Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สวดมนต์ทำวัตร_เจริญพระพุทธมนต์

สวดมนต์ทำวัตร_เจริญพระพุทธมนต์

Published by DPD E-Lidrary, 2020-06-15 22:39:38

Description: สวดมนต์ทำวัตร_เจริญพระพุทธมนต์

Search

Read the Text Version

-1-

สารบญั 5 7 ทÉีมา : หนังสือสวดมนตแ์ ปล 12 หลกั การและวิธีอ่านภาษาบาลี 15 แนะนําพระปริตร เจด็ ตาํ นาน & สิบสองตาํ นาน แนะนําพระสตู รแปล 19 20 ส่วนทีÉ 1 ทาํ วตั ร 30 ทาํ วตั รเชา้ 40 ทําวตั รเยน็ 48 ทาํ วตั รพระ บอกวตั ร 59 60 ส่วนทÉี 2 พระปริตร เจด็ ตาํ นาน & สิบสองตาํ นาน 62 เชญิ ชุมนุมเทวดา 63 นมสั การ, สรณคมน์ 65 สมั พทุ เธ 66 นโมการฏั ฐกคาถา บทขดั ตํานาน -2-

มงคลสตู ร 69 รตั นสตู ร 76 กรณียเมตตสตู ร 84 ขนั ธปรติ ร 88 ฉทั ทนั ตปรติ ร (12 ตํานาน) 91 โมรปรติ ร 92 วฏั ฏกปรติ ร (12 ตํานาน) 96 ธชคั คสตู ร 98 อาฏานาฏยิ ปรติ ร 109 อาฏานาฏยิ ปรติ ร (12 ตาํ นาน) 115 องั คุลมิ าลปรติ ร 129 โพชฌงั คปรติ ร 131 อภยปรติ ร (ยนั ทุน, เชญิ เทวดากลบั ) (12 ตํานาน) 133 ชยปรติ ร (มหาการุณโิ ก) (12 ตํานาน) 137 รตนตั ตยปภาวาภยิ าจนคาถา 140 สขุ าภยิ าจนคาถา 143 มงคลจกั รวาฬ 146 -3-

ส่วนทÉี 3 พระสตู รแปล 152 ธมั มจกั กปั ปวตั ตนสตู ร 154 อนตั ตลกั ขณสตู ร 170 อาทติ ตปรยิ ายสตู ร 186 คริ มิ านนั ทสตู ร 198 มหาสมยั สตู ร 219 โคตมสี ตู ร 245 ส่วนทÉี 4 ปกิรณกคาถา 251 นมการสทิ ธคิ าถา (โย จกั ขุมา) 252 พทุ ธชยั มงคลคาถา (พาหุง) 254 ภทั เทกรตั ตคาถา 258 ตลิ กั ขณาทคิ าถา 259 โมกขปุ ายคาถา 262 ตายนคาถา 266 สพั พปัตตทิ านคาถา (อุทศิ สว่ นบญุ , อธษิ ฐานจติ ) 268 เกÉียวกบั Ebook ฉบบั นีÊ & Link ดาวน์โหลดไฟล์ 274 -4-

ทÉีมา : หนังสือสวดมนตแ์ ปล บทสวดมนต์และคาํ แปลใน Ebook ฉบบั นีÊคดั มาจาก หนังสือสวดมนต์แปล ฉ บับร วบร วม แ ล ะ แ ปล โด ย พร ะ ศ าส น โศ ภน (แ จ่ม จ ตฺต ส ลฺโล ) วัด ม กุฏกษัต ริยาร าม ลิขสิ ทธÍิ แ ล ะจัด พิม พ์โด ยม หาม กุฏร าชวิทยาลัย (ฉบบั พมิ พค์ รงัÊ ทÉี řř/Śŝśś) (พมิ พค์ รงัÊ ทÉี ř เมอÉื ปี ŚŜŠř) ภายในเล่ม ประกอบด้วยบทสวดมนตส์ าํ คญั ๆ มากมาย อาทิ - บทสวดมนตท์ าํ วตั ร : ทาํ วตั รเชา้ , ทาํ วตั รเยน็ , ทาํ วตั รพระ, บอกวตั ร - พระปริตร เจด็ ตาํ นาน & สิบสองตาํ นาน : เชญิ ชุมนุมเทวดา, สมั พุทเธ, นโมการฏั ฐกคาถา, มงคลสูตร, รตั นสตู ร, กรณียเมตตสูตร, ขนั ธปรติ ร, ฉทั ทนั ตปรติ ร, โมรปรติ ร, วฏั ฏกปรติ ร, ธชคั คสูตร, อาฏานาฏยิ ปรติ ร, องั คุลมิ าลปรติ ร, โพชฌงั คปรติ ร, อภยปรติ ร, ชยปรติ ร, ปกริ ณกคาถา, รตนตั ตยปภาวาภยิ าจนคาถา, สุขาภยิ าจนคาถา, มงคลจกั รวาฬ - พระสูตรแปล : ธมั มจกั กปั ปวตั นสตู ร, อนตั ตลกั ขณสตู ร, อาทติ ตปรยิ ายสตู ร, มหาสมยั สตู ร, คริ มิ านนั ทสตู ร, โคตมสี ูตร, มหาสตปิ ัฏฐานสตู ร, สงิ คาลกสูตร, กาลามสตู ร - อนุโมทนาวิธี เช่น อนุโมนารมั ภคาถา, มงคลจกั รวาลน้อย, .. - คาถาพิธี เชน่ คาถาจดุ เทยี นชยั , คาถาพชื มงคล, .. - ปกิรณกคาถาต่างๆ เช่น พทุ ธชยั มงคลคาถา (พาหงุ ), ภทั เทกรตั ตคาถา, .. -5-

ซÉึงในแต่ละบทสวด จะแบ่งเนืÊอหาเป็น Ś ฝังÉ ซา้ ยมอื เป็นบทสวดมนตภ์ าษาบาลี ขวามอื เป็นคาํ แปลภาษาไทย สะดวกในการทอ่ งอ่าน ทงัÊ นีÊ สามารถดาวน์โหลดไฟล์ PDF หนังสือสวดมนตแ์ ปล (ฉบบั เตม็ ŝŜŚ หน้า) ไดท้ Éี Link : https://tingŘşŜch.blogspot.com/ -6-

หลกั การและวิธีอ่านภาษาบาลี 1. พยัญชน ะทีÉไม่มีสร ะใ ด ปร ะกอ บ ให้อ่าน อ อ กเสียงเหมือ น มี ส ระอ ะ ประกอบ ภควโต -> ภะ-คะ-วะ-โต อิธ ตถาคโต -> อ-ิ ธะ ตะ-ถา-คะ-โต อเนกสตโกฏโย -> อะ-เน-กะ-สะ-ตะ-โก-ฏะ-โย 2. พยญั ชนะทีÉมพี ินทุ (จดุ ) อยู่ข้างใต้ เมÉือตามหลงั พยญั ชนะต้น ให้ทาํ หน้าทีÉ เป็นตวั สะกด 2.1 กรณีตามหลงั พยญั ชนะต้นทÉีไม่มสี ระ พยญั ชนะตน้ ทไÉี มม่ สี ระนันÊ คอื เสยี ง สระอะ เวลาออกเสยี งรวมกบั พยญั ชนะทมÉี พี นิ ทุซงÉึ เป็นตวั สะกด จะอ่านออกเสยี ง เหมอื นมี ไมห้ นั อากาศ + ตวั สะกด สพเฺ พ -> สพั -เพ ตมปฺ ิ -> ตมั -ปิ อนตตฺ า -> อะ-นตั -ตา 2.2 กรณีตามหลงั พยญั ชนะต้นทÉีมีสระ พยญั ชนะทÉมี พี นิ ทุ จะทําหน้าทÉเี ป็น ตวั สะกดของพยญั ชนะตน้ และสระนนัÊ พทุ โฺ ธ -> พทุ -โธ จิตตฺ านิ -> จติ -ตา-นิ โสตฺถี -> โสต-ถี -7-

3. พยญั ชนะทีÉมีนิ คหิต (วงกลมเล็ก) อยู่ข้างบน ให้อ่านอ อกเสียงนาสิก เหมือนมี -ง เป็นตวั สะกด (สะกดด้วยแม่กง) 3.1 กรณีพยญั ชนะทีÉไม่มีสระ พยญั ชนะทÉีไม่มสี ระนันÊ คือเสยี งสระอะ เมÉอื พยญั ชนะนันÊ มนี ิคหติ อยู่ข้างบน จงึ อ่านออกเสยี งเหมอื นมี ไม้หนั อากาศ + -ง สะกด ชาตํ -> ชา-ตงั สรณํ วรํ -> สะ-ระ-ณงั วะ-รงั 3.2 กรณีพยญั ชนะทีÉมีสระ เมÉอื พยญั ชนะนันÊ มนี ิคหติ อยขู่ า้ งบน ใหอ้ อกเสยี ง พยญั ชนะ และสระนนัÊ เหมอื นมี -ง เป็นตวั สะกด สตึ -> สะ-ตงิ ปตฺตุํ -> ปัต-ตุง ทงัÊ นÊี นคิ หติ จดั เป็นพยญั ชนะตวั หนÉึงในภาษาบาลี ใชป้ ระกอบกบั สระเสยี งสนัÊ 3 ตวั คอื อะ อิ อุ เป็น อํ อึ อุํ (ออกเสยี งนาสกิ เป็น องั องิ อุง) 4. คาํ ทÉีสะกดด้วย เ-ยฺ , อิยฺ 4.1 คาํ ทีÉสะกดด้วย เ-ยฺ นิ ยมออกเสียงเป็ น ไ-ย (ภาษาบาลี ไม่มสี ระเออ เวลาออกเสยี งคาํ นÊี จงึ ไมไ่ ดอ้ อกเสยี ง เอย อย่างในภาษาไทย ภาษาบาลคี าํ ทสÉี ะกดดว้ ย เ-ยฺ คอื สระเอ + ตวั สะกด ยฺ ซงÉึ ออกเสยี งยาก จงึ นิยมออกเสยี งเป็น ไ-ย) อาหเุ นยฺโย -> อา-หุ-ไนย-โย เสยยฺ ถีทํ -> ไสย-ยะ-ถ-ี ทงั 4.2 คาํ ทÉีสะกดด้วย อิยฺ ออกเสียงเป็น อีย นิยฺยานิโก -> นยี -ยา-นิ-โก -8-

5. อกั ษร ฑ ให้ออกเสียงเป็น ด ปณฺฑิโต -> ปัณ-ด-ิ โต 6. อกั ษร ห + สระ อี นิยมอ่านว่า ฮี หีโน -> ฮ-ี โน 7. การอ่านคาํ ทÉีเป็นเสียงกÉึงมาตรา / เสียงควบกลาํÊ 7.1 พยญั ชนะต้นซÉึงมพี ินทุ (จดุ ) อยู่ข้างใต้ เมืÉอตามด้วยพยญั ชนะ ย ร ล ว เวลาอ่านออกเสยี ง จะออกเสยี งพยญั ชนะต้นนันÊ เป็นเสยี งกงÉึ มาตรา ควบกลÊํากบั พยญั ชนะ ย ร ล ว ซงÉึ อยตู่ ดิ กนั พยฺ ชฺ นํ -> พะ-ยญั -ชะ-นงั (ออกเสยี ง พะ กงÉึ มาตรา, ควบกลาÊํ พะ-ยญั ) ทวฺ ิ -> ทะ-วิ (ออกเสยี ง ทะ กงÉึ มาตรา, ควบกลาÊํ ทะ-ว)ิ เทวฺ เม -> ทะ-เว-เม (ออกเสยี ง ทะ กงÉึ มาตรา, ควบกลาÊํ ทะ-เว) ตฺวํ -> ตะ-วงั (ออกเสยี ง ตะ กงÉึ มาตรา, ควบกลÊาํ ตะ-วงั ) สวฺ ากขาโต -> สะ-วาก-ขา-โต / สะ-หวาก-ขา-โต (ออกเสยี ง สะ กงÉึ มาตรา, ควบกลÊาํ สะ-วาก / สะ-หวาก) พรฺ ตู ิ -> พะ-ร-ู ติ (ออกเสยี ง พะ กงÉึ มาตรา, ควบกลาÊํ พะ-ร)ู ปลฺ วติ -> ปะ-ละ-วะ-ติ (ออกเสยี ง ปะ กงÉึ มาตรา, ควบกลÊาํ ปะ-ละ) สพฺพเกฺลเสหิ -> สพั -พะ-กะ-เล-เส-หิ (กฺ เป็นพยญั ชนะตน้ ของพยางคท์ สÉี าม) (ออกเสยี ง กะ กงÉึ มาตรา, ควบกลาÊํ กะ-เล) อินฺทรฺ ิยํ -> อนิ -ทะ-ร-ิ ยงั (ทฺ เป็นพยญั ชนะตน้ ของพยางคท์ สÉี อง) (ออกเสยี ง ทะ กงÉึ มาตรา, ควบกลาÊํ ทะ-ร)ิ -9-

7.2 พยญั ชนะทีÉมีพินทุ (จดุ ) อยู่ข้างใต้ ซึÉงทาํ หน้าทีÉเป็นตวั สะกด เมÉือตามด้วย พยญั ชนะ ย ร ล ว จะออกเสยี งเป็นทงัÊ ตวั สะกดของพยางคแ์ รก และออกเสยี ง กงÉึ มาตรา ควบกลÊาํ กบั พยญั ชนะ ย ร ล ว ซงÉึ อยตู่ ดิ กนั ในพยางคถ์ ดั ไป อพยฺ ากตา -> อพั -พะ-ยา-กะ-ตา (ออกเสยี ง พะ กงÉึ มาตรา, ควบกลาÊํ พะ-ยา) สกฺยมนุ ี -> สกั -กะ-ยะ-ม-ุ นี (ออกเสยี ง กะ กงÉึ มาตรา, ควบกลÊาํ กะ-ยะ) กลยฺ าโณ -> กลั -ละ-ยา-โณ (ออกเสยี ง ละ กงÉึ มาตรา, ควบกลาÊํ ละ-ยา) ภทรฺ านิ -> ภทั -ทะ-รา-นิ (ออกเสยี ง ทะ กงÉึ มาตรา, ควบกลาÊํ ทะ-รา) อ ญฺ ตรฺ -> อญั -ญตั -ตะ-ระ (ออกเสยี ง ตะ กงÉึ มาตรา, ควบกลาÊํ ตะ-ระ) กตวฺ า -> กตั -ตะ-วา (ออกเสยี ง ตะ กงÉึ มาตรา, ควบกลÊาํ ตะ-วา) สตุ ฺวา -> สุต-ตะ-วา (ออกเสยี ง ตะ กงÉึ มาตรา, ควบกลÊาํ ตะ-วา) ทงัÊ นÊี กรณี สะกดด้วย ยฺ ตามด้วย ย และสะกดดว้ ย ลฺ ตามด้วย ล ให้ ออกเสยี งเป็นตวั สะกดอย่างเดยี ว ไม่ต้องออกเสยี งกÉงึ มาตรา เช่น เสยฺยํ อ่านว่า ไสย-ยงั , กลฺลํ อ่านว่า กลั -ลงั 7.3 เมืÉอสะกดด้วย สฺ และตามด้วยพยญั ชนะอÉืน จะออกเสยี งเป็นทงัÊ ตัว สะกดของพยางคแ์ รก และออกเสยี ง ส กÉงึ มาตรา ควบกลÊํากบั พยญั ชนะตามใน พยางคถ์ ดั ไป ตสมฺ า -> ตสั -สะ-มา / ตสั -สะ-หมา (ออกเสยี ง สะ กงÉึ มาตรา) ตสมฺ ิง -> ตสั -สะ-มงิ / ตสั -สะ-หมงิ (ออกเสยี ง สะ กงÉึ มาตรา) ทิสวฺ า -> ทสิ -สะ-วา / ทสิ -สะ-หวา (ออกเสยี ง สะ กงÉึ มาตรา) ทงัÊ นÊี กรณี สะกดดว้ ย สฺ ตามดว้ ย ส ใหอ้ อกเสยี งเป็นตวั สะกดอย่างเดยี ว ไมต่ อ้ งออกเสยี งกงÉึ มาตรา เช่น ตสฺส อ่านวา่ ตสั -สะ - 10 -

อนÉึง ภาษาบาลี ไมม่ วี รรณยกุ ต์ (เช่นเดยี วกบั ภาษาองั กฤษ) การออกเสยี ง คํา/พยางค์ เป็นเสยี งสูง กลาง หรอื ตÉํา ไม่ได้ทาํ ใหค้ วามหมายของคําเปลÉยี นไป การจะใช้ระดบั เสยี งอย่างไร ขÊนึ อยู่กับเนÊือหาและอารมณ์ขณะพูด เช่น ตสฺมา สามารถออกเสยี งไดท้ งัÊ ตสั -สะ-มา, ตสั -สะ-มา๊ , ตสั -สะ-หมา 7.4 การอ่านคาํ พรฺ หฺม , พรฺ าหมฺ ณ พรฺ หมฺ อ่านวา่ พรมั -มะ (ออกเสยี งควบกลาÊํ ) พรฺ าหฺมณ อ่านวา่ พราม-มะ-ณะ (ออกเสยี งควบกลÊาํ ) พรฺ หมฺ จริยํ -> พรมั -มะ-จะ-ร-ิ ยงั พรฺ หฺมโุ น -> พรมั -ม-ุ โน พรฺ าหฺมณา -> พราม-มะ-ณา ทงัÊ นÊี ในหนังสอื สวดมนต์ทÉเี ป็นคําอ่านภาษาไทย จะใช้เครÉอื งหมายยามกั การ ซงÉึ มลี กั ษณะคลา้ ยเลข 3 กลบั ด้าน เตมิ เหนือพยญั ชนะเพÉอื แสดงการออกเสยี งกÉงึ มาตรา / ควบกลาÊํ เชน่ กตั ๎วา (กตฺวา), ตสั ๎มา (ตสฺมา) - 11 -

แนะนําพระปริตร เจด็ ตาํ นาน & สิบสองตาํ นาน มงคลสตู ร < หน้า 69 > สมเด็จพระโลกนาถได้เทศนามงคลอันสูงสุด เครÉืองยังลามกทังÊ ปวงให้ ฉิบหายไป : มงคลชวี ติ śŠ ประการ ซงÉึ เมÉอื เทพดาและมนุษยท์ งัÊ หลายกระทาํ แลว้ ยอ่ มเป็นผไู้ มพ่ า่ ยแพแ้ ละถงึ ความสวสั ดใี นททÉี งัÊ ปวง รตั นสตู ร < หน้า 76 > พรรณนาคุณของพระพุทธเจา้ พระธรรม และพระสงฆ,์ ยงั ภยั ś ประการ อนั เกดิ จากโรค อมนุษย์ และขา้ วแพงในเมอื งเวสาลี ใหอ้ นั ตรธานไปโดยเรว็ พลนั ทรพั ย์เครÉอื งปลÊมื ใจ อนั ใดอนั หนÉึง ในโลกนÊีหรอื โลกอÉืน หรอื รตั นะอนั ใด อนั ประณตี ในสวรรค์ รตั นะอนั นันÊ เสมอดว้ ยพระตถาคตเจา้ ไม่มเี ลย แมอ้ นั นÊี เป็น รตั นะอนั ประณตี ในพระพุทธเจา้ ดว้ ยคาํ สตั ยน์ Êี ขอความสวสั ดจี งมี กรณียเมตตสตู ร < หน้า 84 > ขอสตั วท์ งัÊ ปวง จงเป็นผมู้ สี ขุ มคี วามเกษม มตี นถงึ ความสขุ เถดิ , บุคคลพงึ เจรญิ เมตตา มใี นใจ ไมม่ ปี ระมาณไปในโลกทงัÊ สนÊิ , ช่วยใหห้ ลบั เป็นสขุ ไมฝ่ ันรา้ ย ขนั ธปริตร < หน้า 88 > ความเป็นมติ รของเรา จงมกี บั พระยานาคทงัÊ หลาย จงมกี บั สตั ว์ทงัÊ หลาย สตั วท์ งัÊ หลายอยา่ เบยี ดเบยี นเรา ฉัททนั ตปริตร < หน้า 91 > พระยาชา้ งโพธสิ ตั วแ์ มถ้ ูกศร แต่เป็นผูส้ งบระงบั ได้ ไมท่ ําใจประทุษรา้ ยใน ผา้ กาสาวพสั ตร์ - 12 -

โมรปริตร < หน้า 92 > คาถาพญานกยงู ทอง : นโม วมิ ุตฺตานํ นโม วมิ ตุ ฺตยิ า ความนอบน้อม ของขา้ จงมแี ดท่ ่านผพู้ น้ แลว้ ทงัÊ หลาย ความนอบน้อมของขา้ จงมแี ด่วมิ ตุ ตธิ รรม วฏั ฏกปริตร < หน้า 96 > ไฟป่าหลกี มหาสตั ว์ ผบู้ งั เกดิ ในกาํ เนดิ นกคมุ่ ไฟ อาศยั กาํ ลงั สจั จะ ทาํ สจั จกริ ยิ า ธชคั คสตู ร < หน้า 98 > ทมÉี าของบทสวดอติ ปิ ิโส, เมÉอื เกดิ ความกลวั ความหวาดสะดุง้ ขนพอง สยองเกลา้ พงึ ระลกึ ถงึ พระสมั พุทธเจา้ พระธรรม และพระสงฆ์ อาฏานาฏิยปริตร < หน้า 109, 115 > ขอนอบน้อมและสรรเสรญิ คุณของพระสมั มาสมั พุทธเจา้ , ขอวนั ทาพระบาท ของพระพุทธเจา้ ทงัÊ หลายเหล่านันÊ ดว้ ยเศยี รเกล้า, เพÉอื ความคุม้ ครองตนจากหมู่ อมนุษยท์ รÉี า้ ยกาจ องั คลุ ิมาลปริตร < หน้า 129 > พระองคลุ มิ าลเถระกล่าวคาํ สตั ย,์ ยงั ความคลอดจากครรภใ์ หส้ าํ เรจ็ โดยสวสั ดี โพชฌงั คปริตร < หน้า 131 > โพชฌงค์ ş ประการ อนั เป็นองค์เครÉืองตรสั รู้ ยงั ทุกข์ทังÊ ปวงแห่งสตั ว์ ทงัÊ หลายใหพ้ นิ าศ, สมยั หนÉึงพระโลกนาถเจา้ ทอดพระเนตรพระโมคคลั ลานะและ พระกสั สปะ เป็นไขถ้ งึ ทุกขเวทนาแลว้ ทรงแสดงโพชฌงค์ ş ประการ ท่านทงัÊ สอง กเ็ พลดิ เพลนิ ภาษติ นนัÊ หายโรคในขณะนนัÊ - 13 -

อภยปริตร < หน้า 133 > คาถายนั ทุน : ลางชวัÉ รา้ ยและอวมงคลอนั ใด เสยี งนกเป็นทไÉี ม่ชอบใจอนั ใด และบาปเคราะหอ์ นั ใด สุบนิ ชวัÉ อนั ไม่พอใจอนั ใด มอี ยู่ ขอสงÉิ เหล่านันÊ จงถงึ ความ พนิ าศไป ดว้ ยอานุภาพพระพุทธเจา้ พระธรรมเจา้ พระสงฆเจา้ ชยปริตร < หน้า 137 > สรรเสรญิ คุณพระผู้มพี ระภาคเจ้า, ขอชยั มงคลจงมแี ก่ท่าน ขอท่านจงมี ชยั ชนะในมงคลพธิ ี หมายเหตุ : - พระปริตรหลกั ของ ş ตาํ นาน ได้แก่ มงคลสูตร, รตั นสตู ร, กรณียเมตตสตู ร, ขนั ธปรติ ร, โมรปรติ ร, ธชคั คสูตร, อาฏานาฏยิ ปรติ ร, องั คุลมิ าลปรติ ร, โพชฌงั คปรติ ร - พระปริตรหลกั ของ řŚ ตาํ นาน ได้แก่ มงคลสตู ร, รตั นสูตร, กรณียเมตตสูตร, ขนั ธปรติ ร, ฉัททนั ตปรติ ร, โมรปรติ ร, วฏั ฏกปรติ ร, ธชคั คสูตร, อาฏานาฏยิ ปรติ ร, องั คลุ มิ าลปรติ ร, โพชฌงั คปรติ ร, อภยปรติ ร, ชยปรติ ร - อภยปรติ ร และชยปรติ ร ในเจด็ ตํานาน จะอย่ใู นบทปกริ ณกคาถาสาํ หรบั สวดต่อ เจด็ ตาํ นาน - คาถาสาํ หรบั สวดต่อเจด็ ตํานาน & สบิ สองตาํ นาน ไดแ้ ก่ รตนัตตยปภาวาภยิ าจน คาถา, สุขาภยิ าจนคาถา และ มงคลจกั รวาฬ - 14 -

แนะนําพระสตู รแปล ธมั มจกั กปั ปวตั ตนสตู ร < หน้า 154 > ปฐมเทศนาทพÉี ระตถาคตเจา้ ทรงแสดงแก่เหล่าพระปัญจวคั คยี ์ : ทสÉี ุด Ś อยา่ ง อนั บรรพชติ ไมค่ วรเสพ, ทางสายกลาง คอื มรรคมอี งค์ Š, อรยิ สจั Ŝ ไดแ้ ก่ ทุกข,์ เหตุแห่งทุกข,์ ความดบั ทุกข์ และขอ้ ปฏบิ ตั ใิ หถ้ งึ ความดบั ทุกข์ ซงÉึ ก็คอื มรรคมี องค์ Š (ปัญญาอนั เหน็ ชอบ, ความดํารชิ อบ, วาจาชอบ, การงานชอบ, ความเลยÊี ง ชวี ติ ชอบ, ความเพยี รชอบ, ความระลกึ ชอบ และความตงัÊ จติ ชอบ) อนัตตลกั ขณสตู ร < หน้า 170 > พระสมั พุทธเจา้ ได้ทรงประกาศอนัตตลกั ขณะ เป็นธรรมอนั ปลดเปลอÊื งการ ถอื มนัÉ ดว้ ยอนั กล่าวว่าตน และความสาํ คญั ว่าตน แก่เหล่าพระปัญจวคั คยี ์ : ขนั ธ์ ŝ (รปู เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ) เป็นอนตั ตา (มใิ ชต่ น) ไม่เทยÉี ง เป็นทุกข์ มคี วามแปรปรวนไปเป็นธรรมดา นันÉ ไมใ่ ช่ของเรา เราไม่เป็นนันÉ เป็นนÉี นันÉ ไม่ใช่ ตนของเรา อาทิตตปริยายสตู ร < หน้า 186 > พระพุทธเจา้ ไดท้ รงแสดงอาทติ ตปรยิ ายเป็นเครÉอื งนําใจแก่พวกพระโยคี ซÉงึ เป็นชฎลิ เคยบาํ เรอไฟ : สงÉิ ทงัÊ ปวงเป็นของรอ้ น (นัยน์ตา - รปู , หู - เสยี ง, จมกู - กลนÉิ , ลนÊิ - รส, กาย - โผฏฐพั พะ, ใจ - อารมณ์ทเÉี กดิ แก่ใจ : เป็นของรอ้ น) - 15 -

คิริมานันทสตู ร < หน้า 198 > สญั ญา 10 ประการ ทพÉี ระพทุ ธเจา้ ทรงตรสั กบั พระอานนท์ ใหน้ ําไปแสดงแก่ พระภกิ ษุคริ มิ านนท์ ทÉกี ําลงั อาพาธหนัก ซÉงึ เมÉอื ท่านไดร้ บั ฟังสญั ญา 10 ประการ แลว้ กห็ ายจากอาพาธนนัÊ ความกําหนดหมายว่าไมเ่ ทยÉี ง, ว่าไม่ใช่ตน, ว่าไมง่ าม, ว่าเป็นโทษ ความ กําหนดหมายในการละ, ในธรรมอนั ปราศจากราคะ, ในธรรมเป็นทÉดี บั , ในความ ไม่ยนิ ดใี นโลกทงัÊ ปวง ความกําหนดหมายโดยความไม่ปรารถนาในสงั ขารทงัÊ ปวง และสตกิ าํ หนดลมหายใจเขา้ ออกเป็นอารมณ์ มหาสมยั สตู ร < หน้า 219 > พระสมั พุทธเจา้ ไดท้ รงแสดงพระสูตรเป็นทรÉี กั ทพÉี งึ ใจแห่งจติ ของเหล่าเทพดา ใน 10 โลกธาตุ ทÉีมาประชุมกนั เพÉอื ทสั สนาพระสมั พุทธเจ้า และพระภกิ ษุสงฆ์ ผบู้ รสิ ุทธ์ ซงÉึ ประทบั อยู่ ณ ป่ามหาวนั ใกลก้ รงุ กบลิ พสั ดุ์ ในสกั กชนบท โคตมีสตู ร < หน้า 245 > พระโลกนาถไดท้ รงแสดงพระสตู รสาํ หรบั วนิ ิจฉัยธรรม และอธรรม เพÉอื เป็น แบบสาํ หรบั สาธุชน - 16 -

ท่านทÉีสนใจสามารถศึกษาพระสตู รแปลเพิÉมเติม ไดจ้ ากในเลม่ หนงั สอื สวดมนตแ์ ปล อาทิ มหาสติปัฏฐานสตู ร (หนงั สอื สวดมนตแ์ ปล หน้า 330 - 463) ทางนÊีเป็นทÉไี ปอนั เอก เพÉอื กระทําพระนิพพานใหแ้ จง้ ทางนÊีคอื สติปัฏฐาน (ธรรมเป็นทตÉี งัÊ แห่งสต)ิ 4 อยา่ ง ไดแ้ ก่ การพจิ ารณาเหน็ กายในกายเนืองๆ อยู่ การพจิ ารณาเหน็ เวทนาในเวทนาเนืองๆ อยู่ การพจิ ารณาเหน็ จติ ในจติ เนืองๆ อยู่ และการพจิ ารณาเหน็ ธรรมในธรรมเนอื งๆ อยู่ พระสูตรนÊีเป็นพระสูตรค่อนข้างยาว อธิบายวิธพี ิจารณา วธิ ีปฏิบตั ิอย่าง ละเอยี ด สิงคาลกสตู ร (หนงั สอื สวดมนตแ์ ปล หน้า 464 - 505) ในวนิ ยั ของพระอรยิ เจา้ ทศิ 6 นอบน้อมกนั อยา่ งไร ? กรรมกเิ ลส 4 อยา่ ง อนั อรยิ สาวกละไดแ้ ลว้ (ฆ่าสตั ว์ 1, ลกั ทรพั ย์ 1, พดู ปด 1, ถงึ ภรรยาของชายอÉนื 1 บณั ฑติ ไมส่ รรเสรญิ เลย) อรยิ สาวก ยอ่ มไมท่ าํ กรรมอนั เป็นบาปดว้ ยสถาน 4 อรยิ สาวก ไม่เสพเครอÉื งฉิบหายแห่งสมบตั ิ 6 อย่าง (การดÉมื นÊําเมา, การเทยÉี ว เล่นในตรอกมดื ในกาลผดิ เวลาเนืองๆ, ความเทยÉี วดูการเล่น, การเล่นพนัน, ความ คบมติ รชวัÉ เนืองๆ, ความเป็นคนเกยี จครา้ นเนืองๆ) ทศิ 6 ทศิ และวธิ ปี ฏบิ ตั ติ นต่อทศิ ทงัÊ 6 ไดแ้ ก่ มารดาบดิ า เป็นทศิ เบอÊื งหน้า, อาจารย์ เป็นทศิ เบอÊื งขวา, บุตรภรรยา เป็นทศิ เบอÊื งหลงั , เพÉอื น เป็นทศิ เบอÊื งซา้ ย, บ่าวไพร่ เป็นทศิ เบอÊื งตÉํา และสมณพราหมณ์ เป็นทศิ เบอÊื งบน - 17 -

กาลามสตู ร (หนงั สอื สวดมนตแ์ ปล หน้า 506 - 533) วธิ พี จิ ารณาวา่ ใครพดู จรงิ ใครพดู เทจ็ ? ท่านอยา่ ไดถ้ อื โดยฟังตามๆ กนั มา, โดยเขา้ ใจว่าเป็นของเก่าสบื ๆ กนั มา, โดย ตÉนื ขา่ ว, โดยอา้ งตํารา, โดยเหตุนึกเดาเอา, โดยใชค้ าดคะเน, โดยความตรกึ ตาม อาการ, โดยชอบใจว่าต้องกนั กบั ลทั ธขิ องตน, โดยเชÉอื ว่า ผูพ้ ูดควรเชÉอื ได,้ โดยนับ ถอื วา่ สมณะผนู้ Êีเป็นครขู องเรา เมÉอื ใดท่านรดู้ ้วยตนเองว่า ธรรมเหล่านÊี เป็นกุศล ไม่มโี ทษ ท่านผู้รสู้ รรเสรญิ ใครสมาทานให้เต็มทÉีแล้ว ย่อมเป็นไปเพÉือประโยชน์ เพÉือสุข เมÉอื นันÊ ท่านพึง ถงึ พรอ้ มธรรมเหลา่ นนัÊ อยู่ ทงัÊ นีÊ สามารถดาวน์โหลดไฟล์ PDF หนังสือสวดมนต์แปล (ฉบบั เต็ม 542 หน้า) ไดท้ Éี Link : https://tingŘşŜch.blogspot.com/ - 18 -

ส่วนทÉี 1 ทาํ วัตร ทาํ วตั รเชา้ ทาํ วตั รเย็น ทาํ วตั รพระ บอกวตั ร - 19 -

ทาํ วตั รเชา้ นโม ตสสฺ ภควโต ขอนอบน้อม แด่พระผ้มู ีพระภาค อรหโต สมมฺ าสมพฺ ทุ ฺธสสฺ . อรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจ้า พระองคน์ ันÊ . โย โส ตถาคโต พทุ ธาภถิ ุติ อรหํ พระตถาคตเจ้านันÊ พระองคใ์ ด สมมฺ าสมพฺ ทุ ฺโธ เป็นผไู้ กลกิเลส เป็นผคู้ วรไหว้ ควร วิชฺชาจรณสมปฺ นฺโน บชู า สคุ โต เป็นผรู้ ชู้ อบเอง โลกวิทู เป็นผ้บู ริบรู ณ์แล้วด้วยวิชชาและจรณะ อนุตตฺ โร ปรุ ิสทมมฺ สารถิ เป็นผไู้ ปดีแล้ว เป็นผทู้ รงร้โู ลก สตถฺ า เทวมนุสสฺ านํ เป็นผฝู้ ึ กบรุ ษุ ทีÉควรฝึ ก ไม่มีผอู้ Éืน ยิÉงกว่า พทุ ฺโธ เป็นผสู้ อนของเทวดา และมนุษย์ ภควา ทงัÊ หลาย เป็นผเู้ บิกบานแล้ว เป็นผจู้ าํ แนกธรรม - 20 -

โย พระองคใ์ ด อิมํ โลกํ สเทวกํ สมารกํ สพรฺ หฺมกํ สสสฺ มณพรฺ าหฺมณึ ทาํ ให้แจ้งด้วยปัญญาอนั ยÉิงเองแล้ว ปชํ สเทวมนุสสฺ ํ สยํ อภิ ญฺ า สอนโลกนีÊ กบั ทงัÊ เทวดา มาร พรหม สจฉฺ ิกตฺวา ปเวเทสิ. และหม่สู ตั ว์ พรอ้ มทงัÊ สมณพราหมณ์ โย และเทวดา มนุษย์ ให้รตู้ าม. ธมมฺ ํ เทเสสิ อาทิกลยฺ าณํ พระองคใ์ ด มชฺเฌกลฺยาณํ ปริโยสานกลยฺ าณํ ทรงแสดงแล้วซึÉงธรรม สาตถฺ ํ สพยฺ ชฺ นํ เกวลปริ- ปณุ ฺณํ ปริสทุ ธฺ ํ พรฺ หมฺ จริยํ ไพเราะในเบือÊ งต้น ปกาเสสิ ตมหํ ภควนฺตํ อภิปชู ยามิ ไพเราะในท่ามกลาง ตมหํ ภควนฺตํ สิรสา นมามิ. ไพเราะในทÉีสดุ ประกาศพรหมจรรย์ พร้อมทงัÊ อรรถ พรอ้ มทงัÊ พยญั ชนะ บริสุทธÍิบริบูรณ์ สิÊนเชิง ข้าพเจ้า ขอบชู าโดยยÉิง ซÉึงพระผมู้ ี พระภาคเจ้าพระองคน์ ันÊ ข้าพเจ้า ขอนอบน้อมซึÉงพระผมู้ ีพระ ภาคเจ้าพระองคน์ ันÊ ด้วยเศียรเกล้า. - 21 -

โย โส สวฺ ากฺขาโต ธมั มาภิถุติ ภควตา ธมโฺ ม สนฺทิฏฺฐิโก พระธรรมนันÊ อนั ใด อนั พระผมู้ ีพระ อกาลิโก ภาคเจ้า ตรสั ดีแล้ว เอหิปสสฺ ิโก โอปนยิโก เป็นของอนั บคุ คลพึงเหน็ เอง ปจจฺ ตตฺ ํ เวทิตพโฺ พ วิ ฺ หู ิ เป็ น ขอ งไม ่ม ีกาล เวล า ตมหํ ธมมฺ ํ อภิปชู ยามิ เป็นของจะร้องเรียกผอู้ Éืนให้มาดไู ด้ ตมหํ ธมมฺ ํ สิรสา นมามิ. เป็นของอนั บคุ คลพึงน้อมเข้ามาใส่ใจ เป็นของอนั วิญsชู นทงัÊ หลายพึงรู้ เฉพาะตวั ข้าพเจ้าขอบชู าโดยยิÉง ซÉึงพระธรรม อนั นันÊ ข้าพเจ้าขอนอบน้อมซÉึงพระธรรมอนั นันÊ ด้วยเศียรเกล้า. โย โส สปุ ฏิปนฺโน สงั ฆาภถิ ุติ ภควโต สาวกสงฺโฆ พระสงฆส์ าวกของพระผมู้ ีพระภาคเจ้านันÊ อชุ ุปฏิปนฺโน ภควโต หมใู่ ด เป็นผปู้ ฏิบตั ิดีแล้ว สาวกสงฺโฆ พระสงฆส์ าวกของพระผ้มู ีพระภาคเจ้า (หมใู่ ด) เป็นผปู้ ฏิบตั ิตรงแล้ว - 22 -

ญายปฏิปนฺโน ภควโต พระสงฆส์ าวกของพระผ้มู ีพระภาคเจ้า สาวกสงฺโฆ (หมใู่ ด) เป็นผ้ปู ฏิบตั ิถกู แล้ว สามจี ิปฏิปนฺโน ภควโต พระสงฆส์ าวกของพระผ้มู ีพระภาคเจ้า สาวกสงฺโฆ (หมใู่ ด) เป็นผปู้ ฏิบตั ิชอบแล้ว ยทิทํ คือ จตฺตาริ ปรุ ิสยคุ านิ ค่แู ห่งบรุ ษุ ทงัÊ หลาย 4 อฏฺฐ ปรุ ิสปคุ คฺ ลา บรุ ษุ บคุ คลทงัÊ หลาย 8 เอส ภควโต สาวกสงฺโฆ นÉีพระสงฆส์ าวก ของพระผมู้ พี ระ ภาคเจ้า อาหเุ นยโฺ ย ท่านเป็นผคู้ วรสกั การะทีÉเขานํามาบชู า ปาหเุ นยฺโย ท่านเป็นผคู้ วรของต้อนรบั ทกขฺ ิเณยฺโย ท่านเป็นผคู้ วรทกั ษิณาทาน อ ชฺ ลิกรณีโย ท่านเป็นผคู้ วรอญั ชลีกรรม อนุตตฺ รํ ปุ ฺญกเฺ ขตตฺ ํ โลกสสฺ ท่านเป็นนาบญุ ของโลก ไม่มีนาอÉืน ยÉิงกว่า ตมหํ สงฺฆํ อภิปชู ยามิ ข้าพเจ้าขอบชู าโดยยÉิง ซÉึงพระสงฆ์ หม่นู ันÊ ตมหํ สงฺฆํ สิรสา นมามิ. ข้าพเจ้าขอนอบน้อม ซÉึงพระสงฆ์ หม่นู ันÊ ด้วยเศียรเกล้า. - 23 -

รตนตั ตยปณามคาถา พทุ โฺ ธ สสุ ทุ ฺโธ กรณุ า- พระพทุ ธเจ้าพระองคใ์ ด เป็นผหู้ มดจด มหณฺณโว โยจจฺ นฺตสทุ ธฺ พพฺ ร- ดีแล้ว มีพระกรณุ าดจุ ห้วงมหรรณพ ญาณโลจโน มีพระปัญญาจกั ษุหมดจดแล้ว โดย ส่วนเดียว โลกสสฺ ปาปปู กิเลสฆาตโก ฆ่าบาปและอปุ กิเลสแห่งโลก วนฺทามิ พทุ ธฺ ํ อหมาทเรน ตํ ข้าพเจ้าขอไหว้พระพทุ ธเจ้าพระองค์ นันÊ โดยความเคารพ ธมโฺ ม ปทีโป วิย ตสสฺ พระธรรมของพระศาสดาจารยเ์ จ้า สตฺถโุ น พระองคน์ ันÊ ราวกบั ประทีป โย มคคฺ ปากามตเภทภินฺนโก พระธรรมอนั ใดต่างโดยประเภท คือ ม รรค ผล แ ล ะนิ พพาน โลกตุ ตฺ โร โย จ ตทตถฺ ทีปโน เป็นธรรมข้ามโลก และธรรมอนั ใด ส่องเนืÊอความแห่งโลกตุ ตรธรรมนันÊ วนฺทามิ ธมมฺ ํ อหมาทเรน ตํ ข้าพเจ้าขอไหว้พระธรรมอนั นันÊ โดย ความเคารพ สงฺโฆ สเุ ขตฺตาภยฺ ติเขตฺต- พระสงฆห์ มใู่ ดจดั เป็นนาดียÉิงกว่านา ทีÉดี มีความระงบั อนั ประจกั ษ์แล้ว ส ญฺ ิโต โย ทิฏฺฐสนฺโต รตู้ ามเสดจ็ พระสคุ ตเจ้า สคุ ตานุโพธโก - 24 -

โลลปปฺ หีโน อริโย สเุ มธโส มกี ิเลสโลเลอนั ละได้แล้ว เป็นอริยเจ้ามปี ัญญาดี วนฺทามิ สงฺฆํ อหมาทเรน ตํ ข้าพเจ้าขอไหว้พระสงฆห์ ม่นู ันÊ โดย อิจเฺ จวเมกนฺตภิปชู เนยยฺ กํ ความเคารพ วตถฺ ตุ ตฺ ยํ วนฺทยตาภิสงฺขตํ ปุ ญฺ ํ มยายํ มม สพพฺ ปุ ททฺ วา บญุ อนั ใด ทÉีข้าพเจ้าไหว้วตั ถุ 3 มา โหนฺตุ เว ตสสฺ ปภาว- ซÉึงเป็นของควรบชู าโดยส่วนเดียว สิทธฺ ิยา. สงัÉ สมแล้วอย่างนีÊๆ ขอสรรพอปุ ัทวะ ทงัÊ หลายจงอย่ามี ด้วยความ ประสิทธานุภาพแห่งบญุ นันÊ แล. สงั เวคปรกิ ิตตนปาฐ อิธ ตถาคโต โลเก ในโลกนีÊ พระตถาคตอรหนั สมั มา อปุ ปฺ นฺโน อรหํ สมมฺ าสมพฺ ทุ ฺโธ สมั พทุ ธเจ้าได้เกิดขึÊนแล้ว ธมโฺ ม จ เทสิโต และธรรมอนั พระตถาคตเจ้าทรง แสดงแล้ว นิยยฺ านิโก เป็นไปเพÉือนําสตั วอ์ อก อปุ สมิโก เป็นไปเพืÉออนั สงบระงบั ปรินิพพฺ านิโก เป็นไปเพืÉออนั ดบั รอบ สมโฺ พธคามี ให้ถงึ ความตรสั รู้ - 25 -

สคุ ตปปฺ เวทิโต พระสคุ ตประกาศแล้ว มยนฺตํ ธมมฺ ํ สตุ ฺวา เอวํ ชานาม เราได้ฟังธรรมนันÊ แล้ว จึงรอู้ ย่างนีÊว่า ชาติปิ ทกุ ขฺ า แมค้ วามเกิด เป็นทกุ ข์ ชราปิ ทกุ ฺขา แม้ความแก่ เป็นทุกข์ มรณมปฺ ิ ทุกขฺ ํ แม้ความตาย เป็นทกุ ข์ โสกปริเทวทกุ ขฺ โทมนสสฺ ุ- แมค้ วามแห้งใจ ความราํÉ ไรเพ้อ ปายาสาปิ ทกุ ฺขา ความทุกข์ ความเสียใจ ความคบั แค้นใจ เป็นทุกข์ อปปฺ ิ เยหิ สมปฺ โยโค ทุกฺโข ความประจวบสิÉงอนั ไม่เป็นทีÉรกั เป็ น ทุกข ์ ปิ เยหิ วิปปฺ โยโค ทุกฺโข ความพลดั พรากจากสÉิงอนั เป็นทÉีรกั เป็ น ทุกข ์ ยมปฺ ิ จฉฺ ํ น ลภติ ปรารถนาอย่ยู ่อมไม่ได้ แม้อนั ใด ตมปฺ ิ ทุกฺขํ แม้อนั นันÊ เป็นทกุ ข์ สงฺขิตเฺ ตน ป จฺ ปุ าทานกฺขนฺธา โดยย่อ อปุ าทานขนั ธ์ 5 เป็นทกุ ข์ ทุกฺขา เสยยฺ ถที ํ กล่าวคือ รปู ปู าทานกฺขนฺโธ อปุ าทานขนั ธ์ คือ รปู - 26 -

เวทนูปาทานกฺขนฺโธ อปุ าทานขนั ธ์ คือ เวทนา ส ฺ ปู าทานกขฺ นฺโธ อปุ าทานขนั ธ์ คือ สญั ญา สงฺขารปู าทานกฺขนฺโธ อปุ าทานขนั ธ์ คือ สงั ขาร วิ ญฺ าณูปาทานกขฺ นฺโธ อปุ าทานขนั ธ์ คือ วิญญาณ เยสํ ปริ ญฺ าย ธรมาโน เมอืÉ พระผมู้ ีพระภาคเจ้า ยงั ดาํ รง โส ภควา เอวํ พหลุ ํ พระชนมอ์ ยู่ ย่อมแนะนําสาวก สาวเก วิเนติ ทงัÊ หลายเพÉือให้กาํ หนดร้อู ปุ าทาน ขนั ธ์ 5 อย่างนีÊโดยมาก เอวํ ภาคา จ ปนสสฺ ภควโต กแ็ ลอนุสาสนีเป็นอนั มากของพระผมู้ ี สาวเกสุ อนุสาสนี พหลุ า พระภาคเจ้าพระองคน์ ันÊ เป็นไปใน ปวตตฺ ติ สาวกทงัÊ หลาย มีส่วนอย่างนีÊ รปู ํ อนิจจฺ ํ รปู ไม่เทีÉยง เวทนา อนิจจฺ า เวทนา ไม่เทีÉยง ส ญฺ า อนิจจฺ า สญั ญา ไม่เทีÉยง สงฺขารา อนิจจฺ า สงั ขารทงัÊ หลาย ไม่เทีÉยง วิ ญฺ าณํ อนิจจฺ ํ วิญญาณ ไม่เทÉียง รปู ํ อนตฺตา รปู เป็นอนัตตา เวทนา อนตตฺ า เวทนา เป็นอนัตตา - 27 -

ส ญฺ า อนตตฺ า สญั ญา เป็นอนัตตา สงฺขารา อนตฺตา สงั ขารทงัÊ หลาย เป็นอนัตตา วิ ญฺ าณํ อนตตฺ า วิญญาณ เป็นอนัตตา สพเฺ พ สงฺขารา อนิจจฺ า สงั ขารทงัÊ หลายทงัÊ ปวง ไม่เทÉียง สพเฺ พ ธมมฺ า อนตตฺ าติ ธรรมทงัÊ หลายทงัÊ ปวง เป็นอนัตตา ดงั นีÊ เต (ตา) มยํ โอติณฺณามหฺ ชาติยา เราทงัÊ หลายเป็นผอู้ นั ชาติ ชรา ชรามรเณน โสเกหิ ปริเทเวหิ มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ ทกุ ฺเขหิ โทมนสเฺ สหิ อปุ ายาเสหิ โทมนัส อปุ ายาส ครอบงาํ แล้ว ** สาํ หรบั สตรี ใหอ้ อกเสยี งตามคาํ ในวงเลบ็ ทุกโฺ ขติณฺณา ชืÉอว่าเป็นผมู้ ีทุกขค์ รอบงาํ แล้ว ทุกฺขปเรตา มที ุกขเ์ ป็นเบือÊ งหน้าแล้ว อปเฺ ปวนามิมสสฺ เกวลสสฺ ไฉน ความทาํ ทีÉสดุ แห่งกองทกุ ข์ ทกุ ฺขกฺขนฺธสสฺ อนฺตกิริยา ทงัÊ มวลนีÊ จะพึงปรากฏ ป ญฺ าเยถาติ จิรปรินิพพฺ ตุ มปฺ ิ ตํ ภควนฺตํ เราถึงแล้วซÉึงพระผ้มู พี ระภาคเจ้า สรณํ คตา แมป้ รินิพพานนานแล้ว พระองคน์ ันÊ เป็ น ส รณ ะ ธมมฺ จฺ ซึÉงพระธรรมด้วย ภิกขฺ สุ งฺฆ จฺ ซึÉงภิกษุสงฆด์ ้วย - 28 -

ตสสฺ ภควโต สาสนํ ยถาสติ กระทาํ ในใจอยู่ ปฏิบตั ิตามอยู่ ยถาพลํ มนสิกโรม อนุปฏิปชฺชาม ซÉึงคาํ สอนของพระผ้มู ีพระภาคเจ้า พระองคน์ ันÊ ตามสติกาํ ลงั สา สา โน ปฏิปตฺติ อิมสสฺ เกวลสสฺ ทกุ ฺขกขฺ นฺธสสฺ ขอความปฏิบตั ินันÊ ๆ ของเรา อนฺตกิริยาย สวํ ตฺตต.ุ จงเป็นไปเพÉืออนั กระทาํ ทีÉสดุ แห่ง กองทกุ ขท์ งัÊ มวลนีÊ เทอญ. ถ้าเป็นภิกษุ สวดถึง ป ญฺ าเยถาติ แล้วเปลียนสวด ดงั นี จิรปรินิพพฺ ตุ มปฺ ิ ตํ ภควนฺตํ เราอทุ ิศเฉพาะพระผมู้ ีพระภาค อทุ ทฺ ิสสฺ อรหนฺตํ สมมฺ าสมพฺ ทุ ฺธํ อรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจ้า แม้ ปรินิพพานนานแล้ว พระองคน์ ันÊ สทฺธา อคารสมฺ า อนคาริยํ มีศรทั ธาออก (บวช) จากเรือน ปพพฺ ชิตา เป็ น อ น าค าริกะ ตสมฺ ึ ภควติ พฺรหฺมจริยํ จราม ประพฤติพรหมจรรย์ ในพระผมู้ ี พระภาคเจ้า พระองคน์ ันÊ ภิกฺขนู ํ สิกฺขาสาชีวสมาปนฺนา ถงึ พรอ้ มแล้วด้วยสิกขาสาชีพของ ภิกษุทงัÊ หลาย ตํ โน พรฺ หฺมจริยํ ขอพรหมจรรยข์ องเราทงัÊ หลายนันÊ อิมสสฺ เกวลสสฺ ทุกฺขกขฺ นฺธสสฺ จงเป็นไปเพÉืออนั กระทาํ ทีÉสดุ แห่ง อนฺตกิริยาย สวํ ตฺตต.ุ กองทกุ ขท์ งัÊ มวลนีÊ เทอญ. - 29 -

ทาํ วตั รเยน็ นโม ตสสฺ ภควโต ขอนอบน้อม แด่พระผ้มู ีพระภาค อรหโต สมมฺ าสมพฺ ทุ ธฺ สสฺ . อรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจ้า พระองคน์ ันÊ . พุทธานุสสติ ตํ โข ปน ภควนฺตํ เอวํ กเ็ กียรติศพั ทอ์ นั งาม ของพระผมู้ ี กลยฺ าโณ กิตฺติสทโฺ ท อพภฺ คุ คฺ โต พระภาคเจ้า พระองคน์ ันÊ แล ฟ้งุ เฟืÉ องไป ดงั นีÊว่า อิติปิ แมเ้ พราะเหตุนีÊ ๆ โส ภควา พระผมู้ พี ระภาคเจ้า พระองคน์ ันÊ อรหํ เป็นผไู้ กลกิเลส เป็นผคู้ วรไหว้ ควร บชู า สมมฺ าสมพฺ ทุ โฺ ธ เป็นผรู้ ้ชู อบเอง วิชชฺ าจรณสมปฺ นฺโน เป็นผบู้ ริบูรณ์แล้วด้วยวิชชาและ จรณะ สคุ โต เป็นผไู้ ปดีแล้ว โลกวิทู เป็นผทู้ รงรโู้ ลก อนุตตฺ โร ปรุ ิสทมมฺ สารถิ เป็นผฝู้ ึ กบรุ ษุ ทีÉควรฝึ ก ไม่มีผอู้ Éืน ยÉิงกว่า - 30 -

สตฺถา เทวมนุสสฺ านํ เป็นผสู้ อนของเทวดา และมนุษย์ ทงัÊ หลาย พทุ โฺ ธ เป็นผเู้ บิกบานแล้ว ภควาติ. เป็นผจู้ าํ แนกธรรม ดงั นีÊ. พทุ ธาภิคีติ พทุ ธฺ ฺวารหนฺตวรตาทิคณุ า- พระพทุ ธเจ้า เป็นผปู้ ระกอบแล้ว ภิยตุ โฺ ต ด้วยพระคณุ มีความเป็นพระ อรหนั ตเ์ ป็นต้น สทุ ธฺ าภิญาณกรณุ าหิ มพี ระอธั ยาศยั ประกอบด้วยพระ สมาคตตฺโต บริสทุ ธิคณุ พระปัญญาคณุ และพระ กรณุ าคณุ โพเธสิ โย สชุ นตํ กมลวํ พระองคใ์ ด ยงั ประชมุ ชนดีให้ สโู ร เบิกบานแล้ว ดงั ดวงพระอาทิตย์ ยงั ดอกบวั ให้บานฉะนันÊ วนฺทามหํ ตมรณํ สิรสา ข้าพเจ้า ขอไหว้พระผมู้ ีพระภาคเจ้า ชิเนนฺทํ พระองคน์ ันÊ ผไู้ ม่มขี ้าศึก ผเู้ ป็น จอมชนะ ด้วยเศียรเกล้า - 31 -

พทุ โฺ ธ โย สพพฺ ปาณีนํ พระพทุ ธเจ้าพระองคใ์ ด เป็นสรณะ สรณํ เขมมตุ ฺตมํ อนั เกษมสดุ ของสรรพสตั วท์ งัÊ หลาย ปฐมานุสสฺ ติฏฺฐานํ วนฺทามิ ตํ สิเรนหํ ข้าพเจ้า ขอไหว้พระผมู้ ีพระภาคเจ้า พระองคน์ ันÊ ผเู้ ป็นทÉีตงัÊ แห่งอนุสสติ พทุ ธฺ สสฺ าหสมฺ ิ ทาโสว (ทาสีว) ทÉี 1 ด้วยเศียรเกล้า ** สาํ หรบั สตรี ใหอ้ อกเสยี งตามคาํ ในวงเลบ็ ข้าพเจ้าขอเป็น ทาส (ทาสี) ของ พระพทุ ธเจ้าเทียว พทุ ฺโธ เม สามิกิสสฺ โร พทุ โฺ ธ ทกุ ขฺ สสฺ ฆาตา จ พระพทุ ธเจ้า เป็นเจ้านายของข้าพเจ้า วิธาตา จ หิตสสฺ เม พระพทุ ธเจ้าเป็นผกู้ าํ จดั ทุกขด์ ้วย พทุ ธฺ สสฺ าหํ นิยฺยาเทมิ สรีร ชฺ ีวิต ฺจิทํ เป็นผทู้ าํ ซÉึงประโยชน์เกืÊอกลู แก่ วนฺทนฺโตหํ (วนฺทนฺตีห)ํ จริสสฺ ามิ ข้าพเจ้าด้วย พทุ ธฺ สเฺ สว สโุ พธิตํ ข้าพเจ้า ขอมอบกายถวายชีวิตอนั นีÊ นตฺถิ เม สรณํ อ ญฺ ํ แก่พระพทุ ธเจ้า พทุ โฺ ธ เม สรณํ วรํ ข้าพเจ้าไหว้อยู่ จกั ประพฤติ ซึÉงความตรสั ร้ดู ีของพระพทุ ธเจ้า ทีเดียว สรณะอืÉนของข้าพเจ้าไม่มี พระพทุ ธเจ้า เป็นสรณะอนั ประเสริฐ ของข้าพเจ้า - 32 -

เอเตน สจฺจวชฺเชน ด้วยความกล่าวสตั ยน์ ีÊ วฑเฺ ฒยฺยํ สตถฺ ุ สาสเน ขอข้าพเจ้าพึงเจริญในพระศาสนา ของพระศาสดา พทุ ธฺ ํ เม วนฺทมาเนน (วนฺทมานาย) บญุ ใด อนั ข้าพเจ้าไหว้พระพทุ ธเจ้า ยํ ปุ ญฺ ํ ปสตุ ํ อิธ ขวนขวายแล้วในทÉีนีÊ สพเฺ พปิ อนฺตรายา เม แมส้ รรพอนั ตรายทงัÊ หลาย อย่าได้มี มาเหสุํ ตสสฺ เตชสา. แก่ข้าพเจ้าด้วยเดชบญุ นันÊ . กาเยน วาจาย ว เจตสา วา กรรมน่าเกลียดอนั ใด ทีÉข้าพเจ้าได้ พทุ ฺเธ กกุ มมฺ ํ ปกตํ มยา ยํ กระทาํ แล้ว ในพระพทุ ธเจ้า ด้วย กายหรือด้วยวาจาใจ พทุ ฺโธ ปฏิคคฺ ณฺหตุ อจจฺ ยนฺตํ ขอพระพทุ ธเจ้าจงทรงงดโทษนันÊ กาลนฺตเร สวํ ริตุํ ว พทุ ฺเธ. เพืÉอระวงั ต่อไปในพระพทุ ธเจ้า. ธมั มานุสสติ สวฺ ากฺขาโต ภควตา ธมโฺ ม พระธรรมอนั พระผ้มู พี ระภาคเจ้าตรสั ดีแล้ว สนฺทิฏฺฐิโก เป็นของอนั บคุ คลพึงเหน็ เอง อกาลิโก เป็นของไม่มกี าลเวลา เอหิปสสฺ ิโก เป็นของจะร้องเรียกผอู้ Éืนให้มาดไู ด้ - 33 -

โอปนยิโก เป็นของอนั บคุ คลพึงน้อมเข้ามา ปจจฺ ตตฺ ํ เวทิตพโฺ พ วิ ฺ หู ีติ. ใส่ใจ เป็นของอนั วิญsชู นทงัÊ หลายพึงรู้ เฉพาะตวั ดงั นีÊ. ธมั มาภิคีติ สวฺ ากฺขาตตาทิคณุ โยควเสน พระธรรมเป็นของอนั ประเสริฐ เสยโฺ ย ด้วยอาํ นาจอนั ประกอบด้วยคณุ ม ีค วาม เป็ น แ ห่งส วากขาต ะเป็ น ต้น โย มคคฺ ปากปริยตตฺ ิวิโมกฺขเภโท อนั ใด ต่างด้วยมรรคผล ปริยตั ิ และวิโมกข์ ธมโฺ ม กโุ ลกปตนา ตทธาริธารี พระธรรมกนั ผทู้ รงธรรมนันÊ จาก ค วาม ต กไปใน โล กทÉีชวั É วนฺทามหํ ตมหรํ วรธมมฺ เมตํ ข้าพเจ้าขอไหว้พระธรรมอนั ขจดั ความมืดอนั นันÊ ธมโฺ ม โย สพพฺ ปาณีนํ สรณํ พระธรรมอนั ใด เป็นสรณะอนั เกษม เขมมุตฺตมํ สดุ ของสรรพสตั วท์ งัÊ หลาย ทตุ ิยานุสสฺ ติฏฺฐานํ วนฺทามิ ตํ ข้าพเจ้า ขอไหว้พระธรรมอนั นันÊ สิเรนหํ ซึÉงเป็นทีÉตงัÊ แห่งอนุสสติทÉี 2 ด้วย เศียรเกล้า - 34 -

ธมมฺ สสฺ าหสมฺ ิ ทาโสว (ทาสีว) ข้าพเจ้าขอเป็น ทาส (ทาสี) ของ พระธรรมเทียว ธมโฺ ม เม สามิกิสสฺ โร พระธรรม เป็นเจ้านายของข้าพเจ้า ธมโฺ ม ทุกฺขสสฺ ฆาตา จ พระธรรม เป็นธรรมกาํ จดั ทกุ ขด์ ้วย วิธาตา จ หิตสสฺ เม เป็นธรรมทาํ ซึÉงประโยชน์เกืÊอกลู แก่ ข้าพเจ้าด้วย ธมมฺ สสฺ าหํ นิยยฺ าเทมิ ข้าพเจ้าขอมอบกายถวายชีวิตอนั นีÊ สรีร ชฺ ีวิต จฺ ิทํ แด่พระธรรม วนฺทนฺโตหํ (วนฺทนฺตีห)ํ จริสสฺ ามิ ข้าพเจ้าไหว้อยู่ จกั ประพฤติ ธมมฺ สเฺ สว สธุ มมฺ ตํ ซึÉงความเป็นธรรมดี แห่งพระธรรม ทีเดียว นตฺถิ เม สรณํ อ ญฺ ํ สรณะอนั อืÉนของข้าพเจ้าไม่มี ธมโฺ ม เม สรณํ วรํ พระธรรมเป็นสรณะอนั ประเสริฐของ ข้าพเจ้า เอเตน สจฺจวชฺเชน ด้วยความกล่าวสตั ยน์ ีÊ วฑเฺ ฒยยฺ ํ สตถฺ ุ สาสเน ขอข้าพเจ้าพึงเจริญในพระศาสนา ของพระศาสดา ธมมฺ ํ เม วนฺทมาเนน (วนฺทมานาย) บญุ อนั ใด ข้าพเจ้าไหว้พระธรรม ยํ ปุ ญฺ ํ ปสตุ ํ อิธ ขวนขวายแล้วในทÉีนีÊ - 35 -

สพเฺ พปิ อนฺตรายา เม แมส้ รรพอนั ตรายทงัÊ หลายอย่าได้มี มาเหสุํ ตสสฺ เตชสา. แก่ข้าพเจ้า ด้วยเดชบญุ นันÊ . กาเยน วาจาย ว เจตสา วา กรรมน่าเกลียดอนั ใดทÉีข้าพเจ้าได้ ธมเฺ ม กกุ มมฺ ํ ปกตํ มยา ยํ กระทาํ แล้ว ในพระธรรม ด้วยกาย หรอื วาจาใจ ธมโฺ ม ปฏิคคฺ ณฺหตุ อจจฺ ยนฺตํ กาลนฺตเร สวํ ริตุํ ว ธมเฺ ม. ขอพระธรรมจงงดโทษนันÊ เพืÉอระวงั ต่อไปในพระธรรม. สปุ ฏิปนฺโน ภควโต สงั ฆานุสสติ สาวกสงฺโฆ พระสงฆส์ าวก ของพระผมู้ พี ระภาคเจ้า อชุ ุปฏิปนฺโน ภควโต เป็นผปู้ ฏิบตั ิดีแล้ว สาวกสงฺโฆ พระสงฆส์ าวก ของพระผมู้ พี ระภาคเจ้า เป็นผปู้ ฏิบตั ิตรงแล้ว ญายปฏิปนฺโน ภควโต พระสงฆส์ าวก ของพระผมู้ พี ระภาคเจ้า สาวกสงฺโฆ เป็นผปู้ ฏิบตั ิถกู แล้ว พระสงฆส์ าวก ของพระผมู้ ีพระภาคเจ้า สามีจิปฏิปนฺโน ภควโต เป็นผปู้ ฏิบตั ิชอบแล้ว สาวกสงฺโฆ คือ ค่แู ห่งบรุ ษุ ทงัÊ หลาย 4 ยทิทํ - 36 - จตฺตาริ ปรุ ิสยคุ านิ

อฏฺฐ ปรุ ิสปคุ คฺ ลา บรุ ษุ บคุ คลทงัÊ หลาย 8 เอส ภควโต สาวกสงฺโฆ นีÉพระสงฆส์ าวก ของพระผมู้ ี อาหเุ นยโฺ ย พระภาคเจ้า ปาหเุ นยฺโย ท่านเป็นผคู้ วรสกั การะทÉีเขานํามา ทกฺขิเณยฺโย บชู า อ ชฺ ลิกรณีโย อนุตตฺ รํ ปุ ญฺ กฺเขตตฺ ํ ท่านเป็นผคู้ วรของต้อนรบั โลกสสฺ าติ. ท่านเป็นผคู้ วรทกั ษิณาทาน ท่านเป็นผคู้ วรอญั ชลีกรรม ท่านเป็นนาบญุ ของโลก ไม่มีนาอืÉน ยÉิงกว่า ดงั นีÊ. สงั ฆาภคิ ตี ิ สทฺธมมฺ โช สปุ ฏิปตฺติ- พระสงฆส์ าวก ของพระผมู้ ีพระภาคเจ้า คณุ าทิยตุ โฺ ต เป็นผเู้ กิดจากสทั ธรรม ประกอบแล้ว ด้วยคณุ มีสุปฏิบตั ิคณุ เป็นต้น โยฏฺฐพพฺ ิโธ อริยปคุ คฺ ลสงฺฆเสฏฺโฐ พวกใดเป็นหม่แู ห่งอริยบุคคลอนั ประเสริฐสดุ 8 จาํ พวก สีลาทิธมมฺ ปวราสยกายจิตฺโต มีกายและจิต อาศยั ธรรมอนั ประเสริฐ มีศีล เป็ น ต้น - 37 -

วนฺทามหํ ตมริยาน คณํ ข้าพเจ้าขอไหว้ หม่พู ระอริยะ สสุ ทุ ธฺ ํ ทงัÊ หลายพวกนันÊ ซÉึงหมดจดสะอาด สงฺโฆ โย สพพฺ ปาณีนํ สรณํ เขมมตุ ฺตมํ พระสงฆพ์ วกใด เป็นสรณะอนั เกษม ตติยานุสสฺ ติฏฺฐานํ สดุ ของสรรพสตั วท์ งัÊ หลาย วนฺทามิ ตํ สิเรนหํ ข้าพเจ้า ขอไหว้พระสงฆ์พวกนันÊ สงฺฆสสฺ าหสมฺ ิ ทาโสว (ทาสีว) ผเู้ ป็นทÉีตงัÊ แห่งอนุสสติทีÉ 3 ด้วย เศียรเกล้า สงฺโฆ เม สามิกิสสฺ โร สงฺโฆ ทกุ ฺขสสฺ ฆาตา จ ข้าพเจ้าขอเป็น ทาส (ทาสี) ของ วิธาตา จ หิตสสฺ เม พระสงฆเ์ ทียว สงฺฆสสฺ าหํ นิยยฺ าเทมิ พระสงฆเ์ ป็นเจ้านายของข้าพเจ้า สรีร ชฺ ีวิต ฺจิทํ วนฺทนฺโตหํ (วนฺทนฺตีห)ํ จริสสฺ ามิ พระสงฆเ์ ป็นผกู้ าํ จดั ทุกขด์ ้วย สงฺฆสโฺ สปฏิปนฺนตํ นตถฺ ิ เม สรณํ อ ญฺ ํ เป็นผทู้ าํ ซÉึงประโยชน์เกืÊอกลู แก่ ข้าพเจ้าด้วย ข้าพเจ้าขอมอบกายถวายชีวิตอนั นีÊ แด่พระสงฆ์ ข้าพเจ้าไหว้อยู่ จกั ประพฤติ ซÉึงความปฏิบตั ิแห่งพระสงฆ์ สรณะอืÉนของข้าพเจ้าไม่มี - 38 -

สงฺโฆ เม สรณํ วรํ พระสงฆเ์ ป็นสรณะอนั ประเสริฐของ ข้าพเจ้า เอเตน สจฺจวชฺเชน ด้วยความกล่าวสตั ยน์ ีÊ วฑเฺ ฒยยฺ ํ สตถฺ ุ สาสเน ขอข้าพเจ้าพึงเจริญในพระศาสนา ของพระศาสดา สงฺฆํ เม วนฺทมาเนน (วนฺทมานาย) บญุ ใด อนั ข้าพเจ้าไหว้พระสงฆ์ ยํ ปุ ญฺ ํ ปสตุ ํ อิธ ขวนขวายแล้วในทÉีนีÊ สพเฺ พปิ อนฺตรายา เม แม้สรรพอนั ตรายทงัÊ หลายอย่าได้มี มาเหสุํ ตสสฺ เตชสา. แก่ข้าพเจ้า ด้วยเดชบญุ นันÊ . กาเยน วาจาย ว เจตสา วา กรรมน่าเกลียดอนั ใด ทÉีข้าพเจ้าได้ สงฺเฆ กกุ มมฺ ํ ปกตํ มยา ยํ กระทาํ แล้วในพระสงฆ์ ด้วยกาย หรอื วาจาใจ สงฺโฆ ปฏิคคฺ ณฺหตุ อจจฺ ยนฺตํ ขอพระสงฆจ์ งงดโทษนันÊ กาลนฺตเร สวํ ริตุํ ว สงฺเฆ. เพÉือระวงั ต่อไป ในพระสงฆ.์ - 39 -

ทาํ วตั รพระ นโม ตสสฺ ภควโต ขอนอบน้อม แด่พระผมู้ ีพระภาค อรหโต สมมฺ าสมพฺ ทุ ธฺ สสฺ . อรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจ้าพระองคน์ ันÊ โย สนฺนิสินฺโน วรโพธิมเู ล ท่านพระองคใ์ ด ประทบั นังÉ สงบ อารมณ์อย่แู ล้ว ณ ควงโพธิพฤกษ์ อนั ประเสริฐ มารํ สเสนํ สชุ ิตํ วิเชยฺย ทรงชยั ชนะเป็นอนั ดี ซÉึงมารพรอ้ ม ด้วยเสนามาร สมโฺ พธิมาคจฉฺ ิ อนนฺตญาโณ เป็นผมู้ ีปัญญาไม่สิÊนสดุ อดุ มในโลก โลกตุ ฺตโม ตํ ปณมามิ พทุ ธฺ ํ ได้บรรลพุ ระสมั โพธิญาณแล้ว ข้าพเจ้าขอนมสั การท่านพระองคน์ ันÊ ตรสั ร้แู ล้ว เย จ พทุ ธฺ า อตีตา จ กพ็ ระพทุ ธเจ้าทงัÊ หลายเหล่าใดทÉีล่วง ไปแล้วด้วย เย จ พทุ ฺธา อนาคตา พระพทุ ธเจ้าทงัÊ หลายเหล่าใดทÉีจะมี มาข้างหน้าด้วย ปจจฺ ปุ ปฺ นฺนา จ เย พทุ ฺธา พระพทุ ธเจ้าทงัÊ หลายเหล่าใดทÉี ประจกั ษ์อยู่ ณ บดั นีÊด้วย อหํ วนฺทามิ สพพฺ ทา ข้าพเจ้าขอนมสั การพระพทุ ธเจ้า ทงัÊ หลาย 3 พวกนันÊ ในกาลทกุ เมÉือ - 40 -

อิติปิ แมเ้ พราะเหตนุ ีÊ โส ภควา พระผมู้ พี ระภาคเจ้าพระองคน์ ันÊ อรหํ เป็นผไู้ กลกิเลส เป็นผคู้ วรไหว้ ควรบชู า สมมฺ าสมพฺ ทุ ฺโธ เป็นผรู้ ้ชู อบเอง วิชฺชาจรณสมปฺ นฺโน เป็นผบู้ ริบรู ณ์แล้วด้วยวิชชาและ จรณะ สคุ โต เป็นผไู้ ปดีแล้ว โลกวิทู เป็นผทู้ รงรโู้ ลก อนุตตฺ โร ปรุ ิสทมมฺ สารถิ เป็นผฝู้ ึ กบุรษุ ทÉีควรฝึ ก ไม่มีผอู้ Éืน ยิÉงกว่า สตฺถา เทวมนุสสฺ านํ เป็นผสู้ อนของเทวดา และมนุษย์ ทงัÊ หลาย พทุ โฺ ธ เป็นผเู้ บิกบานแล้ว ภควาติ. เป็นผจู้ าํ แนกธรรม ดงั นีÊ. ข้าพเจ้า ขอถงึ พระพทุ ธเจ้าว่าเป็น พทุ ฺธํ ชีวิตํ ยาวนิพพฺ านํ สรณะตลอดชีวิต ตราบเท่าพระ สรณํ คจฉฺ ามิ นิ พพาน สรณะอÉืนของข้าพเจ้าไม่มี นตถฺ ิ เม สรณํ อ ญฺ ํ - 41 -

พทุ โฺ ธ เม สรณํ วรํ พระพทุ ธเจ้าเป็นสรณะอนั ประเสริฐ ของข้าพเจ้า เอเตน สจฺจวชฺเชน โหตุ เม ชยมงฺคลํ ด้วยความกล่าวสตั ยน์ ีÊ อตุ ตฺ มงฺเคน วนฺเทหํ ปาทปํ สุํ วรตุ ตฺ มํ ขอชยั มงคลจงมีแก่ข้าพเจ้า พทุ เฺ ธ โย ขลิโต โทโส ข้าพเจ้าขอนมสั การพระบาทบงสอุ์ นั พทุ ฺโธ ขมตุ ตํ มม.ํ สงู สดุ ด้วยอวยั วะอนั สงู สดุ อฏฺฐงฺคิโก อริยปโถ ชนานํ โทษอนั ใด อนั ข้าพเจ้าได้ผิดพลงัÊ ไว้ ในพระพทุ ธเจ้า โมกขฺ ปปฺ เวสาย อชู ู จ มคโฺ ค ขอพระพทุ ธเจ้าจงอดโทษนันÊ ให้ ธมโฺ ม อยํ สนฺติกโร ปณีโต ข้าพเจ้า นิยยฺ านิโก ตํ ปณมามิ ธมมฺ ํ อฏั ฐงั คิกมคั ค์ เป็นทางอนั ประเสริฐ ของชนทงัÊ หลาย เป็นทางอนั ตรงเพÉืออนั ให้เข้าไปสู่ พระนิ พพาน พระธรรมนีÊ เป็นธรรมทาํ ความสงบ ระงบั อนั ประณีต เป็นนิยานิกธรรม ข้าพเจ้าขอ นมสั การพระธรรมนันÊ - 42 -

เย จ ธมมฺ า อตีตา จ กพ็ ระธรรมทงัÊ หลายเหล่าใดทÉีล่วงไป แล้วด้วย เย จ ธมมฺ า อนาคตา พระธรรมทงัÊ หลายเหล่าใด ทีÉจะมีมา ปจจฺ ปุ ปฺ นฺนา จ เย ธมมฺ า ข้างหน้าด้วย อหํ วนฺทามิ สพพฺ ทา. พระธรรมทงัÊ หลายเหล่าใด ทีÉมี ประจกั ษ์อยู่ ณ บดั นีÊด้วย สวฺ ากขฺ าโต ภควตา ธมโฺ ม ข้าพเจ้าขอนมสั การพระธรรม สนฺทิฏฺฐิโก ทงัÊ หลาย 3 พวกนันÊ ในกาลทุกเมอÉื . อกาลิโก เอหิปสสฺ ิโก พระธรรม อนั พระผมู้ ีพระภาคเจ้า โอปนยิโก ตรสั ดีแล้ว ปจจฺ ตตฺ ํ เวทิตพโฺ พ วิ ฺ หู ีติ. เป็นของอนั บคุ คลพึงเหน็ เอง ธมมฺ ํ ชีวิตํ ยาวนิพพฺ านํ สรณํ คจฉฺ ามิ เป็นของอนั ไม่มีกาลเวลา นตฺถิ เม สรณํ อ ญฺ ํ เป็นของจะร้องเรียกผอู้ Éืนให้มาดไู ด้ เป็นของอนั บคุ คลพึงน้อมเข้ามาใส่ใจ เป็นของอนั วิญsชู นทงัÊ หลายพึงรู้ เฉพาะตน ดงั นีÊ. ข้าพเจ้าขอถึงพระธรรม ว่าเป็นทÉีพึÉง ตลอดชีวิต ตราบเท่าพระนิพพาน สรณะอืÉนของข้าพเจ้าไม่มี - 43 -

ธมโฺ ม เม สรณํ วรํ พระธรรม เป็นสรณะอนั ประเสริฐ ของข้าพเจ้า เอเตน สจฺจวชฺเชน โหตุ เม ชยมงฺคลํ ด้วยความกล่าวสตั ยน์ ีÊ อตุ ตฺ มงฺเคน วนฺเทหํ ธมมฺ จฺ ทุวิธํ วรํ ขอชยั มงคลจงมีแก่ข้าพเจ้า ธมเฺ ม โย ขลิโต โทโส ข้าพเจ้าขอนมสั การพระธรรม 2 ธมโฺ ม ขมตุ ตํ มม.ํ ประเภท ด้วยอวยั วะอนั สงู สดุ สงฺโฆ วิสทุ ฺโธ วรทกฺขิเณยโฺ ย โทษอนั ใด อนั ข้าพเจ้าได้ผิดพลงัÊ ไว้ ในพระธรรม สนฺตินฺทฺริโย สพพฺ มลปปฺ หีโน ขอพระธรรม จงอดโทษนันÊ ให้ คเุ ณหิเนเกหิ สมิทธฺ ิปตฺโต ข้าพเจ้า อนาสโว ตํ ปณมามิ สงฺฆํ พระสงฆเ์ ป็นผหู้ มดจด เป็น ทกั ขิเณยยบคุ คลอนั ประเสริฐ เป็นผ้มู ีอินทรียอ์ นั สงบ เป็นผลู้ ะเสียได้ ซึÉงมลทินทงัÊ ปวง เป็นผถู้ ึงความสาํ เรจ็ ด้วยคณุ หลาย อย่าง เป็นผหู้ าอาสวะมิได้ ข้าพเจ้าขอ นมสั การพระสงฆน์ ันÊ - 44 -

เย จ สงฺฆา อตีตา จ กพ็ ระสงฆท์ งัÊ หลายเหล่าใดทÉีล่วงไป แล้วด้วย เย จ สงฺฆา อนาคตา พระสงฆท์ งัÊ หลายเหล่าใด ทีÉจะมมี า ข้างหน้าด้วย ปจจฺ ปุ ปฺ นฺนา จ เย สงฺฆา พระสงฆท์ งัÊ หลายเหล่าใด ทีÉมี ประจกั ษ์อยู่ ณ บดั นีÊด้วย อหํ วนฺทามิ สพพฺ ทา. ข้าพเจ้า ขอนมสั การพระสงฆ์ ทงัÊ หลาย 3 พวกนันÊ ในกาลทุกเมือÉ . สปุ ฏิปนฺโน ภควโต พระสงฆส์ าวก ของพระผมู้ ีพระภาคเจ้า สาวกสงฺโฆ เป็นผปู้ ฏิบตั ิดีแล้ว อชุ ปุ ฏิปนฺโน ภควโต พระสงฆส์ าวก ของพระผมู้ ีพระภาคเจ้า สาวกสงฺโฆ เป็นผปู้ ฏิบตั ิตรงแล้ว ญายปฏิปนฺโน ภควโต พระสงฆส์ าวก ของพระผมู้ ีพระภาคเจ้า สาวกสงฺโฆ เป็นผปู้ ฏิบตั ิถกู แล้ว สามจี ิปฏิปนฺโน ภควโต พระสงฆส์ าวก ของพระผมู้ ีพระภาคเจ้า สาวกสงฺโฆ เป็นผปู้ ฏิบตั ิชอบแล้ว ยทิทํ คือ จตฺตาริ ปรุ ิสยคุ านิ ค่แู ห่งบรุ ษุ ทงัÊ หลาย 4 อฏฺฐ ปรุ ิสปคุ คฺ ลา บรุ ษุ บคุ คลทงัÊ หลาย 8 - 45 -

เอส ภควโต สาวกสงฺโฆ นÉีพระสงฆส์ าวก ของพระผมู้ พี ระ ภาคเจ้า อาหเุ นยฺโย ท่านเป็นผคู้ วรสกั การะทÉีเขานํามา ปาหเุ นยโฺ ย บชู า ทกฺขิเณยโฺ ย อ ชฺ ลิกรณีโย ท่านเป็นผคู้ วรของต้อนรบั อนุตฺตรํ ปุ ญฺ กเฺ ขตฺตํ ท่านเป็นผคู้ วรทกั ษิณาทาน โลกสสฺ าติ. ท่านเป็นผคู้ วรอญั ชลีกรรม สงฺฆํ ชีวิตํ ยาวนิพพฺ านํ สรณํ คจฉฺ ามิ ท่านเป็นนาบญุ ของโลก ไม่มีนาอÉืน นตถฺ ิ เม สรณํ อ ญฺ ํ ยิÉงกว่า ดงั นีÊ. สงฺโฆ เม สรณํ วรํ ข้าพเจ้าขอถึงพระสงฆว์ ่าเป็นทÉีพึÉง เอเตน สจจฺ วชเฺ ชน ตลอดชีวิต ตราบเท่าพระนิพพาน โหตุ เม ชยมงฺคลํ อตุ ฺตมงฺเคน วนฺเทหํ สรณะอÉืนของข้าพเจ้าไม่มี สงฺฆ จฺ ทุวิธตุ ฺตมํ พระสงฆ์ เป็นสรณะอนั ประเสริฐของ ข้าพเจ้า ด้วยความกล่าวสตั ยน์ ีÊ ขอชยั มงคลจงมีแก่ข้าพเจ้า ข้าพเจ้าขอนมสั การพระสงฆท์ งัÊ 2 ผู้ สงู สดุ ด้วยอวยั วะอนั สงู สดุ - 46 -

สงฺเฆ โย ขลิโต โทโส โทษอนั ใด อนั ข้าพเจ้าได้ผิดพลงัÊ ไว้ ในพระสงฆ์ สงฺโฆ ขมตุ ตํ มมํ ขอพระสงฆ์ จงอดโทษนันÊ ให้ อิจเฺ จวมจจฺ นฺตนมสสฺ เนยฺยํ ข้าพเจ้า นมสสฺ มาโน รตนตตฺ ยํ ยํ ข้าพเจ้านมสั การอย่ซู Éึงพระรตั นตรยั ปุ ญฺ าภิสนฺทํ วิปลุ ํ อลตถฺ ํ ใด อนั บคุ คลควรนมสั การ โดย ตสสฺ านุภาเวน หตนฺตราโย ส่วนยÉิงอย่างนีÊ ด้วยประการฉะนีÊ ได้แล้วซÉึงห้วงบุญอนั ไพบูล ด้วยอานุภาพแห่งพระรตั นตรยั นันÊ จงเป็นผขู้ จดั อนั ตรายเสียเถิด - 47 -

บอกวตั ร อกุ าส โย ปน ภิกฺขุ ? ข้าจะขอโอกาส กภ็ ิกษุผใู้ ด ธมมฺ านุธมมฺ ปฏิปนฺโน วิหรติ เป็นผปู้ ฏิบตั ิธรรม สมควรแก่ธรรมอยู่ สามีจิปฏิปนฺโน อนุธมมฺ จารี เป็นผปู้ ฏิบตั ิชอบ เป็นผปู้ ระพฤติ ต าม ธ รร ม เป็ น ปกติ โส ตถาคตํ สกฺกโรติ ผนู้ ันÊ ชืÉอย่อมทาํ สกั การะ ทาํ ความ ครกุ โรติ มาเนติ ปเู ชติ เคารพ นับถือ บชู าซÉึงพระตถาคตเจ้า ปรมาย ปชู าย ปฏิปตฺติปชู าย. ด้วยปฏิบตั ิบชู า อนั เป็นบชู าอย่างยิÉง สพพฺ ปาปสสฺ อกรณํ ความไม่ทาํ บาปทงัÊ ปวง กสุ ลสสฺ ปู สมปฺ ทา ความบาํ เพญ็ กศุ ลให้ถึงพร้อม สจิตตฺ ปริโยทปนํ ความทาํ จิตของตนให้ผ่องแผว้ เอตํ พทุ ฺธาน สาสนํ นีÊ เป็นคาํ สอนของพระพทุ ธเจ้า ทงัÊ หลาย ขนฺตี ปรมํ ตโป ตีติกฺขา ความอดทน คือความทนทาน เป็ น ต ปะอ ย่างยÉิง นิพพฺ านํ ปรมํ วทนฺติ พทุ ธฺ า ท่านผรู้ ้ทู งัÊ หลาย ย่อมกล่าวพระ นิ พพาน ว่าเป็ น เยÉียม น หิ ปพพฺ ชิโต ปรปู ฆาตี บรรพชิตผฆู้ ่าสตั วอ์ ืÉนเบียดเบียนสตั ว์ สมโณ โหติ ปรํ วิเหฐยนฺโต อÉืน ไม่ชÉือว่าสมณะเลย - 48 -

อนูปวาโท อนูปฆาโต ความไม่เข้าไปว่ารา้ ยกนั ด้วย ความไม่เข้าไปล้างผลาญกนั ด้วย ปาฏิโมกฺเข จ สวํ โร ความสาํ รวมในพระปาฏิโมกขด์ ้วย มตตฺ ฺ ตุ า จ ภตตฺ สมฺ ึ ความเป็นผ้รู ้ปู ระมาณในภตั ตาหารด้วย ปนฺต จฺ สยนาสนํ ทีÉนอนทีÉนังÉ อนั สงดั ด้วย อธิจิตเฺ ต จ อาโยโค ประกอบความเพียรในอธิจิตด้วย เอตํ พทุ ฺธาน สาสนํ. นีÊ เป็นคาํ สอนของพระพทุ ธเจ้า ทงัÊ หลาย สีลสมาธิคณุ านํ ความอดทนเป็นเหตเุ ป็นทีÉตงัÊ แห่งคณุ ขนฺตี ปธานการณํ คือสีลสมาธิทงัÊ หลาย สพเฺ พปิ กสุ ลา ธมมฺ า กศุ ลธรรมทงัÊ หลาย แม้ทงัÊ สิÊนนันÊ ขนฺตยฺ าเยว วฑฒฺ นฺติ เต ย่อมเจริญด้วยความอดทนแท้ เกวลานํปิ ปาปานํ ความอดทน ย่อมตดั เสียได้ซึÉง ขนฺตี มลู ํ นิกนฺตติ รากเง่าแห่งความชวัÉ ทงัÊ หลาย แม้ ทงัÊ สิÊน ครหกลหาทีนํ ผอู้ ดทน ชÉือว่าย่อมขดุ เสียได้ซÉึง มลู ํ ขนติ ขนฺติโก รากเง่าแห่งหายนะเหตทุ งัÊ หลาย มกี ารติเตียนกนั และการทะเลาะกนั เป็ น ต้น - 49 -

ขนฺตี ธีรสสฺ ลงฺกาโร ความอดทนเป็นเครÉอื งประดบั ของ นักปราชญ์ ขนฺตี ตโป ตปสสฺ ิโน ขนฺตี พลํ ว ยตีนํ ความอดทนเป็นตปะของผมู้ ตี ปะ ขนฺตี หิตสขุ าวหา ความอดทนเป็นกาํ ลงั ของผบู้ าํ เพญ็ พรตทงัÊ หลาย ขนฺติโก เมตตฺ วา ลาภี ยสสสฺ ี สขุ สีลวา ความอดทนนําประโยชน์และ ความสขุ มาให้ ปิ โย เทวมนุสสฺ านํ มนาโป โหติ ขนฺติโก ผอู้ ดทน ชÉือว่าเป็นผ้มู มี ิตร เป็นผมู้ ี ลาภ เป็นผมู้ ยี ศ เป็นผมู้ ีความสขุ อตตฺ โนปิ ปเรส จฺ เป็ น ปกติ อตถฺ าวโห ว ขนฺติโก สคคฺ โมกขฺ คมํ มคคฺ ํ ผอู้ ดทน ชืÉอว่าย่อมเป็นทีÉรกั เป็นทีÉ อารโุ ฬฺห โหติ ขนฺติโก เจริญใจของเทวดา และมนุษย์ ทงัÊ หลาย สตถฺ โุ น วจโนวาทํ กโรติเยว ขนฺติโก ผอู้ ดทน ชÉือว่าเป็นผ้นู ําประโยชน์มา ให้แก่ตน และแก่ชนเหล่าอืÉนอีกด้วย ผอู้ ดทน ชÉือว่าย่อมเป็นผยู้ ่างขึนÊ สู่ หนทาง เป็นทÉีไปสวรรคแ์ ละพระ นิ พพาน ผอู้ ดทน ชืÉอว่าย่อมทาํ ตามวจโนวาท ของพระศาสดาทีเดียว - 50 -


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook