ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ พระกรรภริ มย์ (พระเสมาธิปัตยห์ รือพระเสนาธปิ ัตย์) 201 9. p196-214 colour 7 Sep.indd 201 9/7/12 3:09:37 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ พระกรรภิรมย์ (พระฉตั รชยั ) 202 9. p196-214 colour 6 Sep.indd 202 9/6/12 8:03:35 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ พระกรรภริ มย์ (พระเกาวพา่ ห์ หรอื พระเกาวพ่าย) 203 9. p196-214 colour 7 Sep.indd 203 9/7/12 8:16:57 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ พระอภริ ุม ฉตั ร 7 ชั้น ปักหกั ทองขวาง พระอภิรมุ ฉตั ร 7 ชัน้ ทองแผ่ลวด 204 9. p196-214 colour 6 Sep.indd 204 9/6/12 8:03:43 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ พระอภริ มุ ฉตั ร 5 ชัน้ ปกั หกั ทองขวาง พระอภริ มุ ฉตั ร 5 ชนั้ ทองแผล่ วด 205 9. p196-214 colour 6 Sep.indd 205 9/6/12 8:03:47 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ ชุมสาย ฉตั ร 3 ช้ัน ปักหกั ทองขวาง 206 9. p196-214 colour 6 Sep.indd 206 9/6/12 8:03:50 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ ฉตั รเบญจา 5 ชน้ั 207 9. p196-214 colour 6 Sep.indd 207 9/6/12 8:03:52 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ พระกลด 208 9. p196-214 colour 6 Sep.indd 208 9/6/12 8:03:55 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ รว้ิ ขบวนพระราชอิสรยิ ยศในการเสดจ็ พระราชดำเนินโดยขบวนราบใหญ่ไปวดั พระศรีรตั นศาสดาราม เพ่ือทรงปฏิญาณพระองคเ์ ป็นพุทธศาสนปู ถมั ภกในวนั บรมราชาภเิ ษก วันที่ ๕ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๙๓ 209 9. p196-214 colour 6 Sep.indd 209 9/6/12 8:03:59 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ พดั โบก (รปู ช้อย) 210 พัดโบก (รปู มน) 9. p196-214 colour 6 Sep.indd 210 9/6/12 8:04:05 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ บังแทรก ปักหักทองขวาง 211 บงั แทรก ทองแผ่ลวด 9. p196-214 colour 6 Sep.indd 211 9/6/12 8:04:09 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ จามร ปกั หกั ทองขวาง ลวดลายจามร ปักหักทองขวาง จามร ทองแผล่ วด ลวดลายจามร ทองแผ่ลวด 212 9. p196-214 colour 6 Sep.indd 212 9/6/12 8:04:16 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ บังสูรย์ ปักหักทองขวาง (ใหญ)่ ลวดลายบงั สรู ย์ ปกั หกั ทองขวาง (ใหญ่) บังสูรย์ ทองแผ่ลวด (ใหญ่) ลวดลายบังสูรย์ ทองแผ่ลวด (ใหญ)่ 213 9. p196-214 colour 6 Sep.indd 213 9/6/12 8:04:24 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ ฉัตรราชวัติ ในบริเวณพระท่ีน่งั กาญจนาภิเษก ทอ้ งสนามหลวง 214 9. p196-214 colour 6 Sep.indd 214 9/6/12 8:04:27 PM
หมวดที่ ๗ เคร่ืองราชกกธุ ภัณฑแ์ ละเคร่ืองราชปู โภค เครอื่ งราชกกุธภัณฑ์ – เครื่องประกอบพระบรมราชอสิ รยิ ยศของพระมหากษัตรยิ ์ เบญจราชกกุธภณั ฑ์ – เคร่ืองประกอบพระบรมราชอิสริยยศของพระมหากษัตริย์ มี ๒ แบบ แตล่ ะแบบมี ๕ อยา่ ง แบบ ก ใช้ในสมัยกรงุ ศรอี ยธุ ยา ๑. พระมหาเศวตฉตั ร ๒. พระมหาพิชัยมงกุฎ ๓. พระแสงขรรค์ชยั ศร ี ๔. พดั วาลวิชนี และพระแส้จามร ี ๕. ฉลองพระบาทเชิงงอน แบบ ข ใช้ในสมยั กรุงรตั นโกสินทร ์ ๑. พระมหาพชิ ัยมงกุฎ ๒. พระแสงขรรคช์ ยั ศรี ๓. ธารพระกรชยั พฤกษ ์ ๔. พัดวาลวชิ นี และพระแส้จามร ี ๕. ฉลองพระบาทเชงิ งอน พระมหาเศวตฉัตร เป็นราชกกุธภัณฑ์ของพระ มหากษัตริย์ มีลักษณะเป็นฉัตรผ้าขาว ๙ ช้ัน แต่ละชั้นมี ระบายขลิบทองแผ่ลวด ๓ ช้ัน และมียอด ใช้ปักที่พระ แท่นราชอาสน์ราชบัลลังก์ กางก้ันเหนือพระแท่นท่ีบรรทม ปักพระยานมาศ และแขวนกางกั้นพระโกศทรงพระบรม- ศพ เป็นต้น แต่โบราณมาไทยถือเศวตฉัตรเป็นสิ่งสำคัญย่ิง กว่าสิ่งอื่นใด เศวตฉัตรหมายถึงความเป็นราชามหากษัตริย์ เชน่ เดยี วกบั มงกฎุ ของชาวยุโรป พระมหาพิชัยมงกุฎ เป็นราชกกุธภัณฑ์ประเภท ราชศิราภรณ์ ทำด้วยทองคำลงยา ยอดประดับนวรัตน์ สำหรับพระมหากษัตริย์ทรงในงานพระราชพิธีสำคัญ เช่น พระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก เป็นตน้ 215 10. up215-234-7 Sep.indd 215 9/7/12 8:49:25 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ พระแสงขรรค์ชัยศรี พระแสงองค์นี้กล่าวกันมาว่า พระขรรค์เป็นของเก่า เดิมตกจมอยู่ในทะเลสาบเมือง เสียมราฐ ชาวประมงทอดแหได้ ผู้ว่าราชการเมืองเสียม- ราฐนำมาทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เมื่อวันพระแสงองค์นี้ มาถึง อสุนีบาตตกในพระนครถึง ๗ แห่ง เช่น ท่ีประตู วิเศษไชยศรี และประตูพิมานไชยศรี ซึ่งเป็นทางท่ีอัญเชิญ พระแสงองคน์ ผ้ี ่าน ธารพระกรชัยพฤกษ์ ไม้เท้าทำด้วยไม้ชัยพฤกษ์ หุ้มทองคำ พัดวาลวิชนี พัดทำด้วยใบตาล ด้ามมีเครื่อง ประกอบเป็นทองคำลงยา พระแส้จามรี แส้ทำด้วยขนจามรี ด้ามเป็นแก้ว ปัจจุบันใช้พระแส้หางช้างเผือกแทน ฉลองพระบาทเชิงงอน รองเท้าทำด้วยทองคำ ลงยา เครื่องราชกกุธภัณฑ์ท้ังหมดน้ีสร้างในรัชสมัย พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช ราชศิราภรณ์ – เคร่ืองสวมศีรษะสำหรับพระมหากษัตริย์ใช้ทรงในโอกาส ต่างๆ ประกอบด้วย ๑. พระมหาพิชัยมงกุฎ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอด ฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดให้สร้างขึ้นเป็นเคร่ืองราช- กกุธภัณฑ์ ลักษณะยอดเป็นพุ่มทรงข้าวบิณฑ์ ทำด้วย ทองคำจำหลักลวดลายลงยาราชาวดีประดับเพชร สูง ๖๖ เซนติเมตร น้ำหนัก ๗,๓๐๐ กรัม ต่อมา พระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้นำเพชรเม็ดใหญ่ขนาดเส้น ผ่าศูนย์กลาง ๑.๖ เซนติเมตร สูง ๑.๔ เซนติเมตร มา ประดับยอดแทนพุ่มข้าวบิณฑ์ พระราชทานนามเพชรเม็ด นว้ี ่า พระมหาวิเชยี รมณี 216 10. up215-234-7 Sep.indd 216 9/7/12 8:49:27 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ ๒. พระชฎา ๕ ยอด พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราชโปรดให้สร้างข้ึนสำหรับทรงในพระราชพิธี สำคัญ ลักษณะคล้ายลอมพอก ยอดชฎารูปทรงกระบอก เรียวยาว ปลายยอดทำเป็นช่อหางไหล ๕ เส้นบัดปลาย ด้านซ้ายปักช่อใบสน กับมีพระกรรเจียกคู่หนึ่ง ทำด้วย ทองคำลงยาราชาวดี ประดับอญั มณตี า่ งสี ๓. พระชฎา ๕ ยอดรัชกาลท่ี ๕ หรือ พระชฎามหา ชมพู พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้ สร้างขึ้น ลักษณะคล้ายกับพระชฎา ๕ ยอดรัชกาลท่ี ๑ ต่างกนั แตก่ ารลงยาตกแตง่ เปน็ สชี มพทู ้งั องค์ ปกั ใบสนหรือ บางโอกาสปักขนนกการเวกแทนชอ่ ใบสน ๔. พระชฎา ๕ ยอดรัชกาลท่ี ๖ พระบาทสมเด็จพระ มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้สร้างขึ้น ลักษณะคล้ายกับ พระชฎา ๕ ยอดรัชกาลท่ี ๕ ต่างกันตรงส่วนจอมมีรูปทรง ค่อนข้างราบ กับส่วนปลายจำหลักเป็นลายกาบไผ่ ยอด หางไหลทั้ง ๕ เส้นเรียงชิดติดกันสะบัดปลายต้ังขึ้น ด้าน ซา้ ยปักขนนกการเวก ๕. พระชฎา ๕ ยอดรัชกาลท่ี ๗ พระบาทสมเด็จพระ ปกเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้สร้างข้ึน ลักษณะคล้ายกับพระ ชฎา ๕ ยอดรัชกาลที่ ๖ ๖. พระชฎากลีบ หรือ พระชฎาพระกลีบ พระบาท สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดให้สร้างขึ้น ลักษณะคล้ายลอมพอก ยอดพระชฎารูปทรงกระบอกยาว เรียว ปลายบัด ปักช่อใบสน กับมีพระกรรเจียกประกอบ คู่หนึ่ง ๗. พระชฎาเดินหน พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราชโปรดให้สร้างข้ึน ลักษณะคล้ายลอมพอก ยอดพระชฎาทำเป็นอย่างหางไหลยาวเรียว ปลายบัด ด้าน ซา้ ยปกั พระย่ีกา่ 217 10. up215-234-7 Sep.indd 217 9/7/12 8:49:29 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ ๘. พระอนุราชมงกุฎ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวโปรดให้สร้างข้ึนสำหรับพระบาทสมเด็จพระ ปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวในการพระราชพิธีบวรราชาภิเษก และ ถือเป็นราชประเพณีที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะ พระราชทานแก่สมเด็จพระยุพราชในแผ่นดินน้ัน ลักษณะ คล้ายพระมหาพิชัยมงกุฎ ต่างกันแต่ส่วนปลายยอดทรง กรวยเรียวแหลม จำหลักลายลงยาเป็นลายกาบไผ่ และ ปลายท่ีสุดไม่ประดับเพชรลูก มีพระกรรเจียกประกอบ คูห่ นึง่ ๙. พระมาลาเส้าสะเทิน ลักษณะเป็นอย่างหมวกทรง กระบอก ปีกกว้างโดยรอบ ทำด้วยผ้าตาด หลังพระมาลา ประดับด้วยยอดทองคำรูปพระเก้ียวยอด หรือ จุลมงกุฎ ด้านซ้ายปักพระย่ีก่าทองคำเสียบขนนกการเวก มี ๗ องค์ สตี า่ งๆ กนั ๑๐. พระมาลาเส้าสูง หรือพระมาลาทรงประพาส ลักษณะเป็นอย่างหมวกทรงกระบอก ปีกกว้างโดยรอบ เฉพาะปีกข้างซ้ายพับตลบขึ้น ทำด้วยสักหลาดสีกรมท่า หลังพระมาลาประดับด้วยยอดทองคำรูปพระเกี้ยวยอด หรือจุลมงกุฎ ด้านซ้ายพระมาลาปักพระย่ีก่าทองคำเสียบ ขนนกการเวก ๑๑. พระมาลาเบ่ียง พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราช โปรดให้สร้างเลียนอย่างพระมาลาเบ่ียง องค์เดิมของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทำด้วยไม้ไผ่สาน ทรงลูกฟักตัด มีปีกคลุ่มโดยรอบ ลงรักทั้งด้านในและด้าน นอกสีดำเป็นมัน ด้านในองค์พระมาลามีรังสานด้วยไม้ไผ่ อย่างรังงอบ ทรงลูกฟักตัด ขอบพระมาลาประดับด้วย พระพุทธรปู ๒๑ องค ์ ๑๒. พระมาลาเพชรใหญ่รัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้สร้างขึ้น ลักษณะอย่าง 218 10. up215-234-7 Sep.indd 218 9/7/12 8:49:31 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ หมวกทรงมะนาวตัด ขอบพระมาลาม้วนกลับเป็นลอนกลม โดยรอบ ทำดว้ ยสกั หลาดสีดำ ประดับเพชร ๑๓. พระมาลาเพชรน้อยรัชกาลที่ ๗ พระบาทสมเด็จ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้สร้างข้ึน ลักษณะคล้ายกับ พระมาลาเพชรใหญ่รัชกาลที่ ๔ ทำด้วยสักหลาดสีดำ ประดับเพชร ตอนบนทำเป็นยอดทรงพระเกีย้ วน้อย ๑๔. พระจุลมงกุฎ หรือ พระเกี้ยวยอด ลักษณะเป็น วงสำหรับเก้ียวหรือรัดล้อมพระเมาฬี พระจุลมงกุฎทำด้วย ทองคำ ยอดเป็นทรงมงกฎุ อย่างน้อย ฉัตร – เคร่ืองสูงสำหรับแขวน ปัก ต้ัง หรือเชิญเข้ากระบวนแห่ เป็นเกียรติยศ ฉัตรปักน้ัน คันฉัตรอาจต้ังตรง หรือหักเป็น มุมฉาก ๒ ทบ ท่ีเรียกว่าฉัตรคันดาร ฉัตรมี ๒ ประเภท ดงั นี้ ๑. ฉัตรแขวนหรือปักแสดงพระอิสริยยศ เป็นฉัตรเดี่ยว มี ๔ ชนดิ คือ ๑.๑ เศวตฉตั ร มี ๔ แบบดังน ้ี ๑.๑.๑ พระนพปฎลมหาเศวตฉัตร(๑) มี ๙ ชั้น แต่ละช้ันมีระบายขลิบทองแผ่ลวด ๓ ช้ัน ชั้นล่างสุดห้อย อุบะจำปาทอง สำหรับพระมหากษัตริย์ที่ทรงรับพระบรม- ราชาภิเษกแล้ว ใช้แขวนหรือปักเหนือพระราชอาสน์ราช- บัลลังก์ในท้องพระโรงพระมหาปราสาทราชมณเฑียรสถาน แขวนเหนอื พระแทน่ ราชปญั จถรณภ์ ายในพระมหามณเฑยี ร แขวนเหนือพระโกศทรงพระบรมศพ ณ ที่ประดิษฐาน พระบรมศพ ปกั ยอดพระเมรมุ าศ (ซง่ึ จะปรบั รปู ทรงไปตาม สดั สว่ นของสถาปตั ยกรรม) ปกั บนพระยานมาศสามลำคาน ในการเชิญพระบรมศพโดยกระบวนพระราชอิสริยยศ ปัก เหนือเกรินขณะเชิญพระโกศพระบรมศพขึ้นสู่พระมหา (๑) เป็นเคร่อื งประกอบพระราชอิสริยยศแห่งพระมหากษตั ริย์ ตอ้ งประดิษฐานไวต้ ลอดรัชกาล หากชำรุดต้องต้ังน่ังร้านข้นึ ซ่อม 219 10. up215-234-7 Sep.indd 219 9/7/12 8:49:33 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ พิชัยราชรถ และเชิญขึ้นประดิษฐานเหนือพระเมรุมาศ แขวนเหนือพระจติ กาธานเมอ่ื สุมและเกบ็ พระบรมอฐั ิ ๑.๑.๒ พระสัปตปฎลเศวตฉัตร หรือท่ีพระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเรียกว่า พระสัตปฎล เศวตฉัตร หรือ พระบวรเศวตฉัตร (ใช้สำหรับกรมพระ ราชวังบวรสถานมงคล) มี ๗ ช้ัน มีระบายขลิบทองแผ่ ลวด ๓ ช้ัน ช้ันล่างสุดห้อยอุบะจำปาทอง ใช้สำหรับพระ มหากษัตริย์ท่ียังมิได้รับพระบรมราชาภิเษก สมเด็จพระ บรมราชินนี าถ สมเดจ็ พระบรมราชนิ ี สมเดจ็ พระบรมราช- ชนก สมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระยุพราช สมเด็จ พระบรมโอรสาธริ าช สยามมกฎุ ราชกมุ าร สมเดจ็ พระเทพ- รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี นอกจากนี้ใช้แขวน หรือปักเหนือพระที่น่ังพุดตาน ปักเหนือพระคชาธารพระ ที่น่ัง ปักเหนือพระที่นั่งอัฐทิศอุทุมพรราชอาสน์สำหรับ รับน้ำอภิเษก และปักเหนือพระที่นั่งภัทรบิฐท่ีประทับรับ เค ร่ื อ ง ร า ช ก กุ ธ ภั ณฑ์ ในก า ร พ ร ะ ร า ช พิ ธี บ ร ม ร า ช า ภิ เษ ก ต่อมาในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช ปักพระนพปฎลมหาเศวตฉัตรเหนือพระท่ีน่ัง ภัทรบิฐแทนพระสัปตปฎลเศวตฉัตร นอกน้ันใช้ปักหรือ แขวนเชน่ เดียวกบั พระนพปฎลมหาเศวตฉตั ร ๑.๑.๓ พระเบญจปฎลเศวตฉัตร มี ๕ ชั้น แต่ละ ช้ันมีระบายขลิบทองแผ่ลวด ๒ ชั้น ชั้นล่างสุดห้อยอุบะ จำปาทองสำหรบั พระราชวงศช์ นั้ สมเดจ็ เจา้ ฟา้ พระราชเทวี พระอัครชายาเธอ และสมเด็จพระสังฆราชเจ้า ใช้ปักหรือ แขวนเช่นเดียวกับพระนพปฎลมหาเศวตฉตั ร ๑.๑.๔ เศวตฉัตร ๓ ช้ัน แต่ละชั้นมีระบายขลิบ ทองแผ่ลวด ๒ ช้ัน ช้ันล่างห้อยอุบะจำปาทอง สำหรับ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ใช้ปักเหนือ พระแท่นประจำตำแหน่ง แขวนเหนือพระโกศ ณ ที่ 220 10. up215-234-7 Sep.indd 220 9/7/12 8:49:35 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ ประดิษฐานพระศพ และแขวนเหนือพระจิตกาธานเม่ือสุม และเกบ็ พระอฐั ิ ๑.๒ ฉัตรขาวลายทอง หรือ ฉัตรกำมะลอ มี ๕ ช้ัน พ้ืนขาวเขียนลายทอง ชั้นล่างสุดห้อยอุบะจำปาทอง สำหรับพระราชวงศ์ชั้นพระองค์เจ้าที่ดำรงพระอิสริยยศ เป็นเจ้าต่างกรมช้ันกรมพระยา ใช้แขวนเหนือพระโกศ ณ ทต่ี ง้ั พระศพ และแขวนเหนอื พระจติ กาธานเมอื่ สมุ และเกบ็ พระอัฐิ ๑.๓ ฉตั รตาด มี ๒ แบบ คือ ๑.๓.๑ ฉัตรตาดขาว ๕ ช้ัน แต่ละช้ันมีระบาย ๒ ชั้น ขอบระบายติดแถบกระจังเงิน ชั้นล่างสุดห้อยอุบะ จำปาทอง สำหรับพระราชโอรสธิดาของพระมหากษัตริย์ท่ี ดำรงพระอิสริยยศพระองค์เจ้าต่างกรมชั้นกรมพระ ใช้เช่น เดียวกับขอ้ ๑.๒ ๑.๓.๒ ฉัตรตาดเหลือง ๕ ชั้น แต่ละชั้นมีระบาย ติดแถบกระจังเงิน ช้ันล่างสุดห้อยอุบะจำปาทอง สำหรับ พระราชโอรสธิดาของพระมหากษัตริย์ท่ีดำรงพระอิสริยยศ พระองคเ์ จา้ ตา่ งกรมชนั้ กรมหลวง และสมเดจ็ พระสงั ฆราช เจ้า ใช้ปักเหนือพระแท่นตำแหน่ง นอกน้ันใช้เช่นเดียวกับ ขอ้ ๑.๒ ๑.๔ ฉัตรโหมด มี ๕ แบบ ดงั น้ ี ๑.๔.๑ ฉัตรโหมดขาว ๕ ชั้น แต่ละชั้นมีระบาย ขอบติดแถบกระจังเงิน ช้ันล่างสุดห้อยอุบะจำปาทอง สำหรับพระราชโอรสธิดาของพระมหากษัตริย์ท่ีดำรงพระ อิสรยิ ยศเป็นพระองค์เจ้าตา่ งกรมช้ันกรมขุน ๑.๔.๒ ฉัตรโหมดเหลือง ๕ ชั้น ลักษณะเดียวกับ ฉัตรตาด สำหรับพระราชโอรสธิดาของพระมหากษัตริย์ ที่ดำรงพระอิสรยิ ยศพระองค์เจ้าตา่ งกรมช้นั กรมหมืน่ 221 10. up215-234-7 Sep.indd 221 9/7/12 8:49:37 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ ๑.๔.๓ ฉัตรโหมดทอง ๕ ช้ัน ลักษณะเดียวกับ ฉัตรตาด สำหรับพระราชโอรสธิดาของพระมหากษัตริย์ที่ ดำรงพระอิสริยยศพระองคเ์ จา้ แตม่ ไิ ดท้ รงกรม ๑.๔.๔ ฉัตรโหมดเงิน ๓ ชั้น ลักษณะเดียวกับ ฉัตรตาด สำหรับพระราชโอรสธิดาในสมเด็จพระบวรราช เจา้ ท่ดี ำรงพระอิสรยิ ยศพระองค์เจา้ ตา่ งกรม ๑.๔.๕ ฉัตรโหมดทอง ๓ ชั้น ลักษณะเดียวกับ ฉัตรตาด สำหรับพระราชโอรสธิดาในสมเด็จพระบวรราช เจา้ ทดี่ ำรงพระอิสริยยศพระองคเ์ จ้าท่มี ไิ ด้ทรงกรม ๒. ฉัตรต้ังในพิธีหรือเชิญเข้ากระบวนแห่เป็นเกียรติยศ มี ๖ ชนิด คือ ๒.๑ พระกรรภริ มย์ ฉัตรสขี าว ๕ ช้ัน ลงยันต์ด้วยเส้น ทอง สำรับหน่ึงมี ๓ องค์ คือ พระเสมาธิปัตย์หรือพระ เสนาธิปัตย์ พระฉัตรชัย พระเกาวพ่ายหรือพระเกาวพ่าห์ ใช้กางเชิญนำพระราชยานเวลาพระมหากษัตริย์เสด็จ พระราชดำเนินโดยขบวนพยุหยาตรา หรือขบวนแห่พระ บรมวงศ์ชั้นสมเด็จเจ้าฟ้า และขบวนแห่ช้างสำคัญในพระ ราชพธิ ี ๒.๒ พระอภิรุมชุมสาย เป็นฉัตรเคร่ืองสูง ใช้ในขบวน แห่หรือสวมฐานต้ังเป็นเกียรติยศประจำสถานท่ีหรือเฉพาะ งาน สำรับหนึ่งประกอบด้วยพระอภิรุม ฉัตร ๗ ชั้น ๔, พระอภิรุม ฉัตร ๕ ชั้น ๑๐, ชุมสาย ฉัตร ๓ ช้ัน ๔ พระ อภิรมุ ชุมสาย มี ๒ แบบ ดังน ี้ ๒.๒.๑ พระอภิรุมชุมสายปักหักทองขวาง ทำ ด้วยผ้ากำมะหย่ี แต่ละชั้นมีระบายซ้อน ๒ ช้ัน ปักด้ินทอง ตามขวางของลายต้ังแต่เพดานถึงระบาย ใช้สำหรับพระ มหากษัตริย์ ต่อมาโปรดให้ใช้สำหรับสมเด็จพระบรมราช- ชนนี สมเด็จพระอัครมเหสี และสมเด็จพระยุพราช ใน สมัยรัตนโกสินทร์ใช้ ๔ สี คือ ฉัตร ๗ ชั้น พื้นสีส้ม 222 10. up215-234-7 Sep.indd 222 9/7/12 8:49:38 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ ลูกขนาบท่ีระบายสีแดงเข้ม ฉัตร ๕ ช้ัน พ้ืนสีแดง ลูก ขนาบท่ีระบายสีน้ำเงิน พ้ืนสีน้ำเงิน ลูกขนาบท่ีระบายเป็น สีแดง ส่วนฉัตรชุมสายพื้นสีเขียว ลูกขนาบท่ีระบายเป็นสี แดงเข้ม ๒.๒.๒ พระอภิรุมชุมสายทองแผ่ลวด เป็นฉัตร ผ้าสีต่างๆ แต่ละชั้นมีระบายซ้อน ๒ ช้ัน เดินทองแผ่ลวด เป็นลวดลายท้ังบนเพดานและที่ระบาย ใช้เต็มสำรับ สำหรับพระราชวงศ์ชั้นสมเด็จเจ้าฟ้า ส่วนพระองค์เจ้า พระสงฆ์ทรงสมณศักด์ิตั้งแต่สมเด็จพระสังฆราชเจ้า และ สมเด็จพระสงั ฆราช ไม่ใชฉ้ ัตรชุมสาย ๒.๓ ฉัตรเครื่องสูงวังหน้า มีระบาย ๒ ช้ันสีเดียวกัน เหมือนฉัตรทองแผ่ลวด สำหรับสมเด็จพระบวรราชเจ้า กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพระราชโอรสธิดา เปน็ เครอื่ งสงู ทองแผ่ลวดสตี า่ งๆ สำรบั หน่ึงมีฉตั ร ๕ ช้ัน ๔ (ใช้ แทนฉตั ร ๗ ชัน้ ) ฉตั ร ๓ ชน้ั ๑๐ (ใช้แทนฉัตร ๕ ชน้ั ) ๒.๔ ฉัตรเครื่อง เป็นฉัตร ๕ ช้ัน เหมือนฉัตรทองแผ่ ลวด ใช้สำหรับศพพระสงฆ์ทรงสมณศักด์ิชั้นสมเด็จพระ ราชาคณะ ศพผู้ได้รับพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ จุลจอมเกล้า ช้ันปฐมจุลจอมเกล้า ศพผู้มีบรรดาศักดิ์ช้ัน เจ้าพระยาสุพรรณบัฏ หรือหิรัญบัฏ นอกจากน้ียังใช้ สำหรับศพผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ประธานองค- มนตรี องคมนตรี นายกรฐั มนตรี ประธานรฐั สภา ประธาน สภาผู้แทนราษฎร ประธานวุฒิสภา ประธานศาลฎีกา และประธานองคก์ รอสิ ระทก่ี ำหนดไวใ้ นรฐั ธรรมนญู ทถี่ งึ แก่ อสญั กรรมขณะดำรงตำแหน่ง ๒.๕ ฉัตรเบญจา เป็นฉัตร ๕ ชั้น ทรงชะลูดเช่นเดียว กบั ฉัตร ๕ ชัน้ ทองแผ่ลวด แตไ่ มเ่ ดินทองแผล่ วดบนเพดาน ฉัตร และระบายที่ซ้อนกันเป็นผ้าต่างสี ใช้สำหรับการศพ พระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์ต้ังแต่พระราชาคณะช้ันธรรมถึง 223 10. up215-234-7 Sep.indd 223 9/7/12 8:49:40 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ พระราชาคณะช้ันเจ้าคณะรอง พระราชวงศ์ชั้นหม่อมเจ้า ที่ได้รับพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ต่ำกว่าทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ หรือไม่ได้รับพระราชทาน เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และศพผู้ได้รับพระราชทานเครื่อง ราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้าต้ังแต่ช้ันทุติยจุลจอมเกล้า ข้ึนไป แต่ไม่ถึงปฐมจุลจอมเกล้า ผู้ได้รับเคร่ืองราชอิสริยา- ภรณป์ ฐมดเิ รกคณุ าภรณ์ ประถมาภรณม์ งกฎุ ไทย ประถมา- ภรณ์ช้างเผือก มหาวชิรมงกุฎ มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก รวมถึงบิดามารดาของผู้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี นายก รัฐมนตรี ประธานรัฐสภา ประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานวุฒิสภา ประธานศาลฎีกา และประธานองค์กร อิสระท่ีกำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ ท่ีถึงแก่กรรมขณะที่บุตร ดำรงตำแหน่ง ๒.๖ ฉัตรราชวัติ ฉัตรท่ีปักไว้ท่ีร้ัวบอกเขตมณฑลพิธี เป็นฉัตรสีต่างๆ อันเป็นแม่สีเรียกว่าเบญจรงค์ และฉัตร เงิน ทอง นาก มีระบายชั้นเดียว รูปทรงเหมือนฉัตรเคร่ือง สูงบ้าง รูปทรงกระบอกบ้าง เป็นฉัตรระบายกลีบบัวบ้าง ทำด้วยโลหะสลักโปร่งบ้าง จำนวนชั้นของฉัตรสุดแต่งาน ถ้าเป็นงานสำคัญของพระมหากษัตริย์ เช่น ราชวัติมุมพระ มณฑปพระกระยาสนาน ราชวัติพระเมรุมาศใช้ฉัตร ๗ ชั้น พระราชวงศ์ชั้นสูงใช้ ๕ ช้ัน หรือใช้ทั้ง ๗ ช้ัน และ ๕ ช้ัน หรอื บางงานใชฉ้ ตั รทอง เงนิ นาก เทา่ นัน้ พระกลด – ร่มด้ามยาวสำหรบั ประกอบพระเกียรติยศ พระกลดคันสนั้ , พระกลดนอ้ ย – ร่ม พระราชลัญจกร – ตราสำหรบั แผน่ ดินสำหรบั ใช้ประทับเอกสารสำคัญ พระสังวาล – พระสงั วาล หรอื สรอ้ ยตวั ใชส้ วมเฉวยี งบา่ สำหรบั พระมหา กษัตรยิ ์ทรงในงานพระราชพธิ ีสำคัญ มี ๒ องค์ คอื 224 10. up215-234-7 Sep.indd 224 9/7/12 8:49:42 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ ๑. พระสงั วาลพระนพ เปน็ สรอ้ ยออ่ นรวม ๓ เสน้ เรยี ง กัน ทำด้วยทองคำ มีดอกประจำยามดอกหนึง่ ประดับด้วย นพรัตนมณี ๙ ชนิดคอื เพชร ทับทมิ มรกต บุษราคมั นิล โกเมน มกุ ดา เพทาย และไพฑรู ย ์ ๒. พระมหาสังวาลนพรัตน์ เป็นสังวาลแฝดทำด้วย ทองคำ มีดอกประจำยามทำด้วยทองฝังนพรัตนมณี ๙ ชนิดคือ เพชร ทับทิม มรกต บุษราคัม โกเมน นิล มุกดา เพทาย และไพฑูรย์ รวม ๓ ชุดเรียงต่อกัน ทั้งสายมี ๒๗ ดอก เครอ่ื งราชูปโภค – เครื่องใช้ตามปรกติของพระมหากษัตริย์ มีหลายส่ิงด้วยกัน กล่าวเฉพาะองค์ที่สำคัญซ่ึงเป็นเครื่องประกอบพระราช- อสิ ริยยศทใ่ี ช้ตงั้ แตง่ ในงานพระราชพิธี ได้แก ่ ๑. พานพระขนั หมาก เป็นพานสเ่ี หลย่ี มสองชน้ั ย่อมมุ ไม้สิบสอง มีซองพลู และตลับพร้อมเคร่ืองใน ทำด้วย ทองคำลงยาประดับอัญมณีท้ังชุด สำหรับวางพระศรี คือ หมาก พลู และยาเส้น เปน็ ตน้ ๒. พระมณฑปรัตนกรัณฑ์ เป็นภาชนะทรงมณฑป บรรจุน้ำเย็น ทำด้วยทองคำลงยาประดับอัญมณี มีพาน รองและจอกลอย ๓. พระสุพรรณราช คือ กระโถนใหญ่ ทำด้วยทองคำ ลงยาจำหลักลาย ๔. พระสุพรรณศรีบัวแฉก คือ กระโถนเล็ก ทำด้วย ทองคำลงยาประดบั อัญมณี พระแสงราชศัสตราวธุ – อาวธุ ของพระมหากษตั รยิ ์ ทีส่ ำคัญเช่น ๑. พระแสงราชศัสตรา ดาบที่พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้สร้างขึ้นพระราชทานแก่ 225 10. up215-234-7 Sep.indd 225 9/7/12 8:49:44 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ เมืองสำคัญต่างๆ เป็นพระแสงอาญาสิทธิ์แทนพระองค์ ในการปกครอง(๑) ๒. พระแสงอษั ฎาวุธ อาวุธทีใ่ ชต้ งั้ แต่งในการพระราช- พิธีบรมราชาภิเษกและพระราชพิธีท่ีสำคัญ พระบาท สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดให้สร้างข้ึน มี ๘ องค์ ไดแ้ ก่ ๑. พระแสงตร ี ๒. พระแสงจกั ร ๓. พระแสงธน ู ๔. พระแสงของ้าวแสนพลพ่าย ๕. พระแสงปืนคาบชุดขา้ มแมน่ ำ้ สะโตง ๖. พระแสงหอกเพชรรตั น หรอื พระแสงหอกชยั ๗. พระแสงดาบเชลย ๘. พระแสงดาบมเี ขน ๓. พระแสงดาบคาบค่าย ดาบ ฝักและด้ามทำด้วย ทองคำ ๔. พระแสงดาบใจเพชร ดาบ ฝักและด้ามทำด้วย ทองคำฝังเพชร ๕. พระแสงเวียด ดาบ ฝักและด้ามทำด้วยทองคำ พระเจ้าเวียดนามญาลองถวายพระบาทสมเด็จพระพุทธ- ยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ๖. พระแสงฟนั ปลา ดาบ มลี ายที่ใบดาบลกั ษณะคลา้ ย ฟันของปลา ฝกั และดา้ มทำดว้ ยทองคำ ๗. พระแสงแฝด ดาบ มี ๒ เล่มซ้อนอยูใ่ นฝกั เดียวกนั ฝกั และดา้ มทำดว้ ยทองคำ ๘. พระแสงฝักทองเกลี้ยง ดาบ ฝักและด้ามทำด้วย ทองคำ (๑) เม่ือพระมหากษัตริย์เสด็จพระราชดำเนินไปยังจังหวัดที่ได้รับพระราชทานพระแสงราชศัสตรา ผู้ว่าราชการจังหวัดจะเชิญ พระแสงราชศัสตราดังกล่าวมาทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย แสดงว่าถวายพระราชอำนาจคืน และเมื่อเสด็จพระราชดำเนินกลับ จะพระราชทานคนื 226 10. up215-234-7 Sep.indd 226 9/7/12 8:49:46 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราชทรงฉลองพระองคเ์ ครอื่ งต้น 9/6/12 8:18:23 PM บรมขตั ตยิ ราชภษู ติ าภรณ์ ทรงพระมหาสังวาลนพรัตน์ 227 10. p215-234-6 Sep.indd 227
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ พระสังวาลพระนพ พระมหาสังวาลนพรตั น ์ 228 10. p215-234-6 Sep.indd 228 9/6/12 8:18:29 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ พานพระขนั หมาก พระมณฑปรัตนกรัณฑ ์ 229 10. p215-234-6 Sep.indd 229 9/6/12 8:18:34 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ พระแสงจกั ร และพระแสงตรีศลู พระแสงศรกำลังราม 230 10. p215-234-6 Sep.indd 230 9/6/12 8:18:40 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ พระแสงดาบคาบค่าย พระแสงดาบใจเพชร 231 10. p215-234-6 Sep.indd 231 9/6/12 8:18:47 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ พระแสงเวยี ด พระแสงฟนั ปลา 232 10. p215-234-6 Sep.indd 232 9/6/12 8:18:55 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ พระแสงดาบฝักทองเกล้ยี ง พระแสงกระบน่ี าคสามเศยี ร 233 10. p215-234-6 Sep.indd 233 9/6/12 8:19:00 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ พระสุพรรณราช พระสุพรรณศรีบัวแฉก 234 10. p215-234-6 Sep.indd 234 9/6/12 8:19:04 PM
หมวดท่ี ๘ พระราชนิเวศน์มณเฑียรสถาน พระบรมมหาราชวัง – วังใหญ่ของพระมหากษัตริย์ ราษฎรเรียกว่า วังหลวง พระราชวัง พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรด ให้สร้างขึ้นเป็นที่ประทับ และเป็นศูนย์การบริหารราชการ แผ่นดิน เรียกว่า พระราชวังหลวง ครั้นถึงรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้ประกาศ เป็น พระบรมมหาราชวัง ในกาลต่อมาแมพ้ ระมหากษัตริย์ จะมิได้เสด็จประทับ พระบรมมหาราชวังก็ยังเป็นสถานท่ี ประกอบการพระราชพิธีและรับรองพระราชอาคนั ตุกะ – วังของพระมหากษัตริย์ มีระดับความสำคัญรองจากพระ บรมมหาราชวัง เป็นท่ีประทับของพระมหากษัตริย์เช่น เดียวกัน วังใดท่ีจะเรียกว่า พระราชวัง ได้น้ัน พระมหา กษัตริย์จะทรงประกาศพระบรมราชโองการสถาปนาขึ้น เป็น พระราชวัง มิใช่ว่าวังใดที่จัดเป็นที่ประทับของพระ มหากษตั ริย์แล้วจะเรยี กว่า พระราชวัง ทงั้ หมด บรรดาวงั ที่มีประกาศพระบรมราชโองการยกขึ้นเป็น พระราชวัง แล้วนั้นตามหลักฐานที่ปรากฏในประชุมพงศาวดารภาค ๒๖ เรือ่ งตำนานวังเก่า มี ๑๙ พระราชวงั คือ สร้างในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราช ๑. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า) สร้างเป็นที่ ประทับของพระมหาอุปราช กรมพระราชวังบวรสถาน มงคล ปัจจุบันคือบริเวณพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร โรงละครแห่งชาติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า 235 11. up 235-244-7 Sep.indd 235 9/7/12 8:54:35 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ ๒. พระราชวังบวรสถานภิมุข (วังหลัง) สร้างเป็นที่ ประทับของกรมพระราชวังบวรสถานภิมุข อยู่ ณ ตำบล สวนลิ้นจ่ี ธนบุรี ปัจจุบันคือ บริเวณที่ต้ังโรงพยาบาล ศริ ริ าช สร้างในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หวั ๑. พระราชวังนันทอุทยาน สร้างข้ึนในสวนริมคลอง มอญฝ่ังเหนือ ปจั จบุ นั เปน็ ทีต่ ัง้ หนว่ ยงานของกองทพั เรือ ๒. พระราชวังปทุมวัน สร้างเป็นที่เสด็จประพาสในที่ ทุ่งนาบางกะปิ ริมคลองแสนแสบฝั่งใต้ ต่อมา พระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงแบ่งท่ีดินพระราชทาน ให้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพชรบูรณ์อินทราชัย ซ่ึงทรงสร้าง วังเพชรบูรณ์ และให้สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระ บรมราชชนก ซงึ่ ทรงสรา้ ง วงั สระปทุม มีวดั ปทมุ วนาราม คั่นกลาง ๓. พระราชวังสราญรมย์ สร้างข้ึนทางฝ่ังตะวันออก ถนนสนามไชย ปัจจุบันส่วนท่ีเป็นพระตำหนักอยู่ในความ ดูแลของกระทรวงการต่างประเทศ ส่วนท่ีเป็นพระราช- อุทยานสราญรมย์เป็นสวนสาธารณะอยู่ในความดูแลของ กรุงเทพมหานคร ๔. พระราชวังเมืองสมุทรปราการ สร้างขึ้นตรงข้าม กบั สถานรี ถไฟสมุทรปราการ ปจั จบุ ันรอื้ แลว้ ๕. พระราชวังบางปะอิน อำเภอบางปะอิน จังหวัด พระนครศรีอยุธยา สร้างข้ึนในท่ีเดิมท่ีสมเด็จพระเจ้า ปราสาททองทรงสร้างไว้ เมื่อกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่า พระราชวังถูกทิ้งร้างจนถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระ จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้สร้างพระที่นั่งข้ึนองค์หน่ึง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้างพระ ท่ีนั่งวโรภาษพิมาน พระท่ีนั่งอุทยานภูมิเสถียร พระท่ีน่ัง 236 11. up 235-244-7 Sep.indd 236 9/7/12 8:54:37 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ เวหาศน์จำรูญ ต่อมาเมื่อพุทธศักราช ๒๔๘๔ พระท่ีนั่ง อุทยานภูมิเสถียรถูกไฟไหม้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดชโปรดให้สร้างพระท่ีนั่งอุทยาน ภูมิเสถียรขึ้นใหม่ และบูรณะพระตำหนัก และตำหนัก ต่างๆ ดงั ปรากฏอย่ใู นปจั จุบนั น้ี ๖. พระราชวังจันทร์เกษม อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เดิมเรียกว่า “วังจันทร์” สมเด็จ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรง สนั นษิ ฐานวา่ สรา้ งขนึ้ เปน็ ทปี่ ระทบั ของสมเดจ็ พระนเรศวร มหาราชขณะยังดำรงพระยศเป็นพระยุพราช ต่อมาได้เป็น ท่ีประทับของพระมหาอุปราชแห่งกรุงศรีอยุธยาอีกหลาย พระองค์ ครั้นถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวโปรดให้สร้างขึ้นใหม่สำหรับเป็นท่ีประทับเวลา เสด็จประพาสกรุงเก่า พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวเคยเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ คร้ันสร้าง พระราชวังบางปะอินแล้ว จึงพระราชทานพระราชวัง จันทร์เกษมให้เป็นที่ว่าการมณฑลกรุงเก่า ปัจจุบันเป็นที่ต้ัง พพิ ิธภณั ฑสถานแห่งชาติ พระราชวังจนั ทร์เกษม ๗. พระราชวังท้ายพิกุล เขาพระพุทธบาท อำเภอ พระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี พระเจ้าทรงธรรมแห่งกรุง ศรีอยุธยาโปรดให้สร้างเป็นที่ประทับเม่ือเวลาเสด็จขึ้นไป ทรงนมัสการรอยพระพุทธบาท พระบาทสมเด็จพระจอม เกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้สร้างตำหนักและเรือนข้าราชบริพาร ข้นึ ในกำแพงพระราชวัง ตัวอาคารเปน็ เคร่ืองขดั แตะถอื ปนู ปัจจบุ นั ผพุ ังไปหมดแล้ว ๘. พระราชวังพระนครคีรี พระบาทสมเด็จพระจอม เกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้สร้างข้ึนบนยอดเขามไหสวรรย์ อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี ได้มีการบูรณะเป็น ระยะมาตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า อยู่หัวจนถึงรัชกาลปัจจุบัน ได้ประกาศเป็นอุทยาน ประวตั ิศาสตร์ พระนครคีรี เม่อื พทุ ธศักราช ๒๕๓๒ 237 11. up 235-244-7 Sep.indd 237 9/7/12 8:54:39 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ ๙. พระราชวังสีทา จังหวัดสระบุรี พระบาทสมเด็จ พระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้สร้างขึ้นที่ริมแม่น้ำป่าสัก ฝั่งตะวันตก ณ ตำบลบ้านสีทา ปัจจุบันไม่มีแล้ว เป็นพื้นท่ี ทร่ี าษฎรอย่อู าศยั สร้างในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอย่หู ัว ๑. พระราชวังดุสิต เม่ือแรกสร้างพระราชทานชื่อว่า สวนดุสิต ต่อมาจึงประกาศยกขึ้นเป็นพระราชวัง ส่วน พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน ที่ประทับของพระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช น้ัน สร้างขึ้นใน รัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นส่วน หน่ึงของพระราชวังดุสิต เรียกว่า พระตำหนักจิตรลดา รโหฐาน สวนจิตรลดา ๒. พระราชวังพญาไท เมื่อแรกสร้างพระราชทานชื่อ ว่า พระตำหนักพญาไท ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมงกุฎ เกล้าเจ้าอยู่หัวทรงใช้เป็นพระราชมณเฑียรที่ประทับ และ ประกาศยกขนึ้ เปน็ พระราชวงั พญาไท ในรชั กาลพระบาท สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็น โฮเต็ลพญาไท สำหรับ ต้อนรับแขกเมือง เป็นสโมสรโรตารี่ และเป็นที่ทำการกรม ไปรษณีย์โทรเลขตามลำดับ โดยเฉพาะได้เป็นที่ตั้งสถานี วิทยุกระจายเสียง ชื่อว่า สถานีวิทยุกรุงเทพฯ ท่ีพญาไท (Radio Bangkok at Phya Thai) ในสังกัดกรมไปรษณีย์ โทรเลข ปจั จุบัน คอื โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา้ ๓. พระราชวงั เมืองราชบุรี อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัด ราชบุรี สร้างขึ้นทางฝ่ังทางตะวันตก ตรงข้ามเมืองราชบุรี ปจั จุบนั เปน็ ที่ทำการสถานีตำรวจภูธรเมอื งราชบรุ ี ๔. พระราชวังเขาสัตนาถ(๑) สร้างข้ึนบนเขาสัตนาถ อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี และสร้างตำหนัก (๑) อ่านว่า สัด-ตะ-หนาด 238 11. up 235-244-7 Sep.indd 238 9/7/12 8:54:41 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ ท่ีประทับของเจ้านายที่ตามเสด็จบนยอดเขามอ ปัจจุบัน เรียกว่า เขาวงั ๕. พระราชวังจุฑาธุชราชฐาน อยู่ท่ีเกาะสีชัง จังหวัด ชลบุรี พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้ สร้างพระท่ีนั่งองค์หน่ึงด้วยไม้สักทอง ต่อมา โปรดให้รื้อ พระท่ีนั่งไม้สักทั้งองค์น้ันมาสร้างในพระราชวังดุสิต พระราชทานนามว่า พระที่น่ังวิมานเมฆ พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โปรดให้บูรณะและ จัดเป็นพิพิธภัณฑ์วิมานเมฆ เปิดให้ประชาชนเข้าชมได้ ส่วนพระราชวังจุฑาธุชราชฐาน ปัจจุบันอยู่ในความดูแล ของจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ซ่ึงไดร้ บั การบรู ณะเปน็ สถาน ที่ท่องเท่ยี ว ๖. พระราชวังรัตนรังสรรค์ อำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง พระยารัตนเศรษฐี (คอซิมก๊อง ณ ระนอง) สร้างเป็นพลับพลาไม้อย่างม่ันคงบนเนินควนอัน เพื่อรับ เสด็จพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เม่ือคราว เสด็จประพาสหัวเมืองตะวันตก พุทธศักราช ๒๔๑๓ ซ่ึง โปรดให้สถาปนาข้ึนเป็นพระราชวัง ต่อมาองค์พระท่ีนั่ง ชำรุดทรุดโทรม จึงร้ือลงแล้วสร้างข้ึนเป็นตึก ปัจจุบันเป็น ทีท่ ำการศาลากลางจงั หวดั ระนอง ๗. พระราชวังบ้านปืน อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัด เพชรบุรี สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่ประทับของพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในฤดูฝน พระราชวังนั้นยังสร้าง ค้างอยู่ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงโปรด ให้สร้างต่อจนเสรจ็ แล้วพระราชทานนามใหม่ว่า พระราม ราชนิเวศน์ ปัจจุบันพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ ใชเ้ ป็นท่ที ำการของหน่วยงานทหารบก 239 11. up 235-244-7 Sep.indd 239 9/7/12 8:54:43 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ สร้างในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หวั พระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม พระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้สร้างข้ึนต้ังแต่ทรง ดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎ ราชกุมาร พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จ พระราชดำเนินแปรพระราชฐานไปประทับเพื่อทรงตรวจ ตราและบัญชาการซ้อมรบเสือป่า ในรัชกาลพระบาท สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระราชวัง สนามจันทร์บางส่วนให้กระทรวงมหาดไทยจัดเป็นศาลา กลางจังหวัด ในรชั กาลปจั จุบนั กระทรวงมหาดไทยได้ส่งคืน แก่สำนักพระราชวัง บางส่วนใช้เป็นท่ีตั้งมหาวิทยาลัย ศิลปากร วทิ ยาเขตทับแก้ว พระราชนเิ วศน ์ – ที่ประทับของพระมหากษัตริย์ มีความสำคัญรองลงมา จากพระราชวัง มักสร้างข้ึนไว้สำหรับพระมหากษัตริย์ เสด็จพระราชดำเนินแปรพระราชฐาน พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้สร้างพระราชนิเวศน์ขึ้น ในพ้ืนที่ชายทะเลตำบลบางกรา ระหว่างหัวหินและหาด เจ้าสำราญ พระราชทานนามว่า พระราชนิเวศน์มฤคทาย วัน ปัจจุบัน พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ตำรวจ ตระเวนชายแดนใช้บริเวณโดยรอบเป็นท่ีทำการค่าย พระรามหก พระราชนเิ วศน์ ทีส่ ร้างข้นึ ในรัชกาลปัจจบุ นั มอี ยู่ ๓ แหง่ คอื ๑. ภาคเหนอื ภูพงิ คราชนเิ วศน์ จังหวดั เชียงใหม่ ๒. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภูพานราชนิเวศน์ จังหวัดสกลนคร ๓. ภาคใต้ ทักษณิ ราชนิเวศน์ จังหวดั นราธิวาส 240 11. up 235-244-7 Sep.indd 240 9/7/12 8:54:45 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ พระราชนิเวศน์ทั้ง ๓ แห่งนี้ โปรดให้สร้างไว้เป็นที่ ประทับแรมเมื่อเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรใน ทอ้ งถน่ิ ต่างๆ วงั – ที่ประทับของพระบรมวงศานุวงศ์ ไม่ว่าจะเป็นท่ีอยู่ของ เจ้าฟ้า พระองค์เจ้า หม่อมเจ้า เรียกว่า วัง ท้ังสิ้น เช่น วังวรดิศ ท่ีประทับของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรม พระยาดำรงราชานุภาพ วังบางขุนพรหม ท่ีประทับของ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าฯ กรมพระนครสวรรค์ วรพนิ ติ ปัจจบุ ันเปน็ ธนาคารแหง่ ประเทศไทย ปราสาท – เรือนหลวง เป็นอาคารมีหลังคายอด ปลูกสร้างอยู่ใน พระบรมมหาราชวงั หรือพระราชวงั เชน่ ๑. พระท่ีนั่งดุสิตมหาปราสาท เดิมเป็นที่ตั้งพระท่ีนั่ง อมรินทราภิเษกมหาปราสาท ซ่ึงสร้างด้วยไม้ ต่อมาถูก ฟ้าผ่าไฟไหม้เสียหายทั้งองค์ จึงรื้อลงแล้วสร้างพระท่ีนั่ง ดสุ ติ มหาปราสาท ๒. พระท่ีนั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท เป็นพลับพลาโถง อยู่บนกำแพงแก้วด้านทิศตะวันออกของพระท่ีน่ังดุสิตมหา ปราสาท เปน็ ที่เสด็จข้ึนเสดจ็ ลงพระราชยานในพระราชพิธ ี ๓. พระทน่ี งั่ จกั รมี หาปราสาท เปน็ อาคารสถาปตั ยกรรม แบบยุโรป หลังคาเป็นสถาปัตยกรรมไทย ทรงปราสาท มี ๓ ยอด ๔. พระท่ีน่ังมหิศรปราสาท สร้างในรัชกาลพระบาท สมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อย่หู ัว เป็นปราสาท ๕ ยอด ๕. พระที่นั่งสุทไธสวรรย์ปราสาท สร้างในรัชกาล พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระที่น่ังไม้ สร้างบนกำแพงพระบรมมหาราชวังดา้ นทศิ ตะวันออก พระมหามณเฑยี ร, – เรือนหลวงประเภทที่มีหลังคาคฤห (หลังคาจั่ว) มีช่อฟ้า พระราชมณเฑยี ร หน้าบัน พระมหามณเฑียรในพระบรมมหาราชวังที่ปลูก 241 11. up 235-244-7 Sep.indd 241 9/7/12 8:54:46 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ สร้างติดต่อเช่ือมกันเรียกว่า หมู่พระมหามณเฑียร ได้แก่ พระท่นี งั่ จักรพรรดพิ ิมาน พระทีน่ ัง่ ไพศาลทักษิณ พระที่นั่ง อมรินทรวินิจฉัย พระท่ีน่ังเทพสถานพิลาส และพระท่ีนั่ง เทพอาสน์พไิ ล พระมหามณเฑียร โบราณสร้างในรูปแบบหลังคา คฤห ในสมัยต่อมา เช่น ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระ จอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยูห่ ัว รูปแบบหลงั คาเปลยี่ นไปตามพระราชนิยม พระที่น่ัง – เรือนหลวงในพระบรมมหาราชวงั และในพระราชวงั ไมว่ า่ จะเป็นประเภทเรือนที่เรียกว่าปราสาท หรือเรือนหลังคาจั่ว คอื เรอื นหลังคาไมม่ ียอด ปลูกสร้างไว้เป็นทีป่ ระทบั ของพระ มหากษัตริย์ หรือสถานที่ภายในองค์ปราสาทที่ใช้สำหรับ กิจการต่างๆ ก็เรียกว่า พระท่ีนั่ง ทั้งน้ัน เช่น ในหมู่พระ ท่ีนั่งจักรีมหาปราสาทองค์ตะวันตกชั้นกลาง มีพระท่ีน่ัง สำคัญ ๆ คอื ๑. พระทีน่ ่งั มูลสถานบรมอาสน ์ ๒. พระทน่ี ัง่ สมมตเิ ทวราชอุปบัติ ๓. พระท่ีนัง่ ดำรงสวสั ดิ์อนัญวงศ์ ๔. พระทนี่ ่ังพพิ ฒั พงศ์ถาวรวิจิตร ๕. พระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬาร (เป็นที่ประทับ ส่วนพระองค์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอม เกลา้ เจา้ อยู่หัว) ๖. พระทน่ี งั่ อมรพิมานมณี ๗. พระที่นง่ั สุทธาศรีอภริ มย ์ ๘. พระท่นี ง่ั บรรณาคมสรณีย์ ๙. พระท่ีนั่งราชปรดี ีวโรทยั ๑๐. พระทีน่ ัง่ เทพดนัยนนั ทยิ ากร 242 11. up 235-244-7 Sep.indd 242 9/7/12 8:54:48 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ พระท่ีน่ังเหล่านี้ปัจจุบันเหลือเพียงพระท่ีน่ัง มูลสถานบรมอาสน์ และพระท่ีน่ังสมมติเทวราชอุปบัติ สว่ นพระที่น่งั องคอ์ น่ื ๆ ร้ือลงหมดแลว้ ในรัชกาลพระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชโปรดให้สร้าง พระทนี่ งั่ ขนึ้ ใหมเ่ ชอื่ มตอ่ ดา้ นหลงั พระทนี่ ง่ั จกั รมี หาปราสาท มีขนาดใกล้เคียงกัน พระราชทานชื่อตามพระที่นั่งองค์เดิม ว่า พระท่ีนัง่ บรมราชสถิตยมโหฬาร ด้านหลงั พระทนี่ ง่ั องค์ น้ีโปรดให้สร้างพระที่นั่งโถงอีกองค์หน่ึงพระราชทานช่ือว่า พระทน่ี ั่งเทวารัณยสถาน พระที่นง่ั โถง – พระที่นั่งโล่งไม่มีฝา เช่น พระท่ีน่ังสนามจันทน์ พระท่ีนั่ง สตี ลาภิรมย์ พระตำหนกั (๑) – หมายถึงอาคารท่ีประทับของพระมหากษัตริย์ เช่น พระ ตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต พระตำหนัก เป่ยี มสขุ วงั ไกลกังวล จังหวัดประจวบคีรขี ันธ์ ตำหนกั – อาคารที่ประทับของพระราชวงศ์ตั้งแต่ชั้นสมเด็จเจ้าฟ้า ถึงหม่อมเจ้า พลับพลา – ทีป่ ระทบั ชั่วคราวของพระมหากษตั ริย์ สรา้ งข้ึนสำหรบั งาน พธิ ีกลางแจง้ หรือเปน็ ท่ปี ระทับชว่ั คราว พลับพลาโถง – พลับพลาที่ไม่มีฝา โดยปกติเป็นท่ีประทับทอดพระเนตร ขบวนแหห่ รือทอดพระเนตรการแสดงต่างๆ พลับพลาเปล้อี งเคร่อื ง – พลับพลาสำหรับพระมหากษัตริย์เปล่ียนเครื่องทรง เช่น ที่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม วัดราชบพิธสถิตมหา สีมาราม พระทีน่ ่งั ชมุ สาย – พระท่ีน่ังที่สร้างขึ้นสำหรับใช้ช่ัวคราวในการประกอบพระ ราชพิธีกลางแจ้ง เช่น พระราชพิธีพระราชทานธงไชย เฉลิมพล (๑) ปจั จบุ นั คำนีใ้ ชแ้ กอ่ าคารที่ประทบั ของพระราชวงศต์ ้งั แตส่ มเดจ็ พระบรมราชินีนาถถึงสมเดจ็ เจา้ ฟ้า 243 11. up 235-244-7 Sep.indd 243 9/7/12 8:54:50 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ อัฒจันทร์ – บันไดที่ก้าวขึ้นลงของพระท่ีน่ังและพระตำหนัก ถ้าเป็น บนั ไดของตำหนกั เรยี กว่า บันได อยา่ งคำสามญั พระทวาร – ประตูของพระท่ีนั่งและพระตำหนัก ประตูกำแพงแก้วของ พระท่ีนั่งสำคัญบางองค์ เช่น ประตูกำแพงแก้วด้านตะวัน ตกและด้านเหนือของพระท่ีนั่งอมรินทรวินิจฉัย มีนามว่า พระทวารเทเวศรรักษา พระทวารเทวาภิบาล ถ้าเป็น ประตขู องตำหนกั เรยี กวา่ ประตอู ย่างคำสามญั พระบัญชร – หนา้ ต่างของพระท่นี ั่ง พระแกล – หนา้ ต่างของพระตำหนักและตำหนกั สหี บัญชร – ห น้ า ต่ า ง ข อ ง พ ร ะ ที่ นั่ ง ท่ี พ ร ะ ม ห า ก ษั ต ริ ย์ เ ส ด็ จ อ อ ก ให้ ข้าราชการและประชาชนเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท มี ลักษณะยาวถึงพื้น มีระเบียงยื่นออกไป เช่น สีหบัญชรท่ี พระที่นั่งสุทไธสวรรย์ปราสาท สีหบัญชรท่ีพระท่ีน่ังอนันต- สมาคม มขุ เดจ็ – ประตูของพระท่ีนั่งท่ีพระมหากษัตริย์ประทับว่าราชการ หอ้ งเครื่อง(๑) หรอื เสด็จออกใหข้ ้าราชการและประชาชนเฝ้าทูลละอองธลุ ี พระบาท เชน่ มุขเดจ็ ทพ่ี ระที่นง่ั จกั รีมหาปราสาท – หอ้ งประกอบอาหาร ห้องพระบรรทม – ห้องนอน หอ้ งแต่งพระองค ์ – ห้องแต่งตวั หอ้ งทรงพระอักษร – หอ้ งเขียนหนังสือ ห้องทรงพระสำราญ – ห้องพกั ผอ่ น ห้องสรง – หอ้ งนำ้ (๑) คำวา่ เครื่อง ท่ปี ระกอบข้ึนเป็นราชาศพั ท์ แบง่ ออกเปน็ ๒ ประเภท คอื – เคร่ืองอุปโภค ได้แก่ ของใชส้ อย เชน่ เคร่ืองราชูปโภค เคร่อื งสงู เครือ่ งทรง เป็นต้น – เครอ่ื งบรโิ ภค ได้แก่ ของกิน เชน่ เคร่ืองเสวย 244 11. up 235-244-7 Sep.indd 244 9/7/12 8:54:52 PM
หมวดท่ี ๙ พระราชพาหนะ พระราชพาหนะสำหรับพระมหากษัตริย์ทรงหรือประทับ เพื่อเสด็จพระราชดำเนินไปใน การพระราชพธิ ี พธิ ี หรือทรงปฏบิ ตั ิพระราชกรณียกิจ มหี ลายประเภทดงั นี ้ ๑. พระราชยาน คือพาหนะประเภทมีคานหาม เคล่ือนที่โดยมีเจ้าพนักงานแบกหาม ใช้ในการ เสด็จพระราชดำเนินไปในการพระราชพิธี พิธีหรือทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจ และใช้ในการเชิญ พระโกศพระบรมศพ พระบรมอัฐิ พระศพ พระอัฐิ พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชนิ ี และพระราชวงศช์ ้นั สูง พระราชยานท่สี ำคัญมชี ื่อและลกั ษณะตา่ งกนั ดงั น ี้ ๑.๑ พระยานมาศ ทำด้วยไม้สลักลายปิดทอง มีคานหามคู่และมีแอกทั้งหน้าหลัง มี เชือกหุ้มผ้าผกู แอกนัน้ แล้วไปคลอ้ งกบั ลกู ไม้ สำหรบั ประทบั ราบและมีพนกั พงิ ใชค้ นหาม ๘ คน ๑.๒ พระยานมาศสามลำคาน คานหามขนาดใหญ่ทำด้วยไม้ปิดทอง ฐานประดับรูป เทพนมและครุฑเปน็ ๒ ช้ัน มพี นัก มีคานหามสามคาน ใชค้ นหาม ๖๐ คน ๑.๓ พระราชยานกง พระราชยานสำหรับประทับห้อยพระบาท ทำด้วยไม้สลักลายปิด ทอง ฐานประดับดว้ ยครฑุ แบก มกี งกับพนกั พิง มคี าน ๒ คาน กบั แอกและลูกไม้ ใชค้ นหาม ๘ คน สำหรับทรงเวลาปรกติ ๑.๔ พระราชยานถม พระราชยานสำหรับประทับห้อยพระบาท ทำด้วยไม้หุ้มด้วยเงิน ถมลงยาทาทอง มีกระจังปฏิญาณทองคำลงยาราชาวดีประดับ พระราชยานองค์นี้เจ้าพระยา นครศรธี รรมราช (น้อย ณ นคร) สร้างถวายในรัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระน่งั เกล้าเจา้ อยู่หวั ๑.๕ พระราชยานงา พระราชยานสำหรับประทับห้อยพระบาท ทำด้วยงาช้างสลักลาย พระราชยานองค์นี้ พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นปราบปรปักษ์ รองเสนาบดีกระทรวงวัง ผู้บัญชาการ กรมพระคชบาลและผู้บัญชาการกรมช่างสิบหมู่ ทรงสร้างร่วมกับพระยาจินดารังสรรค์ (รอด รัตนศิลปนิ ) ถวายพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยูห่ ัว เมือ่ พุทธศักราช ๒๔๓๒ ๑.๖ พระที่น่ังราชยานพุดตานถม พระราชยานสำหรับประทับห้อยพระบาท ทำด้วยไม้ หุ้มเงินสลักลายพุดตาน ถมลงยาทาทอง เดิมสร้างขึ้นสำหรับเป็นพระราชอาสน์ประจำพระท่ีน่ัง จักรีมหาปราสาท ใช้เป็นพระราชยานได้ จึงมีห่วงและคานสำหรับหาม พระท่ีนั่งราชยานองค์นี้ สรา้ งในรชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั พระยาเพชรพชิ ัย (จีน) เป็นผู้สร้างถวาย 245 12. up245-263-7 Sep.indd 245 9/7/12 9:01:46 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ ๑.๗ พระราชยานทองลงยา พระราชยานสำหรับประทับห้อยพระบาท พระรัตนโกษา บุตรพระยาเพชรพิชัย (จีน) ผู้สร้างพระราชยานพุดตานถม เป็นผู้สร้างถวายพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว ๑.๘ พระท่ีนั่งพุดตานกาญจนสิงหาสน์ หรือ พระที่นั่งราชยานพุดตานทอง พระ ราชยานสำหรับประทับห้อยพระบาท ทำด้วยไม้สลักลายหุ้มทอง ฐานประดับด้วยเทพนมและครุฑ แบก ๒ ชน้ั เมอื่ ทอดเหนอื พระราชบัลลงั กภ์ ายใตน้ พปฎลมหาเศวตฉัตร เรียกว่า พระที่นงั่ พดุ ตาน กาญจนสิงหาสน์ ใช้เป็นที่ประทับเม่ือพระมหากษัตริย์เสด็จออกในงานพระราชพิธีใหญ่ๆ เช่น พระราชพิธีบรมราชาภิเษก และรัฐพิธีเปิดสมัยประชุมสภาผู้แทนราษฎร พระที่น่ังองค์นี้ใช้เป็น พระราชยานได้ จึงมีห่วงและคานสำหรับหาม เรียกว่า พระที่นั่งราชยานพุดตานทอง ใช้ในงาน เสดจ็ พระราชดำเนินโดยขบวนพยุหยาตราทางสถลมารค ๑.๙ พระที่น่ังราเชนทรยาน พระราชยานท่ีมีบุษบก ใช้คนหาม ๕๖ คน เป็นที่ประทับ เมื่อเสด็จพระราชดำเนินโดยขบวนพระราชอิสริยยศในพระราชพิธีสำคัญ เช่น เสด็จเลียบพระนคร เนื่องในงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษก การเชิญพระโกศพระบรมอัฐิ พระอัฐิ จากพระเมรุมาศ ท้องสนามหลวงเข้าสู่พระบรมมหาราชวงั ๒. ราชรถ ๒.๑ พระมหาพิชัยราชรถ เป็นราชรถท่ีพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สร้างข้ึนในพุทธศักราช ๒๓๓๘ เพ่ือใช้เชิญ พระโกศพระบรมอัฐิสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกออกถวายพระเพลิง ณ พระเมรุมาศท้องสนาม หลวง ในพุทธศักราช ๒๓๓๙ เป็นครั้งแรก จากนั้นจึงถือเป็นราชประเพณีท่ีจะนำราชรถองค์นี้เป็น ราชรถเชิญพระโกศพระบรมศพพระมหากษัตริย์ พระศพสมเด็จพระอัครมเหสี หรือโปรดให้เชิญ พระโกศพระศพพระบรมวงศผ์ ทู้ รงศักดิ์ชน้ั สมเดจ็ เจา้ ฟา้ บางพระองค์ในสมยั ต่อๆ มา ภายหลังการเชิญพระโกศพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ใน พุทธศักราช ๒๔๕๓ พระมหาพชิ ัยราชรถชำรุด มิได้เชญิ ออกอกี เลย ต้องใช้พระเวชยันตราชรถเชิญ พระโกศพระบรมศพแทน ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้บูรณปฏิสังขรณ์ ด้วยการเพิ่มล้ออีก ๑ ล้อ เพือ่ ใหร้ ับน้ำหนกั ไดด้ ขี นึ้ และสะดวกในการเคล่อื นย้าย รวมทง้ั ซ่อมสว่ นท่ี ชำรุดท่ัวไปให้สมบูรณ์สวยงาม ในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระศรีนครินทรา บรมราชชนนี พุทธศักราช ๒๕๓๙ พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ พุทธศักราช ๒๕๕๑ และพระราชพิธี พระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี พุทธศักราช ๒๕๕๕ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ใช้ พระมหาพิชยั ราชรถเชิญพระโกศพระบรมศพ และพระศพ เพื่อเปน็ การถวายพระเกียรติยศสูงสดุ 246 12. up245-263-7 Sep.indd 246 9/7/12 9:01:48 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ พระท่ีน่งั อัฐทศิ อทุ มุ พรราชอาสน์ กางกัน้ ดว้ ยพระสัปตปฎลเศวตฉัตรในพระที่นงั่ ไพศาลทกั ษิณ 247 12. p245-263-6 Sep.indd 247 9/6/12 8:29:29 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ พระท่นี ั่งภทั รบฐิ เป็นท่ปี ระทับรับเครื่องสริ ริ าชกกธุ ภัณฑ์ เคร่ืองราชปู โภค พระแสงราชศสั ตราวธุ และพระแสงอัษฎาวุธ ในพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก ประดิษฐาน ณ พระทีน่ ง่ั ไพศาลทักษณิ 248 12. p245-263-6 Sep.indd 248 9/6/12 8:29:34 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ พระทน่ี ง่ั บษุ บกมาลามหาจักรพรรดิพิมาน ภายในท้องพระโรงพระท่นี ่งั อมรนิ ทรวินิจฉัย ดา้ นหนา้ ประดิษฐานพระทนี่ ง่ั พุดตานกาญจนสงิ หาสน์ ภายใตน้ พปฎลมหาเศวตฉตั ร 249 12. p245-263-6 Sep.indd 249 9/6/12 8:29:37 PM
ราชาศัพท์ เฉลิมพระเกียรติในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ พระแทน่ ราชบลั ลังก์ประดับมุกกางกั้นดว้ ยนพปฎลมหาเศวตฉตั ร ในพระที่น่งั ดสุ ติ มหาปราสาท 250 12. p245-263-6 Sep.indd 250 9/6/12 8:29:38 PM
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416