Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เฉลยข้อสอบป.ธ.3วิชาไวยากรณ์ฉบับอัพเดต62

เฉลยข้อสอบป.ธ.3วิชาไวยากรณ์ฉบับอัพเดต62

Published by phrapradisth, 2019-12-05 01:23:07

Description: เฉลยข้อสอบป.ธ.3วิชาไวยากรณ์ฉบับอัพเดต62

Search

Read the Text Version

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๔๒ ๖. อะไรช่ือว่า กัมมธารยสมาส เฉพาะวิเสสโนภยบท กัมมธารยสมาส กบั ทวันทวสมาส ต่างกนั อย่างไร ? อปรมิ าณสีลกฺขนฺธโคปน เป็น สมาสอะไร ? จงตัง้ วเิ คราะหม์ าตามลาดบั ? ๖. นามศัพท์ ๒ บท มีวิภัตติและวจนะเป็นอย่างเดยี วกนั บทหนึ่งเป็น ประธาน คอื เป็นนามนาม บทหนง่ึ เป็นวิเสสนะ คอื เป็นคณุ นาม หรอื เปน็ คุณนามทั้ง ๒ บท มีบทอ่ืนเป็นประธาน ทที่ ่านย่อเข้า เป็น บทเดียวกัน ชือ่ ว่า กมั มธารยสมาส ฯ ต่างกันดังน้ี คือ วเิ สสโนภยบท กัมมธารยสมาส มีบททัง้ ๒ เป็นวเิ สสนะ มีบทอน่ื เปน็ ประธาน ส่วน ทวนั ทวสมาส มบี ทต้งั แต่ ๒ บทข้นึ ไปเปน็ นามนาม ทท่ี า่ นย่อเขา้ เปน็ บทเดยี วกัน ฯ อปริมำณสลี กขฺ นธฺ โคปน เป็น ฉฏั ฐีตัปปรุ ิสสมาส มี น บุพพบท พหพุ พิหิสมาส วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส และฉฏั ฐี ตปั ปุรสิ สมาส เป็นภายใน มรี ปู วิเคราะห์ตามลาดับ ดังน้ี น. พหุพ. วิ. นตฺถิ ตสสฺ ปรมิ าณนฺติ อปริมาณ (สลี ) ว.ิ บุพ. กัม. วิ. อปรมิ าณ สีล อปริมาณสีล หรอื วิ. อปรมิ าณญจฺ ต สลี ญฺจาติ อปริมาณสีล ฉ. ตัป. ว.ิ อปรมิ าณสีลาน ขนโฺ ธ อปริมาณสีลกขฺ นโฺ ธ ฉ. ตัป วิ. อปรมิ าณสลี กฺขนฺธสฺส โคปน อปริมาณ- สลี กขฺ นธฺ โคปน ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๔๓ ๗. เสฏฐตัทธิตมีปัจจัยเท่าไร ? อะไรบ้าง ? ต่างจากปัจจัยในตัทธิตอื่น อยา่ งไร ? เตปฏิ โก (เถโร), เวกลฺล ลงปัจจัยอะไร ? ในตทั ธติ ไหน ? จงตงั้ วิเคราะหม์ าดูด้วย ? ๗. มีปัจจยั ๕ ตวั ฯ คอื ตร ตม อิยิสฺสก อิย อฏิ ฺฐ ฯ ต่างจากปัจจัยในตัทธิตอื่น เพราะมิได้ลงแทนศัพท์อย่างปัจจัย ในตทั ธติ อ่ืน ๆ แตใ่ ชเ้ ปน็ เคร่อื งหมาย คณุ ศพั ทเ์ ปรยี บเทียบ คอื ตร อิย และ อิยสิ ฺสก ลงในวเิ สสคุณศัพท์ ตม และ อิฏฺฐ ลงในอตวิ เิ สสคุณศพั ท์ ฯ เตปฏิ โก (เถโร) ลง ณ ปัจจัย ในราคาทิตัทธติ วิ. เตปิฏก ธาเรตตี ิ เตปฏิ โก (เถโร) ฯ เวกลลฺ ลง ณยฺ ปัจจยั ในภาวตัทธิต วิ. วกิ ลสฺส ภาโว เวกลฺล ฯ พระกติ ตสิ ารเมธี เขมจารี วัดทองนพคุณ เฉลย สนามหลวงแผนกบาลี ตรวจแก.้

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๔๔ ประโยค ป.ธ. ๓ ปัญหำและเฉลย บำลีไวยำกรณ์ สอบวันที่ ๕ มีนำคม ๒๕๔๐ ------------------------- ๑. อะไร ชอ่ื ว่า อกั ขระ ? อกั ขระทใ่ี ชใ้ นบาลภี าษามเี ท่าไร ? อะไรบ้าง ? ในคาว่า “เตนาห กุมาร น อกฺกมึ” นี้ เฉพาะคาท่ีขีดเส้นใต้ เป็นครุ หรอื ลหุ. ๑. เสียงก็ดี ตัวหนงั สือก็ดี ชอื่ วา่ อักขระ ฯ อกั ขระทใ่ี ช้ในภาษาบาลี มี ๔๑ ตัว ฯ คือ อ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ๘ ตวั นี้ ช่อื สระ กขคฆง จ ฉ ช ฌญ ฏ ฐ ฑฒณ ต ถ ท ธน ป ผ พภม ย ร ล ว ส ห ฬ อ 33 ตวั นี้ ช่ือ พยญั ชนะ ฯ คาว่า เตนาห เปน็ ครุล้วน คาว่า กุ เปน็ ลหุ คาว่า น เปน็ ลหุ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๔๕ คาวา่ อกฺ และ มึ เปน็ ครุ ฯ ๒. อาคโม กับ สญฺโญโค ในพยัญชนะสนธิ มลี ักษณะต่างกนั อยา่ งไร ? อหมปฺ เนต, กโรมิจจฺ าห เป็นสนธอิ ะไร ? ตัดและ ตอ่ อย่างไร ? ๒. มลี ักษณะต่างกันอยา่ งนี้ คอื อาคโม ได้แก่ การลงพยัญชนะ ๘ ตัว คือ ย ว ม ท น ต ร ฬ ในเมอ่ื มสี ระอยู่เบือ้ งหลงั เชน่ ยถา - อทิ เปน็ ยถายทิ เปน็ ตน้ ส่วน สญฺโญโค น้ัน ได้แก่ การซ้อนพยัญชนะมี ๒ ลักษณะ คือ ซ้อนพยญั ชนะทีร่ ปู เหมือนกัน อยา่ งหนงึ่ อุทาหรณ์ เช่น อธิ - ปโมทติ เปน็ อธิ ปฺปโมทติ เป็นต้น ซอ้ นหนา้ พยญั ชนะท่ีมีรูป ไมเ่ หมือนกนั อย่างหน่ึง ตามหลกั แห่ง การสังโยค คือบรรดาพยัญชนะวรรคทั้งปวง พยัญชนะท่ี ๑ ซ้อน หน้าพยัญชนะท่ี ๑ และที่ ๒ ในวรรคของตนได้ พยัญชนะท่ี ๓ ซอ้ นหน้า พยัญชนะที่ ๓ และท่ี ๔ ในวรรคของตนได้ พยัญชนะท่ี ๕ ซ้อนหน้าพยัญชนะทุกตัวในวรรคของตนได้ เว้นพยัญชนะ คือ ง ซ้อนพยัญชนะทั้ง ๔ ในวรรคของตนได้แต่ซ้อนหน้าตัวเองไม่ได้ อุทาหรณ์ เชน่ จตฺตาริ - ฐานานิ เป็น จตฺตาริฏฺฐานานิ เป็นตน้ ฯ อหมฺปเนต เป็น อาเทสนิคคหิตสนธิ และโลปสรสนธิ ตัดเป็น อห - ปน - เอต ระหว่าง อห - ปน ถ้าพยัญชนะวรรคอยู่ข้างหลัง มีนิคคหิตอยู่ ข้างหน้า ให้แปลงนิคคหิต เป็นพยัญชนะที่สุดวรรคได้ คือแปลง นคิ คหติ ท่ี อห เปน็ ม ต่อเป็น อหมฺปน

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๔๖ ระหวา่ ง อหมฺปน - เอต ถา้ สระหนา้ และสระหลงั ไม่มพี ยัญชนะอน่ื คน่ั ในระหวา่ ง ลบสระหน้า คือ อ ที่ อหมฺปน ต่อเป็น อหมปฺ เนต ฯ กโรมิจฺจำห เป็นโลปสรสนธิ (หรือ ทีฆะสระสนธิ) และ อาเทส พยัญชนะสนธิ ตัดเปน็ กโรมิ-อติ -ิ อาห ระหว่าง กโรมิ - อิติ ถา้ สระทัง้ ๒ เปน็ รัสสะ มรี ูปเสมอกัน เมือ่ ลบ แล้วต้องทฆี ะสระทยี่ งั ไม่ได้ลบ ตอ่ เปน็ กโรมีติ ระหว่าง กโรมีติ-อาห ถ้าสระอยู่หลัง แปลง ติ ที่ท่านทาเป็น ตยฺ แล้วให้เปน็ จฺจ ต่อเป็น กโรมจิ จฺ าห. ๓. จงตอบคาถามตอ่ ไปนี้. ก. นามนาม กบั คุณนาม ต่างกันอยา่ งไร ? ข. นามศัพท์ จัดเป็นลงิ ค์อะไรได้บา้ ง ? ค. กึ ศัพท์ จดั เปน็ สัพพนามชนดิ ไหน เป็นไดก้ ล่ี ิงค์ ? ฆ. อุปสัค นั้น ใช้อยา่ งไร. จงยกอทุ าหรณม์ าดู ? ง. ภเณ เปน็ คาสาหรบั เรยี กใคร ? ๓. ได้คาตอบคาถามดงั ต่อไปน้ี คือ ก. ต่างกันอย่างนี้ คือ นามที่เป็นช่ือของคน สัตว์ ท่ี ส่ิงของ เป็น นามนาม ส่วนนามท่ีแสดงลักษณะของนามนาม สาหรับ หมายใหร้ ูว้ ่า นามนามนั้นดหี รือช่ัว เป็นต้น เป็นคุณนาม ฯ ข. นามนาม จัดเป็นลิงค์เดียว คือจะเป็นปุงลิงค์ อิตถีลิงค์ หรือ นปุงสกลิงค์ ก็อย่างเดียวบ้างเป็น ๒ ลิงค์ คือศัพท์อันเดียว

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๔๗ มีรูปอย่างเดียวเป็นได้ทั้ง ๒ ลิงค์ หรือมูลศัพท์เป็นอันเดียว เปล่ียนแต่ สระที่สุดให้แปลกกัน พอเป็นเครื่องหมายให้ตา่ ง ลงิ ค์กนั บ้าง ส่วนคณุ นาม และสัพพนาม เปน็ ไดท้ ้งั ๓ ลงิ ค์ ฯ ค. กึ ศัพท์ เปน็ อนิยมวเิ สสนสพั พนาม เป็นได้ ๓ ลิงค์ ฆ. อุปสัค น้ัน สาหรับใช้นาหน้านามและ กิริยาให้วิเศษขึ้น เม่ือนาหน้านาม มีอาการคลา้ ยคุณศัพท์ เมื่อนาหนา้ กิริยา มีอาการคลา้ ย กริ ยิ าวเิ สสนะ อทุ าหรณ์ เช่น อติ ย่งิ เกิน ลว่ ง อติสุนฺทโร ดีย่ิง, อธิ ย่ิง ใหญ่ ทับ อธิสกฺกาโร สักการะยงิ่ อธเิ สติ นอนทบั เป็นต้น ฯ ง. ภเณ เป็นคาสาหรับคนสูงกว่า พูดกับคนผู้ดีที่อยู่ในบังคับ ของตน เช่น พระเจ้าแผน่ ดินรบั สงั่ แก่ขา้ ราชการ ฯ ๔. อาคมในอาขยาต มีเท่าไร ? อะไรบา้ ง ? นยิ มลงในท่ีเชน่ ไร ? อทฺทส, อุปปชชฺ เร ประกอบด้วยเคร่อื งปรุงอะไรบ้าง ? ๕. มี ๕ ตัว คือ อ อิ ส ห อ นยิ มลงได้ในท่ีเช่นนี้ คอื อ อาคม นิยมลงหน้าธาตุทป่ี ระกอบดว้ ย วิภัตตหิ มวด หิยัตตนี อชั ชตั ตนี และ กาลาติปัตติ อิ อาคมนิยมลงท้ายธาตุ และปัจจัยท่ีประกอบด้วยวิภัตติหมวด อัชชัตตนี ภวิสสันติ และ กาลาติปัตติ ส อาคม นิยมลงท้ายธาตุที่ประกอบด้วยวิภัตติหมวด อัชชัตตนี ในหมวดธาตทุ ้ังปวง ห อาคม นิยมลงท้าย ฐา ธาตุ โดยไม่นิยมหมวดวภิ ตั ติ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๔๘ นิคคหิต อาคม นิยมลงกับธาตุหมวด รุธฺ ธาตุ แล้วอาเทสเปน็ พยัญชนะทสี่ ุดวรรค. อทฺทส ประกอบดว้ ย ทิสฺ ธาตุ ในความเหน็ อ ปัจจัย อา หิยัตตนี วิภัตติ ลบ อิ ท่ีต้นธาตุ ลง อ อาคมหน้าธาตุ ซ้อน ท หน้าธาตุ รัสสะ อา วิภัตติ เปน็ อ ฯ อุปปชฺชเร ประกอบด้วย อุป บทหน้า ปทฺ ธาตุ ในความถึง ย ปจั จัย อนฺติ วตั ตมานาวิภัตติ แปลง ย กบั ท ทีส่ ดุ ธาตเุ ป็น ชชฺ แปลง อนตฺ ิ เปน็ เร. ๕. จงตอบคาถามตอ่ ไปน้ีมาดู ? ก.กรณสาธนะ ท่านบัญญัติให้แปลว่าอย่างไร. ยกตัวอย่างรูป วเิ คราะห์ มาดู ? ข. ปาณาตปิ าตี (ปุคฺคโล), อุฏฐฺ าน (วิริย) ลงปัจจัยอะไร เปน็ รูป และสาธนะอะไร จงตงั้ วิเคราะหม์ าดู ? ค. นทิ ฺธนโฺ ต, อุพภฺ ิชชฺ สาเรจ็ รปู มาจากอะไร ? ๕. ไดต้ อบคาถามดงั นี้ คือ ก. ทเ่ี ป็นกัตตรุ ปู ทา่ นบญั ญัติให้แปลวา่ “เปน็ เครือ่ ง-” ก็ได้ “เปน็ เหตุ” กไ็ ด้ ตวั อยา่ งเชน่ กโรติ เตนาติ กรณ (วตถฺ )ุ . ที่เป็นกัมมรูป ท่านบัญญัติให้แปลว่า “เป็นเคร่ืองอัน เขา-” ก็ได้ “เปน็ เหตอุ ันเขา-” กไ็ ด้ ตวั อยา่ ง เชน่ สวณฺณิยติ เอตายาติ สวณฺณนา (วาจา) ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๔๙ ข. ปำณำติปำตี (ปคุ คฺ โล) ลง ณี ปัจจัยเป็นกัตตุรูป กตั ตสุ าธนะ ลงในอรรถแห่งตัสสีละ ต้ังวิเคราะห์ว่า ปาณ อติปาเตติ สเี ลนาติ ปาณาตปิ าตี (ปุคฺคโล) หรือเปน็ สมาสรูป ตัสสลี สาธนะ ตั้งวิเคราะห์วา่ ปาณ อติปาเตํตุ สลี มสฺสาติ ปาณาตปิ าตี (ปุคคฺ โล). อุฏฺฐำน (วิริย) ลง ยุ ปัจจัย เป็น กัตตุรูป กรณสาธนะ ต้ัง วเิ คราะหว์ ่า อฏุ ฺฐาติ เตนาติ อฏุ ฺฐาน (วริ ยิ ) ฯ ค. นิทฺธนฺโต สาเร็จรูปมาจาก นิ บทหน้า ธมฺ ธาตุ ในความจากัด ต ปจั จัย ธาตทุ ่มี ี ม เป็นทีส่ ุด แปลง ม ท่สี ุดธาตุกับ ต เป็น นตฺ ลง สิ ปฐมาวิภตั ติ เอกวจนะ แปลง สิ เป็น โอ อุพฺภิชชฺ สาเร็จรูปมาจาก อุ บทหน้า ภทิ ฺ ธาตุ ในความแตก, ทาลาย ตูนาทิปจั จยั ธาตทุ ่มี ีอุปสคั อยู่หน้า แปลงตนู าทิปัจจัย เป็น ย แปลง ย กับ ท ทีส่ ุดธาตุเป็น ชชฺ ฯ ๖. อะไรช่ือว่า ตัปปุริสสมาส ? ตัปปุริสสมาส กับ อัพยยีภาวสมาส ต่างกันอย่างไร ? อุปนีตวโย (ชโน), กรุณาเวคสมุสฺสาหิตมานโส (สตฺถา) แปลว่าอะไร เป็นสมาสอะไรบ้าง จงตั้งวิเคราะห์มา ตามลาดบั ? ๖. นามศัพท์มี อ วิภัตติเป็นต้น ในท่ีสุด ท่านย่อเข้าดว้ ยบทเบ้ืองปลาย ชื่อวา่ ตัปปุรสิ สมาส ต่างกันอย่างน้ี คือ ตัปปุริสสมาส มีบทหน้าเป็นประธาน ไมน่ ยิ มลงิ ค์ และวจนะ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๕๐ ส่วน อัพยยีภาวสมาส บทหนา้ เปน็ ประธาน และเปน็ อปุ สัคหรือ นิบาตเท่าน้ัน บทสาเร็จเป็น นปุงสกลิงค์ เอกวจนะอย่างเดียว บาง สมาสก็มีอาการคล้ายกัมมธารยะ เหมือนวิเคราะห์ว่า “เย เย วุฑฺฒา ยถาวุฑฺฒ ชนเจริญแล้วท้ังหลาย ใด ใด ชื่อเจริญแล้ว อยา่ งไร” ถึงกระนั้น กเ็ ป็นทีส่ งั เกตไดบ้ า้ ง ดว้ ยวา่ กมั มธารยะ ไม่มนี ยิ มบทหลัง จะเป็นลิงคใ์ ด กไ็ ด้ แต่สมาสนค้ี งเป็น นปุงสกลิงค์ เอกวจนะ อย่างเดียว เหมือนบทวา่ “อนุตเฺ ถโร พระเถระนอ้ ย” คง เป็นกมั มธารยะแท้ ฯ อุปนีตวโย (ชโน) แปลวา่ (ชน) มีวัยอันชรานาเข้าไปแล้ว เปน็ ฉัฏฐีตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส ต้ังวิเคราะห์ว่า อุปนีโต วโย ยสฺส โส อปุ นตี วโย (ชโน) ฯ กรุณำเวคสมุสฺสำหิตมำนโส (สตฺถำ) แปลว่า (พระศาสดา) มี พระทัยอัน กาลังแห่งพระกรุณา ให้อาจหาญข้ึนพร้อมแล้ว เป็น ฉัฏฐี ตุลยาธิกรณพหุพพิหสิ มาส มีฉัฏฐีตัปปุริสสมาส และ ตติยาตัปปรุ สิ สมาส เปน็ ภายใน ต้ังวเิ คราะห์ตามลาดบั ดงั น้ี ฉ. ตัป. ว.ิ กรุณาย เวโค กรุณาเวโค ต. ตัป. วิ. กรุณาเวเคน สมุสสฺ าหิต กรุณาเวคสมสุ ฺสาหิต (มานส) ฉ. ตุล. ว.ิ กรณุ าเวคสมุสสฺ าหติ มานส ยสฺส โส กรณุ า เวคสมุสฺสาหิตมานโส (สตฺถา) ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๕๑ ๗. อี ปจั จัย ในตทสั สตั ถติ ทั ธิต กบั ปรู ณตทั ธติ มีวธิ ีใชต้ ่างกนั อย่างไร ? อาธปิ จจฺ , ปสํ กุ ูลิโก (เถโร), เวรโิ น (ชนา) ลงปัจจัยอะไร ในตัทธติ ไหน จงต้ังวิเคราะหม์ าด.ู ๗. มวี ิธใี ช้ต่างกนั อยา่ งน้ี คือ อี ปัจจยั ใน ตทสั สตั ถิตทั ธิต ใชล้ งทา้ ยศัพท์ นามนาม ทาศัพท์ นามนามให้เป็นคณุ นาม สว่ น อี ปัจจัย ใน ปูรณตทั ธติ ใช้ลงท้ายปกติสงั ขยาตัง้ แต่ เอ กาทส เป็นต้น ถึง อฏฺฐารส เฉพาะทีเ่ ป็น อติ ถีลิงค์ ทาปกติสงั ขยา ให้เปน็ ปูรณสังขยา ฯ อำธปิ จฺจ ลง ณยฺ ปัจจัย ใน ภาวตัทธิต วิ. อธปิ ตสิ ฺส ภาโว อาธปิ จฺจ ฯ ปสํ กุ ูลิโก (เถโร) ลง ณิก ปจั จยั ใน ตรตยาทิตัทธิต วิ. ปสํ กุ ูล ธาเรตีติ ปํสุกลู โิ ก (เถโร) หรอื ลง อิก ปจั จยั ใน ตทสั สัตถิตัทธิต ว.ิ ปสํ กุ ูลธารณ อสสฺ อตถฺ ตี ิ ปสํ กุ ูลิโก (เถโร) ฯ เวริโน (ชนำ) ลง อี ปัจจยั ใน ตทสั สัตถติ ัทธติ วิ. เวร เตส อตฺถีติ เวรโิ น (ชนา) ฯ พระราชปริยัติเวที เขมจารี วัดทองนพคณุ เฉลย สนามหลวงแผนกบาลี ตรวจแก.้

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๕๒ ประโยค ป.ธ. ๓ ปัญหำและเฉลย บำลีไวยำกรณ์ สอบวนั ท่ี ๒๓ กุมภำพนั ธ์ ๒๕๔๑ ---------------------- ๑. จงแสดงลักษณะต่างกัน ระหว่างอักขรวิธี และวจีวิภาค ? ใน อักขระทั้ง ๔๑ ตัว จาพวกไหนช่ือนิสสัย จาพวกไหน ช่ือนิสสิต และทาหนา้ ทีต่ า่ งกนั อย่างไร ? ๑. ลักษณะตา่ งกัน ระหว่างอักขรวธิ แี ละวจีวิภาค ดงั นี้ อักขรวิธี ว่าด้วยอักษร จัดเป็น ๑ คือ สมัญญาภิธาน แสดง ชื่อ อักษรท่ีเป็นสระ และพยัญชนะ พร้อมท้ังฐานกรณ์ ๑ สนธิ ต่ออักษร ทอ่ี ยใู่ นคาอื่น ใหเ้ นื่องเป็นอนั เดยี วกนั ๑ ส่วน วจีวิภาค แบ่งคาพูดออกเป็น ๖ ส่วน คือ นาม ๑ อัพยยศัพท์ ๑ สมาส ๑ ตทั ธติ ๑ อาขยาต ๑ กิตก์ ๑ ฯ ในอักขระทั้ง ๔๑ ตวั อักขระเบอื้ งตน้ 8 ตัว ตั้งแต่ อ จนถงึ โอ ช่ือสระ ออกเสียงได้ตามลาพงั ตนเอง และทาพยัญชนะใหอ้ อกเสียง ได้ สระ ๘ ตัวเหล่าน้ี ชื่อ นิสสัย และทาหน้าท่ีเป็นที่อาศัยของ พยญั ชนะ สว่ นอักขระท่ีเหลอื จากสระน้นั ๓๓ ตวั มี ก เปน็ ต้น มี นิคคหิตเป็นที่สุด ช่ือพยัญชนะ พยัญชนะ ๓๓ ตัวเหล่านี้ ช่ือ นิ สสิต และทาเนื้อความ ใหป้ รากฏชัด จนถึงเข้าใจความได้ ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๕๓ ๒. ในอาเทสพยญั ชนะสนธิ อยา่ งไหนนยิ มสระ อย่างไหนนยิ มพยัญชนะ และอยา่ งไหนไม่นยิ มทง้ั ๒ อย่าง ? ๒. ในอาเทสพยญั ชนะสนธิ ทนี่ ิยมสระ (มีสระอยหู่ ลงั ) ดงั น้ี ถา้ สระอยูห่ ลงั แปลง ติ ท่ที า่ นทาเปน็ ตฺย แล้วใหเ้ ป็น จจฺ อ.ุ ว่า อติ ิ - เอว เป็น อจิ ฺเจว, ปติ - อุตตฺ ริตวฺ า เปน็ ปจจฺ ตุ ตฺ รติ ฺวา เปน็ ต้น ที่นยิ มพยญั ชนะ (มพี ยญั ชนะอยู่หลงั ) ดังน้ี แปลง อว เปน็ โอ อุ. วา่ อว-นทธฺ า เป็น โอนทธฺ า, อว-กาโส เป็น โอกาโส, อว - ขิตตฺ จกขฺ ุ เป็น โอกฺขิตตฺ จกฺขุ เป็นต้น ทไ่ี ม่นิยมทัง้ ๒ อยา่ ง (ไม่นยิ มทง้ั สระท้ังพยญั ชนะ) ดังนี้ แปลง ธ เป็น ห อุ. ว่า สาธุ - ทสฺสน เป็น สาหุทสฺสน แปลง ท เป็น ต อ.ุ ว่า สคุ โท เปน็ สุคโต แปลง ต เปน็ ฏ อ.ุ วา่ ทกุ กฺ ต เปน็ ทกุ กฺ ฏ เป็นต้น ฯ ๓. จงตอบคาถามตอ่ ไปน้ี ก. สังขยาคอื อะไร แบ่งเปน็ เท่าไร อะไรบา้ ง จดั เป็นลงิ ค์ วจนะ และวภิ ตั ติไว้อย่างไร ฯ ข. เอกสังขยา กับ เอกสัพพนาม ต่างกันอย่างไร เฉพาะเอก สพั พนาม แจกไดก้ วี่ จนะ เหมือนอะไร ฯ ๓. ไดต้ อบคาถามดังต่อไปนี้ คอื

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๕๔ ก. สงั ขยา คอื ศัพท์ทเ่ี ปน็ เครื่องกาหนดนับนามนาม แบ่งเป็น 2 คอื ปกติสังขยา อย่าง ๑ ปูรณสงั ขยา อย่าง ๑ จัดเป็นเป็นลิงค์อย่างนี้ คือ ปกติสังขยา ตั้งแต่ เอก ถึง อฏฺฐารส เป็น ไตรลิงค์ ตั้งแต่ เอกูนวีสติ ถึง อฏฺฐนวุติ เป็น อิตถีลิงค์อย่างเดียว ตั้งแต่ เอกูนสต ถึง ทสสตสหสฺส เป็น นปุงสกลิงคอ์ ยา่ งเดียว เฉพาะ โกฏิ เป็นอติ ถีลงิ ค์อย่างเดยี ว ส่วน ปรู ณสังขยา เปน็ ได้ท้ัง 3 ลงิ ค์ ฯ จดั เปน็ วจนะอย่างน้ี คือ เอกสังขยา เปน็ เอกวจนะอยา่ ง เดียว เอกสพั พนามเป็นได้ ๒ วจนะ ต้ังแต่ ทฺวิ ถึง อฏฺฐารส เป็น พหุวจนะอย่างเดียว ตั้งแต่ เอกูนวีสติ ถึง อฏฺฐนวุติ เป็น เอกวจนะอยา่ งเดียว ถงึ จะเขา้ กับศัพท์ที่เป็นพหุวจนะลิงค์อ่ืน ก็คงอยู่อย่างนั้น ไม่เปล่ียนไปตาม ต้ังแต่ เอกูนสต ข้ึนไป เป็นได้ ๒ วจนะ. ส่วน ปรู ณสงั ขยา เป็นเอกวจนะอยา่ งเดยี ว ฯ จัดเป็นวิภัตติอย่างน้ี คือ ปกติสังขยาเหล่านี้ คือ เอก และ เอกูนวีสติ ถึง อฏฺฐนวุติ แจกด้วยวิภัตติฝ่ายเอกวจนะอย่าง เดียว ตั้งแต่ ทฺวิ ถึงอฏฺฐารส แจกด้วยวิภัตติฝ่ายพหุวจนะ อย่างเดียว ตั้งแต่ เอกูนสต ขึ้นไปแจกด้วยวิภัตติได้ท้ังฝ่าย เอกวจนะและพหวุ จนะ ส่วน ปูรณสังขยา แจกด้วยวิภัตติฝ่ายเอกวจนะอย่าง เดยี ว ฯ ข. ต่างกันอย่างนี้ คือ เอกสังขยา เป็น เอกวจนะอย่างเดียว เอกสัพพนาม เปน็ ทวิวจนะ เฉพาะเอกสพั พนาม แจกได้ท้ัง

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๕๕ 2 วจนะ เหมือน ย ศัพท์ แปลกจาก ย ศัพท์บ้างเล็กน้อย เฉพาะในอิตถีลิงค์เอกวจนะ จตุตถีวิภัตติ และฉัฏฐีวิภัตติ เป็น เอกสิ สฺ า สตั ตมวี ิภตั ติ เปน็ เอกิสสฺ เท่านน้ั ฯ ๔. ศพั ทเ์ ช่นไร เรียกว่า อัพยยศัพท์ ? จดั เป็นกีช่ นดิ อะไรบา้ ง ? มีวธิ ีใช้ อย่างไร ? ๔. ศัพทจ์ าพวกหนง่ึ จะแจกด้วยวภิ ตั ตทิ ้ัง ๗ แปลงรปู ไปตา่ งๆ เหมอื น นาม ท้ัง ๓ ไม่ได้ คงรูปอยู่อย่างเดียว ศัพท์เหล่าน้ีเรียกว่า “อัพยย ศัพท์” ฯ อพั ยยศพั ท์นนั้ จัดเป็น ๓ ชนิด คอื อปุ สัค ๑ นบิ าต ๑ ปัจจยั ๑ มวี ิธใี ชด้ ังนี้ (๑) อุปสคั ใชน้ าหน้านามและกริ ิยาใหว้ เิ ศษขนึ้ เมอื่ นาหนา้ นาม มีอาการคลา้ ยคุณศพั ท์ เมื่อนาหนา้ กิริยา มอี าการคล้ายกิริยาวิเสสนะ (๒) นิบำต นัน้ สาหรับลงในระหวา่ งนามศพั ท์บา้ ง กิริยาศัพทบ์ ้าง บอกอาลปนะ กาล ที่ ปริจเฉท อุปไมย ปฏิเสธ ความได้ยินเล่าลือ ความปริกปั ความถาม ความรับ ความเตอื น เป็นต้น (๓) ปจั จัย สาหรับใช้ลงทา้ ยนามศพั ท์ เป็นเครอื่ งหมายวภิ ตั ตบิ ้าง ลงทา้ ยธาตเุ ปน็ เครือ่ งหมาย กริ ยิ าบ้าง ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๕๖ ๕. สาธนะคืออะไร ? และมีอะไรบ้าง ? จงเขียนรูปวิเคราะห์ศัพทต์ อ่ ไปน้ี อาจริยปชู โก (เถโร), ภิกฺขาจาโร (กาโล), นสิ ฺสโย(อาจรโิ ย) พร้อมทั้ง บอกรปู สาธนะ และปัจจัย มาดู ? ๕. สาธนะ คือศัพท์ท่ที ่านใหส้ าเร็จมาแตร่ ปู วิเคราะห์ ฯ มี ๗ คือ กตั ตสุ าธนะ, กมั มสาธนะ, ภาวสาธนะ, กรณสาธนะ, สมั ปทานสาธนะ, อปาทานสาธนะ, อธิกรณสาธนะ ฯ อำจริยปชู โก วเิ คราะหว์ ่า อาจริย ปูเชตีติ อาจรยิ ปชู โก (เถโร) เป็นกตั ตรุ ูป กตั ตุสาธนะ ลง ณฺวุ ปัจจัย ฯ ภกิ ฺขำจำโร วิเคราะห์ว่า ภิกฺขาย จรติ เอตฺถาติ ภิกฺขาจาโร (กาโล) เป็นกัตตุรูป อธิกรณสาธนะ ลง ณ ปัจจยั ฯ นิสฺสโย วิเคราะห์ว่า นสิ สฺ าย น วสตตี ิ นิสสฺ โย (อาจริโย) เปน็ กัตตุรูป กมั มสาธนะ ลง อ ปัจจัย ฯ ๖. จงอธบิ ายความแตกตา่ งระหวา่ ง น บพุ พบท พหพุ พหิ ิ กบั อุภยตปั ปุริสสมาส มาดูพอไดใ้ จความ ? อติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตโฺ ต (ชโน) เปน็ สมาสอะไรบา้ ง จงต้ังวิเคราะห์มาดดู ว้ ย. ๖. ความต่างระหวา่ ง น บุพพบท พหพุ พิหิสมาส กับ อุภยตปั ปรุ ิสสมาส ดังน้ี คือ น บุพพบท พหุพพหิ ิสมาส ใช้ปฏิเสธคณุ นาม แปลวา่ “มี...หา มิได้” หรอื “ไมม่ .ี ..” ตวั อย่างเชน่ นตถฺ ิ ตสฺส สโมติ อสโม มผี ้เู สมอ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๕๗ หามิได้ หรือ ไม่มีผู้เสมอ นตฺถิ ตสฺส ปุตฺตาติ อปุตฺตโก มีบุตรหา มไิ ด้ หรอื ไมม่ ีบตุ ร ส่วน อุภยตัปปุริสสมาส หรือ น กัมมธารยสมาส ปฏิเสธ นาม แปลวา่ มิใช่.... ไมใ่ ช่.... หรอื เป็น....หามไิ ด้ ตวั อยา่ งเช่น น พฺ ราหมฺ โณ อพรฺ าหฺมโณ (อย ชโน ชนนี้) มิใชพ่ ราหมณ์, ไมใ่ ชพ่ ราหมณ์ หรือเป็นพราหมณ์หามิได้ น อสฺโส อนสฺโส (อย สตฺโต สัตว์นี้) มิใช่ มา้ ไมใ่ ช่มา้ หรือเป็นมา้ หามไิ ด้ ฯ อติเรกลำภคฺคยสคฺคปฺปตฺโต (ชโน) (ชนผู้มีลาภอันเลิศและยศ อันเลิศ ย่งิ กวา่ หนง่ึ อันถึงแลว้ ) เป็น ตติยาตลุ ยาธกิ รณพหพุ พหิ ิสมาส มีวิเสสนุตตรบท กัมมธารยสมาส, วิเสสนุตตรบท กัมมธารยสมาส, สมาหารทวันทวสมาส, อุปสัคคปุพพกะ อัพยยีภาวสมาส, และวิเส สนบุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลาดับ ดังต่อไปน้ี ว.ิ นตุ . กัม. ว.ิ ลาโภ จ โส อคโฺ ค จาติ ลาภคโฺ ค หรอื ลาโภ อคฺโค ลาภคโฺ ค. วิ.นตุ . กัม. วิ. ยโส จ โส อคโฺ ค จาติ ยสคฺโค หรอื ยโส อคฺโค ยสคโฺ ค. สมา.ทวันทว. ว.ิ ลาภคฺโค จ ยสคฺโค จ ลาภคฺคยสคฺค. หรือ อสมา. ทวนั ทว. วิ. ลาภคฺโค จ ยสคโฺ ค จ ลาภคฺคยสคคฺ า. อุปสคั ค. อพั . ว.ิ เอกสฺมา อุตตฺ ร อติเรก. ว.ิ บุพ.กมั . วิ. อติเรก จ ต ลาภคคฺ ยสคฺค จาติ อติเรกลาภคฺคยสคฺค.

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๕๘ หรอื ว.ิ อติเรก ลาภคคฺ ยสคคฺ อติเรกลาภ- คคฺ ยสคฺค. ต.ตุล.พหพุ . วิ. อติเรกลาภคฺคยสคฺค ปตฺต เยน โส อติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺโต (ชโน). หรือแปลว่า ชนผู้ถึงแล้วซ่ึงลาภอันเลิศและยศอันเลิศอันยิ่งกว่า หนึง่ เป็น ทุติยาตปั ปุรสิ สมาส มวี ิเสสนุตตรบท กัมมธารยสมาส, วิเสสนุตตรบท กัมมธารยสมาส, สมาหารทวันทวสมาส, อุปสัคค ปพุ พกะ อัพยยีภาวสมาส, และวิเสสนบพุ พบท กมั มธารยสมาส เปน็ ภายใน มวี ิเคราะห์ตามลาดับเช่นเดยี วกนั เว้นแต่ ทตุ ยิ าตปั ปุรสิ สมาส ว.ิ อติเรกลาภคฺคยสคฺค ปตโฺ ต อติเรกลาภคคฺ ยสคคฺ ปฺปตฺโต (ชโน). ๗. ปรู ณตทั ธติ มีปัจจยั กีต่ วั ? และปัจจยั ตัวไหน ? นยิ มลงกบั ศพั ท์ อะไร นาครตา, มุฏฺฐสจฺจ ลงปัจจัยอะไร ในตัทธิตไหน จงต้ัง วิเคราะห์ มาดดู ว้ ย ? ๗. ในปูรณตัทธิต มปี ัจจยั ๕ ตัว ฯ ได้แก่ ติย, ถ, ฐ, ม, อี ฯ และปจั จยั เหล่านั้น นิยมลงกบั ศัพท์ดงั นคี้ อื ติย ปจั จยั นิยมลงกบั ปกติสังขยา คือ ทวฺ ิ กบั ติ ถ ปจั จยั นิยมลงกับปกติสงั ขยา คือ จตุ ฐ ปจั จยั นยิ มลงกบั ปกติสังขยา คอื ฉ ม ปัจจัย นยิ มลงกับศัพท์ปกตสิ ังขยาท่ีเหลอื

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๕๙ อี ปัจจัย นิยมลงกับศัพท์ปกติสังขยา ต้ังแต่ เอกาทส ถึง อฏฺฐารส เฉพาะท่ีเป็น อิตถีลิงค์เท่าน้ัน ส่วนที่เป็นวิเส สนะของนามที่เป็นลงิ ค์อนื่ ลง ม ปจั จยั . นำครตำ เป็น สมุหตัทธิต มี ราคาทิตัทธิต เป็นภายใน หรอื เปน็ ภาวตัทธิต มี ราคาทิตัทธิต เปน็ ภายใน ณ ปัจจัย ในราคาทิตัทธติ ว.ิ นคเร วสนตฺ ีติ นาครา. ตา ปัจจัย ในสมหุ ตัทธิต ว.ิ นาคราน สมโุ ห นาครตา. ตา ปัจจัย ในภาวตัทธติ ว.ิ นาคราน ภาโว นาครตา ฯ มฏุ ฐฺ สจจฺ เป็นภาวตัทธิต มี ตติยาตุลยาธกิ รณพหพุ พหิ สิ มาส เปน็ ภายใน ต.ตุล.พหพุ . วิ. มฏุ ฺฐา สติ เยน โส มุฏฺฐสติ (ปุคฺคโล) ณฺย ปัจจยั ในภาวตทั ธติ วิ. มุฏฺฐสติสฺส ภาโว มุฏฺฐสจจฺ . พระราชปรยิ ัตเิ วที เขมจารี วัดทองนพคุณ เฉลย สนามหลวงแผนกบาลี ตรวจแก้.

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๖๐ ประโยค ป.ธ. ๓ ปญั หำและเฉลย บำลีไวยำกรณ์ สอบวนั ท่ี ๑๒ กุมภำพนั ธ์ ๒๕๔๒ ------------------------- ๑. พยัญชนะไหน จัดเป็นอัฑฒสระ ? เพราะเหตุไร จึงเรียกชื่ออย่าง น้ัน ? ใช้เปน็ ตวั สะกดได้หรอื ไม่ ถ้าได้ ใช้ในทเ่ี ช่นไร จงตอบพรอ้ ม ทั้งยกตวั อย่างมาประกอบด้วย ? ๑. พยัญชนะคือ ย ร ล ว ส ห ฬ ๗ ตัวนี้จดั เป็นอัฑฒสระ มเี สยี งกึง่ สระ คอื กงึ่ มาตรา ฯ เพราะพยัญชนะเหล่านี้ บางตัวก็รวมลง ในสระเดียวกันด้วย พยัญชนะอื่น ออกเสียงพร้อมกันได้ บางตัว แม้เป็นตัวสะกดก็คงออก เสียงหน่อยหนึ่ง พอใหร้ ู้ได้วา่ ตัวนั้นสะกด คล้ายเปน็ ตวั กล้า ฉะนนั้ ฯ ใช้เป็นตัวสะกด ได้ก็มี ไมไ่ ดก้ ม็ ี พยญั ชนะคอื ย ล ว ส ฬ,๕ ตวั น้ี เป็นตวั สะกดได้ ใชใ้ น ทท่ี ซ่ี อ้ นหน้าพยญั ชนะอื่นตวั อยา่ งเช่น มยฺห, กลยฺ าณ,ี ชิวหฺ า, ตสมฺ า, มุฬโฺ ห เป็นตน้ ส่วนพยัญชนะคือ ร, ห ๒ ตัวนี้ ใช้เป็นตัวสะกดไม่ได้ เพียงแต่ออกเสียงผสมกับพยัญชนะอ่ืน ตัวอย่างเช่น ภทฺโร พฺรหฺมา เป็นต้น ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๖๑ ๒ .วิธีเป็นอุปการะแก่การทาสนธิ เรียกว่าอะไร ? มีเท่าไร ? อะไรบ้าง ? ปาตยิ เยเวต, เอสจฺฉนิ ทฺ ติ ตัดและต่ออยา่ งไร ? ๒. เรียกวา่ สนธิกริ โิ ยปกรณ์ ฯ อาเทโส แปลง มี ๘ อยา่ ง คอื วกิ าโร ทาใหผ้ ิดจากของเดมิ โลโป ลบ อาคโม ลงตวั อกั ษรใหม่ ปกติ ปรกติ ทีโฆ ทาให้ยาว รสฺส ทาให้ส้นั สญโฺ ญโค ซอ้ นตัว ฯ ปำติยเยเวต ตดั เปน็ ปาตยิ -เอว-เอต ระหวา่ ง ปาตยิ - เอว ถ้า สระอยู่เบอ้ื งหลงั ลง ย พยัญชนะอาคมไดบ้ ้าง ต่อเปน็ ปาติยเยว ระหว่าง ปาติยเยว - เอต ถ้าสระหน้าและสระหลังไม่มี พยัญชนะอ่ืน ค่ันในระหว่างลบสระหน้าคือ อ ที่ ปาติยเยว ต่อเป็น ปาติยเยเวต ฯ เอสจฺฉินฺทติ ตัดเป็น เอโส - ฉินฺทติ ระหว่าง เอโส - ฉินฺทติ ถ้าสระ โอ อย่หู นา้ พยญั ชนะอยู่หลัง ลบ โอ ท่ี เอโส เสยี แลว้ ลง อ อาคม เป็น เอส และซ้อน จ พยัญชนะที่มีรูปไม่เหมือนกันหน้า ฉินฺทติ ตามหลักสัญโญคพยญั ชนะสนธิ ต่อเป็น เอสจฉฺ นิ ทฺ ติ ฯ ๓. จงตอบคาถามต่อไปน้ี ก. สารีปุตโฺ ต เป็นนามนามชนิดไหน ? ข. รญฺโญ เปน็ วภิ ตั ตไิ หนบ้าง ?

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๖๒ ค. “ปิตุ อตฺถาย ทาน (ทสฺสาม)” คาไหน เป็นการันต์และลิงค์ อะไร ? ง. คาว่า “โน” เป็นศัพท์อะไร ในบาลีไวยากรณ์ และแปลว่า อย่างไร ? จ. กุหึ, อธนุ า สาเรจ็ มาจากอะไร และแปลวา่ อยา่ งไร ? ๓. ไดต้ อบคาถามดงั น้ี คือ ก. เป็น อสาธารณนาม ฯ ข. เป็น จตตุ ถวี ิภตั ติ และฉฏั ฐีวภิ ตั ติ ฯ ค. ปติ ุ เป็น อุ การันต์ ปงุ ลงิ ค์, อตฺถาย เป็น อ การันต์ ปุงลิงค์ ทาน เป็น อ การนั ต์ นปุงสกลงิ ค์ ฯ ง. คาว่า “ โน” ในบาลีไวยากรณ์เป็นได้ท้ังนิบาต เป็นได้ทั้ง สัพพนาม โน เป็นนิบาตบอกปฏิเสธ แปลว่า ไม่ เป็นปุริส สัพพนาม อตุ ตมบรุ ุษ ศพั ทเ์ ดมิ เป็น อมหฺ แปลงกบั โย ปฐ มาวิภัตติและทุติยาวิภัตติ หิ ตติยาวิภัตติ น จตุตถีวิภัตติ และฉัฏฐวี ิภตั ติ พหวุ จนะ เป็น โน แปลตามสาเนียงอายต นิบาต แห่งวิภัตติน้ันๆ ตัวอย่างเช่น โน ปฐมาวิ ภัตติ แปลว่า อ.เรา ท. ดงั นี้ ฯ จ. กุหึ สาเร็จมาจาก กึ+หึ ปัจจัย แปลง กึ เป็น กุ แปลว่า ใน- ไหน, อธุนา สาเร็จมาจาก อิม+ธุนา ปัจจัย แปลง อิม เป็น อ แปลวา่ ในกาลไม่นาน ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๖๓ ๔. วาจกคืออะไร ? วิธีท่ีจะจาวาจกได้แม่นยานั้นต้องอาศัยอะไร ? ชญฺญา, อเุ ปหิสิ, อุปจจฺ คา ประกอบดว้ ยเครอ่ื งปรุงอะไร ? ๔. วาจก คือ กิริยาศัพท์ท่ีประกอบดว้ ยวภิ ัตติ กาล บท วจนะ บุรุษ ธาตุ ดังนี้ จัดเป็นวาจก คือ กล่าวบทท่ีเป็นประธานของกิริยา 5 อย่าง คือ กัตตวุ าจก, กัมมวาจก, ภาววาจก, เหตุกตั ตุวาจก, เหตกุ ัมมวาจก, วิธีทจี่ ะกาหนดได้แมน่ ยา ตอ้ งอาศัยปัจจยั ท่ีประกอบ ฯ ชญฺญำ พึงรู้ ประกอบด้วย ญา ธาตุ ในความรู้ นา ปัจจัย เอยฺย สัตตมีวิภัตติ แปลง ญา เป็น ช ลบ นา ปัจจัย แปลง เอยฺย เป็น ญา แปลง นิคคหติ เปน็ ญ ฯ อุเปหิสิ จกั เขา้ ถึงประกอบดว้ ย อุป บทหน้ อิ ธาตุในความเขา้ ถงึ , ความไป อ ปจั จัย สฺสสิ วภิ ัตติ เพราะภวิสสนั ตวิ ภิ ัตติ จงึ แปลง อิ ธาตุ เปน็ เอห ลง อิ อาคมหลังธาตุ และปจั จยั ลบ สฺส เสีย คงไวแ้ ต่ สิ ฯ อุปจฺจคำ เข้าไปล่วงแล้ว ประกอบด้วย อุป และ อติ บทหน้า คมฺ ธาตุ ในความไป, ความถึง อ ปัจจัย อา หยิ ัตตนี แปลง ติ เปน็ ตฺย แลว้ เอาเป็น จฺจ ลบ ม ทสี่ ุดธาตุ ฯ หรือ ได้เข้าไปลว่ งแล้ว ประกอบด้วย อปุ และ อติ บทหน้า คมฺ ธาตุ ในความไป, ความถึง อ ปัจจัย อ อาคม อา หิยัตตนี (อุ. ขโณ โว มา อุปจจฺ คา - ขณะอย่า ไดเ้ ขา้ ไปลว่ งแล้ว ซ่ึงทา่ นทัง้ หลาย) ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๖๔ ๕. ปัจจัยในนามกิตก์ เมือ่ ลงแล้ว แจกด้วยวิภัตตินามได้ท้ังหมดหรือไม่ ? หรือมียกเว้นตัวใดบ้าง ? และท่ียกเว้นนั้น จะนามาใช้ในข้อความเช่น ไร ? สุราปาน (ฐาน), เชฏฺฐาปจายี (ปุคฺคโล), ลงปัจจัยอะไร เป็นรูป และสาธนะอะไร จงต้งั วิเคราะห์มาดู ? ๕. ปัจจัยนามกิตก์ แจกด้วยวิภัตตินามได้ ๑๒ ตัวคือ กฺวิ, ณี, ณฺวุ, ตุ, รู, ข, ณยฺ , อ, อิ, ณ, ติ, ย.ุ ฯ มียกเวน้ 2 ปจั จัย คือ ตเว ปจั จยั กบั ํตุ ปจั จัย และนามาใช้ใน ข้อความอยา่ งนี้ คือ ตเว ปัจจัย ใช้ในจตุตถีวิภัตตินาม ตัวอย่างเช่น กาตเว เพื่อ จะทา, คนฺตเว เพอ่ื จะไป เป็นต้น ํตุ ปจั จยั ใชใ้ นปฐมาวภิ ตั ติ และจตตุ ถวี ภิ ตั ตินาม ตัวอย่างเชน่ กาํตุ อ. อนั ทา, เพอื่ อันทา, คนํฺตุ อ. อันไป, เพ่อื อันไป เปน็ ต้น ฯ สุรำปำน (ฐำน) ลง ยุ ปัจจยั เป็นกัตตรุ ูป อธิกรณสาธนะ ว.ิ สรุ ปวิ ติ เอตฺถาติ สรุ าปาน (ฐาน) ฯ เชฏฐฺ ำปจำยี (ปคุ คฺ โล) ลง ณี ปจั จยั เปน็ กัตตุรูป กัตตสุ าธนะ หรือกัตตุรูป กัตตุสาธนะ ลงในอรรถแห่งตัสสีละ หรือสมาสรูป ตัส สลี สาธนะ มวี เิ คราะห์ตามลาดบั ดงั นี้ เชฏฐฺ สฺส อปจายตตี ิ เชฏฺฐาปจายี (ปุคฺคโล) เชฏฐฺ สฺส อปจายติ สีเลนาติ เชฏฺฐาปจายี (ปุคฺคโล) เชฏฐฺ สฺส อปจายํิตุ สีลมสฺสาติ เชฏฺฐาปจายี (ปุคคฺ โล).

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๖๕ ๖. อะไรชื่อวา่ พหุพพิหิสมาส ? ท่ีเรียกว่า “ตุลฺยาธิกรณพหุพฺพิหิ” กับ “ภนิ นฺ าธิกรณพหพุ ฺพิหิ” น้ัน มีข้อสังเกตตา่ งกนั อย่างไร อสชฌฺ ายมลา (มนฺตา), มหาโมหตโมนทฺโธ (โลโก) เป็นสมาสอะไร จงต้ังวิเคราะห์ มาดู ? ๖. สมาสอยา่ งหนงึ่ มบี ทอ่ืนเป็นประธาน ชื่อว่า พหุพพหิ สิ มาส ฯ มีข้อสังเกต ต่างกันอย่างน้ีคือ ตุลยาธิกรณพหุพพหิ ิ ในวิเคราะห์ แห่งสมาส ทั้งหลาย บทประธานและบทวิเสสนะ มีวิภัตติและ ลิงค์ เสมอกัน แปลกแต่บท สัพพนามท่ีเป็นประธานแห่งบทสมาส ตวั อยา่ งเช่น อาคตา สมณา ย โส อาคตสมโณ (อาราโม) เป็นต้น สว่ น ภินนาธกิ รณพหพุ พหิ ิ ในวเิ คราะห์แหง่ สมาส บททัง้ หลายมี วิภัตติต่างกัน ตัวอย่างเช่น อสิ หตฺเถ ยสฺส โส อสิหตฺโถ (โยโธ) เปน็ ตน้ ฯ อสชฺฌำยมลำ (มนฺตำ) แปลว่า (มนต์ทั้งหลาย) มีการไม่ สาธยาย เป็นมลทนิ เป็น ฉัฏฐีตลุ ยาธกิ รณ พหุพพิหสิ มาส มี น บุพพบ ทกมั มธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะหด์ งั ตอ่ ไปนี้ น.บพุ .กมั . วิ. น สชฺฌาโย อสชฌฺ าโย ฉ.ตุล. ว.ิ อสชฺฌาโย มล เยส เต อสชฺฌายมลา (มนตฺ า) มหำโมหตโมนทฺโธ (โลโก) แปลว่า (โลก) อันความมืดคือ โมหะใหญ่ ห่อหุ้มแล้ว เป็น ตติยาตัปปุริสสมาส มี วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส และอวธารณบุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มี วิเคราะห์ดงั ต่อไปนี้ วิ.บุพ.กมั . ว.ิ มหนฺโต โมโห มหาโมโห

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๖๖ หรอื วิ. มหนโฺ ต จ โส โมโห จาติ มหาโมโห อว.บุพ.กมั . ตตยิ า.ตัป. ว.ิ มหาโมโห เอว ตโม มหาโมหตโม ว.ิ มหาโมหตเมน โอนทโฺ ธ มหาโมหตโมนทโฺ ธ (โลโก) ฯ ๗. ตัทธิตคอื อะไร ? ณ อิย ตา อี ปจั จัย มีในตทั ธติ ไหนบา้ ง ? เปตฺตกิ (ธน), การุญฺญ ลงปจั จัยอะไร ในตทั ธิตไหน จงต้ังวิเคราะห์มาดู ? ๗. คือ ปจั จัยหม่หู นงึ่ เป็นประโยชนเ์ กื้อกลู แก่เนื้อความย่อ สาหรับใช้แทน ศัพท์ ย่อคาพูดลงให้สั้น เรียกง่ายๆ เหมือนคาว่า สฺยาเม ชาโต เกิดในสยาม ลงปัจจัยแทน ชาต คงไว้แต่ สฺยาม เป็น สฺยามิโก แปลวา่ เกดิ ในสยาม ฉะน้นั ฯ ณ ปัจจัย มีใน โคตตตัทธิต, ราคาทิตัทธิต, สมุหตัทธิต, ตทสั สัตถติ ัทธิต, และภาวตัทธิต อยิ ปจั จัย มใี น ชาตาทติ ทั ธิต, และเสฏฐตทั ธิต ตา ปัจจัย มีใน สมหุ ตัทธิต และภาวตัทธติ อี ปัจจัย มีใน ตทัสสตั ถติ ทั ธติ และปูรณตัทธติ ฯ เปตฺตกิ (ธน) ลง ณกิ ปจั จัย ในตรตยาทิตทั ธติ ว.ิ ปติ ุโน สนตฺ ก เปตตฺ กิ (ธน). กำรญุ ญฺ ลง ณยฺ ปัจจัย ในภาวตัทธิต วิ. กรุณาย ภาโว การญุ ฺญํ ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๖๗ ประโยค ป.ธ. ๓ ปัญหำและเฉลย บำลีไวยำกรณ์ สอบวนั ที่ ๒ มนี ำคม ๒๕๔๓ ------------------ ๑. จงตอบคาถามต่อไปน้ี ก. สระ ๘ ตัว เกิดในฐานเดียวกนั หรอื ตา่ งกนั อยา่ งไร ? เรยี กชื่อ ว่าอย่างไร ? ข. ห พยญั ชนะ ในคาวา่ สณฺหา เกดิ ในฐานไหน ? เพราะเหตุไร ? ๑. ไดต้ อบคาถามดงั ตอ่ ไปน้ี คอื ก. สระ 8 ตัว เกิดในฐานเดียวกนั หรอื ตา่ งกนั อยา่ งนี้ และมีช่ือ เรยี กอยา่ งนี้ คอื อ อา เกิดในคอ เรยี กชอื่ วา่ กณฺฐชา อิ อี เกิดท่เี พดาน เรียกชือ่ ว่า ตาลุชา อุ อู เกดิ ท่ีรมิ ฝีปาก เรยี กช่อื วา่ โอฏฺฐชา เอ เกิดใน ๒ ฐาน คอื คอและเพดาน เรยี กวา่ กณฺฐตาลโุ ช โอ เกดิ ใน ๒ ฐาน คอื คอและรมิ ฝปี าก เรียกว่า กณฺโฐฏฺฐโช ฯ ข. ห พยัญชนะในคาว่า สณฺหา เกิดในฐานอก เพราะ ห ท่ี ประกอบดว้ ยพยัญชนะ ๘ ตัว คอื ญ ณ น ม ย ล ว ฬ ทา่ นกล่าวว่า

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๖๘ เกิดแต่อก ท่ีไม่ได้ประกอบด้วยพยัญชนะเหล่าน้ี เกิดในคอ ตาม ฐานเดมิ ของตน ฯ ๒. ในนิคคหติ สนธิ จะลบนิคคหติ ไดใ้ นทีเ่ ช่นไร ? และจะแปลงนคิ คหิต เป็น นฺ ได้ในท่ีเช่นไร ? จงตอบพร้อมท้ังยกตัวอย่างประกอบ ? ปมุตยฺ ตฺถ,ิ หตฺถเมวานุกนฺตติ เปน็ สนธิอะไร ? ตัดและตอ่ อยา่ งไร ? ๒. ในที่เช่นนี้ คือ เมื่อมีสระหรือพยัญชนะอยู่เบ้ืองหลัง ลบนิคคหิตซ่ึงอยู่ ข้างหนา้ บา้ งก็ได้ ตวั อยา่ งเชน่ ตาส - อห เป็น ตาสาห, วิทนู - อคฺค เปน็ วิทูนคฺค, พทุ ฺธาน - สาสน เป็น พทุ ฺธานสาสน ฯ และจะแปลงนคิ คหิตเป็น นฺ ไดใ้ นทเ่ี ชน่ น้ีคอื เมอ่ื มีพยญั ชนะ ต วรรคอยู่หลัง นิคคหิตอยู่หน้า แปลงนิคคหิตเป็นพยัญชนะท่ีสุด วรรคคือ น ตัวอย่างเช่น ต-นิพฺพุต เป็น ตนฺนิพฺพุต, ย-ทุนฺนิมิตฺต เป็น ยนฺทนุ นฺ มิ ิตฺต ฯ ปมุตฺยตฺถิ เป็น อาเทสสรสนธิ ตัดเป็น ปมุตฺติ-อตฺถิ ถ้า อิ เอ หรือ โอ อยู่หน้า มีสระอยู่เบ้ืองหลัง แปลง อิ ตัวหน้า เป็น ย ถ้า พยัญชนะซ้อนกัน ๓ ตัว ลบพยัญชนะมีรูปเสมอกันเสียตัวหน่ึง ต่อ เปน็ ปมตุ ยฺ ตถฺ ิ ฯ หตฺถเมวำนุกนฺตติ เป็น อาเทสนคิ คหิตสนธิ และโลปสรสนธิ ตัด เป็น หตฺถ-เอว-อนุกนฺตติ ระหว่าง หตฺถ-เอว ถ้าสระอยู่เบ้ืองปลาย แปลงนคิ คหิตเปน็ ม ตอ่ เป็น หตฺถเมว ระหว่าง หตฺถเมว-อนุกนฺตติ ถ้าสระทั้ง ๒ เป็นรัสสะมีรูป เสมอกัน คือ เปน็ อ หรอื อิ หรอื อุ ท้ัง ๒ ตัว เมอ่ื ลบแล้ว ตอ้ งทา สระทไ่ี ม่ได้ลบดว้ ยทีฆสรสนธิ ตอ่ เป็น หตถฺ เม-วานกุ นฺตติ ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๖๙ ๓. จงตอบคาถามต่อไปน้ี ก. นามศพั ท์ เมอื่ นาไปใช้ในข้อความทง้ั ปวง จะต้องทาอย่างไร ? ข. ศพั ทว์ า่ สทฺธาย, อตถฺ าย เปน็ วภิ ตั ติอะไรได้บ้าง ? ศัพทไ์ หน เปน็ ลงิ ค์อะไร ? ค. “จตสฺโส สกุณา - นก ๔ ตัว” “ตีณิ ขนธฺ า - ขันธ์ 3” ประกอบ ศพั ทอ์ ยา่ งนีถ้ ูกหรือไม่ ? ถา้ ไม่ถูก จงแก้ไขใหถ้ กู ต้อง. ง. เพราะเหตไุ ร ปุริสสพั พนาม จงึ แบ่งบรุ ษุ เป็น ๓ ? จ. ภนฺเต กบั อาวุโส มวี ิธีใช้ตา่ งกันอย่างไร ? ๓. ไดต้ อบคาถามดงั ต่อไปน้ี ก. นามศัพท์ เมื่อนาไปใช้ในข้อความทงั้ ปวง จะต้องประกอบด้วย ลิงค์ วจนะ วิภตั ติ ฯ ข. สทธฺ าย ถา้ เปน็ ศพั ท์นาม เป็นได้ ๕ วิภตั ติ คือ ตตยิ าวิภตั ติ จตุตถวี ิภัตติ ปัญจมีวภิ ัตติ ฉฏั ฐวี ภิ ตั ติ และ สัตตมวี ภิ ตั ติ เปน็ อติ ถลี ิงค์ ถ้าเป็นศัพท์คุณนาม เป็นได้ ๓ ลงิ ค์ ท่ีเปน็ ปงุ ลิงค์ และนปงุ สกลงิ ค์ เป็นจตุตถีวภิ ัตติ สว่ นที่เป็นอติ ถลี งิ ค์ เปน็ ได้ ๕ วภิ ตั ติ คอื ตติยาวภิ ัตติ จตุตถีวิภตั ติ ปัญจมีวิภตั ติ ฉฏั ฐีวภิ ตั ติ และสตั ตมวี ภิ ัตติ อตถฺ าย เป็น จตุตถีวภิ ัตติ เปน็ ปงุ ลิงค์ ฯ ค. “จตสฺโส สกุณา - นก ๔ ตวั ” ไมถ่ กู แก้เป็น จตฺตำโร สกุณำ “ตีณิ ขนธฺ า - ขันธ์ ๓” ไม่ถกู แก้เปน็ ตโย ขนฺธำ. ฯ ง. เพราะอนโุ ลมตามวภิ ตั ตใิ นอาขยาตทแี่ บง่ เป็น ๓ เหมือนกัน ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๗๐ จ. มีวิธีใช้ต่างกันดงั น้ี ภนฺเต เป็นคาสาหรับคฤหัสถ์เรียกบรรพชิตด้วยเคารพ หรือบรรพชติ ผู้อ่อนพรรษากวา่ เรยี กบรรพชติ ผ้แู ก่กว่า อาวุโส เป็นคาสาหรับบรรพชิตที่มีพรรษามากกว่าเรยี ก บรรพชิตที่มีพรรษาน้อยกว่า และสาหรับบรรพชิตเรียก คฤหสั ถ์ ฯ ๔. เม่ือเห็นกิริยาศัพท์ที่ท่านประกอบ ม วิภัตติ เช่น คจฺฉาม สังเกต อย่างไรจึงจะรู้ว่าเป็นวัตตมานาหรือปัญจมี ? ปริวชฺชเย, ลชฺชเร, ปาปุณึสุ ประกอบด้วยเครอื่ งปรุงอะไร ? ๔. จะต้องสังเกตเน้ือความคาแปลในประโยคนั้น ๆ เช่น ถ้าแปลว่า อยู่, ย่อม, จะ เป็น วัตตมานา ถ้าแปลว่า จง, เถิด, ขอ-จง เปน็ ปัญจมี ฯ ปรวิ ชชฺ เย ประกอบด้วย ปริ บทหน้า วชชฺ ธาตุ ในความเวน้ , ละ, งด ลง ณย ปัจจยั เอยฺย สัตตมวี ิภัตติ ลบ ยยฺ คงไว้แต่ เอ ฯ ลชฺชเร ประกอบด้วย ลชฺช ธาตุ ในความละอาย ลง อ ปัจจัย อนฺติ วตั ตมานาวภิ ัตติ แปลง อนฺติ เป็น เร. ปำปุณึสุ ประกอบด้วย ป บทหน้า อป ธาตุ ในความถึง, บรรลุ, ได้, ประสบ ลง อณุ า ปจั จยั ํอุ อัชชตั ตนีวิภัตติ แปลง ํอุ เป็น อสึ .ุ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๗๑ ๕. ปัจจัยกิตก์ตัวไหนบ้าง ใช้เป็นนามกิตก์ก็ได้ เป็นกิริยากิตก์ก็ได้ จง ยกตัวอย่างประกอบด้วย ? อนฺตรธาโน (มนฺโต), กจวรจฺฉฑฺฑิกา (ทาสี), ปสาโท ลงปัจจัยอะไร ? เป็นรูปและสาธนะอะไร ? จงต้ัง วิเคราะห์มาด.ู ๕. ปจั จยั กติ ก์ ๓ ตวั คือ ณยฺ อนยี ต ณฺย ปัจจัยแห่งนามกิตก์ ถ้าใช้เป็นศัพท์กล่าวกิริยาของศัพท์ เป็น กริ ยิ ากติ ก์ ตวั อยา่ งเชน่ เต จ ภกิ ขฺ ู คารยหฺ า. อนีย ต ปัจจัยแห่งกิริยากิตก์ ถ้าใช้เป็นช่ือหรือวิเสสนะของศัพท์ อน่ื เป็นนามกติ ก์ อนยี ปจั จัย ตวั อย่างเช่น ปณีเตน ขาทนเี ยน โภชนเี ยน ปริวิสิ. ต ปจั จัย ตัวอย่างเชน่ พทุ โฺ ธ โลเก อุปฺปนฺโน ฯ อนฺตรธำโน (มนฺโต) ลง ยุ ปัจจัย เป็นกัตตุรูป กรณสาธนะ หรือ เปน็ กัตตรุ ูป กัตตสุ าธนะ ว.ิ อนฺตรธายติ เตนาติ อนตฺ รธาโน (มนฺโต) วิ. อนตฺ รธายตีติ อนฺตรธาโน (มนฺโต) กจวรจฉฺ ฑฑฺ ิกำ (ทำส)ี ลง ณวฺ ุ ปัจจัย เป็นกัตตรุ ูป กัตตุสาธนะ วิ. กจวร ฉฑฺเฑตีติ กจวรจฉฺ ฑฺฑกิ า (ทาสี) ปสำโท ลง ณ ปัจจยั เป็นภาวรปู ภาวสาธนะ ว.ิ ปสาทน ปสาโท.

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๗๒ ๖. ทิคุสมาส กับ ทวันทวสมาส ต่างกันอย่างไร ? จงตอบพร้อมทั้ง ยกตวั อย่างประกอบด้วย สธุ าปริกมมฺ กตา (โปกขฺ รณโิ ย), ปญฺจวณฺณ ปทุมสญฺฉนฺน (อุทก) เป็นสมาสอะไรบ้าง ? จงต้ังวิเคราะห์มา ตามลาดับ. ๖. ต่างกันอย่างนี้ กัมมธารยสมาส มีสังขยาอยู่หน้า ชื่อทิคุสมาส ๆ นัน้ มี ๒ อย่าง คอื สมาหารทคิ ุ และ อสมาหารทคิ ุสมาส ทคิ ุสมาส ทีท่ ่านรวบรวมนามศัพท์มีเนอื้ ความเป็นพหุวจนะ ทาใหเ้ ปน็ เอกวจนะ นปุงสกลิงค์ ชื่อ สมาหารทิคุ ตัวอย่างเช่น ตโย โลกา ติโลก เป็นตน้ ทคิ สุ มาสทีท่ า่ นไมไ่ ด้ทาอย่างน้ี ชอ่ื อสมาหารทิคุ ตวั อยา่ งเช่น จตสฺโส ทสิ า จตทุ ทฺ สิ า เป็นต้น นามนามตั้งแต่ ๒ ศัพทข์ ึ้นไป ท่านย่อเขา้ เปน็ บทเดียวกัน ช่ือ ทวันทวสมาสๆ นี้มี ๒ อย่าง คือ สมาหารทวันทสมาส และอสมา หารทวันทวสมาส เหมือนทิคุ ตัวอย่างเช่น สมโณ จ พฺราหฺมโณ จ สมณพรฺ าหฺมณา เปน็ ตน้ ฯ สุธำปริกมฺมกตำ (โปกฺขรณิโย) เป็นตติยาตัปปุริสสมาส มีตติ ยาตปั ปุริสสมาสเปน็ ภายใน มวี เิ คราะห์ตามลาดับดงั น้ี ตติยา.ตปั . วิ. สธุ าย ปริกมฺม สุธาปริกมฺม ตตยิ า.ตัป. ว.ิ สุธาปรกิ มเฺ มน กตา สธุ าปรกิ มฺมกตา (โปกฺขรณิโย) หรือเปน็ ฉัฏฐีตลุ ยาธิกรณพหพุ พหิ ิสมาส มี ตติยาตปั ปุริสสมาส เป็นภายใน มีวเิ คราะห์ตามลาดบั ดังน้ี ตติยา.ตัป. ว.ิ สุธาย ปรกิ มฺม สธุ าปริกมฺม ฉ.ตุล. วิ. สุธาปริกมฺม กต ยาส ตา สธุ าปริกมมฺ กตา (โปกขฺ รณิโย)

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๗๓ ปญฺจวณฺณปทุมสญฉฺ นฺน (อทุ ก) เป็น ตตยิ าตัปปุริสสมาส มี ฉัฏฐี ตุลยาธิกรณพหุพพิหิสมาส และวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส เป็น ภายใน มวี ิเคราะหต์ ามลาดบั ดังน้ี ฉ.ตลุ . ว.ิ ปญฺจวณฺณา เยส ตานิ ปญฺจวณณฺ านิ (ปทุมานิ) ว.ิ บพุ .กมั . ว.ิ ปญฺจวณฺณานิ ปทมุ านิ ปญจฺ วณฺณปทุมานิ หรือ ว.ิ ปญจฺ วณฺณานิ จ ตานิ ปทุมานิ จาติ ปญจฺ วณฺณปทมุ านิ ตตยิ า.ตปั . ว.ิ ปญฺจวณณฺ ปทเุ มหิ สญฺฉนฺน ปญฺจวณณฺ ปทมุ สญฺฉนฺน (อุทก) ฯ ๗. สมหุ ตทั ธติ เปน็ นามหรือเปน็ คณุ ? ตา่ งจากตรตยาทติ ัทธติ อย่างไรบ้าง กายิโก (อาพาโธ), พลวตี (ตณฺหา), อิทฺธิมย (รูปํ) ลงปัจจัยอะไร ? ในตทั ธิตไหน ? จงต้ังวเิ คราะหม์ าด.ู ๗. สมหุ ตัทธิต เปน็ นาม ฯ สมุหตัทธิต ต่างจากตรตยาทิตัทธิต ดังน้ี สมุหตัทธิต สาเร็จรูป แล้ว ใช้เป็นนามอยา่ งเดียว ลงปัจจัย 3 ตัวคือ กณฺ ณ ตา แทน สมุห ศัพท์ ในเวลาต้ังวเิ คราะห์ ศัพท์หน้าต้องประกอบด้วย น ฉัฏฐีวิภัตติ เสมอ ตวั อยา่ งเช่น กณฺ ปัจจัย มนุสฺสาน สมุโห มานสุ โก ณ ปจั จยั มนสุ ฺสาน สมุโห มานุโส ตา ปัจจยั ชนาน สมุโห ชนตา.

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๗๔ ส่วนตรตยาทิตัทธิต สาเร็จรูปแล้วเป็นคุณนามล้วน ต้องใช้อัญญ บทเสมอ ลง ณกิ ปจั จยั แทนศัพทไ์ ด้ท่วั ไป ตัวอย่างเชน่ แทนกริ ยิ าอาขยาต สกเฏน จรตตี ิ สากฏโิ ก (ชโน) แทนกริ ิยากติ ก์ ราชคเห ชาโต ราชคหโิ ก (ชโน) แทนนามนาม สงฆฺ สฺส สนตฺ ก สงฺฆิก (วตฺถุ) แทนคณุ นาม นครสฺส อิสสฺ โร นาคริโก (ชโน) กำยโิ ก (อำพำโธ) ลง ณิก ปัจจยั ในตรตยาทิตัทธติ ว.ิ กาเยน วตตฺ ตีติ กายิโก (อาพาโธ) พลวตี (ตณหฺ ำ) ลง วนตฺ ุ ปัจจยั ในตทสั สัตถติ ัทธิต ว.ิ พล อสฺสา อตฺถตี ิ พลวตี (ตณหฺ า) อทิ ฺธิมย (รูป)ํ ลง มย ปัจจัย ในปกติตทั ธิต ว.ิ อิทธฺ ยิ า ปกต อทิ ฺธมิ ย (รูปํ) ฯ พระราชปริยัติเวที เขมจารี วดั ทองนพคุณ เฉลย สนามหลวงแผนกบาลี ตรวจแก้

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๗๕ ประโยค ป.ธ. ๓ ปญั หำและเฉลย บำลไี วยำกรณ์ สอบวันท่ี ๒๐ กุมภำพนั ธ์ ๒๕๔๔ ----------------------- ๑. พยัญชนะในภาษาบาลี มเี ทา่ ไร อะไรบ้าง ? ตา่ งจากสระอยา่ งไร ? ๑. มี ๓๓ ตัว คือ ก ข ค ฆ ง จ ฉ ช ฌ ญ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ต ถ ท ธ น ปผพภม ยรลวสหฬอ ฯ ต่างจากสระอย่างนี้ คือ พยัญชนะ ๓๓ ตัวน้ี ออกเสียงไมไ่ ด้ ตามลาพังตวั เองเหมือนสระ ตอ้ งอาศยั สระจงึ ออกเสียงได้ ฯ ๒. ในสนธกิ ิรโิ ยปกรณ์ อาเทส กับ วิการ มีลักษณะตา่ งกันอย่างไร ? จง อธิบายพร้อมท้ังยกตัวอย่างประกอบ ? ยเถวาย, กาโลยนฺเต เป็นสนธิ อะไรบ้าง ? ตัดและตอ่ อย่างไร ? ๒. มีลักษณะต่างกันอย่างน้ี คือ อาเทส ได้แก่ การแปลงสระให้เป็น พยัญชนะ คือ แปลง อิ-เอ เป็น ย ตัวอย่างเช่น ปฏิสณฺฐารวุตฺติ-อสสฺ เปน็ ปฏิสณฺฐารวตุ ฺยสสฺ เป็นตน้ ฯ แปลงพยญั ชนะ เป็นพยัญชนะ คือ แปลง ติ เป็น ตฺย แล้วให้ เป็น จฺจ ตัวอย่างเช่น ปติ-อุตฺตริตฺวา เป็น ปจฺจุตฺตริตฺวา, อิติ-เอว เป็น อิจเฺ จว เป็นต้น ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๗๖ แปลงนิคคหิต เป็น พยัญชนะ คือ เมื่อพยัญชนะวรรคอยู่หลัง นคิ คหิต อยู่หน้า แปลงนคิ คหติ เป็นพยัญชนะที่สุดวรรค เช่น เอว-โข เป็น เอวงฺโข เปน็ ต้น ฯ เมอ่ื เอ และ ห อยหู่ ลัง แปลงนคิ คหิตเป็น ญ ตวั อย่าง เชน่ ต-เอว เปน็ ตญเฺ ญว, ต-หิ เปน็ ตญฺหิ เป็นตน้ . ส่วน วิการ ได้แก่การแปลงสระเปน็ สระเท่านั้น คือ การทาสระ ตัวหน่ึงให้เป็นสระอีกตัวหนึ่ง เช่น ทา อิ ให้เป็น เอ ทา อุ ให้เป็น โอ ตวั อยา่ งเชน่ มุนิ-อาลโย เป็น มเุ นลโย, ส-ุ อตถฺ ี เป็น โสตถฺ ี เปน็ ต้น ฯ ยเถวำย เปน็ โลปสรสนธิ และทฆี ะสรสนธิ ตัดเปน็ ยถา-เอว-อย. ระหว่าง ยถา-เอว ถ้าสระหน้าเป็นทีฆะ สระหลังเป็นรัสสะ มี พยญั ชนะสงั โยคอย่เู บอ้ื งหลงั ก็ดี เป็นทฆี ะกด็ ี ลบสระหนา้ คอื อา ท่สี ุด แหง่ ศัพท์ ยถา ต่อเป็น ยเถว. ระหว่าง ยเถว-อย ถ้าสระทั้ง 2 เป็นรัสสะ มีรูปเสมอกัน คือ เปน็ อ หรือ อิ หรือ อุ ทั้ง ๒ เมื่อลบแลว้ ต้องทฆี ะสระทไ่ี ม่ได้ลบ คือ อ ที่ อย เปน็ อา ต่อเป็น ยเถวาย ฯ กำโลยนฺเต เป็นโลปสรสนธิ และ อาเทสนิคคหิตสนธิ ตัดเป็น กาโล-อย-เต ระหวา่ ง กาโล-อย ถา้ สระทั้ง ๒ คือ สระหนา้ และสระหลัง มีรปู ไม่เสมอกนั ลบสระหลงั คือ อ ท่ี อย ตอ่ เป็น กาโลย ระหว่าง กาโลย-เต เม่ือมีพยัญชนะวรรคอยู่หลัง มีนิคคหิตอยู่ หน้า อาเทสนิคคหิตที่ กาโลย เป็นพยัญชนะสุดวรรค ต่อเป็น กาโลยนเฺ ต ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๗๗ ๓. จงตอบคาถามต่อไปน้ี ก. อะไรเรียกว่าการนั ต์ ? มเี ท่าไร ? อะไรบ้าง ? ข. ปกตสิ งั ขยา กบั ปรู ณสังขยา ต่างกนั อย่างไร ? ค. อุปสัค กับ นิบาต ต่างกนั อยา่ งไร ? ๓. ได้ตอบคาถามดังน้ี ก. สระท่สี ดุ แหง่ ศัพท์ เรียกว่า การนั ต์ มี ๖ คือ อ อา อิ อี อุ อูฯ ข. ต่างกนั อย่างนี้ คอื ปกตสิ งั ขยา สาหรบั นับโดยปกติ เปน็ ตน้ ว่า หนึง่ สอง สาม สี่ หา้ ส่วน ปูรณสังขยา สาหรับนับนามนามที่เต็มในที่น้ัน ๆ คือ นบั เปน็ ชัน้ ๆ เป็นตน้ ว่า ท่ีหนึ่ง ท่ีสอง ท่ีสาม ทีส่ ี่ ท่ีหา้ . ค. ต่างกันอย่างน้ีคือ อุปสัค สาหรับใช้นาหน้านามและกิริยาให้ วิเศษข้ึน เม่อื นาหน้านาม มอี าการคล้ายคุณศัพท์ เมอ่ื นาหน้า กริ ิยามีอาการคลา้ ยกิรยิ าวิเสสนะ ส่วน นิบาต สาหรับลงในระหว่างนามศัพท์บ้าง กิริยา ศัพท์บ้าง บอกอาลปนะ กาล ท่ี ปริจเฉท อุปไมย ปฏิเสธ ความได้ยินเล่าลือ ความปริกับ ความถาม ความรับ ความ เตอื น เปน็ ต้น.

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๗๘ ๔. วิภตั ติอาขยาตนน้ั มกี หี่ มวด ? หมวดไหนบอกกาลอะไร ? ๔. มี 8 หมวด ฯ หมวดวตฺตมานา บอกปัจจบุ นั หมวด ปญจฺ มี บอกความบงั คับ ความหวัง ความอ้อนวอน หมวด สตฺตมี บอกความยอมตาม ความกาหนด และความ ราพึง เปน็ ต้น หมวด ปโรกฺขา บอกอดีตกาลไม่มกี าหนด หมวด หิยตฺตนี บอกอดีตกาลตง้ั แต่วานนี้ หมวด อชชฺ ตตฺ นี บอกอดีตกาลต้ังแตว่ ันน้ี หมวด ภวสิ ฺสนฺติ บอกอนาคตกาลแห่งปัจจบุ ัน หมวด กาลาติปตฺติ บอกอนาคตกาลแหง่ อดีต ฯ ๕. รปู วเิ คราะห์แห่งสาธนะ มเี ทา่ ไร ? อยา่ งไหนเป็นสาธนะอะไรได้บา้ ง ? ธมมฺ ชีวี (ปคุ ฺคโล), คพภฺ ปาตน (เภสชชฺ ) ลงปัจจยั อะไร ? เปน็ รปู และ สาธนะอะไร ? จงตัง้ วเิ คราะห์มาด.ู ๕. มี ๓ อยา่ ง คอื ๑. กัตตุรูป เปน็ ไดท้ ุกสาธนะ เวน้ ภาวสาธนะ ๒. กัมมรูป เป็นได้ ๔ สาธนะ คือ กัมมสาธนะ กรณสาธนะ สมั ปทานสาธนะ และอธกิ รณสาธนะ ๓. ภาวรูป เปน็ ภาวสาธนะได้อย่างเดยี ว ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๗๙ ธมมฺ ชีวี (ปคุ คฺ โล) ลง ณี ปัจจยั เป็นกตั ตรุ ูป กัตตุสาธนะ ตัง้ วิเคราะห์วา่ ธมเฺ มน ชวี ติ ธมมฺ ชวี ี (ปคุ ฺคโล) เปน็ กตั ตรุ ูป ลงในอรรถแหง่ ตัสสลี ะ ตงั้ วิเคราะวา่ ธมฺเมน ชวี ติ สเี ลนาติ ธมมฺ ชีวี (ปุคคฺ โล ) เปน็ สมาสรปู ตสั สลี สาธนะ ตงั้ วิเคราะหว์ า่ ธมเฺ มน ชีวํติ ุ สีลมสสฺ าติ ธมฺมชีวี (ปุคฺคโล)ฯ คพฺภปำตน (เภสชฺช) ลง ยุ ปจั จัย เปน็ กัตตรุ ูป กรณสาธนะ ตง้ั วเิ คราะหว์ ่า คพภฺ ปาเติ เตนาติ คพฺภปาตน (เภสชฺช). ๖. สมาสอะไรบ้าง ทน่ี ยิ มบทแปลงเปน็ นปุงสกลิงค์ ? จะทราบได้อย่างไร ว่าเป็นสมาสไหน ? ปวตฺติตปวรธมฺมจกฺโก (ภควา) เป็นสมาสอะไร จงตงั้ วเิ คราะมาตามลาดับ ? ๖. สมาสท่ีนิยมบทปลงเป็นนปุงสกลิงค์ มี ๓ คือ สมาหารทิคุสมาส ๑ อสมาหาร ทวันทวสมาส ๑ อัพยยีภาวสมาส ๑ ฯ จะทราบไดว้ ่าเปน็ สมาสใด โดยความนิยมดังนี้ สมำหำรทคิ สุ มำส นยิ มสงั ขยาเปน็ บทหน้า บทหลังเปน็ ประธาน. สมำหำรทวันทวสมำส นิยมนามนามตั้งแต่ ๒ ศัพทข์ ้นึ ไป ทา่ น ย่อเขา้ บทเดยี วกนั และเป็นบทประธานท้ังส้นิ . ส่วนอพั ยยีภำวสมำส นยิ มอุปสคั และนิบาต เปน็ บทหน้า และใช้ เปน็ ประธานแหง่ บทหลงั ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๘๐ ปวตฺตติ ปวรธมฺมจกฺโก (ภควำ) เปน็ ตตยิ าตุลยาธิกรณ พหุพพิหสิ มาส มอี วธารณบุพพบท กมั มธารยสมาส และวเิ สสนบุพ พบท กัมมธารยสมาสเป็นภายใน ต้งั วิเคราะหต์ ามลาดบั ดังนี้ (อว. กัม. ว.ิ ) ธมโฺ ม เอว จกฺก ธมฺมจกฺก (วิ. บุพพ. กัม. ว.ิ ) ปวร ธมฺมจกกฺ ปวรธมฺมจกฺก (ตต.ิ ตลุ . พหุพ. วิ.) ปวตฺติต ปวรธมฺมจกฺก เยน โส ปวตฺติตปวรธมฺมจกโฺ ก (ภควา) ฯ ๗. ตทัสสัตถิตัทธิต มีปัจจัยเท่าไร ?อะไรบ้าง ? ปัจจัยตัวไหน ใช้แทน ศพั ท์อะไร ? พาลฺย, ปาหุเนยฺโย ลงปัจจยั อะไร ในตทั ธิตไหน จงตง้ั วิเคราะมาดูด้วย ๗. ตทัสสตั ถติ ทั ธิต มีปัจจยั ๙ ตัว คือ วี ส สี อิก อี ร วนฺตุ มนฺตุ ณ ฯ ท้ังหมดใช้ลงแทน อตฺถิ ศพั ทเ์ ท่านนั้ ฯ พำลฺย ลง ณฺย ปัจจัยในภาวตัทธิต ตง้ั วเิ คราะห์ว่า พาลสฺส ภาโว พาลฺย ปำหเุ นยโฺ ย ลง เอยฺย ปจั จยั ในฐานตทั ธิต ตง้ั วเิ คราะห์วา่ ปาหุน อรหตตี ิ ปาหเุ นยฺโย ปำหุนำย อนจุ ฉฺ วโิ ก โหติ วำ ปำหเุ นยฺโย ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๘๑ ประโยค ป.ธ. ๓ ปญั หำและเฉลย บำลไี วยำกรณ์ สอบวันที่ ๙ กมุ ภำพนั ธ์ ๒๕๔๕ -------------------- ๑. อะไรเป็นฐานและกรณ์ของพยัญชนะวรรค ? ในพยญั ชนะวรรคเหล่านี้ ตัวไหน เป็นโฆสะ ? ตวั ไหนเปน็ อโฆสะ ? ๑. ฐานกรณ์ของพยัญชนะวรรคมีดงั นี้ คือ กณฺโฐ คอ เป็นฐาน และ สกฏฺฐาน ฐานของตน เป็นกรณ์ของ พยญั ชนะ ก วรรค ตาลุ เพดาน เป็นฐาน และ ชิวฺหามชฺฌ ท่ามกลางล้ิน เป็นกรณ์ ของพยญั ชนะ จ วรรค มทุ ฺธา ศีรษหรือปุ่มเหงอื ก เปน็ ฐาน และ ชวิ โฺ หปคฺค ถัดปลายล้ิน เขา้ มา เปน็ กรณข์ องพยัญชนะ ฏ วรรค ทนฺโต ฟัน เป็นฐาน และ ชิวฺหคฺค ปลายล้ิน เป็นกรณ์ของ พยญั ชนะ ต วรรค โอฏฺโฐ ริมฝีปาก เป็นฐาน และ สกฏฺฐาน ฐานของตน เป็นกรณ์ ของพยญั ชนะ ป วรรค พยัญชนะที่ ๓ ท่ี ๔ ท่ี๕ ในวรรคท้ัง ๕ คือ ค ฆ ง, ช ฌ ญ, ฑ ฒ ณ, ท ธ น, และ พ ภ ม เป็น โฆสะ.

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๘๒ สว่ นพยญั ชนะท่ี ๑ ท่ี ๒ ในวรรคทง้ั ๕ คือ ก ข, จ ฉ, ฏ ฐ, ต ถ, และ ป ผ เป็น อโฆสะ ฯ ๒. ในพยญั ชนะสนธิ อาคโม กับ สัญโญโค มลี ักษณะตา่ งกันอย่างไร ? จงตอบพร้อม ท้ังยกตัวอย่างประกอบ ? ยโถทเก, อาจิณฺณเมเวต เปน็ สนธอิ ะไร ? ตดั และตอ่ อยา่ งไร. ๒. มีลักษณะต่างกันอย่างนี้ คือ อาคโม ได้แก่ การลงพยัญชนะอาคม ๘ ตัว คอื ย ว ม ท น ต ร ฬ ในเมือ่ มสี ระอยเู่ บือ้ งหลงั ตวั อยา่ งเช่น ยถา-อทิ เป็น ยถายทิ เป็นต้น ส่วน สญโฺ ญโค นัน้ ไดแ้ ก่ การซอ้ นพยญั ชนะ มี ๒ ลักษณะ คอื ซ้อนพยัญชนะที่มีรูปเหมือนกันอย่างหนึ่ง ตัวอย่างเช่น อิธ-ปโมทติ เป็น อิธปฺปโมทติ เป็นต้น ซ้อนพยัญชนะท่ีมีรูปไม่เหมือนกัน อย่าง หนง่ึ ตามหลกั การสงั โยค คอื บรรดาพยญั ชนะวรรคท้ังปวง พยัญชนะ ท่ี ๑ ซ้อนหน้าพยัญชนะ ท่ี ๑ และ ท่ี ๒ ในวรรคของตนได้ พยัญชนะที่ ๓ ซ้อนหน้าพยัญชนะท่ี ๓ และ ที่ ๔ ในวรรคของตนได้ พยัญชนะท่ี ๕ ซ้อนหน้าพยัญชนะทุกตัวในวรรคของตนได้ เว้น พยญั ชนะ คือ ง ซ้อนหน้าพยญั ชนะทัง้ ๕ ในวรรคของตนได้ แต่ซ้อน หน้าตัวเองไม่ได้ ตวั อยา่ งเช่น จตตฺ าริ-ฐานานิ เป็น จตฺตารฏิ ฺฐานานิ เป็นตน้ ฯ ยโถทเก เป็นวิการสรสนธิ ตัดเป็น ยถา-อุทเก เมื่อลบสระหน้า แล้ว วิการสระหลัง คือลบ อา ที่ ยถา วิการ อุ ท่ี อุทเก เป็น โอ ต่อ เป็น ยโถทเก

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๘๓ อำจิณฺณเมเวต เป็นอาเทสนิคคหิตสนธิ และ โลปสรสนธิ ตัด เป็น อาจณิ ณฺ - เอว-เอต ระหวา่ ง อาจิณฺณ-เอว ถา้ สระอยูเ่ บ้ืองปลาย แปลงนิคคหิตเปน็ ม ต่อเปน็ อาจณิ ณฺ เมว ระหว่าง อาจิณฺณเมว-เอต ถ้าสระหน้าเป็นรัสสะ สระหลังเป็น รัสสะ มีพยัญชนะสังโยคอยู่เบื้องหลังก็ดี เป็นทีฆะก็ดี ลบสระหน้า คอื ลบ อ ท่ีสดุ แห่ง อาจณิ ณฺ เมว เสีย ตอ่ เป็น อาจณิ ณฺ เมเวต ฯ ๓. มโนคณะ ได้แกศ่ พั ท์อะไรบ้าง ? มวี ิธีแจกวภิ ตั ตแิ ปลกจาก อ การันต์ อืน่ ๆ อยา่ งไร ? เม่อื เข้าสมาสแลว้ นยิ มใหท้ าอยา่ งไร ? ๓. ไดแ้ กศ่ ัพทเ์ หล่านี้ คือ มน ใจ เตช เดช อย เหล็ก ปย นา้ นม อุร อก ยส ยศ เจต ใจ วจ วาจา ตป ความรอ้ น วย วยั ตม มดื สิร หวั ฯ มวี ิธแี จกวภิ ตั ตแิ ปลกจาก อ การนั ต์อืน่ ๆ อยู่ ๕ วภิ ัตติ คอื นา กบั สฺมา เป็น อา, ส ทั้ ง ๒ เป็น โอ, สมฺ ึ เปน็ อิ, แล้วลง ส อาคม เป็น สา เป็น โส เป็น สิ เอา อ เป็น โอ ได้บ้าง เหมือนคาว่า ยโส ลทฺธา น มชเฺ ชยฺย ชนได้แลว้ ซ่ึงยศ ไม่พงึ มวั เมา เป็นต้น ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๘๔ เมือ่ เข้าสมาสแลว้ นยิ มเอาสระท่ีสดุ ศพั ทข์ องตนเปน็ โอ ได้ เหมอื น คาว่า มโนคโณ หมู่แห่งมนะ อโยมย ของบุคคลทาด้วยเหล็ก เป็น ตน้ เว้น วจ ศัพท์ ไมน่ ิยมเชน่ นั้น แตน่ ิยมเอาสระทีส่ ุดของตนเปน็ อี เหมอื นคาว่า วจกี มมฺ วจที ฺวาร ฉะนนั้ ฯ ๔. กริ ยิ าอาขยาตประกอบด้วยเคร่อื งปรงุ เทา่ ไร ? อะไรบ้าง ? จะทราบ กาล บท วจนะ และบุรุษได้ ต้องอาศัยอะไร ? ปมชฺชึสุ, นิเวสเย ประกอบด้วยเครื่องปรงุ อะไรบา้ ง ? ๔. ประกอบด้วยเคร่ืองปรุง ๘ อย่างคือ วิภัตติ กาล บท วจนะ บุรุษ ธาตุ วาจก และปัจจัย ฯ ตอ้ งอาศยั วิภัตติ ฯ ปมชฺชึสุ ประกอบด้วย ป บทหน้า มทฺ ธาตุ ในความเมา ความ ประมาท ลง ย ปัจจัย แปลง ย กับที่สุดธาตุคือ ท เป็น ชฺช ลง ํอุ อชั ชตั ตนีวภิ ตั ติ แปลง ํอุ เปน็ อึสุ ฯ นิเวสเย ประกอบด้วย นิ บทหนา้ วสิ ฺ ธาตุ ในความเข้าไป ลง ณย ปัจจัย ปัจจัยที่เนื่องด้วย ณ พฤทธิ์ อิ ท่ี วิสฺ ธาตุ เป็น เอ ลง เอยฺย สตั ตมีวิภตั ติ ลบ ยยฺ คงไว้แต่ เอ. ๕. ตูนาทิปัจจัย คือปัจจัยอะไร ? ในท่ีเช่นไร นิยมแปลงเป็น ย ? ในที่ เช่นไรต้องแปลง ย เป็นอย่างอ่ืนต่อไปอีก ? จงตอบพร้อม ท้ัง ยกตัวอย่างประกอบ ? อตฺถกถา, โกโธ ลงปัจจัยอะไร ? เป็นรูปและ สาธนะอะไร จงตง้ั วิเคราะห์มาดู ? ๕. คือปจั จยั มี ตนู เปน็ ต้น หมายถงึ ปจั จยั ๓ ตัว คอื ตนู ตวฺ า ตวฺ าน ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๘๕ ในท่ีเช่นน้ี คือ ธาตมุ ีอปุ สคั อยหู่ น้า นิยมแปลง ตนู าทิปจั จยั เป็น ย ตัวอย่างเชน่ อาทาย ปหาย เป็นต้น. ในทต่ี ้องแปลง ย เปน็ อยา่ งอ่นื อกี คอื ธาตุที่มี ม เปน็ ทส่ี ดุ อยู่หน้า แปลง ย กับทส่ี ดุ ธาตุเปน็ มฺม ตัวอย่างเชน่ อาคมมฺ , นกิ ขฺ มมฺ เป็นตน้ . ธาตุท่ีมี ท เป็นที่สุดอยู่หน้า แปลง ย กับที่สุดธาตุเป็น ชฺช ตวั อย่างเชน่ อุปปฺ ชชฺ , ปมชฺช เป็นต้น. ธาตุที่มี ธ กับ ภ เป็นที่สุดอยู่หนา้ แปลง ย กับที่สุดธาตุเป็น ทฺธา พฺภ ตวั อยา่ งเชน่ วิทธฺ า, อารพฺภ เป็นตน้ . ธาตุที่มี ห เป็นที่สุดอยู่หน้า แปลง ย กับที่สุดธาตุเป็น ยฺห ตัวอยา่ งเชน่ ปคฺคยหฺ อารุยหฺ เปน็ ต้น ฯ อตฺถกถำ ลง อ ปจั จัย เป็นกัมมรูป กัมมสาธนะ ตั้งวิเคราะห์วา่ อตโฺ ถ กถิยติ เอตายาติ อตถฺ กถา (วาจา) หรือเป็นกัตตุรูป กรณสาธนะ ตั้งวิเคราะห์ว่า อตฺถ กเถนฺติ เอตายาติ อตฺถกถา (วาจา) หรอื เป็นภาวรปู ภาวสาธนะ ตง้ั วิเคราะห์ว่า อตถฺ กถน อตฺถกถา ฯ โกโธ ลง ณ ปัจจัย เปน็ ภาวรปู ภาวสาธนะ ต้งั วเิ คราะหว์ ่า กชุ ฺฌน โกโธ หรือเปน็ กัตตรุ ูป กตุ ตุสาธนะ ต้งั วิเคราะห์ว่า กุชฌฺ ตีติ โกโธ (ชโน) หรือเปน็ กตั ตุรปู สมั ปทานสาธนะ ตง้ั วิเคราะห์ว่า กุชฌฺ ติ ตสฺสาติ โกโธ (ชโน) ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๘๖ ๖. วเิ สสนบุพพบท กับ วิเสสโนภยบท กมั มธารยสมาส ต่างกนั อย่างไร ? จงตอบพร้อมทัง้ ยกตัวอยา่ งประกอบ ? ยถาเวค, อปุ ฺปนนฺ พลวโกธา (เทวตา) เปน็ สมาสอะไรบา้ ง จงตัง้ วเิ คราะหม์ าตามลาดบั ? ๖. ต่างกันอย่างนี้ คือ วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มีบทวิเสสนะ อยู่ต้น บทประธานอยู่ข้างหลัง ตัวอย่างเช่น มหนฺโต ปุริโส มหาปุริโส บรุ ษุ ใหญ่ ขตตฺ ิยา กญญฺ า ขตตฺ ยิ กญฺญา นางกษัตรยิ ์ เปน็ ตน้ . ส่วน วิเสสโนภยบท กัมมธารยสมาส มีบททั้ง ๒ เป็นวิเสสนะ มี บทอน่ื เปน็ ประธานตัวอย่างเชน่ สีตญฺจ สมฏฺฐญจฺ สตี สมฏฺฐํ (ฐาน ท่)ี ทั้งเย็นทั้งเกล้ียง, อนฺโธ จ วธิโร จ อนฺธวธิโร (ปุริโส บุรุษ) ทั้งบอดทั้ง หนวก เป็นตน้ ฯ ยถำเวค เป็นนปิ าตปพุ พกะ อพั ยยีภาวสมาส ตั้งวิเคราะหว์ ่า เวคสฺส ปฏิปาฏิ ยถาเวค หรอื ตงั้ วเิ คราะหว์ ่า โย โย เวโค ยถาเวค. อุปฺปนฺนพลวโกธำ (เทวตำ) เป็นจตุตถีพหุพพิหิสมาส มีวิเสสน บุพพบท กัมมธารยสมาสเป็นภายใน ตงั้ วิเคราะห์ตามลาดับดังน้ี ว.ิ บพุ . กัม. ว.ิ พลวา โกโธ พลวโกโธ หรอื ว.ิ พลวา จ โส โกโธ จาติ พลวโกโธ จ.พหุพ. ว.ิ อุปปฺ นโฺ น พลวโกโธ ยสสฺ า สา อปุ ปฺ นนฺ พลว โกธา (เทวตา) ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๘๗ ๗. ตัทธิตโดยย่อมีเท่าไร ? อะไรบ้าง ? เพราะเหตุไรจึงจัดอย่างน้ัน ? โกสมพฺ กิ า (ภกิ ฺข)ู , ปาปมิ า (มาโร) ลงปัจจยั อะไร ในตทั ธิตไหน ? จง ตัง้ วิเคราะหม์ าดู ? ๗. มี ๓ อยา่ ง. คอื สามญั ญตัทธิต ภาวตัทธติ และอพั ยยตัทธิต. เพราะจัดตามลกั ษณแห่งตทั ธติ น้นั ๆ กลา่ วคือ สามัญญตัทธิต เป็นตัทธิตสามัญใช้ลงแทนศัพท์ได้ทั่วไป ทั้งท่ีเป็น นามนาม คณุ นาม และกริ ิยา. ภาวตทั ธติ ใชป้ จั จยั ลงแทนได้เฉพาะ ภาว ศพั ทอ์ ย่างเดียว. อัพยยตัทธติ ใช้ปัจจัยลงแทน ปการ ศัพท์ หลงั สพั พนาม แล้ว สาเร็จรปู เปน็ อพั ยยตัทธติ แจกดว้ ยวิภตั ตทิ ัง้ ๗ ไม่ได้ ฯ โกสมฺพิกำ ลง ณิก ปัจจัย ในตรัตยาทิตัทธิต ต้ังวิเคราะห์ว่า โกสมฺพิย วสนตฺ ตี ิ โกสมพฺ ิกา (ภกิ ขฺ ู) ฯ ปำปิมำ ลง อมิ นฺตุ ปจั จัย ในตทัสสัตถิตัทธิต ตามนยั แห่งสัททนีติ ตง้ั วิเคราะหว์ า่ ปาปํ อสฺส อตฺถตี ิ ปาปิมา (มาโร) ฯ พระราชปริยัตเิ วที เขมจารี วดั ทองนพคุณ เฉลย สนามหลวงแผนกบาลี ตรวจแก้

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๘๘ ประโยค ป.ธ. ๓ ปญั หำและเฉลย บำลไี วยำกรณ์ สอบวันที่ ๒๘ กมุ ภำพนั ธ์ ๒๕๔๖ --------------------- ๑. อะไรเรียกว่า อักขระ และนิคคหิต ? ในคาทั้ง ๓ นั้น คาไหนแปลว่า อย่างไร ? ๑. เสยี งกด็ ี ตวั หนงั สอื ก็ดี เรียกวา่ อกั ขระ ฯ อักขระท่ีเหลอื จากสระ ๓๓ ตวั มี ก เป็นต้น มีนคิ คหติ เปน็ ที่สดุ เรียกว่า พยัญชนะ ฯ พยญั ชนะ คือ อ เรยี กวา่ นคิ คหติ ฯ ๒. การลงอาคมอาคมในพยัญชนะสนธิและนิคคหิตสนธิ มีลักษณะ ต่างกนั อย่างไร ? จงอธิบายพร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบ ? ยตรฺ ฏฐฺ โิ ต, อหนฺทานิ เป็นสนธิอะไร ? ตดั ต่ออยา่ งไร ? ๒. มีลกั ษณะต่างกนั อย่างน้ี คือ การลงอาคมในพยญั ชนะสนธิ ถา้ มีสระ อยู่เบื้องหลัง ลงพยัญชนะอาคม ๘ ตัว คือ ย ว ม ท น ต ร ฬ ไดบ้ า้ ง ตัวอยา่ ง ย อาคม ยถา - อิท เปน็ ยถายทิ ว อาคม อุ - ทกิ ฺขติ เป็น วทุ ิกฺขติ ม อาคม ครุ - เอสฺสติ เป็น ครเุ มสฺสติ ท อาคม อตฺต - อตโฺ ถ เป็น อตถฺ ทตฺโถ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๘๙ น อาคม อิโต - อานติ เป็น อิโตนายติ ต อาคม ตสมฺ า - อิห เปน็ ตสมฺ าติห ร อาคม สพฺภิ - เอว เปน็ สพภฺ ิเรว ฬ อาคม ฉ - อายตน เป็น ฉฬายตน ในสทั ทนีตวิ ่า ลง ห อาคมกไ็ ด้ ตัวอย่างเช่น สุ-อุชุ เปน็ สุหชุ ุ ส่วนการลงอาคมในนิคคหิตสนธิ เม่ือสระะก็ดี พยัญชนะก็ดี อยู่ เบ้ืองหลัง ลงนิคคหิตอาคมได้บ้าง ตัวอย่างเช่น อว-สิโร เป็น อวสิโร เปน็ ตน้ ฯ ยตฺรฏฺฐิโต เป็นสัญโญโคพยัญชนะสนธิ ตัดเป็น ยตฺร-ฐิโต ซ้อน หน้า พยัญชนะท่ีมีรูปไม่เหมือนกัน ตามหลักแห่งการสังโยค คือ บรรดา พยัญชนะทั้งปวง พยัญชนะที่ ๑ ซ้อนหน้าพยัญชนะท่ี ๑ และที่ ๒ ในวรรคของตนได้ พยญั ชนะท่ี ๓ ซอ้ นหนา้ พยญั ชนะที่ ๓ และท่ี ๔ ในวรรคของตนได้ พยัญชนะที่ ๕ ซ้อนหน้าพยัญชนะทกุ ตัว ในวรรคของตนได้ เวน้ พยัญชนะ คือ ง ซอ้ นหนา้ พยญั ชนะทัง้ ๔ ในวรรคของตนได้ แต่ซ้อนหน้าตัวเองไม่ได้ ในคาว่า ยตฺรฏฺฐิโต นี้ พยญั ชนะที่ ๑ ซอ้ นหน้าพยญั ชนะท่ี ๒ ตอ่ เปน็ ยตรฺ ฏฺฐิโต ฯ อหนฺทำนิ เป็นโลปสรสนธิและอาเทสนิคคหิตสนธิ ตัดเป็น อห-อิ ทานิ เมื่อนิคคหติ อยหู่ น้า ลบสระเบ้อื งปลาย คอื อิ ที่ อทิ านิ แลว้ อา เทสนิคคหติ เป็น น ตอ่ เป็น อหนทฺ านิ ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๙๐ ๓. จงตอบคาถามตอ่ ไปนี้ ก. จกขฺ ุ เปน็ อะไรในนามศัพท์และลิงคอ์ ะไร ? ข. อปุ าสิกา เมื่อแจกในอาลปนวภิ ัตติ มีรูปเปน็ อย่างไรบ้าง ? ค. อายสฺมนโฺ ต เปน็ วิภตั ติอะไรไดบ้ ้าง ? ฆ. สฏฺฐี, ปณณฺ รสี เปน็ สงั ขยาชนิดไหน ? ง. ตทา, กหุ ึ แปลวา่ อยา่ งไร สาเร็จมาจากอะไร ? ๓. ไดต้ อบคาถามตอ่ ไปนี้ คือ ก. จกฺขุ เป็นนามนาม และ เปน็ นปุงสกลิงค์ ฯ ข. อปุ าสกิ า เม่อื แจกในอาลปนวภิ ตั ติ มรี ูปเปน็ อย่างน้ี คือ เอก วจนะ เปน็ อุปาสเิ ก พหวุ จนะ เปน็ อปุ าสกิ าโย อุปาสกิ า ฯ ค. อายสมฺ นโฺ ต เป็นได้ 2 วิภัตติ คอื ส จตตุ ถีวภิ ัตติและฉฏั ฐีวิภตั ติ เอกวจนะ ฯ ฆ. สฏฺฐี เปน็ ปกติสงั ขยา ปณฺณรสี เปน็ ปูรณสงั ขยา ฯ ง. ตทา แปลวา่ ในกาลนน้ั สาเร็จมาจาก ต ศพั ท์ + ทา ปัจจยั กุ หึ แปลว่า ใน-ไหน สาเร็จมาจาก กึ ศัพท์ + หึ ปัจจัย แปลง กึ เปน็ กุ ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๙๑ ๔. ในอาขยาตจัดวาจกไวเ้ ท่าไร ? อะไรบ้าง ? วาจกไหนลงปัจจยั อะไร ? จงแก้คาทีเ่ ห็นว่าผิดให้ถูกต้องตามหลกั ไวยากรณ์ในประโยคตอ่ ไปน้ี ก. โสโก วา ภย วา เปมโต ชายนฺต.ิ ข. สา กมุ าริกา โสตาปตฺติผเล ปติฏฺฐหึสุ. ๔. ในอาขยาตจัดวาจกได้ ๕ คือ กัตตุวาจก ๑ กัมมวาจก ๑ ภาววาจก ๑ เหตกุ ัตตุวาจก ๑ เหตุกัมมวาจก ๑. แต่ละวาจกลงปจั จัยดงั น้ี คือ กัตตุวาจก ลงปจั จยั 10 ตัว คือ อ เอ ย ณุ นา ณา ณหฺ า โอ เณ ณย, กัมมวาจก ลง ย ปัจจัยกบั ท้งั อิ อาคมหน้า ย ด้วย, ภาววาจก ลง ย ปจั จัย, เหตกุ ตั ตวุ าจก ลงปัจจยั 4 ตวั คือ เณ ณย ณาเป ณาปย ตัวใด ตวั หนงึ่ , เหตกุ ัมมวาจก ลงปจั จยั 10 ตวั นนั้ ด้วย ลงเหตุปจั จยั คอื ณาเป ด้วย ลง ย ปจั จยั ทั้ง อิ อาคมหน้า ย ด้วย ฯ ไดแ้ ก่คาทีเ่ หน็ วา่ ผิดให้ถกู ต้องตามหลักไวยากรณ์ดังนี้ ก. โสโก วา ภย วา เปมโต ชายติ. หรือ โสโก จ ภย จ เปมโต ชายนฺติ. ข. สา กุมาริกา โสตาปตฺติผเล ปติฏฺฐห.ิ หรอื ตา กุมารกิ า โสตาปตติผเล ปตฏิ ฺฐหึสุ ฯ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook