Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เฉลยข้อสอบป.ธ.3วิชาไวยากรณ์ฉบับอัพเดต62

เฉลยข้อสอบป.ธ.3วิชาไวยากรณ์ฉบับอัพเดต62

Published by phrapradisth, 2019-12-05 01:23:07

Description: เฉลยข้อสอบป.ธ.3วิชาไวยากรณ์ฉบับอัพเดต62

Search

Read the Text Version

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๙๒ ๖. ในกัมมธารยสมาสนั้น วิเสสนบุพพบท กับ วิเสสนุตตรบท ต่างกัน อย่างไร ? จตุราสีติโยชนสหสฺส เป็นสมาสอะไรบา้ ง จงตั้งวิเคราะห์ มาตามลาดบั ? ๖. ในกัมมธารยสมาสนั้น วิเสสนบุพพบ กับ วิเสสนุตตรบท ต่างกันอย่าง นี้ คือ วิเสสนบุพพบท มีบทวิเสสนะอยู่ต้น บทประธานอยู่หลัง อุทาหรณม์ หนโฺ ต ปรุ ิโส = มหาปุรโิ ส บรุ ุษใหญ่ ส่วน วิเสสนตุ ตรบท มีบทวิเสสนะอยู่หลัง บทประธานอยู่หนา้ อุทาหรณ์ สตฺโต วิเสโส = สตตฺ วเิ สโส สัตว์วเิ ศษ ฯ จตุรำสีติโยชนสหสฺส เป็นสมาหารทิคุสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริส สมาสเป็นภายใน ตั้งวเิ คราะห์ตามลาดบั ดงั น้ี ฉ.ตปั . ว.ิ โยชนาน สหสฺสานิ โยชนสหสฺสานิ ส.ทคิ ุ. วิ. จตรุ าสีติ โยชนสหสสฺ านิ จตุราสีติโยชนสหสสฺ ฯ ๗. ณิก ปัจจัย มีในตัทธิตไหนบ้าง ? และใช้ต่างกันอย่างไร ? อาโรคฺย, อาพาธิโก (ปุริโส),ปณฺณรสม (ทิน) ลงปัจจัยอะไร ? ในตัทธิตไหน ? จงตั้งวิเคราะห์มาดู ? ๗. ณกิ ปัจจัย มีในโคตตตัทธิ และตรตยาทิตัทธติ ฯ ใช้ต่างกันอย่างนี้ คือ ณิก ปัจจัยในโคตตตัทธิตใช้แทนศัพท์ได้ เฉพาะ “อปจจฺ ” ศัพท์อยา่ งเดยี ว ส่วน ณกิ ปจั จัยในตรตยาทติ ัทธิตใช้ แทนศพั ท์ไดท้ ่วั ไปไมจ่ ากดั ฯ อำโรคยฺ ลง ณยฺ ปัจจยั ในภาวตัทธติ วิเคราะห์วา่ อโรคสสฺ ภาโว อาโรคยฺ ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๙๓ อำพำธิโก (ปุรโิ ส) ลง อิก ปัจจัย ในตทัสสัตถติ ัทธติ วเิ คราะหว์ ่า อาพาโธ อสสฺ อตถฺ ีติ อาพาธโิ ก (ปุริโส) หรือ ลงณิก ปจั จัย ในตรตยาทิตัทธติ วเิ คราะหว์ ่า อาพาเธน นยิ ุตฺโต อาพาธโิ ก (ปรุ ิโส) ฯ ปณณฺ รสม (ทนิ ) ลง ม ปจั จยั ในปรู ณตทั ธติ วเิ คราะห์วา่ ปณฺณรสนนฺ ปรู ณ ปณฺณรสม (ทิน) ฯ พระเทพปรยิ ัตมิ นุ ี เขมจารี วัดทองนพคุณ เฉลย สนามหลวงแผนกบาลี ตรวจแก.้

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๙๔ ประโยค ป.ธ. ๓ ปญั หำและ บำลไี วยำกรณ์ สอบ วันท่ี ๒๖ กุมภำพันธ์ ๒๕๕๗ ---------------------- ๑. อักขระเช่นไร ชอื่ วา่ พยัญชนะ ? และคาว่า“พยัญชนะ” ํนนั้ แปลว่า อย่างไร ?เฉพาะพยัญชนะอวรรคทั้ง ๘ ตัว แต่ละตัวเกิดในฐาน ใดบา้ ง ? ๑. อกั ขระทเ่ี หลือจากสระ ๓๓ ตวั มี ก เปน็ ตน้ มนี ิคคหติ เป็นที่สุด ชื่อว่า พยัญชนะ ฯ และคาว่า“พยัญชนะ” น้ัน แปลว่า ทาเนื้อความให้ ปรากฏ ฯ เฉพาะพยญั ชนะอวรรคทั้ง ๘ ตัว แตล่ ะตวั เกิดในฐานดังนี้ คอื ย เกดิ ทเ่ี พดาน เรียกวา่ ตาลโุ ช ร ฬ สองตัวน้ี เกิดที่ศรี ษะก็ว่า ที่ปุม่ เหงือกก็ว่า เรยี กวา่ มทุ ฺธชา ล ส สองตวั น้ี เกิดท่ีฟัน เรียกว่า ทนฺตชา ว เกิดใน ๒ ฐาน คือฟันและริมฝีปาก เรียกวา่ ทนฺโตฏฺฐโช ห เกดิ ในคอ เรียกวา่ กณฺฐโช ห ทีป่ ระกอบด้วยพยญั ชนะ ๘ ตัว คือ ฐ ณ น ม ย ล ว ฬ ท่าน กล่าววา่ เกิดแต่อก ทไี่ ม่ได้ประกอบ เกิดในคอตามฐานเดมิ ของตน นิคคหิต เกดิ ในจมกู เรยี กว่า นาสกิ ฏฺฐานโช ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๙๕ ๒. สนธิกิริโยปกรณ์ คืออะไร ? มีเท่าไร ? อะไรบ้าง ?นทานาห เป็นสนธิ อะไร ? ตัดและตอ่ อยา่ งไร ? ๒. สนธิกิรโิ ยปกรณ์ คอื วิธีเป็นอุปการะแก่การทาสนธิ ฯ มี ๘ อย่าง คอื โลโป ลบ ๑ อาเทโส แปลง ๑ อาคโม ลงตวั อักษรใหม่ ๑ วิกาโร ทาให้ผิดจากของเดิม ๑ ปกติ ปรกติ ๑ ทโี ฆ ทาใหย้ าว ๑ รสฺส ทาให้สั้น ๑ สญโฺ ญโค ซอ้ นตัว ๑ ฯ นทำนำห เป็นโลปสระสนธิ และทีฆสระสนธิ ตัดเป็น น-อิทานิ- อห ระหว่าง น - อิทานิ สระ ๒ ตัว คือ สระหน้าและสระหลัง มี รูปไมเ่ สมอกันลบ สระหลัง คือ ลบ อิ ที่ อิทานิ ต่อเป็น นทานิ ระหว่าง นทานิ – อห สระทง้ั สอง คอื สระหน้า และสระหลัง มรี ปู ไม่เสมอกัน ลบสระหนา้ คอื ลบ อิ ท่ี นทานิ แลว้ ทีฆะ สระหลงั คือ อ ที่ อห ต่อเป็น นทานาห ฯ ๓. จงประกอบสังขยาแทนตัวเลขทแี่ สดงไว้ ใหถ้ กู ตอ้ งตามหลกั ไวยากรณ์ ก. ๓ อุปปฺ ลานิ อทุ เก ชาตานิ ? ข. ๑๙ นาริโย นหานาย นทึ คตา ? ค. ๒๓ กมุ าราน อาจรโิ ย คาม ปวิฏโฺ ฐ ?

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๙๖ ฆ. ๓๓ ชนาน ลาโภ อปุ ฺปนโฺ น ? ง. ตสฺส (พุทธฺ สสฺ ) ขีณาสวาน ๑๐๐,๐๐๐ ปริวาโร ? ๓. ไดป้ ระกอบสงั ขยาแทนตัวเลขท่ีแสดงไว้ ให้ถกู ตอ้ งตามหลักไวยากรณ์ ดงั นี้ ก. ตีณิ อุปฺปลานิ อุทเก ชาตานิ ฯ ข. เอกูนวีสติ หรือ เอกูนวีส หรือ อูนวีสติ หรือ อูนวีส นาริโย นหฺ านาย นทึ คตา ฯ ค. เตวสี ติยา หรือ เตวสี าย กุมาราน อาจริโย คาม ปวฏิ โฺ ฐ ฯ ฆ. เตตฺตสึ ติยา หรือ เตตฺตสึ าย ชนาน ลาโภ อปุ ฺปนฺโน ฯ ง. ตสฺส (พุทฺธสสฺ ) ขีณาสวาน สตสหสฺส ปริวาโร ฯ ๔. ในอาขยาต จัดวาจกไว้เท่าไร ? วาจกไหนลงปัจจัยอะไร ? อวมญฺเญถ ในคาว่า “มาวมญฺเญถ ปุญญฺ สฺส” ประกอบด้วยเครอ่ื งปรงุ อะไรบ้าง ? ๔. ในอาขยาตจัดวาจกไว้ ๕ วาจก คือ กัตตุวาจก กัมมวาจก ภาววาจก เหตกุ ตั ตวุ าจก เหตกุ มั มวาจก ฯ แต่ละวาจกลงปัจจัยดงั น้ี คือ กัตตวุ าจก ลงปัจจัย ๑๐ ตัว คือ อ เอ ย ณุ นา ณา ณฺหา โอ เณ ณย กมั มวาจก ลง ย ปัจจัย กบั ทัง้ อิ อาคมหนา้ ย ดว้ ย ภาววาจก ลง ย ปจั จัย

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๙๗ เหตุกตั ตุวาจก ลงปัจจัย ๔ ตวั คือ เณ ณย ณาเป ณาปย ตัวใด ตัวหนึง่ เหตุกัมมวาจก ลงปจั จยั ๑๐ ตัวน้ันดว้ ย ลงเหตุปจั จัย คือ ณาเป ด้วย ลง ยปัจจยั กบั ทั้ง อิ อาคม หน้า ย ดว้ ย ฯ อวมญฺเญถ ประกอบด้วยเคร่ืองปรุงดังน้ี คือ อว บทหน้า มนฺ ธาตุ ลง ย ปัจจัย เอถ วิภัตติหมวดสัตตม ปฐมบุรุษ เอกวจนะ แปลง ย กับที่สุดธาตุ คอื น เป็น ญฺญ สาเรจ็ เป็น อวมญฺเญถ ฯ ๕. อนฺต และ มาน ปัจจยั ในกริ ยิ ากติ ก์ ใชเ้ หมอื นกนั และตา่ งกนั อยา่ งไร ? โลกานุกมฺปกา (พุทฺธา), อุปฺปาโท เป็นรูปและสาธนะอะไร จงต้ัง วเิ คราะหม์ าดู ? ๕. อนฺต และ มาน ปัจจัยในกิริยากิตก์ ใช้เหมือนกันและต่างกันอย่างน้ี คอื อนตฺ และ มานะ ปจั จยั ทัง้ สองตัวน้ี บอกปจั จุบนั นกาลเหมอื นกัน ส่วนที่ต่างกัน คือ อนฺ ต เป็นปัจจัยหมวดกิตปัจจัย เป็นได้ ๒ วาจก คือ กัตตุวาจก และเหตุกัตตุวาจก ส่วน มาน เป็นปัจจัยหมวด กิตกจิ จปจั จัย เปน็ ไดท้ ั้ง ๕ วาจก แต่ภาววาจกไม่นิยมใช้ ฯ โลกำนุกมปฺ กำ (พทุ ฺธำ) เป็นกตั ตุรูป กัตตสุ าธนะ ต้ังวเิ คราะห์ ว่า โลก อนุกมปฺ นฺตตี ิ โลกานุกมปฺ กา (พทุ ธฺ า) อุปฺปำโท เป็นภาวรปู ภาวสาธนะ ตัง้ วิเคราะห์ว่า อุปฺปชฺชเตติ อปุ ฺปาโท หรอื อปุ ปฺ ชชฺ น อปุ ปฺ าโท ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๙๘ ๖. สมาสวา่ โดยชื่อ มเี ทา่ ไร ? อะไรบ้าง ? อนิมิตฺโต (กาโล), อนตฺ รามคฺค เป็นสมาสอะไร จงต้งั วเิ คราะหม์ าดู ? ๖. สมาสว่าโดยช่ือมี ๖ อย่าง คือกมฺมธารโย ๑ ทิคุ ๑ ตปฺปรุ โิ ส ๑ ทวนทฺ ฺโว ๑ อพฺยยภี าโว ๑ พหุพพฺ ิหิ ๑ ฯ อนิมติ ฺโต (กำโล) เปน็ นบพุ พบท พหพุ พหิ ิสมาส ต้งั วิเคราะห์ว่า นตฺถิ ตสสฺ นิมิตฺตนฺติ อนิมิตโฺ ต (กาโล)ฯ อนฺตรำมคฺค เป็น นปิ าตปพุ พกะ อัพยยีภาวสมาส ต้งั วเิ คราะห์วา่ มคคฺ สฺส อนตฺ รา อนตฺ รามคฺค ฯ ๗. โคตตตทั ธติ มปี ัจจัยเท่าไร ? อะไรบา้ ง ? ปาสาณมย (วชริ ), วสี ติม(ทนิ ), มชฺฌิมา(ปฏปิ ทา) ลงปัจจัยอะไร ในตัทธติ ไหน จงตั้งวิเคราะห์มาดู ? ๗. โคตตตทั ธติ มีปัจจัย ๘ ตวั คอื ณ ณายน ณาน เณยยฺ ณิ ณกิ ณว เณร ปำสำณมย (วชริ ) ลง มย ปัจจยั ในปกติตัทธิต ต้งั วิเคราะห์ว่า ปาสาเณน ปกติ ปาสาณมย (วชิร) หรือ ปาสาณสฺส วิกาโร ปาสาณมย (วชิร) วีสติม (ทนิ ) ลง ม ปัจจัย ในปรู ณตัทธติ ตัง้ วเิ คราะห์วา่ วีสตยิ า ปรู ณ (ทิน) หรือ วสี าย ปรู ณ (ทิน) ฯ มชฌฺ ิมำ (ปฏปิ ทำ) ลง อมิ ปัจจัย ในชาตาทิตัทธิต ตง้ั วเิ คราะห์วา่ มชเฺ ฌ ภวาติ มชฺฌมิ า (ปฏิปทา) ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๙๙ ประโยค ป.ธ. ๓ ปญั หำและเฉลย บำลไี วยำกรณ์ สอบครัง้ ท่ี ๒ วันที่ ๒๖ เมษำยน ๒๕๕๗ --------------------- ๑. ในพยัญชนะวรรคทั้งหลาย มีวิธีการที่จะประกอบพยัญชนะสังโยคได้ อย่างไรบา้ ง ? และพยัญชนะไหนบา้ ง ใช้สังโยคไม่ได้ ? ๑. ในพยญั ชนะวรรคทง้ั หลาย มีวธิ ีการทจี่ ะประกอบพยัญชนะสงั โยคได้ อย่างน้ี คือ พยัญชนะที่ ๑ ซอ้ นหนา้ พยญั ชนะที่ ๑ ท่ี ๒ ในวรรคของตนได้ พยญั ชนะที่ ๓ ซอ้ นหน้าพยญั ชนะท่ี ๓ ท่ี ๔ ในวรรคของตนได้ พยญั ชนะที่ ๕ สดุ วรรค ซอ้ นหนา้ พยัญชนะในวรรคของตนได้ทั้ง ๕ ตัว ยกเสียแต่ ง ซึ่งเป็นตัวสะกดอย่างเดียวมิได้มีสาเนียงในภาษา บาลี ซอ้ นหน้าตวั เองไม่ได้ ฯ และพยัญชนะที่ ๒ และที่ ๔ ในวรรคทัง้ ๕ ใช้สังโยคไมไ่ ด้ ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๐๐ ๒. อาคมสนธิกิริโยปกรณ์ มีในสนธิไหนบ้าง ? และลงอาคมอะไรในสนธิ นั้น ๆ ? เตสูปสมฺมติ ในคาว่า “เวร เตสูปสมฺมติ” เป็นสนธิอะไร ? ตดั และตอ่ อย่างไร ? ๒. อาคมสนธกิ ิรโิ ยปกรณ์ มใี นสนธิท้งั ๓ คอื สระสนธิ พยญั ชนะสนธิ และ นคิ คหติ สนธิ ฯ และลงอาคมในสนธนิ ้ัน ๆ ดงั นี้ คือ ในสระสนธิ ลง อ และ โอ อาคม ในพยัญชนะสนธิ ลงพยญั ชนะอาคม ๘ ตวั คือ ย ว ม ท น ต ร ฬ ในนิคคหติ สนธิ ลง นิคคหติ อาคม ฯ เตสูปสมมฺ ติ ในคาว่า “เวร เตสูปสมฺมติ” เปน็ โลปนคิ คหิตสนธิ และทฆี สระสนธิ ตัดเปน็ เตส – อปุ สมมฺ ติ ระหว่าง เตส – อุปสมฺมติ เมื่อมีสระหรือพยัญชนะอยู่เบ้ืองหลัง ลบนคิ คหติ ซึง่ อยู่หนา้ ได้ คือ ลบ นคิ คหติ ที่ เตส เปน็ เตส เมือ่ ลบ นิคคหิตข้างหน้าแล้วทีฆะสระหลัง คือ อุ ที่ อุปสมฺมติ ต่อเป็น เต สปู สมมฺ ติ ฯ ๓. จงตอบคาถามต่อไปน้ี ก. เอกวจนะ กับ พหุวจนะ มวี ธิ ใี ชต้ ่างกนั อย่างไร ? ข. สตฺตปญญฺ าส แปลวา่ อยา่ งไร ฯ เป็นสงั ขยาชนิดไหน ? ค. อรหต มีวธิ ที าตวั อยา่ งไร ? ฆ. อิม ศพั ท์ ในอติ ถีลิงค์ เฉพาะฉฏั ฐวี ิภตั ติ มีรูปแจกอย่างไร ? ง. อาวุโส เป็นคาสาหรบั เรียกใคร ?

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๐๑ ๓. ได้ตอบคาถามตอ่ ไปน้ี ก. เอกวจนะ กับ พหุวจนะ มีวิธีใช้ต่างกันอย่างนี้ คือ เอกวจนะ ใชเ้ ปน็ คาพดู สาหรับออกชื่อของสิง่ เดียว ส่วนพหุวจนะ ใช้เป็น คาพูดสาหรับออกชื่อของมากกว่าสิ่งเดียว คือ ต้ังแต่ ๒ ส่ิง ขนึ้ ไป ฯ ข. สตฺตปญญฺ าส แปลวา่ ๕๗ ฯ เป็นปกติสงั ขยา ฯ ค. อรหต มีวิธที าตวั อย่างนี้ อรหต ศัพทเ์ ดมิ เปน็ อรหนตฺ ลง น จตตุ ถีวิภตั ติ และ น ฉฏั ฐีวิภัตติ ฝา่ ยพหวุ จนะ เอา นฺต กบั น เปน็ ต สาเรจ็ รปู เป็น อรหต ฯ ฆ. อมิ ศัพท์ ในอติ ถีลงิ ค์ เฉพาะฉัฏฐวี ภิ ตั ติ มีรปู แจกอย่างน้ี คือ เอกวจนะ พหุวจนะ ฉ. อิมสิ ฺสา อมิ ิสสฺ าย อสฺสา อิมาส อิมาสาน ฯ ง. อาวุโส เป็นคาสาหรับบรรพชิตท่ีมีพรรษามากกว่า เรียก บรรพชิตที่มีพรรษาน้อย กว่าและสาหรับบรรพชิตเรียก คฤหสั ถ์ ฯ ๔. ในอาขยาต วิภัตติไหน เมื่อลงแล้วต้องทีฆะ อ ท่ีสุดปัจจัย เป็น อา มี อทุ าหรณ์ว่าอย่างไร ? จงแจก ญา ธาตุ (ในความรู้) ด้วยวภิ ตั ตหิ มวดภ วสิ สันติ เฉพาะปรัสสบท มาดู ? ๔. ในอาขยาต วิภัตติที่ลงแล้วต้องทีฆะ อ ที่สุดปัจจัย เป็น อา คือ มิ ม วตั ตมานาวิภตั ติ และ หิ มิ ม ปัญจมวี ิภัตติ มีอุทาหรณอ์ ย่างน้ี คือ คจฺ ฉาหิ คจฺฉามิ คจฺฉาม เปน็ ต้น ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๐๒ แจก ญา ธาตุ (ในความร)ู้ ดว้ ยวิภัตติหมวดภวิสสนั ติ เฉพาะปรสั ส บท ดังน้ี ปุรสิ . เอก. พห.ุ ป. ชานิสสฺ ติ ชานิสฺสนฺติ ม. ชานิสสฺ สิ ชานิสสฺ ถ อุ. ชานสิ ฺสามิ ชานิสฺส ชานสิ ฺสาม ๕. กิริยากิตก์ มีเครื่องประกอบต่างจากกิริยาอาขยาตอย่างไร ? หาโส, ภิกฺขาจารา (เวลา) ลงปัจจัยอะไร ? เป็นรูปและสาธนะอะไร จงตั้ง วเิ คราะห์มาดู ? ๕. กิริยากิตก์มีเคร่ืองประกอบต่างจากกิริยาอาขยาต คือ ไม่มีบทและ บรุ ุษเท่าน้ัน ฯ หำโส ลง ณ ปัจจัย เป็นภาวรูป ภาวสาธนะ ตั้งวิเคราะห์ว่า หสน หาโส หรือ หสติ พพฺ นตฺ ิ หาโส ฯ ภิกฺขำจำรำ (เวลำ) ลง ณ ปัจจัย เป็นกัตตุรูป อธิกรณสาธะ ตง้ั วเิ คราะห์ว่า ภกิ ฺขาย จรนฺติ เอตถฺ าติ ภิกขฺ าจารา (เวลา) ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๐๓ ๖. สมาสว่าโดยกิจ มีเท่าไร ? อะไรบ้าง ? มาตาปิตโร, มโนกมฺม จดั เข้าในกิจอย่างไหน ? พหุภณฺฑิโก (ภิกฺขุ) เป็นสมาสอะไร จงตั้ง วิเคราะหม์ าดู ? ๖. สมาสวา่ โดยกจิ มี ๒ อย่าง คือ สมาสท่ีทา่ นลบวภิ ตั ตเิ สยี แลว้ เรยี กว่า ลตุ ฺตสมาโส ๑ สมาสท่ีทา่ นยังมิไดล้ บวิภัตติ เรียกว่า อลตุ ฺตสมาโส ๑ฯ มำตำปติ โร จัดเข้าในอลุตฺตสมาโส มโนกมฺม จัดเข้าในลุตฺตสมาโส ฯ พหภุ ณฑฺ ิโก (ภิกขฺ )ุ เปน็ ฉฏั ฐตี ลุ ยาธิกรณพหพุ พหิ ิสมาส ตงั้ วิเคราะห์ว่า พหํุ ภณฺฑิก ยสฺส โส พหุภณฑฺ โิ ก (ภกิ ฺขุ) ฯ ๗. อัพยยตัทธิต มีปัจจัยเท่าไร ? อะไรบ้าง ? และปัจจัยตัวไหนนิยมลง กบั ศพั ทอ์ ะไร ? ฉพฺพคฺคิยา (ภกิ ขฺ )ู ลงปจั จยั อะไร ? ในตทั ธิตไหน ? จงตง้ั วิเคราะหม์ าดู ? ๗. ในอพั ยยตทั ธติ มปี ัจจัย ๒ ตัว คือ ถา, ถ ฯ นิยมลงกับศัพท์ดังน้ี คือ ถำ ปัจจัย ลงในประการ นิยมลงหลังสัพพนามท่ัวไป อย่างนี้ ยถา ประการใด, ตถา ประการนัน้ , สพฺพถา ประการทัง้ ปวง เปน็ ตน้ ถ ปัจจัย ลงในประการ นิยมลงหลัง กึ ศัพท์ และ อิม ศัพท์ อย่างนี้ กถ ประการไร, อยา่ งไร, อติ ถฺ ประการน้ี, อย่างนี้ ฯ ฉพฺพคฺคิยำ (ภกิ ขฺ )ู ลง อิย ปัจจยั ในชาตาทิตทั ธติ ตั้งวิเคราะห์วา่ ฉพฺพคฺเค ภวา ฉพฺพคฺคยิ า (ภกิ ฺขู)

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๐๔ หรอื ฉพฺพคฺคา เตสมตฺถีติ ฉพฺพคคฺ ิยา (ภกิ ฺขู) หรือ ฉพฺพคฺเคสุ ปฏิพทฺธา ฉพฺพคคฺ ยิ า (ภกิ ขฺ ู) ฯ พระเทพปรยิ ัติมนุ ี เขมจารี วัดทองนพคณุ เฉลย สนามหลวงแผนกบาลี ตรวจแก้.

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๐๕ ประโยค ป.ธ. ๓ ปัญหำและเฉลย บำลีไวยำกรณ์ สอบ วนั ท่ี ๑๕ กมุ ภำพนั ธ์ ๒๕๕๘ ------------------------ ๑. สระในภาษาบาลีมีเท่าไร ? อะไรบ้าง ? มีช่ือเรียกอีกอย่างหนงึ่ ว่า อยา่ งไร ? สระไหนมเี สียงเชน่ ไร ? ๑. สระในภาษาบาลีมี ๘ คอื อ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ฯ มีชอื่ เรยี กอีกอยา่ งหน่งึ วา่ นสิ สยั ฯ สระ ๓ ตัว คือ อ อิ อุ มีเสียงสั้น ช่ือรัสสะ เหมือนคาว่า อติ ครุ สระ ๕ ตัว คอื อา อี อู เอ โอ มเี สียงยาว ชือ่ ทฆี ะ เหมือน คาวา่ ภาคี วธู เปน็ ตน้ ฯ ๒. สนธิคอื อะไร ? มปี ระโยชน์อยา่ งไร ? ยตรฺ ฏฺฐิโต ในคาวา่ \"ยตฺรฏฺฐิโต มจุ เฺ จยฺย ปาปกมฺมา\" และ สจาห เป็นสนธิอะไร ? ตดั และตอ่ อย่างไร ? ๒. สนธิ คือ การตอ่ ศัพทแ์ ละอักขระใหเ้ น่ืองกนั ด้วยอกั ขระ ฯ มีประโยชน์อยา่ งน้ี คือ เพื่อย่นอักขระใหน้ ้อยลง ๑ เพือ่ เปน็ อุปการะในการแต่งฉนั ท์ ๑ เพ่อื ทาคาพดู ให้สละสลวย ๑ ฯ ยตฺรฏฺฐิโต ในคาว่า “ยตฺรฏฺฐิโต มุจฺเจยฺย ปาปกมฺมา” เป็น สัญโญคพยัญชนะสนธิ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๐๖ ตัดเป็น ยตฺร – ฐิโต ซ้อนหน้าพยัญชนะท่ีมีรปู ไม่เหมือนกนั ตาม หลกั แหง่ การสงั โยค คือ พยญั ชนะที่ ๑ ซอ้ นหน้าพยญั ชนะท่ี ๑ และท่ี ๒ ในวรรคของตนได้ ในที่นี้ จึงซ้อน ฏ พยัญชนะท่ี ๑ หน้า ฐ พยญั ชนะที่ ๒ ต่อเปน็ ยตฺรฏฺฐโิ ต ฯ สจำห เปน็ โลปสระสนธิ ตดั เป็น สเจ – อห ระหว่าง สเจ – อห ถ้าสระหน้า เป็นทีฆะ สระหลังเป็นรัสสะ ลบสระหน้า คือ ลบสระ เอที่ สเจ แล้วทีฆะสระหลัง คือ อ ท่ี อห เปน็ อา ต่อเปน็ สจาห ฯ ๓. ปจั จัยในอพั ยยศพั ท์ เฉพาะท่ลี งทา้ ยนามมีเท่าไร ? อะไรบ้าง ? แต่ละ ตวั เป็นเครื่องหมายวิภัตติอะไร ? ๓. ปจั จัยในอพั ยยศัพท์ เฉพาะท่ีลงท้ายนาม มี ๑๗ ตวั คือ โต ตฺร ตถฺ ห ธ ธิ หึ ห หญิ จฺ น ว ทา ทานิ รหิ ธนุ าทาจน ชฺช ชฺชุ ฯ ปัจจัยแต่ละตัวเป็นเครื่องหมายวภิ ตั ติ ดงั นี้ คอื โต ปัจจัย เป็นเคร่ืองหมายตติยาวิภัตติ แปลว่า ข้าง เช่น ปุรโต ข้างหน้า ปจฺฉโต ข้างหลัง เป็นต้น เป็นเครื่องหมายปัญจมี วภิ ัตติ แปลว่า แต่ เชน่ ตโต แต่-นั้น อิโต แต่-น้ี เปน็ ต้น ปัจจัยท้ังหลาย คือ ตฺร ตฺถ ห ธ ธิ หึ ห หิญฺจน ว เป็น เคร่ืองหมายสัตตมีวิภัตติ แปลตามสัตตมี เช่น ตตฺร ใน-นั้น อิธ ใน-น้ี เปน็ ต้น

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๐๗ ปัจจัยท้ังหลาย คือ ทา ทาน รหิ ธุนา ทาจน ชฺช ชฺชุ เป็น เคร่ืองหมายสัตตมีวิภัตติ ลงในกาล เช่น ตทา ในกาลน้ัน อิทานิ ใน กาลนี้ เปน็ ต้น ฯ ๔. ในอาขยาต แบง่ กาลที่เป็นประธานไว้เท่าไร ? อะไรบา้ ง ? จะร้จู ัก กาลได้ต้องอาศัย อะไร ? จงแจก ภุชฺ ธาตุ (ในความกิน) ด้วยวิภัตติ หมวดภวสิ สนั ติ เฉพาะปรสั สบทมาดู ? ๔. ในอาขยาตแบ่งกาลท่ีเป็นประธานไว้ ๓ คือ กาลที่เกิดข้ึนจาเพาะ หน้า เรียกวา่ ปัจจุบนั กาล ๑ กาลล่วงแลว้ เรียกวา่ อดตี กาล ๑ กาลยังไม่มาถงึ เรียกวา่ อนาคตกาล ๑ ฯ จะรู้จักกาลไดต้ ้องอาศัยวภิ ตั ติ ฯ แจก ภุชฺ ธาตุ (ในความกนิ ) ดว้ ยวิภตั ตหิ มวดภวิสสันติ เฉพาะปรสั สบท ดงั นี้ ปรุ ิส. เอก. พหุ. ป. ภญุ ฺชสิ สฺ ติ ภุญฺชสิ ฺสนฺติ ม. ภุญชฺ ิสฺสสิ ภุญฺชสิ ฺสถ อุ. ภุญชฺ สิ สฺ ามิ ภุญฺชสิ ฺสาม

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๐๘ ๕. กตญฺญู, ปารุปฺปน (วตฺถ) และ วาโส ในคาว่า \"ปฏิรูปเทสวาโส\" คา ไหนเป็นรูป สาธนะ และปัจจยั อะไร จงตง้ั วิเคราะหม์ าดู ? ๕. กตญญฺ ู เป็นกัตตรุ ปู กตั ตสุ าธนะ หรือเป็นกตั ตรุ ปู ลงในอรรถตัสสีละ หรือเป็นสมาสรูป ตัสสีลสาธนะ ลง รู ปัจจัย ตั้งวิเคราะห์ตามลาดับ ดงั น้ี กตั ตรุ ปู กตั ตุสาธนะ ตง้ั วเิ คราะห์วา่ กต ชานาตีติ กตญฺญู กัตตุรูป ลงในอรรถตัสสีละ ตั้งวิเคราะห์ว่า กต ชานาติ สีเลนาติ กตญญฺ ู สมาสรปู ตัสสีลสาธนะ ตั้งวิเคราะห์ว่า กต ชานํิตุ สีลมสฺสาติ กตญฺญู ฯ ปำรุปน (วตฺถ) เปน็ กัตตุรปู กรณสาธนะ ยุ ปจั จยั ตั้งวิเคราะหว์ ่า ปารุปติ เตนาติ ปารุปน (วตถฺ ) ฯ วำโส ในคาว่า “ปฏิรูปเทสวาโส” เปน็ ภาวรูป ภาวสาธนะ ลง ณ ปัจจัย ตง้ั วเิ คราะห์ วา่ วสน วาโส หรือตง้ั วเิ คราะหว์ า่ วสิตพฺพนฺติ วาโส หรือ วสยเตติ วาโส ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๐๙ ๖. อวธารณบุพพบท กมั มธารยสมาส มลี กั ษณะอย่างไร ? จงตอบพร้อม ท้งั ยกตวั อยา่ ง ประกอบด้วย ? ตโยชนวตฺถุ เปน็ สมาสอะไรบา้ ง จงต้ัง วิเคราะหม์ าดู ? ๖. อวธารณบุพพบท กมั มธารยสมาส มลี กั ษณะอยา่ งนี้ คือ มีบทหน้าอัน ท่านประกอบด้วย เอว ศัพท์ เพื่อจะห้ามเน้ือความอันอ่ืนเสีย บทหลัง เป็นประธา ตัวอย่างเช่น ปญฺญา เอว ปชฺโชโต ปญฺญาปชฺโชโต (ประทีป) อันโพลงท่ัว คือ ปัญญา พุทฺโธ เอว รตน พุทฺธรตน รัตนะคอื พระพทุ ธเจ้า ฯ ตโยชนวตฺถุ เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีอสมาหารทิคุสมาส เป็น ภายในต้ังวเิ คราะหต์ ามลาดับดังนี้ อ.ทคิ ุ. ว.ิ ตโย ชนา ตโยชนา ฉ.ตปั . ว.ิ ตโยชนาน วตฺถุ ตโยชนวตฺถุ ฯ ๗. ตทัสสัตถิตัทธิต มีปัจจัยเท่าไร ? อะไรบ้าง ? ปาสาทิโก (ภควา), ทสุ สฺ ีลฺย, อตฺถโิ ก ลงปัจจัยอะไร ? ในตทั ธติ ไหน ? จงตั้งวเิ คราะหม์ าดู ? ๗. ตทัสสัตถิตัทธติ มปี ัจจัย ๙ ตัว คอื วี ส สี อกิ อี ร วนฺตุ มนฺตุ ณ ฯ ปำสำทโิ ก (ภควำ) ลง ณิก ปั จจยั ในตรตยาทิตัทธิต ตงั้ วิเคราะหว์ า่ ปสาท ชเนตีติ ปาสาทิโก (ภควา) ฯ ทสุ ฺสลี ฺย ลง ณฺย ปจั จัย ในภาวตัทธิต ตั้งวิเคราะห์วา่ ทสุ สฺ ีลสฺส ภาโว ทสุ ฺสลี ฺย ฯ อตฺถิโก ลง อกิ ปัจจยั ในตทสั สตั ถิตทั ธติ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๑๐ ต้งั วเิ คราะหว์ ่า อตโฺ ถ อสฺส อตถฺ ีติ อตฺถโิ ก ฯ พระเทพปรยิ ตั ิมนุ ี เขมจารี วัดทองนพคุณ เฉลย สนามหลวงแผนกบาลี ตรวจแก้.

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๑๑ ประโยค ป.ธ. ๓ ปญั หำ บำลไี วยำกรณ์ สอบคร้งั ท่ี ๒ วนั ท่ี ๑๕ เมษำยน ๒๕๕๘ ------------------------------ ๑. พยญั ชนะไหน จดั เปน็ อฑั ฒสระ ? เพราะเหตุไร จึงเรยี กช่ืออยา่ งนั้น ? ๑. พยัญชนะ ๗ ตัวนี้ คอื ย ร ล ว ส ห ฬ จัดเปน็ อัฑฒสระ ฯ เ พ ร า ะ พ ยั ญ ช น ะ เ ห ล่ า นี้ บ า ง ตั ว ก็ ร ว ม ล ง ใ น ส ร ะ เ ดี ย ว กั น กั บ พยัญชนะอ่ืนออกเสียงพร้อมกันได้ บางตัวแม้เป็นตัวสะกดก็คงออก เสียงหน่อยหน่ึง พอให้รู้ได้ว่าตัวน้ันเป็นตัวสะกด คล้ายเป็นตัวกล้า ฉะนั้น ฯ ๒. อาคโม กับ สญโฺ ญโค ในพยัญชนะสนธิ มลี ักษณะตา่ งกนั อย่างไร ? เตเนวมาห เป็นสนธิอะไร ? ตดั และต่ออยา่ งไร ? ๒. อาคโม กับ สัญโฺ ญโค ในพยัญชนะสนธิ มลี ักษณะตา่ งกนั อยา่ งนี้ คอื อาคโม ได้แก่ การลงพยัญชนะอาคม ๘ ตัว คือ ย ว ม ท น ต ร ฬ ในเม่ือมีสระอยูห่ ลงั ตัวอย่างเชน่ ยถา-อิท เปน็ ยถายทิ เปน็ ต้น ส่วน สญโฺ ญโค นนั้ ไดแ้ ก่ การซอ้ นพยัญชนะ มี ๒ ลักษณะ คือ ซ้อนพยัญชนะที่มีรูปเสมอกันอย่างหนึ่ง เช่น อิธ - ปโมทติ เป็น อธิ ปปฺ โมทติ เป็นตน้ ซอ้ นหนา้ พยญั ชนะทม่ี ีรปู ไมเ่ หมอื นกนั อยา่ งหนง่ึ ตามหลักการสังโยค คือ บรรดาพยัญชนะวรรคทง้ั ปวง พยญั ชนะท่ี

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๑๒ ๑ ซอ้ นหน้าพยญั ชนะที่ ๑ ท่ี ๒ ในวรรคของตนได้ พยญั ชนะที่ ๓ ซ้อนหนา้ พยัญชนะที่ ๓ ท่ี ๔ ในวรรคของตนได้ พยัญชนะที่ ๕ ซอ้ น หน้า พยัญชนะทุกตัวในวรรคของตน เว้นพยัญชนะคือ ง ซ้อนหน้า พยัญชนะทั้ง ๔ ในวรรค ของตนได้ แต่ซ้อนหน้าตัวเองไม่ได้ ตัวอยา่ งเชน่ จตตฺ าริ-ฐานานิ เป็น จตตฺ ารฏิ ฺฐานานิ เป็นตน้ ฯ เตเนวมำห เป็นโลปสระสนธิ และอาเทสนิคคหิตสนธิ ตัดเป็น เตน - เอว - อาห ระหว่าง เตน - เอว ถ้าสระหน้าเป็นรัสสะ สระหลังเป็นทีฆะ ลบสระ หน้า คือ ลบ อ ท่ี เตน เสีย ตอ่ เปน็ เตเนว ระหว่าง เตเนว - อาห ถ้านิคคหิตอยู่หน้า สระอยู่หลัง แปลงนคิ คหิต เปน็ ม ต่อ เปน็ เตเนวมาห ฯ ๓. ในปกติสงั ขยา ท่านจดั ลิงค์ และวจนะ ไวอ้ ยา่ งไรบา้ ง ? ๓. ในปกติสังขยา ทา่ นจดั ลงิ ค์และวจนะไว้อย่างนี้ คือ จัดเปน็ ลิงคด์ งั น้ี ตัง้ แต่ เอก ถึง อฏฺฐารส เป็นไดท้ ้ัง ๓ ลงิ ค์ ตง้ั แต่ เอกนู วสี ติ ถึง อฏฺฐนวุติ เป็นอติ ถีลิงค์ ต้งั แต่ เอกนู สต ถงึ ทสสตสหสฺส เป็นนปงุ สกลงิ ค์ เฉพาะ โกฏิ โกฏิ เปน็ อติ ถีลงิ ค์ จัดเปน็ วจนะดังน้ี เอกสังขยา เปน็ เอกวจนะอยา่ งเดยี ว

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๑๓ เอกสัพพนาม เป็นทฺววิ จนะ ตง้ั แต่ ทฺวิ ถึง อฏฺฐารส เป็นพหวุ จนะ ตัง้ แต่ เอกนู สต ขน้ึ ไป เป็นได้ ๒ วจนะ ฯ ๔. อาคมในอาขยาต มเี ทา่ ไร ? อะไรบา้ ง? นยิ มลงในท่ีเช่นไร ? หาสยสฺสุ ในคาวา่ “หาสยสสฺ ุ มหาชน” ประกอบด้วยเคร่อื งปรุงอะไรบา้ ง ? ๔. อาคมในอาขยาต มี ๕ คอื อ อิ ส ห อ ฯ นิยมลงในทเ่ี ชน่ นี้ คือ อ อำคม นิยมลงที่หน้าธาตุท่ีประกอบด้วยวิภัตติหมวด หยิ ตั ตนวี ิภตั ติ อัชชัตตนีวิภตั ติ และกาลาตปิ ัตตวิ ภิ ัตติ อิ อำคม นิยมลงท่ีท้ายธาตุปัจจัยที่ประกอบด้วยหมวด อชั ชัตตนวี ิภตั ติ ภวสิ สนั ตวิ ภิ ัตติ และกาลาตปิ ัตตวิ ิภตั ติ ส อำคม นยิ มลงท้ายธาตทุ ี่ประกอบดว้ ยวิภัตตหิ มวดอัชชัตตนี ในหมวดธาตุท้ังปวง ห อำคม นยิ มลงท่ที า้ ย ฐา ธาตุ โดยไมน่ ิยมหมวดวิภตั ติ อ นคิ คหิตอำคม นยิ มลงกบั ธาตหุ มวด รุธฺ แลว้ อาเทสเป็น พยัญชนะที่สุดวรรค ฯ หำสยสฺสุ ในคาวา่ “หาสยสฺสุ มหาชน” ประกอบด้วยเคร่อื งปรุง ดังนี้ คือ หสฺ ธาตุ ลง ณฺย ปัจจัย สฺสุ วิภัตติหมวดปัญจมี ปัจจัยที่เน่ืองด้วย ณ เม่ือลงแล้วลบ ณ เสีย คงเหลือแต่ ย แล้ว ทฆี ะตน้ ธาตุ สาเรจ็ รปู เป็น หาสยสสฺ ุ ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๑๔ ๕. อธิกรณสาธนะ ท่านบัญญัติให้แปลว่าอย่างไร ? ยกตัวอย่างรูป วิเคราะห์มาดู ? สนฺธิจฺเฉทกา (โจรา), ทุปฺปมุญฺจ (พนฺธน) เปน็ รปู สาธนะและปัจจัยอะไร ? จงต้ังวิเคราะหม์ าดู ? ๕. อธิกรณสาธนะ ท่านบัญญัติให้แปลว่าอย่างนี้ คือ ที่เป็นกัตตุรปู แปลว่า “เป็นที่-” ยกตัวอย่างรูปวิเคราะห์ประกอบ เช่น อาว สนตฺ ิ เอตถฺ าติ อาวาโส ฯ ท่ีเป็นกัมมรูป แปลว่ “เป็นที่อันเขา-” ยกตัวอย่างรูปวิเคราะห์ ประกอบ เช่น (อตโฺ ถ) สวณณฺ ิยติ เอตถฺ าติ สวณณฺ น (ฐาน) ฯ สนฺธิจฺเฉทกำ (โจรำ) เป็นกตั ตุรปู กตั ตสุ าธนะ ลง ณฺวุ ปัจจัย ตง้ั วเิ คราะหว์ า่ สนธฺ ึ ฉนิ ฺทนฺตตี ิ สนธฺ จิ เฺ ฉทกา (โจรา) ฯ ทุปฺปมุญฺจ (พนฺธน) เป็นกัมมรูป กัมมสาธนะ ลง ข ปัจจัย ตั้งวเิ คราะห์วา่ ทุกเฺ ขน ปมญุ ฺจยิ เตติ ทปุ ปฺ มญุ ฺจ (พนธฺ น) ฯ ๖. ที่เรียกว่า อัพยยีภาวสมาสนั้น มีอะไรเป็นเครื่องกาหนดรู้ ? ฉินฺนสโยชนา (ภิกขฺ )ู ธมฺมครโุ ก (จกฺขุปาโล) เปน็ สมาสอะไร ? จงต้ัง วิเคราะหม์ าดู ? ๖. ท่เี รยี กว่า อัพยยีภาวสมาส นน้ั มอี ุปสคั หรือนบิ าตอยู่ข้างหน้าและ เป็นประธานแห่ง บทหลัง มีบทสาเร็จมีรูปเป็นนปุงสกลิงค์และเอก วจนะอยา่ งเดยี วเป็นเคร่อื งกาหนดรู้ ฯ ฉนิ ฺนสโยชนำ (ภกิ ฺขู) เปน็ ตตยิ าพหุพพหิ ิสมาส ต้งั วิเคราะห์ วา่ ฉินนฺ านิ สโยชนานิ เยหิ เต ฉินนฺ สโยชนา (ภกิ ฺขู) ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๑๕ ธมฺมครโุ ก (จกขฺ ุปำโล) เป็นสัตตมีตัปปุริสสมาส ตัง้ วเิ คราะห์ วา่ ธมเฺ ม ครุโก ธมฺม ครุโก (จกขฺ ุปาโล) ฯ ๗. ปัจจัยในฐานตัทธิต ลงแทนศัพท์อะไรบ้าง ? กิเลสมย (พนฺธน), ฉทฺวาริกา (ตณฺหา) ลงปัจจัยอะไร ? ในตัทธิตไหน ? จงตั้ง วเิ คราะหม์ าดู ? ๗. ปจั จยั ในฐานตทั ธิต ลงแทนศพั ท์ไดด้ ังน้ี คอื ฐาน อรหติ หิต ภว ฯ กิเลสมย (พนฺธน) ลง มย ปจั จัย ในปกตติ ัทธิต ต้งั วเิ คราะหว์ า่ กเิ ลเสหิ ปกต กเิ ลสมย (พนฺธน) ฯ ฉทวฺ ำริกำ (ตณหฺ ำ ) ลง ณิก ปัจจัย ในตรตยาทติ ัทธิต ตง้ั วิเคราะหว์ า่ ฉทวฺ าเร วตฺตตีติ ฉทฺวารกิ า (ตณหฺ า) ฯ พระเทพปริยัตมิ นุ ี เขมจารี วดั ทองนพคุณ เฉลย สนามหลวงแผนกบาลี ตรวจแก.้

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๑๖ ประโยค ป.ธ. ๓ ปญั หำและเฉลย บำลีไวยำกรณ์ สอบ วนั ท่ี ๕ มีนำคม ๒๕๕๙ ---------------------- ๑. ในพยัญชนะวรรค มีหลักการสังโยคอย่างไร ? และพยัญชนะ วรรคตวั ไหนบ้าง ใช้สงั โยคไม่ได้ ? ๑. ในพยญั ชนวรรค มีหลกั การสงั โยค ดังนี้ พยัญชนะที่ ๑ ซ้อนหนา้ พยัญชนะที่ ๑ และที่ ๒ ในวรรคของตนได้ พยญั ชนะท่ี ๓ ซ้อนหนา้ พยญั ชนะที่ ๓ และท่ี ๔ ในวรรคของตนได้ พยัญชนะท่ี ๕ สุดวรรค ซ้อนหนา้ พยัญชนะในวรรคของตนไดท้ ้ัง ๕ ตัวยกเสยี แต่ตวั ง ซ่งึ เป็นตวั สะกดอยา่ งเดยี ว พยัญชนะที่ ๒ คอื ข ฉ ฐ ถ ผ และพยัญชนะที่ ๔ คือ ฆ ฌ ฒ ธ ภ ใชส้ งั โยคไมไ่ ด้ ฯ ๒. อาเทโส กับ วกิ าโร ตา่ งกนั อย่างไร ? อยา่ งไหนใชใ้ นสนธิอะไรบา้ ง ? อลาพูเนว ในคาวา่ “อลาพเู นว สารเท” เป็นสนธอิ ะไร ? ตัดและ ตอ่ อยา่ งไร ? ๒. อาเทโส กับ วกิ าโร ต่างกนั อย่างน้ี คอื อาเทโส ได้แก่ การแปลง สระ แปลงพยัญชนะ หรือแปลงนิคคหิต เป็นพยัญชนะ ส่วนวิกาโร ไดแ้ ก่ การแปลงสระเป็นสระเท่านั้น

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๑๗ อำเทโส ใช้ในสนธิท้ัง ๓ คือ สระสนธิ พยัญชนะสนธิ และ นิคคหติ สนธิ สว่ นวิกาโร ใชใ้ นสระสนธิอยา่ งเดยี ว ฯ อลำพูเนว ในคาว่า “อลาพูเนว สารเท” เป็นวิการสระสนธิ ตัดเป็น อลาพูนิ - อิว เมื่อ ลบสระหน้า คือ อิ ท่ี อลาพูนิ แล้ว วิการ คือ แปลง อิ ท่ี อวิ เป็น เอ ต่อเปน็ อลาพูเนว ฯ ๓. จงตอบคาถามตอ่ ไปน้ี ก. คุณนามชัน้ วิเสส มอี ะไรเปน็ เคร่ืองสงั เกตุ ? ข. ปณฺณรสี แปลวา่ อะไร ? เป็นสงั ขยาชนิดไหน ? ค. สตมิ นฺตุ ในปฐมาวิภตั ติ และทุตยิ าวิภัตติ มรี ูปแจกอย่างไร ? ฆ. อมหฺ ศพั ท์ เฉพาะฉฏั ฐวี ิภตั ติ มรี ปู แจกอย่างไร ? ง. กึ ศัพท์ มวี ิธแี จกอยา่ งไร ? ๓. ได้ตอบคาถาม ตอ่ ไปนี้ คือ ก. คณุ นามชั้นวเิ สส มี ตร อิย และ อยิ สิ ฺสก ปัจจัยในเสฏฐตัทธติ หรอื มีอปุ สคั เชน่ อติ เปน็ บทหน้า เป็นเครื่องสังเกต ฯ ข. ปณฺณรสี แปลว่า ท่ี ๑๕ ฯ เปน็ สงั ขยาชนดิ ปูรณสังขยา ฯ ค. สตมิ นตฺ ุ ในปฐมาวภิ ัตติ และทุตยิ าวิภตั ติ มีรูปแจกอย่างนี้ เอก. พหุ. ป. สติมา สติมนฺตา สติมนโฺ ต ท.ุ สตมิ นฺต สตมิ นฺเต สติมนโฺ ต

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๑๘ ฆ. อมฺห ศพั ท์ เฉพาะฉฏั ฐวี ภิ ตั ติ มรี ปู แจกอย่างน้ี เอก. พหุ. ฉ. มยหฺ อมฺห มม มม เม อมหฺ าก อสมฺ าก โน ง. กึ ศพั ท์ (ใคร, อะไร) คงเปน็ รูป กึ อยแู่ ต่ในนปงุ สกลิงค์ ปฐมา วิภตั ตแิ ละทุติยาวภิ ตั ติ เอกวจนะเทา่ นนั้ นอกนนั้ แปลงเป็น ก แล้วแจกในไตรลงิ ค์ เหมอื น ย ศพั ท์ ฯ ๔. อุปฺปาทยึสุ เป็นวาจกอะไร ? ประกอบด้วยเครื่องปรุงอะไรบ้าง ? จงแก้คาที่เหน็ วา่ ผิดให้ถูกตอ้ งตามหลกั ไวยากรณ์ ในประโยคตอ่ ไปน้ี ก. โสโก วา ภย วา ชายนตฺ ิ ? ข. เอว กนิฏฺเฐน ตโย สมฺปตตฺ โิ ย ปฏฐฺ ติ า ? ค. เอว ธมฺเม เทสิยนเฺ ต มหาชนสสฺ ธมฺมาภสิ มโย อโหสิ ? ๔. อปุ ฺปาทยสึ ุ เปน็ เหตุกตั ตุวาจก ประกอบด้วยเครอ่ื งปรงุ คอื อุ บทหนา้ ปทฺ ธาตุ ในความถึง ลง ณฺย ปัจจัย ปัจจัยท่ี เนื่องด้วย ณ ลบ ณ เสยี เหลือไว้แต่ ย ลง ํอุ อชั ชตั ตนี วภิ ัตติ แปลง ํอุ เป็น อึสุ ฯ ได้แก้คาที่เห็นว่าผิดให้ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ ในประโยค ตอ่ ไปน้ี คอื ก. แกเ้ ป็น โสโก จ ภย จ ชายนฺติ หรือแกเ้ ป็น โสโก วา ภย วา ชายติ ฯ ข. แก้เป็น เอว กนิฏเฺ ฐน ติสฺโส สมฺปตฺตโิ ย ปฏฺฐิตา ฯ ค. แก้เป็น เอว ธมฺเม เทสิยมาเน มหาชนสฺส ธมมฺ าภิสมโย อโหสิฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๑๙ ๕. ปุริสฆาตโก (ปุคฺคโล), นหาน (อุทก) และ อานนฺโท ในคาว่า “โก นุ หาโส กิมานนฺโท” คาไหน เป็นรูป สาธนะ และปัจจัยอะไร จงตั้ง วเิ คราะห์มาดู ฯ ๕. ปุริสฆาตโก (ปุคฺคโล) เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ ณฺวุ ปัจจัย ต้ัง วิเคราะหว์ ่า ปุรสิ ฆาเตตตี ิ ปุริสฆาตโก (ปคุ ฺคโล) ฯ นหฺ ำน (อทุ ก) เป็นกัตตุรปู กรณสาธนะ ยุ ปัจจยั ตงั้ วิเคราะห์ว่า นฺหายติ เตนาติ นฺหาน (อทุ ก) ฯ อำนนฺโท ในคาว่า “โก นุ หาโส กิมานนฺโท” เป็นภาวรูป ภาวสาธนะ ลง อ ปัจจัย หรือลง ณ ปัจจัย ต้ังวิเคราะห์ว่า อานนฺทน อานนโฺ ท ฯ ๖. บรรดาสมาสท้ัง ๖ มีกัมมธารยสมาสเป็นต้น สมาสไหนบ้าง เป็นนามล้วน ? สมาสไหนบา้ ง เป็นคณุ ล้วน ? และสมาสไหนบ้าง เป็นไดท้ ้ังนามทง้ั คุณ ? รชสฺสโิ ร (ราชา), โสกาภภิ ูโต (ปรุ โิ ส) เป็น สมาสอะไร จงตัง้ วเิ คราะหม์ าดู ? ๖. บรรดาสมาสทง้ั ๖ มีกมั มธารยสมาสเป็นตน้ นัน้ ทิคสุ มาส และทวันทวสมาส เป็นนามล้วน พหพุ พิหสิ มาส เปน็ คณุ ลว้ น กัมมธารยสมาส ตปั ปุริสสมาส และอัพยยีภาวสมาส เป็นได้ท้งั นามทั้งคณุ ฯ รชสฺสิโร (รำชำ) เปน็ ฉัฏฐภี นิ นาธิกรณพหุพพหสิ มาส

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๒๐ ตั้งวเิ คราะหว์ า่ รโช สิรสิ (สิรสฺม)ึ ยสสฺ โส รชสฺสิโร (ราชา) ฯ โสกำภิภูโต (ปุริโส) เป็นตตยิ าตัปปรุ สิ สมาส ต้ังวเิ คราะห์วา่ โสเกน อภภิ ูโต โสกาภิภโู ต (ปุรโิ ส) ฯ ๗. ปัจจยั ในตัทธิตไหนบา้ ง ใช้ประกอบกับศพั ท์ที่เปน็ สงั ขยาได้ ? จตกุ ฺก, ทฏิ ฺฐธมฺมิโก (อตโฺ ถ) ลงปจั จัยอะไร ในตทั ธติ ไหน จงต้งั วิเคราะหม์ าดู ? ๗. ปัจจัยในตัทธิตท่ีใช้ประกอบกบั ศพั ท์ที่เปน็ สังขยา มี ๓ ตัทธติ คอื ๑. ปัจจยั ในปรู ณตัทธิต ๕ ตวั คือ ตยิ ถ ฐ ม อี ๒. ก ปจั จัย ในสงั ขยาตัทธติ ๓. ธา ปจั จยั ในวภิ าคตทั ธิต จตกุ กฺ ลง ก ปัจจยั ในสงั ขยาตัทธติ ต้ังวิเคราะหว์ ่า จตตฺ าริ ปรมิ าณานิ อสสฺ าติ จตุกฺก ฯ ทฏิ ฺฐธมฺมโิ ก (อตโฺ ถ) ลง ณิก ปัจจยั ในตรตยาทติ ัทธิต ตง้ั วิเคราะห์วา่ ทฏิ ฐฺ ธมเฺ ม ปวตฺตตีติ ทฏิ ฺฐธมฺมโิ ก (อตโฺ ถ) ฯ พระเทพปรยิ ตั มิ ุนี เขมจารี วดั ทองนพคณุ เฉลย สนามหลวงแผนกบาลี ตรวจแก้

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๒๑ ประโยค ป.ธ. ๓ ปญั หำและ บำลีไวยำกรณ์ สอบคร้ังที่ ๒ วนั ที่ ๓ พฤษภำคม ๒๕๕๙ ---------------------------------- ๑. สระในบาลีภาษามีเท่าไร ? อะไรบ้าง ? จัดเป็นคู่ไว้เท่าไร ? อะไรบา้ ง ? สระไหนเกิดใน ๒ ฐาน ? ๑. สระในภาษาบาลีมี ๘ ตัว คือ อ อา อิ อี อุ อู เอ โอ จัดเปน็ คไู่ ว้ ๓ คู่ คอื อ อา เรยี กว่า อวณฺโณ อิ อี เรยี กว่า อิวณฺโณ อุ อู เรยี กว่า อุวณโฺ ณ สระ เอ และ โอ ๒ ตัวนี้ เกิดใน ๒ ฐาน (คือ เอ เกิดท่ีคอและเพดาน เรียกว่า กณฺฐตาลโุ ช โอ เกดิ ทค่ี อและริมฝีปาก เรยี กว่า กณโฺ ฐฏฺฐโช) ฯ ๒. สนธกิ ิริโยปกรณ์ มเี ทา่ ไร ? อะไรบา้ ง ? เสฺวทานิ, กเิ มวิท ตัดและต่อ อยา่ งไร ? ๒. สนธิกริ ิโยปกรณ์ มี ๘ คือ โลโป ลบ ๑ อาเทโส แปลง ๑ อาคโม ลงตวั อักษรใหม่ ๑ วิกาโร ทาใหผ้ ิดจากของเดิม ๑ ปกติ ปรกติ ๑ ทีโฆ ทาให้ยาว ๑ รสฺส ทาใหส้ ้ัน ๑ สญโฺ ญโค ซอ้ นตวั ๑ ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๒๒ เสฺวทำนิ ตัดเป็น เสฺว - อิทานิ ถ้าสระ ๒ ตัวมีรูปไม่เสมอกนั ลบสระเบ้ืองปลายบ้างกไ็ ด้ คอื ลบสระ อิ ท่ศี พั ท์ อิทานิ เสยี ต่อ เป็น เสฺวทานิ ฯ กิเมวิท ตัดเป็น กึ - เอว - อิท ระหว่าง กึ - เอว สระอยู่หลัง นคิ คหติ อยู่หนา้ แปลงนคิ คหิตเปน็ ม ตอ่ เป็น กเิ มว ระหวา่ ง กเิ มว - อทิ ถ้าสระ ๒ ตัวมีรปู ไม่เสมอกัน ลบสระหน้า คอื อ ในทีส่ ุดแหง่ ศพั ท์ กเิ มว ตอ่ เปน็ กิเมวทิ ฯ ๓. จงตอบคาถามต่อไปนี้ ก. คาว่า “ภควนฺตา ภควนฺโต” นนั้ มวี ิธีใช้ต่างกันอย่างไร ? ข. ปาปโิ ย, สุขโุ ม เป็นคุณนามช้ันไหน ? ค. คาว่า “๕๙” และ “๙๕” ตรงกบั ศัพทส์ งั ขยาวา่ อยา่ งไร ? ฆ. อย, เอกจฺโจ เป็นสพั พนามชนิดไหน ? ง. อพั ยยศัพท์ แบง่ เป็นเท่าไร ? อะไรบา้ ง ? ๓. ไดต้ อบคาถามตอ่ ไปนี้ ก. ภควนฺตา ใช้เป็นทฺวิวจนะ สาหรับกล่าวถึงคน ๒ คนส่วน ภควนฺโต ใช้เป็นพหุวจนะ สาหรับกล่าวถึงคนมากตั้งแต่ ๓ ขึ้นไป ฯ ข. ปาปโิ ย เปน็ คุณนามชนั้ วเิ สส สขุ ุโม เปน็ คุณนามช้ันปกติ ฯ ค. คาว่า ๕๙ ตรงกบั ศัพทส์ ังขยาวา่ เอกนู สฏฺฐี คาว่า ๙๕ ตรงกับ ศัพท์สังขยาว่า ปญจฺ นวตุ ิ ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๒๓ ฆ. อย เปน็ นิยมวิเสสนสัพพนาม เอกจฺโจ เป็นอนยิ มวิเสสนสัพพนาม ง. อัพยยศพั ท์ แบ่งเป็น ๓ คอื อปุ สัค ๑ นบิ าต ๑ ปัจจยั ๑ ฯ ๔. ภิทฺ ธาตุ และ มุจฺ ธาตุ เป็นสกัมมธาตุ หรือ เปน็ อกัมมธาตุ ? จงแจก พุธฺ ธาตุ (ในความตรัสรู้) ด้วยวิภัตติหมวดภวิสสันติ เฉพาะปรสั สบทมาดู ? ๔. ภทิ ฺ และ มจุ ฺ ธาตุ เป็นไดท้ ั้งสกัมมธาตุ และ อกัมมธาตุ (ภทิ ฺ ธาตุ และ มุจฺ ธาตุ ถ้าลง อ ปัจจัยในหมวด รุธฺ ธาตุ เป็นสกัมมธาตุ ตัวอย่าง ภินฺทติ แปลว่า ย่อมต่อย หรือย่อมทาลาย มุญฺจติ แปลว่า ย่อมปลอ่ ย ถ้าลง ย ปจั จยั ในหมวด ทวิ ฺ ธาตุ เป็นอกัมมธาตุ ตวั อย่าง ภิชชฺ ติ แปลวา่ ย่อมแตก มจุ ฺจติ แปลวา่ ย่อมหลดุ ยอ่ มพน้ ) ฯ แจก พุธฺ (ในความตรัสรู้) ด้วยวภิ ัตติหมวดภวิสสันติ เฉพาะปรัสส บท ดงั นี้ ปุริส. เอก. พห.ุ ป. พชุ ฌฺ ิสฺสติ พชุ ฌฺ สิ สฺ นฺติ ม. พชุ ฌฺ สิ ฺสสิ พุชฺฌิสฺสถ อุ. พชุ ฌฺ ิสสฺ ามิ พชุ ฺฌิสสฺ าม

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๒๔ ๕. ปัจจยั ท่สี าหรับประกอบกับกิริยากิตก์ แบ่งเป็นกี่พวก ? แต่ละพวกมี ปจั จยั อะไรบ้าง ? วรลาภี (ปคุ ฺคโล), ธมมฺ สฺสวน (ฐาน) เปน็ รูป สาธ นะและปจั จยั อะไร จงตงั้ วเิ คราะห์มาดู ? ๕. ปัจจยั ท่ีสาหรับประกอบกับกิริยากิตก์ แบ่งเปน็ ๓ พวก คือ กติ ปจั จยั อยา่ งนี้ อนตฺ ตวนฺตุ ตาวี กิจจปัจจยั อยา่ งนี้ อนีย ตพพฺ กิตกจิ จปจั จยั อยา่ งนี้ มาน ต ตนู ตฺวา ตฺวาน ฯ วรลาภี (ปุคฺคโล) เป็นกัตตุรปู กตั ตสุ าธนะ ลงในอรรถแห่งตัสสีละ ณี ปจั จัย ตงั้ วิเคราะห์วา่ วร ลภติ สเี ลนาติ วรลาภี (ปคุ คฺ โล) หรือเป็น สมาสรูป ตัสสีลสาธนะ ต้ังวิเคราะห์ว่า วร ลภํิตุ (ลทํธฺ ุ) สลี มสฺสาติ วรลาภี (ปุคคฺ โล) ฯ ธมฺมสฺสวน (ฐำน) เป็นกัตตุรูป อธิกรณสาธนะ ยุ ปัจจัย ตงั้ วเิ คราะห์ว่า ธมฺม สุณนตฺ ิ เอตฺถาติ ธมมฺ สสฺ วน (ฐาน) ฯ ๖. น บุพพบท กัมมธารยสมาส กับ น บุพพบทพหุพพิหิสมาส ต่างกัน อยา่ งไร ? อนจฉฺ ริโย (ปาสาโท), อตฺตทตโฺ ถ เป็นสมาสอะไร จงตั้ง วิเคราะหม์ าดู ? ๖. ต่างกันอย่างนี้ คือ น บุพพบท กั มมธารยสมาส สมาสท่ีมี น อยู่ หนา้ ปฏิเสธนามนาม แปลว่า มใิ ช่ หรอื หามิได้ เช่น น พรฺ าหฺมโณ = อพรฺ าหฺมโณ (อย ชโน อ. ชนนี้) มใิ ช่พราหมณ์

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๒๕ สว่ น น บพุ พบท พหพุ พหิ ิสมาส สมาส ทีม่ ี น อยูห่ น้า ปฏเิ สธ คุณนาม แปลว่า มี…หามิได้ หรือไม่มี เช่น นตฺถิ ตสฺส สโมติ อสโม (ภควา พระผ้มู ีพระภาคเจา้ ) ไมม่ ผี ูเ้ สมอ หรือ หาผเู้ สมอไมม่ ี ฯ อนจฺฉริโย (ปำสำโท) เป็น น บุพพบท พหพุ พหิสมาส ตั้งวเิ คราะห์ว่า นตฺถิ ตสฺส อจฺฉรยิ นฺติ อนจฉฺ ริโย (ปาสาโท) ฯ อตฺตทตโฺ ถ เปน็ ฉัฏฐีตัปปรุ สิ สมาส ตง้ั วิเคราะห์ว่า อตตฺ โน อตฺโถ อตฺตทตฺโถ ฯ ๗. ตัทธิตโดยย่อ แบ่งเป็นเท่าไร ? อะไรบ้าง ? การุญฺญ, ยสวา (ชโน), โสฬสโม (โกฏฺฐาโส) ลงปัจจัยอะไร ในตทั ธติ ไหน จงตงั้ วเิ คราะห์มาดู? ๗. ตัทธิตโดยย่อแบ่งเป็น ๓ คือ สามัญญตัทธิต ๑ ภาวตัทธิต ๑ อพั ยยตทั ธติ ๑ ฯ การญุ ญฺ ลง ณยฺ ปจั จยั ในภาวตัทธิต ต้ังวิเคราะหว์ า่ กรุณาย ภาโว การุญฺญ ฯ ยสวา (ชโน) ลง วนฺตุ ปัจจัย ในตทสั สัตถิตัทธิต ตัง้ วิเคราะห์วา่ ยโส อสฺส อตฺถีติ ยสวา (ชโน) ฯ โสฬสโม (โกฏฺฐาโส) ลง ม ปจั จยั ในปูรณตัทธิต ตงั้ วิเคราะหว์ ่า โสฬสนฺน ปูรโณ โสฬสโม (โกฏฺฐาโส)ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๒๖ ประโยค ป.ธ. ๓ ปัญหำและเฉลย บำลีไวยำกรณ์ สอบ วันที่ ๒๓ กุมภำพนั ธ์ ๒๕๖๐ ---------------------------------------- ๑. อะไร เรยี กวา่ อักขระ พยัญชนะ และนิคคหิต ? ในคาท้งั ๓ นั้น คาไหน แปลวา่ อย่างไร ? ๑. เสียงกด็ ี ตวั หนงั สือก็ดี เรียกวา่ อักขระ อกั ขระท่เี หลือจากสระนัน้ ๓๓ ตัว มี ก เป็นต้น มีนิคคหิตเป็นที่สุด เรียกว่า พยัญชนะ พยญั ชนะ คอื อ เรยี กว่า นคิ คหติ ฯ ในคาทงั้ ๓ น้ัน คาว่า อกั ขระ แปลว่า ไมร่ ้จู กั สิ้นอยา่ ง ๑ ไม่เปน็ ของแข็งอยา่ ง ๑ พยัญชนะ แปลว่า ทาเนื้อความให้ปรากฏ นิคคหิต แปลว่า กดสระ หรือกรณ์ คืออวัยวะ ท่ีทาเสียง เวลาเมื่อจะว่าไม่ต้องอ้าปาก เกนิ กว่าปกติ เหมอื นทีฆสระ ฯ ๒. การลงอาคมในพยัญชนะสนธิและนิคคหิตสนธิ มีลักษณะต่างกัน อยา่ งไร ? อภพโฺ พ-ทานาห เป็นสนธิอะไร ? ตัดและตอ่ อยา่ งไร ? ๒. มีลักษณะตา่ งกันอย่างน้ี คอื การลงอาคมในพยัญชนะสนธิ ถ้ามีสระอยู่ เบ้ืองหลัง ลงพยัญชนะอาคม ๘ ตัว คือ ย ว ม ท น ต ร ฬ ได้บ้าง ตัวอย่าง เช่น ย อาคม ยถา - อิท เป็น ยถายิท ว อาคม อุ - ทิกฺขติ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๒๗ เป็น วุทิกฺขติ เป็นต้น ในสัททนีติว่าลง ห อาคมก็ได้ ตัวอย่างเช่น สุ - อุชุ เป็น สหุ ุชุ ส่วนการลงอาคมนิคคหิตสนธิ เม่ือสระก็ดี พยัญชนะก็ดี อยู่ เบ้ืองหลัง ลงนิคคหิต อาคมได้บ้าง ตัวอย่างเช่น อว-สิโร เป็น อวสิโร เป็นต้น ฯ อภพโฺ พทำนำห เป็นสระสนธิ ตัดเปน็ อภพฺโพ - อิทานิ – อห ระหว่าง อภพโฺ พ - อทิ านิ ถา้ สระ ๒ ตวั มีรปู ไม่เสมอกนั ลบสระ เบื้องปลาย บ้างก็ได้คือ ลบสระ อิ ท่ีศัพท์ อิทานิ เสีย ต่อเป็น อภพโฺ พทานิ ฯ ระหวา่ ง อภพฺโพทานิ – อห สระทง้ั สอง คอื สระหน้าและสระ หลังมีรูปไม่เสมอกัน ลบสระหน้า คือ ลบ อิ ที่ อภพฺโพทานิ แล้ว ทฆี ะสระหลัง คือ อ ท่ี อห ตอ่ เปน็ อภพฺโพทานาห ฯ ๓. จงตอบคาถามตอ่ ไปน้ี ก. คุณนามเช่นไร ชื่ออติวิเสส ? ข. อุปาสิเก มวี ิธที าตวั อย่างไร ? ค. สฏฺฐี แปลวา่ อะไร ? เป็นวจนะและลงิ คอ์ ะไร ? ฆ. อมฺห เปน็ สัพพนามชนดิ ไหน เป็นได้ก่ีลงิ ค์ ? ง. อาวโุ ส เป็นคาสาหรบั เรยี กใคร ? ๓. ได้ตอบคาถามตอ่ ไปน้ี คือ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๒๘ ก. คุณนามท่ีแสดงลักษณะของนามนามว่าดีที่สุด หรือชั่วที่สุด เหมือนคาวา่ ปณฺฑิตตโม เปน็ บัณฑิตที่สุด ปาปตโม เปน็ บาป ทส่ี ดุ ช่ีออตวิ เิ สส ฯ ข. อปุ าสเิ ก มีวธิ ที าตวั อยา่ งน้ี คือ อปุ าสเิ ก ศัพทเ์ ดิมเป็น อุปาสิกา ลง สิ อาลปนวภิ ัตติ แปลง อา กับ สิ เปน็ เอ สาเร็จรปู เป็น อุ ปาสเิ ก ฯ ค. สฏฐฺ ี แปลว่า หกสบิ เป็นเอกวจนะและอติ ถลี งิ ค์อย่างเดียว ฯ ฆ. อมฺห ศัพท์ เป็นสัพพนามชนิดปุริสสัพพนาม ฯ เป็นได้ ๒ ลิงค์ คอื ปงุ ลงิ ค์และอิตถีลงิ ค์ ฯ ง. อาวุโส เป็นคาสาหรับบรรพชิตที่มีพรรษามากกว่าเรียก บรรพชิต ท่ีมีพรรษาน้อยกว่าและสาหรับบรรพชิตเรียก คฤหัสถ์ ฯ ๔. ธาตุคืออะไร ? ท่านรวบรวมจัดไว้เป็นก่ีหมวด ? อะไรบ้าง ? สมิชฺฌตุ, ปจฺจสโฺ สํสุ ประกอบด้วยเครอ่ื งปรุงอะไรบา้ ง ? ๔. ธาตุ คือ กิริยาศัพท์ที่เป็นมูลราก ให้เคร่ืองปรุงเหล่าอ่ืน คือ วิภัตติ กาล บท วจนะ บุรษุ วาจก และปจั จยั เขา้ ประกอบ แปลวา่ ความทรงไว้ คือ ทรงไว้ซงึ่ เนอ้ื ความของตนไมเ่ ปลย่ี นแปลง ท่านรวบรวมจัดไวเ้ ป็น ๘ หมวด คอื ๑. หมวด ภู ธาตุ ๒. หมวด รธุ ฺ ธาตุ ๓. หมวด ทวิ ฺ ธาตุ ๔. หมวด สุ ธาตุ ๕. หมวด กี ธาตุ ๖. หมวด คหฺ ธาตุ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๒๙ ๗. หมวด ตนฺ ธาตุ ๘. หมวด จรุ ฺ ธาตุ สมชิ ฺฌตุ ประกอบด้วยเครือ่ งปรงุ คอื ส บทหน้า อธิ ฺ ธาตุ ในความสาเร็จ ย ปัจจัย ตุ ปญั จมวี ภิ ตั ติ ฯ ปจจฺ สฺโสํสุ ประกอบดว้ ยเคร่ืองปรงุ คอื ปฏิ บทหน้า อ บทหนา้ สุ ธาตุ ในความฟงั ลง อ ปจั จัย ส อาคม และ ํอุ อัชชัตตนวี ิภตั ติ ฯ ๕. กิตกน์ ้นั เปน็ ชอ่ื ของอะไร ? แบง่ เปน็ เทา่ ไร ? อะไรบา้ ง ? อปุ ฺปาโท, ภกิ ขฺ าจาร (ฐาน) ลงปจั จยั อะไร ? เปน็ รปู สาธนะ และปจั จยั อะไร จงตงั้ วิเคราะห์มาดู ? ๕. กิตก์นั้นเป็นช่ือของศัพท์ท่ีท่านประกอบด้วยปัจจัยหมู่หน่ึง ซึ่งเป็น เคร่ืองกาหนดหมายเนือ้ ความของนามศัพท์ และกริ ยิ าศพั ทต์ ่าง ๆ กัน แบ่งเป็น ๒ อย่าง คือ เป็นนามศัพท์อย่างหน่ึง เป็นกิริยาศัพท์อย่าง หน่ึง หรือเป็นนามศัพท์ คือนามกิตก์อย่างหนึ่ง เป็นกิริยาศัพท์ คือ กริ ยิ ากิตก์อย่างหนึง่ ฯ อุปฺปำโท เป็นภาวรูป ภาวสาธนะ ตั้งวิเคราะห์ว่า อุปฺปชฺชเตติ อปุ ปฺ าโท หรือ อุปฺปชชฺ น อุปปฺ าโท หรอื อปุ ปฺ ชชฺ ติ พพฺ นฺติ อปุ ฺปาโท ฯ ภกิ ขฺ ำจำร (ฐำน) เปน็ กัตตรุ ูป อธกิ รณสาธนะ ตงั้ วิเคราะห์ว่า ภกิ ขฺ าย จรนตฺ ิ เอตฺถาติ ภิกฺขาจาร (ฐาน) ๖. อะไรช่ือว่าทิคุสมาส ? ทิคุสมาส กับ วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส ตา่ งกันอย่างไร ? อกสุ ลเจตนา เป็นสมาสอะไรบา้ ง จงต้ังวเิ คราะห์มา ตาม ลาดบั ?

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๓๐ ๖. กมั มธารยสมาส มสี งั ขยาอยู่ข้างหน้า ชือ่ วา่ ทิคสุ มาส ฯ ต่างกันอย่างนี้ คือ ทิคุสมาส คือ กัมมธารยสมาส ชนิดที่มีปกติ สังขยา ท่ีเป็นคุณนาม อยู่ ข้างหน้า ตัวประธานอยู่ข้างหลัง อย่างนี้ ตโย โลกา = ติโลก โลก ๓ จตสโฺ ส ทิสา = จตทุ ทฺ สิ า ทิศ ๔ เป็นตน้ ฯ ส่วนวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มีบทวิเสสนะอยู่ข้างหน้า บทประธานอย่ขู ้าง หลังอย่างนี้ มหนฺโต ปรุ โิ ส = มหาปุริโส บรุ ุษใหญ่ นีล อุปฺปล = นีลุปฺปล ดอกอุบลเขียว เป็นต้น แม้มีปูรณสังขยาอยู่ ข้างหน้า อย่างนี้ ปฐโม ปุริโส = ปฐมปุริโส บุรุษ ท่ี ๑ ก็จัดเป็น วเิ สสนบุพพบทกัมมธารยสมาส ฯ อกุสลเจตนำ เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มี น บุพพบท กัมมธารยสมาส เปน็ ภายใน ต้ังวิเคราะห์ตามลาดบั ดงั นี้ น.บุพ.กมั .วิ. น กสุ ลา อกสุ ลา (เจตนา) ว.ิ บพุ .กัม.ว.ิ อกสุ ลา เจตนา อกสุ ลเจตนา หรือ ว.ิ อกุสลา จ สา เจตนา จาติ อกสุ ลเจตนา ฯ ๗. ปรู ณตทั ธิต มปี จั จัยเทา่ ไร ? อะไรบา้ ง ? เตปิฏโก (เถโร), ปญจฺ ธา, ภาคินี (อตถฺ )ี ลงปัจจยั อะไร ? ในตัทธติ ไหน ? จงต้งั วเิ คราะหม์ าดู ? ๗. ในปูรณตทั ธิต มปี ัจจยั ๕ ตวั คือ ติย ถ ฐ ม อี ฯ เตปฏิ โก (เถโร) ลง ณ ปจั จัย ในราคาทติ ัทธติ ตงั้ วิเคราะหว์ ่า ตปิ ิฏก ธาเรตีติ เตปิฏโก (เถโร) ฯ ปญจฺ ธำ ลง ธา ปัจจัย ในวิภาคตัทธิต

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๓๑ ตั้งวเิ คราะห์ว่า ปญจฺ หิ วภิ าเคหปิ ญฺจธา ฯ ภำคนิ ี (อติ ถฺ ี) ลง อี ปัจจยั ในตทัสสัตถิตทั ธติ ตงั้ วเิ คราะห์ว่า ภาโค อสสฺ า อตถฺ ีติ ภาคนิ ี (อิตฺถ)ี ฯ พระธรรมเจดยี ์ เขมจารี วดั ทองนพคณุ เฉลย สนามหลวงแผนกบาลี ตรวจแก.้

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๓๒ ประโยค ป.ธ. ๓ ปัญหำและเฉลย บำลไี วยำกรณ์ สอบครั้งที่ ๒ วนั ที่ ๒๓ เมษำยน ๒๕๖๐ ------------------------------------ ๑. พยญั ชนะในบาลีภาษา มเี ท่าไร อะไรบ้าง อาศยั อะไร จึงออกเสียงได้ ? ๑. พยัญชนะในบาลภี าษา มี ๓๓ ตัว ฯ คือ กข คฆ ง จฉ ชฌ ญ ฏฐ ฑฒณ ตถ ท ธน ปผ พ ภม ยร ล ว ส หฬ อฯ อาศัยสระ จงึ ออกเสียงได้ ฯ ๒. อาเทสสระสนธิ ในทเี่ ชน่ ไร จงึ แปลงสระเบอ้ื งหน้าได้ ? จงตอบพร้อม ท้ัง ยกตัวอย่างประกอบ ? สฺวาห, เยสนฺโน เป็นสนธิอะไร ? ตัดและ ต่ออย่างไร ? ๒. อาเทสสระสนธิ ในท่ีเชน่ น้ี จงึ แปลงสระเบือ้ งหนา้ ได้ คือ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๓๓ ถา้ อิ เอ อยหู่ น้า มสี ระอย่เู บอ้ื งหลงั แปลง อิ หรอื เอ ตัวหน้า เป็น ย เช่น อคคฺ ิ - อาคาร เป็น อคยฺ าคาร, เต - อสฺส เป็น ตยฺ สฺส ถ้า อุ โอ อยู่หนา้ มีสระอยู่เบอื้ งหลัง แปลง อุ หรอื โอ เป็น ว เช่น อถโข – อสฺส เป็น อถขฺวสฺส, พหุ - อาพาโธ เป็น พหฺวาพาโธ ฯ สฺวำห เป็นอาเทสสระสนธิ ตัดเป็น โส – อห สระ โอ อยู่หน้า สระ อ อยหู่ ลงั เอา โอ เป็น ว เปน็ สฺว ระหว่าง สวฺ กบั อห สระ หน้าและสระหลงั มีรูปเสมอกนั ลบสระหน้า คอื อ ท่ี ว เสียแล้ว ทฆี ะสระหลงั เปน็ อา ต่อเป็น สฺวาห ฯ เยสนฺโน เป็นอาเทสนคิ คหติ สนธิ ตดั เปน็ เยส - โน ถ้าพยัญชนะ อยหู่ ลัง นคิ คหิตอยู่หนา้ แปลงนิคคหิตเปน็ พยัญชนะท่ีสุดวรรคของ พยัญชนะหลัง คอื น ตอ่ เป็นเยสนฺโน ฯ ๓. จงตอบคาถามต่อไปนี้ ก. อตสิ ขุ มุ า, เชฏโฺ ฐ เปน็ คุณนามชน้ั ไหน ? ข. ภควโต เปน็ วิภัตตไิ หนบา้ ง ? ค. ปกติสังขยา ใชน้ ับอยา่ งไร ? ฆ. สัพพนาม แบ่งเปน็ เท่าไร ? อะไรบา้ ง ? ง. กทา แปลว่าอย่างไร ? สาเรจ็ รูปมาจากอะไร ? ๓. ไดต้ อบคาถามตอ่ ไปนี้ คือ ก. อตสิ มุ า เป็นคณุ นามชั้นวิเสส เชฏโฐ เป็นคุณนามช้นั อติวิเสสฯ ข. ภควโต เป็นจตตุ ถวี ิภัตติ และฉฏั ฐีวภิ ัตติ เอกวจนะ ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๓๔ ค. ปกติสังขยา ใชน้ ับโดยปกติเป็นตน้ ว่า หนึง่ สอง สาม สี่ หา้ ฯ ฆ. สัพพนาม แบ่งเป็น ๒ คือ ปุริสสัพนาม ๑ วิเสสนสพั พนาม ๑ฯ ง. กทา แปลวา่ ในกาลไร เม่ือไร สาเร็จรูปมาจาก กึ ศพั ท์ ลง ทา ปัจจัย ฯ ๔. วิภตั ตอิ าขยาต ทา่ นจาแนกไวเ้ พ่ือประโยชนอ์ ะไร ? จดั เปน็ กห่ี มวด ? หมวดไหนบอกกาลอะไร ? ๔. วิภตั ตอิ าขยาตทา่ นจาแนกไวเ้ พอ่ื ประโยชนเ์ ป็นเครือ่ งหมาย กาล บท วจนะ และบรุ ษุ ฯ จดั เปน็ ๘ หมวด ฯ แต่ละหมวดบอกกาลดังนี้ คอื ๑. วตั ตมานา บอกปัจจุบนั กาล ๒. ปญั จมี บอกความบงั คับ ความหวัง ความอ้อนวอน ๓. สัตตมี บอกความยอมตาม ความกาหนด และความ ราพึง ๔. ปโรกขา บอกอดีตกาลไม่มกี าหนด ๕. หิยตั ตนี บอกอดีตกาลตง้ั แตว่ ันวาน ๖. อัชชัตตนี บอกอดีตกาลตงั้ แตว่ นั น้ี ๗. ภวสิ สันติ บอกอนาคตกาลแห่งปจั จุบนั ๘. กาลาตปิ ัตติ บอกอนาคตกาลแหง่ อดตี ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๓๕ ๕. รปู วเิ คราะห์แห่งสาธนะ จัดเปน็ เทา่ ไร ? อะไรบ้าง ? และจะกาหนด รู้ได้อย่างไรว่าสาธนะน้ัน ๆ เป็นรูปอะไร ? สีลรกฺขิกา (อตฺถี) ลง ปัจจัยอะไร ? ลงปัจจัยอะไร ? เป็นรูปและสาธนะอะไร จงตั้ง วิเคราะห์มาดู ? ๕. รูปวเิ คราะห์แหง่ สาธนะจัดเปน็ ๓ คอื กตั ตุรูป ๑ กมั มรูป ๑ ภาวรูป ๑ และจะกาหนดรู้ได้ว่าสาธนะน้ัน ๆ เป็นรูปอย่างน้ี คือ รูป วิเคราะห์แห่งสาธนะใด เป็นกัตตุวาจกก็ดี เป็นเหตุกัตตุวาจกก็ดี สาธนะน้ันเป็นกตั ตุรูป รูปวิเคราะห์แห่งสาธนะแห่งใดเป็นกัมมวาจก สาธนะน้ันเป็นกัมมรูป รูปวิเคราะห์แห่งสาธนะใด เป็นภาววาจก สาธนะนน้ั เปน็ ภาวรปู ฯ สีลรกฺขกิ ำ (อิตถฺ )ี ลง ณวฺ ปุ ัจจัย เป็นกัตตุรูป กตั ตุสาธนะ ตง้ั วเิ คราะห์ว่า สล รกขฺ ตีติ สีลรกขฺ ิกา (อิตฺถี) ฯ ๖. อะไร ชื่อว่ากัมมธารยสมาส ? มีเท่าไร ? อะไรบ้าง? ปุตฺตทารพนธฺ น เป็นสมาส อะไรบา้ ง จงตงั้ วเิ คราะห์มาดู ? ๖. นามศัพท์ ๒ บท มีวิภัตติและวจนะเป็นอย่างเดียวกัน บทหน่ึง เป็นประธาน คือเป็นนามนาม บทหนึ่งเปน็ วเิ สสนะคือเป็นคณุ นาม หรอื เป็นคุณนามทั้ง ๒ บท มีบทอนื่ เปน็ ประธาน ท่ีทา่ นยอ่ เข้าเป็น บทเดยี วกัน ชือ่ ว่า กมั มธารยสมาส ฯ มี ๖ อย่าง คือวเิ สสนบพุ พบท วิเสสนุตตรบท วิเสสโนภยบท วิเสสโนปมบท สัมภาวนบุพฺพบท อวธารณบพุ พฺ บท ฯ ปุตฺตทำรพนฺธน เป็นอวธารณบุพพบท กัมมธารยสมาส มีสมา หารทวันทวสมาส เปน็ ภายใน ตั้งวิเคราะหต์ ามลาดบั ดังนี้

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๓๖ ส.ทวันทว. ว.ิ ปตุ โฺ ต จ ทาโร จ ปตุ ฺตทาร อว.กัม. ว.ิ ปตุ ฺตทาร เอว พนฺธน ปตุ ฺตทารพนธฺ น ฯ ๗. ภาวตัทธิต มปี ัจจัยเทา่ ไร ?อะไรบา้ ง ? สมมฺ ทิฏฺฐโิ ก (ปคุ คฺ โล), ทกฺขิ เณยฺโย (สาวกสงฺโฆ), รชฺช ลงปัจจัยอะไร ? ในตัทธิตไหน ? จงตั้ง วิเคราะห์มาดู ? ๗. ภาวตทั ธิต มีปจั จัย ๖ ตวั คือ ตตฺ , ณฺย, ตฺตน, ตา, ณ, กณฺ ฯ สมมฺ ำทิฏฺฐโิ ก(ปคุ ฺคโล) ลง อิก ปัจจยั ในตทัสสัตถิตัทธติ ตงั้ วิเคราะหว์ ่า สมฺมาทิฏฺฐิ อสฺส อตฺถีติ สมมฺ าทิฏฺฐโิ ก (ปุคฺคโล) หรือลง ณิก ปัจจยั ในตทสั สตั ถิ ตทั ธติ ต้ังวเิ คราะหว์ า่ สมมฺ าทิฏฺฐโิ ก นยิ ตุ โฺ ต สมมฺ าทิฏฺฐโิ ก (ปุคคฺ โล) ฯ ทกฺขเิ ณยฺโย (สำวกสงโฺ ฆ) ลง เอยยฺ ปจั จยั ในฐานตัทธิต ต้ังวเิ คราะห์ว่า ทกฺขณิ อรหตีติ ทกฺขิเณยโฺ ย (สาวกสงฺโฆ) ฯ หรือ ต้ังวิเคราะห์ว่า ทกฺขิณาย อนุจฺฉวิโก โหตีติ ทกฺขิเณยฺโย (สาวกสงโฺ ฆ) ฯ รชชฺ ลง ณฺย ปจั จยั ในภาวตทั ธติ ตั้งวเิ คราะห์วา่ รญฺโญ ภาโว รชชฺ ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๓๗ ประโยค ป.ธ. ๓ ปัญหำและเฉลย บำลีไวยำกรณ์ สอบ วนั ที่ ๑๒ กมุ ภำพันธ์ ๒๕๖๑ -------------------------------------------- ๑. สระในบาลีภาษมเี ท่าไร ฯ อะไรบา้ ง สระเชน่ ไร จัดเป็นครุ ฯ ๑. สระในบาลภี าษามี ๘ ตวั ฯ อ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ฯ สระที่เป็นทีฆะล้วนและสระที่เป็นรัสสะมีพยัญชนะสังโยคและ นิคคหิตอย่เู บอ้ื งหลงั จดั เปน็ ครุ ฯ ๒. อาเทสสระสนธิ ในท่เี ช่นไร จึงแปลงสระเบ้อื งหน้าได้ ฯ จงตอบ พร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบ ฯ ชีวิตญฺจิท เป็นสนธิอะไร ฯ ตัด และต่ออยา่ งไร ฯ ๒. อาเทสสระสนธิ ในที่เช่นไร จงึ แปลงสระเบ้ืองหน้าได้ คือ ถ้า อิ เอ อยู่หน้า มีสระอยู่เบื้องแปลง แปลง อิ หรือ เอ เป็น ย เชน่ อคฺคิ + อคาร เปน็ อคฺยาคาร, เต + อสฺส เป็น ตยฺ สสฺ ถ้า อุ โอ อยู่หน้า มีสระอยู่เบื้องหลัง แปลง อุ หรือ โอ เป็น ว เช่น อถโข + อสสฺ เป็น อถขฺวสสฺ , พหุ + อาพาโธ เป็น พหฺวาพาโธ ฯ ชีวิตญฺจิท เปน็ อาเทสนิคคหติ สนธิ และโลปะสระสนธิ ตัดเป็น ชวี ติ + จ + อิท

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๓๘ ระหวา่ ง ชีวิต + จ ถ้าพยัญชนะอย่ขู า้ งหลัง มีนคิ คหิตอยู่หน้า ใหแ้ ปลงนิคคหิตเป็นพยัญชนะทส่ี ดุ วรรคได้ คอื แปลงนิคคหติ ที่ ชีวิต เปน็ ญฺ ต่อเป็น ชวี ติ ญจฺ ระหว่าง ชวิ ิตญจฺ + อทิ ถ้าสระหนา้ และสระหลงั ไม่มีพยัญชนะอ่นื คั่นในระหว่าง ลบสระหนา้ คอื อ ท่ี ชีวติ ญจฺ ตอ่ เปน็ ชีวติ ญฺจทิ ฯ ๓. ศัพท์เช่นไร เรียกว่าอัพยยศัพท์ ฯ ในอัพยยศัพท์น้ัน อุปสัค กับ นิบาต มีวิธใี ชต้ ่างกนั อย่างไร ฯ ๓. ศัพท์จาพวกหน่ึงจะแจกตัววิภัตติทั้ง ๗ แปลงรูปไปต่าง ๆ เหมือน นามทง้ั ๓ ไม่ได้ คงรูปอยู่อย่างเดียว เรียกว่า อัพยยศัพท์ ฯ ในอพั ยยศพั ทน์ ัน้ อุปสคั กับ นิบาต มีวิธีใช้ต่างกนั อนา่ งน้ี คอื อุปสัค สาหรับใช้นาหน้านามนามและกิริยา ให้วิเศษข้ึน เม่ือ นาหน้านาม มีอาการคล้ายคุณนาม เมื่อนาหน้ากิริยา มีอาการคล้าย กิรยิ าวิเสสนะ สว่ นนิบาต สาหรับลงในระหวา่ งแหง่ นามศัพทบ์ า้ ง กิรยิ าศัพทบ์ ้าง บอกอาลปนะ กาล ที่ ปริเฉท อุปไมย ปฏิเสธ ความได้ยินเล่าลือ ความปรกิ ปั ความถาม ความรับ ความเตอื น เป็นตน้ ฯ ๔. สกัมมธาตุ กับ อกัมมธาตุ ใช้ในวาจกอะไรได้บ้าง ฯ ภิท ธาตุ และ มจุ ฺ ธาตุ เป็นสกัมมธาตุ หรือ เปน็ อกมั มธาตุ จงอธิบาย ฯ ๔. สกมั มธาตุ กับ อกมั มธาตุ ใช้ในวาจกได้ตา่ งกันดังนี้ คือ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๓๙ สกัมมธาตุ ใช้ได้ใน ๔ วาจก คือ กัตตุวาจก กัมมวาจก เหตุกัตตุ วาจก และเหตกุ ัมมวาจก ส่วนอกัมมธาตุ ใช้ได้ใน ๓ วาจก คือ กัตตุวาจก ภาววาจก และเหตกุ ตั ตวุ าจก10 ฯ ภิทฺ ธาตุ และ มุจฺ ธาตุ ป็นได้ทั้งสกัมมธาตุ และอกัมมธาตุ มี อธบิ ายประกอบดังนี้ คือ ภิทฺ ธาตุ ถ้าลงในหมวด รธุ ธาตุ เปน็ สกมั มธาตุ มรี ปู เป็น ภินทฺ ติ แปลว่า ต่อย หรือ ทาลาย ถ้าลงในหมวด ทิวฺ ธาตุ เป็นอกัมมธาตุ มรี ูปเป็น ภชิ ฺชติ แปลว่า แตก ฯ มุจฺ ธาตุ ถ้าลงในหมวด รธุ ธาตุ เปน็ สกมั มธาตุ มรี ูปเป็น มุญฺจติ แปลว่า ปล่อย ถ้าลงในหมวด ทิวฺ ธาตุ เป็นอกัมมธาตุ มีรูปเป็น มุจฺจติ แปลวา่ แตก ฯ ๕. ตูนาทิปัจจัย คือ ปัจจัยอะไร ฯ บอกกาลอะไร ฯ ในที่เช่นไร นิยม แปลง เป็ ย ฯ “ปาน” ในคาว่า “มชฺชปานา จ สญฺญโม” ลง ปัจจยั อะไร ฯ เป็นรปู และสาธนะอะไร จงตัง้ วิเคราะห์มาดู ฯ ๕. ตูนาทปิ จั จยั คือ ปัจจัย มี ตูน เป็นตน้ หมายถงึ ปจั จยั ๓ ตวั คือ ตูน ตวฺ า ตฺวาน บอกอดีตกาล ฯ ในที่เช่นนน้ีนิยมแปลงเป็น ย คือ เม่ือธาตุมีอุปสัคอยู่หน้า เช่น อา อุปสัคบทหน้า ทาธาตุ ในความให้ แปลง ตูนาทิปัจจัย เป็น ย สาเร็จรปู เป็น อาทย ฯ 10 อกมั ธาตุ เป็นเหตกุ ัมมวาจกได้บ้าง

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๔๐ “ปำน” ในคาว่า “มชฺชปานา จ สญฺญโม” ลง ยุ ปัจจัย เป็น ภาวรปู ภาวสาธนะ ตง้ั วิเคราะห์วา่ ปาน ปาน หรอื ปวิ น ปาน ฯ ๖. สมาสเชน่ ไร ชอ่ื วา่ ทวนั ทวสมาส ฯ มีเท่าไร ฯ อะไรบ้าง ฯ มาตาปติ ุ- อปุ ฏฐฺ าน เปน็ สมาสอะไรบา้ ง จงตั้งวเิ คราะห์มาตามลาดับ ฯ ๖. สมาสที่มีนามนามตั้งแต่ ๒ ศัพท์ข้ึนไป ท่านย่อเข้าเป็นบทเดียวกนั ชื่อวา่ ทวนั ทวสมาส มี ๒ อยา่ ง คอื สมาหาร ๑ อสมาหาร ๑ ฯ มำตำปิตุอปุ ฏฐฺ ำน เปน็ ฉัฏฐตี ัปปุรสิ สมาส มอี สมาหารทวนั ทว สมาส เปน็ ภายใน ตัง้ วเิ คราะหต์ ามลาดับดงั น้ี อ.ทวัน. ว.ิ มาตา จ ปิตา จ มาตาปติ โร ฉ. ตัป. ว.ิ มาตาปติ ูน อุปฏฺฐาน มาตาปิตอุ ุปฏฐฺ านฯ ๗. สมหุ ตทั ธิต มปี จั จยั เทา่ ไร ฯ อะไรบ้าง ฯ ชนตา, สตฺตก, ลชฺชี (ภิกฺข)ุ ลงปัจจยั อะไร ฯ ในตัทธิตไหน ฯ จงต้งั วิเคราะหม์ าดู ฯ ๗. สมุหตทั ธิต มีปจั จยั ๓ ตัว คือ กณ ณ ต ฯ ชนตำ ลง ตา ปจั จัย ในสมุหตัทธิต ตั้งวิเคราะหว์ ่า ชนาน สมโุ ห ชนตา หรอื ลง ตา ปัจจยั ในภาวตทั ธติ ต้ังวเิ คราะห์วา่ ชนสฺส ภาโว ชนตา ฯ สตตฺ ก ลง ก ปัจจยั ในสังขยาตทั ธิต

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๔๑ ต้ังวิเคราะหว์ ่า สตฺต ปรมิ าณานิ อสฺสาติ สตตฺ ก ฯ ลชชฺ ี (ภกิ ฺข)ุ ลง อี ปจั จัย ในตทัสสัตถิตัทธิต ตัง้ วิเคราะหว์ ่า ลชชฺ า อสสฺ อตฺถตี ิ ลชชฺ ี (ภิกฺข)ุ ฯ พระธรรมเจดีย์ เขมจารี วดั ทองนพคณุ เฉลย สนามหลวงแผนกบาลี ตรวจแก้.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook