ในกาลเปน ท่จี บปุจฉาวสิ ัชนา แหง พระเจา มิลนิ ทแ ละพระนาคเสนเถระ มหา ปฐพซี ่งึ หนาแปดลานสแี่ สนโยชนน ี้ ไดห วน่ั ไหวหกสว นจนถงึ ทส่ี ดุ แหง นา้ํ , สายฟา กแ็ ลบ ล่นั , เทพดาท้ังหลายกย็ งั ฝนคอื ทพิ ยบุปผชาตใิ หต กลง, ทา วมหาพรหมก็ใหสาธกุ าร สําเนยี งกกึ กองใหญเปน ราวกะเสียงกึกกองแหงฟาคะนอง กไ็ ดม ีในทองมหาสมทุ ร. พระเจา มลิ ินทแ ละราชบรพิ ารท้ังหลาย ทรงนอมอญั ชลีดว ยเศยี รเกลา ถวายนมัสการ ดว ยประการฉะน.ี้ พระเจามลิ ินท มพี ระหฤทยั บนั เทงิ เกนิ เปรยี บ มีความถอื พระองคใ นพระหฤทยั ทําลายเสียแลว ทรงทราบสงิ่ ทเ่ี ปน แกน สารในพระพทุ ธศาสนา ไมมคี วามสงสยั ในพระ รตั นตรัยเปน อนั ดี เปน ผูไมมคี วามขนุ พระหฤทยั ไมมพี ระหฤทัยกระดาง ทรงเล่อื มใสใน คณุ ทงั้ หลายและบรรพชา ปฏปิ ทาดี อรยิ าบถทงั้ หลายของพระเถระเกินเปรยี บเปน ผมู ี พระหฤทัยสละสลวย ไมท รงอาลยั มีความถอื พระองคแ ละเยอ หยง่ิ อนั กาํ จดั แลว ดุจ พญานาคมเี ขย้ี วอันถอนเสยี แลว ไดร ับสง่ั อยา งนว้ี า “พระผูเปนเจา นาคเสน ดีแลว ๆ ปญ หาเปน พทุ ธวิสยั พระผเู ปนเจา วสิ ชั นาแลว , ในพระพทุ ธศาสนาน้ี ยกพระธรรม เสนาบดี สารบี ุตรเถระเสีย ผอู น่ื เชนกบั พระผเู ปน เจามิไดมี ในการทจี่ ะวิสชั นาปญ หา ได. พระผเู ปนเจา นาคเสน ขอพระผูเ ปน เจาจงงดโทษลวงเกนิ ของขา พเจา . พระผเู ปน เจาจงทรงไวซ งึ่ ขา พเจา วา เปน อุบาสกผูถงึ สรณะตลอดชีวิต ตัง้ แตวนั น้ีไป” ดังน.้ี กาลนนั้ พระเจามลิ นิ ท พรอ มดว ยหมพู ล เสดจ็ ไปหาพระนาคเสนเถระแลว ให สรา งพระมหาวิหารซง่ึ มลิ นิ ทวหิ ารถวายพระเถระทรงบาํ รงุ ปฏิบตั ิพระนาคเสนเถระกับพระภกิ ษุขีณาสพ ประมาณรอยโกฏิ ดว ยปจ จยั ท้ังส.่ี ทรงเลอ่ื มใสในปญ ญาแหงพระเถระอกี จึงทรงมอบ ราชสมบตั ิแดพระโอรส เสดจ็ ออกบรรพชา เจรญิ วิปส สนาแลวบรรลุพระอรหัต ดวย ประการฉะน.ี้ ดวยเหตนุ น้ั ทา นจงึ กลา วไวว า :- “ปญญาเปนธรรมชาตอิ ันประเสริฐทสี่ ดุ ในโลก, เพราะวาเปน ไป เพื่อความ ดาํ รงอยแู หง พระสัทธรรม, บณั ฑิตทั้งหลาย ฆาเสยี ซึง่ ความสงสยั ดว ยปญญาแลว ยอ ม ถึงธรรมชาตเิ ปนทรี่ ะงบั . ปญญาตงั้ อยใู นขนั ธใด, สติในขันธใด มไิ ดบ กพรอง, ขันธนนั้ ทรงไวซ ง่ึ บชู าอนั วิเศษ เปน ยอดยง่ิ ไมม อี ะไรเกินทีเดยี ว. เพราะเหตนุ ั้นแล บคุ คลผู ดําเนนิ ดว ยปญ ญา เม่อื เล็งเหน็ ประโยชนของตน พึงบชู าทา นผมู ปี ญ ญาดุจบชู าพระ เจดยี ฉนั นน้ั ,” ดวยประการฉะน.้ี ปญ หาเวยยากรณปกรณ
แหง พระเจามลิ ินทและพระนาคเสนเถระจบ อธิบายทายเรือ่ ง มิลินปญ หา เปน ปกรณม มี าเกา แกและสาํ คัญปกรณหนง่ึ ในพระพทุ ธศาสนา ไมปรากฏวาทา นผูใดเปน ผรู จนา เช่ือกนั วา รจนาขน้ึ ในราวพทุ ธศกั ราช 500 ปรากฏตาม มธรุ ตั ถปกาสนิ ี ฎกี าแหง มลิ นิ ทปญ หา ซึง่ รจนาโดยพระมหติปฎ กจฬุ าภัย วาพระพุทธ โฆษาจารย เปน ผูแ ตงนทิ านกถาและนิคมกถาประกอบเขา สวนตัวปญ หา ทานหาได กลาววาผูใดแตไม มลิ นิ ทปญ หาแบง ออกเปน หกสวน คอื บพุ พโยค วา ดวยบุพพกรรมและประวัติ ของพระนาคเสนและพระเจา มลิ ินท มลิ นิ ปญ หาวา ดวยปญ หาเงอื่ นเดยี ว เมณฑก ปญหา วา ดว ยปญ หาสองเงื่อน อนุมานปญหา วา ดวยเรือ่ งทรี่ ูโดยอนมุ าน ลกั ขณ ปญ หา วา ดวยลักษณะแหงธรรมตา ง ๆ อปุ มากถาปญหา วา ดวยเรือ่ งทจี่ ะพงึ ทราบดวย อุปมาในหกสว นน้ี บางสว นยกเปน มาตกิ า บางสว นไมย กเปนมาตกิ า จดั รวมไวใน มาตกิ าอน่ื คอื ลกั ขณปญ หารวมอยใู นมลิ นิ ทปญหา อนมุ านปญหา รวมอยูใ นเมณฑก ปญหา เพราะฉะน้ัน เมื่อจะจัดระเบยี บใหเ ปน หมวดหมสู ะดวกแกการคน ดู ตอง แบงเปนส่ีสว น เรียงลาํ ดบั ดงั นี้ บพุ พโยค ซง่ึ เรยี กวา พาหริ กถา หน่ึง มลิ นิ ปญ หา หนง่ึ เมณฑกปญหา หนงึ่ และอปุ มากถาปญหา หนง่ึ เก่ยี วกบั ระยะเวลาแหง การรจนามลิ นิ ปญหาปกรณน ี้ สมเด็จพระสังฆราช (อุฏ ฐายมี หาเถร) ทรงสนั นษิ ฐานไวว า ในพทุ ธโฆสปั ปวตั ตกิ ถา ทา ยคัมภรี ว สิ ทุ ธิมคั ค กลา ว วา พระพทุ ธโฆษาจารยเ กดิ เมอ่ื พระพทุ ธศาสนากาลลว งแลว ๙๕๖ พรรษา ในพาหริ กถาแหง มลิ นิ ปญหากลา ววา พระเจา มิลนิ ทท รงสมภพ เมอ่ื พุทธศักราช ๕๐๐ ป แตไ ม ปรากฏวา พระเจามิลนิ ททรงครองราชสมบัตใิ นสาคลนคร เมื่อพระพทุ ธศกั ราชลว งแลว เทา ไร ปรากฏแตเ พยี งวา พระเจา มิลินทท รงชอบรกุ รานถามปญ หาธรรม จนไมม ใี คร สามารถจะวสิ ชั นาได สมณพราหมณจ ึงตา งพากนั หนีออกไปหมด สาคลนครวา งเปลา จากสมณพราหมณผ เู ปน บณั ฑิตอยูถงึ ๑๒ ป พระนาคเสนจึงไดอบุ ตั ิขน้ึ และบรรพชา เปนสามเณรเมอื่ อายไุ ด ๗ ขวบ อปุ สมบทเม่ืออายุ ๒๐ ปเ ตม็ บรรลุโสดาปตติผลแลว จงึ ไปเรยี นพระพุทธวจนะในสาํ นักของพระพทุ ธรักขติ เถระ ที่อโสการาม เมอื่ งปาฏลีบตุ ร เรยี นพระไตรปฎกใชเวลาในการเรยี น ๓ เดือน และพจิ ารณาอรรถแหงพระพทุ ธวจนะท่ี เรียนแลวอกี ๓ เดือนจงึ จบ พรอมท้งั ไดบรรลุพระอรหัต แลว จงึ กลับสสู งั เขยยบริเวณ
จนถงึ ไดพ บกบั พระเจา มิลนิ ทกระทําปุจฉาวสิ ชั นากะกนั และกนั ระยะกาลตั้งแตพ ระ นาคเสนอปุ สมบทแลว ถงึ วสิ ัชนาปญ หากบั พระเจามิลนิ ทน้ี อนมุ านดไู มแ นว า กปี่ แตก็ คงไดค วามวา พระนาคเสนเกดิ ภายหลงั พระเจา มลิ นิ ทห ลายสิบป คงในราวพระ พุทธศกั ราช ๕๓๐ ป จะออนแกไ ปบา งกค็ งไมมากนกั มลิ ินปญหาน้คี งคดิ ขึน้ ในราว พทุ ธศกั ราช ๕๕๐ ปข ึ้นไป เพราะฉะนัน้ เมื่อประมวลหลกั ฐานที่มาทงั้ สามสถาน ประกอบกนั เขาแลว คงไดค วามวา ตวั มิลินทปญ หาเกิดขน้ึ ราวพทุ ธศกั ราช ๕๕๐ ป และ พระพทุ ธโฆษาจารยไ ดแตงนิทานกถากบั นคิ มกถาประกอบเขาใหบ รบิ ูรณ ไดล ักษณะ แหงปกรณในระหวา งพุทธศักราช ๙๕๖ ถงึ ๑๐๐๐ ป ศาสตราจารยร ิส เดวดิ ส (Prof. Rhys Davids) ผแู ปลมลิ นิ ทปญ หาเปน ภาษาอังกฤษเปน คนแรก (เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๓) ไมไ ดร ะบผุ รู จนา กลา วแตเ พียงวา มลิ นิ ท ปญ หา เปน หนงั สือท่ีแตง ข้ึนทางอนิ เดยี ภาคเหนอื ราวแรกตง้ั ครสิ ตศกั ราช (ครสิ ต ศักราชเรมิ่ เมอ่ื พ.ศ. ๕๔๓) ในเวลาทพี่ ระพุทธศาสนายังไมเกิดแตกแยกกันเปนนกิ าย มหายาน ขา งฝา ยเหนือ และนกิ ายเถรวาท ขา งฝา ยใต และวามลิ นิ ปญ หาน้ี เดมิ คงแตง ข้นึ ในภาษาสนั สกฤตหรือภาษาปรากฤตเชนเดียวกับคมั ภรี อ ่นื ๆ ที่รจนาข้นึ ในทาง อนิ เดยี ภาคเหนอื แตฉ บับเดมิ สาบสูญไปเสยี แลว ฉบบั ท่ปี รากฏสบื มาจนบัดนี้นน้ั เปน ฉบับท่ชี าวลังกาไดแปลเปน ภาษาบาลไี ว วี. เทรงกเ นอร (V. Trenckner) ซงึ่ เปน ผถู า ยทอดมิลนิ ทปญหาออกเปน อักษร โรมนั เปน คนแรก (เมือ่ พ.ศ. ๒๔๒๓) กลาววา มลิ นิ ทปญหาน้ี รจนาขน้ึ ราว ครสิ ตศตวรรษที่ ๑ และลงความเหน็ วา ตน ฉบับเดมิ เปนภาษาสนั สกฤต และใชค ํา เร่มิ ตน วา “ตม ยถานุสยู ต” แทนท่ีจะใชค าํ เรม่ิ ตนทีน่ ยิ มใชก นั ในคมั ภยี บาลที วั่ ๆ ไปวา “เอวมเม สุต”ํ และวา เปน ปกรณทรี่ จนาขึ้นทางอนิ เดยี เหนือ อนั เปน ดนิ แดนทีอ่ ยใู น ความปกครองของพระเจา เมนันเดอร (มิลินท) ซึง่ ดกู ไ็ มน าจะมอี ะไรเกีย่ วของกับลงั กา ทวีป สวนทานอานนั ท เกาศลั ยายนะเถระ (Anand Kausalyayana) ชาวอนิ เดีย กลาววา มิลนิ ทปญ หานัน้ รวบรวมขน้ึ โดยพระนาคเสนมหาเถระ และเปน คัมภีรท ีม่ ี หลกั ฐานดีเลม หนงึ่ มลิ นิ ทปยหาคงรจนาขึน้ ในสมยั พระเจาเมนนั เดอร (มิลินท) หรอื หลงั จากนน้ั แตจ ะตองรจนาขน้ึ กอ นสมัยพระพุทธโฆษาจารย เพราะพระพทุ ธโฆษา จารยมักจะอา งถงึ มิลนิ ทปญหาเสมอ เมอื่ ประมาณดแู ลว มิลนิ ทปญหาคงจะรจนาขึน้ ๑๕๐ ป กอ นคริสตศักราช ๔๐๐ ป เมอ่ื ถือวา มิลนิ ทปญ หามหี ลักฐานทาง ประวตั ศิ าสตร สิง่ ทคี่ วรพิจารณาตอไปก็คือใครเปน ผรู วบรวมข้ึน รวบรวมขน้ึ เมื่อไร มี การเพม่ิ เติมลงไปบา งหรือไม และถา มีการเพมิ่ เพม่ิ เติมไปเม่อื ไร มีผูเสนอควาคดิ วา มลิ ิ
นทปย หาไมใ ชเ ปนคัมภีรท่รี จนาขึ้นโดยบคุ คลคนเดียว เพราะแตล ะตอนมลี ลี าการแตง แตกตางกนั บางทีจะมกี ารเพิม่ เขาในภายหลังเปน บางตอนก็ได ขอพิสจู นคาํ ท่ีกลา วนีม้ ี อยวู า ฉบบั ทแี่ ปลเปนภาษาจนี ระหวา งครสิ ตศกั ราช ๓๑๗–๔๒๐ (พทุ ธศกั ราช ๘๖๐– ๙๖๓) ซ่ึงเรียกวา นาคเสนสตู รน้ัน มเี พียง ๓ ตอนแรก เมือ่ พิจารณาตามหลกั น้ี จะเหน็ ไดว า ๔ ตอนท่ีเหลือเพิ่มเขามาในภายหลัง ขอ เท็จจรงิ อกี ประการหนง่ึ ท่ีสนบั สนนุ คาํ กลา วขา งตน คอื เมอื่ จบตอนท่ี ๓ แลว กแ็ สดงวา พระเจา มิลนิ ทท รงถามปญหาจบลง แตถึงตอนท่ี ๔ กลบั เหมอื นทรงเริม่ ตน ถามใหมอีก จงึ มที างสันนิษฐานไดเปน ๓ ทางคอื (๑) อาจจะมกี ารเพม่ิ เติมเขา มาภายหลงั อีกหลายตอน (๒) อาจจะแตงข้นึ ครบบริบูรณ อยางที่ปรากฏอยูในปจจุบนั นี้มาเดมิ แลว และ (๓) ชาวจีนอาจจะเลอื กแปลไวเพียง ๓ ตอนแรกก็ได นาง ไอ. บี. ฮอนเนอร (I.B.Horner) กลา ววา มลิ นิ ทปญ หาอาจจะไมไ ดแตง ขึน้ ในสมัยของพระเจา มลิ นิ ท นาย เอส.ดตุ ต (S.butt) ประมาณวา อาจจะรอยกรองขน้ึ ใน ยคุ ตอ ๆ มาอกี ชา นาน และนาย เอ.แอล.บาชมั (A.L. Basham) กว็ า บางทกี อ็ าจจะ รจนาขึ้นในคริสตศตวรรษที่ ๑ หรอื มฉิ ะน้นั กร็ าวแรกตง้ั คริสตศักราช แตอ ยางนอ ยก็ ตองกอ นพระพุทธโฆษาจารยไปลงั กา แมจ ะไมท ง้ั หมดก็ตอ งบางสว นหรือไมก ็ภายหลัง ท่ีพระไตรปฎกไดจัดเปนชาดก เปนทฆี นกิ าย มัชฌิม-สังยตุ ต-อังคตุ ตร-ขทุ ทกนิกายแลว สว นภาณกาจารยผทู าํ หนา ท่ีในการรวบรวมนนั้ ก็คงจะรวมอยใู นจาํ นวนผทู ่ีพระนาค เสน กลา ววา เปนผทู ีอ่ ยใู นธรรมนครของพระพุทธเจา เอ.ดี.แอดกิ ารมั (A.D.Adikaram) ไดใ หขอสังเกตไวต ามทเี่ ขาสอบสวนไดวา นา ประหลาดที่ชือ่ บคุ คลตาง ๆ ทีป่ รากฏอยู ในขทุ ทกภาณกะนนั้ ไมมีกลา วถงึ ในอรรถกถาอนื่ เลย ขา พเจา เอง (นางฮอนเนอร) ก็ไม พบเหมอื นกัน แตเกยี่ วกบั พน้ื ฐานของขอ ความตาง ๆ ในมิลนิ ทปญหานี้ เขา (นายแอดิ การัม) ไดสรุปไววาเกิดขน้ึ ในอินเดยี มิใชเกดิ ขนึ้ ในลงั กา นางฮอนเนอร ไดใ หขอ สงั เกตตอ ไปอกี วา เปน ทนี่ า สงั เกตวาในอัตถสาลินี อาง ขอ ความบางตอนจากมลิ ินปญ หา ตอนที่ ๑-๓ และธมั มปทัฏฐกถา กอ็ า งขอความจาก มิลนิ ปญหา ตอนท่ี ๔-๖ ดว ย…. หลักฐานตา ง ๆ เหลา นีแ้ สดงวา พระพทุ ธโฆษาจารยมี ความชาํ นิชาํ นาญในมลิ นิ ทปญ หาเปน อยา งดี ดังนน้ั มลิ ินทปญหาอาจจะไดร จนาขน้ึ ในอนิ เดีย หรือแคชเมียร เมือ่ ประมาณ ๓๐๐–๔๐๐ ปกอนทจ่ี ะตกเขามาในประเทศ ลังกา เมือ่ เทยี บใหเหน็ ขอ ตางกันแลว จะเหน็ วา วิสทุ ธมิ รรคของพระพทุ ธโฆษาจารยน ั้น ใหค วามรูในทางปฏบิ ัติเพ่อื สงเสรมิ การทาํ ตนใหบรสิ ทุ ธิ์อยางละเอยี ดละออ สว น พนื้ ฐาน การอธิบาย และการแนะนาํ ตา ง ๆ ในมิลนิ ทปญหานั้น เปน ไปในทางพฒั นา ปญญามากกวามใิ ชเปน แบบแผนในการเจรญิ สมาธิภาวนา จุดมงุ หมายตามทแ่ี สดงไว
กค็ อื ตองการจะขจดั สาเหตแุ หงความเคลือบแคลงสงสยั ตาง ๆ อนั อาจจะเกิดขนึ้ ได เน่ืองจากการมีความเหน็ ขดั แยงกนั เก่ียวกบั พระคมั ภีร หรอื อรรถแหงคาํ สอนใหห มดสนิ้ ไป และเพือ่ จะขจดั ปญ หายงุ ยากตา ง ๆ เพ่อื อนชุ นในอนาคตจะไดร ับคาํ ตอบท่ถี ูกตอ ง เกย่ี วกับปญหาสองแง อนั อาจทาํ ใหเกิดความฉงนสนเทห และเพ่ือจะทําใหการโตเถยี ง กนั อันจะพงึ มไี ดใ นอนาคตเก่ยี วกบั ปญหาเหลา นีห้ มดสนิ้ ไป ผแู ตงจะตอ งไดบ นั ทกึ การ สนทนาท่เี กิดขน้ึ จริง ๆ หรือวา เชอื่ วา เกิดขนึ้ จรงิ ระหวา งกษัตริยผ ทู ่ที รงพระปรชี า สามารถเปน อยางยิ่ง (ซ่งึ อาจจะเปน กษตั ริยก รกี บากเตรยี น แตนาจะเปนบากเตรยี ม กรกี มากกวา ) กบั พระนาคเสนซ่ึงมคี วามสามารถพอ ๆ กนั หรอื ไมเ ชน นนั้ กจ็ ะตอ งคดิ แตง ขึ้นมาเอง โดยมีการรวบรวมและเพมิ่ เตมิ มาเรือ่ ย ๆ นับเวลาเปน ป ๆ และอาจจะมี คณะหรือศษิ ยช วยเพ่มิ เติมตอ ๆ มาดว ย และดว ยวิธีดงั กลาวนเ้ี อง จงึ ทาํ ใหก ลายเปน งานทมี่ ีหลกั ฐาน มีสาระและมีความสาํ คัญขน้ึ จงึ กลาวไดในท่ีสดุ วา มลิ ินทปญ หานี้ เปนผลงานของรจนาจารยมากกวาหนง่ึ ทา น ลลี าอันกระทดั รดั ในตอนตน ๆ ของคัมภรี นี้ ซ่ึงเราจะเหน็ วา แตกตางกนั กบั ตอนทาย ๆ ทแ่ี สดงใหเ หน็ ถงึ ความชาํ นชิ าํ นาญในทาง สาํ นวนวรรณคดี ยอ มจะเปน เคร่อื งสนบั สนุนสมมตฐิ านดงั กลา วน้ไี ดเปน อยางดี สว นศาสตราจารยร ิส เดวดิ ส ไดใ หข อ สรุปเกย่ี วกบั ผรู จนามลิ นิ ทปญ หานไี้ ววา เม่อื ประมวลหลกั ฐานตางๆ จากช่อื สถานที่สําคญั และแมนาํ้ สาํ คญั ทกี่ ลา วถงึ ในภัมภรี นแ้ี ลว กพ็ อสรุปไดว า ผรู จนาคมั ภรี น้ี อยทู างภาคตะวนั ตกเฉยี งเหนือของประเทศ อนิ เดีย หรอื ในแควน ปญจาบของอนิ เดยี (ปจจบุ นั ) และเหตผุ ลที่จะมาสนบั สนนุ ความเหน็ ดงั กลา วน้ีใหห นกั แนน ยงิ่ ข้นึ ก็คือวา ในทอี่ น่ื ๆ โดยเฉพาะอยา งยิง่ ในประเทศ ลงั กา ซง่ึ อาจจะพจิ ารณาวาเปน ทอี่ ยูของผแู ตงคมั ภีรน ี้ หากทา นไมไ ดอ ยใู นทที่ กี่ ลาว มาแลวขางตนกไ็ ดน น้ั ไมป รากฏวา มอี นุสรณอ ะไรเกี่ยวกบั พระเจา เมนนั เดอรอยูเลย และศาสคราจารยร ิส เดวดิ ส ยังไดกลาวอีกวา มลิ นิ ทปญหานี้รจนาขนึ้ ภายหลงั คมั ภีรกถาวัตถุ ซง่ึ เปน คมั ภีรใ นพระอภธิ รรมปฎกทีแ่ ตง โดยพระโมคคัลลบี ตุ ร ตสิ สเถระ ในคราวทาํ สังคายนาครงั้ ที่ ๓ หลังพทุ ธปรนิ พิ พานแลว ๒๓๕ ป เพราะเม่ือ เปรียบเทียบคัมภรี ท้งั สองนด้ี ูแลว จะเหน็ วา ขอความในมลิ ินปญ หาหลายตอนมาจาก คัมภรี กถาวัตถุ เชน ปญหาเรื่องทพิ จักษเุ ปน ไดจรงิ หรือไม เร่ืองคฤหสั ถท ่ีบรรลพุ ระ อรหัตแลวจะบวชดวยวธิ ีอยางไร เปน ตน ตรงกบั ความในกถาวัตถทุ กุ อยาง และในกถา วตั ถุยังละเอียดพศิ ดารกวาอกี ดวย และเปนธรรมดาวา ขอ ความในคัมภีรท ่ีเกา กวา นนั้ มักจะถกู นาํ มาอา งในคมั ภรี ท ี่แตง ทหี ลงั และความมุงหมายก็อยา งเดียวกนั คือเพ่อื ปราบพวกมจิ ฉาทิฏฐิและปอ งกนั พระศาสนาจากพวกพาหริ ลทั ธิ
พระเจา มิลินท คือใคร ? ภรัต สิงห อุปธ ยายะ (Bharat Singh Upadhyaya) ได ใหค ําตอบในปญ หานีไ้ วา วา พระเจา มลิ ินทน ้นั เปน องคเ ดยี วกับพระเจา เมนนั เดอร กษัตรยิ ช าติอนิ โดกรีก ซง่ึ เปนผูทรงอุปถมั ภและสนบั สนุนพระพทุ ธศาสนา ทีส่ าํ คัญ พระองคห นงึ่ ระหวา งศตวรรษท่ี ๒ คําวา มลิ นิ ท มาจากคาํ ภาษากรีกวา เมนนั ดรอส (Menandros) นกั เขียนในสมยั นน้ั เรยี กพระนามของกษตั ริยพ ระองคนี้ หลายอยางดวยกัน เชน ในหนงั สอื อวทานกัลปลดา ของทา นเกษเมนทร (Ksemendra’s Avadanakalpalata) เรยี กพระนามของกษัตริยพ ระองคน ี้วา มลิ นิ ทร (Milindra) ซ่งึ เปนนามเดยี วกนั กับทพี่ บในหนงั สือหมวด ตันเชอร (the Bstan-hygur) แหงพระไตรปฎ กธิเบต คาํ จารกึ หีบศพภาษาชนิ กอต (Shinkot) เปนตัวอักษร ขาโรษฐิ (Kharosthi) เรยี กพระนามของกษตั ริยพระองคน ้ีวา เมนัทระ (Menadra) หลักฐาน สาํ คญั ท่พี อจะประมวลเร่อื งราวของกษัตรยิ ช าติอินโดกรกี พระองคน ี้ กค็ อื มิลนิ ทปญหา นัน่ เอง เรื่องราวของนกั ประวัตศิ าสตรกรีก เชน สตราโบ (Strabo) พลตู ารก (Plutarch) และจัสตนิ (Justin) และเหรียญของพระเจาเมนนั เดอรเอง ซงึ่ จารกึ ตัวอกั ษรวา “Basileus Soteros Menandros” ทีค่ นพบในทต่ี า ง ๆ ๒๒ แหง ในลมุ นา้ํ กาบุล (Kabul) และสินธ (Sindh) และในบรเิ วณภาคตะวนั ตก ของมณฑลอุตตรประเทศ (Uttar PradesH) นักปราชญห ลายทานมคี วามเหน็ แตกตา งกนั ในเรอื่ งสมยั อันแนนอนของ พระเจาเมนนั เดอร สมธิ (Smith) มคี วามเหน็ วา พระเจาเมนนั เดอรรงุ เรืองอยใู นกาล ศตวรรษที่ ๒ กอ น ค.ศ. เอช.ซี.เรยเชาธุรี (H.C. Raychaudhuri) กลาววา พระองคท รง พระชนมอ ยูในศตวรรษท่ี ๑ กอ น ค.ศ. ใน มลิ นิ ทปญ หากลา ววา พระเจามิลนิ ทท รงพระชนมอ ยู หลงั พทุ ธปรนิ พิ พาน ๕๐๐ ป ฉะนัน้ จงึ มเี หตุผลเพยี งพอท่จี ะกลา ววา กษตั ริยกรกี พระองคน ี้ ทรงครองราชยใน ศตวรรษท่ี ๑ กอน ค.ศ. หรอื ราว ๆ นนั้ ซงึ่ มขี อ เท็จจริงอน่ื ๆ ยนื ยนั อกี เปน อนั มาก ในมิลิ นทปญหากลา ววา พระเจา เมนนั เดอร เปน พระราชาแหง พวกโยนก “โยนกานํ ราชา มิ ลินโท” คําบาลี โยนก หรือโยน (สนั สกฤตวา ยวน) เปนคาํ เดยี วกบั ภาษาเปอรเ ซียน โบราณวา “เยาวนะ” ซง่ึ แตเดมิ หมายถงึ พวกไอโอเนยี นกรกี (Ionian Greeks) แตตอมา เลอื นไป หมายถงึ พวกกรีกทั้งหมด อาณาจักรของพวกโยนะ Yonas) และพวกกมั โพชะ (Kambojas) เปนทร่ี จู กั แกช าวอินเดียในศตวรรษที่ ๖ กอ น ค.ศ. ดังมหี ลกั ฐานอยูใ นอัส สลายนสตู ร มชั ฌิมนกิ าย ซง่ึ แสดงวา ประชาชนของอาณาจกั รเหลา น้ี มีเพยี ง ๒ วรรณ คอื พวกนาย (Arya) และพวกทาส (Dasa) แทนทจี่ ะมี ๔ วรรณเหมอื นในสงั คมอนิ เดีย เปน ขอ เท็จจรงิ ทที่ ราบกนั ทว่ั ไปแลว วา หลังสังคายนาครัง้ ท่ี ๓ ซงึ่ ทําท่ีกรุงปาฏลบี ตุ ร ได มีการสง นกั เผยแพรพ ระพทุ ธศาสนาไปยังประเทศโยนะอันหา งไกล อนั ประกอบไปดว ย
อาณาจกั รพระเจาอนั ตโิ อคอสท่ี ๒ แหง ซเี รยี (Antiochos II of Syria) อาณาจกั รของ พระเจา อนั ตีโกนอส โนาตอส แหงเมซิโดเนีย (Antigonos Gonatos of Macedonia) เปน ตน ขอ ความนไ้ี ดกลา วไวในศิลาจารกึ นนั้ มคี ํากลา วตอไปอกี วา พระภิกษุชาวกรกี ชื่อ ธรรมรักขติ (Yona Dhammrakkhita) ถูกสงไปประกาศพระศาสนาในอปรานตก ประเทศ ฉะนนั้ จงึ เหน็ ไดชดั เจนวา คาํ สอนอันประเสรฐิ ของพระพทุ ธเจา ไดเ ขา ถงึ จิตใจ ของชาวกรกี กอ นสมัยของพระเจาเมนันเดอร แตส วนมากเราไดท ราบกนั วา กษตั ริย พระองคนเี้ ปนพระองคแ รกทท่ี รงสนพระทยั ในคาํ สอนของพระพทุ ธเจา โดยทรงตง้ั ขอ สงสัยข้นึ หลายประการ เม่ือพระองคท รงไดส ดบั คําวิสชั นาของพระนาคเสนอจนหมด ความสงสัยแลว พระองคก ท็ รงสนบั สนนุ ในการเผยแพรพระพุทธศาสนา ในมิลนิ ปญหา กลาววา พระเจา มิลนิ ทป ระสตู ทิ ต่ี ําบลกลสิคาม ในเกาะอลสันทะ คอื เมืองอเล็กซานเด รีย (Alexandria) หรือกันทหาร (Kandahar) ในปจจบุ ัน นครหลวงของพระองค คือ เมืองสาคละ ซึ่งเปนเมอื งเดียวกนั กับเมืองสงั คาล (Sangal) ของนกั ประวตั ิศาสตรกรีก ชอ่ื แอรเรียน (Arrian) และเมืองสาคาล (Sagal) หรือยูธเู มเดยี (Euthumedeia) ของป โตเลมี (Ptolemy) เมืองน้อี ยูในบรเิ วณเมอื ง ไสอลั กอต (Sialkot) ในมลฑลปญจาบ อาณาจกั รของพระเจา เมนนั เดอรป ระกอบดวยมณฑลเปษวาร (Peshawar) ลมุ นา้ํ กา บลุ ตอนบน มณฑลปญจาบ (Panjab) มณฑลสนิ ธ (Sindh) มณฑลกาเธยี วาร (Kathiawar) และมณฑลอตุ ตรประเทศตะวนั ตก เม่ือพระเจามิลนิ ทท รงนับถอื พระพทุ ธศาสนาแลว พระองคก็ทรงสรางวหิ ารชือ่ มลิ ินทวหิ าร ถวายพระนาคเสน นอกจากน้ี พระองคย งั ไดท รงขยายอาณาจักรแหง พระพทุ ธศาสนาออกไปอกี เปน อนั มาก ตามหนงั สือมลิ นิ ทปญ หา พระเจา มลิ ินทส วรรคต เมอื่ ทรงผนวชเปน ภิกษุ หลงั จาก ทรงสละราชสมบตั แิ ละราชอาณาจักรใหแ กราชโอรส กลา วกันวา พระองคไ ดบ รรลุพระ อรหัต ซงึ่ เปน จดุ หมายปลายทางของพระพทุ ธศาสนาแบบเถรวาทดวยอกี ประการหนง่ึ ท่ีเหรยี ญของพระเจา เมนนั เดอร มีตราพระธรรมจกั ร จึงเปนเหตผุ ลท่ีไมผิดพลาดวา พระองคท รงเปนพทุ ธศาสนกิ ท่ีเครง ครดั อนง่ึ ศิลาจารกึ ภาษาชนิ กอต ก็ไดพ ิสจู นใ ห เห็นวา กษตั รยิ กรีกพระองคน ้ี ไดท รงเผยแพรพ ระพทุ ธศาสนาใหแพรห ลายไปในอาณา บรเิ วณตงั้ แต ภเู ขาฮินดกู ูษ จนถงึ แมน า้ํ สนิ ธุ พลูตารก กลา วตอ ไปวา ในฐานะท่พี ระองค ทรงเปน กษัตรยิ พระองคท รงมีความยุตธิ รรมอยางยอดเย่ียม และทรงเปน ท่รี กั ใครข อง ปวงชนทกุ ชน้ั แมว าอาํ นาจทีพ่ ระองคท รงสถาปนาขน้ึ จะเสอ่ื มสูญไปจากอนิ เดียพรอ ม กับการสนิ้ พระชนมข องพระองคกต็ าม แตอนสุ าวรียอ นั แสดงถงึ ความท่ีพระองคทรงมี ความยตุ ิธรรม มีพระปรีชาสามารถ และเปน พทุ ธศาสนิกผูเครงครดั จะยืนยงคงอยคู กู ับ หนงั สือมิลนิ ทปญ หา และเหรียญตราธรรมจกั รของพระองคช ั่วกัลปาวสาน
ศาสตราจารยร ส เดวิดส ไดใ หคาํ อธบิ ายในเร่ืองน้ีไวว า พระเจา มิลินทน นั้ เขาใจกนั วา คือ พระเจาเมนันเดอร ซึ่งมพี ระนามปรากฏอยใู นบญั ชีกษัตรยิ ก รกี ท่ี ปกครองบากเตรีย (คอื กาฟฆานสิ ตาน) ในตํานานนนั้ กลาววา พระองคทรงเปน กษตั ริย แหง โยนกะ (กรีก) ครองราชยในเมืองสาคละ (the Euthydemia of the Greeks) และก็ ปรากฏวา ไมม พี ระนามอื่นในบญั ชดี ังกลา วที่ใกลเ คยี งกบั คําวา มลิ นิ ท จงึ มน่ั ใจไดวา นามทงั้ สองดงั กลา วแลว เปนบุคคลคนเดยี วกนั รจนาจารยค งจะไดเปล่ยี นแปลงช่อื ภาษากรกี เสยี ใหม เพอ่ื ใหเ หมาะสมกบั ภาษาทองถิ่นของอนิ เดยี ทนี่ ํามาใชใ นการรจนา (มิลินทปญ หาน)้ี หรอื ไมก็เปน เพราะความเปล่ยี นแปลงไปเองตามธรรมชาติ ในทางการ ออกเสยี ง (phonetic decay) หรอื อาจจะเปน ไปเพราะสาเหตทุ งั้ สองประการดงั กลาว แลวกไ็ ด คาํ วา “อินทร” หรอื “อินท” นัน้ ไมใ ชสาํ หรบั ใชล งทา ยคาํ ท่ัวไปทใี่ ชเ ปน ชือ่ ของ ชาวอนิ เดยี เพราะความหมายวากษัตริย (meaning king) กค็ วรจะเหมาะสมกบั กษัตริยเ ทา นน้ั เพราะฉะนน้ั พระนามของกษตั รยิ ตางดาวที่ลงทายคําวา “แอนเดอ” (Ander) ก็นา จะตอ งใชคาํ ลงทา ย (ในภาษาอนิ เดยี ) วา “อินท” อยางไมต อ งสงสยั แต กฎในการเปลยี่ นอักษร ม-น-น ในภาษาทอ งถนิ่ ของอนิ เดยี นน้ั อาจจะมีวธิ ีเปลีย่ นไม เหมือนกนั บาง ในบางโอกาส นาย ว.ี เทรงคเนอร (V. Trenckner) ไดใหต ัวอยา ง เกี่ยวกับการใช ล แทน น หรือใช น แทน ล ไดใ นความหมายท่ีเหมือนกนั ในภาษาบาลี ไวถ งึ ๗ ตวั อยา ง ก็ยงั เหลือแตป ญ หาในการเปลี่ยนสระตัวแรก คอื “เอ” (E) ในคาํ วา เมนนั เดอร เปน “อิ” (I) ในคําวา มิลิน เทา นนั้ ในบางตอนของศิลาจารกึ ของอินเดีย และในเหรยี ญท่เี ช่ือกนั วา เปน ของ พระเจาเมนนั เดอร นน้ั เคยอา นพระนามของกษตั รยิ พ ระองคน ี้ วา “มินนั ทะ” (Minanda) แมว า ปจ จบุ นั นเี้ ราจะไมเ ชือ่ การอานออกเสียงดงั กลา วแลว เพราะมี หลกั ฐานใหมท ีด่ กี วา ก็ตาม แตก ็ไมต อ งสงสัยวา คาํ วา มลิ นิ ท นน้ั พดู ไดคลองปากกวา คาํ วา เมลนิ ท และคาํ วา “มิล” (MIL) ดจู ะเปน คาํ เร่ิมตนทเี่ หมาะเจาะกับชอ่ื ของ “มลิ ักขะ” ดกี วา และเพราะคําวา “อนิ ทร” นนั้ ใชเ ฉพาะกบั พระนามของพระเจา แผนดนิ ฉะนน้ั คาํ วา เมนันเดอร จงึ กลายเปน มิลนิ ท ไป นอกจากน้ี รจนาจารยก ย็ ังไดกลาวถงึ ชื่อที่เปนภาษากรีกอืน่ ๆ อกี หลายชอ่ื เชน เทวมนั ตยิ ะ อนนั ตกายะ มังกุระ และสพั พทินนะ และยังมชี ่อื กรีกในรปู ภาษาบาลที ่ี พยายามทาํ ใหม ีความหมายเขากนั ไดก บั ภาษาทองถนิ่ ของอนิ เดีย แตวา รปู คําใหมข อง แตล ะช่อื ดังกลาวแลวน้ันไมเ ปนภาษาอนิ เดยี อยา งแทจรงิ เหมือนกบั คําวา
มิลินท ดงั นน้ั คาํ วา เทวมนั ตยิ ะ ซ่งึ เขาใจวา กลายรูปมาจากคาํ วา เดเมตริโอส (Demetrios) นน้ั พอเหน็ ก็รวู า เปน คาํ ภาษาอนิ เดียจรงิ แตเ ม่ือมาตีความหมายกันแลว กม็ ีความหมายแตเ พียงวา “มนตรีของเทพดา” เทา นน้ั และอกี ๒ คาํ คอื อนันตะ และกา ยะ กเ็ ปน ภาษาอินเดยี เชนกนั แตเมือ่ ผสมกนั เขาเปน อนันตกาย ก็มคี วามหมายวา “มี กายไมมที ่ีสุด” กลายเปน ของขบขนั ไปไมสมกับเปน ชอ่ื ของนายทหารขา ราชสํานกั ชอื่ นี้ อาจจะคดิ ขนึ้ เพือ่ ใชแ ทนคาํ วา แอนติโอโกส (Antiochos) กไ็ ด สําหรบั คาํ วา มงั กุระ และสัพพทนิ นะ น้ัน ยากท่จี ะบอกไดวา หมายถงึ ใคร แตที่วา มิลนิ ท เปนคาํ เดยี วกบั คํา วา เมนนั เดอร น้ัน เปนการถกู ตอ งแนน อน เชน เดยี วกบั คําวา จนั ทคุตตะ เปน คาํ เดียวกบั คาํ วา แสนโดรโกตโตส (Sandrokottos) ขอ เขียนของพวกกรกี หรือโรมันเองนนั้ ใหค วามรเู กยี่ วกบั เรอ่ื งของกษตั รยิ ก รกี ที่ ครองบากเตรยี มนอ ยมาก แตถึงกระนน้ั พวกเขาก็ยังบอกใหเ รารูไดม ากท่สี ดุ กวา ทอี่ น่ื ๆ วา เมนนั เดอร กับ มลิ นิ ท นนั้ เปนคน ๆ เดียวกนั แนน อน สเตราโบ (Strabo) กลาวไวใ นหนงั สอื ภูมิศาสตรข องเขาวาพระเจา เมนนั เดอร นนั้ เปน กษตั ริยท่สี าํ คญั องคหนงึ่ ในจาํ นวน ๒ องคของบากเตรยี ทท่ี ําใหอ ํานาจของ กรกี แผไ ปไกลที่สุดทางตะวนั ออก จนเลยเขา ไปถงึ อนิ เดีย พระองคไดขามไฮปานิส (Hypanis) (คอื Sutlej) และรุกเขา ไปไกลถงึ ไอสาโมส (Isamos) (บางทีอาจจะไดแ ก Jumna) แตในบทความเกยี่ วกับงานนพิ นธข อง Justin กลาววา พระเจาเมนนั เดอร กบั พระเจา อพอลโลโดตุส (Apollodotus) นน้ั เปนกษัตริยชาวอินเดีย พลตู ารก (Plutarch) นกั ประวตั ศิ าสตรชาวกรีก ไดใหค วามรเู บ็ดเตลด็ เกยี่ วกบั พระเจาเมนนั เดอรว า พระองคทรงเปน นกั ปกครองทเ่ี ทย่ี งธรรม ทรงปกครองให ประชาชนไดร บั ความสุขสบาย และวา พระองคสน้ิ พระชนมในคา ยทหาร ในการสรู บ กบั พวกอินเดยี ทล่ี ุมนาํ้ คงคา และเมอ่ื พระองคสน้ิ พระชนมแลว ประเทศตา ง ๆ กแ็ สดง ความประสงคท ี่จะไดพระอฐั ขิ องพระองคไปไว แตในทส่ี ดุ กต็ กลงกนั ไดว า จะแบงพระ อฐั ิใหท วั่ กนั และทกุ ประเทศจะตองสรา งอนสุ าวรีย (สถูป) เพ่อื เปน อนสุ รณถ งึ พระองค ดว ย หลักฐานอันสาํ คัญอยา งหนง่ึ เกย่ี วกบั พระเจา เมนนั เดอร หรอื มลิ ินท ท่ีมีอยใู น ปจ จบุ นั นก้ี ็คอื เหรยี ญทขี่ ุดไดในประเทศอนิ เดีย เมือ่ ประมวลความเหน็ ตาง ๆ ดังกลา วลงแลว ศาสตราจารย รสิ เดวดิ ส จงึ สรปุ เรื่องราวของพระเจา เมนนั เดอร หรอื มลิ นิ ท วา เปน กษตั รยิ ก รีกองคหนึ่งในบรรดา กษัตริยก รีกหลายองคท ่ีปกครองจกั รวรรดิกรีก ซง่ึ สถาปนาขึน้ โดยพระเจาอเลก็ ซานเด อรมหาราชสบื ตอกนั มา แตเปน การแนนอนวา พระเจามิลินทท รงเปน บคุ คลสาํ คัญองค หนง่ึ หรือบางทอี าจจะสาํ คญั ที่สดุ ในบรรดากษตั รยิ เหลา นนั้ กไ็ ด พระองคท รงนํา
กองทพั กรกี บกุ เขาไปในอินเดยี ไดไกลมากกวาท่บี รรพบุรษุ ของพระองคบ างองคไดเคย กระทํามา สง่ิ ตาง ๆ เหลา น้ี เปนเครอ่ื งสนบั สนนุ ทศั นะของผูร จนาทก่ี ลา วไวในหนา ๕ (มลิ นิ ทปญหาฉบบั น)ี้ วา ทรงเปน ผูทรงความยุติธรรม มีอาํ นาจ มพี ระปรีชาสามารถ และทรงรํา่ รวยมหาศาลพระเจามลิ นิ ทท รงครองราชยใ นระยะกาลทีเ่ ชื่อไดแ นน อนวา หลังจากศตวรรษท่ี ๒ กอนครสิ ตศก หรือบางทกี ็อาจจะในราว ๑๑๕ หรอื ๑๑๐ ป กอ นครสิ ตศก กติ ตศิ พั ทข องพระองคไดแพรไ ปถึงตะวนั ตก ซง่ึ ไมเ คยมกี ษัตริยบากเตรี พระองคใ ดเคยมมี ากอ น ทรงเปน กษตั ริยกรีกทป่ี กครองบากเตรยี เพียงพระองคเดียว เทานนั้ ทย่ี งั จดจาํ กันไดใ นประเทศอินเดยี ผรู จนากลา ววา พระองคป ระสูติทเ่ี มืองกลสิ ในอลสนั ทะ (คอื อเลก็ ซานเดรีย) ซง่ึ เปน ชอื่ เกาะ ๆ หนงึ่ ทสี่ นั นษิ ฐานไดว า อยูในแถบ อินดสั (Indus) แต กลสคิ าม นน้ั ไมพ บวา ไดก ลา วถงึ ในทีอ่ น่ื อกี และในเหรยี ญจาํ นวน มากมายของกษตั รยิ บากเตรียนน้ั กม็ ีเพยี งเหรียญเดียวเทา นน้ั ทีใ่ หช่ือทาง ประวตั ิศาสตรไวช อื่ หนงึ่ เปน ช่ือของเมอื ง คือ การิสิ (Krisia) เหรียญดงั กลา วน้สี รา งขน้ึ ในราว ๑๘๐ ปกอ นครสิ ตศก โดยพระเจา ยกู ราติเดส (Eukratides) ซง่ึ อาจจะเปน กษัตริยองคแ รกในบรรดากษตั ริยท ่ีเขาครองดนิ แดนแถบฝง แมน าํ้ อนิ ดสั (Indus) อาจจะเปน ไปไดวา พระนามสองพระนาม (ท่แี ตกตางกัน) นน้ั หมายถงึ บุคคลคน เดยี วกนั คือ พระนามหนงึ่ เปนแบบภาษาบาลี (หรอื บางทกี อ็ าจจะเปน พระนามภาษา ทองถนิ่ ท่ีผูแตง (มิลินทปญหา) นาํ มาใช) และอีกพระนามหนง่ึ เปน ภาษาพน้ื เมอื ง (ของ พระองคเ อง) และกอ็ าจเปน ไดว า เหรียญ (ของพระเจาเมนันเดอร) นนั้ สรา งขึน้ เพอ่ื เปน ทร่ี ะลึกถงึ เหตุการณทพ่ี วกกรีกเขายึดครอง อนิ ดัส ได ถาเปน จริงดงั กลา วมาน้ัน การท่ี เขาต้ังช่อื เกาะอันเปน ที่สรางเมอื งนนั้ วา “อลสนั ทะ” (คอื อเลก็ ซานเดรีย) น้ัน คงไมได มุง ถงึ ตวั เกาะเปนสาํ คญั แตดจู ะเพอื่ เปน การแสดงใหรวู า เกาะนีพ้ วกเขาไมไดเ ปน ผู คน พบกจ็ รงิ แตว ามนั กลายเปนทส่ี าํ คัญขน้ึ มา กเ็ พราะพวกเขาไดม ายดึ ครองไวนน่ั เอง นางฮอนเนอร ไดแ สดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั เร่อื งราวของพระเจา มลิ ินทไ วว า พระเจา มลิ นิ ทห รอื เมนนั เดอรน ้ัน เปน บคุ คลในประวตั ศิ าสตรท มี่ ีชอื่ เสยี งและเปน ชาว กรกี และเปน ผทู ่ีมีตวั ตนอยจู รงิ ๆ ดว ย แมว า จะกาํ หนดสมยั ของพระองคไ มไ ดอยา ง แนน อนก็ตาม แตน กั ประวตั ศิ าสตรป จจบุ นั ก็กาํ หนดวา พระองคมพี ระชนมอ ยูในราว ศตวรรษท่ี ๒ กอ นครสิ ตศก วนิ เซนติ สมธิ (Vincente Smith) กาํ หนดปรัชกาลของ พระองควา ราว ๑๖๐–๑๔๐ ปกอน ค.ศ. ลามอเต (Lamotte) วา ราว ๑๖๓–๑๕๐ กอน ค.ศ. นาเรน (Narain) วา ราว ๑๕๕–๑๓๐ ปก อน ค.ศ. สวน อา. ฟอน กุตลมดิ (A. von Cutschmid) วา ราว ๑๒๕–๙๕ ปก อ น ค.ศ. เรฟสัน (Rapson) ซึงเหน็ พองกบั กตุ ชนดี
วา ยกู ราติเดส (Eukratides) ครองราชยร าว ๑๗๕ ปก อน ค.ศ. และเมนนั เดอรก บั ยูกรา ติดส นัน้ อาจจะกลา วไดว า เปน บคุ คลสมยั เดยี วกนั ช่ือของพระเจา มลิ นิ ทน ้นั ในคัมภีรบาลีอื่น ๆ นอกจากมลิ นิ ทปญหาแลว ไมคอ ย จะมีกลา วถงึ ในชนิ กาลมาลีปกรณท ่แี ตง เปนภาษาบาลใี นประเทศไทย โดยพระเถระ ไทย (ชาวเชียงราย ช่ือรตั นปญญาเถระ) เม่ือ พ.ศ. ๒๐๖๐ กลา ววา พระเจามลิ นิ ท ประสูตทิ ี่เมือง สาคละ ในประเทศอินเดยี ในขณะทพี่ ระเจากฏู กณั ณตสิ สะกาํ ลงั เสวย ราชยอ ยทู เ่ี หมอื งอนรุ าธบรุ ี ระหวา ง พ.ศ. ๕๖๐–๕๖๑ ถงึ ๕๘๒–๕๘๓ นายริจิแนล เลอ เมย (Reginald le May) ซ่งึ อา งถงึ ชนิ กาลมาลีในหนงั สอื “พทุ ธศลิ ปในสยาม” ของเขา กก็ ลา ววา ชนิ กาลมาลนี ัน้ เปน หนงั สือทมี่ ชี ่อื เสียงและเรอื่ งราวเช่ือถือได แตมนั เปน ไป ไมไดทจ่ี ะกําหนดใหพ ระเจา มนันเดอรมีพระชนมย นื ยาวมาถงึ สมยั ของพระเจา กฏู กัณณตสิ สะ (แหง ลังกา) ตามหลกั ฐานทก่ี ลาวแลว เพราะกษตั ริยอ งคนี้ ปรากฏวา ไดเสวยราชยเมอื่ ๕๐๐ ปห ลงั พทุ ธปรนิ พิ พานแลว (ราว ๔๘๓ ปก อ น ค.ศ.) ชนิ กาลมาลี คงจะถอื ปรัชกาลของพระเจา มลิ ินทต ามขอความทีพ่ บในมลิ นิ ทปญหา หนา ๓ ซงึ่ เปน การถอื เอาความหมายตามตวั อักษรในขอความตอนน้ี พระพทุ ธเจา ไดท รงพยากรณวา หลังจากพุทธปรินพิ พานแลว ๕๐๐ ป บคุ คลทงั้ สอง (มลิ นิ ท – นาคเสน) จะมาเกดิ ถา เราเชื่อขอ ความตอนน้ตี ามตวั อกั ษรแลว เรากอ็ าจจะเชื่อเอางาย ๆ วา สมยั ของพระเจา มลิ นิ ท ตรงกบั สมยั ทพี่ ระเจา กูฏกัณณติสสะข้ึนครองราชยทเี่ หมืองอนรุ าธปรุ ะ หรือวา พระเจากูฏกณั ณตสิ สะกําลงั ครองราชยอ ยู ในขณะท่พี ระเจา มิลนิ ทก าํ ลงั เรมิ่ ครอบครองดินแดนทางจังหวดั ภาคเหนือของอนิ เดยี ทพ่ี ระองคไดรบั มรดกตกทอดมา หรอื ทท่ี รงตีไดมา กษตั ริยแหงอนรุ าธระองคน ีก้ ็คือ พระเจา กฏู กัณณตสิ สะผูใ จบญุ ซึ่ง ประสูตริ าว ๔๔ ปกอ น ค.ศ. (ตามคาํ ของนายธนติ อยูโพธิ ท่ใี หแกน างฮอนเนอร) กค็ อื พ.ศ. ๕๐๐ นน่ั เอง ซ่ึงก็ไมข ดั กบั ปข ้นึ ครองราชย เมื่อ พ.ศ. ๕๖๐ - ๑ และปสวรรคคต เม่ือ พ.ศ. ๕๘๒-๓ เมอื่ พระชนมายไุ ด ๘๒ ป แตก ็ไมน า จะเปน ไปได เพราะไมม ี หลกั ฐานยืนยนั หากปค รองราชยข องพระเจากูฏกัณณตสิ สะ (ตามชินกาลมาล)ี ถกู จริง ในสมัยดงั กลา วนนั้ จกั รวรรดอิ นิ โดกรกี หรอื บากเตรยี ในอินเดยี ก็ไดเ สื่อมลงไปแลว แต วา สมยั ของพระเจา เมนนั เดอร หรือมิลนิ ท (ตามทีก่ ลา วถงึ ในมิลินทปญ หา) น้นั ไมมี อะไรท่ีสอ แสดงวา กาํ ลังเสือ่ มอาํ นาจลงเลย แตกลบั แสดงใหเหน็ วา กาํ ลังเจรญิ รุง เรืองอยางเตม็ ที่ดว ยซาํ้ ไป อีกประการหนง่ึ เราควรจะระลกึ ไวด วยวา ๕๐๐ ป ตามท่ี กลาวในมิลนิ ทปญ หานนั้ อาจจะเปน เพยี งวธิ กี ารพดู ที่หมายถงึ ระยะเวลาอนั ยาวนาน มาก แตไมอาจจะกาํ หนดตายตัวลงไปไดเทานั้น
ลามอเต (Lamotte) ใหข อสังเกตไวอีกอยา งหน่ึงวา ในมิลนิ ทปญหานนั้ พระ เจา มิลนิ ทไ มไดท รงถามปญ หาเก่ยี วกับเรอ่ื งพทุ ธศลิ ปเลย ฉะนนั้ พระองคจะตอ ง ประสูตกิ อนทจี่ ะมีการสรา งพระพทุ ธรปู เปน แบบมนษุ ยธ รรมดาทั่วไป มฉิ ะนน้ั แลว ก็ จะตองมีการสนทนากันถงึ ปญ หาในเร่ืองนบ้ี าง และนักปราชญท างยุโรปบางทานยงั ให รายละเอยี ดตอ ไปอีกวา มเหษีของพระเจา มลิ นิ ทน นั้ ชอ่ื วา พระนางอคาโธเคลยี (Agathocelia) เกย่ี วกบั ดนิ แดนของพระเจา มิลนิ ทน นั้ นกั ปราชญท างตะวนั ตกเช่ือวา คือ อาณาเขตในฆาซนี (Ghazni) ซ่งึ ตดิ ตอกับลมุ น้ํากาบลุ (Kabur) ทางเหนอื หลกั ฐานทางตะวนั ตกวา พระเจา มลิ นิ ท จะตอ งครอบครองดินแดนไมนอยไปกวา ปาโรปามิซาเด (Paroparni sadae) และ บางสว นทางภาคเหนือและตะวนั ออกของ อราโคเซยี (Arachosia) เหรียญที่ขดุ พบนน้ั ทาํ ใหไ ดรูว า พระเจา มิลนิ ทค รองแควน คนั ธาระ ซง่ึ มีศนู ยกลางสาํ คญั ๒ แหง คอื ปุส กะลาวตี และตกั ศิลา (Puskalavati, taxila.) และปจจบุ นั เชอื่ กนั วา พระเจา มลิ นิ ทค รอง ดนิ แดนเหนือ กาบลุ และบางทีจะเลยเขา ไปถงึ ทางภาคเหนือของ ฮนิ ดกู ูษ (Hindu kuch) ดวย พระลกั ษณะของพระเจา มลิ นิ ทน ั้น ปรากฏตามมิลนิ ทปญ หาวา ทรง ประกอบดว ยพระพลงั ทางกาย พระพลังทางความคิด ดวยความกลา หาญ ดว ยปญญา พระเจามิลินทน ั้น ทรงมงั่ คั่งบรบิ รู ณด ว ยราชสมบตั ิ, มีพระราชทรพั ยและเคร่อื ง ราชปู โภคเปน อันมากพน ทจ่ี ะนับคณนา มพี ลพาหนะหาที่สดุ มไิ ด สําหรับประวตั ขิ องพระนาคเสนนนั้ มลิ นิ ทปญหาฉบบั ภาษาจนี กลาววา มาตภุ มู ขิ องพระนาคเสน คอื แควน แคชเมยี ร (Kashmir) ซง่ึ เปน ศูนยก ลางนกิ ายสรวา สติวาท สว นฉบับบาลกี ลา ววา ทา นเกิดทเ่ี มอื ง คชงั คละ ซง่ึ เปน เมอื งทางการคาขาย ทางชายแดนตอนเหนือของมชั ฌิมประเทศ พระนาคเสนนน้ั ปรากฏวา เปน ผูฉลาด สามารถ เปน นกั พูดและคงแกเรยี น เปน คลังแหงขอ อปุ มาทส่ี ามารถนาํ เอามาใชไ ดต าม ตอ งการ และมีความสามารถอยางไมนา เชือ่ ก็คือ สามารถเรยี นพระอภิธรรมไดอยาง เชีย่ วชาญ โดยการฟง อธิบายของอาจารยเ พียงคร้ังเดยี วเทา นัน้ ในชินกาลมาลปี กรณ กลา วถงึ พระนาคเสนวา เปน ผดู ํารสิ รา งพระพทุ ธปฏิมาขึน้ องคห นงึ่ และสาํ เรจ็ ลงดวย อาํ นาจของเทพดา และอทิ ธฤิ ทธิ์ของพระแกว มรกต และกลาวถงึ พระธัมมรักขติ อาจารยของพระนาคเสนวา อยทู ป่ี ุปผวดี ในเมอื งปาฏลบี ตุ ร ในอรรถกถาทีฆนกิ ายและ อรรถกถาอังคตุ ตรนิกาย กป็ รากฏชือ่ ของพระอัสสคตุ ตเถระดว ย และไดรับยกยอ งให เปน ตวั อยา งของ กลั ยาณมติ ร ดว ย
สว นนายเบอรน อฟ (Burnouf) ไดอ า งหลักฐานทางธเิ บต กลาววา พระนาคเสน องคน ้ี คอื องคเดยี วกับพระนาคเสนทท่ี าํ ใหเ กิดมกี ารแยกนิกายตา ง ๆ ออกไปเมอื่ ๑๓๗ ป หลังพทุ ธปรนิ พิ พาน โดยอางวา พระนาคเสนไดแสดงความคดิ เหน็ ในอภธิ รรม โกสะ วยาขยาอนั เปน คัมภรี ส าํ คัญคัมภีรหนงึ่ ไวอยา งยดื ยาว สวนศาสตราจารย เคริ น (Kern) แหงลเี ด็ก (Lieden) นนั้ ไมเ ชอื่ วา พระนาคเสนจะเปน บคุ คลทีม่ ีตวั ตนอยจู ริง และไมเชื่อแมก ระทงั่ วา ในพระพทุ ธศาสนา จะมีพระภกิ ษุทมี่ ชี อื่ อยางนอ้ี ยดู ว ย เขาเช่ือ วา พระนาคเสนนนั้ เปน เชน เดียวกบั ปตญั ชลฤี าษี ผูรจนาคัมภีรป รัชญาฝายโยคะ ซึง่ ไม มตี วั ตนอยูจรงิ ทงั้ ยังมสี มญานามอืน่ ๆ อีกดวย คอื นาเคศะ และ ผณิน แต ศาสตราจารยร สิ เดวิดส ไมเ หน็ ดว ยกบั ความเหน็ ของทงั้ สองทา นดงั กลาวมาน้ี มิลินทปญหา ฉบับภาษาบาลีนน้ั เทา ทปี่ รากฏอยใู นบดั นีก้ ็มีฉบับอกั ษรสงิ หล อกั ษรโรมนั อกั ษรไทย อกั ษรพมา และอกั ษรขอม หรอื เขมร ฉบบั หลงั ๆ น้กี ็เชือ่ แนว า ไดม าจากฉบบั อกั ษรสงิ หลทง้ั นั้น แตปรากฏวา แตละฉบบั ก็มวี ธิ ีจดั ระเบียบเนือ้ เรื่องไม เหมอื นกนั และมขี อความบางตอนแปลกกนั ออกไปบา ง เชน ฉบบั อกั ษรโรมันตางกนั ฉบับอกั ษรไทย ทงั้ ทางการจดั ระเบยี บ และขอ ความบางตอน เปน ตน การท่ีแปลกกนั ออกไปน้ัน บางทานไดใ หข อสงั เกตไววา อาจถูกเปลย่ี นโดยผคู ัดลอกทางยโุ รป หรอื ผู คดั ลอกทางพมา ลงั กา ไทย ก็ได หรอื ไม ก็เปลยี่ นแปลงตัง้ แตค ราวแปลจากภาษา สนั สกฤตมาเปน ภาษาบาลแี ลว ตอ มาไดมผี คู นพบวา มมี ลิ นิ ทปญหาฉบบั แปลเปน ภาษาจนี ดวย โดยแปลออก จากภาษาทองถน่ิ ของอนิ เดยี และแปลถงึ ๓ คราว คอื ในครสิ ตศตวรรษที่ ๓ ท่ี ๔ และ ที่ ๕ บรรดาฉบบั ทแี่ ปลเปน ภาษาจนี เหลาน้ี ๒ ฉบบั ที่แปลครัง้ ท่ี ๒ (คือทีแ่ ปลใน ศตวรรษที่ ๔) เทานนั้ ที่ยงั เหลือตกทอดมาถงึ พวกเรา โดยเรยี กวา นาคเสนภกิ ษุสตู ร (นาเสยี นปค ิว) ตอนท่ี ๒-๓ และบางสว นของตอนท่ี ๑ เทานนั้ ท่ตี รงกบั ฉบบั ภาษาบาลี สาํ หรับตอนท่ี ๔ ถึง ๗ นนั้ เพิม่ เขา มาใหมใ นลงั กา โดยเฉพาะตอนที่ ๔ นั้น ไดม ขี ้ึน หลังจากพุทธศตวรรษที่ ๕ แลว และเนอื่ งจากความท่ไี มเ หมือนกนั น้ีเอง ก็เปน หลักฐาน พอท่จี ะกลาวไดวา มิลนิ ทปญ หาอนั ยดื ยาวและมีชอ่ื เสียงนน้ั ไดถ ูกเพม่ิ เตมิ เนือ้ หาเขา มาอีกในภายหลัง ซ่งึ อยา งนอยก็สว นท่ีจดั ระเบยี บไวไ มเ หมือนกนั ในฉบบั ตา ง ๆ เก่ียวกบั ฉบับแปลเปน ภาษาจนี นัน้ ศาสตราจารยป อล เดอมีวิลล ซึง่ เปนผหู นง่ึ ทีไ่ ดแ ปลมลิ ินทปญหาเปน ภาษาฝรงั่ เศสกลา ววา เปน ทเี่ ชอื่ กนั วา ทา นคุณภทั ร (พ.ศ. ๓๙๔ - ๔๖๘) ชาวอนิ เดยี ไดน ําเอามลิ นิ ปญหาเขา ไปในประเทศจนี โดยไดฉบบั ไปจาก ประเทศลงั กา และปรากฏวา มลิ ินทปญหาพากยภ าษาจนี นน้ั มีอยถู งึ ๑๑ สาํ นวน ซึ่ง คงจะไดแปลกันมาตง้ั แตร ะหวาง คริสตศตวรรษที่ ๖–๑๓ (ราว พ.ศ. ๑๐๐๐–๑๘๐๐๐)
และคงแปลจากตน ฉบับท่เี ปน ภาษาสันสกฤต เพราะจีนแปลพระไตรปฎ กเปน ภาษาจีน จากตนฉบบั ทเ่ี ปน ภาษาสนั สกฤต อนั เปน ทนี่ ยิ มใชกนั ในอนิ เดียเหนอื และเอเซียกลาง ซงึ่ เปนศนู ยก ลางของพระพทุ ธศาสนานกิ ายสรวาสติวาท และนกิ ายธรรมคปุ ต และ ความจรงิ กป็ รากฏวาคมั ภรี พ ระพทุ ธศาสนาพากยภาษาจีนท่แี ปลจากตนฉบับที่เปน ภาษาบาลีนนั้ มีเพียง ๒ เรอื่ งเทา นน้ั คอื สมนั ตปาสาทกิ า อรรถกถาพระวนิ ัย และวิมตุ ติามคั ค เทา นนั้ อกี ประการหนง่ึ เม่ือนําเอาคัมภรี ต าง ๆ ทเ่ี ปน ภาษาสันสกฤต บาลี และจีน มาเปรียบเทียบกนั แลว กจ็ ะเห็นวา ฉบบั ทเ่ี ปน ภาษาบาลีกับภาษาจนี นนั้ แตง ตางกนั มาก แตฉบบั ภาษาจนี กลบั ไปเหมอื นกันมากท่ีสดุ กบั ฉบบั ภาษาสนั สกฤต เม่ือ นําฉบบั ภาษาจนี มาเทยี บกบั ภาษาบาลีแลว ปรากฏวา แตกตา งกันมากจนไมน า เชอ่ื ได วาจะเปนฉบับเดยี วกนั แต ดร.ทิช มนิ เชา พระภกิ ษชุ าวเวียดนามซงึ่ เปน ผทู ่ีมคี วามรใู น ภาษาบาลีและภาษาจนี เปน อยา งดีไดทาํ การคนควา เทยี บเคียงระหวา งฉบบั ภาษาบาลี กบั ฉบับภาษาจนี ดว ยการเทยี บขอความบรรทัดตอ บรรทัดแลว ยืนยนั วา เปน เรอ่ื งท่ี ไดม าจากตน ฉบับอันเดยี วกนั นกั ปราชญช าวญป่ี ุนและชาวยุโรปหลายทา นกม็ ี ความเห็นเชนเดียวกบั ดร. ทชิ มนิ เชา คือ มลิ นิ ทปญ หาฉบบั ภาษาจนี ซงึ่ มเี พยี ง ๓ สว นแรกของฉบับภาษาบาลนี ั้น ไดแ ปลจากตนฉบับเดมิ โดยตรง สวนที่ นอกเหนอื ไปจากน้ี (ซ่งึ มปี รากฏอยใู นฉบบั ภาษาบาล)ี น้นั เปน ของทเ่ี พมิ่ เตมิ เขา มาใน ภายหลงั ตามลาํ ดับกาลท่ีผา นมาหลายศตวรรษ ซ่ึงเปน สง่ิ ท่คี นั ถรจนาจารยและอรรถ กถาจารยช าวอนิ เดยี ในยคุ ตน ๆ ชอบกระทาํ กันและฉบับภาษาจนี ที่แปลจากฉบับ ภาษาสนั สกฤตนั้น ก็แปลอยางถกู ตองตรงตามตน ฉบับมากท่ีสุด เกีย่ วกับเรอื่ งนี้ ดร.ทิช มิน เชา ซงึ่ ไดศึกษาคนควาและเทยี บเคียงอยางละเอยี ด ถีถ่ วนแลว กลา ววา มิลินทปญหาฉบับภาษาจนี กบั ฉบบั ภาษาบาลนี นั้ เปน ฉบบั เดียวกนั มตี น กําเนดิ มาจากคัมภรี เดียวกัน แตฉ บบั ภาษาจนี ไดแปลโดยตรงจาก ตนฉบบั ดง้ั เดมิ ท่ีเปน ภาษาสนั กฤต สวนฉบบั ภาษาบาลนี ้ันกแ็ ปลจากฉบบั ภาษา สันสกฤตเชน เดียวกนั แตถกู แกไ ขเพ่ิมเตมิ หลายครง้ั ตลอดเวลาท่ผี า นมาหลายรอยป ฉะนน้ั ฉบบั ภาษาบาลจี ึงมขี อ ความแตกตา งไปจากฉบบั ภาษาจนี บา ง และมมี ากกวา ฉบบั ภาษาจนี คือ ฉบบั ภาษาจนี แบง ออกเปน ๓ สว น แตเ รียงติดตอ กันไปโดยไมมี อารมั ภกถาและอวสานกถา ไมแ บง ออกเปนหวั ขอ หรอื ยอหนา สว นฉบับภาษาบาลี แบงออกเปน ๗ สวน มีการจัดเปนวรรค เปนหวั ขอ และยอหนา ตา ง ๆ ฉะนนั้ ๔ สว น สุดทายในฉบบั ภาษาบาลี จงึ ไมมใี นฉบบั ภาษาจนี สาํ หรบั ๓ สวนทม่ี เี หมอื นกนั นนั้ มี ขอ ความทวั่ ๆ ไปเหมอื นกนั ตา งเฉพาะเรอื่ งอดีตชาติของพระนาคเสนกบั พระเจา มลิ ินท และขอ ปลีกยอ ยตาง ๆ เทา นั้น ฉะนัน้ จงึ กลาวไดกวา ท้งั สองฉบับนเี้ ปนฉบบั เดียวกัน
ดร. ทชิ มิน เชา ยงั กลา วตอ ไปอีกวา ประจักษพ ยานทแี่ สดงใหเ หน็ ถงึ ความไม ยตุ ิแนนอนของมลิ ินทปญ หาฉบบั ภาษาบาลี อนั เปน เครอื่ งสอ ใหเ หน็ วา มลิ ินทปญ หา ฉบับภาษาบาลีน้ันไดถ กู แกไขเพ่ิมเตมิ กนั มาหลายครง้ั หลายคราว ตลอดระยะเวลาที่ ผานมา ก็คือความแตกตางกนั ระหวา งฉบบั ภาษาบาลดี วยกนั เอง โดยการเทียบเคยี ง ระหวา งฉบับอกั ษรโรมนั (ซ่ึงถา ยทอดไปจากฉบบั อกั ษรสิงหล) กบั ฉบบั อักษรไทย ดงั จะยกตวั อยา งมาใหเ หน็ คือ :- ๑. ในระหวา งปจุ ฉาวิสัชนาท่ี ๓๔–๓๕ ในฉบบั อกั ษรโรมันนัน้ ในฉบบั อกั ษรไทยไดเพมิ่ ขอความเขามาอีกไมน อยกวา ๒ บรรทดั ในมนสกิ ารปญหา ๒. ในระหวา งปุจฉาวิสัชนาที่ ๗๐–๗๑ ในฉบับอักษรโรมนั ปุจฉาวิสชั นา ๒ ตอนท่วี า ดว ยเร่อื ง สที บ่ี ุคคลผูจ ะตายจากโลกหนง่ึ ไปเกดิ ใหมในอกี โลกหนงึ่ จะพงึ ได เห็น และเรอื่ งทวารสาํ หรบั ปฏสิ นธิวิญญาณเขา ไปสคู รรภ ขาดหายไป ๓. ในปจุ ฉาวสิ ัชนาที่ ๕๙ ในฉบับอกั ษรไทยนั้น ไดเพม่ิ เติมขอ ความออกไปอกี คือในฉบบั อักษรโรมันมีเพยี ง ๘ บรรทดั ในฉบับภาษาจนี แปลไวเพยี ง ๕ บรรทัด แตใน ฉบบั อักษรไทยขยายออกไปถึง ๓ หนา ๔. ในวรรคที่ ๗ กอนจะถงึ เมณฑกปญหา ฉบบั อกั ษรไทยเพ่มิ วเิ สสปญ หา เขา มา ๕. ในฉบับอักษรโรมนั หนา ๘๐ เก่ียวกับเรอื่ ง วัสสวาต นั้นในฉบับอกั ษรไทย เพมิ่ คาถาพเิ ศษเขา มา ๑ คาถา ๖. ในฉบับอักษรโรมนั หนา ๘๖ เก่ยี วกับเรอ่ื งความแตกตางกนั ของ วญิ ญาณ ปญญา และชวี ะ นนั้ ในฉบบั อกั ษรไทยเพมิ่ เขามาอกี ๑ ยอหนา ซงึ่ มี ๔ บรรทดั วา ดว ย เรือ่ ง “ปญญาอยูท ่ีไหน” ศาสตราจารย รสิ เดวิดส กก็ ลา วไวในมลิ นิ ทปญหาฉบบั แปลเปนภาษาอังกฤษ ของเขาวา พระบาลที ี่พระพทุ ธโฆษาจารยย กมาไวใ นอรรถกถามหาปรนิ พิ พานสตู ร และอรรถกถาอมั พฏั ฐสูตร นั้น ก็ไมเหมือนกบั พระบาลี ในคัมภรี บาลี ฉบับของ เทรงค เนอร (V. Trecnkner) แมว าพระบาลเี หลา นน้ั จะเปน เรอ่ื งราวอันเดยี วกนั ระหวางพระ บาลที ที่ านพระพุทธโฆษาจารยย กมาอาง กับคัมภรี บ าลฉี บับของเทรงคเ นอร กระนนั้ กด็ ี กย็ งั เปน เครอ่ื งแสดงใหเ ราเหน็ วา มลิ นิ ทปญ หาฉบับภาษาบาลีนน้ั ไดผ านการแกไ ข ปรับปรงุ โดยการเพ่ิมเตมิ บา ง ตัดทอนบา ง มาหลายคร้ังหลายคราว กวา จะตกทอด มาถงึ พวกเราในรูปของฉบับอักษรสิงหลและฉบับอักษรไทย ในปจจบุ นั นี้ แต ดร. ทชิ มนิ เชา มคี วามเหน็ วา ความแตกตางกนั ในเร่อื งปลกี ยอยนนั้ มิไดเ ปน เครอ่ื งแสดงวาทั้ง สองฉบบั ไมไดมาจากตนกาํ เนิดอนั เดียวกนั เพราะความแตกตา งกนั ในสว นปลกี ยอ ย
นัน้ เปน แตเ พยี งเครอื่ งชใ้ี หเ หน็ วา วิธกี ารในการคดิ การเขยี นเก่ียวกบั พทุ ธศาสนธรรม ของนกั คิดนกั เขียนชาวจนี กบั ชาวอนิ เดียนน้ั แตกตา งกนั เทาน้ัน ดร. ทิง มนิ เชา ไดบ นั ทึกขอ ทแ่ี ตกตา งกันและขอ ท่คี ลายคลงึ ของมลิ นิ ทปญหา ฉบับบาลกี บั ฉบับจนี ไวอ ยา งละเอยี ดละออเปนเรอื่ งท่ีนา ศึกษา จงึ นาํ เอาบันทกึ โดยสรปุ เกีย่ วกบั เร่ืองนม้ี ารวมไวด ว ย เพอ่ื ประโยชนใ นทางการศึกษา ทา นกลาววา ทงั้ สองฉบบั มี สาระสาํ คัญทวั่ ๆ ไป เหมือนกนั ยกเวนแตเร่ืองราวเกย่ี วกับอดตี ชาตขิ องพระเจา มลิ นิ ท และพระนาคเสนซงึ่ แตกตางกันออกไปมาก และสามตอนสุดทา ยของฉบับภาษาบาลี ซ่ึงไมมีในฉบบั ภาษาจนี สวนตอนอนื่ ๆ ทเี่ หลอื นน้ั ถา ยกเวน การเติมโนน นดิ ตดั นหี่ นอ ย เสยี แลว กก็ ลา วไดวาเหมอื นกนั ลลี าแหง การสนทนากเ็ หมือนกนั มากทส่ี ุด คอื การ สนทนามกี ลา วขอความที่ซ้ํา ๆ กนั วนไปวนมา โดยมีความแตกตา งกนั ในเรือ่ งทไี่ ม สลักสาํ คัญปรากฏอยทู วั่ ไปไมสมํา่ เสมอเทา นนั้ แมใ นเรื่องทเ กยี่ วกบั อดีตชาติของพระ เจา มิลนิ ทแ ละพระนาคเสนทแ่ี ตกตา งกนั อยา งมากนนั้ ก็ยังมีสาระสาํ คญั ทีเ่ หมอื นกัน ระหวา งทัง้ สองฉบับ (บาล-ี จนี ) ถงึ ๗ ขอ ซงึ่ ทาํ ใหเ รามั่นใจไดวา เปน แหลง ทมี่ าอัน เดยี วกนั อันพระคนั ถรจนาจารยเจา ทง้ั หลายไดพรรณนาความคดิ เหน็ ตาง ๆ ของทา นไว ดังไดทําบญั ชแี สดงไว ดังตอ ไปน:้ี - ๑. ในฉบับบาลี ทงั้ สามเณรและพระภิกษุไดต งั้ ความปรารถนา และตอ มาทง้ั สองกไ็ ดม าเกดิ เปนพระเจา มลิ นิ ทและพระนาคเสน ตามความปรารถนา ในฉบับ ภาษาจนี พราหมณผเู คยเปน ชางในอดตี ชาติ และพราหมณผเู คยเปน ฤาษีและเปน เพ่ือนของพราหมณค นแรกตา งก็ไดต งั้ ความปรารถนาและแลวทงั้ สองกไ็ ดม าเกดิ เปน นาเซยี น (นาคเสน) และมีลัน (พระเจา มิลนิ ท) ตามความปรารถนาของเขาทง้ั สอง ๒. ฉบบั บาลแี สดงวา พระนาคเสนเกดิ เปน บตุ รของพราหมณใ นสกุลพราหมณ ไดศ กึ ษาไตรเทพและความรเู กี่ยวกับลทั ธพิ ราหมณ และไมร ูเร่ืองอะไรเกีย่ วกบั พระธรรม และพระสงฆเลย ในฉบบั ภาษาจนี ชา งไดเ กดิ เปน บุตรของสกลุ พราหมณและเม่อื เติม ใหญข ึน้ ก็ไมเคยไดยินไดฟง พระพทุ ธธรรม และไมเ คยเหน็ พระสงฆ หลงั จากนน้ั เขาก็ สละโลกออกไปศกึ ษาพาหริ ลทั ธิ ๓. ฉบับบาลีกลา ววา เมอื่ หมูส งฆไ ดไปขอรองใหม หาเสนเทวบุตรมาเกดิ ใน มนุษยโ ลกแลว พระโรหนะก็ถูกพระอัสสคุตตะบงั คับใหร บั ภาระหนกั เพ่อื ไมใหอ ยูจ าํ พรรษารวมกับตน คือพระอสั สคตุ ตะกาํ หนดหนา ที่ใหพ ระโรหนะเดนิ ทางไปยงั บา นของ บดิ ามารดาของนาคเสน เพอ่ื บณิ ฑบาตประจํา ณ ทนี่ น้ั เปน เวลา ๗ ป ๑๐ เดือน เพือ่ นําเอานาคเสนออกจากชวี ติ ฆราวาสและใหการอปุ สมบทแกเขา ในฉบบั ภาษาจนี นา
เซียนมลี งุ คนหนงึ่ ช่อื วา โลหนั เปน พระอรหันตแ ละบรรพชานาเซียนใหเ ปน สามเณร โล หันในทน่ี ้ีกถ็ อื ไดวาเทา กบั พระโรหนะ ๔. ฉบบั บาลกี ลาววา พระนาคเสนไดอยูจาํ พรรษาสามเดือนในความปกครอง ของพระอัสสคตุ ตะผเู ปน พระอรหนั ต ซง่ึ อาศัยอยทู ่วี ตั ตนยิ เสนาสน ในฉบับภาษาจีน กลาวถึงวัดในพระพทุ ธศาสนาชื่อวาโฮชนั ซงึ่ มพี ระอรหนั ตอ าศัยอยู ๕๐๐ รูป โดยมี พระอาโปเยยี ว เปน ผนู ํา (เจา อาวาส) พระนาคเสนอาศยั อยูในวดั ดงั กลา วน้ี วตั ตนิย เสนาสนก ็เทียบไดก ับ วัดโฮชัน และพระอรหนั ตอัสสคตุ ตเถระ กเ็ ทยี บไดก บั พระอรหนั ต อาโปเยยี ว ๕. ในฉบบั บาลี พระนาคเสนสอนพระอภธิ รรมแกศ ษิ ยอุบาสกิ า และแลว ทั้ง ผสู อนและผูฟง ก็บรรลโุ สดาบนั เปน ทพี่ อใจของพระอัสสคุตตะซงึ่ ไดกลา ววา พระนาค เสนยงิ ศรอนั เดียวไดนกสองตัว ในฉบบั ภาษาจนี นาเซยี นไดส อนธรรมแกศษิ ยอ บุ าสก และแลว ท้ังสองกไ็ ดบ รรลุโสดาบนั และนาเซยี นไดรับการสรรเสริญจากพระอาโปเยยี ว วา ยิงศรอันเดยี วไดนอกสองตัว ๖. ในฉบับบาลี พระธัมมรักขติ ติเตียนพระนาคเสนเกย่ี วกบั การทไ่ี มไ ดบรรลุ พระอรหัต ในกลางดึกคนื นั้น พระนาคเสนจงึ ไดใ ชค วามพยายามอยา งหนักและกไ็ ด บรรลพุ ระอรหัต ในฉบบั ภาษาจนี นาเซยี นถูกขับไลออกไปจากหมูสงฆ เน่ืองจากการไม เช่อื ฟงคาํ สงั่ สอนของครูบาอาจารย รสู ึกนอ ยใจตนเอง จงึ ไดพยายามอยางหนกั แลว ก็ ไดบรรลุพระอรหตั ๗. ในฉบับบาลี หลังจากไดบรรลพุ ระอรหัตแลว พระนาคเสนก็เดนิ ทางไปยัง เมอื งสาคละ และพาํ นกั อยทู ี่สังเขยยบรเิ วณ เพ่อื รอเผชญิ หนา กบั พระเจา มลิ ินท ใน ฉบบั ภาษาจนี นาเซยี นไดเดนิ ทางมายงั เมอื งซเี ซีย และพํานกั อยทู ว่ี ดั เหยี ชีไช หรือ เหีย ตไี ช เพื่อรอเผชญิ หนา กับพระเจา มีลนั จากขอ ทีเ่ หมอื นกนั ๗ ขอดังกลา วแลว ขา งบนนี้ กพ็ อจะสรปุ ไดวา แมจ ะมี รายละเอียดตา ง ๆ สวนมากแตกตา งกนั แตทั้งสองฉบบั (บาลี – จีน) ก็มาจากตน ฉบบั เดมิ อนั เดียวกนั มีภมู ิหลงั (brackground) เหมอื นกนั อันเปนตน กาํ เนิดของฉบบั แปล เปนภาษาจนี และภาษาบาลี แตข อแตกตา งกนั นนั้ ก็นา สนใจ และกเ็ ปน สิ่งทสี่ าํ คัญเหมอื นกนั เพราะแสดง ใหเ หน็ ถงึ แนวคิดของพระคนั ถรจนาจารย และแสดงใหเ หน็ ถงึ จุดประสงคทพ่ี ระคนั ถ รจนาจารยเหลา นน้ั มงุ หมายในการแกไ ขเพ่ิมเติมและตดั ทอนถอนไป และเพราะการ กระทาํ ดงั น้ี ชวยใหเ ราไดร วู า ทานเหลา นน้ั นบั ถือนกิ ายไหน และเปน เครอ่ื งมอื สําหรับ
พจิ ารณาปญหาเกยี่ วกับความกอ นหลงั และความใกลเ คียงกนั กับตนฉบับเดิมของแต ละฉบับดวย ขอแตกตางกนั น้ัน ดงั ตอ ไปน:้ี - ช่อื คัมภีร ฉบบั จนี : นาเซยี นปค ิวคนิ : นาเซยี นภกิ ษสุ ตู ร ฉบบั บาลี : มลิ นิ ทปญหา ดงั กลา วมาน้ี ฉบบั จนี จดั คัมภีรน เ้ี ปนสูตรหนึง่ ในบรรดาพระสตู รทัง้ หลาย แมวาจะไมเ รม่ิ ตนพระสตู รดว ยคําท่ีใชกนั เปน แบบมาวา “เอวมเม สุต”ํ กต็ าม สาํ หรบั สูตรน้ี จนี เลอื กเอาช่อื ของภกิ ษุมาเปนชอ่ื ของคมั ภีร สว นบาลีเลอื กเอาพระนามของพระ เจา แผนดนิ มาเปน ชื่อของคัมภรี โครงเรือ่ ง ฉบับจนี มี ๓ ตอน ตอนที่ ๑ ต้ังแตห นา ๕๗–๕๗ ตอนท่ี ๒ ต้งั แตห นา ๕๗–๖๑ ตอนท่ี ๓ ต้งั แตหนา ๖๑–๖๔ โดยไมม ีหัวเร่ืองและคําลงทา ย ไมม ีการแบงเปนแย อหนา ตา ง ๆ ยกเวน เฉพาะตอนจบและตอนข้นึ ตน ของคมั ภีรเทา นนั้ ฉบับบาลี แบง ออกเปน ๗ สว น คอื :- สวนท่ี ๑ อารัมภกถา วาดว ยเรอ่ื งอดีตชาติของพระนาคเสน และของพระเจา มลิ นิ ท ตั้งแตหนา ๑–๒๔ สวนท่ี ๒ ประกอบดวยลกั ขณปญ หา และนาคเสนมิลนิ ท ปญ หา หนา ๒๕–๖๔ สวนที่ ๓ วเิ มตจเฉทนปญ หา หนา ๖๕–๘๙ สวนที่ ๔ เมณฑกปญหา หนา ๙๐–๓๒๘ สวนที่ ๕ อนมุ านปญ หา หนา ๓๒๙–๓๖๒ สวนที่ ๖ โอปม กถาปญหา หนา ๓๖๓–๔๑๙ สว นที่ ๗ มลิ นิ ทอรหตั ตภาวะ หนา ๔๑๙–๔๒๐ ดังกลาวมาน้ี ฉบับจีนไมม ีสว นท่ี ๔-๗ ของฉบับบาลี ปจุ ฉาวสิ ัชนา ฉบับจีน มีเพยี ง ๖๙ ปุจฉาวสิ ชั นา ฉบบั บาลี มเี พมิ่ เตมิ ออกไปอีก ๑๒ ปจุ ฉาวสิ ชั นา (เปน ๘๑) ลําดบั ของปจุ ฉาวิสัชนา
ลําดบั ของปุจฉาวิสัชนา กลา วไดว า เหมอื นกนั ยกเวน เฉพาะใน ๒ อปุ มา คือ ๑. ฉบบั จีน จดั สทั ธา ไวก อน สีล แตฉบบั บาลจี ัด สีล ไวก อ น สทั ธา ๒. ปุจฉาวิสชั นาเก่ียวกบั ความเปน สพั พัญูจองพระพุทธเจา นัน้ ในฉบับบาลีจัด วางไวห า งออกไปมาก อดตี ชาติของพระเจา มิลินทแ ละพระนาคเสน เรือ่ งอดตี ชาตขิ องพระนาคเสนและพระเจา มลิ นิ ทใ นสองฉบับนน้ั แตกตางกนั อยา งสนิ้ เชงิ ทเี ดยี ว ดังท่จี ะไดแ สดงใหเ หน็ หลกั ฐาน ดงั ตอ ไปน้:ี - ๑. ฉบับบาลีเรม่ิ เร่อื งในสมยั ของพระกัสสปพทุ ธเจา กลาวถงึ สามเณรรปู หนึง่ ซง่ึ ไมน าํ พาตอคําสง่ั ทพ่ี ระเถระสัง่ ถึงสามครงั้ สามหน จึงถกู พระเถระน้นั ตีดว ยดามไม กวาด สามเณรนัน้ ขณะทรี่ องไหไ ปพลางทําธรุ ะของตนไปพลางนนั้ ก็ไดตง้ั วาม ปรารถนาขอใหมอี าํ นาจและรุง โรจนเ หมือนพระอาทิตยเทยี่ งวนั อน่ึง สามเณรเมื่อเห็น คลน่ื อนั มหึหาของแมน้ําคงคาซ่งึ สง เสียงดงั สนนั่ หวนั่ ไหวและพดั เขากระทบฝง ดว ย กําลงั แรง ก็ตง้ั ความปรารถนาขอใหเ ปน ผสู ามารถปราบการโตว าทะทงั้ หมดได เหมอื น อยา งคลนื่ ของแมน า้ํ คงคาฉะนัน้ สามเณรกไ็ ดกลบั มาเกดิ เปน พระเจามลิ นิ ทก ษตั ริย แหงสาคละ ในประเทศอนิ เดีย สมตามความปรารถนา สว นพระเถระ เมือ่ ลงไปใน แมนา้ํ และไดย นิ การตง้ั ความปรารถนาของสามเณรดงั นนั้ ก็ตัง้ ความปรารถนาขอให เปนผูส ามารถแกปญหาท้ังหลายทส่ี ามเณรนน้ั ถามไดท กุ ปญ หา เพราะความปรารถนา นน้ั ตอมาพระเถระนน้ั กไ็ ดเกดิ เปน พระนาคเสน ฉบบั ภาษาจนี แตกตา งจากฉบบั บาลีอยา งสน้ิ เชิง ฉบับจนี สืบสาวเรอื่ งอดตี ข้ึน ไปถึงเพยี งสมยั ของพระพทุ ธเจา องคป จจนั ไมถ ึงสมียของพระกสั สปพุทธเจา กลา วถงึ สมัยทพ่ี ระพทุ ธเจาทรงอาเกยี รณด ว ยการหลั่งไหลเขา มาของเหลา สาวกอยา งไม หยุดหย้งั และแลว กท็ รงปลกี พระองคอ อกไปสทู ี่เรน ครง้ั นน้ั พระยาชา งตัวหนง่ึ ใครจะ ปลกี ตวั ออกไปจากความวนุ วายของโขลงชาง จงึ ไดต ดิ ตามพระองคไ ป เมอ่ื ทรงรูวาระ จิตของชางนน้ั พระพทุ ธองคก ็ทรงสง่ั สอนธรรมแกชา งนน้ั ชางนนั้ ก็ไดร บั ใชพระพทุ ธ องค ดวยการปดกวาด ตกั น้าํ และปราบทางเปน ทส่ี ญั จรของพระพทุ ธองค กาลตอ มา ชา งนน้ั กต็ าย แลวไปเกิดเปน บตุ รของสกลุ พราหมณสกลุ หนง่ึ เม่อื เตบิ ใหญขึน้ แลว ก็ได สละครอบครัวออกไปศึกษาพาหริ ลัทธิ พาํ นักอยใู นปา แหงหนงึ่ ไดอ าศยั อยใู กล ๆ กับ ฤาษีตนหนึ่ง และแลว คนทง้ั สองกไ็ ดกลายเปน สหายกนั ในสองคนนน้ั คนหนงึ่ ไดต้งั ความปรารถนาขอใหเปน ภิกษแุ ละมานะพยายาม เพ่ือความเปน พระอรหนั ต แลว เขาก็
ไดเ กดิ ใหมเ ปน นาเซยี น สว นอกี คนหนง่ึ ก็ไดต ั้งความปรารถนาขอใหเปน กษตั รยิ และ สามารถทําใหช นทงั้ ปวงปฏบิ ัตติ ามคําสง่ั สอนของตน แลว เขากไ็ ดเกดิ ใหมเปน กษัตรยิ มี ลนั ๒. ฉบบั บาลี มีขอความยดื เย้ือคอื กลา วถงึ เรื่องพระอรหนั ตจาํ นวนนบั ไมถ วน ไปออนวอนยอใหมหาเสนเทวบตุ รลงมาเกิดในมนุษยโลกเพือ่ ปราบพระเจา มิลทและ เพื่อคุม ครองรักษาพระธรรม เรอ่ื งมหาเสนเทวบุตรกลับมาเกิดใหมเปนพระนาคเสน ใน ตระกลู โสณตุ ตรพราหมณเรอื่ งพระนาคเสนศกึ ษาพระเวทและเร่อื งราวตางๆ ของ พราหมณ เรอ่ื ง พระโรหนะกาํ หนดวิธที ี่จะชกั นาํ พระนาคเสนใหม าบวช และศึกษาธรรม เรอ่ื งพระโรหนะไปรบั บาตร (ที่บา นของพระนาคเสน) ประจาํ เปนเวลา ๗ ป ๑๐ เดอื น กระทั่งพบพระนาคเสนและบวชพระนาคเสนใหเ ปน สามเณร และเรอื่ งพระโรหนะสอง อภธิ รรมแกพ ระนาคเสน ในฉบับภาษาจนี กลาวอยา งธรรมดา ๆ วานาเซียนนน้ั เมือ่ อายุได ๑๔–๑๕ ขวบ มีลงุ ฝายบิดาอยคู นหนงึ่ ช่ือ โลหัน ซึง่ เปน พระอรหนั ตแ ละมอี ทิ ธิฤทธิ์ นาเซยี น ไดม าเยีย่ มลงุ และแจง ใหลุงทราบวา ตนมคี วามยนิ ดีในพุทธธรรม และขอบวชดว ย ทา นโลหนั สงสารนาเซียน จึงบวชใหเ ปน สามเณร นาเซียนไดทองบน สวดมนตทกุ วัน พิจารณาไตรตรองทั่วท้งั พระธรรมและพระวนิ ยั จนไดบรรลฌุ าน ๔ และมีความเขา ใจ ในอรรถธรรมเปนอยา งดี ในฉบับภาษาจนี ไมไ ดก ลา วถึงการสอนอภธิ รรมแกพ ระนาค เสนเปน ครง้ั แรก ๓. ในฉบับบาลี พระนาคเสนสอนอภธิ รรมอนั สขุ มุ คมั ภรี ภาพและหลกั สญุ ญตา แกอ บุ าสิกาคนหนง่ึ ในฉบับภาษาจนี นาเซยี นสอนทาน ศีล และสวรรค แกอ บุ าสกเม่อื รูเ ขายนิ ดี แลว จงึ สอนธรรมอนั ลึกซงึ้ ยิ่งกวา น้นั แกเ ขา เพราะสญุ ญตาธรรม อาจจะทาํ ใหเขามี ความทกุ ขใ จกไ็ ด ในฉบบั ภาษาจนี ไมไ ดกลาวถงึ พระอภธิ รรม ขอความที่ไมป รากฏในแตละฉบบั ขอความท่ีไมม ีในฉบับภาษาจนี ๑. ภกิ ษสุ ามเณรเกิดแลวเกดิ อีก เปน เทวดาบาง เปนมนุษยบ า ง นับชาติไมถ วน ในระหวางกัสสปพุทธกาล และโคตมพุทธกาล และพระโคตมพทุ ธเขา ไดท รงพยากรณ ภกิ ษุและสามเณรทง้ั สองนน้ั เหมอื นกับทไี่ ดท รงพยากรณเ ก่ียวกับพระโมคคัลลีบุตรติส สะวา หลังจากพทุ ธปรนิ ิพพานแลว ได ๕๐๐ ป ทา นทง้ั สอง จะปรากฏขึ้นในโลก ประกาศธรรม และชว ยขจัดความยงุ ยากตา ง ๆ เกยี่ วกบั ศาสนธรรมเสยี ได
๒. ฉบบั บาลี กลา วถงึ ครทู ง้ั หก และกลาวถึงการสนทนากนั ระหวา งพระเจามิ ลนิ ทก บั ปูรณกัสสปและมักขลิโคสาล ซง่ึ ไมสามารถจะตอบใหพระเจา มิลนิ ทพ อพระทยั ได และเปนเหตุใหพระองคป ระกาศวา ทว่ั ชมพทู วีป วา เปลาจากสมณพราหมณผ ู สามารถจะโตต อบกับพระองคเ สียแลว ๓. ฉบบั ภาษาจนี ไมไ ดพดู ถึงตอนทว่ี า ดวยเร่อื งชมุ นมุ พระอรหันตทีไ่ ปออน วอนขอใหมหาเสนเทวบตุ ร มาเกดิ ในมนษุ ยโลกเพ่ือเผชิญหนา กบั พระเจา มิลนิ ท และ เพื่อปกปก รกั ษาพระธรรมเลย ทัง้ ไมไดก ลา วถงึ ตอนท่พี ระโรหนะถกู ใชใ หไ ปรับ บิณฑบาต ทบี่ านของโณุตตรพราหมณเปน เวลา ๗ ป ๑๐ เดือน และตอนทพ่ี ระโรหนะ ไดส อนพระอภธิ รรมแกพระนาคเสน ๔. ฉบับภาษาบาลี พดู ถึงอภธิ รรม ๕ คร้งั คอื ครงั้ ที่ ๑ ในอารมั ภกถา ท่ี กลา วถึงพระนาคเสนวา เชย่ี วชาญในอภิธรรม ครัง้ ที่ ๒ เมอ่ื พระโรหนะสอนพระอภิธรรม ๗ คมั ภรี แ กพ ระนาคเสน คร้งั ที่ ๓ เมอ่ื พระนาคเสนสวดพระอภธิ รรม ๗ คมั ภีรจ บ บรบิ รู ณ ตอทชี่ มุ นุมพระอรหนั ต ไดรับสรรเสริญสนน่ั หว่ันไหวจากพรหม และไดรบั การ โปรยดอกมณฑารพ (ดอกไมสวรรค) ครงั้ ท่ี ๔ พระนาคเสนสอนพระอภิธรรมแก อบุ าสกิ า แลว ทั้งสองก็ไดบรรลโุ สดาบัน และคร้งั ที่ ๕ พระนาคเสนไดแสดงพระอภิธรรม แกพอคาทใ่ี หก ารตอ นรับตนในระหวา งเดินทางไปเมืองปาฏลบี ตุ ร ขอ ความทไ่ี มม ใี นฉบบั บาลี แตมใี นฉบับภาษาจนี ๑. เรื่องพระพทุ ธเจาองคปจ จบุ ันและชา งแสวงหาทวี่ ิเวก (ซง่ึ คลายกับเรื่อง ภิกษชุ าวโกสมั พ)ี เรอ่ื งชา งไดมาสพู ระอารามหลงั จากพทุ ธปรนิ พิ พานเพอื่ สดับเสียง สวดพระพทุ ธมนต การทช่ี า งนนั้ กลับมาเกดิ ใหมในสกลุ พราหมณ และเมือ่ เติบโตเปน หนมุ ขน้ึ แลว ไมเ คยไดย ินไดฟง เรือ่ งพระพุทธศาสนา ไมเคยไดเ ห็นพระสงฆ การเปน เพื่อนกันกบั ฤาษอี กี ตนหน่งึ การตงั้ ความปรารถนาแลวกลับมาเกดิ เปนนาเซียนและมี ลัน เรื่องเหลา น้ี ไมปรากฏในฉบับบาลี ๒. นาเซยี นถูกขบั ออกจากหมูส งฆ เนือ่ งจากไมน ําพาตอ คําสงั่ ของอาจารย รูสึกนอ ยใจตนเอง จึงพยายามจนไดบรรลเุ ปนพระอรหันตแลว กลับปฏิบัตติ ามคาํ สั่ง ของอาจารยอกี เรอื่ งเหลานไ้ี มมีในฉบบั บาลี ๓. หลังจากบรรลุพระอรหัตแลว นาเซยี นเท่ียวสง่ั สอนไปตามหมบู านและเมือง ตาง ๆ การไดธ รรมาภิสมยั ของผทู ฟ่ี ง สั่งสอนของนาเซยี น นาเซียนไดรับการตอนรบั ท้ัง มนษุ ยแ ละเทวดา พรหม รายละเอยี ดเหลา นีไ้ มมใี นฉบบั บาลี ดงั กลา วมานี้ จะเหน็ วาเรอ่ื งราวในอดีตชาตขิ องพระนาคเสน และพระเจามิ ลนิ ทน ั้นแตกตา งกนั อยา งมาก ในสองฉบบั น้ี แมว าขอ ใหญใจความทว่ั ๆ ไปจะไมข าด
หายไปก็ตาม ฉบบั ภาษาจนี นนั้ พูดอยา งรกั ษาตน ฉบบั ฉะน้นั จงึ มเี หตผุ ลอยา งเพียง พอทจ่ี ะเช่ือวา ตน ฉบบั เดมิ นั้น ไดถกู รจนาจารยฝ ายภาษาบาลีดดั แปลงแกไ ข เพอ่ื ให เหมาะสมกับลทั ธิหรือนกิ ายของตน ดร. ทชิ มนิ เชา ไดกลา วสรปุ วา ดว ยขอเทจ็ จรงิ ดงั กลาวมาแลว ทาํ ใหส ามารถ กลา วหักลา งไดอยา งเต็มปากวา ฉบบั แปลเปน ภาษาจีนนนั้ ใกลเ คยี งตนฉบบั เดิม มากกวา ฉบบั ภาษาบาลี และวา ฉบับภาษาบาลนี นั้ ผรู จนาไดร จนาขน้ึ ใหมโดยอาศยั ฉบบั เดิมเปน หลกั เพ่ิมเตมิ เร่ืองราวและหลักธรรมตา ง ๆ เขามากมาย เพอื่ ใหเ ขา กนั กบั หลักคาํ สอนฝา ยเถรวาท และขยายตน ฉบบั เดมิ ออกไปอกี จนมีขนาดใหญโ ตดังปรากฏ อยใู นปจจบุ นั นี้ ทา นทิช มิน เชา ไดอา งผลของการคน ควา และความเห็นของ ศาสตราจารย เดอมวี ลิ ล (Prot. Demieville) มาสนบั สนนุ ความคดิ เหน็ ของทา นวา “ตนฉบับเดมิ นน้ั ประกอบดว ยสว นตาง ๆ คือ (๑) อารมั ภกาถาพรอมดว ยรายละเอียด ตาง ๆ คือ การพรรณานาสถานที่ พรรณนาประวตั ิของพระนาคเสนเก่ียวกบั ชวี ติ ทาง พรหมจรรยใ นระยะตาง ๆ (เชน บวชเปน สามเณร บรรลพุ ระโสดาบนั บรรลุพระอรหัต) พรอ มดวยประเพณบี างอยา งเกย่ี วกับวดั และอาจารยข องพระนาคเสน ใหความรู เกี่ยวกับการโตว าทะอนั ไรผลกบั พระภิกษรุ ูปหนง่ึ และการพบกนั ระหวา งพระเจา มิลินท กับพระนาคเสน (๒) บนั ทกึ การโตวาทะ สวนท่ี ๒ ของตอนน้ี ดเู หมอื นจะไดเ พ่มิ เขา มา แตโ บราณกาลแลว และตอนแรกนนั้ ไดต กมาถงึ พวกเราในสภาพที่คงรปู สมบรู ณทีส่ ุด โดยมี ๒ ภาค ในอารมั ภกถานนั้ ไดเพม่ิ เร่อื งอวตารของบคุ คลสาํ คัญทงั้ สองเขามา และ ประวัติของพระนาคเสน กม็ กี ารแกไขเพิ่มเตมิ เพราะการกระทาํ ดงั นเ้ี อง กอใหเกดิ การ แกไ ขท่ีแตกตางกนั ออกไปเปน ๒ อยา ง คอื อยา งแรก ไดแปลเปนภาษาจนี ราว คริสตศตวรรษที่ ๔ และอยา งหลกั แปลเปน ภาษาบาลี ในครสิ ตศตวรรษที่ ๕ สว นฉบบั แปลเปน ภาษาจนี นัน้ ไดร อ ยกรองขึน้ โดยมกี ารแกไ ขเปน ๒ แบบ คือ แบบแกไข สมบูรณ และแบบแกไขไมส มบูรณ ซง่ึ ท้ังสองแบบกไ็ มแตกตางอะไรกนั มากนกั แต ตรงกนั ขาม ฉบับท่ีแปลเปน ภาษาบาลนี น้ั ไดผา นการปรบั ปรงุ มาหลายคร้งั สว นทพี่ อจะ เช่อื ถอื ไดน้นั ไดถกู เพ่มิ เตมิ ลงในสมยั ตน ๆ ในประเทศลงั กา หลงั ครสิ ตศตวรรษที่ ๕ แลว พระประวัติของพระเจา มิลนิ ทน นั้ ชวนใหค ิดวาเปน การเลยี นแบบพระประวตั ิของ พระเจาอชาตศิ ัตรแู ละพระเจาอโศก และ ๔ ตอนทเ่ี พมิ่ เขามา กอ็ าจจะเปนไดว า เพ่ิม เขา มาในประเทศลงั กา ซง่ึ ในประเทศลงั กานเ้ี องไดพบวา สว นแรก (ของมลิ นิ ทปญหา) ยังบรบิ รู ณดอี ยูจนถงึ ศตวรรษที่ ๕“ แมกระนัน้ ก็ดี ก็ยงั เปนการยากอยูทีจ่ ะพสิ จู นใหเ หน็ วา สว นทเ่ี พิม่ เติมเขามาทีหลงั ๔ ตอนนนั้ ไดเ พ่มิ เขาในประเทศลงั กาตามที่ ศาสตราจารยเ ดอมวี ิลลยนื ยนั แตความเหน็ ของเขากย็ ังสนับสนนุ ขอ ท่ีวา ฉบบั
ภาษาจนี มมี ากอ นกวาและถูกตองตามตนฉบับเดิมมากกวา ฉบับภาษาบาลี ไดเ ปน อยางดี ในเร่อื งน้ี ศาสตราจารย รสิ เดวดิ ส ไดคัดคานอยา งรนุ แรงวา “เปนไปไมไ ดท ว่ี า ฉบับท่สี นั้ กวา และเพียงแตส้นั กวา อยา งเดยี วเทา นน้ั จะตอ งเปนฉบบั ท่ีเกา แกก วาฉบบั ทยี่ าวกวา แตความจรงิ แลว นา จะเปน วา ฉบบั ท่ยี าวกวา นนั่ เอง ทท่ี าํ ใหเกดิ มีฉบับทส่ี ้ัน กวา ขน้ึ มา …ถาวา ฉบับท่ีสน้ั กวา (ซ่งึ ความจริงเรียกวา ฉบบั ถอดใจความนาจะเหมาะ กวา เพราะในความรูสกึ ของคนสมยั ปจจุบันแลว ไมน าจะเปน ฉบบั สมบูรณเลย) ท่ี ไดม าจากเกาหลี เปน ตน ฉบบั ทแ่ี ทจรงิ แลวก็มีปญหาวา หนงั สอื จีนอนื่ ๆ ทีก่ ลา วรวม ๆ วา ไดแตง ขึน้ ในสองศตวรรษ ตอ มา ซงึ่ ถือวา เปน ฉบับตน เดมิ นน้ั ดวยเหตุผลใดเลา จึง เกิดมีเนื้อหาสาระผิดแผกแตกตา งไปจากฉบับภาษาบาล?ี เชือ่ แนว า สมมติฐานที่จะเอา มาเปน เครอ่ื งพิสจู นใ นเรื่องนี้กค็ งจะเปน วา หนงั สือจนี ๒ ฉบบั ซ่ึงแปลจากตน ฉบบั อัน เดยี วกนั นนั้ ฉบบั หลงั ยอ มจะตอ งถูกตอ งแนน อนกวา ฉบบั กอ น และในเรอ่ื งนี้ ก็ทาํ ให เราไดเห็นลกั ษณพเิ ศษอนั หนง่ึ ของจนี วา ในการถา ยทอดคมั ภีรของอนิ เดียไปเปน ภาษาจนี นนั้ ทางจนี ถอื วา ฉบับหลังยอมถกู ตอ งกวา ฉบบั กอ นเสมอ มลิ ินทปญหาน้ัน เปน ปกรณท ี่ไดรบั ความสนใจศกึ ษาคน ควา จากนักปราชญ ตา งๆ ทวั่ ไป ทง้ั ทางตะวนั ออกและตะวนั ตก ไดม ผี ูเขยี นบทความวจิ ารณเ ร่ืองของมิลนิ ท ปญหากนั อยา งกวา งขวาง มกี ารคนควา และตดิ ตามเร่ืองราวตา ง ๆ ทีก่ ลา วไวในมลิ นิ ท ปญ หากนั อยา งจรงิ จงั ดงั ทก่ี ลา วมาขา งตน และจากผลของการคนควาของบรรดาทาน เหลา นัน้ กป็ รากฏวา สาระสว นใหญของมิลนิ ทปญ หานน้ั ดําเนนิ ตามหลกั ธรรมของ ฝายเถรวาท ซง่ึ เรยี กวา สตั ถุศาสน แตก ไ็ มไ ดจํากดั วงอยเู ฉพาะในขอบเขตของ พระไตรปฎกฝา ยเถรวาทอยา งเดียวว เพราะพบวา บางคร้งั ผูร จนากน็ าํ เอาหลกั ธรรมใน นกิ ายสรวาสตวิ าท ซง่ึ เปน พทุ ธศาสนามหายานนกิ ายหนงึ่ มาอภบิ ายอยา งยดื ยาว เบอรนอฟ (Burnouf) ไดคนพบวา พระนาคเสนไดบ รรยายถงึ หลกั ธรรมในอภธิ รรมโก ศวยาขยา (บางแหง เรียกวา อภธิ รรมโกศภาษยา ซึง่ เปนคมั ภีรส ําคญั อธิบายพทุ ธ ปรัชญาตามหลักธรรมของนกิ ายสรวาสตวิ าท ในฝายมหายานแตงโดยพระวสพุ ันธุ ชาว อนิ เดยี ) อยา งกวา งขวาง ท้งั ยงั ปรากฏวาบางแหง ไดพ ูดถงึ หลกั ธรรมของธเิ บตดวย เชน เรื่องสที ี่บุคคลจะเหน็ เมอื่ เวลาจะตายเปน ตน ซงึ่ ไมม ใี นพระไตรปฎกฝา ยเถรวาท บางครัง้ ก็นาํ เอาตัวอยา ง หรือขออปุ มาจากวรรณคดนี อกพระคมั ภรี มาประกองการ อธิบายบา ง ฉะน้นั จงึ เหน็ ไดว า ผรู จนามลิ นิ ทปญ หานัน้ เปน ผูคงแกเรยี นอยา งแทจริง เช่ียวชาญทง้ั ในเรอ่ื งพระพทุ ธศาสนาและวรรณคดอี น่ื ๆ ท่ีรว มสมยั กนั
ศาสตราจารย รสิ เดวดิ ส ไดยกยองวา มิลินทปญหา เปน ปกรณทแ่ี ตงดเี ปน อยางยอดคมั ภีรห นงึ่ ในบรรดาคัมภีรทัง้ หลายที่รจนาขนึ้ ภายหลงั พระไตรปฎก และวา หนงั สอื ท่ีแตงไดดีใกลเ คียงมลิ นิ ทปญหา ก็มแี ตวิสุทธิมรรค ของพระพุทธโฆษาจารย คัมภรี เดยี ว แตม ิลนิ ปญ หามีมากอ นกวาวิสทุ ธมิ รรคชา นานและพระพุทธโฆษาจารยยงั ไดอ างเอามิลนิ ปญหามาเปน หลกั ในการวนิ ิจฉยั ในหนังสอื อรรถกถาทท่ี า นรจนาเปน หลายแหง จงึ เหน็ ไดวา มลิ ินทปญ หาน้ี เปน คมั ภีรท นี่ กั ปราชญถ ือกนั วา เปนหลกั ฐานใน ขอ วนิ ิจฉัย พระธรรมวนิ ยั มาแตดกึ ดําบรรพแลว ศาสตราจารย ริส เดวดิ ส ไดล องกําหนดขอความในพระไตรปฎกซ่ึงยกอา งไว ในมิลนิ ทปญ หาน้ี กป็ รากฏวา ผรู จนาคัมภีรน ี้ เปน ผชู าํ นิชาํ นาญแตกฉานใน พระไตรปฎก สามารถอา งไดทุกคัมภรี สาํ นวนโวหารกไ็ พเราะ แตข อวิเศษอนั สาํ คญั นั้น กค็ ือ ผรู จนาเปนผทู ่ีฉลาดปราดเปร่อื งทงั้ ในกระบวนการวินจิ ฉยั และวิสชั นาพระธรรม วินัยใหเขา ใจไดด ว ยอปุ มาเปน ตน ผดิ กบั คมั ภรี อ่ืน ๆ โดยมาก จงึ เปนเหตุใหผ ศู กึ ษา พระธรรมวนิ ยั ในพระพุทธศาสนานับถอื คัมภีรม ลิ ินปญหานี้ สบื ตอ กนั มามากวา ๒๐๐๐ ป เขา บัดนี้ ทา นอานนั ท เกาศัลยายนะเถระ (Anand Kausalyayana) กก็ ลาววา บรรดา วรรณคดบี าลที ้ังหลาย นอกจากพระไตรปฎ กแลว ไมม ีคาํ กลา วใดจะสขุ มุ ลมุ ลึกเทา คาํ ของพระนาคเสนในเรื่อง อนาตมวาท (Anatmavad) หรืออนตั ตา ดงั นน้ั มิลินทปญ หา จงึ เปนคมั ภีรทแ่ี สดงหลักเกณฑไดทั้งดา นอภิปรชั ญาของพระพทุ ธศาสนา ทง้ั ในดา นจ ริยศาสตรและจติ วิทยา นกั ศึกษาพระพทุ ธศาสนาควรจะไดศึกษาเพราะนอกจากจะ เปนคัมภรี พ ระพทุ ธศาสนาทสี่ ําคญั แลว ยงั มคี ุณคา ทางดา นประวตั ศิ าสตรและ วรรณคดอี ีกเปน อันมาก มลิ นิ ทปญหามีหลกั ฐานดแี นช ดั ชนดิ ทว่ี รรณคดี รอยแกวของ อนิ เดียในศตวรรษท่ี ๑ เปรยี บเทียบมิได กลา วสน้ั มลิ นิ ปญหามฐี านะเดนในวรรณคดี อินเดยี ไมวา จะมองแงป รัชญา วรรณคดี ประวัตศิ าสตร หรอื ความรทู างภูมิศาสตร เปน ขอ เทจ็ จริงทีโ่ ตแยง ไมไดวา วรรณคดีหลังพระไตรปฏกไมม ีคัมภรี พ ระพุทธศาสนาคมั ภรี ใดจะมคี ุณคา เทา มลิ ินทปญ หาพมาไดจ ดั มลิ นิ ทปญ หา เขา ในสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทก นิกายดวย มิลนิ ปญหาไดถ ูกถายทอดอกั ษร และแปลเปนภาษาตาง ๆ ทงั้ ภาษาทาง ตะวนั ออกและตะวนั ตกหลายภาษา และในบางภาษาแปลกกันหลายสํานวน สาํ หรบั การถายทอดออกเปน อักษรตา ง ๆ ในพากยบ าลนี ัน้ คอื ฉบับอักษรสิงหล ฉบับอกั ษร ขอม ฉบับอักษรพมา ฉบับอักษรไทย และฉบับอักษรโรมัน โดย ว.ี เทรงคเ นอร ชาว
เดนมารก เมอื่ พ.ศ. ๒๔๒๓ สําหรบั การแปลเปนภาษาตา ง ๆ กนั เทา ทป่ี รากฏใน ขณะน้ี คือ พุทธศกั ราช (ราว) ๘๖๐–๙๖๒ - แปลเปน ภาษาจนี มที งั้ หมดรวม ๑๑ สาํ นวน “ ๒๒๙๐ - แปลเปนภาษาสิงหลโดยเถระ และมแี ปล ตอ มาอกี หลายครั้ง “ ๒๔๓๓ - แปลเปนภาษากฤษ โดยศาสตราจารย ริส เดวิดส “ ๒๔๔๘ - แปลเปนภาษาเยอรมนั โดย เอฟ็ .ออตโต ชราเดอร (แปลบางสว น) “ ๒๔๖๖ - แปลเปน ภาษาฝรัง่ เศส จากฉบับภาษาจีน โดย หลยุ ส ฟโ นต “ ๒๔๖๗ - แปลเปน ภาษาฝรง่ั เศส จากฉบบั ภาษาจีน โดย ปอล เดมิ วี ิลล “ ๒๕๐๔ - แปลเปน ภาษาอังกฤษ โดยนาง ไอ. บี. ฮอนเนอร ไมทราบ พ.ศ. ที่แปล - แปลเปน ภาษารสั เซยี จากฉบับภาษาจนี โดยนายอีวานอฟสกี (Ivanovsky) “ - แปลเปนภาษาญีป่ นุ จากฉบับภาษาจนี โดย โซเงน ยามากามิ “ - แปลเปน ภาษาญป่ี ุน จากฉบบั ภาษาบาลี โดย เซอิ สยา กานา โมลิ สําหรับการแปลเปนภาษาไทยนนั้ บางทีอาจจะไดแ ปลมาตั้งแตค รงั้ กรงุ สโุ ขทัย ดว ยอางถึงหนงั สอื มิลินทปญ หาในบานแพนกหนังสอื ไตรภมู พิ ระรว ง ซ่งึ พระมหาธรรม ราชาพญาลิไทย ทรงแตง ข้นึ เมือ่ ครงั้ กรงุ สโุ ขทยั ยงั เปน ราชธานี แตที่แนน อนและมี ตนฉบบั อยใู นบัดนี้ ๔ สาํ นวน คือ :- ๑. ฉบับแปลแตค รัง้ กรงุ ศรีอยธุ ยาเปนราชธานี หอพระสมุดฯ ไดตนฉบบั ไว แต ไมบ ริบรู ณ
๒. ฉบับแปลในสมยั กรุงรัตนโกสินทร ซงึ่ กรมศิลปากร ไดจัดพมิ พเผยแพร เปน ฉบบั ของหอสมุดแหงชาติ สาํ นวนนี้สันนษิ ฐานวา คงจะแปลในรัชกาลท่ี ๓ ดว ยปรากฏ มาวา ตงั้ แตรชั กาลที่ ๑ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟาจฬุ าโลก ไดโ ปรดฯ ใหแปล คัมภรี ท ่ีแตงไวเปนภาษามคธ ออกเปน ภาษาไทยหลายเรอ่ื ง ทเี่ ปน เร่อื งใหญม ฉี บบั ปรากฏอยู คอื เรือ่ งมหาวงศพงศาวดารลงั กา วา ดวยพทุ ธศาสนประวตั ใิ นลงั กาทวีป ๑ ชินกาลมาลี วา ดวยพทุ ธศาสนาประวัติต้ังแตพ ุทธกาลถงึ นครเชียงใหมในสยามประเทศ นี้ ๑ ไตรโลกวนิ ิจฉยั ๑ เปนอาทิ หนังสือทแี่ ปลในรชั กาลท่ี ๑ มกั มบี านแพนกและบอก ช่อื ผูแ ปลไวเ ปนสําคัญ แตมลิ นิ ทปญหาน้ี หามีไม จึงสนั นษิ ฐานวา จะแปลในรชั กาลท่ี ๓ ดวยพระบาทสมเดจ็ พระน่ังเกลา เจา อยหู วั ทรงสดับพระธรรมเทศนาทกุ วันเปน นิตย ตามพระราชประเพณโี ปรดฯ ใหอาราธนาพระผถู วายเทศนแ ปลพระไตรปฎก ทั้งพระ วนิ ยั พระสูตร และพระอภิธรรม และปกรณต าง ๆ ถวาย เม่ือเทศนแ ลว โปรดฯ ใหเ ขียน เก็บรักษาไวในหอหลวง มิลนิ ปญ หาฉบับนี้ กเ็ หน็ จะแปลถวายเทศนในครง้ั นน้ั ๓. ฉบบั แปลในมหามกุฏราชวทิ ยาลยั ในสมยั รชั กาลที่ ๕ ดวย สมเดจ็ พระมหา สมณเจา กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส ทรงตั้งมหามกุฏราชวทิ ยาลยั ขนึ้ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๖ และออกหนงั สอื ธรรมจักษุเปน รายเดอื นสมนาคณุ แกผบู รจิ ารบํารุงมหามกุฏราช วิทยาลัย ไดท รงแปลมลิ นิ ทปญหาลงพิมพในหนงั สือธรรมจักษดุ งั กลา ว เปน ตอน ๆ แต มไิ ดทรงแปลดว ยพระองคเ องตลอด ทรงใหพระกรรมการมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัยบาง พระภิกษสุ ามเณรนักเรียนในมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั บา ง ชว ยกันแปลเปนตอน ๆ แลว ทะยอยลงพิมพใ นหนงั สือธรรมจกั ษุจนจบ สาํ นวนแปลในฉบบั น้ีเปน แบบ “สาํ นวน สนาม” คือเหมือนอยางทแ่ี ปลกันในการสอนพระปรยิ ตั ิธรรมสนามหลวง เม่อื ครง้ั สมเดจ็ กรมพระยาดาํ รงราชานุภาพ ทรงเลอื กมลิ นิ ทปญหาสาํ หรบั จดั พมิ พเ ปน ฉบบั ของหอสมดุ แหงชาติ ทรงเห็นวา ฉบบั แปลในมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั นี้ สาํ นวนไม สมาํ่ เสมอ เพราะแปลกนั หลายคน จงึ ไมท รงเลือกเอาฉบบั นี้ ทรงเลือกเอาฉบับแปลใน สมัยรัชกาลที่ ๓ ดังกลา วแลว ขา งตน ๔. ฉบับเรยี บเรยี งใหม เรยี กวา “ปญ หาพระยามลิ นิ ท” โดยนายยม้ิ ปณ ฑยาง กูร เปรยี ญ เจา หนาทหี่ อสมดุ แหงชาติ เมอื่ พ.ศ. ๒๔๘๓ เปน การเรียบเรียงเอาเฉพาะ ใจความของแตละปญ หา โดยตัดขอความและสํานวนท่ีซํ้า ๆ ซาก ๆ ออกเสยี เพอ่ื สะดวกในการอา นและเขาใจงา ยขนึ้ และฉบับนี้ กรมศลิ ปากรไดจัดพมิ พออกเผยแพร เปนฉบับของหอสมุดแหง ชาติ อีกฉบับหนงึ่ สําหรับมิลนิ ปญ หา ทท่ี รงพระกรณุ าโปรดฯ ใหจดั พมิ พข ึ้น ในงานพระเมรพุ ระ ศพ สมเด็จพระสังฆราช (อุฏฐายมี หาเถร) คราวนี้ไดฉบับพิมพท ่ีโรงพิมพไ ท เม่ือ พ.ศ.
๒๔๗๐ ซง่ึ สมเด็จพระสังฆราชพระองคนน้ั แตค ร้งั ยงั ทรงเปน พระมหาจวน เปรยี ญ ๘ ประโยค ไดทรงพระนพิ นธคาํ นาํ สาํ หรับการพิมพครง้ั นน้ั มาเปน ตนฉบบั ในการจดั พมิ พ เมอ่ื ไดสอบเทยี บดกู ับสาํ นวนแปลทสี่ มเดจ็ พระมหาสมณเจา กรมพระยาวชริ ญาณวโร รส และพระกรรมการ พระภิกษสุ ามเณร นักเรียน ในมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย ชว ยกัน แปลลงพมิ พในหนงั สอื ธรรมจกั ษแุ ลว กป็ รากฏวา เปน ฉบับเดียวกนั ฉะนน้ั มลิ ินท ปญ หา ฉบบั โรงพมิ พไ ท พ.ศ. ๒๔๗๐ น้ี จงึ เปนการรวมพมิ พม ิลนิ ทปญ หาทแ่ี ปลลง พมิ พใ นหนงั สอื ธรรมจกั ษุ เปน ครง้ั แรก ซง่ึ เรยี กในทนี่ ี้วา “มิลินทปญหา ฉบับแปลใน มหามกุฏราชวิทยาลัย” และฉบับทแี่ ปลน้ี เมือ่ สอบดูกบั ฉบบั ภาษาบาลแี ลว กป็ รากฏ วา แปลจากฉบับบาลอี ักษรโรมันทน่ี าย ว.ี เทรงคเ นอร ไดถ า ยทอดออกเปน อกั ษรโรมนั และจัดพิมพข นึ้ คร้ังแรก ณ กรงุ โคเปนเฮเกน ประเทศเดนมารก เม่อื ค.ศ. ๑๘๘๐ (พ.ศ. ๒๔๒๓) ขณะนน้ั ฉบบั บาลอี กั ษรไทยยงั ไมไดจ ัดพมิ พข ้ึนมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั พ่ึงจะ มาชําระและจดั พิมพข นึ้ ครัง้ แรกเมอ่ื พ.ศ. ๒๔๖๖ และปรากฏวา ทงั้ สองฉบบั น้ีมี ขอ ความแปลกกันอยหู ลายแหง พระเถระและพระภกิ ษุสามเณรนกั เรียนในมหามกุฏ ราชวิทยาลยั ทช่ี ว ยกนั แปลมลิ นิ ทปญ หาในครง้ั นน้ั มีรายพระนามและรายนาม ดงั ตอไปน:้ี - คํานมัสการ สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส มลิ ินทปญ หา วรรคที่ ๑ “ “ วรรคที่ ๒ พระแตม เปรียญ วัดบวรนเิ วศวิหาร วรรคท่ี ๓ พระคํา เปรียญ วดั บวรนิเวศวหิ าร (คอื พระยาวิจิตรธรรมปรวิ ัตร คํา พรหมกสกิ ร ป.๘) วรรคที่ ๔ สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส วรรคท่ี ๕ “ “ วรรคที่ ๖ สามเณรพฒุ (พระมหาพุฒ ผเู คยรงั้ เจาอาวาสวดั บรมนิวาส ระหวา ง พ.ศ. ๒๔๕๘– ๒๔๕๙?) วรรคท่ี ๗ สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส วิเสสปญหา “ “ เมณฑกปญ หา
วรรคท่ี ๑ (ปญ หาที่ ๑-๒) วรรคที่ ๒ (ปญ หาที่ ๓) พระราชกวี วัดบวรนิเวศวหิ าร (คอื พระธรรมปาโมกข ถม วราสโย ป.๗ วดั มกฏุ กษตั ริยาราม ภายหลงั ลาสกิ ขา) วรรคที่ ๑ (ต้งั แตปญ หา ๔ ไป) พระธรรมปาโมกข วดั มกุฏกษตั ริ ิยา ราม (คอื พระพรหมมนุ ี แฟง กติ ติ สาโร ป.๗) วรรคที่ ๒ “ วรรคที่ ๓ “ วรรคท่ี ๔ “ วรรคที่ ๕ “ วรรคที่ ๖ “ วรรคที่ ๗ พระพรหมมนุ ี (แฟง กิตตสาโร) วัดมกฏุ กษัตริยาราม วรรคที่ ๘ “ (ถงึ ปญ หาที่ ๔) วรรคที่ ๘ (ตง้ั แตปญหาที่ ๕ - จบ) สมเดจ็ พระสงั ฆราชเจา กรมหลวงชนิ วรฯ วดั ราชบพธิ ครั้งทรงดาํ รงพระอสิ ริยาเปน กรมหมน่ื ชนิ วรสริ วิ ฒั น วรรคที่ ๙ สมเด็จพระสังฆราชเจา กรมหลวงชนิ วรสริ วิ ฒั น อปุ มาปญ หา มิลินทปญหาท่แี ปลลงพิมพใ นหนังสือธรรมจกั ษคุ ร้งั นั้น ไมไดจ ดั เปน หมวด ตามหมวดและวรรคของปญหา และไมไ ดใ สช่ือปญ หากาํ กบั ไวท ห่ี วั เร่ืองของแตละ ปญ หาดวย สาํ นวนการแปลก็เปนไปตาง ๆ กนั ตามความถนัดของผแู ปลแตล ะทาน และปรากฏวา ทา นตดั ขอความบางตอนออกเสียบาง เชน อุปมาบา งขอ ขอ ความบาง ตอนที่ซาํ้ กนั และความบางตอนก็สลบั ทกี่ นั เชน ยกเอาอปุ มาขอ ๓ ไปไวลําดับ ๒ และ เอาขอ ๒ ไปไวเปน ลาํ ดบั ๓ เปน ตน ฉะนน้ั จึงเขาใจวา เมอ่ื โรงพมิ พไ ทประสงคจะพมิ พ มลิ ินทปญ หาสาํ นวนน้อี อกเผยแพร คงจะไดถ วายเรื่องนแี้ ดส มเด็จพระสังฆราช ครง้ั ยงั ทรงเปน พระมหาจวน ชวยตรวจชําระเพอื่ การพิมพ และขอประทานพระนิพนธคาํ นาํ สําหรับการพมิ พคร้ังนั้นดวย สมเด็จพระสังฆราชพระองคนนั้ คงจะไดท รงจัดระเบยี บ เกี่ยวกับหวั ขอปญหาตาง ๆ เสยี ใหมแ ละใสช อ่ื ปญหานน้ั ๆ กาํ กบั ไวท ุก ๆ ปญ หาให ถกู ตองตามฉบบั ภาษาบาลดี ว ย เพือ่ ความเปน ระเบยี บและสะดวกในการคนหา ฉะน้ัน
ฉบับโรงพิมพไ ท เมอื่ นาํ มาเทียบกบั คาํ แปลที่ลงพิมพในธรรมจักษุแลว จงึ ปรากฏวา มี ขอแตกตางกนั บา งเลก็ นอย คือ :- ๑. ในธรรมจกั ษุ ไมมชี ือ่ ของปญ หาตา ง ๆ กาํ กบั ไวทหี่ วั เรอื่ งของปญหานนั้ ๆ แตใ นฉบับโรงพมิ พไท ใสช อ่ื ปญ หาของแตล ะปญหากาํ กบั ไวด ว ย ตามที่มปี รากฏอยใู น ฉบบั ภาษาบาลี ๒. ในธรรมจักษุ บางปญหาไมไ ดแ ปลไว แตในฉบบั โรงพมิ พไ ท แปลเพมิ่ เขามา ใหมใ หครบตามฉบบั ภาษาบาลี และท่ีเพม่ิ เขามาใหมน ี้เขาใจวา สมเดจ็ พระสงั ฆราช พระองคน น้ั คงจกั ไดทรงแปล ๓. การใชสัพพนาม และสรอ ยคาํ บางคาํ แปลกกนั ออกไปบา ง ทงั้ นเี้ ขาใจวา คงจะเปน การเปลีย่ นคําทเี่ หน็ วา ไมเหมาะสม และตดั คําทเ่ี หน็ วารงุ รงั ออกไปเสียบา ง แตข อ ความอื่น ๆ ตรงกนั โดยการตรวจชาํ ระของสมเดจ็ พระสงั ฆราชพระองคน นั้ จงึ ทาํ ใหมิลนิ ทปญหา สาํ นวนน้ี เรยี บรอ ยข้ึน เหมาะแกก ารทจี่ ะพมิ พอ อกเผยแพรไ ด อกี ประการหนงึ่ มิลนิ ท ปญหาสาํ นวนน้ี กลา วไดวา เปน ฉบับแปลเปนภาษาไทย สํานวนใหมท ่ีสุดเทา ทม่ี อี ยใู น ปจจบุ นั นี้ ดังน้ัน จึงไดทรงเลือกและทรงพระกรณุ าโปรดฯ ใหพ ิมพใ นคราวนี้ อนึ่ง มิลนิ ทปญ หา ฉบบั แปลในมหามกุฏราชวิทยาลยั น้ี แปลจากตนฉบบั ภาษาบาลอี กั ษรโรมนั ดงั ทไี่ ดอธิบายไวขางตนแลว จงึ ปรากฏวา ขอ ความบางตอน ไม มีในฉบบั ภาษาบาลีอักษรไทย ฉบบั ทมี่ หามกุฏราชวทิ ยาลยั ตรวจชาํ ระพิมพดงั กลาว แลวเชน กนั และอสาธารณนามหลายแหง ไมตรงกัน เชน ช่อื พระสตู รตาง ๆ แมน าํ้ สําคญั ตา ง ๆ เปนตน เพราะฉบบั ภาษาบาลอี กั ษรโรมนั กบั อกั ษรไทยนัน้ มีขอความ คลาดเคลอ่ื นกนั หลายแหง บางแหง ทีส่ งสยั และตรวจพบวาตางกนั กท็ ําเชงิ อรรถไว แต ไมไ ดทาํ ไวต ลอด เพราะไมม เี วลาตรวจสอบเพยี งพอ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430