า ร เ ค ล่ื อ น ท่ี จากครูหรอื ผอู้ ่นื แ ล ะ ก า ร ส ร้ า ง อาหารเป็นเกณฑ์ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

109 คมู่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยที่ 2 สง่ิ มีชีวิต ทักษะ ระดับความสามารถ กระบวนการทาง รายการประเมนิ วทิ ยาศาสตร์ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรงุ (1) S6 ก า ร จั ด การนาข้อมูลท่ีได้ สามารถนาเสนอข้อมูลที่ได้ สามารถนาเสนอข้อมูลที่ได้ ไม่สามารถนาเสนอ กระทา แ ละส่ื อ จากการสังเกต จ า ก ก า ร สั ง เ ก ต แ ล ะ จากการสังเกตและรวบรวม ข้อมูลที่ได้จากการ ค ว า ม ห ม า ย แ ล ะ ร ว บ ร ว ม รวบรวมเก่ียวกับลักษณะ เ กี่ ย ว กั บ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง สังเกตและรวบรวม ขอ้ มูล ข อ ง ส่ิ ง มี ชี วิ ต ม า จ า แ น ก ส่ิงมีชีวิตมาจาแนกส่ิงมีชีวิต เกี่ยวกับลักษณะของ เกี่ยวกับลักษณะ ส่ิงมีชีวิตออกเป็นกลุ่มมา ออกเป็นกลุ่มมาจัดกระทา ส่ิงมีชีวิตมาจาแนก ข อ ง ส่ิ ง มี ชี วิ ต ม า จัดกระทาโดยการเขียน โดยการเขียนแผนภาพ หรือ สิ่ ง มี ชี วิ ต อ อ ก เ ป็ น จัดกระทาโดยการ แผนภาพ หรือรปู แบบอ่ืนๆ รูปแบบอ่ืนๆ และส่ือให้ผู้อื่น กลุ่ม มาจัดกระทา เขี ยน แผ นภ า พ และสื่อให้ผู้อ่ืนเข้าใจการ เข้าใจการจาแนกส่ิงมีชีวิต โ ด ย ก า ร เ ขี ย น หรือรูปแบบอื่นๆ จาแนกส่ิงมีชีวิตออกเป็น ออกเป็นกลุ่มต่าง ๆ ได้อย่าง แ ผ น ภ า พ ห รื อ แล ะ ส่ือ ใ ห้ผู้ อื่ น กลุ่มต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง ถูกต้องจากการชีแนะของครู รูปแบบอ่ืนๆ และไม่ เข้าใจการจาแนก ได้ดว้ ยตนเอง หรือผูอ้ ื่น สามารถส่ือให้ผู้อื่น ส่ิงมีชีวิตออกเป็น เ ข้ า ใ จ ก า ร จ า แ น ก ส่ิ ง มี ชี วิ ต อ อ ก เ ป็ น กลุม่ ต่าง ๆ กลุ่มต่าง ๆ ได้ แม้ว่า จ ะ ไ ด้ รั บ ค า ชี แ น ะ จากครูหรอื ผอู้ นื่ S8 ก า ร ล ง ลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก ไ ม่ ส า ม า ร ถ ล ง คว าม เห็ น จ า ก ข้อมูลว่าสิ่งมีชีวิต ขอ้ มลู ได้ว่าส่ิงมีชีวิตชนิดใด ข้อมูลได้ว่าส่ิงมีชีวิตชนิดใด ความเห็นจากข้อมูล ขอ้ มลู ช นิ ด ใ ด เ ป็ น พื ช เป็นพืช สัตว์ และไม่ใช่พืช เป็นพืช สัตว์ และไม่ใช่พืช ไดว้ ่าส่ิงมีชีวิตชนิดใด สัตว์ และไม่ใช่พืช แ ล ะ สั ต ว์ โ ด ย ใ ช้ ก า ร และสัตว์ โดยใช้การเคลื่อนที่ เป็นพืช สัตว์ และ และสัตว์ โดยใช้ เคลื่อนท่ีและการสร้าง และการสร้างอาหารเป็น ไม่ใช่พืช และสัตว์ การเคลื่อนท่ีและ อาหารเป็นเกณฑ์ได้อย่าง เกณฑ์ได้อย่างถูกต้อง จาก โดยใช้การเคล่ือนท่ี การสร้างอาหาร ถูกต้องได้ด้วยตนเอง การชีแนะของครหู รอื ผู้อื่น และการสร้างอาหาร เป็นเกณฑ์ เป็นเกณฑ์แม้ว่าจะ ได้รับคาชีแนะจาก ครูหรอื ผู้อ่ืน  สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มอื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 2 สง่ิ มชี ีวิต 110 ทกั ษะ ระดับความสามารถ กระบวนการทาง รายการประเมนิ วิทยาศาสตร์ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรงุ (1) S13 การ ตี ค ว า ม ห ม า ย ส า ม า ร ถ ตี ค ว า ม ห ม า ย สามารถตีความหมายข้อมูล ไ ม่ ส า ม า ร ถ ตี ค ว า ม ห ม า ย ข้ อ มู ล จ า ก ก า ร ข้อมูลจากการสังเกตได้ว่า จากการสังเกตได้ว่าสิ่งมีชีวิต ตีความหมายข้อมูล ข้ อ มู ล แ ล ะ ล ง สั ง เ ก ต ไ ด้ ว่ า ส่ิงมีชีวิตมีลักษณะต่าง ๆ มี ลั ก ษ ณ ะ ต่ า ง ๆ แ ล ะ จากการสังเกตได้ว่า ข้อสรปุ ส่ิ ง มี ชี วิ ต มี และสามารถลงข้อสรุปได้ สามารถลงข้อสรุปได้ว่าถ้า ส่ิงมีชีวิตมีลักษณะ ลั ก ษ ณ ะ ต่ า ง ๆ ว่าถ้าจาแนกส่ิงมีชีวิตโดย จาแนกส่ิงมีชีวิตโดยใช้การ ต่ า ง ๆ แ ล ะ ไ ม่ และสามารถลง ใช้การเคล่ือนที่และการ เคล่อื นท่แี ละการสร้างอาหาร สามารถลงข้อสรุปได้ ข้อสรุปได้ว่าถ้า สร้างอาหารเป็นเกณฑ์จะ เป็นเกณฑ์จะจาแนกส่ิงมีชีวิต ว่ า ถ้ า จ า แ น ก จาแนกสิ่งมีชีวิต จาแนกออกสิง่ มีชีวิตได้เป็น ออกได้เป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่ม สิ่งมีชีวิตโดยใชการ โ ด ย ใ ช้ ก า ร 3 กลุ่ม คือ กลุ่มพืช กลุ่ม พืช กลุ่มสัตว์ และกลุ่มท่ี เคล่ือนท่ีและการ เคล่ือนท่ีและการ สัตว์ และกลุ่มท่ีไม่ใช่พืช ไม่ใช่พืชและสัตว์ จากการ ส ร้ า ง อ า ห า ร เ ป็ น สร้างอาหารเป็น และสตั ว์ ได้ดว้ ยตนเอง ชีแนะของครูหรือผูอ้ น่ื เ ก ณ ฑ์ จ ะ จ า แ น ก เกณฑ์จะจาแนก สิ่งมีชีวิตออกได้เป็น อ อ ก ไ ด้ เ ป็ น 3 3 กลุ่ม คือ กลุ่มพืช กลุ่ม กลุ่มสัตว์ และกลุ่มที่ ไม่ใช่พืช และสัตว์ แม้ ว่ า จ ะ ไ ด้ รั บ ค า ชี แ น ะ จ า ก ค รู ห รื อ ผู้อ่ืน สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

111 คมู่ อื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 2 สิง่ มีชวี ติ ตาราง แสดงการวเิ คราะหท์ ักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ตามระดบั ความสามารถของนักเรียน โดยอาจใชเ้ กณฑ์การประเมิน ดังนี ทักษะแห่ง รายการประเมนิ ระดับความสามารถ ศตวรรษท่ี 21 ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรุง (1) C4 การสอื่ สาร การนาเสนอข้อมลู สามารถนาเสนอขอ้ มูล สามารถนาเสนอขอ้ มลู จาก ไม่สามารถนาเสนอข้อมูล จากการอภปิ ราย จากการอภิปรายเก่ียวกบั การอภปิ รายเกีย่ วกับการ จากการอภปิ รายเก่ียวกับ เกย่ี วกบั การจาแนก การจาแนกสงิ่ มีชวี ติ โดยใช้ จาแนกส่ิงมชี วี ติ โดยใช้การ การจาแนกส่ิงมีชีวิตโดย ส่ิงมีชีวติ โดยใช้การ การเคลอื่ นทแ่ี ละการสรา้ ง เคลื่อนทแี่ ละการสรา้ งอาหาร ใช้การเคล่ือนที่และการ เคลื่อนทีแ่ ละการ อาหารเป็นเกณฑ์ใน เปน็ เกณฑ์ในรูปแบบแผนภาพ สร้างอาหารเป็นเกณฑ์ใน สร้างอาหารเป็น รปู แบบแผนภาพ หรอื หรือรูปแบบอื่นๆ ใหค้ นอืน่ รูปแบบแผนภาพ หรือ เกณฑ์ในรูปแบบ รูปแบบอืน่ ๆ ให้คนอื่น เข้าใจ ได้อยา่ งถูกต้อง รูปแบบอื่นๆ ให้คนอ่ืน แผนภาพ หรือ เข้าใจ ได้อย่างถูกต้อง ครบถว้ น จากการชแี นะของ เข้าใจได้ แม้ว่าจะได้ รูปแบบอืน่ ๆ ให้คน ครบถ้วน ได้ดว้ ยตนเอง ครหู รอื ผอู้ ่นื รับคาชีแนะจากครูหรือ อ่ืนเขา้ ใจ ผ้อู ่ืน C5 ความ ทางานร่วมกับผู้อ่ืน สามารถทางานร่วมกับ สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นใน ไม่สามารถทางานร่วมกับ รว่ มมือ ในการสังเกต การ ผู้อ่ืนในการสังเกต การ การสังเกต การนาเสนอ และ ผู้อ่ืนได้ตลอดเวลาท่ีทา นาเสนอ และการ นาเสนอ และการแสดง การแสดงความคิดเห็นเพ่ือ กจิ กรรม แสดงความคิดเห็น ความคิดเห็นเพื่อจาแนก จาแนกส่ิงมีชีวิตออกเป็นกลุ่ม เพ่ือจาแนกสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่มพืช พืช กลุ่มสัตว์ และกลุ่มที่ไม่ใช่ ออกเป็ นกลุ่มพื ช กลุ่มสัตว์ และกลุ่มท่ีไม่ใช่ พืชและสัตว์ รวมทังยอมรับ กลุ่มสัตว์ และกลุ่ม พื ช แ ล ะ สั ต ว์ ร ว ม ทั ง ความคิดเห็นของผู้อ่ืน บาง ที่ไม่ใช่พืชและสัตว์ ยอมรับความคิดเห็นของ ช่วงเวลาท่ที ากิจกรรม รวมทังยอมรับความ ผอู้ ่ืนตังแต่เรม่ิ ตน้ จนสาเรจ็ คิดเห็นของผ้อู นื่  สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 2 สิ่งมชี ีวิต 112 กจิ กรรมที่ 1.2 เราจาแนกสตั ว์ไดอ้ ย่างไร กิจกรรมนีนักเรียนจะได้สังเกตโครงสร้างภายนอก และโครงสร้างภายในของสัตว์ชนิดต่าง ๆ จากบัตรภาพ รวมทังผ่าร่างกายของสัตว์ เพ่ือสังเกตกระดูกสันหลัง และ จาแนกสัตว์ออกเป็นกลุ่มโดยใช้การมีกระดูกสันหลังเป็น เกณฑ์ เวลา 3 ชว่ั โมง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. สังเกตและอธบิ ายโครงสรา้ งภายนอกและโครงสร้าง ภายในของสตั ว์ชนดิ ต่าง ๆ 2. จาแนกสตั ว์ออกเป็นกลุ่มโดยใช้การมกี ระดูกสนั หลังเป็น เกณฑ์ วัสดุ อุปกรณส์ าหรับทากจิ กรรม สิ่งท่ีครตู ้องเตรยี ม/กลุม่ สงิ่ ท่ีครูต้องเตรยี ม/กลุ่ม ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 1. บัตรภาพโครงสรา้ งภายนอก – ภายในของสตั ว์ 1 ชดุ C4 การสื่อสาร C5 ความรว่ มมือ 2. ถาด 1 ใบ C6 การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 3. มีด 1 เลม่ ส่งิ ที่ครตู ้องเตรยี ม/คน สอ่ื การเรยี นรู้และแหลง่ เรียนรู้ ถงุ มือยาง 1 คู่ 1. หนงั สือเรียน ป.4 เล่ม 1 หนา้ 52-54 สง่ิ ที่นกั เรยี นตอ้ งเตรยี ม/กลมุ่ 2. แบบบนั ทกึ กจิ กรรม ป.4 เลม่ 1 หน้า 44-48 1. ก้งุ 1 ตวั 3. ตวั อย่างวดี ิทศั นป์ ฏิบัติการวิทยาศาสตรเ์ ร่ืองเราจาแนก 2. ปลา 1 ตวั สัตวไ์ ด้อยา่ งไร http://ipst.me/8050 ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ S1 การสงั เกต S4 การจาแนกประเภท S6 การจดั กระทาและสือ่ ความหมายข้อมลู S8 การลงความเห็นจากข้อมูล S13 การตคี วามหมายข้อมลู และลงขอ้ สรปุ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

113 คู่มือครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 2 สิง่ มีชวี ิต ในการตรวจสอบความรู้ ครู เพียงรับฟังเหตุผลของนักเรียน แนวการจัดการเรยี นรู้ เป็นสาคัญ และยังไม่เฉลย คาตอบใด ๆ ให้กับนักเรียน แต่ 1. ครตู รวจสอบความรเู้ ดิมเก่ยี วกับโครงสร้างของสัตว์ แบ่งกลุ่มนักเรียนโดยให้ ชักชวนนักเรียน ไปหาคาตอบท่ี จับฉลากช่ือสัตว์ ตามรายการที่ครูเตรียมมาล่วงหน้า นักเรียนแต่ละคนเมื่อ ถูกต้องจากกิจกรรมต่าง ๆ ใน จับฉลากแล้วใหแสดงท่าทางหรอื ส่งเสยี งร้องเพ่ือแสดงชนิดของสัตว์ที่ตนเอง บทเรียนนี จบั ฉลากได้ จากนนั ให้นักเรียนทจี่ บั ฉลากได้สัตว์ชนดิ เดียวกันมารวมกลุ่มกัน และช่วยหันวาดรูปโครงสร้างภายนอกและโครงสร้างภายในของสัตว์ชนิด นนั ๆ ตามความคิดของกลุ่ม นาเสนอผลงานโดยนารูปไปติดท่ีผนังห้องเรียน เพื่อให้เพ่ือนร่วมชันเรียนได้ชม ครูตรวจสอบความรู้โดยใช้แนวคาถามใน การอภิปรายดังต่อไปนี 1.1 สัตว์ท่ีนักเรียนนาเสนอมีชนิดใดบ้าง (เช่น สุนัข นก เป็ด ผึง กบ ยุง แมงมมุ ไสเ้ ดอื นดนิ ) 1.2 สัตว์เหล่านีมีโครงสร้างภายนอกเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร (มีทัง เหมือนกันและแตกต่างกัน เช่น สุนัขมีขา 4 ขา มีหาง นกและเป็ดมี 2 ขา มีหางและปีก ผึงและยงุ มขี า 6 ขา มปี กี สว่ นไสเ้ ดือนดนิ ไมม่ ีขา) 1.3 สัตว์เหล่านีมีโครงสร้างภายในเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร (มีทัง เหมือนและแตกต่างกัน เช่น สุนัข นกและเป็ด ต่างก็มีโครงกระดูก ภายในเหมือนกัน ซ่ึงแตกต่างจากผึง ยุง และไส้เดือนดิน ที่ไม่มีโครง กระดกู ภายใน) ครูรับฟังคาตอบที่อาจแตกต่างกัน (ครูอาจจดคาตอบท่ีน่าสนใจไว้บน กระดาน) 2. นกั เรียนช่วยกันจาแนกสตั ว์ทัง 8 ชนิด ออกเปน็ กลมุ่ ครูสอบถามนักเรียนว่า ใช้เกณฑ์ใดในการจาแนกสัตว์เหล่านีออกเป็นกลุ่ม ครูเชื่อมความรู้ของ นักเรียนไปสู่กิจกรรมท่ี 1.2 โดยใช้คาถามว่าเราสามารถจัดกลุ่มสัตว์โดยใช้ เกณฑ์ใดได้บ้าง 3. นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม และ ทาเป็นคิดเป็น โดยร่วมกันอภิปรายเพื่อ ตรวจสอบความเข้าใจจดุ ประสงค์ในการทากิจกรรม โดยใช้คาถามดงั นี 3.1 กจิ กรรมนนี ักเรียนจะไดเ้ รยี นเรอื่ งอะไร (การจาแนกสัตว์) 3.2 นักเรียนจะได้เรียนรู้เรื่องนีด้วยวิธีใด (การสังเกตโครงสร้างภายนอก และโครงสรา้ งภายในของสตั ว์) 3.3 เมื่อเรียนแล้วนักเรียนจะทาอะไรได้ (จาแนกสัตว์ออกเป็นกลุ่มโดยใช้ เกณฑข์ องตนเองและเกณฑก์ ารมีกระดกู สนั หลงั )  สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยที่ 2 สงิ่ มชี ีวติ 114 4. นกั เรียนบนั ทึกจุดประสงค์ลงในแบบบนั ทกึ กิจกรรม หนา้ 44 และ อา่ นส่ิงท่ี ต้องใช้ในการทากจิ กรรม จากนนั ครนู าวสั ดุอปุ กรณ์มาแสดงใหน้ ักเรยี นดทู ี ละอย่าง 5. นักเรยี นอ่าน ทาอย่างไร ข้อ 1-3 แล้วรว่ มกันอภปิ รายเพื่อสรปุ ลาดับ ขนั ตอนตามความเขา้ ใจ โดยครใู ช้คาถามดังต่อไปนี 5.1 นักเรียนต้องสังเกตส่ิงใดเป็นอันดับแรก (สังเกตลักษณะโครงสร้าง ภายนอกของสัตว์จากบตั รภาพ) 5.2 นกั เรียนสามารถสืบค้นขอ้ มูลของสัตว์ในบัตรภาพได้จากที่ใด (จากการ สแกน QR code ในหนังสือเรยี น หนา้ 52) ครูอาจดาวน์โหลดบัตรภาพทังหมดมาให้นักเรียนสังเกต หรือให้นักเรียนใช้ โทรศพั ทใ์ นการสแกน QR code เพื่อเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ของบตั รภาพได้ 5.3 หลังจากสังเกตโครงสร้างภายนอกของสัตว์จากบัตรภาพแล้วนักเรียน ต้องทาสิ่งใด (กาหนดเกณฑ์การจาแนกสัตว์ออกเป็นกลุ่มจากลักษณะ ภายนอกท่สี ังเกตได้ แลว้ นาเสนอผลการจัดกลุ่ม) 6. เมอ่ื นักเรียนเขา้ ใจวิธีการทากิจกรรมในทาอยา่ งไร ข้อ 1-3 แล้ว นักเรยี นจะ ได้ปฏิบัติตามขันตอนต่อไปนี 6.1 สงั เกตลักษณะโครงสร้างภายนอกของสตั ว์จากบัตรภาพ (S1) (C6) 6.2 กาหนดเกณฑ์การจาแนกสัตว์ออกเป็นกลุ่มตามลักษณะภายนอกท่ี สังเกตได้ แลว้ นาเสนอผลการจัดกล่มุ (S4) (C4, C5) 6.3 ร่วมกันลงความเห็นเก่ียวกับการจาแนกสัตว์จากลักษณะต่าง ๆ ภายนอกของสัตว์ (S8) 7. หลงั จากทากิจกรรมแลว้ ครนู าอภปิ รายผลการทากจิ กรรม โดยใชค้ าถาม ดังนี 7.1 นกั เรียนใช้เกณฑ์ใดบ้างในการจัดสัตว์ออกเป็นกลุ่ม (นักเรียนตอบตาม ขอ้ มูลจริงในห้องเรียน) 7.2 ครูอาจสุ่มเลือกเกณฑ์ท่ีนักเรียนใช้มา 1 เกณฑ์ เช่น เกณฑ์การมีขา และถามว่าสามารถจดั สัตวอ์ อกเป็นก่ีกลุ่ม แต่ละกลุ่มมีสัตว์ชนิดใดบ้าง (นักเรียนตอบตามข้อมูลจริงในห้องเรียน) 7.3 ถ้าเปล่ียนเกณฑ์ในการจัดกลุ่ม ชนิดของสัตว์ในกลุ่มต่าง ๆ จะ เหมือนเดิมหรือไม่ (ชนิดของสัตว์ในกลุ่มอาจเหมือนเดิมหรือแตกต่าง ไปจากเดมิ ) สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

115 คู่มอื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 2 สิง่ มีชวี ติ 8. ครูเช่ือมโยงข้อมูลท่ีได้จากการทากิจกรรมช่วงนีไปสู่เรื่องการจัดกลุ่มสัตว์ ขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เติม โดยใช้การมีกระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ โดยถามว่านอกจากเกณฑ์ที่นักเรียน ตงั ขนึ มาแล้ว นักวิทยาศาสตรย์ งั ใช้เกณฑ์ใดอกี บา้ งในการจัดกลุ่มสตั ว์ 1. ครูสามารถใชส้ ตั ว์ชนดิ อื่นมา ศึกษาโครงสร้างภายในได้ 9. นักเรียนอ่าน ทาอย่างไร ข้อ 4-5 แล้วร่วมกันอภิปรายเพ่ือสรุปลาดับ โดยต้องมีทังสัตว์มีกระดูก ขันตอนในการทากิจกรรม โดยใช้คาถามว่านักเรียนต้องทาสิ่งใดบ้าง สันหลังและไม่มีกระดูสัน (นักเรียนผ่าตัวปลาและกุ้งเพื่อสังเกตลักษณะโครงสร้างภายในตัวปลาและ หลงั กุ้ง แล้ววาดรูป จากนันเปรียบเทียบโครงสร้างภายในของสัตว์ทัง 2 ชนิดนี พร้อมทงั ระบุส่วนที่เปน็ กระดูกสนั หลงั ลงในรูปท่ีวาด) 2. ถ้ามีถาดพาราฟิน ให้ผ่าสัตว์ บนถาดพาราฟินเพื่อป้องกัน 10. เม่ือนักเรยี นเขา้ ใจวธิ กี ารทากิจกรรมในทาอย่างไร ข้อ 4-5 แลว้ นกั เรียนจะ การล่ืนและนักเรียนจะได้ใช้ ไดป้ ฏิบตั ิตามขันตอนตอ่ ไปนี เคร่อื งมอื ทถ่ี กู ต้อง 10.1สงั เกตโครงสร้างภายนอกของปลาและกงุ้ (S1) 10.2ผา่ ตวั ปลาและกุ้ง เพอื่ สังเกตโครงสร้างภายใน แล้ววาดรูป(S1, S6) ครู ต้องกาชับให้นักเรียนระมัดระวังการใช้มีดในการผ่าร่างกายสัตว์ และ ควรมีชุดปฐมพยาบาลเบืองต้นในกรณีท่ีนักเรียนเกิดบาดแผลจากการ ใช้มีด 10.3 ในกรณีไม่สามารถเตรียมตัวอย่างปลาและกุ้งมาให้นักเรียนสังเกตได้ ครูอาจให้นักเรียนใช้แอฟลิเคชันสาหรับการสังเกตภาพเสมือนจริง (AR) ของการผ่าและสังเกตโครงสร้างภายในของปลาและกุ้งได้ ใน หนงั สอื เรยี น หนา้ 53 (C6) 10.4เปรียบเทียบโครงสร้างภายในของปลาและกุ้ง พร้อมทังระบุส่วนที่เป็น กระดูกสันหลงั ลงในรปู ท่วี าด (S6) (C5) 10.5 ร่วมกันลงความเห็นเก่ียวกับลักษณะของกระดูกสันหลังของส่ิงมีชีวิต (S8) 11. หลงั จากทากิจกรรมแลว้ ครูนาอภปิ รายผลการทากิจกรรม โดยใช้คาถาม ดงั นี 11.1ปลาและกุ้ง มีโครงสร้างภายนอกและภายในเหมือนหรือแตกต่างกัน อยา่ งไร (ปลาและกุ้งมีโครงสร้างภายนอกทเี่ หมอื นกัน คอื มหี ัว ตา ปาก หาง มี โครงสรา้ งภายนอกทแ่ี ตกต่างกนั คอื - ปลามีลาตวั แบน ตรง ส่วนกงุ้ มีลาตัวกลม และงอ - ปลามีผิวหนังและเกลด็ หอ่ หุ้มลาตัว แตก่ ้งุ มีเปลอื กแข็งเปน็ ปล้อง ๆ หุ้ม ลาตัว  สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยที่ 2 ส่ิงมีชีวติ 116 ปลาและกงุ้ มโี ครงสร้างภายในท่ีแตกต่างกัน คือ ปลามีโครงกระดูกแข็ง นักเรียนอาจไม่สามารถตอบ หรือก้าง แตก่ ุ้งไมม่ ี และอวยั วะภายในของปลาอยู่ในช่องท้อง ส่วนของ คาถามหรืออภิปรายได้ตามแนว ก้งุ อยูท่ หี่ วั ) คาตอบ ครูควรให้เวลานักเรียน 11.2 ก้างของปลามีลักษณะอย่างไร (มีลักษณะเป็นกระดูกแข็งเรียงต่อกัน คดิ อย่างเหมาะสม รอคอยอย่าง เป็นข้อ ๆ ตามแนวยาวของลาตัวอยู่บริเวณกลางหลัง) อดทน และรับฟังแนวความคิด 11.3 ก้างของปลาที่เรียงต่อกันเป็นข้อ ๆ ตามแนวยาวของลาตัวคือส่วนใด ของนกั เรียน ในรา่ งกายของสตั ว์ (กระดกู สันหลัง) 11.4 กงุ้ มีกระดกู สันหลังหรือไม่ (กุ้งไมม่ กี ระดกู สนั หลัง) 12.ใหน้ ักเรียนลองจับบริเวณกลางหลงั ของเพื่อนตงั แต่คอลงมาจนถงึ เอว แล้ว ใช้คาถามดังนี 12.1มนุษยม์ กี ระดกู สันหลังหรอื ไม่ (มนุษยม์ กี ระดกู สันหลงั ) 12.2กระดูกสันหลังของมนุษย์มีลักษณะอย่างไร (เป็นข้อๆ ต่อกันเป็นแนว ยาวจากคอจนถงึ เอว) 12.3ถ้าจะจัดกลุ่มสัตว์โดยใช้กระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ มนุษย์จะอยู่ในกลุ่ม เดียวกับปลาหรือกุ้ง เพราะเหตุใด (อยู่กลุ่มเดียวกับปลา เพราะมี กระดูกสันหลังเหมือนกนั ) 13. ครูเช่ือมโยงข้อมูลที่ได้จากการทากิจกรรมช่วงนีไปสู่เรื่องการจัดกลุ่มสัตว์ โดยใชก้ ารมกี ระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ และถามว่านอกจากมนุษย์ ปลา และ กุ้งแล้ว เราจะจาแนกสัตว์ชนิดอื่นๆ โดยใช้กระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ได้ อย่างไร 14.นกั เรียนอา่ น ทาอยา่ งไร ข้อ 6-7 แล้วร่วมกนั อภิปรายเพ่ือสรุปลาดบั ขนั ตอนตามความเข้าใจ ครนู าอภิปรายตามแนวคาถามดังต่อไปนี 14.1นักเรียนต้องทาส่ิงใดบ้าง (สังเกตโครงสร้างภายในของสัตว์อื่น ๆ ใน บัตรภาพ แล้วจาแนกสัตว์ออกเป็นกลุ่มโดยใช้การมีกระดูกสันหลังเป็น เกณฑ์ แล้วนาเสนอผลการจดั กลมุ่ ) 14.2 นักเรียนสามารถสบื คน้ ขอ้ มูลของบัตรภาพได้จากที่ใด (จากการสแกน QR code ในหนงั สอื เรยี น หนา้ 52) ครูอาจดาวน์โหลดบัตรภาพทังหมดมาให้นักเรียนสังเกต หรือให้นักเรียนใช้ โทรศพั ทใ์ นการสแกน QR code เพื่อเข้าถงึ ขอ้ มูลของบตั รภาพได้ 15.เมอ่ื นักเรียนเข้าใจวธิ ีการทากิจกรรมในทาอยา่ งไร ข้อ 6 แลว้ นักเรียนจะได้ ปฏบิ ัตติ ามขนั ตอนต่อไปนี 15.1สงั เกตโครงสรา้ งภายในของสตั วใ์ นบัตรภาพ (S1) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

117 ค่มู อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยที่ 2 สิง่ มีชวี ติ นักเรียนอาจไม่สามารถตอบ คาถามหรืออภิปรายได้ตามแนว 15.2 จาแนกสัตว์ออกเป็นกลุ่มโดยใช้การมีกระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ และ คาตอบ ครูควรให้เวลานักเรียน นาเสนอ (S4) (C4) คดิ อย่างเหมาะสม รอคอยอย่าง อดทน และรับฟังแนวความคิด 15.3 ร่วมกันลงความเห็นข้อมูลเก่ียวกับการมีกระดูกสันหลังของสัตว์ชนิด ของนกั เรยี น ตา่ ง ๆ (S8) 15.4 ร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปเกี่ยวกับการจาแนกสัตว์โดยใช้การมี กระดกู สนั หลังเป็นเกณฑ์ (S13) 16.หลังจากทากิจกรรมแล้ว ครูนาอภิปรายผลการทากิจกรรม โดยใช้คาถาม ดังนี 16.1นักเรียนจัดกลุ่มสัตว์โดยใช้เกณฑ์การมีกระดูกสันหลังได้เป็น ก่ีกลุ่ม อะไรบ้าง (2 กลมุ่ คือ กลุ่มท่ีมีกระดูกสันหลังและกลุ่มท่ีไม่มีกระดูกสัน หลงั ) 16.2ในบัตรภาพมสี ตั ว์ชนิดใดบ้างทมี่ กี ระดูกสันหลัง (เตา่ กงิ ก่า นก) 16.3ในบัตรภาพมีสัตว์ชนิดใดบ้างท่ีไม่มีกระดูกสันหลัง(แมงมุม พยาธิ ฟองนา) 16.4 ลักษณะโครงสร้างภายในของสัตว์ทัง 2 กลุ่ม เหมือนหรือแตกต่างกัน อย่างไร (แตกต่างกัน คือ กลุ่มที่มีกระดูกสันหลังจะมีกระดูกสันหลังอยู่ ภายในรา่ งกาย มีลกั ษณะเป็นขอ้ ๆ เรยี งต่อกัน ส่วนกลุ่มท่ีไม่มีกระดูกสัน หลัง ภายในร่างกายจะไม่มีกระดกู ) 17.ครเู ปิดโอกาสให้นักเรียนตอบหรือซักถามในส่ิงท่ีอยากรู้เพ่ิมเติมเก่ียวกับการ จัดกลุ่มสัตว์โดยใช้เกณฑ์ต่าง ๆ จากนันร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่า เราสามารถจาแนกสัตว์ออกเป็นกลุ่มต่าง ๆ ได้โดยใช้เกณฑ์ และถ้าใช้การมี กระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ เราจะจัดกลุ่มสัตว์ได้เป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มี กระดูกสันหลัง เช่น มนุษย์ ปลา กบ กิงก่า เต่า นก ซาลาแมนเดอร์ ปลา กระเบน ปลา เป็ด เสือ หมี แพนด้า และกลุ่มที่ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น กุ้ง ดอกไม้ทะเล ดาวทะเล ผึง พยาธิตัวตืด ฟองนา แมงมุม ไส้เดือนดิน หมึก หอยทาก (S13) 18. นักเรยี นร่วมกันอภปิ รายเพ่อื ตอบคาถามใน ฉนั รูอ้ ะไร โดยครูอาจใช้คาถาม เพ่มิ เติมในการอภิปรายเพ่ือใหไ้ ดแ้ นวคาตอบท่ีถกู ต้อง 19. นักเรียนร่วมกันสรุปส่ิงท่ีได้เรียนรู้ในกิจกรรมนี จากนันนักเรียนอ่าน ส่ิงท่ี ไดเ้ รยี นรู้ และเปรยี บเทียบกบั ขอ้ สรุปของตนเอง 20.ครูกระตุ้นให้นักเรียนฝึกตังคาถามเกี่ยวกับเรื่องที่สงสัยหรืออยากรู้เพิ่มเติม ใน อยากรู้อีกว่า จากนันครูอาจสุ่มนักเรียน 2 -3 คน นาเสนอคาถามของ  สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 2 ส่ิงมีชีวิต 118 ตนเองหน้าชันเรียน และให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับคาถามที่ นาเสนอ 21. ครูนาอภิปรายเพื่อให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 อะไรบ้างและในขันตอนใดบ้าง แลว้ บันทึกลงในแบบบนั ทกึ กิจกรรมหนา้ 48 22. นักเรียนอ่าน เกร็ดน่ารู้ ในหนังสือเรียน หน้า 55 และอภิปรายร่วมกัน เกย่ี วกบั ปะการงั การเตรียมตัวลว่ งหน้าสาหรับครู เพอื่ จดั การเรียนรู้ในครงั้ ถดั ไป ในครังถัดไป นักเรียนจะได้ทากิจกรรม 1.3 เราจาแนกสัตว์มี กระดูกสันหลังได้อย่างไร ซึ่งจะมีการจาแนกสัตว์มีกระดูกสันหลัง ออกเป็นกล่มุ โดยใช้ข้อมลู ลกั ษณะเฉพาะทีส่ ังเกตไดข้ องสัตว์ที่ได้จากการ รวบรวมมาจัดจาแนกสัตว์มีกระดูกสันหลังออกเป็นกลุ่ม สิ่งที่ครูต้อง เตรียมมดี งั นี 1. บัตรภาพตัวอย่างสัตว์กลุ่มปลา กลุ่มสัตว์สะเทินนาสะเทินบก กลุ่มสัตว์เลือยคลาน กลุ่มนก กลุ่มสัตว์เลียงลูกด้วยนานม รวม 10 ชนิด เช่น ปลาช่อน ปลาตะเพียน คางคก อ่ึงอ่าง งู กิงก่า นกกระยาง นกเอียง โค ลิง ซึ่งแตกต่างจากตัวอย่างภาพสัตว์ในกลุ่มต่าง ๆ ที่มีอยู่ในหนังสือ เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นสงั เกตลักษณะและจาแนกสตั ว์ออกเป็นกลุ่มตา่ ง ๆ 2. สอ่ื หรอื หนงั สือเกีย่ วกับสัตวม์ ีกระดกู สนั หลังในกล่มุ ต่าง ๆ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

119 คมู่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 2 สง่ิ มีชวี ติ แนวคาตอบในแบบบันทกึ กจิ กรรม 1. สงั เกตและอธิบายโครงสร้างภายนอกและโครงสร้างภายในของสตั ว์ ชนิดต่าง ๆ 2. จาแนกสัตวอ์ อกเปน็ กลุ่มโดยใชก้ ารมกี ระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ เชน่ การมขี า มีขา กบ กง้ิ กา่ ซาลาแมนเดอร์ เต่า นก เปด็ เสือ หมีแพนด้า กุ้ง ดาวทะเล ผ้ึง แมงมุม ไมม่ ีขา ปลากระเบน ปลา ดอกไมท้ ะเล พยาธิตัวตดื ฟองนา้ ไส้เดือนดิน หมกึ หอยทาก  สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 2 สง่ิ มีชีวติ 120 สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

121 คมู่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 2 ส่ิงมีชวี ติ 2 มีกระดูกสันหลังอยูใ่ นลาตัว กบ ก้ิงกา่ ซาลาแมนเดอร์ เต่า นก ปลากระเบน ปลา เปด็ เสอื หมแี พนด้า ไม่มีกระดูกสันหลงั อยู่ในลาตัว กุ้ง ดอกไม้ทะเล ดาวทะเล ผ้ึง พยาธติ วั ตืด ฟองน้า แมงมุม ไส้เดอื นดนิ หมกึ หอยทาก คาตอบขนึ้ อยู่กับเกณฑ์การจาแนกของนกั เรียนในหอ้ ง เช่น เหมือนกัน เพราะใช้ เกณฑ์เดียวกันในการจาแนก หรอื แตกตา่ งกัน เพราะใชเ้ กณฑ์แตกตา่ งกัน ในการ จาแนก แตกต่างกนั คือ โครงสร้างภายในของปลาจะมีอวยั วะภายในอยใู่ นช่องท้องและ กระดูกสันหลัง ทอดยาวจากส่วนหวั ไปถึงหาง ส่วนโครงสรา้ งภายในของกุ้งจะมี อวัยวะภายในอยู่ที่ส่วนหัวและไม่มีกระดกู สนั หลัง อย่ใู นร่างกายบริเวณกลางลาตัว มีลกั ษณะเปน็ กระดกู แข็งเรียงเปน็ ข้อๆ เช่ือมตอ่ กัน ทอดยาวอย่ใู นร่างกายของสัตวส์ ่วนที่ติดกบั หลงั จากศรี ษะจนถึงหาง  สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คูม่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยที่ 2 สงิ่ มชี ีวิต 122 2 กลมุ่ คอื กลมุ่ มีกระดกู สันหลัง ไดแ้ ก่ กบ กิ้งกา่ ซาลาแมนเดอร์ เตา่ นก ปลากระเบน ปลา เป็ด เสือ หมแี พนดา้ และกล่มุ ไมม่ ีกระดกู สันหลัง ไดแ้ ก่ กุง้ ดอกไมท้ ะเล ดาวทะเล ผงึ้ พยาธติ ัวตืด ฟองน้า แมงมุม ไส้เดือนดนิ หมึก หอยทาก คาตอบขนึ้ อยู่กับเกณฑ์การจาแนกของกลุ่ม เช่น เหมือนกัน เพราะเกณฑท์ ี่กลุ่มใช้คือ การมกี ระดกู สนั หลัง หรอื แตกตา่ งกนั เพราะกลุ่มใช้เกณฑก์ ารมีขา ทาให้รายชื่อสตั ว์ที่ จาแนกไดแ้ ตกตา่ งจากรายชอ่ื สัตว์ที่จาแนกโดยใช้เกณฑ์การมีกระดูกสันหลัง สัตว์แต่ละชนิดจะมีโครงสรา้ งภายนอกบางอยา่ งเหมือนและบางอย่างแตกต่างกัน สามารถใชโ้ ครงสรา้ งภายนอกเป็นเกณฑ์ในการจาแนกสัตว์ออกเป็นกลมุ่ ได้ นอกจากน้ันเราอาจจาแนกสตั วต์ ามโครงสรา้ งภายใน ซง่ึ พบว่าสัตว์บางชนิดมกี ระดกู สันหลัง บางชนดิ ไม่มีกระดูกสันหลงั จึงสามารถใช้ลกั ษณะการมีกระดูกสนั หลงั เป็น เกณฑใ์ นการจาแนกสัตวอ์ อกเปน็ กล่มุ คอื สัตว์มีกระดกู สนั หลงั และกลุ่มสตั ว์ไม่มี กระดกู สันหลัง การจาแนกสตั ว์ออกเป็นกลุ่ม อาจทาได้โดยใช้ลักษณะภายนอกเป็นเกณฑก์ ารจาแนก แต่ถา้ ใช้เกณฑก์ ารมีกระดกู สันหลงั จะจาแนกกลุ่มสัตว์ออกได้เป็น 2 กลมุ่ คือ กลุ่ม สตั วม์ กี ระดกู สันหลัง และกลุ่มสตั วไ์ มม่ กี ระดกู สันหลัง สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

123 คูม่ อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 2 สง่ิ มีชีวติ คาถามของนักเรยี นทตี่ ้ังตามความอยากรขู้ องตนเอง         สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยที่ 2 สิง่ มชี ีวิต 124 แนวการประเมินการเรียนรู้ การประเมินการเรียนรขู้ องนักเรียนทาได้ ดงั นี 1. ประเมินความรูเ้ ดิมจากการอภปิ รายในชันเรียน 2. ประเมินการเรียนร้จู ากคาตอบของนักเรียนระหว่างการจดั การเรยี นรแู้ ละจากแบบบันทึกกิจกรรม 3. ประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 จากการทากิจกรรมของนักเรยี น การประเมนิ จากการทากิจกรรมท่ี 1.2 เราจาแนกสตั วไ์ ดอ้ ยา่ งไร ระดบั คะแนน 1 คะแนน หมายถงึ ควรปรับปรุง 3 คะแนน หมายถงึ ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช้ รหสั สงิ่ ท่ปี ระเมิน ระดับ คะแนน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S1 การสังเกต S4 การจาแนกประเภท S6 การจดั กระทาและสอ่ื ความหมายขอ้ มลู S8 การลงความเห็นจากขอ้ มูล S13 การตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 C4 การสื่อสาร C5 ความรว่ มมือ C6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมคะแนน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

125 คมู่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 2 ส่งิ มีชีวิต ตาราง แสดงการวิเคราะห์ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ตามระดับความสามารถของนักเรียน โดยอาจใชเ้ กณฑก์ ารประเมิน ดังนี ทกั ษะกระบวนการ รายการประเมนิ ระดับความสามารถ ทางวิทยาศาสตร์ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรงุ (1) S1 การสังเกต ก า ร บ ร ร ย า ย สามารถใช้ประสาทสัมผัส สามารถใช้ประสาทสัมผัส ไ ม่ ส า ม า ร ถ ใ ช้ ร า ย ล ะ เ อี ย ด เก็บรายละเอียดข้อมูล เก็บรายละเอียดข้อมูล ประสาทสัมผัสเก็บ เกี่ยวกับโครงสร้าง เ ก่ี ย ว กั บ โ ค ร ง ส ร้ า ง เกยี่ วกบั โครงสร้างภายนอก รายละเอียดข้อมูล ภ า ย น อ ก แ ล ะ ภายนอก และโครงสร้าง และโครงสร้างภายในของ เกี่ยวกับโครงสร้าง โครงสร้างภายใน ภายในของสัตว์แต่ละชนิด สัตว์แต่ละชนิดได้ จากการ ภ า ย น อ ก แ ล ะ ของสัตวแ์ ต่ละชนิด ได้ด้วยตนเอง โดยไม่เพิ่ม ชแี นะของครหู รอื ผู้อื่น หรือ โครงสร้างภายใน ความคิดเหน็ มีการเพ่ิมเตมิ ความคดิ เหน็ ของสัตว์แต่ละชนิด แม้ ว่ า จ ะ ไ ด้ รั บ ค า ชี แ น ะ จ า ก ค รู ห รื อ ผอู้ น่ื S4 การจาแนก การกาหนดเกณฑ์ สามารถกาหนดเกณฑ์และ สามารถกาหนดเกณฑ์ ไม่สามารถกาหนด ประเภท และ จา แนก สัต ว์ จาแนกสัตว์ตามเกณฑ์ท่ี แ ล ะ จ า แ น ก สั ต ว์ ต า ม เกณฑ์และจาแนก ตามเกณฑ์ทก่ี าหนด กาหนดได้ และใช้เกณฑ์ เกณฑ์ที่กาหนดได้ และใช้ สั ต ว์ ต า ม เ ก ณ ฑ์ ท่ี การมีกระดูกสันหลัง จัด เ ก ณ ฑ์ ก า ร มี ก ร ะ ดู ก สั น กาหนดได้ และไม่ และการจาแนก กลุ่มสัตว์ออกเป็นสัตว์มี หลัง จัดกลุ่มสัตว์ออกเป็น สามารถใชเ้ กณฑ์การ สั ต ว์ เ ป็ น สั ต ว์ มี กระดูกสันหลังและสัตว์ไม่ สัตว์มีกระดูกสันหลังและ มีกระดูกสันหลัง จัด กระดูกสันหลังและ มีกระดูกสันหลังได้อย่าง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังได้ กลุ่มสัตว์ออกเป็น สัตว์ไม่มีกระดูกสัน ถูกต้องไดด้ ้วยตนเอง อย่างถูกต้อง จากการ สัตว์มีกระดูกสันหลัง หลัง โดยใช้การมี ชีแนะของครหู รือผอู้ น่ื และสัตว์ไม่มีกระดูก กระดูกสันหลังเป็น สันหลงั ได้แม้ว่าจะได้ เกณฑ์ รับคาชีแนะจากครู หรอื ผู้อืน่  สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 2 สิง่ มชี ีวิต 126 ทักษะกระบวนการ รายการประเมนิ ระดบั ความสามารถ ทางวิทยาศาสตร์ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรงุ (1) S6 การจัดกระทา การนาข้อมูลที่ได้ สามารถนาเสนอขอ้ มลู ท่ีได้ สามารถนาเสนอข้อมูลท่ี ไม่สามารถนาเสนอ และสอื่ ความหมาย จ า ก ก า ร สั ง เ ก ต จากการสังเกตโครงสร้าง ไ ด้ จ า ก ก า ร สั ง เ ก ต ข้อมูลท่ีได้จากการ ขอ้ มลู โครงสร้างภายนอก ภายนอกและโครงสร้าง โครงสร้างภายนอกและ สังเกตโ ครงสร้าง ภายในของสัตว์ มาจาแนก โครงสร้างภายในของสัตว์ ภายนอกและ แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง สัตว์ออกเป็นกลุ่ม และนา มาจาแนกสัตว์ออกเป็น โ ค ร ง ส ร้ า ง ภ า ย ใ น ภายในของสัตว์มา ข้อมูลมาจัดกระทาโดย กลุ่ม และนาข้อมูลมาจัด ของสัตว์ มาจาแนก จาแนกสัตว์ และนา การเขียนแผนภาพ หรือ กร ะ ท า โ ด ย ก า ร เ ขี ย น สัตว์ออกเป็นกลุ่ม ข้อมูลมาจัดกระทา รูปแบบอื่นๆ และสื่อให้ แผนภาพ หรือรูปแบบ และไม่สามารถนา โ ด ย ก า ร เ ขี ย น ผู้อ่ืนเข้าใจผลของการ อ่ืนๆ และสื่อให้ผู้อ่ืน ข้อมูลมาจัดกระทา แ ผ น ภ า พ ห รื อ จาแนกสัตว์ออกเป็นกลุ่ม เข้าใจผลของการจาแนก โ ด ย ก า ร เ ขี ย น รูปแบบอ่ืนๆ และ ได้อย่างถูกต้องได้ด้วย สัตว์ออกเป็นกลุ่มได้อย่าง แ ผ น ภ า พ ห รื อ สื่อให้ผู้อ่ืนเข้าใจผล ตนเอง ถูกต้อง จากการชีแนะ รู ป แ บ บ อื่ น ๆ ของการจาแนกสัตว์ ของครหู รือผูอ้ ่ืน รวมทังไม่สามารถสื่อ ออกเปน็ กลมุ่ ให้ผู้อ่ืนเข้าใจผลของ ก า ร จ า แ น ก สั ต ว์ อ อ ก เ ป็ น ก ลุ่ ม ไ ด้ แม้ ว่ า จ ะ ไ ด้ รั บ ค า ชี แ น ะ จ า ก ค รู ห รื อ ผอู้ น่ื S8 ก า ร ล ง ลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก ไ ม่ ส า ม า ร ถ ล ง ค ว า ม เ ห็ น จ า ก ข้อมูลว่าสัตว์ชนิด ขอ้ มูลไดว้ ่าสัตว์ชนิดใดเป็น ข้อมูลได้ว่าสัตว์ชนิดใด ความเห็นจากข้อมูล ขอ้ มลู ใดเปน็ สัตว์มีกระดูก สัตว์มีกระดูกสันหลังหรือ เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลัง ได้ว่าสัตว์ชนิดใดเป็น สันหลังหรือสัตว์ไม่ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง หรือสัตว์ไม่มีกระดูกสัน สัตว์มีกระดูกสันหลัง มีกระดูกสันหลัง โดยใชก้ ารมกี ระดูกสันหลัง หลังโดยใช้การมีกระดูก หรือสัตว์ไม่มีกระดูก โดยใช้การมีกระดูก เป็นเกณฑ์ได้อย่างถูกต้อง สันหลังเป็นเกณฑ์ได้อย่าง สันหลังโดยใช้การมี สนั หลงั เปน็ เกณฑ์ และชัดเจน ได้ด้วยตนเอง ถูกต้องและชัดเจน จาก กระดูกสันหลังเป็น การชีแนะของครหู รือผูอ้ ืน่ เกณฑ์ได้ แม้ว่าจะได้ รับคาชีแนะจากครู หรอื ผู้อืน่ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

127 คมู่ อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 2 สงิ่ มีชีวติ ทักษะกระบวนการ รายการประเมนิ ระดับความสามารถ ทางวิทยาศาสตร์ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรุง (1) S13 การ ตีความหมายข้อมูล สาม ารถ ตีคว ามห มา ย สามารถตีความห มาย ไม่สามารถสามารถ ตี ค ว า ม ห ม า ย จ า ก ก า ร สั ง เ ก ต ข้ อ มู ล จ า ก ก า ร สั ง เ ก ต ข้อมูลจ ากการ สังเก ต ตีความหมายข้อมูล ข้ อ มู ล แ ล ะ ล ง ลักษณะภายนอก ลักษณะภายนอก และ ลักษณะภายนอก และ จ า ก ก า ร สั ง เ ก ต ข้อสรปุ และลักษณะภาย ลั ก ษ ณ ะ ภ า ย ข อ ง สั ต ว์ ลักษณะ ภ ายข องสัต ว์ ลักษณะภ ายนอ ก ของสัตว์ รวมทัง รวมทังการผ่าร่างกายสัตว์ รวมทังการผ่าร่างกายสัตว์ แ ล ะ ลั ก ษ ณ ะ ภ า ย การผ่าร่างกายสัตว์ ไ ด้ ว่ า สั ต ว์ บ า ง ช นิ ด มี ไ ด้ ว่ า สั ต ว์ บ า ง ช นิ ด มี ของสัตว์ รวมทังการ ไดว้ ่าสตั ว์บางชนิดมี กระดูกสันหลัง สัตว์บาง กระดูกสันหลัง สัตว์บาง ผ่าร่างกายสัตว์ได้ว่า กระดกู สนั หลงั สัตว์ ชนิดไม่มีกระดูกสันหลัง ชนิดไม่มีกระดูกสันหลัง สั ต ว์ บ า ง ช นิ ด มี บ า ง ช นิ ด ไ ม่ มี แ ล ะ ล ง ข้ อ ส รุ ป ไ ด้ ว่ า แ ล ะ ล ง ข้ อ ส รุ ป ไ ด้ ว่ า กระดูกสันหลัง สัตว์ กระดูกสันหลงั และ สามารถจาแนกจาแนก สามารถจาแนกจาแนก บางชนิดไม่มีกระดูก ลงข้อสรุปเกี่ยวกับ สัตว์โดยใช้การมีกระดูกสัน สัตว์โดยใช้การมีกระดูก สั น ห ลั ง แ ล ะ ไ ม่ การจาแนกสัตว์โดย หลังเป็นเกณฑ์ออกได้เป็น สันหลังเป็นเกณฑ์ออกได้ สามารถลงข้อสรุปได้ ใช้การมีกระดูกสัน 2 กลุ่ม คอื กลุ่มท่ีมีกระดูก เป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มี ว่าสามารถจาแนก หลังเปน็ เกณฑ์ สันหลังและกลุ่มท่ีไม่มี กระดูกสันหลังและกลุ่มที่ จาแนกสัตว์โดยใช้ กระดูกสันหลัง ได้ด้วย ไม่มีกระดูกสันหลัง จาก การมีกระดูกสันหลัง ตนเอง การชแี นะของครหู รือผ้อู ่นื เป็นเกณฑ์ออกได้ เป็น 2 กลุ่ม คือ ก ลุ่ ม ที่ มี ก ร ะ ดู ก สั น หลังและกลุ่มที่ไม่มี ก ร ะ ดู ก สั น ห ลั ง แม้ ว่ า จ ะ ไ ด้ รั บ ค า ชี แ น ะ จ า ก ค รู ห รื อ ผู้อ่ืน  สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 2 สิง่ มชี ีวิต 128 ตาราง แสดงการวิเคราะหท์ ักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ตามระดับความสามารถของนักเรยี น โดยอาจใช้เกณฑก์ ารประเมิน ดงั นี ทกั ษะแห่ง รายการประเมิน ระดบั ความสามารถ ศตวรรษท่ี 21 ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรงุ (1) C4 การสื่อสาร นาเสนอข้อมูลจาก นาเสนอข้อมลู จากการ นาเสนอข้อมลู จากการ ไมส่ ามารถนาเสนอข้อมูล การอภปิ ราย อภิปรายเก่ียวกับการ อภปิ รายเก่ียวกับการจาแนก จากการอภปิ รายเก่ียวกับ เกย่ี วกบั การจาแนก จาแนกกลมุ่ สัตวโ์ ดยใช้ กลุ่มสตั ว์โดยใช้เกณฑ์การมี การจาแนกกลุ่มสัตว์โดย กล่มุ สตั ว์โดยใช้ เกณฑ์การมีกระดูกสนั หลงั กระดูกสนั หลงั ในรูปแบบ ใช้เกณฑ์การมีกระดูกสัน เกณฑ์การมีกระดูก ในรปู แบบแผนภาพหรือ แผนภาพหรอื รปู แบบอน่ื ๆ หลัง ในรูปแบบแผนภาพ สันหลงั ในรูปแบบ รูปแบบอนื่ ๆ ให้ผอู้ ่ืน ใหผ้ ู้อืน่ เขา้ ใจได้อย่างถูกต้อง หรือรูปแบบอื่น ๆ ให้ แผนภาพหรือ เขา้ ใจได้อย่างถกู ต้อง ได้ จากการชีแนะของครหู รือผูอ้ ื่น ผู้ อื่ น เ ข้ า ใ จ ไ ด้ อ ย่ า ง รปู แบบอ่นื ๆ ให้ ด้วยตนเอง ถูกต้อง แม้ว่าจะได้รับคา ผอู้ ่นื เขา้ ใจ ชแี นะจากครหู รอื ผู้อน่ื C5 ความ ทางานร่วมกับผู้อ่ืน สามารถทางานร่วมกับ สามารถทางานร่วมกับผู้อ่ืนใน ไมส่ ามารถทางานร่วมกับ ร่วมมอื ในการสังเกต การ ผู้อื่นในการสังเกต การ การสังเกต การนาเสนอ และ ผู้อ่ืนได้ ตลอดเวลาท่ีทา นาเสนอ และการ นาเสนอ และการแสดง การแสดงความคิดเห็นเพ่ือ กิจกรรม แสดงความคิดเห็น ความคิดเห็นเพื่อจาแนก จาแนกสัตว์ออกเป็นสัตว์มี เ พื่ อ จ า แ น ก สั ต ว์ สตั ว์ออกเป็นสัตว์มีกระดูก กระดูกสันหลัง และสัตว์ไม่มี อ อ ก เ ป็ น สั ต ว์ มี สันหลัง และสั ตว์ไม่ มี กระดกู สันหลัง รวมทังยอมรับ กระดูกสันหลัง และ กระดูกสันหลัง รวมทัง ความคิดเห็นของผู้อ่ืน บาง สัตว์ไม่มีกระดูกสัน ยอมรับความคิดเห็นของ ช่วงเวลาทท่ี ากจิ กรรม หลัง รวมทังยอมรับ ผอู้ ื่นตงั แตเ่ ร่ิมตน้ จนสาเรจ็ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ผอู้ ื่น C6 การใช้ การใช้เทคโนโลยี สามารถใช้เทคโนโลยี ส า ม า ร ถ ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ไม่สามารถใช้เทคโนโลยี เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ เ พื่ อ สารสนเทศเพื่อเข้าถึง สารสนเทศเพ่ือเข้าถึงข้อมูล สารสนเทศเพ่ือเข้าถึง สารสนเทศ เข้าถึงข้อมูลบัตร ข้อมูลบัตรภาพซึ่งแสดง บัตรภาพซ่ึงแสดงโครงสร้าง ข้อมูลบัตรภาพซึ่งแสดง ภ า พ ซึ่ ง แ ส ด ง โครงสร้างภายนอกและ ภ า ย น อ ก แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง โครงสร้างภายนอกและ โครงสร้างภายนอก โครงสร้างภายในของสัตว์ ภายในของสัตว์ได้ จากการ โครงสร้างภายในของ แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง ได้อย่างรวดเร็วได้ด้วย ชแี นะของครหู รือผูอ้ ่นื สัตว์ แม้ว่าจะได้รับคา ภายในของสตั ว์ ตนเอง ชแี นะจากครหู รือผอู้ ื่น สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

129 คู่มือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 2 สิง่ มีชวี ติ กิจกรรมที่ 1.3 เราจาแนกสตั วม์ กี ระดูกสนั หลังไดอ้ ยา่ งไร กิจกรรมนีนักเรียนจะได้สังเกตและรวบรวมข้อมูล สือ่ การเรยี นรู้และแหล่งเรียนรู้ หนา้ 56–62 ลักษณะเฉพาะที่สังเกตได้ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง และ หนา้ 49–54 กาหนดเกณฑ์ในการจาแนกสัตว์มีกระดูกสันหลังออกเป็น 1. หนงั สือเรยี น ป.4 เลม่ 1 กลุ่ม พรอ้ มยกตวั อย่างสตั วม์ กี ระดกู สันหลงั ในกลุ่มต่าง ๆ 2. แบบบันทึกกจิ กรรม ป.4 เล่ม 1 เวลา 2 ชวั่ โมง จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. สังเกตและบรรยายลกั ษณะเฉพาะที่สังเกตไดข้ องสตั วม์ ี กระดูกสันหลงั กลุ่มตา่ ง ๆ 2. สารวจหรอื สืบค้นขอ้ มูลเพ่ือยกตวั อย่างสตั ว์มกี ระดกู สนั หลงั กลุ่มต่าง ๆ วสั ดุ อปุ กรณส์ าหรับทากจิ กรรม สิ่งที่ครูตอ้ งเตรยี ม/กลุ่ม บตั รภาพสัตวม์ ีกระดกู สนั หลังกลุ่มตา่ ง ๆ 1 ชุด ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S1 การสงั เกต S4 การจาแนกประเภท S6 การจัดกระทาและส่อื ความหมายข้อมลู S8 การลงความเห็นจากข้อมูล S13 การตีความหมายข้อมลู และลงขอ้ สรุป ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 C4 การส่ือสาร C5 ความร่วมมือ C6 การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ  สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 2 สงิ่ มชี ีวิต 130 แนวการจัดการเรียนรู้ ในการทบทวนความรู้ท่ีเคย เรียนมาแล้ว คุณครูควรให้เวลา 1. ครูทบทวนความรู้เดิมเก่ียวกับการจาแนกสัตว์ออกเป็นกลุ่มโดยใช้การมี นักเรียนคิดอย่างเหมาะสม รอ กระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ อาจใช้รูปสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังและไม่มีกระดูก คอยอย่างอดทน นักเรียนต้อง สันหลังมาให้นักเรียนสังเกต เช่น ปลา โค กิงก่า อึ่งอ่าง นกเอียง ผีเสือ ตอบคาถามเหล่านีได้ถูกต้อง ไสเ้ ดือนดิน แล้วใชค้ าถามเพอื่ การอภปิ รายดังนี หากตอบไม่ได้หรือลืมครูต้องให้ 1.1 สตั ว์ชนิดใดเป็นสตั วม์ ีกระดูกสนั หลงั (ปลา โค กงิ ก่า อ่ึงอ่าง นกเอียง) ความรู้ท่ีถกู ตอ้ งทันที 1.2 สตั ว์ชนดิ ใดเป็นสตั ว์ไม่มีกระดูกสันหลงั (ผีเสือ ไส้เดอื นดนิ ) ในการตรวจสอบความรู้ ครู 2. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเก่ียวกับการจาแนกสัตว์มีกระดูกสันหลัง ออกเป็น เพียงรับฟังเหตุผลของนักเรียน กลุ่ม โดยให้นักเรียนสังเกตรูปสัตว์มีกระดูกสันหลังอีกครัง แล้วใช้คาถาม เป็นสาคัญ และยังไม่เฉลย ดงั นี คาตอบใด ๆ ให้กับนักเรียน แต่ 2.1 จากลักษณะของสัตว์ที่สังเกตได้สามารถนามาใช้จาแนกสัตว์มีกระดูก- ชักชวนนักเรียน ไปหาคาตอบที่ สันหลงั ออกเปน็ กลมุ่ ไดห้ รือไม่ อย่างไร (นกั เรยี นตอบตามความเขา้ ใจ) ถูกต้องจากกิจกรรมต่าง ๆ ใน บทเรยี นนี 3. ครูเชื่อมความรู้เดิมของนักเรียนโยงเข้าสู่กิจกรรมท่ี 1.3 โดยชักชวนให้ นักเรียนมาร่วมกันสังเกตลักษณะของสัตว์มีกระดูกสันหลัง และให้ใช้เกณฑ์ ในการจาแนกเหมือนนักวิทยาศาสตร์ในการจาแนกสัตว์มีกระดูกสันหลัง ออกเป็นกลมุ่ ตา่ ง ๆ 4. นักเรียนอ่านช่ือกิจกรรม และ ทาเป็นคิดเป็น และร่วมกันอภิปรายเพื่อ ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์ในการทากิจกรรม โดยใช้คาถาม ดงั นี 4.1 กิจกรรมนีนักเรียนจะได้เรียนเรื่องอะไร (เรื่องการจาแนกสัตว์มี กระดูกสันหลงั ออกเป็นกลมุ่ ตา่ ง ๆ) 4.2 นักเรียนจะได้เรียนรู้เรื่องนีด้วยวิธีใด (การสังเกต รวบรวมข้อมูล ลกั ษณะเฉพาะท่ีสงั เกตได้ของสตั วม์ ีกระดูกสนั หลัง) 4.3 เม่ือเรียนแล้วนักเรียนจะทาอะไรได้ (จาแนก และบรรยายลักษณะ และยกตัวอย่างสตั วม์ ีกระดูกสันหลังในกลมุ่ ตา่ ง ๆ) 5. นกั เรยี นบนั ทกึ จุดประสงคล์ งในแบบบันทกึ กจิ กรรม หน้า 49 และ อ่านสิ่งที่ ต้องใช้ในการทากจิ กรรม 6. นักเรียนอ่าน ทาอย่างไร ทีละข้อ โดยฝึกอ่านตามความเหมาะสม แล้วให้ นักเรยี นอภปิ รายเพ่อื สรุปลาดับขนั ตอน โดยใช้คาถามตอ่ ไปนี 6.1 นักเรียนอ่านใบความรู้เรื่องอะไร และเม่ืออ่านแล้วต้องทาอะไรบ้าง (อ่านใบความรู้เร่ืองกลุ่มสัตว์มีกระดูกสันหลัง อ่านแล้วต้องเขียน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

131 คู่มือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 2 สิง่ มีชวี ติ แผนผังสรุปลักษณะที่สังเกตได้ของสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มต่าง ๆ และนาเสนอ) 6.2 นักเรียนสังเกตบตั รภาพจากท่ีไหน (บัตรภาพท่ีครูเตรยี มไว)้ 6.3 นักเรียนต้องสังเกตอะไรบ้างในบัตรภาพ (สังเกตลักษณะต่าง ๆ ของ สัตว์) 6.4 สังเกตบตั รภาพแลว้ ต้องทาอะไรต่อไป (จากาหนดเกณฑ์ในการจาแนก และจาแนกสัตว์มีกระดูกสันหลังออกเป็นกลุ่มต่าง ๆ ตามข้อมูลท่ี สงั เกตได้) 6.5 นักเรียนต้องสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับเรื่องอะไร (ตัวอย่างสัตว์มีกระดูกสัน หลังในกลุ่มต่าง ๆ) ครอู าจชว่ ยเขียนสรุปเป็นขันตอนสันๆ บนกระดาน และเตรียมบตั รภาพสัตว์ มีกระดูกสันหลังในกลุ่มปลา กลุ่มสัตว์สะเทินนาสะเทินบก กลุ่ม สัตว์เลือยคลาน กลุ่มนก และกลุ่มสัตว์เลียงลูกด้วยนานม มาให้นักเรียนทุก กลมุ่ สังเกต กลุ่มละ 1 ชดุ (มสี ตั ว์10 ชนิด) 7. เมื่อนกั เรียนเขา้ ใจวิธีการทากิจกรรมในทาอย่างไรแล้ว นักเรียนจะได้ปฏิบัติ นักเรียนอาจไม่สามารถตอบ ตามขันตอน ดงั นี คาถามหรืออภิปรายได้ตามแนว 7.1 อา่ นใบความรเู้ รอ่ื งกลุ่มสัตวม์ ีกระดูกสันหลัง คาตอบ ครูควรให้เวลานักเรียน 7.2 เขียนแผนผังสรุปลักษณะที่สังเกตได้ของสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่ม คดิ อย่างเหมาะสม รอคอยอย่าง ต่าง ๆ และนาเสนอ (S6) (C4,C5) อดทน และรับฟังแนวความคิด 7.3 ร่วมกันลงความเห็นเกี่ยวกับลักษณะของสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่ม ของนักเรยี น ตา่ ง ๆ (S8) 7.4 สังเกตลักษณะต่าง ๆ ของสัตว์มีกระดูกสันหลังชนิดต่าง ๆ จากบัตร ภาพทคี่ รเู ตรียมไว้ (S1) 7.5 จาแนกสัตว์มีกระดูกสันหลังออกเป็นกลุ่มต่าง ๆ ตามข้อมูลท่ีสังเกตได้ (S4) (C5) ในกรณที น่ี กั เรียนสืบคน้ ขอ้ มลู และจัดจาแนกสัตว์ผิดกลุ่ม ให้ ครแู ละนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อแก้ไขให้ถูกต้อง 7.6 สืบคน้ ขอ้ มูลเกย่ี วกบั ตัวอย่างสัตวม์ ีกระดูกสันหลงั ในกล่มุ ต่าง ๆ (C6) 7.7 รว่ มกนั สรุปเกี่ยวกับการจัดกลมุ่ สัตว์มกี ระดกู สันหลงั (S13) 8. หลังจากทากิจกรรมแล้ว ครูนาอภิปรายผลการทากิจกรรม โดยใช้คาถาม ดังนี คาถามสาหรบั การอภิปรายผลตามขนั ตอนทาอยา่ งไร ขอ้ 1  สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มอื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยที่ 2 สิง่ มีชีวิต 132 8.1 ลักษณะเฉพาะท่ีสังเกตได้ของสัตว์มีลักษณะใดบ้าง (ลักษณะผิวหนัง นักเรียนอาจไม่สามารถตอบ เสน้ ขน ส่วนทีใ่ ช้ในการเคลื่อนท่ี การมีปีก การมีขา การออกลูกเป็นไข่ คาถามหรืออภิปรายได้ตามแนว หรอื เปน็ ตัว การวางไขใ่ นนาหรอื บนบก การเลียงลกู ด้วยนานม) คาตอบ ครูควรให้เวลานักเรียน คิดอยา่ งเหมาะสม รอคอยอย่าง 8.2 จากใบความรู้สามารถจัดกลุ่มสัตว์มีกระดูกสันหลังได้ก่ีกลุ่ม อะไรบ้าง อดทน และรับฟังแนวความคิด (5 กลมุ่ ไดแ้ ก่กลมุ่ ปลา กลุ่มสตั วส์ ะเทนิ นาสะเทินบก กลุ่มสัตว์เลือยคลาน ของนักเรยี น กลุม่ นก และกลุ่มสัตวเ์ ลียงลกู ด้วยนานม) (S4) 8.3 ลกั ษณะทสี่ งั เกตได้ของสัตว์แต่ละกลุ่มเป็นอย่างไร - กลมุ่ ปลา มคี รบี ไมม่ ีขา มหี าง ผวิ หนังมีเกล็ด อยู่ในนา ออกลูกเป็น ไข่ - กล่มุ สัตว์สะเทินนาสะเทินบก ผิวหนังเปยี กชนื ตลอดเวลา ไม่มขี น มี ขา 4 ขา อาศัยทังบนบกและในนา ตัวผู้จะปล่อยอสุจิออกมาผสม กับไข่ท่ีตัวเมียปล่อยออกมาในนา ลูกหรือตัวอ่อนจะอาศัยอยู่ในนา เม่อื เจรญิ เติบโตขนึ สามารถอย่บู นบกได้ - กลุ่มสัตว์เลือยคลาน ผิวหนังแห้ง ไม่มีขน มีเกล็ดทั่วตัว มีขา 4 ขา มีหาง อยู่ทังบนบกและในนา วางไข่บนบก บางชนิดไม่มีขา บาง ชนิดออกลกู เปน็ ตวั - กลุ่มนก มขี นเปน็ แผง มขี า 2 ขา มีปกี 1 คู่ บางชนิดบินได้บางชนิด บนิ ไม่ได้ บางชนิดวา่ ยนาได้ ออกลกู เป็นไข่ - กลุ่มสัตว์เลียงลูกด้วยนานม มีขา 4 ขา มีขนเป็นเส้น ส่วนใหญ่ ออกลูกเป็นตัว เลียงลูกด้วยนานม ส่วนใหญ่อยู่บนบก บางชนิดอยู่ ในนา บางชนิดออกลกู เปน็ ไข)่ คาถามสาหรบั การอภิปรายผลตามขันตอนทาอย่างไร ขอ้ 2-3 8.4 จากบตั รภาพมสี ตั วช์ นดิ ใดอยใู่ นกลุ่มปลาบ้าง (นักเรียนตอบตามข้อมูล ของบตั รภาพทใี่ ชจ้ รงิ ในห้องเรียน) 8.5 เพราะเหตุใดนักเรียนจึงจัดสัตว์ชนิดนีอยู่ในกลุ่มปลา (เพราะลาตัวมี เกล็ด มคี รบี อยใู่ นนา) 8.6 จากบัตรภาพมีสัตว์ชนิดใดอยู่ในกลุ่มสัตว์เลือยคลานบ้าง (นักเรียน ตอบตามขอ้ มูลของบตั รภาพทใ่ี ช้จริงในหอ้ งเรียน) 8.7 เพราะเหตุใดนักเรียนจึงจัดสัตว์ชนิดนีอยู่ในกลุ่มสัตว์เลือยคลาน (เพราะลาตัวมเี กลด็ มีขา 4 ขา อยทู่ งั บนบกและในนา) 8.8 จากบัตรภาพมีสัตว์ชนิดใดอยู่ในกลุ่มสัตว์สะเทินนาสะเทินบกบ้าง (นกั เรยี นตอบตามข้อมลู ของบตั รภาพที่ใชจ้ ริงในห้องเรยี น) สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

133 คู่มอื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 2 ส่ิงมีชีวติ นักเรียนอาจไม่สามารถตอบ คาถามหรืออภิปรายได้ตามแนว 8.9 เพราะเหตใุ ดนักเรยี นจึงจัดสัตว์ชนิดนีอยู่ในกลุ่มสัตว์สะเทินนาสะเทิน คาตอบ ครูควรให้เวลานักเรียน บก (เพราะผิวหนังเปียกชืนตลอดเวลา มีขา 4 ขา อยู่ทังบนบกและใน คดิ อย่างเหมาะสม รอคอยอย่าง นา ออกลูกเป็นไข่และฟักออกมาเป็นตัวมีหางก่อนหางจะหายไป เม่ือ อดทน และรับฟังแนวความคิด เจรญิ เติบโตเต็มวัย) ของนกั เรียน 8.10 จากบัตรภาพมีสัตว์ชนิดใดอยู่ในกลุ่มนกบ้าง (นักเรียนตอบตามข้อมูล ของบตั รภาพทีใ่ ช้จริงในห้องเรียน) 8.11เพราะเหตุใดนักเรียนจึงจัดสัตว์ชนิดนีอยู่ในกลุ่มนก (เพราะมีขนเป็น แผง มีขา 2 ขา มปี กี 1 คู่ ออกลูกเปน็ ไข)่ 8.12 จากบัตรภาพมีสัตว์ชนิดใดอยู่ในกลุ่มสัตว์เลียงลูกด้วยนานมบ้าง (นกั เรียนตอบตามขอ้ มูลของบตั รภาพท่ีใชจ้ ริงในหอ้ งเรยี น) 8.13 เพราะเหตุใดนักเรียนจึงจัดสัตว์ชนิดนีอยู่ในกลุ่มสัตว์เลียงลูกด้วย นานม (เพราะลาตัวมีขนเป็นเส้น ออกลูกเป็นตัว เลียงลูกอ่อนด้วย นานม) 8.14 มีสัตว์ชนิดใดบ้างที่ไม่สามารถจัดเข้ากลุ่มใน 5 กลุ่มนีได้เพราะเหตุใด (คาตอบขึนอยู่กับสถานการณ์จริงในห้องเรียน ซ่ึงครูควรนาอภิปราย เกย่ี วกับลักษณะต่าง ๆ ของสตั ว์เพื่อใหน้ กั เรียนสามารถจัดเข้ากลุม่ ได้) 9. ร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่าสามารถจาแนกสัตว์มีกระดูกสันหลัง ออกเป็นกลุ่มต่าง ๆ ได้ โดยใช้ลักษณะเฉพาะที่สังเกตได้เป็นเกณฑ์ ได้แก่ ลักษณะผวิ หนัง เส้นขน ส่วนท่ใี ช้ในการเคล่อื นที่ การมีปีก การมีขา การออกลูก เป็นไข่หรอื เปน็ ตัว การวางไข่ในนาหรือบนบก การเลียงลูกด้วยนานม ซ่ึงจะ จาแนกสตั วม์ ีกระดูกสันหลังออกเป็น 5 กลุ่ม คือ กลุ่มปลา กลุ่มสัตว์สะเทิน นาสะเทนิ บก กลมุ่ สัตว์เลอื ยคลาน กลมุ่ นก และกลุม่ สัตวเ์ ลยี งลูกด้วยนานม 10. นักเรียนร่วมกันอภิปรายคาตอบใน ฉนั รูอ้ ะไร โดยครูอาจเพ่ิมเติมคาถามใน การอภิปรายเพื่อให้ได้แนวคาตอบที่ถูกตอ้ ง 11. นักเรียนร่วมกันสรุปส่ิงที่ได้เรียนรู้ในกิจกรรมนี จากนันนักเรียนอ่าน ส่ิงที่ ได้เรยี นรู้ และเปรียบเทยี บกับข้อสรปุ ของตนเอง 12. ครนู าประเด็นเรื่องการจาแนกค้างคาวท่ีนักเรียนได้อ่านในเนือเร่ืองนาเรื่อง ท่ี 1 มาถามนักเรียนอกี ครังดังนี 12.1 ถา้ จดั ค้างคาวตามลกั ษณะที่สงั เกตได้ จะจัดค้างคาวอยู่ในกลุ่มเดียวกับ นกหรือไม่ เพราะเหตุใด (ค้างคาวอยู่ต่างกลุ่มกับนก เพราะค้างคาวมี ขนเป็นเส้น ออกลูกเป็นตัว และเลียงลูกด้วยนานม ซึ่งเป็นลักษณะท่ี แตกตา่ งจากนก ดังนันจงึ จัดค้างคาวอยใู่ นกลมุ่ สตั วเ์ ลียงลกู ดว้ ยนานม)  สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 2 สิ่งมีชีวติ 134 12.2 มีลักษณะใดบ้างที่ค้างคาวต่างจากนก (ลักษณะของขน และการ ออกลูก การเลยี งลกู ด้วยนานม) 13. นักเรียนตังคาถามใน อยากรู้อีกว่า จากนันครูสุ่มนักเรียน 2 -3 คน นาเสนอคาถามของตนเองหนา้ ชนั เรียน 14. ครูนาอภิปรายเพื่อให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 อะไรบ้างและในขันตอนใดบ้าง และบันทกึ ในแบบบนั ทกึ กจิ กรรมหนา้ 54 15. ครูชักชวนนกั เรยี นร่วมกันอภิปรายคาถามชวนคิด ในหนังสือเรียนหน้า 63 โดยอาจใหน้ กั เรยี นไปสืบคน้ ขอ้ มลู เพอื่ หาคาตอบ 16. นักเรียนอ่าน วิทย์กับอาชีพ เกี่ยวกับนักสัตววิทยาในหนังสือเรียนหน้า 64 และอภปิ รายหวั ขอ้ นีในช่ัวโมงเรียนหรือมอบหมายให้อภปิ รายนอกเวลาเรียน การเตรยี มตัวล่วงหน้าสาหรับครู เพ่อื จัดการเรยี นร้ใู นครง้ั ถดั ไป ในครังถัดไป นักเรียนจะได้ทา กจิ กรรม 1.4 เราจาแนกพืชได้อย่างไร ซ่ึง จะมีการจาแนกพืชออกเป็นกลุ่มโดยใช้ การมีดอกเป็นเกณฑ์ ครูควรเตรียมสื่อ สาหรบั การจดั การเรยี นรู้ดงั นี 1. ภาพพืช จานวน 4 ชนิด โดย เลือกพืชทังมีดอกและไม่มีดอก เช่น เฟิน กหุ ลาบทมี่ ีดอก ตะไคร้ มะม่วงที่มีทังดอก และผล เพ่ือใช้ในการทบทวนและ ตรวจสอบความรู้ 2. บัตรคาชอื่ สว่ นต่าง ๆ ของพืช 3. พืชในกระถาง หรอื อาจใช้พืชใน โรงเรียนสาหรับให้นักเรียนสังเกต กลุ่ม ละ 1 ชนิด โดยจัดให้มีทังพืชดอกและพืช ไมม่ ีดอก สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

135 คมู่ อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 2 ส่ิงมีชีวติ แนวคาตอบในแบบบันทึกกิจกรรม 1. สงั เกตและบรรยายลักษณะเฉพาะทีส่ ังเกตได้ของสตั ว์มีกระดกู สนั หลังกล่มุ ตา่ ง ๆ 2. สารวจหรือสืบคน้ ข้อมูลเพื่อยกตัวอยา่ งสตั ว์มีกระดูกสนั หลังกลุ่มตา่ ง ๆ  สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือคร คาตอบขนึ อยูก่ ับบตั รภาพสัตว์มกี ระดูกสนั หลงั ของห้องเรยี น โค   นกยาง   จงิ เหลน   เขียด  ปลาชอ่ น     ปลากะพง  คางคก  งู  นกแก้ว  ค้างคาว   

รรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 2 สิ่งมชี ีวิต 136 เช่น    สัตวเ์ ลยี งลกู ดว้ ยนานม    กลมุ่ นก  สตั ว์เลอื ยคลาน  สัตว์สะเทนิ นาสะเทนิ บก    กลุม่ ปลา  กลมุ่ ปลา    สัตวส์ ะเทนิ นาสะเทนิ บก   สัตว์เลือยคลาน   กลมุ่ นก สตั ว์เลยี งลกู ดว้ ยนานม    สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

137 คมู่ ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยที่ 2 ส่ิงมีชวี ิต ปลาทู ปลาซิว ปลา ปาด ซาลาแมนเดอร์ เต่า จิ้งจก กงิ้ กา่ ดกุ ปลากดั ปลาฉลาม ตวั เงนิ ตวั ทอง นกเขา นกยงู กระรอก มนษุ ย์ โลมา นกกระจอกเทศ นกอนิ ทรี สุนัข กระบือ หนู ช้าง จดั ได้ 5 กลุ่ม ไดแ้ ก่ กลมุ่ ปลา กลุม่ สัตวส์ ะเทินนา้ สะเทินบก กลุ่มสตั วเ์ ลอ้ื ยคลาน กล่มุ นก กลมุ่ สัตวเ์ ลย้ี งลูกดว้ ยน้านม ลักษณะผิวหนงั เสน้ ขน ส่วนที่ใชใ้ นการเคลือ่ นท่ี การมีปีก การมีขา การออกลูก เปน็ ไข่หรือเปน็ ตัว การวางไข่ในน้าหรือบนบก การเล้ียงลูกด้วยนา้ นม มคี รีบ ไม่มีขา มีหาง ผิวหนงั มเี กล็ด (บางชนิดไม่มีเกล็ด) อย่ใู นน้า ออกลูกเป็นไข่ (บางชนดิ ออกลกู เป็นตวั )  สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 2 สิง่ มชี ีวิต 138 ผิวหนังเปียกชื้นตลอดเวลา ไม่มีขน มีขา 4 ขา อาศัยท้ังบนบกและในน้า ตัวผู้จะปล่อยอสุจิออกมาผสม กับไข่ทตี่ วั เมียปลอ่ ยออกมาในนา้ ตัวออ่ นจะอยใู่ นน้า เมือ่ เจริญเตบิ โตขึน้ สามารถข้นึ มาอยบู่ นบกได้ ผวิ หนงั แหง้ ไมม่ ขี น มีเกลด็ ทั่วตัว มขี า 4 ขา มีหาง อยู่ทั้งบนบกและในน้า วางไข่บน บก บางชนิดไม่มีขา บางชนดิ ออกลกู เป็นตัว มีขนเปน็ แผง มีขา 2 ขา มปี กี 1 คู่ บางชนิดบนิ ได้บางชนิดบินไม่ได้ บางชนิดว่ายน้าได้ ออกลูกเป็นไข่ มขี า 4 ขา มีขนเป็นเส้น ส่วนใหญ่ออกลูกเปน็ ตวั เล้ียงลูกด้วยน้านม อยู่บนบก บางชนิด อยใู่ นนา้ ได้ บางชนิดออกลูกเปน็ ไข่ สามารถจาแนกกลมุ่ สตั ว์มีกระดกู สันหลังออกเปน็ กล่มุ ตา่ ง ๆ โดยใช้ลักษณะเฉพาะที่ สงั เกตได้เปน็ เกณฑ์ ได้แก่ ลักษณะผิวหนงั เสน้ ขน ส่วนทใี่ ชใ้ นการเคล่อื นที่ การมีปีก การมขี า การออกลูกเป็นไขห่ รือเปน็ ตวั การวางไขใ่ นนา้ หรือบนบก การเล้ียงลูกด้วย น้านม ซ่งึ สามารถจาแนกออกได้เปน็ 5 กลุม่ คือ กลุ่มปลา กลมุ่ สตั ว์สะเทนิ นา้ สะเทนิ บก กล่มุ สัตวเ์ ล้อื ยคลาน กลมุ่ นก และกลุ่มสตั ว์เล้ยี งลกู ด้วยน้านม สามารถจาแนกสัตว์มีกระดูกสันหลังออกเปน็ กลุ่มได้ 5 กลุ่ม คือ กลุ่มปลา กลุ่มสตั ว์ สะเทินนา้ สะเทินบก กลุ่มสตั ว์เลอื้ ยคลาน กลุ่มนก และกลมุ่ สตั ว์เลี้ยงลกู ดว้ ยนา้ นม โดยใช้ลักษณะเฉพาะทสี่ ังเกตไดเ้ ปน็ เกณฑ์ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

139 คูม่ อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยที่ 2 สง่ิ มีชวี ติ คาถามของนักเรยี นทีต่ ั้งตามความอยากรู้ของตนเอง  สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยที่ 2 สิ่งมชี ีวิต 140         สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

141 คมู่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยท่ี 2 ส่งิ มีชีวิต ตัวกนิ มดหนามและต่นุ ปากเปด็ ตา่ งจากสตั ว์เลี้ยงลกู ด้วยน้านมชนิดอ่นื เพราะวา่ ออกลูกเปน็ ไข่ ซ่ึงสาเหตุที่จดั เป็นสัตว์เล้ยี งลกู ด้วยน้านมเพราะว่าเม่ือ ตวั อ่อนออกจากไขแ่ ลว้ จะกินนา้ นมแม่เปน็ อาหารเหมอื นสัตว์เล้ยี งลูกด้วยนา้ นม ชนดิ อืน่ ๆ จนกว่าจะเร่ิมหากนิ เองได้ ซึ่งตัวกินมดหนามจะกนิ นา้ นมแมเ่ ปน็ อาหารประมาณ 40-50 วนั หลงั ออกจากไข่ ส่วนตนุ่ ปากเปด็ จะกินนา้ นมแม่ เป็นอาหารประมาณ 4 เดือน หลังออกจากไข่  สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยที่ 2 ส่งิ มชี ีวติ 142 แนวการประเมินการเรียนรู้ การประเมินการเรยี นรขู้ องนกั เรียนทาได้ ดงั นี 1. ประเมินความรูเ้ ดิมจากการอภปิ รายในชันเรียน 2. ประเมนิ การเรยี นร้จู ากคาตอบของนักเรียนระหวา่ งการจัดการเรียนรแู้ ละจากแบบบันทึกกจิ กรรม 3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 จากการทากจิ กรรมของนักเรียน การประเมินจากการทากจิ กรรมที่ 1.3 เราจาแนกสตั วม์ กี ระดกู สันหลังไดอ้ ยา่ งไร ระดบั คะแนน 1 คะแนน หมายถงึ ควรปรับปรงุ 3 คะแนน หมายถงึ ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช้ รหัส สงิ่ ที่ประเมิน ระดับ คะแนน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S1 การสังเกต S4 การจาแนกประเภท S6 การจัดกระทาและสอื่ ความหมายขอ้ มลู S8 การลงความเหน็ จากขอ้ มลู S13 การตคี วามหมายขอ้ มลู และลงข้อสรุป ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 C4 การสื่อสาร C5 ความร่วมมือ C6 การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ รวมคะแนน สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

143 คู่มอื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 2 สงิ่ มีชวี ิต ตาราง แสดงการวเิ คราะหท์ ักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรต์ ามระดบั ความสามารถของนักเรียน โดยอาจใช้เกณฑก์ ารประเมนิ ดงั นี ทักษะกระบวนการ รายการประเมิน ระดบั ความสามารถ ทางวิทยาศาสตร์ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรุง (1) S1 การสังเกต ก า ร บ ร ร ย า ย สามารถใช้ประสาทสัมผัส สามารถใช้ประสาทสัมผัส ไ ม่ ส า ม า ร ถ ใ ช้ ร า ย ล ะ เ อี ย ด เก็บรายละเอียดข้อมูลและ เก็บรายละเอียดข้อมูลและ ประสาทสัมผัสเก็บ เก่ียวกับลักษณะ บรรยายลกั ษณะของสัตว์มี บรรยายลักษณะของสัตว์มี รายละเอียดข้อมูล ของสัตว์มีกระดูก กระดูกสันหลังแต่ละกลุ่ม กระดูกสันหลังแต่ละกลุ่ม และบรยายลักษณะ สันหลงั แต่ละกลุ่ม ไ ด้ ด้ ว ย ต น เ อ ง โ ด ย ไ ม่ จากการชีแนะของครูหรือ ของสัตว์มีกระดูกสัน เพม่ิ เตมิ ความคดิ เหน็ ผู้อื่น หรือมีการเพ่ิมเติม ห ลั ง แ ต่ ล ะ ก ลุ่ ม ความคดิ เหน็ แม้ ว่ า จ ะ ไ ด้ รั บ ค า ชี แ น ะ จ า ก ค รู ห รื อ ผอู้ นื่ S4 การจาแนก การจาแนกสัตว์มี สามารถ จ าแนกสัตว์ มี สามารถจาแนกสัตว์มี ไม่สามารถจาแนก ประเภท กระดูกสันหลังโดย ก ร ะ ดู ก สั น ห ลั ง โ ด ย ใ ช้ กระดูกสันหลังโดยใช้ สัตว์มีกระดูกสันหลัง ใช้ลักษณะเฉพาะท่ี ลักษณะเฉพาะท่ีสังเกตได้ ลักษณะเฉพาะที่สังเกตได้ โ ด ย ใ ช้ ลั ก ษ ณ ะ เป็นเกณฑ์ ออกเป็นกลุ่ม เป็นเกณฑ์ ออกเป็นกลุ่ม เ ฉ พ า ะ ที่ สั ง เ ก ต ไ ด้ สังเกตได้เป็นเกณฑ์ ปลา กลุ่มสัตว์สะเทินนา ปลา กลุ่มสัตว์สะเทินนา เป็นเกณฑ์ ออกเป็น ออกเป็นกลุ่มปลา ส ะ เ ทิ น บ ก ก ลุ่ ม ส ะ เ ทิ น บ ก ก ลุ่ ม กลุ่มปลา กลุ่มสัตว์ กลุ่มสัตว์สะเทินนา สัตว์เลือยคลาน กลุ่มนก สัตว์เลือยคลาน กลุ่มนก สะเทินนาสะเทินบก สะเทินบก กลุ่ม และกลุ่มสัตว์เลียงลูกด้วย และกลุ่มสัตว์เลียงลูกด้วย ก ลุ่ ม สั ต ว์ เ ลื อ ย - สั ต ว์ เ ลื อ ย ค ล า น นานม ได้ถูกต้องตาม นานม ได้อย่างถูกต้อง คลาน กลุ่มนก และ กลุ่มนก และกลุ่ม เกณฑ์ที่กาหนด ได้ด้วย จากการชีแนะของครูหรือ กลุ่มสัตว์ เลียงลู ก สัตว์เลียงลูกด้วย ตนเอง ผู้อืน่ ด้วยนานม ได้แม้ว่า นานม จ ะ ไ ด้ รั บ ค า ชี แ น ะ จากครูหรือผู้อื่น  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หนว่ ยท่ี 2 ส่งิ มีชีวติ 144 ทกั ษะกระบวนการ รายการประเมนิ ระดบั ความสามารถ ทางวิทยาศาสตร์ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรงุ (1) S6 การจัดกระทา นาข้อมูลที่ได้จาก สามารถนาข้อมูลที่ได้จาก สามารถนาข้อมูลที่ไดจ้ าก ไม่สามารถนาข้อมูล และสือ่ ความหมาย การสังเกตและการ การสังเกตและการสืบค้น การสังเกตและการสบื คน้ ที่ได้จากการสังเกต ข้อมลู สื บ ค้ น เ ก่ี ย ว กั บ เก่ียวกับลักษณะของสัตว์มี เกี่ยวกบั ลกั ษณะของสัตว์ แ ล ะ ก า ร สื บ ค้ น กระดูกสันหลัง มาจาแนก มีกระดูกสนั หลงั มา เก่ียวกับลักษณะของ ลักษณะของสัตว์มี สั ต ว์ มี ก ร ะ ดู ก สั น ห ลั ง จาแนกสัตวม์ ีกระดูกสัน สัตว์มีกระดูกสันหลัง กระดูกสันหลัง มา ออกเป็นกลุ่ม และนาผล หลงั ออกเปน็ กล่มุ และนา ม า จ า แ น ก สั ต ว์ มี จ า แ น ก สั ต ว์ มี การจาแนกมาจดั กระทาใน ผลการจาแนกมาจัด ก ร ะ ดู ก สั น ห ลั ง ก ร ะ ดู ก สั น ห ลั ง รูปแบบต่าง ๆ รวมทังส่ือ กระทาในรูปแบบตา่ ง ๆ ออกเปน็ กลมุ่ และไม่ ออกเป็นกลุ่ม และ ใ ห้ ผู้ อื่ น เ ข้ า ใ จ ผ ล ก า ร รวมทังสอ่ื ให้ผู้อื่นเขา้ ใจ สามารถนาผลการ นาผลการจาแนก จาแนกสัตว์ออกเป็นกลุ่ม ผลการจาแนกสัตว์ จาแนกมาจัดกระทา ม า จั ด ก ร ะ ท า ใ น ได้อย่างถูกต้อง ได้ด้วย ออกเปน็ กล่มุ ได้อยา่ ง ใน รูป แ บบ ต่ าง ๆ รู ป แ บ บ ต่ า ง ๆ ตนเอง ถูกต้อง จากการชีแนะ รวมทังไม่สามารถส่ือ ของครูหรือผอู้ ืน่ ให้ผู้อื่นเข้าใจผลการ รวมทังส่ือให้ผู้อื่น จาแนกสัตว์ออกเป็น กลุ่มได้อย่างถูกต้อง เ ข้ า ใ จ ผ ล ก า ร จ า แ น ก สั ต ว์ แม้ ว่ า จ ะ ไ ด้ รั บ ค า ออกเป็นกลมุ่ ชี แ น ะ จ า ก ค รู ห รื อ ผ้อู ื่น S8 ก า ร ล ง การลงความเห็น สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก ไ ม่ ส า ม า ร ถ ล ง ค ว า ม เ ห็ น จ า ก จากขอ้ มลู ว่า ข้อมูลและจาแนกสัตว์มี ข้อมูลและจาแนกสัตวม์ ี ความเห็นจากข้อมูล ข้อมลู การจาแนกสัตว์มี ก ร ะ ดู ก สั น ห ลั ง โ ด ย ใ ช้ กระดูกสนั หลงั โดยใช้ และจาแนกสัตว์มี กระดูกสันหลังโดย ลักษณะเฉพาะท่ีสังเกตได้ ลักษณะเฉพาะที่สังเกตได้ กระดกู สันหลังโดยใช้ ใช้ลักษณะเฉพาะท่ี เปน็ เกณฑอ์ อกเป็น 5 กลุ่ม เปน็ เกณฑ์ออกเป็น 5 ลั ก ษ ณ ะ เ ฉ พ า ะ ที่ สังเกตได้เป็นเกณฑ์ ได้อย่างถูกต้อง ได้ด้วย กลมุ่ ได้อย่างถูกต้อง จาก สังเกตได้เป็นเกณฑ์ จ ะ จ า แ น ก สั ต ว์ ตนเอง การชีแนะของครูหรอื ผู้อน่ื ออกเป็น 5 กลุ่มได้ ออกเป็น 5 กลุม่ แม้ ว่ า จ ะ ไ ด้ รั บ ค า ชี แ น ะ จ า ก ค รู ห รื อ ผู้อ่ืน สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

145 คูม่ ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยที่ 2 ส่งิ มีชีวิต ทักษะกระบวนการ รายการประเมิน ระดบั ความสามารถ ทางวิทยาศาสตร์ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรงุ (1) S13 การ ตีความหมายข้อมูล สาม ารถ ตีคว ามห มา ย สามารถตีความหมาย ไ ม่ ส า ม า ร ถ ตคี วามหมาย จากการสังเกต และ ข้อมูลจากการสังเกต และ ขอ้ มูลจากการสงั เกต และ ตีความหมายข้อมูล ข้อมูลและลง การสืบค้นข้อมูลได้ การสืบค้นข้อมูลได้ว่าสัตว์ การสืบค้นข้อมูลได้ว่าสัตว์ จากการสังเกต และ ข้อสรปุ ว่าสัตว์แต่ละกลุ่มมี แ ต่ ล ะ ก ลุ่ ม มี ลั ก ษ ณ ะ แ ต่ ล ะ ก ลุ่ ม มี ลั ก ษ ณ ะ การสืบค้นข้อมูลได้ ลักษณะเฉพาะท่ี เฉพาะที่สังเกตได้แตกต่าง เฉพาะที่สังเกตได้แตกต่าง ว่าสัตว์แต่ละกลุ่มมี สังเกตได้แตกต่าง กัน และลงข้อสรุปได้ว่าถ้า กัน และลงข้อสรุปได้ว่า ลั ก ษ ณ ะ เ ฉ พ า ะ ที่ กัน และลงข้อสรุป ใช้ลักษณะเฉพาะที่สังเกต ถ้าใช้ลักษณะเฉพาะท่ี สังเกตได้แตกต่างกัน ได้ว่าถ้าใช้ลักษณะ ได้เป็นเกณฑ์จะจาแนก สังเกตได้เป็นเกณฑ์จะ และลงข้อสรุปได้ว่า เฉพาะท่ีสังเกตได้ กลุ่มสัตว์ได้เป็น 5 กลุ่ม จาแนกกลุ่มสัตว์ได้เป็น 5 ถ้ า ใ ช้ ลั ก ษ ณ ะ เ ป็ น เ ก ณ ฑ์ จ ะ คือ กลุ่มปลา กลุ่มสัตว์ กลุ่ม คือ กลุ่มปลา กลุ่ม เฉพาะที่สังเกตได้ จาแนกกลุ่มสัตว์ได้ สะเทินนาสะเทินบก กลุ่ม สัตว์สะเทินนาสะเทินบก เป็นเกณฑ์จะจาแนก เป็น 5 กลุ่ม คือ สัตว์เลือยคลาน กลุ่มนก กลุ่มสัตว์เลือยคลาน กลุ่ม กลุ่มสัตว์ได้เป็น 5 กลุ่มปลา กลุ่มสัตว์ และกลุ่มสัตว์เลียงลูกด้วย นกและกลุ่มสัตว์เลียงลูก กลุ่ม คือ กลุ่มปลา สะเทินนาสะเทิน นานม ได้ดว้ ยตนเอง ด้วยนานม จากการชีแนะ กลุ่มสัตว์สะเทินนา บ ก ก ลุ่ ม ของครหู รือผ้อู ่ืน ส ะ เ ทิ น บ ก ก ลุ่ ม สั ต ว์ เ ลื อ ย ค ล า น สัตวเ์ ลือยคลาน กลุ่ม ก ลุ่ ม น ก แ ล ะ ก ลุ่ ม น ก แ ล ะ ก ลุ่ ม สั ต ว์ สั ต ว์ เ ลี ย ง ลู ก ด้ ว ย เลียงลูกด้วยนานม นานม แม้ ว่ า จ ะ ไ ด้ รั บ ค า ชี แ น ะ จ า ก ค รู ห รื อ ผอู้ ืน่  สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หน่วยท่ี 2 สิง่ มีชีวติ 146 ตาราง แสดงการวิเคราะหท์ ักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ตามระดบั ความสามารถของนกั เรียน โดยอาจใชเ้ กณฑ์การประเมิน ดงั นี ทักษะแห่ง รายการประเมิน ระดับความสามารถ ศตวรรษท่ี 21 ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรงุ (1) C4 การสื่อสาร นาเสนอข้อมูลจาก สามารถนาเสนอขอ้ มูล สามารถนาเสนอข้อมลู จาก ไมส่ ามารถนาเสนอข้อมูล การอภิปราย จากการอภิปรายเก่ยี วกับ การอภิปรายเก่ยี วกับการ จากการอภิปรายเกี่ยวกับ เกีย่ วกบั การจาแนก การจาแนกกลุม่ สตั วม์ ี จาแนกกลุ่มสตั ว์มีกระดกู สัน การจาแนกกลุ่มสัตว์มี กลุ่มสัตว์มกี ระดูก กระดูกสันหลังโดยใช้ หลงั โดยใชล้ ักษณะเฉพาะที่ กระดูกสันหลังโดยใช้ สันหลงั โดยใช้ ลักษณะเฉพาะทส่ี ังเกตได้ สงั เกตไดเ้ ปน็ เกณฑไ์ ดอ้ ยา่ ง ลักษณะเฉพาะที่สังเกต ลกั ษณะเฉพาะที่ เป็นเกณฑไ์ ด้อยา่ งถูกต้อง ถูกต้อง จากการชีแนะของครู ได้เป็นเกณฑ์ แม้ว่าจะได้ สังเกตไดเ้ ปน็ เกณฑ์ ได้ด้วยตนเอง หรอื ผอู้ ่ืน รับคาชีแนะจากครูหรือ ผู้อ่นื C5ความร่วมมอื ทางานร่วมกับผู้อ่ืน สามารถทางานร่วมกับ สามารถทางานร่วมกับผู้อ่ืนใน ไมส่ ามารถทางานร่วมกับ ในการสังเกต การ ผู้อ่ืนในการสังเกต การ การสังเกต การนาเสนอ และ ผู้อ่ืนได้ตลอดเวลาท่ีทา นาเสนอ และการ นาเสนอ และการแสดง การแสดงความคิดเห็นเพ่ือ กจิ กรรม แสดงความคิดเห็น ความคิดเห็นเพื่อจาแนก จาแนกกลุ่มสัตว์มีกระดูกสัน เ พื่ อ จ า แ น ก ก ลุ่ ม กลุ่มสัตว์มีกระดูกสันหลัง หลังตามลักษณะเฉพาะที่ สัต ว์ มี ก ระ ดู ก สั น ต า ม ลั ก ษ ณ ะ เ ฉ พ า ะ ท่ี สังเกตได้เป็นเกณฑ์ รวมทัง หลังตามลักษณะ สั ง เ ก ต ไ ด้ เ ป็ น เ ก ณ ฑ์ ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น เฉพาะท่ีสังเกตได้ ร ว ม ทั ง ย อ ม รั บ ค ว า ม บางช่วงเวลาท่ีทากจิ กรรม เป็นเกณฑ์ รวมทัง คิดเห็นของผู้อื่น ตังแต่ ย อ ม รั บ ค ว า ม เรม่ิ ตน้ จนสาเร็จ คดิ เห็นของผูอ้ นื่ C6 การใช้ สืบค้นข้อมูลทา ง สามารถสืบค้นข้อมูลทาง สามารถสืบค้นข้อมูลทาง ไม่สามารถสืบค้นข้อมูล เ ท ค โ น โ ล ยี อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต เ ก่ี ย ว กั บ อินเทอร์เน็ตเก่ียวกับตัวอย่าง ทางอินเทอร์เน็ตเก่ียวกับ สารสนเทศ เก่ียวกับตัวอย่าง ตัวอย่างสัตว์มีกระดูกสัน สัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่ม ตัวอย่างสัตว์มีกระดูกสัน สัต ว์ มี ก ระ ดู ก สั น หลังในกลุ่มต่าง ๆ ได้ด้วย ต่าง ๆ ได้จากการชีแนะของ หลังในกลุ่มต่าง ๆ ได้ หลังในกลุ่มตา่ ง ๆ ตนเอง ครูหรือผู้อืน่ แม้ว่าจะได้รับคาชีแนะ จากครูหรือผอู้ ่ืน สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 

147 คมู่ ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยที่ 2 สงิ่ มีชวี ติ กจิ กรรมที่ 1.4 เราจาแนกพืชไดอ้ ยา่ งไร กิจกรรมนีนักเรียนจะได้สังเกตและรวบรวมข้อมูล . เกี่ยวกับส่วนต่างๆ ของพืชในท้องถ่ิน เพ่ือจาแนกพืช . ออกเป็นกลมุ่ โดยใชก้ ารมีดอกเปน็ เกณฑ์ เวลา 2 ชวั่ โมง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. สงั เกต สืบค้นขอ้ มลู และบอกสว่ นตา่ ง ๆ ของพชื 2. จาแนกพชื ออกเปน็ กลมุ่ โดยใช้การมดี อกเป็นเกณฑ์ วัสดุ อุปกรณส์ าหรบั ทากจิ กรรม สิ่งท่คี รตู ้องเตรียม/กลุม่ 1. พชื 1 ชนิด 2. แว่นขยาย 2-3 อัน ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ S1 การสังเกต S4 การจาแนกประเภท S6 การจัดกระทาและสอื่ ความหมายขอ้ มูล S8 การลงความเห็นจากขอ้ มูล S13 การตีความหมายขอ้ มลู และลงข้อสรปุ ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 C4 การส่อื สาร C5 ความร่วมมือ C6 การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ สือ่ การเรียนรู้และแหลง่ เรียนรู้ 1. หนังสือเรยี น ป.4 เลม่ 1 หน้า 65–67 2. แบบบันทกึ กจิ กรรม ป.4 เลม่ 1 หนา้ 56–60  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 | หนว่ ยท่ี 2 ส่ิงมีชีวิต 148 แนวการจดั การเรยี นรู้ ในการทบทวนความรู้ที่เคย เรียนมาแล้ว คุณครูควรให้เวลา 1. ครูทบทวนความรู้พืนฐานเกี่ยวกับการจัดกลุ่มส่ิงมีชีวิต โดยใช้คาถามว่า นักเรียนคิดอย่างเหมาะสม รอ ส่ิงมีชีวิตรอบตัวเราสามารถจาแนกตามเกณฑ์การเคลื่อนท่ีและการสร้าง คอยอย่างอดทน นักเรียนต้อง อาหารได้เป็นกก่ี ล่มุ อะไรบา้ ง (3 กลุ่ม คือ กลุ่มพืช กลุ่มสัตว์ และกลุ่มไม่ใช่ ตอบคาถามเหล่านีได้ถูกต้อง พืชและสัตว์) หากตอบไม่ได้หรือลืมครูต้องให้ ความรู้ท่ีถูกตอ้ งทนั ที 2. ครูทบทวนความรู้พืนฐานเก่ียวกับส่วนต่าง ๆ ของพืช โดยนาภาพพืช จานวน 4 ชนิด ติดไว้บนกระดาน (เลือกพืชทังมีดอกและไม่มีดอก เช่น เฟิน ในการตรวจสอบความรู้ ครู กุหลาบที่มีดอก ตะไคร้ มะม่วงท่ีมีทังดอกและผล) บัตรคาชื่อส่วนต่าง ๆ เพียงรับฟังเหตุผลของนักเรียน ของพืช เพ่ือให้นักเรียนนาบัตรคาไปติดลงบนภาพพืช จากนันอาจใช้แนว เป็นสาคัญ และยังไม่เฉลย คาถามดังตอ่ ไปนี คาตอบใด ๆ ให้กับนักเรียน แต่ 2.1 พชื แต่ละชนดิ มีสว่ นประกอบอะไรบ้าง (ราก ลาต้น ใบ ดอก ผล) ชักชวนนักเรียน ไปหาคาตอบท่ี 2.2 พืชทัง 4 ชนิดนี มีส่วนต่าง ๆ ครบทุกส่วนหรือไม่ (คาตอบขึนอยู่กับ ถูกต้องจากกิจกรรมต่าง ๆ ใน ภาพพืชทน่ี ักเรียนสงั เกต เชน่ บทเรียนนี - เฟนิ มีสว่ นประกอบไมค่ รบ คอื ไม่มดี อก และผล - กุหลาบ มสี ่วนประกอบไมค่ รบ คือ ไมม่ ผี ล - ตะไคร้ มีส่วนประกอบไม่ครบ คอื ไมม่ ดี อก และผล - มะมว่ ง มีสว่ นประกอบครบ 3. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเก่ียวกับการจัดกลุ่มพืช โดยใช้คาถามว่าถ้าต้องการ จาแนกพืช 4 ชนิดนี ออกเป็นกลุ่มจะจาแนกได้กี่กลุ่ม อะไรบ้าง และใช้ เกณฑ์ใดในการจาแนก (นกั เรยี นตอบได้ตามความเข้าใจของตนเอง) ครูสังเกตคาตอบของนกั เรยี นและชักชวนนักเรียนทากิจกรรม การจัดกลุ่ม พชื 4. ครูเชื่อมโยงความรู้เดิมของนักเรียนเข้าสู่กิจกรรมที่ 1.4 โดยชักชวนให้ นักเรียนร่วมกันสังเกตลักษณะและส่วนต่าง ๆ ของพืช แล้วคิดเกณฑ์ของ ตนเอง และใช้เกณฑเ์ หมอื นนักวทิ ยาศาสตรใ์ นการจาแนกพืช 5. นักเรียนอ่านช่ือกิจกรรม และ ทาเป็นคิดเป็น โดยร่วมกันอภิปรายเพ่ือ ตรวจสอบความเข้าใจจุดประสงค์ในการทากิจกรรม โดยใช้คาถามดังนี โดย ครอู าจช่วยเขียนสรปุ เปน็ ขันตอนสันๆ บนกระดาน 5.1 กิจกรรมนีนักเรียนจะได้เรยี นเรือ่ งอะไร (การจัดกลุ่มพืช) 5.2 นกั เรยี นจะได้เรียนร้เู รอื่ งนีดว้ ยวธิ ใี ด (การสังเกต รวบรวมข้อมูล) 5.3 เม่ือเรียนแล้วนักเรียนจะทาอะไรได้ (จาแนกพืชโดยใช้การมีดอกเป็น เกณฑ)์ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 

149 คูม่ อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 | หน่วยที่ 2 สิง่ มีชวี ติ 6. นักเรียนบนั ทึกจุดประสงคล์ งในแบบบนั ทึกกิจกรรม หน้า 56 และ อ่านส่ิงท่ี ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ ต้องใช้ในการทากจิ กรรม 1. ถ้าครูเลือกจัดกิจกรรมโดยให้ 7. นักเรียนอ่าน ทาอย่างไร ข้อ 1-2 โดยฝึกอ่านตามความเหมาะสม ครูนา นั ก เ รี ย น ส า ร ว จ พื ช ใ น บ ริ เ ว ณ อภิปรายเพือ่ สรุปลาดบั ขันตอน โดยใช้คาถามต่อไปนี โรงเรียน ครูควรให้นักเรียนแต่ละ 7.1 นักเรยี นตอ้ งสังเกตพชื ก่ชี นดิ (1 ชนิด) กลุ่มตกลงเลือกพืชทีไ่ มซ่ ากนั 7.2 หลังจากสังเกตส่วนต่าง ๆ ของพืชแล้ว นักเรียนต้องทาอะไร (ออกแบบตารางบนั ทึกผล และบันทึกผล) 2. ครูแนะนาให้นักเรียนสังเกต 7.3 ตารางบันทึกผลของนักเรียน ต้องมีผลการสังเกตส่ิงใดบ้าง (นักเรียน ลักษณะส่วนต่าง ๆ ของพืชให้ ตอบตามความเข้าใจ) ละเอียด และสามารถระบุได้ว่าพืช ครูควรแนะนาให้นกั เรยี นทกุ กลุ่มบันทึกเกีย่ วกับสว่ นต่าง ๆ ของพืช และ มีหรอื ไมม่ สี ว่ นตา่ ง ๆ เหลา่ นนั ลักษณะของแตล่ ะส่วน เช่น 3. ครูเตรียมแหล่งการเรียนรู้ เช่น ช่อื พืช ส่วนตา่ งๆ ของพชื อินเทอร์เน็ต เว็บไซต์หรือหนังสือ ราก ลาต้น ใบ ดอก ผล ทีม่ ีความน่าเช่อื ถอื เพือ่ ใหน้ ักเรียน สืบค้นข้อมูลเพ่ิมเติมเกี่ยวกับส่วน 7.4 นักเรียนต้องสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับอะไร และต้องทาอย่างไรกับข้อมูลท่ี ต่าง ๆ ของพชื สืบค้นได้ (สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับส่วนต่าง ๆ ของพืชที่สังเกต แล้วบันทึก เพิ่มเติมลงในตาราง ) 8. เมอ่ื นกั เรยี นเข้าใจวิธีการทากิจกรรมในทาอย่างไรแล้ว นักเรียนจะได้ปฏิบัติ ตามขนั ตอน ดงั นี 8.1 สังเกตสว่ นต่าง ๆ ของพืช 1 ชนิด ออกแบบตารางและบันทึกผล (S1, S6) ครูเตรียมพืชให้นักเรียนกลุ่มละ 1 ชนิด แต่ละกลุ่มต้องได้พืชไม่ซากัน และต้องมีทังพืชทีม่ ดี อกและไม่มีดอก 8.2 สืบค้นข้อมูลเกย่ี วกบั ส่วนตา่ ง ๆ ของพืชที่สังเกต แล้วบันทึกเพิ่มเติมลง ในตาราง (S6) (C6) หากครูพบว่าข้อมูลที่นักเรียนสังเกตและสืบค้นยังไม่ถูกต้อง ครบถ้วน ให้ครูแกไ้ ขกอ่ นการนาเสนอ โดยเฉพาะขอ้ มลู เรอื่ งการมีดอกของพชื 8.3 นาเสนอผลการสังเกตและผลการสืบค้น (C4) 8.4 บนั ทกึ ขอ้ มูลทีเ่ พ่ือนนาเสนอเพิ่มเติมลงในตารางของกลุ่มตนเอง 8.5 ลงความเหน็ ร่วมกันเก่ียวกบั ส่วนต่าง ๆ ของพชื แต่ละชนดิ (S8) 8.6 ร่วมกันอภิปราย และกาหนดเกณฑ์ในการจาแนกพืช และจาแนกพืช ตามเกณฑ์ท่กี าหนด (S4)  สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook