Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เฉลยข้อสอบป.ธ.3วิชาไวยากรณ์ฉบับอัพเดต62

เฉลยข้อสอบป.ธ.3วิชาไวยากรณ์ฉบับอัพเดต62

Published by phrapradisth, 2019-12-05 01:23:07

Description: เฉลยข้อสอบป.ธ.3วิชาไวยากรณ์ฉบับอัพเดต62

Search

Read the Text Version

หนงั สือ ปัญหา – เฉลย วชิ าบาลไี วยากรณ์ ป.ธ. ๓ (ฉบบั อัพเดต ปี พ.ศ. 2562) รวบรวมและเรียบเรียงโดย ขนฺตสิ รโณ ภิกฺขุ

คำนำ หนังสือปัญหา – เฉลย ข้อสอบสนามหลวง ช้ันประโยค ป.ธ. ๓ วิชาบาลไี วยากรณ์ ฉบับปรับปรุง เลม่ นี้ น้นั ข้าพเจ้าได้ทาการรวบรวม จากแหลง่ ข้อมลู ต่าง ๆ ท้งั ทางเว็บไซต์หลาย ๆ เวบ็ ไซต์ โดยอาศัยหนงั สือ ปญั หา – เฉลย ของทางแม่กลองเปน็ ข้อมูลหลกั โดยไดท้ าการเพ่ิมเติม ในส่วนของปญั หาและเฉลยตงั้ แตป่ ี พ.ศ.๒๕๐๐ – ปี พ.ศ. ๒๕๓๔ และปี ล่าสุดคือปี พ.ศ. ๒๕๖2 ท้ังครั้งแรกและคร้ังหลัง ในการจัดทาหนังสือ เลม่ น้ี ข้าพเจ้าได้ จดั การพิมพ์ขึน้ มา และจดั รูปแบบใหม่ มกี ารรวมตัว ปัญหาและเฉลยให้อยู่ติดกัน เพ่ือสะดวกในการอ่านง่ายและเป็น ประโยชน์ แก่ผ้ใู ครศ่ ึกษาพระบาลี หนังสือคร้ังนี้ ข้าพเจ้าจัดทาเพ่ือเป็นวิทยาทานเท่าน้ัน ไม่ อนญุ าตให้ใช้เพ่ือการพาณิชยใ์ ด ๆ ทั้งสน้ิ ข้าพเจา้ หวังว่าหนงั สือเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ใคร่ศึกษาพระบาลี ไม่มากกน็ ้อย ข้าพเจ้าขออทุ ศิ บุญกุศลในการจัดทาหนังสือครั้งนี้ แก่บุคคลผู้มีพระคุณกับข้าพเจ้า ท้ังหลาย พระสมชาย ขนตฺ ิสรโณ ๔ มิถุนายน ๒๕๖2 ผูร้ วบรวมและเรียบเรยี ง

สำรบญั ๑ 5 ปัญหาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๐๐ 10 ปัญหาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๐๑ ๑5 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๐๒ 20 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๐๓ ๒7 ปัญหาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๐๔ 33 ปัญหาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๐๕ ๓8 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๐๖ 46 ปัญหาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๐๗ 52 ปัญหาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๐๘ 58 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๐๙ 64 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๑๐ 70 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๑๑ 76 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๑๒ 82 ปัญหาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๑๓ 87 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๑๔ 92 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๑๕ ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๑๖

สำรบญั 97 104 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๑๗ 110 ปัญหาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๑๘ 116 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๑๙ 122 ปัญหาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๒๐ 127 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๒๑ 132 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๒๒ ๑38 ปัญหาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๒๓ ๑44 ปัญหาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๒๔ ๑48 ปัญหาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๒๕ ๑54 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๒๖ ๑60 ปัญหาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๒๗ ๑66 ปัญหาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๒๘ ๑7๒ ปัญหาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๒๙ ๑79 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๓๐ ๑85 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๓๑ ๑92 ปัญหาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๓๒ ปัญหาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๓๓

สำรบญั 200 206 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๓๔ 213 ปัญหาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๓๕ 221 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๓๖ 229 ปัญหาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๓๗ 237 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๓๘ 244 ปัญหาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๓๙ 252 ปัญหาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ 260 ปัญหาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๔๑ 267 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ ๒75 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๔๓ ๒81 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๔๔ ๒88 ปัญหาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ๒95 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๔๖ 300 ปัญหาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ 306 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ 311 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ ครั้งที่ ๒ ปัญหาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๔๙

สำรบญั 316 320 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ครง้ั ที่ ๒ 325 ปัญหาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ 329 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ ครง้ั ที่ ๒ 335 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ 340 ปัญหาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ คร้งั ท่ี ๒ 345 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ 350 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ครั้งท่ี ๒ 355 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ 361 ปัญหาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ครง้ั ที่ ๒ 367 ปัญหาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ 371 ปัญหาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ คร้ังที่ ๒ 376 ปัญหาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ 382 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ครัง้ ท่ี ๒ 388 ปัญหาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ 394 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ครง้ั ที่ ๒ 399 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ปัญหาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ครัง้ ท่ี ๒

สำรบญั 405 411 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ 416 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ครั้งท่ี ๒ 421 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ 426 ปัญหาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ครั้งที่ ๒ 432 ปัญหาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ 437 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ครง้ั ท่ี ๒ 442 ปัญหาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ 448 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ครั้งท่ี ๒ 455 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๖2 ปญั หาและเฉลย ปี พ.ศ. ๒๕๖2 ครั้งท่ี ๒

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๑ ประโยค ป.ธ. ๓ ปัญหำและเฉลย บำลีไวยำกรณ์ สอบวนั ท่ี ๒๖ กุมภำพันธ์ ๒๕๐๐ --------------------------- ๑. อะไรเรียกว่า อักขระ พยัญชนะ และนิคคหิต หรือ อนุสาร ในคาท้ัง ๓ หรอื ทัง้ ๔ น้ัน คาไหนแปลว่าอะไร ? ๑. เสียงก็ดี ตัวหนังสอื เรยี กวา่ อักขระ ๆ แปลว่า ไม่รจู้ กั สนิ้ อย่าง ๑ ไม่ เป็นของแข็งอย่างหนงึ่ ๑ ฯ อักขระท่ีเหลือจากสระ ๓๓ ตัวมี ก เป็นต้น มีนิคคหิตเป็นท่ีสุด เรยี กว่า พยญั ชนะ ๆ แปลวา่ ทาเน้ือความให้ปรากฎ ฯ พยัญชนะคือ อ เรียกว่า นิคคหิต ๆ แปลว่า กดสระ หรือ กรณ์ คอื อวัยวะท่ที าเสียง หรอื เรยี กวา่ อนุสาร ๆ แปลว่า ไปตามสระ ฯ ๒. สมาส กับสนธิ ต่างกัน แต่ศัพท์ท่ีเข้าสมาสแล้วน้ัน จะเข้าสนธิอีกครั้ง หนึ่งจะได้หรอื ไม่ อา้ งอทุ าหรณ์ ? ๒. จะเข้าสนธิอีกครั้งหนึ่งก็ได้ มีอุทาหรณ์ เช่น กตอุปกาโร หิริโอตฺตปฺปํ ท้งั ๒ น้ี เป็นบททีเ่ ข้าสมาสแลว้ ท้ังนนั้ เขา้ สนธิซา้ อกี รูปเปน็ กโตปกาโร หโิ รตฺตปปฺ ํ ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒ ๓. ในบาลไี วยากรณ์ มีศพั ท์ไหนบา้ ง ทีใ่ ชไ้ ดม้ ากกวา่ ๒ วจนะ จงแสดง ? ๓. ในบาลีไวยากรณ์ มีศัพท์ท่ีใช้ได้มากกว่า ๒ วจนะ คือ ภควนฺตุ ศัพท์ ใช้ได้ ๓ วจนะ คอื เอกวจนะ ทฺวิวจนะ และ พหุวจนะ คาว่า ภควนฺตา ภควนฺเต ( ที่แจกไว้ในส่วนพหุวจนะ ) ใชเ้ ปน็ ทวฺ วิ จนะ สาหรับกล่าวถึง คนสองคน ภควนฺโต ใช้เป็น พหุวจนะ สาหรับกล่าวถึงคนมาก ต้ังแต่ สามคนขึ้นไป ฯ ๔. ในสมาสทั้ง ๖ มีกัมมธารยสมาส เป็นต้น สมาสไหนเป็นนามล้วน ไหน เป็นคุณล้วน และไหนเป็นท้ังนามทั้งคุณ ? นีลุปฺปลคพฺภสมานวณฺณา (อุปฺปลวณฺณา เณรี) กว่าจะสาเร็จเป็นอย่างน้ี จะต้องผ่านสมาสชื่อ อะไรบา้ ง จงตัง้ วิเคราะหม์ าโดยลาดบั ? ๔. ทิคุสมาส และ ทวนั ทวสมาส เป็นนามลว้ น ฯ พหุพพิหสิ มาส เปน็ คณุ ล้วน ฯ กัมมธารยสมาส ตัปปุริสมาส และอัพยยีภาวสมาส เป็นท้ังนาม ท้ังคณุ ฯ ต้องผ่านวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส, ฉัฏฐีตัปปุริสมาส, ตตยิ าตัปปุรสิ มาส, และ ฉฏั ฐตี ลุ ยาธิกรณพหพุ พหิ สมาส ฯ มวี ิเคราะห์โดยลาดับ ดังน.้ี (ว.ิ ปพุ ) นีล อปุ ฺปล นีลปุ ฺปล (ฉ. ตปั ) นลี ปุ ฺปลสฺส คพภฺ นลี ุปฺปลคพภฺ (ตติยา. ตปั ) นลี ุปฺปลคพฺเภน สมาโน นลี ุปปฺ ลคพภฺ - สมาโน (วณโฺ ณ)

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓ (ฉ. ตุล) นีลุปฺปลคพฺภสมาโน วณฺโณ ยสฺสา สา นีลุปปฺ ลคพภฺ สมานวณฺณ (อุปฺปลวณฺณา เณรี) ฯ ๕. ในวิภาคตัทธิต มีปัจจัยกี่ตัว อะไรบ้าง ท่านใช้ประกอบกับศัพท์ท่ัวไป หรือประกอบเฉพาะศัพท์เหล่าไหน มีวิธีแจกด้วยวิภัตตินาม ทั้ง ๗ อยา่ งไร ? ๕. มี ๒ ตัว คือ ธา โส ฯ ธา ปัจจยั ทา่ นมักใช้ ประกอบกบั ปกติสังขยาเปน็ พืน้ เชน่ เอกธา ทฺวธิ า เป็นต้น แต่ใช้ประกอบกบั ศัพท์อ่นื กม็ ีบ้าง เชน่ พหธุ า ฯ โส ปัจจัย ใช้ประกอบกับนามศัพท์ท่ัวไป เช่น สุตฺตโส สพฺพโส เป็นตน้ ฯ ศัพท์ที่ประกอบด้วยปัจจัยทั้ง ๒ นี้ สาเร็จรูปแล้วจะแจกด้วย วิภัตตินามทั้ง ๗ ให้เป็นรูปไปต่าง ๆ ไม่ได้ คงรูปอยู่อย่างเดิม และ เปน็ ไดแ้ ตต่ ตยิ าวิภัตตอิ ยา่ งเดียว ฯ ๖. การแยกวิภัตติอาขยาติออกเป็น ปรัสสบท และ อัตตโนบท นั้น เพ่ือประสงค์อะไร ? จงแจก กร ธาตุ ลง ณยฺ ปัจจัย ในเหตุกัตตุวาจก เฉพาะกาลาตปิ ัตตวิ ภิ ัติ ปรสั สบท ? ๖. เพ่ือประสงค์จะได้กาหนดรู้วาจก เพราะปรัสสบทเป็นเครื่องหมายใหร้ ู้ กิริยาที่เป็นกัตตุวาจก และ เหตุกัตตุวาจก ส่วนอัตตโนบท เป็น เคร่ืองหมายให้รู้กิรยิ าท่ีเป็น กัมมวาจก และ เหตุกัมมวาจก แต่ทั้งน้ีไม่

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔ แน่นอนตายตัว ประสงค์แต่ท่ีเป็นไปโดยมาก ถ้าจะกาหนดให้แน่ ต้อง อาศัยปจั จยั ประกอบดว้ ย ฯ แจกอย่างนี้ เอก. พหุ. ป. อการยสิ สฺ อการยิสฺสสุ ม. อการยสิ เฺ ส อการยสิ สฺ ถ อุ. อการยิสสฺ อการยิสสฺ ามหฺ า ฯ ๗. ปัจจัยอะไรบ้าง ที่เป็นนามกิตก์ก็ได้ ศัพท์ที่ประกอบด้วยปัจจัยเหล่านี้ แล้ว ไฉนจงึ จะรู้ว่าเป็นนามกติ ก์ หรอื กริ ยิ ากิตก์ ? ๗. ปจั จยั ๓ ตัว คอื ณฺย อนีย ต ฯ ณฺย เป็นปัจจัยแห่งนามกิตก์ ถ้าใช้เป็นศัพท์กล่าวกริยาของนาม ศพั ท์ เป็นกริ ยิ ากิตก์ เชน่ เต จ ภิกฺขู คารยฺหา ฯ อนยี ต เป็นปัจจยั แหง่ กิรยิ ากิตก์ ถา้ ใช้เป็นชอื่ หรอื เปน็ วิเสสนะ ของศพั ทอ์ ่ืน เป็น นามกิตก์ อนยี เชน่ ปณเี ตน ขาทนเี ยน โภชนเี ยน ปริวิสิ ฯ ต เช่น พทุ โฺ ธ โลเก อุปปฺ นโฺ น ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๕ ประโยค ป.ธ. ๓ ปญั หำและเฉลย บำลไี วยำกรณ์ สอบวนั ที่ ๑๖ กุมภำพันธ์ ๒๕๐๑ ------------------------------------ ๑. ท่านมีความรู้ในเร่ืองต่อไปนี้อย่างไรบ้าง วรรค อวรรค มูคพยัญชนะ อฑั ฒสระ จงตอบพร้อมดว้ ยตวั อย่างประกอบ โดยลาดบั ? ๑. พยญั ชนะท่พี วก ๆ กันตามฐานกรณท์ เ่ี กดิ เรยี กว่า วรรค เช่น ก วรรค จ วรรค เป็นตน้ พยัญชนะท่ีเป็นหมู่กันตามฐานกรณ์ท่ีเกิดเรยี กว่า อรววค มี ๘ ตวั คอื ย, ร, ล, ว, ส,ห, ฬ ฯ พยัญชนะวรรคท้ังปวงมูคพยัญชนะไม่มีมาตราเลย คือ เมื่อใช้ เป็นจะสะกดและมีพยัญชนะวรรคตามหลังแล้ว ออกเสียงผสมกับ พยัญชนะตัวหลังไม่ได้ คงเป็นได้แต่ตัวสะกดอย่างเดียว เช่น สกฺโก อจฺจิ วฏฺฏ แต่ถ้าพยัญชนะที่เป็นอรรคตามหลัง ก็เป็น อัฑฒสระ มี เสยี งกึ่งมาตราผสมกับพยญั ชนะตวั หลัง เช่น กตฺวา ตณุ หฺ ี ปญฺหา ส่วนพยัญชนะท่เี ปน็ อรรค ๗ ตัว คือ ย, ร, ล, ว, ส, ห, ฬ เปน็ อฑั ฒสระมีเสยี งกึ่งสระ คือ กึง่ มาตรา เพราะพยัญชนะเหล่านี้บาง ตัวก็รวมลงในสระเดียวกันกับสระอ่ืน เช่น เสฺนโห กฺริยาปท เป็นต้น บางตวั แม้เป็นตัวสะกดกอ็ อกเสียงไดห้ น่อยหน่งึ พอใหร้ ู้ว่าเปน็ ตัวสะกด เช่น คารยหฺ า มุฬโฺ ห เป็นต้น ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๖ ๒. สนธิกริ โิ ยปกรณ์ คืออะไร มเี ทา่ ไร อะไรบ้าง ? อาเทส กบั วิการ ตา่ งกนั อยา่ งไร อยา่ งไหน ไดใ้ นสนธิไหนบ้าง ขอตวั อยา่ งประกอบ ? ๒. สนธกิ ิริโยปกรณ์ คือ วิธีเปน็ อุปการะแกก่ ารทาสนธิ มี ๘ อยา่ งคือ ๑. โลโป ลบ ๒. อาเทโส แปลง ๓. อาคโม ลงตัวอักษร ๔. วิกาโร ทาให้ผดิ จากรูปเดมิ ๕. ปกติ ปกติ ๖. ทโี ฆ ทาใหย้ าว ๗. รสสฺ ทาใหส้ ้ัน ๘. สญโฺ ญโค ซ้อนตวั ฯ ต่างกันอยา่ งนี้ อาเทส ได้แก่ การแปลงสระ แปลงพยัญชนะ หรือ แปลงนิคคหติ เป็นพยญั ชนะ วกิ าร ไดแ้ ก่ การแปลง สระเปน็ สระ อาเทสได้สนธทิ ้ังสาม วกิ ารได้ในสระสนธิอยา่ งเดียว อาเทสสระสนธิ เช่น ปฏิสณฺฐารวุตฺติ - อสฺส เป็น ปฏิสณฐฺ ารวุตยฺ สสฺ , ยถา-เอว เปน็ ยถริว อาเทสพยญั ชนะสนธิ เชน่ ปติ – อุตตฺ รติ วฺ า เป็น ปจจฺ ุตตฺ รติ วฺ า อาเทสนคิ คหติ สนธิ เช่น ธมฺม- จเร เปน็ ธมมฺ ญฺจเร วิการสระสนธิ เช่น มุนิ – อาลโย เป็น มุเนลโย น-อุเปติ เป็น โนเปติ ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๗ ๓. บรรดาศัพท์สังขยาทั้งหมด เป็นนามและลิงค์อะไร ? จงกลับภาษไทย ท่ีวา่ “บดั นี้ ล่วงแลว้ ๒๕๐๑ พรรษา” เป็นภาษาบาลี ? ๓. ในปกติสงั ขยา จดั ตามลาดบั จานวน เปน็ ดังนี้ ตง้ั แต่ เอก ถงึ จตุ จดั เปน็ สรรพนาม ตั้งแต่ ปญฺจ ถงึ อฏฐฺ นวตุ ิ เปน็ คณุ นาม แต่จะจัดเป็นคุณนามทั้งหมดก็ได้ เพราะมุ่งอาการคือแสดง ลักษณะเช่นเดยี วกัน ตั้งแต่ เอก ถึง อฏฐฺ ารส เปน็ ได้ทั้งสามลงิ ค์ ตั้งแต่ เอกูนวีสติ ถงึ อฏฐฺ นวตุ ิ เปน็ อิตถลี ิงคอ์ ย่างเดียว ตั้งแต่ เอกนู สต ถึง ทสสตสหสฺส เป็นนามนาม เป็น นปุงสกลงิ ค์ โกฏิ เป็นนามนาม เป็น อิตถลี ิงค์ ตง้ั แต่ เอกนู สต ถึง โกฏิ ถ้าจะใช้เป็นคุณนาม คือ วิเสสนะ ต้องเข้าเป็นบท พหุพพิหิสมาส เช่น สตมตฺตา อเนกสหลฺส เป็นต้น เปน็ ได้ทงั้ สามลงิ ค์ สว่ นปรู ณสงั ขยา เปน็ คณุ นาม เป็นได้ทัง้ สามลงิ ค์ ฯ แปลเป็นภาษาบาลี ดังน้ี “ อิทานิ เอกสวจฉฺ รตุ ตฺ รปญฺจสตาธิกานิ ทฺวสวจฺสหสฺสานิ อตกิ ฺกตฺตานิ” ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๘ ๔. เทฺวอสีติญาติกุลสหสฺสานิ กว่าจะสาเร็จรูปเป็นอย่างน้ี ต้องผ่านความ เป็นสมาสอะไรบ้าง จงตัง้ วิเคราะหม์ าโดยลาดบั ? ๔. เทวฺ อสีติญาตกิ ลุ สหสสฺ านิ เปน็ อส. ทิค.ุ มี ฉ. ตปฺ ๒ ช้ัน และ อส. ทคิ ุ. เป็นภายใน ดงั นี้ ฉ. ตป.ฺ ญาตีน กลุ านิ ญาติกุลานิ ฉ. ตป.ฺ ญาตกิ ลุ าน สหสฺสานิ ญาตกิ ุลสหสสฺ านิ อส. ทิค.ุ อสิติ ญาตกิ ลุ สหสฺสานิ อสติ ิญาติกลุ สหสฺสานิ อส. ทคิ ุ. เทวฺ อสิตญิ าติกลุ สหสฺสานิ ทฺวอสติ ิญาติ กลุ สหสสฺ านิ ฯ ๕. ตัทธิต คืออะไร โดยย่อมีเท่าไร ปัจจัยในภาวตัทธิตท้ังสิ้น เป็นลิงค์ อะไรบ้าง เหฏฺฐิโม และ ธิติมา เป็นตัทธิตและปัจจัยอะไร จงต้ัง วิเคราะห์ ? ๕. ตัทธิต คือ ปัจจัยหมู่หนึ่ง เป็นประโยชน์เก้ือกูลแกเ่ นื้อความย่อสาหรบั แทนศัพท์ เพ่ือย่อคาพูดลงให้ส้ัน โดยย่อมี ๓ คือ สามัญญตัทธิต ๑ ภาวตทั ธิต ๑ อพั ยยตัทธติ ๑ ฯ เป็นอิตถีลิงค์ และ นปุงสกลงิ ค์ ฯ เหฏฐฺ โม ลง อมิ ปัจจัย ในชาตาทิตทั ธิต. ว.ิ เหฏฺฐา ชาโต เหฏฺฐโม ธติ มิ า ลง มนฺตุ ปจั จยั ในตทัสสัตถติ ัทธติ ว.ิ ธติ ิ อสสฺ อตถฺ ตี ิ ธิตมิ า ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๙ ๖. วาจก คืออะไร วิธีที่จะจาวาจกได้แม่นยานั้น ต้องอาศัยอะไร จง ประกอบศัพท์เหล่านี้ พุทฺธสาสนิก สปฺปุริส สพฺพ เมตฺต กร ธาตุ ให้ได้ ทุกวาจก เวน้ ภาววาจก ? ๖. วาจก คือ กิริยาศัพท์ที่กล่าวบทที่เป็นประธานของกิริยา ๕ อย่าง ซึ่งประกอบดว้ ย วภิ ตั ติ ธาตุ ปจั จัย ฯ ตอ้ งอาศัยปจั จยั ฯ กตั ตวุ าจก. พุทธฺ สาสนิกา สปฺปุริสา สพฺเพสุ เมตฺต กโรนฺติ, กัมมวาจก. พุทฺธสาสนิเกหิ สปฺปุริเสหิ สพฺเพสุ เมตฺตา กริยเต, เหตกุ ัตตุวาจก พุทฺธสาสนกิ า สปปฺ รุ สิ า สพเฺ พ เมตฺต กา ราเปนฺติ เหตกุ ัมมวาจก พุทฺธสาสนิเกหิ สปฺปุริเสหิ สพฺเพ เมตฺตา การาปยิ เต ฯ ๗. ปัจจัยกิตก์ ที่ใช้เป็นกริ ยิ าคมุ พากยไ์ ด้ มกี ต่ี วั อะไรบา้ ง ยกอุทาหรณ์ มา ประกอบทกุ ๆ ตัวทอ่ี า้ ง ? ๗. มี ๔ ตวั คือ ณยฺ , อนยี , ตพฺพ, และ ต ฯ ณยฺ เชน่ เต จ ภิกฺขู คำรยฺหำ. อนีย เชน่ สิกฺขา กรณียำ. ตพพฺ เช่น เอวญหฺ ิ โน สิกฺขติ พฺพ. ต เชน่ พุทฺเธ กกุ มเฺ ม ปกต มยา ย.

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๑๐ ประโยค ป.ธ. ๓ ปญั หำและเฉลย บำลไี วยำกรณ์ สอบวนั ท่ี ๗ มนี ำคม ๒๕๐๒ --------------------------- ๑. ทา่ นผศู้ ึกษา ทา่ นมีความรใู้ นเรือ่ งตอ่ ไปนี้ อย่างไรบา้ ง สระ, พยัญชนะ, ทฆี ะ, รสั สะ, ครุ, ลห,ุ วรรณะ, อวรรค, และ อนุสาร ฯ ๑. สระ ไดแ้ ก่ เสียงมี ๘ ตวั คือ อ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ฯ พยัญชนะ ได้แก่ ตัวหนังสือ มี ๓๓ ตัว มี ก เป็นต้น มี อ เป็นทีส่ ุด ฯ ทฆี ะ ได้แก่ สระท่มี ีเสียงยาว คือ อา อี อู เอ โอ ฯ รสั สะ ได้แก่ สระทม่ี เี สยี งสัน้ คอื อ อิ อุ ฯ ครุ ได้แก่ สระที่เป็นทีฆะล้วน หรือรัสสะที่มี พยัญชนะสังโยค หรือ นิคคหิต อยู่เบื้องหลัง เชน่ ภปู าโล, จติ ตฺ , เป็นตน้ ฯ ลหุ ได้แก่ สระท่ีเป็นรัสสะล้วน ไม่มีพยัญชนะ สงั โยค และนคิ คหิตอยูเ่ บื้องหลงั เชน่ ปลิ, มนุ ิ เป็นตน้ ฯ วรรณะ ได้แก่ สระท่ีจัดเป็นคู่ ๆ กัน คือ อ อา เรยี กว่า อวณโฺ ณ, อิ อี เรยี กวา่ อวิ ณฺโณ, อุ อู เรยี กวา่ อุวณฺโณ ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๑๑ วรรค ได้แก่ พยัญชนะท่ีท่านจัดเป็นพวก ๆ ตามฐาน กรณ์ที่เกิดของตน จัดเป็น ๕ วรรค มี ก วรรค เป็นต้น ฯ อวรรค ได้แก่ พยัญชนะท่ีไม่จัดเป็นพวกเป็นหมู่กัน ตามฐานกรณ์ทีเ่ กดิ คอื ย ร ว ส ห ฬ ฯ อนสุ าร ได้แก่ พยัญชนะ คือ อ แปลว่า ไปตามสระ คือ ต้องไปตามหลังสระที่เป็นรัสสะ อ อิ อุ เสมอ เชน่ อห, อกาสึ, เสํตุ ฯ ๒. ในสระสนธิ เมอื่ ลบแลว้ อย่างไรตอ้ งทีฆะ อยา่ งไรไม่ตอ้ ง, โนเปติ เป็น ทีฆสนธิ ใชไ่ หม เพราะเหตุไร ฯ ๒. ถ้าลบสระยาว หรือสระส้ันทมี่ ีรปู เสมอกัน ตอ้ งทีฆะสระส้ันทีไ่ ม่ได้ลบ เช่น สทฺธา + อิธ เปน็ สทธฺ ีธ, ตตฺร + อย เปน็ ตตรฺาย, ถ้าลบสระ ท่ีมรี ปู ไมเ่ สมอกัน ไมต่ ้องทฆี ะสระทีไ่ ม่ไดล้ บก็ได้ เช่น จตหู ิ + อปาเยหิ เปน็ จตูหปาเยหิ ฯ ไม่ใช่ เพราะทีฆะ ท่านประสงคท์ าสระสนั้ ให้ยาว เช่น อ เปน็ อา, อิ เป็น อี, อุ เป็น อู, ถ้าเอา อิ เป็น เอ, เอา อุ เป็น โอ เชน่ น้ี ท่าน เรียกวา่ “วกิ าร” ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๑๒ ๓. สพั พนามคืออะไร แบ่งเป็นเท่าไร อะไรบ้าง ? อำจรโิ ย ม นิจจฺ เมว โอวทติ อนสุ ำสติ โส หิ มยหุ วุฑฒฺ ึ ฯ อภิญฺญำย โข โส ภควำ ธมฺม เทเสติ โน อภิญฺญำย ฯ ขอทราบว่า ต ศัพท์ท้ัง ๒ นั้น เป็น สพั พนาม ชนิดไหน เพราะเหตุไร ฯ ๓. สัพพนาม คือ คาสาหรับใช้แทนนามนามที่ออกชื่อมาแล้วข้างตน้ เพือ่ มิ ใหเ้ ป็นการซา้ ๆ ซาก ๆ ซ่งึ ไมเ่ พราะหู แบ่งเปน็ ๒ คอื ปุริสสพั พนาม ๑ วเิ สสนสัพพนาม ๑ ฯ ต ศัพท์ ในประโยคตน้ เป็นปุริสสพั นาม, ในประโยคหลงั เป็น วิเสสนสัพพนาม เพราะ ต ศัพท์ ท่ีใช้โดยลาพังโดดเดี่ยวไม่มนี ามหรอื ตุมฺห, อมหฺ ศพั ท์อยู่ดว้ ย ใชแ้ ทนประถมบุรุษ ท่กี ล่าวมาแล้วข้างต้น น้ัน ตรงกับคาท่ใี ช้ในภาษษของเราว่า ท่าน, เธอ, เขา, มนั จดั เป็น ปุริสสัพพนาม, สว่ น ต ศพั ท์ ทีม่ ี นาม หรอื ตุมหฺ , หรือ อมหฺ ศัพท์ กากับอยู่ด้วย เปน็ คุณศัพทแ์ ละแปลวา่ “ น้ัน ” จัดเป็นวเิ สสสนสพั พนาม ฯ ๔. สมาสต่างจากสนธิอย่างไร ? โภชนุปฺปตฺติฐำนชำนน, มหำภิกฺขุสงฺฆ- ปริวโุ ต (ภควา) เป็นสมาสอะไรบา้ ง จงตงั้ วิเคราะห์มาโดยลาดบั ๔. สมาสต่างจากสนธอิ ย่างนี้ คือ สมาส ได้แก่ การย่อนามศัพท์ตั้งแต่ ๒ ศัพท์ เข้าเปน็ บทเดยี วกัน แปลได้ความตามอรรถรสของภาษา ไดล้ บ วภิ ตั ตศิ ัพท์หน้าบ้าง ไมล่ บบ้าง เช่น เสฏฺฐิปตุ โฺ ต, เทวานมนิ ฺโท เปน็ ต้น, ส่วนสนธินั้น ได้แก่ การตัดต่อ และ อักขระให้เน่ืองกันด้วย อักขระ เพ่อื ยน่ อักขระให้น้อยลง เป็นอปุ การะในการแต่งฉันทแ์ ละทา ใหค้ าพดู สละสรวย เช่น อธคิ โต โข มยำย ธมโฺ ม เปน็ ต้น

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๑๓ โภชนุปฺปตฺติฐำนชำนน เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีฉัฏฐีตัปปุริส สมาส และ วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลาดับ ดงั น้ี ฉฏั ฐ.ี ตปั . โภชนาน อุปปฺ ตตฺ ิ โภชนปุ ฺปตตฺ ิ (ฐาน) ว.ิ บพุ พ. กัมม โภชนุปปฺ ตตฺ ิ ฐาน โภชนุปปฺ ตฺตฏิ ฺฐานชานน ฉัฏฺฐ.ี ตัป. โภชชนุปฺปติฏฺฐานสฺส ชานน โภชชนุปฺปติฏฺ- ฐานชานน มหำภิกฺขุสงฺฆปริวุโต (ภควา) เปน็ ตตยิ าตัปปุริสสมาส มีฉฏั ฐีตัป ปุริสมาส และ วิเสสนบุพพบท กมั มธารยสมาส เปน็ ภายใน มวี เิ คราะห์ ตามลาดบั ดังน้ี ฉัฏฐี. ตัป. ภิกฺขูน สงฺโฆ ภิกขฺ สุ งโฺ ฆ วิ. บพุ พ. กัมม ฉฏั ฐ.ี ตัป. มหนโฺ ต จ โส ภิกฺขุ จาติ มหาภกิ ฺขุสงโฺ ฆ มหาภกิ ฺขุสงเฺ ฆน ปรวิ ุโต มหาภิกขฺ ุสงฆฺ ปรวิ ุโต (ภควา) ฯ ๕. คาว่า “ตัทธิต” ท่านผูกวิเคระห์ว่าอย่างไร ? วนฺตุ กับ มนฺตุ ปัจจัย ในตทัสสัตถิตัทธิต ท่านนิยมใช้ต่างกันอย่างไร ในเมื่อลงประกอบกับ นามศัพท์ ยกอุทาหรณม์ าประกอบ ฯ ๕. คาวา่ “ตทั ธิต” ท่านวเิ คราะห์ไว้วา่ “ตสฺส หติ ตทฺธติ ” ฯ วนตฺ ุ และ มนฺตุ ปัจจัย ท่านนยิ มใช้ตา่ งกนั ดังนี้ นามศพั ท์ที่เป็น อ หรือ อา การันต์ ท่านนิยมใช้ วนฺตุ ประกอบ เช่น คุณวา, ปญฺญวา,

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๑๔ นามศัพท์ท่ีเป็น อิ และ อุ การันต์ ท่านนิยมใช้ มนฺตุ ปัจจัย ประกอบ เช่น ธิตมิ า, อายสมฺ า ฯ ๖. ปจั จยั อาขยาต กบั ปัจจยั นามกิตก์ ใช้ตา่ งกันอยา่ งไร ? จงแจก ชิ ธาตุ ในกตั ตวุ าจก เฉพาะวัตตมานาวิภัตติ ปรสั สบทมาดู ? ๖. ใชต้ า่ งกันอย่างนี้ ปัจจัยในอาขยาตใช้ลงประกอบกับ ธาตุ และนาม นามบ้าง คุณนามบ้าง เช่น ภวติ, ปุตฺติยติ, จิรายติ และเป็น เคร่ืองหมายให้รู้วาจก ส่วนปัจจัยในนาม หมายแทนวภิ ัตตินาม บ้าง เช่น กาํต,ุ กาตฺเว เป็นตน้ ฯ แจกอย่างนี้ ชินาติ ชินนฺติ ชนิ าสิ ชินาถ ชินามิ ชนิ าม ๗. ปัจจัยกิริยากิตก์ มีกี่ตัว อะไรบ้าง ? ปัจจัยไหนใช้ในวาจกอะไร จงแจกมาดู ? ๗. มี ๑๐ ตวั อนฺต, ตวนฺต,ุ ตาวี ใชไ้ ด้ ๒ วาจก คอื กตั ตุ, เหตุกตั ตุ อนีย, ตพฺพ ใชไ้ ด้ ๓ วาจก คอื ภาว, กมั ม, เหตุกมั ม อกี ๕ ตัว คือ มาน, ต, ตนู , ตวฺ า, ตฺวาน ใช้ไดท้ ้งั ๕ วาจก ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๑๕ ประโยค ป.ธ. ๓ ปัญหำและเฉลย บำลไี วยำกรณ์ สอบวนั ที่ ๒๔ กมุ ภำพันธ์ ๒๕๐๓ --------------------------- ๑. อักขระภาษาบาลีมีเท่าไร พวกไหนไดช้ ่ือว่า นิสสัย และพวกไหนได้ ชื่อว่า นิสสิต เหตุไรจึงได้ช่ือว่าอย่างน้ัน ฯ ย ร ล ส ห ฬ ใช้ เปน็ ตัวสะกดได้หรอื ไม่ ถา้ ได้ใชใ้ นทีเ่ ช่นไร ฯ ๑. อักขรภาษาบาลีมี ๔๑ ตัว สระ ๘ ตัวข้างต้นได้ช่ือว่า “นิสสัย” เพราะเป็นทอ่ี าศยั ของพยญั ชนะ คือ ช่วยทาให้พยญั ชนะออกเสียงได้ พยัญชนะ ๓๓ ตัวข้างท้าย ได้ช่ือว่า “นิสิต” เพราะต้องอาศยั สระ ๘ ตัวข้างตน้ จงึ จะออกเสียงได้ ฯ ร กับ ห ใช้เปย็ ตวั สะกดไมไ่ ดเ้ ลย ย ล ว ส ฬ เชน่ เสยโฺ ย, ปคคฺ ยฺห, สสลฺ , กลยฺ าณ, ชิวหฺ า, สิสโฺ ส, รฬุ โฺ ห เปน็ ตน้ ฯ ๒. สนธิ คืออะไร มเี ท่าไร อะไรบ้าง ฯ ศัพท์ท่สี มาสแลว้ จะเขา้ สนธิซ้า อกี ได้ หรือไม่ ถ้าได้ จงยกอทุ าหรณ์มาประกอบ ฯ ๒. สนธิ คือ การตอ่ อักษรทอ่ี ยคู่ าอ่นื ใหเ้ นื่องเปน็ อันเดยี วกนั เชน่ ตตฺร + อย เปน็ ตตรฺ าย เปน็ ต้น ฯ มี ๓ คอื สระสนธิ ๑ พยญั ชนะสนธิ ๑ นคิ คหติ สนธิ ๑ ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๑๖ จะสนธิซ้าอีกครั้งหนงึ่ ก็ได้ เช่น กตอุปกาโร หิริโอตฺตปฺปํ เป็น ศพั ท์ทสี่ มาสแล้ว สนธิซ้าอกี เป็น กโตปกาโร หโิ รตฺตปฺปํ เป็นต้น ๓. จงบอกคาท่ีขีดเส้นใต้ ในประโยคต่อไปน้ี ว่าเป็นนามชนิดไหน และ ลิงค์ วจนะ วภิ ัตตอิ ะไร เอกนู วสิ ติ ปุริสา นหฺ านาย นทึ คตา, จตสฺโส วาณชิ สสฺ ธีตโร, ตำ ญำติกำน กุล คตา ฯ ๓. เอกูนวีสติ เป็น สงั ขยาคุณนาม อิตถลี งิ ค์ เอกวจนะ ปฐมาวิภตั ติ นทิ ึ เปน็ นามนาม อติ ถลี งิ ค์ เอกวจนะ ทุตยิ าวิภัตติ จตสฺโส เป็น สังขยาสัพพนาม อติ ถีลิงค์ พหวุ จนะ ปฐมาวภิ ัตติ ตา เปน็ ปรุ ิสสัพพนาม อิตถีลิงค์ พหุวจนะ ปฐมาวิภตั ติ ญาตกิ าน เปน็ นามนาม อิตถีลิงค์ พหุวจนะ ปฐมาวิภัตติ ฯ ๔. นีลุปฺปลคพฺภสมานวณฺณา (อุปฺปลวณฺณาเถรี) และ สาตฺถินา (เทสนา) เปน็ สมาส อะไรบ้าง จงตัง้ วเิ คราะหม์ าดู ฯ ๔. นีลุปฺปลคพฺภสมำนวณฺณำ ( อุปฺปลวณฺณาเถรี ) เป็นฉัฏฐีตุล ยาธิกรณพหุพพิหิสมาส มีวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส ฉัฏฐี ตัปปุริสสมาส และ ตติยาตัปปุริสสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลาดบั ดงั น้ี ว.ิ บพุ . กัมม. นีล อปุ ฺปล นลี ปุ ปฺ ล ฉฏั ฐ.ี ตัป. นลี ปุ ฺปลสฺส คพฺภ นีลุปปฺ ลคพฺภ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๑๗ ตติ. ตัป. นีลปุ แฺ ลคพฺเภน สมาโน นลี ุปฺปคพภฺ สมาโน ฉฏั ฐี. ตุล. พหุพ. (วณโฺ ณ) สาตฺถนิ า (เทสนา) นลี ปุ ฺปคพฺภสมาโน วณฺโณ ยสสฺ า สา นีลุปฺปลคพฺภสมานวณฺณา (อุปฺปลวณฺณา เถรี ) เป็น สหบุพพบท พหุพพิหิสมาส มี วิเคราะห์ดังนี้ สห อตฺเถน ยา วตฺตตีติ สาตถฺ ิกา (เทสนา) ฯ ๕. ตัทธิตโดยย่อมีเท่าไร อะไรบ้าง เพราะเหตุไร จึงจัดอย่างนน้ั ฯ สา กุณิโก เป็น ตทั ธิตไหน จงตั้งวเิ คราะห์มาดู ฯ ๕. ตัทธติ โดยย่อมี ๓ คอื สามญั ญตทั ธติ , ภาวตทั ธิต และอัพยยตัทธติ ท่ีจัดเช่นน้ัน เพราะจัดตามลักษณะลักษณะของตัทธิต กล่าวคือ สามัญญตัทธิต เป็นตัทธิตสามัญ ใช้ปัจจัยลงแทนศัพท์ได้ท่ัวไป, ภาวตัทธิต ใช้ปัจจัยลงแทนเฉพาะ “ภาว” ศัพท์, อัพยยตัทธิต ใช้ปัจจยั ลงแทนศพั ทแ์ ล้วสาเรจ็ รปู เป็นอัพยยศัพท์ แจกวิภัตติไมไ่ ด้ ฯ สำกุณิโก เป็นตรัตยาธิตัทธิต มีวิเคราะห์ว่า สกุเณ หนฺตฺวา ชีวตีติ สากณุ ิโก (ชโน) ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๑๘ ๖. ประโยคต่อไปน้ี ถูกหรือผดิ ตามหลักไวยากรณ์ ถา้ เห็นวา่ ผิด จงแก้ ให้ถูก ก. รญเฺ ญ อาคเต สพฺพา ชนา ปกกฺ มยิ นเฺ ต ฯ ข. อย อติ ถฺ ี อตตฺ โน สามิเก มเต อญฺญํ สามิก ลพฺภิ ฯ ค. อถสสฺ อปรภาเค อฏฺฐนี ิ ภินทฺ ึสุ ฯ ฆ. เอสา อิตฺถี นทิยาย ตติ ถฺ คโต ฯ ง. เอกา กุมาริกา ปรสิ มชฺเฌ ธมมฺ สุณนฺโต นิสีทสึ ุ ฯ ๖. แกด้ งั น้ี ก. รญเฺ ญ อาคเต สพฺเพ ชนา ปกฺกมยิ นฺเต ฯ ข. อย อติ ฺถี อตฺตโน สามิเก มเต อญฺญํ สามกิ สภิ ฯ ค. อถสสฺ อปรภาเค อฏฺฐนี ิ ภิชชฺ สึ ุ ฯ ฆ. เอสา อิตถฺ ี นทิยาย ตติ ฺถ คตำ ฯ ง. เอกา กุมาริกา ปริสมชเฺ ฌ ธมฺม สุณนฺตี นิสที ิ. ฯ ๗. ปัจจัยนามกติ ก์ กับ ปจั จยั อาขยาต ใช้ต่างกนั อยา่ งไร ฯ ธมฺมจารินี (ภกิ ขฺ นุ ี) ทายกิ า (อติ ถฺ ี) ลงปจั จัยอะไร ตัง้ วเิ คราะห์มาดู ฯ ๗. ใช้ต่างกันอย่างนี้ คือ ปัจจัยในนามกิตก์ ใช้ประกอบกับธาตุอย่าง เดียว เป็นเครอ่ื งหมายให้รู้สาธนะ และใช้เป็นเครอื่ งหมายแทนวิภัตติ นามบ้าง เชน่ กาํตุ กาเตเฺ ว เป็นตน้

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๑๙ ส่วนปัจจัยอาขยาตน้ัน ใช้ลงประกอบกับ ธาตุบ้าง นามนาม บา้ ง คุณนามบ้าง เชน่ ภวติ ปุตฺติยติ จริ ยาติ และเป็นเครื่องหมาย ใหร้ ูว้ าจกได้แม่นยา ฯ ธมมฺ จำรนิ ี ลง ณี ปัจจยั มีวิเคราะหว์ า่ ธมมฺ จรติ สีเลนาติ ธมฺมจารนิ ี (ภกิ ขฺ นุ )ี ทำยิกำ ลง ณฺวุ ปัจจัย มีวเิ คราะหว์ า่ เทตีติ ทายกิ า (อติ ถฺ ี) ฯ พระกติ ติวงศเ์ วที วัดเบญจมบพติ ร แตง่ . สมเด็จพระวนั รัต ตรวจแก้.

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๐ ประโยค ป.ธ. ๓ ปญั หำและเฉลย บำลีไวยำกรณ์ สอบวันที่ ๑๒ กมุ ภำพนั ธ์ ๒๕๐๔ --------------------------- ๑. อัฑฒสระ คืออะไร เพราะเหตุไร จึงเรียกอย่างน้ัน ตัวไหนใช้เป็น ตัวสะกดไม่ได้ และตัวไหนใช้เป็นตัวสะกดได้ ในที่เช่นไร จงตอบ พร้อมดว้ ยยกอุทาหรณ์ ฯ ๑. คือ พยญั ชนะท่ีมีเสียงก่งึ สระ คอื ก่งึ มาตรา ทา่ นกาหนดไว้ ๗ ตวั ได้แก่ ย ร ล ว ส ห ฬ เพราะพยัญชนะเหล่าน้ี บาง ตวั กร็ วมลงในสระเดียวกันกับพยญั ชนะอ่นื ออกเสยี งพร้อมกันได้ บาง ตวั แมเ้ ป็นตัวสะกดก็คงออกเสียงหน่อยหนึ่ง พอใหร้ ู้วา่ เปน็ ตัวสะกด ฯ พยัญชนะ ๒ ตัว คือ ร ห ใช้เป็นตัวสะกดไม่ได้ ได้แต่ ออกเสียงผสมกบั พยัญชนะอืน่ เชน่ ภทโฺ ร พรฺ หมฺ า, ทีใ่ ชเ้ ป็นตัวสะกด ได้ คือ ย ล ว ส ฬ ในที่ที่ซ้อนหน้าพยัญชนะอื่น เช่น มยฺห กลฺยาณี ชวิ หฺ า ตสฺมา มุฬฺโห เป็นต้น ฯ ๒. สนธิ กับ สมาส มีประโยชนอ์ ย่างไร และสนธไิ หน ไม่ใชส้ นธกิ ิริโย ปกรณอ์ ะไร ฯ สาวโกหมสมฺ ิ ตัดบทอย่างไร เปน็ สนธอิ ะไรบา้ ง ฯ ๒. สนธิ มีประโยชน์เพ่ือย่นอักขระให้น้อยลง เป็นอุปการะในการแต่ง ฉันท์ และทาคาพูดให้สละสลวย ส่วนสมาสมีประโยชน์สาหรับตัด

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๑ ทอนวิภัตติและย่อศัพท์ให้น้อยลงเพื่อสะดวกในการประกอบวิภัตติ เพ่ือจะให้เนื้อความเข้ากันทางสัมพันธ์ และเพ่ือใชศ้ พั ท์ให้น้อยลง ฯ สระสนธิ ไม่ใช้ สญฺโญโค, พยัญชนะสนธิ ไม่ใช้ วิกาโร ทีโฆ รสฺส, นิคคหิตสนธิ ไม่ใช้ วกิ ารโร ทีโฆ รสสฺ สญโฺ ญโค ฯ สำวโกหมสฺมิ ตดั เป็น สาวโก–อห–อสฺมิ ระหวา่ ง สาวโก–อห ตอ่ กบั ลบ อ สระเบ้ืองปลาย สนธิเขา้ เป็น สาวโกห เปน็ โลปสระสนธิ ระหว่าง สาวโกห–อสฺมิ ต่อกนั สระเบ้อื งปลาย แปลงนคิ คหิตเปน็ ม สนธิเข้ากนั เป็น สาวโกหมสมฺ ิ เป็นอาเทสนิคคหติ สนธิ ฯ ๓. สังขยา คืออะไร ท่านจัดเป็น นาม ลิงค์ และ วจนะ ไว้ อยา่ งไร ฯ ภาษาไทยว่า “ ๒๕๐๔ ปี” ภาษาบาลวี ่าอย่างไร ฯ ๓. คือ ศพั ทท์ เ่ี ปน็ เคร่อื งหมายกาหนดนับนามนาม ฯ ท่านจดั ไว้อย่างน้ี คอื ปกตสิ งั ขยา แบ่งเป็นนาม ดังนี้ ตั้งแต่ เอก ถึง จตุ เปน็ สพั พนาม ตั้งแต่ ปญจฺ ถงึ อฏฺฐารส เป็น คณุ นาม ตัง้ แต่ อฏฺฐนวตุ ิ ข้ึนไป เปน็ นามนาม แบ่งเปน็ ลิงค์ ดงั นี้ ตง้ั แต่ เอก ถงึ อฏฐฺ ารส เป็น ไตรลงิ ค์ ตงั้ แต่ เอกนู วสี ติ ถึง อฏฐฺ นวตุ ิ เปน็ อติ ถลี งิ ค์

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๒ ตัง้ แต่ เอกูนสตถึง ทสสตสหสฺส เป็น นํปสุ กลงิ ค์ ตั้งแต่ โกฏิ ขึ้นไป เปน็ อติ ถีลิงค์ แบ่งเปน็ วจนะ ดังน้ี ตงั้ แต่ เอก ขนึ้ ไป เป็น เอกวจนะ ตั้งแต่ ทฺวิ ถึง อฏฐฺ ารสเปน็ พหุวจนะ ตง้ั แต่ เอกูนวสี ติ ถงึ อฏฐฺ นวุติ เป็น เอกวจนะ ตง้ั แต่ เอกูนสต ขึน้ ไป เป็น ทววฺ ิวจนะ ส่วนปูรณสังขยา ท่านจัดเป็นคุณนามอย่างเดียว เป็นไตรลิงค์ และเป็นเอกวจนะอย่างเดียว ฯ ภาษาบาลีว่า “จตุสวจฺฉรุตฺตรปญฺจสตาธิกานิ เทฺว สวจฺฉรสหสฺ- สานิ” ฯ ๔. สมาสอะไรบ้าง นิยมแปลงเป็นนปํุสกลิงค์ เอกวจนะอย่างเดียว จะ ทราบได้อย่างไรว่าเป็นสมาสไหน ฯ อุปสนฺตราคาทิกฺกิเลโส (ขีณาส โว) เปน็ สมาสอะไรบ้าง จงตั้งวิเคราะห์มาดูตามลาดับ ฯ ๔. ไดแ้ ก่ สมหารทิคุ สมาหารทวันทว และ อัพยยภี าวสมาส ฯ ทราบไดโ้ ดยนิยมตา่ งกนั แหง่ สมาสเหลา่ นนั้ ดังนี้ สมาหารทิคุ ต้องมีสังขยาบทหน้า บทหลังเป็นประธาน ฯ สมาหารทวันทว ใช้นามล้วนตั้งแต่ ๒ ศัพท์ขึ้นไป เป็น ประธานท้ังส้นิ ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๓ ส่วนอัพยยีภาวสมาสต้องมีอุปสัค หรือ นิบาต เป็นบทหน้า และใชเ้ ปน็ ประธานของบทหลังดว้ ย ฯ อุปสนฺตรำคำทิกฺกิเลโส ( ขีณาสโว ) เป็น ฉัฏฐีตุลยาธิกรณ พหุพพิหิสมาส มีวิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส และฉัฏฐีตุลยาธิก รณพหพุ พหิ สิ มาส เป็นภายใน มีวเิ คราะห์ดังต่อไปนี้ ฉ. ตุล. ว.ิ ราโค อาทิ เยส เต ราคาทโย (กิเลสา) ว.ิ บุพพ. กัมม ว.ิ ราคาทโย กิเลสา ราคาทิกฺกเิ ลสา1 ฉ. ตุล. วิ. อุปสนฺตา ราคาทกิ กฺ เิ ลสา ยสฺส โส อปุ สนตฺ - ราคาทิกฺกเิ ลโส (ขีณาสโว) ฯ ๕. ปัจจัยในตัทธิตท่ีนิยมลงกับสังขยา มีก่ีตัว ๆ ไหนนิยมลงกับ สังขยาจานวนเท่าไร หรือใช้ลงได้ท่ัวไป ฯ วิกล (บกพร่อง) ประกอบดว้ ย ณยฺ ปัจจยั จะสาเรจ็ รูปอย่างไร จงวิเคราะหม์ าดู ฯ ๕. มีปัจจัย ๖ ตัว คือ ปูรณสังขยา ๕ ตัว ได้แก่ ติย ถ ฐ ม อี, ในสังขยาตทั ธติ มี ๑ ตวั คอื ก ฯ นยิ มใชล้ งกบั สงั ขยาดงั ต่อไปน้ี ตยิ ใชล้ งกบั สังขยาจานวน ทฺวิ กับ ติ ถ ใชล้ งกับสังขยาจานวน จตุ ฐ ใชล้ งกบั สงั ขยาจานวน ฉ ๑ ว.ิ แบบศพั ทศาสตร์วา่ ราคาทโย จ เต กิเลสา จาติ ราคาทกิ ฺกิเลสา

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๔ ม ใชล้ งกบั สงั ขยาท่เี หลอื ทงั้ หมด อี ใช้ลงกับสังขยาจานวน ต้ังแต่ เอกาทส ถึง อฏฺฐารส เฉพาะที่เป็นวิเสสนของอิตถีลิงค์เท่านั้น ส่วนที่เป็นวิเสสน ของลงิ ค์อ่ืน คงลงด้วย ม ปจั จยั สว่ น ก ปจั จัย ใชล้ งกบั ปกติสังขยาไดท้ ่วั ไป ฯ สาเร็จรปู เป็น “เวกสลฺ ” วิ วกิ ลสฺส ภาโว เวกสฺล ฯ ๖. อาคมในอาขยาต กับ อาคมในพยัญชนะสนธิ มีอะไรบ้าง และนยิ ม ลงได้ในที่เช่นไร ฯ จงแจก จิ ธาตุ ในกัตตุวาจก วัตตมานาวิภัตติ เฉพาะปรสั สบท มาดู ฯ ๖. อาคมในอาขยาตมี ๕ ตวั คือ อ อิ ส ห อ ฯ นิยมลงในที่ดังน้ี อ อำคม ลงหน้าธาตุที่ประกอบด้วยวิภัตติหมวด หิยตฺตนี อชฺชตฺตนี กาลาตปิ ตตฺ ิ อิ อำคม ลงท้ายธาตุและปัจจัยท่ีประกอบด้วยวิภัตติหมวด อชชฺ ตฺตนี ภวิสสฺ นฺติ กาลาติปตฺติ ส อำคม ลงท้ายธาตุที่ประกอบด้วยวิภัตติหมวด อชฺชตฺตนี ในหมวดธาตุทั้งปวง ห อำคม ลงทา้ ย ฐา ธาตุ ใชล้ งได้ไมน่ ิยมหมวดวิภัตติ นิคคหิต อำคม ใชล้ งกับธาตุ หมวด รุธฺ ธาตุ แล้วอาเทสเป็น พยัญชนะทสี่ ุดวรรค ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๕ อาคมในพยญั ชนะสนธมิ ี ๘ ตัว คอื ย ว ม ท น ต ร ฬ ฯ นยิ มลงในฐานะที่มีสระอยู่เบ้ืองหลงั เช่น ยถา-อิท เป็น ยถายทิ ฉ-อายตน เปน็ ฉฬายตน เปน็ ตน้ ฯ แจกดังน้ี เอก. พหุ. จินาติ จินนฺติ จนิ าสิ จนิ าถ จินามิ จนิ าม ฯ ๗. ตนู าทปิ ัจจัย คืออะไร ในฐานนะเชน่ ไร นยิ มแปลงเปน็ ย ในฐานะ เช่นไร ต้องอาเทส ย เป็นอยา่ งอนื่ ต่อไปอกี และในฐานะเชน่ ไร คง รูป ย ไว้ จงตอบพร้อมยกตัวอย่าง ฯ ธมฺมวาที (เถโร) เป็นรูป และ สาธนะอะไรได้บา้ ง จงตัง้ วเิ คราะหม์ าดู ฯ ๗. คือ ปัจจยั มี ตนู ปจั จยั เป็นตน้ หมายถึงปจั จัย ๓ ตัว คอื ตนู ตวฺ า ตวฺ าน ฯ ในฐานนะที่มีอปุ สคั นาหนา้ นยิ มแปลงปจั จัย ๓ ตวั นี้ เป็น ย ได้ เช่น ป-หา-ตูนาทิ เปน็ ปหาย เปน็ ตน้ ฯ ในฐานะเหลา่ น้ี ตอ้ งอาเทส ย เป็น อยา่ งอ่นื ตอ่ ไปอีก คอื ธาตุที่มี ม เป็นท่ีสุด นิยมแปลง ย กับท่ีสุดธาตุเป็น มฺม เช่น อภิ-รมฺ-ย เปน็ อภิรมมฺ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๖ ธาตุที่มี ท เป็นที่สุด นิยมแปลง ย กับท่ีสุดธาตุ เป็น ชฺช เชน่ ป – มทฺ - ย เปน็ ปมชชฺ ธาตุที่มี ภ เปน็ ที่สุด นิยมแปลง ย กับท่ีสดุ ธาตุ เปน็ พภฺ เชน่ อา – รภฺ - ย เปน็ อารภฺพ ธาตทุ ีม่ ี ห เป็นท่สี ดุ นยิ มแปลง ย กับที่สุดธาตุ เป็น ยหฺ เชน่ อา – รุหฺ - ย เปน็ อารยุ หฺ ฯ ในฐานะที่ธาตุมี อา เป็นที่สุด คงรูปเป็น ย ไว้ เช่น อา – ทา – ย เปน็ อาทาย ฯ และนิยมแปลงกับท่ีสุดธาตุบางตัวแม้ไม่มีอุปสัคนาหน้าได้บ้าง เช่น วธิ ฺ – ย เปน็ วิทฺธา และ ลภฺ – ย เปน็ ลทธฺ า เป็นตน้ ฯ เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ, กัตตุรูป ตัสสีลสาธนะ, และเป็น สมาสรปู ตัสสลี สาธนะ มวี ิเคราะห์ดงั ตอ่ ไปน้ี กตั ต.ุ กตั ตุ. วิ. ธมมฺ วทตีติ ธมมฺ วาที (เถโร) กัตต.ุ ตสั สลี . ว.ิ ธมฺม วทติ สีเลนาติ ธมมฺ วาที (เถโร) สมาสรูป. ตสั สลี วิ. ธมฺม วตฺตุ สีลมสฺสาติธมฺมวาที (เถโร) ฯ พระศรีวสิ ุทธิวงศ์ วดั เบญจมบพติ ร เรยี บเรียง. องคก์ ารศกึ ษา ตรวจ.

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๗ ประโยค ป.ธ. ๓ ปัญหำและเฉลย บำลีไวยำกรณ์ สอบวนั ที่ ๓ มนี ำคม ๒๕๐๕ --------------------------- ๑. ฐานกรณ์ คอื อะไร ? พยัญชนะไหนบา้ งทเี่ กดิ ที่คอ ? ห พยญั ชนะ ในคาวา่ ปญโฺ ห เกิดในฐานไหน เพราะเหตุไร ? ๑. ฐาน คอื ที่ตง้ั ท่ีเกิดของอักขระ ฯ กรณ์ คือที่ทาอกั ขระ ฯ ก ข ค ฆ ง ห เกดิ ในคอ ฯ ห พยัญชนะ ในคาว่า “ปญฺโห” นั้น เกิดแต่อก เพราะ ห พยัญชนะทปี่ ระกอบเกดิ ในคอตามฐานเดมิ ของตน ๒. ในสนธิ ๓ อย่าง ตา่ งกม็ อี าเทสสนธิกริ โิ ยปกรณ์ดว้ ยกนั มีขอ้ สังเกต ให้เห็นว่าต่างกันอย่างไร ? คาต่อไปนี้เมื่อสนธิแล้ว ได้รูปเป็น อย่างไร นตฺถิ – เอต, ปฏิ – อาคจฉฺ ต,ิ สเมตุ – อายสฺมา, ต – เอว ฯ ๒. มขี ้อสังเกตให้เหน็ ว่าต่างกนั ดังน้ี อาเทสในสระสนธิ หมายถึงการแปลง สระเป็นพยัญชนะ เช่น ตยฺ สฺส (เต + อสสฺ ) ในพยญั ชนะสนธิ หมายถงึ การแปลง สระเปน็ พยญั ชนะ เชน่ อิจฺ เจว (อิติ + เอว แปลง ตฺย ซึง่ เป็นอาเทสสระสนธิกอ่ นแลว้ เปน็ จจฺ )

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๘ ในนคิ คหิตสนธิ หมายถงึ การแปลง นิคคหติ เปน็ พยัญชนะ เช่น ธมมฺ ญจฺ เร (ธมมฺ + จเร) ฯ คาตอ่ ไปนเี้ มอื่ เข้าสนธิแล้วได้รูปดังต่อไปน้ี นตถฺ ิ – เอต เปน็ นตเฺ ถต ปฏิ – อาคจฺฉติ เปน็ ปจจฺ าคจฉฺ ติ สเมตุ – อายสฺมา เปน็ สเมตายสฺมา ต – เอว เปน็ ตญเฺ ญว, ตเทว, และ ตเมว ฯ ๓. จงประกอบสังขยาแทนตวั เลขทแ่ี สดงไว้ ให้ถูกต้องตามหลกั ไวยากรณ์ ก. ๓ อุปปฺ ลานิ อุทเก ชาตานิ ฯ ข. ๑๙ นารโิ ย นหานาย นทึ คตา ฯ ค. ๒๓ กุมาราน อาจริโย คาม ปวิฏโฺ ฐ ฯ ฆ. ๓๓ ชนาน ลาโภ อปุ ฺปนฺโน ฯ ง. ตสสฺ ขนี าสวาน ๑๐๐,๐๐๐ ปรวิ าโร ฯ ๓. ประกอบสงั ขยาไดด้ ังน้ี ก. ตณิ ิ อปุ ปฺ ลานิ อุทเก ชาตานิ ฯ ข. เอกนู วสี ติ นาริโย นหานาย นทึ คตา ฯ ค. เตวีสติยำ กุมาราน อาจริโย คาม ปวฏิ ฺโฐ ฯ ฆ. เตตตฺ ึสำย ชนาน ลาโภ อุปฺปนฺโน ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๒๙ ง. ตสฺส ขีนาสวาน สตสหสสฺ ปริวาโร ฯ ๔. สมาส ตา่ งจาก สนธิ อย่างไร ฯ ปวตตฺ ติ ปวรธมฺมจกโฺ ก (ภควา) อมาตา- ปิตสุ วฑฺโฒ (กกุ กฺ ุโฏ) เปน็ สมาสอะไรบ้าง จงตั้งวเิ คราะหม์ าดู ฯ ๔. สมาสต่างจากสนธอิ ยา่ งน้ี คอื สมาส ได้แก่ การย่อนามศพั ท์ ตง้ั แต่ ๒ ศัพท์ ขึ้นไปเข้าเป็นบทเดียวกัน โดยลบวิภัตติศัพท์หน้าบ้าง ไม่ ลบบา้ ง เชน่ เสฏฺฐิปุตโต, เทวานมนิ โฺ ท เป็นต้น สว่ นสนธนิ นั้ ไดแ้ ก่ การต่อศัพท์และอักขระให้เน่ืองกันด้วยอักขระ เพื่อย่นอักขระให้ น้อยลง เป็นอุปการะในการแต่งฉันท์ และคาพูดให้สละสลวยดีข้ึน เชน่ วตุ ฺตมปฺ ิ เจต เป็นตน้ ฯ ปวตฺติตปวรธมฺมจกฺโก (ภควำ) เป็นตติยาตุลยาธิกรณ พหุพพิหสมาส มีอวธารณ-บุพพบท กัมมธารยสมาส และ วิเสสน บุพพบท กมั มธารยสมาส เปน็ ภายใน ต้งั วเิ คราะห์ ตามลาดับดังน้ี อว. กัมม. วิ. ธมโฺ ม เอว จกกฺ ธมฺมจกฺก วิ. บุพพ. กมั ม. วิ. ปวร ธมมฺ จกฺก ปวรธมมฺ จกกฺ ตต.ิ ตุล. พหหุ . วิ. ปวตฺติต ปวรธมฺมจกฺก ก เยน โส ปวตฺ ตติ ปวรธมมฺ จกฺโก (ภควา) อมำตำปิตุสวฑฺโฒ (กกุ กฺ ุโฏ) เปน็ ฉฏั ฐีตปั ปรุ ิส มชั เฌโลปสมาส มีอสมาหารทวันทว และ อุภยตัปปุริสมาส เป็นภายใน มีวิเคราะห์ ตามลาดบั ดังต่อไปนี้ อสมหาร ทวันทว. วิ. มาตา จ ปติ า จ มาตาปติ โร อุภย. ตปั . วิ. น มาตาปติ โร อมาตาปติ โร

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๐ ฉัฏฐี. ตัป. มัชเฌโลป วิ. อมาตาปิตูน สนฺติเก สวฑฺโฒ อมาตาปิตสุ วฑฺโฒ (กุกกฺ ุโฏ) ฯ ๕. ในตทสั สตั ถิตทั ธติ มปี จั จยั กี่ตัว อะไรบ้าง ใช้แทนศพั ท์อะไร ? นิยม ประกอบในศัพท์ต่างกันอย่างไร ? สทฺโธ ลงปัจจัยอะไร จงตั้ง วเิ คราะหม์ าด้วย ๕. ในตทสั สัตถติ ัทธิต มปี จั จยั ๙ ตัว คอื วี ส สี อิก อี ร วนฺตุ มนฺ ตุ ณ, ใชล้ งแทน “อตฺถิ” ศพั ท์ นยิ มประกอบในศพั ท์ต่างกันดงั นี้ วี นิยมลงลประกอบกับศัพท์ที่เป็น อา การันต์ อิตถีลิงค์ เช่น เมธาวี, มายาวี ฯ สี นิยมลงประกอบกับศัพทม์ โนคณะบางศัพท์ เชน่ ตปสี, ยสสี ฯ วนฺตุ นยิ มลงประกอบกบั ศพั ท์ที่เป็น อ อา การรันต์ เชน่ สลี วา, ปญญฺ วา ฯ มนฺตุ นิยมลงประกอบกับศัพท์ท่ีเป็น อิ อุ การันต์ เช่น สติมา, จกฺขุมา ฯ สว่ นปัจจยั นอกนไี้ ม่นยิ มแนน่ อนสุดแตจ่ ะเหมาะ ฯ สทโฺ ธ ลง ณ ปัจจัย มีวเิ คราะหด์ ังน้ี สทฺธา อสสฺ อตฺถีติ สทโฺ ธ ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๑ ๖. จงประกอบธาตใุ นวงเวบ็ เป็นกิริยาอาขยาต (ปัจจุบันกาล) ให้ถูกต้อง ตามหลกั ไวยากรณ์ ก. มหาปฐวี เทฺวธา (ภิท) ฯ ข. (ทา) ปน เต คหปติ กุเล ทาน ฯ ค. กินเฺ ต (ลภ) ฯ ฆ. สลี วา ทกุ ฺขา (มุจ) ฯ ง. สามเณเรน อย สาฏโก (คห) ฯ ๖. ประกอบดังน้ี ก. มหาปฐวี เทฺวธา ภชิ ชฺ ติ ฯ ข. ทียติ (ทยิ ยฺ ต)ิ ปน เต คหปติ กเุ ล ทาน ฯ ค. กนิ ฺเต (ลพฺภติ) ฯ ฆ. สลี วา ทุกฺขา (มุจจฺ ต)ิ ฯ ง. สามเณเรน อย สาฏโก (คยฺหติ) ฯ ๗. กิริยากิตก์ มีเคร่ืองประกอบต่างจากกิริยาอาขยาตอย่างไร ฯ อนฺต มาน ปัจจัย บอกกาลอะไร และเม่ือกิริยาของนามท่ีเป็นอิตถีลิงค์ ต้องทาอย่างไร ฯ นพิ ฺพานคามนิ ี (ปฏิปทา) ลง ปัจจยั อะไร จงตง้ั วิเคราะหม์ าดู ฯ ๗. กิริยากิตก์ประกอบด้วยวิภัตติ กาล วจนะ ธาตุ วาจก ปัจจัย เหมือน อาขยาต ตา่ งแต่ไมม่ ี บท และ บรุ ษุ เทา่ นน้ั ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๒ อนฺต มาน ปัจจัย บอกปัจจุบันกาล เม่ือเป็นกิรยิ าของนามที่ เป็นอติ ถลี ิงค์ อนตฺ ตอ้ งลง อี ปัจจยั เครื่องหมายอิตถีลิงค์ เชน่ คจฺ ฉมานา แล้วแจกแบบ “กญฺญา” ฯ นพิ พฺ านคามินี (ปฏิปทา ) ลง ณี ปจั จยั ตั้งวเิ คราะห์ดงั น้ี นิพฺพาน คจฉฺ าเปติ สเี ลนาติ นพิ ฺพานคามนิ ี (ปฏปิ ทา) ฯ พระกิตตวิ งศ์เวที วัดเบญจมบพติ ร เฉลย. องค์การศึกษา ตรวจ.

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๓ ประโยค ป.ธ. ๓ ปญั หำและเฉลย บำลีไวยำกรณ์ สอบ วนั ที่ ๒๐ กุมภำพันธ์ ๒๕๐๖ --------------------------- ๑. ชิวหฺ ามชฺฌ เปน็ กรณ์ของอกั ขระอะไร อักขระเหลา่ น้ี เกดิ ในฐานไหน เรยี กวา่ อะไร ฯ ๑. เป็นกรณ์ของอักขระ ๘ ตวั คอื อิ อี จ ฉ ช ฌ ญ ย อกั ขระ เหล่าน้ี เกิดทเ่ี พดาน เรยี กว่า ตาลุชา ฯ ๒. สนธิกิริโยปกรณ์ คืออะไร สนธิกิริโยปกรณ์อะไรบ้าง ใช้ได้ครบทุก สนธิ ฯ ปณฺฑปุ ลาโสวทานสิ ิ ตัดบทอย่างไร เป็นสนธอิ ะไรบ้าง ฯ ๒. คือ วิธีเป็นอปุ การแก่การทาสนธิ สนธกิ ิรโิ ยปกรณ์ ๔ อยา่ ง คือ โลโป ๑ อาเทโส ๑ อาคโม ๑ ปกติ ๑ ใช้ไดค้ รบทุกสนธิ ฯ ตัดบทเปน็ ปณฑฺ ปุ ลาโส-อิว-อิทานิ-อสิ ระหว่าง ปณฺฑุปลาโส + อิว ต่อกัน ลบ อิ สระเบื้องหนา้ สนธิ เข้าเปน็ ปณฑฺ ุปลาโสว เป็นปรโลปสระสนธิ ระหว่าง ปณฺฑุปลาโสว + อิทานิ ต่อกัน ลบ อิ สระเบ้ืองหน้า สนธิเข้าเป็น ปณฺฑปุ ลาโสวทานิ เปน็ ปรโลปสระสนธิ ระหว่าง ปณฑฺ ปุ ลาโสวทานิ + อสิ ต่อกัน ลบ อ สระเบอ้ื งปลาย สนธิเขา้ เป็น ปณฑฺ ปุ ลาโสวทานิสิ เปน็ ปรโลปสระสนธิ ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๔ ๓. วิเสสนสพั พนาม แบง่ ออกเป็นกี่อยา่ ง ๆ ไหนมศี ัพทอ์ ะไรบา้ ง ฯ อิม กบั อทิ เหมอื นกันหรือตา่ งกนั อยา่ งไร ฯ ๓. แบ่งออกเปน็ ๒ อย่าง คอื (๑) อนิยมวิเสสนสัพพนาม มีศัพท์ ๑๓ ศัพท์ ได้แก่ ย อญฺญ อญญฺ ตร ปร อปร กตร เอก เอกจฺจ สพพฺ กึ อภุ ย (๒) นยิ มวิเสสนสพั พนาม มคี าศัพท์ ได้แก่ ต เอต อิม อิมุ ฯ ทเ่ี หมอื นกนั คือ ศัพท์เดมิ มาจาก อิม ศพั ท์ และเป็นทตุ ิยาวิภัตติ เหมือนกัน ท่ีต่างกัน คือ อม เป็น ได้ครบ ๓ ลิงค์ ส่วน อิท เป็น เฉพาะนปุงสกลิงค์อย่างเดียว และเป็นได้ทั้งปฐมาวภิ ัตติ และทุติยา วิภัตติ ฯ ๔. นบุพพบท กัมมธารยสมาส กับ นบุพพบท พหุพพิหสมาส ต่างกัน อย่างไร จงตอบพร้อมยกอุทาหรณ์ ฯ อปริมาณสีลกฺขนฺธโคปน, ปญจฺ ทสุ สฺ ลี กมมฺ การโก (ปุคคฺ โล) เป็นสมาสอะไรบา้ ง จงต้งั วเิ คราะห์ มาดูตามลาดับ ฯ ๔. ต่างกันอย่างน้ี คือ นบุพพบท กัมมธารยสมาส ใช้ปฏิเสธนาม ซึ่ง แปลว่า สิ่งน้ีไมใ่ ช่สงิ่ นัน้ อ.ุ อนสโฺ ส สตั ว์น้ไี มใ่ ชม้ า้ ส่วน นบุพพบท พหุพพิหสมาส ใช้ปฏิเสธคุณและกิริยา ซึ่ง แปลวา่ มี....หามิได้ หรอื ไม่มี อุ. อปตุ ตฺ โก บคุ คลมบี ุตร หามิได้ หรือ บคุ คลไม่มีบตุ ร ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๕ อปริมำณสีลกฺขนฺธโคปน เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มีนบุพ พบท พหพุ พิหิสมาส วเิ สสนบพุ พบท กมั มธารยสมาส และฉฏั ฐี ตัปปุรสิ มาส เปน็ ภายใน ตงั้ วเิ คราะห์ตามลาดบั ดังนี้ นบุพพ. พหุพ. ว.ิ นตถฺ ิ ตสสฺ ปริมาณนฺติ อปรมิ าณ (สลี ) ว.ิ บุพ. ว.ิ อปรมิ าณ สลี อปริมาณสลี ฉ. ตปั . วิ. อปริมาณสลี าน ขนโฺ ธ อปริมาณสลี กฺขนฺโธ ฉ. ตัป. ว.ิ อปริมาณสลี กฺขนฺธสฺส โคปน อปรมิ าณ สีลกขฺ นฺธโคปน ฯ ปญฺจทุสฺสีลกมฺมกำรโก (ปุคฺคโล) เป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส มอี วธารณบพุ พบท กมั มธารยสมาส วิเสสนบุพพบท กมั มธารย สมาส และ อสมาหารทิคุสมาส เป็นภายใน ต้ังวิเคราะห์ ตามลาดบั ดงั ํนี้ อวธารณ. กมั . ว.ิ สลี เอว กมมฺ สีลกมฺม ว.ิ บพุ . กมั . ว.ิ ทฏุ ฐํ สีลกมฺม ทสุ ฺสีลกมฺม อสมาหารทคิ ุ วิ. ปญฺจ ทุสฺสลี กมฺมานิ ปญจฺ ทุสฺสลี กมมฺ านิ ฉ. ตัป. วิ. ปญฺจทุสฺสีลกมฺมาน การโก ปญฺจทุสฺสีล- กมฺมการโก (ปคุ ฺคโล) ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๖ ๕. ตทั ธติ นั้น วา่ โดยย่อ ท่านแบ่งเปน็ กอ่ี ย่าง มหี ลกั เกณฑ์การแบ่งอย่างไร นาคโร กับ นาครโิ ก ลงปัจจัยในตัทธติ อะไร วิเคราะหม์ าดู ฯ ๕. ว่าโดยย่อ ท่านแบ่งเป็น ๓ อย่าง มีหลักเกณฑ์การแบ่งดังน้ี คือ ตัทธิต ที่ใช้ปัจจัยแทนศัพท์ได้โดยทั่วไป ท้ังท่ีเป็นนามนาม คุณนาม และกิริยา เรียกว่า สามัญญตัทธิต ๑ ตัทธิตที่ใช้ปัจจัย แทนเฉพาะ ภาว ศัพท์ อย่างเดยี ว เรยี กว่า ภาวตทั ธติ ๑ ตทั ธิต ท่ีใช้ปัจจัยสัพพนาม สาเร็จรูปเป็นอัพยยศัพท์ แจกตามวิภัตติท้ัง ๗ ไม่ได้ เรยี กว่า อพั ยยตัทธติ ๑ ฯ นำคโร ลง ณ ปัจจยั ใน ราคาทติ ทั ธิต ว.ิ นคเร วสตีติ นาคโร (ชโน) นคเร วา ชาโต นาคโร (ชโน) ฯ นำคริโก ลง ณิก ปัจจยั ใน ตรตยาทติ ัทธติ วิ. นคเร วสตีติ นาครโิ ก (ชโน) นคเร วา ชาโต นาคโร (ชโน) ฯ ๖. วภิ ัตตินาม กับวิภตั ตอิ าขยาต เหมอื นหรือตา่ งกันอยา่ งไร ฯ จง แจก ญา ธาตุ ในกัตตุวาจก วิภัตติหมวดกาลาติปัตติ เฉพาะปรัสสบท มาดู ฯ ๖. ที่เหมือนกัน คือ วิภัตติทั้งสองนั้น จัดวจนะไว้ ๒ อย่าง เหมอื นกนั ทต่ี า่ งกัน คือ วิภัตตินาม จาแนกไว้ ๗ หมวด ทาหนา้ ที่ แจกนามศัพท์ เพ่ือเป็นเครื่องหมายให้ทราบถึงลิงคื วจนะ การันต์ และอายตนบิ าต ส่วนวภิ ัตตอิ าขยาต จาแนกไว้ ๘ หมวด ทาหนา้ ที่

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๗ แจกมูลศัพท์ฝ่ายกิริยาออกเป็นหมวด ๆ เพื่อเป็นเคร่ืองหมาย ให้ ทราบถงึ กาล บท วจนะ และบุรษุ ฯ แจกอยา่ งน้ี เอก. พห.ุ อชานสิ สฺ า อชานสิ ฺสสุ อชานิสฺเส อชานิสฺสถ อชานิสฺส อชานสิ สฺ ามฺหา ฯ ๗. คาว่า “กิตก์” มีความหมายว่าอย่างไร ฯ ภยทสฺสารี (ภิกฺขุ) เป็นรูป และสาธนะอะไร จงวิเคราะหม์ าดู ฯ ๗. มีความหมายตามพยัญชนะวา่ “ ศัพท์ที่เรี่ยรายด้วยปัจจัยกิตก์ ” มี ความหมายตามอรรถว่า “ ศัพท์ท่ีประกอบด้วยปัจจัยหมู่หนึ่งซึ่ง เป็นเคร่ืองกาหนดหมายเน้ือความของนามศัพท์และกิริยาศัพท์ที่ ตา่ งกัน ” ฯ เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะก็ได้ กัตตุรูป ตัสสีลสาธนะก็ได้ สมาสรปู ตสั สลี สาธนะกไ็ ด้ มวี ิเคราะหด์ งั น้ี กัตต.ุ กตั ตุ. วิ. ภย ปสฺสตีติ ภยทสฺสารี (ภิกขฺ ุ) กัตต.ุ ตสั สลี . ว.ิ ภย ปสฺสติ สีเลนาติ ภยทสฺสารี (ภกิ ฺขุ) สมาสรปู . ตัสสีล วิ. ภย ปสสฺ ํติ ุ สีลมสฺสาติ ภยทสฺสารี (ภิกขฺ ุ) ฯ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๘ ประโยค ป.ธ. ๓ ปญั หำและเฉลย บำลีไวยำกรณ์ สอบวันที่ ๑๐ กุมภำพนั ธ์ ๒๕๐๗ --------------------------- ๑. อกั ขระ พยัญชนะ สระ แปลว่าอะไร หมายถงึ อะไร พยญั ชนะอะไรบา้ ง มีเสยี งดังก้องกว่าพยญั ชนะอ่นื ท้ังหมด ทา่ นจัดเข้าไว้ในหมไู่ หน ฯ ๑. อกั ขระ แปลวา่ ไมร่ ู้จกั ส้นิ อย่าง ๑ ไม่เปน็ ของแข็งอย่าง ๑ หมายถึง เสียงอยา่ ง ๑ ตวั หนงั สืออย่าง ๑ ฯ พยัญชนะ แปลวา่ ทาเนื้อความให้ปรากฏ หมายถึง ๓๓ ตัว มตี วั ก เปน็ ตน้ มี อ เป็นทส่ี ดุ ฯ สระ แปลว่า ออกเสียงได้ตามลาพัง ตนเอง และทาพยัญชนะ ให้ออกเสยี งได้ หมายถึงอักขระเบ้อื งต้น ๘ ตวั มี อ เปน็ ต้น มี โอ เปน็ ท่สี ุด ฯ ไดแ้ กพ่ ยญั ชนะที่ ๔ ในวรรคทง้ั ๕ คอื ฆ ฌ ฒ ธ ภ ทา่ น จดั เขา้ ไว้ในหมู่ธนิตโฆสะ ฯ ๒. อาคโม เป็นสนธิกิริโยปกรณ์ในอะไรบ้างและในสนธิน้ัน ๆ มี หลกั เกณฑก์ ารลงอาคมอย่างไร จงตอบพร้อมยกตวั อย่าง ฯ ตปนตฺ - มาทจิ จฺ มวิ นตฺ ลกิ เฺ ขติ ตดั บทอยา่ งไร ฯ เปน็ สนธิอะไรบ้าง ฯ ๒. เปน็ สนธกิ ิริโยปกรณไ์ ด้ครบท้งั ๓ สนธิ คอื

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๓๙ ในสระสนธิ มีหลักเกณฑ์การลงอาคมอยา่ งน้ี ถา้ สระ โอ อยูห่ น้า พยัญชนะอยู่หลัง ลบ โอ เสียแล้วลง อ อาคมได้บ้าง เช่น โส-สีลวา เป็นต้น, ถ้าพยัญชนะอยู่หลัง ลบ โอ อาคมได้บ้าง เช่น ปร–สหสฺส เปน็ ปโรสหสสฺ เป็นต้น ฯ ในพยญั ชนะสนธิ มีหลกั เกณฑก์ ารลงอาคมไวอ้ ยา่ งนี้ ถา้ มีสระ อยู่เบ้ืองหลัง ลงพยัญชนะอาคม ๘ ตัว คือ ย ว ม ท น ต ร ฬ ได้ บา้ ง เชน่ ย อาคม ยถา – อิท เปน็ ยถายิท, ว อาคม อุ – ทิกฺขติ เปน็ วทิ ิกขฺ ต,ิ ม อาคม ครุ – เอสฺสติ เป็น ครุเมสสฺ ต,ิ ท อาคม อตตฺ – อตฺโถ เป็น อตตฺ ทตโฺ ถ, น อาคม อโิ ต – อายติ เปน็ อโิ ตนายต,ิ ต อาคม ตสฺมา – อหิ เปน็ ตสมฺ าตหิ , ร อาคม สพฺภิ – เอว เป็น สพภฺ ิเรว, ฬ อาคม ฉ – อายตน เปน็ ฉฬายตน ฯ ในนิคคหิตสนธิ มีหลักเกณฑ์ในการลงอาคมไว้อยา่ งน้ี เมื่อมีสระ ก็ดี พยัญชนะก็ดี อยู่เบ้ืองหลัง ลงนิคคหิตอาคมได้บ้าง เช่น จกฺขุ – อทุ ปาทิ เป็น จกํขฺ อุ ุทปาท,ิ อว – สิโร เปน็ อวสิโร เป็นต้น ฯ ตัดบทเปน็ ตปนตฺ – อาทจิ ฺจ – อวิ – อนฺตลิกเฺ ข – อติ

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๐ ระหวา่ ง ตปนตฺ + อาทจิ ฺจ + อิว ตอ่ กนั มสี ระเบอ้ื งหลงั แปลง นิคคหิตทั้งสองเป็น ม แล้วสนธิเป็น ตปนฺตมาทิจฺจมิว เป็นอาเทส นคิ คหติ สนธิ ระหว่าง ตปนฺตมาทิจฺจมิว + อนฺตลิกฺเข ต่อกัน ลบสระ อ ที่สุด ศัพท์หน้าแล้วสนธิเป็น ตปนฺตมาทิจฺจมิวนฺตลิกฺเข เป็นปุพพโลปสระ สนธิ ระหว่าง ตปนฺตมาทิจฺจมิวนฺตลิกฺเข + อิติ ต่อกัน ลบ อิ สระ เบื้องปลายเสียแล้วสนธิเข้าเป็น ตปนฺตมาทิจฺจมิวนฺตลิกฺเขติ เป็น ปรโลปสระสนธิ ฯ ๓. สังขยา คืออะไร ท่านจัดเป็นนาม ลิงค์ และวจนะ ไว้อย่างไร ฯ ภาษาไทยว่า “บัดนี้ล่วงแล้ว ๒๕๐๗ ปี” ประกอบเป็นภาษาบาลีว่า อย่างไร ฯ ๓. คอื ศพั ทท์ ่เี ปน็ เครือ่ งหมายกาหนดนับนามนาม ฯ ปกติสงั ขยาท่านจดั เป็นนามไว้ อย่างนี้ ตง้ั แต่ เอก ถงึ จตุ เป็น สัพพนาม ตงั้ แต่ ปญจฺ ถึง อฏฐฺ ารสเป็น คุณนาม ตง้ั แต่ อฏฺฐนวุติ ขน้ึ ไป เปน็ นามนาม ทา่ นจัดเป็นลงิ ค์ไว้ อย่างนี้ ตงั้ แต่ เอก ถงึ อฏฐฺ ารส เปน็ ไตรลิงค์ ต้ังแต่ เอกูนวสี ติ ถงึ อฏฐฺ นวตุ ิ เปน็ อติ ถีลงิ ค์

ปั ญ ห ำ - เ ฉ ล ย วิ ช ำ บ ำ ลี ไ ว ย ำ ก ร ณ์ ป . ธ . ๓ | ๔๑ ตงั้ แต่ เอกนู สต ถงึ ทสสตสหสสฺ เป็นนํปสุ กลงิ ค์ ตง้ั แต่ โกฏิ ขนึ้ ไป เปน็ อติ ถีลิงค์ ทา่ นจดั เปน็ วจนะไว้ อยา่ งน้ี ตั้งแต่ เอก ขนึ้ ไป เป็น เอกวจนะ ตงั้ แต่ ทวฺ ิ ถึง อฏฐฺ ารสเปน็ พหุวจนะ ตั้งแต่ เอกูนวีสติ ถึง อฏฐฺ นวตุ ิ เป็น เอกวจนะ ตั้งแต่ เอกูนสต ขน้ึ ไป เป็น ทววฺ วิ จนะ ส่วนปูรณสังขยา ท่านจัดเป็นคุณนามอย่างเดียว เป็นไตรลิงค์ และเปน็ เอกวจนะอย่างเดยี ว ฯ ภาษาบาลีว่า “สตฺตสวจฺฉรุตฺตรปญฺจสตาธิกานิ เทฺว สวจฺฉรสหสฺ- สานิ อิตกฺกนฺตานิ ” ฯ ๔. ศัพทส์ มาส ไดแ้ ก่ ศัพท์พวกไหน ทา่ นจดั เปน็ นามไว้อย่างไร ฯ จตุราสี- ติโยชนสหสฺสคมฺภีโร (นีลมหาสมุทฺโท ) นิพฺพเสวน ( จิตฺต ) เป็น สมาสอะไรบา้ ง จงตงั้ วเิ คราะหต์ ามลาดับ ฯ ๔. ได้แก่ ศัพท์พวกที่ย่อนามศัพท์ต้ังแต่ ๒ ศัพท์ข้ึนไปให้เข้าเป็นบท เดียวกนั โดยมีลิงค์ วจนะ และวิภตั ติเดยี วกนั ฯ ทา่ นจัดเป็นนามไวอ้ ยา่ งน้ี ทวันทวสมาส และ ทคิ ุสมาส จดั เป็น นามล้วน พหุพพิหสมาส จดั เปน็ คุณลว้ น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook