Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระวินัยบัญญัติ

พระวินัยบัญญัติ

Description: พระวินัยบัญญัติ

Search

Read the Text Version

ถ้าภิกษุนั้นซ่ึงเขามิได้ปวารณาไว้ก่อน เข้าไปหาแล้ว กะเกณฑ์เอาจีวรในส�ำนักของเขาเพราะอาศัยความ ต้องการจวี รที่ดวี ่า ดีละ ขอทา่ นทั้งสองจงรวมกนั สัง่ จ่าย จีวรเช่นน้ันเช่นน้ีด้วยทรัพย์เป็นค่าจีวรเฉพาะผืน เหล่าน้ี แล้วให้อาตมาครองจีวรผืนเดียวเถิด เป็นนิสสัคคิย- ปาจิตตีย์” เน้ือความยอ่ ในหนังสือนวโกวาท “ถา้ คฤหสั ถผ์ จู้ ะถวายจวี รแกภ่ กิ ษมุ หี ลายคน แตเ่ ขามใิ ช่ ญาติมิใช่ปวารณา ภิกษุพูดให้เขารวมทุนเข้าเป็นอัน เดียวกัน ให้ซ้ือจีวรที่แพงกว่าดีกว่าท่ีเขาก�ำหนดไว้เดิม ได้มา เปน็ นิสสัคคยิ ปาจติ ตยี ์” อธิบายความ เจตนารมณ์ และอนาปตั ตวิ าร สกิ ขาบทนตี้ า่ งจากสกิ ขาบทที่ ๘ คอื มคี ฤหสั ถส์ องคน รวมกนั เตรยี ม เงนิ ซือ้ จีวรหลายผนื ถวายภกิ ษุรปู เดยี ว ภิกษุไปกะเกณฑ์ใหเ้ ขารวมกนั ซ้อื จวี ร ผืนเดยี วซึง่ ดกี วา่ แพงกวา่ ถวายตน นอกนนั้ มปี ระเดน็ เหมอื นกบั สกิ ขาบทท่ี ๘ แม้เจตนารมณ์ของสิกขาบทนี้และอนาปัตติวาร ก็มีนัยเช่นเดียวกับ สกิ ขาบทที่ ๘ นั่นแล 182 พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี) www.kalyanamitra.org

จวี รวรรค สกิ ขาบทท่ี ๑๐ คำ� แปลพระบาลีทเี่ ป็นพุทธบัญญัติ “อนงึ่ พระราชากด็ ี ราชอำ� มาตยก์ ด็ ี พราหมณก์ ด็ ี คหบดี ก็ดี ส่งทรัพย์เป็นค่าจีวรไปกับทูตเจาะจงภิกษุเท่านั้นว่า เจ้าจงส่ังจ่ายจีวรด้วยทรัพย์เป็นค่าจีวรแล้วยังภิกษุน้ีให้ ครองจวี ร ถา้ ทตู นนั้ เขา้ ไปหาภกิ ษนุ น้ั แลว้ กลา่ วอยา่ งนว้ี า่ ทรพั ยเ์ ปน็ คา่ จวี รนน้ี ำ� มาเจาะจงพระคณุ เจา้ ขอพระคณุ เจา้ จงรบั ทรพั ยเ์ ปน็ คา่ จวี รไว้ ภกิ ษนุ นั้ พงึ กลา่ วตอ่ ทตู นน้ั อยา่ ง นว้ี า่ พวกเรารบั ทรพั ยเ์ ปน็ คา่ จวี รไมไ่ ด้ พวกเรารบั ไดแ้ ตจ่ วี ร อนั เปน็ กปั ปยิ ะตามกาล ถา้ ทตู นน้ั กลา่ วตอ่ ภกิ ษนุ นั้ อยา่ งน้ี ว่า ก็พระคณุ เจา้ มใี ครเป็นไวยาวจั กรไหม ภิกษุผู้ตอ้ งการ จีวรพึงแสดงคนงานวัดหรืออุบาสกให้เป็นไวยาวัจกร ด้วยค�ำว่า คนนั้นแลเป็นไวยาวัจกรของภิกษุท้ังหลาย ถ้าทูตน้ันส่ังไวยาวัจกรให้เข้าใจแล้ว เข้าไปหาภิกษุน้ัน กล่าวอยา่ งนวี้ ่า คนทพ่ี ระคุณเจา้ แสดงเปน็ ไวยาวจั กรนั้น ข้าพเจ้าสั่งให้เข้าใจแล้ว พระคุณเจ้าจงเข้าไปหา เขาจัก ใหพ้ ระคณุ เจา้ ครองจวี รตามกาล ภกิ ษผุ ตู้ อ้ งการจวี รพงึ เขา้ ไปหาไวยาวจั กรแลว้ พงึ ทวง พงึ เตอื น ๒-๓ ครงั้ วา่ อาตมาตอ้ งการจวี ร ภกิ ษเุ มอ่ื ทวง อย่เู ตือนอยู่ ๒-๓ ครั้ง ให้ไวยาวัจกรนนั้ จดั จวี รส�ำเรจ็ ได้ การใหจ้ ัดสำ� เรจ็ ได้ดังน้ี น่ันเปน็ การดี ถา้ ให้จดั ส�ำเร็จไม่ได้ พงึ ยืนนิง่ ตอ่ หนา้ ๔ ครั้ง ๕ ครั้ง ๖ คร้ัง เป็นอยา่ งมาก พระวินัยบัญญัติ 183 www.kalyanamitra.org

เธอเมอ่ื ยืนนงิ่ ต่อหนา้ ๔ คร้งั ๕ ครง้ั ๖ ครงั้ เปน็ อยา่ ง มาก ใหไ้ วยาวัจกรนน้ั จัดจวี รสำ� เรจ็ ได้ การใหจ้ ดั ส�ำเร็จได้ ดังนี้ นั่นเป็นการดี ถ้าให้จัดส�ำเร็จไม่ได้ ถ้าเธอพยายาม ให้ยง่ิ ไปกว่านนั้ จึงให้จดั สำ� เรจ็ ได้ เปน็ นสิ สคั คิยปาจิตตยี ์ ถ้าให้จัดส�ำเร็จไม่ได้ พึงไปเองก็ได้ ส่งทูตไปก็ได้ ใน ส�ำนักท่ีส่งทรัพย์เป็นค่าจีวรมาเพื่อเธอ บอกว่า ท่านส่ง ทรัพย์เป็นค่าจีวรไปเจาะจงภิกษุใด ทรัพย์น้ันหาส�ำเร็จ ประโยชน์แก่ภิกษุรูปนั้นสักน้อยหน่ึงไม่ ท่านจงทวงเอา ทรพั ยข์ องทา่ นคนื ทรัพยข์ องท่านอย่าไดฉ้ บิ หายเสียเลย นีเ้ ป็นการปฏิบตั ชิ อบในเรอื่ งนน้ั ” เนอ้ื ความย่อในหนังสือนวโกวาท “ถ้าใครๆ น�ำทรัพย์มาเพ่ือเป็นค่าจีวรแล้วถามภิกษุ ว่า ใครเป็นไวยาวัจกรของท่าน ถ้าภิกษุต้องการจีวร พึง แสดงคนวัดหรืออุบาสกว่า ผู้น้ีเป็นไวยาวัจกรของภิกษุ ท้ังหลาย คร้ันเขามอบหมายไวยาวัจกรน้ันแล้วส่ังภิกษุว่า ถ้าต้องการจีวร ให้เข้าไปหาไวยาวัจกร ภิกษุน้ันพึงเข้าไป เขาแลว้ ทวงวา่ เราตอ้ งการจีวร ดังน้ี ได้ ๓ ครงั้ ถ้าไมไ่ ด้ จีวร ไปยืนแต่พอเขาเห็นได้ ๖ ครั้ง ถ้าไม่ได้ ยืนไปทวง ให้เกิน ๓ ครั้ง ยืนเกิน ๖ คร้ัง ได้มา ต้องนิสสัคคิย- ปาจิตตีย์ ถ้าไปทวงและยืนครบก�ำหนดแล้วไม่ได้จีวร จ�ำเป็นต้องไปบอกเจ้าของเดิมว่า ของนั้นไม่ส�ำเร็จ ประโยชนแ์ กต่ น ให้เขาเรียกเอาของเขามาเสีย” 184 พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี) www.kalyanamitra.org

อธิบายความโดยยอ่ ค�ำวา่ ไวยาวจั กร คือ ผูท้ �ำกจิ แทนภิกษ,ุ ผทู้ ำ� หน้าท่จี ดั ของท่สี มควร ให้ภิกษุบริโภคใช้สอย หมายถึงผู้ท่ีช่วยขวนขวายท�ำกิจธุระหรือเป็นลูกศิษย์ ช่วยเหลือรับใชภ้ กิ ษุในด้านต่างๆ เรียกอกี อย่างหนง่ึ วา่ กัปปิยการก คอื ผู้ท�ำ ของใหส้ มควร ในปจั จบุ ัน ค�ำวา่ ไวยาวัจกร น้ี ในกฎมหาเถรสมาคมกำ� หนดไวว้ า่ “ไวยาวัจกร หมายถึงคฤหัสถ์ท่ีได้รับแต่งต้ังให้มีหน้าท่ีเบิกจ่ายนิตยภัต และ จะมีอ�ำนาจหน้าที่ดูแลรักษาจัดการทรัพย์สินของวัดได้ ตามที่เจ้าอาวาสมอบ หมายเป็นหนังสือ” และในพระราชบัญญัติคณะสงฆ์กำ� หนดไว้ว่า ไวยาวัจกร เปน็ เจา้ พนกั งานตามความในประมวลกฎหมายอาญา ไวยาวจั กรสองประเภทขา้ งตน้ น้ี สามารถเปน็ ไวยาวจั กรตามสกิ ขาบท นี้ไดท้ กุ คนไป สิกขาบทน้ีเกิดจากการที่เจ้าภาพต้องการถวายปัจจัยเป็นค่าจีวร แก่ภิกษุ แต่ภิกษุรับไม่ได้ จึงบอกเจ้าภาพให้ถวายไว้แก่คนวัดหรืออุบาสกซ่ึง ภิกษุระบุว่าเป็นไวยาวัจกร เจ้าภาพจึงมอบปัจจัยไว้ให้แล้วให้จ่ายเป็นค่าจีวร โดยสั่งว่า เม่ือภิกษุต้องการมาขอรับจีวรพึงถวายไป ต่อมาภิกษุไปทวงจีวร ต่อไวยาวัจกรน้ันโดยขอให้ถวายจีวรเลย แต่ไวยาวัจกรไม่ว่างเพราะต้องรีบ ไปประชุม ภิกษุรบเร้าจะเอาให้ได้ในขณะน้ัน ไวยาวัจกรจึงเสียเวลาจัดจีวร ถวาย ท�ำให้ไปประชุมไม่ทัน จึงถูกปรับเป็นเงินโดยใช่เหตุ เมื่อเกิดเร่ืองข้ึน ท�ำให้ทรงบัญญัติพระวินัยข้อน้ีไว้เพื่อให้เวลาแก่ไวยาวัจกร และเพ่ือมิให้ภิกษุ แสดงอาการรบเรา้ ซ่ึงไม่งาม พระวินัยบัญญัติ 185 www.kalyanamitra.org

ท่ีทรงยืดเวลาให้ภิกษุทวงหรือเตือนไวยาวัจกรได้ ๓ คร้ัง และยืน น่ิงต่อหน้าได้ ๖ คร้ัง น้ันก็เพื่อให้ไวยาวัจกรจัดท�ำจีวรได้เสร็จตามต้องการ เพราะสมัยนน้ั จวี รสำ� เรจ็ รูปหายาก ตอ้ งใชเ้ วลาทำ� พอสมควร หรือไวยาวัจกร ไม่มีเวลาจัดท�ำให้เสร็จโดยเร็วตามต้องการ จึงก�ำหนดการทวงและการยืนได้ หลายครัง้ เจตนารมณข์ องสิกขาบทข้อน้ี สิกขาบทนี้ทรงบัญญัติไว้ เพื่อให้ภิกษุมีวิจารณญาณในการไปทวง จีวรท่ีมีเจ้าภาพถวายผ่านไวยาวัจกร โดยไม่แสดงอาการอันไม่งาม ไปรบเร้า เซ้าซี้บังคับกะเกณฑ์ว่าต้องได้ในขณะน้ันหรือในวันน้ัน เพราะไวยาวัจกรตาม สิกขาบทน้ีนั้นเป็นคนท่ีภิกษุระบุแก่เจ้าภาพว่าเป็นไวยาวัจกร อาจเป็นผู้มี ศรทั ธาจรงิ หรอื ไมม่ ศี รทั ธาก็ได้ ดังนัน้ เขาอาจไม่พรอ้ ม เชน่ ไม่มเี วลาจัดให้ จงึ ทรงอนุญาตให้ทวงหรอื เตือนไดถ้ ึง ๓ ครัง้ และไปยนื นง่ิ ต่อหนา้ ได้ถงึ ๖ ครั้ง ซ่ึงเป็นการยืดหยุ่นที่ยาวนาน หากไม่ได้ด้วยเหตุใดก็ตาม ให้เลิกทวงและเลิก ไปยืน แตใ่ ห้บอกเจ้าภาพใหไ้ ปเรยี กของกลับคืนมาเสยี อนาปัตติวาร ในสิกขาบทน้ี ท่านแสดงภิกษุผู้ได้รับยกเว้นไม่ต้องอาบัติไว้ คือ (๑) ภกิ ษทุ วง ๓ ครัง้ ยนื ๖ ครงั้ (๒) ภกิ ษุทวงไมถ่ งึ ๓ คร้ัง ยนื ไม่ถึง ๖ ครั้ง (๓) ภิกษุไม่ได้ทวง ไวยาวัจกรถวายเอง (๔) เจ้าของทวงเอามาถวาย (๕) ภิกษุผู้วิกลจริต (๖) ภิกษุผู้เป็นต้นบัญญัติ หรืออาทิกัมมิกะ ได้แก่ พระ อุปนันทศากยบตุ ร 186 พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี) www.kalyanamitra.org

โกสิยวรรค หมวดว่าด้วยสนั ถตั ใยไหม โกสิยวรรค สิกขาบทที่ ๑ คำ� แปลพระบาลที ี่เป็นพทุ ธบัญญตั ิ “อนงึ่ ภกิ ษใุ ดใชใ้ หท้ ำ� สนั ถตั เจอื ดว้ ยใยไหม เปน็ นสิ สคั คยิ - ปาจติ ตยี ์” เนอ้ื ความยอ่ ในหนงั สือนวโกวาท “ภกิ ษหุ ลอ่ สนั ถตั ดว้ ยขนเจยี มเจอื ดว้ ยไหม ตอ้ งนสิ สคั คยิ - ปาจติ ตยี ”์ อธบิ ายความโดยยอ่ ค�ำว่า ขนเจียม หมายถงึ ขนแกะ คำ� วา่ สนั ถตั หมายถงึ เครอื่ งลาดชนดิ หนง่ึ เหมอื นพรม ใชเ้ ปน็ ผา้ หรอื อาสนะส�ำหรบั รองนัง่ เปน็ สง่ิ ท่ีเขาหล่อขน้ึ มา มไิ ดท้ อเหมือนพรม โดยเอาขน แกะโรยลงในนำ้� ขา้ วหรอื ยางเหนยี วทพ่ี อใหข้ นเจยี มจบั ตวั กนั แลว้ นำ� ไปรดี หรอื ทับใหเ้ รยี บเป็นแผน่ หนาหรอื บางตามต้องการ เม่ือแห้งแลว้ สามารถนำ� ติดตวั ไปท�ำเปน็ อาสนะได้ พระวินัยบัญญัติ 187 www.kalyanamitra.org

ค�ำว่า ใช้ให้ท�ำ หมายความว่า ท�ำเองก็ตาม ใช้ให้เขาท�ำก็ตาม ซ่ึง สนั ถตั เจอื ดว้ ยใยไหมแมเ้ สน้ เดยี ว เปน็ ทกุ กฏในขณะทำ� เมอ่ื ทำ� เสรจ็ แลว้ สนั ถตั นนั้ เป็นนิสสคั คีย์ ภกิ ษตุ อ้ งปาจติ ตีย์ เจตนารมณข์ องสิกขาบทขอ้ นี้ สกิ ขาบทนท้ี รงบญั ญตั ไิ ว้ เพอ่ื ใหภ้ กิ ษหุ ลอ่ สนั ถตั ดว้ ยขนเจยี มธรรมดา ห้ามมิให้หล่อหรือผสมด้วยใยไหมลงไปแม้เพียงเส้นเดียว เพราะใยไหมได้มา จากการตม้ ตวั ไหม เปน็ การปอ้ งกนั มใิ หต้ วั ไหมตอ้ งตายเพราะการทำ� สนั ถตั ของ ภกิ ษุ และป้องกันมิให้ภิกษตุ ้องฆ่าสตั วซ์ งึ่ เป็นอาบตั อิ ีกขอ้ หน่ึง อนาปตั ตวิ าร ในสิกขาบทน้ี ท่านแสดงภิกษุผู้ได้รับยกเว้นไม่ต้องอาบัติไว้ คือ (๑) ภกิ ษุท�ำสนั ถัตเป็นเพดานก็ดี เปน็ เครอื่ งลาดก็ดี เปน็ ม่านบังกด็ ี เป็นปลอกฟกู ก็ดี เป็นปลอกหมอนก็ดี (๒) ภิกษผุ ูว้ กิ ลจรติ (๓) ภกิ ษผุ ู้เปน็ ต้นบัญญตั ิ หรือ ภกิ ษุอาทกิ ัมมกิ ะ ได้แก่พวกภิกษุฉพั พัคคยี ์ โกสยิ วรรค สิกขาบทท่ี ๒ – ๗ ค�ำแปลพระบาลที ี่เป็นพุทธบญั ญัติ สกิ ขาบทที่ ๒ “อน่ึง ภิกษุใดใช้ให้ทำ� สันถัตด้วยขนเจียมดำ� ล้วน เปน็ นิสสคั คยิ ปาจิตตีย”์ 188 พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี) www.kalyanamitra.org

สิกขาบทท่ี ๓ “อนึ่งภิกษุผู้ใช้ให้ท�ำสันถัตใหม่ พึงเอาขนเจียม ด�ำล้วน ๒ ส่วน ขนเจียมขาวเป็นส่วนที่ ๓ ขนเจียม แดงเปน็ สว่ นท่ี ๔ ถา้ ภกิ ษเุ อาขนเจยี มดำ� ลว้ น ๒ สว่ น ขนเจียมขาวเป็นสว่ นท่ี ๓ ขนเจยี มแดงเป็นส่วนท่ี ๔ เป็นนิสสคั คยิ ปาจติ ตีย”์ สิกขาบทท่ี ๔ “อนง่ึ ภกิ ษใุ ชใ้ หท้ ำ� สนั ถตั ใหมแ่ ลว้ พงึ ใชส้ อยใหไ้ ด้ ๖ ปี ถ้ายังหย่อนกว่า ๖ ปี เธอสละไปแล้วก็ตาม ยงั ไมส่ ละไปกต็ าม ซ่ึงสันถตั นั้น ใช้ให้ท�ำสนั ถตั อืน่ ใหม่ เปน็ นสิ สัคคิยปาจติ ตียเ์ วน้ ไว้แต่ภกิ ษไุ ด้สมมต”ิ สกิ ขาบทที่ ๕ “อนง่ึ ภกิ ษผุ ใู้ ชใ้ หท้ ำ� สนั ถตั สำ� หรบั นง่ั พงึ เอาสนั ถตั เกา่ หนงึ่ คบื สคุ ตโดยรอบมาผสมเพอ่ื ทำ� ใหเ้ สยี สี ถา้ ภกิ ษุ ไม่เอาสันถัตเก่าหนึ่งคืบสุคตโดยรอบมาผสม ใช้ให้ท�ำ สันถัตสำ� หรับนง่ั ใหม่ เปน็ นสิ สัคคยิ ปาจติ ตยี ”์ สิกขาบทท่ี ๖ “อนง่ึ ขนเจยี มเกดิ ขนึ้ แกภ่ กิ ษผุ เู้ ดนิ ทางไกล ภกิ ษุ ต้องการก็พึงรับได้ ครั้นรับแล้ว เม่ือไม่มีคนน�ำไปให้ ควรน�ำไปด้วยมือตนเองสิ้นระยะทาง ๓ โยชน์เป็น พระวินัยบัญญัติ 189 www.kalyanamitra.org

อย่างมาก เม่ือไม่มีคนน�ำไปให้ ถ้าเธอน�ำไปเองเกิน กวา่ นั้น เปน็ นิสสคั คยิ ปาจิตตีย”์ สกิ ขาบทท่ี ๗ “อนง่ึ ภกิ ษใุ ดใชภ้ กิ ษณุ ผี มู้ ใิ ชญ่ าติ ใหซ้ กั กด็ ี ใหย้ อ้ ม ก็ดี ใหส้ างกด็ ี ซง่ึ ขนเจียมเปน็ นสิ สคั คยิ ปาจิตตยี ”์ เนอื้ ความย่อในหนงั สือนวโกวาท สกิ ขาบทที่ ๒ “ภิกษุหล่อสันถัตด้วยขนเจียมด�ำล้วน ต้องนิสสัคคิย- ปาจติ ตีย”์ สิกขาบทท่ี ๓ “ภิกษุจะหล่อสันถัตใหม่ พึงใช้ขนเจียมด�ำ ๒ ส่วน จนเจียมขาวส่วนหนึ่ง ขนเจียมแดงส่วนหน่ึง ถ้าใช้ ขนเจยี มดำ� ใหเ้ กนิ ๒ ส่วนข้นึ ไป ตอ้ งนสิ สัคคยิ ปาจติ ตีย”์ สิกขาบทท่ี ๔ “ภิกษุหล่อสนั ถัตใหมแ่ ล้ว พงึ ใช้ให้ได้ ๖ ปี ถ้ายงั ไมถ่ ึง ๖ ปี หล่อใหม่ ตอ้ งนสิ สคั คยิ ปาจิตตยี ์ เวน้ ไว้แตไ่ ดส้ มมติ” 190 พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี) www.kalyanamitra.org

สกิ ขาบทท่ี ๕ “ภกิ ษจุ ะหลอ่ สตั ถตั พงึ ตดั เอาสนั ถตั เกา่ คบื หนงึ่ โดยรอบ มาปนลงในสันถัตที่หล่อใหม่ เพ่ือจะท�ำลายให้เสียสี ถ้าไมท่ �ำดงั นี้ ต้องนสิ สคั คยิ ปาจิตตยี ์” สกิ ขาบทท่ี ๖ “เมอ่ื ภิกษุเดินทางไกล ถ้ามใี ครถวายขนเจียม ตอ้ งการ ก็รับได้ ถ้าไม่มีใครน�ำมา ได้เพียง ๓ โยชน์ ถ้าให้เกิน ๓ โยชน์ไป ตอ้ งนสิ สคั คิยปาจิตตีย”์ สกิ ขาบทท่ี ๗ “ภิกษุใช้ให้นางภิกษุณีที่มิใช่ญาติ ให้ซักก็ดี ให้ย้อมก็ดี ใหส้ างกด็ ี ซ่งึ ขนเจยี ม ต้องนสิ สัคคิยปาจิตตีย”์ อธิบายความโดยยอ่ และเจตนารมณ์ สิกขาบทที่ ๒ ถึงสกิ ขาบทที่ ๗ เปน็ เรอื่ งของสนั ถตั และมเี น้ือความ ชัดเจนในตวั แตเ่ จตนารมณข์ องแตล่ ะสกิ ขาบทมตี ่างกนั ดังนี้ สิกขาบทที่ ๒ ทรงห้ามท�ำสนั ถัตใหมด่ ้วยขนเจยี มด�ำลว้ น ไม่ทราบ เจตนารมณช์ ัดเจน อาจเป็นเพราะชาวบา้ นเขานยิ มใช้สีด�ำเป็นปกติ ของภกิ ษุ น่าจะให้ต่างไป หรือสีด�ำเป็นสีอัปมงคล ไม่นิยมทั้งคฤหัสถ์และภิกษุก็ได้ หรือ อาจมีเหตผุ ลที่ลึกซงึ้ กว่าน้ีกไ็ ด้ พระวินัยบัญญัติ 191 www.kalyanamitra.org

สกิ ขาบทท่ี ๓ ทรงอนญุ าตใหท้ �ำสันถัตใหมโ่ ดยมีสดี �ำเพยี งสองสว่ น เทา่ นั้น คงตอ้ งการใหม้ สี ีอื่นปะปนอยูด่ ้วย ไมด่ �ำลว้ นซง่ึ หา้ มไวแ้ ลว้ สิกขาบทที่ ๔ ทรงใหภ้ ิกษุใช้สันถัตทีท่ ำ� ใหมใ่ ห้ได้ ๖ ปี เพอื่ ปอ้ งกัน การรบกวนชาวบ้านท่ีต้องท�ำให้ใหม่อยู่ร�่ำไป เพราะปกติชาวบ้านเขาใช้สันถัต คงทน แมจ้ ะถูกเด็กอุจจาระปสั สาวะรด หรือถูกหนกู ัด ก็ยงั อยไู่ ดถ้ งึ ๕-๖ ปี หากภกิ ษใุ ชส้ นั ถตั นอ้ ยวนั นอ้ ยปกี วา่ นน้ั แสดงวา่ ฟมุ่ เฟอื ยหรอื ไมร่ กั ษาของ เวน้ แต่ได้รับสมมติ คอื ภิกษมุ สี นั ถตั หาย เมื่อตอ้ งการท�ำใหม่ สงฆ์ต้องสมมติให้ท�ำ สิกขาบทที่ ๕ ทรงบญั ญัตไิ ว้เชน่ นี้ เพือ่ ปอ้ งกันมใิ ห้ภิกษใุ ช้สนั ถตั ซ่ึง มีสีอันวิจิตรงดงาม และเป็นการสร้างนิสัยให้ภิกษุเห็นความส�ำคัญของสันถัต เก่า โดยควรเก็บไวแ้ ล้วน�ำบางส่วนมาผสมท�ำใหม่ สิกขาบทที่ ๖ ทรงบัญญัติไว้เพื่อป้องกันมิให้ภิกษุผู้เดินทางไกล ต้องหอบหว้ิ ขนเจยี มติดตวั เพราะเปน็ ภาระ และเมื่อชาวบา้ นเหน็ เขา้ กอ็ าจพูด สพั ยอกหยอกเยา้ เลน่ วา่ ขนสง่ิ ของมาไกลเหมอื นพอ่ คา้ ซง่ึ ตน้ เหตขุ องสกิ ขาบท น้ีก็อยู่ที่ภิกษุรูปหนึ่งโดนสัพยอกเช่นน้ีก็เกิดความเก้อเขิน จึงโยนขนเจียมท้ิง เม่อื ไปถึงวดั เชตวัน สิกขาบทที่ ๗ ทรงบัญญัติไว้เพื่อมิให้ภิกษุไปรบกวนภิกษุณีที่มิใช่ ญาติ ซึ่งอาจไม่รู้จกั ไมค่ นุ้ เคย ภกิ ษุณียอ่ มเดือดรอ้ นเมือ่ ถูกใชใ้ หท้ �ำ หรอื อาจ ทำ� ใหเ้ สยี เวลาไปกบั เรอ่ื งน้ี จนละเลยภาระสว่ นตวั คอื การฝกึ อบรมในไตรสกิ ขา คอื อธศิ ีล อธิจิต อธปิ ัญญา ไป 192 พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี) www.kalyanamitra.org

โกสิยวรรค สกิ ขาบทที่ ๘ คำ� แปลพระบาลีทเี่ ปน็ พทุ ธบญั ญัติ “อนึ่ง ภิกษุใดรับก็ดี ให้รับก็ดี ซึ่งทองหรือเงิน หรือ ยนิ ดที องหรือเงนิ ทเ่ี ขาเก็บไวใ้ ห้ เป็นนสิ สคั คยิ ปาจติ ตยี ์” เนอ้ื ความย่อในหนงั สือนวโกวาท “ภกิ ษรุ บั เองกด็ ี ใชใ้ หผ้ อู้ น่ื รบั กด็ ี ซง่ึ ทองและเงนิ หรอื ยนิ ดี ทองและเงนิ ท่เี ขาเกบ็ ไว้เพอื่ ตน ต้องนิสสคั คยิ ปาจิตตยี ์” อธบิ ายความโดยย่อ คำ� วา่ ทอง ตรสั หมายถงึ วตั ถธุ รรมทม่ี สี เี หมอื นพระฉววี รรณของพระ ศาสดา ทรงใช้ศัพทว์ า่ ชาตรูป ซ่ึงหมายถงึ ทองค�ำธรรมชาติ คอื ทองทย่ี งั เปน็ แทง่ หรอื เปน็ ลมิ่ อยู่ หรอื ทองรปู พรรณทขี่ นึ้ รปู เปน็ สรอ้ ยเปน็ เครอ่ื งประดบั ตา่ งๆ คำ� วา่ เงิน ตรัสหมายถงึ กหาปณะ มาสกท่ที �ำด้วยโลหะ มาสกท่ที �ำ ด้วยไม้ มาสกท่ีท�ำด้วยคร่ัง ทรงใช้ศัพท์ว่า รชต ซึ่งใช้เป็นอัตราส�ำหรับแลก เปลยี่ นซื้อขายกันในยุคนน้ั กหาปณะ หมายถึงเงินตรามีพิกัดเท่ากับ ๑ มาสก หรือ ๑ ต�ำลึง (๔ บาท) อาจทำ� ด้วยทองค�ำหรอื ด้วยเงนิ ก็มี มาสก เปน็ ช่ือมาตราเงินสมัยพทุ ธกาล ๕ มาสกเท่ากับ ๑ บาท ใช้ เป็นของแลกเปลยี่ นซ้อื ขายกนั ในยุคนัน้ พระวินัยบัญญัติ 193 www.kalyanamitra.org

ในหนังสอื อรรถกถาพระวนิ ัย ทา่ นขยายความไว้ว่า “มาสกทที่ ำ� ดว้ ยแรท่ องแดงเปน็ ตน้ เรยี กวา่ โลหมาสก ทำ� ดว้ ยไมแ้ กน่ ข้อไม้ไผ่ หรือทำ� ด้วยใบตาลสลักเปน็ รปู เรียกวา่ มาสกไม้ ท�ำด้วยครงั่ ทำ� ดว้ ย ยาง ดุนให้เกิดรปู ขึ้น เรยี กว่า มาสกครั่ง” ใน อรรถกถาพระวนิ ัย นัน้ ได้อธบิ ายเพมิ่ เติมไวว้ า่ “กหาปณะและมาสกที่ใช้เป็นมาตราแลกเปลี่ยนซ้ือขายกันในชนบท โดยท่ีสุดแม้ท�ำด้วยกระดูกบ้าง ท�ำด้วยหนังบ้าง ท�ำด้วยเมล็ดผลไม้บ้าง ดุน ใหเ้ ป็นรูปบา้ ง มิได้ดุนให้เปน็ รูปบ้าง วตั ถุเหลา่ นี้ทง้ั หมด จัดเป็นนิสสัคคยิ วตั ถุ วัตถุเหล่าน้ีคือ มุกดา มณี ไพฑูรย์ สังข์ ศิลา ประพาฬ ทับทิม บษุ ราคมั ธญั ญชาติ ๗ ชนดิ ทาสหญงิ ทาสชาย นา ไร่ สวนดอกไม้ สวนผลไม้ เป็นต้น จดั เป็นวตั ถแุ ห่งทกุ กฏ วตั ถเุ หลา่ น้ี คอื ดา้ ย ผาลไถ ผนื ผา้ ฝา้ ย อปรณั ณชาตมอี เนกประการ และเภสัช มเี นยใส เนยขน้ น�้ำมัน น้�ำผ้งึ นำ้� อ้อยงบ จดั เป็นกปั ปยิ วตั ถุ (ของ ที่ควร) บรรดานสิ สคั คยิ วตั ถแุ ละทกุ กฏวตั ถนุ น้ั ภกิ ษจุ ะรบั นสิ สคั คยิ วตั ถเุ พอ่ื ประโยชน์ตนเอง หรือเพ่ือประโยชน์แก่สงฆ์ คณะ บุคคล และเจดีย์ เป็นต้น ย่อมไม่ควร เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์แก่ภิกษุผู้รับเพื่อประโยชน์แก่ตนเอง เป็น ทุกกฏแก่ภกิ ษผุ ู้รบั เพอื่ ประโยชนแ์ ก่คนทีเ่ หลอื เป็นทกุ กฏอยา่ งเดยี ว แกภ่ ิกษุ ผรู้ บั ทกุ กฏวตั ถุ เพอ่ื ประโยชนท์ กุ อยา่ ง ไมเ่ ปน็ อาบตั ใิ นกปั ปยิ วตั ถุ เปน็ ปาจติ ตยี ์ ดว้ ยอำ� นาจทม่ี าในรตั นสกิ ขาบท แกภ่ กิ ษผุ รู้ บั วตั ถมุ เี งนิ เปน็ ตน้ แมท้ งั้ หมด ดว้ ย หนา้ ทแ่ี ห่งภัณฑาคารกิ (ผูม้ หี นา้ ทจ่ี ดั เกบ็ สิง่ ของ) เพื่อต้องการจะเก็บไว้” คำ� วา่ ยนิ ดดี ้วยทองและเงนิ ท่เี ขาเกบ็ ไวใ้ ห้ ท่านวนิ จิ ฉยั ไวว้ า่ 194 พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี) www.kalyanamitra.org

“เมื่อเขากล่าววา่ อันนีเ้ ปน็ ของพระคณุ เจ้า ถา้ แม้นภกิ ษุยนิ ดดี ้วยจติ เปน็ ผูท้ ่ีจะรบั เอาด้วยกายหรอื วาจา แตป่ ฏิเสธว่าอันน้ีไม่ควร ไม่เป็นอาบตั ิ แม้ ไม่ห้ามด้วยกายและวาจา เป็นผู้มีจิตบริสุทธ์ิ ไม่ยินดีด้วยคิดว่าไม่สมควรแก่ เรา ก็ไม่เปน็ อาบตั ิเหมือนกัน บรรดาไตรทวาร อันภิกษุห้ามแล้วด้วยทวารใดทวารหน่ึง ย่อมเป็น อันห้ามแล้วแท้ แต่ถ้าไม่ห้ามด้วยกายและวาจา รับอยู่ด้วยจิต (คือมีใจยินดี) ย่อมต้องอาบัติในกายทวารวจีทวาร มีการไม่กระท�ำเป็นสมุฏฐาน เพราะไม่ กระทำ� การหา้ มทตี่ นพงึ กระทำ� ดว้ ยกายวาจา ดว้ ยวา่ อาบตั ทิ างมโนทวารไมม่ ”ี มีการอธบิ ายเพมิ่ เตมิ ขน้ึ มาว่า สกิ ขาบทนเ้ี ปน็ อจิตตกะ เร่ืองเงนิ และ ทองน้ีถือเป็นกวดขัน แต่ภายหลังมีพุทธานุญาตในท่ีอื่นให้ผ่อนลงมา คือถ้า คฤหัสถ์เอารูปิยะมอบไว้ในมือกัปปิยการก (คฤหัสถ์ผู้เป็นศิษย์) สั่งไว้ว่า จง จัดของอันเปน็ กัปปยิ ะ (ของท่ถี กู ต้องพระวินยั ) ถวายภิกษุ ส่ิงใดเป็นของควร ทรงอนุญาตให้ยินดีของนั้นซ่ึงเกิดจากรูปิยะนั้นได้ แต่ทรงห้ามมิให้ยินดีรูปิยะ นัน้ กลา่ วคือยนิ ดีในรปู ยิ ะไมไ่ ด้ แต่ถ้าเขาเอารปู ยิ ะนน้ั ไปซอื้ หาแลกเปลย่ี นเป็น อาหารหรอื สิ่งของมาถวาย ก็ยนิ ดหี รอื รบั ไวไ้ ด้ สกิ ขาบทนี้ ถา้ ดตู ามพระบาลที เ่ี ปน็ สกิ ขาบท ดตู น้ บญั ญตั ทิ เ่ี ปน็ เหตุ ให้ทรงบัญญัติสิกขาบทนี้ และดูค�ำอธิบายในสิกขาบทวิภังค์แล้ว ทรงห้าม รบั ชาตรปู คือทองค�ำธรรมชาติ และ รชต คือเงินตรา หรอื กหาปณะ หรอื มาสกซึ่งเปน็ โลหะและวตั ถุที่ใชแ้ ทนเงินตราเป็นหลัก แต่พระอรรถกถาจารย์ในยุคต่อมาโดยเฉพาะพระมหาเถระท่ีอยู่ใน ประเทศศรีลังกาปัจจุบันได้อธิบายขยายความเพ่ิมขึ้นมากมายว่าทองและเงิน น้นั หมายถึงวตั ถสุ ่งิ ของตา่ งๆ ทีใ่ ชแ้ ลกเปล่ยี นแทนเงินตราไดจ้ ัดเปน็ วตั ถตุ อ้ ง ห้ามทงั้ สน้ิ ทง้ั ท่ใี นพระวนิ ัยข้ออนาปตั ตวิ ารมขี ้อยกเวน้ ไวว้ า่ ทองหรอื เงินตก พระวินัยบัญญัติ 195 www.kalyanamitra.org

อยู่ภายในวัดก็ดี ภายในท่ีอยกู่ ็ดี ภกิ ษหุ ยิบยกเองก็ดี ใช้ใหห้ ยบิ ยกก็ดี แลว้ เก็บ ไว้ด้วยตั้งใจว่า เป็นของผู้ใด ผู้น้ันจักมาเอาไป ภิกษุนั้นไม่เป็นอาบัติ หากไม่ เก็บกลับถูกปรับเป็นอาบัติฐานละเลยไม่เก็บง�ำสมบัติของชาวบ้านท่ีเขาลืมไว้ ซ่ึงอาจสูญหายไปได้ ดังเช่นกรณีท่ีพระอานนท์เก็บเคร่ืองประดับมหาลดา- ประสาธน์ของนางวสิ าขาเปน็ ต้น ดงั นน้ั จงึ เกดิ ความสบั สนทง้ั ในการทำ� ความเขา้ ใจ ทงั้ ในการปฏบิ ตั ิ ทง้ั ในการอธบิ ายความ วา่ จะยดึ ถอื ปฏบิ ตั แิ ละทำ� ความเขา้ ใจอยา่ งไรดจี งึ จะถกู ตอ้ ง และเหมาะสม คือจะยึดไปตามข้อพระบัญญัติหรือขยายไปถึงข้อท่ีพระอรรถ- กถาจารยต์ คี วามเพมิ่ เตมิ ไว้ ยงิ่ ในสมยั ปจั จบุ นั สง่ิ ทสี่ ามารถใชแ้ ทนเงนิ ตราไดท้ ี่ โลกนิยมกนั อยู่ เชน่ ธนบัตร เช็ค บัตรเครดิต ใบสัญญา ตราสารหน้ี และอ่นื ๆ ลว้ นเปน็ สง่ิ ทจี่ ำ� เปน็ ในการดำ� เนนิ ชวี ติ และในการพฒั นา ในการบรหิ ารจดั การ กจิ การของหมคู่ ณะและการพระศาสนามาก ซง่ึ เราจะมที างออกกนั อย่างไร ปัญหาน้ีมิใช่เพิ่งเกิดข้ึน แต่เกิดมาแล้วต้ังแต่พระพุทธศาสนายัง มนั่ คงอยทู่ อ่ี นิ เดยี แลว้ กข็ าดการดแู ลเอาใจใส่ จนเลอื่ นขยายออกไปทป่ี ระเทศ ศรีลังกา ประเทศพม่า ประเทศไทย และประเทศอ่ืนๆ และท่ีขยายไปทาง ทิศตะวันตก เช่น ประเทศเปอรเ์ ซียหรอื อหิ รา่ น ประเทศบังคลาเทศปัจจบุ ัน ก็ เจรญิ กา้ วหน้ามายุคหน่งึ แล้วขาดตอนไป เรื่องเหลา่ น้เี ป็นประวตั ศิ าสตรท์ น่ี ่าศกึ ษาวิจัย และส่วนหนึง่ มสี าเหตุ มาจากผลของการตีความสิกขาบทน้ีแล้วยึดติดม่ันคง ท�ำให้เกิดความคิด แตกแยกแล้วก็เกิดการกระท�ำก็แตกแยกตามมา แม้ในส่วนที่ยังม่ันคงอยู่ก็ อาจประสบภาวะเช่นน้ไี ด้ 196 พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี) www.kalyanamitra.org

เจตนารมณ์ของสิกขาบทข้อน้ี สกิ ขาบทนีท้ รงบญั ญตั ไิ ว้ เพอื่ ป้องกนั ภกิ ษุมิใหย้ ินดีรับทองและเงนิ ท่ี เขาถวาย อันจะเปน็ เหตุให้ถูกตำ� หนิตติ ิงได้วา่ ประพฤติเหมอื นพวกคฤหสั ถ์ ที่ มีเงนิ ทอง เก็บเงินทอง หรอื ยินดีเงินทองที่คนอนื่ เก็บไวใ้ ห้ อกี ประการหนง่ึ เมอื่ ภกิ ษรุ บั หรอื ยนิ ดที องและเงนิ อยู่ กย็ งิ่ จะทวคี วาม ปรารถนาย่ิงขึ้นไม่หยุดหย่อน และเป็นเหตุให้สะสมมากข้ึนทุกที อันเป็นการ กระท�ำท่ีไม่เหมาะไม่ควรแก่เพศและจริยาของตน ท้ังเป็นเหตุให้มีความกังวล ท่ีต้องระวังรักษา ไปไหนก็ห่วงใย ไปไม่สะดวกปลอดโปร่งใจ และป้องกันภัย อนั ตรายอันจะเกดิ ขนึ้ จากการมีเงนิ ทองไว้กบั ตวั อนาปัตตวิ าร ในสิกขาบทน้ี ท่านแสดงภิกษุผู้ได้รับยกเว้นไม่ต้องอาบัติไว้ คือ (๑) ทองหรือเงินตกอยู่ภายในวัดก็ดี ภายในที่อยู่ก็ดี ภิกษุหยิบยกเองก็ดี ใช้ให้ หยิบยกกด็ ี แล้วเกบ็ ไวด้ ้วยต้งั ใจวา่ เป็นของผู้ใด ผ้นู ั้นจกั มาเอาไป (๒) ภกิ ษุ ผู้วิกลจริต (๓) ภิกษุผู้เป็นต้นบัญญัติ หรือภิกษุอาทิกัมมิกะ ได้แก่ พระ อุปนันทศากยบุตร โกสยิ วรรค สกิ ขาบทที่ ๙ คำ� แปลพระบาลีทีเ่ ป็นพุทธบญั ญตั ิ “อนง่ึ ภกิ ษุใดทำ� การแลกเปลยี่ นรูปิยะมีประการต่างๆ เป็นนสิ สัคคยิ ปาจิตตยี ”์ พระวินัยบัญญัติ 197 www.kalyanamitra.org

เน้อื ความยอ่ ในหนังสือนวโกวาท “ภกิ ษแุ ลกเปลย่ี นของกบั คฤหสั ถ์ ตอ้ งนสิ สคั คยิ ปาจติ ตยี ”์ อธิบายความโดยย่อ ค�ำว่า รูปิยะ ได้แก่ ทองค�ำ กหาปณะ มาสกที่ท�ำด้วยโลหะ มาสก ที่ท�ำด้วยไม้ มาสกที่ท�ำด้วยครั่ง ซึ่งใช้เป็นอัตราส�ำหรับแลกเปลี่ยนซื้อขายได้ (ดรู ายละเอียดในโกสิยวรรค สิกขาบทท่ี ๘) ค�ำว่า ทำ� การแลกเปลย่ี น หมายถึงการซ้อื ขาย ค�ำว่า มีประการต่างๆ คือ รูปิยะท่ีเป็นรูปพรรณ เช่น เป็นเครื่อง ประดับศีรษะ เป็นเคร่ืองประดับคอ เป็นเครื่องประดับมือ เป็นเคร่ืองประดับ เท้า เปน็ เครือ่ งประดับเอว เปน็ ตน้ บ้าง และรปู ิยะที่ไม่เปน็ รูปพรรณ คือยงั มิได้ เปลีย่ นแปลงรูปทรง ยังคงเป็นล่ิมหรอื เปน็ แทง่ อยู่ สกิ ขาบทนี้ หมายถงึ การเอาทองและเงนิ ไปจา่ ยซอื้ กปั ปยิ บรขิ ารตา่ งๆ จ่ายเปน็ ค่าแรงงาน หรือจ่ายท�ำการอยา่ งอน่ื เจตนารมณ์ของสกิ ขาบทขอ้ น้ี สิกขาบทน้ีทรงบญั ญตั ไิ ว้ เพ่อื ประโยชน์แก่ภกิ ษุ เป็นการป้องกนั มใิ ห้ ภกิ ษรุ บั ทองและเงนิ ตามสกิ ขาบทกอ่ นแลว้ นำ� มาจา่ ยซอื้ สง่ิ ของ หรอื จา่ ยเปน็ คา่ จา้ งท�ำงาน เปน็ ต้น เทา่ กับว่าทรงห้ามไว้สองชั้น 198 พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี) www.kalyanamitra.org

อนาปัตตวิ าร ในสิกขาบทน้ี ท่านแสดงภิกษุผู้ได้รับยกเว้นไม่ต้องอาบัติไว้ คือ (๑) ภกิ ษุผวู้ ิกลจรติ (๒) ภิกษผุ ู้เป็นต้นบัญญัติ หรอื ภิกษอุ าทิกัมมิกะ ได้แก่ พวก ภกิ ษุฉพั พคั คยี ์ โกสิยวรรค สิกขาบทที่ ๑๐ ค�ำแปลพระบาลที เี่ ปน็ พทุ ธบัญญัติ “อน่ึง ภิกษุใดท�ำการซื้อขายมีประการต่างๆ เป็น นิสสคั คิยปาจิตตยี ”์ เนื้อความยอ่ ในหนงั สอื นวโกวาท “ภิกษทุ ำ� การซ้อื ขายด้วยรูปยิ ะ คอื ของท่ีเขาใช้เป็นทอง และเงิน ตอ้ งนสิ สัคคยิ ปาจติ ตีย์” อธิบายความโดยย่อ คำ� วา่ ซอื้ ขาย ไดแ้ ก่ การซอื้ และการขาย เชน่ ภกิ ษถุ อื เอากปั ปยิ ภณั ฑ์ ของคนอื่นมาเป็นของตน ชื่อว่า ซ้ือ เม่ือให้กัปปิยภัณฑ์ของตนแก่ผู้ท่ีตนรับ ของมา ชอื่ วา่ ขาย หรอื ในเวลาท�ำภณั ฑะ (สงิ่ ของ) ของผอู้ น่ื ให้อยู่ในมือของ ตน ชอ่ื วา่ ซือ้ ในเวลาท�ำภณั ฑะของตนให้อยใู่ นมอื ของคนอน่ื ช่อื วา่ ขาย พระวินัยบัญญัติ 199 www.kalyanamitra.org

ค�ำว่า ท�ำการซ้ือขาย คือ ภิกษุพูดเป็นเชิงบังคับว่า จงให้ของส่ิงน้ี ดว้ ยของสงิ่ นี้ หรอื จงแลกของสงิ่ นดี้ ว้ ยของสงิ่ นี้ เปน็ ตน้ ตอ้ งอาบตั ทิ กุ กฏ เมอื่ มีการซอ้ื ขายกันเสรจ็ แล้ว คอื ของของตนไปอยู่ในมือของคนอ่ืน หรอื ของของ คนอ่ืนมาอยูใ่ นมือของตน เปน็ อาบัตินสิ สคั คยิ ปาจิตตยี ์ เจตนารมณ์ของสิกขาบทข้อน้ี สิกขาบทน้ีเกิดขึ้นจากการที่ภิกษุมีผ้าสังฆาฏิเก่าแต่ตบแต่งใหม่จึง สวยงาม ปรพิ าชกมาเหน็ เข้าก็ชอบใจ จงึ ขอแลกกบั ผา้ ของตน ภิกษุบอกว่าดู เอาเองก็แลว้ กนั ปริพาชกบอกวา่ ตนรู้ จึงแลกกนั ไป ต่อมาปรพิ าชกถูกพรรค พวกตำ� หนิว่าผ้าทีแ่ ลกมานสี้ วยแตร่ าคาถกู ปริพาชกผ้นู ้ันพจิ ารณาแล้วกเ็ หน็ ด้วย น�ำผ้าสังฆาฏิกลับมาคืนภิกษุ แต่ภิกษุไม่ยอมรับ ปริพาชกจึงได้ต�ำหนิ โพนทะนาภิกษุว่า ธรรมดาคฤหัสถ์ยังคืนให้แก่คฤหัสถ์ผู้เดือดร้อน แต่นี่เป็น บรรพชติ จกั ไมค่ นื ใหแ้ กบ่ รรพชติ ดว้ ยกนั เชยี วหรอื พระพทุ ธองคจ์ งึ ทรงบญั ญตั ิ เป็นข้อห้ามไว้ เพ่ือป้องกันมิให้ภิกษุถูกกล่าวหาว่าใจแคบ และท�ำการแลก เปล่ียนซอ้ื ขายกนั โดยไม่ยุตธิ รรม อนาปตั ติวาร ในสิกขาบทน้ี ท่านแสดงภิกษุผู้ได้รับยกเว้นไม่ต้องอาบัติไว้ คือ (๑) ภกิ ษุถามราคา (๒) ภกิ ษบุ อกแก่กปั ปิยการก (ลูกศษิ ย์) ว่า เรามขี องสงิ่ นอี้ ยู่ แตเ่ ราตอ้ งการของสง่ิ นแี้ ละสง่ิ นี้ (๓) ภกิ ษผุ วู้ กิ ลจรติ (๔) ภกิ ษผุ เู้ ปน็ ตน้ บญั ญตั ิ หรอื ภิกษุอาทกิ ัมมิกะ ไดแ้ ก่ พระอปุ นนั ทศากยบุตร 200 พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี) www.kalyanamitra.org

ปตั ตวรรค หมวดว่าดว้ ยบาตร ปัตตวรรค สกิ ขาบทที่ ๑ คำ� แปลพระบาลีทีเ่ ปน็ พุทธบญั ญัติ “พงึ เกบ็ อตเิ รกบาตรไวไ้ ด้ ๑๐ วนั เปน็ อยา่ งยงิ่ เมอ่ื ให้ เกินก�ำหนดน้ันไป เป็นนสิ สัคคยิ ปาจิตตยี ์” เนือ้ ความย่อในหนังสอื นวโกวาท “บาตรนอกจากบาตรอธษิ ฐานเรยี กอตเิ รกบาตร อตเิ รก บาตรนั้นภิกษุเก็บไว้ได้เพียง ๑๐ วันเป็นอย่างย่ิง ถ้าให้ ล่วง ๑๐ วันไป ต้องนิสสคั คิยปาจติ ตีย์” อธบิ ายความโดยย่อ ค�ำว่า บาตร ไดแ้ ก่ บาตร ๒ ชนดิ คือ บาตรเหลก็ ๑ บาตรดินเผา ๑ บาตร มี ๓ ขนาด คือ - บาตรขนาดใหญ่ จขุ า้ วสกุ จากขา้ วสารได้ ๒ ทะนาน ของเคยี้ ว หนึ่งในสี่ของข้าวสุก และกับข้าวพอสมควรแก่ข้าวสุกนั้น (จขุ า้ วสุกกนิ ได้ ๑๐ คน) พระวินัยบัญญัติ 201 www.kalyanamitra.org

- บาตรขนาดกลาง จุข้าวสุกจากข้าวสารได้ ๑ ทะนาน ของ เค้ียวหน่ึงในสี่ของข้าวสุกและกับข้าวพอสมควรแก่ข้าวสุกนั้น (จุข้าวสุกกนิ ได้ ๕ คน) - บาตรขนาดเล็ก จุข้าวสุกจากข้าวสารได้ ๑ กอบ ของเคี้ยว หน่ึงในสี่ของข้าวสุกและกับข้าวพอสมควรแก่ข้าวสุกน้ัน (จขุ ้าวสกุ ๒ คนกินเหลือ ๓ คนกินไมพ่ อ) ค�ำว่า อติเรกบาตร หมายถึงบาตรที่ยังไม่ได้อธิษฐาน ยังไม่ได้วิกัป (ค�ำว่า อธิษฐานและวิกปั พงึ ดใู นจวี รวรรค สิกขาบทที่ ๑) เจตนารมณข์ องสิกขาบทขอ้ น้ี สกิ ขาบทนท้ี รงบญั ญตั ไิ ว้ เพอื่ ใหภ้ กิ ษมุ คี วามประหยดั ในการใชบ้ าตร ได้เพียงใบเดยี ว ไม่มนี สิ ยั มักงา่ ยปล่อยทง้ิ บาตรใหช้ �ำรดุ เสียหายโดยงา่ ย และ ไม่ต้องมีภาระหอบห้ิวบริขารในการจาริกไปในที่ต่างๆ แต่ก็ทรงผ่อนผันให้รับ และใชส้ อยไดใ้ นเวลาจำ� กดั ดว้ ยทรงเหน็ ความจำ� เปน็ บางกรณี เชน่ กรณบี าตร หาย บาตรแตก เป็นต้น อนาปัตตวิ าร ในสิกขาบทน้ี ท่านแสดงภิกษุผู้ได้รับยกเว้นไม่ต้องอาบัติไว้ คือ (๑) ภิกษุอธิษฐานภายใน ๑๐ วัน (๒) ภิกษุวิกัปไว้ภายใน ๑๐ วัน (๓) ภิกษุ สละให้ไป (๔) บาตรหายไป (๕) บาตรฉบิ หายไป (๖) บาตรแตก (๗) โจรชงิ เอาไป (๘) ภกิ ษุผู้วกิ ลจรติ (๙) ภิกษผุ ู้เป็นตน้ บัญญตั ิ หรอื ภกิ ษอุ าทกิ ัมมิกะ ไดแ้ ก่ พวกภิกษฉุ ัพพัคคยี ์ 202 พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี) www.kalyanamitra.org

ปัตตวรรค สกิ ขาบทที่ ๒ คำ� แปลพระบาลที เ่ี ปน็ พทุ ธบญั ญตั ิ “อน่ึง ภิกษุใดมีบาตรที่มีรอยซ่อมต่�ำกว่า ๕ แห่ง ขอบาตรใบอ่ืนใหม่ เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์ ภิกษุน้ันพึง สละบาตรใบนั้นในภิกษุบริษัท บาตรใบสุดท้ายของภิกษุ บริษัทนั้นพึงมอบให้แก่ภิกษุนั้น โดยสั่งว่า ภิกษุ น้ีบาตร ของเธอพึงใช้ไปจนกว่าจะแตก นี้เป็นข้อปฏิบัติชอบใน เรอื่ งนนั้ ” เนอ้ื ความยอ่ ในหนังสอื นวโกวาท “ภกิ ษุมบี าตรรา้ วยงั ไมถ่ ึง ๑๐ น้วิ ขอบาตรใบใหม่แต่ คฤหัสถ์ที่มิใช่ญาติ มิใช่ปวารณา ได้มา ต้องนิสสัคคิย- ปาจติ ตีย์” อธบิ ายความโดยย่อ ค�ำว่า มีรอยซอ่ มต่ำ� กว่า ๕ แห่ง คอื มรี อยซ่อมเพียง ๑ แห่ง ๒ แหง่ ๓ แหง่ หรอื ๔ แห่ง - บาตรทช่ี ื่อวา่ ไมม่ รี อยซ่อม ไดแ้ ก่ บาตรทไ่ี ม่มีรอยร้าวยาวถงึ ๒ นวิ้ - บาตรทช่ี อ่ื วา่ มรี อยซอ่ ม ไดแ้ ก่ บาตรทมี่ รี อยรา้ วยาวถงึ ๒ นวิ้ พระวินัยบัญญัติ 203 www.kalyanamitra.org

- บาตรทช่ี ่ือวา่ ใหม่ ได้แก่ บาตรทีข่ อเขามา เพราะน้ัน บาตรท่ีมีรอยซ่อมต�่ำกว่า ๕ แห่ง ก็คือบาตรท่ีมีรอย ร้าวยาวยงั ไมถ่ ึง ๑๐ นวิ้ คำ� วา่ ขอ คอื ออกปากขอ เปน็ ทกุ กฏเพราะประโยคที่ขอ เมอ่ื ได้มา บาตรเปน็ นิสสัคคีย์ จำ� ตอ้ งสละในทา่ มกลางสงฆ์ ทรงรับส่ังวา่ ภิกษุทกุ รูปทีเดียวพงึ ถือบาตรทอี่ ธิษฐานแล้วไปประชุม อยา่ อธษิ ฐานบาตรชนดิ ทไี่ มด่ ดี ว้ ยหมายวา่ จะไดบ้ าตรทมี่ รี าคามาก ถา้ อธษิ ฐาน บาตรชนดิ ทีไ่ ม่ดดี ว้ ยหมายวา่ จะได้บาตรท่ีมีราคามาก ต้องอาบตั ทิ ุกกฏ ภิกษุเมื่อได้รับเปลี่ยนบาตรจากภิกษุบริษัทตามพระวินัยแล้ว ท่าน แนะน�ำว่า อย่าเก็บบาตรใบนั้นไว้ในที่อันไม่สมควร อย่าใช้โดยอาการอันไม่ สมควร อยา่ ปลอ่ ยทง้ิ เสยี วา่ บาตรใบนจี้ ะเปน็ อยา่ งไรกช็ า่ ง คอื จะหายกช็ า่ ง จะ ฉบิ หายกช็ ่าง จะแตกกช็ า่ ง ถ้าเกบ็ ไวใ้ นทอี่ นั ไมส่ มควรก็ดี ใชโ้ ดยอาการอนั ไม่ สมควรก็ดี ปล่อยทิ้งเสยี ก็ดี ต้องอาบัติทุกกฏ เจตนารมณข์ องสิกขาบทข้อน้ี สิกขาบทนี้ทรงบัญญัติไว้ เพื่อป้องกันมิให้ภิกษุรบกวนสร้างความ เดือดร้อนให้ชาวบ้าน ด้วยการไปขอบาตรเขาซึ่งบางครั้งก็ไม่อาจถวายให้ได้ และเพื่อให้ภิกษุมีความละเอียดลออในการดูแลรักษาบาตร โดยเก็บไว้ในที่อัน สมควร ใช้อย่างทะนุถนอม ไม่ปลอ่ ยทง้ิ ขวา้ งไมส่ นใจ จะเสียหายอยา่ งไร จะ แตกหรือสญู หายไปอย่างไรกช็ า่ ง มใิ ชเ่ ช่นนน้ั จะได้ไม่ต้องไปขอบาตรชาวบา้ น โดยไมจ่ ำ� เป็น 204 พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี) www.kalyanamitra.org

อนาปตั ติวาร ในสิกขาบทน้ี ท่านแสดงภิกษุผู้ได้รับยกเว้นไม่ต้องอาบัติไว้ คือ (๑) ภิกษุมีบาตรหาย (๒) ภิกษุมีบาตรแตก (๓) ภิกษุขอจากญาติ (๔) ภิกษุขอ จากคนปวารณา (๕) ภกิ ษขุ อเพ่ือภิกษอุ น่ื (๖) ภิกษซุ อื้ มาดว้ ยทรัพย์ของตน (๗) ภิกษผุ ูว้ กิ ลจรติ (๘) ภิกษุผู้เปน็ ต้นบญั ญัติ หรือภิกษอุ าทิกัมมกิ ะ ไดแ้ ก่ พวกภิกษวุ ดั นโิ ครธาราม ปตั ตวรรค สกิ ขาบทท่ี ๓ ค�ำแปลพระบาลที ี่เป็นพุทธบัญญัติ “อนึ่ง มีเภสัชท่ีควรลิ้มของภิกษุผู้อาพาธ คือ เนยใส เนยข้น น�้ำมัน น้�ำผึ้ง น้�ำอ้อย ภิกษุรับประเคนเภสัช เหลา่ นน้ั แลว้ พงึ เกบ็ ไวฉ้ นั ได้ ๗ วนั เปน็ อยา่ งมากภกิ ษใุ ห้ เกนิ ก�ำหนดนน้ั ไป เปน็ นสิ สัคคิยปาจิตตยี ”์ เน้ือความย่อในหนังสอื นวโกวาท “ภกิ ษรุ บั ประเคนเภสัชทง้ั ๕ คือ เนยใส เนยข้น น�้ำมัน น้�ำผึ้ง น้�ำอ้อยแล้ว เก็บไว้ฉันได้เพียง ๗ วันเป็นอย่างย่ิง ถา้ ใหล้ ว่ งไป ๗ วนั ตอ้ งนสิ สัคคิยปาจิตตยี ”์ พระวินัยบัญญัติ 205 www.kalyanamitra.org

อธิบายความโดยย่อ ค�ำว่า เนยใส ได้แก่ เนยใสทไี่ ด้จากนมโค นมแพะ หรือจากนมของ สัตวท์ ี่มีเนือ้ เป็นกปั ปยิ ะคอื ภิกษุฉันได้ คำ� ว่า เนยข้น ได้แก่ เนยขน้ ท่ีท�ำจากเนยใสเหลา่ น้นั คำ� วา่ นำ้� มนั ไดแ้ ก่ นำ�้ มนั ทส่ี กดั ออกจากเมลด็ งา เมลด็ ผกั กาด เมลด็ มะซาง เมล็ดละห่งุ จากไขมันสตั ว์ คำ� ว่า นำ้� ผ้ึง ได้แก่ นำ�้ หวานทไี่ ด้จากรวงผ้งึ ค�ำวา่ น�้ำออ้ ย ได้แก่ นำ�้ หวานทีไ่ ด้จากอ้อย มะพร้าว ตาล ของ ๕ ประเภทนี้จัดเป็นเภสัช คือเป็นยาส�ำหรับรักษาโรค เมื่อรับ ประเคนไว้แล้วทรงอนุญาตให้เก็บไว้ได้ ๗ วัน เพราะต้นเหตุที่ทรงบัญญัติ สกิ ขาบทนไ้ี วเ้ กดิ จากภกิ ษทุ ง้ั หลายทเี่ ปน็ ศษิ ยข์ องพระปลิ นิ ทวจั ฉเถระ คอื พระ เถระได้เภสัช ๕ นมี้ ามาก จึงได้แจกแกภ่ กิ ษลุ กู ศษิ ยไ์ ป พวกภิกษุเหลา่ น้ันเป็น ผู้มักมากจึงเก็บเภสัชเหล่าน้ีที่ได้ๆมาไว้ในกระถางบ้าง ในหม้อน้�ำบ้าง กรอก ไว้ในหม้อกรองน้�ำบ้าง ใส่ถุงย่ามแขวนไว้บ้าง เภสัชเหล่านั้นก็เย้ิมซึมอยู่ ท่ี อยู่ของภิกษุเหล่าน้ันจึงเต็มไปด้วยหนูและมด ชาวบ้านรู้เข้าก็ต�ำหนิว่าภิกษุก็ มีเรือนคลงั เหมอื นพวกตน เจตนารมณข์ องสกิ ขาบทขอ้ น้ี สิกขาบทน้ีทรงบัญญัติไว้ เพ่ือมิให้ภิกษุถูกต�ำหนิว่ามีความมักมาก เกบ็ เภสชั เหลา่ นไ้ี วจ้ นเกดิ ความสกปรกเลอะเทอะ ทำ� ใหม้ หี นแู ละมดเขา้ รบกวน 206 พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี) www.kalyanamitra.org

และมใิ ห้เกบ็ ไว้นาน ปอ้ งกนั มิใหข้ องบูดเสยี หรือมกี ลนิ่ เหม็น บางอยา่ งอาจจะ มีโทษไดห้ ากบริโภคเข้าไป อนาปตั ติวาร ในสิกขาบทน้ี ท่านแสดงภิกษุผู้ได้รับยกเว้นไม่ต้องอาบัติไว้ คือ (๑) ภิกษผุ ูกใจวา่ จะไมบ่ รโิ ภคในภายในก�ำหนด ๗ วัน (๒) ภิกษสุ ละไปในภายใน ก�ำหนด ๗ วนั (๓) เภสัชนั้นสูญหายไป (๔) เภสัชนั้นเสียไป (๕) เภสัชนั้น ถูกไฟไหม้ (๖) เภสัชนั้นถูกโจรชิงไป (๗) ภิกษุผู้ถือวิสาสะ (๘) ภิกษุให้แก่ อนุปสัมบันด้วยจิตคิดสละแล้ว ท้ิงแล้ว ปล่อยแล้ว ไม่ห่วงใย ได้คืนมาฉันได้ (๙) ภิกษุผู้วกิ ลจริต (๑๐) ภิกษผุ เู้ ปน็ ต้นบัญญัติ หรอื ภกิ ษุอาทกิ มั มกิ ะ ไดแ้ ก่ ภิกษุผ้เู ป็นศษิ ยพ์ ระปลิ นิ ทวัจฉะ ปัตตวรรค สิกขาบทที่ ๔ คำ� แปลพระบาลที ีเ่ ป็นพุทธบัญญตั ิ “ภิกษรุ ูว้ ่า ฤดูรอ้ นยังเหลืออีก ๑ เดือน พงึ แสวงหา ผา้ อาบนำ�้ ฝน รวู้ า่ ฤดรู อ้ นยงั เหลอื อกี กง่ึ เดอื น พงึ ทำ� นงุ่ หม่ ได้ ถา้ เธอร้วู ่า ฤดรู ้อนเหลอื เกินกว่า ๑ เดอื น แสวงหา ผา้ อาบน�้ำฝน รู้ว่า ฤดรู ้อนเหลอื เกินกวา่ ๑ เดอื น ทำ� นุ่ง เปน็ นสิ สคั คยิ ปาจิตตีย”์ พระวินัยบัญญัติ 207 www.kalyanamitra.org

เนอื้ ความยอ่ ในหนงั สือนวโกวาท “เมื่อฤดูร้อนยังเหลืออยู่อีกเดือนหนึ่ง คือต้ังแต่แรม หนึ่งค่�ำเดือน ๗ จึงแสวงหาผ้าอาบน�้ำฝนได้ เม่ือฤดูร้อน เหลืออยู่อีกก่ึงเดือน คือตั้งแต่ขึ้นค�่ำหนึ่งเดือน ๘ จึงท�ำ นุ่งได้ ถ้าแสวงหาหรือท�ำนุ่งให้ล�้ำกว่าก�ำหนดน้ันเข้ามา ตอ้ งนิสสคั คิยปาจิตตีย”์ อธิบายความโดยย่อ คำ� วา่ ผา้ อาบนำ�้ ฝน คอื ผา้ ทใี่ ชน้ งุ่ ในเวลาสรงนำ้� หรอื ในเวลาอาบนำ้� ตอนฝนตก เรยี กว่า ผา้ วัสสิกสาฎก ผ้าอาบน�้ำฝนเป็นผ้าท่ีทรงอนุญาตให้ภิกษุใช้ได้เป็นผืนที่ส่ี นอกจาก ไตรจวี ร จดั เปน็ ผา้ พเิ ศษ มลี กั ษณะคลา้ ยกบั ผา้ ขาวมา้ นอกจากใชผ้ ลดั สรงนำ้� แล้ว ยังใช้ประโยชน์อื่นได้อีกมากเหมือนผ้าขาวม้า ท่ีทรงอนุญาตไว้ก็เพ่ือให้ ภกิ ษมุ ผี า้ นงุ่ ในขณะสรงนำ้� หรอื ขณะอาบนำ�้ ฝน เพราะกอ่ นหนา้ นนั้ ทรงอนญุ าต ให้ภิกษุใช้แค่ไตรจีวร คือผ้าพาด ๑ ผ้าห่ม ๑ ผ้านุ่ง ๑ หากจะสรงน�้ำหรือ อาบน�้ำฝน จ�ำตอ้ งเปลือยกาย ทำ� ใหเ้ กดิ ความละอายแก่ผู้พบเห็น นางวิสาขา มหาอุบาสิกาเป็นผู้กราบทูลขอให้ภิกษุรับถวายผ้าอาบน้�ำฝนได้ ซ่ึงก็ทรง อนุญาตตามที่ทลู ขอ ในสิกขาบทนี้ ทรงอนญุ าตใหภ้ กิ ษปุ ฏิบตั ิตามระยะเวลาดงั นี้ ๑. ระยะแสวงหาผ้าอาบน�้ำฝน ๑ เดือน คือต้ังแต่แรม ๑ ค่�ำ เดือน ๗ จนถึงขนึ้ ๑๕ คำ�่ เดือน ๘ 208 พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี) www.kalyanamitra.org

๒ ระยะทำ� นงุ่ กึ่งเดอื น คอื ตั้งแต่ขนึ้ ๑ ค่�ำเดือน ๘ ถงึ ขนึ้ ๑๕ ค�่ำเดอื น ๘ ๓. ระยะอธษิ ฐานก่อนใช้ ๔ เดอื น คอื ตง้ั แตแ่ รม ๑ ค�่ำเดอื น ๘ จนถงึ วนั ขนึ้ ๑๕ ค่ำ� เดือน ๑๒ เมือ่ พ้นจากระยะนนั้ ไป ใหว้ กิ ัปไว้ เจตนารมณ์ของสิกขาบทขอ้ นี้ สิกขาบทน้ีทรงบัญญัติไว้ เพ่ือมิให้ภิกษุมักง่ายท�ำอะไรตามใจชอบ เพราะต้นเหตุของเรื่องนี้เพราะภิกษุเมื่อรู้ว่าพระพุทธองค์ทรงอนุญาตให้รับ ผา้ อาบนำ้� ฝนได้ กด็ นิ้ รนแสวงหาผา้ อาบนำ้� ฝนกอ่ นเวลาหนา้ ฝนบา้ ง ไดม้ าแลว้ ท�ำนุง่ เสยี ก่อนบา้ ง คร้นั ใชไ้ ปนานเข้าผ้าเกิดเกา่ ช�ำรดุ ใชไ้ มส่ ะดวก เมือ่ ถงึ หนา้ ฝนกเ็ ปลอื ยกายอาบนำ้� ฝนกนั เหมอื นเคยมา เพอ่ื ปอ้ งกนั อยา่ งนจี้ งึ ทรงบญั ญตั ิ กำ� หนดระยะเวลาไว้ เพอ่ื ใหร้ จู้ กั ประหยดั ไม่มักง่าย อนาปัตติวาร ในสิกขาบทน้ี ท่านแสดงภิกษุผู้ได้รับยกเว้นไม่ต้องอาบัติไว้ คือ (๑) ภิกษสุ �ำคญั วา่ ฤดูรอ้ นยังเหลอื อีก ๑ เดอื น แสวงหาผ้าอาบน้�ำฝน (๒) ภกิ ษุ สำ� คญั วา่ ฤดรู อ้ นยงั เหลอื อกี กงึ่ เดอื น ทำ� นงุ่ (๓) ภกิ ษสุ ำ� คญั วา่ ฤดรู อ้ นยงั เหลอื ไม่ถึง ๑ เดือน แสวงหาจีวรคือผ้าอาบน�้ำฝน (๔) ภิกษุส�ำคัญว่าฤดูร้อนยัง เหลอื ไม่ถึงกง่ึ เดอื น ท�ำนงุ่ (๕) เม่อื ภิกษแุ สวงหาผ้าอาบน�้ำฝนไดแ้ ลว้ ฝนแลง้ เมอ่ื ภิกษทุ ำ� ผา้ อาบน�้ำฝนน่งุ แล้ว ฝนแล้ง ภิกษซุ ักเก็บไว้ (๖) ภิกษนุ งุ่ ในสมยั (๗) ภิกษุผู้มีจีวรถูกโจรชิงไป (๘) ภิกษุผู้มีจีวรหายไป (๙) ภิกษุผู้วิกลจริต (๑๐) ภกิ ษุผู้เป็นต้นบญั ญตั ิ หรือภิกษอุ าทิกัมมิกะ ได้แก่ พวกภิกษุฉัพพคั คีย์ พระวินัยบัญญัติ 209 www.kalyanamitra.org

ปตั ตวรรค สกิ ขาบทท่ี ๕ ค�ำแปลพระบาลที ่เี ป็นพทุ ธบญั ญัติ “อน่ึง ภิกษุใดให้จีวรแก่ภิกษุเองแล้วโกรธ ไม่พอใจ ชิงเอามากด็ ี ใหช้ ิงเอามากด็ ี เป็นนิสสัคคิยปาจิตตยี ์” เนอ้ื ความยอ่ ในหนังสือนวโกวาท “ภกิ ษใุ ห้จีวรแกภ่ กิ ษอุ ่ืนแลว้ โกรธ ชิงเอาคนื มาเองก็ดี ให้ผ้อู ่ืนชิงเอามากด็ ี ตอ้ งนิสสัคคยิ ปาจติ ตยี ์” อธิบายความโดยย่อ การชิงเอาจีวรคืนมาในสิกขาบทน้ีท่านปรับเป็นนิสสัคคิยาปาจิตตีย์ ไม่จัดเป็นอวหารคือการลัก ซึ่งมีโทษหนัก เพราะเจ้าของยังถือว่าจีวรยังเป็น ของตน และทา่ นยังรบั รองกรรมสทิ ธ์แิ ห่งเจา้ ของเดิมว่ายงั มีอยใู่ นจวี รนน้ั เจตนารมณ์ของสิกขาบทขอ้ น้ี สกิ ขาบทนที้ รงบญั ญตั ไิ ว้ เปน็ การเตอื นใจภกิ ษทุ ง้ั หลายวา่ การใหจ้ วี ร หรอื บริขารอ่ืนใดแก่ภกิ ษหุ รอื บคุ คลอ่ืน ควรใหด้ ้วยความเสยี สละ ไมค่ ดิ ยึดคืน อีกเม่ือไม่พอใจ จะได้ไม่ต้องเสียมารยาทแย่งชิงคืน หรือไม่ท�ำให้เกิดเรื่องน่า ละอายอนื่ ๆ เชน่ กิรยิ าท่ีแยง่ ชงิ การพูดจาโตเ้ ถยี งกนั เปน็ ตน้ 210 พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี) www.kalyanamitra.org

อนาปตั ตวิ าร ในสิกขาบทน้ี ท่านแสดงภิกษุผู้ได้รับยกเว้นไม่ต้องอาบัติไว้ คือ (๑) ภิกษุผู้ได้รับไปน้ันให้คืนเองก็ดี ถือวิสาสะกับผู้ที่ได้รับไปนั้นเอามาเองก็ดี (๒) ภิกษุผู้วิกลจริต (๓) ภิกษุผู้เป็นต้นบัญญัติ หรือภิกษุอาทิกัมมิกะ ได้แก่พระ อุปนนั ทศากยบุตร ปตั ตวรรค สกิ ขาบทท่ี ๖ ค�ำแปลพระบาลที ่ีเปน็ พุทธบัญญัติ “อนึ่ง  ภิกษุใดขอด้ายมาเองแล้วให้ช่างหูกทอจีวร เปน็ นิสสคั คิยปาจติ ตีย์” เนอ้ื ความย่อในหนังสอื นวโกวาท “ภกิ ษขุ อดา้ ยแตค่ ฤหสั ถท์ มี่ ใิ ชญ่ าตมิ ใิ ชป่ วารณา เอามา ให้ช่างหกู ทอเปน็ จวี ร ตอ้ งนสิ สัคยิ าปาจิตตยี ์” อธิบายความโดยย่อ สิกขาบทนี้มีลักษณะเดียวกันกับสิกขาบทว่าด้วยเร่ืองทรงห้ามขอ จีวร สิกขาบทน้ีทรงห้ามขอด้าย เพราะภิกษุไปขอด้ายชาวบ้านมาให้ช่างหูก ทอจีวรให้ ทอเสรจ็ แลว้ ด้ายมเี หลือ แต่จะทอจวี รผืนใหม่ไมพ่ อ จึงไปขอดา้ ย เพ่ิม เม่ือทอเสร็จแล้ว ด้ายเหลืออีก ก็ไปขอเพิ่ม เป็นการแสดงความไม่พอ ต้องการจีวรเพิม่ ขน้ึ พระวินัยบัญญัติ 211 www.kalyanamitra.org

เจตนารมณ์ของสกิ ขาบทข้อน้ี สิกขาบทนี้ทรงบัญญัติไว้ เพื่อมิให้ชาวบ้านต้องมาเดือดร้อนเพราะ ความไมพ่ อของภิกษุ และป้องกนั มิใหภ้ กิ ษไุ ปรบกวนชาวบา้ นใหเ้ ดือดรอ้ น อนาปัตติวาร ในสิกขาบทน้ี ท่านแสดงภิกษุผู้ได้รับยกเว้นไม่ต้องอาบัติไว้ คือ (๑) ภิกษุขอด้ายมาเพ่ือเย็บจีวร (๒) ภิกษุขอด้ายมาท�ำผ้ารัดเข่า (๓) ภิกษุขอ ด้ายมาท�ำประคดเอว (๔) ภิกษุขอด้ายมาทำ� ผ้าอังสะ (๕) ภิกษุขอด้ายมาทำ� ถุงบาตร (๖) ภกิ ษุขอดา้ ยมาท�ำผ้ากรองนำ้� (๗) ภิกษุขอต่อญาติ (๘) ภิกษุ ขอต่อปวารณา (๙) ภิกษุขอเพื่อประโยชน์แกภ่ กิ ษอุ ืน่ (๑๐) ภิกษผุ ู้วกิ ลจรติ (๑๑) ภิกษผุ เู้ ป็นตน้ บญั ญตั ิ หรือภกิ ษอุ าทกิ มั มิกะ ได้แก่ พวกภิกษุฉัพพัคคยี ์ ปตั ตวรรค สกิ ขาบทที่ ๗ ค�ำแปลพระบาลที เี่ ปน็ พทุ ธบญั ญตั ิ “อนง่ึ คหบดีกด็ ี คหปตานกี ด็ ี ผูม้ ใิ ช่ญาติ สั่งชา่ งหกู ให้ ทอจวี รเจาะจงภกิ ษเุ ทา่ นนั้ ถา้ ภกิ ษนุ นั้ เขามไิ ดป้ วารณาไว้ ก่อนเข้าไปหาช่างหูกแล้วกะเกณฑ์จีวรในส�ำนักของเขา น้ันว่า จีวรผืนนี้เจาะจงอาตมา ขอท่านจงท�ำให้ยาว ให้ กว้าง ให้แนน่ ทอให้ดี ขึงใหด้ ี สางให้ดี และกรีดให้ดี ถา้ กระไร อาตมาเองก็จะให้ของเล็กน้อยเป็นรางวัลแก่ท่าน 212 พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี) www.kalyanamitra.org

ครน้ั กลา่ วอยา่ งนแ้ี ลว้ ภกิ ษนุ นั้ ใหข้ องเลก็ นอ้ ยเปน็ รางวลั โดยท่สี ุดแมเ้ พยี งบณิ ฑบาต เปน็ นิสสัคคยิ ปาจติ ตีย”์ เนือ้ ความยอ่ ในหนงั สือนวโกวาท “ถ้าคฤหัสถ์ท่ีมิใช่ญาติมิใช่ปวารณา ส่ังให้ช่างหูกทอ จีวรเพ่ือจะถวายแก่ภิกษุ ถ้าภิกษุไปก�ำหนดให้เขาท�ำให้ ดขี ้ึนด้วยจะให้รางวัลแกเ่ ขา ตอ้ งนสิ สัคคิยปาจิตตีย”์ อธบิ ายความโดยย่อ สกิ ขาบทนก้ี ดิ จากการทชี่ าวบา้ นมอบดา้ ยใหแ้ กช่ า่ งหกู ไวเ้ พอื่ ทอเปน็ จีวรเพื่อถวายภิกษุที่ตนนับถือ โดยก�ำหนดด้ายไว้พอ แล้วไปธุระท่ีอ่ืน ภิกษุ ทราบเรอื่ งจงึ ไปหาชา่ งหกู ทคี่ นุ้ เคยกนั ดี กะเกณฑใ์ หท้ อจวี รทกี่ วา้ งทยี่ าวกวา่ ท่ี เจา้ ภาพกำ� หนด ด้ายจงึ ไมพ่ อ ช่างหกู ได้ไปหาภรรยาเจ้าภาพเล่าเรือ่ งให้ทราบ แล้วขอด้ายเพ่ิม ภรรยาก็จัดการให้ จนกระทั่งทอเป็นจีวรส�ำเร็จตามที่ภิกษุ กำ� หนด เมอ่ื สามกี ลบั มาแลว้ ภรรยาไดน้ ำ� ผา้ มาใหด้ แู ละเลา่ เรอื่ งใหฟ้ งั สามผี เู้ ปน็ เจ้าภาพได้ถวายจีวรแก่ภิกษุแล้วต�ำหนิโพนทะนาข้ึนว่า พระสมณะศากยบุตร มีความมกั มาก ไมส่ ันโดษ จะถวายจีวรแก่ท่านเหลา่ น้กี ็ย่งุ ยาก มใิ ช่ท�ำได้งา่ ย เจตนารมณข์ องสิกขาบทข้อนี้ สกิ ขาบทน้ีทรงบัญญตั ไิ ว้ เพื่อรกั ษาศรทั ธาของชาวบา้ นไว้ มใิ หช้ าว บ้านต้องเดือดร้อนเพราะความไม่พอดีของภิกษุ ท่ีไปกะเกณฑ์ส่ิงของที่เขาจะ ถวายโดยไม่ได้รับการขอร้องหรือปวารณาไว้ก่อน และเพื่อป้องกันมิให้ภิกษุ แสดงอาการมักมาก ไม่สนั โดษออกมาโดยอาการเช่นนี้ พระวินัยบัญญัติ 213 www.kalyanamitra.org

อนาปตั ตวิ าร ในสิกขาบทน้ี ท่านแสดงภิกษุผู้ได้รับยกเว้นไม่ต้องอาบัติไว้ คือ (๑) ภิกษุขอต่อญาติ (๒) ภิกษุขอตอ่ ปวารณา (๓) ภกิ ษขุ อเพอื่ ภกิ ษุอื่น (๔) ภิกษุ ซ้ือมาด้วยทรพั ยข์ องตนเอง (๕) คหบดตี อ้ งการจะใหท้ อจีวรมีราคามาก ภกิ ษุ ให้ทอจีวรมีราคาน้อย (๖) ภิกษุผู้วิกลจริต (๗) ภิกษุผู้เป็นต้นบัญญัติ หรือ ภกิ ษอุ าทกิ มั มิกะ ไดแ้ ก่ พระอุปนนั ทศากยบตุ ร ปัตตวรรค สกิ ขาบทท่ี ๘ ค�ำแปลพระบาลที เี่ ปน็ พทุ ธบญั ญัติ “วันเพญ็ ทค่ี รบ ๓ เดอื นในเดอื นกัตติกา ยงั ไมถ่ งึ อีก ๑๐ วัน อัจเจกจีวรเกิดขึ้นแก่ภิกษุ ภิกษุส�ำคัญว่าเป็น อจั เจกจวี ร พงึ รับไว้ได้ ครนั้ รบั แล้วพงึ เก็บไวไ้ ดจ้ นตลอด สมยั ทเี่ ปน็ จวี รกาล ถา้ เธอเกบ็ ไวย้ ง่ิ ไปกวา่ นนั้ เปน็ นสิ สคั คยิ - ปาจิตตยี ”์ เนอ้ื ความยอ่ ในหนังสอื นวโกวาท “ถา้ อกี ๑๐ วนั จะถึงวนั ปวารณา คือตง้ั แตข่ ้นึ ๖ ค�่ำ เดือน ๑๑ ถ้าทายกจะถวายผ้าจ�ำน�ำพรรษา ก็รับเก็บไว้ แต่ถ้าเก็บไว้เกินกาลจีวรไป ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย์ กาล จีวรนั้นดังน้ี ถ้าจ�ำพรรษาแล้วไม่ได้กรานกฐิน นับแต่วัน 214 พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี) www.kalyanamitra.org

ปวารณาไปเดือนหนง่ึ คือ ตง้ั แตว่ ันแรมค�่ำหนงึ่ เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ถ้าได้กรานกฐิน นับแต่วันปวารณา ไป ๔ เดือน คือต้ังแต่แรมค�่ำหนึ่งเดือน ๑๑ ถึงกลาง เดือน ๔” อธิบายความโดยยอ่ ในสิกขาบทน้ีมคี ำ� ท่พี ึงท�ำความเข้าใจ ๒ คำ� คือ ผ้าจำ� นำ� พรรษา และ อจั เจกจวี ร ผา้ จำ� นำ� พรรษา เรยี กว่า วัสสาวาสกิ า เป็นผา้ ทเ่ี ขาถวายแกภ่ ิกษุผู้ จำ� พรรษาแลว้ คอื ถา้ ยงั ไมไ่ ดก้ รานกฐนิ แตไ่ ดร้ บั อานสิ งสจ์ ำ� พรรษา เรม่ิ ตง้ั แต่ แรม ๑ ค่�ำเดอื น ๑๑ ไปจนถึงข้ึน ๑๕ คำ่� เดอื น ๑๒ เปน็ เวลา ๑ เดือน ถา้ ไดก้ รานกฐนิ แลว้ ยอ่ มไดร้ บั อานสิ งสก์ ฐนิ กย็ ดื เวลารบั ผา้ ตอ่ ไปไดอ้ กี ๔ เดอื น ตั้งแต่แรม ๑ ค่�ำเดือน ๑ ไปจนถึงข้ึน ๑๕ ค่�ำเดือน ๔ รวมเป็น ๕ เดือน ชว่ งนจ้ี ดั เปน็ กาลจีวร อัจเจกจีวร แปลวา่ ผา้ รบี ด่วน, จวี รรบี รอ้ น ทา่ นอธิบายไว้วา่ “บุคคลท่ีประสงค์จะไปในการรบกด็ ี บุคคลทปี่ ระสงคจ์ ะไปตา่ งถ่นิ กด็ ี บุคคลทเ่ี จบ็ ไข้ก็ดี สตรที ่มี คี รรภ์ก็ดี บคุ คลที่ยังไม่มศี รทั ธามามีศรัทธาเกดิ ขนึ้ ก็ ดี บคุ คลทย่ี งั ไมเ่ ลื่อมใสมามคี วามเลอื่ มใสเกดิ ขึน้ ก็ดี ถ้าสง่ ตวั แทนไปในส�ำนัก ภิกษทุ ้งั หลายว่า นิมนตท์ ่านผูเ้ จรญิ มา ขา้ พเจ้าจักถวายผา้ จำ� นำ� พรรษา ผา้ ที่ เขาถวายเช่นน้ี ช่ือว่า อจั เจกจีวร” ดงั นน้ั อจั เจกจวี ร กค็ อื ผา้ จำ� นำ� พรรษาเฉพาะทที่ ายกรบี รอ้ นถวาย ก่อนถงึ เวลารับผา้ จ�ำน�ำพรรษาหรือกาลจีวรน่นั เอง พระวินัยบัญญัติ 215 www.kalyanamitra.org

อัจเจกจวี ร ทรงใหร้ ับก่อนเวลาจวี รกาลได้ แต่ทรงกำ� หนดว่ารับเกบ็ ไว้ได้ไม่เกินกลางเดือน ๑๒ ส�ำหรับผู้มิได้กรานกฐิน หากกรานกฐินแล้วรับ เก็บไวไ้ ด้จนถึงกลางเดอื น ๔ พน้ จากน้นั ไป เปน็ นสิ สัคคิยปาจิตตยี ์ เจตนารมณข์ องสิกขาบทขอ้ น้ี สกิ ขาบทนที้ รงบญั ญตั ไิ ว้ เพอ่ื รกั ษาศรทั ธาของชาวบา้ นทม่ี ศี รทั ธาจะ ถวายจวี รภกิ ษุ แตม่ กี จิ จำ� เปน็ รบี ดว่ นไมอ่ าจอยถู่ วายในเวลาจวี รกาลได้ จงึ ขอ ถวายกอ่ น และเพือ่ ให้ภกิ ษรุ ู้จักประมาณในการใชใ้ นการเก็บรกั ษา เพราะเม่ือ เกินเวลาจีวรกาลไปแลว้ ผา้ เหลา่ น้ันกจ็ ะถกู ทง้ิ ขวา้ งมิได้รับการดูแลอกี อนาปัตตวิ าร ในสิกขาบทน้ี ท่านแสดงภิกษุผู้ได้รับยกเว้นไม่ต้องอาบัติไว้ คือ (๑) ภิกษุอธิษฐานในภายในสมัย (๒) ภิกษุวิกัปไว้ในภายในสมัย (๓) ภิกษุสละ ไป (๔) จวี รหายไป (๕) จีวรฉิบหายไป (๖) จวี รถูกไฟไหม้ (๗) โจรชิงเอาไป (๘) ภิกษุถือวิสาสะ (๙) ภิกษุผู้วิกลจริต (๑๐) ภิกษุผู้เป็นต้นบัญญัติ หรือ ภิกษุอาทกิ ัมมกิ ะ ได้แก่ พวกภิกษุเมอื งสาวัตถี ปัตตวรรค สิกขาบทท่ี ๙ ค�ำแปลพระบาลีทเี่ ปน็ พุทธบญั ญตั ิ “อนงึ่ ภกิ ษจุ ำ� พรรษาแลว้ ปรารถนาจะอยใู่ นเสนาสนะ ปา่ ทร่ี กู้ นั วา่ เปน็ ทน่ี า่ ระแวง มภี ยั เฉพาะหนา้ จนถงึ วนั เพญ็ 216 พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี) www.kalyanamitra.org

เดอื น ๑๒ พงึ เก็บไตรจวี รผนื ใดผืนหน่ึงไว้ในละแวกบ้าน ได้ และปัจจัยบางอย่างให้อยู่ปราศจากจีวรน้ันได้จะพึงมี แก่ภิกษุนัน้ ภกิ ษุนัน้ พึงอย่ปู ราศจากจีวรน้นั ได้ ๖ คืนเปน็ อยา่ งมาก ถา้ เธออยปู่ ราศเกนิ กวา่ กำ� หนดนน้ั เปน็ นสิ สคั คยิ - ปาจติ ตีย์ เว้นไวแ้ ตภ่ ิกษุผ้ไู ดร้ ับสมมต”ิ เนื้อความย่อในหนงั สอื นวโกวาท “ภิกษุจ�ำพรรษาในเสนาสนะป่าซึ่งเป็นที่เปล่ียว ออก พรรษาแล้ว อยากจะเก็บไตรจีวรผืนใดผืนหนึ่งไว้ในบ้าน เม่ือมีเหตุก็เก็บไว้ได้เพียง ๖ คืนเป็นอย่างย่ิง ถ้าเก็บไว้ ใหเ้ กนิ ไป ๖ คนื ไป ต้องนสิ สคั คิยปาจิตตีย์” อธบิ ายความโดยยอ่ ค�ำวา่ เสนาสนะป่า ได้แก่ เสนาสนะทอ่ี ย่หู ่างไกลจากหม่บู ้าน ๕๐๐ ชั่วธนู (ประมาณ ๒๕ เส้น) เป็นอย่างน้อย ช่ือว่า เสนาสนะป่า ค�ำว่า เป็นท่ีนา่ ระแวง คือ มรี อ่ งรอยที่พวกโจรซ่องสุม กนิ ยืน นั่ง หรือนอน ปรากฏอยู่ ค�ำว่า มีภัยเฉพาะหน้า คือ มีชาวบ้านที่ถูกพวกโจรฆ่า ปล้น หรือ ทบุ ตี ปรากฏอยู่ ค�ำว่า ละแวกบ้าน หมายถึงหมู่บ้านทเ่ี ป็นโคจรคาม คือเปน็ ที่สญั จร ไปมาและอยู่อาศัยได้เปน็ ปกติ พระวินัยบัญญัติ 217 www.kalyanamitra.org

เสนาสนะป่าเชน่ น้ี ไดร้ บั ประโยชน์พิเศษเพอ่ื จะอยู่ โดยอยปู่ ราศจาก ไตรจวี รเพ่มิ ไดอ้ ีก ๖ คนื ตามทีท่ รงอนุญาตไว้ในสิกขาบทน้ี มูลเหตุของเร่ืองนี้เกิดจากการที่ภิกษุท้ังหลายออกพรรษาแล้วยังคง อยู่ในเสนาสนะป่า พวกโจรรู้ว่าภิกษุทั้งหลายได้ลาภหลังจากออกพรรษาแล้ว จงึ เขา้ มารบกวนแย่งชงิ ผา้ และสิ่งของ พระพทุ ธองค์จึงทรงอนญุ าตใหภ้ กิ ษุทงั้ หลายเก็บไตรจีวรผืนใดผืนหนึ่งไว้ในละแวกบ้านได้ เพ่ือให้เกิดความปลอดภัย ภกิ ษทุ ง้ั หลายกป็ ฏบิ ตั ติ ามนนั้ และอยปู่ ราศเกนิ ๖ คนื จวี รไมม่ คี นดแู ล สญู หาย ไปบ้าง เสยี หายไปบา้ ง ถกู ไฟไหมไ้ ปบา้ ง หนกู ดั บา้ ง จึงทรงบัญญตั สิ ิกขาบท นไ้ี ว้ เจตนารมณ์ของสิกขาบทขอ้ น้ี สิกขาบทน้ีทรงบัญญัติไว้ เพ่ือให้ภิกษุท้ังหลายได้รับความสะดวกใน การเก็บดูแลผ้าไตรจีวร เมื่อออกพรรษาแล้ว สามารถเก็บหรือฝากผ้าผืนใด ผนื หน่ึงไวใ้ นหมู่บ้านได้ โดยไม่ตอ้ งนำ� ตดิ ตวั ไปครบ ๓ ผืน ซึ่งอนุญาตไว้ตาม ปกตเิ มอื่ อยจู่ ำ� พรรษาแลว้ ในกรณนี ท้ี รงอนญุ าตใหเ้ กบ็ ฝากไวไ้ ด้ และอยปู่ ราศ ได้ แต่ไมเ่ กนิ ๖ คนื ท้ังน้ีเพื่ออ�ำนวยความสะดวกเมอ่ื มีกิจจะต้องไปทอี่ ืน่ และ เพื่อให้ภิกษุมีสติไมป่ ระมาทลมื ผา้ ท่ีตนเก็บไวใ้ นละแวกบา้ นน้นั หากหลงลมื ไป อาจท�ำให้ผา้ มีอนั ตรายสูญหายไปได้ อนาปัตตวิ าร ในสิกขาบทน้ี ท่านแสดงภิกษุผู้ได้รับยกเว้นไม่ต้องอาบัติไว้ คือ (๑) ภิกษอุ ยปู่ ราศ ๖ คนื พอดี (๒) ภิกษุอยูป่ ราศไม่ถึง ๖ คนื (๓) ภิกษุอยู่ปราศ 218 พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี) www.kalyanamitra.org

๖ คนื แลว้ กลบั มายงั คามสมี า อยแู่ ล้วไปใหม่ (๔) ภกิ ษุถอนเสียภายใน ๖ คนื (๕) ภิกษุสละไป (๖) จีวรหายไป (๗) จีวรฉิบหายไป (๘) จีวรถูกไฟไหมไ้ ป (๙) โจรชิงเอาไป (๑๐) ภิกษุผู้ถือวิสาสะ (๑๑) ภิกษุผู้ได้รับสมมติ (๑๒) ภกิ ษุผวู้ ิกลจริต (๑๓) ภิกษผุ ูเ้ ปน็ ต้นบัญญตั ิ หรือภิกษุอาทกิ ัมมิกะ ได้แก่ภิกษุ ผูอ้ ย่ปู า่ ส่วนหนึง่ ปตั ตวรรค สกิ ขาบทท่ี ๑๐ คำ� แปลพระบาลที ี่เป็นพุทธบญั ญัติ “อน่ึง ภิกษุใดรู้อยู่ น้อมลาภที่เขาน้อมไว้เป็นของจะ ถวายสงฆม์ าเพอื่ ตนเปน็ นสิ สคั คยิ ปาจติ ตีย์” เนือ้ ความย่อในหนังสือนวโกวาท “ภิกษุรู้อยู่ และน้อมลาภที่เขาจะถวายสงฆ์มาเพ่ือตน ตอ้ งนสิ สัคคยิ ปาจติ ตีย”์ อธบิ ายความโดยย่อ ค�ำวา่ ลาภ หมายถึง ปัจจยั ๔ คอื จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ คิลาน- เภสชั และรวมถงึ เภสชั ภณั ฑ์ กปั ปยิ ภณั ฑอ์ ยา่ งอนื่ โดยทสี่ ดุ แมก้ อ้ นผงเจมิ ไม้ ช�ำระฟัน ดา้ ยชายผา้ กจ็ ดั เป็นลาภ ลาภเชน่ น้ี ถา้ เขาจดั ไวเ้ พอื่ ถวายแกส่ งฆเ์ ปน็ สว่ นรวม หากภกิ ษไุ ปพดู ขอ พูดเลียบเคียง หรือแสดงกิริยาอาการว่าตนต้องการ จนเขาเปลี่ยนใจมา ถวายให้แกต่ น ถือว่าน้อมมาเพือ่ ตน พระวินัยบัญญัติ 219 www.kalyanamitra.org

เม่ือพดู หรือแสดงอาการ เปน็ ทกุ กฏ ถา้ ได้มา เปน็ นิสสัคคยิ ปาจติ ตีย์ นอ้ มลาภเช่นน้ันไปเพ่อื ภิกษอุ นื่ เพ่อื เจดยี ์ เปน็ ทกุ กฏ นอ้ มลาภทีเ่ ขาจะถวายเจดยี ์ ทเี่ ขาจะถวายบคุ คล ให้สับกนั เสยี เปน็ ทุกกฏเหมอื นกัน ถา้ ภกิ ษุไมร่ ้แู น่วา่ เขาจะถวายใคร สงสัยแต่ขนื ล่วงละเมดิ เปน็ ทกุ กฏ แต่ถ้าเขามาปรึกษาว่าควรถวายใคร บอกแนะนำ� ให้เขา ไมเ่ ป็นอาบตั ิ เจตนารมณข์ องสกิ ขาบทข้อน้ี สกิ ขาบทนที้ รงบญั ญัตไิ ว้ เพอ่ื ให้ภกิ ษรุ ปู้ ระมาณในลาภ ป้องกนั มใิ ห้ เป็นคนมกั มากเหน็ แกไ่ ด้ เทยี่ วขอลาภท่เี ขาตั้งใจจะถวายสงฆ์ ไม่เจาะจงภกิ ษุ ใด มาเพื่อประโยชน์ตน ซึ่งเป็นการเห็นแก่ตัวเห็นแก่ได้ และเป็นการตัดลาภ ของภิกษอุ ืน่ ไปในตวั อนาปตั ติวาร ในสิกขาบทน้ี ท่านแสดงภิกษุผู้ได้รับยกเว้นไม่ต้องอาบัติไว้ คือ (๑) ภกิ ษทุ พี่ วกทายกถามวา่ จะถวายทไี่ หน บอกแนะนำ� วา่ ไทยธรรมของพวกทา่ น พงึ ไดร้ บั การใชส้ อย พงึ ไดร้ บั การปฏสิ งั ขรณ์ หรอื พงึ ตง้ั อยไู่ ดน้ านในทใ่ี ด กห็ รอื จติ ของพวกทา่ นเลอ่ื มใสในภกิ ษรุ ปู ใด กจ็ งถวายในทนี่ น้ั หรอื แกภ่ กิ ษรุ ปู นนั้ เถดิ (๒) ภิกษุผูว้ ิกลจริต (๓) ภิกษุผู้เป็นต้นบัญญตั ิ หรืออาทกิ ัมมกิ ะ ไดแ้ ก่ พวก ภิกษุฉพั พคั คีย์ 220 พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี) www.kalyanamitra.org

โมฆา ชาติ จ วณโฺ ณ จ สีลเมว กิรตุ ตฺ มํ สีเลน อนเุ ปตสฺส สเุ ตนตโฺ ถ น วิชชฺ ติ ฯ ชาตชิ ั้นวรรณะกเ็ ปลา่ ประโยชน์ นยั วา่ ศีลเท่าน้ันประเสรฐิ สงู สุด เมื่อไม่ประกอบด้วยศีลเสียแล้ว วิชาความรู้กไ็ ม่มีประโยชน์ ท่ีมา : สลี าวมี ังสชาดก. ๒๗/๗๖๗ พระวินัยบัญญัติ 221 www.kalyanamitra.org

นกฺขตตฺ ํ ปฏมิ าเนนตฺ ํ อตฺโถ พาลํ อปุ จจฺ คา อตโฺ ถ อตฺถสสฺ นกฺขตฺตํ กึ กริสสฺ นตฺ ิ ตารกา ฯ คนเขลาทม่ี วั คอยฤกษ์ยามอยู่ ประโยชนไ์ ด้ผา่ นเลยเขาไปแล้ว ฤกษย์ ามของประโยชนก์ ็คือตวั ประโยชน์เอง ดวงดาวจกั ทำ� อะไรให้ได้ ทมี่ า : นกั ขัตตชาดก ข.ุ ชา. ๒๗/๔๙ 222 พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี) www.kalyanamitra.org

ปาจติ ตีย์ ๙๒ ปาจติ ตีย์ แปลวา่ การละเมดิ อันยังกศุ ลให้ตกไป คือเมื่อละเมิดอาบัตินี้แล้วย่อมท�ำให้กุศลธรรมของผู้ละเมิดให้ตกไป ใหเ้ สียไป ท�ำให้พลาดจากอรยิ มรรคไป เป็นความผิดทีป่ ดิ กน้ั โอกาสแห่งความ ดมี ใิ หเ้ กิดขึ้น ปาจิตตีย์ ๙๒ สิกขาบทน้ีเป็น สุทธิกปาจิตตีย์ คือเป็นปาจิตตีย์ ล้วนๆ เม่ือต้องคือล่วงละเมิดแล้วเป็นอันต้องเลย ไม่ต้องสละสิ่งของที่ท�ำให้ ต้องอาบตั เิ หมือนนิสสคั คยิ ปาจิตตีย์ ปาจิตตียเ์ หล่านี้ จัดเป็น ลหกุ าบตั ิ คืออาบตั ิเบา และเป็น สเตกิจฉา คือยังแก้ไขได้ ยังกลับคืนบริสุทธ์ิเหมือนเดิมได้ โดยเม่ือต้องอาบัติเหล่าน้ีเข้า แล้วสามารถพ้นจากอาบัติน้ันๆได้ด้วย เทสนาวิธี คือแสดงอาบัติหรือปลง อาบตั ิ เปน็ การแสดงความผิดตอ่ หนา้ สงฆ์ ตอ่ หนา้ คณะ หรือต่อหน้าบุคคล ปาจิตตยี ์ มี ๙๒ สกิ ขาบท แบ่งเป็น ๙ วรรค คอื วรรคที่ ๒ มุสาวาทวรรค วรรคท่ี ๒ ภตู คามวรรค วรรคท่ี ๓ โอวาทวรรค วรรคที่ ๔ โภชนวรรค วรรคท่ี ๕ อเจลกวรรค วรรคท่ี ๖ สรุ าปานวรรค วรรคท่ี ๗ สัปปาณวรรค พระวินัยบัญญัติ 223 www.kalyanamitra.org

วรรคท่ี ๘ สหธัมมิกวรรค วรรคที่ ๙รตนวรรค ในแต่ละวรรคมี ๑๐ สกิ ขาบท เว้น สหธัมมิกวรรค มี ๑๒ สกิ ขาบท วรรคที่ ๑ มสุ าวาทวรรค ว่าดว้ ยการพูดเทจ็ มุสาวาทวรรค สกิ ขาบทท่ี ๑ ค�ำแปลพระบาลีที่เปน็ พุทธบัญญัติ “เป็นปาจิตตีย์ เพราะกลา่ วเทจ็ ทัง้ ที่ร้อู ย่”ู เนื้อความย่อในหนงั สอื นวโกวาท “พดู ปด ต้องปาจิตตยี ์” อธิบายความโดยย่อ ค�ำว่า พูดเท็จทั้งที่รู้อยู่ หมายถึงพูดปด พูดโกหก พูดเรื่องไม่จริง ทง้ั ท่ีรู้วา่ เรือ่ งนนั้ เปน็ เร่อื งโกหก  เป็นเร่อื งไม่จรงิ   มีลักษณะเป็น ๒ อยา่ งคือ 224 พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี) www.kalyanamitra.org

(๑) เร่ืองเป็นอยู่อย่างใดอยา่ งหน่งึ แต่จงใจพดู ใหค้ ลาดเคลือ่ นจาก ความเปน็ จริง (๒) มเี จตนาพดู หรอื แสดงอาการอยา่ งอน่ื ดว้ ยเจตนานน้ั เพอ่ื ใหค้ น ฟงั หรอื คนเหน็ มคี วามเขา้ ใจเปน็ อยา่ งอนื่ จากความเปน็ จรงิ เชน่ เขยี นหนงั สอื หรือบอกใบ้ สิกขาบทนี้เป็นสจิตตกะ คือมีเจตนาท่ีจะพูดให้คนฟังเข้าใจผิดคลาด เคล่ือนจากความจรงิ จงึ จะเปน็ อาบตั ิ หากพูดโดยไมต่ ั้งใจว่าจะพูดเท็จ แตพ่ ดู พล้งั ไป ไม่เป็นอาบตั ิ แตเ่ มอ่ื รบั ค�ำแลว้ ไมป่ ฏิบัติตามท่ีรบั ค�ำ เช่นรับนิมนตแ์ ล้ว ไม่ไปตามท่รี บั ไมเ่ ปน็ ปาจิตตยี ์ แตเ่ ปน็ ปฏิสสวทุกกฏ เปน็ ทกุ กฏเพราะรับค�ำ เจตนารมณ์ของสิกขาบทน้ี สกิ ขาบทน้ที รงบัญญัตไิ ว้ เพอ่ื ให้ภิกษุรักษาค�ำพดู เป็นผู้พูดจรงิ พดู ตรง ไม่เหลาะแหละ ให้อยู่กะร่องกะรอยอันเป็นเหตุให้เชื่อถือได้ ไว้วางใจได้ ป้องกันมใิ ห้ภกิ ษุเป็นผู้เหลาะแหละเหลวไหล พดู จาไม่นา่ เช่ือถอื อนาปตั ติวาร ในสิกขาบทน้ี ท่านแสดงภิกษุผู้ได้รับยกเว้นไม่ต้องอาบัติไว้ คือ (๑) ภิกษุพูดพล้งั (คือพดู เร็วไป) (๒) ภิกษพุ ดู พลาด (คอื ต้ังใจวา่ จะพูดอย่างหนงึ่ แต่กลับพูดไปอีกอย่างหน่ึง) (๓) ภิกษุผู้วิกลจริต (๔) ภิกษุผู้เป็นต้นบัญญัติ หรอื อาทกิ ัมมกิ ะ ได้แก่ พระหตั ถกศากยบตุ ร พระวินัยบัญญัติ 225 www.kalyanamitra.org

มุสาวาทวรรค สกิ ขาบทที่ ๒ ค�ำแปลพระบาลที ่ีเปน็ พทุ ธบัญญัติ “เปน็ ปาจิตตยี ์ ในเพราะพูดดถู ูก” เนอ้ื ความยอ่ ในหนงั สอื นวโกวาท “ดา่ ภกิ ษุ ตอ้ งปาจิตตยี ์” อธบิ ายความโดยย่อ ค�ำว่า พูดดูถูก มาจากค�ำว่า โอมสวาท หมายถึง ค�ำท่ิมแทง, ค�ำ ถากถาง, ค�ำดหู มนิ่ , คำ� แดกดัน, ค�ำถากถาง, ค�ำประชด พูดรวมๆ วา่ หมายถึง คำ� ดา่ ค�ำพดู เสยี ดแทงใหเ้ จ็บใจ มลี กั ษณะเปน็ ๒ ประการ คือ (๑) พูดปรารถนาจะท�ำให้เขาได้รับความเจ็บใจ หรือได้รับความ อับอาย ได้รับความอัปยศอดสู (๒) แสดงอาการที่ได้เห็นแล้วรู้สึกเจ็บใจ ได้รับความอับอาย ได้รับ ความอัปยศอดสู เรื่องที่ยกข้ึนมาเป็นค�ำด่า ท�ำให้เกิดเสียดแทง กระทบใจท�ำให้เกิด ความรู้สึกเจ็บใจ ไมพ่ อใจ เรียกวา่ อักโกสวตั ถุ คือ เรอื่ งสำ� หรบั ด่า มี ๑๐ อย่าง คือ ชาติก�ำเนิด ชื่อ โคตรหรือแซ่ การงาน ศิลปวิทยา โรค รูปพรรณ กิเลส อาบัติ คำ� ด่าอยา่ งอน่ื 226 พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี) www.kalyanamitra.org

การพดู ถ้าไมไ่ ด้เพ่งความเจ็บใจหรอื ความอัปยศ เปน็ การพดู ล้อเล่น แตไ่ ปกระทบเรอื่ งทเี่ ปน็ อกั โกสวตั ถุ เชน่ เรอ่ื งชาตกิ ำ� เนดิ เปน็ ตน้ พดู เจาะจงตวั กต็ าม พูดเปรยๆ ก็ตาม เปน็ อาบตั ทิ พุ ภาษติ สกิ ขาบทนเี้ ปน็ สจติ ตกะ มเี จตนาจงึ เปน็ อาบตั ิ ถา้ ไมม่ เี จตนาทเี่ ปน็ เทจ็ แตม่ งุ่ อรรถมุ่งธรรม มงุ่ แนะน�ำส่ังสอน โดยยกตวั อยา่ งขึน้ มา และตวั อยา่ งนนั้ กระทบอักโกสวตั ถบุ า้ ง ไมเ่ ปน็ อาบตั ิ เจตนารมณ์ของสกิ ขาบทน้ี สิกขาบทนี้ทรงบัญญัติไว้ เพ่ือให้ภิกษุระวังค�ำพูด ให้พูดไพเราะ น่า ฟัง ได้ประโยชน์ ไม่สรา้ งศัตรู โดยละเว้นคำ� ด่า ค�ำกระทบเปรยี บเปรย ซ่งึ เปน็ ค�ำหยาบคาย ซ่ึงมใิ ช่วาจาของชาวเมือง มิใชเ่ ป็นภาษาผู้ดี อนาปตั ตวิ าร ในสิกขาบทน้ี ท่านแสดงภิกษุผู้ได้รับยกเว้นไม่ต้องอาบัติไว้ คือ (๑) ภกิ ษผุ มู้ งุ่ อรรถ (๒) ภกิ ษผุ มู้ งุ่ ธรรม (๓) ภกิ ษผุ มู้ งุ่ สงั่ สอน (๔) ภกิ ษผุ วู้ กิ ลจรติ (๕) ภิกษุผู้มีจิตฟุ้งซ่าน (๖) ภิกษุผู้กระสับกระส่ายเพราะเวทนา (๗) ภิกษุ ผู้เปน็ ต้นบัญญัติ หรอื ภกิ ษอุ าทิกัมมกิ ะ ไดแ้ ก่ พวกภิกษุฉัพพคั คีย์ พระวินัยบัญญัติ 227 www.kalyanamitra.org

มุสาวาทวรรค สิกขาบทท่ี ๓ ค�ำแปลพระบาลีทเี่ ปน็ พุทธบัญญตั ิ “เปน็ ปาจิตตีย์ ในเพราะส่อเสยี ดภิกษุ” เน้ือความยอ่ ในหนงั สือนวโกวาท “สอ่ เสียดภกิ ษุ ตอ้ งปาจิตตยี ”์ อธบิ ายความโดยย่อ คำ� วา่ สอ่ เสยี ด มาจากคำ� วา่ เปสญุ ญวาท หมายถงึ คำ� พดู เหนบ็ แนม ค�ำพูดกระแนะกระแหน คำ� พูดนินทาลบั หลัง คำ� พดู ประชด ค�ำพดู สบประมาท ค�ำพูดยุแยง ลกั ษณะการพดู สอ่ เสียด คือฟังคำ� ข้างน้แี ลว้ ไปบอกข้างโนน้ และฟงั คำ� ข้างโนน้ แล้วมาบอกขา้ งน้ี โดยมีจุดมุง่ หมายหลกั ๒ ประการคือ เพอ่ื ทำ� ให้ ตัวเองเป็นท่ีรักของเขา และเพ่ือให้เขาแตกกัน เกิดความบาดหมางกัน อัน เปน็ การทอนกำ� ลังของท้ังสองฝา่ ย สิกขาบทน้ี ห้ามการพูดส่อเสียดภิกษุ ถ้าพูดส่อเสียดภิกษุ เป็น ปาจติ ตยี ์ สอ่ เสยี ดภกิ ษกุ บั อนปุ สมั บนั หรอื สอ่ เสยี ดอนปุ สมั บนั ทงั้ สองฝา่ ย เปน็ ทุกกฏ ได้ฟงั เรอื่ งจากฝ่ายหน่งึ มาแลว้ มาเล่าให้ฝ่ายหนึ่งฟัง โดยไม่ปรารถนา จะให้เขาชอบตนหรือให้เขาบาดหมางแตกแยกกัน เล่าไปตามจริงที่ตนได้ฟัง มา ไมเ่ ป็นอาบตั ิ 228 พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี) www.kalyanamitra.org

เจตนารมณข์ องสิกขาบทน้ี สิกขาบทนี้ทรงบัญญัติขึ้น เพื่อปรามภิกษุมิให้ท�ำตัวเป็นบ่างช่างยุ ท�ำให้ภิกษุเกิดความบาดหมางหรือแตกกัน อันเป็นการท�ำลายก�ำลังของหมู่ คณะให้อ่อนแอ หรือมุ่งเอาใจให้ทั้งสองฝ่ายเกิดความไว้วางใจรักชอบตนว่า เปน็ ผมู้ นี ำ้� ใจเกบ็ เรอื่ งราวของอกี ฝา่ ยมาบอกตน และเพอ่ื ปอ้ งกนั การบาดหมาง แตกแยกกนั ของสงฆ์ อนาปตั ติวาร ในสิกขาบทน้ี ท่านแสดงภิกษุผู้ได้รับยกเว้นไม่ต้องอาบัติไว้ คือ (๑) ภิกษุผู้ไม่ต้องการจะให้เขารัก (๒) ภิกษุผู้ไม่ประสงค์จะให้เขาแตกกัน (๓) ภกิ ษผุ ูว้ กิ ลจริต (๔) ภกิ ษผุ เู้ ป็นตน้ บัญญัติ หรอื ภิกษอุ าทิกัมมกิ ะ ไดแ้ ก่ พวก ภิกษฉุ ัพพัคคยี ์ มุสาวาทวรรค สิกขาบทท่ี ๔ คำ� แปลพระบาลีท่เี ปน็ พทุ ธบัญญัติ “อน่ึง ภิกษุใดสอนธรรมแก่อนุปสัมบันโดยว่า พรอ้ มกันทกุ บท เป็นปาจิตตยี ์” เนือ้ ความยอ่ ในหนังสอื นวโกวาท “ภิกษุสอนธรรมแก่อนุปสัมบัน ถ้าว่าพร้อมกัน ต้อง ปาจติ ตยี ์” พระวินัยบัญญัติ 229 www.kalyanamitra.org

อธิบายความโดยยอ่ คำ� วา่ ธรรม ไดแ้ ก่ บาลที เี่ ปน็ พทุ ธภาษติ สาวกภาษติ อสิ ภิ าษติ เทวตา ภาษติ ซ่งึ ประกอบดว้ ยอรรถ ประกอบดว้ ยธรรม ค�ำว่า อนุปสมั บัน คือ ผทู้ ย่ี ังมิไดอ้ ปุ สมบทเป็นภิกษุหรือเปน็ ภิกษุณี ได้แก่ สามเณร สามเณรี นางสิกขมานา นักบวชลัทธอิ นื่ และคฤหสั ถท์ ุกคน ท้งั ชายและหญงิ ค�ำว่า พร้อมกัน คือ สอนให้ว่าพร้อมกันต้ังแต่ข้ึนต้นบทและจบลง พรอ้ มกนั การสอนธรรมโดยว่าพร้อมกันทุกบทนี้เป็นเหตุให้ผู้ที่เรียนและผู้ว่า พรอ้ มกนั มจี ติ ใจเปน็ กนั เองกบั ผสู้ อน ไมเ่ คารพ ไมย่ ำ� เกรง ไมป่ ระพฤตใิ หเ้ หมาะสม ท่คี วรประพฤติต่อผู้สอน แม้มลู เหตขุ องสกิ ขาบทนก้ี เ็ พราะเกิดเร่ืองเช่นน้ีข้ึน สิกขาบทน้ีมุ่งไปที่การสอน มิได้มุ่งไปที่การสวด การสาธยายมนต์ ตา่ งๆ ซง่ึ ปกตติ อ้ งว่าพร้อมกนั อยู่แล้ว เจตนารมณ์ของสิกขาบทน้ี สิกขาบทน้ีทรงบัญญัติไว้ เพื่อรักษาสถานะความเป็นครู เป็นผู้สอน ท่ีน่าเคารพย�ำเกรง และเพ่ือมิให้ศิษย์ดูหม่ินครู ไม่ตีตนเสมอแบบเป็นกันเอง แล้วไม่เคารพย�ำเกรง 230 พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี) www.kalyanamitra.org

อนาปัตตวิ าร ในสิกขาบทน้ี ท่านแสดงภิกษุผู้ได้รับยกเว้นไม่ต้องอาบัติไว้ คือ (๑) ภิกษุผู้ให้สวดพร้อมกัน (๒) ภิกษุผู้ท�ำการสาธยายพร้อมกัน (๓) ภิกษุทัก อนุปสัมบันผู้กล่าวคันถะท่ีคล่องแคล่วโดยให้หยุด (แล้วสอนให้ว่าพร้อมกัน) (๔) ภิกษุทักอนุปสัมบันผู้สวดสูตรวกวนให้หยุด (แล้วสอนให้ว่าพร้อมกัน) (๕) ภิกษุผู้วิกลจริต (๖) ภิกษุผู้เป็นต้นบัญญัติ หรือภิกษุอาทิกัมมิกะ ได้แก่ พวกภิกษุฉัพพคั คีย์ มสุ าวาทวรรค สกิ ขาบทท่ี ๕ คำ� แปลพระบาลที เ่ี ปน็ พุทธบัญญตั ิ “อนึ่ง ภิกษุใดนอนร่วมกับอนุปสัมบันเกิน ๒-๓ คืน เปน็ ปาจิตตยี ์” เนอื้ ความยอ่ ในหนังสอื นวโกวาท “ภกิ ษนุ อนในทม่ี งุ ทบี่ งั อนั เดยี วกบั อนปุ สมั บนั เกนิ ๓ คนื ขน้ึ ไป ตอ้ งปาจิตตีย์” อธบิ ายความโดยย่อ สิกขาบทน้ี ช่วงแรกทรงห้ามมิให้ภิกษุนอนร่วมกับคฤหัสถ์โดยตรง แม้คืนเดียว เพราะมูลเหตุของต้นบัญญัติระบุว่า พวกอุบาสกมาฟังธรรมกัน ในศาลา เมื่อเทศน์จบแล้ว พระมหาเถระกลับไปยังที่พัก ส่วนพวกอุบาสกได้ พระวินัยบัญญัติ 231 www.kalyanamitra.org


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook