Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เฉลยข้อสอบป.ธ.3วิชาไวยากรณ์ฉบับอัพเดต62

เฉลยข้อสอบป.ธ.3วิชาไวยากรณ์ฉบับอัพเดต62

Published by phrapradisth, 2019-12-05 01:23:07

Description: เฉลยข้อสอบป.ธ.3วิชาไวยากรณ์ฉบับอัพเดต62

Search

Read the Text Version

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๔๒ ๔. ในอาขยาต จดั วาจกไว้เทา่ ไร ? อะไรบ้าง และกาหนดรอู้ ย่างไร ? ๔. ในอาขยาต จัดวาจกไว้ ๕ ฯ คือ กัตตุวาจก ๑ กัมมวาจก ๑ ภาววาจก ๑ เหตุกตั ตุวาจก ๑ เหตุกัมมวาจก ๑ ฯ กตั ตุวาจก ลงปจั จัย ๑๐ ตัว คอื อ, เอ, ย, ณ,ุ ณา, นา, ณหฺ า, โอ, เณ, ณย กมั มวาจก ลง ย ปจั จยั กบั ทงั้ อิ อาคม หนา้ ย ด้วย ภาววาจก ลง ย ปัจจยั เหตุกตั ตุวาจก ลงปัจจัย ๔ ตัว คอื เณ, ณย, ณาเป, ณาปย เหตุกัมมวาจก ลงปัจจัย ๑๐ ต้ัวน้ันด้วย ลงเหตุปัจจัย คือ ณาเป ดว้ ย ลง ย ปัจจัยกับท้งั อิ อาคมหนา้ ย ด้วย ฯ ๕. รูปวเิ คราะห์แห่งสาธนะ จัดเป็นเท่าไร ? อะไรบ้าง ? และจะกาหนด รู้ไดอ้ ยา่ งไรวา่ สาธนะนั้น ๆ เปน็ รูปอะไร ? อปายคามโิ น (สตฺตา) ลง ปัจจยั อะไร ? เปน็ รปู และสาธนะอะไร จงตัง้ วเิ คราะห์มาดู ? ๕. รูปวิเคราะห์แห่งสาธนะจัดเป็น ๓ ฯ คือ กัตตุรูป ๑ กัมมรูป ๑ ภาวรปู ๑ ฯ และจะกาหนดรไู้ ด้ว่าสาธนะนั้น ๆ เป็นรูปอย่างนี้ คอื รปู วิเคราะห์แหง่ สาธนะใด เปน็ กตั ตุวาจกก็ดี เป็นเหตุกัตตุ วาจกกด็ ี สาธนะนนั้ เป็นกัตตุรปู รูปวเิ คราะห์แห่งสาธนะใด เป็นกมั มวาจกก็ดี เปน็ เหตุกัมม วาจกก็ดี สาธนะนัน้ เป็นกัมมรูป

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๔๓ รูปวิเคราะห์แห่งสาธนะใด เป็นภาววาจกก็ดี สาธนะน้ัน เป็นภาวรูป ฯ อปำยคำมโิ น (สตตฺ ำ) ลง ณี ปัจจยั เป็น กตั ตุรูป กตั ตุสาธนะ ตั้งวิเคราะห์ว่า อปาย คจฺฉนฺตีติ อปายคามิโน (สตฺตา) หรือเป็น กัตตุ รปู กัตตสุ าธนะ ลงในอรรถแห่งตสั สลี ะ ตงั้ วเิ คราะห์วา่ อปาย คจฺฉนฺติ สีเลนาติ อปายคามิโน (สตฺตา) หรือเป็นสมาสรูปตัสสีลสาธนะ ตง้ั วเิ คราะห์วา่ อปาย คนฺตุ สลี เมเตสนฺติ อปายคามิโน (สตฺตา) ฯ ๖. อะไรช่ือว่าตัปปุริสมาส ? ตัปปุริสมาส กับ อัพยยีภาวสมาส ต่างกัน อย่างไร ? อจฺฉราสหสฺสปรวิ ุโต (เทวปุตฺโต) เปน็ สมาสอะไรบ้าง จงตั้ง วิเคราะหม์ าตามลาดับ ? ๖. นามศัพทม์ ี อ วภิ ัตตเิ ป็นตน้ ในทีส่ ุด ทา่ นย่อเข้าดว้ ยบทเบอื้ งปลาย ชื่อวา่ ตัปปรุ สิ มาส ฯ ตัปปุริสมาสกบั อพั ยยีภาวสมาสตา่ งกันอยา่ งน้ี คือ ตัปปุริสมาสมีบทหลังเป็นประธาน ไม่ได้นิยมลิงค์และวจนะ ตัวอย่างเช่น สุข ปตฺโต สุขปฺปตฺโต (ปุริโส บุรุษ) ถึงแล้วซ่ึงสุข, รูเป สญฺญา รูปสญฺญา ความสาคัญในรูป, วเน ปุปฺผ วนปุปฺผ ดอกไม้ในปา่ ส่วนอัพยยีสมาส มีบทหน้าเป็นประธาน และเป็นอุปสัคและ นิบาต บทหลังเป็นนํปุสกลิงค์ เอกวจนะ ตัวอย่างเช่น นครสฺส สมีปํ อุปนคร ทใี่ กล้แห่งเมอื ง ชอ่ื ว่าท่ใี กล้แหง่ เมือง ฯ อจฺฉรำสหสฺสปริวุโต (เทวปุตฺโต) เป็นตติยาตัปปุริสมาส มี ฉฏั ฐีตัปปุริสสมาส เปน็ ภายใน ตั้งวเิ คราะห์ตามลาดับดงั น้ี

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๔๔ ฉ.ตัป. วิ. อจฉฺ ราน สหสฺส อจฺฉราสหสสฺ ต.ตปั . ว.ิ อจฺฉราสหสเฺ สน ปรวิ โุ ต อจฺฉราสหสฺสปรวิ โุ ต (เทวปตุ โฺ ต) ฯ ๗. ภาวตทั ธิต เป็นนามหรือคุณ ? ต่างจากตทสั สตั ถติ ัทธิตอยา่ งไรบ้าง ? เทสนากสุ ลตา ลงปัจจัยอะไร ? ในตัทธติ ไหน ? จงตัง้ วิเคราะหม์ าดู ? ๗. ภาวตทั ธติ เป็นนาม ฯ ต่างกันอย่างน้ี คอื ภาวตัทธิต เปน็ ตทั ธิตนาม ลงปัจจยั ๖ ตวั คือ ตฺต, ณฺย, ตฺตน, ตา, ณ, กณฺ แทน ภาว ศัพท์ แปลว่า ความเป็นแห่ง...... ตัวอย่าง สหาย ความเป็นแห่งสหาย เป็นต้น สว่ นตทัสสัตถิตทั ธติ เป็นตัทธติ คุณ ลงปัจจยั ๙ ตัว คอื ว,ี ส, ส,ี อิก, อี, ร, วนตฺ ุ, มนตฺ ุ, ณ แทน อตฺถิ ศัพท์ แปลว่า มี ตัวอยา่ ง ปญฺญา อสฺส อตฺถีติ ปญฺญวา ปัญญา ของชนนั้น มีอยู่ เหตุนั้น (ชนนั้น) ชื่อว่ามีปัญญา ฯ เทสนำกุสลตำ ลง ตา ปจั จยั ในสมุหตัทธิต ฯ ตั้งวิเคราะห์ว่า เทสนากุสลาน สมุโห เทสนากุสลตา แปลว่า ประชุมแหง่ (บุคคลท้ังหลาย) ผูฉ้ ลาดในการแสดง ชื่อว่า เทสนา กสุ ลตา (ประชุมแหง่ บคุ คลทั้งหลาย ผ้ฉู ลาดในการแสดง ) ต้ังวิเคราะห์ว่า เทสนากุสลสฺส ภาโว เทสนากุสลตา แปลว่า ประชุมแหง่ (บคุ คลทั้งหลาย) ผฉู้ ลาดในการแสดง ชื่อวา่ เทสนา กสุ ลตา (ประชุมแหง่ บคุ คลท้ังหลาย ผฉู้ ลาดในการแสดง ) ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๔๕ ประโยค ป.ธ. ๓ ปัญหำและเฉลย บำลีไวยำกรณ์ สอบครง้ั ที่ ๒ วันท่ี ๒๑ เมษำยน ๒๕๕๒ --------------------- ๑. ชิวฺหาหคฺค - ปลายลิ้น เป็นกรณ์ของอักขระอะไรบ้าง ? และ อักขระเหล่านน้ั เกิดในฐานไหน ? เรยี กวา่ อะไร ? ๑. ชิวฺหาหคฺค - ปลายล้ิน เป็นกรณ์ของอักขระ ๗ ตัว คือ ต ถ ธ น ล ส ฯ และอกั ขระเหลา่ น้ันเกิดที่ฐานฟัน ฯ เรยี กวา่ ทนตฺ ชา ฯ ๒. ในนิคคหิตสนธิ จะลบนิคคหิตได้ในท่ีเช่นไร จงตอบคาถามพร้อม ยกตวั อยา่ งประกอบ สุตตฺ ญเฺ จว เปน็ สนธอิ ะไร ? ตดั และต่ออย่างไร ? ๒. ในนิคคหิตสนธิ จะลบนิคคหิตได้ในท่ีเช่นน้ี คือ เมื่อมีสระหรือ พยัญชนะอยู่เบอ้ื งหลัง ลบนคิ คหิตซงึ่ อยู่เบือ้ งหนา้ กไ็ ด้ ฯ ยกตวั อย่างประกอบดงั นี้ เม่อื สระอย่เู บือ้ งหลัง ลบนิคคหิตได้บ้าง เชน่ ตาส – อห เป็น ตาสาห, วทิ ูน – อคฺค เป็น วทิ นู คคฺ เป็นตน้ เมอื่ มีพยัญชนะอยเู่ บอ้ื งหลัง ลบนคิ คหติ ได้บ้าง เชน่ อรยิ สจฺจาน - ทสฺสน เป็น อริยสจจฺ านทสสฺ น, พทุ ธฺ าน – สาสน เป็น พุทฺธานสาสน เป็นต้น ฯ สุตฺตญฺเจว เป็นอาเทสนิคคหิตสนธิ และโลปสระสนธิ ตัดเป็น สตุ ฺต - จ - เอว

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๔๖ ระหวา่ ง สตุ ตฺ - จ ถ้าพยญั ชนะอยหู่ ลัง มีนคิ คหิตอย่ขู ้างหน้า ให้ แปลงนิคคหิต ท่ี สุตฺต เป็นพยัญชนะสุดวรรคได้ คือ แปลงนิคคหิต เป็น ญ ตอ่ เป็น สตุ ฺตญฺจ ระหว่าง สุตฺตญฺจ – เอว ถ้าสระหน้าและสระหลังไม่มีพยญั ชนะ คัน่ ในระหวา่ ง ลบสระหน้า คือ อ ท่ี สตุ ตฺ ญฺจ ตอ่ เปน็ สตุ ตฺ ญฺเจว ฯ ๓. จงตอบคาถามตอ่ ไปนี้ ก. คุณนามเชน่ ไร ช่ือวิเสส ? ข. เทวเต มวี ธิ ที าตวั อย่างไร ? ค. อสีติ เป็นไดก้ ่ลี ิงค์ ? ฆ. ตมุ ฺห เป็นสพั พนามชนดิ ไหน เปน็ ไดก้ ล่ี ิงค์ ? ง. ยคเฺ ฆ เปน็ คาสาหรบั เรียกใคร ? ๓. ได้ตอบคาถามตอ่ ไปนี้ คือ ก. คุณนามท่ีแสดงความดีหรือชั่ว มากหรือน้อยกว่าปกติ เหมือนคาว่า ปณฺฑิตตโร เป็นปัณฑิตกว่า ปาปตโร เป็น บาปกวา่ ชือ่ วเิ สส ฯ ข. เทวเต เป็นอาลปนะ ทาตัวอย่างน้ี คือ เทวเต ศัพท์เดิม เป็น เทวตา ลง สิ ปฐมา วภิ ัตติ เอกวจนะ เอา สิ เป็น เอ สาเรจ็ รปู เปน็ เทวเต ฯ ค. อสตี ิ เป็นได้ลงิ คเ์ ดยี ว คอื อิตถีลิงค์ ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๔๗ ฆ. ตุมฺห เป็นสัพพนามชนิดปุริสัพพนาม มัธยมบุรุษ เป็นได้ ๒ ลงิ ค์ คอื ปุงลงิ ค์และอติ ถลี งิ ค์ ฯ ง. ยคเฺ ฆ เป็นคาสาหรับร้องเรียกให้คนท่ีสูงกวา่ ตนตง้ั ใจฟังคาท่ี ผู้พูดประสงค์จะว่าไม่มีคาแปลในภาษาของเราให้ตรงกันได้ และคาเชน่ นี้ กไ็ ม่ใครมใี ช้นกั ในภาษาของเราเห็นมีอยู่แต่ คาทูลพระเจ้าแผ่นดินว่า “ สรวมชีพ” หรือ “ขอเดชะ” ซ่ึงเป็นคาพูดเพื่อจะให้พระเจ้าแผ่นดินต้ังพระราชหฤทัยฟัง คาท่ีจะพูดต่อไป หรือเป็นคาพูดที่ผู้นอ้ ยพูดกับผู้ใหญ่ หรือ บา่ วพดู กับนาย ก็ได้ ฯ ๔. ในอาขยาต อ อาคม และ อิ อาคม นิยมลงในที่เช่นไร ? วูปสมึสุ, ปจจฺ าสึสนฺติ ประกอบดว้ ยเครือ่ งปรุงอะไรบ้าง ? ๔. ในอาขยาต อ อาคม และ อิ อาคม นิยมลงในท่ีเช่นนี้ คือ อ อาคม นยิ มลงหนา้ ธาตทุ ่ีประกอบดว้ ยวภิ ัตติหมวด หิยตั ตตนี อชั ชตั นี และ กาลาติปัตติ ส่วน อิ อาคม นิยมลงท้ายธาตุและปัจจัยที่ ประกอบด้วยวิภตั ตหิ มวด อัชชตั นี ภวิสสันติ และ กาลาติปตั ติ ฯ วูปสมึสุ ประกอบด้วยเครื่องปรุง คือ วิ บทหน้า อุป บทหน้า สม ธาตุ ในความสงบ อ ปัจจัย ํอุ วิภัตติหมวดอัชชัตตนี ลบ อิ ที่ ว ทฆี ะ อุ ที่ อปุ เป็น อู แปลง ํอุ เป็น อึสุ สาเร็จรูปเปน็ วูปสมึสุ ฯ ปจจฺ ำสึสนตฺ ิ ประกอบดว้ ยเคร่ืองปรุง คือ ปติ บทหน้า อา บท หนา้ สสี ธาตุ ในความปรารถนา ความหวงั ความอยากได้ อ ปัจจยั อนฺติ วิภตั ติ หมวดวัตตมานา แปลง ติ เป็น ตยฺ แปลง แปลง ตฺย เป็น จจฺ สาเรจ็ รปู เป็น ปจฺจาสสึ นฺติ ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๔๘ ๕. ตูนาทปิ จั จัย คือ ปจั จัยอะไร ? บอกกาลอะไร ? ในทีเ่ ช่นไร นิยม แปลงเป็น ย ? ธมฺมเทสนา ลงปัจจัยอะไร ? เป็นรูป และสาธนะ อะไร จงตง้ั วิเคราะห์มาดู ? ๕. ตูนาทิปัจจัย คือ ปัจจัยที่ มี ตูน เป็นต้น หมายถึง ปัจจัย ๓ ตัว คือ ตูน ตฺวา ตฺวาน ฯ ตนู าทิ ปัจจยั บอกอดตี กาล ฯ ในท่ีเช่นน้ี คือ เมื่อธาตุมีอุปสัคอยู่หน้า เช่น อา อุปสัคบทหน้า ทา ธาตุ ในความให้ แปลง ตูนาทิ ปัจจยั เป็น ย สาเร็จรูปเปน็ อาทาย ธมฺมเทสนา ลง ยุ ปัจจัยฯ เป็นภาวรูป ภาวสาธนะ ต้ังวิเคราะห์ ว่า ธมฺมเทสน ธมฺมเทสนา ฯ ๖. อะไรชื่อว่า พหุพพิหิสมาส ? ท่ีเรียกว่า ตุลยากรณพหุพพิหิ กับ ภนิ นาธิกรณพหพุ ิหิ นนั้ มขี อ้ แตกต่างกนั อย่างไร ? ปริปณุ ณฺ วีสติวสฺโส (ปรุ โิ ส) เปน็ สมาสอะไรบา้ ง จงตง้ั วเิ คราะห์มาตามลาดับ ? ๖. สมาสอย่างหนึ่งมบี ทอ่ืนเป็นประธาน ชือ่ วา่ พหุพพิหิสมาส ฯ ท่ีเรียกว่า ตุลยากรณพหุพพิหิ กับ ภินนาธิกรณพหุพหิ ิ น้ัน มีข้อ แตกตา่ งกนั อยา่ งน้ี คือ ตุลยากรณพหุพพิหิ ในวิเคราะห์แห่งสมาสท้ังหลาย บทประธาน และบทวิเสสนมีวิภัตติและลิงค์เสมอกัน แปลกแต่บทสัพพนามท่ีเป็น ประธาน แห่งบทสมาส ตัวอยา่ งเชน่ อาคตา สมณา ย โส อาคต สมโณ (อาราโม) เปน็ ตน้

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๔๙ สว่ นภินนาธกิ รณพหุพิหิ ในวิเคราะห์แหง่ บทสมาส บททัง้ หลาย มวี ภิ ัตตติ า่ งกัน ตวั อยา่ งเชน่ อสิ หตฺเถ ยสฺส โส อสหิ ตฺโถ (โยโธ) เป็น ตน้ ฯ ปรปิ ุณฺณวสี ตวิ สโฺ ส (ปรุ โิ ส) เป็นฉัฏฐพี หุพิหสิ มาส มีอสมาหารทิ คสุ มาส เปน็ ภายใน ตงั้ วเิ คราะหต์ ามลาดับดงั น้ี อ. ทิคุ ว.ิ วสี ติ วสฺสานิ วีสตวิ สสฺ านิ ฉ. พหพุ . วิ. ปริปุณฺณานิ วีสติวสฺสานิ ยสฺส โส ปรปิ ุณฺณวีสตวิ สฺโส (ปุริโส) ฯ ๗. ณ ปัจจัย มีในตัทธิตไหนบ้าง ? และใชต้ ่างกนั อยา่ งไร ? วณณฺ วนฺต (ปุปผฺ ) ลงปจั จยั อะไร ? ในตัทธติ ไหน ? จงต้ังต้งั วเิ คราะหม์ าดู ? ๗. ณ ปัจจัย มีในโคตตตัทธิต ราคาทิตัทธิต สมุหตัทธิต ตทัสสัตถิ ตทั ธติ และภาวตัทธติ ฯ และใชต้ ่างกนั อยา่ งน้ี ในโคตตตัทธิต ใช้แทน อปจจฺ ศพั ท์ แปลวา่ เหลา่ กอ ในราคาทติ ัทธิต ใชแ้ ทน รตฺต ศัพท์ แปลว่า ย้อมแลว้ เป็นตน้ ในสมุหตัทธติ ใชแ้ ทน สมหุ ศัพท์ แปลว่า ประชุม ในตทัสสัตถิตัทธิต ใชแ้ ทน อตฺถิ ศัพท์ แปลวา่ มี ในภาวตทั ธติ ใชแ้ ทน ภาว ศพั ท์ แปลว่า ความเปน็ ฯ วณณฺ วนฺต (ปุพฺผ) ลง วนตฺ ุ ปจั จัย ในตทสั สัตถติ ทั ธิต ต้ัง วิเคราะหว์ า่ วณฺโณ อสสฺ อตฺถีติ วณฺณวนตฺ (ปพุ ผฺ ) ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๕๐ ประโยค ป.ธ. ๓ ปญั หำและเฉลย บำลไี วยำกรณ์ สอบวนั ท่ี ๑๑ กุมภำพนั ธ์ ๒๕๕๓ --------------------- ๑. พยัญชนะในบาลภี าษามเี ท่าไร ? พยญั ชนะไหน จัดเป็นโฆสะ และอโฆสะ ? ๑. พยญั ชนะในบาลีภาษามี ๓๓ ตัว ฯ พยญั ชนะท่ี ๓ ท่ี ๔ ที่ ๕ ในวรรคทั้ง ๕ คอื ค ฆ ง, ช ฌ ญ, ฑ ฒ ณ, ท ธ น , พ ภ ม และ ย ร ล ว ห ฬ ๒๑ ตัวนี้ เป็น โฆสะ พยัญชนะท่ี ๑ ท่ี ๒ ในวรรคทง้ั ๕ คอื ก ข, จ ฉ, ฏ ฐ, ต ถ, ป ผ และ ส ๑๑ ตวั นี้ เป็น อโฆสะ อ นักปราชญ์ผูร้ ู้ศัพทศาสตรป์ ระสงค์เป็นโฆสะ ส่วนนักปราชญ์ ฝา่ ยศาสนา ประสงค์เป็น โฆสาโฆสวมิ ตุ ติ พ้นจากโฆสะและอโฆสะ ฯ ๒. อาเทสสนธิกริ ิโยปรรณ์ แบ่งเปน็ เท่าไร ? อะไรบา้ ง ? ภวตฺวนฺตราโย เปน็ สนธอิ ะไร ตัดและตอ่ อย่างไร ? ๒. อาเทสสนธิกิริโยปรรณ์ แบ่งเปน็ ๒ อย่าง ฯ คอื แปลงสระเบ้ืองหนา้ ๑ แปลงสระเบ้ืองหลัง ๑ ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๕๑ ภวตวฺ นฺตรำโย เปน็ อาเทสสระสนธิ ฯ ตดั เปน็ ภวตุ - อนตฺ ราโย ถา้ มสี ระ อุ อยู่หน้า มสี ระอย่เู บ้อื งหลัง แปลง อุ ท่ี ภวตุ เป็น ว เป็น ภวตฺว ต่อเปน็ ภวตวฺ นตฺ ราโย ฯ ๓. จงตอบคาถามตอ่ ไปน้ี ก. คุณนามแบ่งออกเปน็ กช่ี ้นั ? อะไรบา้ ง ? ข. ภควตา มีวธิ ที าตัวอยา่ งไร ? ค. ํปลุ งิ ค์ มีการันตเ์ ทา่ ไร ? อะไรบา้ ง ? ฆ. ตงั้ แต่ ทฺวิ จนถงึ อฏฐฺ ารส เปน็ วจนะและลิงค์อะไร ? ง. อุทฺธ, วยิ ในอัพยยศพั ท์ เปน็ นิบาตบอกอะไร ? ๓. ไดต้ อบคาถามตอ่ ไปน้ี คือ ก. คุณนามแบง่ ออกเป็น ๓ ชน้ั คอื ปกติ ๑ วเิ สส ๑ อตวิ เิ สส ๑ ข. ภควตา เป็นได้ ๒ วิภัตติ คือ นา ตติยาวิภัตติ เอกวจนะ และ สฺมา ปัญจมีวิภัตติ เอกวจนะ ทาตัวอย่างนี้ คือ ศัพท์เดิม เป็น ภควนฺตุ ลง นา ตติยาวิภัตติ เอกวจนะ เอา นฺตุ กับ นา เป็น ตา สาเร็จรปู เปน็ ภควตา ฯ แม้ สฺมา ปญั จมีวิภตั ติ กม็ ีคตเิ หมือน นา วิภตั ติ ฯ ค. ปํลุ งิ ค์ มกี ารนั ต์ ๕ ฯ คอื อ อิ อี อุ อู ฯ ฆ. ตง้ั แต่ ทวฺ ิ จนถึง อฏฐฺ ารส เป็นพหุวจนะอยา่ งเดียว และเป็นได้ ๓ ลงิ ค์ ฯ ง. อุทธฺ เป็นนบิ าตบอกท่ี วิย เปน็ นิบาตบอกอปุ มาอุปไมย ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๕๒ ๔. วิภัตติอาขยาต ๘ หมวดน้ัน หมวดไหนบอกให้รู้ความอะไร ? บทว่า “ นิทฺธเม ” ในบาท พระคาถาว่า “นิทฺธเม มลมตฺตโน” น้ี แปลวา่ อะไร ลงวภิ ตั ตหิ มวดไหน ? ๔. วภิ ัตติอาขยาต ๘ หมวดนัน้ บอกให้รูค้ วามดังน้ี วัตตมำนำวภิ ัตติ บอกใหร้ ู้ปัจจุบนั กาล ๓ อยา่ ง ปจั จบุ นั แท้ แปลว่า อยู่ ๑ ปัจจุบันใกล้อดีต แปลว่า ย่อม ๑ ปัจจุบันใกล้ อนาคต แปลว่า จะ ๑ ปัญจมีวิภัตติ บอกความบังคับ แปลว่า จง ๑ บอก ความหวงั แปลวา่ เถิด ๑ บอกความอ้อนวอน แปลวา่ ขอ-จง ๑ สัตตมีวิภัตติ บอกความยอมตาม แปลว่า ควร ๑ บอกความ กาหนด แปลว่า พึง ๑ บอกความราพงึ แปลว่า พงึ ๑ ปโรกขำวภิ ัตติ บอกใหร้ ู้อดตี กาล ไมม่ ีกาหนด แปลว่า แล้ว หิยัตตนีวิภัตติ บอกให้รู้อดีตกาล ต้ังแต่วานนี้ แปลว่า แล้ว ถา้ มี อ อยู่หนา้ แปลวา่ ได้ – แลว้ อัชชัตตนีวิภัตติ บอกให้รู้อดีตกาล ตั้งแต่วันนี้ แปลว่า แล้ว ถา้ มี อ อย่หู น้า แปลว่า ได้ – แล้ว ภวิสสันตวิ ภิ ตั ติ บอกใหร้ ู้อนาคตกาลแหง่ ปจั จบุ นั แปลวา่ จกั กำลำติปัตติวิภตั ติ บอกให้รู้อนาคตกาลแหง่ อดีต แปลว่า จัก – แล้ว ถ้ามี อ อยู่หน้า แปลว่า จกั ได้ - แล้ว บทว่า “ นิทฺธเม ” ในบาทพระคาถาว่า “ นิทฺธเม มลมตฺตโน ” นี้ แปลว่า พึงกาจัด หรือ พึงขจัด ลง เอยฺย หมวดสัตตมีวภิ ตั ติ ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๕๓ ๕. สาธนะ คืออะไร ? มเี ทา่ ไร ? อะไรบ้าง ? นิพฺพารคามนิ ี (ปฏิปทา) ลงปจั จัยอะไร ? เป็นรปู สาธนะอะไร จงตัง้ วิเคราะห์มาดู ? ๕. สาธนะ คอื ศัพท์ท่ที ่านให้สาเรจ็ มาแตร่ ูปวิเคราะห์ ฯ มี ๗ อยา่ ง ฯ คือ กัตตุสาธนะ, กัมมสาธนะ, ภาวสาธนะ, กรณสาธนะ, สัมปทานสาธนะ, อปทานสาธนะ, อธิกรณสาธนะ ฯ นิพพฺ ำรคำมนิ ี (ปฏปิ ทำ) ลง ณ ปจั จัย เปน็ กตั ตรุ ปู กรณสาธนะ ตัง้ วเิ คราะหว์ า่ นพิ พฺ าน คจฺฉนฺติ เอตายาติ นพิ พฺ ารคามินี (ปฏปิ ทา) ( ลง อินี ปัจจัย เคร่ืองหมายอิตถีลิงค์) หรือ ลง ณี ปัจจัย เป็นกตั ตุรปู กตั ตสุ าธนะ ตั้งวเิ คราะห์ว่า นิพฺพาน คจฉฺ าเปตีติ นิพฺ พารคามนิ ี (ปฏปิ ทา) ฯ ๖. วิเสสนบพุ พบท กัมมธารยสมาส กับ วเิ สสนนุตตรบท กัมมธารยสมาส ต่างกันอย่างไร ? อสชฺฌายมลา (มนฺตา) เป็นสมาสอะไร จงตั้ง วเิ คราะหม์ าตามลาดับ ? ๖. ต่างกันอย่างน้ี คือ วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มีบทวิเสสนะอยู่ ต้น บทประธานอยู่หลัง อุทาหรณ์ มหนฺโต ปุริโส = มหาปุริโส บรุ ษุ ใหญ่ ส่วนวิเสสนนุตตรบท กัมมธารยสมาส มีบทวิเสสนะอยู่หลัง บทประธานอยู่หน้า อุทาหรณ์ สตฺโต วิเสโส = สตฺตวิเสโส สัตว์ วเิ ศษ ฯ อสชฌฺ ำยมลำ (มนฺตำ ) เป็นฉัฏฐีตลุ ยาธกิ รณพหพุ พหิ สิ มาส มี นบพุ พบท กัมมธารยสมาส เปน็ ภายใน มวี เิ คราะห์ดังตอ่ ไปน้ี

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๕๔ น.บุพ.กมั . ว.ิ น สชฌฺ าโย อสชฺฌาโย ฉ.ตลุ . วิ. อสชฺฌาโย มล เยว เต อสชฺฌายมลา ( มนฺตา ) ฯ ๗. ตา ปัจจัย มีในตัทธิตไหนบ้าง ? จงตอบพร้อมท้ังรูปวิเคราะห์มา ประกอบดว้ ย ? ๗. ตา ปัจจยั มใี น สมหุ ตัทธิต และภาวตทั ธิต ฯ ยกรปู วิเคราะหม์ าประกอบดังนี้ ตา ปัจจัย ในสมุหตัทธิต เช่น สหายาน สมุโห สหายตา ประชุมแห่งสหาย ท. ชอ่ื สหายตา (ประชุมแหง่ สหาย) ตา ปัจจัย ในภาวตัทธิต เช่น สหายสฺส ภาโว สหายตา ความ เป็นแห่งแห่งสหาย ช่ือสหายตา ฯ พระเทพปริยตั มิ ุนี เขมจารี วัดทองนพคณุ เฉลย สนามหลวงแผนกบาลี ตรวจแก้

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๕๕ ประโยค ป.ธ. ๓ ปัญหำและเฉลย บำลไี วยำกรณ์ สอบครั้งที่ ๒ วันที่ ๑๑ มนี ำคม ๒๕๕๓ --------------------- ๑. อักขรวิธีและวจีวิภาค มีลักษณะต่างกันอย่างไร ? ในคาว่า “จิตฺต ทนฺต สุขาวห” น้ี เฉพาะคาทขี่ ีดเส้นใต้เป็นครหุ รือลหุ ? ๑. อักขรวิธีและวจีวิภาค มีลักษณะตา่ งกนั อย่างน้ี คอื อกั ขรวิธี ว่าดว้ ยอกั ษร จดั เป็น สมญั ญาภิธาน แสดงชอื่ อักษรท่ี เป็นสระและพยญั ชนะ พร้อมทง้ั ฐานกรณ์ ๑ สนธิ ตอ่ อักษรท่ีอยู่ใน คาอื่นใหเ้ นื่องเปน็ อนั เดยี วกนั ๑ ส่วนวจีวิภาค แบ่งคาพูดออกเป็น ๖ ส่วน คือ นาม ๑ อพั ยยศัพท์ สมาส ๑ ตัทธติ ๑ อาขาต ๑ กิตก์ ๑ ? ในคาว่า “จิตฺต ทนฺต สุขาวห” นี้ เฉพาะคาท่ีขีดเส้นใต้ เป็น ครุหรือลหุ ดังนี้ จติ ฺ เปน็ ครุ ต เป็น ครุ สุ เปน็ ลหุ ขา เปน็ ครุ ว เปน็ ลหุ ห เปน็ ครุ ? ๒. สนธิ มอี ุปการะแกบ่ าลีไวยากรณ์อย่างไร ? พทุ ฺธสฺสาหสมฺ ิ ในคาว่า “พทุ ธฺ สสฺ าหสฺมิ ทาโส ว” เปน็ สนธิอะไร ? ตดั และต่ออยา่ งไร ?

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๕๖ ๒. สนธิ มอี ุปการะแก่บาลไี วยากรณอ์ ย่างน้ี คอื ตอ่ ศพั ท์และอักขระให้ เนื่องกันด้วยอักขระ เพ่ือจะย่นอักขระให้น้อยลง เป็นอุปการะในการ แต่งฉนั ท์และให้คาพดู สละสลวย ฯ พุทฺธสฺสำหสฺมิ ในคาว่า “พุทฺธสฺสาหสฺมิ ทาโส ว” เป็นทีฆะ สระสนธิ และโลปนิคคหติ สนธิ ฯ ตดั เป็น พุทฺธสสฺ - อห – อสมฺ ิ ระหว่าง พุทฺธสฺส - อห ถา้ สระทั้ง ๒ เป็นรัสสะมรี ปู เสมอกัน คือ อ และ อิ หรือ อุ ทั้ง ๒ ตัว เม่ือลบแล้วต้องทาสระทไี่ ม่ได้ ลบ ด้วยทฆี ะสระสนธิ ตอ่ เปน็ พุทธฺ สฺสาห ระหวา่ ง พุทฺธสฺสาห – อสฺมิ เมอ่ื มสี ระหรือพยัญชนะอย่เู บ้อื งหลงั ลบนิคคหติ ซง่ึ อย่ขู า้ งหน้าบ้างก็ได้ ต่อเป็น พุทฺธสฺสาหสฺมิ ฯ ๓. จงตอบคาถามต่อไปน้ี ก. เชฏฺฐ เป็นอะไรในนามศพั ท์ ? และเป็นลิงคอ์ ะไร ? ข. อปุ าสเิ ก มวี ิธที าตวั อยา่ งไร ? ค. ตฺว, กตโร เป็นสัพพนามชนดิ ไหน ? ฆ. นิบาตนัน้ สาหรบั ใช้อย่างไร ? ง. อทิ านิ, ตหึ แปลว่าอย่างไร ? สาเร็จรปู มาจากอะไร ฯ ๓. ได้ตอบคาถามต่อไปน้ี คือ ก. เชฏฺฐ เปน็ คณุ นาม ฯ และเปน็ ได้ ๓ ลิงค์ ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๕๗ ข. อปุ าสิเก ทาตวั อย่างน้ี คอื ศพั ท์เดิมเปน็ อปุ าสกิ า อา การนั ต์ ในอิตถีลิงค์ ลง สิ อาลปนะวิภัตติ เอกวจนะ ลบ สิ เสีย เอา อา เป็น เอ สาเรจ็ รูปเป็น อุปาสิเก ฯ ค. ตวฺ เป็นปรุ สิ สัพนาม กตโร เปน็ วิเสสนสัพนาม ฯ ฆ. นบิ าตนัน้ ใชอ้ ย่างน้ี คอื สาหรับลงในระหว่างนามศพั ท์บ้าง กริ ิยาศัพท์บ้าง ฯ ง. อิทานิ แปลว่า ในกาลนี้ เดี๋ยวน้ี สาเร็จรูปมาจาก อิม ศัพท์ ลง ทานิ ปจั จยั , ตหึ แปลวา่ ใน - นั้น สาเร็จรูป มาจาก ต ศัพท์ ลง หึ ปัจจัย ฯ ๔. ในอาขาต อ อาคม และ อิ อาคม ใชป้ ระกอบกิรยิ าทวั่ ไป หรือมจี ากัด อย่างไร ฯ จงแจก คหฺ ธาตุ (ในความถือเอา) ด้วยวิภัตติหมวด ปัญจมี เฉพาะปสั สบทมาดู ? ๔. ในอาขาต อ อาคม และ อิ อาคม ใช้ประกอบกิรยิ าไมท่ วั่ ไป มีจากดั ดังนี้ คือ อ อาคม นิยมลงหน้าธาตทุ ่ีประกอบด้วยวภิ ตั ตหิ มวด หิยตั ตนี อชั ชตั ตนี และกาลาตปิ ัตติ อิ อาคม นิยมลงหลังธาตุและปัจจัยที่ประกอบด้วยวิภตั ติหมวด อชั ชัตตนี ภวิสสันติ และกาลาตปิ ตั ติ ในหมวดธาตทุ ง้ั ปวง ฯ จงแจก คหฺ ธาตุ (ในความถือเอา) ด้วยวิภัตติหมวดปัญจมี เฉพาะปสั สบท ดงั น้ี

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๕๘ ปรสั สบท เอกวจนะ พหุวจนะ ป. คณฺหาตุ คณหฺ นตฺ ุ ม. คณฺหิ คณฺหาหิ คณหฺ ถ คณหฺ าถ อุ. คณหฺ ามิ คณหฺ าม ๕. การกาหนดรปู ของสาธนะน้ัน ๆ ต้องอาศยั อะไรเปน็ หลกั จงอธบิ าย ? ปชู า ในคาว่า “ปชู า จ ปูชนียาน” ลงปจั จยั อะไร ? เปน็ รูป และ สาธนะอะไร จงต้ังวเิ คราะห์มาดู ? ๕. การกาหนดรปู ของสาธนะน้ัน ๆ ตอ้ งอาศยั รปู วเิ คราะห์เปน็ หลัก คอื รูปวเิ คราะหแ์ หง่ สาธนะใด เป็นกตั ตุวาจกก็ดี เปน็ เหตกุ ตั ตุวาจกก็ดี สาธนะนน้ั เปน็ กัตตุรูป รปู วเิ คราะหแ์ ห่งสาธนะใด เปน็ กมั มวาจก ก็ดี เป็นเหตุกัมมวาจกก็ดี สาธนะนั้นเป็นกัมมรูป รูปวิเคราะห์ แห่งสาธนะใด เปน็ ภาววาจก สาธนะน้นั เปน็ ภาวรูป ฯ ปูชำ ในคาว่า “ปชู า จ ปชู นียาน” ลง อ ปัจจัย เป็น ภาวรูป ภาวสาธนะ ต้ังวิเคราะห์วา่ ปูชน ปูชา ฯ ๖. สมาสอะไรบ้าง นยิ มแปลงเปน็ นปุงสกลงิ ค์ เอกวจนะอยา่ งเดียว ? และจะทราบได้อย่างไรว่าเป็นสมาสไหน ? มุนิวรวจน เป็นสมาส อะไรบ้าง จงตัง้ วเิ คราะหม์ าตามลาดบั ? ๖. สมาหารทคิ สุ มาส สมาหารทวันทวสมาส และอพั ยยีภาวสมาส นิยม แปลงเป็นนปุงสกลิงค์ เอกวจนะอยา่ งเดยี ว ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๕๙ สมาหารทคิ ุสมาส นยิ มมสี งั ขยาเป็นบทหน้า บทหลงั เปน็ ประธาน อทุ าหรณ์ ตโย โลกา ตโิ ลก สมาหารทวนั ทวสมาส นยิ มบทนามนาม ตัง้ แต่ ๒ บทขน้ึ ไปและ ใช้เป็นตัวประธาน ท่านย่อเข้าเป็นบทเดียวกัน อุทาหรณ์ สมโถ จ วิปสสฺ นา จ สมถวิปสฺสน ส่วนอัพยยีภาวสมาส นิยมมีอุปสัค หรือนิบาตเป็นบทหนา้ และ ใช้เปน็ ประธานของบทหลัง อทุ าหรณ์ ทรถสฺส อภาโว นทิ ทฺ รถ ฯ มุนวิ รวจน เป็นฉัฏฐีตปั ปุริสสมาส มีวเิ สสนนุตรบท กมั มธารย สมาส เป็นภายใน ตงั้ วเิ คราะหต์ ามลาดบั ดังนี้ ว.ิ นตุ .กมั . วิ. มุนิ วโร มุนิวโร ฉ.ตปั . วิ. มนุ ิวรสสฺ วจน มนุ วิ รวจน ฯ ๗. เสฏฐตัทธิต มีปัจจัยเท่าไร ? อะไรบ้าง ? ต่างจากปัจจัย ในตทั ธติ อ่ืนอย่างไร ? ทีฆายตุ า ลงปัจจยั อะไร ? ในตัทธติ ไหน ? จงตง้ั วิเคราะห์มาดู ? ๗. เสฏฐตัทธติ มีปจั จยั ๕ ตวั ฯ คอื ตร, ตม, อยิ ิสสฺ ก, อยิ , อฏฐฺ ฯ ต่างจากปัจจัยในตัทธิตอื่น คือ มิได้ลงแทนศัพท์อย่างปัจจัย ในตัทธิตทั่วไป แต่ใช้เป็นเคร่ืองหมายคุณศัพท์เปรียบเทียบ คือ ตร อิย และอิยิสฺสก ลงในวิเสสคุณศัพท์ ตม และ อฏฺฐ ลงในอติวิเสส คณุ ศัพท์ ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๖๐ ทีฆำยุตำ ลง ตา ปัจจัย ในสมุหตัมธิต วิเคราะห์ว่า ทีฆายุน สมุโห ทีฆายุตา และในภาวตัทธิต วิเคราะห์ว่า ทีฆายุ สฺส ภาโว ทีฆายตุ า ฯ พระเทพปรยิ ัตมิ นุ ี เขมจารี วดั ทองนพคณุ เฉลย สนามหลวงแผนกบาลี ตรวจแก้

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๖๑ ประโยค ป.ธ. ๓ ปัญหำและเฉลย บำลไี วยำกรณ์ สอบ วันท่ี ๒ มนี ำคม ๒๕๕๔ --------------------- ๑. ลักษณะท่ีจะประกอบสังโยคได้ ในพยัญชนะวรรคทั้งหลายนั้น พยัญชนะเหล่าน้ี คือ ท, ม, ฏ, ค, จ ตัวไหนใช้ซ้อน พยัญชนะอะไรได้บา้ ง ? จงตอบพรอ้ มทง้ั ยกตวั อยา่ งประกอบ ? ๑. ลักษณะท่ีจะประกอบสังโยคได้ ในพยัญชนะวรรคทั้งหลายนั้น พยัญชนะเหล่านี้ คอื ท, ม, ฏ, ค, จ ใชซ้ ้อนพยัญชนะได้ ดังนี้ ท เป็นพยัญชนะที่ ๓ ซ้อนหน้าพยัญชนะท่ี ๓ (คือซ้อน ตวั เอง) และท่ี ๔ ในวรรคของตน ได้ ตวั อย่าง เชน่ สทฺท พทุ ฺธ ฯ ม เปน็ พยญั ชนะที่ ๕ สุดวรรค ซอ้ นหนา้ พยัญชนะ ในวรรคของ ตน ได้ทั้ง ๕ ตวั ตัวอย่าง เช่น อนกุ มปฺ สมผฺ สสฺ อมฺพ กุมฺภ จมฺม ฯ ฏ เป็นพยญั ชนะที่ ๑ ซ้อนหนา้ พยัญชนะที่ ๑ (คือซอ้ นตวั เอง) และที่ ๒ ในวรรคของตน ได้ ตัวอยา่ ง เชน่ วฏฏฺ กฏฺฐ ฯ ค เปน็ พยัญชนะท่ี ๓ ซ้อนหนา้ พยญั ชนะที่ ๓ (คือซ้อนตัวเอง) และที่ ๔ ในวรรคของตน ได้ ตัวอยา่ ง เชน่ มคคฺ อคฺฆ ฯ จ เปน็ พยัญชนะที่ ๓ ซอ้ นหน้าพยัญชนะท่ี ๓ (คือซอ้ นตัวเอง) และที่ ๔ ในวรรคของตน ได้ ตัวอยา่ ง เช่น สจจฺ ปจุ ฉา ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๖๒ ๒. โลปสนธิกิริโยปกรณ์ ในนิคคหิตสนธิ ใช้ลบได้ในท่ีเช่นไรบ้าง ? ยถายมฺปทีโป เปน็ สนธอิ ะไน ? ตดั และต่ออย่างไร ? ๒. โลปสนธิกิริโยปกรณ์ ในนิคคหิตสนธิ ใช้ลบได้ในที่เช่นน้ี คือ เมื่อมี สระหรือพยัญชนะอยู่เบื้องหลัง ลบนิคคหิต ซึ่งอยู่เบื้องหน้าก็ได้ เช่น วิทูน - อคฺค เป็น วิทูนคฺค, อริยสจฺจาน - ทสฺสน เป็น อรยิ สจฺจานทสสฺ น เป็นตน้ ฯ ยถำยมฺปทโี ป เป็นโลปสระสนธิ และอาเทสนิคคหติ สนธิ ตัดเป็น ยถา–อย -ปทีโป ฯ ระหวา่ ง ยถา – อย ลบสระ อ ที่ อย ต่อเป็น ยถาย ตามหลัก ทวี่ า่ ถ้าสระ ๒ ตวั มีรปู ไม่เสมอกนั ลบสระเบือ้ งหนา้ บ้างกไ็ ด้ ระหว่าง ยถาย – ปทีโป แปลงนิคคหิต ที่ ยถาย เป็น ม ต่อ เป็น ยถายมฺปทีโป ตามหลักท่ีว่า ถ้าพยัญชนะวรรคอยู่ข้างหลกั มีนคิ คหติ อยู่หน้า ให้แปลงนคิ คหติ เป็นพยญั ชนะท่สี ดุ วรรคได้ ฯ ๓. จงตอบคาถามต่อไปนี้ ก. ปฐมาวภิ ัตติ แบง่ เป็นเท่าไร ? อะไรบ้าง ? ข. รญเฺ ญ มีวิธที าตัวอย่างไร ? ค. ศพั ทม์ โนคณะ เข้าสมาสแล้ว นยิ มทาอยา่ งไร ? ฆ. กึ ศัพท์ เม่อื แปลงเป็น ก แลว้ มวี ิธีแจกอย่างไร ? ง. อมฺโภ เป็นคาสาหรบั เรยี กใคร ? ๓. ไดต้ อบคาถาม ตอ่ ไปน้ี คอื

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๖๓ ก. ปฐมาวภิ ตั ติ แบง่ เป็น ๒ คือ เปน็ ลงิ คฺ ตโฺ ถ หรอื กตตฺ า ทีเ่ ปน็ ประธานอย่าง ๑ เป็น อาลปน คาสาหรับร้องเรียกอย่าง ๑ (หรือแบ่งเปน็ ๒ คือ เอกวจนะอย่าง ๑ พหุวจนะอยา่ ง ๑) ข. รญฺเญ มีวิธีทาตัวอย่างนี้ คือ รญฺเญ ศัพท์เดิมเป็น ราช ลง สฺมึ สัตตมีวิภัตติ เอกวจนะ เอา ราช กับ สฺมึ เป็น รญฺเญ สาเรจ็ รูปเป็น รญเฺ ญ ฯ ค. ศัพท์มโนคณะเข้าสมาสแล้ว นิยมทาอย่างนี้ คือ เอาสระ ท่ีสุดของตนเป็น โอ ได้ เช่น มโนคโณ หมูแ่ ห่งมนะ อโยมย ของบุคคลทาดว้ ยเหลก็ เว้นแต่ วจ ศพั ท์ เมอ่ื เขา้ สมาสแล้ว เอาสระท่สี ุดตนเป็น อี เชน่ วจีกมฺม กรรมทางวาจา วจเี ภโท การเปล่งวาจา ฯ ฆ. กึ ศัพท์ เม่ือแปลงเป็น ก แล้ว มีวิธีแจกอย่าง ย ศัพท์ ใน ไตรลงิ ค์ ฯ ง. อมฺโภ เป็นคาสาหรับเรียกชายด้วยวาจาอันอ่อนหวาน ใน ภาษาของเราทา่ นบญั ญัติให้แปลวา่ แน่ะทา่ นผเู้ จริญ ฯ ๔. วาจกคืออะไร วธิ ีจะจาวาจกได้แม่นยานั้นตอ้ งอาศัยอะไร ? วตี ินาเมติ, นิรชุ ฌฺ ึสุ ประกอบดว้ ยเครอื่ งปรงุ อะไรบา้ ง ? ๔. กริ ิยาศพั ท์ทปี่ ระกอบดว้ ยวิภัตติ กาล บท วจนะ บรุ ุษ ธาตุ คอื วาจก สาหรับกลา่ วบททเ่ี ป็นประธานของกริ ยิ า ๕ อยา่ ง คอื กตั ตุวาจก ๑ กมั มวาจก ๑ ภาววาจก ๑ เหตุกัตตุวาจก ๑ เหตุกมั มวาจก ๑ ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๖๔ วิธจี ะจาวาจกได้แมน่ ยานัน้ ก็เพราะอาศยั ปัจจัยท่ีประกอบ เชน่ กัตตุวาจก มีปัจจัย ๑๐ คือ อ, เอ, ย, ณุ, ณา, นา, ณฺหา, โอ, เณ, ณยฺ , กมั มวาจก มี ย ปัจจยั กับทั้ง อิ อาคม หนา้ ย แม้ภาววาจก เหตกุ ัตตวุ าจก และเหตุกมั มวาจก ก็มีปจั จยั เปน็ เครือ่ ง ประกอบเช่นเดยี วกนั ฯ วีตินำเมติ ประกอบด้วยเคร่ืองปรุงดังนี้ คือ วิ - อติ บท หนา้ นม ธาตุ เณ ปัจจยั ติ วัตตมานาวภิ ตั ติ ฯ นิรชุ ฌฺ ึสุ ประกอบด้วยเครื่องปรุงดงั น้ี คือ นิ บทหน้า รุธ ธาตุ ย ปจั จยั ํอุ อัชชตั ตนีวภิ ตั ติ แปลง ํอุ เปน็ อึสุ ฯ ๕. กัตตุสาธนะ ท่านบัญญัติให้แปลว่าอย่างไรบ้าง ? ยกตัวอย่างรูป วเิ คราะห์มาดู ? ทลุ ลฺ ภา (ภิกขฺ า) ลงปจั จัยอะไร ? เปน็ รปู และสาธ นะอะไร จงต้งั วเิ คราะห์มาดู ? ๕. กตั ตสุ าธนะ ท่านบญั ญัติใหแ้ ปลเป็น ๓ อยา่ ง คือ แปลว่า “ผ้”ู ตวั อย่างรปู วิเคราะห์ กุมฺภ กโรตตี ิ กมุ ภฺ กาโร, เทตีติ ทายโก ถ้าลงในอรรถ คือ ตัสสลี ะ แปลว่า “ผู้ –โดยปกติ” ยกตัวอย่าง รูปวิเคราะห์ ปาปํ กโรติ สีเลนาติ ปาปการี, ธมฺม จรติ สีเลนาติ ธมฺมจารี ถ้าลงในสมาสรูปตัสสีลสาธนะ แปลว่า “ผู้ – เป็นปกติ” ยกตัวอย่างรูปวิเคราะห์ ธมฺม วตํฺตุ สีลมสฺสาติ ธมฺมวาที, ปาปํ กาํตุ สลี มสฺสาติ ปาปการี ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๖๕ ทุลฺลภำ (ภิกฺขำ) ลง ข ปัจจัย ฯ เป็นกัมมรูป และกัมมสาธนะ ต้ังวิเคราะห์ว่า ทกุ เขน ลภิยตตี ิ ทลุ ฺลภา (ภกิ ฺขา) หรือ ทกุ เฺ ขน ลพภฺ ตีติ ทุลฺลภา (ภิกขฺ า) หรอื ทุกเฺ ขน ลภติ พฺพาติ ทลุ ฺลภา (ภกิ ขฺ า) ฯ ๖. ทิคุสมาส กับ วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส ต่างกันอย่างไร ? ทณฑฺ หตถฺ โคปาลโก เป็นสมาสอะไรบ้าง จงตัง้ วเิ คราะหม์ าตามลาดบั ๖. ทิคสุ มาส กับ วเิ สสนบุพพบท กัมมธารยสมาส ต่างกันอยา่ งน้ี คือ ทิคุสมาส มีสังขยาอยู่ข้างหน้า มีนามอยู่หลัง เช่น ตโย โลกา = ติโลก จตสฺโส ทิสา = จตทุ ทฺ ิส ส่วนวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มีบทวิเสสนอยู่ต้น บท ประธานอยหู่ ลงั เช่น มหนฺโต ปรุ โิ ส = มหาปรุ โิ ส, ขตตฺ ยิ า กญฺญา = ขตฺติยกญฺญา ฯ ทณฺฑหตฺถโคปำลโก เป็นวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส มีฉัฏฐีภินนาธิกรณพหุพพิหิสมาสเป็นภายใน ต้ังวิเคราะห์ตามลาดับ ดังนี้ ฉ.ภินนา.พหพุ วิ. ทณโฺ ฑ หตเฺ ถยสสฺ โส ทณฺฑหตโฺ ถ (โคปาลโก) วิ.บุพ.กัม. วิ. ทณฺฑหตฺโถ จ โส โคปาลโก จาติ ทณฺฑหตฺถ- หรือ โคปาลโก ทณฺฑหตโฺ ถ โคปาลโก ทณฺฑหตถฺ โคปาลโก ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๖๖ ๗. ณ ปัจจยั ในโคตตตทั ธิต กบั ราคาทติ ทั ธติ มีวธิ ีใชต้ ่างกนั อย่างไร ? การณุ โิ ก (พุทฺโธ) ลงปจั จยั อะไร ในตัทธิตอะไร จงตัง้ วเิ คราะหม์ าดู ? ๗. ณ ปัจจยั ในโคตตตัทธิต กับ ราคาทิตทั ธิต มวี ิธใี ชต้ า่ งกนั อยา่ งนี้ คอื ณ ปัจจัย ในโคตตตัทธิต ใชแ้ ทน โคตฺต หรือ อปจจฺ ศพั ท์เท่าน้ัน เชน่ โคตมสฺส อปจฺจ โคตม เหลา่ กอ แห่งโคตมะ ชอ่ื โคตมะ ส่วน ณ ในราคาทิตัทธิต ใช้แทนศัพท์ได้ทั่วไป มี ราค ศัพท์ เป็นต้น เช่น กสาเวน รตฺต วตฺถ = กาสาว ผ้าอัน (บุคคล) ย้อมแล้วด้วยรสฝาด ชื่อกาสาวะ (ผ้าอันบุคคลย้อมแล้ว ดว้ ยรสฝาด) มคเธ ชาโต มาคโธ (ชน) เกดิ แลว้ ในแวน่ แคว้นมคธ ช่ือมาคธะ (ผเู้ กิดแลว้ ในแวน่ แคว้น) ฯ การุณิโก (พทุ ฺโธ) ลง ณกิ ปัจจยั ในตรัตยาทิตทั ธิต ต้ัง วเิ คราะห์ว่า กรุณาย นยิ ุตโฺ ต การณุ โิ ก (พุทฺโธ) ฯ พระเทพปริยัติมุนี เขมจารี วดั ทองนพคุณ เฉลย สนามหลวงแผนกบาลี ตรวจแก้

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๖๗ ประโยค ป.ธ. ๓ ปัญหำและเฉลย บำลีไวยำกรณ์ สอบครั้งที่ ๒ วันท่ี ๓๐ เมษำยน ๒๕๕๔ --------------------- ๑. อกั ขระในภาษาบาลีทัง้ ๔๑ ตวั นัน้ อักขระจาพวกไหน ชื่อนิสสยั ? จาพวกไหน ชอื่ นสิ สติ ? และทาหน้าทตี่ ่างกันอยา่ งไร ? ๑. อักขระในภาษาบาลีท้ัง ๔๑ ตัวนั้น อักขระเบ้ืองต้น ๘ ตัว ต้ังแต่ อ จนถึง โอ ชอื่ นสิ สยั อกั ขระที่เหลอื จากสระน้ัน ๓๓ ตวั มี ก เป็นตน้ มนี ิคคหติ เป็นท่ีสุด ชอ่ื นิสสติ ฯ และทาหน้าทตี่ า่ งกนั ดงั น้ี คอื สระเปน็ ทอี่ าศยั ของพยัญชนะ ออก เสียงได้ตามลาพังตนเอง และทาพยัญชนะให้ออกเสียงได้ ส่วน พยัญชนะต้องอาศัยสระจงึ ออกเสยี งได้ ฯ ๒. ในอาเทสสระสนธิ จะแปลงสระเปน็ ย หรอื ว ได้ในทีเ่ ชน่ ไร ? จงตอบ พร้อมยกตวั อยา่ งประกอบ ? ๒. ในอาเทสสระสนธิ จะแปลงสระเป็น ย หรือ ว ได้ในที่เช่นน้ี คือ ถ้า อิ เอ โอ อุ อยู่หน้า มีสระอยู่เบ้ืองหลัง แปลง อิ ตัวหน้า เปน็ ย ยกตัวอยา่ ง ปฏิสณฺฐารวตุ ตฺ ิ – อสสฺ เป็น ปฏสิ ณฐฺ ารวตุ ฺยสฺส, แปลง เอ เป็น ย ยกตัวอย่าง เต – อสฺส เป็น ตฺยสฺส, แปลง โอ เป็น ว ยกตัวอยา่ ง อถโข – อสฺส เป็น อถขฺวสสฺ , แปลง อุ เปน็ ว ยกตัวอย่าง พหุ – อาพาโธ เปน็ พหวฺ าพาโธ ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๖๘ ๓. ศัพท์เช่นไร เรียกว่า อัพยยศัพท์ ? ในอัพยยศัพท์น้ัน อุปสัคกับ นบิ าต มีวิธใี ช้ต่างกนั อย่างไร ? ๓. ศพั ทจ์ าพวกหนง่ึ จะแจกดว้ ยวภิ ตั ตทิ ง้ั ๗ แปลงรปู ไปต่าง ๆ เหมอื น นามท้ัง ๓ ไม่ได้ คงรูปอยู่เป็นอย่างเดียว ศัพท์เช่นนี้ เรียกว่า อัพยยศัพท์ ฯ อุปสัคกับนิบาต มีวิธีใช้ต่างกันอย่างน้ี คือ อุปสัคน้ัน สาหรับนาหน้านามและกิริยาให้วิเศษข้ึน เม่ือนาหน้านาม มีอาการ คล้ายคุณศัพท์ เมื่อนาหน้ากิริยา มีอาการคล้ายกิรยิ าวิเสสนะ ส่วน นิบาตน้ัน สาหรับลงในระหว่าง นามศัพท์บ้าง กิริยาศัพท์บ้าง บอก อาลปนะ กาล ท่ี ปริเฉท อุปไมย ปฏิเสธ ความได้ยินเล่าลือ ความปริกัป ความถาม ครามรบั ความเตอื น เป็นต้น ฯ ๔. การแยกวภิ ัตติอาขยาต ออกเป็นปรสั สบทและอตั โนบท เพ่อื ประสงค์ อะไร ? จงแจก ภชุ ฺ ธาตุ (ในความกนิ มาด)ู ดว้ ยวภิ ตั ติหมวดปัญจมี เฉพาะปรสั สบทมาดู ? ๔. การแยกวิภัตติอาขยาต ออกเป็น ปรัสสบท และอัตโนบท เพื่อ ประสงค์ ดงั น้ี คือ จะได้กาหนดร้วู าจก เพราะปรัสสบทเปน็ เครื่องหมายให้รู้กิริยาที่ เป็นกัตตุวาจกและเหตุกัตตุววาจก ส่วนอัตตโนบท เป็นเคร่ืองหมาย ให้รู้กิริยาที่เป็นกัมมวาจก ภาววาจก และเหตุกัมมวาจก แต่จะนิยม ลงเป็นแน่ทีเดียวก็ไม่ได้ บางคราวปรัสสบทเป็นกัมมวาจกและภาว วาจกก็มี เหมือนคาบาลีว่า “สทิโส เม น วิชฺชติ” คนเช่นกับด้วยเรา (อนั ใคร ๆ) ยอ่ มหาไมไ่ ด้ เป็นตน้ บางคราวอตั ตโนบทเป็นกัตตวุ าจก ก็มี เหมือนคาบาลีว่า “ปิยโต ชายเต โสโก” ความโศกย่อมเกิดแต่

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๖๙ ของที่รัก เป็นต้น คาท่ีกล่าวข้างต้นนั้น ประสงค์เอา แต่บทที่เป็นไป โดยมาก ถา้ จะกาหนดใหล้ ะเอยี ดแล้ว ต้องอาศยั ปัจจยั ด้วย ฯ จงแจก ภุชฺ ธาตุ (ในความกินมาดู) ด้วยวิภัตติหมวดปัญจมี เฉพาะปรัสสบท ดงั นี้ ปรุ ิส เอกวจนะ พหวุ จนะ ป. ภญุ ฺชตุ ภุญชฺ นตฺ ุ ม. ภุญฺช ภุญฺชาหิ ภญุ ชฺ ถ อุ. ภุญชฺ ามิ ภญุ ชฺ าม ๕. กิตก์น้ัน คืออะไร ? แบ่งเป็นก่ีอย่าง ? อะไรบ้าง ? พนฺธน (ฐาน) ลงปัจจยั อะไร ? เป็นรปู และสาธนะอะไร จงตง้ั วิเคราะหม์ าดู ? ๕. กิตก์น้นั คือ ศัพทท์ ่ที ่านประกอบปจั จัยหมู่หนงึ่ ซึง่ เป็นเคร่ืองกาหนด หมายเน้ือความของนามศัพท์หรือกิริยาศัพท์ท่ีต่าง ๆ กัน ฯ แบ่ง ออกเป็น ๒ อย่าง คอื เป็นนามศพั ทอ์ ยา่ ง ๑ เปน็ กิรยิ าศพั ทอ์ ย่าง หนึ่ง ฯ พนฺธน (ฐำน) ลง ยุ ปจั จยั เป็นกัตตรุ ปู อธิกรณสาธนะ ตง้ั วิเคราะหว์ ่า พนธฺ ติ เอตฺถาติ พนธฺ น (ฐาน) ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๗๐ ๖. ตัปปุริสสมาสกับกัมมธารยสมาส มีลักษณะต่างกันอย่างไร ? ปริปุณฺณปตฺตจีวโร (สามเณโร) เป็นสมาสอะไรบ้าง จงต้ังวิเคราะห์ มาตามลาดับ ? ๖. ตปั ปรุ สิ สมาสกบั กัมมธารยสมาส มีลักษณะตา่ งกนั อย่างนี้ คือ ตปั ปุริสสมาส คือ นามศัพท์มี อ วิภัตติเป็นต้น ในที่สุด ท่านย่อเข้า ดว้ ยบทเบื้องต้น มวี ภิ ตั ตแิ ละวจนะไมเ่ สมอกัน สว่ นกัมมธารยสมาส คือ มีวิภัตติและวจนะเสมอกนั บทหนึ่งเป็นประธาน บทหน่ึงเป็นวิ เสสนะ หรือเปน็ วเิ สสนะทง้ั ๒ บท ฯ ปรปิ ณุ ฺณปตฺตจีวโร (สำมเณโร) เปน็ ฉฏั ฐตี ุลยาธิกรณพหุพพิ หิสมาส มีสมาหาร ทวันทวสมาส เป็นภายใน ต้ังวิเคราะห์ ตามลาดบั ดงั นี้ ส.ทวัน. วิ. ปตฺโต จ จีวรญจฺ ปตตฺ จีวร ฉ.ตุล.พหุพ. วิ. ปรปิ ุณฺณ ปตตฺ จีวร ยสสฺ โส ปริปณุ ฺณปตฺต- จีวโร (สามเณโร) ฯ ๗. ปัจจัยในฐานตัทธิต ลงแทนศัพท์อะไร ? มณิมยา (นาวา) ลงปัจจัย อะไร ? ในตทั ธติ ไหน ? จงตงั้ วิเคราะห์มาดู ? ๗. ปัจจัยในฐานตัทธิต ลงแทนศพั ท์ ๔ ศัพท์ คอื ฐาน อรหติ หิต ภว ฯ มณิมยำ (นำวำ) ลง มย ปัจจัย ในปกติตัทธิต ต้ังวิเคราะห์ ว่า มณินา ปกตา มณิมยา (นาวา) หรือ มณิสฺส วิกาโร มณิมยา (นาวา) ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๗๑ ประโยค ป.ธ. ๓ ปัญหำและเฉลย บำลีไวยำกรณ์ สอบ วันท่ี ๑๙ กมุ ภำพนั ธ์ ๒๕๕๕ ------------------ ๑. เอ กับ โอ สระ ๒ ตัวน้ี ว่าโดยฐานต่างจากสระอื่นอย่างไร ? และ เพราะเหตไุ ร จงึ จัดเป็นสงั ยตุ ตสระด้วย ? ๑. เอ กับ โอ สระ ๒ ตวั นี้ วา่ โดยฐานต่างจากสระอื่น ดงั นี้ เอ เกิดใน ๒ ฐาน คือ คอและเพดาน เรยี กว่า กณฺ ตาลุโช โอ เกิดใน ๒ ฐาน คือ คอและรมิ ฝปี าก เรยี กวา่ กณโฺ ฏฺ โช ฯ และเพราะประกอบเสียงสระ ๒ ตัว เปน็ เสียงเดียวกัน คือ อ กับ อิ ผสมกันเป็น เอ, อ กับ อุ ผสมกนั เปน็ โอ ฉะนนั้ จึงจัดเป็นสังยตุ ตสระด้วย ฯ ๒. ในสนธิกิริโยปกรณ์ วิการ กับ ทีฆะ มีลักษณะต่างกันอย่างไร ? ธมฺมมธิ ญฺ าย เปน็ สนธิอะไร ? ตดั และตอ่ อย่างไร ? ๒. ในสนธิกริ โิ ยปกรณ์ วกิ าร กบั ทฆี ะ มีลกั ษณะต่างกันอยา่ งน้ี คือ วิการ ได้แก่การทาสระตัวหน่ึงให้เป็นสระอีกตัวหนึ่ง เช่นทา อิ ใหเ้ ปน็ เอ ทา อุ ใหเ้ ปน็ โอ ตัวอยา่ งเชน่ มนุ ิ - อาลโย เปน็ มุเนลโย สุ - อตฺถี เปน็ โสตฺถี เป็นตน้ ส่วนทีฆะ ได้แกก่ ารทาสระท่ีมเี สยี งส้ันใหม้ เี สียงยาว เช่นทา อ ใหเ้ ป็น อา ทา อิ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๗๒ ให้เป็น อี ทา อุ ให้เป็น อู ตัวอย่างเช่น ตตฺร - อย เป็น ตตฺราย สทฺธา - อิธ เป็น สทธฺ ธี จ - อุภย เปน็ จภู ย เปน็ ตน้ ธมฺมมธิ ญฺ ำย เปน็ อาเทศนคิ คหติ สนธิ และ โลปสระสนธิ ตัด เปน็ ธมมฺ - อิธ - อญฺ าย ระหว่าง ธมฺม - อธิ นคิ คหติ อยหู่ น้า สระอยเู่ บ้อื งปลาย แปลง นคิ คหิตเป็น ม ตอ่ เป็น ธมมฺ มิธ ระหว่าง ธมมฺ มิธ - อญฺ าย สระหน้า และสระหลงั ไม่มพี ยญั ชนะคัน่ ในระหว่าง ลบสระหนา้ คือ อ ที่ ธ ตอ่ เป็น ธมฺมมิธญฺ าย ฯ ๓. จงตอบคาถามต่อไปนี้ ก. นามเชน่ ไร จดั เป็นนามนาม ? ข. ภกิ ขฺ เว มีวิธที าตวั อย่างไร ? ค. อสีติ เปน็ วจนะ และลิงค์อะไร ? ฆ. ต ศัพท์ ในอติ ถีลิงค์ เฉพาะจตตุ ถีวภิ ัตติ มรี ูปแจกอย่างไร ? ง. รโห แปลวา่ อยา่ งไร ? เป็นนบิ าตบอกอะไร ? ๓. ไดต้ อบคาถาม ตอ่ ไปนี้ คือ ก. นามทีเ่ ปน็ ชื่อของคน, สัตว์, ท่ี, สง่ิ ของ, จัดเป็นนามนาม ฯ ข. ภกิ ฺขเว มีวิธีทาตัวอย่างนี้ คือ ภกิ ขฺ เว ศพั ทเ์ ดมิ เปน็ ภกิ ขฺ ุ ลง โย อาลปนวิภัตติ พหวุ จนะ เอา โย เป็น เว แล้ว เอา อุ เปน็ อ สาเร็จรปู เป็น ภิกฺขเว ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๗๓ ค. อสีติ เปน็ เอกวจนะ และอติ ถีลงิ ค์อย่างเดียวแม้เขา้ กับศัพท์ ทเ่ี ป็นพหุวจนะลงิ คอ์ ่ืน ก็คงอยอู่ ย่างนน้ั ไม่เปลย่ี นไปตาม ฯ ฆ. ต ศัพท์ ในอิตถีลงิ ค์ เฉพาะจตุตถวี ิภตั ติ มีรูปแจกอย่างน้ี เอกวจนะ พหุวจนะ จตุตถี ตสสฺ า อสฺสา ติสฺสา ติสสฺ าย ตาส ตาสาน ง. รโห แปลวา่ ที่ลับ เปน็ นบิ าตบอกท่ี ฯ ๔. ธาตุคืออะไร ท่านรวบรวมจัดไวเ้ ป็นกี่หมวด ? อะไรบ้าง ? สงฺกิลิสฺสติ, ปมชฺชสึ ุ ประกอบด้วยเครอื่ งปรุงอะไรบา้ ง ? ๔. ธาตุ คอื กริ ิยาศัพท์ท่ีเป็นมูลราก ฯ ท่านรวบรวมจัดไว้เป็น ๘ หมวด คือ ๑. หมวด ภู ธาตุ ๒. หมวด รธุ ฺ ธาตุ ๓. หมวด ทิวฺ ธาตุ ๔. หมวด สุ ธาตุ ๕. หมวด กี ธาตุ ๖. หมวด คหฺ ธาตุ ๗. หมวด ตนฺ ธาตุ ๘. หมวด จุรฺ ธาตุ สงฺกิลิสฺสติ ประกอบด้วยเครื่องปรุง คือ ส บทหน้า กิลิส ธาตุ (ในความเศร้าหมอง เบียดเบียน แผดเผา ) ย ปัจจัย ติ วัตตมานา วิภัตติ เอกวจนะ ฯ ปมชฺชึสุ ประกอบด้วยเครื่องปรุง คือ ป บทหน้า มทฺ ธาตุ (ใน ความเมา) ย ปจั จยั อุ อัชชตั ตนีวิภัตติ พหวุ จนะ ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๗๔ ๕. ปัจจัยแห่งกิริยากิตก์ท้ัง ๓ หมวดน้ัน ตัวไหนบอกให้รู้ความอะไร ? และ ตัวไหนบ้างใช้ เป็นกิริยาคุมพากย์ได้ ? สุทฺธิ ลงปัจจัยอะไร ? เปน็ รูป และ สาธนะอะไร จงตั้งวเิ คราะหม์ าดู ? ๕. ปัจจยั แห่งกริ ยิ ากิตก์ท้งั ๓ หมวดนั้น แตล่ ะตวั บอกให้ร้คู วาม ดงั ต่อไปน้ี คอื อนฺต ปัจจยั ในหมวดกิตปจั จัย และมาน ปัจจัย ใน หมวด กิตกิจจปจั จยั บอกให้รู้ปัจจบุ นั กาล แปลวา่ อยู่ เมื่อ อนีย, ตพพฺ ปจั จัย ในหมวดกิจจปัจจยั บอกให้ร้คู วามจาเป็น แปลว่า พึง ตวนตฺ ุ, ตาวี ปัจจยั ในหมวดกิตกจิ จปัจจัย และ ต, ตนู , ตวฺ า, ตวฺ าน, ปัจจยั ในหมวดกิตกิจจปัจจยั บอกใหร้ ูอ้ ดตี กาล แปลว่า แลว้ ฯ และปัจจยั ๓ ตวั คอื อนีย, ตพฺพ, ต ปจั จัย ใชเ้ ป็นกริ ิยาคุมพากย์ ได้ ฯสุทธฺ ิ ลง ติ ปจั จยั ฯ เปน็ กตั ตุรปู กรณสาธนะ ตงั้ วิเคราะห์ว่า สุชฌฺ นตฺ ิ เอตายาติ สทุ ธฺ ิ หรอื เป็น ภาวรูป ภาวสาธนะ ต้ัง วเิ คราะห์วา่ สชุ ฺฌน สุทธฺ ิ ฯ ๖. สมาสเป็นไร ช่อื ว่าพหุพพหิ ิสมาส มีเทา่ ไร ? อะไรบ้าง ? กิลฏิ ฺ นวิ าสน- ปารุปโน (สามเณโร) เป็นสมาสอะไรบา้ ง จงตง้ั วเิ คราะหม์ าตามลาดับ ? ๖. สมาสอย่างหน่ึง มีบทอื่นเป็นประธาน ชื่อว่า พหุพพิหิสมาส ฯ มี ๖ อยา่ ง คือ ทตุ ยิ าพหพุ พิหิ, ตติยาพหุพพหิ ิ, จตุตถพี หุพพหิ ,ิ ปญั จมพี หุพพิหิ, ฉฏั ฐพี หพุ พหิ ิ, สัตตมพี หุพพิหิ ฯ กิลิฏฺ นวิ ำสนปำรปุ โน (สำมเณโร) เป็นฉฏั ฐตี ุลยาธิกรณพหุพพิหิ สมาส มอี สมาหาร-ทวนั ทวสมาส (หรือสมาหารทวันทวสมาส) เป็น ภายใน ต้ังวิเคราะหต์ ามลาดับ ดังน้ี อ.ทวัน. วิ. นิวาสนญฺจ ปารปุ นญจฺ นิวาสนปารุปนานิ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๗๕ หรอื (ส.ทวนั . วิ. นวิ าสนญจฺ ปารปุ นญจฺ นิวาสนปารุปน) ฉ.ตุล.พหพุ . วิ. กิลิฏฺ านิ นวิ าสนปารุปนานิ ยสฺส โส กิลิฏฺ -นิวาสนปารปุ โน (สามเณโร) ฯ ๗. อี ปัจจัย ในตทสั สตั ถิตัทธติ กบั ปูรณตัทธิต มีวธิ ีใช้ต่างกนั อย่างไร ? ทุสฺสีลฺย ลงปัจจยั อะไร ? ในตัทธติ ไหน ? จงตั้งวเิ คราะหม์ าดู ? ๗. อี ปจั จัย ใน ตทสั สตั ถิตัทธติ กับ ปูรณตทั ธิต มวี ธิ ีใชต้ ่างกนั อย่างน้ี คือ อี ปัจจยั ใน ตทัสสตั ถติ ัทธิต ใชล้ งแทน อตฺถิ ศัพท์ แปลว่า มี และใช้ลงทา้ ยศพั ท์นามนาม ทาศัพทน์ ามนามใหเ้ ปน็ คุณนาม ตวั อย่าง ทณฺฑี คนมไี มเ้ ท้า โภคี คนมโี ภคะ ส่วน อี ปัจจัย ใน ปูรณตัทธิต ใช้ลงแทน ปูรณ ศัพท์ แปลว่า ที่ เตม็ และใชล้ งท้ายปกติสังขยาตั้งแต่ เอกาทส เปน็ ตน้ จนถึง อฏฺ ารส เฉพาะที่เป็นอิตถีลิงค์ ทาปกติสังขยาให้เป็นปูรณสังขยา ตัวอย่าง เอกาทสี ที่ ๑๑ ทฺวาทสี ท่ี ๑๒ เปน็ ต้น ฯ ทสุ ฺสีลยฺ ลง ณยฺ ปจั จยั ในภาวตัทธิต ฯ ตั้งวิเคราะห์ว่า ทุสสฺ ีลสสฺ ภาโว ทุสฺสีลยฺ ฯ พระเทพปรยิ ตั ิมุนี เขมจารี วัดทองนพคุณ เฉลย สนามหลวงแผนกบาลี ตรวจแก้.

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๗๖ ประโยค ป.ธ. ๓ ปญั หำและเฉลย บำลีไวยำกรณ์ สอบครงั้ ที่ ๒ วนั ท่ี ๑๘ เมษำยน ๒๕๕๕ ------------------- ๑. กรณ์ที่ทาอักขระ มีเท่าไร ? อะไรบ้าง ? ในจานวนนั้น ปลาย ลิน้ เปน็ กรณ์ของอกั ขระ ตวั ไหนบา้ ง ? ๑. กรณ์ท่ที าอักขระมี ๔ ฯ คือ ชิวฺหามชฺฌ ทา่ มกลางล้นิ ๑ ชิวฺโหปคคฺ ถดั ปลายล้ินเขา้ มา ๑ สกฏฺฐาน ฐานของตน ๑ ฯ ปลายลิ้น เป็นกรณ์ของอักขระที่เป็นทันตชะ ได้แก่ อักขระ ๗ ตัวน้ี คอื ต ถ ท ธ น ล ส ฯ ๒. อามคมสนธิกริ โิ ยปรกรณ์ ในนิคคหิตสนธิ ใช้ลงไดใ้ นทีเ่ ช่นไรบ้าง ? ผลมิจฺฉว ในคาว่า “ ผลมิจฺฉว วนสฺมึ วานโร” เป็นสนธิอะไร ? ตัดและต่ออย่างไร ? ๒. อาคมสนธิกิรโิ ยปกรณ์ ในนคิ คหติ สนธิ ใช้ลงในที่เชน่ นี้ คอื เม่ือสระก็ดี พยัญชนะก็ดี อยู่เบ้ืองหลัง ลงนิคคหิตสนธิได้บ้าง เช่น จกฺขุ-อุทปาทิ เปน็ จกํขฺ อุ ุทปาท,ิ อว – สิโร เป็น อวสิโร เปน็ ต้น ฯ ผลมิจฺฉว ในคาว่า “ ผลมิจฺฉว วนสฺมึ วานโร” เป็นอาเทสนิคคิต สนธแิ ละโลปสระสนธิ ตัดเป็น ผล - อจิ ฉ - อิว

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๗๗ ระหวา่ ง ผล - อิจฉฺ นคิ คหติ อยูห่ น้า สระอยู่หลงั แปลงนิคคหิต เปน็ ม ต่อเปน็ ผลมิจฉฺ ระหว่าง ผลมิจฺฉ - อวิ นคิ คหิตอยูห่ นา้ ลบสระเบ้อื งปลายได้ บ้าง คอื อิ ท่ี อิว ตอ่ เปน็ ผลมิจฺฉว ฯ ๓. นามศัพท์ ในบาลีภาษานั้น ท่านแบ่งลิงค์ไวเ้ ท่าไร ? อะไรบ้าง ? ที่จัด เช่นน้นั อาศัยอะไรเปน็ หลัก ? จงตอบพรอ้ มยกตวั อย่างมาประกอบ ? ๓. นามศัพท์ ในบาลีภาษาน้ัน ท่านแบ่งเป็นลิงค์ ๓ คือ ปุงลิงค์ เพศชาย ๑ อติ ถีลงิ ค์ เพศหญงิ ๑ นปงุ สกลิงค์ มใิ ชเ่ พศหญงิ มิใชเ่ พศชาย ๑ ฯ ที่จัดเช่นนนั้น เพราะอาศัยหลัก คือ จัดตามสมมติของภาษษ บ้าง ตามกาเนิดบา้ ง ฯ ทจ่ี ดั ตามสมมตนิ ้นั ยกตัวอย่าง ทาโร เมีย เปน็ อิตถลี งค์ สมมติ ให้เป็นปุงลิงค์ ปเทโส ประเทศ เป็นนปุงสกลิงค์ สมมติให้เป็น ปุงลงิ ค์ ภมู ิ แผน่ ดิน เปน็ นปุงสกลิงค์ สมมตใิ หเ้ ปน็ อติ ถีลงค์ เปน็ ตน้ ส่วนที่จัดตามกาเนิดนั้น ตัวอย่าง ปุริโส ชาย เป็นปุงลิงค์ อิตฺถี หญิง เปน็ อติ ถลี งิ ค์ เป็นตน้ ฯ ๔. อาย อิย ปัจจัย เป็นไปในความอะไร ? ใช้ประกอบกับอะไร ? จงแจก คหฺ ธาตุ(ในความถือเอา) ด้วยวิภัตติหมวดภวิสสันติ เฉพาะปรัสสบทมาดู ? ๔. อาย อยิ ปัจจัย เป็นไปในความประพฤติ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๗๘ ถ้าประกอบกับนามศพั ท์ ทเ่ี ปน็ คุณนาม แปลวา่ ประพฤติ เชน่ จิรายติ ประพฤติชา้ อยู่ เป็นต้น ถ้าประกอบกับนามศัพท์ท่ีเป็นนามนาม แปลว่า ประพฤติ เพียงดงั เชน่ ปตุ ตฺ ิยติ ย่อมประพฤติใหเ้ ป็นเพยี งดังบตุ ร ธูมายติ ย่อมประพฤติเพียงดงั ควนั ฯ แจก คหฺ ธาตุ (ในความถือเอา) ลง ณฺหา ปัจจัย ด้วย วิภตั ติหมวดภวสิ สนั ติ เฉพาะปรสั สบท ดงั นี้ ปรุ ิส. เอก. พหุ. ป. คณฺหิสฺสติ คณฺหิสสฺ นตฺ ิ ม. คณหฺ ิสสฺ สิ คณหฺ ิสฺสถ อุ. คณหฺ ิสฺสาม,ิ คณฺ คณฺหิสฺสาม หิสสฺ แจก คหฺ ธาตุ (ในความถือเอา) ลง อ ปัจจัย ด้วยวิภัตติ หมวดภวิสสันติ เฉพาะปรสั สบท ดงั น้ี ปรุ ิส. เอก. พห.ุ ป. คหสิ ฺสติ คหสิ ฺสนฺติ ม. คหิสฺสสิ คหสิ ฺสถ อุ. คหสิ ฺสาม,ิ คหิสฺส คหสิ ฺสาม

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๗๙ แจก คหฺ ธาตุ (ในความถือเอา) ลง เอ ปัจจัย ด้วยวิภัตติหมวดภวิ สสันติ เฉพาะปรสั สบท ดังน้ี ปุริส. เอก. พหุ. ป. คเหสฺสติ คเหสฺสนตฺ ิ ม. คเหสฺสสิ คเหสฺสถ อุ. คเหสฺสามิ, คเหสฺส คเหสฺสาม ๕. ปัจจัยนามกิตก์ แบ่งเป็นกี่พวก ? และใช้ต่างกันอย่างไร ? คมฺภีร จารี (อุทโท) ลงปัจจัยอะไร ? เป็นรูปและสาธนะอะไร จงตั้ง วเิ คราะหม์ าดู ? ๕. ปัจจยั นามกติ กแ์ บง่ เป็น ๓ พวก ฯ และใชต้ ่างกันอยา่ งนี้ คอื กติ ปจั จัย ใชส้ าหรับประกอบกบั ศัพทท์ ีเ่ ป็นกัตตรุ ูปอยา่ งเดียว ๑ กจิ จปจั จยั ใชส้ าหรับประกอบกับศพั ท์ที่เป็นกัมมรปู และภาวรูป กติ กจิ จปจั จยั ใชส้ าหรับประกอบกบั ศพั ทแ์ ม้ท้งั ๓ เหล่า ๑ ฯ คมภฺ รี จำรี (อุทฺโท) ลง ณี ปัจจยั ฯ เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ วิ. คมฺภีเร จรตีติ คมฺภีรจารี (อุทฺโท) หรือเปน็ กตั ตรุ ูป กัตตสุ าธนะ ลงในอรรถแห่งตัสสลี ะ ว.ิ คมฺภเี ร จรติ สีเลนาติ คมฺภีรจารี (อุทฺโท) หรือเป็น สมาสรูป ตัสสีลสาธนะ วิ. คมฺภีเร จรํิตุ สลี มสฺสาติ คมภฺ รี จารี (อุทฺโท) ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๘๐ ๖. ลุตตสมาส กับ อลุตตสมาส มีลักษณะต่างกันอย่างไร ? จงตอบ พร้อมท้ังยกตัวอย่างประกอบ ? สีลาทิสมฺปนฺนา (ภิกฺขู) เป็นสมาส อะไรบ้าง จงต้ังวเิ คราะหม์ าตามลาดับ ? ๖. ลตุ ตสมาส กับ อลตุ ตสมาส มลี กั ษณะต่างกนั อย่างนี้ คือ ลุตตสมาส เป็นสมาสท่ีลบวิภัตติของศัพท์หน้าเสีย ในเมื่อย่อ ศัพทเ์ ขา้ เป็นบทเดียวกนั ยกตวั อยา่ ง เชน่ กฐินสสฺ ทสุ สฺ เป็น กฐนิ ทุสฺส ผ้าเพื่อกฐิน รญฺโญ ธน เป็น ราชธน ทรัพย์ของพระราชา เป็นต้น ส่วนอลุตตสมาส เป็นสามาสที่มิได้ลบวิภัตติเช่นน้ัน คงวิภัตติไว้ ตามเดิม ยกตัวอย่าง เช่น ทูเร นิทาน เป็น ทูเรนิทาน วัตถุมี นทิ านในทไ่ี กล อุรสิ โลโม เปน็ อุรสโิ ลโม พรฺ าหฺมโณ พราหมณม์ ี ขนที่อก เปน็ ตน้ ฯ สีลำทิสมฺปนฺนำ (ภิกฺขู) เป็น ตติยาตัปปุริสสมาส มีฉัฏฐีตุล ยาธกิ รณพหุพิหิสมาส เป็นภายใน ตงั้ วิเคราะหต์ ามลาดบั ดงั นี้ ฉ. ตุล. พหพุ . วิ. สีล อาทิ เยส เต สีลาทโย (คณุ า) ต. ตัป. วิ. สลี าทหี ิ สมปฺ นฺนา สีลาทสิ มฺปนฺนา (ภิกขฺ )ู ฯ ๗. ปรู ณตัทธติ มปี จั จยั เท่าไร ? อะไรบา้ ง ? อิทธฺ ิมา (ภกิ ขฺ ุ) แปลว่า อะไร ? ลงปจั จัยอะไร ? ในตัทธติ ไหน ? จงตงั้ วิเคราะห์มาดู ? ๗. ปรู ณตัทธิต มปี ัจจยั ๕ ตัว

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๘๑ คือ ตยิ ถ ฐ ม อี ฯ อทิ ธฺ มิ า (ภกิ ฺขุ) แปลว่า (ภิกษ)ุ มีฤทธ์ิ ฯ ลง มนฺตุ ปัจจัย ในตทัสสัตถติ ทั ธติ ฯ วเิ คราะหว์ ่า อิทธฺ ิ อสสฺ อตฺถตี ิ อทิ ฺธิมา (ภิกขฺ ุ) ฯ พระเทพปรยิ ตั ิมุนี เขมจารี วดั ทองนพคณุ เฉลย สนามหลวงแผนกบาลี ตรวจแก้.

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๘๒ ประโยค ป.ธ. ๓ ปัญหำและ บำลไี วยำกรณ์ สอบ วันท่ี ๙ มีนำคม ๒๕๕๖ --------------------------- ๑. คาตอ่ ไปน้ี คือ อภทิ ถฺ เรถ, ปุญฺณ, สคโห, จริ พปฺ วาสึ, อทโฺ ฒ ประกอบ สังโยคถูกหรือผิด ถ้าผิดจงแก้ไขให้ถูก และบอกด้วยว่าถูกหรือผิด เพราะอะไร ? ๑. คาตอ่ ไปน้ี คอื อภิทฺถเรถ ประกอบสังโยคผิด เพราะพยัญชนะท่ี ๓ใน ต วรรค คือ ท จะซ้อนหน้าพยัญชนะที่ ๒ ไม่ได้ เพราะไม่เป็นไปตามหลักการ ซ้อนพยญั ชนะสังโยคท่ีว่า พยญั ชนะวรรคท้งั หลาย พยัญชนะท่ี ๑ซ้อน หนา้ พยญั ชนะที่ ๑ และที่ ๒ ในวรรคของตนได้ ประกอบสงั โยคถูกแก้ เปน็ อภติ ฺถเรถ เพราะพยญั ชนะท่ี ๑ ซ้อนหนา้ พยัญชนะที่ ๑ และท่ี ๒ในวรรคของตนได้ ฯ ปุญฺณ ประกอบสังโยคผิด เพราะพยัญชนะท่ี ๕ ใน จ วรรค คือ จะซอ้ นหนา้ พยญั ชนะที่ ๕ ใน ฏ วรรคไม่ได้ เพราะตา่ งวรรคกนั ไม่ เป็นไปตามหลกั การซอ้ นพยญั ชนะสงั โยคที่ว่า พยัญชนะที่ ๕ สดุ วรรค ซอ้ นหนา้ พยัญชนะในวรรคของตนได้ท้ัง ๕ ตวั ยกเว้นเสียแต่ ง ซ่งึ เปน็ ตัวสะกดอย่างเดียว มิได้มีสาเนียงภาษาบาลี ซ้อนหน้าตัวเองไม่ได้ ประกอบสังโยคถกู แกเ้ ป็น ปณุ ณฺ เพราะ ณ อยู่หลัง จงึ ต้องซ้อน ณ ได้ หรอื แกเ้ ปน็ ปญุ ญฺ ํ เพราะ เปน็ ตัวสงั โยคตัวตามจึงตอ้ งเป็น ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๘๓ สคโห ประกอบสังโยคผิด เพราะไม่แปลงนิคคหิตเป็นพยัญชนะ ท่ีสุดวรรคในเมื่อมีพยัญชนะวรรคอยู่หลัง ประกอบสังโยคถูกแก้เป็น สงฺคโห เพราะค อยู่หลงั จงึ ต้องอาเทสนคิ คหติ เป็น ง ฯ จิรพฺปวำสึ ประกอบสังโยคผิด เพราะถ้าพยัญชนะวรรคอยู่หลัง ให้อาเทสนิคคหิตเป็นพยัญชนะที่สุดวรรค ประกอบสังโยคถูกแก้เปน็ จิรมฺปวาสึ เพราะ ป อยหู่ ลงั จึงต้องอาเทสนคิ คหติ เป็น ม หรือแก้เป็น จิรปปฺ วาสึ เพราะ ป เป็นพยัญชนะท่ี ๑ ตัวสงั โยคต้องเปน็ พยัญชนะท่ี ๑ คอื ป เทา่ นน้ั ฯ อทฺโฒ ประกอบสังโยคผิด เพราะพยัญชนะต่างวรรคซ้อนหน้า กันไม่ได้ ประกอบสังโยคถูกแก้เป็น อฑฺโฒ เพราะพยัญชนะท่ี ๓ ซอ้ นหน้าพยญั ชนะท่ี ๓ และท่ี ๔ ในวรรคของตนได้ ฯ ๒. อาเทสสนธิกิริโยปกรณ์ ในสนธิทํงั ๓ อย่าง มลี ักษณะต่างกันอยา่ งไร ? คาว่า สเจ - อย, อยุตฺต - เต, ปูรติ - เอว เมื่อประกอบสนธิแล้ว ได้ รูปเป็นอยา่ งไร ? ๒. อาเทสสนธกิ ริ โิ ยปกรณ์ ในสนธิท้งั ๓ อยา่ ง มลี กั ษณะต่างกนั อย่างน้ี คือ อาเทสสระสนธิ หมายถึงการแปลงสระเป็นพยัญชนะ ตัวอย่าง เช่น ปฏิสณฐฺ ารวตุ ตฺ ิ-อสสฺ เปน็ ปฏิสณฐฺ ารวุตยฺ สฺส อาเทสพยัญชนะสนธิ หมายถึงการแปลงพยัญชนะเป็นพยัญชนะ ตวั อยา่ งเช่น อิติ - เอว เป็น อิจเฺ จว ส่วนอาเทสนิคคหิตสนธิ หมายถึงการแปลงนิคคหติ เปน็ พยัญชนะ ตัวอยา่ งเช่น ธมมฺ - จเร เปน็ ธมฺมญฺจเร ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๘๔ สเจ - อย เมื่อประกอบสนธิแล้วได้รูปเป็นอย่างนี้ คือ สจาย, สเจย, สเจอย อยตุ ฺต - เต เมื่อประกอบสนธิแล้วไดร้ ูปเป็นอย่างนี้ คือ อยุตฺตนฺเต, อยุตฺตเต ปูรติ - เอว เม่ือประกอบสนธิแล้วได้รูปเป็นอย่างนี้ คือ ปูรติเยว, ปูรเตว, ปรู ตเิ อว, ปรู จเฺ จว, ปูรติเรว ฯ ๓. อุปสคั กับ นบิ าต มลี กั ษณะตา่ งกนั อยา่ งไร ? เพราะเหตไุ ร จึงเรยี กว่า อพั ยยศพั ท์ ? ๓. อุปสัค กับ นิบาต มีลักษณะต่างกันอย่างนี้ คือ อุปสัค สาหรับใช้ นาหน้านามและกิริยาให้วิเศษขึ้น เม่ือนาหน้านามมีอาการคล้าย คุณศพั ท์ เมอ่ื นาหนา้ กิรยิ า มีอาการคล้ายกริ ิยาวเิ สสนะ ส่วนนิบาตน้ัน สาหรับใช้ลงในระหว่างนามศัพท์บ้าง กิริยาศัพท์ บา้ ง บอกอาลปนะ กาล เปน็ ต้น เพราะเป็นศัพท์ท่ีจะแจกด้วยวิภัตติท้ัง ๗ แปลงรูปไปต่าง ๆ เหมือนนามท้งั ๓ ไมไ่ ด้ คงรปู อยูอ่ ยา่ งเดียว จึงเรียกวา่ อพั ยยศัพท์ ฯ ๔. กิริยาอาขยาต และกิริยากิตก์ ประกอบด้วยเครื่องปรุงอะไรบ้าง ? จงแจก พุธฺ ธาตุ (ในความตรัสรู้) ด้วยวิภัตติหมวดปัญจมี เฉพาะปรัสส บท มาดู ? ๔. กิริยาอาขยาต และกิริยากิตก์ ประกอบด้วยเคร่ืองปรุง คือ กริยา อาขยาต ประกอบด้วยเคร่อื งปรงุ ๘ อย่าง คือ วิภัตติ กาล บท วจนะ บุรษุ ธาตุ วาจก ปจั จัย

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๘๕ ส่วนกิริยากิตก์ ประกอบด้วยเคร่ืองปรุง คือ วิภัตติ วจนะ กาล ธาตุ วาจก ปัจจัย เหมือนอาขยาต ตา่ งแตไ่ มม่ ีบทและบรุ ุษเท่าน้ัน ฯ แจก พุธฺ ธาตุ (ในความตรัสร้)ู ดว้ ยวภิ ัตติหมวดปัญจมี เฉพาะปรัสสบท ดังนี้ ปุริส. เอก. พหุ. ป. พชุ ฌฺ ตุ พชุ ฌฺ นฺตุ ม. พุชฺฌ, พชุ ฺฌาหิ พุชฺฌถ อุ. พุชฺฌามิ พุชฌฺ าม ๕. ศัพทต์ อ่ ไปน้ี คือ นิสฺสาย, อารทฺโธ, สาลิกเฺ ขตตฺ ปาลิกา (อิตฺถ)ี , ปมาโท, ภิกฺขาจาร (ฐาน) ลงปัจจัยอะไร ? เฉพาะที่เป็นนามกิตก์ จงต้ัง วเิ คราะหม์ าดว้ ย ? ๕. ศพั ทต์ อ่ ไปน้ี คือ นิสฺสำย ลงตนู าทิปจั จยั อำรทโฺ ธ ลง ต ปจั จัย สำลิกฺเขตฺตปำลิกำ (อติ ถฺ ี) ลง ณฺวุ ปัจจยั วิ. สาลิกเฺ ขตตฺ ปาเลตีติ สาลิกฺเขตตฺ ปาลกิ า (อิตฺถ)ี ปมำโท ลง ณ ปัจจัย วิ. ปมชฺชน ปมาโท หรอื ว.ิ ปมชฺชติ เตนาติ ปมาโท ภิกขฺ ำจำร (ฐำน) ลง ณ ปัจจัย วิ. ภกิ ขฺ าย จรนฺติ เอตฺถาติ ภกิ ขฺ า- จาร (ฐาน) ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๘๖ ๖. สมาสอะไรบ้าง นยิ มบทปลงเป็นนปุงสกลงิ ค์ เอกวจนะอย่างเดยี ว ? จะทราบได้อย่างไร ว่าเปน็ สมาสไหน ? อกุสลกมฺมกรณ เป็นสมาส อะไรบ้าง จงต้ังวเิ คราะห์มาตามลาดับ ? ๖. สมาสท่ีนิยมบทปลงเป็นนปุงสกลิงค์ เอกวจนะอย่างเดียว มี ๓ คือ สมาหารทคิ ุสมาส ๑ สมาหารทวนั ทวสมาส ๑ อัพยยภี าวสมาส ๑ จะ ทราบได้อยา่ งน้ี คือ สมาหารทิคุสมาส นิยมสังขยาเป็นบทหน้า บทหลังเป็นประธาน ตวั อย่างเช่น ปญจฺ อนิ ฺทฺรยิ านิ ปญจฺ นิ ฺทฺรยิ อนิ ทรยี ์ ๕ สมาหารทวันทวสมาส นิยมนามนามต้ังแต่ ๒ บทข้ึนไป ท่านย่อ เข้าเป็นบทเดียวกันและเป็นบทประธานทั้งสิ้น ตัวอย่างเช่น สมโถ จ วิปสฺสนา จ สมถวิปสฺสน สมถะด้วย วิปัสสนาด้วย ช่ือสมถะและ วิปสสฺ นา ส่วนอัพยยีภาวสมาส นิยมอุปสัคหรือนิบาตเป็นบทหน้า และใช้ เป็นบทประธานแห่งบทหลัง ตัวอย่างเช่น นครสฺส สมีปํ อุปนคร ท่ี ใกล้เคียงแห่งเมอื ง ชอื่ ใกล้เมือง ฯ อกสุ ลกมมฺ กรณ เป็นฉัฏฐีตัปปรุ สิ สมาส มี นบุพพบท กัมม ธารยสมาส วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน ตั้งวิเคราะห์ ตามลาดับดงั นี้ น.บพุ .กมั . วิ. น กุสล อกสุ ล ว.ิ บุพ.กัม. วิ. อกุสล กมฺม อกุสลกมฺม หรือ วิ. อกุสลญฺจ ต กมมฺ ญฺจาติ อกุสลกมฺม ฉ.ตปั . ว.ิ อกุสลกมฺมสฺส กรณ อกุสลกมมฺ กรณ ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๘๗ ๗. ตทัสสัตถิตัทธิต มีปัจจัยเท่าไร ? อะไรบ้าง ? ชานปทา (ภิกฺขู), พลวา (ปุริโส), เวสารชฺช ลงปัจจัยอะไร ในตทั ธิตไหน? จงตงั้ วิเคราะห์มาดู ? ๗. ตทสั สัตถิตทั ธิ มีปจั จยั ๙ ตวั ฯ คอื วี, ส, สี, อิก, อี, ร, วนตฺ ,ุ มนฺตุ, ณฯ ชำนปทำ (ภกิ ขฺ ู) ลง ณ ปัจจยั ในราคาทิตัทธิต ฯ วิเคราะห์วา่ ชนปเท วสนตฺ ตี ิ ชานปทา (ภกิ ฺข)ู ฯ พลวำ (ปุรโิ ส) ลง วนฺตุ ปัจจยั ในตทสั สัตถิตทั ธติ ฯ วเิ คราะหว์ า่ พล อสฺส อตฺถีติ พลวา (ปรุ โิ ส) ฯ เวสำรชฺช ลง ณฺย ปัจจยั ในภาวตทั ธติ ฯ วเิ คราะห์ว่า วิสารทสฺส ภาโว เวสารชฺช ฯ พระเทพปรยิ ัตมิ นุ ี เขมจารี วดั ทองนพคณุ เฉลย สนามหลวงแผนกบาลี ตรวจแก้.

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๘๘ ปญั หำ ป.ธ. ๓ ปญั หำและเฉลย บำลีไวยำกรณ์ สอบคร้งั ที่ ๒ วันท่ี ๗ พฤษภำคม ๒๕๕๖ ------------------------------- ๑. พยัญชนะในภาษาบาลี ต่างจากสระอย่างไรบ้าง ? พยัญชนะไหน ประกอบกับสระได้ทั่วไป ? และพยัญชนะไหนประกอบไดไ้ มท่ ัว่ ไป ? ๑. พยัญชนะในภาษาบาลี ต่างจากสระอย่างน้ี คือ พยัญชนะออก เสยี งไมไ่ ดต้ ามลาพัง เหมอื นสระ ต้องอาศยั สระ จงึ จะออกเสียงได้ ฯ พยญั ชนะที่ประกอบกับสระไดท้ ่ัวไป คือ ก ข ค ฆ ง, จ ฉ ฌ ช , ฏ ฑ ฒ ณ, ต ถ ท ธ น, ป ผ พ ภ ม, ย ร ล ว ส ห ฬฯ พยญั ชนะทปี่ ระกอบกับสระไดไ้ ม่ท่ัวไป คอื อ ประกอบไดเ้ ฉพาะ สระที่เป็นรัสสะเท่าน้ัน คือ ต้องไปตามหลังสระ อ อิ อุ เสมอ เช่น อห เสํตุ อกาสึ ฯ ๒. สัญโญโค ในพยญั ชนะสนธิ มีวิธซี ้อนอยา่ งไรบ้าง ? จงตอบพร้อมท้ัง ยกตวั อยา่ งมาประกอบด้วย ? อภุ ยมฺเปตสฺส เปน็ สนธอิ ะไร ? ตดั และ ตอ่ อยา่ งไร ? ๒. สัญโญโค ในพยัญชนะสนธิ มวี ธิ ีซอ้ นอยา่ งนี้ คอื ซอ้ นพยญั ชนะทมี่ ี รูปเหมือนกัน อย่างหน่ึง ตัวอย่าง เช่น อิธ-ปโมทติ เป็น อิธปฺปโมทติ เปน็ ต้น

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๘๙ ซ้อนพยัญชนะท่ีมรี ูปไม่เหมือนกันอย่างหนึง่ คือ พยัญชนะที่ ๑ ซอ้ นหน้าพยัญชนะ ท่ี ๑ และท่ี ๒ ในวรรคของตนได้ พยญั ชนะ ที่ ๓ ซอ้ นหน้าพยญั ชนะที่ ๓ และท่ี ๔ ในวรรคของตนได้ พยัญชนะที่ ๕ ซ้อนหน้าพยัญชนะทุกตัวในวรรคของตนได้เว้น พยญั ชนะ คือ ง ซึง่ เปน็ ตวั สะกด ซอ้ นพยัญชนะทงั้ ๔ ในวรรคของ ตนได้ แต่ซ้อนหน้าตัวเองไม่ได้ ตัวอย่าง เช่น จตฺตาริ-ฐานานิ เป็น จตตฺ าริฏฺฐานานิ เป็นต้น ฯ อุภยมฺเปตสฺส เป็นอาเทสนิคคหิตสนธิ และโลปสระสนธิ ตัดเป็น อุภย – ปิ – เอตสสฺ ระหว่าง อุภย – ปิ พยัญชนะวรรคอยู่ข้างหลัง มีนิคคหิตอยู่ ข้างหน้าให้แปลงนิคคหิต เป็นพยัญชนะที่สุดวรรคได้ แปลงนิคคหิต ที่ อุภย เปน็ ม ตอ่ เป็น อุภยมฺปิ ระหว่าง อุภยมฺปิ – เอตสฺส สระหน้าและสระหลังไม่มีพยัญชนะ อืน่ คน่ั ในระหวา่ ง ลบสระหน้า คือ อิ ท่ี อภุ ยมปฺ ิ ต่อเป็น อภุ ยมฺเปตสฺส ๓. จงตอบคาถามตอ่ ไปนี้ ก.คุณนามชัน้ วิเสส มีลักษณะอย่างไร ? ข.ภควติ มีวิธที าตัวอย่างไร ? ค.ราชคห เปน็ นามนามชนดิ ไหน ? ฆ.เอกสังขยา กับ เอกสัพพนาม ต่างกันอย่างไร ? ง.ทา, ธ ปัจจยั เป็นเครื่องหมายวิภัตติอะไร ?

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๙๐ ๓. ไดต้ อบคาถามต่อไปนี้ คือ ก. คุณนามชั้นวิเสส มีลักษณะอย่างน้ี คือ เป็นคุณนามที่แสดง ความดี หรือความชั่วมากหรือน้อยกว่าปกติ เหมือนคาว่า ปณฑฺ ติ ตโร เป็นบณั ฑติ กวา่ ปาปตโร เปน็ บาปกว่า ใช้ ตร อิย อยิ สิ ฺสก ปจั จัยในตัทธิตต่อท้ายคณุ นามช้ันปกติบา้ ง ใชอ้ ุปสัค อติ (ยงิ่ ) นาหนา้ บา้ ง ฯ ข. ภควติ มีวิธีทาตัวอย่างน้ี คือ ภควติ ศัพท์เดิมเป็น ภควนฺตุ ลง สฺมึ สัตตมีวิภัตติ เอกวจนะ เอา นฺตุ กับ สฺมึ เป็น ติ สาเรจ็ รูปเป็น ภควติ ฯ ค. ราชคห เปน็ นามนามชนดิ ทเ่ี ปน็ อสาธารณนาม ฯ ฆ. เอกสังขยา กับ เอกสพั พนาม ต่างกันอย่างนี้ คอื เอกสังขยา เป็นได้ แต่เอกวจนะ อย่างเดียว ส่วนเอกสัพพนาม เป็นทวิ วจนะ ฯ ง. ทา ปจั จยั เป็นเคร่ืองหมายสตั ตมีวิภตั ติลงในกาล ธ ปัจจยั เป็นเครอ่ื งหมายสตั ตมวี ิภัตติ ฯ ๔. จงแก้คาที่เห็นวา่ ผดิ ในประโยคต่อไปน้ี ให้ถกู ต้องตามหลักไวยากรณ์ ก. ภกิ ขฺ ุโน สหสฺส ธมฺมสภาย สนนฺ ิปตึสุ ? ข. เถโร ปุนปฺปุน ปุจฺฉยิ นโฺ ต ตุณฺหี อเหํสุ ? ค. สีลวา กุมารกิ า อตตฺ โน นาถ ลพภฺ ติ ? ฆ. มย วิสตนี ภิกขฺ นู ภกิ ฺข ทสสฺ ามิ ?

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๙๑ ง. เทวทตโฺ ต สงฆฺ ภชิ ฺชิสฺสติ ? ๔. ได้แก้คาที่เห็นว่าผิดในประโยคต่อไปนี้ ให้ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ ดังน้ี ก. ภิกฺขูน สหสฺส ธมมฺ สภาย สนฺนปิ ติ ฯ ข. เถโร ปนุ ปปฺ นุ ปุจฺฉิยมาโน ตุณหฺ ี อโหสิ ฯ ค. สีลวตี กุมารกิ า อตฺตโน นาถ ลภติ ฯ ฆ. มย วสี ติยา ภกิ ฺขูน ภิกฺข ทสสฺ าม หรือ อห วีสตยิ า ภิกฺขูน ภิกขฺ ทสฺสามิ ฯ ง. เทวทตฺโต สงฆฺ ภนิ ฺทสิ ฺสติ ฯ ๕. โพธิ ในคาวา่ โพธสิ ตโฺ ต, โพธญิ าณตถฺ าย, โพธิรุกขฺ มูเล คาไหนเป็นรูป และสาธนะอะไร จงตั้งวเิ คราะห์มาดู ? ๕. โพธิ ในคำว่ำ โพธิสตฺโต เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ วิเคราะห์ว่า พุชฌฺ ิสสฺ ตตี ิ โพธิ (สตฺโต) หรอื พชุ ฌฺ ตีติ โพธิ (สตโฺ ต) โพธิ ในคาว่า โพธิญำณตฺถำย เป็นกัตตรุ ูป กรณสาธนะ วเิ คราะห์ วา่ พุชฺฌติ เตนาติ โพธิ (ญาณ) โพธิ ในคาว่า โพธริ กุ ขฺ มเู ล เปน็ กัตตรุ ูป อธกิ รณสาธนะ วิเคราะห์ วา่ พุชฺฌติ เอตถฺ าติ โพธิ (รุกโฺ ข) ฯ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook