Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Mind_SCI-M.1-2-2565

Mind_SCI-M.1-2-2565

Published by julasak.mind, 2023-04-12 04:15:44

Description: Mind_SCI-M.1-2-2565

Search

Read the Text Version

ส่อื การเรยี นรู้แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 12 : แบบฝึกหัด (ต่อ)

ส่อื การเรยี นรู้แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 12 : เฉลยแบบฝกึ หดั

ส่อื การเรยี นรู้แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 12 : เฉลยแบบฝกึ หัด (ตอ่ )

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 13 กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รหัสวิชา ว21102 ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 เวลา 1 คาบเรยี น ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 พลงั งานความรอ้ น เรอ่ื ง การคำนวณปริมาณความรอ้ นกบั การเปลี่ยนอุณหภูมขิ องสาร 1. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ชี้วดั มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏสิ มั พนั ธ์ระหวา่ งสสารและพลงั งาน พลังงานในชวี ิตประจาํ วนั ธรรมชาตขิ องคลน่ื ปรากฏการณ์ท่เี กี่ยวข้อง กับเสียง แสง และคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้ารวมท้ังนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตวั ชี้วดั ตวั ชว้ี ัด ม.1/1 วิเคราะห์ แปลความหมายข้อมูล และคำนวณปรมิ าณความร้อนที่ทำให้สสาร เปลี่ยนอณุ หภมู ิ และเปลีย่ นสถานะ โดยใชส้ มการ Q = mc∆t และ Q = mL 2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด สาระสําคัญ เมอื่ สสารได้รบั หรือสูญเสียความรอ้ นอาจทำให้สสารเปลี่ยนอณุ หภูมิ เปล่ียนสถานะ หรอื เปลย่ี น รปู รา่ งปริมาณความร้อนท่ีทำใหส้ สารเปลย่ี นอุณหภมู ขิ ึน้ กับมวล ความรอ้ นจำเพาะ และอุณหภมู ทิ ี่ เปล่ยี นไป 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ ดา้ นพุทธิพิสยั (Cognitive domain) นักเรียนสามารถอธิบายความร้เู กี่ยวกบั การคำนวณปริมาณความร้อนกับการเปล่ยี นแปลงอุณหภมู ิ โดยใช้สมการ Q = mc∆t ได้ ด้านทกั ษะพิสัย (Psychomotor domain) นกั เรียนสามารถคำนวณปริมาณความร้อนกับการเปล่ยี นแปลงอุณหภมู ิโดยใชส้ มการ Q = mc∆t ได้ ดา้ นจติ พสิ ัย (Affective domain) นักเรยี นมสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมการเรยี นรอู้ ยู่ในระดับดี

4. คณุ ลกั ษณะผูเ้ รยี น 4.1 คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์  รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  อยู่อย่างพอเพียง  ซ่ือสตั ย์สจุ ริต  มุ่งมั่นในการทำงาน  มวี ินยั  รกั ความเปน็ ไทย  ใฝ่เรียนรู้  มีจติ สาธารณะ 5. ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน  ความสามารถในการแก้ปญั หา : นักเรียนสามารถแกป้ ัญหาโจทย์การคำนวณปริมาณความร้อนกับ การเปลีย่ นแปลงอุณหภมู ิ โดยใช้สมการ Q = mc∆t ได้  ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี : นักเรยี นสามารถใช้เทคโนโลยใี นการเรียนรไู้ ด้ 6. สาระการเรียนรู้ การเปลี่ยนสถานะของสารอาจเป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทดูดพลังงานหรือคายพลังงาน ตัวอย่าง การเปลี่ยนแปลงสถานะของสารที่พบในชีวิตประจำวันได้แก่ น้ำแข็งหลอมเหลวกลายเป็นน้ำและน้ำได้รับ ความร้อนกลายเป็นไอเป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทดูดความร้อน ในทางตรงกันข้ามเมื่อไอน้ำเปลี่ยนสถานะ กลบั มาเป็นนำ้ และน้ำแข็ง เป็นการเปลย่ี นแปลงประเภทคายความรอ้ น การคำนวณปริมาณความร้อนกับการเปลีย่ นแปลงของสาร สามารถแยกพิจารณาได้ 2 กรณี ดังน้ี กรณีท่ี 1 การคำนวณปริมาณความรอ้ นกบั การเปลยี่ นแปลงอณุ หภูมิ คำนวณได้จาก สมการ Q = mc∆t เมอ่ื Q คอื ปริมาณความร้อนท่ีสารได้รบั มหี น่วยเป็นแคลอรี M คือ มวลของสาร มหี นว่ ยเป็นกรมั c คอื ความร้อนจำเพาะของสาร มหี นว่ ยเปน็ แคลอรตี อ่ กรัม×องศาเซลเซยี ส ∆t คือ อณุ หภมู ิของน้ำทเี่ ปล่ยี นไป มหี นว่ ยเปน็ องศาเซลเซยี ส กรณีท่ี 2 การคำนวณปรมิ าณความร้อนที่กับการเปล่ยี นสถานะ คำนวณไดจ้ าก สมการ Q = mL เมอ่ื Q คือ ปริมาณความรอ้ น มีหนว่ ยเป็นแคลอรี M คือ มวลของสาร มีหนว่ ยเปน็ กรมั L คอื ความร้อนแฝงจำเพาะของสาร มหี น่วยเป็นแคลอรตี อ่ กรัม น้ำมีค่าความร้อนแฝงจำเพาะของการหลอมเหลว 80 แคลอรีต่อกรัม หมายความว่า ในการทำน้ำแข็ง 1 กรัม ใหห้ ลอมเหลวเป็นนำ้ ตอ้ งใชพ้ ลังงานความรอ้ น 80 แคลอรี น้ำมคี า่ ความร้อนแฝงจำเพาะของการกลายเป็นไอ 540 แคลอรตี ่อกรัม หมายความว่า ในการทำนำ้ 1 กรัม อณุ หภูมิ 100 องศาเซลเซียส ให้เปลี่ยนเปน็ ไอน้ำ 1 กรัม อณุ หภูมิ 100 องศาเซลเซียส ตอ้ งใช้พลังงาน ความรอ้ น 540 แคลอรี

7. กจิ กรรมการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียนรแู้ บบหอ้ งเรยี นกลับด้าน (Flipped Classroom) 7.1 ข้ันกำหนดยุทธวธิ ีเพ่มิ พูนประสบการณ์ (Experiential Engagement) (ในชั้นเรียน) นกั เรียนทบทวนความรเู้ ดิมเกี่ยวกบั ผลของความรอ้ นกับการเปลย่ี นแปลงอุณหภูมิของสาร ผา่ นประเด็นคำถามท่คี รตู ้ังขนึ้ จากคลปิ วิดีโอ “ตรวจอากาศเดือน เมษายน สถานรี กั โลก 360 องศา EP.56” ดงั น้ี - นักเรียนคิดวา่ อากาศในเดือนเมษายน เป็นอยา่ งไร (แนวคำตอบ อากาศร้อนอบอา้ วมากขึน้ ) - เพราะเหตุใดอากาศในเดือนเมษายนจึงมีความร้อนมากขึ้น (แนวคำตอบ เพราะโลกได้รับพลังงานความร้อนจากดวงอาทติ ย์ โดยแสงจากดวงอาทติ ยจ์ ะเร่มิ ต้ัง ฉากตงั้ แตต่ อนเทย่ี งวนั ) - ตัวการที่ทำให้อากาศเปลยี่ นอณุ หภมู ิคืออะไร (แนวคำตอบ พลงั งานความร้อน) 7.2 ข้นั สบื ค้นเพ่ือให้เกิดมโนทศั น์รวบยอด (Concept Exploration) (ศึกษานอกเวลาเรียน) นักเรยี นสบื ค้นและศึกษาวดิ ีโอ 2 : การคำนวณปริมาณความรอ้ นกบั การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ของสาร เพ่อื ตอบคำถามในตัวอย่างที่ 1 และ 2 เร่ืองการคำนวณปริมาณความร้อนกบั การเปลยี่ นแปลง อุณหภมู ิของสาร ดงั น้ี - สมการการคำนวณปริมาณความร้อนกบั การเปลีย่ นแปลงอณุ หภูมขิ องสาร Q = mc∆t เม่อื Q คอื ปรมิ าณความรอ้ นท่ีสารได้รบั มีหน่วยเปน็ แคลอรี M คอื มวลของสาร มีหนว่ ยเป็นกรัม c คอื ความร้อนจำเพาะของสาร มหี นว่ ยเป็น แคลอรีตอ่ กรมั ×องศาเซลเซียส ∆t คือ อุณหภมู ขิ องน้ำทีเ่ ปลี่ยนไป มหี น่วยเปน็ องศาเซลเซยี ส - ข้นั ตอนการแกโ้ จทย์ปญั หาการคำนวณปริมาณความรอ้ นกบั การเปล่ยี นแปลงของสาร ตามแนวคดิ ของ Polya (1957) 4 ขน้ั ตอน ไดแ้ ก่ 1. ทำความเข้าใจปัญหา 2. วางแผนการแกป้ ัญหา 3. ดำเนินการตามแผน

4. ตรวจสอบผลลัพธ์ โดยให้นกั เรียนศึกษาจากแหลง่ สบื คน้ ขอ้ มูลท่คี รูไดจ้ ดั เตรียมไว้ให้ หรือแหลง่ ข้อมลู อน่ื ๆ Google sites : https://sites.google.com/wangchan.ac.th/mind-science นักเรียนสรปุ ความคดิ สำคัญ เรื่อง การคำนวณปริมาณความร้อนกับการเปล่ยี นแปลงอุณหภมู ขิ อง สาร ลงในสมุด 7.3 ขน้ั สร้างองค์ความรู้อย่างมีความหมาย (Meaning Making) (ศึกษานอกเวลาเรยี น) นักเรียนสร้างองคค์ วามรู้ เรื่อง การคำนวณปริมาณความร้อนกบั การเปลี่ยนแปลงอุณหภมู ขิ องสาร ลงในสมดุ และใหน้ ักเรียนรว่ มกนั อภิปรายข้ันตอนการแก้โจทย์การคำนวณของตวั อยา่ งท่ี 4 จากโจทย์ การคำนวณ ตัวอย่างที่ 4 นำน้ำมวล 300 กรมั อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส ไปวางไวใ้ นชอ่ งแชแ่ ขง็ ถา้ ตอ้ งการ ใหน้ ำ้ มอี ณุ หภมู ิ 0 องศาเซลเซยี ส ภายในเวลา 60 วนิ าที นำ้ สูญเสียความร้อนเฉลย่ี วินาทีละเทา่ ใด นกั เรียนศึกษาและลงข้อสรุปจากส่ิงทน่ี ักเรียนศกึ ษา ใหไ้ ด้ถึงข้ันตอนการคำนวณปรมิ าณความรอ้ น กบั การเปลี่ยนแปลงอณุ หภมู ิของสาร การคำนวณ การหาคำตอบ และการตรวจคำตอบ 7.4 ขั้นสาธติ และประยกุ ต์ใช้ (Demonstration & Application) (ในช้นั เรยี น) ครูสาธติ การแก้โจทยป์ ัญหาการคำนวณปรมิ าณความร้อนกับการเปลยี่ นแปลงอณุ หภมู ขิ องสาร โดยกระบวนการแก้โจทย์ปญั หาโดยใช้กระบวนการของ Polya โดยเรม่ิ จากการอธบิ ายกระบวนการการ แก้โจทยป์ ญั หาตามแนวคิดของ Polya วา่ ประกอบไปด้วย 4 ข้ันตอน ได้แก่ ขัน้ ท่ี 1 ทำความเขา้ ใจโจทย์ ปญั หา ข้ันที่ 2 วางแผนแก้โจทยป์ ัญหา ขัน้ ที่ 3 ปฏบิ ตั ิตามแผน ขนั้ ท่ี 4 ตรวจสอบผลลพั ธ์ พรอ้ มทงั้ อธิบาย รายละเอยี ดในแตล่ ะข้นั ตอน ดังนี้ ตัวอยา่ งที่ 4 นำนำ้ มวล 300 กรมั อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส ไปวางไวใ้ นชอ่ งแชแ่ ขง็ ถ้าต้องการ ให้นำ้ มีอณุ หภมู ิ 0 องศาเซลเซยี ส ภายในเวลา 60 วนิ าที นำ้ สูญเสยี ความรอ้ นเฉลีย่ วนิ าทีละเท่าใด ขนั้ ท่ี 1 ทำความเข้าใจโจทย์ปัญหา นักเรยี นและครูรว่ มกนั วิเคราะห์ทำความเขา้ ใจโจทย์ โดยให้ นกั เรยี นร่วมบอกรายละเอยี ดว่าโจทยป์ ัญหาวา่ เปน็ เรอ่ื งราวเกี่ยวกบั อะไร บอกสง่ิ ท่ีโจทย์กำหนดให้ บอกสิ่ง ทโี่ จทย์ถาม ผ่านการต้งั คำถาม ดังน้ี - โจทยป์ ัญหาขอ้ น้เี ปน็ เร่ืองราวเก่ยี วกบั อะไร - โจทย์กำหนดอะไรใหบ้ า้ ง

- โจทย์กำหนดนำ้ สูญเสยี ความรอ้ นในระยะเวลาเท่าใด - โจทยถ์ ามอะไร โดยใหน้ กั เรียนเขยี นสงิ่ ทโ่ี จทยก์ ำหนดให้พร้อมหน่วย ดา้ นบทโจทยป์ ัญหา ขน้ั ที่ 2 วางแผนแก้ปญั หา นกั เรียนรว่ มกนั แก้โจทย์ปัญหาโดยให้นกั เรยี นบอกขน้ั ตอน วิธีการหา คำตอบว่าต้องทำอย่างไร - น้ำมวล 300 กรัม อุณหภมู ิ 30 องศาเซลเซยี ส ไปวางในช่องแช่แข็ง ถ้าต้องการใหน้ ำ้ มีอุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส หมายถึง ค่าอุณหภูมิที่เปลีย่ นแปลงไป หาได้จาก 30 - 0 = 30 องศาเซลเซยี ส และคา่ ความ รอ้ นจำเพาะของน้ำ มีค่า 1 แคลอรตี ่อกรัมองศาเซลเซยี ส จากนน้ั นำค่าไปแทนในสมการ เพอ่ื หาคำตอบค่า Q แต่ค่า Q ที่ไดจ้ ะเปน็ ค่า Q ในระยะเวลา 60 วินาที แต่โจทย์ตอ้ งการถามคา่ Q ที่ 1 วนิ าที ดงั นน้ั จะต้อง หาคา่ Q ท่ี 1 วินาที โดยการเทยี บบญั ญตั ิไตรยางค์ - นำค่าทโ่ี จทยก์ ำหนดใหแ้ ทนลงในสมการ Q = mc∆t เพ่อื หาคำตอบของโจทยป์ ัญหาข้อน้ี ขั้นที่ 3 ปฏบิ ัติตามแผน นักเรยี นและครูลงมือปฏบิ ตั ิตามแผน โดยคดิ คำนวณหาคำตอบและ แสดงวิธีทำ เพอื่ คำตอบของโจทย์ปัญหา ดงั นี้ จากสมการ Q = mc∆t แทนคา่ ������ = 300 ������ 1 ������ (30 – 0) Q = 9,000 ในระยะเวลา 60 วนิ าที นำ้ สูญเสยี ความรอ้ น 9,000 แคลอรี ถา้ 60 วินาที น้ำสูญเสยี ความรอ้ น 9,000 แคลอรี ถ้า 1 วนิ าที นำ้ สญู เสียความรอ้ น 9,000 ������ 1 60 แคลอรี 150 ดงั นั้น นำ้ สูญเสยี ความร้อนเฉลีย่ วนิ าทลี ะ 150 แคลอรี ขั้นที่ 4 ตรวจสอบผลลัพธ์ นกั เรยี นและครรู ่วมกนั พจิ ารณาความสมเหตุสมผลของคำตอบท่ีได้ รวมถึงพิจารณาวิธกี ารแก้ปัญหาอนื่ ๆ อีกหรือไม่ ผา่ นการตั้งคำถาม ดงั น้ี - จะมวี ธิ กี ารใดในการแก้โจทย์ปัญหาอืน่ ๆ อีกหรือไม่ อยา่ งไร - นกั เรยี นมีวธิ กี ารตรวจสอบผลลัพธ์ของตนเองว่าคำตอบถกู ต้องหรอื ไม่ อยา่ งไร นกั เรยี นและครทู ำแบบฝึกหดั เรอื่ ง ความร้อนกบั การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสาร หน้าท่ี 3 (ข้อที่ 2) ครูถามนักเรยี นเปน็ ระยะเพ่ือกระตุ้นและตรวจสอบความเขา้ ใจ แนะนำ ชว่ ยเหลือนกั เรียน และ ตรวจสอบนกั เรียนและใหน้ กั เรียนสง่ แบบฝกึ หดั เพ่ือนำมาตรวจสอบการทำงานของนกั เรียนอกี คร้ังหน่ึง

8. ชนิ้ งาน / ภาระงาน - แบบฝึกหัด เร่อื ง การคำนวณปริมาณความร้อนกบั การเปลย่ี นแปลงอุณหภูมิของสาร 9. สือ่ การเรยี นรู้ / แหลง่ เรียนรู้ Google sites : https://sites.google.com/wangchan.ac.th/mind-science วดิ ีทัศน์ ตรวจอากาศเดือน เมษายน ������ สถานีรักโลก 360 องศา EP.56 จาก https://www.youtube.com/watch?v=wf-Umzw2sBM 10. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ จุดประสงค์ วธิ กี ารวดั เครือ่ งมอื เกณฑ์การประเมิน 1. ด้านพทุ ธพิ ิสัย (Cognitive domain) นกั เรียนสามารถอธิบาย การตอบคำถาม ข้อคำถาม ตอบคำถามไดถ้ ูกต้องร้อยละ 70 ความร้เู กยี่ วกบั การ ในช้นั เรียน คำนวณปรมิ าณความ ร้อนกับการเปล่ยี นแปลง อณุ หภมู ิ โดยใช้สมการ Q = mc∆t ได้ 2. ดา้ นทกั ษะพสิ ยั (Psychomotor domain) นกั เรียนสามารถคำนวณ การทำแบบฝึกหดั แบบฝึกหดั ผา่ นเกณฑ์การประเมินทักษะ การคำนวณปริมาณความรอ้ นกับ ปรมิ าณความร้อนกับ การเปลย่ี นแปลงของสาร รอ้ ยละ 70 การเปลยี่ นแปลง มสี ว่ นร่วมในกิจกรรมการเรยี นรู้ อณุ หภมู ิโดยใช้สมการ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 Q = mc∆t ได้ 3. ด้านจติ พิสยั (Affective domain) นกั เรียนมีสว่ นรว่ ม สังเกตพฤตกิ รรม แบบสังเกตพฤติกรรม ในกจิ กรรมการเรยี นรู้ การเรยี น การเรียน อยใู่ นระดับดี

แบบวิเคราะห์การประเมินผลการเรียนรู้ (Assessment blueprint) แบบวเิ คราะหก์ ารประเมินผลการเรยี นรู้ (Assessment blueprint) ประกอบด้วย วตั ถปุ ระสงค์ การเรยี นรู้ที่ต้องการวัด และความสอดคล้องดา้ นพทุ ธพิ สิ ัย ทกั ษะพสิ ยั และจิตพิสัย วัตถุประสงค์ พฤตกิ รรมการประเมนิ เทคนิค ระดับพฤติกรรม (%) การ พุทธิพิสัย ทกั ษะพิสยั จติ พสิ ยั ประเมนิ 1 2 3 4 5 6 รวม 1 2 3 4 5 6 7 รวม 1 2 3 4 5 รวม นักเรียนสามารถ แบบประเมนิ อธิบายความรู้ การตอบ เก่ยี วกบั การ คำถาม คำนวณปริมาณ ความรอ้ นกบั การ 60 20 20 100 เปลย่ี นแปลง อณุ หภมู ิ โดยใช้ สมการ Q = mc∆t 2. นกั เรียนสามารถ 50 50 100 แบบประเมนิ คำนวณปรมิ าณ 20 40 20 ทกั ษะการ ความรอ้ นกบั การ แก้ปญั หา เปล่ียนแปลง โจทย์การ อณุ หภมู โิ ดยใช้ คำนวณ สมการ Q = mc∆t ปริมาณความ ได้ ร้อนกับการ เปลีย่ นแปลง 3. นกั เรยี นมี ของสาร สว่ นรว่ มใน กิจกรรมการ แบบสังเกต เรียนรู้ พฤติกรรม อยใู่ นระดับดี 20 100 การเรียน รวม 60 20 20 100 50 50 100 20 40 20 20 100

**หมายเหตุ : ความหมายของตารางวเิ คราะหก์ ารประเมิน พุทธิพิสยั ทกั ษะพสิ ยั จิตพสิ ัย 1 = ความจำ 1 = การรับรู้ 1 = การรบั รสู้ ิง่ เร้า 2 = เข้าใจ 2 = การตระเตรยี ม 2 = การตอบสนอง 3 = นำไปใช้ 3 = การตอบสนองตามคำช้ีแนะ 3 = การสร้างคณุ ค่า 4 = วเิ คราะห์ 4 = การสร้างกลไก 4 = การจดั ระบบคุณค่า 5 = ประเมินคา่ 5 = การตอบสนองท่ซี ับซ้อนขึ้น 5 = การสร้างลกั ษณะนสิ ยั 6 = สรา้ งสรรค์ 6 = การดดั แปลงให้เหมาะสม 7 = การรเิ ริม่ ใหม่

คำอธบิ ายประกอบการประเมนิ ดา้ นพทุ ธิพสิ ัย (Cognitive domain) แบบประเมนิ การตอบคำถาม คำชแี้ จง : ให้ผปู้ ระเมนิ ทำการตอบคำถามของนักเรยี น ตามเกณฑก์ ารประเมินการตอบคำถาม (ความถูกต้อง) ลำดบั ชื่อ - สกุล ระดับคะแนน สรปุ การประเมนิ ที่ 5 4 3 2 1 0 ผ่าน ไมผ่ า่ น 1 2 3 4 5 6 ลงชื่อ.....................................................ผปู้ ระเมนิ (นางสาวธนั ยาภรณ์ จลุ ศกั ด์ิ) วันที.่ ............เดือน.....................พ.ศ............ เกณฑ์การประเมินการตอบคำถาม เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : พจิ ารณาดังตารางต่อไปนี้ ประเด็นที่ 5 4 ระดบั คะแนน 1 0 ประเมนิ 32 คำตอบ คำตอบถกู ตอ้ ง คำตอบ คำตอบ คำตอบ ถกู ต้อง 5 ข้อ ถกู ตอ้ ง คำตอบ คำตอบถกู ตอ้ ง ถกู ตอ้ ง ไมถ่ กู ตอ้ ง 4 ข้อ ถกู ต้อง 2 ข้อ 1 ขอ้ 3 ขอ้ เกณฑ์การผา่ นการประเมนิ : นกั เรียนมรี ะดบั คะแนน 3 ข้ึนไป

คำอธบิ ายประกอบการประเมนิ ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor domain) แบบประเมนิ ทักษะการแกป้ ัญหาโจทยก์ ารคำนวณปรมิ าณความรอ้ นกับการเปล่ียนแปลงของสาร คำช้แี จง : ใหผ้ ูป้ ระเมนิ ทำการประเมนิ แบบประเมินทกั ษะการแก้ปัญหาโจทย์การคำนวณ ลำดบั ชอื่ - สกลุ ระดับคะแนน 0 สรปุ การประเมนิ ที่ ผา่ น ไมผ่ ่าน 9- 7-8 5-6 3-4 1- 10 2 1 2 3 4 5 6 ลงชื่อ.....................................................ผ้ปู ระเมนิ (นางสาวธนั ยาภรณ์ จลุ ศักดิ)์ วนั ท.ี่ ............เดือน.....................พ.ศ

เกณฑ์การประเมนิ ทกั ษะการแก้ปัญหาโจทยก์ ารคำนวณปรมิ าณความร้อนกับการเปลีย่ นแปลงของสาร เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : พจิ ารณาดงั ตารางต่อไปนี้ เกณฑ์การใหค้ ะแนน คะแนน 1. ทำความเข้าใจปญั หา 2 - เขียนสงิ่ ทโ่ี จทยกำหนดให้ และสิง่ ทโี่ จทย์ถามไดถ้ กู ตอ้ งครบถว้ น 2 - เขียนสิ่งทโี่ จทยกำหนดให้ และสงิ่ ท่ีโจทย์ถามไดถ้ ูกตอ้ งไดบ้ างสว่ น 1 - เขียนสงิ่ ท่ีโจทย์กำหนดให้และสิง่ ท่ีโจทยถ์ ามไม่ถูกต้อง หรือไม่เขียน 0 2. วางแผนการแกป้ ญั หา 2 - เขียนวธิ ีแก้ปญั หาไดถ้ กู ตอ้ ง 2 - เขยี นวิธีแกป้ ญั หา ซ่งึ อาจจะนำไปสู่คำตอบท่ีถูกตอ้ ง แตย่ งั มีบางส่วนผดิ 1 - เขยี นวิธีแก้ปญั หาไมถ่ ูกต้อง หรือไม่เขยี น 0 3. ดำเนนิ การตามแผน 4 - เขยี นแสดงการคำนวณไดถ้ ูกต้องชัดเจนและหาคำตอบได้ถูกต้องครบถ้วน 4 - เขยี นแสดงการคำนวณไดถ้ กู ต้องชดั เจนและหาคำตอบได้ถูกต้องบางส่วน 3 - เขียนแสดงการคำนวณไดถ้ กู ตอ้ งบางส่วนและหาคำตอบไดถ้ ูกต้องครบถ้วน - เขียนแสดงการคำนวณได้ถกู ตอ้ งบางสว่ นและหาคำตอบได้ถูกต้องบางส่วน 2 - เขียนแสดงการคำนวณไดถ้ ูกตอ้ งบางส่วนและหาคำตอบไม่ถกู ต้องหรอื 1 ไมเ่ ขยี น 0 - เขียนแสดงการคำนวณไมถ่ ูกต้องหรอื ไม่เขียนและหาคำตอบได้ถูกต้อง 2 2 บางสว่ น 1 - เขียนแสดงการคำนวณไมถ่ ูกต้องและหาคำตอบไมถ่ กู ต้องหรือไม่เขียน 0 4. ตรวจสอบผลลพั ธ์ - เขยี นแสดงการตรวจคำตอบของปัญหาไดถ้ ูกตอ้ ง - เขียนแสดงการตรวจคำตอบของปัญหาได้ถูกตอ้ งบางส่วน - เขียนแสดงการตรวจคำตอบของปญั หาไมถ่ ูกตอ้ ง - ไมเ่ ขียนแสดงการตรวจคำตอบของปัญหา เกณฑก์ ารผา่ นการประเมิน : นกั เรยี นมี 8 คะแนนคดิ เปน็ ร้อยละ 70 ข้นึ ไป

บนั ทกึ หลังการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 5 พลังงานความร้อน...... ... ... แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 13 การคำนวณปริมาณความรอ้ นกบั การเปลีย่ นแปลงอุณหภูมิของสาร 1. สรปุ ผลการเรียนการสอน 1. นักเรยี นจำนวน...1..2..2.....คน ผ่านจุดประสงค์การเรียนร.ู้ ....1..2...2........คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ......1..0..0.......... ไมผ่ ่านจุดประสงค.์ ......................คน คดิ เปน็ ร้อยละ.................... ไดแ้ ก่........................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 2. สรปุ ผลตามรายจดุ ประสงค์การเรียนรู้ 2.1 ด้านพทุ ธพิ สิ ัย (Cognitive domain) .......น...กั ..เ.ร..ีย...น..ส...า..ม..า..ร..ถ..อ...ธ..ิบ..า..ย...ค..ว..า..ม...ร..้เู .ก..ยี่...ว..ก..ับ...ก..า..ร..ค...ำ..น..ว..ณ...ป...ร..ิม..า..ณ....ค..ว..า..ม...ร..อ้ ..น...ก..บั...ก..า..ร..เ.ป...ล..ี่ย...น..แ...ป..ล...ง..อ..ุณ...ห...ภ...ูม..ิ ...... ...โ..ด..ย...ใ.ช..ส้...ม..ก...า..ร...Q....=......m...c..∆...t...ไ..ด..้ .................................. ...................................................................... ............ 2.2 ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor domain) .......น...กั ..เ.ร..ีย...น..ส...า..ม..า..ร..ถ..ค...ำ..น..ว..ณ....เ.ก...ี่ย..ว..ก..บั...ก..า..ร..ค...ำ..น..ว..ณ....ป..ร..ิม...า.ณ....ค..ว..า..ม...ร..อ้ ..น...ก..บั...ก..า..ร..เ.ป...ล..่ยี...น..แ...ป..ล..ง..อ...ณุ ...ห...ภ..มู...ิ ................ ...โ..ด..ย...ใ.ช..ส้...ม..ก...า..ร...Q....=......m...c..∆...t...ไ..ด..้ .................................. .................................................................... .............. 2.3 ดา้ นจิตพสิ ัย (Affective domain) .......น...กั ..เ.ร..ีย...น..ม...สี ..ว่..น...ร..ว่ ..ม..ใ..น..ก...จิ ..ก...ร..ร..ม..ก..า..ร..เ..ร..ยี ..น...ร..ใู้ .น...ร..ะ..ด..บั...ด..ี................................................................................. ....................................................................................................................................................................... 3. ข้อเสนอแนะหลงั การจดั การเรยี นการสอน .........น..กั...เ.ร..ยี..น...ม..ีพ...ฒั...น...า..ก..า..ร..ใ..น..ก...า..ร..ค..ำ..น...ว..ณ...ป...ร..มิ..า..ณ....ค..ว..า..ม..ร..้อ...น..ก...ับ..ก...า..ร..เ.ป...ล..ย่ี ..น...แ..ป...ล..ง..อ..ุณ....ห..ภ...ูม..มิ...า..ก..ข..นึ้..................... ซ..่ึง..เ.ป...็น...ผ..ล..จ...า..ก..ก..า..ร..เ..น..น้...ย..ำ้..ใ..ห..น้...ัก..เ..ร..ยี ..น...จ..ด..จ...ำ..ส..ัญ...ล..ัก...ษ...ณ...์ใ.น...ส..ม..ก...า..ร...แ...ล..ะ..ส..่มุ...ส..อ...บ..ป...า..ก..เ..ป..ล...่า..ร..า..ย..บ...คุ ..ค..ล..................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ลงชือ่ ........................................................ (นางสาวธันยาภรณ์ จุลศกั ด)์ิ ครูผู้สอน

ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ไดต้ รวจแผนการจดั การเรยี นร้หู น่วยการเรียนรูท้ ่ี 5 เร่ือง พลังงานความรอ้ น ในแผนการจดั การเรียนรู้ที่ 13 เร่ือง การคำนวณปรมิ าณความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสาร เรยี บรอ้ ยแล้ว โดยมคี วามคดิ เห็น ดงั น้ี 1. คุณภาพของแผนการจดั การเรยี นรู้  ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรุง 2. ความสอดคล้องของมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชีว้ ัด  สอดคลอ้ ง  ไมส่ อดคลอ้ ง 3. การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้  ได้นำกระบวนการเรียนรู้ท่เี น้นผู้เรียนเปน็ สำคญั มาใช้ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม  ไมไ่ ด้นำกระบวนการเรียนรู้ที่เนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคญั มาใช้ 4. การใช้สอ่ื การเรียนรู้  มีความเหมาะสมและส่งเสริมการเรยี นร้ขู องผ้เู รยี น  ไม่ส่งเสรมิ การเรียนรู้ของผเู้ รียน 5. การวัดและการประเมนิ ผล  สอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงค์การเรียนรู้  ไม่สอดคล้องกับจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 6. การนำแผนการจัดการเรยี นรู้ไปใช้  นำไปใช้ไดจ้ ริง  ควรปรับปรุงกอ่ นนำไปใช้ ขอ้ เสนอแนะอนื่ ๆ ............................................................................................................................. ............................................ ............................................................................................................................. ............................................ ......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................ ลงชอ่ื ..................................................... (นางรัชนี หนนู อ้ ย) ตำแหน่ง หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วันที่ ............ เดอื น ........................... พ.ศ. ..............

ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะของผูบ้ รหิ าร ไดต้ รวจแผนการจัดการเรียนรหู้ นว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 5 เรอื่ ง พลังงานความร้อน ในแผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 13 เรอื่ ง การคำนวณปริมาณความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภมู ขิ องสาร เรยี บรอ้ ยแลว้ โดยมคี วามคดิ เหน็ ดังนี้ 1. คณุ ภาพของแผนการจดั การเรียนรู้  ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรงุ 2. ความสอดคล้องของมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั  สอดคลอ้ ง  ไมส่ อดคล้อง 3. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้  ได้นำกระบวนการเรยี นรู้ที่เนน้ ผ้เู รยี นเป็นสำคญั มาใชไ้ ด้อยา่ งเหมาะสม  ไมไ่ ดน้ ำกระบวนการเรยี นรู้ทเี่ น้นผู้เรียนเป็นสำคญั มาใช้ 4. การใช้ส่ือการเรียนรู้  มคี วามเหมาะสมและส่งเสรมิ การเรยี นรูข้ องผูเ้ รียน  ไมส่ ง่ เสริมการเรียนรู้ของผู้เรยี น 5. การวดั และการประเมนิ ผล  สอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงค์การเรียนรู้  ไมส่ อดคล้องกับจุดประสงค์การเรยี นรู้ 6. การนำแผนการจัดการเรยี นรูไ้ ปใช้  นำไปใชไ้ ดจ้ ริง  ควรปรบั ปรุงกอ่ นนำไปใช้ ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ .............................................................................................................................................. ........................... ........................................................................................................ ................................................................. ............................................................................................................................. ............................................ ................................................................................................................................................... ...... ลงชื่อ ..................................................... (นางสมัชญา ผดุ ผ่อง) ตำแหน่ง รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี นวังจนั ทร์วิทยา กลมุ่ บริหารงานวชิ าการ วนั ท่ี ............ เดือน ........................... พ.ศ. ..............

ส่อื การเรยี นรู้แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 13 : ส่อื วดี ิทศั น์

ส่อื การเรยี นร้แู ผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 13 : สอื่ วีดทิ ัศน์ วิดีทศั น์ ตรวจอากาศเดือน เมษายน ������ สถานรี ักโลก 360 องศา EP.56 จาก https://www.youtube.com/watch?v=wf-Umzw2sBM

ส่อื การเรยี นร้แู ผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 13 : เอกสารประกอบการจดั การเรยี นรู้

ส่อื การเรียนร้แู ผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 13 : เอกสารประกอบการจดั การเรยี นรู้ (ตอ่ )

ส่อื การเรยี นร้แู ผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 13 : แบบฝกึ หดั

ส่อื การเรยี นรู้แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 13 : แบบฝึกหัด (ต่อ)

ส่อื การเรยี นรู้แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 13 : เฉลยแบบฝกึ หดั

ส่อื การเรยี นรู้แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 13 : เฉลยแบบฝกึ หัด (ตอ่ )

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 14 กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รหัสวิชา ว21102 ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 เวลา 1 คาบเรยี น ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 พลงั งานความรอ้ น เรอ่ื ง การคำนวณปริมาณความรอ้ นกบั การเปลี่ยนอุณหภูมขิ องสาร 1. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ชี้วดั มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏสิ มั พนั ธ์ระหวา่ งสสารและพลงั งาน พลังงานในชวี ิตประจาํ วนั ธรรมชาตขิ องคลน่ื ปรากฏการณ์ท่เี กี่ยวข้อง กับเสียง แสง และคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้ารวมท้ังนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตวั ชี้วดั ตวั ชว้ี ัด ม.1/1 วิเคราะห์ แปลความหมายข้อมูล และคำนวณปรมิ าณความร้อนที่ทำให้สสาร เปลี่ยนอณุ หภมู ิ และเปลีย่ นสถานะ โดยใชส้ มการ Q = mc∆t และ Q = mL 2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด สาระสําคัญ เมอื่ สสารได้รบั หรือสูญเสียความรอ้ นอาจทำให้สสารเปลี่ยนอณุ หภูมิ เปล่ียนสถานะ หรอื เปลย่ี น รปู รา่ งปริมาณความร้อนท่ีทำใหส้ สารเปลย่ี นอุณหภมู ขิ ึน้ กับมวล ความรอ้ นจำเพาะ และอุณหภมู ทิ ี่ เปล่ยี นไป 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ ดา้ นพุทธิพิสยั (Cognitive domain) นักเรียนสามารถอธิบายความร้เู กี่ยวกบั การคำนวณปริมาณความร้อนกับการเปล่ยี นแปลงอุณหภมู ิ โดยใช้สมการ Q = mc∆t ได้ ด้านทกั ษะพิสัย (Psychomotor domain) นกั เรียนสามารถคำนวณปริมาณความร้อนกับการเปล่ยี นแปลงอุณหภมู ิโดยใชส้ มการ Q = mc∆t ได้ ดา้ นจติ พสิ ัย (Affective domain) นักเรยี นมสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมการเรยี นรอู้ ยู่ในระดับดี

4. คุณลกั ษณะผู้เรียน 4.1 คณุ ลักษณะทพี่ งึ ประสงค์  รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์  อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง  ซอ่ื สตั ย์สจุ ริต  มงุ่ มั่นในการทำงาน  มีวินัย  รักความเป็นไทย  ใฝ่เรียนรู้  มีจิตสาธารณะ 5. ดา้ นสมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น  ความสามารถในการแก้ปญั หา : นักเรยี นสามารถแก้ปัญหาโจทย์การคำนวณปริมาณความร้อนกับ การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ โดยใชส้ มการ Q = mc∆t ได้  ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี : นักเรยี นสามารถใช้เทคโนโลยใี นการเรียนรู้ได้ 6. สาระการเรียนรู้ การเปลี่ยนสถานะของสารอาจเป็นการเปลีย่ นแปลงประเภทดูดพลังงานหรือคายพลังงาน ตัวอย่างการ เปลีย่ นแปลงสถานะของสารท่ีพบในชวี ิตประจำวันได้แก่ น้ำแข็งหลอมเหลวกลายเป็นนำ้ และน้ำได้รับความร้อน กลายเป็นไอเป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทดูดความร้อน ในทางตรงกันข้ามเมื่อไอน้ำเปลี่ยนสถานะกลับมาเป็น นำ้ และน้ำแข็ง เปน็ การเปล่ยี นแปลงประเภทคายความร้อน การคำนวณปรมิ าณความรอ้ นกบั การเปลี่ยนแปลงของสาร สามารถแยกพิจารณาได้ 2 กรณี ดังนี้ กรณที ี่ 1 การคำนวณปริมาณความรอ้ นกับการเปลีย่ นแปลงอุณหภมู ิ คำนวณไดจ้ าก สมการ Q = mc∆t เมอ่ื Q คอื ปริมาณความรอ้ นท่ีสารได้รบั มหี น่วยเปน็ แคลอรี M คอื มวลของสาร มีหน่วยเปน็ กรมั c คือ ความร้อนจำเพาะของสาร มีหน่วยเป็น แคลอรตี อ่ กรัม×องศาเซลเซยี ส ∆t คอื อณุ หภมู ขิ องนำ้ ทเ่ี ปลยี่ นไป มีหนว่ ยเปน็ องศาเซลเซียส กรณที ี่ 2 การคำนวณปริมาณความรอ้ นที่กับการเปลีย่ นสถานะ คำนวณได้จาก สมการ Q = mL เม่อื Q คอื ปรมิ าณความรอ้ น มหี นว่ ยเปน็ แคลอรี M คอื มวลของสาร มหี นว่ ยเป็นกรัม L คือ ความรอ้ นแฝงจำเพาะของสาร มหี น่วยเป็นแคลอรีตอ่ กรมั น้ำมีค่าความร้อนแฝงจำเพาะของการหลอมเหลว 80 แคลอรีต่อกรัม หมายความว่า ในการทำน้ำแข็ง 1 กรัม ใหห้ ลอมเหลวเป็นน้ำ ต้องใชพ้ ลังงานความรอ้ น 80 แคลอรี นำ้ มีคา่ ความร้อนแฝงจำเพาะของการกลายเป็นไอ 540 แคลอรตี ่อกรัม หมายความวา่ ในการทำน้ำ 1 กรมั อณุ หภมู ิ 100 องศาเซลเซียส ใหเ้ ปล่ียนเปน็ ไอน้ำ 1 กรมั อุณหภมู ิ 100 องศาเซลเซียส ตอ้ งใช้พลังงาน ความรอ้ น 540 แคลอรี

7. กจิ กรรมการเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้แบบหอ้ งเรยี นกลับด้าน (Flipped Classroom) 7.1 ขน้ั กำหนดยทุ ธวิธีเพิม่ พูนประสบการณ์ (Experiential Engagement) (ในชัน้ เรยี น) นกั เรยี นทบทวนความรู้เดิมเก่ียวกบั ผลของความร้อนกับการเปลย่ี นแปลงอณุ หภูมิของสาร ผา่ นการถามคำถามของครู ดังน้ี - ความรอ้ นมผี ลทำใหส้ ารเปลี่ยนอุณหภูมิ นกั เรียนจะคำนวณปรมิ าณความรอ้ นน้นั อย่างไร (แนวคำตอบ ใชส้ มการ Q = mc∆t) - จากสมการการคำนวณปริมาณความร้อนทีท่ ำให้สารเปลยี่ นอุณหภมู ิ แต่ละตัวแปรหมายถึงอะไร (แนวคำตอบ Q คือ ปรมิ าณความรอ้ นทส่ี ารไดร้ ับ มีหนว่ ยเปน็ แคลอรี M คือ มวลของสาร มีหน่วยเป็นกรมั c คอื ความรอ้ นจำเพาะของสาร มีหน่วยเปน็ แคลอรตี ่อกรัม×องศาเซลเซยี ส ∆t คือ อุณหภูมิของน้ำทเี่ ปลยี่ นไป มหี นว่ ยเปน็ องศาเซลเซยี ส) - ความร้อนจำเพาะของน้ำมคี ่าเทา่ ใด (แนวคำตอบ 1 แคลอรตี อ่ กรมั องศาเซลเซียส ) 7.2 ขน้ั สืบคน้ เพ่ือให้เกิดมโนทัศน์รวบยอด (Concept Exploration) (ศึกษานอกเวลาเรยี น) นักเรียนสืบคน้ และศึกษาวิดโี อ 2 : การคำนวณปรมิ าณความร้อนกบั การเปล่ียนแปลงอุณหภมู ิของ สาร เพ่อื ตอบคำถามในตัวอย่างท่ี 1 และ 2 เร่ืองการคำนวณปรมิ าณความร้อนกบั การเปลย่ี นแปลง อุณหภูมิของสาร ดังน้ี - สมการการคำนวณปริมาณความร้อนกับการเปล่ยี นแปลงอุณหภมู ขิ องสาร Q = mc∆t เมอื่ Q คือ ปริมาณความรอ้ นทีส่ ารไดร้ ับ มหี น่วยเป็นแคลอรี M คือ มวลของสาร มีหน่วยเป็นกรัม c คือ ความร้อนจำเพาะของสาร มหี นว่ ยเปน็ แคลอรตี ่อกรัม×องศาเซลเซยี ส ∆t คือ อณุ หภูมิของนำ้ ทเี่ ปลีย่ นไป มีหน่วยเปน็ องศาเซลเซียส - ขน้ั ตอนการแก้โจทยป์ ัญหาการคำนวณปริมาณความร้อนกับการเปล่ียนแปลงของสาร ตามแนวคิดของ Polya (1957) 4 ขั้นตอน ไดแ้ ก่

1. ทำความเข้าใจปญั หา 2. วางแผนการแก้ปญั หา 3. ดำเนินการตามแผน 4. ตรวจสอบผลลัพธ์ โดยใหน้ กั เรยี นศึกษาจากแหล่งสบื ค้นขอ้ มลู ทีค่ รูไดจ้ ดั เตรียมไว้ให้ หรือจากแหลง่ ข้อมลู อ่ืน ๆ Google sites : https://sites.google.com/wangchan.ac.th/mind-science นกั เรียนสรุปความคดิ สำคญั เรื่อง การคำนวณปริมาณความร้อนกบั การเปล่ียนแปลงอุณหภูมขิ อง สาร ลงในสมดุ 7.3 ข้ันสรา้ งองค์ความร้อู ยา่ งมคี วามหมาย (Meaning Making) (ศึกษานอกเวลาเรยี น) นักเรียนสรา้ งองค์ความรู้ เร่ือง การคำนวณปริมาณความร้อนกบั การเปล่ยี นแปลงอุณหภูมขิ องสาร ลงในสมุด และให้นักเรียนรว่ มกนั อภิปรายวธิ ีการแกโ้ จทย์การคำนวณของแบบฝกึ หดั ข้อท่ี 3 จากโจทย์ การคำนวณ ข้อท่ี 3 ต้องให้ความรอ้ นแก่ทองแดงมวล 100 กรัม อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซยี ส ก่ีแคลอรี เพือ่ ให้ ทองแดงเร่มิ หลอมเหลว (จุดหลอมเหลวของทองแดง มีคา่ 1,083 องศาเซลเซยี ส ความร้อนจำเพาะ ของทองแดง มคี ่า 0.09 แคลอรี/กรัม องศาเซลเซยี ส) นกั เรียนศกึ ษาและลงข้อสรุปจากส่ิงที่นกั เรียนศึกษา ให้ได้ถงึ ขน้ั ตอนการคำนวณปรมิ าณความรอ้ น กับการเปลยี่ นแปลงอณุ หภมู ิของสาร การคำนวณ การหาคำตอบ และการตรวจคำตอบ 7.4 ขั้นสาธิตและประยุกต์ใช้ (Demonstration & Application) (ในชั้นเรยี น) ครสู าธิตการแก้โจทยป์ ัญหาการคำนวณปรมิ าณความร้อนกับการเปล่ียนแปลงอุณหภูมขิ องสาร โดยกระบวนการแกโ้ จทย์ปัญหาโดยใช้กระบวนการของ Polya โดยเรมิ่ จากการอธิบายกระบวนการการ แกโ้ จทยป์ ญั หาตามแนวคดิ ของ Polya ว่า ประกอบไปด้วย 4 ขัน้ ตอน ได้แก่ ข้ันท่ี 1 ทำความเขา้ ใจโจทย์ ปัญหา ข้ันท่ี 2 วางแผนแกโ้ จทย์ปัญหา ข้นั ที่ 3 ปฏิบตั ติ ามแผน ขนั้ ที่ 4 ตรวจสอบผลลัพธ์ พรอ้ มทงั้ อธบิ าย รายละเอียดในแต่ละขั้นตอน ดงั น้ี ขอ้ ท่ี 3 ต้องให้ความรอ้ นแก่ทองแดงมวล 100 กรมั อณุ หภูมิ 30 องศาเซลเซยี ส ก่ีแคลอรี เพอื่ ให้ ทองแดงเร่มิ หลอมเหลว (จดุ หลอมเหลวของทองแดง มีค่า 1,083 องศาเซลเซยี ส ความร้อนจำเพาะของ ทองแดง มีคา่ 0.09 แคลอรี/กรมั องศาเซลเซียส)

ขั้นที่ 1 ทำความเขา้ ใจโจทย์ปญั หา นกั เรียนและครูร่วมกนั วิเคราะห์ทำความเขา้ ใจโจทย์ โดยให้ นกั เรยี นร่วมบอกรายละเอียดว่าโจทย์ปัญหาว่าเปน็ เรอื่ งราวเกีย่ วกบั อะไร บอกสง่ิ ท่โี จทย์กำหนดให้ บอกสง่ิ ทโ่ี จทยถ์ าม ผ่านการตัง้ คำถาม ดงั นี้ - โจทยป์ ัญหาขอ้ นเ้ี ป็นเรื่องราวเกี่ยวกบั อะไร - โจทย์กำหนดอะไรให้บ้าง - โจทย์กำหนดประโยค “เพ่อื ให้ทองแดงเรม่ิ หลอมเหลว” หมายความว่าอย่างไร - โจทยถ์ ามอะไร โดยให้นักเรียนเขียนสิ่งท่ีโจทย์กำหนดใหพ้ ร้อมหนว่ ย ดา้ นบทโจทย์ปัญหา ข้นั ท่ี 2 วางแผนแก้ปญั หา นกั เรยี นรว่ มกนั แก้โจทยป์ ญั หาโดยใหน้ ักเรียนบอกขนั้ ตอน วิธีการหา คำตอบว่าต้องทำอย่างไร - ตอ้ งให้ความร้อนแกท่ องแดงกแี่ คลอรี หาค่า Q เมื่อ ให้ความร้อนกบั ทองแดงมวล 100 กรมั อณุ หภูมิ 30 องศาเซลเซียส จนทองแดงเริม่ หลอมเหลว หมายถงึ จดุ หลอมเหลวของทองแดง มคี ่า 1,083 องศาเซลเซยี ส อุณหภมู ิทเ่ี ปลี่ยนแปลงไป หาได้จาก 1,083 – 30 = 1,053 องศาเซลเซียส โจทยก์ ำหนดให้ ความร้อนจำเพาะของทองแดง มคี ่า 0.09 แคลอรี/กรัม องศาเซลเซียส จากนั้นนำคา่ ไปแทนในสมการ เพอื่ หาคำตอบค่า Q - นำคา่ ท่โี จทย์กำหนดใหแ้ ทนลงในสมการ Q = mc∆t เพือ่ หาคำตอบของโจทยป์ ัญหาข้อน้ี ขัน้ ท่ี 3 ปฏบิ ัติตามแผน นักเรยี นและครูลงมือปฏิบัติตามแผน โดยคดิ คำนวณหาคำตอบและ แสดงวธิ ีทำ เพือ่ คำตอบของโจทย์ปญั หา ดังนี้ จากสมการ Q = mc∆t แทนคา่ ������ = 100 ������ 0.09 ������ (1,053) Q = 9,477 ดงั น้ัน ต้องให้ความร้อนแก่ทองแดง 9,477 แคลอรี ขั้นท่ี 4 ตรวจสอบผลลัพธ์ นกั เรียนและครรู ่วมกันพิจารณาความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้ รวมถงึ พจิ ารณาวิธีการแก้ปัญหาอนื่ ๆ อีกหรอื ไม่ ผา่ นการตั้งคำถาม ดังน้ี - จะมีวธิ กี ารใดในการแกโ้ จทย์ปญั หาอน่ื ๆ อีกหรอื ไม่ อย่างไร - นักเรียนมวี ธิ ีการตรวจสอบผลลัพธข์ องตนเองวา่ คำตอบถูกตอ้ งหรอื ไม่ อย่างไร นักเรียนและครูทำแบบฝึกหดั เรื่อง ความร้อนกับการเปล่ียนแปลงอณุ หภมู ิของสาร หนา้ ท่ี 3 (ข้อท่ี 4) ครูถามนักเรยี นเปน็ ระยะเพือ่ กระตุ้นและตรวจสอบความเข้าใจ แนะนำ ช่วยเหลอื นกั เรยี น และ ตรวจสอบนักเรยี นและให้นกั เรียนสง่ แบบฝึกหดั เพื่อนำมาตรวจสอบการทำงานของนักเรียนอีกคร้ังหนึ่ง

8. ช้นิ งาน / ภาระงาน - แบบฝึกหัด เรือ่ ง การคำนวณปริมาณความรอ้ นกบั การเปลีย่ นแปลงอุณหภมู ิของสาร 9. สื่อการเรียนรู้ / แหลง่ เรียนรู้ Google sites : https://sites.google.com/wangchan.ac.th/mind-science 10. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ จุดประสงค์ วธิ ีการวัด เครื่องมอื เกณฑก์ ารประเมิน ข้อคำถาม ตอบคำถามได้ถูกต้องร้อยละ 70 1. ดา้ นพุทธพิ ิสัย (Cognitive domain) นกั เรียนสามารถอธิบาย การตอบคำถาม ความรูเ้ ก่ียวกับการ ในช้ันเรียน คำนวณปริมาณความ ร้อนกบั การเปลีย่ นแปลง อุณหภมู ิ โดยใช้สมการ Q = mc∆t ได้ 2. ดา้ นทกั ษะพิสัย (Psychomotor domain) นกั เรียนสามารถคำนวณ การทำแบบฝึกหดั แบบฝึกหัด ผา่ นเกณฑ์การประเมินทักษะ การคำนวณปริมาณความรอ้ นกบั ปริมาณความร้อนกับ การเปลี่ยนแปลงของสาร ร้อยละ 70 การเปลี่ยนแปลง มีสว่ นรว่ มในกจิ กรรมการเรยี นรู้ อุณหภูมิโดยใชส้ มการ ผ่านเกณฑร์ ้อยละ 70 Q = mc∆t ได้ 3. ด้านจิตพสิ ยั (Affective domain) นักเรยี นมีสว่ นรว่ ม สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกตพฤติกรรม ในกจิ กรรมการเรยี นรู้ การเรียน การเรยี น อยู่ในระดบั ดี

แบบวิเคราะห์การประเมินผลการเรียนรู้ (Assessment blueprint) แบบวเิ คราะหก์ ารประเมินผลการเรยี นรู้ (Assessment blueprint) ประกอบด้วย วตั ถปุ ระสงค์ การเรยี นรู้ที่ต้องการวัด และความสอดคล้องดา้ นพทุ ธพิ สิ ัย ทกั ษะพสิ ยั และจิตพิสัย พฤตกิ รรมการประเมนิ เทคนิค การ วตั ถปุ ระสงค์ พุทธิพิสัย ระดับพฤติกรรม (%) จติ พสิ ยั ประเมนิ ทกั ษะพิสยั 1 2 3 4 5 6 รวม 1 2 3 4 5 6 7 รวม 1 2 3 4 5 รวม นักเรยี นสามารถ แบบประเมนิ อธบิ ายความรู้ การตอบ เก่ยี วกบั การ คำถาม คำนวณปรมิ าณ ความรอ้ นกับการ 60 20 20 100 เปลีย่ นแปลง อุณหภมู ิ โดยใช้ สมการ Q = mc∆t 2. นักเรยี นสามารถ 50 50 100 แบบประเมนิ คำนวณปรมิ าณ ทกั ษะการ ความรอ้ นกบั การ แก้ปญั หา เปลยี่ นแปลง โจทย์การ อณุ หภูมิโดยใช้ คำนวณ สมการ Q = mc∆t ปริมาณความ ได้ ร้อนกับการ เปลีย่ นแปลง ของสาร 3. นักเรียนมี 20 40 20 แบบสังเกต ส่วนรว่ มใน พฤติกรรม กจิ กรรมการ เรยี นรู้ 20 100 การเรียน อยใู่ นระดับดี รวม 60 20 20 100 50 50 100 20 40 20 20 100

**หมายเหตุ : ความหมายของตารางวเิ คราะหก์ ารประเมิน พุทธิพิสยั ทกั ษะพสิ ยั จิตพสิ ัย 1 = ความจำ 1 = การรับรู้ 1 = การรบั รสู้ ิง่ เร้า 2 = เข้าใจ 2 = การตระเตรยี ม 2 = การตอบสนอง 3 = นำไปใช้ 3 = การตอบสนองตามคำช้ีแนะ 3 = การสร้างคณุ ค่า 4 = วเิ คราะห์ 4 = การสร้างกลไก 4 = การจดั ระบบคุณค่า 5 = ประเมินคา่ 5 = การตอบสนองท่ซี ับซ้อนขึ้น 5 = การสร้างลกั ษณะนสิ ยั 6 = สรา้ งสรรค์ 6 = การดดั แปลงให้เหมาะสม 7 = การรเิ ริม่ ใหม่

คำอธบิ ายประกอบการประเมนิ ดา้ นพทุ ธิพสิ ัย (Cognitive domain) แบบประเมนิ การตอบคำถาม คำชแี้ จง : ให้ผปู้ ระเมนิ ทำการตอบคำถามของนักเรยี น ตามเกณฑก์ ารประเมินการตอบคำถาม (ความถูกต้อง) ลำดบั ชื่อ - สกุล ระดับคะแนน สรปุ การประเมนิ ที่ 5 4 3 2 1 0 ผ่าน ไมผ่ า่ น 1 2 3 4 5 6 ลงชื่อ.....................................................ผปู้ ระเมนิ (นางสาวธนั ยาภรณ์ จลุ ศกั ด์ิ) วันที.่ ............เดือน.....................พ.ศ............ เกณฑ์การประเมินการตอบคำถาม เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : พจิ ารณาดังตารางต่อไปนี้ ประเด็นที่ 5 4 ระดบั คะแนน 1 0 ประเมนิ 32 คำตอบ คำตอบถกู ตอ้ ง คำตอบ คำตอบ คำตอบ ถกู ต้อง 5 ข้อ ถกู ตอ้ ง คำตอบ คำตอบถกู ตอ้ ง ถกู ตอ้ ง ไมถ่ กู ตอ้ ง 4 ข้อ ถกู ต้อง 2 ข้อ 1 ขอ้ 3 ขอ้ เกณฑ์การผา่ นการประเมนิ : นกั เรียนมรี ะดบั คะแนน 3 ข้ึนไป

คำอธบิ ายประกอบการประเมนิ ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor domain) แบบประเมนิ ทักษะการแกป้ ัญหาโจทยก์ ารคำนวณปรมิ าณความรอ้ นกับการเปล่ียนแปลงของสาร คำช้แี จง : ใหผ้ ูป้ ระเมนิ ทำการประเมนิ แบบประเมินทกั ษะการแก้ปัญหาโจทย์การคำนวณ ลำดบั ชอื่ - สกลุ ระดับคะแนน 0 สรปุ การประเมนิ ที่ ผา่ น ไมผ่ ่าน 9- 7-8 5-6 3-4 1- 10 2 1 2 3 4 5 6 ลงชื่อ.....................................................ผ้ปู ระเมนิ (นางสาวธนั ยาภรณ์ จลุ ศักดิ)์ วนั ท.ี่ ............เดือน.....................พ.ศ

เกณฑ์การประเมนิ ทกั ษะการแก้ปัญหาโจทยก์ ารคำนวณปรมิ าณความร้อนกับการเปลีย่ นแปลงของสาร เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : พจิ ารณาดงั ตารางต่อไปนี้ เกณฑ์การใหค้ ะแนน คะแนน 1. ทำความเข้าใจปญั หา 2 - เขียนสงิ่ ทโ่ี จทยกำหนดให้ และสิง่ ทโี่ จทย์ถามไดถ้ กู ตอ้ งครบถว้ น 2 - เขียนสิ่งทโี่ จทยกำหนดให้ และสงิ่ ท่ีโจทย์ถามไดถ้ ูกตอ้ งไดบ้ างสว่ น 1 - เขียนสงิ่ ท่ีโจทย์กำหนดให้และสิง่ ท่ีโจทยถ์ ามไม่ถูกต้อง หรือไม่เขียน 0 2. วางแผนการแกป้ ญั หา 2 - เขียนวธิ ีแก้ปญั หาไดถ้ กู ตอ้ ง 2 - เขยี นวิธีแกป้ ญั หา ซ่งึ อาจจะนำไปสู่คำตอบท่ีถูกตอ้ ง แตย่ งั มีบางส่วนผดิ 1 - เขยี นวิธีแก้ปญั หาไมถ่ ูกต้อง หรือไม่เขยี น 0 3. ดำเนนิ การตามแผน 4 - เขยี นแสดงการคำนวณไดถ้ ูกต้องชัดเจนและหาคำตอบได้ถูกต้องครบถ้วน 4 - เขยี นแสดงการคำนวณไดถ้ กู ต้องชดั เจนและหาคำตอบได้ถูกต้องบางส่วน 3 - เขียนแสดงการคำนวณไดถ้ กู ตอ้ งบางส่วนและหาคำตอบไดถ้ ูกต้องครบถ้วน - เขียนแสดงการคำนวณได้ถกู ตอ้ งบางสว่ นและหาคำตอบได้ถูกต้องบางส่วน 2 - เขียนแสดงการคำนวณไดถ้ ูกตอ้ งบางส่วนและหาคำตอบไม่ถกู ต้องหรอื 1 ไมเ่ ขยี น 0 - เขียนแสดงการคำนวณไมถ่ ูกต้องหรอื ไม่เขียนและหาคำตอบได้ถูกต้อง 2 2 บางสว่ น 1 - เขียนแสดงการคำนวณไมถ่ ูกต้องและหาคำตอบไมถ่ กู ต้องหรือไม่เขียน 0 4. ตรวจสอบผลลพั ธ์ - เขยี นแสดงการตรวจคำตอบของปัญหาไดถ้ ูกตอ้ ง - เขียนแสดงการตรวจคำตอบของปัญหาได้ถูกตอ้ งบางส่วน - เขียนแสดงการตรวจคำตอบของปญั หาไมถ่ ูกตอ้ ง - ไมเ่ ขียนแสดงการตรวจคำตอบของปัญหา เกณฑก์ ารผา่ นการประเมิน : นกั เรยี นมี 8 คะแนนคดิ เปน็ ร้อยละ 70 ข้นึ ไป

บันทกึ หลังการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 5 พลังงานความร้อน...... ... ... แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 14 การคำนวณปริมาณความรอ้ นกบั การเปลีย่ นแปลงอณุ หภูมิของสาร 1. สรุปผลการเรียนการสอน 1. นกั เรยี นจำนวน..1...2..2.... .คน ผ่านจุดประสงค์การเรียนร.ู้ ..1..2...2..........คน คิดเปน็ รอ้ ยละ.....1...0..0.......... ไม่ผ่านจุดประสงค์.......................คน คดิ เปน็ ร้อยละ.................... ได้แก่........................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 2. สรุปผลตามรายจุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 ดา้ นพทุ ธพิ ิสยั (Cognitive domain) .........น..ัก...เ.ร..ีย..น...ส..า..ม...า..ร..ถ..อ..ธ..บิ...า..ย..ค...ว..า..ม..ร..เู้..ก..่ยี..ว..ก...บั ..ก...า..ร..ค..ำ..น...ว.ณ.. ป...ร..ิม..า..ณ....ค..ว..า..ม...ร..อ้ ..น...ก..ับ...ก..า..ร..เ.ป...ล..่ีย...น..แ...ป..ล...ง..อ..ุณ...ห...ภ...มู ..ิ ...... .....โ.ด...ย..ใ..ช..ส้ ..ม...ก..า..ร...Q.....=.....m....c..∆...t...ไ.ด...้อ..ย..่า..ง..ถ..ูก...ต..้อ...ง.............. ...................................................................... ............ 2.2 ด้านทักษะพิสยั (Psychomotor domain) .........น..ัก...เ.ร..ยี..น...ส..า..ม...า..ร..ถ..ค..ำ..น...ว..ณ...เ..ก..่ีย..ว...ก..ับ...ก..า..ร..ค..ำ..น...ว..ณ...ป...ร..ิม..า..ณ...ค...ว..า..ม..ร..อ้...น..ก...บั ..ก...า..ร..เ.ป...ล..่ยี..น...แ..ป...ล..ง..อ...ณุ ...ห...ภ..ูม..ิ............... .....โ.ด...ย..ใ..ช..ส้..ม...ก..า..ร...Q.....=.....m....c..∆...t...ไ.ด...อ้ ..ย..่า..ง..ถ..ูก...ต..้อ...ง................................................................................................ 2.3 ด้านจิตพิสยั (Affective domain) .........น..ัก...เ.ร..ยี..น...ม..สี...ว่ ..น..ร..่ว...ม..ใ..น..ก..ิจ...ก..ร..ร..ม...ก..า..ร..เ.ร..ีย...น..ร..ู้ใ..น..ร..ะ..ด...ับ..ด...ี ............................................................................... ....................................................................................................................................................................... 3. ขอ้ เสนอแนะหลงั การจัดการเรยี นการสอน ......อ...า..จ..เ.พ...่มิ..โ..จ..ท...ย..์ป...ญั ...ห...า..ใ.ห...้น..ัก...เ.ร..ยี..น...ฝ..กึ...ก..า..ร..ค...ำ.น...ว..ณ....เ.พ...ม่ิ ..ม..า..ก..ข...้ึน....โ.ด...ย..ใ..ห..้น...กั ..เ.ร..ยี...น..เ..ล..อื..ก...ท..ำ..ต...า..ม..ค...ว..า..ม..ส...ม..ัค..ร..ใ..จ..... ห...ร..ือ..ฝ...ึก..ใ..ห..น้...ัก..เ..ร..ีย..น...ค..ิด..โ..จ..ท...ย..ป์...ัญ...ห...า..ด..้ว..ย...ต..น...เ.อ..ง.................................................................................................. ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ลงชอื่ ........................................................ (นางสาวธันยาภรณ์ จลุ ศักด์)ิ ครูผูส้ อน

ความคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ได้ตรวจแผนการจัดการเรยี นรหู้ นว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5 เรอื่ ง พลังงานความร้อน ในแผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 14 เร่อื ง การคำนวณปริมาณความร้อนกับการเปลย่ี นแปลงอุณหภมู ิของสาร เรียบรอ้ ยแล้ว โดยมีความคิดเห็น ดังนี้ 1. คุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้  ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรุง 2. ความสอดคล้องของมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชวี้ ัด  สอดคลอ้ ง  ไมส่ อดคลอ้ ง 3. การจดั กิจกรรมการเรียนรู้  ไดน้ ำกระบวนการเรียนรู้ทีเ่ นน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญมาใชไ้ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม  ไมไ่ ด้นำกระบวนการเรยี นร้ทู ีเ่ นน้ ผู้เรียนเป็นสำคญั มาใช้ 4. การใชส้ อื่ การเรยี นรู้  มีความเหมาะสมและสง่ เสรมิ การเรยี นร้ขู องผ้เู รียน  ไมส่ ่งเสริมการเรียนรู้ของผเู้ รยี น 5. การวดั และการประเมนิ ผล  สอดคล้องกับจดุ ประสงค์การเรยี นรู้  ไม่สอดคล้องกับจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 6. การนำแผนการจัดการเรียนรไู้ ปใช้  นำไปใช้ไดจ้ รงิ  ควรปรับปรุงก่อนนำไปใช้ ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ ............................................................................................................................. ............................................ ....................................................................................... .................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................ .................................................................................................................................. ....................................... ลงช่อื ..................................................... (นางรชั นี หนนู อ้ ย) ตำแหน่ง หวั หน้ากลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี วนั ที่ ............ เดือน ........................... พ.ศ. ..............

ความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะของผบู้ ริหาร ได้ตรวจแผนการจดั การเรียนรหู้ น่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 เร่อื ง พลังงานความร้อน ในแผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 14 เรื่อง การคำนวณปรมิ าณความรอ้ นกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภมู ิของสาร เรยี บรอ้ ยแลว้ โดยมคี วามคิดเหน็ ดังน้ี 1. คณุ ภาพของแผนการจัดการเรียนรู้  ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรงุ 2. ความสอดคล้องของมาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตวั ชีว้ ัด  สอดคลอ้ ง  ไม่สอดคล้อง 3. การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้  ได้นำกระบวนการเรียนรู้ทีเ่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั มาใช้ได้อยา่ งเหมาะสม  ไม่ไดน้ ำกระบวนการเรยี นรูท้ เี่ น้นผู้เรียนเปน็ สำคญั มาใช้ 4. การใช้สอ่ื การเรียนรู้  มคี วามเหมาะสมและสง่ เสริมการเรยี นรูข้ องผู้เรียน  ไม่ส่งเสริมการเรยี นรู้ของผเู้ รยี น 5. การวัดและการประเมินผล  สอดคลอ้ งกับจุดประสงค์การเรียนรู้  ไม่สอดคลอ้ งกับจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 6. การนำแผนการจัดการเรยี นรู้ไปใช้  นำไปใช้ได้จรงิ  ควรปรบั ปรุงกอ่ นนำไปใช้ ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ ......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................ ............................................................................................................................. ............................................ ......................................................................................................................................................... ลงช่ือ ..................................................... (นางสมัชญา ผดุ ผ่อง) ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการโรงเรยี นวงั จันทร์วทิ ยา กลุ่มบรหิ ารงานวชิ าการ วันท่ี ............ เดอื น ........................... พ.ศ. ..............

ส่อื การเรยี นรู้แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 14 : ส่อื วดี ิทศั น์

ส่อื การเรยี นรู้แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 14 : เอกสารประกอบการจดั การเรยี นรู้

ส่อื การเรียนร้แู ผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 14 : เอกสารประกอบการจดั การเรยี นรู้ (ตอ่ )

ส่อื การเรยี นร้แู ผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 14 : แบบฝกึ หดั

ส่อื การเรยี นรู้แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 14 : แบบฝึกหัด (ต่อ)

ส่อื การเรยี นรู้แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 14 : เฉลยแบบฝกึ หดั

ส่อื การเรยี นรู้แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 14 : เฉลยแบบฝกึ หัด (ตอ่ )

แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 15 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว21102 ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 1 เวลา 1 คาบเรยี น ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2565 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 5 พลังงานความร้อน เร่ือง การคำนวณปริมาณความร้อนกับการเปล่ียนสถานะของสาร 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้ีวดั มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธร์ ะหวา่ งสสารและพลังงาน พลังงานในชวี ิตประจําวัน ธรรมชาติของคลนื่ ปรากฏการณท์ เี่ กี่ยวข้อง กบั เสยี ง แสง และคลน่ื แม่เหล็กไฟฟ้ารวมทงั้ นําความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตวั ชี้วัด ตวั ชีว้ ดั ม.1/1 วเิ คราะห์ แปลความหมายข้อมูล และคำนวณปรมิ าณความร้อนท่ีทำให้สสาร เปลย่ี นอณุ หภมู ิ และเปลีย่ นสถานะ โดยใช้สมการ Q = mc∆t และ Q = mL 2. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด สาระสําคญั ความรอ้ นมีผลต่อการเปล่ียนสถานะของสสาร เม่ือใหค้ วามร้อนแก่ของแข็ง อนุภาคของของแข็ง จะมพี ลังงานและอุณหภูมเิ พ่ิมขึ้นจนถึงระดับหนงึ่ ซึง่ ของแข็งจะใชค้ วามร้อนในการเปล่ยี นสถานะเป็น ของเหลว เรียกความรอ้ นท่ีใช้ในการเปลยี่ นสถานะจากของแข็งเปน็ ของเหลวว่า ความร้อนแฝงของการ หลอมเหลว และอุณหภูมิขณะเปลี่ยนสถานะจะคงท่ี เรยี กอณุ หภมู ิน้ีวา่ จดุ หลอมเหลว 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ดา้ นพทุ ธพิ สิ ยั (Cognitive domain) นกั เรยี นสามารถอธบิ ายความร้เู กีย่ วกับการคำนวณปรมิ าณความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของ สารโดยใชส้ มการ Q = mL ได้ ดา้ นทกั ษะพสิ ัย (Psychomotor domain) นกั เรียนสามารถคำนวณปริมาณความร้อนกบั การเปล่ียนสถานะของสารโดยใชส้ มการ Q = mL ได้ ดา้ นจิตพิสัย (Affective domain) นกั เรียนมสี ่วนร่วมในกจิ กรรมการเรยี นรอู้ ยใู่ นระดับดี

4. คุณลกั ษณะผ้เู รียน 4.1 คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์  รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์  อยูอ่ ย่างพอเพียง  ซ่ือสัตยส์ จุ ริต  ม่งุ มั่นในการทำงาน  มีวินัย  รกั ความเป็นไทย  ใฝเ่ รยี นรู้  มจี ิตสาธารณะ 5. ดา้ นสมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น  ความสามารถในการคดิ : นกั เรียนสามารถอธบิ ายความรู้เกยี่ วกับการคำนวณปรมิ าณความร้อนกับ การเปลยี่ นสถานะของสาร โดยใชส้ มการ Q = mL ได้  ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี : นกั เรียนสามารถใช้เทคโนโลยใี นการเรยี นรไู้ ด้ 6. สาระการเรยี นรู้ การเปล่ยี นสถานะของสารอาจเปน็ การเปลี่ยนแปลงประเภทดดู พลังงานหรือคายพลังงาน ตัวอย่างการ เปลยี่ นแปลงสถานะของสารท่ีพบในชวี ิตประจำวันได้แก่ นำ้ แขง็ หลอมเหลวกลายเป็นนำ้ และนำ้ ได้รับความร้อน กลายเป็นไอเป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทดูดความร้อน ในทางตรงกันข้ามเมื่อไอน้ำเปลี่ยนสถานะกลับมาเป็น น้ำและน้ำแข็ง เป็นการเปล่ยี นแปลงประเภทคายความร้อน การคำนวณปริมาณความร้อนกับการเปลีย่ นแปลงของสาร สามารถแยกพิจารณาได้ 2 กรณี ดังนี้ กรณีที่ 1 การคำนวณปรมิ าณความรอ้ นกบั การเปล่ียนแปลงอณุ หภูมิ คำนวณได้จาก สมการ Q = mc∆t เม่ือ Q คอื ปริมาณความร้อนทสี่ ารได้รบั มีหน่วยเป็นแคลอรี m คือ มวลของสาร มหี น่วยเป็นกรัม c คือ ความร้อนจำเพาะของสาร มีหนว่ ยเป็น แคลอรตี อ่ กรมั ×องศาเซลเซียส ∆t คือ อณุ หภูมิของน้ำทเี่ ปล่ยี นไป มีหน่วยเปน็ องศาเซลเซยี ส กรณที ี่ 2 การคำนวณปรมิ าณความรอ้ นท่ีกับการเปลย่ี นสถานะ คำนวณไดจ้ าก สมการ Q = mL เม่ือ Q คอื ปรมิ าณความรอ้ น มีหน่วยเปน็ แคลอรี m คอื มวลของสาร มีหน่วยเป็นกรมั L คอื ความร้อนแฝงจำเพาะของสาร มหี น่วยเปน็ แคลอรีตอ่ กรมั น้ำมีค่าความร้อนแฝงจำเพาะของการหลอมเหลว 80 แคลอรีต่อกรัม หมายความว่า ในการทำน้ำแข็ง 1 กรมั ใหห้ ลอมเหลวเปน็ น้ำ ต้องใชพ้ ลงั งานความร้อน 80 แคลอรี นำ้ มีค่าความร้อนแฝงจำเพาะของการกลายเป็นไอ 540 แคลอรตี ่อกรัม หมายความว่า ในการทำนำ้ 1 กรมั อณุ หภมู ิ 100 องศาเซลเซียส ใหเ้ ปล่ียนเป็นไอนำ้ 1 กรัม อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซยี ส ต้องใช้พลังงาน ความรอ้ น 540 แคลอรี

7. กจิ กรรมการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้แบบหอ้ งเรียนกลับดา้ น (Flipped Classroom) 7.1 ขนั้ กำหนดยุทธวธิ ีเพิ่มพนู ประสบการณ์ (Experiential Engagement) (ในช้ันเรียน) นักเรยี นทบทวนความรเู้ ดมิ เก่ียวกบั ผลของความร้อนกับการเปลีย่ นสถานะของสาร ผ่านประเดน็ คำถามท่ีครูต้ังขึ้นจากสถานการณ์จำลองของขวัญวันวาเลนไทน์ “การเปลี่ยนรปู ร่างของ ชอ็ กโกแลต” ดังนี้ - นักเรยี นคดิ วา่ เพราะเหตุใดชอ็ กโกแลตจงึ มรี ูปรา่ งท่แี ตกต่างไปจากเดมิ (แนวคำตอบ ช็อกโกแลตเกิดการละลาย) - นักเรียนคิดว่าช็อกโกแลตทีเ่ กิดการละลายน้นั มีการเปลยี่ นแปลงอย่างไร (แนวคำตอบ เปน็ การเปล่ยี นสถานะจากของแข็งเปน็ ของเหลว โดยเปลย่ี นแปลงประเภทดูดความ รอ้ น) - นอกจากสถานการณจ์ ำลองนี้ นกั เรยี นเคยพบเหน็ หรือมีประสบการณ์เกีย่ วข้องกบั การพลังงาน ความรอ้ นกับการเปล่ยี นแปลงสถานะของสารอย่างไรบา้ ง และเหตกุ ารณท์ ่นี ักเรยี นเคยพบเห็นมี ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งการปริมาณความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะอยา่ งไร (พิจารณาจากความเหมาะสมของคำตอบ) 7.2 ขั้นสบื ค้นเพ่ือให้เกิดมโนทัศนร์ วบยอด (Concept Exploration) (ศึกษานอกเวลาเรยี น) นักเรียนสืบคน้ และศึกษาวิดโี อ 3 : การคำนวณปรมิ าณความร้อนกับการเปล่ียนสถานะของสาร เพอ่ื ตอบคำถามในแบบฝกึ หัดข้อท่ี 1 เรื่องการคำนวณปริมาณความร้อนกบั การเปลยี่ นสถานะของสาร ดังนี้ - สมการการคำนวณปรมิ าณความรอ้ นกับการเปลย่ี นสถานะของสาร Q = mL เมือ่ Q คือ ปริมาณความร้อน มีหน่วยเป็นแคลอรี m คือ มวลของสาร มีหนว่ ยเป็นกรมั L คือ ความรอ้ นแฝงจำเพาะของสาร มหี นว่ ยเป็นแคลอรตี ่อกรัม - ขั้นตอนการแก้โจทย์ปัญหาการคำนวณปริมาณความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงของสารตาม แนวคดิ ของ Polya (1957) 4 ขัน้ ตอน ได้แก่ 1. ทำความเข้าใจปญั หา 2. วางแผนการแก้ปัญหา 3. ดำเนินการตามแผน 4. ตรวจสอบผลลพั ธ์ โดยให้นกั เรียนศึกษาจากแหล่งสืบค้นขอ้ มูลทคี่ รูไดจ้ ัดเตรียมไวใ้ ห้ หรอื แหล่งขอ้ มูลอื่น ๆ

Google sites : https://sites.google.com/wangchan.ac.th/mind-science นกั เรียนสรปุ ความคิดสำคัญ เรอ่ื ง การคำนวณปริมาณความร้อนกบั การเปลีย่ นสถานะของสาร ลงในสมดุ 7.3 ขน้ั สร้างองคค์ วามรอู้ ย่างมคี วามหมาย (Meaning Making) (ศกึ ษานอกเวลาเรยี น) นกั เรียนสรา้ งองคค์ วามรู้ เรื่อง การคำนวณปริมาณความร้อนกับการเปลยี่ นสถานะของสาร ลงในสมุด และใหน้ ักเรยี นรว่ มกนั อภิปรายวิธีการแก้โจทย์การคำนวณของแบบฝึกหดั ขอ้ ที่ 1 จากโจทย์การคำนวณ ข้อท่ี 1 ต้องใชป้ รมิ าณความรอ้ นเท่าใดในการทำให้แทง่ ทองแดงมวล 50 กรัม อุณหภูมิ 1,083 องศาเซลเซียส หลอมเหลวท้ังหมดพอดี (ความร้อนแฝงจำเพาะของการหลอมเหลวของทองแดงเท่ากับ 32 แคลอรี/กรมั ) นกั เรียนศึกษาและลงข้อสรุปจากสงิ่ ท่นี ักเรียนศึกษา ให้ได้ถงึ ขัน้ ตอนการคำนวณปริมาณความรอ้ น กบั การเปล่ียนสถานะของสาร การคำนวณ การหาคำตอบ และการตรวจคำตอบ 7.4 ขน้ั สาธติ และประยกุ ตใ์ ช้ (Demonstration & Application) (ในช้นั เรียน) ครูสาธิตการแก้โจทยป์ ัญหาการคำนวณปรมิ าณความร้อนกับการเปลยี่ นสถานะของสาร โดย กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาโดยใชก้ ระบวนการของ Polya โดยเริ่มจากการอธบิ ายกระบวนการการแก้ โจทยป์ ัญหาตามแนวคิดของ Polya ว่า ประกอบไปด้วย 4 ขน้ั ตอน ไดแ้ ก่ ขน้ั ที่ 1 ทำความเข้าใจโจทย์ ปัญหา ข้ันที่ 2 วางแผนแก้โจทยป์ ัญหา ข้ันท่ี 3 ปฏิบัติตามแผน ขน้ั ท่ี 4 ตรวจสอบผลลพั ธ์ พรอ้ มท้ังอธบิ าย รายละเอียดในแตล่ ะข้ันตอน ดังน้ี ขอ้ ที่ 1 ต้องใชป้ รมิ าณความรอ้ นเทา่ ใดในการทำใหแ้ ทง่ ทองแดงมวล 50 กรัม อณุ หภูมิ 1,083 องศาเซลเซยี ส หลอมเหลวท้ังหมดพอดี (ความร้อนแฝงจำเพาะของการหลอมเหลวของทองแดงเทา่ กบั 32 แคลอรี/กรมั ) ข้ันท่ี 1 ทำความเข้าใจโจทย์ปัญหา นักเรียนและครูร่วมกันวเิ คราะห์ทำความเขา้ ใจโจทย์ โดยให้ นักเรยี นร่วมบอกรายละเอยี ดว่าโจทย์ปัญหาว่าเป็นเรอื่ งราวเกีย่ วกบั อะไร บอกสิง่ ทโ่ี จทย์กำหนดให้ บอกสง่ิ ทโ่ี จทยถ์ าม ผ่านการตั้งคำถาม ดังนี้ - โจทยป์ ญั หาขอ้ นเี้ ป็นเร่ืองราวเก่ียวกบั อะไร - โจทย์กำหนดอะไรให้บ้าง - โจทย์กำหนดประโยค “หลอมเหลวท้ังหมดพอดี” หมายความว่าอยา่ งไร - โจทยถ์ ามอะไร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook