Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความสุขของการทำอิบาดะฮ

ความสุขของการทำอิบาดะฮ

Published by Ismail Rao, 2020-06-26 07:36:11

Description: ความสุขกับการทำอิบาดะฮฺ์ และการเตรียมตัวสู่เดือนเราะมะฎอน
โดย อบูมุฮัมมัด อัลมุอฺตัซซุบิลลาฮฺ
ริฎอ บินอะหฺมัด สมะดี
คำนิยมโดย ชัยคฺอบูอิสหาก อัลหุวัยนี
ชัยคฺมุฮัมมัด หุสัยน์ ยะอฺกูบ
แปลโดย อบูอิบานะฮฺ ฟิตยะตุลฮัก

Search

Read the Text Version

ความสุขของการทาํ อบิ าดะฮฺ และการเตรยี มตัวสูเดอื นเราะมะฎอน โดย อบมู ุฮัมมดั อลั -มอุ ตฺ ซั ซบุ ลิ ลาฮฺ ริฎอ บนิ อะหฺมดั สมะดี คาํ นิยมโดย ชัยคอฺ บอู สิ หาก อลั -หวุ ยั นี ชยั คฺมุฮัมมัด หุสัยน ยะอกฺ บู แปลโดย อบูอิบานะฮฺ ฟต ยะตลุ ฮกั 1

‫اﻟﻘﻮاﻋﺪ اﻟﺤﺴﺎن ﻓﻲ أﺳﺮار اﻟﻄﺎﻋﺔ واﻻﺳﺘﻌﺪاد لﺮمﻀﺎن‬ ‫‪2‬‬

เนื้อหาในเลม  กลาวถึงการทําอิบาดะฮฺของผูท่ีมุงสูแนวทางแหงโลกอาคิ เราะฮฺ และเคล็ดลับของความสุขในการฏออะฮฺ อันเปนสดุ ยอดของการทาํ อิบาดะฮฺ  นําเสนอวิธีปฏิบัติที่บาวคนหน่ึงสามารถทําไดจริงเพ่ือให เกดิ ประโยชนส งู สดุ ในชว งเดือนเราะมะฎอน  แนะนําเทคนิคเพ่ือการล้ิมรสความสุขของการปฏิบัติอิบา ดะฮฺ  เผยถึงอุปสรรคที่ผูเพียรพยายามมุงสูอัลลอฮฺตองเผชิญใน ระหวา งการฏออะฮฺ พรอ มท้งั แนะนําแนวปฏิบัตเิ พ่ือใหผา น พนอุปสรรคตา งๆ  นาํ เสนอแนวทางสะลฟั ในการขัดเกลาจิตใจ 3

สารบัญ คํานิยมโดย ชยั คฺอบอู ิสหาก อลั -หวุ ัยนี หะฟเ ซาะฮุลลอฮฺ คํานยิ มโดย ชยั คมฺ ฮุ มั มดั หสุ ัยนฺ ยะอกฺ บู หะฟเ ซาะฮุลลอฮฺ คํานําผแู ปล คาํ นําผเู ขยี นสาํ หรับการแปลเปน ภาษาไทย คํานาํ ผูเ ขียน หลักการอันดีงามวาดวยความสุขของการทําอิบาดะฮฺและการ เตรียมตวั สเู ดือนเราะมะฎอน 1. ปลกุ ความรูส กึ ใหถวิลถงึ อัลลอฮฺ - ปจจัยทจ่ี ะปลุกความรูส กึ ใหถ วลิ ถึงอลั ลอฮฺ 2. ตระหนักถึงความประเสริฐและความโปรดปรานของอัลลอฮฺใน เดือนน้ี อนั เปนวโรกาสดีทสี่ ุดสาํ หรับปวงบา ว 3. ฝก ตนใหม ีความมงุ มนั่ ต้ังใจและมีแรงปรารถนาในการทาํ ความดี 4. เลิกทําตัวข้ีเกียจ บอกลาจากคนขี้เกียจ แลวคบกับคนขยันทํา ความดี 05. เตรยี มพรอมทจี่ ะเปลี่ยนแปลงตัวเอง 6. เตรยี มพรอ มสําหรบั ทาํ ความดีและทบทวนตัวเอง 7. ศึกษาวธิ ีถือศีลอดตามบญั ญตั ิอสิ ลาม 8. เตรียมล้ิมรสอิบาดะฮฺแหง ความอดทน 4

9. เทคนิคการเขาถงึ ความหอมหวานของการฏออะฮฺ - การซิกริ ตฺ อ อัลลอฮฺ อซั ซะวะญลั ละ - เทคนคิ การลมิ้ รสความหอมหวานของการซกิ ิรฺตออัลลอฮฺ - เทคนิคการล้มิ รสความสขุ ของการถอื ศีลอด - เทคนิคการลม้ิ รสความสุขของการละหมาด - วิธเี ยียวยาใหห ัวใจมีสมาธิ - วธิ ีทําใหห ัวใจมสี มาธใิ นทกุ อริ ิยาบถของการละหมาด - เทคนคิ การลม้ิ รสความหอมหวานของการอา นอลั กรุ อาน - เทคนคิ การขอดุอาอใ หม ีประสิทธิภาพ 10. ฟนฟอู ิบาดะฮทฺ ี่ถูกลมื 11. รับรอู ปุ สรรคทอี่ ยใู นเสน ทางมุงสูอ ัลลอฮฺ คําแนะนําบางประการกอนเขา สเู ดอื นเราะมะฎอน 5

คํานยิ มโดย ชัยคอฺ บอู สิ หาก อัล-หุวยั นี หะฟเซาะฮุลลอฮฺ การสรรเสริญท้ังหลายเปนสิทธิของอัลลอฮฺ เราขอ สรรเสรญิ ตอ พระองค เราขอความชว ยเหลอื ตอ พระองค เราขออภยั โทษตอพระองค และเราขอความคุมครองตอ อัลลอฮฺใหร อดพนจาก ความชวั่ รา ยของเรา และจากความผดิ พลาดท่ีเกดิ จากการงานท่ีเรา ไดกระทาํ ใครกต็ ามทีพ่ ระองคทรงใหท างนาํ แกเขากไ็ มมผี ูใดท่ีทาํ ให เขาหลงทางได และใครก็ตามที่พระองคทรงใหเขาหลงทางก็ไมมี ใครสามารถทําใหเ ขาไดรบั ทางนาํ เราขอปฏิญาณวา ไมม ีพระเจาอน่ื ใดนอกจากอัลลอฮฺเพียงพระองคเดียวเทานั้น โดยท่ีไมมีภาคีใดๆ ตอพระองค และเราขอปฏิญาณตนวา แทจริงมุฮัมมัดน้ันเปนบาว และศาสนทตู ของพระองค พ่ีนองของเราในหนทางของอัลลอฮฺ ริฎอ อะหฺมัด สมะดี ไดนําหนังสือเลมหน่ึงมาเสนอตอขาพเจา วาดวยปจจัยตาง ๆ ท่ีจะ ทําใหการปฏิบัติอิบาดะฮฺตออัลลอฮฺมีความสมบูรณ โดยเจาะจงไป ท่ีการถือศีลอด อันเปนสิ่งท่ีบาวจะใชฝกฝนตนเองไปสูระดับข้ัน “อิหฺสาน” ซ่ึงก็คือการสํานึกอยูเสมอตอการเฝาดูของ “อัร-เราะหฺ มาน” (ผูทรงกรุณาปราณ)ี และดว ยเหตนุ ้ีเองท่อี ลั ลอฮฺ อซั ซะวะญลั ละ ไดดํารัสไวในหะดีษกุดสียวา “การถือศีลอดน้นั เปน ของขา และ 6

ขาจะเปนผูตอบแทนมนั เอง” ในขณะท่ีอิบาดะฮฺอื่นจากน้นี ั้นรางวลั ของมนั เปนของบาว ขาพเจาเห็นวาหนังสือเลมน้ีบรรจุความรูอันละเอียดออน ดวยสํานวนท่ีเขาใจงาย และหลีกเลี่ยงการกลาวถึงประเด็นขัดแยง ในสงั คม ขา พเจา ขอวิงวอนตอ อัลลอฮใฺ หหนังสอื เลมน้กี อ ประโยชน แกผูเขียนและผูอาน ในวันที่ผลสุดทายจะไดแกบรรดาผูยําเกรง และการสรรเสริญท้ังมวลยอมเปนสิทธิของอัลลอฮฺ ทั้งในตอน เร่มิ ตนและตอนทาย ทัง้ ทีเ่ ปด เผยและซอนเรน อบอู ิสหาก อลั -หวุ ยั นี อลั -อะษะรี ขอสรรเสรญิ ตอ อลั ลอฮฺ ตะอาลา เศาะละวาตแดทา นนบีมุฮัมมดั ตลอดจนวงศว านและมิตรสหายของทา น เขยี นเมือ่ 21 เราะญบั ฮ.ศ .1419 7

คาํ นยิ มโดย ชัยคมฺ ุฮัมมัด หสุ ยั นฺ ยะอฺกูบ หะฟเ ซาะฮุลลอฮฺ การสรรเสรญิ ทง้ั หลายเปนสิทธขิ องอลั ลอฮฺ ขอการสดดุ ีและความสันตสิ ุขปลอดภัยพงึ มแี ดศาสนทตู ทีด่ ี เลิศ รวมถงึ วงศวานของทา น ในยุคท่ีวัตถุนิยมครองอํานาจอยางอหังการ มุสลิมกลับ เลือกเอาการชื่นชมปลักโคลนของมันแทนการเลื่อมใสในจิต วญิ ญาณแหง อสิ ลาม ในยุคอิเล็กทรอนกิ สท่ีผลรายของมนั มไิ ดอ ยูที่การสรางวัตถุ ขนึ้ มาใหทํางานไดเ หมือนมนษุ ย หากแตเ ปน การใหกาํ เนิดมนุษยย ุค ใหมท่ีแข็งทื่อเหมือนวตั ถุ จนกระทั่งการอิบาดะฮฺไดก ลายเปนสิ่งท่ี ทําซํ้าๆ กันทุกวัน และคอยๆ ลดความสําคัญลงจนกลายเปนเพียง สิง่ ทีท่ าํ กันใหเสรจ็ ๆ ไป เม่ือวญิ ญาณของการอบิ าดะฮฺแหงเหอื ดไป ในยุคที่ผูคนจมอยูในโคลนตมของวัตถุ วิญญาณของผูคนก็เหือด หายไปดวย แตแลวหนังสือเลมน้ีก็มาถึงเรา มันเปนหนังสือท่ีดีเย่ียม เรียบเรียงโดยพ่ีนองผูมีคุณธรรมของเรา และชัยคฺผูเปยมดวย ปณิธานของเรา ริฎอ อะหฺมัด สมะดี หะฟเซาะฮลุ ลอฮฺ เขาชางเปน เยาวชนผูเปนครูใหแกผูอ่ืน อายุนอยแตมากดวยความรู ยังออนวัย 8

แตอาวุโสดวยความเขาใจ เขาบรรจงคัดเลือกสํานวนและเนื้อหา ของหนังสือเลมน้ีจากถอยคําของบรรดาสะลัฟและดําเนินตาม แนวทาง (มันฮัจญ) ของพวกเขา เสมือนการคัดสรรอินทผลัมอยา ง พิถีพิถัน เพ่ือเผยแกนแทของอิบาดะฮฺใหปรากฏแกสายตา แมวา เขาจะกลาวถึงเพียงแขนงหน่งึ จากแขนงตางๆ ของการอิบาดะฮฺน่นั คือการถือศีลอดเทานั้น แตความลับที่มีอยูในการถือศีลอดก็ ครอบคลุมเนอื้ หาอนื่ ๆ ของอสิ ลาม ฉะน้ัน ทา นเอย จงรับหนงั สอื เลม นี้ไป เพ่ือใครค รวญเนอื้ หา ของมัน พลิกอานแตละหนา และพยายามปฏิบัติตามใหไดทุก ตัวอกั ษร อดทนตอ การฝกฝน แลวผลของมันจะบังเกดิ แกทาน สุดทายนี้ ตัวขาพเจาเองนั้นไมใชนักประดิษฐถอยคําหรือ นักประพันธสํานวน และตัวขาพเจาเองก็ไมคูควรท่ีจะไดเขียนคํา นิยมใหแกหนังสอื ของเยาวชนผูมคี ุณธรรมคนนด้ี วย แมไมมคี ํานิยม ของขาพเจา คุณคาของหนังสือก็ยอมชัดเจนในตัวมันเอง และ คุณคาของผูเ ขยี นกช็ ัดเจนในตวั ของเขาเชน กนั อัลลอฮทฺ รงรูด ียงิ่ วา ตลอดระยะเวลาสองปท่ีผานมา ขาพเจาไดรับสิ่งดีๆ จากตัวเขา ไดรับความชว ยเหลอื ในการคน ควา และรวบรวมเนอื้ หาทางวิชาการ ไดรบั แนวคดิ ดีๆ จากเขาในการรางหวั ขอคฏุ บะฮแฺ ละการบรรยาย ฉะนัน้ แลว แดน ักศกึ ษา แดผูประกอบอะมลั แดม รุ ็อบบี (ผู อบรมขัดเกลา) แดนักดาอี (นักเผยแผอิสลาม) แดผูทําหนาท่ี ตักเตือน ขาพเจาขอกลาวแกพวกทานวา “นี่คือเสบียงที่ดีเยี่ยม จง 9

มารับมันไป และจงอยากลัว จงใชมันดม่ื เพ่ือดับกระหาย จงฝกฝน จงอดทน แลวกาวตอ ไปอยางไมห ยดุ ย้งั ” มฮุ มั มดั หสุ ัยนฺ ยะอฺกบู ขอผูทรงรอบรูในส่ิงเรนลบั ทงั้ หลายทรงอภยั แกทา น เขียนเมอื่ คนื วนั ท่ี 15 เดอื นเราะญับ ฮ.ศ .1419 ตรงกับวนั ท่ี 5 พฤศจิกายน ค.ศ .1998 10

คํานาํ ผูแปล การสรรเสริญท้ังหลายเปนสิทธิของอัลลอฮฺ ขอการสดุดี แหงอัลลอฮฺและความสันติสุขปลอดภัยจงมีแดผูท่ีถูกสงมาเปน ความเมตตาแกสากลโลก นบีและผูเปนที่รักของพวกเรา มุฮัมมัด ศ็อลลัลลอฮอุ ะลัยฮิวะสัลลัม ตลอดจนครอบครัวและมิตรสหายของ ทา นและผทู ่พี ยายามปฏิบตั ติ ามแนวทางของทานอยางดี จิตวิญญาณแหงอิบาดะฮฺเปนสิ่งท่ีผูศรัทธาทุกคนจําเปน จะตองใสใจใหม าก เน่ืองจากอิบาดะฮฺท่ีขาดจติ วิญญาณ ไรรสชาติ ไมมีความรูสึกรวมขณะปฏิบัติยอมไมตางอะไรกับรางกายท่ีไร วิญญาณ มีรางแข็งทื่อเหมือนศพ ปฏิบัติกิจศาสนาประหน่ึง หุนยนต การท่ีเราขาดจิตวิญญาณแหงอิบาดะฮฺน่ีเองที่ทําใหเรา ไมไดร ับผลดงี ามจากมันท่จี ะเกดิ ขึ้นในโลกน้ี อันท่ีจริงแลวภาคผลในโลกหนาในอิบาดะฮฺตางๆ จะมาก หรือนอยก็ข้ึนอยูกับจิตวิญญาณในอิบาดะฮฺนั้นๆ เชนกัน ยกตัวอยางการละหมาดท่ีมีหะดีษหลายบทรายงานจากทานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลมั วาการละหมาดของคนหนง่ึ ๆ น้ันอาจ ไดคะแนนเต็มสิบหรือลดหล่ันไปจากนั้นจนกระท่ังเหลือหน่ึงในสิบ ตามแตความคุชูอฺของเขา ซึ่งความคุชูอฺหรือการมีสมาธิ มีอารมณ รวมในการละหมาดก็คอื จิตวิญญาณของมนั นั่นเอง 11

เม่ือใดก็ตามท่ีเราอิบาดะฮฺอยางไรจิตวญิ ญาณ หลังจบอิบา ดะฮฺก็จบกัน จะไมกอผลอะไรในชีวิตนอกอิบาดะฮฺเลยแมแตนอย คนที่ละหมาดแลวไรจิตวิญญาณ นอกละหมาดก็จะฝาฝนอัลลอฮฺ หนาตาเฉย ท้ังท่ีอัลกุรอานสอนเราวาการละหมาดอยางแทจริงนั้น จะหา มเราจากความชัว่ ชาและส่งิ อนาจารได ในการถือศลี อดกเ็ ชน เดยี วกัน หะดษี บางบทสอนเราวา หาก เราถือศลี อด ไมกิน ไมด ่ืม ไมรวมหลบั นอนกับคคู รอง ภาพภายนอก น้ที าํ ใหเราดเู หมอื นวา ศลี อดของเรานน้ั ถกู ตองตามเงอื่ นไขแลว และ นาจะเปนการงานท่ีถูกตอบรับและไดรับการตอบแทนอยาง แนนอน แตทานนบีกลับบอกวาใครท่ีถือศีลอดแตไมละเวนการพูด เท็จ การกระทําท่ีเปนเท็จหรือสิ่งไรสาระตางๆ เชนน้ันอัลลอฮฺก็ไม ตองการการถือศีลอดของเขา หรือในหะดษี บทอ่ืนทานนบีบอกวากี่ มากนอยแลวที่ผูถือศีลอดไมไดอะไรนอกจากการหิวและกระหาย สวนผูละหมาดกลางคืนในเราะมะฎอนน้ันก็ไมไดอะไรนอกจากกา รอดหลบั อดนอน ทัง้ หมดนข้ี ้ึนอยูกบั เรือ่ งจิตวิญญาณทั้งสน้ิ คนท่ีถือศีลอดเขากําลังงดสิ่งท่ีเดิมหะลาล นั่นคืออาหาร เคร่ืองดื่มและการรวมหลับนอน ใชแตเพียงส่ิงหะลาลเทานั้น ใน บางสภาพถือวาเปนสิ่งจําเปนตองกระทําดวยซํ้า หากไมดื่มไมกิน จนสุขภาพเสียหายเขาก็มีบาป หากไมรวมหลับนอนทั้งที่คูครองมี ความตองการและตัวเองก็ไมไดติดขัดอะไรเขาก็มีความผิด แตใน เราะมะฎอนเรายอมสละสิ่งเหลานี้เพ่ือแสดงออกถึงการเช่ือฟงตอ 12

พระผูเปนเจาวาเมื่อพระองคส่ังใหเราดื่มกินเราก็ทํา ส่ังใหเราหยุด กนิ เราก็ทาํ เรานอ มนาํ คาํ สงั่ ใชของพระองคมาปฏบิ ตั โิ ดยไรขอ กงั ขา และไมรอรี แตจะเปนไปไดอยางไรที่เรายอมละท้ิงส่ิงหะลาลได ขนาดนี้ ทวาเรากลับยังทําส่ิงหะรอมเชนกันพูดจามดเท็จ ลามก หยาบคายและสิ่งอื่นท่ีคลายกันน้ัน เราหยุดทําของหะลาลไดแต หยุดทําของหะรอมไมได ? น่ีเปนเพราะเราขาดจิตวิญญาณและ ความเขา ใจในแกนของอิบาดะฮฺนั่นเอง เมื่อเราฝกใหคิดดีพูดดีทําดีตลอดหน่ึงเดือนเตม็ ของการถือ ศีลอดภายใตความเชื่อมั่นวาอัลลอฮฺทรงเฝามองเราอยูเสมอ (ระดับอิหฺสานที่นบีบอกวาใหอิบาดะฮฺประหน่ึงเห็นอัลลอฮฺ แตถา ไมเห็นก็ใหตระหนักวาพระองคเห็นเราเสมอ) เราก็จะคุนชินกับ ความคิดเชนน้ีไปตลอดชวงเดือนอื่นๆ ในปน้ันดวย เน่ืองจากพระ เจาท่ีเฝา ดเู ราในเราะมะฎอนก็คือพระเจาของเราในเดือนอ่ืน ถาเรา บรรลุระดับน้ีไดเราก็จะพัฒนาตัวเองไดดีข้ึนเรื่อยๆ และถาคนใน สังคมบรรลุขั้นน้ีเพ่ิมขึ้นเร่ือยๆ สังคมแหงคุณธรรมก็คงอยูไมไกล เกนิ ทีเ่ ราจะไดพ บเห็นอีกครัง้ ขาพเจาไดเลือกหนังสือเล็กๆ เลมน้ีที่เขียนตนฉบับเปน ภาษาอาหรับโดยครขู องพวกเราเองเม่ือ 20 กวาปท่ีแลว ซึ่งทานได บรรจงคัดสรรเน้ือหาและถอยคําตางๆ จากความจําท่ีแมนยําของ ทาน โดยขาพเจาไดพ ยายามถายทอดจากภาษาอาหรับสูภาษาไทย เพอ่ื ใหผ อู า นทกุ ทา นมโี อกาสไดสัมผสั งานเขยี นที่เตม็ ไปดวยวชิ าการ 13

และจิตวิญญาณของผูเขียนและผูที่ผูเขียนไดอางถึงโดยเฉพาะ ชาวสลัฟผูทรงคณุ ธรรมทง้ั หลาย ท่ีสาํ คญั ขาพเจา เชือ่ วา ทุกคนทเ่ี คยสมั ผัสกบั ผูเขยี น คลกุ คลี กับทานนานหลายปสามารถสัมผัสไดวาส่ิงที่ทานไดคัดสรรมา นาํ เสนอในหนังสอื เลมน้ี รวมถงึ บรรยายตา งๆ ของทา นเกี่ยวกบั การ ถือศีลอดและเราะมะฎอนน้ันเปนส่ิงที่ทานเองไดนํามาปฏิบัติจริง และสงผลตอ บรรดาลูกศิษยท่ีร่าํ เรยี นและปฏิบัตติ ามคาํ แนะนาํ ของ ทานจริงๆ จึงเชื่อมั่นวาหากผูอานไดใ ครครวญและนาํ ไปปฏบิ ัติตาม ทีละขอ ทีละขอ ใหไดมากท่ีสุด ผูอานก็ยอมสัมผัสไดถึงความหอม หวานแหงอีมานและจิตวิญญาณแหงอิบาดะฮฺอยางแนนอน และ เมื่อใดที่เราพบกับความสุขในการภักดีอัลลอฮฺแลว เราก็แทบจะไม เหลียวไปหาความสขุ ชัว่ คราวอื่นในดนุ ยาอีกเลย อบูอิบานะฮฺ ฟต ยะตุลฮกั วนั ที่ 11 เดือนมุ าดลั อาคิเราะฮฺ ฮ.ศ.1439 ตรงกับวนั ที่ 27 เดอื นกมุ ภาพนั ธ ค.ศ.2018 14

‫‪คํานาํ ผูเขยี น‬‬ ‫‪สาํ หรบั การแปลเปนภาษาไทย‬‬ ‫�ﺴﻢ اﷲ الﺮﺣﻤﻦ الﺮﺣﻴﻢ‬ ‫اﻟﺤﻤﺪ ﷲ و�ﻔﻰ وﺳﻼﻣﺎ ﻋﻠﻰ ﻋﺒﺎده اﻟﺬﻳﻦ اﺻﻄﻔﻰ و�ﻌﺪ ‪.‬‬ ‫ﻛﺘﺎب اﻟﻘﻮاﻋﺪ اﻟﺤﺴﺎن أﻟﻔﺘﻪ اﺳﺘﺠﺎﺑﺔ لﺸﺢ ﻓﻲ اﻟﻤﻜﺘﺒﺔ اﻹﺳﻼﻣﻴﺔ ﻓﻲ ﺗبﺴﻴﻂ ﻗﻮاﻋﺪ‬ ‫الﺴﻠﻮك والﺰﻫﺪ والﺘﺰ�ﻴﺔ ﻟﺪى ﺷﺒﺎب اﻟﺠﻴﻞ اﻟﺠﺪﻳﺪ ‪.،‬‬ ‫وﻟﻤﺎ ﻛﺎن ﺷﻬﺮ رمﻀﺎن ﻣﻴﺪاﻧﺎ لﺘﺰ�ﻴﺔ اﻟﻨﻔﻮس وﺗﻮ�ﺔ اﻟﻌﺒﺎد و�ﻧﺎﺑﺔ الﺸﺒﺎب إﻟﻰ اﷲ‬ ‫وﺿﻌﺖ ﻗﻮاﻋﺪ ﻻﺳﺘﻘﺒﺎل ﻫﺬا الﺸﻬﺮ الﻜﺮ�ﻢ ﺣﺘﻰ أﻋ� ﻧﻔﺴﻲ و�ﺧﻮا� ﻋﻠﻰ اﻟﺘﻮ�ﺔ‬ ‫واﻹﻧﺎﺑﺔ ﻓﻲ ﻫﺬا الﺸﻬﺮ وﺗﺬوق ﺣﻼوة اﻟﻄﺎﻋﺔ ﻓﻴﻪ ‪،‬‬ ‫وﻗﺪ ﻛﺘﺐ اﷲ ﻟﻬﺬا الﻜﺘﺎب اﻟﻘﺒﻮل ﺑنﺴﺨﺘﻪ اﻟﻌﺮ�ﻴﺔ ﺣﺘﻰ ﺗﺪاوﻟﻪ ﻃﻠﺒﺔ اﻟﻌﻠﻢ ﻣﻦ‬ ‫اﻟﺘﺎﻳﻠﻨﺪﻳ� ورأوا ﻓﻴﻪ ﻧﻔﻌﺎ لﻠﻤﺴﻠﻤ� ﻓﻲ ﺗﺎﻳﻠﻨﺪ وارﺗﺄوا ﺗﺮﺟﻤﺘﻪ ﻓﺘﺼﺪى ﻟﻬﺎ ﺗﻠﻤﻴﺬي‬ ‫اﻟﻨﺠﻴﺐ ﺻﺒﺮي أﺑﻮ إﺑﺎﻧﺔ وﻓﻘﻪ اﷲ وﻟﻦ ﺗﺨﻠﻮ ﻫﺬه الﺘﺮﺟﻤﺔ ﻣﻦ ﺑﻮن وﻓﺮق ﺑ� الﻠﻐﺔ‬ ‫اﻟﻌﺮ�ﻴﺔ واﻟﺘﺎﻳﻠﻨﺪﻳﺔ وﻟﻌﻠﻪ ﻳﺘﺎح ﻟﻨﺎ ﻓﻲ اﻟﻄﺒﻌﺎت الﻼﺣﻘﺔ ﺗﻨﻤﻴﻖ اﻟﻌﺒﺎرة اﻟﺘﺎﻳﻠﻨﺪﻳﺔ‬ ‫ﺣﺘﻰ ﺗ�ﻮن أﻗﺮب لﻠﺜﻘﺎﻓﺔ الﻠﻐﻮ�ﺔ اﻟﺘﺎﻳﻠﻨﺪﻳﺔ ‪..‬‬ ‫وأﻧﺎ أﺳﺄل اﷲ ﺗﻌﺎﻟﻰ أن ﻳﻨﻔﻌ� ﺑﻬﺬا الﻜﺘﺎب و�ﻨﻔﻊ ﺑﻪ ﻛﻞ ﻣﻦ ﻗﺮأه وﻃﺒﻌﻪ و�ﺸﺮه وأن‬ ‫�ﻌﻞ ﻓﻴﻪ ﻓﺘﺤﺎ لﻜﻞ مﺴﻠﻢ ﻓﻲ ﻋﻼﻗﺘﻪ ﻣﻊ ر�ﻪ وأن ﻳ�ﻮن ﺳبﺒﺎ ﻓﻲ ﺗﻮ�ﺔ اﻟﻌﺒﺎد و�ﻧﺎﺑﺘﻬﻢ‬ ‫لﺮب اﻟﻌﺒﺎد ‪ ،‬إﻧﻪ و� ذلﻚ واﻟﻘﺎدر ﻋﻠﻴﻪ ‪.‬‬ ‫واﻟﺤﻤﺪ ﷲ رب اﻟﻌﺎﻟﻤ�‬ ‫ﻗﺎﻟﻪ ﺣﺎﻣﺪا مﺼﻠﻴﺎ‬ ‫أﺑﻮ �ﻤﺪ اﻟﻤﻌﺘﺰ ﺑﺎﷲ رﺿﺎ ﺑﻦ أﺣﻤﺪ ﺻﻤﺪي‬ ‫ﻓﻲ أوال ﺷﻬﺮ ﺟﻤﺎدى اﻵﺧﺮة ‪ 1439‬ﻣﻦ اﻟﻬﺠﺮ�ﺔ اﻟﻨﺒﻮ�ﺔ اﻟﻤﺤﻤﺪي‬ ‫‪15‬‬

ดว ยพระนามของอลั ลอฮฺ ผทู รงกรุณาปรานี ผูท รงเมตตาเสมอ การสรรเสริญท้ังหลายเปนสิทธิของอัลลอฮฺและพระองค ทรงเปนที่เพียงพอแลว และขอความสันติสุขจงมีแดบาวของ พระองคท ่ีถูกคดั เลอื ก ขาพเจาไดเขียนหนงั สอื “อลั -เกาะวาอิด อลั -หิสานฯ” เลม น้ีเพ่ือเติมเต็มสิ่งที่ขาดแคลนในหองสมุดอิสลามเก่ียวกับหลักการ อยางงายในการสรางความใกลชิดกับอัลลอฮฺ การมีสมถะ และการ ขดั เกลาจิตใจสําหรับคนหนุม สาวรนุ ใหม ในเมอ่ื เดอื นเราะมะฎอนคือโอกาสสําหรบั การขัดเกลาจติ ใจ และการเตาบัตตัวของบาวคนหน่ึง รวมถึงเปนชวงเวลาที่คนหนุม สาวจะกลับเน้ือกลับตัวไปหาอัลลอฮฺ ขาพเจาจึงขอนําเสนอ หลักการในการตอนรับเดือนอันประเสริฐนี้ เพ่ือใหมันสามารถ ชวยเหลือขาพเจาและพ่ีนองทุกคนในการเตาบัตตัวและกลับเน้ือ กลับตัวไปหาพระองคและไดล ้ิมรสความหอมหวานของการฏออะฮฺ หรือทําความดีในเดือนนี้ อันที่จริง อัลลอฮฺไดกําหนดใหหนังสือเลมน้ีเปนท่ียอมรับ ของผูคนในตน ฉบับภาษาอาหรับมาแลว จนไดตกทอดมาถงึ บรรดา นักเรยี นนักศกึ ษาไทย ซงึ่ พวกเขาเหน็ วานา จะเปน ประโยชนสําหรบั มุสลิมในประเทศไทยจึงเสนอใหมีการแปลเปนภาษาไทย ซ่ึงคนที่ อาสาในเรื่องน้ีคือ “ซอบรี อบูอิบานะฮฺ” ซ่ึงเปนลูกศิษยท่ีดีของ 16

ขาพเจาคนหน่งึ ขออลั ลอฮอฺ าํ นวยความสะดวกในการทําความดีแก เขา และแนนอนวา การแปลเน้ือหาจากตนฉบับภาษาอาหรับ มาเปนภาษาไทยนั้นยอมมีความตางในบริบทของแตละภาษา ซึ่ง เราหวังวาในการตีพิมพคร้ังตอไปนั้นจะสามารถเกลาภาษาเพ่ือให คงเอกลักษณทางภาษาไทยใหไ ดม ากทส่ี ดุ และขาพเจาขอวงิ วอนตออลั ลอฮฺ ตะอาลา ใหหนงั สอื เลมน้ี เปนประโยชนแกขาพเจาเอง และเปนประโยชนแกทุกคนท่ีไดอาน ตีพิมพ และเผยแพรมัน และขอใหมันเปนประตูเปดความสัมพันธ กับอัลลอฮฺสําหรับมุสลิมทุกคน และขอใหมันเปนสาเหตุที่ทําให คนๆ หนึ่งไดเตาบัตตัวและทาํ ใหพวกเขากลับเนอ้ื กลับตัวไปหาพระ ผูอภิบาลแหงปวงบาวท้ังหลาย แทจริงพระองคเปนผูดูแลท่ีดีที่สุด และทรงเดชานภุ าพที่สุดในเร่ืองน้ี และการสรรเสริญท้ังหลายเปนสิทธิของอัลลอฮฺ ผูทรงเปน พระผูอภบิ าลแหง สากลโลก ขอสรรเสรญิ ตออลั ลอฮฺ ตะอาลา และเศาะละวาตแดทา นนบมี ฮุ มั มดั อบมู ฮุ มั มัด อลั -มตุ ซั ซบุ ิลลาฮฺ ริฎอ บินอะหมฺ ัด สมะดี เขียนในชว งตนของเดือนมุ าดัลอาคิเราะฮฺ ฮ.ศ.1439 17

คาํ นําผูเขยี น การสรรเสริญท้ังหลายเปนสิทธิของอัลลอฮฺ เราขอ สรรเสรญิ ตอพระองค เราขอความชว ยเหลอื ตอ พระองค เราขออภยั โทษตอพระองค และเราขอความคุมครองตออัลลอฮฺใหรอดพน จาก ความชว่ั รา ยของเรา และจากความผิดพลาดทีเ่ กดิ จากการงานท่ีเรา ไดก ระทาํ ใครกต็ ามทพ่ี ระองคทรงใหทางนาํ แกเ ขากไ็ มมผี ูใ ดทที่ าํ ให เขาหลงทางได และใครก็ตามท่ีพระองคทรงใหเขาหลงทางก็ไมมี ใครสามารถทาํ ใหเ ขาไดร บั ทางนาํ เราขอปฏิญาณวาไมมีพระเจาอน่ื ใดนอกจากอัลลอฮฺเพียงพระองคเดียวเทาน้ัน โดยท่ีไมมีภาคีใดๆ ตอพระองค และเราขอปฏิญาณตนวา แทจริงมุฮัมมัดน้ันเปนบาว และศาสนทูตของพระองค ขอการสดุดีและความสันติสุขปลอดภัย อันมากมายพึงมีแดทาน และบรรดาเครือญาติ รวมถึงบรรดามิตร สหาย ภรรยา และผเู จริญรอยตามทา นตราบจนทุกวันนี้ ผูมีสติปญญาตางเห็นพองตองกันวาชวงเวลาอันมีคุณคา ที่สุดคือชวงเวลาที่ไดใชไปกับการอิบาดะฮฺตอพระผูอภิบาลแหง ฟากฟาและแผนดนิ ทง้ั หลาย รวมถึงการดาํ เนนิ ชวี ติ ตามวิถีทางแหง โลกอาคิเราะฮฺ และการทุมเททุกสิ่งทุกอยางใหไดสวนสวรรค และ การดนิ้ รนใหร อดพน จากการลงโทษในไฟนรก 18

และเมื่อแนวทางนี้ตางจากแนวทางอื่นๆ ที่ผสมผสานไป ดวยทางราบ ทางขรุขระ เนินเขา ภูเขา และที่ราบลุม (หมายถึง อุปสรรคและปญหาตางๆ ที่ตองพบพาน) นอกจากนี้รอบๆ มันยัง แฝงไปดวยโจรท่ีคอยขโมยหัวใจอยูระหวางทาง (เชนการโออวด การหย่ิงยะโส เปนตน) ทําใหผูที่ดําเนินตามแนวทางน้จี ึงตอ งพ่ึงพา ผูชํานาญการที่จะนําพาไปตามทางท่ีปลอดภัย แนวทางที่จะทําให รอดพน และรูดีถึงภัยคุกคามท่ีอยูเบ้ืองหนา รูวาชวงเวลาใดดีท่ีสุด ในการรีบเรง เดนิ ทาง ซงึ่ ผชู ํานาญการทีว่ า กค็ ือแนวทางหรอื มนั ฮจั ญ ที่บรรดาสะละฟุศศอลิหฺเคยกาวเดิน รวมถึงวิถีชีวิตของพวกเขาใน การมุงสูอัลลอฮฺ และคําแนะนําตางๆ ของพวกเขาในการเดินตาม แนวทางน้ี ซึ่งนี่คือตัวชวยท่ีดีท่ีสุดที่จะทําใหอยูรอดปลอดภัยใน แนวทางนี้ มันคือวิถีของชาวสะลัฟท่ีมีอยูด้ังเดิม คือมันฮัจญของอะฮฺ ลุสสุนนะฮฺท่ีดีเลิศในการขัดเกลาจิตใจ ซึ่งทุกคนที่แสวงหาแนวทาง ท่ีปลอดภัยตองพึ่งพามัน ดังนั้น จึงไมมีแนวทางใดท่ีจะปลอดภัย นอกจากแนวทางของชาวสะละฟศุ ศอลหิ ฺ จงทงิ้ ความคิดเห็นของคนรวมสมยั ทีไ่ ดกลา วอา ง แตใหย ดึ มน่ั ตอ สิ่งดงั่ เดิม (อลั กุรอานและสนุ นะฮฺ) อยางแนว แน 19

แนนอนวาชวงเวลาที่ประเสริฐท่ีสุดยอมเปนชวงเวลาอัน เหมาะสมที่สุดในการมุงมั่นและขะมักเขมนในการฏออะฮฺหรือทํา ความดี และแนน อนวา เดือนเราะมะฎอนถอื เปนชว งโอกาสดที ่ีสดุ ท่ี พระผูเปนเจาไดม อบให เพราะในชว งนนั้ พระองคไดป ลดปลอยจาก การลงโทษในไฟนรก และยังมอบประกาศนียบัตรการเปนบาวท่ีมี ความผูกพันโดยตรงกับอัลลอฮฺ (ร็อบบานียะฮฺ) แกบรรดาคนดแี ละ คนที่มุงม่นั ในการทําความดี ดังกลาวนเี้ ปนการสั่งเสียใหมปี ณิธานที่ แนวแนเพ่ือจะบรรลุสูเปาหมายของการไดรับความพึงพอพระทัย จากพระผูอภิบาลในเดือนน้ี และมันคือการสั่งเสียกันดวยสัจธรรม ดังดํารัสที่อัลลอฮทฺ รงสั่งใชใหป ฏิบัตใิ นสเู ราะฮฺอลั -อศั รฺ ในเมื่อแกน นําท่ีเรียกรองสูความเท็จ ความไรสาระ และความบัดสีตางมี ปณิธานอันแรงกลาท่ีจะตระเตรียมส่ิงเพลิดเพลินตางๆ ในเดือนน้ี ดวยส่งิ ทีท่ ําใหผ คู นหลงใหล ไมวา จะเปน คลิปวดิ โี อ เสียงดนตรี ฯลฯ จึงสมควรย่ิงกวาที่คนดีมีอีมานจะตองแข็งขันในการตระเตรียม เชนเดียวกัน แตเปนการตระเตรียมในส่ิงที่ดีและสิ่งที่สรางความยํา เกรง อันท่ีจริงประชาชาติของเราไดถือศีลอดกันเปนระยะเวลา ยาวนานแลว แตการถือศีลอดในเดือนเราะมะฎอนของพวกเขานน้ั กลับไมเพ่ิมสิ่งใดนอกจากความหางเหินจากพระผูอภิบาล ผูทรง ครอบครองกรรมสิทธิ์ตางๆ และผูทรงปรีชาญาณที่แทจริง ทําให เดือนเราะมะฎอนกลายเปนเทศกาลที่ไมเหลือนัยที่แทจริงใดๆ 20

ยิ่งกวาน้ันกลับกลายเปน วา มนั เปนสนามของการแสดงพฤตกิ รรมที่ เลวทราม และหมดเปลืองเวลาสวนใหญไปกับสิ่งท่ีอัลลอฮฺผูทรง เกยี รติ ผทู รงย่ิงใหญไดโ กรธกร้วิ หากประชาชาตนิ ไี้ ดเตรยี มพรอ มเพื่อเขาสเู ดือนอันจําเรญิ น้ี เปนอยางดี และผคู นก็ไดมุงมนั่ อยา งเต็มทใ่ี นการทําความดี เราก็จะ เห็นโฉมหนาใหมของประชาชาติที่บังเกิดข้ึนมาตามครรลองของ อิสลาม แตมันจะเกิดข้ึนไดก็ตอเมื่อมีการตระเตรียมเปนอยางดี มาแลวกอนจะเขาสูเดือนเราะมะฎอน รวมถึงการปรับความต้ังใจ และสรางแรงปรารถนาเพื่อเขาสูเดือนนี้โดยมุงสูการฏออะฮฺ (การ ทาํ ความดี) อยางเตม็ รูปแบบ และน่ีคือหนังสือเลมเล็กๆ ท่ีประกอบดวยขอตักเตือนแก มุสลิมทุกคน เพื่อใหพวกเขามีความรูสึกหวงแหนในความสัมพันธ ระหวางเขากับอัลลอฮฺในเดือนน้ี ซึ่งมันเปนเพียงความพยายามอัน นอยนดิ ของผเู ขียน และยอมรบั วา ยงั มคี วามบกพรองอยู แตอ ัลลอฮฺ ทรงรดู ีวามนั เปนเชนไร มันคือแนวทางหรอื มนิ ฮาจญใ นการเตรยี มพรอ มเขาสเู ดือน เราะมะฎอน และเปนขอแนะนําในการปฏิบัติตัวอยางละเอียด สําหรับผูที่มุงสูเสนทางแหงโลกอาคิเราะฮฺตองนําไปปฏิบัติ มันคือ คําแนะนําท่ีคัดสรรจากบรรดาอิมามแหงการตัรบียะฮฺ ซ่ึงการขัด เกลาจากชาวสะละฟุศศอลิหฺน้ันจะนําคนๆ หนึ่งมุงสูแนวทางท่ี สําเร็จไดอยางรวดเร็ว ซ่ึงเราไดใหความสําคัญตอแนวปฏิบัติที่ 21

สามารถนําไปใชไ ดจ รงิ อยา งละเอียด แตกย็ งั คงความเปน สะลัฟและ สนุ นีไว นอกจากนี้ เรายังไดแจกแจงรายละเอียดของวิธีการ ตระเตรียมสูเดือนอันทรงเกยี รตินี้ดว ยการสรางแรงปรารถนาท่ีแรง กลา และสรางพลังความสามารถในการมุงม่ันทําความดีหรือ การฏออะฮฺอยางแทจริง แทนความเพอฝนและอุดมคติที่เลื่อนลอย และเรายงั ใชความพยายามอยางเต็มทใ่ี นการนําเสนอเคลด็ ลับตา งๆ ทีม่ ีอยูในการฏออะฮฺและการทาํ อิบาดะฮฺ และวิธปี ฏบิ ัติเพ่ือใหไ ดล ม้ิ รสความหอมหวานของมัน ทั้งนี้ เรายังไดนําเสนออิบาดะฮฺหรือ การฏออะฮบฺ างประการทมี่ กั ถกู ลมื เลือนไป และเรายงั ระบถุ งึ ปจจยั ในการออกหางจากแนวทางของอัลลอฮฺ และในชวงทายของหนงั สอื เลมเล็กๆ นี้เราพยายามท่ีจะกลาวถึงเรื่องราวท่ีมีความพิเศษของ บรรพชนผมู งุ สูแ นวทางแหงโลกอาคเิ ราะฮฺ ทัง้ นเ้ี พ่ือใหผูทีเ่ จรญิ รอย ตามนั้นไดมคี วามปรารถนาที่จะบรรลุดังเชน ทก่ี ลุมชนกอนหนานี้ได บรรลุมาแลว และทําใหพ วกเขาไดร บั การอภัยโทษในเดือนแหง การ ใหอ ภัยและเปยมดวยความเมตตาน้ี ในสวนของการนําเสนอขอมูล เราไมไดใชความพิถีพิถัน มากนักในการเรียบเรียงเนื้อหาใหเปนหมวดหมู แตขาพเจา พยายามที่จะนําเสนอเน้ือหาที่คัดเลือกมาจากหนังสืออันเปนท่ี ยอมรับของบรรดาอุละมาอและบรรดาชัยคฺของเราและไดคัดลอก เนื้อหาจากงานเขียนของทานอัล-เฆาะซาลี เราะหิมะฮุลลอฮฺ ใน 22

หนังสืออัล-อหิ ฺยาอ โดยขาพเจาไดค ัดสรรเน้ือหาโดยสรปุ และตรวจ พิสูจนความถูกตองแลว เพราะความรูคือส่ิงท่ีผูศรัทธาเพียรหา นอกจากนี้ขาพเจายังไดอางอิงหะดีษตางๆ ที่เศาะฮีหฺและหะสัน ยกเวนบางหะดีษหรือบางรายงานที่เฏาะอีฟเพ่ือประกอบเนื้อหา พรอ มๆ กบั ไดร ะบถุ ึงสถานะการเปน หะดีษเฎาะอีฟไวด ว ย โอผูท่ีเปนท่รี ัก เราขอแนะนาํ ทา นวา หากทานตองการที่จะ ไดรบั ประโยชนจ ากการทอ งไปในหนงั สือเลม น้ี ก็อยาไดอ านสํานวน ของมันเพยี งผา นๆ แตจงทาํ ใหความนึกคดิ ของทานไดท องไปกบั นยั ของมนั รวมถงึ นยั ของนยั ของมนั เพราะสิง่ ท่ีเราไดเ ลือกสรรแกทาน นั้นเปนสิ่งท่ีเราไดบรรจงเลือกสรรอยางดีที่สุด ซ่ึงเม่ือเราไดอางอิง อายะฮฺหน่งึ อายะฮฺใด ก็ใหทานกระโจนเขา สูขอบเขตของเนื้อหามนั แลวหลังจากน้ันก็ใหพินิจแกนของเนื้อหาน้ัน และเมื่อเรานําเสนอ หะดีษแกทาน ก็จงทําเสมือนวาตัวทานน้ันกําลังนั่งอยูเบ้ืองหนา ทานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ซ่ึงทานไดสดับรับฟงและ ใครครวญเนื้อหาของมันจากทานนบีโดยตรง และเม่ือเราไดเลาถึง ชีวประวัติผูยิ่งใหญจากชาวสะลัฟ ก็จงทําเสมือนวาตัวทานไดรวม รับฟงคําพูดของเขาโดยตรง หากไมสามารถทาํ เชนนนั้ ไดก ็อยา รสู กึ หางเหินใดๆ “เพราะเราประพันธหนงั สือเลมน้ีเพื่อใหทานไดลิ้มรส ของมัน ไมใชเ พอ่ื บอกแกผ คู นวา ฉันไดอานมนั แลว” ประการสุดทายที่อยากใหผูอา นรูคือ ส่ิงที่เราไดนําเสนอใน หนังสือเลมนี้มิใชอ่ืนใดนอกจากเปนความพยายามท่ีจะสราง 23

บุคลิกภาพของการเปน รอ็ บบานีในตวั คนๆ หนึ่ง ซ่ึงเปนบุคลิกภาพ ที่มีความผกู พันโดยตรงกับพระผูเปนเจาแหง สรรพสิ่งท้ังหลาย และ เพ่ือเลยี นแบบผนู าํ ของมนษุ ยชาติ รวมถึงฟน ฟแู บบอยา งของทาน และคําวิงวอนสุดทายของเราคือ การสรรเสริญทั้งหลาย เปนสิทธิของอัลลอฮฺ พระผูอภิบาลแหงสากลโลก และการสดุดี ของอัลลอฮฺและความสันติสุขปลอดภัยพึงมีแดทานนบีมุฮัมมัดของ เรา และแดบรรดาเครือญาติของทาน รวมถึงบรรดามิตรสหายของ ทานทุกคน เขียนโดย อัล-มุอตฺ ัซซุ บิลลาฮฺ อบมู ฮุ มั มัด รฎิ อ บนิ อะหมฺ ดั สมะดี ขออลั ลอฮฺทรงอภยั โทษแกทา น แกบ ดิ ามารดาของทา น รวมถึงบรรดาคณาจารยข องทา น อามีน เขยี นเม่ือชวงบายของวนั พฤหัสบดี วนั ท่ี 17 เดอื นเศาะฟร ฮ.ศ.1417 ตรงกบั วนั ที่ 7 เดอื นกรกฎาคม ค.ศ.1996 24

หลกั การอนั ดีงามวา ดว ย ความสขุ ของการทําอบิ าดะฮฺ และการเตรยี มตวั สูเ ดือนเราะมะฎอน 25

1. ปลกุ ความรูสึกใหถวิลถึงอลั ลอฮฺ ตลอดหวงเวลาที่ความศรัทธาในหัวใจไดพลิกผันไปมา กอปรกับความรักท่ีมีอยูเริ่มมีสนิมเกาะ จึงมุงมาดปรารถนาท่ีจะมี คนมอบอาภรณแหงอีมานผืนใหมเพ่ือใหไดตอนรับเดือนเราะ มะฎอนที่จะมาถึง และสามารถเริ่มทําความดีอีกครั้งดวยการขอ ความชวยเหลือตออัลลอฮฺและการสรางความพรอมใหตนมีแรง ปรารถนา เพราะยิ่งมีแรงปรารถนาเทาใดความชวยเหลือก็จะยิ่ง ตามมาดวยเทานัน้ ดังทมี่ ีรายงานในหะดษี กุดสีวา ً‫ﺑََ�ﺎ َﻘﻋً َّﺮﺎ َ َوب ِ�اَذﻟا َﻌأَﺒْﺗَﺎُﺪِ إِ� َﻟ ََّ�ﻲ ْﻤ ِﺷِﺸْﺒﺮاﻲ‬ ‫َ� َﻘ َّﺮ�ْ ُﺖ‬ ‫ِذ َراﻋًﺎ‬ ‫ِإ َﻟ َّﻲ‬ ‫َ� َﻘ َّﺮ َب‬ ‫َو ِ� َذا‬ ‫ َراﻋًﺎ‬.‫َأَ�ﺗََﻘيْ َّﺮُﺘ�ُْﻪ ُ َﻫﺖ ِْإﺮ َﻟَوﻴْﻟَ ِﻪًﺔ«ِذ‬ ‫»إِ َذا‬ ‫ِﻣﻨْ ُﻪ‬ ความวา “และเมื่อบาวไดเขา ใกลขามาคืบหนึ่ง แนนอนขาจะเขา ใกลเขาศอกหน่ึง และเมื่อเขาเขาใกลขามาศอกหน่ึง ขาก็จะเขา ใกลเขาวาหนึ่ง และเม่ือเขาเขามาหาขาดวยการเดิน ขาก็จะเขา ใกลเขาดวยการวิ่ง” (บนั ทึกโดยอัล-บุคอร)ี 26

ดังนั้น ตองเริ่มจากตัวบาวเสียกอน แลวการตอบรับจาก พระผูอภิบาลก็จะมีมาอยางแนน อน ดงั ทีอ่ ลั ลอฮไฺ ดด ํารัสวา [٦٠ :‫ ﴾ ]ﻏﺎﻓﺮ‬٦٠ ‫﴿ ٱ ۡد ُعو ِ ٓ� أَ ۡس َت ِج ۡب لَ ُ� ۡۚم‬ ความวา “จงวิงวอนขอตอขา ขาจะตอบรับแกพวกเจา” (สู เราะฮฆฺ อฟร อายะฮทฺ ี่ 60) และ [١٥٢ :‫ ﴾ ]اﻟﺒﻘﺮة‬١٥٢ ‫﴿ َفٱ ۡذ ُك ُرو ِ ٓ� أَ ۡذ ُك ۡر ُ� ۡم‬ ความวา “ดังน้ันพวกเจาจงรําลึกถึงขาเถิด ขาก็จะรําลึกถึงพวก เจา” (สเู ราะฮฺอัล-บะเกาะเราะฮฺ 152) ฉะน้ัน จึงจําเปนที่จะตองปลุกความรูสึกของทานใหถวิล ถึงอัลลอฮฺ อัซซะวะญัลละ จนมันชักนําใหทานฏออะฮฺตอพระองค ในรูปแบบตางๆ ท่ีสามารถลิ้มความหอมหวานและอรรถรสของมัน ได และการไดล้ิมอรรถรสของการกิยามุลลัยลฺ การอดหลบั อด นอน การยืนละหมาดท่ีมีความเหน็ดเหนื่อย ความกระหายนํ้าใน สภาพอากาศท่ีรอนจัด และความหิวโหยของทองจะเกิดข้ึนได อยา งไร หากไมสามารถทาํ ตามนัยของอายะฮนฺ ี้ [٨٤ :‫ ﴾ ]ﻃﻪ‬٨٤ �ٰ َ �ۡ َ ِ‫﴿ َو َع ِج ۡل ُت إِ َ ۡ� َك َر ِّب ل‬ 27

ความวา “และขาพระองคไดร ีบเรง มายังพระองคทานน้ัน โอพระ เจาของขาพระองคก็เพ่ือใหพระองคทรงพอพระทัยเทาน้ัน” (สู เราะฮฺฏอฮา อายะฮทฺ ี่ 84) ? และใครก็ตามที่ตอบรับคําเรียกรองของคนที่เขารักโดย ปราศจากความถวิลถึง มันก็จะเปนเพียงการกลาวอางท่ีนารังเกยี จ และถือเปน ความรักท่ไี รซึ่งรสชาติ และหนงึ่ ในบทดอุ าอทีท่ า นนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลยั ฮิวะสลั ลมั ม‫ َّﺬ َة‬กั‫ َﻟ‬ข‫ َﻚ‬อُ‫ل‬ใَ‫ﺄ‬น‫ ْﺳ‬ลَ‫ َوأ‬ะ‫ت‬หِ ม‫ﻤ ْﻮ‬า‫اﻟ‬ด‫َﺪ‬น‫ั ْﻌ‬น้ ‫ﺑَـ‬ค‫ืﺶ‬อِ ْ‫َوأَ ْﺳﺄَلُ َﻚ ال ِّﺮ َﺿﺎ ﺑَـ ْﻌ َﺪ اﻟ َﻘ َﻀﺎ ِء َوأَ ْﺳﺄَلُ َﻚ ﺑَ ْﺮ َد اﻟ َﻌي‬ ‫ِﻟ َﻘﺎﺋِ َﻚ‬ َ ‫َوال َّﺸﻮ َق‬ ‫َو ْﺟ ِﻬ َﻚ‬ َ ‫إﻟﻰ‬ ‫إﻟﻰ‬ ‫اﻟ َّﻨ َﻈ ِﺮ‬ ความวา “และฉันขอตอพระองคซึ่งความพอใจตอกําหนดของ พระองค และฉันขอตอพระองคซึ่งชีวิตที่รมเย็นหลังจากความ ตาย และฉันขอตอพระองคซึ่งความสุขในการมองไปยังพระ พักตรของพระองค และความถวิลถึงการพบกับพระองค” (บนั ทกึ โดย) ซ่ึงความถวิลถึงพระผูอภิบาลของทานและความพึงพอ พระทัยของพระองคนั้นจะสูญส้ินไป หากมันเปรอะเปอนดวยชุบ ฮาต (ส่ิงที่คลุมเครือทั้งหลาย) รวมถึงความใคร และมันจะพินาศ ยอยยับดว ยการกระทําบาป (มะอาศี) และจะทําใหเ วลาผานไปโดย 28

ปราศจากความพยายามในการบากบั่นไปสูอัลลอฮฺ ดังนั้น โอผูท่ี ฝก ใฝใ นความดีท้งั หลายเอย จาํ เปน อยางยงิ่ ที่จะตอ งปลกุ ความถวิล ถึงอลั ลอฮฺเสยี ใหมหากมันไดมอดไปแลว หรอื กระตนุ มนั อกี คร้ังหาก มันยังมพี ลงั ที่พรอ มจะลุกโชนอยู 29

ปจจยั ที่จะปลุกความรสู ึกใหถวลิ ถงึ อลั ลอฮฺ 1. การศึกษาพระนามของอัลลอฮอฺ ันวจิ ติ รและคุณลกั ษณะ ของพระองคอันสูงสง รวมถึงการพินิจใครครวญคําดํารัสของ พระองค การทําความเขาใจในสิ่งที่พระองคตองการสื่อ ซ่ึง การศึกษาและทําความเขาใจ รวมถึงการพินิจใครค รวญนเ้ี องทีจ่ ะมี บทบาทสําคัญในการปลุกกระตุนหัวใจใหบรรลุถึงแกนแทและนัย ของพระนามและคุณลักษณะเหลาน้ัน ซึ่งมันจะขบั เคล่ือนพลงั แหง ความเขาใจสูหัวใจและสติปญญา และเมื่อนั้นเองความชวยเหลือ ของอลั ลอฮฺกจ็ ะมีมา ขอใหทานพินจิ พิจารณาเรอ่ื งราวของทานอบี อัด-ดะหดฺ าหฺ ท่ีไดเขาใจในคําดํารัสของพระผูอภิบาลของเขาอยางแจมแจง จน มันเปน แรงขบั เคลอื่ นใหท า นเปน คนที่ใจบุญ และหลอหลอมทานให เปน คนทรี่ ักตอ การใหไดอยา งไร ทา นอับดลุ ลอฮฺ บินมัสอูด เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ ไดเลาวา เมอื่ อายะฮฺนถ้ี ูกประทานลงมา َّ ‫َ ُ� ٓۥ‬ ‫َ� ُي َ�ٰعِ َف ُهۥ‬ ‫َح َس ٗنا‬ ‫َق ۡر ًضا‬ �َ َّ ‫ٱ‬ ‫ُ� ۡق ِر ُض‬ ‫ٱ ِ�ي‬ ‫َذا‬ ‫َّمن‬ :‫]اﻟﺒﻘﺮة‬ ﴾ ٢٤٥ ﴿ [٢٤٥ 30

ความวา “มีใครบางไหมท่ีจะใหอัลลอฮฺทรงยืมหน้ีท่ีดี แลว พระองคจะทรงเพ่ิมพูนหน้ีน้ันใหแกเขา” (สูเราะฮฺอัล-บะเกาะ เราะฮฺ อายะฮฺท่ี 245) ทานอบูอัด-ดะหฺดาหฺ อัล-อันศอรี ก็ไดกลาววา “(โอทาน เราะสูลุลลอฮฺ) อัลลอฮฺตองการยืมหน้ีจากเรากระนั้นหรือ ?” ทานนบีตอบวา “ใชแลว โออบูอัด-ดะหฺดาหฺ” เขาจึงกลาววา “โอทานเราะสูลุลลอฮฺ ไดโปรดยื่นมือของทานมาหาฉันหนอย” แลวทานเราะสูลุลลอฮฺก็ไดย่ืนมือของทานไปหาเขา เขาจึงกลาว วา “แทจริง ฉันจะใหพระผูอภิบาลของฉันยืมสวนของฉัน (บริจาคทั้งหมด)” ซ่ึงในสวนของทา นมตี นอินทผลัมทั้งหมด 600 ตน และในขณะนั้นทา นหญิงอมุ มอุ ัด-ดะหดฺ าหฺและลูกๆ ของนาง อยูในสวนนั้นพอดี ทานอบูอัด-ดะหฺดาหฺจึงมาท่ีสวนแลวเรียก ทานหญิงอุมมุอัด-ดะหดฺ าหฺ ทานหญิงจึงขานรับ ทานจึงกลาววา เธอออกไปจากสวนไดแลวนะ เพราะฉันไดใหพระผูอภิบาลท่ี สูงสงของฉนั ยมื แลว ” และในบางสายรายงานไดเลาวา หลังจาก ทที่ า นอบูดะหฺดาหฺไดยนิ อายะฮนฺ ั้น เขาก็กลาววา ฉนั ต้งั ใจทจ่ี ะให ลูกๆ ของนาง (ภรรยาของเขา) คายส่ิงท่ีอยูในปากออกมาให หมด และใหสะบัดสิ่งท่ีติดอยูท่ีแขนเส้ือของพวกเขา ทานนบี ศอ็ ลลลั ลอฮุอะลัยฮิวะสลั ‫ﺔ‬ลِ ‫ั َّﻨ‬มَ‫اﻟ ْﺠ‬จ‫ﻲ‬งึ ‫ِﻓ‬ก‫ح‬ลِ า‫َﺪا‬ว‫ْﺣ‬ข‫ﺪ‬นึَّ้ ‫اﻟ‬ม‫ﻲ‬า‫ِﺑ‬ว‫ِ َﻷ‬า ‫َ� ْﻢ ِﻣ ْﻦ ِﻋ ْﺬ ٍق َر َدا ٍح‬ 31

ความวา “อินทผลัมผลดกเต็มพวงในสวนสวรรคท่ีไดเตรียมไว สําหรับทานอบีอัด-ดะหฺดาหฺน้ันจะมีมากเทาไหรหนอ ?” (บันทึก โดยอะหมฺ ดั ) และขอใหพินิจพิจารณาการปกปองของอัลลอฮฺจากความ เนาเหม็นของสิ่งชุบฮาต (สิ่งคลุมเครือทั้งหลาย) ซึ่งบรรดาเศาะ หาบะฮฺไดเขาใจคําดํารัสของอัลลอฮฺ อัซซะวะญัลละ ตามนัยท่ี ประจักษไดอยางไร โดยที่ในหัวใจของพวกเขาไมไดรูสึกเคลือบ แคลงใจหรือหวาดหว่ัน ท้ังน้ีก็เพราะตนไมแหงศรัทธาของพวกเขา ไดดํารงมั่นดว ยการใหความบริสทุ ธิ์แดพระองค 2. การพินิจถึงความโปรดปรานอันมหาศาลของอัลลอฮฺ รวมถึงปจ จัยตา งๆ ที่มีอยู ซ่ึงโดยปกตแิ ลวหัวใจจะชื่นชอบในสง่ิ ท่ีดี ทส่ี ดุ ดว ยเหตนุ ้อี ลั กรุ อานจึงมักกลา วซาํ้ ๆ ถึงอายาตท่เี ก่ยี วกับความ โปรดปรานและความประเสริฐทีม่ นษุ ยจะไดรับเพ่ือเปนการตอกย้าํ ในนัยน้ี เพราะคราใดก็ตามที่ทานยิ่งรูถึงความโปรดปรานท่ีอัลลอฮฺ ทรงมอบให ครานั้นทานก็จะย่ิงมีความปรารถนาตอการขอบคุณใน ความโปรดปรานของพระองค 3. เสียใจตอชวงเวลาที่ไมไดฏออะฮฺตออัลลอฮฺ ยิ่งกวานั้น ยังแทนที่ดวยการสนองความใคร ทานอิบนุลก็อยยิมไดกลาววา “มุมมองเชนนี้จะนําไปสูการตระหนักถึงขอบกพรองท่ีมีอยู และ สัมผัสไดถึงความอันตรายของมัน และจะทําใหมีความจริงจังใน 32

การปรับปรุงมัน รวมทั้งปกปองจากการตกเปนทาสของมัน และ แสวงหาหนทางที่รอดพน ดวยการหมนั่ ตรวจสอบมัน” 4. ใหตระหนักถึงคนที่รุดหนาเราไปแลวในขณะที่เรายังอยู กับคนไมเอาไหน เพราะมันจะปลุกพลังของทานใหรีบเรง รุดหนา และแขงขันกันในการทําความดี ซ่ึงสิ่งดังกลาวน้ีลวนเปนคําส่ังใช ของอัลลอฮทฺ ่ีใหก ระทาํ เชน นน้ั พระองค ตะอาลา ไดดํารสั ในเร่ืองนี้ วา [١٣٣ :‫ ﴾ ]ال ﻋﻤﺮان‬١٣٣ ‫﴿ ۞ َو َسارِ ُع ٓواْ إِ َ ٰ� َم ۡغفِ َر�ٖ ِّمن َّر ّ�ِ ُ� ۡم َو َج َّن ٍة‬ ความวา “และพวกเจาจงรีบเรงกันไปสูการอภัยโทษจากพระ เจาของพวกเจา และไปสูสวรรค” (สูเราะฮฺอาล อิมรอน อายะฮทฺ ่ี 133) พระองคไดดาํ รสั อีกวา [٢١ :‫ ﴾ ]اﻟﺤﺪﻳﺪ‬٢١ ‫﴿ َسابِ ُق ٓواْ إِ َ ٰ� َم ۡغ ِف َر�ٖ ِّمن َّر ّ�ِ ُ� ۡم َو َج َّن ٍة‬ ความวา “จงรุดหนา ไปสกู ารขออภยั โทษจากพระเจาของพวกเจา และสวนสวรรค” (สเู ราะฮฺอลั -หะดีด อายะฮฺที่ 21) และพระองคไ ดดํารสั วา [٢٦ :�‫ ﴾ ]اﻟﻤﻄﻔﻔ‬٢٦ ‫﴿ َو ِ� َ�ٰلِ َك َف ۡل َي َت َنا َف ِس ٱلۡ ُم َت َ�ٰفِ ُسو َن‬ 33

ความวา “และในการนบี้ รรดาผแู ขงขนั (ท่ีจะใหไดมาซ่งึ ความสุข สําราญ) จงแขงขันกันเถิด” (สูเราะฮฺอัล-มุฏ็อฟฟฟน อายะฮฺที่ 26) พงึ รูเ ถิด โอผ ฝู ก ใฝในความดที งั้ หลาย การปลกุ ความรสู ึกให มีความถวลิ ถงึ นีเ้ ปน ภารกจิ ทม่ี ิอาจปลีกแยกจากผูท่ีมงุ สูอัลลอฮฺ อัซ ซะวะญัลละ กระน้ันก็ตาม การทําใหความถวิลถึงนี้เพ่ิมเปนเทา ทวีคูณกอนที่เดือนเราะมะฎอนจะมาถึงก็ถือเปนส่ิงที่สมควรอยาง ย่ิง ท้ังนี้ก็เพ่ือใหการทําความดีในเดือนน้ันมีความขะมักเขมนมาก ยิ่งขึ้น ซึ่งความรสู ึกถวลิ ถึงนี่เองท่ีถอื เปนตวั จุดพลงั แหง อมี านอนั จะ เปนแรงผลักดันในการฏออะฮฺตอพระองค และจะทําใหไดลิ้มรส ความสขุ ของการอิบาดะฮฺและการเขา เฝา พระองค สําหรับความรูสึกถวิลถึงน้ันมีหลากหลายรูปแบบ แตที่ สําคัญและมีคุณคามากท่ีสุดคือ ความรูสึกถวิลถึงการมองเห็นพระ พักตรของอัลลอฮฺ อัซซะวะญัลละ ซ่ึงทานสามารถทดลองดวยการ อา นหะดษี ดังตอไปนีพ้ รอมๆ กบั สรา งความรสู ึกเสมอื นวาทานไดร บั โอกาสเชนน้ัน ณ อัลลอฮฺ แลวลองดูวาทานจะมีความสุขในการ มองเห็นพระพักตรของพระองคหรือไม ? ทานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะ ลยั ฮิวะสลั ลมั ไดก ลา วถงึ เรอ่ื งนวี้ า ‫ﻟ ْﺠَأَلَّﻨَ َْﻢﺔ‬:‫ِإأَ َِذزا� َُﺪد َﺧ َُ�ﻞ ْﻢأَ؟ْﻫ َُ�ﻞﻴَاُﻘﻟﻮْﺠلَُ َّﻨﻮ ِﺔ َنا‬ ‫ ِﺮ�َو ُُ�ﺪﻨَو ِّ َﺠن َﻨﺎ َﺷ ِﻣيْﺌًَﻦﺎ‬،ُ‫ َﺔﺗ‬:‫ ُ�أَلَ َ� ْﻢَﺒﺎﺗُ َرْﺪ َك ِﺧ َوﻠْ َﻨَ�ﺎ َﻌاﺎﻟَﻟ ْﺠﻰَ َّﻨ‬،َّ ‫ َُو� ُُﻘﺟﻮﻮ ُ َﻫل َﻨاﺎ‬:‫ﺗُبَ َﻗِّﻴﺎ َْلﺾ‬، 34

‫اﻟ َّﻨ َﻈ ِﺮ‬ ‫ِﻣ َﻦ‬ ‫ِإ َﻟﻴْ ِﻬ ْﻢ‬ ‫أَ َﺣ َّﺐ‬ ‫َﺷيْ ًﺌﺎ‬ ‫أُ ْ� ُﻄﻮا‬ ‫َ� َﻤﺎ‬ ، ‫اﻟ ِْﺤ َﺠﺎ َب‬ ‫َ� َﻴ ْﻜ ِﺸ ُﻒ‬ ‫ﺰ‬:َّ ‫إِاﻟَﻟ َّﻨﻰﺎ َِرر ِّ�؟ ِﻬ َﻗْﻢﺎ َلَﻋ‬ ‫َو َﺟ َّﻞ‬ ความวา “เม่ือชาวสวรรคไดเ ขาสสู วรรคแลว อัลลอฮฺ ตะบาเราะ กะ วะตะอาลา จะถามวา “พวกเจา ตอ งการสง่ิ ใดเพม่ิ เตมิ จากขา อีกไหม?” พวกเขาก็จะตอบวา “มิใชพระองคทรงทําใหใบหนา ของพวกเราใสบริสุทธ์ิแลวหรอกหรือ? มิใชพระองคทรงใหพวก เราไดเ ขาสวรรค และรอดพน จากไฟนรกแลว หรอกหรอื ?” (แลว พวกเราจะตองการส่ิงใดอีก? – ผูแปล) พระองคจึงทรงปลดฉาก ทก่ี น้ั อยอู อก ซึ่งไมมีความโปรดปรานใดๆ ทพ่ี วกเขาไดรบั จะเปน ส่งิ ท่พี วกเขาปรารถนามากยง่ิ ไปกวาการไดม องไปยังพระเจา ของ พวกเขา” (บันทึกโดยมุสลมิ ) ในสวนรูปแบบของความรูสึกถวิลถึงน้ันมีความหลากหลาย เชน ความถวลิ ถงึ การพบเจออลั ลอฮฺ สวนสวรรคของพระองค ความ เมตตาของพระองค การไดพบเห็นคนดีๆ ของพระองคในสวน สวรรค โดยเฉพาะอยางย่ิงความถวิลถึงการพบเจอทานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลยั ฮิวะสลั ลัม ในสวนสวรรคอัล-ฟรเดาสอ ันสูงสง และพึงรูเถิดวา ความรูสึกถวิลถึงน้ียอมมีส่ิงที่พรอมจะถูก ฉกฉวยไปจากตวั ทานไดตลอดเวลา ดังน้ัน จงระมัดระวงั การใชชีวติ ที่หรูหราโดยเฉพาะในชวงเดือนเราะมะฎอน และจงระมัดระวังฟต นะฮฺของทรัพยสิน รวมถึงบรรดาลูกๆ และภรรยา แตจงปลอยส่ิง 35

เหลา นั้นไวข า งหลงั ทานโดยไมตอ งสนใจอะไรมาก จงมงุ ม่ันทาํ ในสิ่ง ท่ีถูกสั่งใช และจงสรางคติพจนสวนตัวในเดือนเราะมะฎอนน้ีดวย ประโยคทว่ี า [٨٤ :‫ ﴾ ]ﻃﻪ‬٨٤ �ٰ َ �ۡ َ ِ‫﴿ قَا َل ُه ۡم أُ ْو َ�ٓ ِء َ َ ٰٓ� َ�ثَ ِري َو َع ِج ۡل ُت إِ َ ۡ� َك َر ِّب ل‬ ความวา “เขากลาววา พวกเขาเหลาน้ันตามหลังขาพระองคมา อยูแลว และขาพระองคไดรีบเรงมายังพระองคทานนั้น โอพระ เจาของขาพระองคก็เพ่ือใหพระองคทรงพอพระทัยเทาน้ัน” (สู เราะฮฏฺ อฮา อายะฮฺท่ี 84) รีบไปเถดิ หากทานมแี รงปณธิ านอนั แรงกลา เพราะมนั จะหลอ หลอมทา นใหถ วิลถงึ มนั จงเดนิ ตอไปเถดิ อยาไดร รี อมติ รทอี่ ยนู ั่งเดยี วดาย ปลอ ยเขาไปเถดิ เพราะเพียงพอแลว ทแ่ี รงปณธิ านจะพาทา นไป 36

2. ตระหนักถงึ ความประเสรฐิ และความโปรดปราน ของอลั ลอฮฺในเดอื นน้ี อันเปนวโรกาสดีที่สดุ สําหรับปวงบาว ทานอิบนุเราะญับ เราะหิมะฮุลลอฮฺ ไดกลาววา “อัลลอฮฺ สบุ หานะฮู วะตะอาลา ไดท าํ ใหบ างเดือนมีความประเสริฐย่ิงกวา อ﴾กี ٣เ٦ด‫ۡۚم‬อื �ُน”‫ُف َس‬ด‫ัَن‬ง‫ أ‬ท‫ َّن‬พี่ ‫ي ِه‬รِ�ะْ‫ا‬อ‫و‬ง‫ ُم‬คِ‫ظل‬ ۡ ต�َ ะ�อَ า‫ َف‬ล‫ ُۚم‬าِ‫ َق ّي‬ไ‫ ۡل‬ด‫ ٱ‬ด‫ ُن‬าํ ‫ي‬ร�ِّ ัส‫ٱ‬ว‫ك‬าَ ِ‫مۚ َ�ٰل‬ٞ ‫﴿ ِم ۡن َهآ أَ ۡر َ� َع ٌة ُح ُر‬ [٣٦ :‫]اﻟﺘﻮ�ﺔ‬ ความวา “จากเดอื นเหลา น้ันมีส่เี ดอื น อนั เปน เดือนที่ตองหา ม นัน่ คือบัญญัติอันเที่ยงตรง ดังนั้นพวกเจาจงอยาอธรรมแกตัวของ พวกเจา เองในเดอื นเหลาน้ัน” (สูเราะฮฺอตั -เตาบะฮฺ อายะฮทฺ ี่ 36) พระองคไดด าํ รัสวา [١٩٧ :‫ ﴾ ]اﻟﺒﻘﺮة‬١٩٧ ‫ ۚت‬ٞ ٰ�َ ‫ر َّم ۡعلُو‬ٞ ‫﴿ ٱ ۡ َ� ُّج أَ ۡش ُه‬ ความวา “(เวลา) การทําฮัจญน นั้ มีหลายเดือนอนั เปน ที่ทราบกัน อยแู ลว ” (สเู ราะฮฺอลั -บะเกาะเราะฮฺ อายะฮฺท่ี 197) 37

และพระองคไ ดด ํารัสวา :‫ ﴾ ]اﻟﺒﻘﺮة‬١٨٥ ‫﴿ َش ۡه ُر َر َم َضا َن ٱ َّ ِ� ٓي ُأن ِز َل ِ�يهِ ٱ ۡل ُق ۡر َءا ُن ُه ٗدى ِّلل َّنا ِس‬ [١٨٥ ความวา “เดือนรอมฏอนนั้น เปนเดือนที่อัล-กุรอาน ไดถูก ประทานลงมาในฐานะเปนขอแนะนําสําหรบั มนษุ ย” (สเู ราะฮอฺ ลั - บะเกาะเราะฮฺ อายะฮทฺ ่ี 185) เฉกเชนที่พระองคไดทําใหบางวันบางคืนมีความประเสริฐ มากกวากัน และไดทําใหค่ําคืนลัยละตุลก็อดรฺดีกวาหนึ่งพันเดือน และพระองคไดสาบานดวยสิบวัน คือสิบวันแรกของเดือนซุล หิจญะฮฺตามทัศนะท่ีถูกตอ ง และไมมีชวงเวลาใดท่ีมคี วามประเสริฐ นอกจากจะมีภารกิจที่เปนผลจากชวงเวลานั้นในการฏออะฮฺ ตออัลลอฮฺ ตะอาลา เปนการเฉพาะ ซ่ึงอัลลอฮฺจะทรงประทาน ของขวัญแหงความกรุณาธิคุณบางสวนในชวงเวลาน้นั สวนคนท่จี ะ ไดรับมันนั้นคือคนท่ีพระองคไดใหความโปรดปรานและเมตตาแก เขา ดังนั้น คนท่ีมีความสขุ คือคนที่กอบโกยโอกาสในชว งเดอื น ชวง วัน และชว งเวลาตางๆ เหลานัน้ และใชโอกาสนนั้ เพอื่ เขา ใกลพระผู อภิบาลของเขาดวยการปฏิบัติภารกิจแหงการฏออะฮฺตางๆ โดย หวังวาเขาจะไดรบั ของขวัญเหลานนั้ และจะทําใหเขามีความสขุ ไป 38

กับมัน ซึง่ เปน ความสขุ ทจ่ี ะทําใหเขารอดพน จากไฟนรกและการเผา ไหมของมัน ทานอิบนุอบีอัด-ดุนยา และทานอัฏ-เฏาะบะรอนีไดบ ันทึก หะดีษบทหนง่ึ ทม่ี รี ายงานจากทานอบฮู รุ อ็ ยเราะฮฺ (มัรฟอู ฺ) ไววา ‫ َﻓ ِﺈ َّن ِ َّ ِ� َﻋ َّﺰ‬، �ِ َّ ‫ َو َ� َﻌ َّﺮ ُﺿﻮا ِﻟ َﻨ َﻔ َﺤﺎ ِت َرﺣْ َﻤ ِﺔ ا‬، ‫ا ْﻃﻠُﺒُﻮا اﻟ ْﺨَ ْ َ� َد ْﻫ َﺮ ُ� ْﻢ ﻛُ َّﻠ ُﻪ‬ ‫َﻋ َّﺰ‬ �َ َّ ‫ا‬ ‫َو َﺳﻠُﻮا‬ ‫ِﻋﺒَﺎ ِد ِه‬ ‫ِﻣ ْﻦ‬ ‫ِﻣ ْﻦ َرﺣْ َﻤ ِﺘ ِﻪ ﻳُ ِﺼﻴ ُﺐ ﺑِ َﻬﺎ َﻣ ْﻦ � َ َﺸﺎ ُء‬ ‫أََ� َْﻔن �ََﺤﺎْﺴ ُﺘٍ َتﺮ‬ ‫َو َﺟ َّﻞ‬ ، ‫َﻋ ْﻮ َراﺗِ ُ� ْﻢ َو ُ� َﺆ ِّﻣ َﻦ َر ْوﻋَﺎﺗِ ُ� ْﻢ‬ ‫َو َﺟ َّﻞ‬ ความวา “จงแสวงหาความดีงามในชวงเวลาตางๆ ตลอดท้ังป เถิด และจงเสนอตัวแสวงหาความเมตตาของอัลลอฮฺ แท จริงอัลลอฮฺทรงใหบางชวงมีความจําเริญดวยพระเมตตาของ พระองค อัลลอฮฺจะทรงประทานใหแกบาวของพระองคที่ พระองคทรงประสงค และจงขอจากอัลลอฮฺ อัซซะวะญัลละ ให ทรงปกปดส่ิงท่ีชั่วรายของพวกทาน และใหพวกทานไดรับความ มั่นคง (สวสั ดภิ าพ) ในชีวิตของพวกทาน” (เฎาะอฟี อัล-ญามอิ )ฺ และทานอัฏ-เฏาะบะรอนีไดบันทึกรายงานจากทานมุฮัม ม‫ัﺒَ ُﻪ‬ด‫ِﺼﻴ‬บُ‫ﺗ‬นิ ‫ْن‬มَ‫أ‬สั ‫ْﻢ‬ล�ُะม‫َﺪ‬ะ‫ﺣ‬ฮَ ฺَ‫(أ‬ม‫ั َّﻞ‬ร‫ َﻌ‬ฟَ‫ู َﻓﻠ‬อ،)ฺ ‫ﺎ‬อ‫لَ َﻬ‬กี ‫ا‬ว‫ﺿﻮ‬า ُ ‫َ�ﺘَ َﻌ َّﺮ‬ ، ‫�أََ َّﻳ ْﺎﺸ ِمَﻘاﻰﻟ ََّ�ﺪ ْﻌْﻫ َِﺪﺮ َﻫَ�ﺎ َﻔأَﺑََﺤ ًﺎﺪا ٍت‬ ‫ِإ َّن ا َﷲ ِﻓﻲ‬ ‫َ� ْﻔ َﺤ ٌﺔ ﻓﻼ‬ ความวา “แทจริงอัลลอฮฺทรงมีของขวัญตา งๆ ตลอดทั้งป ดังน้ัน พวกทานจงเสนอตัวตอมันเถิด โดยหวังวาใครสักคนในหมูพวก 39

ทานจะไดร ับของขวัญช้ินนัน้ ซึง่ จะไมท าํ ใหเขาทุกขย ากภายหลัง จากน้นั ตลอดไป” (เศาะฮหี ฺ อัล-ญามอิ ฺ) และมบี ันทึกในมสุ นดั อิมามอะหมฺ ัด จากทา นอุกบะฮฺ บนิ อา มิร เลาจากทานนบี ศ็อลลลั ลอฮุอะลัยฮิวะสลั ลัม ‫َﻋﻠَﻴْ ِﻪ‬ ‫ُ�ْﺘَ ُﻢ‬ َّ ‫ﻳَ ْﻮ ٍم‬ ‫َ� َﻤ ِﻞ‬ ‫ِﻣ ْﻦ‬ ‫ﻟَيْ َﺲ‬ ‫إِﻻ‬ ความวา “ไมมีการงานใดท่ีไดทําในวันหน่ึง เวนแตมันจะเปนส่ิง ปด ทายใหแ กเขา” (เศาะฮีหฺ อัล-ญามอิ ฺ) ทานอิบนุอบีอัด-ดุนยา ไดบันทึกดวยสายรายงานของทาน จากทานมุญาฮิด ไดกลาววา “ไมมีวันใดนอกจากมันจะกลาววา โอลูกหลานอาดัมเอย ขาไดเขามาหาเจาในวันน้ีซ่ึงขาจะไมหวน กลับมาหาเจาอกี หลังจากนี้ ดงั น้ัน จงพิจารณาใหด ีวาอะไรบางท่ี เจาไดทําในวันท่ีขามา” ดังน้ัน เม่ือวันน้ันไดทําหนาที่เสร็จสิ้น แลว มันก็จะปดสนิท และมันจะไมถูกเปดออกมาจนกวาอัลลอฮฺ จะเปนผูเปดมนั ออกมาในวันกิยามะฮฺ และเมื่อวันน้ันไดท ําหนา ท่ี เสร็จสิ้นลงมันก็จะกลาววา “การสรรเสริญเปนสิทธิของอัลลอฮฺ ผูทําใหขาไดผอนคลายจากโลกดุนยาและผูคนที่อยูในน้ัน” และ ไมมีค่ําคนื ใดท่เี ขาไปหาผคู นนอกจากมนั จะกลาวเชนเดยี วกนั ” และทานอิบนุอบีอัด-ดุนยา ไดบันทึกดวยสายรายงานของ ทานจากทานมาลิก บินดีนาร จากทานอัล-หะสัน อัล-บัศรีไดกลาว 40

วา “ไมมีวนั ใดทเี่ คลอ่ื นผา นไปจากลกู หลานอาดมั นอกจากมันจะ กลาวขึ้นวา โอผูคนเอย ขาคือวันใหม และขาจะเปนสักขีพยาน ตอการงานของเจา ซ่ึงเม่ือใดที่ดวงอาทิตยไดลับขอบฟา ขาก็จะ ไปหวนกลับมาหาเจา อกี จนถึงวันกิยามะฮฺ” และทานไดกลาวอีกวา “ลูกหลานอาดัมเอย ชีวิตชวง กลางวันของเจาคือแขกคนสําคัญของเจา ดังนั้นเจาจงทําดีตอ มัน เพราะหากเจาทําดีตอมัน มันก็จะจากไปพรอมกับการ สรรเสริญเจา และหากเจาทําไมดีตอ มัน มันก็จะจากไปพรอมกบั การประณามเจา เชน เดยี วกบั ชวงกลางคนื ของเจา” และมรี ายงานดวยสายรายงานของทานจากทา นบักรฺ อลั -มุ ซะนี ไดก ลาววา “ไมมีวนั ใดท่ีอัลลอฮฺไดใหมีขน้ึ แกล ูกหลานอาดัม นอกจากมันจะกลาวขึ้นวา โอลูกหลานอาดัมเอย จงกอบโกย โอกาสของฉันเถิด บางทอี าจจะไมมีวนั สําหรับเจา หลงั จากฉันอีก และไมมีคํ่าคืนใดนอกจากมันจะกลาวขึ้นวา โอลูกหลานอาดัม เอย จงกอบโกยโอกาสของฉันเถดิ บางทอี าจจะไมมคี ํ่าคนื สําหรับ เจา หลงั จากฉนั อกี ” ทานอุมัร บินซัร ไดกลาววา “จงทําอะมัลเพื่อตัวของพวก ทา นจะไดรบั ความเมตตาของอลั ลอฮฺในยามค่าํ คืนนีแ้ ละความมืด มิดของมนั เถดิ ซงึ่ คนท่ลี ม เหลวคือคนที่ลมเหลวในความดงี ามทม่ี ี อยใู นยามค่าํ คนื และยามกลางวัน สวนคนทถ่ี กู หกั หามคอื คนทถ่ี ูก หามจากความดีงามทมี่ ีอยใู นทงั้ สองชวง ในความเปน จรงิ ทัง้ ยาม 41

ค่ําคืนและยามกลางวันนั้นถูกใหมีขึ้นเพ่ือเปนโอกาสสําหรับผู ศรทั ธาในการฏออะฮตฺ อ พระผอู ภบิ าลของพวกเขา และเปนภาระ แกผูอื่นจากพวกเขาเพ่ือใหห ลงลมื ตวั ของพวกเขาเอง ดังนั้น จง ฟนฟูตัวของพวกทานใหมีชีวิตชีวาเพ่ืออัลลอฮฺดวยการรําลึกถึง พระองคเถิด แทจริงการฟนฟูหัวใจใหมีชีวิตชีวาเกิดขึ้นไดดวย การรําลึกถึงอัลลอฮฺ” (ละฎออิฟ อัล-มะอาริฟ โดยอิบนุเราะญับ หนา 40) พึงรูเถิดวา (ขออัลลอฮฺทรงเมตตาเราและทาน) การเรียนรู ถึงความประเสริฐของชวงเวลาตางๆ ที่มีอยูน้ันทําไดดว ยการศกึ ษา ความประเสริฐตางๆ ของมันตามที่มีรายงาน รวมถึงสิ่งที่บาวคน หนง่ึ จะไดรับผลตอบแทนหากเขาไดมุง มน่ั ในการกระทาํ มนั ซึง่ ทานสามารถศกึ ษาตัวบทหลกั ฐานและการรายงานตางๆ ในหนังสือที่กลาวถึงเร่ืองน้ีโดยตรง เชน ริยาฎศศอลิฮีน โดยอิมาม อัน-นะวะวี, อัต-ตัรฆีบ วะอัต-ตัรฮีบ โดยมุนซิรี, ละฎออิฟ อัล-มะ อาริฟ โดยอบิ นเุ ราะญบั เปนตน 42

3. ฝก ตนใหม ีความมุงมั่นตงั้ ใจ และมีแรงปรารถนาในการทําความดี นักวิชาการดานอุศูลไดใหนิยามวา “อะซีมะฮฺ” คือการ ปฏิบัติในส่ิงท่ีตรงขามกับความสะดวก เชนการถือศีลอดในขณะ เดินทางสําหรับผูมีความสามารถ และการไมกลาวคําพูดท่ีเปนการ ปฏิเสธศรัทธาแมอาจจะถูกฆาก็ตาม ทําให “อะซีมะฮฺ” ในมุมของ นกั จรยิ ธรรมจึงไดรบั อิทธพิ ลจากนิยามนดี้ ว ย ดังนน้ั นิยามของ “อะ ซีมะฮฺ” สําหรับพวกเขาคอื การรวบรวมแรงปรารถนาท่ีจะทาํ ในส่งิ หน่ึง ประหน่ึงวาคนท่ีมีอะซีมะฮฺนั้นไมมีทางท่ีเขาจะผินหลังใหกับ ส่ิงใดดวยความต้งั ใจ ในทางกลับกันเขาจะรวบรวมพลงั และกระตุน มันจนกระท่งั สามารถท่ีจะปฏบิ ัติได แตโดยปกติแลว นักวิชาการท่ีกลาวถึงในเรื่องน้ีมักจะ มองขามความสําคัญของการฝกฝนใหมีความมุงมั่นต้ังใจ กลาวคือ การสรางแรงปรารถนาในการปฏิบัติความดีอยางเต็มกําลังใน ชวงเวลาอันประเสรฐิ ท้ังๆ ท่ีศาสนาไดแ นะนาํ ใหทาํ เรื่องน้ีดว ยการ สงเสริมใหถือศีลอดเดือนชะอฺบาน ท้ังน้ีก็เพ่ือเปนการตระเตรียม 43

จิตใจและเพ่ือใหสามารถถือศีลอดในเดือนเราะมะฎอนไดอยาง งา ยดาย และหนึ่งในแบบอยางการละหมาดยามค่ําคืนของทานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ในนั้นคือ ทานจะเร่ิมละหมาดสอง เราะกะอตั ส้นั ๆ เพื่อเปนการเตรียมจติ ใจและไมทําใหย ากลาํ บาก ทานอัช-ชาฏิบีไดระบุไวในหนังสือ “อัล-มุวาฟะกอต” วา “สิ่งท่ีเปนสุนัตหรือนะวาฟลน้ันเปนการเกร่ินนําและตระเตรียม จติ ใจเพอื่ เขาสูการปฏบิ ตั ิฟรฎใ หมีความสมบรู ณมากท่สี ดุ ” ซ่ึงมีผูคนจาํ นวนไมนอยท่ีไดเ พอฝนวา จะทําความดโี นนน่ีใน เดือนเราะมะฎอน แตเม่ือเดือนเราะมะฎอนมาถึงจริงๆ กลับตอง พายแพแกความเกียจคราน เพราะเขาไมเคยไขปมความคุนชิน ความเกยี จครา น และการอยเู ฉยๆ มากอน และอะซีมะฮฺจะไมเกิดขึ้น นอกจากในส่ิงท่ีจิตใจมีความ ผูกพันและช่ืนชอบมัน จึงจําเปนท่ีจิตใจตองดิ้นรนตอสูใหรับรูถึง ความประเสริฐของการงานทเ่ี ขาไมช ่นื ชอบ นอกจากนีย้ งั ตอ งด้นิ รน ตอสูกับความออนแอและความเกียจครานที่โถมเขามา ดวยเหตุ น้ีอลั ลอฮจฺ งึ ดํารสั ถงึ การญฮิ าดไววา ْ‫تَ ۡ� َر ُهوا‬ َ ۖ‫َّل ُ� ۡم‬ ٞ�ۡ ‫َخ‬ ‫َو ُه َو‬ ‫َش ۡيئا‬ ‫أن‬ �ٰٓ َ ‫َو َع‬ [٢١٦ :‫]اﻟﺒﻘﺮة‬ ﴾ ٢١٦ ﴿ ความวา “และอาจเปนไปไดวา การที่พวกเจาเกลียดสิ่งหนึ่ง ท้ัง ๆ ท่ีสิ่งน้ันเปนส่ิงดีแกพวกเจา” (สูเราะฮฺอัล-บะเกาะเราะฮฺ อา ยะฮฺที่ 216) 44

และการฝกฝนตนเองใหมีความมุงม่ันต้ังใจถือเปนสวน สําคัญในการปฏิบัติภารกิจตางๆ ในเดือนเราะมะฎอน เพ่ือท่ีจะ ไดรับการอภัยโทษ เพราะจิตใจไมสามารถท่ีจะเขมแข็งได หากไมม ี การตระเตรียมในการฏออะฮเฺ ปนอยางดี อัลลอฮฺ ตะอาลา ไดดาํ รัส วา ‫﴿ ۞ َولَ ۡو َأ َرا ُدواْ ٱ ۡ ُ� ُرو َج َ َ� َع ُّدواْ َ ُ�ۥ ُع َّد ٗة َو َ ٰ� ِ�ن َكرِ َه ٱ َّ ُ� ٱ�بِ َعا َ� ُه ۡم‬ [٤٦ :‫ ﴾ ]اﻟﺘﻮ�ﺔ‬٤٦ ‫َ� َث َّب َط ُه ۡم َو�ِي َل ٱ ۡ� ُع ُدواْ َم َع ٱ ۡل َ�ٰعِ ِدي َن‬ ความวา “และหากพวกเขาตอ งการออกไป แนนอนพวกเขาตอ ง เตรียมสัมภาระสําหรับการออกไปน้ันแลว แตทวาอัลลอฮฺทรง เกลียดการออกไปของพวกเขาพระองคจึงไดทรงกีดขวางพวก เขาไว และไดถูกกลาววา ทานท้ังหลายจงนั่งอยูกับผูที่นั่ง ทงั้ หลายเถิด” (สูเราะฮอฺ ตั -เตาบะฮฺ อายะฮฺที่ 46) ทานอิบนุ อัล-ค็อรรอฏ ไดกลาวในหนังสือของทาน “อัศ- เศาะลาตุ วัตตะฮัจุด” ไววา “ทานอัล-หะสัน อัล-บัศรี ไดเขียน จดหมายถึงทานอมุ ัร บินอับดุลอะซีซ เราะหิมะฮุมัลลอฮฺ วา “อนึ่ง ใครก็ตามท่ีทบทวนชีวิตเขาก็จะกําไร และใครท่ีเพิกเฉยตอมันก็ จะขาดทุน และใครท่ีพิจารณาผลตอบแทนในบ้ันปลายก็จะ ประสบความสําเร็จ และใครท่ีฏออะฮฺเขาก็จะเปนคนท่ีประเสริฐ และใครที่ขันติเขาก็จะมีชัย และใครท่ีพินิจพิจารณาก็จะมีความ 45

ประจักษ และใครท่ีมีความประจักษก็จะมีความเขาใจ และใครท่ี มีความเขาใจก็จะมีความรู ดังนั้น เมื่อใดที่ทานเสียใจในสิ่งที่ พลาดพล้ังก็จงละทิ้งมันไปเสีย และเม่ือใดท่ีทานโงเขลาก็จงถาม และเมื่อใดที่ทานโกรธก็จงระงับมัน พึงทราบเถิดวา การงานท่ี ประเสริฐท่ีสุดคือการงานที่จิตใจไมช่ืนชอบท่ีจะปฏิบัติมันมาก ทสี่ ุด” แตนักวิชาการบางทานมีความเห็นตาง โดยอางหลักฐาน ภาพรวมของคํากลาวทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัม ท‫ًﺿﺎ‬ว่ี ‫ر‬าْ ‫َأ‬ َ ‫الْ ُﻤﻨْ َﺒ َّﺖ‬ ‫َﻓﺈِ َّن‬ ‫ِﺑ ِﺮ ْﻓ ٍﻖ‬ ‫ِ�ﻴ ِﻪ‬ ‫َﻓﺄَ ْو ِﻏﻠُﻮا‬ ،�‫َﻣ ِﺘ‬ ‫ِإَﻇ َّنْﻬ ًﺮ َاﻫ أََﺬ ْ�ا َﻘاﻰﻟ ِّﺪﻳ َﻦ‬ ‫ﻻ‬ ‫ َو َﻻ‬،‫َ� َﻄ َﻊ‬ ความวา “แทจริงศาสนานี้มีความเหน่ียวแนนมั่นคง ดังน้ันจง ปฏิบัติมันดวยความพอดีคอยเปนคอยไป (ปฏิบัติเทาที่มี ความสามารถโดยไมฝนจนเกินไป เพราะอาจจะทําใหเกิดความ ยอ ทอ และลม เลิกปฏิบัติมันได) ซ่งึ นักเดินทางทข่ี าดเสบียงน้นั เขา จะเดินทางตอก็ไมไดและจะอยูตอไปก็ไมได (เฉกเชนคนท่ีปฏิบัติ ในสิ่งที่เกินความสามารถ เพราะสุดทายแลวเขาจะปฏิบัติส่ิงอื่น ตอก็ไมได และจะปฏบิ ัตสิ ิ่งนั้นตอ กไ็ มไ ด)” (บนั ทกึ โดยอลั -บยั ฮะกี ในสนุ นั ของทาน แตม ีนกั รายงานบางคนทเี่ ฎาะอฟี ) 46

และคํากลาวของทานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ทีว่ า ‫َ� َﻤ ُﻠّﻮا‬ ‫َﺣ َّﺘﻰ‬ �ُ َّ ‫ا‬ ‫َ� َﻤ ُّﻞ‬ َ �ِ َّ ‫ﻓَ َﻮا‬ ‫ﺗُ ِﻄﻴ ُﻘﻮ َن‬ ‫َﻣﺎ‬ ‫اﻟْ َﻌ َﻤ ِﻞ‬ ‫اﻛْ ِﻠ ُﻔﻮا‬ ‫ﻻ‬ ‫ِﻣﻦ‬ ความวา “พวกทานจงปฏิบัติเทาท่ีมีความสามารถเถิด เพราะ อัลลอฮฺจะไมทรงเบื่อหนาย จนกวาพวกทานจะเบื่อหนาย เสยี กอน” (บันทกึ โดยอลั -บคุ อรี มสุ ลิม และอะหฺมัด) และอกี หะดษี หนงึ่ ท่วี า ‫أو‬ ‫ﻓَ َﺘ َﺮ‬ ‫َﻓ ِﺈ َذا‬ ‫� َ َﺸﺎ َﻃ ُﻪ‬ ‫أَ َﺣ ُﺪ ُ� ْﻢ‬ ‫ِﻟﻴُ َﺼ ِّﻞ‬ ‫َﻛ َﺴ َﻞ َﻓﻠْﻴَ ْﻘ ُﻌ ْﺪ‬ ความวา ““พวกทานจงละหมาดเทาที่สามารถเถิด ซ่ึงเม่ือใดที่ พวกทานเหน่ือยลาหรือเกียจครานก็ใหนั่งลง” (บันทึกโดยอัล-บุ คอรี มสุ ลิม และอะหมฺ ัด) ซ่ึงทานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสลั ลัม ไมไดตอ งการบอก วาอยาไดทําอะมัลใดจนกวารางกายสามารถที่จะทําอะมัลน้ันได หรือจนกวาจะมีความพรอมและอยากทํามัน เพราะจิตใจมีความ เกยี จครา นและอดื อาดยืดยาดอยา งยงิ่ ที่จะทาํ ความดเี ปนทนุ เดิมอยู แลว ซ่ึงหากทานไมละหมาดจนกวาจิตใจของทานจะเรียกรองให ละหมาด และจนกวาทานจะมีความกระปรี้กระเปราและมีความ สะดวก แนนอนทานจะไมมีโอกาสละหมาดนอกจากเพียงไมก่ีคร้ัง เทานั้น และบางทีทานอาจจะไมม ีโอกาสละหมาดเลย และจะไมลกุ 47

ข้ึนจากเตียงนอนและไมยอมสละความสบายและความสุขของการ นอนไดเลย แตทานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ไดส่ังใชใหท าํ ดวย ความพอดีคอยเปนคอยไป และเตือนสําทับถึงความเลยเถิดอันจะ ทําใหเกิดความเหนด็ เหนื่อยจนตองลมเลิกและหยุดทําในท่ีสุด และ จากพจนารถของทานนบี ศอ็ ลลัลลอฮุอะลัยฮวิ ะสลั ลมั ท่วี า ‫اﻛْ ِﻠ ُﻔﻮا ِﻣﻦ اﻟْ َﻌ َﻤ ِﻞ َﻣﺎ ﺗُ ِﻄﻴ ُﻘﻮ َن‬ ความวา “พวกทานจงปฏิบัติเทาท่ีมีความสามารถเถิด” (บันทึก โดยอัล-บุคอรี มุสลิม และอะหฺมดั ) ซ่ึงบงชี้วาใหมีความขยันขันแข็งและอนุญาตใหทําในส่ิงท่ี จิตใจไมชื่นชอบมันได เพราะมนุษยมักจะไมชอบและเกียจครานท่ี จะทําอะมัลบางอยางอยแู ลว ซึ่งหากมีความพยายามก็ยอมสามารถ ทาํ มนั และเผชิญกับความยากลาํ บากทีม่ อี ยไู ด ท้ังๆที่ อาจจะยังไมม ี ความชืน่ ชอบและเกียจครานที่จะทํามนั อยูกต็ าม ดงั นั้น จึงจําเปน ที่ จะตองตอสูกับจิตใจ ใหมีความมุมานะและขยันหม่ันเพียร และให ตระหนักวามันเปนการงานท่ีจะถูกนําไปเสนอยังอัลลอฮฺ อัซซะ วะญัลละ และเตือนจากการใหความสําคญั ตอส่ิงอ่ืนในส่ิงท่ีมีอยู ณ อลั ลอฮฺ และใหทาํ มันอยา งขยนั ขนั แขง็ ตอ ไป จนกวา จะถงึ จดุ ท่ีทาน เราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ไดเตือนสําทับซ่ึงเกรง วา จะเกดิ การลมเลกิ และหยุดไมทําสงิ่ ใดเลย ดงั ที่มรี ายงานวา 48

‫ َوال َّﺸ ُّﺮ ﻟ َﺠَﺎ َﺟ ٌﺔ‬، ‫اﻟ ْﺨَ ْ ُ� ﻋَﺎ َد ٌة‬ ความวา “ความดีเปนส่ิงที่ปกติ (ทําไดอยางงายดาย) สวนความ ชวั่ เปน ส่ิงที่ฝนใจ (ยุงยากที่จะทําได) ” (บนั ทกึ โดยอบิ นุหบิ บาน) และทานอบูอัด-ดรั ดาอ ไดกลาวแกชายคนหนึ่งที่ชือ่ ศุบยั หฺ วา“โอศุบัยหฺเอย จงคุนชินในการทําอิบาดะฮฺเถิด เพราะมันเปน สิ่งที่ปกติงายดาย และไมมีส่ิงใดที่มีความหนักอ้ึงบนหนาแผนดนิ มากไปกวาคนทีป่ ฏเิ สธศรัทธา” สวนคํากลา วที่วา ‫َﻛ َﺴ َﻞ‬ ‫أو‬ ‫َﻓ َﺘ َﺮ‬ ‫َﻓﺈِ َذا‬ ‫� َ َﺸﺎ َﻃ ُﻪ‬ ‫أَ َﺣ ُﺪ ُ� ْﻢ‬ ‫ِﻟﻴُ َﺼ ِّﻞ‬ ‫َﻓﻠْ َﻴ ْﻘ ُﻌ ْﺪ‬ ความวา “พวกทานจงละหมาดเทาท่ีสามารถเถดิ ซึง่ เมือ่ ใดท่พี วก ทานเหนื่อยลาหรือเกียจครานก็ใหน่ังลง” (บันทึกโดยอัล-บุคอรี มสุ ลิม และอะหฺมดั ) ดังนั้นทานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ไมไดตองการ ใหล ะหมาดในขณะทม่ี ีความกระปรีก้ ระเปรา แตเมอ่ื เกิดความเกียจ ครานก็ใหละทิ้งการละหมาด แตทานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัม หมายถึงความเกียจครานทําใหไมสามารถทําสิ่งใดเลย ภายหลงั จากมีความมมุ านะขยันหม่ันเพียรและฝนจิตใจอยา งจริงจัง แลว แมกระทง่ั หากมีคนมาเสนอวา จงละหมาดแลว ทานจะไดร บั สงิ่ 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook