Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เทสธรรมล้านนา

เทสธรรมล้านนา

Published by sutthirak147izaak, 2021-09-24 09:02:07

Description: เทสธรรมล้านนา

Keywords: เทสธรรม

Search

Read the Text Version

1

วิถเี ทศน์ในล้านนา 978-616-300-118-4 สนบั สนนุ การพิมพ์โดย โครงการตามรอยสงั ฆปราชญ์แหง่ ล้านนา 2ก

กรรมการกล่ันกรองเอกสารวชิ าการ (Peer Review) พระครูธรี สตุ พจน์ พระใบฏกี าเสน่ห์ ญาณเมธี, ดร. ผศ. ดร. วโิ รจน์ อินทนนท ์ นายเจรญิ มาลาโรจน์ (มาลา คำ� จนั ทร์) นายเกริก อัครชโิ นเรศ นางร่งุ ทพิ ย์ กลา้ หาญ ผู้เขียน พระนคร ปญฺญาวชิโร (ปรงั ฤทธ)ิ์ บรรณาธกิ าร นางสาวพรรณเพ็ญ เครือไทย กองบรรณาธกิ าร พระมหาอศั นยั ปุณณฺ ญาโณ พระศภุ ชยั ชยสโุ ภ นายครี ินทร ์ หนิ คง นายอภชิ าต ิ โพธพิ ฤกษ์ นางสริ ิกร ไชยสทิ ธิ์ นายภัชรบถ ฤทธเ์ิ ตม็ นายณทั พงค์ บญุ ตนั นายดเิ รก อนิ จันทร์ พิสจู นอ์ กั ษร นางพนู ศร ี ปอ้ มทองคำ� พิมพค์ รงั้ แรก กรกฎาคม ๒๕๕๗ จ�ำนวน ๕๐๐ เล่ม ภาพปกหน้าและปกหลัง จิตรกรรมการเทศน์ในวฒั นธรรมล้านนา โดยอาจารยพ์ งษพ์ รรณ เรือนนันชัย จิตรกรลา้ นนา ขอบคณุ ภาพจาก นางทศั นีย์ ยะจา หจก. บ้านศิลาดล เลขท่ี ๗ หม่ทู ี่ ๓ ถนนเชียงใหม่ - สันกำ� แพง ตำ� บลสันกลาง อำ� เภอสันก�ำแพง จังหวดั เชียงใหม่ สถานท่ีพิมพ์ หจก.ซเี อ็มมเี ดีย ๓๙๙/๗๔ หมู่ ๖ ต.สันนาเม็ง อ.สนั ทราย จ.เชยี งใหม่ ๕๐๒๑๐ โทร ๐๘๑ ๙๙๘๖๒๔๙ 3ข

ค�านยิ ม พระพุทธศาสนามีความเจริญรุ่งเรืองในดินแดนล้านนามาอย่าง ยาวนาน เพราะวถิ ีชวี ติ ของชาวล้านนามีความใกล้ชดิ เคารพศรัทธาในพระพุทธ ศาสนาอยา่ งแนน่ แฟ้น สงั เกตได้จากขนบธรรมเนยี ม ประเพณี วฒั นธรรมของ ชาวล้านนา มีความเกี่ยวเนื่องกับพระพุทธศาสนาทั้งสิ้น จึงท�าให้อาณาจักร ล้านนางดงามไปด้วยวัฒนธรรมอนั ลา้� คา่ เป็นแหล่งท่องเทีย่ วเชงิ วัฒนธรรม ก็ เพราะได้อาศัยพระพุทธศาสนาช่วยขัดเกลา สร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรมแขนง ต่างๆ มากมาย อาทิ จิตรกรรม ศิลปกรรม วรรณกรรม ประติมากรรม และ ประเพณี โดยเฉพาะประเพณกี ารฟังเทศน์ กอ็ าศัยพระสงฆใ์ นพระพทุ ธศาสนา เป็นผู้ส่ือและถา่ ยทอดหลักธรรมผา่ นวิถีแหง่ การแสดงธรรม ซ่ึงมรี ะเบยี บและวธิ ี การปฏิบตั ิในการเทศนท์ ี่ละเอียดละออ ที่ชาวลา้ นนาปฏบิ ตั สิ บื ทอดกันมาอยา่ ง ไม่เหอื ดหายไปจากดินแดนเหลา่ นี้ ทง้ั มีความสงา่ งามตลอดกาล ในโอกาสครบรอบ๓๐ปีการสถาปนามจร.วิทยาเขตเชียงใหม่ การจัดท�า หนังสือวิถีเทศน์ในล้านนา ของพระนคร ปญฺญาวชิโร มหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ คร้ังน้ี ถือว่าเป็นการศึกษาค้นคว้า องค์ความรู้ของชาวล้านนา ท่ีเคยปฏิบัติสืบทอดกันมาอย่างยาวนาน เกี่ยวกับ รูปแบบการแสดงธรรมของพระพุทธเจ้าและวิถีเทศน์แบบล้านนาให้เป็นเคร่ือง มือและรูปแบบส�าหรับพระสงฆ์สามเณรรุ่นใหม่ได้ศึกษาถึงกระบวนการเทศน์ แบบฉบบั จารีตของลา้ นนาเดิม พระธรรมวทิ ยากร พระนกั เทศน์ ร้หู ลักวิธีใน การนา� หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนาไปเผยแพร่ ให้พุทธศาสนิกชนไดเ้ ข้าใจใน สัจธรรมคา� สั่งสอนขององค์สมเดจ็ พระสัมมาสมั พทุ ธเจ้าใหแ้ พร่หลายมากยงิ่ ขน้ึ จงึ ขอช่นื ชมในความวิริยะอุตสาหะของพระนคร ปญญฺ าวชโิ ร ท่ีได้ทมุ่ เท แรงกาย แรงใจ แรงสติปัญญาในการศกึ ษาค้นควา้ วิถีเทศน์ในลา้ นนา อันเป็นองค์ ความร้ทู ท่ี รงคุณคา่ เป็นประโยชน์ต่อการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาและพระภิกษุ สามเณรจะได้ศึกษา ท�าความเข้าใจ เพอื่ ปฏิบัตใิ นวิถีแหง่ การเทศนไ์ ด้ถกู ตอ้ งตาม ระเบยี บปฏิบัตขิ องชาวล้านนาสืบไป (พระเทพโกศล) เจา้ คณะจังหวัดเชียงใหม่ ประธานสภาวทิ ยาเขตเชยี งใหม่ 4ฃ มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่

ค�ำนยิ ม การเทศนห์ รอื เทศนาก็คือวิธีการเผยแผพ่ ทุ ธธรรม ถือเปน็ กจิ สำ� คญั ที่ แม้แตอ่ งคส์ มเด็จพระสมั มาสมั พุทธเจ้า ก็ทรงปฏิบตั ิมาตลอดพระชนม์ชีพ จนได้ รบั การขนานพระนามวา่ “สตถฺ า” คอื ทรงเปน็ พระบรมครขู องเทวดาและมนุษย์ ทง้ั หลาย พระองค์ทรงมีความเมตตากรุณาหวงั ประโยชน์สุขแกช่ าวโลก จึงมพี ระ ด�ำรัสใหพ้ ระสาวกเท่ียวจารกิ ไปเพอื่ อนเุ คราะหเ์ ผยแผธ่ รรม จงึ เปน็ ธรรมเนยี ม ปฏบิ ตั ทิ ีพ่ ระสาวกทง้ั หลาย จะต้องเผยแผพ่ ุทธธรรมหรอื ต้องเทศนานน่ั เอง รูปแบบ วธิ กี ารในการเทศนน์ น้ั มกั ปฏบิ ัติให้เหมาะสม สอดคล้องกบั จรติ นสิ ยั และจารีตของท้องถิ่นทีแ่ ตกตา่ งกันไป จงึ มีวิธกี ารเทศนอ์ ยา่ งหนงึ่ ท่ีรู้จกั กนั ดี คอื การเทศนแ์ บบจารีต เชน่ การเทศน์ท�ำนองมหาชาติ เป็นต้น โดยเฉพาะ ทอ้ งถน่ิ ที่เรยี กกนั ว่า “ลา้ นนา” นี้ ที่เคยและยังร่งุ เรอื งด้วยวัฒนธรรมทัง้ ทางวัตถุ และจติ ใจ จึงเปน็ ความนา่ สนใจและคงเปน็ ประโยชน์ สำ� หรบั การศึกษาในเรื่อง “วิถีเทศนใ์ นลา้ นนา” และเปน็ ทีน่ า่ ยินดีที่ พระนคร ปญฺญาวชิโร (ปรงั ฤทธิ์) ได้มี วิริยะอุตสาหะทำ� การศกึ ษา ค้นคว้า วิจยั ในเรื่องนี้ จนสำ� เร็จเปน็ หนงั สอื วิชาการ ท่ที รงคุณคา่ เลม่ น้ี ท้ังน้ี หวังวา่ คงจะเป็นประโยชน์อยา่ งกวา้ งขวางในความเข้าใจ อนั ดี ในเรื่องวถิ ีเทศน์ในลา้ นนาแกส่ าธารณชนและผู้สนใจทั่วไป ขออนโุ มทนาต่อโครงการตามรอยสังฆปราชญแ์ ห่งลา้ นนา และโครงการ ศูนย์ศกึ ษาพระพุทธศาสนาประเทศเพอื่ นบ้าน ฝา่ ยวิชาการและวจิ ัย ส�ำนัก วชิ าการ มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตเชยี งใหม่ ขอช่ืนชม ยินดีในความวิรยิ ะอตุ สาะอนั ย่งิ ของพระนคร ปญญฺ าวชิโร (ปรังฤทธ)์ิ ผู้ศกึ ษา ค้นควา้ วิจยั และขอเปน็ ก�ำลังใจในการท�ำงาน การทำ� หนา้ ท่ี และการสร้างสรรค์ ผลงาน ท่จี ะเกดิ ข้ึนในลำ� ดับตอ่ ๆ ไป พระเทพมงั คลาจารย์ รองเจา้ คณะจังหวัดเชยี งใหม่ รองประธานสภาวทิ ยาเขตเชยี งใหม่ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตเชยี งใหม่ 5ค

ค�ำนิยม ในโอกาสครบรอบ ๓๐ ปี แหง่ การก่อต้งั มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตเชียงใหม่ อนั เปน็ สถาบันการศึกษาระดับอดุ มศกึ ษาของ คณะสงฆ์ไทยที่มีพันธกิจส�ำคัญในการสนับสนุนส่งเสริมการศึกษาวิจัยและพัฒนา องคค์ วามร้ดู า้ นพระพทุ ธศาสนาเพื่อพัฒนาสงั คมในทุกๆ ด้าน โครงการศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาประเทศเพื่อนบ้านและโครงการ ตามรอยสงั ฆปราชญ์แหง่ ลา้ นนาไดจ้ ัดพมิ พห์ นงั สือ วิถเี ทศน์ในลา้ นนา เป็น เอกสารวิชาการเผยแผ่เพ่ือเป็นฐานข้อมูลให้พระนิสิตและผู้สนใจได้ศึกษาพัฒนา ความรใู้ หก้ ว้างขวางยงิ่ ขนึ้ พระพุทธศาสนาได้เจริญม่ันคงจนทุกวันนี้เพราะอาศัยการเผยแผ่ท่ีมี ประสทิ ธิภาพและสอดคล้องกบั กาลสมัย แต่ก็ไม่ละทงิ้ จารตี เดมิ อนั เป็นรากฐาน ทางวฒั นธรรมของชาวลา้ นนา การศึกษารูปแบบการเทศน์ในล้านนาจงึ เปน็ อีก สง่ิ หนง่ึ ทจี่ ะทำ� ใหเ้ ขา้ ใจรากเหงา้ ทางวฒั นธรรมและพฒั นาการของเทศนใ์ นลา้ นนา จงึ ขออนโุ มทนามา ณ โอกาสน้ดี ้วย (พระราชสงิ หวรมุน)ี รองอธกิ ารบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วิทยาเขตเชยี งใหม่ ฅ6

คา� นยิ ม พระนคร ปญฺญาวชโิ ร เป็นพระสงฆ์ยุคใหม่ทีม่ คี วามรคู้ วามสามารถท้ัง ทางคดโี ลกและคดธี รรมไดร้ ับการศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษา เป็นคนพน้ื บา้ นลา้ นนา ถอื ก�าเนดิ ที่อา� เภอปวั จงั หวดั นา่ น ซ่งึ เปน็ ทีท่ ราบกันดีวา่ เปน็ ดินแดนที่มีความ เจริญรุ่งเรืองในด้านวัฒนธรรมและอารยธรรมมาแต่โบราณ จึงถูกเรียกขาน วา่ “เพชรเม็ดงามแหง่ ดนิ แดนล้านนาตะวนั ออก” อาจเป็นเพราะมีสตปิ ัญญาท่ี ติดตัวมาแต่ก�าเนิดกอปรกับการรักและหวงแหนมรดกอันล�้าค่าของบรรพบุรุษท่ี ธา� รงรักษาสบื ต่อกนั มาโดยลา� ดบั จงึ เกิดแรงบันดาลใจท่ีจะศกึ ษาอารยธรรมอัน เปน็ วฒั นธรรมประเพณขี องบรรพบรุ ษุ ของตนให้ถอ่ งแท้ ต้ังอยบู่ นพ้ืนฐานทาง วชิ าการโดยมีหลกั ฐานประกอบตามยคุ สมยั หนงั สือวิถเี ทศน์ในลา้ นนา เปน็ อีกเล่มหนึง่ ในบรรดาผลงานทางวิชาการ ท่ีพระนครได้เพียรพยายามศึกษาค้นคว้ารังสรรค์ข้ึน ซึ่งเป็นต�าราวิชาการ ที่มีความสมบูรณ์อีกเล่มหนึ่ง ที่สามารถบันทึกไว้ในบรรณโลกได้ อันเป็น เกียรติประวัติแก่ตนเองและบรรพบรุ ุษ พรอ้ มท้งั เป็นเกยี รติแกม่ หาวทิ ยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั อีกโสตหน่งึ ขออนุโมทนามุทิตาในวิริยบารมีของพระนคร ปญฺญาวชิโร ที่เพียร พยายาม ท�างานชิ้นส�าคัญน้ีได้ส�าเร็จอย่างงดงามและภาคภูมิใจ (พระราชวรมุนี, ดร.) รองเจา้ คณะภาค ๖ รองอธกิ ารบดี ฝา่ ยกิจการนสิ ติ คณบดีคณะพทุ ธศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย ฆ7

ค�ำนยิ ม ดนิ แดนลา้ นนาเป็นเมืองที่มคี วามย่งิ ใหญ่มาเปน็ เวลาช้านาน มปี ระเพณี อันลำ้� ค่าหาทไี่ หนเปรียบมิได้ และมวี ัฒนธรรมอนั โดดเด่นเป็นอย่างย่ิง ทสี่ �ำคญั คือมภี าษาเป็นของตนเอง ทง้ั ภาษาพูดและภาษาเขยี นเปน็ อกั ษรของตนเอง มนี ัก ปราชญ์ราชครูท่ีเก่งกาจสามารถด้านวรรณกรรมทั้งภาษาล้านนาและภาษาบาลี ที่ระบือลอื ลัน่ เปน็ ที่ยอมรับกนั ท้ังในและต่างประเทศทัว่ โลก เช่น ทา่ นพระสิริมงั คลาจารย์ ทเ่ี ปน็ ผู้รจนามังคลตั ถทปี นี หรอื มงคล ๓๘ จนเป็นทีย่ อมรบั ของคณะ สงฆ์ไทยในปัจจุบันถึงขนาดน�ำไปเป็นต�ำราเรียนพระปริยัติธรรมแผนกบาลีระดับ ช้ันเปรยี ญธรรม ๔ – ๗ ประโยค เปน็ ตน้ และมนี ักเทศน์ชื่อดังหลายท่านในอดตี และปัจจบุ ัน เชน่ พระครูอมรธรรมประยุต ศาสตราจารยเ์ กียรตคิ ณุ มณี พะยอม ยงค์ สมัยเปน็ พระภิกษุ พระศรีธรรมนเิ ทศก์ พระครูโสภณบญุ ญาภรณ์ พระครู อาทรวสิ ุทธคิ ุณ และ พระครูอดุลสลี กติ ต์ิ เปน็ ต้น การทท่ี า่ น พระนคร ปญญฺ าวชโิ ร ไดท้ �ำการวิจยั ค้นควา้ เกีย่ วกับวิถเี ทศน์ ไนลา้ นนา ถอื ว่าเป็นการสมควรและเหมาะสมเป็นอยา่ งยงิ่ ท่ีจะได้เป็นผ้ตู าม รอยพระมหาเถรนกั ปราชญช์ าวลา้ นนาในอดตี จนถึงปจั จบุ นั และนำ� เอาศลิ ป วัฒนธรรมในล้านนาไทยมาเผยแผ่แก่ชาวโลกให้ได้รู้ได้เห็นและได้ทราบกันอย่าง กวา้ งขวางและทั่วถึง วา่ ในล้านนาไทยนน้ั มีวถิ กี ารเทศน์เปน็ เอกลกั ษณ์อนั โดด เด่นมานานแล้วในอดีต และได้มกี ารประยุกตก์ บั วถิ ีการเทศนแ์ บบใหม่ไดอ้ ย่าง กลมกลืนแนบแนน่ และสวยงาม ถูกกับกาลสมยั อยา่ งยง่ิ ยวด หวงั เป็นอย่างย่ิงวา่ ทา่ นคงจะได้เปน็ ผู้มชี อื่ เสยี งโดง่ ดังในปจั จุบันและอนาคตอยา่ งเที่ยงแท้แน่นอน พระครปู รยิ ตั ิยานุศาสน,์ ดร. รองเจา้ คณะอ�ำเภอเมืองเชยี งใหม่ฝา่ ยเผยแผ่ ผูช้ ่วยอธิการบดฝี ่ายบริหาร มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตเชยี งใหม่ 8ง

ค�ำนยิ ม สำ� นกั วชิ าการ มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตเชยี งใหม่ มีภารกิจส�ำคัญประการหนึ่งในการท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ใหเ้ จรญิ รุ่งเรือง โดยเฉพาะการศึกษา ค้นควา้ วิจัย และจัดทำ� ฐานข้อมูลเผยแผ่ ความรูด้ ้านพระพทุ ธศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรม อนั จะเปน็ การธำ� รงรักษาไวซ้ ึง่ พระพุทธศาสนาและเอกลกั ษณ์ล้านนาสบื ไป หนงั สอื วิถีเทศน์ในล้านนาเล่มน้ี เปน็ เอกสารวิชาการท่ปี รบั ปรุงมาจาก งานวิจยั เรอื่ งรปู แบบการเทศน์ในลา้ นนา ทพี่ ระนคร ปญฺญาวชิโร เจา้ หนา้ ท่ี ประจ�ำโครงการศนู ยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนาประเทศเพ่ือนบ้าน ฝ่ายวชิ าการและ วจิ ัย สำ� นกั วชิ าการ เป็นผู้วิจยั แลว้ จัดพิมพเ์ ผยแผใ่ นโอกาสครบรอบการสถาปนา ๓๐ ปี แห่งการก่อตั้ง มจร.วทิ ยาเขตเชยี งใหม่ นับเปน็ ความร้อู ีกแขนงหนง่ึ ท่ี จะช่วยเสรมิ สร้างการเรยี นร้ขู องพระนิสติ และผ้สู นใจให้กวา้ งขวางยง่ิ ข้นึ จงึ ขอ อนโุ มทนาในความวิริยะอตุ สาหะของพระนคร ปญญฺ าวชิโร และคณะผ้จู ดั ท�ำทกุ ท่าน มา ณ โอกาสนี้ (พระใบฎีกาเสนห่ ์ ญาณเมธ,ี ดร.) ผอู้ �ำนวยการส�ำนักวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตเชียงใหม่ 9จ

ค�ำนิยม การศึกษาในพระพุทธศาสนาเป็นส่วนส�ำคัญท่ีจะท�ำให้พระพุทธศาสนา ยืนยงสบื ตอ่ ไป แต่การเผยแผน่ ัน้ ถอื เป็นหวั ใจสำ� คัญมากกว่า เพราะความรู้ความ เข้าใจ สาระส�ำคัญของพระพุทธศาสนาสญู หายไปกับท่านผรู้ ทู้ นั ที หากไม่มีการ เผยแผ่ และเพราะการเผยแผน่ เี้ อง จึงท�ำให้พระพุทธศาสนาสบื ตอ่ มายาวนานถึง ๒,๖๐๐ ปี นัยส�ำคัญคอื ธรรมของพระองค์ถูกปรบั ปรงุ ไปตามสถานการณ์ ไป ตามกาลเทศะ อยู่ในทอ้ งถน่ิ ใด ก็อนุวัติไปตามประเพณีวัฒนธรรมในท้องถิ่นนน้ั อาณาจักรลา้ นนาไทย ซงึ่ สถาปนาขึน้ ต้ังแต่ปีพทุ ธศักราช ๑๘๓๙ โดย พระเจ้ามงั ราย มีความเจริญรงุ่ เรอื งคกู่ บั พระพทุ ธศาสนามาโดยตลอด จนถึง ปจั จุบนั การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาก็ยังด�ำเนนิ มาอยไู่ ม่ขาดสาย ผา่ นสถานการณ์ ต่าง ๆ มาอย่างมากมายหลากหลาย จนเกดิ กลายเป็นรูปแบบการเทศนาเฉพาะ ถ่ิน ทีเ่ รียกว่า “วถิ ลี ้านนา” พระนคร ปญฺญาวชโิ ร เป็นนักวจิ ยั ทม่ี ีคณุ คา่ ท่านหนง่ึ ของมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ นอกจากจะมีความสนใจใฝ่ เรยี นรวู้ ิถลี ้านนา วิถพี ทุ ธศาสนาในประเทศเพอ่ื นบา้ นแลว้ ยงั ต้งั ใจศึกษาเกยี่ ว กบั วัฒนธรรมการเทศนาของพระสงฆ์ในล้านนาเชงิ ลกึ ไมใ่ ชเ่ ฉพาะรูปแบบการ เทศน์ แตย่ งั ศึกษาให้ได้รู้ถึงบริบทของการเทศนา การฝึกฝน องค์ประกอบ และ เครื่องสกั การะในการเทศน์ เช่น ใบลาน ไมป้ ระกับ ผ้าหอ่ คมั ภีร์ ธรรมเนยี ม ปฏิบตั ิ ตลอดถึงจารตี ในการเทศน์ เปน็ ตน้ ในผลงานการศกึ ษาเรอื่ ง วถิ ีเทศน์ ในลา้ นนา ผลงานเล่มนี้เหมาะท่ีจะเปน็ ส่วนหน่งึ ของการศกึ ษาวชิ าเทศนา ธรรม นเิ ทศ ท่จี ะท�ำใหเ้ หน็ สาระส�ำคญั ของการเทศน์ในปัจจบุ ันวา่ การเปลีย่ นแปลง ของสังคม การเมอื ง เศรษฐกิจ วฒั นธรรมก่อเกดิ ทศั นคติแนวทางของพระสงฆ์ ผู้เทศนาเผยแผ่ และประชาชนคนฟงั หรือไมอ่ ยา่ งไร? 1ฉ0

ขออนโุ มทนาชนื่ ชมยนิ ดกี ับพระนคร ปญฺญาวชโิ ร และทมี งานทุกท่าน ทไ่ี ด้ท่มุ เทเสยี สละ สร้างสรรคผ์ ลงานที่ดี มีคณุ ค่า “วถิ ีเทศนใ์ นลา้ นนา” เล่มนี้ไว้ เพื่อศกึ ษา พัฒนาวิชาการเทศนาของพระภิกษสุ ามเณร และประชาชนผู้สนใจ อันจะส่งผลให้เกิดการสืบทอดพระธรรมค�าสอนในพระพุทธศาสนาให้วัฒนา ถาวรสบื ต่อไป พระครูธีรสุตพจน์ ผูอ้ �านวยการสา� นักงานวิทยาเขต มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตเชยี งใหม่ 1ช1

ค�านิยม ล้านนาไทย เคยเป็นอาณาจักรอสิ ระมากวา่ ๒๐๐ ปี กอ่ นจะตกเปน็ เมือง ขึน้ ของพม่าในปี พ.ศ. ๒๑๐๑ แล้วเป็นประเทศราชของสยามในสมยั กรงุ ธนบุรี และรตั นโกสนิ ทร์ จนถกู ผนวกเขา้ เป็นมณฑลหนึง่ ของสยามในสมัยรัชกาลท่ี ๕ ในสมัยทย่ี ังเป็นอิสระ อาณาจักรลา้ นนาไทย เคยเจริญรุ่งเรืองมาก ท้งั ใน ด้านการเมอื ง วัฒนธรรม และอารยธรรมต่างๆ เป็นศนู ย์กลางแห่งความเจริญใน ลุ่มแม่น�า้ ปิง แมน่ ้�าสาละวิน แม่น�า้ กก และแมน่ �้าโขง แมจ้ ะถกู อทิ ธพิ ลภายนอก เขา้ มาเบยี ดเบยี นท�าลาย ทง้ั โดยตรงและโดยอ้อม แตล่ า้ นนาไทย กย็ ังรักษามรดก ทางวัฒนธรรมของตนไว้ได้อย่างเหนียวแน่นในรูปของศาสนาและวัฒนธรรม สาขาต่างๆ ล้านนาไทยจงึ เป็นเสมือนคลังมหาสมบตั ิอนั มหมึ า ทเ่ี ต็มแนน่ ไปดว้ ย มรดกทางวฒั นธรรมอันลา�้ ค่า ในอดตี ทผี่ า่ นมา มนี กั วจิ ยั ค้นควา้ ทั้งชาวพืน้ เมือง ชาวถนิ่ อ่นื และชาว ต่างประเทศ ไดม้ าขดุ คน้ เอามรดกอนั ล�้าคา่ เหล่าน้ัน ออกมาเผยแผ่แกช่ าวโลก แต่ถา้ เทยี บกบั จา� นวนมรดกทีม่ ีอยู่ กน็ ับว่า เป็นจา� นวนนอ้ ย กระผมมีความดใี จเปน็ อย่างยิง่ ทไี่ ด้เหน็ นักวิจัยค้นควา้ ดา้ นนีอ้ กี ท่าน หนง่ึ คือ พระนคร ปญญฺ าวชโิ ร ในนามของศนู ย์ศึกษาพระพุทธศาสนาประเทศ เพื่อนบ้าน สา� นกั วิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั วิทยาเขต เชยี งใหม่ มคี วามสนใจศกึ ษาค้นคว้ามรดกทางวฒั นธรรมล้านนาอยา่ งจรงิ จัง จน สามารถผลิตงานอันมีค่าออกมาหลายเล่มเเล้ว รวมท้ัง “วิถีเทศน์ในล้านนา” เลม่ นด้ี ว้ ย ซง่ึ เปน็ งานอนั มคี า่ ทา� ใหช้ าวโลกไดร้ จู้ กั กบั อกี ดา้ นหนงึ่ ของมรดกลา้ นนา หวงั วา่ พระนคร ปญฺญาวชโิ ร คงจะได้เปน็ ปราชญ์ทางลา้ นนาคดี อกี ท่านหน่งึ ในไม่ชา้ ขอแสดงความยนิ ดแี ละถวายกา� ลังใจอย่างเต็มที่ (ศาสตราจารย์เกียรตคิ ุณ แสง จันทรง์ าม) มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตล้านนา 1ซ2

คา� นิยม พระนคร ปญั ญาวชโิ ร (ปรังฤทธ)์ิ ถอื ไดว้ า่ เปน็ พระนักวจิ ัยแหง่ ล้านนา รูปหนึ่ง หลังจากที่ได้เริ่มต้นศึกษาวิจัยเร่ืองการศึกษาวิเคราะห์การเทศน์แบบ ปฏภิ าณทมี่ ีลกั ษณะขบขนั ของพระสงฆจ์ งั หวัดเชยี งใหม่เมอื่ ปี พ.ศ.2546 แลว้ ก็ได้ ศึกษาวิจยั เร่อื งต่างๆ เกีย่ วกับพทุ ธศาสนาในล้านนาอกี หลายเรื่อง ขณะเดียวกัน ก็ได้ต่อยอดความรู้เร่ืองการเทศน์แบบล้านนาที่ได้เร่ิมต้นไว้แล้วเม่ือหลายปีก่อน จนกลายเป็นผลงานที่น่าสนใจและให้ความรู้อย่างดีเกี่ยวกับพัฒนาการเทศนา ธรรมในลา้ นนาเลม่ นี้ หนังสือเล่มนี้เป็นผลงานวิจัยที่ส�าคัญมากเล่มหน่ึงเพราะได้ให้ความ รู้ความเป็นเอกลักษณ์ของการเทศนาธรรมแบบล้านนาอย่างละเอียดตั้งแต่ ลักษณะการเทศน์ รปู แบบ ทา� นอง ประเภทเน้ือหา สถานทแี่ ละโอกาส ขนั้ ตอน การฝกึ ฝน และเครอ่ื งสกั การะและเครื่องประกอบพธิ เี ทศนาธรรม ตลอดจนแสดง ใหเ้ หน็ ถงึ การเปลีย่ นแปลงการเทศนาธรรมตงั้ แตอ่ ดีตมาจนถงึ ปจั จุบนั ผลงาน วจิ ยั ชน้ิ น้มี คี ณุ ูปการอนั สา� คญั ยงิ่ อยา่ งน้อยสองประการคอื ประการแรกเปน็ การ รวบรวมองคค์ วามร้เู ก่ยี วกับการเทศนาธรรมไวอ้ ย่างเปน็ ระบบ ถูกต้องตามลา� ดบั ข้ันตอนของกระบวนการวิจัย เพื่อให้อนุชนและผู้สนใจทั่วไปได้ศึกษาค้นควา้ และ เรยี นร้ตู อ่ ไป ประการที่สอง ผลงานชน้ิ นี้ไดแ้ สดงใหป้ ระจักษต์ ่อประชาชนคนไทย ไดอ้ ยา่ งชดั เจนวา่ วฒั นธรรมของลา้ นนามีความเป็นเอกลักษณอ์ ยา่ งโดดเด่น เห็น ไดจ้ ากการเทศนาธรรม ทส่ี ะท้อนถงึ วิธีคิดและแนวปฏิบัติทแ่ี ตกต่างไปจากวธิ ี ปฏิบัติในการเทศนาธรรมของภาคอนื่ ๆ อนั มคี ณุ ค่าตอ่ การเรียนร้แู ละเผยแพรใ่ ห้ สาธารณชนท่ัวไปไดร้ ับรู้ จงึ ขอนมัสการกราบขอบพระคุณทา่ นพระนคร ปญฺญาวชิโร (ปรงั ฤทธิ์) ท่ีได้วิริยะอุตสาหะค้นคว้าวิจัยส�าเร็จจนได้หนังสือผลงานวิจัยที่มีคุณค่าเล่มนี้เพื่อ ประโยชน์ของสาธารณชนและเพื่อความรู้ความเข้าใจของพุทธศาสนิกชนชาว ล้านนาและชาวไทยท่ัวไป (รองศาสตราจารย์ ดร. สมพงศ์ วทิ ยศกั ดพ์ิ ันธ์ุ) สาขาวชิ าภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ 1ฌ3

คำ� นิยม ในอดีตกาล ดนิ แดนลา้ นนา เป็นประเทศหน่ึงซ่งึ มอี าณาเขตตั้งอยูด่ า้ น ทิศเหนอื ตอนบนของประเทศไทยปจั จบุ นั เคยเปน็ ประเทศเอกราช มเี จ้าฟ้าเจา้ แผ่นดินปกครองมาตั้งแตโ่ บราณกาล เป็นดินแดนท่อี ุดมสมบรู ณ์ด้วยทรพั ยากร ธรรมธาตมิ ากมาย ทีส่ ำ� คญั เป็นแหลง่ ก�ำเนดิ วฒั นธรรมอันทรงคณุ คา่ เชน่ มี ภาษาเปน็ ของตนเอง ทง้ั ภาษาพดู และภาษาเขียน มีวิถชี วี ิตท่อี งิ หลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา เช่น ยดึ ถือเอาวนั พระเปน็ วันหยุดการท�ำไรไ่ ถนา พากันเขา้ วดั ประกอบพธิ กี รรมทางพระพุทธศาสนา วัดในลา้ นนาเปน็ เสมอื นหน่งึ สถาบันทางการศกึ ษา ที่ให้ความรู้ ใหค้ วาม เข้าใจ ตลอดถึงเปน็ แหลง่ ฝึกวิชาชีพแก่สาธารณชนทวั่ ไป ในดนิ แดนล้านนา ไมว่ า่ เรากา้ วยา่ งไปทางไหน จะเหลียวซ้ายแลขวา ก็จะเหน็ วัดวาอารามทางพระพุทธ ศาสนาท่ัวทุกหนแหง่ เอกสารวิถีเทศน์ในล้านนาฉบับนี้ เป็นการศึกษาเก่ียวกับการเทศนา ธรรมของพระสงฆ์ในล้านนา ค�ำว่า วิถีเทศน์ ถ้าจะวิเคราะห์ให้เป็นภาษา ง่ายๆ ก็คือ วิธีหรือรูปแบบการเทศน์ หมายถึงการแสดงธรรมนั่นเอง งานวจิ ยั ฉบบั นี้ ผวู้ จิ ยั ไดศ้ กึ ษาถงึ รปู แบบการเทศนาธรรมของพระพทุ ธเจา้ รปู แบบการเทศนาธรรมของพระสงฆ์ในลา้ นนา และพฒั นารปู แบบการเทศนา ธรรมของพระสงฆใ์ นล้านนาต้ังแตอ่ ดีตถึงปจั จุบัน ถือไดว้ ่าเปน็ งานวิจัยที่มีคุณค่า และมปี ระโยชนเ์ ป็นอย่างยิง่ ขอแสดงความชื่นชมยินดีกบั พระนคร ปญญฺ าวชโิ ร (ปรงั ฤทธ์)ิ ที่ได้ ศกึ ษาค้นคว้าเร่ืองนอ้ี ย่างชัดเจน แลว้ ยงั ได้นำ� เผยแพร่สู่สาธารณชน ผลการศึกษา ครง้ั น้ี เปน็ ผลงานที่มีสาระประโยชนม์ ากอกี เร่ืองหน่ึงของท่าน จึงขออนุโมทนา แสดงความยนิ ดีไว้ ณ ทนี่ ี้ด้วย รองศาสตราจารยพ์ เิ ศษ ถาวร เสาร์ศรีจันทร์ มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตเชยี งใหม่ 1ญ4

คำ� น�ำผเู้ ขียน พระรัตนตรัย หมายถึง แก้วหรอื ส่งิ ทมี่ ีค่าสูงย่ิง ๓ ประการ ประกอบ ดว้ ย พระพทุ ธ พระธรรม และพระสงฆ์ เป็นแนวคดิ เชงิ เปรียบเทียบว่า พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ คอื สง่ิ อันเปน็ มงคลและมคี า่ ประเสริฐสดุ ยง่ิ กวา่ สงิ่ อื่นใด เปน็ สง่ิ ทเี่ หล่าพทุ ธศาสนกิ ชนให้ความเคารพเทิดทูนอย่างหาทีส่ ดุ มไิ ด้ หลงั พุทธปรินิพพาน พระสงฆส์ าวกได้ยึดแนวทางในการธำ� รงรกั ษาไวซ้ ่ึง พระคณุ ของพระรัตนตรยั ดว้ ย การเทศน์ อนั เป็นรปู แบบการสืบทอดและเผยแผ่ ท่ีสำ� คญั ที่มีมาต้ังแต่สมยั พุทธกาลจวบจนถงึ ปัจจุบัน ทำ� ใหพ้ ระพุทธศาสนา ประดิษฐานม่นั คงและแพรห่ ลายตามภูมิภาคต่างๆ โดยเฉพาะหลงั การสังคายนา ครงั้ ท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๓๔) พระโมคคัลลีบตุ รติสสเถระและพระเจา้ อโศกมหาราช ได้ส่งพระสมณทตู ไปเผยแผ่พระธรรมตามภูมิภาคต่างๆ ๙ สาย เพื่อสบื ทอดและ เผยแผพ่ ระธรรม หรอื ธรรมรัตนะ อันเป็นพระศาสดาแทนพระพทุ ธเจ้า ดงั พระ ดำ� รัสทต่ี รัสกบั พระอานนทก์ ่อนปรินิพพานวา่ “ โย โข อานนฺท ธมโฺ ม จ วินโย จ เทสิโต ปญฺญตโฺ ต โส โว มมจจฺ เยน สตถฺ า” (ที.มหา. ๑๐/๑๔๑/๑๗๗) การจัดท�ำหนงั สือ วถิ เี ทศน์ในลา้ นนา ฉบับน้ี เกดิ จากความศรัทธาใน พระรัตนตรัยอันบริสุทธิ์ผนวกกับความอยากรู้ในรูปแบบการเทศน์ในวัฒนธรรม ล้านนาทม่ี ีเอกลกั ษณ์เฉพาะตน แลว้ พัฒนาการมาส่กู ารเทศนร์ ปู แบบใหมท่ ไ่ี ด้ รับแบบอย่างมาจากการเทศน์ของพระสงฆ์ฝ่ายธรรมยตุ ิกนิกายในภาคกลาง จึง ไดศ้ ึกษาวิจยั เรอื่ งรูปแบบการเทศนาธรรมในล้านนา แลว้ จดั พมิ พเ์ ป็นหนงั สอื เผย แพร่เปน็ วิทยาทาน เป็นภาพสะทอ้ นการสืบทอดและเผยแผ่พระธรรมในล้านนา ที่เกิดจากภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่นแล้วพัฒนาไปตามกาลสมยั แตย่ งั ยึดมนั่ ในหลักการ เผยแผ่พระธรรม อนั เป็นหัวใจของพระพุทธศาสนาไว้เป็นอยา่ งดี การเขยี นคำ� ศพั ท์ลา้ นนาบางคำ� ในหนังสือเล่มนี้ อาจทำ� ใหผ้ อู้ ่านบางท่าน เกิดความสงสัย และอา่ นไมถ่ นัด เพราะความไมเ่ คยชิน กลา่ วคอื คำ� ศพั ท์ทอ้ งถนิ่ ล้านนาบางค�ำท่เี ป็นคำ� เฉพาะ หรือเปน็ ค�ำทเี่ ขียนดว้ ยอกั ษรล้านนาทป่ี รากฏใน คัมภีร์ใบลาน เมื่อนำ� มาอ้างองิ ในเน้อื หา ผู้เขยี นไดย้ ึดหลกั การปริวรรตถ่ายทอดสู่ อกั ษรไทยกลางตามแนวนริ ุกติศาสตร์ ตามแบบอย่างในพจนานุกรมล้านนา - ไทย ซ่ึงจดั ทำ� โดยพอ่ ครู ศาสตราจารย์ ดร. อุดม รงุ่ เรืองศรี ครูผู้ปลกู ฝังจติ วิญญาณ ในการศึกษาด้านวิชาการให้กับผู้เขียน เพราะเชื่อมั่นว่าการปริวรรตค�ำศัพท์ ล้านนาสอู่ กั ษรไทยกลางด้วยวธิ ีนี้ จะชว่ ยรักษาวัฒนธรรมทางดา้ นอักษรล้านนา 1ฎ5

ได้ดกี วา่ การเขยี นตามส�ำเนยี งพดู ท่เี คยชินท่ัวไป แม้ผูอ้ า่ นอาจจะอา่ นไมถ่ นัด แต่ ถ้าหากค�ำนึงถึงความชาญฉลาดของโบราณาจารย์ในอดีตที่ได้พัฒนาตัวอักษร ลา้ นนาอย่างค่อยเป็นค่อยไปจนสมบูรณ์แบบ แลว้ ทำ� ใจเอื้อเฟื้อตอ่ คุณปู การของ ท่าน กจ็ ะท�ำให้เกิดความตระหนักถงึ การรักษาภมู ิปญั ญาของบรรพชนไดม้ ากยง่ิ ขน้ึ ค�ำศัพท์อกั ษรล้านนาท่ีปรากฏในหนงั สอื เลม่ น้ี ได้ปรวิ รรตถ่ายทอดสู่ อักษรไทยกลาง โดยที่ผอู้ า่ นสามารถออกส�ำเนยี งเปน็ ภาษาล้านนาได้ตามปกติ และมีความหมายเดมิ ไมเ่ ปลีย่ นแปลง กล่าวคอื 1ฏ6

ทงั้ นี้ ผสู้ นใจสามารถศึกษารายละเอียดวธิ ีการปรวิ รรตถา่ ยทอดอักษร ล้านนาส่อู ักษรไทยกลางไดจ้ ากหนังสือพจานานุกรมล้านนา - ไทย จดั ทำ� โดย พอ่ ครู ศ.ดร. อุดม รุ่งเรอื งศรี ซ่ึงจะทำ� ใหเ้ ข้าใจไดม้ ากขึ้น ขออนุโมทนาขอบคุณ โครงการตามรอยสังฆปราชญ์แห่งล้านนาท่ีได้ ให้การสนับสนุนการจัดพิมพ์ วิทยากรท่ีให้สัมภาษณ์ กรรมการท่ีปรึกษา กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิ กรรมการกลน่ั กรองเอกสารทางวชิ าการ ท่ีให้ค�ำปรกึ ษา แนะน�ำ และเขียนคำ� นิยม ตลอดจนถึงคณะกองบรรณาธิการทุกทา่ น โดยเฉพาะ อาจารยพ์ รรณเพญ็ เครอื ไทยทไี่ ดช้ ว่ ยเปน็ บรรณาธกิ าร อาจารยพ์ นู ศรี ปอ้ มทองคำ� ที่กรุณาชว่ ยพิสจู น์อกั ษร ตลอดจนถึงเจ้าของภาพประกอบทุกทา่ น ที่ท�ำให้ หนงั สือเล่มนมี้ คี วามสมบรู ณ์ ขอมอบความรู้ คณุ คา่ ความสำ� คัญของหนังสอื เลม่ นี้ ใหแ้ กผ่ สู้ นใจทุก ทา่ น เพอ่ื รว่ มกนั สืบสานและจรรโลงไว้ซึ่งพระพุทธศาสนาให้ดำ� รงคงอยู่ เป็นสิ่ง ยึดเหน่ียวทางจติ ใจ และเป็นอตั ลกั ษณ์ในดินแดนลา้ นนาสบื ไป พระนคร ปญฺญาวชิโร (ปรงั ฤทธิ)์ 1ฐ7

Research Title : A Study of the Methods of Dhamma Preaching in Lanna Researcher : Phra Nakorn Phanyawachiro (Prangrid) Department : Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus ABSTRACT This research aims to examine the development of traditional Lanna preaching styles and to investigate the factors influencing their development. Qualitative research was conducted. Content analysis, the transcript from Dhamma preaching tape records as well as in-depth interviews were used as data collection methods. The findings revealed that Dhamma preaching in Traditionnal Lanna style has a specific form. The preaching monk has to sit on a high throne, reading scrip- tures recorded on the palm leaf with a local rhythm. While the audience sit calmly and properly with 2 hands put together in a lotus shape. The audience behavior shows high respect towards the Dhamma which represents the Buddha verse. It is believed that listening to Dhamma not only brings great wisdom, increas- es faith to the triple gem among the audience, but also brings significant merit and allows the audience to greatly spread this merit to their ancestors. After the Lanna Kingdom was dissolved and became part of the northern region of Thailand in 1899, rules, regulations as well as the education system in Lanna were reformed by the Central Thai. This resulted in the Lanna people becoming fluent in speaking, reading, writing and listening in Thai Language. While Lanna language became less important and was never promoted since then. Hence the new generation of Lanna people especially monks were unable to read and write Lanna language. This is why today’s scriptures are mostly adapted and recorded in Thai language and printed on the folded hard paper replicating the palm leaf style for more convenience. Furthermore, the impromptu rhetoric preaching style from a preaching monk from central Thai also spread to Lanna. The significant characteristics of the impromptu rhetoric preaching style is the way a preaching monk sitting on a lower open seat with two hands holding the scripture at his chest level, simply preaches without reading from the scripture. This preaching style is called the impromptu rhetoric preaching style or oral Dhamma preaching. 1ฑ8

The venerable Phra Napeeseephisalkhun (Phramaha Kamping Gunãkarõ), the first Lanna monk who converted to Dhammayutthi order at Wat Bovorn Nivet Viharn was ordered by Somdej Phra Maha Samanachao Prince Vachirayanvaroros to reform the Lanna Buddhist Sangha. That reform was the first time the impromp- tu rhetoric preaching style was introduced. Later on in 1948, the venerable Phra Dhammakosajarn (Buddhadasa Bhikkhu) and the venerable Phrabrammamaggala- jarn (Paññanada Bhikkhu) came to preach Buddhists in Chiang Mai province. The way they preached was by standing in the public instead of sitting on a throne or on a seat. This led to three new different ways of preaching that Lanna Buddhist monks developed, by harmonizing new and traditional Lanna ways together. Three new preaching styles are developed as follows. 1. The impromptu rhetoric preaching style mixed with a central Thai preaching monk style. Firstly, if there is only one preaching monk, it is called “The Solo Preaching”. Secondly, if there are two preaching monks, one preaching monk shoots the questions and another monk will give the answers, it is called “ The Duo Preaching”. Thirdly, if there are three preaching monks, it is called “The Trio Preaching”. However the expression and its story lines are delivered within the Lanna context. 2. The impromptu rhetoric preaching mixed with traditional Lanna style 3. The speech based preaching style. Factors influencing the development of Dhamma preaching in Lanna are as follows: 1. The social and cultural change 2. The educational and attitudinal changes among Lanna Buddhist monks 3. The attitudinal change and change in needs of the Dhamma listeners in Lanna The development of Dhamma preaching styles in Lanna led to the mod- ern and up to date way of Dhamma preaching. This helps Lanna people gain more knowledge, understanding and become more interested in listening to Dhamma preaching. While the traditional Lanna preaching style remains only a part of the Buddhist ceremony. 1ฒ9

ชอ่ื รายงานการวจิ ัย : การศึกษารปู แบบการเทศนาธรรมในลา้ นนา ผ้วู ิจยั : พระนคร ปญฺญาวชิโร (ปรังฤทธิ)์ หนว่ ยงาน : มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ บทคดั ย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษารูปแบบการเทศนาธรรมแบบ จารีตล้านนา พฒั นาการและปจั จัยท่สี ่งผลต่อพฒั นาการรูปแบบการเทศนาธรรม ในล้านนา เป็นการงานวิจยั เชงิ คุณภาพ ศกึ ษาขอ้ มลู จากเอกสาร บทเทศนาธรรม จากแถบบนั ทกึ เสียง และการสมั ภาษณ์ ผลการศกึ ษาพบวา่ เดมิ รปู แบบการเทศนาธรรมแบบจารตี ลา้ นนา พระผเู้ ทศนา นง่ั บนธรรมาสนท์ รงปราสาทสงู อา่ นตามคมั ภรี ใ์ บลานหรอื คมั ภรี ธ์ รรมดว้ ยทำ� นอง ขับขานท้องถ่ิน ในขณะท่ีผู้ฟังน่ังพนมมือด้านล่าง สดับฟังด้วยอาการเคารพ เพราะถือว่าการเทศน์ตามคัมภีร์ธรรมเป็นของสูงและศักด์ิสิทธ์ิจะไม่ก้าวล่วง ดว้ ยพฤติกรรมที่ไมเ่ หมาะสม นอกจากสดับฟังเพอ่ื ประดับสตปิ ญั ญาเสริมสร้าง ความศรทั ธาในพระรตั นตรยั แล้ว ยงั เชื่อวา่ เป็นการสัง่ สมบญุ บารมใี ห้แก่ตนและ สามารถอทุ ศิ บุญกศุ ลไปใหแ้ กบ่ รรพชนผ้ลู ว่ งลบั ไดด้ ้วย ภายหลังเมื่อราชอาณาจักรล้านนาล่มสลายผนวกดินแดนเป็นส่วนหนึ่ง ในภาคเหนอื ของประเทศไทย รฐั บาลสยามได้ปฏริ ปู การเมอื งการปกครองและ การศกึ ษาในลา้ นนาต้ังแต่ พ.ศ. ๒๔๔๒ เป็นต้นมา โดยมศี นู ย์รวมอ�ำนาจที่ส่วน กลางกรุงเทพฯ แต่ส่งข้าราชการผใู้ หญห่ รือข้าหลวงใหญม่ าปฏริ ปู ผลการปฏริ ูป ท�ำให้ชาวลา้ นนาสามารถฟงั พูดอา่ นเขยี นภาษาไทยกลางไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ในขณะ ท่ีอักษรล้านนาลดความส�ำคัญลงจนไม่ได้รับการส่งเสริมให้ศึกษา ชาวล้านนา รุ่นหลังโดยเฉพาะพระสงฆ์ไม่สามารถอ่านเขียนอักษรล้านนาได้ ส่งผลให้รูป ลักษณ์คัมภีร์ธรรมจากเดิมท�ำด้วยใบลานจารด้วยอักษรล้านนาเปล่ียนแปลง เป็นกระดาษแข็งสีน้�ำตาลพับทบเป็นชั้นๆ พิมพ์ด้วยอักษรไทยกลางส�ำนวน ล้านนา นอกจากนนั้ รูปแบบการแสดงพระธรรมเทศนาแบบปฏิภาณโวหารของ พระสงฆ์ไทยภาคกลางก็ได้เผยแพร่เข้าสู่ล้านนาพร้อมกับการปฏิรูปองค์กรสงฆ์ 2ณ0

ดว้ ย ท้ังการอ่านตามหนงั สือทแี่ ต่งและการเทศนแ์ บบปฏิภาณโวหาร ตอ่ มา พ.ศ. ๒๔๙๑ พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภกิ ข)ุ และพระพรหมมงั คลาจารย์ (ปัญญานนั ทภิกข)ุ ไดเ้ ข้ามาเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในจงั หวัดเชียงใหมด่ ว้ ยการ ยืนปาฐกถา ส่งผลให้พระสงฆ์ล้านนาพัฒนาการเทศนารูปแบบใหม่โดยน�ำรูป แบบการเทศนาแบบจารีตผสมกบั การเทศนารูปแบบใหม่ แตย่ ังคงความเป็นล้าน นาอยู่ ประกอบด้วย ๑. การเทศนาธรรมแบบปฏิภาณโวหารท่ีพัฒนาการมาจากการแสดง พระธรรมเทศนาของพระสงฆ์ไทยภาคกลาง ถ้าหากเทศนารปู เดียวเรียกวา่ เทศน์ ธรรมาสน์เดี่ยว ถา้ หากเทศนา ๒ รปู ถาม - ตอบกันไปมาแบบปจุ ฉาวิสชั นา เรียก ว่า เทศน์ ๒ ธรรมาสน์ หรอื เทศนธ์ รรมาสนค์ ู่ แตถ่ า้ เทศนา ๓ รปู เรยี กวา่ เทศน์ ๓ ธรรมาสน์ โดยน�ำเสนอด้วยส�ำนวนภาษาและเรอ่ื งเล่าในบริบทล้านนา ๒. การเทศนาธรรมแบบปฏิภาณโวหารท่ีพัฒนาการมาจากการเทศนา ธรรมแบบจารตี ลา้ นนา โดยยดึ โครงสร้างบทเทศนแ์ บบจารีตไวท้ ัง้ การขน้ึ ต้นและ ลงทา้ ยบทเทศน์ แตช่ ่วงน�ำเสนอเน้ือหาใช้การพูดปากเปลา่ ด้วยภาษาถ่นิ ล้านนา แทรกท�ำนองขบั ขาน และเรอื่ งเลา่ ในบริบทลา้ นนา ๓. การเผยแผ่แบบปฏิภาณโวหารท่ีพัฒนาการมาจากปาฐกถาธรรม โครงสร้างเหมอื นการพูดในทชี่ มุ นุมชนคอื ประกอบด้วย ค�ำน�ำ เนอื้ เรอื่ ง และบท สรปุ แตใ่ ชภ้ าษาถ่นิ ล้านนาและเร่ืองเล่าบรบิ ทลา้ นนาในการนำ� เสนอ ปจั จัยหลกั ท่ีส่งผลต่อพัฒนาการรูปแบบการเทศนาธรรมในล้านนาไดแ้ ก่ ๑. การเปลยี่ นแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม ๒. การเปลีย่ นแปลงดา้ นการศึกษาและทัศนคตขิ องพระสงฆ์ลา้ นนา ๓. การเปลย่ี นแปลงทัศนคติและความต้องการของผฟู้ งั ชาวล้านนา การพัฒนารูปแบบการเทศนาธรรมในล้านนา ได้ส่งผลให้การเผยแผ่ ธรรมมคี วามทนั สมยั เปน็ ปัจจบุ นั ชาวล้านนามคี วามรู้ ความเข้าใจ และให้ความ สนใจฟังการเทศนาธรรมมากข้ึน ในขณะที่การเทศนาธรรมแบบจารีตยังคงมี บทบาทส�ำคัญเปน็ สว่ นประกอบหนึ่งของพธิ กี รรม 2ด1

สารบญั เรอื่ ง หน้า ค�ำนิยม ฃ คำ� น�ำผู้เขียน ฎ บทคัดย่อภาษาองั กฤษ ฑ บทคัดย่อภาษาไทย ณ บทท่ี ๑ การแสดงพระธรรมเทศนาของพระพทุ ธเจ้า ๒๕ บทท่ี ๒ การเทศนธ์ รรมแบบจารีตของล้านนา ๔๓ ๒.๑ การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในลา้ นนา ๔๓ ๒.๒ การจารึกพระธรรมลงใบลาน ๔๘ ๒.๓ คมั ภรี ์ใบลานล้านนา ๕๔ ๒.๓.๑ สายสยอง ๕๕ ๒.๓.๒ ไมป้ ระกบั ๕๖ ๒.๓.๓ ผ้าหอ่ คมั ภีร์ธรรม ๕๗ ๒.๓.๔ บญั ชัก ๕๗ ๒.๔ ความหมายและความสำ� คัญของการเทศน์ในล้านนา ๕๘ ๒.๕ แนวคดิ และคติความเชอ่ื เกย่ี วกับการเทศนใ์ นลา้ นนา ๖๑ ๒.๕.๑ แนวคิดและคตคิ วามเชือ่ เกีย่ วกับการสร้างและถวาย ๖๑ ๖๗ คมั ภีร์ธรรม ๖๘ ๒.๕.๒ แนวคิดและคตคิ วามเชื่อเก่ียวกบั พระสงฆผ์ ู้เทศน์ ๗๖ ๒.๕.๓ แนวคดิ และคตคิ วามเช่ือเกี่ยวกบั การฟงั ธรรม ๙๐ ๒.๖ รปู แบบและเนือ้ หาการเทศน์ในล้านนา ๙๗ ๒.๗ ทำ� นองการเทศนใ์ นล้านนา ๑๐๐ ๒.๘ ลกั ษณะการประพนั ธค์ ัมภีรธ์ รรมล้านนา ๑๐๒ ๒.๙ โครงสร้างของบทเทศน์ในคมั ภรี ธ์ รรมลา้ นนา ๑๐๕ ๒.๑๐ สถานทแ่ี ละโอกาสการเทศน์ ๑๐๙ ๒.๑๑ การตากธรรม ๑๑๖ ๒.๑๒ ลำ� ดบั ขัน้ ตอนการเทศน์ 22 ๒.๑๓ การฝกึ เทศนธ์ รรม

สารบญั เรอื่ ง หนา้ ๒.๑๔ เครอ่ื งสกั การะและเครอ่ื งประกอบพธิ เี ทศนใ์ นลา้ นนา ๑๒๓ ๒.๑๔.๑ หบี ธรรม ๑๒๓ ๒.๑๔.๒ ธรรมาสน์ ๑๒๕ ๒.๑๔.๓ คา้ งธรรม ๑๒๙ ๒.๑๔.๔ หอธรรม ๑๓๑ ๒.๑๔.๕ กัณฑเ์ ทศน์ ๑๓๑ ๒.๑๕ ลักษณะสำ� คัญการเทศน์แบบจารตี ล้านนา ๑๓๓ ๒.๑๕.๑ ความเหมาะสมของการเทศน์แบบจารีตลา้ นนา ๑๓๔ ๒.๑๕.๒ ความคลาดเคลอ่ื นจากหลกั พุทธธรรมและความ ๑๓๔ ไม่สอดคล้องกับกาลสมัยของการเทศนแ์ บบจารตี ลา้ นนา บทท่ี ๓ พฒั นาการการเทศน์ธรรมรูปแบบใหม่ในลา้ นนา ๑๓๗ ๓.๑ ช่วงปฏิรูปการเมอื งการปกครองในล้านนาของรัฐบาลสยาม ๑๓๗ ๓.๑.๑ นโยบายปฏิรูปการศึกษาในล้านนา ๑๓๘ ๓.๑.๒ นโยบายปฏิรปู องคก์ รสงฆใ์ นล้านนา ๑๕๑ ๓.๒ ชว่ งการเผยแผธ่ รรมของพทุ ธทาสภิกขุและปัญญานันทภกิ ขุ ๑๗๖ ทจ่ี งั หวดั เชยี งใหม่ ๒๐๔ ๓.๓ การพฒั นารูปแบบการเผยแผ่ธรรมใหท้ นั สมัยของพระสงฆ์ ๒๑๓ ล้านนา ๒๑๓ ๓.๔ ลักษณะการเทศน์รปู แบบใหมใ่ นลา้ นนา ๒๑๕ ๓.๔.๑ ความหมายของการเทศนแ์ บบปฏภิ าณ ๒๑๕ ๓.๔.๒ ลกั ษณะการเทศนร์ ปู แบบใหมใ่ นล้านนา ๓.๔.๒.๑ การเทศนแ์ บบปฏิภาณโวหารท่ีพฒั นามา ๒๑๘ จากการแสดงพระธรรมเทศนาของ 23 พระสงฆไ์ ทยภาคกลาง ๓.๔.๒.๒ การเทศนแ์ บบปฏิภาณโวหารทพี่ ฒั นา มาจากการเทศนธ์ รรมแบบจารตี ลา้ นนา

สารบญั เรือ่ ง หน้า ๓.๔.๒.๓ การเผยแผแ่ บบปฏิภาณโวหารทพ่ี ัฒนามา ๒๒๐ จากการปาฐกถาธรรม ๓.๕ การด�ำรงอย่ขู องการเทศน์แบบจารตี ล้านนาในปจั จุบนั ๒๒๒ ๑. การเทศน์เพอื่ เยียวยาผู้ป่วย ๒๒๓ ๒. การเทศน์เพอ่ื อุทิศให้แก่ผูต้ าย ๒๒๕ ๓. การเทศน์เพอ่ื สืบชะตา ๒๒๗ ๔. การเทศน์เพื่อสัง่ สมบญุ บารมี ๒๒๙ ๕. การเทศนใ์ นพิธีพุทธาภิเษก ๒๓๐ ๖. การเทศนเ์ พ่อื ขอฝน ๒๓๒ ๓.๖ การสืบทอดการเทศน์แบบจารีตลา้ นนาในปจั จบุ ัน ๒๓๔ ๓.๗ ปัจจยั ทส่ี ่งผลตอ่ การเปล่ยี นแปลงรปู แบบการเทศน์ของล้านนา ๒๔๐ ๓.๗.๑ การเปล่ยี นแปลงทางสงั คมและวฒั นธรรม ๒๔๐ ๓.๗.๒ การเปลี่ยนแปลงดา้ นการศกึ ษาและทัศนคตขิ อง ๒๔๓ พระสงฆ์ล้านนา ๓.๗.๓ การเปลี่ยนแปลงทัศนคตแิ ละความตอ้ งการของผฟู้ งั ๒๕๐ บทท่ี ๔ สรปุ และข้อเสนอแนะ ๒๕๔ บรรณานุกรม ๒๖๑ ประวัตผิ ู้เขียน ๒๗๓ 24

บทท่ี ๑ การแสดงพระธรรมเทศนาของพระพทุ ธเจา้ หลังจากองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสรู้พระอนุตรสัมมาสัมโพธิ- ญาณแลว้ ทรงสง่ั สอนเวไนยสตั ว์ ใหห้ ลดุ พน้ จากความทกุ ขต์ ามแนวทางทตี่ รสั รนู้ นั้ รวมเป็นระยะเวลา ๔๕ พรรษา จนเกิดมีพระอริยสาวกบรรลุธรรมขัน้ สงู ต้ังแต่ พระโสดาบัน พระสกทาคามี พระอนาคามี และพระอรหันต์จำ� นวนมาก ผู้ฟัง บางสว่ น แม้ไมส่ ามารถละกิเลสตัณหาไดอ้ ยา่ งฉับพลัน แตก่ ม็ ีสตยิ ้งั คิด รูจ้ ักบาป บญุ คณุ โทษ มองเหน็ สภาพความเปน็ จริงของชวี ิต รจู้ ักขวนขวายทำ� บุญให้ทาน รักษาศีล ชำ� ระจิตใจให้บรสิ ุทธิ์ และยดึ เอาพระรัตนตรัยเปน็ ทพ่ี ึ่ง พระพทุ ธจรยิ าในการแสดงพระธรรมเทศนาเชน่ น้ี ท�ำใหพ้ ระองคไ์ ด้รับ การยกย่องเปน็ พระบรมครูของเหลา่ เทพและมนษุ ย์ และเป็นแบบอย่างในการ- แสดงธรรมสืบมา พระพทุ ธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา “พระธรรมจักกัปปวัตนสตู ร” โปรดปญั จวัคคีย์ ภาพจิตรกรรมจากหีบธรรม วัดสวนดอกพระอารามหลวง เชียงใหม่ 25

พระพทุ ธเจา้ ทรงแสดงปฐมเทศนากณั ฑแ์ รกชอื่ วา่ “พระธรรมจกั กปั ปวตั นสตู ร” ทรงแสดงโปรดเหล่าปัญจวัคคีย์ ประกอบดว้ ย โกณฑญั ญะ วปั ปะ ภทั ทยิ ะ มหานามะ และอัสสชิ ณ ป่าอิสปิ ตนมฤคทายวนั แขวงเมืองพาราณสี เมอ่ื วันเพญ็ ข้ึน ๑๕ ค่ํา เดือน ๘ แห่งอาสาฬหมาส(วันอาสาฬหบูชา)หลังจากจบ ปฐมเทศนาแล้ว โกณฑัญญะได้ดวงตาเห็นธรรม(ธรรมจักษุ) และได้รับการ อุปสมบทเป็นภิกษุรูปแรกด้วยวิธีเอหิภิกขุอุปสัมปทาด้วยพระด�ำรัสว่า “เธอจง เป็นภิกษุมาเถิด ธรรมอันเรากล่าวดีแลว้ เธอจงประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อทำ� ท่ีสดุ แห่งทุกข์โดยชอบเถิด” เป็นครั้งแรกที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงพระธรรมเทศนา และมีพระอริยสาวกที่ได้ดวงตาเห็นธรรมเป็นสักขีพยานในการตรัสรู้ของ พระองค์ ภายหลังทรงแสดงอนัตตลักขณสูตรให้แก่ปัญจวัคคีย์ฟังจนบรรลุ พระอรหันตท์ งั้ หมด ครัน้ ตอ่ มาทรงแสดงอนุบุพพกิ ถาและอริยสัจ ๔ ใหแ้ ก่ ยสกลุ บตุ รซ่งึ เกดิ ความเบ่อื หนา่ ยหนีความวุน่ วายในกามคณุ เดินฝา่ ความมืดผ่าน เข้ามาในป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เม่ือได้ฟังพระธรรมเทศนาจากพระพทุ ธเจา้ แล้วก็ได้บรรลพุ ระโสดาบัน ในขณะเดยี วกนั เศรษฐผี ู้เป็นบดิ าของยสกุลบตุ รซึ่งวิ่ง ออกตามหายสกุลบุตรก็ได้มาพบกับพระพุทธเจ้าประทับอยู่กับยสกุลบุตร แล้วได้ฟังอนุบุพพิกถาและอรยิ สจั ๔ จากพระพทุ ธเจา้ จนเกดิ ธรรมจักษไุ ด้ ประกาศตนเป็นอุบาสก ยดึ เอาพระรัตนตรัยเปน็ ทพี่ ึง่ ตลอดชวี ิต นับเป็นอบุ าสก คนแรกในพระพุทธศาสนา สว่ นยสกุลบุตร เมอ่ื ได้นงั่ ฟงั พระธรรมเทศนากับ บดิ าในรอบที่ ๒ ก็ได้บรรลุพระอรหันตใ์ นขณะท่ยี งั เปน็ คฤหสั ถอ์ ยู่ จึงไดร้ ับการ อปุ สมบทด้วยเอหิภิกขุอปุ สมั ปทา แต่พระพทุ ธเจ้าไมต่ รัสวา่ “เพือ่ ทำ� ทีส่ ดุ แห่ง ทุกขโ์ ดยชอบเถดิ ” เพราะพระยสะได้บรรลพุ ระอรหนั ต์แลว้ ครัน้ ต่อมาเสด็จไป บา้ นเศรษฐีกบั พระยสะเพ่อื รบั บณิ ฑบาต ทรงแสดงอนุบพุ พกิ ถาและอรยิ สจั ๔ โปรดมารดาและภรรยาเกา่ ของพระยสะ จนไดด้ วงตาเหน็ ธรรม จงึ ประกาศตนเปน็ อบุ าสกิ าคแู่ รกทย่ี ดึ เอาพระรตั นตรยั เปน็ ทพ่ี ง่ึ ภายหลังเพอ่ื นของพระยสะ ๕๔ คน ทราบข่าวว่า พระยสะได้ออกบวช จนบรรลุพระอรหันต์แล้ว จึงพากันไปฟังพระธรรมเทศนาจากพระพุทธเจ้า ได้เกิดความเล่อื มใส จึงทูลขออุปสมบท ตอ่ มาไดบ้ ำ� เพญ็ ธรรมจนสำ� เรจ็ เป็นพระ อรหนั ต์ 26

เมอื่ พระพทุ ธเจา้ ทรงพจิ ารณาเหน็ วา่ ในกาลน้ี มพี ระอรหนั ต์ ๖๐ รปู แลว้ ควรท่จี ะร่วมกันเผยแผพ่ ระธรรมใหแ้ พรห่ ลาย จงึ สง่ พระอรหนั ตสาวกเหล่านนั้ ไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาดว้ ยพระด�ำรัสว่า๑ “เธอท้งั หลาย จงเทยี่ วจาริกไป เพือ่ ประโยชน์และความสุขแกช่ นหมู่มาก เพื่ออนุเคราะห์โลก เพ่ือประโยชน์เก้ือกูลและความสุข แก่ทวยเทพและมนุษย์ เธอทั้งหลาย อย่าได้ไปร่วมทางเดียวกันสองรูป จงแสดงธรรมงามในเบ้ืองต้น งามในท่ามกลาง งามในทส่ี ุด จงประกาศพรหมจรรย์พรอ้ มท้งั อรรถ ทงั้ พยญั ชนะ ครบ บรสิ ทุ ธ์ิ บริบรู ณ์สนิ้ เชงิ สัตวท์ ง้ั หลายจำ� พวกทมี่ ีธุลี คือกเิ ลสในจกั ษุน้อย มีอยู่ เพราะไมไ่ ด้ฟังธรรม ยอ่ มเสือ่ ม ผู้รู้ทัว่ ถึงธรรม จกั มี ดกู ่อนภิกษทุ ัง้ หลาย แม้เราก็จกั ไปยงั ตำ� บลอรุ ุเวลาเสนานคิ ม เพือ่ แสดงธรรม...” พระอรหันตสาวกเหล่านั้น ได้แยกย้ายกันออกไปเผยแผ่พระธรรม ตามสถานท่ีตา่ งๆ มกี ลุ บตุ รจ�ำนวนมาก เกิดความเลื่อมใสต้องการออกบวช เพื่อปฏิบัติธรรมข้ันสูง แต่พระอรหัตสาวกไม่สามารถบวชให้ได้ จึงพามาเฝ้า พระพุทธเจ้า พระองค์ทรงพิจารณาเห็นความยากล�ำบากในการเดินทาง ที่ทรุ กันดาร จึงอนญุ าตให้พระอรหันตสาวก ทำ� การอุปสมบทใหแ้ ก่กลุ บตุ รผู้ เล่อื มใสได้ โดยใหโ้ กนผมและหนวดเครา นุ่งหม่ ผ้าย้อมน�้ำฝาด แลว้ เปลง่ สัจวาจา ตอ่ พระรตั นตรัย ๓ ครง้ั วา่ พุทธฺ ํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ แปลวา่ ข้าพเจ้าขอถงึ พระพุทธเจ้าเปน็ สรณะ ข้าพเจ้าขอถงึ พระธรรม เป็นสรณะ ข้าพเจ้าขอถึงพระสงฆ์เป็นสรณะ เรียกการอุปสมบทด้วยวิธีนี้ว่า ติสรณคมนูปสัมปทา หรอื ไตรสรณคมน์ นบั เปน็ วธิ ใี ห้การอปุ สมบทแบบที่ ๒ ใน ชว่ งท่ีเผยแผพ่ ระธรรม เพอ่ื แนวทางในการประพฤติพรหมจรรย์ให้ถงึ ทส่ี ุด พระธรรมได้รับการเผยแผ่ไปอย่างกว้างขวางในระยะเวลาท่ีรวดเร็ว จนมพี ระอรหันตสาวกเพ่ิมขึน้ ๑,๒๕๐ รปู กระจายตามพ้ืนท่ีตา่ งๆ ภายหลงั ไดม้ า ประชุมอย่างพร้อมเพรียงกัน โดยไมไ่ ด้มกี ารนัดหมาย ณ พระเวฬวุ นั มหาวิหาร เมอื งราชคฤห์ แควน้ มคธ เมอ่ื วนั เพญ็ ขน้ึ ๑๕ คำ่� เดอื น ๓ แหง่ มาฆมาส (วนั มาฆบชู า) ในครง้ั นน้ั พระพทุ ธเจา้ ไดแ้ สดงพระโอวาทปาฏโิ มกขแ์ กพ่ ระอรหนั ต สาวก โดยมเี นอื้ หาสำ� คญั กลา่ วถงึ แนวทางในการเผยแผพ่ ระธรรมใหเ้ ปน็ เอกภาพ โดยมุ่งหวังให้ผู้ฟังรู้แจ้งเห็นจริงด้วยปัญญา แล้วประพฤติปฏิบัติจนสามารถ ๑วิ. มหา. ๔/๓๒/๔๐. 27

ขจดั ทกุ ข์ได้อยา่ งสิน้ เชงิ ประกอบดว้ ยหลกั ธรรมสำ� คัญ วธิ กี ารเผยแผ่ และ แนวทางปฏบิ ตั ดิ ังน้ี๒ ๑. การเผยแผห่ ลกั ธรรมสำ� คญั ของพระพทุ ธศาสนา เรียกอีกอย่างวา่ “หัวใจของพระพุทธศาสนา” ประกอบด้วย การไม่ท�ำบาปทัง้ ปวง การทำ� กุศลให้ ถึงพรอ้ ม และการทำ� จติ ใหผ้ อ่ งใส ๒. เปา้ หมายสูงสดุ ในการเผยแผ่ คอื ความอดทน การไม่เบียดเบยี นผู้อนื่ ความสงบ และพระนิพพาน ๓. แนวทางปฏิบตั ใิ นการเผยแผ่ ได้แก่ การไม่วา่ รา้ ยผูอ้ ่นื การไม่ท�ำร้าย ผู้อื่น การสำ� รวมระวังในพระปาฏโิ มกข์ การรู้จกั ประมาณในการบรโิ ภค การอยู่ ในสถานทอี่ ันสงดั และการประกอบความเพยี รในจิตใหย้ ่งิ ข้ึนไป เมอ่ื พระอรหันตสาวกไดฟ้ งั พระโอวาทปาฏิโมกขแ์ ล้ว ได้น้อมนำ� ไปเป็น แนวทางในการเผยแผ่พระธรรม จนพระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองโดยล�ำดับ ภายหลงั พระพุทธเจ้าทรงเห็นว่ามพี ระอรยิ สาวกจำ� นวนมากแลว้ การอปุ สมบท ควรเป็นกิจที่ส�ำเร็จด้วยหมู่สงฆ์ จึงประทานพระบรมพุทธานุญาตให้สงฆ์ ทำ� การอปุ สมบทแกก่ ุลบุตรผเู้ ลอื่ มใสได้ เรียกวา่ ญตั ติจตุตถกัมมอุปสัมปทา ซึง่ ราธะพราหมณ์เป็นคนแรกที่ได้รับการอุปสมบทแบบญัตติจตุตถกัมมอุปสัมปทา โดยมสี ารบี ตุ รเถระเปน็ พระอปุ ชั ฌาย์ เนอื่ งจากรำ� ลกึ ถงึ อปุ การคณุ ทรี่ าธะพราหมณ์ เคยถวายข้าวบิณฑบาต ๑ ทัพพี การอปุ สมบทด้วยญตั ตจิ ตตุ ถกัมมอปุ สมั ปทาใน ครงั้ นนั้ ใช้สงฆจ์ ำ� นวน ๑๐ รูป ภายหลังทรงอนญุ าตใหป้ จั จันตชนบทมสี งฆ์ไมต่ ่�ำ กวา่ ๕ รปู แต่ถา้ ในมัชฌิมชนบท มสี งฆไ์ ม่ต่�ำกว่า ๑๐ รปู การเผยแผ่พระธรรมในชว่ งแรกน้นั ถือเปน็ ชว่ งเวลาท่ีสำ� คัญ เพราะหลกั ธรรมท่ีตรัสร้แู ละเผยแผ่ในคร้ังนนั้ เป็นส่ิงใหม่ ไมม่ ีใครกลา่ วสอนมากอ่ น และ มีลักษณะล้มล้างคติความเชื่อด้ังเดิมที่หย่ังรากลึกในสังคมอินเดียมาช้านาน แต่พระพุทธเจ้าก็สามารถเผยแผ่จนก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงสังคมอินเดียคร้ัง ใหญ่ กลา่ วคอื ชนทุกช้นั ทัง้ กษตั รยิ ์ พราหมณ์ แพศย์ ศทู ร ตลอดจนเจ้าลทั ธิหรอื เจา้ ส�ำนกั ตา่ งๆ ได้ละทิ้งคติความเชื่อดงั้ เดมิ แล้วยดึ เอาพระธรรมเป็นหลักในการ ด�ำเนนิ ชวี ติ บางคนเข้าถึงพระรัตนตรัยจนออกบวชเพือ่ ปฏบิ ัติธรรมข้นั สูง บาง คนบรรลธุ รรมเป็นพระอริยบคุ คลในระดับต่างๆ ถอื เป็นกล่มุ พทุ ธศาสนิกชนทม่ี ี คุณภาพเปน็ อยา่ งยิ่ง 28 ๒ที. มหา. ๑๐/๙๐/๕๐.

ความส�ำเร็จในการเผยแผ่พระธรรมดังกล่าว เกิดจากบุคลิกภาพและ คุณสมบัตทิ ่มี ลี กั ษณะเฉพาะของพระพุทธเจ้า กล่าวคือ๓ ๑. บุคลกิ ภาพ ทรงประกอบดว้ ยมหาบรุ ุษลกั ษณะ ๓๒ ประการ อนุพยญั ชนะ ๘๐ ประการ และสงิ่ ทท่ี ำ� ให้บุคคลเกิดความเล่อื มใส ๔ อยา่ ง เรยี ก วา่ ปมาณกิ ะ ๔ ไดแ้ ก่ ๑. รูปปั ปมาณกิ า ทรงมพี ระวรกายทส่ี งา่ งาม ทรวดทรงดี อวยั วะ สมสว่ น ท่าทางสงบ เม่ือบคุ คลเหน็ แล้วทำ� ใหเ้ กดิ ความเช่อื ถือศรัทธา ๒. โฆสปั ปมาณิกา ทรงมีพระสรุ ะเสียงที่ไพเราะ สุภาพอ่อนหวาน และ เกยี รตคิ ุณเป็นท่ียกย่องสรรเสริญ เมอ่ื บุคคลไดย้ นิ แล้วท�ำใหเ้ กิดความเชื่อถอื ศรทั ธา ๓. ลูขัปปมาณิกา ทรงใช้สอยสง่ิ ของเครื่องใชท้ ีเ่ ศร้าหมอง เช่น บาตร ผ้าไตรจีวร เปน็ ตน้ ทรงเป็นอยอู่ ย่างสนั โดษและเครง่ ครดั ในพระธรรมวนิ ยั เมือ่ บุคคลได้สมั ผสั แล้วทำ� ให้เกดิ ความเชอื่ ถอื ศรัทธา ๔. ธมั มปั ปมาณกิ า ทรงปฏบิ ตั ดิ ปี ฏบิ ตั ชิ อบและเทศนาธรรมอยา่ งแจม่ แจง้ เม่ือบุคคลพิจารณาเห็นด้วยปัญญาถึงสาระธรรมและพระจริยาวัตรของพระองค์ แลว้ ท�ำใหเ้ กดิ ความเช่ือถอื ศรัทธา บุคลิกภาพทีม่ ีลักษณะเฉพาะพระองค์นี้ ท�ำใหท้ รงสามารถครองใจคนได้ ทุกจำ� พวก คนท่ีไดเ้ หน็ พระพทุ ธเจ้าแล้ว ไมม่ ีใจเล่ือมใสนนั้ เปน็ ไปได้ยากยิง่ ๒. คณุ สมบตั ิ ทรงประกอบด้วยพระพทุ ธคุณ ๓ ประการ ไดแ้ ก่ ๒.๑ พระปญั ญาคณุ ทรงประกอบดว้ ยพระทศพลญาณและปฏสิ มั ภทิ า ๒.๑.๑) พระทศพลญาณ หรอื พระตถาคตพลญาณ ๑๐ ประการ เป็น พระลักษณะทบ่ี งั เกิดขึ้นเฉพาะพระพุทธเจา้ เทา่ นน้ั ทำ� ใหส้ ามารถเผยแผ่ธรรมะ ได้อย่างองอาจ แกล้วกลา้ และมั่นคง ประกอบดว้ ย ๑. ฐานาฐานญาณ คือพระปรีชาหย่ังรู้สิง่ ที่เปน็ ไปได้ และเปน็ ไปไม่ได้ คือรู้กฎธรรมชาติเก่ยี วกับขอบเขตของสงิ่ ทั้งหลายว่า สิ่งใดเปน็ ไปได้ สงิ่ ใดเปน็ ไป ไมไ่ ด้ แคไ่ หน อย่างไร ทำ� ให้ได้รบั ผลแห่งการกระทำ� ทีด่ ีและชว่ั ต่างกนั ๓ พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). พทุ ธวิธีในการสอน พมิ พค์ รัง้ ที่ ๒๓. กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั พิมพส์ วย จำ� กดั . ๒๕๕๑. 29 หนา้ ๑๐-๓๒.

๒. กรรมวปิ ากญาณ คอื พระปรีชาหย่ังรผู้ ลแหง่ การกระทำ� ทงั้ ในอดตี ปัจจบุ นั และอนาคต ๓. สพั พัตถคามินีปฏปิ ทาญาณ คอื พระปรีชาหยง่ั รู้แนวทางท่จี ะนำ� ไปสู่ สคุ ติ พน้ จากทคุ ติ รวมท้ังสิ่งท่เี ปน็ ประโยชน์ และไม่เป็นประโยชนท์ ้งั ปวง ๔. นานาธาตุญาณ คือพระปรชี าหย่ังร้สู ภาวะของโลก ทปี่ ระกอบด้วย ธาตุตา่ งๆ ๕. นานาธมิ ตุ ติกญาณ คอื พระปรชี าหย่ังรอู้ ัธยาศัย ความโน้มเอียง ความเช่อื ถือ ความสนใจของสัตวท์ ้ังหลาย ทเ่ี ปน็ ไปตา่ งกัน ๖. อนิ ทริยปโรปรยิ ตั ตญาณ คอื พระปรชี าหยัง่ ร้คู วามพร้อมของอินทรีย์ ของสตั วท์ ง้ั หลาย รู้ว่าสตั ว์นัน้ ๆ ประกอบดว้ ยศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา กิเลส มากน้อยเพยี งไร สามารถสอนงา่ ยหรือยาก สามารถบรรลธุ รรมได้หรือไม่ อย่างไร ๗. ฌานาทิสงั กิเลสาทญิ าณ คือพระปรชี าหยัง่ รู้ความเศรา้ หมอง ความ ผ่องแผ้ว การออกแหง่ ฌาน วิโมกข์ สมาธิ และสมาบตั ิทง้ั หลาย ๘. ปพุ เพนวิ าสานสุ สตญิ าณ คือพระปรชี าหยั่งรู้อดตี ชาติ ๙. จุตปู ปาตญาณ คือพระปรีชาหย่งั รูก้ ารจตุ ิ (ตาย) และอบุ ตั ิ (เกดิ ) ของสตั ว์ทั้งหลายทีเ่ ปน็ ไปตามกรรม ๑๐. อาสวักขยญาณ คือพระปรีชาหยงั่ ร้คู วามสนิ้ ไปแหง่ อาสวะทัง้ หลาย ๒.๑.๒) ปฏิสมั ภิทา ทรงมพี ระปญั ญาแตกฉานในด้านตา่ งๆ คณุ สมบัติ น้ี ปรากฏในพระอริยสาวกดว้ ย ไดแ้ ก่ ๑. อรรถปฏสิ มั ภทิ า ความเขา้ ใจแจม่ แจง้ ในความหมาย สามารถอธบิ าย ขยายความได้อย่างพิสดาร ๒. ธรรมปฏิสัมภิทา ความเขา้ ใจแจ่มแจง้ ในหลักหรือข้อธรรมตา่ งๆ สามารถอธิบายขยายความไดอ้ ย่างพสิ ดาร ๓. นริ ตุ ตปิ ฏสิ มั ภทิ า ความรแู้ ตกฉานในภาษา รจู้ กั ใชถ้ อ้ ยคำ� ใหเ้ ขา้ ใจงา่ ย จนท�ำให้ผู้ฟงั คลอ้ ยตามได้ ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา ความเป็นผูม้ ีปฏิภาณไหวพรบิ สามารถเข้าใจ และคดิ อยา่ งมีเหตผุ ล สามารถเชอื่ มโยมความรูต้ ่างๆ เขา้ หากนั ได้ 30

๒.๒ พระวิสุทธคิ ณุ ทรงเปน็ ผู้บรสิ ุทธ์ิ ทำ� ใหเ้ กิดความศรทั ธาเชื่อมนั่ ใน พระพทุ ธคุณ ได้อย่างสนิทใจ ไดแ้ ก่ ๑. ทรงหลุดพ้นจากอาสวะกิเลสทั้งปวง ไมท่ ำ� ชว่ั ท้ังทางกาย วาจา ใจ จนไม่มเี หตใุ ห้ใครยกขึน้ มาตำ� หนิได้ ๒. ทรงท�ำไดอ้ ย่างท่สี อน จงึ เป็นแบบอยา่ งท่ดี ีและสมบูรณ์แบบทีส่ ุด ไมม่ ใี ครเทียบได้ ๓. ทรงตั้งพระทยั สอน เพอ่ื ให้ผู้ฟงั ไดป้ ระโยชนอ์ ยา่ งแทจ้ ริง ๒.๓ พระมหากรุณาคุณ ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณออกเผยแผ่ธรรม โปรดสัตว์โลก โดยมุง่ เทศนา เพือ่ ให้ผูฟ้ ังพ้นจากความทุกข์ ทำ� ใหพ้ ระองค์เปน็ ผสู้ อนท่ีลกั ษณะเป็นกลั ยาณมติ ร ๗ ประการ ได้แก่ ๑. ปโิ ย นา่ รกั เปน็ ท่ีไวว้ างใจ และรสู้ ึกสนทิ สนม ๒. ครุ น่าเคารพ ท�ำใหร้ ู้สึกอบอ่นุ ใจ เปน็ ทพี่ ่ึงได้ และมคี วามปลอดภยั ๓. ภาวนีโย นา่ ยกย่อง มคี วามรู้ มีสติปญั ญาอยา่ งแทจ้ ริง ๔. วตั ตา รจู้ กั พูด คอยให้คำ� แนะน�ำ วา่ กลา่ วตกั เตอื น เป็นทป่ี รึกษาทด่ี ี ๕. วจนกั ขโม อดทนตอ่ ถอ้ ยคำ� พรอ้ มทจ่ี ะรบั ฟงั คำ� ซกั ถามอยา่ งไมร่ จู้ กั หนา่ ย ๖. คัมภีรญั จะ กถัง กตั ตา กลา่ วแสดงเรื่องต่างๆ ไดอ้ ยา่ งลึกซึ้ง ๗. โน จฏั ฐาเน นโิ ยชเย ไม่ชักจงู ไปในทางทีเ่ สือ่ มเสยี พระธรรมค�ำสั่งสอนท่ีเทศนาน้ัน พระพุทธเจ้าทรงเลือกน�ำมาเทศนา ใหส้ อดคล้องกับความรู้ความสนใจของผูฟ้ งั เปน็ สำ� คญั โดยใช้หลกั การสอนดงั นี้ ๑. ทรงสอนจากสง่ิ ที่เคยรู้ เคยเห็น และเขา้ ใจงา่ ย หรือร้เู หน็ เข้าใจ อย่แู ลว้ ไปหาสิ่งทีเ่ หน็ เขา้ ใจยาก หรอื ยังไม่เคยรู้ ไมเ่ คยเหน็ และไมเ่ ขา้ ใจ ๒. ทรงสอนตามล�ำดับเนื้อหาที่คอ่ ยๆ ลุ่มลกึ หรอื ยากลงไปตามล�ำดบั ความง่ายและความยาก โดยให้ตอ่ เนอ่ื งกนั ๓. ถ้าสง่ิ ท่ีทรงสอนเป็นสง่ิ ทีแ่ สดงได้ กท็ รงสอนด้วยของจรงิ เพ่อื ให้ ผเู้ รียนไดด้ ูไดเ้ ห็น ได้ฟังดว้ ยตนเอง เรยี กว่า สอนดว้ ยประสบการณ์ตรง ๔. ทรงสอนตรงตามเนอื้ หาที่ตอ้ งการสอน ไม่วกวน ไมไ่ ขว้เขว และ ไมอ่ อกนอกเรอ่ื ง 31

๕. ทรงสอนอย่างมเี หตมุ ีผล ผู้ฟังสามารถไตร่ตรอง จนเหน็ ตาม ความเป็นจริงได้ ๖. ทรงสอนเทา่ ทีจ่ ำ� เป็นและพอดี เพ่ือให้เกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ ไมใ่ ช่ สอนเทา่ ทตี่ นรู้ หรอื สอนเพ่ือแสดงภูมิรวู้ า่ ผสู้ อนมีความรมู้ าก ๗. ทรงสอนในส่ิงทเี่ ป็นประโยชน์ตอ่ ผ้ฟู งั อยา่ งแท้จรงิ ดังพระพุทธพจน์ ทีแ่ สดงใหเ้ ห็นว่า ทรงเปน็ กาลวาที สจั จวาที ภูตวาที อัตถวาที ธรรมวาที และ วนิ ยั วาทีด้วยหลัก ๖ ประการ ไดแ้ ก่ ๗.๑ ค�ำพูดทไ่ี มจ่ รงิ ไมถ่ ูกตอ้ ง ไม่เป็นประโยชน์ ไม่เปน็ ท่รี กั ทีช่ อบใจ ของผอู้ นื่ พระองค์จะไม่ตรสั ๗.๒ ค�ำพูดทจ่ี ริง ถกู ต้อง แตไ่ ม่เปน็ ประโยชน์ ไมเ่ ปน็ ทีร่ ักที่ชอบใจของผู้ อื่น พระองค์จะไมต่ รสั ๗.๓ คำ� พูดทจ่ี ริง ถูกตอ้ ง เป็นประโยชน์ ไมเ่ ป็นทีร่ ักทีช่ อบใจของผู้อ่นื พระองคจ์ ะเลือกกาลตรสั ๗.๔ ค�ำพดู ทไี่ มจ่ ริง ไม่ถูกตอ้ ง ไม่เป็นประโยชน์ ถงึ เป็นท่รี กั ที่ชอบใจของ ผู้อืน่ พระองค์จะไมต่ รสั ๗.๕ ค�ำพูดท่จี รงิ ถูกต้อง ไม่เป็นประโยชน์ ถงึ เปน็ ทรี่ กั ท่ชี อบใจของผอู้ ื่น พระองคจ์ ะไม่ตรสั ๗.๖ คำ� พูดท่จี ริง ถูกต้อง เป็นประโยชน์ เป็นทร่ี ักทชี่ อบใจของผู้อ่นื พระองค์จะเลอื กกาลตรสั 32

ภาพจติ รกรรมพระพทุ ธสิหิงค์ โดยอาจารยพ์ งษพ์ รรณ เรอื นนนั ชยั จิตรกรล้านนา 33

การแสดงพระธรรมเทศนาแต่ละคร้ัง ทรงพิจารณาถึงความพร้อมของ ผูฟ้ ังเป็นหลกั ดงั ปรากฏในพุทธกจิ ๕ ประการ ในเวลาจวนสว่าง (ปัจฉิมยาม) เม่อื เสดจ็ จงกรมแล้ว ทรงพกั ผอ่ นพระอริ ิยาบทด้วยสีหไสยาสน์ จากนนั้ เสดจ็ ลุก ขึ้นประทบั นั่งเหนือพุทธอาสน์ ทรงตรวจดสู ัตวโ์ ลกดว้ ยพุทธจกั ษุ เพือ่ สำ� รวจดู บคุ คลผู้มบี ุญญาธกิ าร และผ้ทู สี่ มควรแสดงธรรมโปรดเป็นการเฉพาะ หากบคุ คล ใดมคี วามพรอ้ มในธรรมท่ีเปน็ ก�ำลงั ใหบ้ รรลธุ รรมได้ พระองค์จะเสดจ็ ไปแสดง ธรรมโปรด เรียกผทู้ ม่ี ีความพรอ้ มในการฟงั พระธรรมเทศนาวา่ เป็นผู้มีอินทรีย์ แกก่ ล้าด้วยธรรม ๕ ประการ ประกอบดว้ ย๔ ๑. สทั ธนิ ทรยี ์ อนิ ทรยี ค์ อื ความศรทั ธาเลอื่ มใสในการตรสั รขู้ องพระองค์ ๒. วริ ยิ นิ ทรยี ์ อนิ ทรยี ค์ อื ความเพยี รในการละอกศุ ล และทำ� กศุ ลให้ ถงึ พรอ้ ม ๓. สตนิ ทรยี ์ อนิ ทรยี ค์ อื สติ ความระลกึ ไดใ้ นสตปิ ฏั ฐาน ๔ (กาย เวทนา จติ และธรรม) ๔. สมาธนิ ทรยี ์ อนิ ทรยี ค์ อื สมาธิ มจี ติ ตง้ั มนั่ แนว่ แน่ ๕. ปญั ญนิ ทรยี ์ อนิ ทรยี ค์ อื ปญั ญา ความรอบรู้ หรอื ความรทู้ วั่ ชดั ความแตกต่างทางสติปัญญาของผู้ฟัง และหลักธรรมท่ีตรัสรู้มีความ ยากง่ายสุขุมลุ่มลึกแตกต่างกันจึงเป็นสาเหตุส�ำคัญท่ีท�ำให้พระพุทธเจ้าใช้วิธีการ เทศนาที่หลากหลายเพื่อให้เหมาะสมสอดคล้องกับลักษณะของผู้ฟังแต่ละคน แต่ละสถานการณ์ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต)๕ กลา่ วว่า พระพทุ ธเจา้ มี วิธเี ทศนาดว้ ยลลี า ๔ อย่าง คอื ๑) สนั ทสั สนา อธบิ ายใหเ้ หน็ แจม่ แจง้ ชดั เจน ๒) สมาทปนา จงู ใจ ชวนใหค้ ลอ้ ยตาม น้อมนำ� ไปปฏิบตั ิ ๓) สมุตเตชนา เรา้ ใจให้แกล้วกล้า มีก�ำลงั ใจ มีความมัน่ ใจ ไมท่ ้อถอย ๔) สัมปหังสนา ทำ� ใหจ้ ิตใจชุ่มชน่ื อารมณเ์ บิกบาน ไมเ่ บอ่ื หนา่ ย ๔พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต). พจนานุกรมพทุ ธศาสตร์ ฉบบั ประมวลธรรม. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์มหาจุฬาลงกรณราช ๕พวิทรยะพาลรยัห.มค๒ณุ ๕า๔ภ๐ร.ณห์ น(ปา้ . ๑๙๘. อ. ปยุตโฺ ต). พุทธวิธีในการสอน พมิ พค์ รงั้ ที่ ๒๓. อ้างอิงแลว้ . หนา้ ๔๖. 34

การแสดงพระธรรมเทศนาแตล่ ะโอกาส ทรงเลอื กใชว้ ธิ เี ทศนาแตกตา่ งกนั กลา่ วคอื ๖ ๑. ถา้ มผี ฟู้ งั เขา้ มาเฝา้ หรอื ทรงพบในระหวา่ งทาง โดยทผ่ี ฟู้ งั นน้ั ยงั ไมร่ จู้ กั ไม่เลื่อมใส ไมเ่ ข้าใจหลกั ธรรมมาก่อน ทรงใช้วธิ ีเทศนาแบบสากัจฉา คือสนทนา ซ่งึ กันและกนั เพ่อื ให้เกดิ บรรยากาศเปน็ ทเี่ ป็นกนั เอง แลว้ ชักนำ� เข้าสูห่ ลักธรรม ท่ตี ้องการสอน วิธนี เี้ ป็นวิธีเทศนาทท่ี รงใช้มากท่ีสดุ และเปน็ วธิ ีที่ท�ำใหร้ ้ภู มู หิ ลงั ของผ้ฟู ังได้เปน็ อย่างดี ๒. ถ้ามผี ูฟ้ ังตา่ งเพศ ตา่ งวัย ตา่ งสถานภาพ มาประชมุ กนั ณ สถานทใ่ี ด ท่ีหนงึ่ จำ� นวนมาก ทรงใช้วธิ เี ทศนาแบบบรรยายใหฟ้ ัง ถา้ ผูฟ้ ังมสี มาธิตงั้ มั่น คิด พจิ ารณาไตรต่ รองตามพระด�ำรสั แมจ้ ะนง่ั อยู่ในทีส่ ่วนใดก็ตาม ย่อมสามารถรู้ แจง้ เห็นจริงจนบรรลุธรรมได้ ๓. ถา้ ผฟู้ งั มคี วามสงสยั ไดเ้ ขา้ เฝ้าทูลถามปญั หา ทรงใช้วธิ เี ทศนาแบบ ตอบปัญหา โดยอธิบายอยา่ งแจ่มแจ้ง บางคร้งั กย็ ้อนถามปญั หาไปยังผถู้ าม เพ่อื ใหร้ คู้ วามคิดเหน็ ของผถู้ ามกอ่ น แลว้ จงึ ตอบปัญหานั้น จนผู้ฟงั หมดความสงสยั แลว้ พจิ ารณาไตรต่ รองตามความเปน็ จรงิ จนมคี วามเหน็ คล้อยตาม รู้แจง้ ชดั ด้วยปัญญา ๔. ถา้ พระสาวกหรอื ผฟู้ งั มคี วามศรทั ธามงุ่ มน่ั ในการประพฤตธิ รรมระดับ ต่างๆ ทรงใชว้ ธิ เี ทศนาแบบวางกฎขอ้ บังคบั หรอื กฎระเบยี บ เพ่อื ให้ยึดถือ เปน็ ข้อปฏิบตั ิในการส�ำรวมระวังกาย วาจา ให้สงบเรยี บรอ้ ย เพื่อส�ำรวมระวัง จติ ใจไมใ่ ห้ฟุ้งซ่าน เชน่ ทรงบัญญตั ิพระวนิ ยั ส�ำหรับภิกษุ ๒๒๗ ขอ้ ภกิ ษณุ ี ๓๑๑ ข้อ ศลี สามเณร ๑๐ ข้อ ศลี อุบาสกอบุ าสกิ า ๘ ขอ้ และศีลฆราวาส ๕ ขอ้ ผฟู้ งั ท่มี ีพนื้ ฐานทางชาตกิ ำ� เนิด เพศ สติปัญญา และสถานภาพที่ แตกตา่ งกันเม่อื สนใจฟงั พระธรรมเทศนา พระพุทธเจา้ ทรงมกี ลวิธหี รอื อบุ ายใน การสอนดังนี้ ๗ ๑. การยกอทุ าหรณ์หรือนิทานประกอบ ๒. การเปรียบเทียบดว้ ยขอ้ อุปมา ๓. การใช้อุปกรณ์ หรืออา้ งองิ สงิ่ ทอี่ ยรู่ อบข้างประกอบการสอน ๔. การประพฤติพระองคเ์ ปน็ แบบอย่าง ๕. การเล่นคำ� เล่นภาษา และใช้คำ� ในความหมายใหม่ ๖เร่ืองเดยี วกนั . หน้า ๔๗. 35 ๗เรอื่ งเดยี วกัน. หนา้ ๕๒.

๖. การใช้อุบายเลอื กคนและปฏบิ ัตเิ ปน็ รายบุคคล ๗. การรู้จักจังหวะและโอกาสในการแสดงธรรม ๘. การยืดหยุน่ ไปตามสถานการณแ์ ละความแตกตา่ งของผฟู้ ัง ๙. การลงโทษและให้รางวลั ๘. การแกป้ ัญหาเฉพาะหนา้ ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ผู้ฟังไม่ว่าจะอยู่ในสถานภาพใด เม่ือต้ังใจฟังธรรมจากพระพุทธเจ้า และเหล่าพระอริยสาวกแล้ว ย่อมได้ประโยชน์จากการฟังธรรม ดังปรากฏใน ธัมมสั สวนานสิ งส์๘ คืออานสิ งส์แหง่ การฟังธรรม ๕ ประการ ได้แก่ ๑. อสั สตุ ัง สุณาติ ผูฟ้ งั ยอ่ มได้ฟังสงิ่ ท่ียังไมเ่ คยฟงั ได้เรียนรูส้ ่งิ ทย่ี งั ไม่ เคยเรียนรู้ ๒. สุตัง ปริโยทเปติ ยอ่ มเขา้ ใจชดั แจง้ ในส่งิ ทีไ่ ด้ฟังแล้ว ๓. กงั ขงั วหิ นติ สามารถบรรเทาความสงสยั แก้ข้อสงสัยได้ ๔. ทิฏฐัง อชุ ุ กโรติ ย่อมทำ� ความเห็นใหถ้ กู ตอ้ ง ๕. จิตตะมสั สะ ปสีทติ จติ ของผู้ฟังยอ่ มผอ่ งใส ในสมัยพุทธกาล ผฟู้ งั บางพวกเชื่อในอิทธิฤทธิ์ บางพวกเชอื่ ในการท�ำนาย บางพวกเชื่อค�ำสอนในลทั ธิด้ังเดิม พระพทุ ธเจา้ ทรงเลอื กวิธีการสอนอย่างเหมาะ สมกับบคุ คลแต่ละพวก จนทำ� ใหย้ อมจำ� นน ละทงิ้ คติความเช่อื ดัง้ เดิม แล้วน้อม เอาพระธรรมทท่ี รงแสดงเป็นแนวทางปฏบิ ัติ การกำ� จัดหรือทำ� ให้ฝ่ายปฏิปกั ษ์ ยอมจ�ำนนได้ เปน็ การกระทำ� ที่เหน็ เป็นอศั จรรย์ หรอื บังเกิดผลเปน็ อัศจรรย์ เรียกวา่ ปาฏิหารยิ ์ ๓ ประกอบดว้ ย๙ ๑. อิทธปิ าฏิหาริย์ คือฤทธหิ์ รอื การแสดงอทิ ธิฤทธ์ใิ หเ้ หน็ เป็นอัศจรรย์ ทรงใช้วิธนี ส้ี ำ� หรบั คนทมี่ ีพฤติกรรมรา้ ย หรอื ไม่ยอมรับคำ� สอนโดยงา่ ย เพื่อให้ สิน้ พยศก่อน แล้วจงึ แสดงพระธรรมเทศนาใหฟ้ ัง เช่น ทรงปราบชฎิล ๓ พน่ี ้อง ณ ริมฝงั่ แมน่ ้�ำเนรัญชรา ตำ� บลอรุ เุ วลาเสนานิคม โดยเสดจ็ เข้าพกั ในโรงบชู าไฟ แล้ว ๘พระธรรมปฎิ ก (ป. อ. ปยตุ ฺโต). พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. อา้ งองิ แล้ว. หน้า ๑๙๒-๑๙๓. ๙แสง จนั ทรง์ าม. วิธสี อนของพระพทุ ธเจ้า. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลยั . ๒๕๔๐. หนา้ ๒๙. 36

จับนาคราชใสใ่ นบาตร ทรงท�ำให้อรุ เุ วลกสั สปะไดเ้ ห็นทา้ วมหาราชจตโุ ลกบาล ท้ัง ๔ ท้าวสกั กะ และทา้ วสหมั บดพี รหมท่ีเข้ามาเฝา้ พระองค์ ทรงแยกน้�ำ ออกเปน็ ๒ สว่ น แลว้ เสดจ็ จงกรมในกำ� แพงนำ้� น้นั เมอื่ อรุ ุเวลกัสสปะเหน็ อทิ ธิปาฏหิ าริย์ ของพระพุทธเจ้าแลว้ จึงเกิดความเลอ่ื มใส พานอ้ ง ๒ คนคือ นทีกสั สปะ และคยากัสสปะพรอ้ มบริวาร ๑,๐๐๐ คน ออกบวชเปน็ พทุ ธสาวก จนบรรลพุ ระอรหนั ต์ ๒. อาเทศนาปาฏหิ ารยิ ์ คอื การทายใจหรอื ดกั ใจ รอบรกู้ ระบวนจติ ของผฟู้ งั สามารถก�ำหนดอาการแล้วสอนตามสภาพจิตนั้นไดถ้ ูกต้องเปน็ อศั จรรย์ ทรงใช้ วธิ ีน้ีกบั บุคคลที่เปน็ อคุ ฆฏติ ญั ญู (ผ้มู ีปญั ญามาก) และวิปจิตญั ญู (ผู้มีปญั ญา- ปานกลาง) อาเทศนาปาฏหิ าริย์ มี ๒ ลักษณะ ๑) สอนดว้ ยค�ำพดู สน้ั ๆ แตป่ ระทับใจหรอื สะดุดใจ ท�ำใหฉ้ กุ คดิ ได้ เช่น ชายหนุ่ม ๓๐ คน น�ำผหู้ ญงิ มาเทีย่ วหาความสำ� ราญ ชายหนุ่มคนหนึง่ ไมม่ คี ู่จงึ นำ� หญงิ เเพศยามาด้วย แตน่ างได้ขโมยของมีค่าของชายหน่มุ เหลา่ นนั้ ไป จงึ พากนั ออกตามหา ในระหวา่ งไดพ้ บกับพระพทุ ธเจา้ จงึ เล่าเรอ่ื งราวใหฟ้ งั แลว้ ทลู ถาม วา่ พระองคเ์ หน็ หญงิ แพศยาบ้างหรอื ไม่ พระพทุ ธเจ้าตรัสว่า พวกเธอแสวงหา ผู้หญิง กับแสวงหาตนเอง อยา่ งไหนดกี ว่ากนั ชายหนมุ่ เหล่าน้ันไดส้ ตฉิ ุกคดิ ไดว้ ่า เราควรแสวงหาตนเองดกี วา่ จงึ ยอมรบั ฟงั พระธรรมเทศนา จนในทส่ี ดุ กบ็ รรลธุ รรม ๒) สอนดว้ ยการใหล้ งมอื กระท�ำอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ จนเกดิ ความรดู้ ว้ ยตนเอง เช่น พระพุทธเจา้ ทรงให้พระจฬู ปันถก น่ังลูบผา้ ขาวไปมาพร้อมกบั ทอ่ งคำ� ว่า รโชหรณงั เมอื่ ลูบไปทอ่ งไป จติ ก็สงบ มีสมาธมิ ากขนึ้ ปัญญากเ็ กดิ ในท่ีสุด พระจฬู ปนั ถกกไ็ ด้บรรลุธรรมเป็นพระอรหนั ต์ ๓. อนสุ าสนปี าฏหิ ารยิ ์ คือการบรรยายหรือแสดงธรรมแบบธรรมดา เน้นคำ� สอนที่เปน็ จรงิ สอนให้เห็นจริง น�ำไปปฏิบัตไิ ด้ผลจรงิ เป็นอัศจรรย์ โดย ไม่ต้องใช้อิทธฤิ ทธ์ิ หรอื การทายใจเขา้ ช่วยแตอ่ ย่างใด ทรงใช้วิธีนก้ี บั คนประเภท เนยยะบคุ ล (ผ้มู ปี ัญญานอ้ ย แต่สามารถแนะนำ� สงั่ สอนให้บรรลธุ รรมได้) 37

ธรรมเทสกธรรม๑๐คณุ ธรรมสำ� หรับผ้ทู ท่ี �ำหน้าทใี่ นการแสดงธรรมใหแ้ ก่ผู้ อ่นื ควรตระหนักไว้ เรียกอกี อย่างวา่ องคแ์ ห่งพระธรรมกถกึ ประกอบดว้ ย ๑. อนปุ พุ พกิ ถงั แสดงธรรมไปโดยลำ� ดับความงา่ ย ยาก สขุ มุ ล่มุ ลกึ มีเหตผุ ลสมั พนั ธต์ อ่ เนอ่ื งกนั ไป ไมต่ ัดลัดให้ขาดความ ๒. ปรยิ ายทสั สาวี อ้างเหตผุ ลแนะน�ำให้ผู้ฟงั เข้าใจ ๓. อนทุ ยตัง ปฏจิ จะ แสดงธรรมโดยต้ังจิตเมตตา ปรารถนาให้ผู้ฟงั ได้ ประโยชน์อย่างเตม็ ที่ ๔. นะ อามสิ ันตโร ไม่แสดงธรรมเพราะเห็นแกล่ าภสกั การะ อามิส หรือ ผลประโยชนต์ อบแทนใดๆ ท้ังส้ิน ๕. อัตตานญั จะ ปรัญจะ อนุปหจั จะ ไมแ่ สดงธรรมกระทบตนและผ้อู ื่น (ไมย่ กตนขม่ ท่าน) ในเสขิยวัตรหรือข้อปฏิบัติส�ำหรับพระภิกษุท่ีต้องส�ำรวมรักษากิริยา มารยาท ทั้งทางกาย วาจา ใจ เมือ่ เข้าไปอยู่ในท่ชี มุ ชน หรือในละแวกบ้าน เพ่อื ให้ เกดิ ความศรทั ธาเลือ่ มใสของบคุ คลทพี่ บเห็น พระพทุ ธเจา้ ไดว้ างแนวทางปฏบิ ตั ิ สำ� หรบั การเทศนาไวเ้ รยี กว่า ธรรมเทศนาปฏสิ งั ยุตต์๑๑ มี ๑๖ ข้อ ดังนี้ ๑. เราจักไมแ่ สดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ มรี ่มในมือ ๒. เราจักไมแ่ สดงธรรมแกค่ นไม่เป็นไข้ มีไมพ้ ลองในมอื ๓. เราจักไมแ่ สดงธรรมแกค่ นไม่เปน็ ไข้ มีศาสตราในมอื ๔. เราจกั ไม่แสดงธรรมแกค่ นไมเ่ ป็นไข้ มีอาวธุ ในมือ ๕. เราจกั ไมแ่ สดงธรรมแกค่ นไม่เป็นไข้ สวมเขยี งเทา้ ๖. เราจักไมแ่ สดงธรรมแกค่ นไมเ่ ปน็ ไข้ สวมรองเท้า ๗. เราจักไมแ่ สดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ ไปในยาน ๘. เราจกั ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เปน็ ไข้ อยบู่ นที่นอน ๙. เราจกั ไมแ่ สดงธรรมแกค่ นไม่เป็นไข้ นง่ั ขดั เข่า ๑๐. เราจักไมแ่ สดงธรรมแก่คนไม่เปน็ ไข้ พนั ศรี ษะ ๑๑. เราจกั ไม่แสดงธรรมแก่คนไมเ่ ป็นไข้ คลุมศีรษะ ๑๐พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยตุ ฺโต). พจนานกุ รมพุทธศาสตร์ ฉบบั ประมวลธรรม. อ้างองิ แลว้ . หน้า ๑๙๒. ๑๑๒สชุ๕ีพ๓๙ป. ญุ หญนา้านุภ๑า๘พ๓. . พระไตรปฎิ ก ฉบบั ส�ำหรับประชาชน พมิ พ์คร้ังที่ ๑๖. กรุงเทพมหานคร : มหามกุฏราชวทิ ยาลัย. 38

๑๒. เราน่งั อยูบ่ นแผ่นดนิ จกั ไมแ่ สดงธรรมแกค่ นไม่เป็นไข้ นัง่ บนอาสนะ ๑๓. เรานงั่ อยบู่ นอาสนะตำ�่ จกั ไมแ่ สดงธรรมแกค่ นไมเ่ ปน็ ไข้ บนอาสนะสงู ๑๔. เรายืนอยู่ จกั ไม่แสดงธรรมแกค่ นไม่เปน็ ไข้ ผู้น่งั อยู่ ๑๕. เราเดนิ ไปขา้ งหลงั จกั ไมแ่ สดงธรรมแกค่ นไมเ่ ปน็ ไข้ ผเู้ ดนิ ไปขา้ งหนา้ ๑๖. เราเดนิ ไปนอกทาง จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ ผไู้ ปในทาง เมอ่ื พระอรยิ สาวกสำ� รวมระวงั ในพระโอวาทปาฏโิ มกข์ ยดึ หลกั การเทศนา ที่ทรงแสดงไว้ ยอ่ มสามารถเผยแผพ่ ระธรรมได้สำ� เร็จ พระอรยิ สาวกหลายรปู มีความสามารถเผยแผพ่ ระธรรมไดอ้ ย่างโดดเด่น จนไดร้ ับยกย่องเป็นเอตทคั คะ ดา้ นการแสดงธรรม คอื ผมู้ คี๑๒ณุ สมบตั ปิ ระเสรฐิ สดุ ในการแสดงธรรม เชน่ พระสารีบตุ รเถระ พระอัครสาวกเบ้อื งขวา ผู้มีปญั ญาเฉลียวฉลาด มี ปฏิภาณไหวพริบดี สามารถเทศนาธรรมได้อย่างพิสดาร จ�ำแนกแจกแจงให้ ผู้ฟังเขา้ ใจไดอ้ ย่างแจ่มแจ้ง เหมือนพระพทุ ธเจ้าทรงแสดงพระธรรมเทศนา เช่น การแสดงพระธรรมจกั ร อรยิ สจั ๔ เปน็ ตน้ จนไดร้ บั นามเรยี กขานวา่ พระธรรมเสนาบดี เป็นก�ำลังในการเผยแผ่พระธรรมอีกรูปหนึ่ง ภายหลังพระพุทธเจ้าได้ยกย่อง พระสารบี ตุ รเถระในเอตทคั คะ๑ว๓า่ เปน็ ผเู้ ลศิ กวา่ ภกิ ษทุ ้งั หลาย ผู้มปี ัญญามาก พระกุมารกสั สปเถระ พระอริยสาวกผู้มคี วามโดดเดน่ ในการแสดงธรรม อย่างพสิ ดาร โดยแจกแจงหวั ข้อธรรม และยกอปุ มาอุปไมยเปรียบเทยี บใหผ้ ฟู้ ัง รแู้ จง้ เหน็ จรงิ เขา้ ใจงา่ ย ดังเช่นเพือ่ นเกา่ ของทา่ น ท่ีเคยเกิดเปน็ ภกิ ษุรว่ มกนั ในพระศาสนาของพระกสั สปสัมมาสมั พุทธเจ้า ไดบ้ รรลุอนาคามแี ลว้ ไปบงั เกิด ในพรหมโลกชั้นสทุ ธาวาส ไดล้ งมาหาทา่ นแล้วผูกปัญหา ๑๕ ข้อให้ไปทลู ถาม พระพุทธเจ้า ภายหลังท่านได้แสดงธรรมอย่างวจิ ิตรพสิ ดาร มีอุปมาเปรยี บเทยี บ แสดงเหตแุ ละผลได้อยา่ งแจ่มแจ้ง พระพุทธเจ้าได้ยกย่องพระกมุ ารกัสสปเถระ ในเอตทคั คะว่า ผู้เลิศกว่าภกิ ษทุ ้งั ห๑๔ลาย ผู้แสดงธรรมอันวจิ ิตร พระปณุ ณมนั ตานบี ตุ รเถระ พระอรยิ สาวกผมู้ คี วามโดดเดน่ ในการแสดงธรรม เรือ่ งกถาวตั ถุ ๑๐ ประการ ใหแ้ ก่พระอานนทฟ์ ัง จนได้บรรลุพระโสดาบนั ภายหลังไดแ้ สดงใหแ้ กก่ ลุ บตุ รชาวเมืองกบิลพัสด์ุ ๕๐๐ คนฟงั จนเลื่อมใส ออกบวชเป็นศิษยใ์ นสำ� นกั ของทา่ น ๑๒ปัญญาใช้ บางยาง. ๘๐ พระอรหนั ต์ (ฉบับสมบรู ณ์).กรุงเทพฯ: ธรรมสภา. มปพ. หน้า ๑๑๙. ๑๓เรือ่ งเดยี วกัน. หน้า ๔๘๕. ๑๔เรือ่ งเดยี วกัน. หนา้ ๕๘๗. 39

นอกจากนน้ั ยังไดแ้ จกแจงวิสทุ ธกิ ถา ๗ ประการ ใหพ้ ระสารีบตุ รฟงั โดยอปุ มา ด้วยรถ ๗ สว่ น อยา่ งพสิ ดาร พระพทุ ธเจา้ ได้ยกย่องพระปุณณมันตานีบุตรเถระ ในเอตทคั คะวา่ ผเู้ ลศิ กวา่ ภกิ ษทุ งั้ หลาย ผแู้ สดงธรรมโดยพสิ ดาร (ผเู้ ปน็ ธรรมกถกึ ) พระโสณกฏุ กิ ณั ณเถระ๑๕ พระอรยิ สาวกผมู้ คี วามโดดเดน่ ในการแสดงธรรม ด้วยท�ำนองสรภัญญะที่ไพเราะจับใจ เคยแสดงธรรมถวายพระพุทธเจ้าและ มารดาของทา่ น จงึ ไดร้ บั ยกยอ่ งในเอตทคั คะวา่ ผเู้ ลศิ กวา่ ภกิ ษทุ งั้ หลาย ผแู้ สดงธรรม ดว้ ยถ้อยค�ำอันไพเราะ พระธรรมทินนาเถรี ๑๖ พระอรหันตสาวิกาผู้มีความโดดเด่นในการ แสดงธรรมเร่อื งเบญจขนั ธใ์ หแ้ ก่วิสาขอุบาสก อดตี สามซี ึง่ บรรลธุ รรมขน้ั อนาคามี ภายหลงั พระพทุ ธเจา้ ได้ยกย่องพระเถรีในเอตทคั คะวา่ ผูเ้ ลศิ กว่าภกิ ษณุ ีท้ังหลาย ผูเ้ ปน็ ธรรมกถึก นอกจากนั้น คฤหัสถ์ผ้บู รรลธุ รรมขนั้ สูง แล้วเผยแผ่ธรรมโดยยดึ แนวทาง ท่พี ระพุทธเจ้าทรงวางไว้ จนสามารถเผยแผ่ธรรมไดส้ �ำเรจ็ ภายหลงั ไดร้ บั ยกยอ่ ง เปน็ เอตทัคคะด้านการเผยแผธ่ รรม คือ จิตตคหบดี๑๗ อุบาสกผู้บรรลุธรรมข้ันอนาคามี เป็นคฤหัสถ์ที่มีความ โดดเด่นในการเผยแผธ่ รรม จนทำ� ใหพ้ ระอสิ ทิ ัตตะเถระ ซ่ึงเป็นเพอ่ื นทไ่ี ม่เคย เห็นหน้ากนั มาก่อน และอเจลลกสั สปะ เกิดความศรทั ธาเข้ามาบวชในพระพุทธ- ศาสนา ภายหลงั พระพทุ ธเจ้าไดย้ กย่องจิตตคหบดใี นเอตทคั คะวา่ ผเู้ ลิศกว่า อบุ าสกท้งั หลาย ผู้เปน็ ธรรมกถึก นางขชุ ชตุ ตรา๑๘ อบุ าสกิ าผ้ฟู งั พระธรรมเทศนาจากพระพุทธเจา้ แล้ว บรรลุพระโสดาบนั ภายหลงั ได้เผยแผ่ธรรมที่ฟังมาใหแ้ ก่พระนางสามาวดีและ บริวารฟัง จนบรรลพุ ระโสดาบัน การท่นี างขุชชตุ ตราเป็นผู้มปี ญั ญามาก สามารถ แสดงธรรมได้อยา่ งไพเราะลึกซง้ึ พระพทุ ธเจา้ จึงยกยอ่ งในต�ำแหน่งเอตทคั คะวา่ ผเู้ ลิศกว่าอุบาสิกาทั้งหลาย ผูเ้ ปน็ ธรรมกถกึ ๑๕เรือ่ งเดียวกัน. หนา้ ๘๕๑. ๑๖สพ�ำอนลักพคมิาพรุส์มลู (นเขธิ ยี โิ กนม) ลแคลีมะทอสง.ศ. วิ ๒รกั ๕ษ๓์ ๒(แ. ปหลน).้า ก๑ร๑รม๔-๑น๑ิพ๕พ.าน มหาสาวกิ าสมยั พุทธกาล พิมพค์ ร้ังที่ ๔. กรงุ เทพฯ : ๑๗หคณน้าาจ๑าร๖ย๓แ์ .ห่งโรงพมิ พเ์ ลี่ยงเซียง. อนพุ ุทธประวัติ ๘๐ องค์ ฉบับมาตรฐาน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพเ์ ลี่ยงเซียง. ๒๕๓๕. ๑๘เรือ่ งเดยี วกนั . หน้าเดยี วกนั . 40

รูปแบบการแสดงพระธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้าดังกลา่ ว จะเหน็ ได้ว่า ทรงแสดงพระธรรมเทศนาแบบปากเปลา่ หรอื แบบปฏิภาณโวหาร ไม่เปน็ พธิ ีการ ทรงปรับวิธีการแสดงพระธรรมเทศนาไปตามอุปนิสัยของผู้ฟังในแต่ละ สถานการณ์ ทรงมีหลักการในการแสดงพระธรรมเทศนาอยา่ งชดั เจน โดยมงุ่ หวงั ใหผ้ ู้ฟงั ได้รบั ประโยชน์อยา่ งเต็มที่ อีกทงั้ การแสดงธรรมในสมัยพุทธกาล ไม่ได้ จ�ำกัดเฉพาะพระพุทธเจ้าและพระอรยิ สาวกเทา่ นัน้ แมค้ ฤหัสถท์ มี่ คี วามรู้ความ เข้าใจในพุทธธรรมก็สามารถแสดงธรรมได้ จนประสพผลส�ำเร็จและได้รับการ ยกยอ่ งจากพระพทุ ธเจ้าในตำ� แหน่งเอตทคั คะด้านการแสดงธรรมหลายคน ก่อนท่พี ระพทุ ธเจา้ จะเสด็จดับขนั ธปรินพิ พาน พระองค์ไมไ่ ด้แต่งต้งั ใคร ให้เป็นพระศาสดาแทน แต่ทรงยกให้พระธรรมวินัยที่ทรงบัญญัติเป็นสิ่งแทน พระองค์ ภายภาคหน้าเมื่อพระสงฆ์มีความจ�ำนง ก็ทรงอนุญาตให้เพิกถอน สิกขาบทเลก็ น้อยได้ ภายหลงั เม่อื ทรงปรินิพพานแล้ว พระสงฆส์ าวกได้แตกแยก ทางความคิดและวถิ ีปฏิบตั ิ จนน�ำไปสู่การสังคายนาพระธรรมวนิ ยั ครง้ั ท่ี ๑ แล้วแบ่งแยกออกเป็น ๒ ฝา่ ย ไดแ้ ก่ ฝ่ายแรก คือพระสงฆ์ทย่ี ึดถอื ตามพระเถระ ในการสังคายนาคร้ังแรก ที่มีมติไม่เพิกถอนหรือปรับปรุงแก้ไขพระธรรมวินัย ทีท่ รงบญั ญตั ไิ ว้ เรียกว่า ฝา่ ยเถรวาท แปลวา่ ยดึ ถือตามวาทะของพระเถระ ส่วนอีกฝา่ ย คอื พระสงฆท์ ่คี ัดคา้ นมตพิ ระเถระในการสงั คายนาครง้ั แรก โดย ยึดถือแบบอย่างตามที่อาจารย์ได้ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงพระธรรมวินัยบางอย่าง เพ่ือให้เหมาะสมกับสภาพการณ์ เรียกฝา่ ยนวี้ า่ อาจารยิ วาท แปลว่า ยดึ ถือ ตามความคิดและแนวปฏิบัติของอาจารย์ ความแตกต่างทางความคิดและวิถี ปฏบิ ตั ดิ งั กล่าว ไดน้ ำ� มาส่กู ารแตกแยกออกเป็นนกิ ายอีกหลายนกิ าย บางสมยั มีมากถึง ๑๘ นิกาย แตล่ ะนิกายตา่ งก็มีแนวทางในการสืบทอดพระธรรมค�ำสัง่ สอนท่ีแตกตา่ งกัน กลา่ วเฉพาะนกิ ายเถรวาท ลทั ธลิ งั กาวงศ์ ทเ่ี จรญิ รงุ่ เรอื งในประเทศศรลี งั กา แล้วเผยแผ่เขา้ สู่อาณาจักรสโุ ขทยั อาณาจกั รลา้ นนา และเมืองสำ� คญั ในภมู ิภาค ลมุ่ แมน่ ำ�้ โขง เชน่ เมอื งเชยี งตงุ ประเทศสหภาพเมยี นมาร์ เมอื งสบิ สองพนั นา ประเทศสาธารณรฐั ประชาชนจีน และเมอื งหลวงพระบาง ประเทศสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว เป็นตน้ ดินแดนเหลา่ นี้ได้ให้ความส�ำคญั กบั การ เผยแผ่พระธรรมค�ำส่ังสอนเป็นอย่างมาก โดยพัฒนาคติการแสดงธรรมมาสู่ ภูมิปญั ญาทอ้ งถิน่ ในรูปแบบของพิธีกรรมที่สำ� คญั และศักดิ์สิทธิ์ 41

อาณาจักรล้านนา ดินแดนท่ีเปน็ ศูนย์กลางการเมืองการปกครอง และ การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาไปยังเมืองส�ำคญั ในภูมภิ าคลุ่มแม่น้ำ� โขง มวี ฒั นธรรม การเทศนท์ ม่ี เี อกลกั ษณ์เฉพาะตน ทง้ั ด้านรปู แบบและคติความเช่อื นอกจากจะ สืบทอดพระธรรมค�ำส่ังสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว ยังมีบทบาทในการปลูกฝัง ทศั นคติ ความเชอื่ โลกทศั น์ และคา่ นยิ มทางพระพทุ ธศาสนาใหแ้ กช่ าวลา้ นนาดว้ ย ศิลปกรรมไมแ้ กะสลกั พระพุทธเจา้ แสดงธรรมใน ทา่ มกลางพระอรหันต์ ๘ ทิศ วัดท่าทุ่ม ต�ำบลสนั พระเนตร อำ� เภอสันทราย จงั หวัดเชยี งใหม่ 42

บทท่ี ๒ การเทศนแ์ บบจารตี ล้านนา อาณาจักรล้านนา เป็นดินแดนท่ีพระพุทธศาสนามีความเจริญรุ่งเรือง มาอยา่ งยาวนาน ชาวลา้ นนามคี วามเคารพศรทั ธาและยดึ เอาพระธรรมคำ� สงั่ สอน ของพระพุทธเจา้ เปน็ แนวทางในการดำ� เนนิ ชวี ติ จนเกดิ ความสงบสุข นอกจากนัน้ ยังได้สร้างสรรคป์ ระเพณี พิธีกรรม และศิลปวฒั นธรรมแขนงต่างๆ โดยมพี นื้ ฐาน มาจากความศรทั ธาอนั บรสิ ทุ ธใิ์ นพระพทุ ธศาสนาผสมกบั คตทิ อ้ งถน่ิ จนมเี อกลกั ษณ์ ทโ่ี ดดเด่น ๒.๑ การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในล้านนา แตเ่ ดมิ กอ่ นทพ่ี ระพทุ ธศาสนาจะเผยแผเ่ ขา้ มา ดนิ แดนลา้ นนากม็ ลี กั ษณะ เหมอื นกบั ดนิ แดนอน่ื ๆ ทอ่ี ยใู่ กลเ้ คยี งกนั คอื นบั ถอื ผี วญิ ญาณบรรพบรุ ษุ และ สง่ิ ที่มีอำ� นาจเหนอื ธรรมชาติ มคี วามเช่อื ในโชคลางของขลัง โชคชะตาราศี ถอื ฤกษง์ ามยามดี (มอื้ จนั วนั ด)ี ตามวถิ แี หง่ สงั คมทเี่ ลย้ี งชพี ดว้ ยการลา่ สตั วแ์ ละเกษตรกรรม ท่ีต้องพึ่งพาอาศัยธรรมชาติในการด�ำรงชีวิต ภายหลังพระพุทธศาสนาได้เข้ามา ประดิษฐานต้ังมั่นจนมีความเจริญรุ่งเรือง เน่ืองจากพระสงฆ์สาวกได้รว่ มกนั เผยแผค่ ร้ังใหญ่ซ้�ำกันถงึ ๓ ครั้ง ดงั ปรากฏหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ทอ้ งถิ่นว่า๑๙ ครง้ั แรก พ.ศ. ๑๒๐๔ ในรชั สมยั พระนางจามเทวี พระราชธดิ ากษตั รยิ ม์ อญ แห่งเมอื งละโว้ อาณาจกั รทวาราวดี เสด็จขึน้ มาครองเมืองหรภิ ุญชัย(ลำ� พูน) ในครง้ั น้นั พระนางไดน้ ำ� พระมหาเถระผู้รอบรู้พระไตรปฎิ กจำ� นวน ๕๐๐ รปู พรอ้ มดว้ ยบรวิ ารจำ� นวนหนง่ึ ขน้ึ มาดว้ ยดงั ความปรากฏในตำ� นานชนิ กาลมาลปี กรณ์๒๐ วา่ “...พระเจา้ จักรพรรดิ มพี ระธดิ าองค์หนึง่ พระนามว่า พระนางจมั มเทวี เป็นอัครมเหสขี องพระเจ้าประเทศราชในเมืองรามญั ก�ำลังทรงครรภ์ได้ ๓ เดือน เจ้าจักรพรรดทิ รงสง่ พระนางจัมมเทวีพระธิดาของพระองค์ ใหม้ าครองราชสมบตั ิ ในทีน่ ้ี (หรปิ ุญชยั ) ฝา่ ยพระนางพร้อมดว้ ยบรวิ ารหมใู่ หญ่ จ�ำพวกละ ๕๐๐ องค์ กับพระมหาเถระทรงไตรปิฎก ๕๐๐ องค์ ลงเรือมาตามแม่น�ำ้ พิงค์ ๗ เดือน จึง บรรลุถึงเมอื งน้.ี ..” ๑๙ปหนระา้ เส๒ร.ฐิ ณ นคร และปวงค�ำ ตยุ้ เขียว. ตำ� นานมูลศาสนาเชยี งใหม่และเชียงตงุ . กรุงเทพฯ: ศักดิโ์ สภาการพมิ พ์. ๒๕๓๗. 43 ๒๐แพสรงะคมรนูสวุวิทัตูรถ.ป์ิ ชัญนิ ญกาาโลสมภาติ ลปีวัดกแรณสน์ พเมมิ อื พงค์มราั้งหทลี่ว๘ง. (เหชัวียขงใว่ หง)มอ่: ำ�จเดั ภพอมิ เมพือใ์ นง งจาังนหทวำ�ัดบเชญุ ยี องาใหยมวุ ฒั่. ๒น๕ม๕งค๒ล. หนา้ ๑๘๗.

นอกจากพระนางจามเทวจี ะนำ� พระพทุ ธศาสนามาเผยแผด่ ว้ ยแลว้ ยงั นำ� อารยธรรมแบบทวารวดมี าเผยแผด่ ว้ ย เชน่ พระสถปู ทรง ๔ เหลย่ี ม สวุ รรณจงั โกฏ- เจดยี ์ เปน็ ตน้ ภายหลงั พระเจา้ อาทติ ยราชทรงสรา้ งพระธาตหุ รภิ ญุ ชยั ปชู นยี สถาน สำ� คญั ทางพระพทุ ธศาสนาในเมอื งหรภิ ญุ ชยั ในสมยั นนั้ พระสงฆเ์ อาใจใสต่ อ่ การ ศกึ ษาเลา่ เรยี นพระไตรปฎิ กและเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา จงึ ทำ� ใหพ้ ระพทุ ธศาสนา ในยคุ แรกมคี วามเจรญิ รงุ่ เรอื งและประดษิ ฐานตงั้ มน่ั อยา่ งรวดเรว็ ครั้งท่ี ๒ พ.ศ. ๑๙๑๒ รชั สมัยของพระญากือนา พระองค์อาราธนา พระสมุ นเถระจากสโุ ขทยั นำ� พระพทุ ธศาสนานกิ ายรามญั วงศห์ รอื นกิ ายลงั กาวงศเ์ กา่ จากนครพัน(เมืองเมาะตะมะ) มาเผยแผ่ในเมืองล�ำพูนและเชียงใหม่อีกคร้ัง หนง่ึ โดยมวี ดั ปทมุ บุปผาราม หรือวัดสวนดอกไม้ ซงึ่ ปัจจุบนั เรียกวา่ “วดั สวน ดอก” จงั หวดั เชียงใหม่ เปน็ ศูนยก์ ลางการเผยแผ่ เรยี กพระพุทธศาสนาฝา่ ยน้ีวา่ “พระสงฆฝ์ า่ ยวดั สวนดอก หรอื ฝา่ ยบปุ ผวาส”ี การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในลา้ นนา ครั้งนี้ นับเป็นการเผยแผ่คร้ังที่ ๒ ท�ำให้พระพุทธศาสนาแพร่หลายและมี ความเจรญิ มั่นคงย่งิ ขน้ึ ครั้งที่ ๓ พ.ศ. ๑๙๗๓ รชั สมยั พระเจ้าสามฝ่ังแกน ในสมยั นี้พระสงฆช์ าว เชียงใหม่ คือพระมหาธรรมคัมภีรเ์ ถระ (พระมหาญาณคัมภรี เ์ ถระ) ๒๔ รูป พรอ้ ม ดว้ ยคณะสงฆจ์ ากแควน้ กมั โพช(ลพบรุ )ี อกี ๘ รปู ๒๑เดนิ ทางไปศกึ ษาพระพทุ ธศาสนา ท่ลี งั กา แล้วนำ� เอาคตทิ างพระพทุ ธศาสนาจากลงั กามาเผยแผใ่ นเชยี งใหม่ เรียก วา่ “นิกายลังกาวงศ์ใหม่” โดยมวี ดั ปา่ แดงมหาวหิ ารเปน็ ศนู ยก์ ลางการเผยแผ่ ถอื เปน็ ครง้ั แรกทพ่ี ระสงฆล์ า้ นนาเดินทางไปศึกษาพระพุทธศาสนาในต่างประเทศ เรยี กพระพทุ ธศาสนาฝา่ ยนอ้ี กี อยา่ งวา่ พระสงฆฝ์ า่ ยวดั ปา่ แดง หรอื ฝา่ ยสหี ฬรตั ตาราม นบั เป็นครง้ั ที่ ๓ ทีพ่ ระพุทธศาสนาได้เผยแผซ่ �ำ้ ในดินแดนล้านนา ๒๑สพวโิำ�รรนะจกันนวค์ ิชอราินปกทรานงัรฤนมททหธ.์ าิ์พ(วปริทญัะยพญาุทลาัยธวศมชาหิโรสา)นจบาฬุ ใรานรลณลง้ากานธรนิกณาารรบา.ชทเชวคิทียวงยาใามหลใมัยน่:หวโนคิทังรยสงากือเขาเตรถศเรชูนายี ยภง์ศใิเษหึกมษก.่:าพ๒พร๕ธิ ะีย๕พก๓ทุย.ธอหศสนามา้สณน๑ศา๐ปกั ๘รด.ะ์พิ เทระศสเพงฆอ่ื นใ์ นบลา้ า้นนนา. 44

พระมหาธรรมคัมภีร์และคณะไปศกึ ษาพระพุทธศาสนาในลงั กา ภาพจติ รกรรมฝาผนังจากวดั มณเฑียร อา� เภอเมือง จังหวดั เชยี งใหม่ การทีพ่ ระพทุ ธศาสนาได้รบั การเผยแผค่ รงั้ ใหญ่ถงึ ๓ ครงั้ ดงั กลา่ ว แม้ จะท�าให้พระพุทธศาสนามีความเจริญมั่นคง และท�าให้ชาวล้านนาในสมัยน้ัน มีความสนใจศึกษาและปฏิบัติตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามากขึ้น แต่ ก็ท�าให้เกิดความขัดแย้งทางความคิดและการปฏิบัติระหว่างพระสงฆ์ล้านนา ๒ กลุ่ม คือกลุ่มพระสงฆ์ลัทธิลังกาวงศ์เก่า (ฝ่ายวัดสวนดอก) กับพระสงฆ์ ลัทธิลังกาวงศ์ใหม่ (ฝ่ายวัดป่าแดง) แต่หลังจากเหตุการณ์เหล่าน้ีคล่ีคลายลง แล้ว พระพุทธศาสนาในล้านนาก็มีความเจริญรุ่งเรืองมากขึ้น โดยเฉพาะใน รชั สมยั ของพระญาติโลกราช (พ.ศ. ๑๙๘๔-๒๐๓๐)๒๒กษัตริยแ์ ห่งราชวงศม์ ังราย ลา� ดับที่ ๑๐ ทรงเอาใจใส่ตอ่ การเผยแผแ่ ละบูรณะปฏสิ ังขรณ์พระพุทธศาสนาให้ เจรญิ รงุ่ เรือง ดังปรากฏพระราชกรณยี กิจในหนงั สอื ชนิ กาลมาลีปกรณ์ ตา� นาน พืน้ เมอื งเชียงใหม่ และพงศาวดารโยนกที่กล่าวถึงพระองค์วา่ ทรงอปุ ถมั ภ์ กลุ บตุ ร ๕๐๐ คน อปุ สมบท ณ ทา่ สฐานหลวง ทรงให้การอปุ ถัมภก์ ารบรู ณะ ปฏสิ งั ขรณว์ ดั เจดยี ห์ ลวง ทรงสรา้ งวดั ปา่ แดงมหาวหิ าร ซงึ่ เปน็ สถานทถ่ี วายพระเพลงิ พระศพพระบิดาและพระมารดา ๒๒อดุ ม รงุ่ เรืองศรี และเกรกิ อัครชโิ นเรศ. พระญาติโลกราชะ. เชยี งใหม:่ โฮงเฮียนสืบสานภมู ปิ ญั ญาลา้ นนา. ๒๕๕๒. 45

ทรงสร้างวัดมหาโพธาราม (วัดเจ็ดยอด) และสตั ตมหาสถาน ทรงอาราธนา พระแก้วมรกตจากเมอื งลำ� ปาง มาประดษิ ฐานในซุ้มพระเจดีย์หลวงกลางเมือง- เชียงใหม่ นอกจากน้นั พระองค์ยังทรงออกผนวชเป็นภกิ ษใุ นขณะทยี่ ังทรงครอง ราชสมบัติดว้ ย เหตุการณส์ �ำคัญทางประวัติศาสตร์พระพทุ ธศาสนาในล้านนา ทเ่ี กิดขึน้ ในรชั สมยั ของพระญาติโลกราชอีกเหตกุ ารณห์ นงึ่ คือการสงั คายนาช�ำระคมั ภีร์ พระไตรปฎิ กครั้งท่ี ๘ (นบั การสังคายนาแบบไทย) ณ วดั มหาโพธาราม เมอ่ื พ.ศ. ๒๐๒๐ ซ่งึ กล่าวไว้ในพงศาวดารโยนก พระราชพงศาวดารกรงุ รัตนโกสินทร์ รัชกาลท่ี ๑ และสังคตี ิยวงศ์ อนั เป็นเอกสารประวัติศาสตร์ของไทยภาคกลาง แต่เหตกุ ารณส์ ำ� คัญน้ี กลับไม่ปรากฏในเอกสารประวตั ิศาสตรท์ ้องถิน่ ลา้ นนา ฉบับสำ� คัญตา่ งๆ ทัง้ หนงั สือชินกาลมาลีปกรณ์ ตำ� นานพื้นเมืองเชียงใหม่ ตำ� นาน มลู สาสนา และหนงั สอื Zinme Yazawin ท�ำใหเ้ ร่อื งน้ี ยังเปน็ ประเด็นศกึ ษาของ นกั วชิ าการและผสู้ นใจอยู่ แต่อย่างไรก็ตาม ในรชั สมัยของพระญาตโิ ลกราช ถอื เปน็ ยุคท่พี ระพทุ ธศาสนาในอาณาจักรลา้ นนามคี วามเจรญิ รุ่งเรืองเป็นอย่างมาก ภาพจิตรกรรมพระญาติโลกราช โดยอาจารย์พงษพ์ รรณ เรือนนันชยั จติ รกรล้านนา หลังจากเหตุการณ์ความขัดแย้งของพระสงฆ์ล้านนาได้คลี่คลายลง พระพุทธศาสนาไดร้ ับการอุปถมั ภจ์ ากกษัตริย์ ทำ� ให้พระสงฆแ์ ต่ละรปู ตา่ งกลบั มาศกึ ษาพระไตรปฎิ กอยา่ งจรงิ จงั จนมพี ระสงฆท์ เี่ ปน็ ปราชญท์ างพระพทุ ธศาสนา หลายรูป ที่สามารถแต่งคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาด้วยภาษาบาลีหลายเร่ือง 46 เผยแพร่อย่างกว้างขวาง เป็นสิ่งแสดงให้เห็นว่า พระสงฆ์ล้านนาในยุคน้ัน

มีความรู้ทางภาษาบาลีและเรือ่ งราวทางพระพทุ ธศาสนาเปน็ อยา่ งดี ตัวอย่าง พระสงฆท์ ่ีแต่งคัมภรี ส์ ำ� คัญและมชี ่ือเสยี งเป็นท่ปี รากฏดังนี้๒๓ ๑. พระญาณกติ ตเิ ถระ (พ.ศ.๒๐๒๔-๒๐๓๙) แตง่ คมั ภรี ป์ าตโิ มกขคณั ฐที ปี นี สีมาสังกรวินจิ ฉยั และสมันตปาสาทิกาอตั ถโยชนา ๒. พระสริ มิ งั คลาจารย์ (พ.ศ.๒๐๖๓) แตง่ คมั ภรี เ์ วสสนั ตรทปี นี มงั คลตั ถทปี นี จกั กวาฬทปี นี และสังขยาปกาสกฏีกา ๓. พระญาณกติ ตเิ ถระ(พ.ศ.๒๐๔๗) แต่งคัมภรี อ์ ฎั ฐสาลินอี ัตถโยชนา สมั โมหวโิ นทนอี ตั ถโยชนา ธาตกุ ถาอตั ถโยชนา ปคุ คลปญั ญตั อิ ตั ถโยชนา กถาวตั ถุ อตั ถโยชนา ยมกอตั ถโยชนา ปฏั ฐานอัตถโยชนา อภธิ ัมมัตถวภิ าวินีอตั ถโยชนา และมลู กัจจายนอตั ถโยชนา ๔. พระสิรริ ัตนปญั ญาเถระ (พ.ศ.๒๐๖๐-๒๐๖๕) แตง่ คมั ภรี ช์ นิ กาลมาลี ปกรณ์ มาตกิ ตั ถสรปู ธมั มสังคณี และวชิรสารัตถสงั คหะ ๕. พระสวุ รรณรังสเี ถระ แตง่ ปฐมสมโพธิ ๖. พระโพธริ ังสีเถระ (พ.ศ.๑๙๘๕-๒๐๖๘) แต่งคัมภีรจ์ ามเทวีวงส์ และ สหิ ิงคนทิ าน ๗. พระสุวัณณรังสเี ถระ (พ.ศ.๒๑๒๘) แต่งคมั ภรี ์คันถาภรณฏกี า ๘. พระสัทธัมมกิตติมหาผุสสเทวเถระ (พ.ศ.๒๐๕๐) แต่งคมั ภรี ์ สทั ทพินทุอภินวฏีกา ๙. พระญาณวิลาสเถระ แตง่ คมั ภรี ส์ งั ขยาปกาสกะ นอกจากพระสงฆ์ลา้ นนา จะสามารถแตง่ วรรณกรรมพระพุทธศาสนา เป็นภาษาบาลลี ว้ นดังกล่าวแล้ว ภายหลังไดม้ ีพระสงฆอ์ ีกจ�ำนวนหนง่ึ ท่สี ามารถ แตง่ วรรณกรรมพระพุทธศาสนาดว้ ยภาษาถ่นิ ลา้ นนาหลายเรื่องหลายผกู ส�ำหรบั ใชเ้ ทศนส์ ง่ั สอนชาวลา้ นนา ท้งั ที่ปรากฏชอ่ื ผแู้ ตง่ และไมป่ รากฏชื่อ เชน่ มหา- เวสสันดรชาดก ชาดกนอกนบิ าต ต�ำนานพระธาตุ วรรณกรรมคำ� สอน คัมภรี -์ อานสิ งส์ เป็นตน้ โดยเฉพาะมหาเวสสันดรชาดกมีมากกว่า ๒๐๐ สำ� นวน แต่ ไม่ปรากฏช่อื ผแู้ ต่ง บอกแต่เพยี งนามแฝงเอาไว้เท่านั้น บางส�ำนวนบอกต�ำแหน่ง ท่อี ยขู่ องผู้แตง่ เชน่ ช่ือบา้ นหรือชื่อเมอื ง ตัวอย่าง ส�ำนวนเชียงแสน สำ� นวนพันนา เชยี งรงุ้ สำ� นวนมหาราชครเู ชียงใหม่ ส�ำนวนเชยี งทอง สำ� นวนวิงวอนนอ้ ย ส�ำนวน- ไผ่แจเ้ รียวแดง เปน็ ต้น สาเหตุที่ไม่ปรากฏช่อื ผ้แู ต่งคมั ภรี ์ธรรมเหลา่ นี้๒๔อาจเป็น ๒๓ ๒๔ พลขิริตรณลเพขิ ็ญติ าเนคนรทอื ์.ไทวยรรบณรกรรณรามธพกิ ุทาธรใ.นเชลยีา้ งนในหามป่:รสะถเาภบทันปวกิจรัยณส์พังคเิ ศมษมบหทาวคิทวายมาลในยั หเชนยี ังงสใือหมว.่ ร๒รณ๕๔ก๐รร.มหพนทุ้าธ๑ศ๑า๕สน-๑า๑ใน๙ล. ้านนา. 47 สิงฆะ วรรณสยั . ปริทศั น์วรรณคดีลานนาไทย. เชยี งใหม:่ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่. ๒๕๓๒.หน้า ๒๑.

เพราะนกั ปราชญใ์ นสมยั โบราณ มคี วามชำ� นาญในการแตง่ วรรณกรรมดว้ ยภาษาบาลี จำ� นวนมาก หากใครนำ� นทิ านมาแตง่ หรือแตง่ เรื่องงา่ ยๆ คงเป็นทต่ี ำ� หนขิ อง ผอู้ ื่น หรือลดเกยี รติภูมิของตนเอง ดว้ ยเหตุนวี้ รรณกรรมพระพุทธศาสนาบางสว่ น จงึ ไมป่ รากฏช่อื ของผแู้ ต่ง ๒.๒ การจารกึ พระธรรมลงใบลาน หลังจากที่พระมหาธรรมคัมภีร์และคณะได้เดินทางกลับจากการศึกษา พระพุทธศาสนาในลงั กา เมอื่ พ.ศ. ๑๙๗๔ นอกจากจะน�ำแนวคิดและวิถปี ฏบิ ัติ จากลงั กาใหมม่ าเผยแผแ่ ลว้ ยงั ไดน้ ำ� แบบอยา่ งการแตง่ คมั ภรี ธ์ รรมหรอื การจารกึ พระธรรมลงสใู่ บลานมาใช้ โดยใชต้ วั อกั ษรไทยวน หรอื อกั ษรลา้ นนา ซงึ่ เปน็ ตวั อกั ษรทค่ี ลค่ี ลายมาจากอกั ษรมอญโบราณในอาณาจกั รหรภิ ญุ ชยั (ลำ� พนู ) เมอื่ ประมาณ พ.ศ. ๑,๖๐๐ มาใชใ้ นการจารกึ เมอื่ นำ� อกั ษรไทยวนดงั กลา่ วมาจารกึ คำ� สอนทางพระพทุ ธศาสนา จงึ เรยี กอกั ษรนวี้ า่ อกั ษรธรรมลา้ นนา เรียกใบลาน ทจี่ ารึกพระธรรมวา่ คมั ภรี ใ์ บลาน หรอื คัมภีรธ์ รรม ภายหลงั พระพทุ ธศาสนาได้ เผยแผ่ไปสูเ่ มืองเชยี งตงุ เชยี งรุ่ง และลา้ นช้าง ท�ำให้คัมภรี ์ใบลานและอักษร ล้านนาไดเ้ ผยแพรไ่ ปด้วย โดยเมืองเหลา่ นั้นต่างก็ปรบั ปรงุ ตัวอักษรใหเ้ หมาะสม กบั วัฒนธรรมของตน ดงั น้นั หากใครอ่านตัวอกั ษรไทยวนหรืออกั ษรลา้ นนาได้ ก็ จะสามารถอา่ นตวั อกั ษรไทเขนิ อักษรไทลือ้ และอกั ษรธรรมอสี านได้เช่นกนั คัมภีร์ใบลานจารด้วยอักษรธรรมล้านนาท่ีมีอายุเก่าแก่ท่ีพบในปัจจุบัน คือเรอ่ื งตงิ สนบิ าต จารเมอ่ื จ.ศ. ๘๓๓ ตรงกับ พ.ศ. ๒๐๑๔ พบที่วดั ไหล่หนิ ตำ� บลไหลห่ นิ อ�ำเภอเกาะคา จงั หวัดลำ� ปาง ซึง่ เป็นคมั ภรี ท์ จี่ ารด้วยอกั ษรไทยวน เปน็ ภาษาบาลี จารหลงั จากพระมหาธรรมคมั ภรี แ์ ละคณะกลบั จากลงั กา ๔๐ ปี และ จารกอ่ นการสังคายนาคร้ังท่ี ๘ ณ วัดมหาโพธาราม (วดั เจ็ดยอด) ๖ ปี แสดงว่า ในช่วงที่พระมหาธรรมคมั ภรี ์กลับจากลงั กา มีการจารกึ พระธรรมลงใบลานแล้ว แตก่ ารแตง่ คมั ภรี พ์ ระพทุ ธศาสนาสำ� คญั ของพระเถระรปู ตา่ งๆนนั้ เกดิ ขน้ึ หลงั จาก การสงั คายนาครงั้ ท่ี ๘ เมอื่ เหตกุ ารณว์ วิ าทะของพระสงฆท์ งั้ ๒ ฝา่ ยสงบลง ทำ� ให้ พระสงฆ์แต่ละรูป ต่างตระหนักถึงความส�ำคัญของการศึกษาพระไตรปิฎก อนั เปน็ หลกั การทถ่ี กู ตอ้ งตามพระพทุ ธประสงค์ จงึ แยกออกไปศกึ ษาและสรา้ งสรรค์ วรรณกรรมพระพุทธศาสนาด้วยภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ อย่างจรงิ จัง วรรณกรรมเหลา่ นี้ 48

มบี ทบาทสำ� คญั ในการอธบิ ายขยายความพระธรรมคำ� สงั่ สอนของพระพุทธเจ้าให้ พสิ ดารในบรบิ ทล้านนา การจารึกพระธรรมลงสู่ใบลาน สืบเนื่องจากเหล่าพุทธสาวกในสมัย พระพุทธกาลได้สืบทอดพระธรรมดว้ ยการจดจำ� พระพุทธพจน์ แลว้ ส่ังสอนสืบต่อ กนั มา ดว้ ยวิธที อ่ งจ�ำด้วยปากเปลา่ ระหว่างอาจารย์กับศิษย์ เรยี กวา่ การสืบทอด แบบมขุ ปาฐะ ภายหลงั เมอ่ื องคส์ มเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ เสดจ็ ดบั ขนั ธปรนิ พิ พาน แล้ว เหลา่ พระสาวกมคี วามคดิ และวิถีปฏิบัติแตกต่างกัน เป็นเหตุให้เกิดการ ทบทวน รวมรวม และจดั พระธรรมวนิ ัยใหเ้ ปน็ หมวดหมู่ เพอื่ รักษาและเผยแผ่ พระพุทธพจนใ์ หเ้ ป็นไปในแนวทางเดียวกัน เรยี กวา่ การสังคายนาพระธรรมวนิ ยั การสงั คายนาครง้ั ที่๑-๔ยงั คงใชว้ ธิ สี บื ทอดแบบมขุ ปาฐะโดยมพี ระอรหนั ต์ (เบขา้างรแ่วหมง่ รเปับน็ รอพง.ศค.ว๔า๓ม๓ถ)ูก๒๕ตพ้อระงเจา้ จวนฏั กฏรคะามทณั่งกอี าภรยั สกังษคตัารยยินแ์ าหคง่ รล้ังงั ทกา่ี ทว๕ปี พ.ศ.๔๕๐ องคอ์ ปุ ถมั ภ์ การสังคายนาพระธรรมวินัย ทรงพิจารณาเห็นการณ์ไกลว่าในอนาคต บรรดากลุ บตุ รจกั มคี วามจำ� นอ้ ย ไมอ่ าจทอ่ งจำ� พระไตรปฎิ กไดท้ ง้ั หมด ทรงเกรงวา่ การท่องจ�ำแบบมุขปาฐะอาจมีความวิปริตผิดพลาด จนพระธรรมวินัยอาจ สูญหายได้ ดังนั้นเพือ่ ปอ้ งกันไม่ให้พระไตรปฎิ กสูญหาย ท่ปี ระชมุ สังคายนา จึงมมี ตใิ หภ้ กิ ษุผทู้ รงจ�ำพระไตรปฎิ กและอรรถกถา ชว่ ยกันจารกึ พระไตรปฎิ ก ท้ังหมดลงสู่ใบลาน ซ่ึงเป็นวัสดุธรรมชาติที่มีความคงทน ให้เป็นหมวดหมู่ นับเป็นคร้ังแรกท่ีมีการบันทึกพระไตรปิฎกลงสู่ใบลาน ดังความตอนหน่ึงของ ชนิ กาลมาลปี กรณก์ ลา่ ววา่ ๒๖ “...เม่ือพระเจ้าวัฏฏคามินีครองราชสมบัติในเมืองอนุราธปุระ พระภกิ ษรุ นุ่ กอ่ นมปี ญั ญามาก ไดจ้ ำ� พระไตรปฎิ กและอรรถกถาพระไตรปฎิ ก นนั้ ไวด้ ว้ ยปากเปลา่ พอตกมาถงึ สมยั นนั้ (สมยั พระเจา้ วฏั ฏคามนิ )ี พระ ภิกษุทั้งหลายมองเห็นความเส่ือมแห่งสติปัญญาของสัตว์(คน) ทั้งหลาย จงึ ประชมุ กนั เขยี นพระธรรมไวใ้ นใบลาน เพอ่ื ใหพ้ ระธรรมนนั้ ถาวรตลอด กาลนาน พระราชาวฏั ฏคามนิ นี นั้ ครองราชยส์ มบตั อิ ยู่ ๑๒ ปี นบั ทงั้ ครง้ั แรก ๕ เดอื น รวมเปน็ ๑๒ ปี กบั ๕ เดอื น ดว้ ยประการฉะนฯี้ ...” ๒๕สุเทพ พรมเลิศ. พระไตรปฎิ กศึกษา. กรงุ เทพมหานคร: ไทยรายวนั การพิมพ.์ ๒๕๓๘. หนา้ ๙๘. 49 ๒๖แสง มนวิทูร. ชินกาลมาลีปกรณ.์ อ้างแลว้ . หนา้ ๑๖๒.

พระพทุ ธโฆสาจารย์ น�ำคมั ภีร์วิสุทธมิ รรคทร่ี จนาลงใบลานแลว้ ๓ ชุด ถวายแกพ่ ระมหาสงั ฆเถระ ในท่ามกลางชมุ นุมสงฆ์คณะมหาวิหาร เม่อื พ.ศ. ๙๕๖ ภาพจติ รกรรม ณ กัลยาณีวหิ าร ประเทศศรีลังกา (ขอบคุณภาพจาก หนังสอื คัมภรี ์วิสทุ ธิมรรค สมเด็จพระพฒุ าจารย์ (อาจ อาสภมหาเถระ) แปลและเรียบเรยี ง พมิ พ์ครงั้ ที่ ๑๑ พ.ศ. ๒๕๕๖ หน้า [๗]) หลังจากท่ีพระไตรปฎิ กได้รับการบันทึกลงใบลานแลว้ เหล่าพระสงฆ์ตา่ ง ก็ใช้พระไตรปิฎกดังกล่าวเป็นแนวทางในการศึกษาและเผยแผ่พระพุทธศาสนา เร่ือยมา ด้วยเหตุนี้ ใบลานจึงมบี ทบาทสำ� คัญต่อการสืบทอดอายพุ ระพทุ ธศาสนา ในฐานะทีเ่ ป็นวสั ดทุ ่ใี ช้บันทึกพระไตรปิฎกและเรื่องราวทางพระพุทธศาสนา 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook