Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SO2015 รัฐศาสตร์ตามแนวพุทธศาสตร์

SO2015 รัฐศาสตร์ตามแนวพุทธศาสตร์

Description: แนวคิดทางการเมือง การบริหาร และการปกครองของพระพุทธศาสนาจากพระไตรปิฎก เอกสาร ตำราทางพระพุทธศาสนา และจากผลงานของนักวิชาการสมัยใหม่ หลักธรรมสำหรับการปกครอง และเปรียบเทียบหลักการปกครองพระพุทธศาสนากับรัฐศาสตร์กระแสหลัก
The political concepts, administration and administration of Buddhism from Tripitaka, Buddhist texts and from the academic works of modern scholars, the Buddhist principles for administration and compare the principles of Buddhist principles with mainstream political science.

Keywords: พุทธศาสตร์

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการสอน รัฐศาสตร์ตามแนวพุทธศาสตร์ (Politics in Buddhist Approach) SO2015 พระครูศรีปริยัติวธิ าน (แมน้ คปุ ตรสํ )ี ,ดร. คณะสงั คมศาสตร์ สาขาวิชาการปกครอง มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตสิรินธรราชวทิ ยาลัย

2 เอกสารประกอบการสอน รายวชิ า รฐั ศาสตร์ตามแนวพุทธศาสตร์ (Politics in Buddhist Approach) SO2015 ผ้แู ตง่ : พระครศู รปี ริยตั ิวิธาน (แม้น คปุ ตรสํ )ี ,ดร. ผู้ทรงคุณวฒุ ิท่ีปรกึ ษา : พระครศู รปี ริยัติคุณาภรณ์,ผศ.ดร., รศ.ดร.มานพ นักการเรียน, พิสูจนอ์ ักษร : ดร.วิญญู กินะเสน ออกแบบปก : เจ้าป่า พมิ พ์ครง้ั ท่ี ๑ : ๒๕๖๔ จํานวน : ๑๐๐ เลม่ จัดพิมพ์โดย : มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลยั วิทยาเขตสิรนิ ธรราชวิทยาลยั

3 ก คาํ นาํ เอกสารประกอบการสอนวิชา รัฐศาสตร์ตามแนวพุทธศาสตร์ Politics in Buddhist Approach SO2105 เป็นรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะสาขาวิชาการปกครอง คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั ซ่งึ ผู้เขียนได้เขยี นให้ครอบคลุมเนื้อหาในคําอธิบายรายวชิ าโดยมี วตั ถุประสงค์เพอื่ ใชเ้ ปน็ เอกสารหลกั ในการเรียนการสอนสาขาวิชาเอก ดงั กลา่ ว ขอขอบคุณนักวชิ าการทางรัฐศาสตร์ท้ังหลาย และรองศาสตราจารย์ ดร.เดชชาติ ตรีทรพั ย์ มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย ทีไ่ ดส้ ร้างผลงานทางวชิ าการในรปู แบบเอกสาร/ ตาํ รา ซ่งึ ผเู้ ขียน ได้ใชป้ ระกอบการเรยี บเรยี งคร้ังนี้ หวังเป็นอย่างย่ิงว่า หนังสือ “รัฐศาสตร์ตามแนวพุทธศาสตร์” น้ี คงเป็นประโยชน์ท้ังผู้ ศึกษาในสาขาวชิ าสังคมวิทยาและผู้สนใจในความรู้ทางสังคมศาสตร์สืบต่อไป พระครูศรปี ริยัติวธิ าน,ดร. (แม้น คุปตรสํ /ี ทองวิจติ ต์) 2564

4 ข คาํ นิยม เอกสารประกอบการสอน รัฐศาสตร์ตามแนวพุทธศาสตร์ Politics in Buddhist Approach SO2105 เป็นผลงานเรียบเรยี งโดย พระครูศรปี รยิ ตั ิวิธาน,ดร. ได้ใชป้ ระสบการณต์ รง ค้นคว้าและ จัดทําออกมาเป็นรูปเลม่ เพ่ือประโยชน์แก่ นสิ ิต นักศึกษา และผสู้ นใจทัว่ ไป ไดอ้ ่านแลว้ สามารถ เขา้ ใจได้งา่ ย เพราะผู้เรียบเรียงมปี ระสบการณ์ตรงโดยสอนนักศกึ ษามาหลายสถาบนั และหลายปี กลา่ วโดยเฉพาะ มหาวิทยาลัย มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตสิรนิ ธรราชวิทยาลยั สอนมาตง้ั แต่ พ.ศ. ๒๕๔๘ จนถงึ ปัจจุบนั ขออนุโมทนาขอบคุณ พระครูศรีปริยัติวิธาน,ดร. ที่ได้เสียสละเวลาเรียบเรียงหนังสือเล่มนี้ ให้เกิดมีข้ึน หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเลม่ น้ี คงอํานวยประโยชน์แก่คณาจารย์ นิสิต นักศึกษา และ ผสู้ นใจตลอดไป (พระมงคลธรรมวธิ าน,ผศ.ดร.) รองอธิการบดี มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย

5 ค สารบญั คาํ ย่อ สำหรับเอกสำรประกอบกำรสอนฉบับน้ี ผู้เขียนได้ศึกษำค้นคว้ำจำกพระไตรปิฎก ภำษำไทย ฉบับมหำมหำมกุฏรำชวิทยำลัย ในกำรอ้ำงอิงได้ใช้ช่ือย่อของคัมภีร์พระไตรปิฎกไว้ใน เชงิ อรรถของเอกสำรประกอบกำรสอน ซงึ่ ช่อื ยอ่ นี้มีคำเต็ม ดงั นี้ คำย่อ คำเตม็ พระวนิ ัยปฎิ ก วิ.ม. วินยปิฏก มหาวคฺค วิ.ป. วินยปิฏก ปรวิ ารวคคฺ ที.ม. พระสุตตนั ตปิฎก ที.ปา. สุตฺตนตฺ ปิฏก ทฆี นกิ าย มหาวคคฺ ม.มู. สุตตฺ นฺตปฏิ ก ทฆี นิกาย ปาฏิกวคฺค ม.ม. สุตฺตนตฺ ปฏิ ก มชฺฌิมนกิ าย มลู ปณณฺ าสก ม.อุ. สตุ ฺตนตฺ ปิฏก มชฌฺ มิ นิกาย มชฺฌมิ ปณฺณาสก ส.ํ ส. สุตฺตนฺตปฏิ ก มชฺฌมิ นกิ าย อุปรปิ ณณฺ าสก ส.ํ ม. สุตตฺ นตฺ ปฏิ ก สงยฺ ุตตฺ นิกาย คาถวคคฺ องฺ.เอก. สุตฺตนฺตปฏิ ก สงยฺ ตุ ตฺ นิกาย มหาวารวคคฺ องฺ.ทุก. สตุ ฺตนตฺ ปฏิ ก องฺคตุ ตฺ รนกิ าย เอกาทสนปิ าต องฺ.ตกิ . สตุ ฺตนฺตปิฏก องคฺ ตุ ตฺ รนกิ าย ทกุ นปิ าต องฺ.จตกุ ฺก. สุตฺตนตฺ ปฏิ ก องฺคตุ ฺตรนิกาย ติกนิปาต องฺ.ปญฺจก. สตุ ตฺ นฺตปฏิ ก องคฺ ตุ ฺตรนิกาย จตกุ กฺ นปิ าต องฺ.สตฺตก สตุ ตฺ นตฺ ปิฏก องฺคุตตฺ รนิกาย ปญฺจกนปิ าต องฺ.อฏฺฐก. สตุ ตฺ นตฺ ปิฏก องฺคุตตรนิกาย สตฺตกนปิ าต องฺ.ทสก. สุตตฺ นฺตปฏิ ก องฺคุตตฺ รนิกาย อฏฐฺ กนปิ าต องฺ.เอกาทสก. สตุ ตฺ นตฺ ปิฏก องฺคุตตฺ รนกิ าย ทสกนิปาต ขุ.ขุ. สุตฺตนฺตปฏิ ก องคฺ ุตฺตรนิกาย เอกาทสกนิปาต สุตฺตนตฺ ปิฏก ขุทฺทกนิกาย ขุทฺทกปาฐ

6 ข.ุ ธ. สตุ ฺตนตฺ ปฏิ ก ขุทฺทกนกิ าย ธมฺมปท ข.ุ อติ ิ. สตุ ฺตนฺตปฏิ ก ขุทฺทกนิกาย อิตวิ ตุ ฺตก ขุ.สุ. สตุ ตฺ นตฺ ปฏิ ก ขุททฺ กนกิ าย สตุ ฺตนิปาต ข.ุ ชา. สุตฺตนตฺ ปิฏก ขุทฺทกนกิ าย ชาตก ขุ.จู. สตุ ฺตนตฺ ปฏิ ก ขทุ ฺทกนิกาย จฬู นทิ ฺเทส ขุ.พุทฺธ. สุตฺตนฺตปิฏก ขทุ ทฺ กนิกาย พทุ ธฺ วํส ขุ.จริยา. สุตตฺ นตฺ ปิฏก ขทุ ฺทกนกิ าย จรยิ าปิฏก พระอภิธรรมปิฎก อภ.ิ สง.ฺ อภธิ มมฺ ปิฏก ธมมฺ สงฺคณี อภิ.ว.ิ อภิธมมฺ ปฏิ ก วิภงคฺ ปกรณวเิ สส วสิ ทุ ธฺ ิ. วิสทุ ฺธมิ คคฺ ปกรณ อรรถกถาพระสตุ ตนั ตปิฎก (ภาษาไทย) ม.มู.อ. มชฺฌนิ กิ าย ปปญจฺ สทู นี มูลปณณฺ าสกฏฺฐกถา สาํ หรบั การอ้างตวั เลขที่อยหู่ ลงั ช่ือย่อคมั ภรี ์ ผวู้ ิจยั ใช้แบบ ๓ ตอน คือ เลขเล่ม / เลขข้อ / เลขหน้า ตัวอย่างเช่น ขุ.สุ. ๒๕/๑๙๐/๕๔๕. หมายถึง พระสุตตันตปิฎก ขทุ ฺทกนิกาย สุตตฺ นิบาต เล่ม ๒๕ ขอ้ ๑๙๐ หนา้ ๕๔๕ สาํ หรับการอ้างตวั เลขทีอ่ ยู่หลังชอ่ื ยอ่ คัมภีร์ ผวู้ ิจยั ใชแ้ บบ ๒ ตอน คือ ม.มู.อ. ๔/๑๑๗. หมายถึง พระไตรปิฎกอรรถกถาแปล มชฺฌินิกาย ปปญฺจสูทนี มูลปณฺณา สกฏฺฐกถา เล่ม ๔ หนา้ ๑๑๗ เปน็ ต้น

สารบัญ 7 คํานาํ ก คํานยิ ม ข สารบญั คํายอ่ ค มคอ 3 แผนการสอนประจาํ รายวิชา ง บทที่ 1 12 ความรู้เบอื้ งต้นเกยี่ วกบั รฐั ศาสตรแ์ ละพทุ ธศาสตร์ 12 14 1. ความหมายของรัฐศาสตร์ 14 2. ขอบเขตของรฐั ศาสตร์ 15 3. ประวตั คิ วามเปน็ มาของวิชารัฐศาสตร์ 16 4. ความสมั พนั ธร์ ะหว่างวชิ ารัฐศาสตร์กบั ศาสตร์อ่นื ๆ 19 5. ความหมายวิชารัฐศาสตร์ตามแนวพุทธศาสตร์ 25 6. รปู แบบและโครงสรา้ งหลักรัฐศาสตรใ์ นพระไตรปฎิ ก 35 7. สรปุ บทที่ 1 36 คาํ ถามประจาํ บทท่ี 1 37 การอา้ งองิ 38 บทที่ 2 38 ความร้ทู ่วั ไปเกี่ยวกับพระพทุ ธศาสนากบั การปกครอง 40 40 2.1 ความนํา 46 2.2 ความหมายทว่ั ไปของการเมืองการปกครอง 50 2.3 สถาบันทางการเมอื งตามแนวคิดพระพทุ ธศาสนา 56 2.4 การตคี วามเกยี่ วกับการปกครองตามแนวพระพุทธศาสนา 60 2.5 การเสริมสรา้ งการบริหารกจิ การบ้านเมืองทีด่ ี 61 2.6 สรปุ บทท่ี 2 62 คาํ ถามประจําบทท่ี 2 การอา้ งอิง 63 63 บทที่ 3 65 ความสมั พันธ์ระหวา่ งศาสนจักรกับอาณาจกั ร 66 3.1 ความนํา 3.2 ความหมายของศาสนจกั รและอาณาจกั ร

3.3 องค์ประกอบของศาสนจักรและอาณาจกั ร 8 3.4 สถาบันอาณาจักรสมยั พทุ ธกาล 3.5 ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งศาสนจักรกบั อาณาจกั ร 67 3.6 รูปแบบความสมั พนั ธ์ระหวา่ งศาสนจกั รกบั อาณาจักร 69 3.7 บทบาทการสงเคราะห์ท่ีอาณาจกั รมีตอ่ ศาสนจกั ร 76 3.8 สรุปบทท่ี 3 79 คําถามประจําบทท่ี 3 80 การอา้ งองิ 83 84 บทที่ 4 85 ทฤษฎีกาํ เนดิ รัฐ ตามแนวคิดทางพทุ ธศาสตร์ 86 1. ความหมายคําวา่ “รัฐ” 86 2. ทฤษฎีกําเนดิ รฐั 88 3. จดุ ประสงค์และหนา้ ที่แหง่ รัฐ 90 4. ทฤษฎีกาํ เนดิ รัฐตามแนวพุทธศาสตร์ 98 5. สรุปบทที่ 4 103 คาํ ถามประจาํ บทท่ี 4 108 การอา้ งองิ 110 111 บทที่ 5 สถาบันการเมืองตามแนวพทุ ธศาสตร์ 112 112 1. ความเปน็ มาของสถาบนั ทางการเมือง 114 2. ความหมายของสถาบันทางการเมือง 115 3. สถาบันฝ่ายนติ ิบัญญตั ิ 116 4. สถาบนั ฝา่ ยบรหิ าร 120 5. สถาบันฝา่ ยตลุ าการ 125 6. สถาบนั ทางการเมืองตามแนวพทุ ธศาสตร์ 127 7. สถาบันนิตบิ ัญญตั ิตามแนวพทุ ธศาสตร์ 128 8. สถาบนั บรหิ ารตามแนวพุทธศาสตร์ 136 9. สถาบันตลุ าการตามแนวพุทธศาสตร์ 139 10.สรุปบทที่ 5 148 คําถามประจาํ บทท่ี 5 149 การอา้ งองิ 150

บทที่ 6 9 ทฤษฎีประชาธปิ ไตยตามแนวพทุ ธศาสตร์ 151 1. ความเปน็ มาของประชาธิปไตย 151 2. ความหมายของประชาธิปไตย 153 3. แนวคดิ พ้นื ฐานของอุดมการณป์ ระชาธปิ ไตย 153 4. ประชาธปิ ไตยตามแนวพทุ ธศาสตร์ 154 5. ศาสนาเป็นพนื้ ฐานประชาธปิ ไตย 168 6. หัวใจประชาธปิ ไตย 170 7. การบรหิ ารจัดการบคุ คลภายในรฐั 171 8. ระยะการเกดิ ของประชาธปิ ไตยตะวันออก – ตะวนั ตก 172 9. สรุปบทที่ 6 174 คาํ ถามประจําบทท่ี 6 176 การอ้างอิง 177 178 บทท่ี 7 กฎหมายมหาชนตามแนวพุทธศาสตร์ 179 179 1. ความหมายกฎหมายสาธารณะ หรือกฎหมายมหาชน 181 2. ความสมั พันธ์ระหวา่ งกฎหมายกบั ศาสตร์อ่ืนๆ 186 3. ขอบเขตของกฎหมายมหาชนและการแบง่ ประเภทกฎหมายมหาชน 188 4. ประเภทของกฎหมายมหาชน 192 5. ท่ีมาของกฎหมาย 194 6. กฎหมายมหาชนตามแนวพุทธศาสตร์ 197 7. ความเป็นมาของการบัญญัติพระวินยั 199 8. วิธีบัญญัตพิ ระวนิ ยั 200 9. สรุปบทท่ี 7 214 คาํ ถามประจาํ บทที่ 7 217 การอ้างองิ 218 บทท่ี 8 219 พรรคการเมอื งและกล่มุ ผลประโยชน์ 219 221 1. พรรคการเมือง 221 2. ความเปน็ มาและความหมายของพรรคการเมือง 224 3. หน้าท่แี ละบทบาทของพรรคการเมือง

4. การจดั องค์กรของพรรคการเมือง 10 5. ชนิดของพรรคการเมือง 6. พรรคการเมืองตามทรรศนะทางพุทธศาสตร์ 227 7. ความหมายของกลมุ่ ผลประโยชน์ 228 8. กาํ เนดิ กล่มุ ผลประโยชน์ 232 9. การแบง่ ประเภทของกลุ่มผลประโยชน์ 239 10. ความสําคญั ของกลุ่มผลประโยชน์ 242 11. วิธกี ารดาํ เนินการของกลมุ่ ผลประโยชน์ 245 12. ประเทศไทยกบั กลมุ่ ผลประโยชน์ 246 13. กลุ่มผลประโยชนต์ ามแนวพทุ ธศาสตร์ 248 14. สรุปบทท่ี 8 251 คําถามประจาํ บทที่ 8 252 การอ้างองิ 254 255 บทที่ 9 256 รฐั ประศาสนศาสตรต์ ามแนวพุทธศาสตร์ 257 1. ความเป็นมาของรัฐประศาสนศาสตร์ 257 2. ทฤษฎรี ฐั ประศาสนศาสตร์ 259 3. ววิ ฒั นาการของการศกึ ษารัฐประศาสนศาสตร์ 259 4. ความหมายของรัฐประศาสนศาสตร์ 260 5. ขอบขา่ ยของรฐั ประศาสนศาสตร์ 261 6. การเมอื งและนโยบายสาธารณะ 263 7. ทฤษฎอี งค์การ 264 8. เทคนิคการบรหิ าร 265 9. รฐั ประศาสนศาสตร์ตามแนวพุทธศาสตร์ 266 10.สรุปบทที่ 9 269 คําถามประจําบทที่ 9 275 การอ้างอิง 276 277 บทที่ 10 ความสัมพนั ธร์ ะหว่างประเทศตามแนวพทุ ธศาสตร์ 278 278 1. ความหมายของความสัมพันธ์ 280 2. จุดมงุ่ หมายของการศึกษาวชิ าความสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศ 282

3. ความสาํ คัญของการศกึ ษา 11 4. ขอบเขตของความสมั พันธ์ระหว่างประเทศ 5. ลักษณะความสัมพนั ธ์ 283 6. วิวฒั นาการของการศกึ ษาความสมั พนั ธร์ ะหว่างประเทศ 286 7. ความจาํ เปน็ ของรฐั ในการสรา้ งความสัมพนั ธ์ 287 8. วิธีการในการสรา้ งความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 288 9. ความสมั พันธร์ ะหว่างประเทศตามแนวพุทธศาสตร์ 292 10. สรุปบทที่ 10 293 คําถามบทท่ี 10 296 การอา้ งอิง 315 316 บทที่ 11 317 หลักธรรมสาํ หรับเสรมิ สร้างคณุ ธรรมทางการปกครอง 318 1. ความนาํ 318 2. หลักธรรมที่ใชใ้ นการวางกรอบบริหารบ้านเมือง 320 4. หลักธรรมทใี่ ช้ในการพัฒนาประเทศ 320 5. หลักธรรมทีใ่ ชใ้ นการสงเคราะห์คนในสังคม 328 6. หลักธรรมทีใ่ ช้ในการวินจิ ฉยั สง่ั การ 331 7. หลักธรรมทใี่ ชใ้ นวางแผนและการพัฒนาองค์กร 333 8. การใช้หลักธรรมเพ่ือแก้ปัญหาทางการเมอื ง 335 9. สรุปบทท่ี 11 337 คําถามประจําบทท่ี 11 346 การอ้างองิ 347 บรรณานกุ รม 348 ประวตั ผิ ู้เขยี น 349 354

12 บทท่ี 1 ความรูเ้ บ้ืองต้นเกยี่ วกบั รฐั ศาสตรแ์ ละพทุ ธศาสตร์ (Introduction to Political Science in Buddhistic Appraoch) 1.1 แนวคดิ (Concept) ศึกษาแนวคิดหลกั ทางรัฐศาสตร์ของนักปราชญ์และนักคิดทางการเมืองการปกครองทม่ี อี ยู่ ในทฤษฎีการปกครอง และเปรียบเทียบแนวคิดทางพระพุทธศาสนาในประเด็นท่ีสอดคล้องเพ่ือ สร้างวัฒนธรรมทางการศึกษาในรปู แบบของรัฐศาสตร์แนวพุทธศาสตร์ 1.2 เนือ้ หาทสี่ ําคัญประจําบทเรียน 1.2.1 ความหมายของวิชา 1.2.2 ขอบเขตการศกึ ษา 1.2.3 ความเป็นมาของวิชา 1.2.4ความสัมพนั ธ์กบั ศาสตร์อน่ื 1.2.5 รฐั ศาสตร์ตามแนวพทุ ธศาสตร์ 1.3 วัตถปุ ระสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1.3.1 อธิบายและวเิ คราะห์แนวคดิ ทฤษฎีการปกครองตามทัศนะของนักคดิ ตะวันตกได้ 1.3.2 อธิบายและวเิ คราะห์แนวคิดเก่ียวกบั การปกครองท่ีปรากฏในพระไตรปิฏกได้ 1.3.3 อธิบายและวเิ คราะห์ความสมั พนั ธข์ องแนวคดิ ทางคดโี ลกและคดธี รรมได้ 1.4 กิจกรรมการเรียนการสอนบรรยาย/อภิปราย 1.4.1 ตง้ั ประเด็นปัญหาและแสวงหาคาํ ตอบร่วมกัน 1.4.2 สรุป เอกสารประกอบคําบรรยายแตล่ ะคาบ 1.4.3 นําเสนอผลการค้นควา้ ของกลมุ่ ตามหวั ขอ้ ท่ีผู้สอนกําหนด 1.5 สือ่ การเรยี นการสอน 1.5.1 เอกสารประกอบการสอน 1.5.2. คอมพิวเตอร์ (Power Point) 1.5.3 วิดีทัศนแ์ ละภาพยนต์ 1.5.4 ทัศนศึกษานอกสถานที่

13 1.6 สารตั ถะวชิ ารัฐศาสตรก์ ารเมอื งการปกครองในบทท่ี 1 1. ความหมายของรัฐศาสตร์ 2. ขอบเขตของรัฐศาสตร์ 3. ประวัตคิ วามเป็นมาของวชิ ารฐั ศาสตร์ 4. ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งวชิ ารฐั ศาสตร์กบั ศาสตรอ์ ่ืน 5. รฐั ศาสตร์ตามแนวพทุ ธศาสตร์ 6. แนวคดิ เกีย่ วกบั โครงสร้างรัฐศาสตร์ในพระไตรปิฎก 1.7 แบบฝกึ หดั ตอบคําถามประจาํ บทที่ 1

14 1. ความหมายของรฐั ศาสตร์ (The Meaning of Political Science) คําว่า “รัฐศาสตร์” แปลมาจากคําภาษาอังกฤษว่า “Political Science” คําว่า Political เป็น คณุ ศัพท์ของคําว่า “Politics” ซงึ่ มรี ากศัพทม์ าจากคาํ วา่ “Polis” ในภาษากรกี มีความหมายว่า การจัด องค์การทางการเมืองในรูปแบบหนึ่ง มีนักวิชาการหลายท่านได้ให้คํานิยามของรัฐศาสตร์ไว้ แตกต่างกันดังน้ี Webster’ new World Dictionary of the American Language กล่าวถึง ความหมายของ รัฐศาสตร์ว่า “เป็นศาสตร์ท่ีว่าด้วยสถาบันทางการเมือง หรือหลักต่างๆ การจัดองค์การและวิธีการ ปกครอง (สุพจน,์ 2551) David Easton ให้ความหมายของรัฐศาสตร์ว่าได้แก่ “การศึกษาท่ีว่าด้วยการกําหนดคุณค่า ใหแ้ กส่ งั คม ซ่ึงการกําหนดดังกลา่ วเปน็ ทย่ี อมรบั กนั โดยทั่วไป (สพุ จน,์ 2551) Robert A. Dahl กลา่ ววา่ “รฐั ศาสตร์เป็นศาสตร์ว่าด้วยรัฐ” จรูญ สุภาพ กล่าวว่า “รัฐศาสตร์เป็นศาสตร์ท่ีว่าด้วยรัฐ ซึ่งจัดว่าเป็นสาขาหน่ึงของวิชา สังคมศาสตร์ที่กล่าวถึงทฤษฎี การจัดองค์การการเมืองการปกครอง รัฐบาลและวิธีการดําเนินการ ตา่ งๆของรัฐ” จากคํานิยามต่างๆข้างต้นน้ัน มีคําอธิบายรวมๆว่า รัฐศาสตร์เป็นการศึกษาเรื่องราวท่ี เก่ยี วกับการควบคมุ (Control) เก่ียวกบั อิทธพิ ล (Influence) เกย่ี วกับอาํ นาจ (Power) หรือสิทธอิ ํานาจ (Authority) โดยเฉพาะในระดบั ที่เกีย่ วกบั รฐั 2. ขอบเขตของรฐั ศาสตร์ (The Scop of Political Science) รัฐศาสตร์เป็นศาสตร์ท่ีว่าด้วยรัฐซึ่งถือว่าเป็นสาขาหน่ึงของสังคมศาสตร์ที่กล่าวถึงทฤษฎี การจัดตั้งองค์การรัฐบาล และการดําเนินงานของรัฐ มีขอบเขตถึงพฤติกรรมทางการเมือง หรือการ แสวงหาอํานาจทางการเมืองของกลุ่มคน องค์การและสถาบัน ซึ่งมุ่งท่ีจะแสวงหาอิทธิพลต่อ นโยบายของรัฐ และทศิ ทางของการเปล่ียนแปลงทางสงั คม หรือเปน็ ที่เข้าใจกันงา่ ยท่ีสดุ ในประเทศ ไทย คือ เป็นวิชาการเมืองหรือศาสตร์ว่าด้วยอํานาจ ซ่ึงหมายถึงวิชาที่มุ่งศึกษาองค์การที่มีอํานาจ ปกครองรัฐหน่ึง และการแข่งขันกันมอี ํานาจในรฐั หนงึ่ นนั่ เอง ฉะน้ันขอบเขตของวิชารัฐศาสตร์จึงรวมถึงส่วนประกอบทุกส่วนในความ สัมพันธ์ภายใน และภายนอกของรัฐซ่ึงอาจแยกได้เป็น 6 กลุม่ ดว้ ยกันคอื 2.1 ทฤษฎีการเมืองและประวัติความคิดทางการเมือง(Political and History of Political Thought) กลุ่มนี้วิจัยถึงทฤษฎีตํารา และความคิดเห็นสําคัญต่างๆต้ังแต่สมัยโบราณจนถึงสมัย ปจั จบุ นั เพือ่ จะทราบเหตผุ ลรวมทั้งการสบื ตอ่ เนือ่ งกันของสถาบนั ทางการเมอื ง

15 2.2 สถาบันทางการเมือง (Political Institutions) เป็นการศึกษานิยามระบบองค์ประกอบ และอํานาจของสถาบันทางการเมือง รวมทั้งการจัดต้ังและโครงสร้างของการปกครองของรัฐและ การปกครองเปรียบเทียบ 2.3 กฎหมายสาธารณะ (Public Laws) เป็นการศึกษาถึงรากฐานของรัฐ รวมทั้งปัญหาการ แบ่งแยกอํานาจ ความสัมพันธ์ของกฎหมายสูงสุดของรัฐ และปัญหาการบังคับให้มีการปฏิบัติตาม กฎหมาย การพิจารณาถึงอํานาจหน้าท่ีของระบบการศาลยุติธรรม และความสัมพันธ์ระหว่างจารีต ประเพณีกบั กฎหมาย 2.4 พรรคการเมือง กลุ่มอิทธิพล และประชามติ (Political Parties, Pressure Groups, Public Opinion) เป็นการศึกษาถึงบทบาทและจุดประสงค์ของการจัดต้ัง ตลอดจนผลของพรรค การเมือง กล่มุ อิทธพิ ล และประชามติ 2.5 รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration) คือ การจัดการกําลังคน เงินและวัสดุ ในอนั ที่จะปฏิบตั ิใหเ้ ป็นไปตามเจตจาํ นงของการปกครองของรัฐ กลุ่มน้ีจึงเกีย่ วขอ้ งโดยเฉพาะอย่าง ยงิ่ กับการปฏิบตั ิให้เปน็ ไปตามอดุ มคติและจุดประสงค์ของรัฐอย่างมีสมรรถภาพและไดผ้ ลมากทสี่ ุด 2.6 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (International Relations) เป็นการศึกษาในด้าน นโยบาย หลักการและวิธีการในความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ แขนงวิชาท่ีรวมอยู่ในกลุ่มนี้ได้แก่ นโยบายต่างประเทศ การเมืองและการบริหารประเทศ องค์การระหว่างประเทศ กฎหมายระหว่าง ประเทศ และการดําเนนิ งานทางทูต (สุพจน,์ 2551) 3. ประวัติความเป็นมาของวิชารฐั ศาสตร์ (The History of Political Science) 3.1 สมัยกรีก การศึกษาเร่ืองรัฐและการเมืองนั้นได้เร่ิมต้นมาตั้งแต่สมัยกรีกโบราณคือ ประมาณ 300ถึง 500 ปีก่อนคริสต์ศักราช กล่าวได้ว่า เพลโต (Plato) เป็นบิดาของทฤษฎีการเมือง ส่วนอริสโตเตลิ (Aristotle) เป็นบดิ าของวชิ ารฐั ศาสตร์ของตะวนั ตก ปราชญ์ทง้ั สองทา่ นไดพ้ ิจารณา รัฐในแง่ของปรชั ญา กล่าวคอื พจิ ารณาเห็นวา่ บรรดาความร้ทู ้งั หลายเปน็ อนั หน่งึ อันเดยี วกันหมด ตามความคดขออริสโตเติลน้ัน แบ่งศาสตร์เป็น 3 ประเภท คือ ศาสตร์ในแง่ของทฤษฎี (Theoretical) ศาสตร์ในแง่ของการผลิต (Productive) ศาสตร์ในแง่ของการปฏิบัติ (Practical) รัฐศาสตร์จัดอยู่ในประเภทที่สาม ท้ังเพลโตและอริสโตเติลมิได้คํานึงถึงประชาธิปไตยมากนัก การ ปกครองตามอุดมคติของเพลโตน้ันควรจะต้องปกครองด้วยผู้ฉลาด ส่วนรัฐทางปฏิบัติที่ดีของ อริสโตเติลนั้นได้ยึดถือหลักของการผสมผสานระหว่างคณาธปิ ไตย และประชาธิปไตย ซ่ึงเป็นการ ออมชอมระหว่างความมง่ั ค่ังและจาํ นวนพลเมอื ง

16 นอกจากนั้นทั้งเพลโต และอริสโตเติล ได้ปฏิเสธท่ีจะยอมรับความคิดเร่ืองความเสมอภาค ของมนุษย์ ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากปัญหาของการปกครองสมัยนครรัฐเอเธนส์นั้น การปกครองแบบ ประชาธิปไตยมกั จะกลายรูปเปน็ การปกครองแบบฝงู ชนและลงทา้ ยดว้ ยการปกครองแบบทรราชได้ ในทส่ี ุด 3.2 สมัยโรมัน มรดกทางรัฐศาสตร์ที่จักรวรรดิโรมันให้กับโลกได้แก่ ความคิดในทาง กฎหมาย หลักนิติศาสตร์ และหลักในทางรัฐศาสตร์ ซ่ึงมีรากฐานมาจากแนวความคิดสโตอิก (Stoic) ซึ่งถือว่ามนุษย์ท้ังปวงมีความเสมอภาคและมีท่ีมาจากพระเจ้าซ่ึงเสมือนเป็นบิดาของมวล มนุษยชาติ มนุษย์ทุกคนจึงมีคุณค่าไม่ว่าจะอยู่ในฐานะต่ําต้อ ยสักเพียงใดก็ตาม ปรัชญาของ ประชาธิปไตยที่มหี ลกั การว่ามนุษย์เป็นผู้มีเหตุผล มศี ลี ธรรม มีความเทา่ เทยี มกัน ตลอดจนความคิด เรอ่ื งกฎธรรมชาตแิ ละสิทธธิ รรมชาติ ล้วนแลว้ แตม่ ที ่ีมาจากหลกั ปรัชญาของสโตอคิ (Stoic)และซิเซ โร (Cicero) ผู้ซ่งึ ได้นาํ ปรชั ญาสโตอิคมาผสมผสานกบั ความคดิ ทางการเมอื งตะวันตก 3.3 สมัยฟ้ืนฟู ตอ่ มาได้เกดิ ความสนใจในการนําการเรียนในสมยั กรีกโบราณและโรมันมา เป็นแนวทางในการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ ได้เกิดรัฐแห่งชาติ (National States) ข้ึนในยุโรปตะวันตก รัฐเหล่าน้ีไม่ยอมรับอํานาจของสังฆราชและศาสนจักรรวมท้ังจักรพรรดิแห่งโรมันอันศักดิ์สิทธ์ิอีก ต่อไป ได้มีการปฏิรูปคร้ังสําคัญโดยให้ศาสนจักรอยู่ภายใต้การควบคุมของกษัตริย์สร้างดุลยภาพ ใหม่ระหว่างอํานาจของฝ่ายอาณาจักรและศาสนจักร นิโคโล มาเคียเวลลี่ (Niccolo Machiavelli) เป็นผู้หน่ึงที่ริเร่ิมแยกการเมืองออกจากศาสนา ยุคน้ีจึงถือเอาเอกภาพของชาติ ความม่ันคงของรัฐ และผลประโยชนข์ องประเทศ อยูเ่ หนอื ความเคารพเช่ือถือสังฆราชและลทั ธิศาสนา 3.4 ยุคใหม่ เร่ิมต้ังแต่คริสต์ศตวรรษท่ี 16 โดยนิโคโล มาเคียเวลล่ี ผู้ซึ่งได้ให้ความสนใจ ในสภาพของปรากฎการณ์ทางการเมืองท่ีเป็นจริง หรือที่เรียกกันว่าเป็นการศึกษาเชิงพฤติกรม กล่าวคือ วิธีการศึกษารัฐศาสตร์ยุคใหม่มักจะไม่สนใจว่าอะไรคือ มาตรฐานของความดีหรือความ ชั่ว และจะไม่สนใจว่าสิ่งใดเป็นเกณฑ์ในการวัด “ความควร” หรือ “ความไม่ควร” ในทางการเมือง การศึกษาในยุคใหม่จะมุ่งพิจารณาและวิเคราะห์ปรากฏการณ์ที่เกิดข้ึนจริงเชิงประจักษ์ (สุพจน์, 2551) 4. ความสัมพนั ธ์ระหว่างวิชารฐั ศาสตร์กบั ศาสตร์อืน่ ๆ เน่ืองจากวิชารัฐศาสตร์เป็นวิชาที่เกี่ยวกับเรื่องการรวมตัวกันของมนุษย์ในทางการเมือง หรือกล่าวได้ว่าเป็นการศึกษาเก่ียวกับรัฐ ซึ่งเป็นที่รวมของประชาชนเข้าด้วยกัน เป็นการศึกษาถึง ลักษณะ กฎเกณฑ์และวิธกี ารปกครองมนุษย์ จึงจําเป็นต้องอาศัยความรู้ของสาขาวิชาอ่ืนๆประกอบ กนั ไปดว้ ย อันได้แก่

17 4.1 รัฐศาสตร์กับประวัติศาสตร์ สองสาขานี้มีความเก่ียวพันมากในประเด็นต่างๆ โดยเร่ิม จากการทีม่ ีผตู้ ้ังข้อสังเกตวา่ “ประวัติศาสตร์” คอื การเมอื งในอดีต และ “การเมือง” คอื ประวัติศาสตร์ ปัจจุบัน อันแสดงให้เห็นถึงเนื้อหาสาระที่ใกล้เคียงกันของท้ังสองวิชานี้ เน้ือ หาสาระของ ประวัตศิ าสตรค์ วบคุมเร่อื งการเมือง เศรษฐกจิ ศาสนา ขนบธรรมเนยี มประเพณตี ่างๆ 4.2 รัฐศาสตรก์ บั เศรษฐศาสตร์ วชิ าเศรษฐศาสตร์ศกึ ษาเรอื่ งการผลติ สนิ คา้ และบรกิ าร การ จําแนกแจกจ่ายและการบริโภค เป็นเรื่องของความอยู่ดีกินดีของคนในสังคม สําหรับรัฐศาสตร์เปน็ วิชาท่ีว่าด้วยการอยู่ร่วมกันของคนหมู่มาก ประเด็นหลักคือ ให้ประชาชนเป็นสุขให้บ้านเมืองมี ความสงบราบร่ืน และให้พลเมืองได้รับความปลอดภัยและความยุติธรรม ดังน้ัน ความคาบเก่ียวท่ี สําคัญคือ ความเป็นอยู่ของคน ท้ังสองวิชา มุ่งให้คนมีชีวิตอยู่อย่างดีแต่แตกต่างกันในเชิงมิติหรือ แง่มมุ 4.3 รัฐศาสตร์กบั ภูมศิ าสตร์ สภาพทางภูมิศาสตร์มีความสําคัญเกย่ี วกบั ความกินดีอย่ดู ี หรือ การขาดแคลนของราษฎร ซึง่ มีผลต่อเสถยี รภาพและการพัฒนาทางการเมืองของประเทศ นอกจากนี้ ยังเก่ียวกับความมั่นคงปลอดภัยของประเทศด้วย มีการศึกษาทางภูมิศาสตร์ท่ีเกย่ี วข้องกับรัฐศาสตร์ อยู่ 3 แนวทาง คือ ทฤษฎีเขตแดน ภูมิศาสตรท์ างการเมือง และภมู ิรัฐศาสตร์ 4.4 รฐั ศาสตร์กบั สงั คมวิทยา สังคมวทิ ยาเป็นศาสตร์ท่ีครอบคลุมชีวิตทางสังคมไวท้ ั้งหมด สังคมวิทยาการเมอื งมีความสัมพันธเ์ กยี่ วกบั รฐั ศาสตรใ์ นเรื่องปัจจยั ทางสังคมทีม่ ีต่อการเมือง สังคม วิทยาการเมืองจะศึกษาว่าปัจจัยทางสังคม คือ ภูมิหลัง (อายุ ระดับการศึกษา ครอบครัว ภูมิลําเนา) ของบุคคลมีผลกระทบต่อความคิดและการกระทําของนักการเมืองและปรากฏการณ์ทางการเมือง ต่างๆ อย่างไร 4.5 รัฐศาสตร์กับมานุษยวิทยา มานุษยวิทยามีขอบข่ายกว้างขวางเป็นการศึกษาเรื่องราว ของมนุษย์มิใช่เฉพาะทางด้านสังคมเท่าน้ัน แต่รวมท้ังสภาวะทางกายภาพซึ่งเกี่ยวโยงถึงเร่ืองต่างๆ รวมทั้งวิวัฒนาการของมนุษย์ มานุษยวิทยาการเมืองให้ความสนใจในเรื่องลักษณะของผู้นําแบบ ดง้ั เดิมหรอื ผ้นู าํ ในชมุ ชนท่ยี งั ดอ้ ยความเจริญ และการกอ่ ตวั ขององคก์ ารทางการเมอื ง 4.6 รัฐศาสตร์กับจิตวิทยา จิตวิทยาเน้นการศึกษามนุษย์ในเรื่องการเรียนรู้ ความจํา ระบบ ประสาท สติปัญญา ทักษะ การพัฒนาทางความคิด บุคลิกภาพ ฯลฯ รัฐศาสตร์ใช้วิธีการหรือความรู้ ทางจติ วิทยาสังคมในการอธิบายหรือศึกษาและคาดการณ์ต่อปรากฏการณ์ทางการเมืองในดา้ นต่างๆ ได้แก่ การวิเคราะห์มติมหาชน จิตวิทยาการเมือง ศึกษาในเร่ืองพฤติกรรมการออกเสียงลงคะแนน การโฆษณาชวนเชื่อ วิถชี ีวิตของนักการเมอื งในระดบั ผู้นาํ

18 4.7 รัฐศาสตร์กับปรัชญาและจริยศาสตร์ ความสนใจร่วมกันของรัฐศาสตร์กับปรัชญา และจริยศาสตร์ในเรื่องดังนี้ ความยุติธรรมหรือความเป็นสัมมา สันติวิธีหลักปกครองบ้านเมืองซึ่ง องิ คําสอนทางศาสนา และการถอื หลักเสรีภาพ เสมอภาค 4.8 รัฐศาสตร์กับนิติศาสตร์ วิชานิติศาสตร์กับวิชารัฐศาสตร์มีความเก่ยี วพันกนั มาก โดยท่ี ชาติบ้านเมืองย่อมมีกฎหมายรัฐธรรมนูญเป็นหลักในการปกครองประเทศ ความเก่ียวพันของ รัฐศาสตร์กับนิติศาสตร์ได้แสดงออกในรูปของหลักสูตรวิชารัฐศาสตร์และวิชานิติศาสตร์ซึ่งมัก อาศัยเนอื้ หาสาระของกนั และกนั 4.9 รัฐศาสตร์กับวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐศาสตร์กับสาขา ทางวิทยาศาสตร์มีดังต่อไปนี้ พิจารณาเชิงกําลังอํานาจ พิจารณาเชิงความต้องการทางพลังงาน เชื้อเพลิง พจิ ารณาเชงิ การผลิตทางการเกษตร ความสาํ คญั ในเชิงการทูต 4.10รัฐศาสตร์กับประชากรศาสตร์ รัฐศาสตร์มีส่วนเกี่ยวพันกับนโยบายและการ บริหารงานด้านประชากร นโยบายเรื่องประชากรสาํ คัญย่ิง เพราะมีแนวโน้มที่จะขยายตัวในอัตราที่ เร็วกว่าการเพ่ิมทางการผลิตจากทรัพยากรเดิมที่มีอยู่ ตามทฤษฎีของมัลธัส (Malthus)หากปล่อยให้ ประชากรเปน็ ไปตามธรรมชาติ ยอ่ มมผี ลกระทบกระเทือนตอ่ ความอยู่ดกี ินดขี องราษฎร 4.11รัฐศาสตร์กับสาขาวิชาอ่ืนๆ ได้แก่ รัฐศาสตร์กับศิลปกรรม รัฐศาสตร์เกี่ยวข้องกับ ศลิ ปวฒั นธรรมทกุ ๆดา้ นไม่วา่ จะเป็น จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพยนต์ ดนตรี และการนนั ทนาการ นานาประเภท รัฐศาสตร์กับนวนิยาย เร่ืองราวเก่ียวกับผู้นําสําคัญๆ มักมีผู้เรียบเรียงเป็นหนังสือนว นิยายหรอื บทภาพยนต์ รัฐศาสตร์กบั โหราศาสตร์ ผูน้ ําคนสําคัญตา่ ง ๆ มกั จะใชโ้ หราศาสตร์ในการดู ฤกษ์ยามคาํ ทาํ นายของโหราจารย์กอ่ นทกี่ าํ หนดการทาํ อะไรทส่ี ําคญั (สุพจน,์ 2551) วิชารัฐศาสตร์มีขอบเขตกว้างขวางมาก และมีความเกี่ยวข้องกับสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ อ่ืนๆ อีกหลายสาขาวิชา อาทิ สังคมวิทยา มานุษยวิทยา ประวัติศาสตร์ นิติศาสตร์ สถิติ จริยศาสตร์ ปรัชญา เป็นต้น การจาํ แนกขอบเขตสาขาวชิ ารัฐศาสตร์ออกไปในรายละเอยี ดก็เพื่อชกั จูงให้ผ้ศู ึกษามคี วามรู้ เจนจัด และชํานาญการในสาขาวิชาเฉพาะอย่าง จะได้ตอบสนองความต้องการของสังคมได้อย่าง เตม็ ท่ี และเน่ืองจากแต่ละสาขาวิชาได้กระทําหน้าที่หรือได้นําไปใช้ประสานกับสาขาอ่นื ๆ แลว้ ก็จะ บรรลุถึงจุดหมายหรือวัตถุประสงค์ของวิชารัฐศาสตร์ นั่นคือความเป็นระเบียบ ความมีเสถียรภาพ ความม่ันคง ซ่งึ นําไปสู่ความผาสกุ ของสงั คมมนษุ ยชาตเิ ปน็ สว่ นรวม ความสัมพันธร์ ะหวา่ งพทุ ธศาสตรก์ ับรัฐศาสตร์ มีขอ้ ชวนให้สงสัยวา่ รฐั ศาสตรเ์ ปน็ คดโี ลก พระพุทธศาสนาเปน็ คดธี รรมมิใช่หรือ เหตไุ ฉน จึงนาํ เร่ืองรฐั ศาสตรต์ ามแนวพุทธศาสตรม์ ากล่าวจะมเิ ป็นการขัดแยง้ กนั ในตัวเองหรือ

19 ถ้าจะเปรียบคดีธรรมเหมือนหลังคาท่ีคุ้มแดดคุ้มฝน หรือร้ัวบ้านที่ป้องกันโจรผู้ร้าย คดี ธรรม คือ หลังคาและรว้ั กเ็ ปน็ ส่งิ จาํ เปน็ สาํ หรบั บา้ นหรือประเทศชาติทุกยคุ ทกุ สมยั ตามท่ีปรากฏในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ ในสมัยใดผู้ปกครองตั้งอยู่ในธรรมให้ความ เป็นธรรม ใช้ธรรมเป็นหลักการในการบริหารบ้านเมือง ในสมัยนั้นประชาชนก็มีความสุขความ ร่มเย็น แต่ถ้าตรงกันข้าม ผู้ปกครองไม่ตั้งอยู่ในธรรม ไม่ให้ความเป็นธรรมไม่ใช้ธรรมเป็นหลักใน การบริหารบ้านเมือง สมัยน้ันก็จะมีความทุกข์ระทม การถูกข่มแหง รังแก การปราศจากท่ีพึ่ง ประชาชนจะรู้สึกเหมือนหนึ่งอยู่ในบ้านที่ไม่มีเคร่ืองคุ้มแดดคุ้มฝน ไม่มีรั้วบ้านที่ป้องกันโจรผู้ร้าย ธรรมจึงเป็นหลักสาํ คัญทุกยุคทกุ สมัย และทุกระบบหรือระบอบการปกครอง กลา่ วคือ ไม่ว่าจะเปน็ ระบบหรือระบอบการปกครองใดๆก็ตาม ถ้าไม่ใช้ธรรมเป็นหลัก ระบบการปกครองน้ันๆ ก็ไม่ต่าง อะไรกับเครอ่ื งจองจําทําโทษประชาชนเราดีๆนเ่ี อง 5. ความหมายวชิ ารฐั ศาสตรต์ ามแนวพุทธศาสตร์ พระพุทธศาสนาบัญญัติหลักธรรมต่างๆท่ีสามารถนํามาใช้กับการปกครองรัฐในอันที่จะ ก่อให้เกิดความผาสุกของประชาชน อันเป็นจุดหมายปลายทางของการศึกษาเกี่ยวกับรัฐ หลักธรรม ต่างๆในพระพุทธศาสนาสามารถนํามาประยุกต์กับวิชารัฐศาสตร์ในทุกลักษณะ ไม่ว่าจะเป็นทฤษฎี รัฐศาสตร์ สถาบันทางการเมือง กฎหมายสาธารณะ รัฐประศาสนศาสตร์ กระบวนการทางการเมือง (กลุ่มผลประโยชน์ พรรคการเมือง มติมหาชน) ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ฯลฯ ทั้งนี้ก็เพราะ พระพุทธศาสนาเน้นถึงการใช้ธรรมะที่สามารถนํามาประยุกต์กับการศึกษาเก่ียวกับรัฐและการ ปกครองรัฐได้เป็นอย่างดี วชิ ารฐั ศาสตร์ในส่วนที่เกย่ี วกบั ลัทธิการเมืองน้นั ศกึ ษาเกย่ี วกับลทั ธิการเมืองทกุ ลทั ธิ ไมว่ า่ จะเป็นลัทธิเผด็จการหรือประชาธิปไตย สําหรับพระพุทธศาสนาก็เช่นเดียวกันธรรมะใน พระพุทธศาสนาสามารถนําไปใช้กับรูปแบบการปกครองได้ทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบการ ปกครองท่ีเผด็จการหรือประชาธิปไตย เช่น รูปการปกครองแบบเผด็จการ ถ้าผู้ปกครองมี ทศพิธราชธรรมก็จะสามารถนําเอาหลักทศพิธราชธรรมนํามาใช้กับการปกครองในรูปแบบ ประชาธิปไตยได้ด้วย เช่น ถ้าเป็นรูปแบบประธานาธิบดี (Presidential form) ผู้เป็นประมุขของรัฐ และหัวหน้าฝ่ายบริหาร ถ้าประธานาธิบดีเป็นผู้ท่ีมีทศพิธราชธรรมแล้ว ก็จะสามารถยังความผาสุก ในการปกครองมาสปู่ ระชาชนไดห้ รือถา้ เปน็ รปู แบบรัฐบาลแลว้ คณะรฐั มนตรหี รอื รฐั สภา (Cabinet or Parliamentary Form) เชน่ ในประเทศอังกฤษ ญี่ปุ่น ประเทศไทย ออสเตรเลยี นิวซีแลนด์ แคนาดา ฯลฯ ถ้ารัฐมนตรีผู้ใช้อํานาจบริหารมีทศพิธราชธรรมก็จะทําให้ประชาชนได้รับความสุข แม้แต่ ระบบการปกครองแบบเผด็จการรูปอื่น ที่ไม่ปฏิเสธพระพุทธศาสนา และนําเอาหลักธรรมะใน

20 พระพุทธศาสนาไปใช้กับการบริหารของตนก็จะสามารถสร้างประโยชน์และความผาสุขให้แก่ ประชาชนได้เช่นเดียวกนั พระพุทธเจ้าในสมัยท่ียังมิได้เสด็จออกแสวงพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ ได้ทรงศึกษา ได้ทราบระบบการปกครองต่างๆในคร้ังพุทธกาล ทุกรูปแบบ เมื่อทรงสั่งสอนพระพุทธศาสนา จึง ทรงสอนนกั ปกครองให้สรา้ งความผาสุขสมบูรณ์แกป่ ระชาชนอย่างกว้างขวางลกึ ซงึ้ ข้อความท่ีกล่าวต่อไปน้ี เป็นคําสอนทางพระพุทธศาสนาเก่ียวข้องกับรัฐศาสตร์คือ การ กล่าวถึงการปกครองต้ังแต่อย่างกว้างสุดมาถึงการปกครองร่างกายจิตใจของตนเอง และในการ ปกครองนัน้ ทางพระพทุ ธศาสนาแสดงคณุ ธรรมทงั้ ของผู้ปกครองและของประชาชนรวมทง้ั การจัด กิจการของรฐั แนวทางท่ีกํากบั การปฏิบตั ิแหง่ กลไกของรัฐ เช่น ระบบราชการ สถาบันทางการเมือง และสถาบนั ตุลาการ เปน็ ตน้ 5.1 ระดับโลกทรงแสดงหลักธรรมในการปกครองโลก ซึ่งนับว่ากว้างขวางท่ีสุด ไม่จํากัด เพียงบ้านเมืองหรือประเทศใดประเทศหนึ่ง หลักธรรมน้ีเรียกว่า “โลกบาล” แปลว่า “ธรรมเป็น เครื่องคุ้มครองโลก”(องฺ.ทุก. 20/65) ซ่ึงนับว่ากว้างขวางกว่าคําว่ารัฐบาล เทศบาล และสุขาภิบาล อย่างเทียบกันไม่ได้ หลักธรรมท่ีเป็นโลกบาลไม่จุกจิกอะไรมาก มีเพียง 2 ข้อเท่านั้น คือ หิริ ความ ละอายแก่ใจ และโอตตัปปะ ความเกรงกลัวต่อความชั่ว ความไม่ดีไม่งามท้ังหลาย (คณะกรรมการ ตําราแห่งชาต,ิ 2526) คุณธรรม 2ข้อน้ี จําเป็นทั้งผู้ปกครองและผู้อยู่ใต้ปกครอง หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่ง จําเป็น สาํ หรบั ผู้อยใู่ นโลกทกุ คน 5.2 ระดับการปกครองหลาย ๆ ประเทศ เช่น การปกครองของพระเจ้าจักรพรรดิผู้มีอํานาจ ปกครองประเทศที่เป็นอาณานิคม พระพุทธศาสนาสอนให้ปกครองโดยธรรมเช่นเดิม และธรรม ทวี่ า่ น้ีก็คอื จักรวรรดิวัตร 12 ประการ(ท.ี ปา. 11/65) คือ (1) ใหค้ วามคมุ้ ครองอันเป็นธรรมแกพ่ ลกาย คือ กองทหารท่ีอยูใ่ ต้บงั คับบัญชา (2) ให้ความคุ้มครองอันเป็นธรรมแก่กษัตริย์อื่นๆท่ีอยู่ใต้การปกครองของพระองค์ เช่น กษตั ริย์ประเทศราช (3) ให้ความคมุ้ ครองอันเป็นธรรมแก่ผตู้ ดิ ตาม หรือผ้เู ป็นบรวิ าร (4) ให้ความคุ้มครองอนั เป็นธรรมแก่พราหมณ์ (5) ให้ความคมุ้ ครองอันเปน็ ธรรมแกผ่ ู้ครองเรือน (คฤหบด)ี (6) ให้ความคมุ้ ครองอนั เป็นธรรมแก่ชาวนิคมชนบท (7)ให้ความคมุ้ ครองอนั เปน็ ธรรมแก่สมณพราหมณ์ (นักบวช) (8) ใหค้ วามคมุ้ ครองอันเปน็ ธรรมแกเ่ นื้อ

21 (9) ให้ความคมุ้ ครองอนั เป็นธรรมแก่นก (10) ขัดขวางผ้ทู ําการไมเ่ ปน็ ธรรม (11) เพม่ิ ทรพั ย์ใหแ้ ก่ผ้ไู ม่มีทรัพย์ (จัดระบบเศรษฐกจิ ใหด้ ี) (12) เขา้ ไปหาสมณพราหมณ์ไต่ถามปญั หา (สนใจศาสนาและศีลธรรม) คุณธรรม 12 ประการนี้จะจัดว่าเป็น 10 ข้อก็ได้ คือ รวมพราหมณ์เข้ากับคฤหบดี รวม เนอื้ เข้ากับนก และอาจย่อได้ 3 ประการ คือ (1) ใหค้ วามรคู้ ุ้มครองอนั เป็นธรรมแก่บคุ คล และสตั วใ์ นเขตการปกครอง (2) จัดการเศรษฐกิจใหด้ ี จะไดเ้ ปน็ การเพม่ิ ทรพั ย์แก่ผู้ไมม่ ีทรัพย์ (3) สนใจในศาสนาและศลี ธรรม 5.3 ระดับการปกครองประเทศ ทรงแสดงทศพิธราชธรรม (มหาหังสชาดก พระไตรปิฎก เลม่ 28 หน้า 87) คือ คณุ ธรรมของผปู้ กครองประเทศ10 ประการ ได้แก่ (1) ทาน การให้ เพอ่ื สงเคราะห์ อนเุ คราะห์ (2) ศลี การควบคมุ พฤตกิ รรมทางกาย วาจา ให้เรยี บรอ้ ย (3) บรจิ าค การสละทรัพย์ เพื่อสาธารณประโยชน์ หรือสาธารณูปโภค (4) อาชวะ ความเปน็ ผซู้ อื่ ตรง ไม่คดโกง (5) มัททวะ ความอ่อนโยน (6) ตบะ ความขยนั หม่ันเพียร (บางมตวิ ่า รกั ษาอโุ บสถ) (7) อักโกธะ ความไมโ่ กรธ พยายามขม่ หรือระงบั ความโกรธ (8) อวิหงิ สา ความไม่เบยี ดเบยี น (มีกรุณา) (9) ขันติ ความอดทน อดกลั้น (10) อวิโรธนะ ความไม่ประพฤตผิ ดิ หลักธรรม และจารตี ประเพณี 5.4 ระดับของผู้เป็นใหญ่ปกครองผู้อ่ืน ทรงแสดงวัตตบท คือ ข้อปฏิบัติประจํา 7 ข้อ (พระไตรปิฎก เลม่ 15 หน้า 339) คือ (1) เล้ียงมารดา บดิ า (2) เคารพผใู้ หญ่ในสกุล (3) พูดอ่อนหวาน ผกู มติ ร (4) ไมย่ ยุ งให้แตกร้าว (5) ไม่ตระหนี่ถี่เหนียว รจู้ กั เอือ้ เฟอ้ื เผือ่ แผ่ (6) รกั ษาวาจาสตั ย์ (7) รู้จักระงบั ความโกรธ

22 5.5 ระดับข้าราชการ ซึ่งมีส่วนร่วมในการปกครองประเทศ ควรประกอบด้วยคุณธรรม อะไรบ้าง มกี ลา่ วไว้มากในวิธุรชาดก ( ขุ.ชา 28/305-364) จะขอคัดมาสัก 4 บท ดังต่อไปนี้ (1) มารยาทดี มีศิลปะ ฝกึ ฝนตน สร้างความสามารถแกต่ น สนใจในหน้าท่ี ออ่ นโยน ไม่ ประมาท เห็นแกค่ วามสะอาด (ความดงี าม) ผู้นัน้ ควรอยใู่ นวงราชการได้ (2) ไม่พูดเกินขอบเขต ไม่นิ่งเสียตลอดเวลา เม่ือถึงกาลอันสมควร ก็กล่าวถ้อยคําท่ีไม่ พรํ่าเพร่อื พอเหมาะผนู้ ั้นควรอยูใ่ นวงราชการได้ (3) มีปัญญา สมบูรณ์ด้วยความรู้ ฉลาดในวิธีการจัดงาน รู้กาล รู้สมัย ผู้นั้นควรอยู่ใน วงราชการได้ (4) หมน่ั ขยันในการงาน ไมป่ ระมาท ใช้ปญั ญาพิจารณาจดั การงานไดด้ ี 5.6 ระดับผู้ปกครองบ้านเรือน ฆราวาสธรรมหรือธรรมของผู้ปกครองเรือน (ส.สคาถ. 15/316.)ทรงแสดงธรรม4 ประการ และโปรดอ่านพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว พระราชทานแกป่ ระชาชนชาวไทยในโอกาสฉลองกรุงรัตนโกสนิ ทร์ 200ปีด้วย (1) สจั จะ ซื่อสตั ย์ (2) ทมะ รู้จักขม่ จติ ของตน (3) ขนั ติ อดทน (4) จาคะ สละสิ่งของแก่ผู้ควรสละให้ รวมทั้งสละประโยชน์ส่วนตน เพื่อประโยชน์ ส่วนรวม 5.7 ระดับเอกชน คือ การปกครองรา่ งกาย จติ ใจของตนเอง ทรงแสดงไวใ้ นมงคลสูตร ว่าการตัง้ ตนไว้ชอบเป็นมงคลอันสูงสุด และทรงแสดงคุณธรรม อื่นอีกว่าเป็นมงคลแทนมงคลภายนอก หรือมงคลในด้านโชคลาง โดยช้ีไปท่ีความประพฤติดี ประพฤติชอบต่างๆ เช่น การให้ปัน การประพฤติธรรม การสงเคราะห์ญาติ การไม่ปล่อยการงานให้ คั่งค้างอากูล การเว้นจากความชั่ว การสํารวมในการดื่มน้ําเมา ความไม่ประมาท เป็นตน้ 5.8 ทรงสอนให้จัดการเศรษฐกิจให้ดี ทั้งในระดับเอกชน และระดับประเทศ ทรงแสดง ประโยชน์ 3 ข้ัน คือ (1) ประโยชน์ปัจจุบัน หรือประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคม (2) ประโยชน์ อนาคต คือ ประโยชน์เศรษฐกิจและสังคมท่ีย่ังยืนไปถึงอนาคต ซึ่งต้องอาศัยหลักศีลธรรมเข้าช่วย (3) ประโยชน์อย่างย่งิ คือ ความหลดุ พน้ จากความทกุ ข์ ความเดอื ดร้อนทง้ั ปวง (องฺ.อฎฐฺ ก. 23/294.) การที่ทรงแสดงประโยชน์ปัจจุบัน หรือประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคมนั้น ทรงสอนให้ ขยันหมั่นเพียร ให้รู้จักเก็บรักษาทรัพย์ที่หามาได้ ให้รู้จักคบเพื่อนที่ดีงาม และให้รู้จักใช้จ่าย พอเหมาะสม คําสอนระดับนี้ เป็นการสอนให้ทุกคนมีฐานะดีขึ้นกว่าเดิม ด้วยให้รู้จักจัดการ เศรษฐกิจสว่ นบุคคลใหด้ ขี ึ้น

23 ส่วนการสอนให้จัดเศรษฐกิจให้ดีในการปกครองรัฐ หรือประเทศนั้น ปรากฏในกูฏทันต สูตร (ท.ี สี.9171/173) เป็นการสอนให้แกป้ ัญหาโจรผู้ร้าย และอาชญากรรม ดว้ ยแกป้ ญั หาของบุคคล 3 ประเภท คือ เกษตรกร พอ่ คา้ รวมทั้งอตุ สาหกรรม เพราะสมยั น้ันยังมไิ ด้แยกกัน และขา้ ราชการให้ หาทางสนบั สนจุ เกษตรกร ดว้ ยการแจกพชื ส่งเสรมิ พ่อค้าและอุตสาหกรรมด้วยการช่วยเกีย่ วกับทุน (ประเทศไทยมีคณะกรรมการส่งเสริมการลงทนุ เม่อื ต้นศตวรรษท่ี 25 ของพระพทุ ธศาสนานี่เอง ซง่ึ ยังนับว่าดีกว่าไม่มีเสียเลย) นอกจากน้ันทรงสั่งสอนให้ดูแลข้าราชการที่ซ่ือสัตย์สามารถให้มีความ เป็นอยู่ดีทั้งในด้านค่าจ้างและอาหาร เม่ือเศรษฐกิจของคนทั่วไปดีข้ึน โจรผู้ร้ายและอาชญากรรม ต่างๆก็จะลดลง 5.9 ทรงสอนให้ย่อรัฐ ย่อเมือง ย่อบ้าน มาอยู่ท่ีร่างกายของจิตใจน้ี และในขณะเดียวกัน ก็ ทรงสอนให้ขยายร่างกายจิตใจแต่ละคนให้เป็นเสมือนหนึ่งบ้านเรือน เมือง รัฐ และโลก พร้อมด้วย ให้มีคุณธรรมกํากับการปกครองส่วนนั้นๆ ประหนึ่งว่าทุกคนมีโลกปกครองกันคนละโลก คือ เป็น เจ้าโลก มีรัฐ หรือประเทศปกครองกันคนละประเทศมีเมืองปกครองกันคนละเมือง มีบ้านปกครอง คนละบ้านดว้ ยการปกครองร่างกายจติ ใจของตนน้เี อง พระพทุ ธภาษติ ท่ชี วี้ า่ โลกก็อยทู่ ่รี า่ งกายจิตใจนีเ้ องคือข้อความในโรหติ ัสสสูตร(ขุ.ธ.25/-35) ท่ีว่าประเทศหรือรัฐ คือร่างกายจิตใจน้ีเอง ได้แก่ข้อความในพระไตรปิฎกเล่ม 25 หน้า 23 ท่ีว่า ร่างกายเหมอื นหม้อดิน (ท่ีแตกง่าย) จิตใจเหมือนเมือง ซึ่งจะต้องป้องกัน และจะต้องรบกับพญามาร คือ ศตั รดู ว้ ยอาวธุ คือ ปัญญา พึงรักษาชยั ชนะไว้ไมเ่ หน็ แกก่ ารพักผ่อน ในกรณีท่ีเปรียบตัวเราเหมือนเมืองนั้น ยังมีพระพุทธภาษิตอีก 2 แห่ง คือ แห่งหนึ่งสอนไว้ ว่า “นครชายแดน ได้รับการคุ้มครองภายใน ภายนอกฉันใด ท่านท้ังหลายจงคุ้มครองตัวเองฉันน้ัน เถดิ อย่าปลอ่ ยให้กาลเวลาล่วงไปเปล่า” ส่วนอีกแห่งหน่ึงท่ีเปรียบร่างกายเหมือนนคร หรือท่ีเรียกว่า “กายนคร” ก็คือพระไตรปิฎก เล่ม 25หน้า 35 ท่ีตรัสไว้ว่า “นครสร้างข้ึนด้วยกระดูก มีเน้ือและเลอื ดเป็นเคร่ืองฉาบทา เป็นสถานท่ี ความแก่ ความตาย ความถอื ตัว และความลบหลบู่ ุญคณุ ผูอ้ ื่นตง้ั ลงแลว้ คําสอนเหล่าน้ี สรา้ งความคดิ ให้คนรู้จักปกครอง ดูแลตวั เอง เหมือนปกครองบา้ นเมอื ง นอกจากน้นั ขอ้ ที่สอนให้ทกุ คนรสู้ กึ ว่า ร่างกายของคนเปรยี บเหมือนบ้านเรือนท่ีเราจะต้อง ปกครองให้ดี ก็คือข้อความในพระไตรปิฎก ซึ่งชี้ว่า ความทะยานอยากเป็นผู้สร้างบ้านเรือนคือ อัตภาพน้ขี ึ้นมา 5.10 คําส่ังสอนที่นับว่าเป็นองค์ประกอบทางรัฐศาสตร์อีกบางประการ คือ การบําเพ็ญ ประโยชน์สาธารณะ เช่น ข้อความในวนโรปสูตร (ส. สคาถ. 15/46 ) แปลว่า สูตรว่าด้วยการปลกู ป่า มคี วามวา่

24 “ผูป้ ลูกสวน ปลกู ปา่ สร้างสะพาน สร้างบอ่ นา้ํ ใหน้ ้ําดม่ื ใหท้ อ่ี ยู่อาศยั บุญย่อมเจริญแก่ผู้นั้น ทกุ เมื่อ ท้งั กลางวัน กลางคืน” 5.11 การบัญญัติพระวินัยท่ีเทียบด้วยกฎหมายสาธารณะ เช่น พระวินัยท่ีกําหนดความ ประพฤติเรียบร้อยดีงาม ห้ามล่วงละเมิดบทบัญญัติ เทียบด้วยประมวลกฎหมายอาญา ต่างแต่ว่า บทบัญญัติทางพระวินัยที่สาํ คัญที่เรียกว่า ปาฏิโมกข์น้ัน จะต้องมีการประชุมกันฟังคํากล่าวทบทวน แบบว่าปากเปลา่ ทุก 15 วนั คือ ในวนั กลางเดือนและปลายเดือน นอกจากนน้ั ยังมบี ทบญั ญตั ิทางพระ วินัยเล็กๆน้อยๆอีกมาก ซ่ึงควบคุมไปถึงมารยาทหรือสมบัติผู้ดี รวมทั้งพระวินัยที่ให้ช่วยกันรักษา สาธารณสมบัติอีกด้วย เป็นต้นว่า เมื่อเห็นส้วมสกปรก ถ้าไม่ทําความสะอาดเอง ไม่ใช่ให้คนอ่ืนทํา ความสะอาด เพิกเฉยละเลยต้องอาบัติ นําเครื่องใช้ของสงฆ์ เช่น เก้าอ้ีออกมาต้ังไว้กลางแจ้ง เม่ือ เสร็จธุระแลว้ ไม่เก็บเอง หรือไมม่ อบหมายใหผ้ อู้ ื่นเกบ็ ก็ต้องอาบัติ เปน็ ต้น 5.12 การสร้างสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ ทรงแสดงคุณสมบัติของนักการทูต 8 ประการ ซ่ึงจะกล่าวเมื่อถึงบทที่ว่าด้วยเรื่องน้ัน นอกจากนั้นยังทรงสอนให้รู้จักผูกน้ําใจกันและกัน ด้วยสังคหวัตถุ คือ เร่ืองของการสงเคราะห์กัน 4 ประการ ซ่ึงจะกล่าวถึงในข้อ12 ถัดจากข้อน้ี บางครงั้ ทรงเล่าเรอื่ งการแยง่ ชิงอํานาจระหว่างประเทศ มีการจับบคุ คลสําคัญไปทาํ ลายชวี ิต กษัตรยิ ์ผู้ เพล่ียงพล้ําส่ังสอนพระราชโอรสผู้ปลอมตนเข้าไปใกล้ โดยสอนเป็นปริศนาธรรม “ไม่ให้เห็นแก่ ยาว (อย่าจองเวรหรือผูกโกรธมิรู้แล้ว) อย่าเห็นแก่สั้น (อย่าตัดสัมพันธไมตรี) เวรย่อมไม่ระงับด้วย การจองเวร แต่ระงบั ดว้ ยการไม่จองเวร” (ว.ิ มหา. 5/322) ผลปรากฏว่า พระราชโอรสผู้น้ันสามารถกู้ บ้านกู้เมืองคืนไดแ้ ละยงั ชนะนํา้ ใจศัตรู โดยศตั รูยอมยกบา้ นเมอื งให้ปกครองเพม่ิ ข้นึ อกี ด้วย 5.13 การผูกมติ รไมตรีมใิ ชเ่ รือ่ งระหว่างประเทศเท่านัน้ แตย่ งั เปน็ เร่ืองจําเป็นในการบริหาร ประเทศอีกด้วย หลักธรรมเรื่องการสงเคราะห์ชว่ ยเหลือกนั และกนั 4ประการ (องฺ.จตุกก. 21/42.)ซ่ึง เป็นทั้งการผูกไมตรีและเป็นการสังคมสงเคราะห์คือ 1. การเอ้ือเฟ้ือให้ปัน 2. การพูดไพเราะ ออ่ นหวาน 3. การบําเพ็ญประโยชน์แก่ผู้อ่ืน และ 4. การทาํ ตวั ให้เข้ากับเขาได้ ไม่แสดงอาการดูหมิ่น เหยียดหยามเขา แต่ละข้อน้ี จําเป็นสําหรับรัฐศาสตร์หรือไม่อาจพิจารณาดูได้ ในสมัยไม่กส่ี ิบปีมานี้ นักวิชาการสังคมสงเคราะห์ ได้ค้นพบว่า การดําเนินงานสังคมสงเคราะห์ด้วยวิธีทําให้คนผู้รับการ สงเคราะห์ พยายามดึงเอาความรู้ ความสามารถของตนออกมาช่วยตนเองใหม้ าก และให้เขาพยายาม ลดความทะยานอยากหรือความต้องการอันรุนแรงลงเสียบ้างน้ัน เป็นการสงเคราะห์ที่ถูกวิธี ทําให้ เห็นชัดว่า พระพุทธภาษิตท่ีสอนให้คนทําตนเป็นท่ีพ่ึงของตน (ขุ.ธ. 25/19.) และพุทธภาษิตที่ว่า “ความทะยานอยากเป็นต้นเหตุให้เกิดทุกข์ถ้าจะดับทุกข์ให้ดับความทะยานอยาก” (วิ.มหา. 4/19.) จัดอยู่ในพระปฐมเทศนา คือคําสั่งสอนครั้งแรกแม้จะตรัสส่ังสอนมากว่า 1500 ปีแล้ว ก็ยังทันสมัย และใชไ้ ด้ดอี ยู่

25 5.14 แม้ว่าการใช้ธรรมเป็นหลักในการปกครอง จะใช้ได้ในการปกครองทุกรูปแบบ แต่ แนวโน้มของพระพุทธศาสนา นิยมไปในทางไม่รวมอํานาจ ไว้ท่ีบุคคลคนเดียว ดังจะเห็นได้ว่า เม่ือก่อนจะปรินิพพาน พระพุทธเจ้าทรงมอบให้พระธรรมวินัยเป็นพระศาสดาของพระสาวก ทั้งหลายแทนพระองค์ คือให้ใช้พระธรรมวินัยเป็นหลัก และในการปกครองคณะสงฆ์ เม่ือมี พระสงฆ์มากข้ึนแล้ว ทรงมอบให้สงฆ์เป็นผู้มีอํานาจสิทธิ์ขาด ในการรับคนเข้าหมู่ (การบวช) ใน การทํากิจการต่างๆของสงฆ์ เมื่อทรงมอบให้สงฆ์เป็นใหญ่แล้ว ภายหลังมีปัญหาเกิดข้ึนก็ไม่ทรง แทรกแซงอํานาจของสงฆ์อีกดว้ ย ดังพุทธภาษติ ที่ว่า “ทรงเคารพในธรรม และเมื่อสงฆ์ถึงความเป็น ใหญ่ (เปน็ ปกึ แผน่ ข้ึนแลว้ ) กท็ รงเคารพในสงฆ์ดว้ ย” (องฺ.จตกุ ก. 21/27-28.) 5.15 เมื่อกล่าวถึงเรื่องการลดความทะยานอยากเป็นการช่วยบําบัดทุกข์อย่างหน่ึง ก็ทําให้ เห็นว่า วิธีการลดหรือดับความทุกข์ทางพระพุทธศาสนาที่เรียกว่า อริยสัจน้ันแม้จะเป็นหลักธรรม ช้ันสูง แต่ก็อาจนํามาใช้ได้ดี ทั้งในการสังคมสงเคราะห์และในการจัดการเศรษฐกจิ ของประเทศ ซ่ึง มีส่วนเกี่ยวกบั รัฐศาสตร์ด้วย กล่าวคือ การบําบัดทุกข์ หรือการสงเคราะห์ในระดับธรรมดา เป็นการ ช่วยจัดสนองความต้องการด้วยวัตถุส่ิงของต่างๆแต่ในการบําบัดทุกข์หรือสงเคราะห์ชั้นสูง ควรมี การสอนให้คนเราเป็นนายเหนือความทะยานอยากต่าง ๆไว้บ้าง ความสุขก็จะหาได้ง่ายขึ้นกว่าเดิม กวา่ ในสมัยทีค่ นตกเปน็ ทาสของความทะยานอยากมากเกินไป 6. รูปแบบและโครงสร้างหลกั รัฐศาสตรใ์ นพระไตรปฎิ ก ในการอธิบายถึงแนวคิดทางรัฐศาสตร์ที่มีในพระไตรปิฏกน้ัน จะต้องอาศัยการศึกษา วิเคราะห์จากหลาย ๆ ด้านด้วยกัน เพราะรัฐศาสตร์น้ันเป็นศาสตร์สมัยใหม่ และคําสอนของ พระพุทธเจ้าก็ไม่ได้กล่าวถึงเรื่องน้ีโดยตรง เพียงแต่เป็นความพยายามท่ีจะนําเอาแนวคิดทางการ เมือง การปกครอง มาวิเคราะห์กับหลักธรรมและรูปแบบวิธีการในการบริหารการปกครองของ พระพุทธเจ้า ซ่ึงการท่ีจะนําเอาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาศึกษาเก่ียวกับเร่ืองของการเมือง การปกครองน้ัน บางคร้ังก็ขึ้นอยู่กับความประสงค์ของผู้ท่ีศึกษาเองว่า จะนําเอาหลักธรรมในทาง พระพุทธศาสนามาอธิบายสนับสนุนหรือคัดค้านรูปแบบการเมืองการปกครองแบบใด เพราะ พระพุทธเจ้าไม่ได้สนับสนุนหรือคัดค้านรูปแบบการเมืองการปกครองใด ๆ โดยเฉพาะ ถ้าหากว่า ระบบการเมืองการปกครองนั้น ๆ เปน็ การปกครองทสี่ ามารถอํานวยประโยชนส์ ุขให้แก่ประชาชน และประเทศชาติได้ ก็ถือว่าระบบการปกครองน้ัน ๆ ก็สามารถที่จะใช้ได้ และไม่ขัดกับหลักธรรม ในทางพระพทุ ธศาสนาแต่อย่างใด ในยุคที่ประเทศไทยสนับสนุนแนวคิดแบบประชาธิปไตย และต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์ อย่างเต็มที่น้ัน ก็มีการอธิบายแนวคิดทางการเมืองของพระพุทธศาสนาว่าเป็นประชาธิปไตย

26 แนวคดิ นเ้ี รม่ิ ตัง้ แตส่ มยั จอมพล ป. พิบลู สงคราม เป็นนายกรัฐมนตรีเร่ือยมา จนกลายเป็นแนวคิดท่ี นักสอนศาสนาท้ังฝ่ายพระสงฆ์และฝ่ายฆราวาสถือว่าเป็นคําอธิบายท่ีถูกต้อง (ปรีชา, 2540) ครั้น ต่อมารัฐบาลที่สืบทอดอํานาจกันเฉพาะในหมู่ทหารได้เสอื่ มอํานาจลง แนวคิดแบบสังคมนิยมและ คอมมิวนิสต์ก็ได้เร่ิมแพร่หลายเข้ามาในกลุ่มนิสิตนักศึกษาซึ่งเป็นกลุ่มท่ีต่อต้านเผด็จการ แต่ ภาพพจน์ของคอมมิวนิสต์ในสายตาของคนไทยยังไม่คอ่ ยดีนัก สังคมนิยมดูเหมือนว่าจะได้รับการ ยอมรับมากกว่า เพราะเป็นเร่ืองของการต่อต้านนายทุน เน้นความเท่าเทียมกันในการแบ่งปัน ผลผลิต จึงเกิดมีการนําแนวคิดทางการเมืองของพระพุทธศาสนามาอธิบายคําว่าสังคมนิยม เช่น พุทธทาส ภิกขุ ได้อาศัยแนวคิดเรื่องธรรมาธิปไตยและการอธิบายธรรมะโดยเน้นความหมายเร่ือง ของธรรมชาติมาอธิบายเร่ืองสังคมนิยม แต่สังคมนยิ มตามทศั นะของท่านนั้นเป็นสงั คมนยิ มตามคติ ในทางพระพุทธ ศาสนา ท่านเรียกว่า ธัมมิกสังคมนิยม ท่านอธิบายสังคมนิยมโดยให้ความสําคัญ แก่ “ธัมมิก” ซ่ึงได้แก่การปกครองโดยธรรม บุคคลผู้ทรงธรรมจึงเป็นปัจจัยสําคัญในความคิดทาง การเมืองของท่าน (ปรีชา, 2537) ซ่ึงสังคมนิยมแบบน้ีมีความแตกต่างจากสังคมนิยมในความหมาย ของรูปแบบการปกครองของตะวันตก แตก่ ็เปน็ การแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความพยายามทีจ่ ะนาํ หลกั ธรรม ทางพระพุทธศาสนาไปอธิบายถึงรูปแบบการเมืองการปกครอง อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าจะนําหลักธรรมในทางพระพุทธศาสนามาอธิบายเกี่ยวกับการเมืองการ ปกครองแบบใด ก็ล้วนแล้วแต่ต้องอาศัยแนวทางในการวิเคราะห์โดยนํามโนทัศน์ทาง พระพุทธศาสนามาเปรียบเทยี บกับมโนทัศน์ทางตะวันตก คอื จะตอ้ งนําเอาทฤษฎีทางการเมืองของ ตะวันตกเข้ามาช่วยในฐานะเป็นกรอบในการวิเคราะห์ เพราะหากวิเคราะห์ไปโดยไม่มีกรอบไม่มี ทฤษฎีแล้ว ก็จะเป็นการวิเคราะห์โดยอาศัยคําสอนในทางพระพุทธศาสนาลว้ น ๆ ถึงแม้ว่าจะทําให้ มีแนวคิดและมองเห็นภาพได้กว้างกว่ากจ็ ริง แต่ก็ทําให้ไม่สามารถเช่ือมโยงเป็นระบบได้ เพราะมี ขอบข่ายที่กว้างเกินไปจนอาจจะจับหลักไม่ได้ ถึงจะมีหลักฐานปรากฎอยู่ในพระไตรปิฏกก็จริง แต่ถ้าปราศจากทฤษฎีหรือกรอบแล้ว ก็ไม่รู้ว่าจะหยิบส่วนใดขึ้นมาศึกษาวิเคราะห์ และถ้าอธิบาย โดยใช้มโนทัศน์ทางตะวันตกมากเกินไป ก็จะเป็นการทําให้เนื้อหาแคบลงไปก็ได้ ปรีชา ช้าง ขวัญยนื ได้ใหค้ วามเห็นไวว้ ่า แนวทางในการวเิ คราะห์ หากอาศัยแนวตะวนั ตกมากก็จะทําให้กลายเปน็ การพิจารณาลาํ เอียง และแคบได้ หากเรื่องน้ัน ๆ พระพุทธศาสนามีแนวคิดที่กว้างกว่า แต่การวิเคราะห์แนวตะวันตกก็ อาจทาํ ให้เห็นกลไกของระบบได้ดกี วา่ และกลไกน้ันก็น่าจะมอี ยู่ (ปรชี า, 2537) ในการศึกษาวิเคราะห์หลักรัฐศาสตร์ท่ีมีในพระไตรปิฏกในครั้งน้ี ก็อาศัยมโนทัศน์ในทาง ตะวันตกมาเป็นกรอบในการวิเคราะห์ โดยนํามาเปรียบเทียบกับหลกั ธรรมในทางพระพุทธศาสนา โดยอาศยั แนวทางในการวเิ คราะห์ 3 แนวทางด้วยกนั คือ

27 1. ศึกษาจากธรรมชาติของมนษุ ย์ 2. ศกึ ษาจากสภาพการเมือง สังคม ทเ่ี ก่ียวข้องกบั พระพุทธศาสนา 3. ศึกษาจากพุทธวิธีด้านการเมือง การบริหารการปกครอง และจากหลักธรรมใน พระพทุ ธศาสนา 6.1 ศกึ ษาจากธรรมชาติของมนุษย์ พระพทุ ธศาสนาได้สอนเรื่องเกี่ยวกับมนษุ ย์ไว้อยา่ งมากมายและลึกซง้ึ เปน็ อยา่ งมาก ถือได้ ว่าเป็นเรื่องหลักของพระพุทธศาสนาทีเดียว แต่จะนํามากล่าวโดยสรุปเพียงส้ัน ๆ พอท่ีจะเป็น แนวทางในการท่ีจะนําธรรมชาติของมนุษย์ไปศึกษาวิเคราะห์ให้เห็นถึงแนวคิดทางรัฐศาสตร์ใน ประเดน็ ตา่ ง ๆ 6.1.1 องค์ประกอบของมนษุ ย์ ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา ทุกสิ่งในโลกนี้รวมท้ังมนุษย์ด้วยมีธรรมชาติเป็น สังขตธรรม คือ เป็นส่ิงท่ีมีเหตุปัจจัยปรุงแต่งข้ึน มนุษย์จึงเกิดจากการรวมตัวกันขึ้นของ องคป์ ระกอบต่าง ๆ ดงั มพี ระพทุ ธพจนใ์ นธาตวุ ิภงั คสูตรวา่ ดูก่อนภิกษุ คนเรานี้มีธาตุ 6 นั้น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูก่อนภิกษุธาตุนี้มี 6 อย่าง คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ วาโยธาตุ เตโชธาตุ อากาศธาตุ วิญญาณธาตุ ข้อที่เรากล่าวดังน้ีว่า ดูก่อน ภกิ ษคุ นเรามธี าตุ 6 น้นั เราอาศัยธาตุดงั น้ีกล่าวแล้ว (ม.อ.ุ 14/679 /328.) ธาตุหกดังกล่าวอาจจัดแบ่งได้เป็น 2 ประการ คือ ธาตุท่ีไร้สัมปชัญญะหรือความรู้สึก ได้แก่ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ วาโยธาตุ และอากาสธาตุ ร่างกายของมนุษย์ประกอบขึ้นด้วยธาตุที่ไร้ สัมปชญั ญะเหล่านี้ และส่วนท่เี ปน็ ธาตรุ ูห้ รอื วญิ ญาณธาตุได้แก่สว่ นทีเ่ ป็นจติ ของมนษุ ย์ คําสอนในทางพระพุทธศาสนามีศูนยก์ ลางอยทู่ ่ีตัวมนษุ ย์และความทกุ ข์ของมนุษย์ จึง ได้พยายามวเิ คราะห์ธรรมชาตขิ องมนษุ ย์จนถึงที่สุด เพอ่ื แสดงให้เห็นว่ามนษุ ย์มีธรรมชาตทิ ี่แท้จริง เป็นสิ่งปรุงแต่งล้วนๆ ซึ่งมีลักษณะเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา จะได้พิจารณาถึงสาเหตุท่ีทําให้เกิด ทุกข์และเข้าถึงวิถีทางดับทุกข์ได้ในที่สุด ในพระสูตรได้แบ่งองค์ประกอบของมนุษย์ออกเป็น 5 ส่วน คือ รูป เวทนา สัญญา สงั ขาร วญิ ญาณ ซง่ึ รวมเรียกวา่ ขันธ์ (สํ.ข. 17/95/47.) มนุษย์เกิดขึ้นจากองค์ประกอบท้ังห้านี้มาประชุมกันเข้า ไม่มีตัวตนท่ีแท้จริง เมื่อแยก ส่วนประกอบท้ังห้าออกจากกันแล้ว ก็จะไม่มีตัวตนของมนุษย์หลงเหลืออยู่เลยท่านเปรียบเหมือน รถ ดงั พระพทุ ธพจนท์ ีว่ า่ ในกองสังขารนี้ล้วนย่อมไม่ได้นามว่าสัตว์ เหมือนอย่างว่าเพราะคุมส่วนทั้งหลายเข้า เสียงว่ารถย่อมมีฉันใด เมื่อขันธ์ห้าท้ังหลายยังมีอยู่ การสมมติว่าสัตว์ก็ย่อมมีฉันน้ัน ความจริงทุกข์

28 เท่านั้นที่เกิด ทุกข์ย่อมตั้งอยู่และเส่ือมไปนอกจากทุกข์ไม่มีอะไรเกิด นอกจากทุกข์ไม่มีอะไรดับ (ส.ํ ส. 15/554 /167.) จะเห็นได้ว่าที่ได้นามว่า “มนุษย์” เป็นเพราะขันธ์ทั้งห้ามาประกอบกันเข้า แต่จะหา ตวั ตนทีแ่ ท้จริงของมนษุ ยน์ ั้นไมไ่ ด้เลย เพราะขนั ธท์ งั้ หา้ นน้ั กม็ ชี อ่ื เรยี กกันเฉพาะอย่างอยู่แล้ว คําวา่ “มนุษย์” เป็นศัพท์บัญญัติใช้สําหรับเรียกสภาวธรรมท่ีเกิดจากการประชุมกันเข้าของเบ็ญจขันธ์ ดงั กล่าว 6.1.2 ธรรมชาตขิ องมนุษย์ มนุษย์เป็นสิ่งหนึ่งในธรรมชาติ เกิดขน้ึ เองตามธรรมชาติ และตอ้ งตกอยภู่ ายใต้กฎของ ธรรมชาติของสิง่ ท่ีเป็นสงั ขตธรรมทง้ั หลายที่เกดิ ขึ้นจากสิง่ ปรงุ แต่ง คอื เม่ือมีการเกิดข้นึ แล้วก็ต้อง แปรปรวนแตกดับไปในที่สุด ไม่ใช่อัตตาตัวตนของผู้ใด มนุษย์และสรรพสิ่งท้ังหลายต่างก็ตกอยู่ ภายใตก้ ฎของพระไตรลักษณ์ คอื ความไมเ่ ท่ียง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ดงั พระพทุ ธพจน์ทวี่ า่ ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย เพราะตถาคตจะอุบัติขึ้นก็ตาม ไม่อุบัติข้ึนก็ตาม ธาตุ น้ันคือความต้ังอยู่ตามธรรมดา ความเป็นไปตามธรรมดา ก็คงตั้งอยู่อย่างนั้นเอง ตถาคตตรัสรู้บรรลุธาตุนั้นว่า สังขารท้ังปวงไม่เที่ยง…สังขารท้ังปวงเป็นทุกข์… ธรรมทัง้ ปวงเป็นอนัตตา… (องฺ.ติกฺก. 20/576/273-274.) ร่างกายของมนุษย์ซ่ึงประกอบไปด้วยขันธ์ห้า เป็นกระบวนการที่ดําเนินไปตามกฎ แหง่ ปฏจิ จสมุปบาท คอื มีอยใู่ นรปู กระแสแหง่ ปัจจยั ตา่ ง ๆ ทสี่ ัมพันธ์เนือ่ งอาศยั สืบตอ่ กนั ขนั ธห์ ้า หรือชีวิตมนุษย์จึงเป็นไปตามกฎไตรลักษณ์ คือ อยู่ในภาวะท่ีไม่เท่ียง เป็นทุกข์คือถูกบีบค้ันด้วย การเกิดขึ้นและการสลายตัวอยู่ทุกขณะ และเป็นอนัตตา คือ ไม่มีส่วนใดที่มีตัวตนแท้จริงและไม่ อาจยึดถือเอาเป็นตัวตนได้ แต่ในมนุษย์ปุถุชนจะมีความหลงผิดเกิดขึ้น เกิดความเข้าใจผิดว่า อัตภาพร่างกายน้ีเป็นของเที่ยงแท้ เกิดความชอบหรือไม่ชอบ ต้องการท่ีจะบังคับควบคุมให้เป็นไป ตามความต้องการของตนเอง แต่ก็ไม่สามารถท่ีจะฝืนความเปลี่ยนแปลงตามกฎของธรรมชาติได้ เมื่อมนุษย์ผู้ท่ีไม่ได้สดับไม่สามารถควบคุมบังคับบัญชาให้เป็นไปตามความต้องการของตนเองได้ ก็จะทําให้เกิดความเป็นทุกข์ ความคับแค้น ภาวะที่จิตไม่รู้จริงตามสภาวะของธรรมชาติน้ีเรียกว่า อวิชชา ทําให้เกิดหลงผิดต้องการให้ทุกส่ิงทุกอย่างเป็นไปตามความปรารถนาของตัวเอง เรียกว่า ตัณหา ทําใหเ้ กิดหลงยึดติดอยู่กับตัวตนที่หลงผิดคิดว่ามีจริงนั้น เรียกวา่ อุปาทาน กเิ ลสเหล่าน้ีแฝง ลึกลับซับซ้อนในจิตใจและเป็นตัวคอยบังคับบัญชาพฤติกรรมทั้งหลายของบุคคลให้เป็นไปต่าง ๆ ตามอํานาจของมัน ทั้งโดยรู้ตัวและไม่รู้ตัว ตลอดจนเป็นตัวหล่อหลอมบุคลิกภาพและมีบทบาท สําคัญในการชช้ี ะตาของบุคคลนัน้ ๆ หรอื กลา่ วได้วา่ เป็นที่มาแหง่ ความทกุ ข์ของมนษุ ย์

29 กำรมีชีวิตอยู่อย่ำงไม่รู้จักกระบวนกำรแห่งชีวิตอย่ำงแท้จริงของมนุษย์ ทำให้หลงผิด คดิ ว่ำเป็นตัวตนและเข้ำไปยึดม่ันถือมั่นไว้ พร้อมทัง้ แฝงไปดว้ ยควำมกลัวและควำมกระวนกระวำย วำ่ สิง่ ทีต่ นกำลังยึดถืออยู่นั้นจะเปล่ยี นแปลงไป เรียกว่ำเป็นกำรอยู่ด้วยอวชิ ชำ ทำใหก้ ระบวนกำร ชีวิตของมนุษย์ไม่เป็นตัวของตัวเอง หรือทำตนเองให้เป็นทำสไปโดยไม่รู้ตัว และยังแสดงผลร้ำย ออกมำอีกเป็นอันมำก คือ ทำให้มีควำมอยำกอย่ำงเห็นแก่ตัว คอยแสวงหำสิ่งต่ำงๆ ท่ีจะมำสนอง ควำมต้องกำรของตนเองอย่ำงไม่มีที่สิ้นสุด และยึดอยำกหวงแหนไว้กับตนโดยไม่คำนึงถึง ประโยชน์ของผู้อ่ืน (กำมุปำทำน) เมื่อเป็นดังน้ีทำให้ยึดถือเอำควำมเห็นหรือทัศนะอย่ำงใดอย่ำง หน่ึงที่ตนเองคิดว่ำถูกต้อง โดยไม่ยอมรับฟังควำมคิดเห็นของบุคคลอ่ืน (ทิฏฐุปำทำน) อุปำทำน ชนิดนี้เป็นสำเหตุสำคัญท่ีทำให้คนเรำขัดแย้งกันท้ังในสังคมและระหว่ำงประเทศ ด้วยควำมยึดถือ ควำมคิดเห็นของตนเป็นใหญ่ ทำให้เกิดกำรประพฤติปฏิบัติที่งมงำยไร้เหตุผลต่ำง ๆ และยดึ มั่นใน ควำมประพฤติเหล่ำนั้น เพรำะรู้เห็นอย่ำงไม่แท้จริง (สีลัพพตุปำทำน) ทำให้เกิดกำรสร้ำงอัตตำ หรอื ตัวตนข้ึนมำอย่ำงลอย ๆ และยึดมั่นในตวั ตนท่ีตัวเองสร้ำงขึ้นมำเองน้ันวำ่ เป็นสิ่งสำคัญ ย่ิงเห็น ว่ำตัวตนสำคัญมำกเท่ำใด ก็ย่ิงเพ่ิมควำมต้องกำรที่จะให้ตัวตนได้ในส่ิงท่ีต้องกำรมำกย่ิงขึ้นเร่ือย ๆ (อัตตวำทุปำทำน) กำรยึดม่ันในตัวตนมำก ก็ย่ิงทำทุกอย่ำงเพ่ือตัวตนมำกตำมไปด้วย ต้องดิ้นรน มำกขึ้นเรอ่ื ย ๆ เพือ่ ต้องกำรท่ีจะให้ตวั ตนมีควำมสำคญั กำรยึดมั่นในอุปำทำนทั้งส่ีน้ีทำให้เกิดกิเลสต่ำง ๆ ตำมมำมำกมำย เช่น ควำมโลภ ควำมพยำบำทคิดร้ำยบุคคลอื่น ควำมโกรธ ควำมผูกโกรธ ควำมลบหลู่คุณควำมดีของบุคคลอ่ืน ควำมตีเสมอ ควำมริษยำ ควำมตระหนี่ ควำมมำยำ ควำมโอ้อวด ควำมหัวด้ือ ควำมแข่งดี ควำมถือ ตัว ควำมดูหม่ินผอู้ ่ืน ควำมมัวเมำ ควำมประมำทเลนิ เลอ่ ซึ่งเรียกว่ำ อุปกิเลส (ม.ม.ู 12/26/26.) ซ่งึ ทำ ให้จิตใจของมนุษย์ขุ่นมัว เศร้ำหมอง ก่อให้เกิดควำมทุกข์และควำมขัดแย้งต่ำง ๆ ขึ้น ควำมทุกข์ และควำมขัดแย้งมิได้มีอยู่เฉพำะในตัวบุคคลผู้เดียวเท่ำน้ัน แต่ยังขยำยตัวออกไปเป็นควำมขัดแย้ง ควำมบีบค้ัน และควำมทุกข์แก่คนอ่ืน ๆ ในสังคมด้วย กล่ำวได้ว่ำภำวะเช่นน้ีเป็นท่ีมำแห่งควำม ทกุ ข์ และเป็นทมี่ ำแห่งปญั หำทง้ั ปวงในสังคม ในทำงตะวันตกได้มีกำรนำเอำธรรมชำติของมนุษย์ ไปอธิบำยถึงแนวคิดทำง กำรเมอื ง กำรปกครองหลำยทำ่ น เชน่ โทมัส ฮอบส์ และ จอหน์ ล๊อค เป็นตน้ ธรรมชำตมิ นุษย์ตำม ทัศนะของฮอบส์นั้นเขำเชื่อว่ำ มนุษย์มีเหตุผลคอยรับใช้ตัณหำ และตัวตัณหำนี้เองที่คอยบงกำรให้ มนุษย์กระทำกำรต่ำง ๆ ทั้งในทำงสร้ำงสรรค์และในทำงทำลำย โดยสร้ำงเหตุผลขึ้นมำรองรับ ตัณหำ เนื่องจำกเหตุผลรับใช้ตัณหำ หำทำงทำให้ตัณหำได้รับกำรสนองตอบ ตัณหำอย่ำงใดแรง เหตุผลก็จะไปรับใช้ตัณหำนั้น มนุษย์จึงโลดแล่นไปตำมตัณหำโดยอำศัยเหตุผลเป็นเครื่องมือ ต่ำง

30 คนต่ำงก็สนองตัณหำของตน เมื่อปรำรถนำในสิ่งเดียวกันก็ขัดแย้งแย่งชิงกันไม่ว่ำจะด้วยกำลังกำย หรือควำมคิด “คนทีเ่ กง่ กวำ่ หรือฉลำดกวำ่ ก็มีโอกำสไดช้ ัยชนะ” (ปรชี ำ, 2540) ฮอบส์ได้สรปุ กฎต่ำง ๆ ของธรรมชำตขิ องมนุษยไ์ ว้ในคำว่ำ “จงอยำ่ ทำในส่ิงที่ท่ำนไม่ ต้องกำรให้คนอื่นทำแก่ทำ่ น โดยอำศยั หลกั กำรดังกล่ำวนี้ควำมสงบสุขจึงจะเกิดขนึ้ ” (ชยั วัฒน์ และ วิธำน, 2533)จำกหลักกำรนี้ของฮอบส์กไ็ ด้แก่ขอ้ ปฏบิ ัติขน้ั ศีล ในทำงพุทธศำสนำน่ันเอง เพรำะถำ้ หำกว่ำมนุษย์ทุกคนปฏิบัติศีลอย่ำงต่ำก็คือ ศีล 5 ซ่ึงเป็นข้อปฏิบัติขั้นพื้นฐำนของมนุษย์แล้ว ควำม ขัดแยง้ หรอื ควำมระสำ่ ระสำยของสงั คมไมม่ ีอย่ำงแน่นอน ฮอบส์เห็นว่ำโดยธรรมชำติแล้วมนุษย์มีควำมเท่ำเทียมกัน ดังน้ันมนุษย์จึงเกิด ควำมหวังท่ีจะได้ตำมที่ตนต้องกำรเหมือน ๆ กันและต้องกำรในสิ่งเดียวกัน ควำมแข่งขัน ควำม ขัดแย้ง และกำรต่อสู้จึงเกิดมีข้ึน ทำให้มนุษย์กลำยเป็นศัตรูกัน ทำลำยล้ำงกัน อยู่กันด้วยควำม หวำดระแวงและรู้สึกว่ำตนเองมีควำมไม่ปลอดภัย ควำมขัดแย้งในลักษณะน้ีจะนำพำมนุษย์ไปอยู่ ในสภำพที่ไม่มีสังคม คงเหลือแต่ควำมกลัวและควำมหวำดระแวง ภัยอันตรำยจำกควำมตำยท่ีน่ำ สยดสยอง ทกุ ข์ทรมำน สภำพแบบนี้ฮอบส์เหน็ วำ่ มนษุ ย์แตล่ ะคนอยูใ่ นสภำพทำสงครำมซงึ่ กันและ กนั ไมม่ ใี ครเปน็ พวกเปน็ มิตรกบั ใคร ต่ำงมุ่งจะทำลำยลำ้ งกนั ลงไปใหจ้ งได้ เขำเรยี กสภำพดงั กลำ่ ว น้วี ่ำ “War of every man against every man” (ชยั วัฒน์ และ วธิ ำน, 2533) เมอื่ ธรรมชำติของมนุษย์มคี วำมเท่ำเทยี มกัน และตอ้ งกำรท่จี ะได้ในสงิ่ เดียวกัน กำรที่ จะได้สิ่งต่ำง ๆ นั้นก็จะต้องเป็นผู้ท่ีมีอำนำจเหนือคนอื่น มนุษย์จึงมุ่งแสวงหำอำนำจตั้งแต่เกิด จนกระทั่งตำย โดยคิดว่ำอำนำจเป็นบ่อเกิดแห่งควำมสุขและควำมสำเร็จในส่ิงท้ังปวง แต่กำรที่จะ ได้มำซ่ึงอำนำจน้ัน มนุษย์ต้องแข่งขันต่อสู้กันด้วยวิธีกำรต่ำง ๆ จนเกิดควำมขัดแย้งและควำมไม่ สงบในสงั คม กำรทม่ี นุษย์แสวงหำอำนำจจนเกินขอบเขตนี้จึงเป็นอันตรำยแกม่ นุษย์เอง มนษุ ย์ใน ทรรศนะของฮอบส์จึงมีลักษณะเป็นผู้แสวงหำอำนำจโดยไม่รู้จักส้ินสุด จนกว่ำตนเองจะหำยไป จำกโลกนี้ “กำรแสวงหำอำนำจโดยไม่ชอบของมนุษย์ ทำให้มนุษย์เพิ่มควำมเห็นแก่ตัว และเห็น แกป่ ระโยชนส์ ว่ นตวั มำกกวำ่ สว่ นรวม ในท่ีสุดก็จะสรำ้ งควำมเดือดร้อนและกำรเบยี ดเบียนกันอย่ำง ไมม่ ที ่สี ิ้นสุด” (ชัยวฒั น์ และ วิธาน, 2533) ฮอบส์จึงได้นําธรรมชาติของมนุษย์ไปอธิบายถึงการกําเนิดของรัฐ ทฤษฎีของเขามีชือ่ ว่า “ทฤษฎีพันธสัญญา” โดยเขาเช่ือว่ารัฐไม่ได้เกิดจากพระเจ้า หรือการท่ีบุคคลบางคนเหนือกว่า คนอ่นื แต่รฐั เกิดขน้ึ โดยหลกั การท่ีวา่ ส่งิ ทีเ่ ราคิดวา่ ผู้อน่ื ไมค่ วรกระทําต่อเราน้นั เราไม่ควรกระทํา ตอ่ ผ้อู ืน่ นค้ี อื หลกั พนั ธสญั ญาที่ทกุ คนต้องยอมรับเพื่อให้เกดิ สนั ติภาพ แตถ่ งึ แม้วา่ จะมพี ันธสญั ญา แล้วก็ตาม ก็ยังมีผู้ที่คอยล่วงละเมิดพนั ธสัญญาน้ีโดยไม่อยากท่ีจะถกู ลงโทษ แต่ต้องการให้ผู้อ่ืนท่ี ละเมิดถูกลงโทษ น้ีเป็นความเห็นแก่ตัว แต่ว่าความเห็นแก่ตัวนี้จะเป็นเครื่องรักษาพันธสัญญาให้

31 คงอยู่ โดยมอบหมายอาํ นาจใหแ้ ก่บคุ คลผทู้ ่จี ะข้ึนมาเปน็ ผใู้ ชอ้ าํ นาจเพือ่ รักษาพันธสัญญานัน้ ไว้เป็น ของส่วนรวม โดยผู้น้ันจะต้องมีอํานาจเต็มท่ีไม่มีการแบ่งแยกอํานาจ และปัจเจกชนไม่มีสิทธิใน การโต้แย้ง ระบบสมบรู ณาญาสิทธิราชย์จึงเป็นระบบท่ีดีทีส่ ุดในทรรศนะของฮอบส์ (ชัยวัฒน์ และ วธิ าน, 2533) ธรรมชาติของมนุษยใ์ นทรรศนะของฮอบส์ กล่าวในแง่ของพระพทุ ธศาสนาได้ว่าเปน็ สภาพของมนษุ ย์ท่ีไมม่ ศี ลี ธรรม รฐั เกิดข้นึ มาเพ่อื เป็นเครื่องมือในการควบคมุ กิเลสของมนษุ ย์ให้อยู่ ในระดับท่ีไม่เป็นอันตรายต่อบุคคลอื่น ๆ ในสังคม ถ้าหากว่ามนุษย์ทุกคนมีศีลแล้ว รัฐหรือ ผู้ปกครองไม่จําเป็นต้องมีก็ได้ แต่เพราะว่าธรรมชาติของมนุษย์น้ันมีกิเลสที่รุนแรงแตกต่างกัน รัฐ หรือผู้ปกครองจึงจําเป็นต้องมี เพ่ือคอยควบคุมระดับกิเลสของมนุษย์ให้อยู่ในระดับพอดี เพื่อที่จะให้มนุษย์หรือประชาชนภายในรัฐพัฒนาตัวเองไปสู่ความดีสูงสุด โดยอาศัยรัฐเป็น เคร่ืองมือ ในการศึกษาถึงหลักรัฐศาสตร์ท่ีมีในพระไตรปิฏกในคร้ังน้ี ก็จะได้นําธรรมชาติของ มนษุ ยไ์ ปอธบิ ายแนวคิดในทางรัฐศาสตร์ในประเด็นต่าง ๆ เชน่ การกําเนดิ รัฐ เปา้ หมายและหน้าท่ี ของรฐั เปน็ ตน้ ซึ่งจะมีรายละเอียดในบทต่อไป 6.2 ศึกษาจากสภาพสงั คม การเมือง ทเี่ ก่ียวขอ้ งกับพระพุทธศาสนา แนวคิดทางการเมืองการปกครองในพระพุทธศาสนาได้รับอิทธิพลจากสภาพสังคมและ การเมืองของอินเดียในสมัยโบราณไม่น้อย ดังน้ันการศึกษาถึงหลักรัฐศาสตร์ที่มใี นพระไตรปิฏกก็ จําเป็นที่จะต้องศึกษาจากสภาพสังคมการเมืองของอินเดียในสมัยก่อนพุทธกาลและในสมัย พุทธกาลด้วย เพราะจะทําให้เข้าใจถึงสภาพสังคมของอินเดียโบราณได้อย่างถูกต้องและจะไมเ่ ป็น การนํามาตรฐานหรือแนวคิดแบบตะวันตกไปเป็นเกณฑ์ตัดสินสภาพสังคมของอินเดียโบราณซ่ึง เปน็ คนละแบบกัน 6.2.1 สภาพสงั คม การเมือง ในสมยั ก่อนพทุ ธกาล ชมพูทวีปหรืออินเดียปัจจุบันเป็นดินแดนท่ีกว้างใหญ่ไพศาลมาก ชนชาติเดิมที่สุดที่ อาศัยอยู่ในอินเดียคร้ังแรกน้ัน เท่าที่นักประวัติศาสตร์ค้นหาหลักฐานมาได้ว่า ชนชาติเดิมท่ีอาศัย อยู่ในอินเดียก่อนท่ีพวกอารยันจะเข้ามา คือ พวกนิกริโต โซนตาล มุนดา และ โกลาเรียน ซ่ึง ปัจจุบนั นี้ยังมีอาศัยอย่บู า้ งในแคว้นพิหาร เบงกอล และตอนกลางของอินเดียบางสว่ น ครั้นต่อมาได้ มีการขนานนามชนอีกพวกหน่ึงที่มีความเจริญน้อยกว่าว่า ทัสยุ หรือ มิลักขะ และเรียกตัวเองว่า อารยัน หรอื อริยกะประมาณ 1,500 ปี ก่อนพทุ ธกาล หรอื ประมาณ 4,000 ปีมาแลว้ ชนชาตอิ ารยัน ได้เคลื่อนย้ายจากแหล่งเดิมเข้ามาสู่อินเดีย การเคล่ือนย้ายของพวกอารยันได้แบ่งออกเป็นสองสาย คือสายหน่งึ ไปทางทศิ ตะวันตก เป็นชาติอารยนั ยุโรป อกี สายหน่ึงมาทางทศิ ตะวันออกเฉยี งใต้ มา

32 ต้ังถิ่นฐานอยู่ทางทิศตะวันออกของทะเลสาปแคสเปียน ซึ่งบัดนี้เรียกว่า ตุรกีสถาน (พระอุดร คณาธิการ, 2534) เมื่อพวกอารยันเข้ามาสู่อินเดียก็ได้ขับไล่พวกดราวิเดียน หรือมิลักขะ ซึ่งเป็นเจ้าของ ถิ่นเดิมให้ถอยร่นลงไปทางทิศใต้ของอินเดีย พวกอารยันก็ครอบครองอินเดียตอนเหนือและ ตอนกลางไว้ท้ังหมด ในเบ้ืองต้นพวกอารยันอยู่รวมกันเป็นเผ่ามีหัวหน้าเผ่าเป็นผู้นํา มีการดําเนิน ชีวิตแบบเล้ียงสัตว์เร่ร่อน การปกครองเป็นไปแบบพ่อปกครองลูก มีทรัพย์สินที่สําคัญที่สุด คือ “ปศุสัตว์ การนับความม่ังคั่งของชาวอารยันในสมัยน้ันนับกันที่ใครมีปศุสัตว์มากกว่ากัน เผ่าใดมี ปศสุ ัตวม์ ากถือวา่ เผ่าน้ันมีฐานะเป็นปึกแผน่ มนั่ คง” (ปรชี า, 2529) ดงั นนั้ จงึ มกั เกิดมีการทําสงคราม แย่งชิงปศุสตั วเ์ พ่อื แยง่ ชงิ ความเป็นใหญเ่ กดิ ขนึ้ เนือง ๆ สภาพทางสังคม เมื่อพวกอารยันเข้ามาส่อู ินเดียแล้ว ก็ได้มีการผสมพันธ์กนั กับเจ้าของ ถ่ินเดิม ลัทธิความเชื่อต่าง ๆ ก็ได้ผสมกลมกลืนกันเข้าจนต่อมาแยกไม่ออกว่าประเพณีลัทธิความ เชื่อของชนชาติต่างๆ เหล่าน้ันมีความแตกต่างกันอย่างไร ในยุคน้ีพวกอารยันยังไม่ได้แบ่งชั้น วรรณะกันอย่างจริงจังนัก โดยแบ่งคนออกเป็น 3 ชนชั้นตามอาชีพ คือ นักบวช นักรบ และพ่อค้า (พระอุดรคณาธิการ, 2534) แต่ยังไม่มีระบบวรรณะ การประกอบอาชีพของคนพวกน้ียังไม่ได้ กําหนดเป็นการสืบตระกูล กฎเกณฑ์ที่จะควบคุมการแต่งงานในระหว่างชนชั้นต่าง ๆ ยังไม่มีข้อ หา้ ม ดงั นั้นการแบ่งคนออกเป็น 3 ชน้ั ในระยะแรก ๆ จึงเป็นการจดั กลมุ่ ชนทางสงั คมและเศรษฐกิจ อย่างง่าย ๆ ครนั้ ตอ่ มาพวกพราหมณไ์ ดจ้ ัดระบบสงั คมข้นึ มาใหม่ เพอื่ ให้เหมาะสมกับฐานะหน้าท่ี การงาน โดยแบง่ ชนออกเป็นสี่พวก เรียกว่า วรรณะทั้งส่ี คือ 1) วรรณะกษัตรยิ ์ มีหนา้ ที่ในการออกรบและการปกครอง 2) วรรณะพราหมณ์ มหี น้าทใี่ นการศกึ ษาพระคัมภรี ์ ประกอบพิธกี รรมทางศาสนา 3) วรรณะแพศย์ มีหนา้ ทใี่ นทางคา้ ขาย 4) วรรณะศูทร มหี นา้ ทใ่ี นทางรับใชท้ ําการงานเป็นกรรมกร การจัดระบบทางสังคมน้ีเกิดจากปัญหาทางเช้ือชาติและการเมือง ระหว่างพวกอารยัน กับพวกดราวิเดียน และพวกป่าเถ่ือนที่อยู่ในอินเดียมาก่อนพวกอารยัน การปฏิบัติต่อกันระหว่าง ชนเหล่านี้ทาํ ให้เกิดมกี ารแบ่งชั้นวรรณะกันขึ้นในชน้ั แรกยงั ไม่รุนแรงและนับว่ามีประโยชน์ในทาง ปกครองมาก เพราะได้แบ่งวรรณะไว้ตามฐานะและภูมิชั้นของบุคคล แต่ต่อมาระบบน้ีถูกแปรไป ในความหมายอื่น พวกพราหมณ์อ้างว่าการจัดแบ่งวรรณะเช่นนี้มิใช่ตัวเองเป็นผู้แบ่ง แต่เป็นพระ ประสงค์ของพระผู้เป็นเจ้าเบื้องบนกําหนดไว้ จึงได้ถือกันอย่างเคร่งครัดมาก ผู้ท่ีเกิดในวรรณะ ไหนก็ต้องดํารงตนอยู่ในวรรณะนั้นตลอดไป และการประกอบอาชีพก็ต้องให้เป็นไปตามหน้าท่ี

33 ของตน ๆ จะทํางานก้าวก่ายข้ามวรรณะกันไม่ได้ ลูกหลานที่เกิดมาก็จะต้องดําเนินตามรอยบรรพ บุรุษของตนต่อไป การเปล่ียนหน้าท่ีนั้นนอกจากจะถือว่าเป็นการทรยศต่อตัวเองแล้ว ยังถือว่าเปน็ การฝ่าฝืนคําบัญชาของพระเจ้าด้วย เดิมทีเดียวพวกพราหมณ์ได้ยกวรรณะพราหมณ์เป็นวรรณะท่ี สูงสุดและบริสุทธ์ิยิ่งกว่าวรรณะอ่ืน ๆ ผู้ที่เกิดในวรรณะสูงถือตนว่าเป็นผู้ยิ่งใหญ่และบริสุทธิ์กว่า พวกวรรณะตาํ่ แล้วใชว้ รรณะของตนโดยอ้างว่าเป็นพระประสงค์ของพระผู้เป็นเจ้าบงั คบั ผู้ท่ีเกิดใน วรรณะตํ่ารองลงมา ถ้าใครฝ่าฝืนก็ถูกพระเจ้าลงโทษ เรียกกันว่า เทวทัณฑ์บ้าง พรหมทัณฑ์บ้าง พวกทเี่ กดิ ในวรรณะต่าํ โดยเฉพาะพวกศทู ร หรือ จณั ฑาล ตอ้ งยอมรับปฏิบัตติ ามคําสงั่ ของพราหมณ์ โดยไม่มีข้อแม้แต่อย่างใด เพราะนอกจากกลัวอํานาจของพวกที่มีอํานาจเหนือตนแล้ว ยังกลัวพระ เจา้ จะลงโทษอกี ด้วย พวกศูทรจึงเป็นพวกที่ไดร้ ับชะตากรรมทีน่ า่ สงสารทสี่ ดุ สภาพทางการเมอื งการปกครอง ในยุคพระเวทน้ันองคก์ รทางการเมืองของอินเดยี ยังไม่ มีลักษณะเป็นรัฐ เพราะยังเป็นการปกครองแบบเผ่า ไม่มีอาณาเขตหรือดินแดนที่แน่นอน แต่ หลังจากพวกอารยันได้ชัยชนะเหนือพวกดราวิเดียน ทําให้ความเป็นอยู่แบบเล้ียงสัตว์เร่ร่อนได้ สิ้นสุดลง มีการสร้างหมู่บ้านเป็นหลักแหล่ง มีการทํากสิกรรม ทําให้สังคมเล็ก ๆ ได้พัฒนาเป็น สังคมใหญ่ข้ึน มีการประกอบพิธีกรรมมากข้ึน ในลักษณะสังคมแบบเผ่านั้น ระบบเครือญาติเป็น หน่วยสําคัญของสังคม การปกครองเป็นแบบพ่อปกครองลูก เช่น กุละ หรือครอบครัว มีบิดาเป็น หัวหน้าครอบครัว ซึ่งเรียกว่า กุลปะ มีหน้าท่ีดูแลสมาชิกให้อยู่ในระเบียบวินัยที่ดี คาม หรือ หมู่บ้าน มีคามินะ หรือ คามณี เป็นหัวหน้า ทําหน้าท่ีท้ังฝ่ายทหารและพลเรือน หลาย ๆ หมู่บ้าน รวมกันเรียกว่า วิศยะหรือวิศ มีวิศยบดีเป็นหัวหน้า หลาย ๆ วิศยะรวมกันเป็น ชน มีราชันหรือ กษตั ริย์เป็นหวั หน้า (ดนัย, 2527) ในสมัยนี้มีสถาบันทางการเมืองที่คอยจํากัดอํานาจของพระราชาไม่ให้มีมากจนเกินไป ซึ่งได้แก่ สภา (Sapha) และสมิติ (Samiti) นอกจากพระราชาถูกทอนอํานาจด้วยสภาและสมิติแล้ว ยังถูกทอนอํานาจด้วยสิทธิพิเศษของพวกปุโรหิต ซ่ึงเป็นหัวหน้าของพวกพราหมณ์ประจําราช สํานัก เพราะพวกพราหมณ์นั้นเชื่อกันว่าเป็นผู้ที่สามารถสวดมนต์อ้อนวอนให้เทพเจ้าดลบันดาล ให้พระราชาชนะในการรบได้ ตามความเช่ือถือของพวกอารยันท่ีนับถือเทพเจา้ โดยมพี ราหมณ์เป็น ผกู้ ระทําพธิ กี รรมทางศาสนา ด้วยเหตนุ ้ีพราหมณ์จึงเปน็ สว่ นสําคัญของสังคม ต่อมาในยุคปลายพระเวทอํานาจของพระราชามีมากขึ้น เพราะได้มีการโยงเอาสถาบัน กษัตริย์กับเทพเจ้าเข้าด้วยกัน คือ ถือว่าเทพเจ้าได้มอบคุณสมบัติอันน่านับถือต่าง ๆ ให้แก่พระราชา แต่ถึงแม้ว่าอํานาจของพระราชาจะมีมากในยุคน้ี แต่พระราชาก็มิได้ทรงเป็นเผด็จการเพราะถ้า พระราชาประพฤติตนนอกทางแหง่ ธรรมะ ประชาชนอาจจะมสี ิทธขิ ับไลต่ ่อตา้ นพระราชาได้

34 ลักษณะทางการปกครองมีการปกครองอยู่ 2 รูปแบบ คือ แบบราชาธิปไตยมีพระมหา กษัตริย์มีอํานาจในการปกครอง มีตําแหน่งท่ีลดหล่ันกันลงมา คือ ปุโรหิต เสนาบดี เสนา แต่ ส่วนย่อยมีสภาการปกครองจากจุดย่อย คือ คาม นิคม ชนบท ระดับชนบทยังมีหัวหน้าใหญ่ทํานอง เจ้าประเทศราชปกครองอีกด้วย (พระราชธรรมนิเทศ ระแบบ, 2536)และแบบสาธารณรัฐซึ่งมี 2 แบบด้วยกัน คือ สาธารณรัฐเฉพาะตัวเป็นรัฐ ๆ ไป เป็นการปกครองแบบสภาของตระกูลน้ัน ๆ โดยมีประธานสภาเป็นกษัตริย์เช่นเดียวกัน (พระราชธรรมนิเทศ ระแบบ, 2536) กับเป็นแบบ สมาพันธรัฐ คือมีรัฐอิสระหลาย ๆ รัฐมารวมกัน มีการสับเปล่ียนกันเป็นพระราชาของสาธารณรัฐ โดยมกี ารกาํ หนดอายุของพระราชา 6.2.2 สภาพสังคม การเมอื งในสมัยพทุ ธกาล ในสมัยน้ีเป็นระยะที่อารยธรรมอินเดียได้เจริญรุ่งเรืองในสังคม วรรณะพราหมณ์ได้มี บทบาทและมีอํานาจในสังคมมากข้ึน ระบบวรรณะจะเข้มงวดและรัดกุมมากขึ้น ชนช้ันตํ่าได้รับ การกดข่ีข่มเหงเอารัดเอาเปรียบ สภาพเช่นน้ีทําให้วรรณะอื่น ๆ เช่น วรรณะกษัตริย์รู้สึกไม่พอใจ วรรณะพราหมณ์ และไดพ้ ยายามทจี่ ะหาแนวทางปรบั ปรงุ สภาพของสังคมอินเดยี ในดา้ นการเมือง แคว้นต่าง ๆ ได้ถือกําเนิดเป็นรัฐข้ึน เพราะมีอาณาเขตท่ีแน่นอนและมีการปกครองที่เป็นระเบียบ มีระบบการจัดเก็บภาษีซ่งึ แสดงให้เห็นว่าเศรษฐกิจแบบเมอื งได้เจริญข้ึนแลว้ ภาษีต่าง ๆ เหล่านี้ทํา ให้รัฐมั่งคั่งและมีความมั่นคง รัฐในสมัยพุทธกาลน้ีตามที่มีปรากฎหลักฐานในอุโปสถสูตร ( องฺ.ติกฺ 20/510/210.) มดี ว้ ยกนั 16 รัฐ คือ 1) รฐั กาสี 2) รัฐโกศล 3) รัฐองั คะ 4) รัฐมคธ 5) รั ฐ วัชชี 6) รัฐมัลละ7) รัฐเจตี หรือ เจติยะ 8) รัฐวังสะ 9) รัฐกุรุ 10) รัฐปัญจาละ 11) รัฐมัจฉะ 12) รฐั สุรเสนะ 13) รฐั อสั สกะ 14) รฐั อวนั ตี 15) รัฐคันธาระ 16) รฐั กัมโพชะ นอกจากน้ีในคัมภีร์ต่าง ๆ ยังปรากฎรายช่ือของแคว้นอ่ืน ๆ อีก เช่น แคว้นโสวีระ สักกะ ภัคคะ พูลลิ โกลยิ ะ เปน็ ต้น ในยคุ พุทธกาลน้ีมกี ารปกครองทง้ั สองระบบ คือ ระบบราชาธปิ ไตยกบั ระบบสามัคคีธรรม ระบบราชาธิปไตยในสมัยพุทธกาลน้ีพระราชาจะมีอํานาจสมบูรณ์ โดยไม่ ต้องมีสภาและสมิติเหมือนกับสังคมระดับเผ่าท่ีใช้กันก่อนสมัยพุทธกาล เพราะในยุคน้ีเป็นรัฐท่ีมี อาณาเขตกว้างขวาง ไม่สามารถนําความคดิ เหน็ ของเผ่ามาใช้กับกลุ่มคนทไี่ ม่ได้นับถือพระเวทที่อยู่ ในรัฐเดียวกันได้ ความเป็นเผ่าถูกแทนท่ีด้วยระบบวรรณะ ระบบการเมืองการปกครองแบบเผ่าจงึ เสอื่ มสลายไป

35 7. สรุปบทที่ 1 รัฐท่ีปกครองด้วยระบบราชาธิปไตย เช่น รัฐมคธ ปกครองโดยพระเจ้าพิมพิสาร รัฐ โกศลปกครองโดยพระเจ้าปเสนทิโกศล รัฐวังสะปกครองโดยพระเจ้าอุเทน และรัฐอวันตี ปกครองโดยพระเจา้ จัณฑปัชโชติ ระบบการปกครองแบบนเ้ี ป็นคู่แข่งขันในการต่อสู้แยง่ ชิงอํานาจ กับระบบสามัคคีธรรม แต่รัฐที่ปกครองด้วยระบบราชาธิปไตยจะมีความเข้มแข็งมากกว่า และได้ ปราบปรามรัฐที่ปกครองด้วยระบบสามัคคีธรรมไวใ้ นอํานาจเกอื บหมด คงเหลือแต่รัฐวัชชีรัฐเดียว ที่ยังคงเข้มแข็งอยู่ แต่หลังจากพุทธปรินิพพานไม่นานรัฐวัชชีก็ตกอยู่ใต้อํานาจของรัฐมคธ ซ่ึง ปกครองโดยระบบราชาธิปไตย การทีร่ ะบบราชาธปิ ไตยมคี วามเข้มแข็งกวา่ ระบบสามัคคธี รรมนั้น พระธรรมปฏิ กไดใ้ หค้ วามเห็นวา่ ระบบสมบูรณาญาสทิ ธิราช เปน็ ระบบของผู้ต้องการมีอาํ นาจอยู่แล้ว คือ จุดมงุ่ หมายอยู่ที่ อํานาจและจะเผยแผ่อํานาจออกไป ส่วนระบบสามัคคธี รรมหรือ ระบบประชาธิปไตยสมัยโบราณ มงุ่ แตว่ ่าจะจดั การปกครองอย่างไร ประชาชนถงึ จะอยูด่ ีกนิ ดี มคี วามผาสกุ และมปี จั จยั ทสี่ าํ คัญอีก อย่างหน่ึง คือ ระเบียบวินัยเป็นเคร่ืองดํารงความสามัคคี เมื่อใดไม่มีระเบียบวินัย เมื่อใดความ สามัคคีหมดไป ระบบสามัคคีธรรมหรือประชาธิปไตยแบบสมัยโบราณก็ต้องพังพินาศ (พระธรรมปฏิ ก ประยุทธ์, 2532) ส่วนการปกครองแบบสามัคคีธรรม คือ เปน็ การปกครองแบบไมม่ ีกษัตริย์เป็นประมุขทรง อํานาจเด็ดขาด มีแต่ผู้ได้รับเลือกให้ทําหน้าท่ีเป็นประมุขแห่งรัฐ แล้วบริหารงานโดยการ ปรึกษาหารือกับสภา ซ่ึงประกอบด้วยสมาชิกแห่งเจ้าวงศ์ต่าง ๆ ซ่ึงรวมกันเข้าเป็นคณะผู้ครอง แคว้น (กรุณา, 2532) การปกครองแบบน้ีนับได้ว่าเป็นประชาธิปไตยระดับหนึ่ง เพราะเวลามี เรือ่ งราวต่างๆของรัฐเกิดขึ้น พวกชนท่มี หี น้าที่ในการปกครองก็จะประชุมพิจารณากนั ในสถานที่ท่ี เรียกว่า “สัณฐาคาร” มีลักษณะคล้าย ๆ กบั สภาผแู้ ทนราษฎรในปัจจุบัน ทส่ี มาชกิ สภาตอ้ งประชุม พิจารณาเรื่องราวต่างๆ รวมทั้งการออกกฎหมาย การตัดสินใจในกิจการเกี่ยวกับรัฐกันในสภา ใน การใช้สัณฐาคารก็เช่นเดียวกันเป็นสถานที่สําหรับประชุมพิจารณาเร่ืองราวต่างๆ ของผู้ปกครอง g เช่นในตอนที่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน พวกกษัตริย์มัลละก็เข้าไปประชุมกันในสัณฐา คารเพ่ือจะพิจารณาว่า จะจัดการกับพระสรีระศพอย่างไร และตอนท่ีพระอานนท์ไปแจ้งข่าวการ เสด็จดับขันธ์ปรินิพพานของพระพุทธเจ้าแก่เจ้ามัลละ ก็ได้ไปแจ้งที่สัณฐาคารในขณะที่เจ้ามัลละ กําลังประชุมกันอยู่ ระบบสามัคคีธรรมนี้มีหลักการคล้ายคลึงกับระบบประชาธิปไตยอยู่หลาย ประการ อาจถือได้ว่าเป็นระบบประชาธิปไตยสมัยโบราณ หลักการของระบบน้ีท่ีสําคัญท่ีสุดคือ ความสามัคคี ตราบใดที่ยังมีความสามัคคีกันอยู่รัฐก็จะมีความเข้มแข็ง แต่เมื่อเกิดการแตกแยก ความสามัคคี เกิดการแก่งแย่งชิงอาํ นาจกัน รัฐกไ็ มส่ ามารถดาํ รงอยู่ได้

36 คาํ ถามประจําบทที่ 1 1. จงให้ความหมายและขอบข่ายของวชิ ารัฐศาสตร์การปกครองมาดโู ดยสงั เขป 2. จงให้ความหมายและขอบขา่ ยเนอื้ หาของวชิ ารฐั ศาสตรต์ ามแนวพุทธพอไดใ้ จความ 3. วชิ ารัฐศาสตร์และรฐั ศาสตร์ตามแนวพุทธศกึ ษาเรอ่ื งอะไรบ้างจงชีแ้ จง 4. จงขยายความหลกั ธรรมในการปกครองโดยรวมมีกีร่ ะดบั จงสรุปมาดู 5. จงอธิบายเชิงเปรียบเทียบในประเด็นธรรมชาติของมนุษย์ระหว่างแนวคิดในพระพทุ ธศาสนากบั แนวคดิ ของโทมัส ฮอบ 6. อะไรคือ ข้อแตกต่างของสภาพสังคมและการเมอื งสมยั ก่อนพทุ ธกาลกับสมัยพทุ ธกาล 7. จงจดั กล่มุ ระบบการปกครองของ 16 แควน้ (รฐั ) มาดู 8. จงชแ้ี จงรายละเอยี ดระบบการปกครองในแควน้ วชั ชตี ามทไี่ ด้ศึกษามา

37 การอา้ งอิง คณะกรรมการตําราแห่งชาต.ิ (2526). รัฐศาสตร์ตามแนวพุทธศาสตร์. กรงุ เทพมหานคร: สํานักพิมพก์ ราฟคิ อาร์ต. ชวินทร์ สระคํา,. พระอุดรคณาธิการ. (2534). ประวัตศิ าสตร์พทุ ธศาสนาในอินเดยี . กรุงเทพฯ: โรง พิมพม์ หาจุฬาลงกรณร์ าชวิทยาลัย. ปรีชา ชา้ งขวญั ยืน. (2529). ระบบปรัชญาการเมืองในมานวธรรมศาสตร.์ กรงุ เทพฯ: สํานักพมิ พ์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปรชี า ชา้ งขวัญยืน. (2537). ความคดิ ทางการเมืองของพุทธทาส ภิกขฺ ุ : ธมั มกิ สังคมนิยม”,วารสาร พุทธศาสตรศ์ ึกษา 1,. กรงุ เทพฯ: บรษิ ัท สามัคคสี าสน์ จาํ กัด. ปรชี า ชา้ งขวัญยืน. (2540). ทรรศนะทางการเมืองของพระพทุ ธศาสนา. กรงุ เทพฯ: บริษัท สามัคคี สาสน์ จาํ กัด. ดนัย ไชยโยธา. (2527). ประวัติศาสตร์เอเซยี ใตย้ คุ โบราณ. กรงุ เทพฯ: ประวัติศาสตร์เอเซยี ใต้ยุค โบราณ. พระราชธรรมนเิ ทศ ระแบบ ฐติ ญาโณ. (2536). ประวัตศิ าสตรพ์ ระพทุ ธศาสนา. กรงุ เทพฯ: โรง พมิ พม์ หามกฏุ ราชวทิ ยาลัย. สพุ จน์ บุญวิเศษ. (2551). หลักรฐั ศาสตร์. กรงุ เทพมหานคร: เอ็ม.ที.เพรส. พระธรรมปิฏก ประยทุ ธ์ ปยุตฺโต. (2532). พระพทุ ธศาสนากบั สังคมไทย. กรุงเทพฯ: สาํ นกั พิมพ์ มลู นิธโิ กมลคมี ทอง. กรุณา เรืองอไุ ร กศุ ลาสัย. (2532). อนิ เดียสมยั พทุ ธกาล. กรุงเทพฯ: หา้ งหุ้นส่วนจํากัดภาพพิมพ.์ อัตพัฒน์ ชัยวฒั น์, และ สุชวี ิคุปต์, วิธาน. (2533). หลักการดารงชีวิตในสังคม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ มหาวิทยาลยั รามคําแหง.

38 บทที่ 2 ความรทู้ ่ัวไปเกย่ี วกบั พระพุทธศาสนากบั การปกครอง (Introduction to Buddhism and Governance) 2.1 แนวคิด (Concept) ศึกษาแนวคิดทางการเมืองการปกครองตามแนวพระพุทธศาสนา มาจากกรอบความคิดท่ี ต้องการศึกษาแนวคิดทางการปกครองหรือการบริหารในพระไตรปิฎก คําสอนในทา ง พระพุทธศาสนาเป็นจํานวนมาก นําเอาทฤษฎีทางการเมืองของตะวันตกเข้ามาช่วยในการวิเคราะห์ เพราะหากวิเคราะหไ์ ปโดยไมม่ ีกรอบไมม่ ที ฤษฎีแล้ว แมจ้ ะทําใหเ้ ห็นแนวคดิ แต่ก็ทําใหไ้ ม่สามารถ เชื่อมโยงเป็นระบบได้เพราะมีขอบข่ายที่กว้างเกินไปจนจับหลักไม่ได้และถ้าอธิบายโดยใช้มโน ทศั นท์ างตะวนั ตกมากเกินไป 2.2 เน้ือหาที่สําคัญประจําบทเรียน 1.2.1 ความนํา 1.2.2 ความหมายทั่วไปของการเมอื งการปกครอง 1.2.3 สถาบนั ทางการเมืองตามแนวคดิ พระพุทธศาสนา 1.2.4 การตีความเกย่ี วกบั การปกครองในพระพทุ ธศาสนาของนักวิชาการ 1.2.5 การเสริมสร้างการบริหารกจิ การบา้ นเมอื งทีด่ ี 1.2.6 สรปุ ความประจําบท 2.3 วตั ถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 1.3.1 อธิบายและวิเคราะห์ความหมายทวั่ ไปของการเมืองการปกครองได้ 1.3.2 อธิบายและวเิ คราะห์สถาบนั ทางการเมืองตามแนวคดิ พระพทุ ธศาสนาได้ 1.3.3 อธิบายและวิเคราะห์การตคี วามเกยี่ วกับการปกครองในพระพุทธศาสนาของ นกั วชิ าการได้ 1.3.4 อธบิ ายและวิเคราะห์การเสริมสร้างการบริหารกิจการบา้ นเมืองที่ดีได้ 2.4 กจิ กรรมการเรยี นการสอนบรรยาย/อภปิ ราย 1.4.1 ตง้ั ประเดน็ ปญั หาและแสวงหาคําตอบรว่ มกนั 1.4.2 สรุป เอกสารประกอบคาํ บรรยายแตล่ ะคาบ 1.4.3 นําเสนอผลการคน้ ควา้ ของกลุม่ ตามหวั ขอ้ ท่ผี ูส้ อนกําหนด

39 2.5 สือ่ การเรยี นการสอน 1.5.1 เอกสารประกอบการสอน 1.5.2. คอมพิวเตอร์ (Power Point) 1.5.3 วิดที ศั น์และภาพยนต์ 1.5.4 ทัศนศึกษานอกสถานที่ 2.6 สารตั ถะวชิ ารัฐศาสตร์การเมอื งการปกครองในบทท่ี 2 1. ความหมายทว่ั ไปของการเมอื งการปกครอง 2. สถาบันทางการเมืองตามแนวคดิ พระพทุ ธศาสนา 3. การตคี วามเกยี่ วกับการปกครองในพระพทุ ธศาสนาของนักวชิ าการ 4. การเสริมสร้างการบรหิ ารกิจการบ้านเมืองท่ดี ี 5. สรปุ ความประจาํ บท 2.7 แบบฝกึ หัดตอบคาํ ถามประจําบทที่ 2

40 2.1 ความนํา แนวคิดทางการเมืองการปกครองตามแนวพระพุทธศาสนา มาจากกรอบความคิดที่ ต้องการศึกษาแนวคิดทางการปกครองหรือการบริหารในพระไตรปิฎกนั้นเอง คําสอนในทาง พระพุทธศาสนาเป็นจํานวนมาก ทั้งน้ีจําต้องนําเอาทฤษฎีทางการเมืองของตะวันตกเข้ามาช่วยใน การวิเคราะห์ เพราะหากวิเคราะห์ไปโดยไม่มีกรอบไม่มีทฤษฎีแล้ว แม้จะทําให้เห็นแนวคิด แต่ก็ทํา ให้ไม่สามารถเช่ือมโยงเป็นระบบได้เพราะมีขอบข่ายที่กว้างเกินไปจนจับหลักไม่ได้และถ้าอธิบาย โดยใช้มโนทศั นท์ างตะวนั ตกมากเกินไป พระพุทธศาสนาจึงเน้นการปกครองแบบธรรมาธิปไตยในหลักการปกครอง 3 ประเภท คือ อัตตาธิปไตย ธรรมาธิปไตยและโลกาธิปไตย เพื่อใช้เป็นหลักของความดี ความถูกต้อง ความ เสมอภาค ใช้เป็นหลักในการปกครอง เพื่อใหส้ งั คมส่วนรวมมคี วามเป็นปกติสขุ ไม่มีการแบง่ พรรค แบ่งพวก หรือชนชั้นวรรณะ สี ผิว ชาติ ตระกูล มีความสมานฉันท์ และคุ้มครองสิทธิของบุคคล ท่ัวไปให้ได้รับความเป็นธรรม ความเสมอภาคทางสังคมเท่าเทียมกัน หลักการปกครองตามแนว พระพุทธศาสนาจึงยึดหลักการปกครองสายกลาง อหิงสา ไม่เบียดเบียนผู้อ่ืนให้ได้รับความ เดือดรอ้ น ยึดหลกั ความถูกตอ้ งเป็นหลัก คือหลักธรรมาธิปไตยนน่ั เอง ในบทเริ่มต้นน้ี จึงได้กล่าวถึง ความหมายทั่วไปของการเมืองการปกครอง สถาบันทาง การเมืองตามแนวคิดพระพุทธศาสนา การตีความเก่ียวกับการปกครองในพระพุทธศาสนาของ นักวิชาการ และการเสริมสร้างการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี เพื่อจะได้เป็นข้อมูลพื้นฐานใน การศกึ ษาพระพุทธศาสนากับการปกครองตอ่ ไป 2.2 ความหมายท่วั ไปของการเมอื งการปกครอง การเมือง (Politics) และการปกครอง (Government) นั้นมีความหมายทางรัฐศาสตร์ แตกตา่ งกัน การเมอื ง หมายถึง เร่ืองเกีย่ วกับการแข่งขันหรือเพือ่ การแสวงหาอาํ นาจซง่ึ สง่ ผลกระทบ ต่อสังคมหรือคนส่วนใหญ่ของสังคม ส่วนการปกครอง มีความหมายเก่ียวกับบริหารวางระเบียบ กฎเกณฑ์สําหรับสังคมเพื่อให้สังคมมีความสงบสุข อย่างไรก็ตาม การเมืองและการปกครองก็มี ความเก่ียวข้องเช่ือมโยงกัน เพราะการปกครองหรือการบริหารวางระเบียบกฎเกณฑ์เพือ่ ให้เกิดการ บําบดั ทุกขบ์ ํารุงสุขน้นั จําเป็นตอ้ งอาศัยอํานาจคือการเมืองจงึ จะดาํ เนนิ การไดส้ ําเร็จ ในทางทฤษฎีรัฐศาสตร์ มุมมองท่ีใช้พิจารณาการเมืองหรือพูดเป็นศัพท์ทางวิชาการก็คือ แนวการศึกษาวิเคราะห์การเมือง (Approach to Political Analysis) ก็ย่อมแตกต่างกันออกไปบ้าง ตามแต่ใครจะเห็นว่าแนวการมองการเมืองนน้ั เป็นสิง่ ทใ่ี กล้เคียงต่อการอธบิ ายความเปน็ การเมืองได้

41 มากท่ีสุด โดยคําว่า“การเมือง”น้ี นักวิชาการด้านรัฐศาสตร์ ได้ให้ความหมายไว้แตกต่างกันไปบ้าง ในรายละเอียด ตามแต่จะใช้ตัวแบบใดในการศึกษาวิเคราะห์ปรากฏการณ์ทางการเมือง และด้วยตัว แบบท่เี ป็นกรอบในการศกึ ษาวิเคราะห์นี้ จะยังผลใหก้ รอบการมองคําว่าการเมืองตา่ งกันไป ในขณะ ที่สาระสําคัญของคําจํากัดความเป็นไปในทํานองเดียวกันกล่าวคือเป็นเร่ืองของ การใช้อํานาจแบบ สองทางระหว่างฝ่ายที่เป็นผปู้ กครอง (Rulers) และฝา่ ยผถู้ กู ปกครอง (Ruled) ดงั จะได้ยกมากล่าวถึง ซ่งึ สําหรับผศู้ ึกษารัฐศาสตรแ์ ลว้ การทําความเข้าใจเกี่ยวกบั ความหมายของคําวา่ การเมืองนนั้ จึงดูจะ เป็นเร่ืองที่สร้างความสับสนอยู่มิใช่น้อย เนื่องมาจากความหมายของการเมืองที่ปรากฏอยู่ในตํารา เลม่ ตา่ งๆท่เี ขียนข้ึนเผยแพร่น้ันมีอยู่หลากหลายตา่ งกันไปตามเจตนารมณ์และมุ่งประสงคใ์ นการนํา ความหมายของการเมอื งเพือ่ ไปอธบิ ายปรากฏการณข์ องผู้ให้คํานยิ ามความหมายของการเมือง ในทัศนะของ ชัยอนันต์ สมุทรวณิช ได้ให้คําจํากัดความว่า การเมืองเป็นเร่ืองเกี่ยวกับ รปู แบบของรัฐและการจดั ระเบียบความสัมพันธ์ภายในรัฐระหวา่ งผู้ปกครองและผู้ถูกปกครอง โดย เม่ือสงั คมมนษุ ยย์ ังมีความจาํ เป็นทจี่ ะต้องมีรัฐบาล คนเราจงึ ต้องแบง่ ออกเป็นสองพวกใหญ่ๆ คือผทู้ ี่ ทําหน้าที่บังคับกับผู้ถูกบังคับสามารถท่ีจะประมวลคํานิยามหรือความหมายของคําว่า การเมือง จาํ แนกได้เปน็ 6 กลมุ่ (ชัยอนันต์ สมทุ วณชิ , 2517.) ดงั นี้ 2.2.1 การเมอื งเป็นเร่อื งของอาํ นาจ การเมืองเป็นเร่ืองของอํานาจ โดยเป็นการต่อสู้กันเพ่ือให้ได้มาซึ่งอํานาจและอิทธิพลใน การบริหารกิจการบ้านเมือง โดยคํานิยามของการเมืองในเชิงอํานาจท่ีน่าสนใจอันหน่ึง ที่ได้ให้ คําอธบิ ายท่ชี ดั เจนมากได้แก่นิยามของ เพนนอคและสมิธ (Pennock and Smith) ทกี่ ลา่ ววา่ การเมือง หมายถึง ทุกส่ิงทุกอย่างท่ีเก่ียวกับอํานาจ สถาบันและองค์กรในสังคม ซ่ึงได้รับการยอมรับว่ามี อํานาจเด็ดขาดครอบคลุมสังคมนั้น ในการสถาปนาและทํานุรักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อยของ สังคม มีอํานาจในการทําให้จุดประสงค์ร่วมกันของสมาชิกในสังคมได้บังเกิดผลขึ้นมา และมี อํานาจในการประนีประนอมความคิดเห็นทีแ่ ตกต่างกนั ของคนในสงั คมอีกหนึง่ (Pennock, 1964) ในส่วนของคาํ นิยามการเมืองทีถ่ อื ได้ว่าครอบคลุมและช่วยให้เห็นภาพความเกี่ยวพันของ การเมืองกับบุคคลในสังคมได้แก่ ณรงค์ สินสวัสดิ์ ที่กล่าวว่า การเมืองเป็นการต่อสู้ช่วงชิง การ รักษาไว้และการใช้อํานาจทางการเมือง โดยท่ีอํานาจทางการเมืองหมายถึง อํานาจในการท่ีจะวาง นโยบายในการบริหารประเทศหรือสังคม อํานาจที่จะแต่งตั้งบุคคลเพื่อช่วยในการนํานโยบายไป ปฏิบัติ และอํานาจที่จะใช้ข้าราชการ งบประมาณหรือเคร่ืองมืออื่นๆ ในการนํานโยบายไปปฏิบัติ แนวการมองการเมืองเป็นเรื่องของอํานาจ (Power Approach) ดังท่ีได้ยกตัวอย่างไปนี้ เป็นแนวทาง

42 การศึกษาหนึ่งท่ีได้รับความนิยมชมชอบในหมู่นักรัฐศาสตร์และนักสังคมศาสตร์ทั่วไป ท่ีเห็นว่า การเมืองเป็นเร่ืองหรือมีบริบทเก่ียวกับการใช้อํานาจเพื่อการปกครองประชาชน ก็มักให้คํานิยาม ของการเมืองว่าเป็นปฏิสัมพันธ์ในเชิงการใช้อํานาจของรัฐอธิปัตย์ ต่อผู้อยู่ใต้อํานาจซ่ึงก็คือ ประชาชนน่ันเอง โดยคํานิยามเช่นนี้ สิ่งหนึ่งสิ่งใดที่ออกมาจากสถาบันทางการเมือง ไม่ว่าจะเป็น ฝ่ายนิติบัญญัติท่ีทําหน้าท่ีในการตรากฎหมายต่างๆเพื่อบังคับใช้ มาจากรัฐบาลในรูปของนโยบาย สาธารณะ (Public Policies) โครงการพฒั นา(development project) และงานต่างๆที่ประกอบขึ้นหรือ ดําเนินไปโดยภาคราชการ รวมไปถึงการตัดสินคดีความหรือข้อพิพาทที่เกิดขึ้นระหว่างบุคคลต่อ บุคคลและบุคคลกับรัฐ จึงล้วนแต่เป็นเร่ืองท่ีการเมืองส่งผลกระทบต่อนักศึกษาและบุคคลทั่วไป โดยบริบทดังกล่าวการศึกษาเรื่องการเมืองและการปกครองของประเทศ จึงเป็นส่ิงที่ถูกบรรจุอยู่ใน แทบทุกสาขาวิชาในระดับอุดมศึกษาให้นักศึกษาได้ร่ําเรียน ทําความรู้ความเข้าใจในฐานะที่อย่าง น้อยก็เป็นสมาชิกคนหนึ่งในสังคม และเป็นความรู้หน่ึงที่ประเทศที่ปกครองโดยระบอบ ประชาธิปไตยสมควรส่ังสมให้แก่พลเมืองของรัฐ เพ่ือประโยชน์เป็นพื้นฐานของการมีส่วนร่วม ทางการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย (ณรงค์ สินสวัสดิ์, 2539) ในแง่ของนักรฐั ศาสตร์บางท่านมองวา่ แท้จรงิ น้นั การเมืองเป็นเร่ืองที่เกย่ี วข้องการต่อรอง แย่งชิงกันของกลุ่มผลประโยชน์ (Interest Group) ที่ดําเนินกิจกรรมทางการเมืองต่างๆ ในอันท่ีจะ แย่งชิงกันเข้าสู่อํานาจการบริหารประเทศหรืออย่างน้อยที่สุดก็ให้ผลผลิตจากระบบการเมือง (Political Outputs-ผลผลิตของระบบการเมือง เป็นคําศัพท์เทคนิคทางรัฐศาสตร์ตามทัศนะของอี สตัน (David Easton) นักรัฐศาสตร์อเมริกัน ท่ีได้ชื่อว่าเป็นเจ้าของแนวคิดทฤษฎีการเมืองเชิงระบบ (the Systems Theory) อันได้แก่ นโยบาย กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ โครงการหรือแผนงานพัฒนา ของภาครัฐและภาคราชการ ซ่ึงผลในทางที่เป็นประโยชน์ต่อกลุ่มของตนมากที่สุด เราเรียกการ วิเคราะห์การเมืองแนวทางน้ีว่าเป็น การวิเคราะห์เชิงกลุ่มผลประโยชน์ ซ่ึงดูไปก็เป็นส่วนสําคัญ หน่ึงของแนวการมองการเมืองเชิงอํานาจ ความหมายของการเมืองในมุมมองน้ี คือการท่ีบุคคลใด หรือกลุ่มใดในสังคม ซึ่งอาจมีผลประโยชน์ร่วมกัน หรือขัดกันก็ตาม หรือมีความเห็นเหมือนกัน หรือไม่เหมือนกันก็ตาม มาทําการต่อสู้เพ่ือสรรหาบุคคลมาทําหน้าที่ในการปกครองและเพื่อให้ ได้มาซง่ึ อาํ นาจทจ่ี ะให้เขาสามารถตัดสินใจในเรื่องของส่วนรวมได้โดยชอบธรรม ซงึ่ จัดเปน็ แนวที่ นักรัฐศาสตร์เชงิ พฤติกรรมการเมือง (Political Scientist) นยิ มกัน

43 2.2.2 การเมอื งเปน็ เรอื่ งของการจดั สรรทรัพยากรของรัฐ การเมืองเป็นเร่ืองของการจัดสรรทรัพยากรของรัฐหรือส่ิงท่ีมีคุณค่าทางสังคม ดังเช่น มุมมองของอีสตัน (David Easton) ซ่ึงได้อธิบายไว้ว่า การเมืองเป็นการใช้อํานาจหน้าที่ในการ จัดสรรแจกแจงส่ิงท่ีมีคุณค่าต่างๆให้กับสังคมอย่างชอบธรรม (The authoritative allocation of values to society) ความหมายของการเมืองดังที่ยกตัวอย่างมานี้ เป็นนิยามท่ีได้รับการยอมรับอย่าง สูงจากสาํ นกั พหุนิยม (Pluralism) อย่างไรก็ดี ชัยอนันต์ สมุทรวณิช อธิบายว่า เราจะใช้ความหมายการเมืองดังกล่าวน้ีได้ก็ ต่อเม่ือในสังคมนั้นๆบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่เก่ียวข้อง ซ่ึงได้รับผลกระทบจากท้ังทางตรงและ ทางอ้อม มีความเห็นพ้องต้องกันและยอมรับในกติกาท่ีกําหนดการใช้อํานาจเพ่ือแบ่งปันส่ิงที่มี คณุ คา่ เท่านนั้ สว่ นในสังคมท่ยี งั ไม่มีความเหน็ พ้องต้องกันเก่ียวกับกติกาการกําหนดสิง่ ทม่ี ีคุณค่าใน สังคม การเมืองยังคงเป็นเร่ืองของการแข่งขันกันเพ่ือกําหนดหลักเกณฑ์ในการแบ่งปันคุณค่าที่ให้ ประโยชน์แก่ฝ่ายตนมากท่ีสุด เท่าท่ีจะเป็นได้หรือ“The competition for the authority to determine the authoritative allocation of values to society”โดยนัยเช่นน้ี การ เมอื งจึงมสี องระดบั คือ 1) การเมืองอยู่ภายใต้การแข่งขันขัดแย้งของฝ่ายต่างๆเพื่อให้ได้มาซ่ึงอํานาจทาง การเมืองที่ทุกๆฝ่ายยอมรับได้ ในขณะท่ีการเมืองในความหมายอย่างแรกดังทัศนะของนักคิดกลุ่ม พหุนิยมที่ได้กล่าวไปแล้ว ดูจะยอมรับในจุดเน้นว่ารัฐ เป็นการรวมกันหรือประกอบกันของกลุ่ม หลากหลายในสงั คม และรฐั มไิ ดเ้ ปน็ เครือ่ งมือทางการบรหิ าร โดยที่มิไดเ้ ป็นตัวกระทําทางการเมือง (actors) ที่จะชี้นําการเปล่ียนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจ แต่รัฐเป็นเพียงรัฐบาล ( State as government) ทีท่ าํ หน้าที่เพยี งเอื้ออํานวยความสะดวกในการแข่งขันกันของกลุ่มมองว่า หลากหลาย เทา่ นนั้ (ชัยอนันต์ สมุทรวณชิ , 2535) 2) การเมืองอยู่ภายใต้อิทธิพลและผู้มีอิทธิพล คํานิยามการเมืองในกลุ่มที่สอง ซ่ึง ไดร้ ับการกลา่ วถงึ อย่างสูง ได้แก่ ทศั นะของลาสเวลล์ (Harold D. Lasswell) ทีก่ ลา่ วว่าการเมือง เปน็ เรื่องของการศึกษาเก่ียวกับอิทธิพลและผู้มีอิทธิพล และการเมืองเป็นเร่ืองท่ีเกี่ยวข้องกับว่า ใคร ทํา อะไร เม่ือไรและอย่างไร (Politics is, who gets “What”, “When”and “How”) ผู้ท่ีมีอิทธิพลย่อมมี บทบาททางการเมืองสูงในการจดั สรรทรัพยากรของรัฐ

44 2.2.3 การเมอื งเป็นเร่อื งของความขดั แย้ง การเมืองเป็นเร่ืองของความขัดแย้ง ท้ังนี้เน่ืองจากทรัพยากรของชาติท่ีมีอยู่อย่างจํากัด ขณะท่ีผู้คนซึ่งต้องการใช้ทรัพยากรน้ันมีอยู่มากและความต้องการใช้ไม่มีขีดจํากัด การเมืองจึงเป็น เรื่องท่ีเก่ียวข้องกับการที่คนในสังคมไม่อาจตกลงกันได้หรือเกิดมีความขัดแย้งขึ้น อย่างไรก็ดี การ มองการเมืองในลักษณะน้ีมีข้อโต้แย้งอยู่มากว่า หากไม่อาจยุติข้อขัดแย้งท่ีเกิดขึ้นได้ บ้านเมืองย่อม ตกอยู่ในสภาวะยุ่งยากวุ่นวาย ต่อมาจึงมีผู้ให้มุมมองการเมืองใหม่ว่าเป็นเรื่องของการ ประนปี ระนอมความขดั แยง้ มากว่าเป็นเรอื่ งของความขัดแย้ง 2.2.4 การเมืองเป็นเรอื่ งของการประนปี ระนอมผลประโยชน์ การเมืองเป็นเรื่องของการประนีประนอมผลประโยชน์ เพื่อหลีกเลี่ยงมิให้เกิดความ ขดั แย้งจากการดาํ เนินงานทางการเมอื งทีไ่ ม่มีทางออก การประนีประนอมผลประโยชน์ ตามระบอบ ประชาธิปไตยเป็นแนวความคิดหลักของทฤษฎีประชาธิปไตยพหุนิยม (Pluralist Democratic Theory) ซง่ึ เช่อื วา่ ในสังคมสมัยใหม่ทมี่ ีการแบ่งแยกแจกแจงโครงสร้างทางสังคมอนั หลากหลายนั้น มีกลุ่มพลังกดดันและกลุ่มผลประโยชน์จํานวนมากทําหน้าที่เป็นตัวแทนพิทักษ์ผลประโยชน์ต่างๆ ท่ีมีอยู่ในสังคมและพร้อมเสมอทจ่ี ะใช้อํานาจและอิทธิพลเพ่ือต่อต้านการพยายามแทรกแซงของรฐั กลุ่มพลังกดดันและกลุ่มผลประโยชน์เหล่านี้จะสร้างองค์กรขึ้นเป็นของตนเอง เพื่อประโยชน์ใน การเรียกร้องความต้องการของกลุ่มต่อรัฐบาล ดังน้ันรัฐบาลจึงมิใช่แหล่งอํานาจเพียงแหล่งเดียว หรือเป็นสถาบันเพียงสถาบันเดียวท่ีมีอํานาจควบคุมชีวิตคนในสังคม รัฐบาลมีบทบาทเป็น กรรมการท่ีคอยทาํ หนา้ ทีก่ ําหนดกติกาการแขง่ ขนั ระหว่างกลุ่มอยา่ งเสมอหนา้ กัน ดังน้ัน รัฐบาลซึ่งเป็นแหล่งอํานาจรัฐ เป็นผู้ใช้อํานาจรัฐและกลุ่มพลังต่างๆ ซ่ึงต้องการ สัมพันธ์กับอํานาจรัฐจะต้องมีวิธีการที่ผ่อนคลายความขัดแย้งท่ีเกิดจากการแข่ งขันเพื่อประโยชน์ (ท้ังของฝ่ายรัฐและของกลุ่มต่างๆ) เพื่อหลีกเล่ียงหรือลดระดับความขัดแย้งท่ีรุนแรงด้วยการรวม ระบบการต่อรองร่วมกัน (bargaining)และการปรับตัวให้เข้ากันโดยสันติวิธี (peaceful adjustment) บทบาทและนโยบายทางการเมืองของรัฐบาลในระบอบประชาธิปไตยพหุนิยม จึงขั้นอยู่กับการ ประสานประโยชนร์ ะหว่างกลมุ่ พลงั ตา่ งๆที่มีความขดั แย้งกนั

45 2.2.5 การเมอื งเป็นเร่ืองท่เี ก่ียวกบั รฐั และการบริหารประเทศ การเมืองเปน็ เร่ืองทีเ่ กยี่ วกับรัฐและการบริหารประเทศ ในกจิ กรรมหลัก 3 ดา้ น คือ 1) งานทีเ่ ก่ยี วกบั รฐั 2) การบริหารประเทศในส่วนทเ่ี กยี่ วกับนโยบาย 3) การอํานวยการบรหิ ารราชการแผ่นดิน เป็นการควบคุมให้มีการดําเนินงานตามนโยบาย ซึง่ หากพิจารณาใหล้ ะเอียดแล้วการเมือง โดยนัยยะความหมายประการนี้ เป็นเร่ืองท่ีคาบเกี่ยวกับการเมืองในความหมายเชิงอํานาจ ซึ่งก็เป็น เพราะอํานาจทางการเมืองน้ัน ได้ถูกนําไปใช้ผ่านกระบวนการนโยบายและการแต่งตั้งคัดสรรผู้นํา นโยบายไปปฏิบัติ (ข้าราชการและเจ้าหน้าท่ีของรัฐ) ในรูปของอํานาจและการปฏิบัติงานทางการ ปกครองและแสดงให้เห็นถงึ ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองและการบริหารหรือการปกครองทีย่ าก จะแยกออกจากกนั ได้ 2.2.6 การเมอื งเปน็ เรือ่ งของการกําหนดนโยบายของรัฐ การเมืองเป็นเร่ืองของการกําหนดนโยบายของรัฐ กล่าวคือ การเมืองคือกิจกรรมใดใดท่ี เก่ียวกับการกําหนดนโยบาย หน่วยงานและเครื่องมือต่างๆท่ีใช้ในการกําหนดนโยบายโดยนัยหนึ่ง การเมอื งกค็ อื กระบวนการกาํ หนดนโยบายของรัฐ นัน่ เอง เราอาจเคยสงสัยและตั้งคําถามว่า เหตุใดมนุษย์จึงต้องปกครองกัน ทําไมไม่ปล่อยให้ มนุษย์อยู่กันเอง กระท่ังอาจเคยได้ยินคํากล่าวที่ว่า การเมืองกับการปกครองเป็นเรื่องใกล้ตัว ซึ่ง หลายคนจําเพาะในกลุ่มผู้ที่ขาดความสนใจต่อความเป็นไปเป็นมาในกิจการทางการเมืองอาจฟังดู ไม่กระจ่างนัก ว่าเป็นเร่ืองใกล้ตัวประการใดคําตอบต่อความสงสัยข้อแรกน้ันโยงใยไปถึงความข้อ ต่อมากล่าวคือ มนุษย์นั้นโดยธรรมชาติเป็นสัตว์สังคม ท่ีต้องอาศัยอยู่รวมกันเป็นกลุ่มเป็นหมู่คณะ เม่ือมนุษย์มาอยู่รวมกัน หากมิได้กําหนดกติกาอะไรสักอย่างขึ้นมากํากับการอยู่รวมกันของมนุษย์ แล้วน้ัน มนุษย์ด้วยกันเองยังเชื่อว่าน่าจะก่อให้เกิดความสับสนวุ่นวายข้ึนในสังคมและการอยู่ ร่วมกันของมนุษย์ เน่ืองจากโดยธรรมชาติของมนุษย์นั้น ป่าเถื่อน ขลาดกลัวและไม่เป็นระเบียบ ดังที่ โธมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes) ได้เคยกล่าวไว้ในผลงานปรัชญาการเมืองเลื่องช่ือเร่ือง “Leviathan”ตพี มิ พใ์ นปี ค.ศ.1651ว่าเมือ่ มนุษย์จําต้องอาศยั อยู่ร่วมกันในสังคมภายใต้กติกาแลว้ ก็จาํ เป็นอยู่ในตัวเองท่ีจะต้องกําหนดตัวผู้นํามาทําหน้าท่ีควบคุมดูแลให้สังคมหรือการอยู่ร่วมกันของ มนุษย์ดําเนินไปได้ด้วยความเรียบร้อย เช่นที่กล่าวมา เราคงพอจะทราบบ้างแล้วว่าเหตุใดจึงเกิดมี

46 ระบบการปกครองขึ้นและโดยนัยที่มนุษย์จําต้องปกครองกันน้ัน หากเกิดปัญหาขึ้นในระหว่าง มนุษย์ด้วยกัน หรือการจะทําให้สังคมมีความเจริญก้าวหน้าข้ึนไป หลีกเล่ียงมิได้เสียท่ีจะต้อง เก่ยี วข้องกบั การใช้อํานาจทางการเมืองอันมคี วามหมายและบริบทท่ีสะท้อนออกมาในเรื่องของการ ใชอ้ ํานาจเพ่ือการปกครองประชาชน การเมอื งการปกครองซงึ่ เป็นสภาพการณ์และผลท่ีเกิดจากการ กระทําของมนุษย์ (Eulau, 1963) จึงเป็นส่ิงที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับชีวิตของมนุษย์อย่างมิอาจปฏิเสธ ได้ ซ่ึงก็เป็นธรรมดาอยู่เองท่ีผู้ใดก็ตาม จําเป็นต้องให้ความสนใจกับเร่ืองการเมืองการปกครองไม่ ทางใดก็ทางหน่ึง เน่ืองจากส่ิงใดท่ีออกมาจากสถาบันทางการเมือง ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายนิติบัญญัติท่ีทํา หน้าที่ในการตรากฎหมายต่างๆ เพ่ือบังคับใช้มาจากรัฐบาลในรูปของนโยบายสาธารณะ (Public Policies)โครงการพัฒนา (Developmental Program)และงานต่างๆที่ประกอบขึ้นหรือดําเนินไปโดย ภาคราชการรวมไปถงึ การตัดสนิ คดีความหรือข้อพพิ าทท่ีเกิดข้ึนระหว่างบุคคลตอ่ บุคคล และบุคคล กับรัฐ เหล่าน้ีล้วนแต่เป็นเรื่องท่ีการเมืองส่งผลกระทบต่อทุกคนอย่างท่ีไม่อาจมองข้ามไปได้โดย บริบทดังกลา่ วการศกึ ษาเรื่องการเมอื งและการปกครองของประเทศ จึงเป็นสงิ่ ท่ีถกู บรรจุอยู่ในแทบ ทุกสาขาวิชาในระดับอุดมศึกษาให้นักศึกษาได้ร่ําเรียน ทําความรู้ความเข้าใจในฐานะท่ีอย่างน้อยก็ เปน็ สมาชกิ คนหนง่ึ ในสงั คม และเป็นเรอ่ื งที่ภาคราชการทง้ั หลายตา่ งรณรงคใ์ ห้ความรู้แกป่ ระชาชน ท่ัวไป ภายใต้ความมุ่งประสงค์ท่ีจะหย่ังรากประชาธิปไตยในสังคมไทยและหากได้มองย้อนไปถึง แนวคิดของนกั ปรัชญาการเมือง เชน่ อริสโตเติล (Aristotle) ปรชั ญาเมธชี าวกรกี โบราณ ซง่ึ ได้รบั ยก ย่องวา่ เปน็ “บิดาแห่งวิชารัฐศาสตร์”ผู้กล่าวไว้ว่า มนุษย์ตามธรรมชาติเป็นสัตวก์ ารเมืองต้องอาศัยอยู่ ร่วมกันเป็นกลุ่มหรือชุมชน อันแตกต่างไปจากสัตว์โลกอื่นๆซ่ึงใช้ชีวิตอยู่ด้วยสัญชาตญาณเป็น หลกั หากแต่มนุษย์ นอกจากจะอยดู่ ้วยสญั ชาตญาณแลว้ ยงั มเี ป้าหมายอยู่รว่ มกนั อกี ดว้ ย ดังนั้น การอยู่ร่วมกันของมนุษย์จึงมิใช่มีชีวิตอยู่ไปเพียงวันหนึ่งๆเท่านั้นหากแต่เป็นการ อยู่รว่ มกันเพื่อจะให้มีชีวติ ที่ดขี ึ้นอกี ด้วย เรากจ็ ะมองเหน็ ภาพของการเมอื งในแงห่ น่ึงว่าการเมืองนั้น กค็ อื การอยรู่ ว่ มกันของมนุษย์ในชมุ ชนหรือสังคมเพื่อให้มีความสงบสขุ 2.3 สถาบันทางการเมืองตามแนวคิดพระพุทธศาสนา สถาบันทางการเมืองตามแนวคิดทางรัฐศาสตร์ หมายถึง สถาบันท่ีเกี่ยวข้องกับการเมือง การปกครองหรือการบริหารบ้านเมืองให้ดําเนินไปอย่างมีระเบียบตามกฎเกณฑ์ของสังคม โดยมี ความสงบสุขและความเจริญก้าวหน้าของสังคมโดยส่วนรวมเป็นจุดมุ่งหมายสูงสุดสถาบันทาง การเมอื งท่ีจดั ว่าเปน็ หลักของการปกครอง

47 ถ้าหากพิจารณาตามทางโลกประเด็นเกี่ยวกับสถาบันทางการเมืองในพระพุทธศาสนา พอที่จะเทียบเคียงได้บ้างแต่อยู่ในขอบเขตท่ีจํากัด เพราะพระพุทธศาสนาไม่ใช่การเมือง แต่ พระพทุ ธศาสนามีไว้สาํ หรับการเมืองทุกระบบ ท่ีจะสามารถนาํ ไปใช้ให้เกิดประโยชน์สงู สุดในการ ปกครองเท่านนั้ แต่กพ็ อจะสามารถเปรียบเทียบกับสถาบนั ทางการเมืองได้ 3 สถาบันด้วยกนั คอื 2.3.1 สถาบันนิติบัญญตั ิ สถาบันนิติบัญญัติในทางโลกหากจะเปรียบในทางพระพทุ ธศาสนา คือ การบัญญัติ พระ วินัยของพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าพระองค์เดียวเท่านั้นท่ีทรงทําหน้าที่บัญญัติหรือเพิกถอนพระ บัญญตั ิ คนอ่นื ไมส่ ามารถบัญญตั ิหรือเพ่ิมเตมิ แกไ้ ขได้ สว่ นสถาบันนติ ิบัญญตั ติ ามแนวของทางโลก จะข้ึนอยู่กับระบบการปกครองของแต่ละประเทศ ถ้าเป็นการปกครองแบบประชาธิปไตย จะมี รัฐสภาเป็นผู้พิจารณาในเรื่องนิติบัญญัติ แต่ในทางพระพุทธศาสนาคงไม่มี แต่พระพุทธองค์ก็ได้ ท ร ง อ นุ ญ า ต ใ ห้ มี ค ณ ะ ส ง ฆ์ เ ป็ น ผู้ ค อ ย ค ว บ คุ ม ดู แ ล ใ ห้ ห มู่ ค ณ ะ ต้ อ ง ป ฏิ บั ติ ต า ม พ ร ะ บั ญ ญั ติ ท่ี พระพทุ ธเจ้าไดท้ รงบัญญัตไิ ว้เท่านัน้ แต่พระวินัยเป็นพุทธบัญญัติทั้งหมดหาใช่สงฆ์หรือผู้แทนของสงฆ์เป็นผู้บัญญัติ อย่างท่ี รัฐสภาเป็นผู้บัญญัติกฎหมายในระบอบประชาธิปไตยไม่ จุดประสงค์ในการบัญญัติพระวินัยก็ เพ่ือให้สงฆ์อยู่ร่วมกันด้วยดี พ้นจากมลทินและกิเลสต่างๆ ทําให้ประชาชนเกิดความเล่ือมใสและ เป็นเครอื่ งมือส่งเสรมิ การปฏบิ ัติธรรม ดังขอ้ กลา่ วว่า “ดูกรภิกษุท้ังหลายเพราะเหตุน้ันแล เราจักบัญญัติสิกขาบทแก่ภิกษุท้ังหลาย อาศัยอํานาจ ประโยชน์ 1จ ประการ คือ (1) เพ่ือความดีแห่งสงฆ์ (2) เพื่อความสําราญแห่งสงฆ์ (3) เพื่อข่มผู้เก้อ ยาก (4) เพื่ออยู่สําราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นท่ีรัก (5) เพื่อป้องกันอาสวะอันจักบังเกิดในปัจจุบัน (6) เพื่อกําจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต (7) เพื่อความเล่ือมใสของชุมชนที่ยังไม่เล่ือมใส (8) เพื่อ ความเลื่อมใสย่ิงของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว (9) เพ่ือความตั้งม่ันแห่งพระสัทธรรม (1จ) เพ่ือถือตาม พระวนิ ยั จะเหน็ ได้วา่ การทพ่ี ระพทุ ธเจ้ามกี ารบัญญตั ิพระวนิ ัยเพื่อใชป้ กครองสงฆห์ รือใชเ้ ป็นหลัก ปฏิบัติของพระภิกษุสงฆ์นั้น ถือว่าเป็นการบัญญัติเพื่อให้เกิดความสงบสุขแก่หมู่สงฆ์ในการอยู่ ร่วมกนั

48 2.3.2 สถาบนั บริหาร ในสมัยครั้งพุทธกาลด้านบริหารในสมัยเม่ือ ยังมีพระสาวกไม่มากนัก พระพุทธองค์ทรง บริหารพระศาสนาด้วยพระองค์เอง โดยมีพระสาวกท่ีสําคัญท่ีช่วยบริหาร เช่น พระสารีบุตรและ พระโมคคัลลานะ ช่วยแบ่งเบาภาระบ้างตามความจําเป็น ต่อมาเมื่อมีพระสาวกเพิ่มมากข้ึนและมีผู้ เข้ามาอุปสมบทในพระพุทธศาสนามากขึ้น ก็ได้ทรงอนุญาตให้พระสาวกให้อุปสมบทแก่ผู้เข้ามา ขอบวชได้ โดยให้ผู้ขอบวชเปลง่ วาจาถงึ พระรตั นตรยั เป็นสรณะ คร้นั ต่อมาเม่ือภิกษุเพิ่มมากข้ึนอีก ทรงมอบความเป็นใหญ่ให้แก่สงฆ์ในการทํากิจกรรมท้ังปวงของพระศาสนา เช่น การให้บรรพชา อุปสมบท การกรานกฐิน การกําหนดเขตสีมา การระงับอธิกรณ์ เป็นต้น ซึ่งเท่ากับมอบให้สงฆ์เปน็ ผูบ้ ริหารงานพระศาสนาตามระเบยี บทไี่ ดท้ รงกําหนดไวน้ ่ันเอง ดงั น้นั ถ้ากลา่ วถึงในดา้ นของสถาบันบรหิ ารน้ัน สถาบันบริหารคือสงฆ์หรือหมู่คณะ โดย มี พระอุปัชฌาย์อาจารย์เป็นผู้บริหารหมู่คณะให้ดําเนินเป็นไปอย่างเรียบร้อยดีงามแต่พระพุทธเจ้า ไม่ทรงมอบอํานาจใหใ้ ครเป็นใหญ่ นอกเหนือจากพระธรรมวินัย แต่ทรงให้อํานาจแกส่ งฆ์ คือมอบ ความเป็นใหญ่ให้แก่สงฆ์ในการคัดเลือกคนเข้าหมู่คณะ (อุปสมบท) ในการอบรมกล่อมเกลา ใน ปัจจุบันการบริหารคณะสงฆ์ในรูปขององค์กร เช่น มหาเถรสมาคมน้ันไม่บัญญัติในพระวินัยแต่ก็ มิได้ขัดพระธรรมวินัย 2.3.3 สถาบนั ตุลาการ สถาบันตุลาการถ้าเทียบกับสถาบันตุลาการในทางโลก คือศาล บทบาทของศาลคือ พิจารณาพิพากษาอรรถคดีความต่างๆแต่ในพระพุทธศาสนากระบวนการพิจารณาคดี เรียกว่า อธิกรณ์ เมื่อมีอธิกรณ์หรือคดีเกิดข้ึน ก็จะมีกระบวนการในการพิจารณา เรียกว่า\"อธิกรณสมถะ\" หรือวิธีระงับอธิกรณ์ (ม.ม.13/169-174.)ในสมัยคร้ังพุทธกาลพระพุทธองค์จะทรงเป็นผู้ระงับ อธกิ รณด์ ้วยพระองคเ์ อง และต่อมาทรงมอบหมายให้คณะสงฆ์เปน็ ผูพ้ ิจารณาระงับอธกิ รณ์ดว้ ย จะเหน็ ได้วา่ สถาบันตลุ าการทางพระพุทธศาสนามีลักษณะบางอย่างคล้ายกบั สถาบันตุลา การทางอาณาจักร มีกฎหรือระเบียบท่ีสังคมว่างไว้เป็นบรรทัดฐานแห่งการกระทําของบุคคลใน สังคม ป้องกันไม่ให้มีการกระทําหรือความประพฤติที่เป็นปฏิปักษ์ต่อความสงบของสังคม ฝ่าย อาณาจักรมีกฎหมายเป็นหลักในการปกครอง ส่วนฝ่ายพุทธจักรมีธรรมวินัยเป็นหลัก ท้ังฝ่าย อาณาจักร และพุทธจักรมีกระบวนการพิจารณาคดีหรืออธิกรณ์ และมีวิธีลงโทษตามโทษานุโทษ แต่ลักษณะการลงโทษตามพระวินัยกับโทษของกฎหมายบ้านเมืองมีข้อแตกต่างกันมาก ความผิดที

49 ร้ายแรงบางอย่างของบรรพชิต เช่น ความผิดทางเพศ สําหรับฝ่ายอาณาจักรอาจไม่ถือว่าผิดร้ายแรง เปน็ ต้น ทั้งสามสถาบันน้ี ทําหน้าท่ีต่างกันและคานอํานาจซึ่งกันและกัน ไม่มีสถาบันใดมีอํานาจ เด็ดขาดเหนือสถาบันอื่น แต่พระพุทธศาสนาไม่ใช่การเมือง เพราะฉะน้ันเร่ืองทุกเรื่องใน พระพุทธศาสนาจึงไม่ใช่เรื่องของการเมือง แต่พระพุทธศาสนาก็มีส่วนเก่ียวข้องกับการเมือง สถาบันนิติบัญญัติในทางโลก หากเปรียบในทางพระพุทธศาสนา คือ การบัญญัติพระวินัยของ พระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าพระองค์เดียวเท่านั้นที่ทรงทําหน้าที่บัญญัติหรือเพิกถอนพระบัญญัติ คน อ่นื ไม่สามารถบญั ญตั หิ รือเพม่ิ เติมแกไ้ ขได้ ในสมัยพุทธกาล เม่ือพระพุทธเจ้าทรงระงับอธิกรณ์นั้น พระองค์ก็ไม่ได้ทรงอ้างว่าเป็น ศาล แต่ทรงตัดสินผิดถูกได้เลยเพราะทรงเป็นพระศาสดา ครั้นสงฆ์มีมากเข้าทรงมอบอํานาจต่างๆ ให้แต่สงฆ์ ในสมัยน้ันก็เป็นพระอริยสงฆ์มิใช่สมมติสงฆ์เช่นปัจจุบัน การตัดสินจึงปราศจากโลภะ โทสะ โมหะ ผิดกับสมมติสงฆส์ มัยนี้ สมัยพุทธกาลน้ัน พระพุทธองค์ทรงทําการต่างๆอย่างเปิดเผยทรงฟังประชาชน แม้เพียง ประชาชนติเตียนก็ทรงบัญญัติเป็นพระวินัย วินิจฉัยอย่างไรก็ทรงอธิบายอย่างแจ่มแจ้ง ทรงแสดง ความบรสิ ทุ ธ์ขิ องสงั คมสงฆ์ใหป้ ระชาชนประจักษส์ ้นิ สงสัยและนบั ถือไดอ้ ยา่ งสบายใจ กระบวนการสอบอธิกรณ์น้ีมไิ ด้มีในพระไตรปิฎก แต่เป็นกฎหมายซ่ึงออกเมื่อ พ.ศ.2521 คือกฎหมายเถรสมาคมฉบับท่ี 11 วา่ ด้วยการลงนคิ หกรรมคือการลงโทษพระท่ีทําผิดวินัย ซ่ึงว่าโดย ลักษณะแล้วก็เหมือนกับระเบียบข้าราชการพลเรือนซึ่งมีข้อกําหนดให้แต่งต้ังคณะบุคคลขึ้นเป็น กรรมการสอบสวนหาขอ้ เท็จจริง เมื่อมีข้อกล่าวหาว่าข้าราชการทําผิดวินัย คือเป็นหน่วยงานในฝา่ ย บริหารมิใช่ฝ่ายตุลาการ แต่เท่าที่ปรากฏในทางปฏิบัติระเบียบข้าราชการพลเรือน ยังให้มีการ อุทธรณ์เพอื่ เปลย่ี นตวั กรรมการผสู้ อบสวนได้ ถา้ เห็นว่าจะไม่ให้ความยุติธรรมด้วยเหตุบางประการ เช่น เป็นศัตรูกับผู้ถูกล่าวหาหรือเป็นฝ่ายเดียวกับผู้กล่าวหา แต่กรรมการสอบอธิกรณ์พระสงฆ์น้ัน บางทกี ็เป็นผู้ใกล้ชิดพระท่ีถูกกล่าวหา เช่น เปน็ เจ้าอาวาสแล้วก็อาจเป็นเจ้าคณะอําเภอ ซงึ่ ดูแลความ ประพฤติของพระสงฆ์เหนือข้ึนไปและบางทีก็เป็นกรรมการมหาเถรสมาคม ซึ่งจะเป็นผู้วินิจฉัยผล ในขั้นสุดท้ายด้วย เห็นได้ชัดว่าผู้สอบสวนชั้นต้นใกล้ชิดกันกับผู้ถูกสอบสวน และเม่ือผู้กล่าวหา ขอให้เปล่ียนตัวผู้สอบสวนก็ไม่ได้รับการพิจารณา กระบวนการเช่นน้ีในทางทฤษฎีก็นับว่าเลวกว่า ระเบียบที่ข้าราชการพลเรือนใช้อยู่ ย่ิงนําไปประพฤติทางธรรมแล้วก็เลวย่ิงขึ้น เพราะทางธรรมนั้น ควรจะมีการดําเนินการที่บริสุทธิ์ผ่องใสจนปราศจากข้อควรหาจากสังคม เพราะเม่ือจะดําเนินการ สอบสวนเป็นการลับเช่นเดียวกับข้าราชการพลเรือนแลว้ กต็ ้องใหโ้ อกาสผ้ถู กู กลา่ วหาท่ีจะพิจารณา

50 ความเหมาะสมของผู้สอบสวนได้บา้ ง มิฉะนั้นแล้วก็นับว่าเปน็ เผด็จการยิ่งกว่าศาลคอมมิวนิสต์เสยี อกี อน่ึงศาลในฝ่ายประชาธิปไตยนั้น นอกจากจะเป็นอํานาจอิสระจากฝ่ายบริหาร มิใช่ เครื่องมือของฝ่ายบริหารเช่นคณะบุคคลท่ีมาเรียกกันผิดๆว่า“ศาลสงฆ์”แล้ว ศาลประชาธิปไตยยัง พิจาณาอยา่ งเปิดเผย เพ่ือแสดงความบรสิ ทุ ธใิ์ นการพจิ ารณาด้วย เท่าท่ีกล่าวมาแล้วน้ีจะเห็นได้ว่าไม่ว่าจะพิจารณาจากการระงับอธิกรณ์ ซึ่งปรากฏใน พระไตรปิฎกหรือท่ีฝา่ ยศาสนาสรา้ งขึ้นเปน็ กระบวนการชนิดใหมใ่ นปัจจบุ ันกต็ าม ไมม่ ีข้อใดท่ีอาจ ทําให้เรียกได้ว่าเป็นการใช้อํานาจตุลาการแบบประชาธปิ ไตย ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าไม่ว่าจะพิจารณา จากอํานาจนิติบัญญัติ อํานาจบริหารหรืออํานาจตุลาการก็ตาม ถ้ามองอีกมุมหน่ึงอาจจะเห็นว่า พระพุทธศาสนาไม่เข้าข่ายประชาธิปไตยก็ได้ หากพระพุทธศาสนาเป็นประชาธิปไตยนั้น อาจจะ มไิ ดพ้ ิจารณาถึงโครงสร้างและภาพรวมทัง้ หมดหากแต่ดแู ค่ลักษณะย่อยเพยี งจุดใดจุดหน่ึงเท่าน้ัน ในการวิเคราะห์เร่ืองน้ี จะเห็นได้ว่า พระพุทธองค์มิได้มุ่งสอนปรัชญาการเมือง แต่มุ่ง สร้างสังคมสงฆ์ให้เป็นปึกแผ่นต่างจากสังคมของพราหมณ์ในสมัยครั้งพุทธกาลและส่ิ งท่ีทรงทําก็ สําเร็จผลในตัวแล้ว หากจะขยายแนวการปกครองน้ีไปสู่สังคมก็ต้องปรับและเลือกหลักการเฉพาะ บางข้อมาใช้ให้เหมาะสม ผู้ท่ีพยายามจะให้พุทธศาสนาเป็นประชาธิปไตยนั้น คือ ผู้ที่คิดว่า ประชาธิปไตยเป็นส่ิงที่ดีที่สุดหาใช่ผู้ที่พยายามวิเคราะห์พุทธศาสนาตามท่ีเป็นจริงไม่ เราน่าจะ เข้าใจกันว่า ระบบทั้งสองเกิดจากสภาพแวดล้อมต่างกัน มีแนวคิดและจุดมุ่งหมายต่างกัน ไม่อาจ เหมอื นกันได้และทจี่ รงิ แลว้ ประชาธิปไตยก็มหี ลากหลายและยงั มีข้อบกพร่อง เราจะมติ อ้ งอธบิ ายว่า พทุ ธศาสนาบกพรอ่ งตามไปด้วย ดังนั้น การปกครองทางพระพุทธศาสนาเร่ิมต้นจากการปกครองตนเอง คือ ปกครองกาย วาจา ใจ ของตนเองให้ได้เมื่อปกครองตนเองได้แล้ว จากน้ันจึงเร่ิมปกครองคนอื่น การปกครอง แบบนี้จึงเป็นการปกครองท่ีไม่ต้องปกครอง เพราะแต่ละคนสามารถปกครองตนเองได้แล้ว การ ปกครองแบบน้ีจงึ จะต้องเรม่ิ ตน้ ท่ีตวั บคุ คลแต่ละคนนัน้ เอง 2.4 การตคี วามเกีย่ วกบั การปกครองตามแนวพระพุทธศาสนา การตีความคําสอนในพระพุทธศาสนา ได้มีนักวิชาการทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติใน สถาบันการศึกษาต่างๆ ได้พยายามท่ีจะเสนอแนวความคิดทฤษฎีทางการเมืองการปกครองท่ีมี ในทางพระพุทธศาสนาเป็นจํานวนมาก บางคร้ังจําต้องนําเอาทฤษฎีทางการเมืองการปกครองของ ชาวตะวันตกเข้ามาช่วยในการอธิบายและวิเคราะห์ เพราะหากการอธิบายและวิเคราะห์ไปโดยไมม่ ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook