Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางศึกษารัฐศาสตร์.อำนาจเจริญ.E-Book1

แนวทางศึกษารัฐศาสตร์.อำนาจเจริญ.E-Book1

Published by thanya_rato, 2022-03-12 13:00:32

Description: แนวทางศึกษารัฐศาสตร์.อำนาจเจริญ.E-Book1

Search

Read the Text Version

สารบัญ หัวข้อเร่ือง หนา้ บทนำ 1. แนวกำรศึกษำกลุ่มผลประโยชน์ (Interest Group Approach) 1 2. แนวกำรศึกษำเกม (Game Approach) 26 3. แนวกำรศึกษำระบบ (System Approach) 61 4. แนวทำงศึกษำเศรษฐกิจกำรเมือง (Political Economy Approach) 89 5. แนวกำรศึกษำกำรตดั สนิ ใจเลอื กสำธำรณะ (Public Choice Approach) 107 6. แนวกำรศึกษำแนวกำรสื่อสำรทำงกำรเมือง 137 (Communication Approach) 7. แนวกำรศกึ ษำมำรก์ ซิสต์ (Marxist Approach) 158 8. แนวกำรศึกษำกำรพฒั นำกำรเมือง (Development Approach) 202 9. แนวกำรศึกษำชนชน้ั นำทำงกำรเมือง (Political Elite Approach) 240 10. แนวกำรศึกษำวัฒนธรรมทำงกำรเมอื ง 265 (Political Culture Approach) 297 11. แนวกำรศกึ ษำเชงิ สถำบัน (Institutional Approach) 12. แนวกำรศึกษำปรชั ญำกำรเมือง 322 (Political Philosophy Approach)

บทนา (Introduction) ในกำรศึกษำทำงรัฐศำสตร์น้ัน ถือเป็นหน่ึงในแนวทำงศึกษำเก่ียวกับ กำรเมือง กำรบริหำร รวมถึงนโยบำยของรัฐที่สำคัญ กำรศึกษำดังกล่ำวมุ่งเน้น กำรวิเครำะห์และอธิบำยกระบวนกำรทำงกำรเมืองอย่ำงเป็นระบบ ด้วยหลัก เหตุผล แนวทำงกำรศึกษำทำงรัฐศำสตร์นั้นมีหลำยแนวทำง อำจแบ่งได้เป็น ประเภทหลักคือ แนวทำงกำรศึกษำแบบคลำสสิค (Classical Approach) ที่ให้ ควำมสำคัญกับกำรศึกษำปรัชญำกำรเมืองสำหรับทำควำมเข้ำใจกับธรรมชำติ ของสรรพส่ิงเกี่ยวกับกำรเมือง และแนวทำงกำรศึกษำเชิงพฤติกรรม เน้นกำรศึกษำเพ่ืออธิบำยคำตอบของปรำกฏกำรณ์ในแบบวิทยำศำสตร์ โดยใช้ ทฤษฎีหรอื แนวคดิ ที่มีหลกั กำร ใชก้ ระบวนทดสอบและวเิ ครำะห์ขอ้ มลู สำหรับเอกสำรน้ี ผู้เขียนได้รวบรวมแนวทำงกำรศึกษำที่เป็นตัวแบบ หรื อทฤษฎี ทำงรั ฐ ศำสต ร์ บ ำงส่ วน ที่ใช้ ใน กำร อธิ บ ำยป ร ะกอบ ด้ว ย แน ว ทำง กำรศึกษำ ดังน้ี 1. แนวกำรศึกษำกลุ่มผลประโยชน์ (Interest Group Approach)บท วิเครำะห์ว่ำด้วยกำรเคลื่อนไหวและกำรต่อสู้ทำงกำรเมืองของกลุ่มเกษตรกร จังหวัดอำนำจเจริญ ศึกษำโดยอัญชลี นำกรณ์ และคณะ เป็นกำรศึกษำกำร เคลอ่ื นไหวและกำรกำรต่อสู้ทำงกำรเมืองของกลุ่มเกษตรกร จังหวัดอำนำจเจริญ โดยใช้ตัวแบบทฤษฎีกลมุ่ (Group Theory) 2. แนวกำรศึกษำเกม (Game Approach); บทวิเครำะห์ว่ำด้วยกำร ต่อรองทำงกำรเมืองในกำรเลือกตั้งนำยกและสมำชิกองค์กำรบริหำรส่วนตำบล หนองแก้ว อำเภอหัวตะพำน จังหวัดอำนำจเจริญ ปี 2564 ศึกษำโดยพีรพล บัวทองและคณะ เป็นกำรศึกษำกำรได้มำซึ่งอำนำจทำงกำรเมือง สร้ำงกลยุทธ์ ต่ำงๆ ให้ได้มำซึ่งอำนำจนั้น รวมท้ังวิเครำะห์ด้ำนควำมสัมพันธ์ ด้ำนเครือญำติ กำรเจรจำต่อรองในทำงกำรเมือง ซึ่งเป็นกลไกลวิธีเพื่อให้ได้เปรียบในกำรลง แข่งขัน

3. แนวกำรศึกษำระบบ (System Approach) บทวิเครำะห์ว่ำด้วยกำร บริหำรจัดกำรในกำรพัฒนำท้องถิ่นระดับตำบล กรณีศึกษำตำบลคำพระ (กลุ่ม แม่บ้ำนคำพระ) ศึกษำโดยตินันท์ สุวรรณกูฏและคณะ เป็นกำรศึกษำด้วยกำร นำแนวคิดเชิงระบบ (System approach) เป็นกรอบแนวคิด ในกำรวิเครำะห์ ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงระบบกำรเมืองกับส่ิงแวดล้อมตำมทฤษฏีระบบมีปัจจัย นำเข้ำในรูปแบบของข้อเรียกร้องและกำรสนับสนุน และมีปัจจัยนำออกหรือ ผลผลติ ออกมำเป็นแนวนโยบำยหรือ กฎหมำย ซึง่ มีผลกระทบต่อสภำพแวดล้อม หรือระบบสงั คม ทั้งทำงบวกและลบกอ่ ให้เกดิ กำรเปลีย่ นแปลง 4. แนวกำรศึกษำเศรษฐกิจกำรเมือง (Political Economy Approach); บทวิเครำะห์ว่ำด้วยโครงกำรรับจำนำและประกันรำคำข้ำว ศึกษำโดยโฉมงำม สิทธิธรรมและคณะ เป็นกำรศึกษำวิเครำะห์ควำมสัมพันธ์ ระหว่ำงเศรษฐกิจกับกำรเมืองว่ำ มีควำมเก่ียวข้องส่งผลสัมพันธ์กันอย่ำงไร กำรเมืองนำไปสู่กำรเปล่ียนแปลงของเศรษฐกิจ และสภำวะเศรษฐกิจท่ี เปล่ยี นแปลงจะส่งผลตอ่ กำรเมือง โดยใช้นโยบำยทำงเศรษฐกิจของนักกำรเมือง หรอื พรรคกำรเมอื งเปน็ ตวั แปรในกำรวเิ ครำะห์ 5. แนวกำรศึกษำกำรตัดสินใจเลือกสำธำรณะ (Public Choice Approach) ; บทวิเครำะห์ว่ำด้วยนโยบำยพรรคกำรเมืองและพฤติกรรมกำร เลือกต้ังของประชำชนจงั หวดั อำนำจเจรญิ ศึกษำโดยพลอยปภัส ตังควณิชย์และ คณะ เป็นกำรศึกษำว่ำ นโยบำยของพรรคกำรเมืองเป็นปัจจัยท่ีส่งผลต่อ พฤติกรรมกำรเลือกต้ังของประชำชนจังหวัดอำนำจเจริญ ด้วยกำรใช้ทฤษฎี ทำงเลอื กสำธำรณะ (Public Choice Theory) ในกำรวิเครำะห์ 6. แนวกำรศึกษำแนวกำรส่ือสำรทำงกำรเมือง(Communication Approach) ;บทวิเครำะห์กำรหำเสียงในกำรเลือกต้ัง ส.ส. ปี 2562 ของพรรค กำรเมือง ศึกษำโดยศุภชัย คำกุณำและคณะ เป็นกำรศึกษำเก่ียวกับกำรส่ือสำร ในฐำนะเคร่ืองมือของกำรกำหนดยุทธศำสตร์เพ่ือนำไปสู่เป้ำหมำยทำงกำรเมือง โดยอำศัยกำรส่ือสำรสร้ำงแนวทำงกำรยอมรับขึ้นในกลุ่มประชำชนที่เรียกว่ำ กำรหำเสียง

7. แนวกำรศึกษำมำร์กซิสต์ (Marxist Approach): กรณีศึกษำ กำรเมืองท้องถ่ินในพื้นท่ีตำบลนำผือ อำเภอเมือง จังหวัดอำนำจเจริญ โดย นิวฒั น์ สู่เสนและคณะ โดยศึกษำบทบำท อำนำจและอิทธิพลกำรเมืองของกลุ่ม กำรเมืองและพรรคกำรเมืองระดับชำติต่อกำรเมือง เศรษฐกิจ และสังคมในพื้นท่ี โดยใช้แนวกำรศึกษำมำร์กซิสต์เพื่อวิเครำะห์สังคมและเศรษฐกิจท่ีวิพำกษ์ทุน นยิ มผ่ำนกระบวนทัศน์กำรขดู รีด 8. แนวกำรศึกษำกำรพัฒนำกำรเมือง (Development Approach) กร ณีศึกษำพฤติกร ร มกำร เมืองท้องถิ่นอบต. /ตำบล/เทศ บำล แล ะกำร เมือง ระดับชำติในพื้นท่ีตำบลหนองบัวฮี อำเภอพิบูลมังสำหำร จังหวัดอุบลรำชธำนี โดยหทัยกำนต์ จันทร์พวงและคณะ โดยศึกษำวิเครำะห์พฤติกรรมกำรทำงำน ของท้องถิ่น/ควำมสำมำรถในกำรปรับตัวของท้องถิ่น และกำรพัฒนำทำง กำรเมืองในระดับท้องถ่ิน โดยผ่ำนกำรมีส่วนร่วมตำมหลักของกำรปกครองส่วน ท้องถิน่ 9. แนวกำรศึกษำชนชั้นนำทำงกำรเมือง (Political Elite Approach): บทวิเครำะห์ว่ำด้วยผู้นำทำงกำรเมืองกรณีศึกษำองค์กำรบริหำรส่วนตำบลโนน งำม อำเภอปทุมรำชวงศำ จังหวัดอำนำจเจริญ ศึกษำโดยชัยรัตน์ โพธ์ิไทรย์และ คณะ เป็นกำรศึกษำควำมสัมพันธ์เชิงอำนำจในกลุ่มชนช้ันนำในพื้นที่ กำรครอบ นำและกำรนำในระบบกำรเมือง เศรษฐกิจ กำรเมือง และกำรกำหนดวิถีชีวิต ของชมุ ชน 10. แนวกำรศึกษำวัฒนธรรมทำงกำรเมือง (Political culture approach) บทวิเครำะห์ : ว่ำด้วยพฤติกรรมกำรเมืองท้องถ่ิน กรณีศึกษำ : ประชำชนในเขตเทศบำลตำบลเสนำงคนิคม อำเภอเสนำงคนิคม จังหวัด อำนำจเจรญิ ศกึ ษำโดยธีระพจน์ มีเพียรและคณะ เป็นกำรศึกษำพฤติกรรมทำง กำรเมือง โดยกำรมีส่วนร่วมทำงกำรเมืองและกำรตัดสินใจในกำรเมืองท้องถิ่น ของประชำชนในเขตเทศบำลตำบลเสนำงคนิคม อำเภอเสนำงคนิคม จังหวัด อำนำจเจริญ

11.แนวกำรศึกษำเชิงสถำบัน (Institutional Approach) ; บทวิเครำะห์บทบำทกำรพัฒนำโครงสร้ำงพ้ืนฐำนและเศรษฐกิจ:หมู่บ้ำนแถบ เขื่อนสิรินธร อำเภอสิรินธร จังหวัดอุบลรำชธำนี ศึกษำโดยปิยะ กุลวงค์และ คณะ เป็นกำรศึกษำเก่ียวกับผลกระทบทั้งทำงบวกและทำงลบที่มีต่อประชำชน ในกำรพัฒนำโครงสร้ำงพ้นื ฐำนและเศรษฐกจิ โดยกำรสรำ้ งเขือ่ นในพื้นท่ี 12. แนวกำรศึกษำปรัชญำกำรเมือง : บทวิเครำะห์ว่ำควำมดี ควำมรู้ ควำมสำมำรถของผู้บริหำรองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและข้อโต้แย้งว่ำด้ วย ควำมรู้ในบทบำทหน้ำท่ีองค์กรปกครองท้องถ่ินของประชำชน หมู่ท่ี 8 ตำบล เค็งใหญ่ อำเภอหัวตะพำน จังหวัดอำนำจเจริญ กรณีศึกษำ : ปัจจัยท่ีมีอิทธิพล ต่อกำรลงคะแนนเลือกนำยกเทศมนตรีตำบลเค็งใหญ่ ศึกษำโดยพัทธพล เกื้อทำนและคณะ เป็นกำรศึกษำด้วยกำรสำรวจควำมต้องกำร/ทัศนะของ ประชำชน เพื่อวิเครำะห์ถึงปัจจัยท่ีประชำชนให้ควำมสำคัญในกำรลงคะแนน เสียงเลือกผูบ้ รหิ ำรทอ้ งถน่ิ ในพ้นื ที่ ทั้งนี้ เนื้อหำและข้อมูลในเอกสำรฉบับน้ี ได้มีกำรศึกษำและรวบรวม จำกหนังสือ อินเตอร์เน็ต กำรสำรวจในพื้นที่ และจำกประสบกำรณ์ของผู้ศึกษำ แต่ละท่ำน ผู้เขียนหวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำเอกสำรฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อ กำรศกึ ษำทำงรัฐศำสตรแ์ ก่ผอู้ ำ่ นต่อไป ธญั ญำรตั น์ เหล่ำบุตรศรี พรอ้ มคณะ

แนวการศึกษากลุ่มผลประโยชน์(Interest Group Approach) บทวิเคราะห์วา่ ด้วยการเคล่อื นไหวและการต่อสู้ทางการเมือง ของกลมุ่ เกษตรกร จงั หวดั อานาจเจรญิ อญั ชลี นากรณ์,ลักษณ์คณา กุดเป่ง, ลดั ดา บญุ สภุ าพ,สริ ภิ คั ว์ พรมบู่ บทนา การเคลื่อนไหวต่อสู้และการลุกข้ึนสู้ ของชาวนา โดยจะ พจิ ารณาวา่ มีรูปแบบลักษณะใด รากเหง้าของปัญหาท่ีทําให้ชาวนา ในแตล่ ะยุคสมัยลุกขึ้นสู้เป็นอย่างไร มีการจัดรูปแบบองค์กรอย่างไร โดยพิจารณาเปรียบเทียบขบวนการชาวไร่ชาวนาในอดีตที่ผ่านมา นับแต่ชาวนาในยุคก่อเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ในสมัยนั้น คือ สมัชชาคนจน สมัชชาเกษตรกรรายย่อยกลุ่มต่างๆซ่ึงถือว่าเป็นการ รวมตัวกันขององค์กรชาวนาชาวไรท่ กี่ วา้ งขวางทส่ี ุดในชว่ งเหตุการณ์ ร่วมสมัย ขบวนการชาวไร่ชาวนา มักให้ความสําคัญต่อการศึกษา ขบวนการเคล่อื นไหวท่ีใหญ่โต มีชื่อเสียงและเป็นท่ีรู้จักและสามารถ สร้างผลสะเทือนในการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบาย หรือ ทางสังคม การศึกษาขบวนการชาวนาต้องคํานึงถึงบริบททางเศรษฐกิจ การเมือง พื้นท่ีทางการเมืองและสังคมและโลกชีวิตของชาวนาที่ เปลี่ยนแปลงพิจารณาจากในด้านนโยบายและมาตรการของรัฐใน การแก้ปญั หาของชาวนา รูปแบบการเคลื่อนไหวต่อสู้ของชาวนาในอดีตก่อนยุคการ เข้าร่วมกับขบวนการสังคมนิยมในลักษณะของการกระทํารวมหมู่ท่ี เห็นได้อยา่ งชดั เจน ไดแ้ ก่ กบฏชาวนา ปฏิกริ ิยาที่มีการเปล่ียนแปลง ต่อสังคมรวมทั้งการปรับตัวของวัฒนธรรมชาวนาแบบดั้งเดิม ปรากฏการณ์เหล่านี้เป็นเร่ืองของจิตสํานึกและความสัมพันธ์กับ

[2] ระบบการผลิตของสังคมซึ่งเป็นวัฒนธรรมความเชื่อของชาวนาท่ีมี แนวตอ่ ตา้ นอํานาจรัฐ โดยมพี ลังผลักดันคือจิตสํานึกในความเป็นชน ชาติส่วนน้อยโดยเฉพาะในภาคอีสานการเคล่ือนไหวต่อสู้ของชาวนา ในยุคก่อนเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 มีความเปล่ียนแปลงในเชิง โครงสร้างท่ีสําคัญอันต่อเน่ืองมาจากสัญญาเบาริ่งและระบบ เศรษฐกิจการค้าข้าวภายใต้การจัดความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การเมืองแบบใหม่ที่เกิดรัฐรวมศูนย์ โดยการปรับโครงสร้างทางการ ผลติ ภายในความสัมพนั ธท์ างการผลิตทที่ าํ ใหช้ าวนาอยู่ในฝา่ ยถูกเอา รัดเอาเปรียบทําให้เกิดการลุกขึ้นมาต่อต้านรัฐในหลายรูปแบบ ปรากฏการณบ์ างด้านชี้ให้เห็นถึงการลกุ ขึน้ มาต่อสู้ของชาวนาในการ เข้าร่วมกับขบวนการสังคมนิยม เหตุการณ์ซึ่งนํามาสู่การเกิดขึ้น ของขบวนการชาวนา จึงได้แก่เง่ือนไขจําเป็นด้านโครงสร้าง คือ ความเดือดร้อนที่เกิดจากการเอารัดเอาเปรียบภายใต้ความสัมพันธ์ ทางการผลิตท่ีชาวนาอยู่ในสถานะเสียเปรียบ ชาวนาต้องสูญเสีย ที่ดิน และจ่ายค่าเช่านาที่สูง แต่ชาวนาขายข้าวได้ในราคาตํ่า เนอื่ งจากรฐั เกบ็ คา่ ผ่านกระบวนการส่งออก องค์กรของชาวนซึ่งเป็น ปัจจัยเอื้อที่สําคัญ คือการหนุนช่วยจากนิสิต นักศึกษาและ บรรยากาศการเมืองทีก่ า้ วเขา้ ส่ยู ุคประชาธปิ ไตยโดยเบง่ บาน กรอบแนวคิดการวิเคราะหก์ ล่มุ ผลประโยชน์ ในการคิดวิเคราะห์ว่าด้วยการเคลื่อนไหวและการการต่อสู้ ทางการเมืองของกลุ่มเกษตรกร จังหวัดอํานาจเจริญ ใช้ตัวแบบ ทฤษฎีกลุ่ม (Group Theory) ทฤษฎีกลุ่ม (Group Theory) เกิด จากการรวมกลุ่มของคนในสังคมที่มีความสนใจและความต้องการ สอดคล้องกัน เพื่อกดดันและเรียกร้องต่อรัฐบาล จากท่ีนัก รัฐศาสตร์ David Truman อธิบายไว้วา่ กลุม่ ผลประโยชน์ คือ คน

[3] ท่ีมีทัศนคติร่วมกันรวมกลุ่มเพ่ือเรียกร้องต่อคนอีกกลุ่ม บทบาท หน้าท่ีและกิจกรรมทั้งหลายของกลุ่มผลประโยชน์ภายในสังคม มี ส่วนที่ทําให้เกิดการตกลงใจ ตัดสินใจทางการเมือง ทุกกลุ่ม ปรารถนาท่ีจะมีอํานาจทางการเมือง การแข่งขันกันเพื่อแสวงหา อาํ นาจทางการเมอื งจึงปรากฏขน้ึ ภายใต้ระบบการเมือง หากกลุ่มใด สามารถเข้าถึงอํานาจทางการเมือง ก็จะส่งผลให้กลุ่มเข้ามามี บทบาทในกระบวนการกําหนดนโยบายสาธารณะของรัฐได้มากกว่า กลุ่มอืน่ ๆ อย่างไรกต็ ามกลุ่มดังกลา่ ว จะมลี กั ษณะเป็นกลุ่มการเมืองก็ ต่อเม่ือการเรียกร้องน้ัน เป็นการเรียกร้องต่อสถาบันรัฐบาล ปัจเจก บุคคลในสังคมจะมีความสําคัญทางการเมือง ก็ต่อเมื่อได้เข้าไปอยู่ เปน็ สมาชิกในกลมุ่ ผลประโยชน์ นโยบายสาธารณะเป็นผลลัพธ์ของการปฏิสัมพันธ์ระหว่าง กลมุ่ ผลประโยชนแ์ ละในระบบการเมืองแบบพหุสังคมประชาธิปไตย ซง่ึ ประกอบด้วยกลุ่มผลประโยชน์ กลุ่มอิทธิพล และกลุ่มการเมือง จํานวนมากมาย กลุ่มเหล่าน้ีเป็นเหมือนสะพานเชื่อมระหว่าง ประชาชนกับรฐั กลุ่มผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ เป็นกลุ่มผลประโยชน์ท่ี รวมกันเพื่อแสวงหาและรักษาผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ เช่น กลุ่ม นักธุรกิจการค้า กลุ่มเจ้าของโรงงานอุตสาหกรรม กลุ่มพ่อค้า ผู้ ส่งออก กลุ่มกรรมกร สมาคมชาวไร่อ้อย กลุม่ อาชีพต่างๆ ฯลฯ กลมุ่ ผลประโยชนก์ ับบทบาททางการเมอื ง วตั ถปุ ระสงคข์ องกล่มุ ผลประโยชน์ 1. เพอ่ื รกั ษาผลประโยชน์ของตนและกลุ่ม 2. เพือ่ แสวงหาผลประโยชน์ของกลุ่ม

[4] 3. เพื่อช่วยเหลือสมาชกิ ของกลุม่ 4. เพื่อสนับสนุนชว่ ยเหลอื คนภาคเดยี วกัน 5. เพอื่ แสวงหาอาํ นาจทางการเมอื ง ลกั ษณะของกลมุ่ ประกอบด้วยลักษณะที่สาคัญ 4 ประการ ได้แก่ 1. ตอ้ งมคี นสองคนหรือมากกวา่ มามีปฏิสัมพันธ์กัน 2. มโี ครงสร้างกลุ่ม 3. มีจุดมุ่งหมายร่วมกนั 4. สมาชกิ รบั รถู้ งึ การเป็นกลุม่ ของตนเอง ซ่งึ เป็นการที่ บคุ คลในองค์การมาทาํ งานร่วมกนั เพ่ือบรรลเุ ปา้ หมายขององค์การ ประเภทของกลุ่ม แบง่ ออกได้เปน็ 2 ประเภท ได้แก่ 1. กลุ่มแบบท่เี ปน็ ทางการ (Formal Group) หมายถึง กลุ่มที่ถูกแตง่ ตงั้ ข้นึ มาโดยอาํ นาจหนา้ ทคี่ วามรบั ผิดชอบตาม โครงสร้างขององค์การ เพ่ือจะทํากิจกรรมสนองความต้องการของ องค์การ โดยกลมุ่ ทีเ่ ป็นทางการจะถกู แบง่ ย่อยออกเปน็ 2 ลักษณะ ดงั นี้ 1.1) กลุ่มตามสายบังคับบัญชา (Command Group) หมายถึงกลุ่มท่ีถูกต้ังขึ้นมาตามโครงสร้างขององค์การที่มี อยแู่ ลว้ เพ่ือปฏบิ ัติงานทีไ่ ดร้ ับมอบหมายใหส้ ําเร็จ 1.2) กลุ่มทางานเฉพาะ (Task Group) หมายถึงกลุ่มท่ีถูกตั้งขึ้นมาเพื่อทํากิจกรรมเฉพาะบางอย่างให้สําเร็จ ลลุ ่วงตามเป้าหมายท่ีวางไว้ 2. กลุ่มแบบที่ไม่เป็นทางการ (Informal Group) หมายถึง กลุ่มทส่ี มาชกิ จดั ตง้ั หรอื รวมตัวข้ึนมาเอง โดยไม่เป็นไปตาม คําสั่งหรือโครงสร้างขององค์การ ซ่ึงมักจะก่อตั้งจากความสัมพันธ์

[5] ทางสังคมของสมาชิก และสามารถปรับเปล่ียนเป็นกลุ่มอย่างเป็น ทางการได้ในระยะเวลาหรือสถานการณ์ท่ีเหมาะสม โดยกลุ่มแบบ ไม่เปน็ ทางการอาจถกู แบง่ ออกเป็น 2 ลกั ษณะต่อไปน้ี 2.1) กลุ่มท่ีมีความสนใจร่วมกัน (Interest Group) หมายถึงกลุ่มท่ีรวมตัวเน่ืองจากมีความสนใจหรือมี เป้าหมายร่วมกัน เพ่ือทํากิจกรรมให้สอดคล้องกับการบรรลุ เปา้ หมาย 2.2) กลุ่มมิตรภาพ (Friendship Group) หมายถึงกลุ่มท่ีรวมตัวกนั จากบุคคลทม่ี ลี ักษณะบางอย่างท่ีคล้ายคลึง กนั โดยมากจะเป็นลักษณะร่วมบางประการท่ีสามารถสังเกตเห็นได้ เชน่ ลกั ษณะงาน อายุ พ้นื ฐานการศึกษา ลักษณะทางกายภาพ ลักษณะของกลุ่มเกษตรกร ประกอบด้วย 1. กลุ่มเกษตรกรท่ีเป็นทางการ คือ การท่ีผู้ประกอบ อาชีพเกษตรกรรมรวมกันจดทะเบียนจัดต้ังกลุ่มข้ึนตามพระราช กฤษฎีกาว่าด้วยกลุ่มเกษตรกร พ.ศ. 2547 ซึ่งการจดทะเบียนจัดต้ัง เป็นกลุ่มเกษตรกรตามพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวได้น้ัน จะต้องเป็น บุคคลผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมประเภทเดียวกัน มีภูมิลําเนาใน ท้องท่ีเดียวกัน มีวัตถุประสงค์เดียวกัน เป็นบุคคลธรรมดา ท่ีบรรลุ นิติภาวะ และมีสัญชาติไทย สมัครใจรวมกันลงทุนด้วยการถือหุ้น คนละหนึ่งหุ้นแต่ไม่เกินหน่ึงในห้าของจํานวนหุ้นทั้งหมด จํานวน ไมน่ อ้ ยกวา่ สามสบิ คนและมีวัตถุประสงค์เพ่ือชว่ ยเหลือซึ่งกันและกัน ในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม ร่วมกันย่ืนคําขอจดทะเบียน จัดตั้งกลุ่มเกษตรต่อนายทะเบียนกลุ่มเกษตรกรประจําจังหวัด ที่

[6] สํานักงานสหกรณ์จังหวัดหรือสํานักงานส่งเสริมสหกรณ์ ซ่ึงกลุ่ม เกษตรกรท่ีไดร้ ับจดทะเบียนแล้วจะมีสภาพเปน็ นติ ิบคุ คล 2. กลมุ่ ท่ไี มเ่ ป็นทางการ ลาดบั กลมุ่ เกษตรกร เกษตรกรผปู้ ลกู (ราย) 1 กลุม่ เครือข่ายเกษตรกรผู้ปลูกขา้ ว 68,158 ราย 2 กล่มุ เครือข่ายเกษตรกรผู้ปลกู ออ้ ย 9,897 ราย 3 กลมุ่ เครือข่ายเกษตรกรผ้ปู ลกู มนั 9,096 ราย สาํ ปะหลัง 4 กลมุ่ เครือขา่ ยเกษตรกรผู้ปลกู ยคู า 8,776 ราย ลิปตัส 5 กลมุ่ เครือขา่ ยเกษตรกรผปู้ ลูก 4,934 ราย ยางพารา 6 กลุ่มเครือขา่ ยเกษตรกรผู้ปลูก 334 ราย ปาลม์ นา้ํ มัน ตวั อยา่ งกลุ่มเกษตรกรในจงั หวัดอานาจเจริญ 1. กลมุ่ ข้าวสจั ธรรมอานาจเจริญ ประมาณปี พ.ศ. 2554 ในจังหวดั อํานาจเจริญ เกิดการรวมกลุ่มกันของผู้ที่รักในท้องถิ่นของ ตน ร่วมมือกับสํานักงานพาณิชย์จังหวัดอํานาจเจริญ หาทางออก ของปัญหาราคาผลผลิตตกต่ําดังกล่าว โดยได้นําแบบอย่างการ พัฒนามาจาก “กลุ่มข้าวคุณธรรม” ของจังหวัดยโสธร มาร่วมกัน จัดตัง้ เปน็ “กลุ่มข้าวสัจธรรมอํานาจเจริญ” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ทําการเกษตรอินทรีย์ ในเร่ิมแรกน้ันมีผู้เริ่มก่อการเพียง 6 กลุ่ม ไดแ้ ก่

[7] กลุ่มวิสาหกิจร่วมใจโนนค้อทุ่ง เป็นกลุ่มเกษตรกร ประเภท เครือข่ายเกษตรกรอินทรีย์ มีจํานวนสมาชิกมากกว่า 200 ราย โดยผ่านการรบั รองมาตรฐาน IFOAM, EU, COR สถานที่ต้ัง เลขท่ี 157 หมู่ 5 ตาํ บลโพนเมืองน้อย อําเภอ หัวตะพาน จังหวัดอํานาจเจริญ รหัสไปรษณีย์ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านนาผาง เป็นกลุ่มเกษตรกร ประเภทเครอื ขา่ ยเกษตรกรผผู้ ลิตขา้ วอินทรีย์ สถานที่ตง้ั เลขที่ 96 หมู่ 2 ตําบลห้วย อําเภอปทุมราช วงศา จงั หวัดอาํ นาจเจริญ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านโนนหนามแท่ง เป็นกลุ่ม เกษตรกรประเภทเครือข่ายเกษตรกรผู้ผลติ ขา้ วอินทรยี ์ สถานที่ต้ัง เลขที่ 136 หมู่ 1 ตําบลโนนหนามแท่ง อําเภอเมือง จังหวดั อํานาจเจริญ กลุ่มข้าวอินทรีย์บ้านโคกกลาง เป็นกลุ่มเครือข่ายท่ีผลิต ข้าวอินทรีย์และจําหน่ายให้กับกลุ่มเครือข่ายข้าวสัจธรรมจังหวัด อํานาจเจริญ จําหน่ายให้โครงการผูกปิ่นโตข้าว และกลุ่มวิสาหกิจ รว่ มใจโนนค้อทุง่ มีสมาชิกมากกว่า 200 ราย สถานท่ีตั้ง เลขท่ี บ้านโคกกลาง ตําบลนาเวียง อําเภอเส นางคนิคม จังหวดั อาํ นาจเจริญ กลุ่มเกษตรอินทรีย์บ้านหนองเม็ก เป็นกลุ่มเกษตรกร ประเภท เครือข่ายเกษตรกรอินทรีย์ของเครือข่ายกลุ่มข้าวสัจธรรม จังหวัดอํานาจเจริญ ผลิตข้าวอินทรีย์และจําหน่ายให้กับกลุ่ม เครือข่ายข้าวสัจธรรม ในจังหวัดอํานาจเจริญ ปัจจุบันนอกจากจะมี กลุ่มข้าวเกษตรอินทรีย์แล้วยังมีกลุ่มผักอินทรีย์บ้านหนองเม็ก ที่มี สมาชิกเพียง 9 คน

[8] สถานท่ีต้ังบ้านหนองเม็ก ตําบลคึมใหญ่ อําเภอเมือง จังหวดั อาํ นาจเจริญ กลุ่มเกษตรอินทรีย์ตาบลนาปลีก เป็นกลุ่มเกษตรกร ประเภท เครือข่ายเกษตรกรอินทรีย์ ของเครือข่ายกลุ่มข้าวสัจธรรม จังหวัดอํานาจเจริญ ผลิตข้าวอินทรีย์และจําหน่ายให้กับกลุ่ม เครอื ขา่ ยขา้ วสัจธรรมในจงั หวัดอาํ นาจเจรญิ สถานท่ีต้งั เลขที่ 37 หมู่ 5 ตําบลนํ้าปลีก อําเภอเมือง จงั หวดั อาํ นาจเจริญ โดยมีสมาชิกจํานวน 55 ราย ยื่นขอตรวจรับรองมาตรฐาน ของสหพันธ์เกษตรอินทรีย์นานาชาติ (IFOAM) จากสํานักงาน มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (มกท.) และได้จดทะเบียนจัดต้ังเป็น “เครอื ข่ายวิสาหกิจชุมชนข้าวสจั ธรรมอํานาจเจรญิ ” ปัจจุบัน เครือข่ายวิสาหกิจข้าวสัจธรรมอํานาจเจริญ มี สมาชิกรายกลุ่ม จํานวน 22 กลุ่ม สมาชิกรายบุคคลรวม 300 ราย มพี ้ืนที่รองรับเกษตรอินทรีย์ท้ังหมดจํานวน 5,799 ไร่ และได้ รับรองการรับรองมาตรฐาน (IFOAM และ EU) จากสํานักงาน มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (มกท.) สมาชิกกระจายตัวคลอบคลุมพ้ืนท่ี ทุกอําเภอของจังหวัดอํานาจเจริญ โดยเครือข่ายฯ มีเจตนารมณ์ และความมุ่งหวัดร่วมกันที่จะพัฒนาตนเอง พัฒนากลุ่ม ให้เป็น เกษตรอินทรีย์ที่เข้มแข็ง ครบวงจร สามารถพึ่งพาตนเอง พ่ึงพาซ่ึง กนั และกนั และมุ่งมน่ั ที่จะรวบรวมเกษตรกรให้หันมาเพาะปลูกด้วย ระบบอินทรีย์คุณภาพจากแปลงนา และปัจจุบันเครือข่ายฯ มีการ สร้างพันธมติ รการตลาดกับกลุ่มธรุ กจิ โรงแรมและผู้บริโภคที่สนใจใน การบริโภคข้าวหอมมะลิอินทรีย์ และการสนับสนุนสถ าบัน การเกษตร

[9] บทบาทอานาจและพลังในการต่อรองและเคลื่อนไหว เรียกร้อง ในราคาผลผลติ ภายใต้การเปลี่ยนโครงสร้างชนบทหลากหลายรูปแบบ ได้ ทําให้เกิดการขยายตัวของการผลิตเพื่อขาย การแย่งชิงทรัพยากร และสร้างผลกระทบให้คนเล็กคนน้อยในหลากหลายมิติ ทําให้การ เข้าถึงทรัพยากรในลักษณะต่าง ๆ เกิดความไม่เท่าเทียม โดยรัฐเอ้ือ ต่อกลุ่มทุนและผู้มีอํานาจในการช่วงชิง ฉวยใช้ทรัพยากรท่ีชาวบ้าน มีมาแต่เดิม ทําให้เกิดการเรียกร้อง “สิทธิ” ในการเข้าถึงทรัพยากร และนํามาสู่การเมืองเร่ืองทรัพยากรท่ีชาวบ้านเคลื่อนไหว “สร้าง พื้นที่ในการต่อรอง” ในลักษณะต่าง ๆ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง เกษตรกรรมในสังคมไทย (Agrarian Transformation) เกษตรกร บางส่วนสูญเสียท่ีดิน ถูกขับไล่ออกจากที่ดินและกลายมาเป็น แรงงานรับจ้างอิสระ ความซับซ้อนท่ีหลากหลายของการจัดการใน การผูกมัดแรงงานได้ปรากฏข้ึน รวมถึงมีการเกิดขึ้นของเกษตร นายทุนทมี่ ีขอ้ บังคบั ทหี่ ลากหลายและสามารถทําให้พวกเขาควบคุม แรงงานของผู้เช่าที่ดินและควบคุมแรงงานรับจ้าง การเปลี่ยน โครงสร้างชนบทอย่างขนานใหญ่[2] ส่งผลให้เกิดความหลากหลาย ของผู้คนในชนบททั้งฐานะทางเศรษฐกิจ สงั คม การพัฒนาย่ิงมีมากข้ึน รัฐกลับให้ความสําคัญต่อ “เมือง” และ “คน” แต่ละกลุ่มไม่เท่าเทียมกัน ทําให้ “กลุ่มทุนขนาดใหญ่” สามารถช่วงชิงทรัพยากรส่วนกลาง เช่น ป่าไม้ ที่ดินสาธารณะ ไป เปน็ ของสว่ นตนจํานวนมาก ทําให้คนเล็กคนน้อยในสังคมไม่สามารถ เข้าถึงทรัพยากรเหล่านี้ได้ นํามาสู่การเคล่ือนไหวต่อสู้ของคน หลากหลายกลุ่ม เพื่อสร้างพื้นท่ีต่อรองและเข้าถึงทรัพยากรภายใต้ ความเฟื่องฟูของสกุลประวัติศาสตร์ท้องถ่ิน ท่ีสามารถให้คนกลุ่ม ต่าง ๆ สามารถ “รือ้ ฟืน้ ” และ/หรือ “สร้าง” ประวัติศาสตร์ของตน

[10] เพ่ือจัดวางตําแหน่งแห่งท่ี และ “สายใยความทรงจํา” เพ่ือจัดวาง สมั พนั ธภาพเชงิ อํานาจของคนกลุม่ ต่าง ๆ ในสังคมใหม่ บริบททางการเมืองท่ีกว้างขวางก็เป็นส่ิงสําคัญ ด้านหน่ึง เป็นการต่อสู้และการขัดขืนของเกษตรกรท่ียากจนและแรงงานที่จะ รักษาวิถีชีวิตและการยังชีพต่อไป อีกด้านหนึ่งเป็นการต่อสู้ที่รวมถึง การชุมนมุ เคลอ่ื นไหวขนาดใหญ่ ขบวนการเคล่ือนไหวในขบวนการ ชาวนา พบว่า ขบวนการชาวนา ทั้งชนช้ันกลาง ชนชั้นสูง และผู้มี อํานาจทางการเมือง มักมองชาวนาไม่ใช่ตัวละครสําคัญทาง การเมืองท่ีจะส่งเสียงให้พวกเขาเหล่าน้ันได้ยิน รวมทั้งยังมองว่า พวกชาวนามีลักษณะเป็นคนท่ีมีความคิดไม่แตกต่างกัน มีความคิด ในทาํ นองเดยี วกัน อันเป็นลกั ษณะ \"ว่านอนสอนงา่ ย\" การเคล่ือนไหวของภาคประชาชนเป็นไปเพ่ือลดฐานะ ครอบงําของรัฐ รวมท้ังเพ่ือโอนอํานาจบางส่วนมาให้ประชาชนใช้ ดูแลชีวิตตนเองโดยตรง การเมืองภาคประชาชน คือ ปฏิกิริยาตอบ โตก้ ารใชอ้ ํานาจของรฐั และเปน็ กจิ กรรมถ่วงดุลอิทธิพลการครอบงํา ของระบบตลาดเสรีในภาคประชาสังคม การเคล่ือนไหวทาง การเมอื งของประชาชนแบ่งออกเปน็ 4 ทศิ ทางดว้ ยกนั ได้แก่ 1) การเคลื่อนไหวร้องทุกข์ หรือเรียกร้องให้รัฐเข้ามา แกป้ ญั หาทไี่ มไ่ ด้รับการเหลียวแล 2) การเคลอ่ื นไหวทมี่ งุ่ ตรวจสอบกระบวนการใช้อํานาจรัฐ 3) การประท้วงอํานาจรัฐและเรียกร้องให้ถ่ายโอนอํานาจท่ี รัฐเคยมีมาเป็นของประชาชน 4) การร่วมมือเชิงวิพากษ์กับรัฐ หรือความผูกพันในทาง สร้างสรรค์เพื่อเบียดแย่งพื้นที่ในกระบวนการใช้อํานาจมาเป็นของ ประชาสงั คม

[11] ขบวนการเคล่ือนไหวมีจุดร่วมกัน คือ วัฒนธรรมต่อต้านขัด ขืน การรวมตัวกันทางการเมืองของภาคประชาชนก่อรูปข้ึนโดยมี เง่ือนไข หากแต่ทุกกลุ่มพลังการเมืองภาคประชาชนล้วนมีปัจจัยใน เรื่องผลประโยชน์มาเก่ียวข้อง มีความสําคัญในฐานะเจ้าของสิทธิ การเมืองภาคประชาชนจึงเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเคล่ือนไหว ในประชาสงั คมดว้ ย ภายใต้บริบททางประวัติศาสตรก์ ารเมอื งไทยหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 และเหตุการณ์ 6 ตุลา 2519 เหตุการณ์ ขา้ งต้นเกิดภายใต้เง่ือนไขแวดล้อมหลายอย่าง ไม่ได้เกิดอย่างโดด ๆ แตเ่ ปน็ การสะสมรวมตวั ของหลาย ๆ เหตกุ ารณ์ อาทิเช่น มีการลอบ สังหารชาวนาผ้นู าํ สหพนั ธฯ์ เป็นจํานวนมาก นกั ศึกษาและเครือข่าย กรรมกรชาวนาชาวไร่กถ็ กู สังหาร ปราบปราม จนบางคนก็หนีเข้าป่า หรือลี้ภัยทางการเมืองไปยังต่างประเทศมากมาย หลังจากนั้น บรรดานักเคล่ือนไหวภาคประชาชนก็ได้รับชะตากรรมการสูญเสียที่ ถูกอุ้มหาย สังหาร และข่มขู่เช่นกัน ความสูญเสียท้ังหมดคิดว่าเป็น ความเสียสละ เพ่ืออุดมการณ์ ถือเป็นการสูญเสียอิสรภาพและชีวิต ท่ีเสียไปกับความกลัวของกลุ่มผู้มีอํานาจทางการเมือง โดย ขบวนการของชาวนา (2516-2519) เกิดจากการท่ีชาวนายังประสบ ปัญหาทางเศรษฐกิจ และความเป็นธรรมอยู่ ซ่ึงเป็นปัจจัยสําคัญที่ ทาํ ให้ชาวนาตอ้ งเขา้ ร่วมตอ่ สเู้ พ่อื ยกระดับฐานะของตนเอง ช่วงก่อน หน้า 6 ตุลาคม 2519 มีการลอบสังหารชาวนาผู้นําสหพันธ์ชาวนา ชาวไร่แห่งประเทศไทย เป็นจํานวนมาก และทําให้การรวมตัวข้ึน เป็นองค์กรครั้งนั้นเป็นเพียงระยะส้ัน และจบลงอย่างโหดร้าย ประเด็นสําคัญท่ีเคลื่อนไหว คือ ช่องว่างของการเข้าถึงทรัพยากร ของคนกลุ่มต่าง ๆ จะมีความเหล่ือมลํ้าขึ้นเร่ือย ๆ รวมถึงช่องว่าง ของนโยบายรัฐท่ีเอื้อต่อคนที่มีทุน และการศึกษา ทําให้ “ชนบท”

[12] กับ “เมือง” แตกต่างกันอย่างมาก ทําให้คนหลากหลายกลุ่มเห็น ความไม่เท่าเทียมและความไม่เป็นธรรมในสังคมในหลากหลายมิติ ทําให้เกิดการต่อสู้เรียกร้อง และท่ีสําคัญคือ การต่อสู้ในเรื่องการ เข้าถึงทรัพยากร เช่น ที่ดิน ป่าไม้ ฯลฯ ซ่ึงเป็นฐานทรัพยากรที่ สําคัญของการผลิต จากการศึกษาของกนกศักดิ์ แก้วเทพ พบว่า “มีเกษตรกรท่ีต้องสูญเสียท่ีดินทํากินในช่วงปี พ.ศ. 2502-2509 จํานวน 172,869 ไร่ จากโฉนดท่ีดินจํานวน 7,016 แปลง คิดเป็น มูลค่าในขณะน้ัน 347.3 ล้านบาท ซ่ึงส่วนใหญ่เกิดจากการขายฝาก และการจาํ นอง และมีอัตราการเพิ่มข้ึนของประชากรจํานวนมากทํา ให้ทด่ี ินไม่เพยี งพอตอ่ การผลิต และการถอื ครองทดี่ นิ มขี นาดเล็กลง การต่อสู้เรียกร้องการเข้าถึงทรัพยากรอย่างเท่าเทียมและ เป็นธรรมมีมาอย่างต่อเน่ืองต้ังแต่ยุค 14 ตุลาคม 2516 ท่ีเป็นยุค ของความเบ่งบานของประชาธิปไตย เกิดจากความเดือดร้อนของ เกษตรกรชาวนา ชาวไร่ ท่ีมีมาอย่างต่อเน่ืองแต่ไม่ได้รับการแก้ไข จากรัฐบาลเท่าท่ีควร เช่น “ในเดือนพฤษภาคม 2517 ชาวนาหลาย ร้อยคนได้มาชุมนุมท่ีกรุงเทพฯ เพ่ือเรียกร้องให้รัฐบาลนายสัญญา ธรรมศักดิ์ ช่วยเหลือเร่ืองนายทุนโกงที่นา และช่วยไถ่ถอนหน้ีสิน โดยรัฐบาลได้ (1) ตั้ง “คณะกรรมการสอบสวนปัญหาหน้ีสินของ ชาวนาชาวไร่ (กสส.) และส่งเร่ืองไปตามจังหวัดต่าง ๆ ให้แก้ไข แต่ การแก้ไขปัญหาใช้ระบบราชการในการแก้ไขปัญหา และมีการ ปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเคร่งครัดทําให้ชาวนาเสียเปรียบ ทําให้ คณะกรรมการ กสส. ไม่ประสบผลสําเร็จในการแก้ไขปัญหาของ ชาวนา และต้องกลบั มาประชุมท่กี รุงเทพฯ อกี ชาวนาชาวไร่รวมตัวกันเรียกร้องสิทธิตาม พ.ร.บ.ค่าเช่า ที่ออกในปี 2517 ว่า เป็นสิ่งสําคัญที่เกิดข้ึนในสังคมไทย สังคมท่ี กฎหมายถูกเขียนโดยชนชั้นนํา แต่คร้ันชนชั้นล่างเรียกร้องสิทธิของ

[13] ตนตามกฎหมายผลท่ีได้รับกลับเป็นความอยุติธรรม ย้อนอดีตไปพบ กับเหตุการณ์ท่ีผู้นําสหพันธ์ฯ ถูกสังหาร เหล่าชาวนาต่างรู้ดีว่าผู้บง การ คือ อํานาจรัฐและอํานาจเงินจากเจ้าของท่ีดิน ปัญหาข้างต้น เป็นปญั หาทางชนช้นั เน่ืองจากชว่ งก่อน 6 ตุลา ประเด็นเร่ืองค่าเช่า ถือเป็นปัญหาสําคัญท่ีขบวนการชาวนาเรียกร้องให้แก้ไขให้ปฏิรูป อย่างเป็นธรรม แต่ว่าหลังจากน้ันมาชาวนาท่ีเป็นนักเคล่ือนไหวก็ ต้องหนีเอาชีวิตรอดจากการไล่ล่าของกลุ่มอํานาจทางการเมืองด้วย การหลบหนไี ปอยู่ในปา่ แตต่ อนหลงั ออกจากป่าการเคลื่อนไหวได้มุ่ง ไปสู่การปฏิรูปท่ีดิน และการเข้าถึงในกิจกรรมทางเศรษฐกิจอย่าง เป็นธรรม จากการเคลื่อนไหวของเกษตรกรในจังหวัดต่าง ๆ ทําให้ ได้ข้อสรุปว่า การเคล่ือนไหวโดยไม่มีองค์กรที่เข้มแข็งทําให้ไม่ สามารถแก้ไขปัญหาได้ นํามาสู่การต้ังเป็นเครือข่ายเพื่อให้เกิดพลัง ในการเรียกร้องในนาม “สหพันธ์ชาวนาชาวไร่แห่งประเทศไทย” นอกจากนี้ สหพันธ์ชาวนาชาวไร่แห่งประเทศไทยยังมีการ เคล่ือนไหวอย่างต่อเน่ืองเพื่อเรียกร้องให้แก้ไขปัญหาของเกษตรกร โดยร่วมมือกับนิสิตนักศึกษา กรมมกร และนักวิชาการ แต่ก็ไม่ สามารถบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคไ์ ด้ แกนนําและสมาชิกสหพันธ์ฯ ยังถูกไล่ ล่าและมีผู้สญู หายและเสียชีวิต จํานวน 48 ราย ในจํานวนน้ีเสียชีวิต 33 ราย สูญหาย 15 ราย และท้ายสุดคือ นายจํารัส ม่วงยาม ประธานสหพันธ์ชาวนาชาวไรแ่ ห่งประเทศไทย ถกู ลอบยงิ ตายท่ีบ้าน มาบข้าวต้ม อ.บ้านค่าย จ.ระยอง ทําให้บทบาทของสหพันธ์ชาวนา ชาวไร่ค่อย ๆ ลดบทบาทลง แต่ปัญหาของเกษตรกรยังคงมีอยู่ ความไม่ลงตัวของความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคมสิ้นสุดลงด้วย รัฐประหารเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2519 โดยฝ่ายรัฐเป็นผู้ยืนยันฐานะ ครอบงําของตน หลังจากนั้นสงครามกลางเมืองระหว่างรัฐบาลท่ี จัดตั้งโดยกองทัพแห่งชาติกับขบวนประชาชนท่ีมีพรรคคอมมิวนิสต์

[14] แห่งประเทศไทยเป็นแกนนํา ก็กลายเป็นปัจจัยชี้ขาดสถานการณ์ ทางการเมืองในประเทศไทยต่อมาอีกหลายปี ในระหว่างนี้แนวคิดที่ ถือว่า รัฐเป็นศูนย์กลาง ก็มีฐานะครอบงําเช่นกัน โดยได้รับการยึด มั่นทั้งจากพลังฝ่ายซ้ายและฝ่ายขวา ส่วนแนวคิดถ่วงดุลอํานาจรัฐ ด้วยประชาสังคมหรือแนวทางเคล่ือนไหวทางการเมืองอย่างสันติ โดยฝ่ายประชาชน ดจู ะเติบโตไดช้ ้ามาก จนกระทงั่ ประมาณปี 2522 – 2523 เม่ือสถานการณ์ท่ีพลิกผันในระดับสากลและนโยบายที่ ฉลาดกว่าของฝ่ายรัฐบาลได้นําไปสู่การพ่ายแพ้ล่มสลายของ ขบวนการคอมมิวนิสต์ในประเทศไทย บรรยากาศทางการเมืองจึง เริ่มเปล่ียนไป ก่อนหน้านั้นการเคล่ือนไหวใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ ประชาชนระดับรากหญ้ามักถูกภาครัฐระแวงว่าพัวพันกับฝ่าย คอมมิวนิสตแ์ ละเสีย่ งต่อการถูกปราบปราม ความคับแค้นอย่างไม่เป็นธรรมในการเข้าถึงทรัพยากร เกิดข้ึนอย่างต่อเน่ืองและเกิดขบวนการเคล่ือนไหวของเกษตรกร กลุ่มต่าง ๆ เพือ่ เรยี กร้องใหภ้ าครัฐแก้ไข เพราะปัญหาของเกษตรกร มิใช่ปัญหาของ \"ปัจเจก\" แต่เป็นปัญหาเชิงโครงสร้าง ท่ีไม่สามารถ เข้าถึงทรัพยากรได้อย่างเท่าเทียม ขบวนการเคล่ือนไหว เช่น เครือข่ายเกษตรกรภาคเหนือ (คกน.) สมัชชาคนจน สหพันธ์ เกษตรกรภาคเหนือ สมัชชาชาวนาชาวไร่ภาคอีสาน สหพันธ์ ชาวประมงพ้ืนบ้านภาคใต้ เครือข่ายสลัม 4 ภาค เครือข่าย เกษตรกรรมทางเลือก และเครือข่ายปฏิรูปท่ีดินเพ่ือคนจนภาคใต้ ฯลฯ ความเคลื่อนไหวของกลุ่มประชาชนน้ัน เป็นการรวมตัว เรียกร้องให้รัฐบาลช่วยแก้ไขปัญหา เช่นในกรณีของ คกน. สกยอ. และสมัชชาคนจน นอกจากน้ียังมีกลุ่มประชาชนเล็ก ๆ ในท้องถิ่น ต่าง ๆ ท่ีได้รับผลกระทบจากการกระทาํ ของรฐั หรือการขยายตัวของ ทนุ อกี เปน็ จาํ นวนมากถกู ปราบปราม

[15] ในระยะหลังปี 2523 เป็นต้นมา การเคล่ือนไหวทาง การเมืองของภาคประชาชนนับว่าเติบโตข้ึนอย่างรวดเร็วแทนที่ ขบวนปฏิวัติด้วยกําลังอาวุธท่ีเส่ือมสลายไป โดยเฉพาะอย่างย่ิง หลังจากมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับ 2540 ซึ่งให้สิทธิ ประชาชนในการจัดต้ังรวมตัว และมีส่วนร่วมทางการเมืองไว้อย่าง ชัดเจน แต่สิ่งท่ีแตกต่างกันอย่างยิ่งระหว่างการเมืองภาคประชาชน กับขบวนการปฏิวัติ คือ เป็นการเคล่ือนไหวของกลุ่มย่อยที่ค่อนข้าง กระจัดกระจาย เป็นไปเองโดยปราศจากศูนย์บัญชาการและมี จุดหมายในการแก้ปัญหาเฉพาะเร่ืองมากกว่าต้องการยึดอํานาจรัฐ เพ่ือเปลี่ยนแปลงสังคมไปสู่โครงสร้างใหม่ทั้งหมด ถึงกระนั้นเราก็ อาจกลา่ วได้วา่ ลักษณะทไี่ ม่ยินยอมให้รัฐและทุนเป็นฝ่ายกําหนดข้าง เดียว ทําให้การเมืองภาคประชาชนเป็นขบวนการประชาธิปไตยท่ี หัวรุนแรง การเมืองภาคประชาชนเป็นแนวคิดใหม่ท่ีเน้นการจํากัด อาํ นาจรฐั ไปพร้อมกบั การมสี ว่ นร่วมทางการเมืองของฝ่ายประชาชน ในประเทศไทยแนวคิดนี้มีความชัดเจนหลังจากสงครามกลางเมือง (2516-2519) ส้ินสุดลงและระบอบการเมืองไทยเร่ิมกลับสู่เส้นทาง ประชาธิปไตยอีกครั้ง ยิ่งในช่วงท่โี ลกยุตสิ งครามเยน็ บรรยากาศทาง การเมืองก็ยิ่งอํานวย ซ่ึงเกี่ยวข้องโดยตรงกับการเกิดขึ้นขององค์กร พัฒนาเอกชนหรือเอ็นจีโอ อันเป็นส่วนหนึ่งของโลกาภิวัตน์ เช่นเดียวกัน จํานวนองค์กรประชาสังคมแบบข้ามชาติเพิ่มข้ึน มากกว่าสิบเท่าโดยมีประมาณ 17,000 องค์กร และมีความ เคล่ือนไหวในประเด็นสําคัญต่าง ๆ เช่น การพัฒนา ระบบนิเวศ สนั ติภาพ และสิทธิมนุษยชน แม้ว่าผู้ปฏิบัติงานเอ็นจีโอส่วนใหญ่จะ ถกู ฝึกมาให้เป็นผู้สันทัดเร่ืองการเจรจา แต่บริบทในประเทศไทย ได้ ทําให้เขาเหล่านั้นคลุกคลีกับผู้ยากไร้และเห็นปัญหาจากการกระทํา

[16] ของฝ่ายรัฐและทุน จนออกมาเคล่ือนไหวหรือกลายเป็นแกนนําของ การเคลื่อนไหวในการเมืองภาคประชาชนไปโดยปริยาย ดังกรณี เขื่อนปากมูน สมัชชาคนจน สหพันธ์เกษตรกรภาคเหนือ เป็นต้น แต่ลักษณะดังกล่าวก็มีการกระจัดกระจายมาก ซ่ึงสามารถแบ่งกลุ่ม เอ็นจีโอได้หลากหลายรูปแบบ เช่น แบบสังคมสงเคราะห์ แบบ สนับสนุนรัฐบาล และแบบสนับสนุนกระแสทางเลือก หรือกระแสท่ี มอง เอ็นจีโอเป็นเหมือนตํารวจดับเพลิงของทุนนิยม มีการแก้ไข ปัญหาเป็นจุด ๆ แต่ก็มีการพัฒนาไปสู่การคิดที่เป็นระบบมากข้ึน แต่อย่างไรก็ตามความสัมพันธ์ท่ีดูจําแนกแจกแจงความต่างระหว่าง องค์กรประชาชนกับเอ็นจีโอน้ัน ก็สามารถปรากฏให้เห็นไม่ว่าจะ เป็นการจําแนกบทบาทท่ีชัดเจนในการทํางานร่วมกัน จนไปถึงการ วิพากษ์แนวคิดของเอ็นจีโอโดยผู้นําชาวนาว่า “ไม่กล้าแตะ โครงสร้างท่ีเป็นอยู่ ซ่ึงสําหรับชาวนาไร้ที่ดินอย่างพวกเขา ไม่น่าจะ เปน็ ทศิ ทางการเคลอ่ื นไหวทถี่ กู ตอ้ ง” การเมืองภาคประชาชนเก่ียวข้องกับพัฒนาการทาง การเมือง เป็นการค้นหาความสมดุลในความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับ สังคม ซึ่งสามารถเคลื่อนหาจุดร่วมของประเด็นเคล่ือนไหว ได้ตาม เงื่อนไขที่เปลี่ยนไป ต่างจากรัฐบาลที่มาจากพรรคการเมืองและการ เลือกตั้ง เนื่องจากเป็นตัวแทนกลุ่มผลประโยชน์ที่ผูกพันอยู่กับ นโยบายพัฒนาอันมีมาแต่เดิมภายใต้ระบอบอํานาจนิยม และต่อมา ยังเป็นตัวแทนกลุ่มผลประโยชน์ที่เช่ือมโยงกับระบบทุนโลกาภิวัตน์ จึงมีแนวโน้มที่จะคงความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคมไว้เพียงเท่าน้ี เพร าะเ ป็ น ค ว าม สั ม พัน ธ์ ท่ียั ง ป ร ะ โ ย ช น์ ใ ห้ แก่ พว ก เขา มาตั้ ง แ ต่ ช่วงฟักตัว แล้วยังต่อยอดให้อีก ด้วยการเปิดโครงสร้างให้เข้าไปกุม อํานาจรัฐโดยตรง

[17] การเมืองเป็นเร่ืองของคนเล็กคนน้อยท่ีวาดหวังกับความ ยุติธรรมทางสังคม ไม่จําเป็นต้องเป็นการเมืองในเชิงโครงสร้าง ซึ่ง การตอ่ สูใ้ นชีวิตประจําวันของผู้คนสามารถอธิบายการต่อสู้ของผู้คน ในแตล่ ะหว้ งเวลาได้ การอธิบายด้วยเศรษฐกิจ การเปล่ียนแปลงเชิง โครงสร้าง หรืออํานาจท่ีไม่เท่าเทียม ไม่สามารถอธิบายได้ทั้งหมด จากขบวนการเคลื่อนไหวของชาวนาที่สร้างองค์กรขนาดใหญ่เพ่ือ ตอ่ รองกบั รฐั ผ่านเครอื่ งมือทางดา้ นกฎหมาย แม้จะถูกกดปราบและ ยตุ ิความเคลอื่ นไหวไป ซึ่งชาวนามไิ ด้ตอ่ สู้ขดั ขนื ในชีวิตประจําวัน ซ่ึง จะทําให้เราเห็นการเปล่ียนแปลงทางการเมืองที่มิใช่ชนช้ันนําหรือผู้ มีอํานาจเท่าน้ัน แต่งานชิ้นนี้ทําให้เราเข้าใจว่าอํานาจทางการเมือง หรือการเคล่ือนไหวทางการเมืองเป็นเร่ืองที่สามารถเปลี่ยนผู้แสดง (actor) ได้ ไม่มีใครสามารถผูกขาดหรือนิยามการให้ความหมาย ทางการเมืองอย่างเบ็ดเสร็จเด็ดขาด คนตัวเล็กตัวน้อยก็สามารถ สร้างองค์กรและปรับเคร่ืองมือของรัฐเข้ามาเป็นประโยชน์ต่อการ ต่อสู้ของตนดว้ ย บทบาท ลักษณะ รูปแบบความร่วมมือดาเนินกิจกรรมกับรัฐและ หน่วยงานรฐั ในพืนท่ี จังหวัดอํานาจเจริญ ได้มีการประชุมทบทวนแผนพัฒนา จังหวัด 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) จัดทําแผนปฏิบัติราชการ ปี 2566 พร้อมรับฟังความคิดเห็นร่างแผนฯ จากทุกภาคส่วน และจัดทํา แผนปฏิบัติราชการประจําปีของจังหวัด ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 และการประชุมรับฟงั ความคิดเห็นเกี่ยวกับ (ร่าง) แผนพัฒนา จังหวัด ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) และ (ร่าง) แผนปฏิบัติ ราชการประจําปีของจังหวัด ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2566 โดยมี คณะกรรมการ คณะทํางาน รวมทั้งภาคเอกชน ภาคประชาสังคม

[18] และบุคคลจากภาคส่วนต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องในจังหวัดร่วมประชุม ดว้ ย โดยมติคณะกรรมการบูรณาการนโยบายพัฒนาภาค กําหนดให้ แผนพฒั นาจังหวัดและกลุ่มจังหวดั ตอ้ งดําเนินการผ่านกระบวนการ แบบมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน มีความครอบคลุมทุกมิติการพัฒนา มุ่งตอบสนองความตอ้ งการและแกไ้ ขปญั หาทีส่ ําคัญของจังหวัด และ ขับเคล่ือนประเด็นการพัฒนาที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ แผน ระดับชาติ นโยบายรัฐบาล และแผนพัฒนาภาค ตามศักยภาพและ โอกาสของพื้นท่ี เป็นกรอบการดําเนินงานจัดทําแผน เพื่อให้เกิดการ พัฒนาทส่ี อดคล้องเช่ือมโยงในทกุ พ้ืนที่ อันจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ ประชาชนไดอ้ ย่างทว่ั ถึง ทั้งนี้ (ร่าง) เป้าหมายการพัฒนาจังหวัดอํานาจเจริญ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ได้แก่ \"เมืองธรรมเกษตร การเกษตรสร้างมูลค่า ท่องเท่ียวเสริมสร้าง สุขภาพ เช่ือมโยงเส้นทางการค้า\" โดยมี (ร่าง) ประเด็นการพัฒนา ได้แก่ 1. การส่งเสริมและยกระดับการพัฒนาการผลิตสินค้า เกษตรปลอดภยั อตุ สาหกรรมแปรรูป และผลิตภัณฑส์ มุนไพร 2. การพัฒนาคน หมู่บ้านชุมชน ให้มีคุณภาพ มั่นคง เข้มแขง็ และทนั สมัย ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3. การส่งเสริมการค้า การลงทุน การท่องเท่ียวและบริการ และสนิ คา้ ชมุ ชน ให้สามารถแขง่ ขันได้ 4. การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม ป่า ดิน นํ้า และพลังงาน เพ่ือการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ท่ีสมดุล ยัง่ ยืน

[19] โดยมี (รา่ ง) ตวั ชวี้ ดั ความสาํ เร็จ ได้แก่ 1. ดัชนีวัดความสุขมวลรวมของประชาชนจังหวัด อํานาจเจริญ เพ่ิมข้ึนไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 75 ภายในปี 2570 2. ครัวเรือนที่ประกอบอาชีพด้านการเกษตรมีรายได้ เพิม่ ขึ้นไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 10 เป้าหมาย 5 ปี 3. พื้นที่ผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยท่ีได้รับมาตรฐาน จาํ นวน 400,000 ไร่ ภายในปี 2570 4. ทรัพยากรธรรมชาติได้รับการพัฒนาและอนุรักษ์ ฟื้นฟู ไม่น้อยกว่า 500 ไร/่ ปี 5. เศรษฐกิจจังหวัดอํานาจเจริญขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 2 ตอ่ ปี จะเห็นได้ว่ารัฐได้มีการจัดทําแผนเพ่ือพัฒนาเกี่ยวกับ การเกษตรร่วมอยู่ด้วย เพ่ือพัฒนาการเกษตร และยกระดับสินค้า เกษตร บทบาท รูปแบบการดาเนินกิจกรรมร่วมกับหน่วยงานรัฐระดับ จงั หวัด และประเทศ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ร่วมกบั จังหวดั อาํ นาจเจริญมีแนวทางการพัฒนาจังหวัดอํานาจเจริญ และการเสนอของบประมาณโครงการพัฒนาและเสริมสร้างความ เข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก มีการวางเป้าหมายการพัฒนาจังหวัด อํานาจเจริญให้เป็นเมืองธรรมเกษตร เขตพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง เสน้ ทางการคา้ สอู่ าเซียน โดยมเี ปา้ หมาย ดงั น้ี 1. ให้เกษตรกรในจังหวัดอํานาจเจริญ ปรับเปลี่ยนวิธีคิด และวิถีการผลติ เป็นแบบ “ธรรมเกษตร” ซง่ึ เป็นการทําการเกษตรท่ี ยึดหลกั ของคุณธรรม เหน็ คุณค่าของชีวิต มีจิตสํานึกในการหวงแหน

[20] และอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติส่ิงแวดล้อม มีการพัฒนาตนเองโดย วิธีการเรียนรู้ด้วยตนเอง เพื่อให้มีความรู้ความสามารถในการตํารง ชีวิตอย่างมีความสุข มีจิตใจท่ีดีงาม เอื้อเฟื้อเผ่ือแผ่และมีจิตใจ สาธารณะจากการเกษตรท่เี กอื้ กลู ธรรมชาติ 2. การส่งเสริมจังหวัดอํานาจเจริญให้เป็นเขตพัฒนา เศรษฐกิจพอเพียง โดยสนับสนุนกิจกรรมทางการเกษตร และการ ดําเนินชีวิตของประชาชนในจังหวัด โดยยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง 3. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ส่ิงอํานวยความสะดวก บริเวณชายแดน เช่ือมโยงการค้าการลงทุนในประเทศอาเซียน รองรับการเติบโตของเศรษฐกิจชายแดนในอนาคต รวมทั้งส่งเสริม ให้มีการนํานวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการค้าขาย เ พ่ิ ม ช่ อ ง ท า ง ก า ร ต ล า ด ใ ห้ ผู้ บ ริ โ ภ ค ท้ั ง ช า ว ไ ท ย แ ล ะ ช า ว ต่ า ง ช า ติ สามารถติดต่อซ้ือขายสินค้าได้ง่ายข้ึน นอกจากน้ียังมุ่งเน้นการ พัฒนาจังหวัดให้เป็นแหล่งผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ และสินค้า เกษตรปลอดภัย และผลิตภัณฑ์สมุนไพรท่ีมีคุณภาพได้มาตรฐาน สามารถเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรมากยงิ่ ขน้ึ ท้ังน้ี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์ ได้เน้นยํ้าผู้ว่าราชการจังหวัดอํานาจเจริญ ในเร่ือง ก า ร จั ด ทํ า ง บ ป ร ะ ม า ณ โ ค ร ง ก า ร ฯ ข อ ง จั ง ห วั ด ใ ห้ เ ป็ น ไ ป ต า ม ยุทธศาสตร์ของรัฐบาล และตรงตามความต้องการของประชาชน เพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุด อาทิ ระบบการขนส่งสินค้าที่ดี การมี ถนนในการเดินทางท่ีดีเพื่อใช้อํานวยความสะดวกบริเวณชายแดน เชื่อมโยงการค้าการลงทุนในประเทศอาเซียนในอนาคต การ สนบั สนนุ การเกษตรการปลกู ขา้ วและสมนุ ไพรท่ดี ี รวมถงึ การมีนํ้าใช้

[21] ที่เพียงพอทั้งด้านอุปโภคบริโภคและสําหรับด้านการเกษตร โดยใช้ งบประมาณให้ค้มุ คา่ และนําไปจดั สรรให้ถึงประชาชนโดยเรว็ ท่ีสดุ บทสรปุ การรวมตัวกันของเกษตรกรนับเป็นแนวทางสําคัญต่อการ พัฒนาการเกษตร เพราะการรวมตัวกัน นอกจากจะเป็นการเพิ่ม อํานาจการต่อรอง ทั้งด้านการซื้อปัจจัยการผลิตและการขาย ผลผลิตแล้วยังนํามาซ่ึงความร่วมมือกันของหมู่คณะ ซึ่งกลุ่มมุ่งเน้น การมีส่วนร่วมในการพัฒนา แก้ปัญหา สามารถพ่ึงตนเองได้ และ นําไปสู่ความเข้มแข็งของชุมชน การรวมตัวของเกษตรกรในรูปของ องคก์ รเกษตร เป็นแนวทางแก้ไขปัญหาของเกษตรที่มีประสิทธิภาพ อย่างหน่ึง ซ่ึงจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อเกษตรกรหลายประการ ไดแ้ ก่ 1. เม่ือรวมตัวแล้ว เกษตรกรสามารถซ้ือปัจจัยการผลิตได้ ในราคาที่ถูกลง เช่น เกษตรกร จํานวน 100 คน ต้องการซื้อ ปุ๋ยเคมีคนละ 20 กระสอบ ถ้าเกษตรกรต่างคนต่างซ้ือคนละ 20 กระสอบ พ่อคา้ จะคิดราคาขายปลีกให้ แต่ถ้าเกษตรกรรวมตัวกันซ้ือ เป็นกลุ่ม จะเป็นการซื้อปุ๋ยเคมีท้ังหมดของกลุ่มนี้กลุ่มเดียวจํานวน 2,000 กระสอบ เม่ือเป็นการซื้อในจํานวนที่มาก พ่อค้าก็จะคิด ราคาปุ๋ยเคมีให้ในราคาขายส่ง ซึ่งเป็นราคาที่ถูกลงอย่างแน่นอน ท้ังนี้เพราะพ่อค้าไม่ต้องเก็บสต็อกปุ๋ยไว้นาน ไม่ต้องเสียดอกเบี้ย ธนาคาร ในกรณีที่พ่อค้ากู้เงินไปซื้อ ไม่ต้องเสียค่าจ้างคนงานเฝ้า โกดงั และไมต่ ้องหักนาํ้ หนกั ปุย๋ ทอ่ี าจสญู หายไป เป็นต้น 2. เมือ่ รวมตวั กันแล้ว เกษตรกรสามารถจําหน่ายผลผลิตได้ ในราคาท่ีสูงขึ้น ตัวอย่างเช่น เกษตรกรทํานา ถ้าต่างคนต่างผลิต ต่างคนต่างขาข้าวของตนเอง พ่อค้าย่อมชอบที่จะเลือกซ้ือและ

[22] ต่อรองราคาซอื้ ท่ถี ูกท่ีสดุ โดยทเ่ี ราไมส่ ามารถจะไปกล่าวหาว่าพ่อค้า ขดู รดี หรือเอาเปรียบเกษตรกรได้ตราบใดท่ีเขาไม่ได้โกงตาชั่งหรือใช้ เล่ห์เหลี่ยมตา่ งๆ ทที่ าํ ใหเ้ กษตรกรเสียเปรียบได้ วิธีท่ีต่างคนต่างขาย เกษตรกรจะไม่มีอํานาจต่อรอง ในท่ีสุดก็ต้องขายข้าวในราคาที่ถูก เป็นธรรมดาอย่างที่เป็นมา ในอดีต ตรงกันข้ามถ้าเกษตรกรรวมตัว กัน เรียกร้องราคาทสี่ ูง 3. ในแงข่ องการรบั เทคโนโลยีหรือความรู้จากเจ้าหน้าท่ี ถ้า เกษตรกรรวมตวั กนั การถา่ ยทอดเทคโนโลยีของเจ้าหน้าที่ก็สามารถ จะทําได้รวดเร็วย่ิงข้ึน และเกษตรกรสามารถรับการถ่ายทอดได้ รวดเร็วกว่า การถ่ายทอดเป็นรายบุคคล ซึ่งทําได้ช้าและไม่ท่ัวถึง และตามหลักของการเรียนรู้จากบุคคลภายนอก หรือจากเจ้าหน้าท่ี ส่งเสรมิ 4. การรวมกลุ่มกันจะทําให้เกษตรกรสามารถขอรับความ ช่วยเหลือจากรัฐได้ดีกว่า ท่ีจะเรียกร้องโดยคนใดคนหน่ึงนอกกลุ่ม เพราะไม่สามารถอ้างว่าเป็นตวั แทนของเกษตรกรทัง้ หมดได้ 5. การรวมกล่มุ กนั สามารถผลิตสินค้าหรือผลผลิตส่งตลาด หรือผลติ ให้บริษทั เอกชนได้ในจํานวนและคุณภาพตามที่บริษัทต่างๆ เหลา่ นัน้ ต้องการ ภายใตก้ ารตกลงราคากันล่วงหน้า 6. การรวมกลุ่มกัน เกษตรกรสามารถที่จะแปรรูปผลผลิต เป็นผลิตภัณฑ์อย่างอื่นได้ ในกรณีท่ีผลผลิตล้นตลาดหรือราคา ผลผลิตตกตาํ่ โดยการลงทุนร่วมกัน 7. การรวมกลุ่มกัน ทําให้เกษตรกรสามารถรับเอาสินค้า เคร่ืองอุปโภคบริโภค จากบริษทั ผู้ผลิตมาจาํ หน่ายให้กับสมาชิกได้ใน ราคาทถ่ี กู กวา่ ท่ีต่างคนไปซ้ือมาจากตลาดโดยตรง

[23] 8. การรวมกลุ่มกัน เกษตรกรจะสามารถร่วมกันควบคุม พื้นท่ี และปริมาณผลผลิตให้อยู่ในปริมาณที่พอเหมาะกับความ ต้องการของตลาด โอกาสท่ีผลผลิตจะล้นตลาดทําให้ราคาถูกจะมี นอ้ ย 9. การรวมกลุ่มกัน จะทําให้เกษตรกรสามารถช่วยเหลือรัฐ ในการให้ข้อมูลท่ีจําเป็นเพ่ือรัฐจะได้นําไปแก้ไขให้กับเกษตรกร เช่น กรณีฝนแลง้ น้าํ ทว่ ม โรคแมลงระบาดทําลายพชื ผลของเกษตร 10. การรวมกลุ่มกันโดยถูกต้องตามกฎหมาย ทําให้ เกษตรกรสามารถทํานิตกิ รรมต่างๆ กับบรษิ ัทเอกชนอน่ื ๆ ได้ 11. การรวมกลุ่มกัน ทําให้เกษตรกรสามารถมีพลังต่อรอง กบั กลุ่มตา่ งๆ ได้ ทั้งนี้ เพ่ือปกป้องผลประโยชน์ของตัวเอง หรือเพ่ือ ไม่ใหผ้ ู้หน่งึ ผใู้ ด มาเอารัดเอาเปรียบสมาชิกของกลมุ่ ได้ 12. การรวมกลุ่มกัน ทําให้เกษตรกรสามารถระดมทุน ดําเนินการค้า เช่น ทําโรงสีข้าว จัดตั้งตลาดกลาง เพ่ือจําหน่าย ผลผลติ ของตนเองได้ นอกจากน้ี การสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มเกษตรกร การ ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารงาน การฝึกอบรมผู้นํากลุ่มและ สมาชิกให้เข้าใจถึงความสําคัญของการรวมตัวกัน เข้าใจบทบาท หน้าที่ของสมาชิกกลุ่ม เข้าใจการบริหารงานและเข้าใจการแก้ไข ปัญหาร่วมกัน ความสําเร็จในการร่วมกลุ่มเกษตรกร ตาม วัตถุประสงค์ของกลุ่มก็จะเกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ มีอิทธิพลต่อ กลุ่มผลประโยชน์อื่น ภาคเอกชนหรือต่อองค์กรต่างๆ และกลุ่ม เกษตรกรจะมีบทบาท มีอํานาจในทางการเมือง อันจะนําไปสู่การ ตั ด สิ น ใ จ ใ น ก า ร กํ า ห น ด ห รื อ เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง น โ ย บ า ย รั ฐ เ พ่ื อ ผลประโยชนข์ องกลมุ่ เกษตรกรในโอกาสตอ่ ไปอย่างแนน่ อน

[24] เอกสารอ้างอิง 1. จงั หวัดอํานาจเจริญ.(2021).จงั หวัดอาํ นาจเจริญประชุมทบทวน แผนพัฒนาจงั หวัด 5 ปี (พ.ศ.2566-2570)/จัดทําแผนปฏบิ ัตริ าชการ ปี 2566 พร้อมรับฟงั ความคิดเห็นรา่ งแผนฯจากทกุ ภาคส่วน.สบื คน้ 18 กุมภาพันธ์ 2565.จาก http://www.amnatcharoen.go.th/index.php/2020-04-14-14- 05-03/2017-11-13-16-00-41?start=112 2. สาํ นักขา่ วไทยแลนด์ พลสั ออนไลน.์ (2021).รมว.พม. หารอื ผวจ. อาํ นาจเจรญิ มุง่ ขับเคลือ่ นเปน็ เมอื งธรรมเกษตรเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พอเพียง เส้นทางการคา้ สอู่ าเซยี น.สบื คน้ 18 กุมภาพนั ธ์ 2565.จาก https://www.thailandplus.tv/archives/312507 3. สภาเกษตรกรจงั หวดั อาํ นาจเจริญ.2561.ขอ้ มลู ดา้ นเกษตรกรของ สาํ คญั ของจังหวดั อํานาจเจริญ.สืบคน้ 18 กุมภาพันธ์ 2565.จาก http://www.nfc-amnat.com/index.php/Farmers แนวคิดกลมุ่ ผลประโยชน์ คน้ เม่ือวนั ที่ 7 กมุ ภาพันธ์ 2565 จาก https://archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2550/poli0550tl_ch2.pdf 4. กรอบการวิเคราะหก์ ารเมืองแบบกลุม่ ผลประโยชน:์ พฒั นาการ ขอ้ ถกเถียง และสถานภาพการศกึ ษาวจิ ยั ค้นเม่ือวนั ที่ 7 กุมภาพนั ธ์ 2565 file:///C:/Users/ADMIN- LOVEYOU/Downloads/KUJ00000314c.pdf 5. กลุ่มผลประโยชน์ คน้ เม่ือวนั ที่ 7 กมุ ภาพันธ์ 2565 http://old- book.ru.ac.th/e-book/p/PS110(54)/PS110-13.pdf 6. สํานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร ค้นเมอื่ วันที่ 7 กมุ ภาพันธ์ 2565 https://www.oae.go.th/view/1/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0 %B9%89%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%A3%E0%B8%81 /TH-TH

[25] 7. เครอื ข่ายวสิ าหกิจข้าวสจั ธรรม http://www.cai.ku.ac.th/cai/index.php?option=com_content& view=article&id=1566&Itemid=43 8. เครอื ขา่ ยขา้ วเกดิ บญุ http://www.cai.ku.ac.th/cai/index.php?option=com_content& view=article&id=1564&Itemid=52 9. เครือข่ายผลไม้คิชฌกูฏ http://www.cai.ku.ac.th/cai/index.php?option=com_content& view=article&id=1567&Itemid=197 10. กลุ่มวิสาหกจิ ร่วมใจโนนค้อท่งุ https://www.carsr.agri.cmu.ac.th/project/riceinfo/coop/coop1 6.html 11. วิสาหกจิ ชมุ ชนบา้ นนาผาง – Thai -Explore http://www.thai-explore.net/search_detail/result/3021 12. ชุมชนขา้ วอนิ ทรียบ์ ้านหนองเม็ก จว.อาํ นาจเจรญิ ไดด้ ่ังใจบกุ ตลาด โกยรายได้เพยี บ https://www.thethaipress.com/2020/7967 13. วิสาหกจิ ชมุ ชนกลมุ่ เกษตรอนิ ทรียบ์ ้านโสกโดน หมู่ 3 ต.โนนหนาม แทง่ https://smce.doae.go.th/ProductCategory/managecontent.ph p?smce_id=437011310003 14. กลุ่มข้าวอนิ ทรีย์บา้ นโคกกลาง https://www.carsr.agri.cmu.ac.th/project/riceinfo/coop/coop1 1.html

[26] แนวการศึกษาเกม (Game Approach); บทวเิ คราะห์วา่ ดว้ ยการต่อรองทางการเมอื งในการเลอื กตงั นายกและสมาชกิ องคก์ ารบริหารส่วนตาบลหนองแกว้ อาเภอหวั ตะพาน จังหวดั อานาจเจริญ ปี 2564 พีระพล บวั ทอง, อลิษา พูพวก, โกวทิ ย์ บญุ เฉลยี ว, ภูธเนษฐ์ ทองโท และปฏพิ ัทธ์ ศรีลาลัย บทนา การบรหิ ารราชการแผน่ ดินของไทย การปกครองในระบอบ แบบประชาธิปไตยถือว่าอํานาจอธิปไตยคืออํานาจสูงสุดในการ ปกครองประเทศได้แก่อํานาจบริหาร นิติบัญญัติและตุลาการ อํานาจท้ังสามนี้เป็นของประชาชน แต่เม่ือประชาชนมีจํานวน มากข้ึนไม่อาจใช้อํานาจอธิปไตยได้โดยตรง จึงจําเป็นท่ีจะต้องมอบ อํานาจอธิปไตยให้ผู้แทนไปใช้อํานาจอธิปไตยแทนผ่านองค์กรต่างๆ ได้แก่คณะรัฐมนตรีรัฐสภาและศาลโดยผ่านกระบวนการเลือกต้ัง ส.ส. ส.ว. สมาชกิ สภาท้องถน่ิ ผบู้ รหิ ารท้องถ่นิ หลักการปกครองมที ้ังหมด 3 รูปแบบ 1) การปกครองแบบรวมอํานาจ (Centralization) คือการ จัดระเบียบปกครองท่ีรวมอํานาจการปกครองไว้ท่ีส่วนกลาง พนักงาน / เจ้าหน้าที่ได้รับการแต่งต้ัง ถอดถอนและบังคับบัญชา จากส่วนกลาง เพ่ือดําเนินการให้เป็นไปตามนโยบายที่ส่วนกลาง กําหนด คือ กระทรวง ทบวง กรม เปน็ ต้น 2) การปกครองแบบแบ่งอํานาจ (Deconcentration) คือการจัดระเบียบการปกครองท่ีเกิดจากข้อจํากัด ของการรวม อํานาจในเรื่องของความล่าช้าและไม่ท่ัวถึงทุกท้องท่ีพร้อมๆ กัน

[27] ราชการส่วนกลางจึงแบ่งมอบอํานาจการตัดสินใจ ทางการบริหาร ในบางเรื่องให้เจ้าหน้าท่ีของราชการส่วนกลางที่ส่งไปประจํา ปฏบิ ตั ิหน้าทีใ่ นภูมิภาค คอื จงั หวัดและอําเภอ 3) การปกครองแบบกระจายอํานาจ (Decentralization) คือการปกครองที่ใช้วิธีการยกฐานะท้องถ่ินขึ้นเป็นนิติบุคคลแล้วให้ ท้องถิ่นดําเนินการปกครองตนเองอย่างอิสระ (Autonomy) โดย ส่วนกลางจะไม่เข้ามาแทรกแซงการบังคับบัญชาใด ๆ นอกจากการ กํากับดูแลให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ภายในขอบเขตของกฎหมาย การจัดต้ังท้องถิ่นเท่าน้ัน เช่นการปกครองท้องถิ่นในรูปแบบของ เทศบาล องค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์การบริหารส่วนตําบล กรุงเทพมหานคร เมอื งพัทยา เป็นต้น พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ได้จัด ระเบียบการบริหารราชการแผ่นดินออกเป็น 3 ส่วน ประกอบด้วย การบริหารราชการแผน่ ดินของไทย 1. การบริหารราชการส่วนกลาง เป็นการดําเนินการโดย ส่วนกลางมีอํานาจในการบริหารเพื่อสนองความต้องการของ ประชาชนมีลักษณะการปกครองแบบรวบอํานาจในการส่ังการ กาํ หนดนโยบายการวางแผน การควบคุมตรวจสอบ และการบริหาร ราชการสําคญั ๆ ไว้ทีน่ ายกรัฐมนตรีรัฐมนตรีระเบียบบริหารราชการ ส่วนกลางจัดออกได้เป็นกระทรวง ทบวง กรมหรือหน่วยงาน ท่ีเรียกชื่ออย่างอื่นมีฐานะเป็นกรม ในปัจจุบันพระราชบัญญัติ ปรบั ปรุงกระทรวง ทบวง กรม 2. การบรหิ ารราชการส่วนภูมภิ าค เปน็ การท่หี น่วยงานของ กระทรวง ทบวง กรม ได้แบ่งแยกออกไปดํา เนินการตามเขตการ ปกครอง โดยมีเจ้าหน้าท่ีของทางราชการส่วนกลางซ่ึงได้รับการ แต่งต้ังออกไปประจําตามเขตปกครองต่าง ๆ ในส่วนภูมิภาค

[28] เพื่อบริหารราชการภายใต้การบังคับบัญชาของราชการส่วนกลาง ถือเป็นเพียงการแบ่งอํานาจการปกครองออกมาจากส่วนกลาง ไดแ้ ก่ จงั หวัดและอําเภอ ลักษณะการแบ่งอํานาจ หมายถึงการมอบ อํานาจในการตัดสินใจ วินิจฉัยส่ังการให้แก่เจ้าหน้าที่ที่ไปประจํา ปฏิบัติงาน ในส่วนภูมิภาค และส่วนกลางสามารถเรียกอํานาจ กลบั คนื ได้ 3. การบริหารราชการส่วนท้องถ่ิน หมายถึงกิจกรรม บางอย่างซึ่งรัฐบาล ให้ท้องถิ่นจัดทํากันเองเพ่ือสนองความต้องการ ของประชาชนในท้องถ่นิ นั้นๆ โดยมีเจ้าหน้าที่ที่ประชาชนในท้องถิ่น เลือกตงั้ ขึ้นมาเป็นผู้ดําเนนิ งานโดยตรงและมีอิสระในการบริหารงาน กล่าว ได้ว่ ากา รบริ หาร ราช การ ส่วน ท้อง ถ่ินเ ป็นไ ป ตา มหลั กกา ร กระจายอาํ นาจ คอื เปน็ การมอบอํานาจให้ประชาชนปกครองกันเอง เพ่ือให้ประชาชนเกิดความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์และรู้จักร่วมมือกันใน การแก้ไขปญั หา ตามหลกั การ “รว่ มคิดร่วมทํา ร่วมแก้ปัญหา” เป็น การแบ่งเบาภาระของส่วนกลางและยังประโยชน์สุขให้แก่ประชาชน ในพื้นท่ีได้มากกว่า เพราะประชาชนในท้องถิ่นย่อมรู้ปัญหาและ ความต้องการดีกว่าผู้อื่น การจัดระเบียบการปกครองท้องถิ่น ปัจจุบันมีรูปแบบ ดังน้ี ท้องถ่ินรูปแบบท่ัวไป ได้แก่ องค์การบริหาร ส่วนจังหวัด(อบจ.) เทศบาล (เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาล ตําบล) และองค์การบริหารส่วนตําบล(อบต.) และท้องถ่ินรูปแบบ พิเศษได้แก่กรุงเทพมหานครและเมืองพัทยาความสําคัญของการ ปกครองส่วนทอ้ งถิ่น จากเหตุผลและความจําเป็นท่ีต้องกระจายอํานาจลงไปสู่ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ และ พระราชบญั ญตั กิ ําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจสู่องค์กร

[29] ปกครองส่วนท้องถ่ินตามท่ีกล่าวอ้างข้างต้นการปกครองท้องถิ่น จึงมคี วามสาํ คญั ยงิ่ ดงั น้ี 1. การปกครองท้องถ่ิน คือ รากฐานของการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินทําหน้าที่ เหมอื นกับโรงเรียนฝึกหัดประชาธิปไตย เพราะผู้ซึ่งเป็นนักการเมือง ระดับท้องถิ่นจะต้องมีการรณรงค์หาเสียง จะต้องมีการเสนอ นโยบาย จะต้องมีการอภิปรายถกเถียงกันในสภาท้องถ่ินโดยมี ลักษณะใกล้เคียงกับสภาระดับชาติ เป็นแต่ขอบข่ายเล็กกว่า เมื่อเป็นเช่นน้ีจึงเป็นสถานท่ีฝึกความรู้และฝึกทักษะทางการเมือง ไปในตัว ซ่ึงถ้าคนจํานวนไม่น้อยได้มีโอกาสทําการฝึกหัดด้วยการ ปฏิบัติดังกล่าว ก็เหมือนกับเป็นการพัฒนานักการเมืองเพื่อการ เตรยี มพรอ้ มต่อการรับผดิ ชอบในระดับชาตติ อ่ ไป 2. การปกครองท้องถิ่นทํา ให้ประชาชนรู้จักท้องถ่ินการ ปกครองตนเอง (Self Government) หัวใจของการปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตย ประการหนึ่งก็คือการปกครองตนเองมิใช่เป็น การปกครองอันเกดิ จากคาํ สั่งเบ้ืองบนโดยเป็นการท่ีประชาชนมีส่วน ร่วมในการปกครอง ซ่ึงผู้บริหารท้องถิ่นนอกจากจะได้รับเลือกตั้งมา เพ่ือรับผิดชอบบริหารท้องถิ่นโดยอาศัยความร่วมมือร่วมใจจาก ประชาชนแลว้ ผ้บู ริหารทอ้ งถ่นิ จะตอ้ งฟังเสียงประชาชนด้วยวิถีทาง ประชาธิปไตย ซ่ึงจะทําให้ประชาชนเกิดความสํานึกมองเห็น ความสําคัญของตนเองต่อท้องถิ่นและมีส่วนรับรู้ถึงปัญหาและแก้ไข ปัญหาท้องถน่ิ ของตน 3. การปกครองท้องถิ่นเป็นการแบ่งเบาภาระของรัฐบาล ซ่ึงเป็นหลักสําคัญของการกระจายอํานาจ เนื่องจากภารกิจของ รัฐบาลมีอยู่อย่างกว้างขวางนับวันจะขยายเพ่ิมข้ึน ขณะที่แต่ละ ท้องถิ่นย่อมมีปัญหาและความต้องการที่แตกต่างกัน ประชาชน

[30] จึงเป็นผู้มีความเหมาะสมที่จะแก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึนในท้องถิ่นน้ัน มากท่ีสุด และกิจการบางอย่างเป็นเร่ืองเฉพาะท้องถ่ิน ไม่เกี่ยวกับ ท้องถิ่นอื่นๆ และไม่มีส่วนได้ส่วนเสียต่อประเทศโดยส่วนรวม จึงเป็นการสมควรท่ีจะให้ประชาชนท้องถ่ินดําเนินการดังกล่าวเอง ท้งั น้ีการแบง่ เบาภาระดงั กล่าวทําให้รัฐบาลมีเวลาที่จะดําเนินการใน เร่ืองที่สําคัญๆ หรือกิจการใหญ่ๆ ระดับชาติอันเป็นประโยชน์ต่อ ประเทศชาติโดยส่วนรวมและมีความคล่องตัวในการดําเนินงานของ รฐั บาลจะมมี ากขนึ้ 4. การปกครองท้องถ่ินสามารถสนองตอบความต้องการ ของท้องถ่ินตรงเป้าหมายและมีประสิทธิภาพ เน่ืองจากท้องถ่ิน มีความแตกต่างกันไม่ว่าทางสภาพภูมิศาสตร์ทรัพยากร ประชาชน ความตอ้ งการ และปัญหาย่อมต่างกันออกไป ผูท้ ี่ใหบ้ ริการหรือแก้ไข ปัญหาให้ถูกจุดและสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน ไดเ้ ป็นอย่างดกี ค็ ือ องคก์ รปกครองทอ้ งถน่ิ 5.การปกครองท้องถิ่นจะเป็นแหล่งสร้างผู้นําทางการเมือง และการบริหารของประเทศในอนาคต ผู้นําองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นย่อมเรียนรู้ประสบการณ์ทางการเมือง การเลือกต้ัง การ สนับสนุนจากประชาชนในท้องถิ่นย่อมเป็นพื้นฐานท่ีดีต่ออนาคต ทางการเมืองของตน และยังฝึกฝนทักษะทางการบริหารงานใน ทอ้ งถิน่ อีกด้วย 6. การปกครองท้องถิ่นโดยยึดหลักการกระจายอํานาจทํา ให้เกิดการพัฒนาชนบทแบบพ่ึงตนเองท้ังทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม กล่าวโดยสรุป ความสําคัญของการปกครองส่วนท้องถิ่น สามารถแบ่งออกเป็นสองด้าน คือ ด้านการเมืองการปกครอง และ ด้านการบริหารกล่าวคือ ในด้านการเมืองการปกครองน้ัน เป็นการ ปู พ้ื น ฐ า น ก า ร ป ก ค ร อ ง ร ะ บ อ บ ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย แ ล ะ เ รี ย น รู้ ก า ร

[31] ปกครองตนเอง ส่วนด้านการบริหารน้ันเป็นการแบ่งเบาภาระ รฐั บาลและประชาชนในท้องถ่ินได้หาทางสนองแก้ปัญหาด้วยตนเอง ด้วยกลไกการบริหารต่างๆ ท้ังในแง่ของการบริหารงานบุคคล การงบประมาณและการจัดการ เป็นต้น การปกครองตนเองใน รูปแบบของการปกครองส่วนท้องถิ่นในกรอบของการกระจาย อํานาจย่อมจะนําไปสู่การพัฒนาวัฒนธรรมทางการเมืองแบบ ประชาธิปไตยซ่ึงจะเป็นฐานสําคัญของการเมืองระดับชาติโดยรวม ถ้าหน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่นครอบคลุมทั่วประเทศสามารถ ทําหน้าที่ได้อย่างสัมฤทธ์ิผลจนเกิดการพัฒนาการเมืองแบบ ประชาธิปไตย ย่อมจะช่วยสร้างความเข้าใจและความรู้ให้แก่ ประชาชนในระดับรากหญ้า พร้อมทั้งการฝึกทักษะกับผู้ซึ่งเป็น ผู้บริหารและผู้ทํางานในสภานิติบัญญัติของท้องถิ่น ก็หมายความว่า ความรู้ทางการเมือง ทักษะทางการเมือง และประสบการณ์ในการ ทํางานภายใต้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยในองค์ กร ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ยอ่ มจะหลอมกลายเป็นวัฒนธรรมทางการเมือง แบบประชาธิปไตยให้เกิดข้ึนท่ัวประเทศ และน่ีคือตัวแปรที่สําคัญ อย่างยิ่งเกี่ยวกับการปกครองตนเองและยังเป็นการสร้างความเป็น ประชาธิปไตยอย่างยั่งยืนผ่านเรียนรู้โดยการฝึกการลงมือกระทํา ด้วยตัวเอง. รูปแบบการปกครองส่วนท้องถ่ิน การปกครองส่วนท้องถิ่น คือ การที่รัฐกระจายอํานาจให้ประชาชนในท้องถ่ินได้มีส่วนร่วมใน การปกครองตนเอง โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนในท้องถิ่นน้ัน ๆ ตัดสินใจเลือกผู้แทนของตนเข้าไปทํา หน้าที่เป็นผู้บริหารท้องถ่ิน หรือสมาชิกสภาท้องถิ่น และมีอิสระในการบริหาร การจัดทํา บริการสาธารณะ การส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา การเงินและการคลังภายใต้ การกํากับดูแลของรัฐและบทบัญญัติ

[32] ของกฎหมายปัจจุบันประเทศไทย มีการปกครองส่วนท้องถิ่น 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบการปกครองส่วนท้องถ่ินท่ัวไป มี 3 รูปแบบ ไดแ้ ก่ 1.1 องค์การบริหารส่วนจังหวัด(อบจ.) มี โครงสร้างการบริหารประกอบด้วยสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ทํา หน้าท่ีฝ่ายนิติบัญญัติ และนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด ทาํ หนา้ ท่ฝี ่ายบรหิ าร เป็นองคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีขนาดใหญ่ ที่สุด มีจังหวัดละ 1 แห่ง (ยกเว้นกรุงเทพมหานคร) มีเขตพื้นท่ี รับผิดชอบครอบคลุมทั้งจังหวัดซ่ึงทับซ้อนกับพื้นท่ีขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นๆ ท่ีอยู่ในเขตจังหวัด เช่น เทศบาลองค์การ บรหิ ารส่วนตําบล 1.2 เทศบาลมีโครงสร้างการบริหารประกอบด้วย สภาเทศบาลทําหน้าท่ีฝ่ายนิติบัญญัติและนายกเทศมนตรีทําหน้าที่ ฝ่ายบริหาร เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ในเขตชุมชนเมือง แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่เทศบาลนคร (ทน.) เทศบาลเมือง (ทม.) และ เทศบาลตําบล (ทต.) ท้ังนี้ข้ึนอยู่กับจํานวนและความ หนาแน่นของประชากร ความเจริญทางเศรษฐกิจหรือรายได้ของ ท้องถิน่ 1.3 องค์การบริหารส่วนตําบล (อบต.) มีโครงสร้างการ บริหารประกอบดว้ ยสภาองคก์ ารบริหารส่วนตําบล ทําหน้าทฝ่ี ่ายนิติ บัญญัติ และนายกองค์การบริหารส่วนตําบล ทําหน้าท่ีฝ่ายบริหาร เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ใกล้ชิดประชาชนมากท่ีสุด ตั้งข้ึนเพื่อดูแลทุกข์สุขและให้บริการประชาชนในหมู่บ้านและตําบล แทนรัฐหรือส่วนกลาง ท่ีไม่สามารถจัดบริการสาธารณะ หรือดูแล ประชาชนทว่ั ประเทศไดอ้ ยา่ งทวั่ ถึง

[33] 2. รูปแบบการปกครองส่วนท้องถิ่น รูปแบบพิเศษ มี 2 รปู แบบ คือ 2.1 กรุงเทพมหานคร มีโครงสร้างการบริหาร ประกอบด้วยสภากรุงเทพมหานคร ทํา หน้าท่ีฝ่ายนิติบัญญัติและ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครทํา หน้าที่ฝ่ายบริหาร เป็นองค์กร ปกครองส่วนทอ้ งถ่ินรปู แบบพเิ ศษทม่ี ีขนาดใหญม่ าก เป็นเมืองหลวง ของประเทศที่เป็นศูนย์กลางความเจริญทุกด้านท้ังการเมืองการ ปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และการทหาร แบ่งการปกครองออกเป็น เขตต่างๆ จํานวน 50 เขต มีผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเป็น ผู้บริหารสูงสุด มีปลัดกรุงเทพมหานคร เป็นหัวหน้าข้าราชการ ประจําของกรุงเทพมหานคร 2.2 เมืองพัทยา มีโครงสร้างการ บริหารประกอบด้วยสภาเมืองพัทยา ทํา หน้าท่ีฝ่ายนิติบัญญัติและ นายกเมืองพัทยา ทํา หน้าที่ฝ่ายบริหารเป็นองค์กรปกครองส่วน ท้องถ่ินรูปแบบพิเศษที่มีความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจการเพิ่มข้ึน ของจํานวนและความหนาแน่นของประชากร รวมท้ังการขยายตัว ของชุมชนเป็นไปอย่างรวดเร็ว มีแหล่งท่องเที่ยวท่ีสําคัญคือหาด พัทยาและเกาะล้าน และมีผลประโยชน์ที่กระทบต่อการดํา รงชีวิต ก า ร ป ร ะ ก อบ อา ชี พแ ล ะค ว า ม เ ป็ น อยู่ ข อง ป ร ะ ช า ช น ใ น ท้ อ ง ถิ่ น รวมทั้งผลประโยชน์ของประเทศอย่างชัดเจน จึงได้มีการจัดต้ังเมือง พัทยาขึ้นในเขตจังหวัดชลบุรี เพื่อให้การบริหารการจัดทํากิจการ สาธารณะ มปี ระสิทธิภาพและมคี วามคลอ่ งตัว หลักการสํา คัญพ้ืนฐ านของการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย คือการเลือกตั้งที่มีความบริสุทธ์ิยุติธรรม ซ่ึงมี ความสําคัญในด้านการเป็นกระบวนการคัดกรองตัวบุคคลของ ประชาชนเพื่อสรรหาผู้แทนที่ดีที่สุดเข้าไปในสภาและรัฐบาล เป็นการมอบอํานาจอธิปไตยของปวงชนให้เข้าไปใช้อํานาจแทนใน

[34] การจัดตั้งรัฐบาลและตรากฎหมายเพื่อแก้ปัญหาทุกข์สุขของ ประชาชน และเป็นการแสดงความเสมอภาคเท่าเทียมกันของ ประชาชน แต่ละปัจเจกบุคคลมีเสียงเท่ากัน (One man one vote) ไม่ว่ายากดีมีจนมีฐานะและสถานะทางสังคมต่างกันอย่างไร ประชาชนแต่ละคนสามารถแสดงความคิดเห็นอิสระเสรี มีความ นิยมชมชอบนโยบายตัวบุคคลและพรรคการเมืองใดก็ได้ และ แสดงออกโดยการเลือกตั้งอย่างเสรี อีกท้ังประชาชนสามารถเลือก อนาคตของตัวเองได้ตามแนวทางการพัฒนาของพรรคการเมืองที่ ประกาศตัวเป็นนโยบายของพรรค ด้วยความสําคัญของการจัดการ เลือกต้ัง รัฐจึงจําเป็นต้องจัดการบริหารการเลือกต้ังให้เป็นไป ด้วยอย่างดี มีประสิทธิภาพบริสุทธ์ิยุติธรรมและอํานวยความ สะดวกแกป่ ระชาชนท่มี ีสิทธเิ ลอื กตั้งให้มากทส่ี ุด กรอบแนวคิดการวิเคราะห์ ทฤษฎีเกม เป็นสาขาคณิตศาสตร์ประยุกต์ที่ศึกษา การตัดสินใจของผู้ตัดสินใจหลายฝ่าย โดยท่ีผลท่ีแต่ละฝ่ายได้รับ ขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของผู้เล่นฝ่ายอ่ืนๆ เกมในทางทฤษฎีเกม หมายถึงสถานการณ์ใดๆ ท่ีผู้ตัดสินใจ (เรียกว่าผู้เล่น) หลายฝ่าย มีปฏิสัมพันธ์กัน ซึ่งอาจหมายถึงเกมในความหมายทั่วไป เช่น เป่ายิ้งฉุบ หรือ หมากรุก หรือหมายถึงสถานการณ์ทางสังคมหรือ ทางธรรมชาติอ่ืนๆ ทฤษฎีเกมได้รับการนําไปประยุกต์ใช้ในสาขา สังคมศาสตร์ต่างๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิงเศรษฐศาสตร์ และในสาขา ชวี วิทยาววิ ฒั นาการและวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ด้วย การศึกษาทางทฤษฎีเกมเป็นการศึกษาการตัดสินใจของ ผู้เล่นที่ตัดสินใจแบบ \"เป็นเหตุเป็นผล\" ซึ่งหมายถึงการท่ีผู้เล่น ตั ด สิ น ใ จ โ ด ย มี เ ป้ า ห ม า ย ที่ ชั ด เ จ น แ ล ะ ตั ด สิ น ใ จ ต า ม เ ป้ า ห ม า ย

[35] ของตนเองอย่างไม่ผิดพลาด สาขาทฤษฎีเกมในรูปแบบปัจจุบัน มกั ถือกนั ว่ามีจุดเรม่ิ ต้นจากงานของจอห์น ฟอน นอยมันน์ และอ็อส คาร์ มอร์เกินสแตร์น โดยมีผลงานสําคัญคือหนังสือ \"ทฤษฎีว่าด้วย เกมและพฤติกรรมทางเศรษฐกิจ\" ท่ีตีพิมพ์ในปี 1944 ผลงานของ จอห์น แนชในการนิยามและพิสูจน์ทฤษฎีบทเกี่ยวกับสมดุล แบบแนช ซึ่งเป็นผลลัพธ์ของเกมท่ีผู้เล่นแต่ละฝ่ายไม่มีแรงจูงใจ ท่ีจะเปลี่ยนการตัดสินใจของตนเอง เป็นปัจจัยที่สําคัญท่ีทําให้ นักวชิ าการสาขาตา่ งๆ สามารถนาํ วชิ าทฤษฎีเกมไปใชป้ ระยุกต์อย่าง แพร่หลายทฤษฎีเกมเป็นเคร่ืองมือสําคัญของทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ กระแสหลักในปัจจุบัน นักทฤษฎีเกมหลายคนจึงได้รับรางวัลโนเบล สาขาเศรษฐศาสตร์ เริ่มจาก จอห์น แนช, ไรน์ฮาร์ท เซ็ลเทิน และ จอห์น ฮารช์ าญี ในปี 1994 แนวคิดพืนฐาน ในทางทฤษฎีเกม \"เกม\" หมายถึงสถานการณ์ใดๆ ท่ีมีผู้ ตัดสินใจต้ังแต่สองฝ่ายข้ึนไป โดยผู้ตัดสินใจแต่ละฝ่ายมีเป้าหมาย ของตนเองและผลลัพธ์ท่ีแต่ละฝ่ายได้รับข้ึนอยู่กับการตัดสินใจของ ทุกฝ่าย ผู้ตัดสินใจแต่ละฝ่ายในเกมเรียกว่า \"ผู้เล่น\" โดยผู้เล่นนี้เป็น องค์ประกอบพน้ื ฐานของเกมในทฤษฎเี กมทุกประเภท ท ฤ ษ ฎี เ ก ม ตั้ ง ข้ อ ส ม ม ติ ว่ า ผู้ เ ล่ น ทุ ก ฝ่ า ย ตั ด สิ น ใ จ \"อย่างมีเหตุผล\" ซึ่งหมายถึงการที่ผู้เล่นแต่ละฝ่ายมีเป้าหมาย ความต้องการของตัวเองที่ชัดเจนซึ่งมักแสดงในรูปของฟังก์ชัน อรรถประโยชน์ และตัดสินใจโดยเลือกทางเลือกที่ทําให้ตัวเองได้รับ อรรถประโยชน์สูงสุด ทฤษฎีเกมจึงมีความคล้ายกันกับทฤษฎีการ ตดั สินใจท่ีศึกษาการตัดสินใจของผตู้ ัดสินใจรายเดียว แต่แตกต่างกัน ที่ทฤษฎีเกมศึกษาการตัดสินใจในสถานการณ์ที่การตัดสินใจ

[36] หลายฝ่ายส่งผลซึ่งกันและกัน ในการประยุกต์ทฤษฎีเกมในสาขา ต่างๆ ผู้เล่นในเกมอาจใช้หมายถึงปัจเจกบุคคล แต่ก็อาจใช้หมายถึง กลุ่มบุคคล เช่น บริษัท รัฐบาล ไปจนถึงสิ่งอ่ืนๆ ท่ีไม่ใช่มนุษย์ เช่น สัตว์ พชื พระเปน็ เจา้ เปน็ ต้น การวิเคราะห์ทางทฤษฎีเกมมักกําหนดว่าผู้เล่นแต่ละฝ่ายมี ฟังก์ชันอรรถประโยชน์แบบฟอน นอยมันน์–มอร์เกินสแตร์น ซ่งึ มีลกั ษณะสําคัญคอื หากวา่ ผลลพั ธ์ของการตัดสนิ ใจมีความเป็นไป ได้หลายทางและไม่แน่นอนว่าจะได้รับผลลัพธ์ใด ผู้เล่นน้ันจะ ตัดสินใจในลักษณะที่ให้ได้ค่าคาดหมายของฟังก์ชันอรรถประโยชน์ นั้นสูงสุด ทฤษฎีเกมสามารถแบ่งออกได้เป็นสองสาขาใหญ่ๆ ได้แก่ ทฤษฎีเกมแบบร่วมมือ (cooperative game theory) และ ทฤษฎีเกมแบบไม่ร่วมมือ (non-cooperative game theory) แต่ละสาขาของทฤษฎีเกมมีแนวทางการศึกษาท่ีแตกต่างกันในด้าน รูปแบบการนิยามเกมและแนวคิดท่ีใช้ในการวิเคราะห์ การจําแนก ทฤษฎีสองแบบนี้มีที่มาเร่ิมแรกจากบทความของจอห์น แนช ซึ่งตีพิมพ์ในปี 1951 ในสาขาทฤษฎีเกมแบบไม่ร่วมมือ นิยามของ เกมจะระบุทางเลือกทั้งหมดที่ผู้เล่นแต่ละฝ่ายสามารถตัดสินใจเลือกได้ ผู้เล่นแต่ละฝ่ายตัดสินใจโดยอิสระจากกันและไม่สามารถร่วมกันทํา ข้อตกลงอ่ืนๆ ให้มีผลบังคับใช้ได้ ในทฤษฎีเกมแบบร่วมมือ จะสมมติว่าผู้เล่นแต่ละฝ่ายสามารถทําข้อตกลงใดๆ กันก็ได้ โดยจะ ไม่ให้ความสําคัญกับขั้นตอนการเจราจาตกลงกันระหว่างผู้เล่น แต่ให้ความสําคัญกับการวิเคราะห์กลุ่มผู้เล่นว่าผู้เล่นจะมีการจับ กลุ่มร่วมกันอย่างไรและจะมีการแบ่งผลประโยชน์กันอย่างไร คําว่า เกมแบบไม่ร่วมมือในที่น้ี ไม่ได้หมายความว่าทฤษฎีเกมชนิดน้ีไม่ สามารถใช้จําลองสถานการณ์ที่มีการ \"ร่วมมือ\" กันในความหมาย

[37] ทั่วไปว่าการตกลงกระทําเพื่อให้ได้ประโยชน์ร่วมกัน แต่การจําลอง สถานการณ์ความร่วมมือหรือการเจรจาต่อรองใดๆ จะต้องระบุ ทางเลือกและขั้นตอนเหล่านั้นในเกมอย่างชัดเจน และข้อตกลง เหล่านั้นจะไม่มีผลบังคับใช้นอกเหนือจากตามกระบวนการที่ระบุ อยา่ งชดั เจนในเกม ประวตั ิก่อนปี 1928 ในการศึกษาท่ีมีลักษณะทางทฤษฎีเกมก่อนปี 1950 มีหัวใจสําคัญคือแนวคิดแบบมินิแมกซ์ น่ันคือ ผู้เล่นแต่ละฝ่าย เปรียบเทียบผลลัพธ์ท่ีแย่ที่สุดท่ีเป็นไปได้ของทางเลือกแต่ละทาง ของตัวเองแล้วเลือกทางเลือกการันตีผลลัพธ์ที่ดีที่สุด (นั่นคือ ผลลัพธ์ท่ีแย่ท่ีสุดของทางเลือกน้ัน ดีกว่ากว่าผลลัพธ์ที่แย่ที่สุดของ ทางเลือกอ่นื ๆ) การวเิ คราะห์เกมในลักษณะของมินิแมกซ์มีหลักฐาน ย้อนไปถึงปี 1713 ที่การวิเคราะห์เกมไพ่ เลอ แอร์ (ฝร่ังเศส : le Her) ของของเจมส์ วอลด์เกรฟ ได้รับการเขียนถึงในจดหมายจาก ปีแยร์ เรมง เดอ มงมอร์ถึงนีโคเลาส์ แบร์นูลลี ในปี 1913 แอ็นสท์ แซร์เมโล นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน ตีพิมพ์บทความ \"ว่าด้วยการ ประยุกต์ทฤษฎีเซตในด้านทฤษฎีหมากรุก\" (เยอรมัน: Uber eine Anwendung der Mengenlehre auf die Theorie des Schachspiels) ซ่ึงพิสูจน์ว่า ผลลัพธ์แบบมินิแมกซ์ของเกมหมากรุกสากลมีผล แพ้ชนะเพียงหนึ่งแบบ แต่ไม่มีการพิสูจน์ว่า ผลมินิแมกซ์ของเกม มีลักษณะเป็นฝ่ายใดชนะหรือเสมอกัน เกมท่ีผลลัพธ์แบบมินิแมกซ์ มีผลแพ้ชนะแบบเดียวนี้เรียกว่าเป็นเกมท่ีกําหนดแล้วโดยแท้ (strictly determined) ทฤษฎีบทของแซรเ์ มโลใชไ้ ด้กับกับเกมแบบ ขยายท่ีมีผู้เล่นสองคน มีทางเลือกที่จํากัด มีผลแพ้ชนะและผู้เล่น มีสารสนเทศสมบูรณ์ (ไม่มีการเดินพร้อมกัน และสารสนเทศทุก

[38] อย่างเปิดเผยให้ผู้เล่นทุกฝ่ายทราบ) เช่น หมากฮอส หมากล้อม เฮกซ์ เปน็ ต้น เอมีล บอแรล นักคณิตศาสตร์ชาวฝร่ังเศส ตีพิมพ์บทความ ฉบับในปี 1921, 1924 และ 1927 โดยเป็นการวิเคราะห์กลยุทธ์ ผสมและผลเฉลยแบบมินิแมกซ์ทางคณิตศาสตร์อย่างเป็นระบบ ครั้งแรก แตบ่ อแรลพสิ จู น์เฉพาะในกรณอี ย่างง่าย และสันนิษฐานว่า ผลเฉลยแบบมินิแมกซ์นี้ไม่ได้มีอยู่เป็นการท่ัวไป แต่ข้อสันนิษฐาน ฟอน นอยมันน์ ไดพ้ สิ ูจน์ในภายหลังวา่ ไม่เป็นจรงิ แนวคิดสมดุลแบบแนชก็มีการใช้ในการวิเคราะห์ ทฤษฎี เศรษฐศาสตร์มาก่อนหน้าเช่นกัน ในปี 1838 อ็องตวน - โอกุสแต็ง กูร์โน ได้ตีพิมพ์หนังสือ \"งานวิจัยว่าด้วยหลักคณิตศาสตร์ของ ทฤษฎี ทรัพย์\" (ฝร่ังเศส: Recherches sur les principes mathématiques de la théorie de la richesses) โดยมีเนื้อหาบทหนึ่งที่มีทฤษฎีวิเคราะห์ ตลาดผูกขาดโดยผู้ขายน้อยราย แบบจําลองทางคณิตศาสตร์ของ กูร์โนใช้การวิเคราะห์ที่มีลักษณะเป็นสมดุลแบบแนชรูปแบบหน่ึง นั บ ว่ า เ ป็ น ง า น เ ขี ย น ช้ิ น แ ร ก ท่ี มี ก า ร ใ ช้ แ น ว คิ ด ส ม ดุ ล แ บ บ แ น ช แต่กูร์โนไม่ได้เล็งเห็นว่าแนวคิดการวิเคราะห์ของเขาสามารถมีนัย ทั่วไปท่ีใช้กับสถานการณ์ เชิงกลยุทธ์ใดๆ จอห์น ฟอน นอยมนั นใ์ นปี 1928 จอห์นฟอน นอยมนั น์ตีพิมพ์บทความ \"ว่าด้วยทฤษฎีของ เกมนนั ทนาการ\" เยอรมัน: Zur Theorie der Gesellschsftsspiele) บทความของฟอน นอยมันน์นําเสนอทฤษฎีของเกม ที่มี ลั ก ษ ณ ะ ทั่ ว ไ ป ก ว่ า ง า น ก่ อ น ห น้ า โดยตั้งคําถามว่า \"ผู้เล่น n คน S1, S2,...,Sn เล่นเกม G ผู้เล่น Sm

[39] คนใดคนหนึ่งจะต้องเล่นอย่างไรจึงจะได้ผลลัพธ์ท่ีดีท่ีสุด\" ในบทความนี้ ฟอน นอยมันน์ได้กําหนดเกมรูปแบบขยายและนิยาม \"กลยุทธ์\" ว่าหมายถึงแผนการเล่นที่ระบุการตัดสินใจของผู้เล่นที่จุดต่างๆ ในเกม โดยข้ึนกับสารสนเทศที่ผู้เล่นมีในจุดนั้นๆ ซึ่งเป็นลักษณะ เดียวกับแนวคิดวิธีการเล่นของบอแรล การนิยามกลยุทธ์ในลักษณะ น้ีทําให้ฟอน นอยมันน์สามารถลดรูปเกมแบบขยายให้เหลือ เพียงการเลือกกลยุทธ์ของผู้เล่นแต่ละฝ่ายโดยอิสระจากกันก่อน เริ่มเกมเท่าน้ัน ฟอน นอยมันน์พิสูจน์ว่าในเกมท่ีมีผู้เล่นสองฝ่ายที่ ผลรวมเป็นศนู ยแ์ ละแตล่ ะฝ่ายมีทางเลอื กจํานวนจํากัด หากว่าผู้เล่น สามารถใช้กลยุทธ์ผสมได้ เกมน้ีจะมีจุดมินิแมกซ์หน่ึงจุดเสมอ เนื้อหาการพิสูจน์ทฤษฎีบทของฟอน นอยมันน์มีลักษณะที่เก่ียวข้อง กบั ทฤษฎีบทจดุ ตรึงของเบราว์เออร์ แม้ว่าฟอน นอยมันน์ไม่ได้เขียน การพิสูจน์ในลักษณะของจุดตรึงในบทความ ฟอน นอยมันน์ ยกตั วอย่างเ กมนัน ทนาการในบ ริบ ทน้ี ว่าอาจ หมาย ถึงเ กมห ลาย ประเภท เช่น รูเล็ตต์และหมากรุกสากล แต่ก็กล่าวถึงด้วย ความสัมพันธ์ในลักษณะของเกมน้ีสามารถอธิบายสถานการณ์อ่ืนๆ ได้ด้วย โดยได้เขียนในเชิงอรรถว่าคําถามน้ีมีลักษณะเหมือนคําถาม ในวชิ าเศรษฐศาสตร์ อ็อสคาร์ มอร์เกินสแตร์น เป็นนักเศรษฐศาสตร์ที่ใน ขณะนั้นสนใจเก่ียวกับปฏิสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจของบุคคล หลายฝ่าย ในหนังสือเรื่องการพยากรณ์ทางเศรษฐกิจท่ีตีพิมพ์ในปี 1928 มอร์เกินสแตร์นได้ยกตัวอย่างการต่อกรกันระหว่างตัวละคร เชอรล์ ็อก โฮมสก์ ับมอริอารต์ ี ท่ีโฮมส์พิจารณาหลายช้ันว่ามอริอาร์ตี คิดว่าเขาจะทําอย่างไร มอร์เกินสแตร์น มอร์เกินสแตร์นได้รับ คําแนะนําจากนักคณิตศาสตร์เอดูอาร์ด เช็คระหว่างนําเสนอ บทความท่ีงานสัมมนาในกรุงเวียนนาในปี 1935 ว่าหัวข้องานของ

[40] มอร์เกินสแตร์นมีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับงานทฤษฎีเร่ืองเกมของฟอน นอยมันน์ หลังจากการผนวกออสเตรียเข้ากับนาซีเยอรมนีในปี 1938 มอร์เกินสแตร์นย้ายจากเวียนนาไปยังมหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน ในสหรัฐอเมริกา ทําให้เขาได้พบและมีโอกาสได้ร่วมงานกับฟอน นอยมันน์ จนมผี ลงานเปน็ หนังสือ \"ทฤษฎีว่าด้วยเกมและพฤติกรรม ทางเศรษฐกิจ\" (Theory of games and economic behavior) ทต่ี ีพมิ พ์คร้งั แรกในปี 1944 ทศวรรษ 1950 จอห์น แนช หลังจากที่หนังสือของฟอน นอยมันน์และ มอร์เกินสแตร์นได้รับการตีพิมพ์ ทศวรรษ 1950 เป็นช่วงท่ีมีผลงานด้านทฤษฎีเกมท่ี สําคัญหลายอย่าง โดยมีสถาบันสําคัญที่ เป็นศูนย์กลางสองแห่งคือมหาวิทยาลัย พรินซ์ตัน และแรนด์ คอร์เปอเรชัน สถาบันวิจัยเอกชนที่ต้ังข้ึนใหม่ ที่มุ่งเน้นการทําวิจัยด้านความมั่นคง ให้กับรัฐบาลสหรัฐ ในช่วงปี 1950 ถึง 1953 จอห์น แนช ได้ตีพิมพ์ บทความสําคัญสี่บทความซ่ึงมีบทบาทสําคัญอย่างมากต่อสาขา ทฤษฎีเกมจากนิยามเกมรูปแบบท่ัวไปของฟอน นอยมันน์และมอร์ เกินสแตร์น แนชไดน้ ิยามแนวคดิ สมดุลสาํ หรบั เกมในรูปแบบทั่วไปท่ี เรียกในภายหลังว่าเป็นสมดุลแบบแนช และพิสูจน์ว่าเกมรูปแบบ ทั่วไปท่ีมีผู้เล่นและกลยุทธ์จํากัดทุกเกมที่ผู้เล่นสามารถใช้กลยุทธ์ ผสมจะมีจุดสมดุลอย่างน้อยหนึ่งจุด ผลงานน้ีตีพิมพ์ครั้งแรกใน บทความสั้นช่ือ \"จุดสมดุลในเกมท่ีมีผู้เล่น n ฝ่าย\" (Equilibrium points in n-person games) ในปี 1950 แนชเขียนถึงแนวคิด สมดุลน้ีในวิทยาพนธ์ปริญญาเอก และตีพิมพ์เนื้อหาฉบับสมบูรณ์

[41] ย่ิงขึ้นในบทความปี 1951 ช่ือ \"เกมแบบไม่ร่วมมือ\" (Non- cooperative games) จากเดิมท่ีเน้ือหาในหนังสือของฟอน นอย มันน์และมอร์เกินสแตร์น ไม่ได้แยกระหว่างการที่ผู้เล่นแต่ละฝ่าย เลือกกลยุทธ์อย่างเป็นอิสระจากกันและการร่วมมือกัน แนชเป็นคน แรกที่จําแนกทฤษฎีเกมแบบร่วมมือและแบบไม่ร่วมมือ โดยแนวคิด สมดลุ แบบแนชเป็นแนวคดิ แบบไมร่ ว่ มมอื แนชยังได้ตีพิมพ์บทความ ในลกั ษณะของทฤษฎีเกมแบบรว่ มมือ โดยในบทความปี 1950 ชื่อ \"ปัญหาการต่อรอง\" (The bargaining problem) แนชได้เสนอ ผลลัพธ์ของเกมการต่อรองระหว่างผู้เล่นสองฝ่ายโดยใช้สัจพจน์ส่ี ประการ บทความนี้ของแนชเป็นงาน ช้นิ แรกในสาขาทฤษฎีเกม ท่ีไม่ใช้สมมติว่าอรรถประโยชน์สามารถ ยกให้กันได้ระหว่างผู้เล่น บ ท ค ว า ม นี้ มี ท่ี ม า จ า ก ข้ อ เ ขี ย น ข อ ง แ น ช ตั้ ง แ ต่ ส มั ย เ รี ย น วิ ช า เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศในระดับ ปริญญาตรี ในปี 1953 แนชตีพิมพ์บทความ \"เกมแบบร่วมมือท่ีมี ผู้เล่นสองฝ่าย\" (Two- person cooperative games) ผลงานของแนชด้านทฤษฎีเกมทํา ใหแ้ นชได้รับรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ในปี 1994 อัลเบิร์ต ทักเคอร์ (ซ่ึงเปน็ ทีป่ รกึ ษาปริญญาเอกของจอหน์ แนช, ลอยด์ แชปลีย์, และเดวิด เกล) และฮาโรลด์ คุห์น นักคณิตศาสตร์ ที่ พรินซ์ตัน ได้เป็นบรรณาธิการตีพิมพ์ชุดหนังสือรวมเล่มผลงานวิจัย ในดา้ นทฤษฎเี กม โดยตีพิมพ์เล่มแรกใน 1950 ในหนังสือเล่มที่สอง ที่ ตีพิมพ์ในปี 1953 ลอยด์ แชปลีย์ นักศึกษาปริญญาเอกที่พรินซ์ตัน ได้ ตีพิมพ์บทความท่ีนําเสนอแนวคิดคําตอบท่ีเรียกในภายหลังว่า ค่า แชปลีย์ นอกจากนี้ แชปลีย์ ร่วมกับดอนัลด์ จิลลีส ได้เสนอแนวคิด คอร์

[42] ทศวรรษ 1960 เปน็ ต้นมา ในปี 1965 ไรน์ฮาร์ท เซ็ลเทิน ได้ตีพิมพ์บทความท่ี วิเคราะห์แบบจําลองการผูกขาดโดยผู้ขายน้อยรายด้วยทฤษฎีเกม ในบทความนี้ เซ็ลเทินได้เสนอแนวคิดสมดุลแบบสมบูรณ์ทุกเกม ย่อย ซึ่งเป็นการนิยามสมดุลแบบแนชที่ละเอียดข้ึนเพ่ือแยกสมดุล แบ บ แ น ช ที่ มี ลั ก ษ ณ ะ ไ ม่ ส ม เ ห ตุ ส ม ผ ล ใ น เ ก ม ท่ี มี ลํ า ดั บ ก่ อ น ห ลั ง ออกไป การนิยามสมดุลที่ละเอียดยิ่งข้ึนเป็นหัวข้อวิจัยสําคัญในช่วง ทศวรรษ 1960 และ 1970 โดยในปี 1975 เซ็ลเทินได้เสนอแนวคิด สมดุลแบบสมบูรณ์ ที่นิยามจุดสมดุลที่สมมติว่าผู้เล่นอาจจะ \"มือ ล่ัน\" เลอื กกลยทุ ธท์ ี่ผิดจากกลยทุ ธใ์ นจดุ สมดุลได้พัฒนาการสําคัญใน ทฤษฎีเกมแบบไม่ร่วมมือท่ีเกิดขึ้นในทศวรรษ 1960 อีกข้อหนึ่งคือ การจําลองสถานการณ์ที่ผู้เล่นมีสารสนเทศไม่เท่ากัน จอห์น ฮาร์ ชาญี ได้ตีพิมพ์บทความท่ีเสนอแนวคิดเกมแบบเบยส์ (Bayesian game) ที่ตอนเรม่ิ เกมผ้เู ล่นแต่ละฝ่ายมีสารสนเทศสว่ นตวั ที่ทราบแต่ เพียงฝ่ายเดียว เรียกว่าเป็น \"ประเภท\" ของผู้เล่น และระบุว่าผู้เล่น ฝา่ ยอ่ืนเชื่อว่า ประเภทของผู้เล่นนี้มีการแจกแจงความน่าจะเป็นแต่ ละแบบอย่างไร ความสําคัญของทฤษฎีเกมในสาขาเศรษฐศาสตร์ ทําให้ นักวิจัยสาขาทฤษฎีเกมได้รับรางวัลเพื่อระลึกถึงอัลเฟรด โนเบล สาขาเศรษฐศาสตรห์ ลายคน โดยในปี 1994 จอห์น แนช, ไรน์ฮาร์ท เซ็ลเทิน และจอห์น ฮาร์ชาญี ได้รับรางวัลในปี 1994 ต่อมา รอ เบิร์ต ออมันน์ และทอมัส เชลลิง ได้รับรางวัลร่วมกันในปี 2005 โดยเชลลิงศึกษาทางด้านแบบจําลองพลวัต ซ่ึงเป็นตัวอย่างแรกๆ ของทฤษฎีเกมเชิงวิวัฒนาการ ออมันน์เน้นศึกษาเก่ียวกับดุลยภาพ ได้ริเริ่มดุลยภาพแบบหยาบ ดุลยภาพสหสัมพันธ์ และพัฒนาการ วิเคราะห์ท่ีเป็นระเบียบมากขึ้นสําหรับสมมติฐานที่เกี่ยวกับความรู้

[43] ร่วมและผลท่ีตามมา เลออนิด คูร์วิช, เอริก มัสกิน และโรเจอร์ ไม เออร์สัน ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ในปี 2007 จาก \"การวางรากฐานทฤษฎีการออกแบบกลไก\" และอัลวิน รอธ และ ลอยด์ แชปลีย์ ได้รับรางวัลในปี 2012 \"สําหรับทฤษฎีการจัดสรร อยา่ งคงทีแ่ ละการใชก้ ารออกแบบตลาด\" ตัวอยา่ งเกมท่ีมชี ่ือเสยี ง เกมความลาบากใจของนกั โทษ เกมความลําบากใจของนักโทษ (Prisoner's dilemma) เป็นเกมท่ีมีผู้เล่น 2 คนและทางเลือก 2 ทาง แนวคิดของเกมนี้ได้ สร้างข้ึนโดย เมอร์ริล ฟลูด และ เมลวิน เดรชเชอร์ ใน พ.ศ. 2493 โดยมลี ักษณะเป็นเกมทผี่ ู้เล่นทงั้ สองฝา่ ยพยายามเลือกทางเลือกท่ีได้ ผลตอบแทนมากที่สุด แต่กลับทําให้ผลตอบแทนรวมที่ได้ต่ําลง มีสถานการณ์ดังนี้ คนร้ายสองคนคือ A และ B ถูกตํารวจจับและถูกแยกไป สอบปากคาํ ทลี ะคน ตาํ รวจไม่สามารถดาํ เนินคดกี ับคนร้ายทั้งสองได้ ทันทีเพราะไม่มีพยาน คนร้ายแต่ละคนมีทางเลือกสองทางคือ รับ สารภาพ และไม่รับสารภาพ ถ้าคนร้ายคนหน่ึงรับสารภาพแต่อีกคน ไม่รับ ตํารวจจะกันคนท่ีรับสารภาพไว้เป็นพยานและปล่อยตัวไป และจะส่งฟ้องคนที่ไม่รบั สารภาพซ่ึงมีโทษจําคุก 20 ปี ถ้าทั้งสองคน รับสารภาพ จะได้รับการลดโทษเหลือจําคุกคนละ 10 ปี แต่ถ้าทั้ง สองคนไม่รับสารภาพ ตํารวจจะสามารถส่งฟ้องได้เพียงข้อหา เลก็ น้อยเท่านน้ั ซึ่งมีโทษจาํ คกุ 1 ปี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook