เพราะอาการทง้ั สองแบบคลา้ ยๆ กนั ” บทความนร้ี ายงานวา่ นกั เรยี นทไ่ี มต่ อบสนองตอ่ ยา ่อาน ่อาน... รกั ษาอาการสมาธสิ นั้ อาจมอี าการดขี นึ้ ได้ ถา้ ใชว้ ธิ บี �ำบดั การมองเหน็ อา่ นขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ เรื่องการบ�ำบดั การมองเห็นส�ำหรบั ผอู้ ่านทมี่ ปี ญั หาได้ท่ี www.covd.org. 2. กลัวว่าจะตอ้ งอา่ นออกเสียงให้เพือ่ นฟงั แลว้ ทุกคนจะหัวเราะเยาะ ไมบ่ งั คบั ใหน้ กั เรยี นอา่ นออกเสยี ง แตใ่ หอ้ าสาอา่ นเอง หรอื เลอื กจะอา่ นใหค้ รฟู งั เบาๆ เพื่อประเมินทักษะและความก้าวหน้าก็ได้ วิธีนี้นอกจากช่วยลดความเครียดแล้ว ยังท�ำให้นักเรียนเข้าเรียนมากข้ึน ตรงเวลาดีข้ึน และเพิ่มขวัญก�ำลังใจของนักเรียน ในหอ้ งด้วย ใหน้ กั เรยี นอาสาเองวา่ จะอา่ นออกเสยี ง กระตนุ้ ใหล้ องดู หา้ มคนอนื่ หวั เราะเพอ่ื น ท่ีอ่านออกเสียง และระวังพวกที่แอบหัวเราะ ถ้าขอให้อ่านออกเสียงในห้อง ต้องรับ ประกันว่า จะไม่มีใครท�ำให้คนท่ีลองอ่านรู้สึกละอายหรือขายหน้า ถ้ามีนักเรียนขี้อาย หรอื ขก้ี ลวั ทไ่ี มเ่ คยอาสาวา่ จะอา่ นออกเสยี ง ใหช้ ว่ ยพวกเขาเปน็ การสว่ นตวั กอ่ นจนมนั่ ใจ มากพอ แล้วค่อยให้อ่านออกเสียง (เด็กบางคนจะไม่มีวันอาสาออกมาอ่าน แต่ไม่ได้ หมายความว่าพวกเขาไม่ได้เรียนรู้อะไรเลย อย่างน้อยที่สุด คุณก็ไม่ท�ำให้พวกเขากลัว การอ่าน) ครจู �ำนวนมากยนื กรานวา่ ทกุ คนตอ้ งอา่ นออกเสยี ง และฉนั ถามวา่ “ท�ำไมตอ้ งท�ำ อยา่ งนน้ั คุณจะไดอ้ ะไรจากการบงั คบั ใหน้ กั เรียนอา่ นออกเสยี ง นอกจากท�ำใหอ้ บั อาย ปวดท้อง เหง่ือซึมที่ฝ่ามือ ปวดหัว และไม่เต็มใจเข้าเรียนในวิชาของคุณ น่ียังไม่ต้อง พดู ถงึ วา่ พวกเขาอาจจะไมอ่ า่ นหนงั สอื ไปตลอดชวี ติ เลย ถา้ วธิ ที ใ่ี ชอ้ ยใู่ นปจั จบุ นั ไมไ่ ดผ้ ล ท�ำไมไม่ลองวิธีอื่น” ครูบางคนเรียกนักเรียนอ่านออกเสียง เพื่อให้ต่ืนหรือระวังตัวอยู่เสมอในช้ัน ถา้ อยา่ งนน้ั กเ็ รยี กคนทเี่ ตม็ ใจอา่ นซง่ึ นงั่ ตดิ กบั คนทงี่ ว่ งเหงาหาวนอนหรอื ฝนั กลางวนั อยู่ ก็ได้ เพราะพอเพอ่ื นเร่มิ อ่าน คนท่กี �ำลงั ฝันกลางวันกจ็ ะกลับมาเรียนตอ่ เอง โดยไมต่ ้อง อบั อายหรอื เป็นศัตรกู ับครู 251
ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด และสุดท้าย ถ้าอยากให้นักเรียนอ่านออกเสียง เพียงเพราะครูของคุณเคยให้ คณุ ท�ำอยา่ งนนั้ ฉนั ขอใหค้ ณุ ไปคยุ กบั เพอื่ นรว่ มชน้ั ทเี่ กลยี ดการอา่ น และถามวา่ ตอนนน้ั พวกเขาร้สู กึ อยา่ งไร ครูสว่ นใหญ่สนุกกบั โรงเรยี นและพวกเราสนกุ กบั การอ่าน จึงไม่รู้วา่ ความรู้สึกท่ีเกลียดการอ่านมากขนาดเต็มใจที่จะเสียคะแนน หรือขนาดต้องออกจาก โรงเรียนกลางคัน เพื่อหลีกเล่ียงการอ่านออกเสียงนั้นเป็นอย่างไร เราจ�ำเป็นต้องเข้าใจ ความรสู้ กึ ของผอู้ ื่นมากข้ึน ถ้าอยากช่วยนกั เรียนท่ีมีปัญหาการอา่ นจริงๆ 3. อา่ นชา้ กวา่ เพอื่ นๆ และตามคนอื่นไมท่ นั ประสบการณแ์ รกของการอา่ นจะสง่ ผลกระทบยาวนานไปหลายปี ฉนั จงึ กระตนุ้ ใหค้ รู โรงเรียนประถมและครูที่สอนการอ่านปล่อยให้นักเรียนอ่านตามจังหวะของตัวเอง แมพ้ วกอา่ นชา้ จะอา่ นไมค่ รบเหมอื นพวกอา่ นเรว็ พวกพอ่ แมม่ กั ขอใหฉ้ นั สอนพเิ ศษ เดก็ เลก็ ๆ ทค่ี รบู อกวา่ อา่ นไมอ่ อกเพราะมคี วามบกพรอ่ งในการเรยี นรู้ ทงั้ ๆ ทเี่ ปน็ เพราะ ความเร็วในการอา่ นต่างหาก เด็กๆ แค่อา่ นเรว็ เทา่ กับเพอื่ นรว่ มชน้ั ไมไ่ ด้เท่าน้นั เอง แตพ่ อปลอ่ ยใหอ้ า่ นตามจงั หวะของตวั เอง พวกเขากอ็ า่ นได้ ฉนั เจอเรอ่ื งแบบนมี้ ามาก และขอยกตัวอย่างให้ฟังสัก 2 เรอื่ งดังน้ี แมข่ องเดก็ หญงิ เคยล์ ามาขอใหฉ้ นั ชว่ ยเหลอื เมอ่ื ครชู น้ั เกรด 2 ของเคยล์ าบอกวา่ จะยา้ ยเธอไปอยหู่ อ้ งเรยี นพเิ ศษ เพราะมคี วามบกพรอ่ งในการเรยี นรู้ เคยล์ าเคยไดเ้ กรดเอ ทกุ วชิ าตอนเรียนเกรด 1 แมจ่ งึ งงทีค่ รเู ช่อื วา่ สอนใหเ้ คย์ลาอา่ นหนังสอื ไมไ่ ด้ ฉนั บอกแมเ่ คยล์ าวา่ “ฉนั ไมใ่ ชค่ รสู อนการอา่ น แตก่ พ็ อจะใหค้ วามเหน็ ได้ เผอ่ื จะมี ประโยชนก์ บั คณุ บา้ ง” หลงั จากชว่ ยเคยล์ าสะกดค�ำในรายการค�ำศพั ท์ และอา่ นต�ำรามา 1 ช่ัวโมง ฉันเห็นชัดว่า ปัญหาอยู่ท่ีเคย์ลารีบท�ำงานจนสมองยังไม่ได้ประมวลข้อมูล อะไรเลย พอบอกใหช้ า้ ลงและเปลง่ เสยี งสะกดค�ำในรายการค�ำศพั ท์ เคยล์ าสะกดถกู 9 ค�ำ จากทง้ั หมด 10 ค�ำ พอใหเ้ ขยี นค�ำเดมิ ทเ่ี พง่ิ สะกดไป เธอกเ็ ขยี นถกู ครง่ึ หนง่ึ แตพ่ อใหอ้ า่ น กเ็ ปน็ เหมอื นเดมิ ฉนั จงึ ขอใหเ้ คยล์ าชา้ ลง พออา่ นจบหนง่ึ ประโยค ใหห้ ยดุ กอ่ น แลว้ บอกวา่ ประโยคนน้ั เกย่ี วกบั อะไร เคยล์ าตอบได้ แตพ่ อใหอ้ า่ นตอ่ เนอ่ื งไปเรอื่ ยๆ เธอจะรบี ๆ อา่ น 252 แล้วสะดุด และตอบค�ำถามง่ายทสี่ ดุ เกยี่ วกบั สง่ิ ที่อา่ นไปแลว้ ไม่ได้เลย
ฉนั ถามว่า “ท�ำไมตอ้ งรบี อา่ น” เคย์ลาไหลต่ กและถอนหายใจ “เพราะหนตู ้อง รีบอา่ นใหเ้ ร็ว ทโ่ี รงเรยี น เราอา่ นกันอยา่ งน”้ี “ครไู ม่สนใจว่าทุกคนอา่ นเรว็ แคไ่ หนทีโ่ รงเรียน” ฉันพูด “ครูอยากให้หนชู า้ ลง และอา่ นตามจงั หวะของตวั เอง และขอสญั ญาวา่ สกั วนั หนง่ึ หนจู ะอา่ นเรว็ เทา่ คนอนื่ หรอื เร็วกวา่ ด้วยซ�ำ้ ” เคย์ลายังไม่เช่อื จนหมดใจ แต่ยอมช้าลง และแม่ยกเว้นให้เคย์ลาไม่ตอ้ งท�ำงาน บางอยา่ งในฟารม์ ปศสุ ตั วข์ องครอบครวั ท�ำใหม้ เี วลาอา่ นมากขนึ้ หลงั เลกิ เรยี น และไมถ่ งึ 2 เดือน เคย์ลาก็เปลี่ยนจากสอบตกไปได้เกรดเอทกุ วิชา จึงไม่ต้องไปอยู่หอ้ งเรยี นพเิ ศษ และตามเพ่ือนทัน อีกคนที่ฉันสอนพิเศษให้เป็นเด็กชายแก่แดดอายุ 8 ปี ท่ีรู้ค�ำศัพท์มากมาย อย่างน่าประทับใจ ตอนพบกันคร้ังแรกเขานั่งตรงข้ามกับฉันและประกาศว่า “ผมเป็น เด็กโง่ท่ีสุดอันดับสองในชั้น” พอถามว่ารู้ได้อย่างไร เขาตอบว่า ครูติดใบคะแนนไว้บน ผนงั ห้อง พอฉนั บอกวา่ ไม่มีทางท่คี รจู ะใส่ชื่อกบั คะแนนของนักเรียนไวค้ กู่ นั เขากพ็ ูดวา่ “ครไู มไ่ ด้ใส่ชอ่ื แตเ่ รยี งคะแนนตามตวั อกั ษร และผมรวู้ ่าอันไหนเปน็ ของตวั เอง ผมเปน็ ่อาน ่อาน... เด็กโง่ที่สดุ อนั ดับสอง” วิธแี ก้ปญั หาของเขาคอื แสดงความฉลาดออกมาโดยอ่านให้เรว็ กวา่ ทกุ คน แตน่ า่ เสยี ดายทพ่ี อรบี อา่ น เขากอ็ า่ นขา้ มไปหลายค�ำ จนไดค้ ะแนนศนู ยส์ �ำหรบั ความเข้าใจในเนื้อเรื่อง หลังจากโน้มน้าวให้เขาช้าลงได้ ซ่ึงต้องใช้เวลาหลายสัปดาห์ เพราะเขามุ่งม่ันจะอ่านให้เร็วที่สุด จะได้ไม่เป็นคนโง่ท่ีสุด ทักษะการอ่านก็ดีขึ้นอย่าง รวดเร็ว และภายใน 2-3 เดอื น คะแนนกด็ ขี น้ึ จนไม่ตอ้ งมาเรยี นพเิ ศษอีก ครูสอนการอ่านชือ่ วิกกี้ ไคลน์ จากรัฐเทนเนสซี ยินดใี หค้ วามเหน็ ส�ำหรบั บทน้ี ครูใหร้ ายละเอยี ดเกี่ยวกบั ปญั หาความเร็วว่า เดก็ บางคนรูส้ ึกสับสนหลังจากไปทดสอบ ความสามารถในการอ่านระดบั ประถม ซ่งึ สั่งให้เด็กอา่ นเร็วท่สี ดุ เทา่ ท่ีจะท�ำได้ และต้อง ไดค้ ะแนนความเขา้ ใจในเนอ้ื เรอ่ื งไมต่ ำ่� กวา่ รอ้ ยละ 90 ซง่ึ ฟงั ดสู มเหตผุ ลทส่ี ดุ เพราะขนาด ตอนน้ีท่ีฉันท�ำงานกับผู้ใหญ่ บางครั้งฉันก็เช็คว่านักเรียนเข้าใจเนื้อเรื่องหรือเปล่า และ พวกเขายนื ยนั วา่ เขา้ ใจหลักเกณฑ์ของงานเฉพาะท่ฉี ันใหท้ �ำเปน็ อยา่ งดี เราจึงทบทวน ค�ำส่ังที่เขียนไว้ด้วยกัน แต่ภายหลังฉันมารู้ว่า นักเรียนไม่ได้เข้าใจท้ังหมดหรอก ก็เลย เข้าใจว่า ท�ำไมเด็กเล็กๆ ถึงจ�ำได้แค่ตรงท่ีครูบอกให้อ่าน “เร็วๆ” เท่าน้ัน และคิดว่า ต้องอา่ นให้เร็วที่สดุ เท่าทจ่ี ะท�ำไดต้ ลอดเวลา 253
ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด เนื่องจากการอา่ นเป็นพื้นฐานส�ำคัญจรงิ ๆ ของความส�ำเร็จดา้ นวิชาการ เราจึง ต้องใส่ใจเป็นพิเศษเพ่ือหาสาเหตุที่แท้จริงของปัญหาการอ่าน และเรื่องน้ีไม่ใช่ความ รบั ผดิ ชอบของครสู อนวชิ าการอา่ นเพยี งคนเดยี ว พวกเราทกุ คนกเ็ ปน็ ครสู อนการอา่ นดว้ ย และต้องร่วมมือกันเม่ือเห็นนักเรียนมีปัญหา ไม่อย่างน้ันบางคนจะเสียความม่ันใจใน ความสามารถทจ่ี ะเรียนรู้ของตวั เองไปอย่างสิ้นเชิง หรือกลายเปน็ ปัญหาดา้ นพฤตกิ รรม และเดก็ เล็กๆ ทน่ี ่าสงสารบางคนจะเปน็ โรคจิตสรีระแปรปรวน แล้วลม้ ป่วยจริงๆ เวลา ต้องกลบั ไปเผชญิ กบั เรอ่ื งเดมิ ๆ อีกวันหนง่ึ ในหอ้ งเรยี น นอ้ งชายคนสุดทอ้ งของฉนั เปน็ ตวั อยา่ งทด่ี ใี นเรอ่ื งนี้ เขาตอ้ งดนิ้ รนตอ่ สอู้ ยา่ งหนกั เพอ่ื อา่ นหนงั สอื ใหอ้ อก และมกั อาเจยี น ในตอนเชา้ กอ่ นไปโรงเรยี น เพราะการอา่ นเป็นประสบการณ์ทท่ี �ำใหเ้ ขาบอบช้�ำทางใจ ไม่มีใครในครอบครัวคิดว่าน้องชายจะอ่านหนังสือไม่ออก เพราะเราบ้าอ่านหนังสือกัน ทง้ั บา้ น เราแคค่ ดิ วา่ เขาชอบออกไปเลน่ นอกบา้ นมากกวา่ อา่ นหนงั สอื แตพ่ อฉนั กบั พสี่ าว รู้ว่าอะไรเป็นต้นเหตุของปัญหา จึงพากันสอนน้องอ่านหนังสือ ความเจ็บป่วยของเขา คอ่ ยๆ หายไป และไดค้ ะแนนดขี น้ึ จากทเ่ี คยสอบตก กก็ ลายเปน็ ไดค้ ะแนนสงู กวา่ คะแนน เฉลี่ยของช้นั 4. ครจู ดั ใหเ้ ขา้ กลุ่มเรยี น “ช้า” เสมอ ท�ำใหร้ ู้สกึ วา่ ตวั เองโง่ ฉนั มีทฤษฎที ไี่ ม่ไดม้ าจากการวจิ ยั และสถติ ิ แต่มาจากการสนทนานบั พันๆ ครัง้ กบั นักเรียนและครูทั่วประเทศ จนเช่ือว่า ประสบการณ์แรกของการอ่านมีอิทธิพลต่อ การรบั รเู้ รอื่ งเชาวป์ ญั ญาของเราแมแ้ ตต่ อนเปน็ ผใู้ หญแ่ ลว้ เหตผุ ลคอื อยา่ งน้ี ถา้ ลอง ถามผใู้ หญ่วา่ “คุณคิดวา่ ตวั เองฉลาดกวา่ เท่ากบั หรือนอ้ ยกว่าคนทว่ั ๆ ไป” ผู้ใหญ่ ส่วนใหญจ่ ะร้วู ่าตัวเองฉลาดแคไ่ หน แต่ทนี่ า่ สนใจทส่ี ดุ คอื พอถามผใู้ หญค่ นเดิมวา่ แลว้ รเู้ มอื่ ไหรว่ า่ ตวั เองฉลาดแคไ่ หน เกอื บทกุ คนบอกวา่ รตู้ อนเขา้ โรงเรยี น 2-3 ปแี รก เมื่อหัดอ่านหนังสือ ครูจะสมมติช่ือให้เรียกนักเรียนว่าอะไรก็ได้ เช่น นกบลูเบิร์ดกับ นกกระจอก ดาวกบั ลายทาง หมกี บั บอ็ บแคท แตเ่ ดก็ ๆ รเู้ สมอวา่ ใครอา่ นเรว็ (แปลวา่ “เดก็ ฉลาด”) และใครอา่ นชา้ (แปลวา่ “เดก็ โง”่ ) พวกเขารวู้ า่ ตวั เองอา่ นเรว็ หรอื ชา้ และเช่ือว่าความฉลาดข้ึนกับความเร็วในการอ่าน นักเรียนส่วนใหญ่จะเช่ือไปจน ตลอดชวี ติ วา่ ตวั เองฉลาด หรอื โง่ หรอื พอๆ กบั คนทว่ั ไป โดยดวู า่ ตวั เองหดั อา่ นไดเ้ รว็ 254 และดแี ค่ไหน
ถ้าครูหาวิธีจัดกลุ่มนักเรียนโดยไม่เอาความสามารถในการอ่านมาเป็นเกณฑ์ แม้จะไม่ใช่ทุกครั้งก็ตาม ฉันคิดว่าจะช่วยให้นักเรียนเลิกคิดว่า ถ้าอยู่ในกลุ่มอ่านเร็ว แสดงวา่ ตวั เองฉลาดมาก แตถ่ า้ อยใู่ นกลมุ่ อา่ นช้าแสดงว่าฉลาดนอ้ ย และทด่ี ีกว่าน้ันคือ การจดั กลมุ่ แบบนจี้ ะท�ำใหค้ รสู รา้ งสภาพแวดลอ้ มในหอ้ งเรยี นทท่ี กุ คนอยากชว่ ยเหลอื กนั อยา่ งจรงิ ใจ และไมล่ อ้ เลยี นหรอื ทรมานพวกเรยี นชา้ เพราะบางครง้ั เดก็ ทป่ี ระมวลขอ้ มลู ชา้ กลับมีไอคิวสูงกว่าเด็กที่ประมวลข้อมูลเร็ว การหาทางให้คนอ่านช้าท�ำอย่างอื่นได้ดี เปน็ วธิ ที ่ไี ด้ผลในการช่วยใหน้ ักเรยี นเข้าใจว่า ความฉลาดมีหลายรูปแบบ และการอา่ น เปน็ เพยี งทกั ษะหนง่ึ เทา่ นน้ั ไมใ่ ชต่ วั ชวี้ ดั ระดบั สตปิ ญั ญาหรอื ความสามารถในการเรยี นรู้ เม่ือเทอมที่แล้วน่ีเอง ฉนั ขอให้นักศกึ ษาท่ีจะไปเป็นครูในอนาคตเขยี นเลา่ ความ ทรงจ�ำในวยั เดก็ ของตวั เองตอนหดั อา่ นหนงั สอื บนั ทกึ ประจ�ำวนั ของเอมลิ เี กอื บท�ำใหฉ้ นั รอ้ งไหเ้ ลยทเี ดยี ว เธอเขียนว่า ครูแบ่งนักเรียนเป็น 3 กลุ่มการอ่านตามระดับทักษะ แม้ช่ือกลุ่มที่เป็นชื่อนก จะไมส่ อ่ นยั วา่ ใครเกง่ หรอื ไมเ่ กง่ แตค่ อ่ นขา้ งชดั เจนวา่ กลมุ่ ของฉนั ทชี่ อื่ นกโรบนิ เปน็ กลมุ่ ทีม่ ที ักษะต�ำ่ สดุ ...กลมุ่ นกโรบินถูกบังคบั ให้อ่านหนงั สือชดุ ท่อี า่ นง่าย ่อาน ่อาน... แตไ่ รจ้ นิ ตนาการ หนงั สอื ทกุ เลม่ อยใู่ นกลอ่ งเกา่ ๆ ทม่ี ฝี นุ่ จบั เขรอะ และตอ้ งอา่ น ตามล�ำดับ ทุกเล่มมีปกสีเหลือง และภาพประกอบเป็นภาพขาวด�ำธรรมดาๆ สว่ นกลุม่ นกคารด์ นิ ัลท่ีมีทักษะการอา่ นสงู จะเลือกอา่ นหนงั สือเล่มไหนในหอ้ ง ก็ได้ รวมท้ังหนังสือนทิ านสวยงามบนช้นั หนงั สอื ตรงหลงั หอ้ ง ซง่ึ ฉันคิดวา่ เปน็ หนงั สอื ของพวก “เดก็ ฉลาด” และอยากอา่ นเปน็ ที่สดุ มเี ลม่ หน่ึงทเี่ ตะตาเป็น พิเศษ เป็นหนงั สอื บทกวีมภี าพสีของนางฟา้ กับปา่ ไม้ วันหนึ่งขณะที่ครูก�ำลงั ยงุ่ กบั อกี กลมุ่ หนง่ึ ฉนั แอบไปหลงั หอ้ งและดงึ หนงั สอื เลม่ นอ้ี อกมาจากชน้ั ฉนั จดจอ่ กบั การอ่านมากจนไมเ่ ห็นวา่ ครูเดนิ มาข้างหลงั ครูลงโทษทีฉ่ ันอา่ นหนงั สือผิด ประเภท ท�ำใหฉ้ นั อบั อายตอ่ หนา้ เพอื่ นๆ และยงิ่ ท�ำใหป้ ระสบการณข์ องการอา่ น เป็นลบมากขนึ้ ฉันโกรธคณุ ครูอาร์อยู่หลายปที ที่ �ำให้ฉนั เกลยี ดการอา่ นมากๆ แต่ตอนนี้พอมองย้อนกลบั ไปจากมุมมองของครู ฉนั ก็เข้าใจวา่ ท่ีครทู �ำแบบน้นั เพราะมนี กั เรยี นมากมายในหอ้ งเรยี นขนาดใหญ่ ภายหลงั ฉนั ไดร้ บั การวนิ จิ ฉยั วา่ เป็นดสิ เล็กเซยี และต้องย้ายไปเขา้ โรงเรียนเอกชนท่มี ีโปรแกรมพเิ ศษ ซึ่งสอน ทักษะท่ีจ�ำเปน็ เพอื่ ให้อ่านและเรยี นวิชาอนื่ ๆ ไดอ้ ยา่ งดีเย่ยี ม 255
ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด แน่นอน กรณีของเอมิลีเป็นข้อยกเว้นและไม่ใช่จะเกิดขึ้นอย่างนี้เสมอไป ฉันได้พบครูสอนการอ่านนับร้อยๆ คนท่ีมีเมตตาอย่างย่ิง ฉันเล่าเร่ืองบันทึกของเอมิลี กับคณุ ไมใ่ ชเ่ พราะเชอ่ื วา่ ครสู อนการอา่ นส่วนใหญ่ลงโทษนักเรียนท่อี ่าน “หนงั สือผิด ประเภท” แต่เพราะบันทึกนี้แสดงให้เห็นว่า นักเรียนจ�ำประสบการณ์แรกของตัวเอง ในฐานะนกั อา่ นได้ชดั เจนแคไ่ หน จ�ำได้จนถงึ สขี องหนังสือและฝนุ่ เขรอะบนปก พวกเรา มภี าระรบั ผดิ ชอบทจี่ ะตอ้ งแนะน�ำใหน้ กั เรยี นรจู้ กั หนงั สอื และการอา่ น ดว้ ยวธิ ที อ่ี อ่ นโยน ที่สุดและสนับสนุนมากที่สุด อย่าลืมว่า พวกเราก�ำลังสร้างประสบการณ์อยู่ทุกวัน ในห้องเรียนท่นี กั เรียนจะจดจ�ำไปตลอดชีวติ 5. ลา้ หลังเพื่อนมากจนไมม่ วี ันตามทัน เวลานักเรียนอ่านหนังสือที่ต่�ำกว่าระดับชั้นของตัวเอง เด็กจะไม่เข้าใจว่าไม่จ�ำเป็น ต้องใชเ้ วลาถงึ 1 ปเี ตม็ ตามปฏิทนิ เพ่ือเพิม่ พูนทักษะใหข้ น้ึ ไปอีกระดบั เชน่ นกั เรยี น เกรด 9 ทผี่ ลการทดสอบจดั ใหเ้ ขาอยเู่ กรด 4 จะคดิ วา่ ตวั เองไมม่ เี วลาพอทจ่ี ะไลต่ าม เพอ่ื นทนั ฉะนนั้ เราจงึ ตอ้ งอธบิ ายใหน้ กั เรยี นฟงั กอ่ นวา่ ระดบั ของการอา่ นไมข่ นึ้ กบั ปี ตามปฏทิ นิ และเปน็ แคก่ ารวดั นกั เรยี นอา่ นเรอ่ื งราวตามระดบั เฉพาะของความซบั ซอ้ น ในค�ำศัพท์และโครงสร้างประโยคได้ดีแค่ไหน พยายามกระตุ้นให้นักเรียนเรียนรู้วิธี หาความหมายของค�ำทไี่ มค่ ุ้นเคยจากบรบิ ทของประโยค และฝกึ อ่านทุกวนั เพ่อื อ่าน ใหเ้ รว็ ขนึ้ วธิ หี นงึ่ ทฉี่ นั ใชไ้ ดผ้ ลดคี อื ใหถ้ า่ ยเอกสารบทความทเี่ ปน็ เรอ่ื งทว่ั ๆ ในนติ ยสาร และยาว 1-2 หนา้ หรอื เลอื กเนอ้ื หาจากต�ำรากไ็ ด้ แจกส�ำเนาให้ และบอกวา่ อยา่ เพงิ่ อา่ น จนกว่าจะไดส้ ญั ญาณ พอฉันพดู ว่า “เรมิ่ ” ให้ทุกคนเริ่มอา่ นนาน 1 นาทีเตม็ พอฉนั พดู วา่ “หยดุ ” ใหน้ กั เรยี นเขยี นวงกลมรอบค�ำสดุ ทา้ ยทอ่ี า่ นไปแลว้ จากนนั้ กส็ อนใหน้ บั จ�ำนวนค�ำในหนึง่ หนา้ โดยไม่ต้องนับทกุ ค�ำ แต่นับแค่ 4 บรรทัด แลว้ รวมจ�ำนวนค�ำ ทง้ั หมดเขา้ ดว้ ยกนั และหารดว้ ย 4 เพอ่ื หาคา่ เฉลยี่ ของจ�ำนวนค�ำตอ่ บรรทดั ใหน้ กั เรยี น นับว่าตัวเองอ่านไปแล้วกี่บรรทัด แล้วเอาจ�ำนวนบรรทัดคูณกับจ�ำนวนค�ำเฉลี่ยต่อ บรรทัด ก็จะได้จ�ำนวนค�ำที่อ่านได้ต่อนาที แล้วเขียนตัวเลขนั้นไว้ตรงมุมกระดาษ จากนนั้ ฉันจะเก็บรวบรวมบทความท่แี ตล่ ะคนอา่ นไปเกบ็ ไว้ 1 เดอื น 256
พอถึงปลายเดือน พวกเราจะอ่านบทความเดิมอีกคร้ัง และนับว่าอ่านได้กี่ค�ำ ่อาน ่อาน... ถา้ นกั เรยี นฝกึ อา่ นในชน้ั กม็ กั จะอา่ นไดเ้ รว็ ขนึ้ และเหน็ วา่ แมก้ ารฝกึ จะไมท่ �ำใหไ้ ดผ้ ลงาน ทส่ี มบรู ณแ์ บบ แตร่ บั รองวา่ ไดผ้ ลดขี นึ้ แนน่ อน พวกเราเอาบทความไปเกบ็ ไว้ แลว้ พออกี 1 เดือน ก็ลองอ่านบทความท่ีเลือกมาใหม่ แล้วฝึกอ่านสัก 2-3 คร้ัง พอเริ่มคุ้นกับ เรื่องเก่าแล้ว ก็เปลี่ยนไปอา่ นเรอ่ื งใหม่ 6. เชื่อว่าต้องอ่านงานท่ีครูส่ังทุกช้ินจนจบ ไม่ว่าจะยาวหรือยากแค่ไหน คุณเคย ขนหนงั สอื เปน็ ตง้ั กลบั บา้ นจากหอ้ งสมดุ หรอื รา้ นหนงั สอื แลว้ กเ็ ลอื กทจี่ ะไมอ่ า่ น 1-2 เลม่ จนจบเพราะไม่ดอี ยา่ งทหี่ วงั ไว้ หรอื อา่ นไปได้ครง่ึ เล่มแลว้ เลิกอ่าน เพราะน่าสนใจ นอ้ ยกวา่ กจิ กรรมอน่ื ๆ ในชวี ติ ฉนั เดาวา่ คณุ ตอ้ งเคยเลกิ อา่ นหนงั สอื กลางคนั เหมอื นกนั จึงขอแนะน�ำว่า ถ้านักเรียนท่ีไม่เต็มใจอ่านหนังสือ อยากจะเลิกอ่านเรื่องท่ีตัวเอง ไมช่ อบ กย็ อมตามนน้ั ไปเปน็ บางครงั้ แตไ่ มใ่ ชต่ ลอดไป ใหค้ อยจนกวา่ นกั เรยี นจะอา่ น ไดด้ พี อและไม่กลัวการอ่าน เพราะความทา้ ทายเป็นเรือ่ งดกี จ็ รงิ แตก่ ารตอ้ งท�ำงาน ทไ่ี มม่ วี นั ท�ำไดเ้ ปน็ เรอ่ื งแย่ การบงั คบั ใหค้ นทอ่ี า่ นไมเ่ กง่ ไปอา่ นเรอ่ื งทเ่ี กนิ ความสามารถ มากๆ หรือไม่สัมพันธ์อะไรกับพวกเขาเลย จะท�ำให้การอ่านกลายเป็นงานน่าเบ่ือ มากกวา่ ทีจ่ ะเปน็ วธิ ีไดข้ ้อมลู แสวงหามุมมองใหม่ๆ หรอื ไดค้ วามบันเทิง คนท่ีอา่ น หนงั สอื ไมเ่ กง่ จะไมม่ โี อกาสกา้ วหนา้ เลยเมอื่ ถกู บงั คบั ใหอ้ า่ นเรอื่ งทตี่ วั เองเกลยี ดจนจบ ทันทีท่ีนักเรียนกลายเป็นนักอ่านท่ีดี ก็จะเต็มใจอ่านเร่ืองที่ครูให้อ่านมากขึ้น นักอ่านทดี่ ีจะพยายามแก้ปญั หาทุกอย่าง เพราะรู้ว่าแม้บางครง้ั การอ่านจะยากล�ำบาก จรงิ ๆ แตจ่ ะไดร้ างวลั จากการไดม้ มุ มองใหม่ ความรใู้ หม่ เจอเรอื่ งนา่ ตนื่ เตน้ ทไี่ มร่ มู้ ากอ่ น สมองได้รับการกระตุ้น และเข้าสู่โลกใหม่ท่ีต่างจากเดิมอย่างสิ้นเชิง หรืออย่างน้อย กพ็ งึ พอใจทไ่ี ดเ้ อาชนะความทา้ ทายทางใจทย่ี ากล�ำบาก แตค่ นทอ่ี า่ นหนงั สอื ไมเ่ กง่ ไมเ่ คย ไดป้ ระโยชนอ์ ะไรแบบนน้ั คณุ จงึ ไมอ่ าจโนม้ นา้ วใหพ้ วกเขาเชอื่ วา่ การอา่ นเปน็ เรอื่ งสนกุ จนกว่าจะอา่ นเกง่ มากจนลมื ไปเลยวา่ ก�ำลงั อ่านหนังสือ 257
ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด ข้อแนะน�ำนี้อาจจะขัดกับความเชื่อแบบครูของคุณ แต่ขอให้ลองไตร่ตรองดู โดยสญั ญากบั นกั เรยี นวา่ อยากใหล้ องอา่ นบทความ นยิ าย เรอ่ื งจรงิ เรยี งความ เรอื่ งราว หรือบทละครชวี ิตอะไรกไ็ ดท้ คี่ รูให้อา่ นสกั ครง่ึ หน่งึ กอ่ น แล้วพอถึงคร่งึ ครูจะใหน้ ักเรียน ยกมอื ลงคะแนนเพือ่ ดวู ่า นักเรียนสว่ นใหญอ่ ยากอา่ นต่อจนจบหรอื ไม่ ถา้ มากกว่าคร่งึ ลงคะแนนต่อต้าน เราจะเลิกอ่าน แต่ถ้าใครอยากอ่านต่อ ก็ไม่ว่าอะไร แต่จะไม่บังคับ ให้ทัง้ ชั้นต้องอ่านต่อ แล้วขอใหน้ กั เรยี นเขียนวจิ ารณ์เรือ่ งท่ีอ่านไปแลว้ สนั้ ๆ และเปลีย่ น ไปท�ำกจิ กรรมถัดไป (ขอแนะน�ำให้เปน็ กจิ กรรมทไ่ี มใ่ ชก่ ารอา่ น) ฉันจะอธิบายวา่ ท�ำไมจงึ แนะน�ำแบบน้ี ในช้ันมัธยมหนงึ่ ที่ฉันเคยสอน นักเรียน ก�ำลงั อา่ นเรอ่ื งสนั้ ชอื่ “The Birds” ของ ดาฟเน ดู มอรเิ ยร์ ตอนเหน็ ชอ่ื เรอ่ื งนใี้ นสารบญั ของต�ำราวรรณกรรม พวกเขาพากนั ต่ืนเต้นท่จี ะไดอ้ า่ น เพราะเปน็ เร่ืองท่ดี ูน่ากลัว และ บางคนกเ็ คยชมภาพยนตรม์ าแลว้ หรอื เคยไดย้ นิ มากอ่ น จงึ ตงั้ ตารอคอยทจ่ี ะอา่ น จะเขยี น ค�ำวิจารณ์ และชมภาพยนตร์ แต่พออ่านไปได้ครึ่งหนึ่ง ฉันสังเกตว่า นักเรียนหลายคน ก้มหวั ลง และบางคนหลับไปเลย พอปลกุ คนทห่ี ลบั ใหต้ นื่ ขน้ึ แลว้ ฉนั ถามวา่ “ครคู ดิ วา่ นกั เรยี นตงั้ ตารอคอยจะอา่ น เรอื่ งนี้ แลว้ เกดิ อะไรขึ้น” นักเรยี นตอบไมไ่ ด้ แตเ่ หน็ ชดั ว่า พวกเขาผดิ หวังและไม่มีใคร อยากอ่านจนจบ ฉันจึงให้นักเรียนจับกลุ่มย่อยเพ่ือคุยกันว่า ท�ำไมไม่ชอบเร่ืองนี้อย่าง ทคี่ ดิ ไว้ พวกเขาสรปุ ไวใ้ นบทวจิ ารณว์ า่ เรอื่ งนเี้ ขยี นดว้ ย “สไตลท์ ล่ี า้ สมยั ” ใชภ้ าษาโออ้ วด และมบี ทเจรจานอ้ ยเกินไป บางคนแยง้ วา่ ส่ิงที่ดูเขยา่ ขวญั และนา่ กลัวในหนงั สือกลับไม่ นา่ กลวั เลยส�ำหรบั พวกทเ่ี คยดหู นงั สยองขวญั ซง่ึ ใชเ้ ทคนคิ การถา่ ยท�ำพเิ ศษแบบเหลอื เชอื่ มามากแล้ว นกั เรียนคิดวา่ โครงสรา้ งประโยคและยอ่ หนา้ ซับซ้อนเกนิ ไปจนสร้างอารมณ์ ของผ้อู า่ นได้อย่างเช่อื งชา้ พออ่านบทวิจารณ์ของนักเรียนจบแล้ว ฉันพูดว่า “เอาละ เลิกอ่าน แล้วหา อยา่ งอน่ื ท่นี า่ สนใจกว่านกี้ นั เถอะ” นักเรยี นหลายคนถามวา่ “จรงิ เหรอ” ฉันตอบว่า “ในชีวิตจริง ถ้าไม่ชอบอะไรสักอย่าง ก็ไม่จ�ำเป็นต้องท�ำจนเสร็จ เวลายมื หนงั สือจากห้องสมุดมา 10 เล่ม ก็ไม่จ�ำเปน็ ตอ้ งอา่ น ต้องเขยี นวิจารณห์ นงั สือ 258 แต่จะอ่านแค่หนึ่งบทหรือหน่ึงหน้าจากหนังสือแต่ละเล่ม แล้วเอากลับไปคืนก็ได้ และ
ท�ำแบบน้ันจนกว่าจะเจอหนังสือที่อยากอ่าน แล้วพอผ่านไประยะหนึ่ง ก็จะรู้เองว่า ่อาน ่อาน... ชอบอา่ นแนวไหน แลว้ อา่ นหนงั สอื ที่ตัวเองชอบ” นักเรียนคนหนงึ่ พูดวา่ “ยอดไปเลย แล้วพวกเราจะไดด้ ูหนังหรอื เปลา่ ” ฉนั ตอบวา่ “ไม่ ถา้ อา่ นไมจ่ บ และถา้ มหี นงั ทสี่ รา้ งจากหนงั สอื เลม่ นน้ั เราจะไมด่ ู จะไมม่ กี ารทดสอบ แต่จะเขียนบทวจิ ารณ์ อภปิ รายส้นั ๆ แลว้ ท�ำกิจกรรมอนื่ ต่อไป” นักเรยี นตอบสนองตอ่ “กิจกรรมอน่ื ” อยา่ งกระตือรือร้นมากจนฉนั ก�ำหนดให้ นโยบาย “อา่ นครง่ึ หนงึ่ แลว้ ลงคะแนน” เปน็ มาตรฐานการอา่ นในกลมุ่ นกั เรยี นทม่ี ปี ญั หา การอา่ น หรอื ไมเ่ ตม็ ใจอา่ น แนน่ อน ตอนประกาศนโยบายนี้ นกั เรยี นจะย้ิมยงิ ฟันเสมอ และเตอื นฉนั วา่ พวกเขาจะไมม่ วี นั อา่ นอะไรจบหรอก เพราะนกั เรยี นจะพากนั ลงคะแนน ตอ่ ตา้ น โดยเฉพาะงานเขยี นของเชกสเปยี ร์ แตไ่ ม่ว่าจะเกลียดการอ่านแค่ไหน กไ็ ม่เคย มีช้ันไหนลงคะแนนให้เลกิ อ่านเรอ่ื ง The Taming of the Shrew หรือ Othello หรือ The Merchant of Venice เลย (ตอนตอ่ ไปในบทน้ี ฉันจะเลา่ วธิ สี อนใหน้ กั เรียนอ่าน งานเขยี นของเชกสเปียร)์ ฉันเช่อื ว่า เหตผุ ลหนึง่ ท่ีวิธนี ้ไี ด้ผลดีมาก เป็นเพราะนกั เรยี นรู้สึกว่ามีทางเลอื ก ในการอ่าน และพอรวู้ า่ ตัวเองจะลงคะแนนใหเ้ ลิกอ่านเร่ืองอะไรหรือนยิ ายเล่มไหนกไ็ ด้ กม็ กั จะอา่ นตอ่ ไป เพราะไมร่ สู้ กึ วา่ จ�ำเปน็ ตอ้ งตอ่ ตา้ นเพยี งเพอ่ื จะตอ่ ตา้ นเทา่ นน้ั นานๆ ครง้ั นักเรียนจะลงมตใิ หเ้ ลกิ อา่ นทกุ อย่างทค่ี รใู ห้อ่าน เพียงเพราะอยากจะท�ำตัวนา่ รงั เกยี จ สุดๆ ถ้าเป็นแบบนั้น ฉันจะเอาเรื่องที่ทั้งยาวและยากจริงๆ ให้อ่าน เพื่อว่าพอไปถึง กลางเรอื่ งแล้วนกั เรยี นลงคะแนนใหเ้ ลิกอ่าน ฉนั จะไดเ้ อาเร่อื งส้ันๆ มาให้ แลว้ นักเรยี น จะเตม็ ใจอา่ นทกุ อยา่ งทีค่ รูเลือกให้อย่างทีส่ ุด เพราะไมใ่ ช่วา่ พอลงคะแนนเลกิ อา่ นแล้ว จะไมต่ ้องอา่ นอะไรอีกเลย การอ่านไม่ได้หายไป การเลกิ อา่ นไม่ใช่ทางเลือกส�ำหรับฉนั และนักเรยี น 7. คิดวา่ พออ่านจบแล้วตอ้ งไปทดสอบ และจะต้องสอบตกแนๆ่ ฉนั รวู้ า่ การทดสอบเปน็ เรอ่ื งส�ำคญั โดยเฉพาะในสมยั น้ี ฉะนนั้ จดั การทดสอบมาตรฐาน ใหน้ กั เรียนต่อเม่ือตอ้ งทดสอบ แต่ถา้ มีทางเลอื กระหวา่ งการทดสอบการอา่ น กบั การ ใหโ้ อกาสนกั เรยี นตอบสนองตอ่ การอา่ นของตวั เองอยา่ งจรงิ ใจ ขอใหเ้ ลอื กทางทสี่ อง 259
ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด เพราะมเี วลาอีกมากมายที่จะทดสอบ หลังจากนักเรียนปรับปรงุ ทักษะการอ่าน และ ม่ันใจวา่ ตัวเองอา่ นได้ดแี ลว้ แมแ้ ตใ่ นระดบั มหาวทิ ยาลยั กม็ คี นทไี่ มเ่ ตม็ ใจอา่ นอยู่ 2-3 คน ในทกุ ๆ กลมุ่ เสมอ บางครั้งพวกเขาไม่อ่านงานส�ำคัญๆ บางช้ิน ถา้ เชอ่ื วา่ จะไม่มีการทดสอบ หรอื ไม่ตอ้ งส่ง บทวิจารณ์ หรอื ไม่ตอ้ งอภปิ รายหวั ขอ้ น้นั ครูสอนการอา่ นบางคนจงึ ออกแบบการสอบ ให้ “จับผิด” นักเรียนท่ีไม่อ่านจนได้ วิธีนี้ใช้ได้ผลก็จริง แต่ไม่อาจจูงใจคนท่ีไม่เต็มใจ อา่ นได้ รงั แตจ่ ะท�ำใหไ้ มอ่ ยากอา่ นยง่ิ ขนึ้ เพราะท�ำนายไดถ้ กู ตอ้ งวา่ ไมต่ อ้ งอา่ นเรอ่ื งไหนบา้ ง นักเรยี นจะอ่านแค่บางเรอ่ื ง แลว้ ไปทดสอบ แต่ถ้าเปลยี่ นวธิ ี เราจะจงู ใจใหน้ ักเรียนอ่าน มากขนึ้ ในทกุ ระดบั อายุ เชน่ ออกแบบงานและกจิ กรรมทบ่ี งั คบั ไปในตวั วา่ ตอ้ งอา่ นจงึ จะ ท�ำงานเสร็จได้ หรอื ออกแบบใหต้ า่ งไป เพื่อให้นกั เรียนสนใจอยากอ่าน แทนท่จี ะให้อ่าน เพื่อทดสอบเทา่ นั้น ฉนั คดิ วา่ วธิ ดี ที ส่ี ดุ ทจ่ี ะเอาชนะวงจรการอา่ นเสรจ็ แลว้ ทดสอบได้ คอื ตอ้ งท�ำลาย วงจรนน้ั ให้นกั เรียนทั้งช้นั อา่ นเรือ่ งส้ันๆ 2-3 ช้ิน ดว้ ยกัน พอจบแตล่ ะช้นิ ก็เปดิ โอกาส ใหแ้ สดงความเหน็ โดยถามวา่ “เอาละ คดิ อยา่ งไรกบั เรอ่ื งนบ้ี า้ ง” แลว้ ยอมรบั วา่ ขอ้ คดิ เหน็ ของทุกคนมีคุณค่า แต่ถ้าไม่มีใครพูดอะไร ให้บอกว่า “ถ้าอย่างนั้น เราจะปล่อยให้ ความคิดนั้นอยู่ในใจของทุกคนไปสักระยะหน่ึง” แล้วท�ำกิจกรรมถัดไป เพื่อให้เห็นว่า การอ่านไม่ใช่งานน่าเบ่ือ หรือการแข่งขัน หรือการทดสอบ แต่เป็นทักษะตลอดชีวิต ทเ่ี ราใชเ้ พอื่ จะไดข้ อ้ มลู หามมุ มองใหม่ และกระตนุ้ ใหส้ มองท�ำงาน เหมอื นทนี่ กั เรยี นเกา่ คนหนึ่งพูดไว้น่าฟังว่า “คุณไม่จ�ำเป็นต้องแลกเปลี่ยนความคิดเห็นทุกเรื่องหรอกนะ บางเรอ่ื งแคอ่ ่านกพ็ อแลว้ แค่นน้ั แหละ” ฉันไม่ได้แนะน�ำให้เลิกการทดสอบหรือการประเมินผลไปเลย เพียงแต่เปลี่ยน รูปแบบเทา่ นนั้ เช่น ตอนอ่านเป็นกลุ่ม เรากข็ อให้นกั เรยี นหยุดและเขยี นค�ำตอบส�ำหรับ ค�ำถาม 1 ข้อ เก่ียวกับเร่ืองท่ีอ่าน เช่น ตัวละครไหนซ่ือสัตย์ท่ีสุด ท�ำไมเขาท�ำแบบนั้น ถ้าเป็นนักเรียน จะท�ำอะไรในสถานการณ์น้ัน แล้วให้คะแนนตามความคิดและความ พยายามทจี่ ะตอบ ไมใ่ ช่ดวู า่ ตอบ “ถูก” หรือเปลา่ แล้วตามดว้ ยการอภิปรายส้ันๆ เพือ่ ให้ทุกคนรวู้ ่าคนอน่ื คดิ อะไรบา้ ง โดยไมท่ �ำใหค้ นใดคนหนึง่ กลายเปน็ จุดสนใจของทุกคน 260 วธิ นี จี้ ะสอนใหน้ กั เรยี นวเิ คราะหเ์ นอ้ื หาโดยไมท่ นั คดิ วา่ ก�ำลงั เรยี นรู้ เพราะนกึ วา่ แคค่ ยุ กนั
อกี ทางเลอื กหนงึ่ คอื แบง่ นกั เรยี นเปน็ กลมุ่ ยอ่ ย และใหค้ �ำถามเปน็ ชดุ เพอื่ อภปิ ราย ่อาน ่อาน... งานท่ีครูให้อ่าน ถ้าคนไหนไม่อ่าน ก็ไม่มีอะไรจะพูด ครูเดินเวียนไปรอบห้องเพื่อฟัง การอภปิ รายตามกลมุ่ พอผา่ นไป 2-3 นาที คณุ อาจจะขดั จงั หวะและประกาศวา่ “ดเู หมอื นวา่ บางคนยังไมไ่ ดอ้ า่ น กเ็ ลยใหข้ อ้ คิดเห็นทเี่ ปน็ ประโยชน์ต่อกลมุ่ ไมไ่ ด้ ฉะน้ันขอให้ทุกคน ที่ไม่ไดอ้ ่านมารวมกบั ครูตรงนี้ เราจะอา่ นเรว็ ๆ แล้วคยุ กัน” ตอนนีน้ กั เรียนทีอ่ ่านไม่จบ จะตอ้ งนงั่ อา่ นกบั ครู และแนน่ อนตอ้ งท�ำงานหนกั กวา่ เวลาท�ำในกลมุ่ กบั เพอ่ื นๆ แตบ่ างคน ยนิ ดที ไ่ี ดอ้ า่ นและพดู คยุ โดยมคี รคู อยแนะน�ำ เพราะท�ำใหม้ โี อกาสคน้ พบ “ค�ำตอบทถ่ี กู ตอ้ ง” ไมว่ า่ จะเปน็ แบบไหน พลวตั ในหอ้ งเรยี นจะตา่ งไปจากเวลาทคี่ ณุ ทดสอบนกั เรยี นทมี่ ปี ญั หา การอา่ นแลว้ ใหพ้ วกเขาสอบตก พอเรมิ่ คิดถึงทางเลือกทไ่ี ม่ตอ้ งทดสอบ คุณจะเหน็ ความเป็นไปได้มากมาย เชน่ หยดุ การอา่ นเปน็ ระยะๆ แลว้ ขอใหน้ กั เรยี นยกนวิ้ โปง้ ชขี้ นึ้ หรอื ควำ่� ลงแสดงความเหน็ ดว้ ย ไม่เห็นด้วย เพื่อตอบค�ำถามเก่ียวกับการอ่าน พวกเขาจะได้มีส่วนร่วม มีโอกาสแสดง ความเหน็ โดยไมท่ �ำตวั เปน็ จดุ เดน่ และท�ำใหค้ รรู วู้ า่ ใครเขา้ ใจ และใครไมเ่ ขา้ ใจบา้ ง หรอื จดั นักเรยี นเป็นกล่มุ และมหี นงั สือหรอื เรือ่ งทจ่ี ะอ่านหลายแบบใหเ้ ลอื ก จากนัน้ ปลอ่ ย ใหน้ กั เรยี นวางแผนการอภปิ รายของกลมุ่ และการน�ำเสนอความคดิ เหน็ ตอ่ เพอ่ื นๆ เรามี วธิ มี ากมายใหน้ กั เรยี นเลอื ก (ใชภ้ าพ เสยี ง และการเคลอ่ื นไหว) เชน่ ออกแบบปกหนงั สอื ทมี่ ี “ค�ำนยิ ม” จากบทวจิ ารณห์ นงั สอื หรอื ผอู้ า่ น ท�ำโปสเตอรห์ นงั ทมี่ บี ทบรรยายเรอ่ื งราว สั้นๆ จดั ใหม้ ีคณะผวู้ ิจารณ์หนังสือแสดงความเหน็ ให้ท้ังชน้ั ไดร้ บั ฟงั หรือด�ำเนนิ รายการ ถามตอบกบั นกั เขยี นเหมอื นในโทรทศั น์ ถ้าคุณจะทดสอบนักเรียนด้วยวิธีแบบเก่าท่ีท�ำกันโดยท่ัวไป ก็อย่าใช้รูปแบบ เดิมๆ ทุกคร้ัง เช่น อย่าใช้ข้อสอบแบบหลายตัวเลือก หรือจับคู่ แต่ใช้ค�ำถามปลายเปิด เพ่ือให้นักเรียนเขียนเรียงความส้ันๆ หรือบันทึกการอ่านประจ�ำวัน ให้นักเรียนคิดถึงค�ำ คุณศัพท์ดีๆ 3 ค�ำ ที่จะบรรยายตัวละครบางตัวโดยเฉพาะ และให้หาตัวอย่างของส่ิงท่ี ตัวละครพูดหรือท�ำเพื่อสนับสนุนค�ำคุณศัพท์น้ันๆ หรือจัดอันดับข้อสรุปของเร่ืองราว และอธบิ ายวา่ ท�ำไมจงึ ชอบไม่ชอบ หรอื เห็นด้วยไมเ่ หน็ ด้วย 261
ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด 8. เรอื่ งท่ีครูใหอ้ า่ นสว่ นใหญ่ไม่น่าสนใจเลย เราจะโนม้ นา้ วใหน้ กั วชิ าการอา่ นอะไรกไ็ ดเ้ พอ่ื วเิ คราะหแ์ ละประเมนิ เรอ่ื งทอี่ า่ น แตย่ าก จะโนม้ นา้ วคนท่อี า่ นหนงั สือไมเ่ กง่ คนทีม่ ีปัญหาการอ่าน และนักเรยี นที่ก�ำลงั พฒั นา ทกั ษะการคดิ เชงิ วพิ ากษ์ แตค่ วามสามารถของนกั เรยี นทมี่ ปี ญั หาการอา่ นจะงอกงาม เบง่ บานได้ ถา้ คณุ ใหเ้ รอื่ งทน่ี า่ สนใจมากจนพวกเขาอดใจอา่ นไมไ่ ด้ นนั่ แหละคอื กลวธิ ี ท่ีต้องใช้ กล่าวคือ ให้อ่านเร่ืองท่ีจับจิตจับใจมากจนลืมไปเลยว่าก�ำลังอ่านหนังสือ คณุ อาจจะต้องทงิ้ ต�ำราไปบา้ ง แม้ในนั้นจะมเี ร่ืองราวนา่ สนใจจริงๆ เพราะขึ้นชือ่ วา่ ต�ำรา กฟ็ ังดูไมน่ า่ สนใจเลย (แต่บางครัง้ ฉนั ก็ท�ำเรอื่ งราวหรอื บทกวีจากต�ำรามาแจก พอนกั เรยี นอา่ นแลว้ ก็ชอบ และแปลกใจเมอ่ื รู้ภายหลังว่า เร่อื งทอ่ี า่ นสนุกนั้นมาจาก ต�ำราของตวั เอง) หาบทความในนิตยสารท่ีกระตุ้นความสนใจเกี่ยวกับผู้คนวัยเดียวกับนักเรียน ดูหนงั สือรวมบทความเกยี่ วกับประเด็นทข่ี ัดแยง้ กนั เช่น การควบคุมอาวธุ ปืน หรือการ อพยพเข้ามาในประเทศ ในหนังสือรวมบทความจะมีค�ำถามส�ำหรับการอภิปราย และ ค�ำถามหรือค�ำแนะน�ำเป็นชุดท่ีกระตุ้นการเขียนได้ ค้นหาเร่ืองราวต่างๆ ทางออนไลน์ เช่น เรื่องจริงเก่ียวกับการผจญภัย อาชญากรรม กีฬา และบทความท่ีมีหัวข้อน่าสนใจ ส�ำหรบั เดก็ ๆ หรอื วยั รนุ่ เชน่ วธิ ที �ำตวั ใหค้ นนยิ ม การหาเพอื่ น การเขา้ มหาวทิ ยาลยั หรอื การเลอื กสัตว์เลี้ยง เปน็ ตน้ เวลาคน้ หาเรือ่ งท่นี า่ สนใจ ใหจ้ �ำไวว้ า่ เดก็ ผชู้ ายมักเกลียดเรือ่ งแต่ง ไมร่ ู้วา่ ท�ำไม แต่ครภู าษาอังกฤษและครสู อนการอ่านจ�ำนวนมากยนื ยันว่าเปน็ อย่างนั้นจรงิ ๆ ผู้ใหญ่ ที่เป็นผู้ชายก็ชอบเรื่องจริงเหมือนกัน ที่ร้านหนังสือเราจะเห็นผู้ชายอยู่ตามชั้นหนังสือ พวกชีวประวัติ วิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ทางทหาร และหนังสือที่สอนวิธีท�ำอะไรๆ ดว้ ยตวั เองมากกวา่ ทจ่ี ะอยตู่ ามชนั้ หนงั สอื วรรณกรรม อาจเปน็ เพราะผชู้ ายรออะไรนานๆ ไม่เป็น หรือไมอ่ ยากรอนานกวา่ จะท�ำใจใหเ้ ช่อื และมีอารมณ์รว่ มไปกบั เหตุการณ์สมมติ ในเรอ่ื งแตง่ ได้ (ยกเวน้ นยิ ายวทิ ยาศาสตร)์ เดก็ ผชู้ ายจะอา่ นเรอ่ื งทไี่ มใ่ ชเ่ รอ่ื งแตง่ เกยี่ วกบั แมลง ไดโนเสาร์ รถแขง่ คอมพวิ เตอร์ กฬี า ยานอวกาศ นักประดิษฐ์ และมังกร ถา้ คณุ อนญุ าตให้เด็กๆ ทีไ่ มช่ อบเร่อื งแตง่ มาอา่ นเรื่องจริงก่อนจนอา่ นหนงั สอื คลอ่ ง ภายหลัง 262 พวกเขาจะอา่ นเรอื่ งแตง่ ไดด้ ขี นึ้ และมแี นวโนม้ จะอา่ นมากขน้ึ เวลาคณุ ขอใหอ้ า่ น แลว้ พอ
อา่ นคลอ่ งขน้ึ นอกจากจะชว่ ยใหน้ กั เรยี นปรบั ปรงุ ทกั ษะการอา่ นแลว้ คณุ ยงั จะไดส้ อนวา่ ่อาน ่อาน... หนังสือก็สนุกได้เหมือนกัน และบางคร้ัง เราก็จ�ำเป็นต้องอ่านสิ่งที่ตัวเองไม่ได้คลั่งไคล้ เพื่อเรยี นรู้ข้อมูลใหม่ หรอื พัฒนาทักษะใหม่ๆ วิธีหนึ่งที่จะท�ำให้นักเรียนสนใจอ่านส่ิงที่คุณให้ทั้งกลุ่มอ่านเหมือนกันได้ก็คือ แจกงานใหเ้ ฉยๆ โดยไมต่ อ้ งประกาศวา่ จะตอ้ งอา่ น แลว้ ปลอ่ ยใหด้ เู อง บางคนจะเรมิ่ อา่ น ทันที แต่บางคนจะคอยให้ครูส่ังก่อน ถ้านักเรียนเริ่มอ่านอย่างรวดเร็ว และเร่ิมแสดง ความคดิ เหน็ ออกมา กอ็ ยา่ ไปหา้ ม เพราะขอ้ คดิ เหน็ เหลา่ นน้ั จะกระตนุ้ ใหค้ นอนื่ อยากอา่ น ถ้านักเรียนไม่เริ่มส่งเสียงดัง ก็ปล่อยให้คุยกันเองสักระยะหน่ึง แล้วขอให้ทุกคนช่วย กลบั ไปเรมิ่ ใหม่ เพอ่ื จะไดอ้ า่ นงานทง้ั หมดพรอ้ มกนั ทง้ั ชนั้ แลว้ แลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ กนั (ถา้ บางคนไมใ่ สใ่ จ และอา่ นตอ่ ไปโดยไมร่ อคนอนื่ กป็ ลอ่ ยไป ถา้ ท�ำตวั สภุ าพและไมข่ ดั ขวาง การอ่านของคนอน่ื และพออ่านจบแลว้ พวกเขาอาจจะอ่านพร้อมคนอนื่ ๆ อกี คร้งั ก็ได้ เพราะพวกอา่ นเรว็ จะหงดุ หงดิ มากถา้ ตอ้ งหยดุ รอคนอน่ื หลายคนจะไมเ่ ปดิ ใจรบั รอู้ ะไรอกี หรือเริ่มก่อกวนคนอ่นื เพราะรสู้ กึ เบ่อื ดังนัน้ ถา้ คุณระงบั ใจได้ กอ็ ย่าไปควบคุม ปล่อยให้ อ่านไป แลว้ จะเป็นประโยชน์กบั ทุกคนรวมทัง้ ตัวคุณด้วย) กิจกรรมหนึ่งท่ีฉันใช้ได้ผลดีคือ การแลกเปลี่ยนหนังสือ ฉันมีหนังสือมากมาย จากหอ้ งสมุดสาธารณะหรือห้องสมุดโรงเรยี นในหวั ขอ้ ท่ีหลากหลาย ตั้งแต่ยานอวกาศ และนยิ ายรกั ของวยั รนุ่ ไปจนถงึ เรอื่ งสยองขวญั กอ่ นเรมิ่ สอน ฉนั จะวางหนงั สอื ไวบ้ นโตะ๊ นกั เรียนแตล่ ะคน แล้วให้อา่ นคนละ 5 นาที จากน้นั ก็ใหค้ ะแนนความชอบตงั้ แต่ 1 ถงึ 10 และจดประเด็นส�ำคัญๆ 2-3 อย่าง ลงในบัตรดัชนีอย่างรวดเร็ว แล้วแลกหนังสือ กบั เพอื่ น และอา่ นสกั 5 นาที จากนน้ั กใ็ หค้ ะแนนและบนั ทกึ ประเดน็ ส�ำคญั ๆ ท�ำซำ้� แบบน้ี จนอา่ นหนงั สอื ไดอ้ ยา่ งนอ้ ยทสี่ ดุ 5 เลม่ ถา้ ชอบเลม่ ไหนเปน็ พเิ ศษ กเ็ กบ็ เลม่ นน้ั ไว้ แตถ่ า้ ไมช่ อบเลย ก็เอาไปแลกกบั เพ่อื นตอ่ ไป จนกวา่ จะเจอเล่มทีช่ อบ นกั เรียนบางคนอาจใช้ เวลา 1 คาบ (หรอื 2 คาบ) ในห้องสมุด เพ่อื หาหนงั สือที่ตวั เองชอบจนอดใจอา่ นไมไ่ ด้ การใหโ้ อกาสนักเรียนท�ำแบบนเี้ ป็นการใชเ้ วลาของครูกบั นักเรยี นอยา่ งค้มุ ค่า (คณุ จะดู ออกว่ามีใครด้อื ดา้ นไมย่ อมหาอะไรเลยเพียงเพื่อจะหลีกเลี่ยงการอา่ น ถ้าเป็นแบบนนั้ ฉันจะหาหนังสือหรือบทความให้เอง และยืนกรานให้ลองอ่านสักหนึ่งคร้ัง ฉันบอกว่า ถ้าหาอะไรท่ีชอบไม่เจอ ครูจะหาให้ และเปล่ียนแนวไปเรื่อยๆ วิธีน้ีเป็นแรงบันดาลใจ 263
ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด ใหน้ กั เรยี นหาเองเสมอ เพราะรวู้ า่ ถงึ อยา่ งไรกต็ อ้ งอา่ นอยดู่ ี แคช่ า้ หรอื เรว็ เทา่ นนั้ นกั เรยี น จงึ ยอมแพแ้ ละยอมรบั ชะตากรรม แตถ่ า้ เลอื กอา่ นเองได้ นกั เรยี นมกั จะสนกุ กบั การอา่ น หรืออยา่ งนอ้ ยทส่ี ุดกไ็ ม่เกลียดการอา่ นมากนกั ซึ่งถือเปน็ เรือ่ งดี) 9. อา่ นแล้วไมเ่ ข้าใจและจ�ำไมไ่ ด้วา่ เพิ่งอา่ นอะไรไป นา่ เสยี ดายที่นักเรียนหลายคนซึ่งอา่ นได้ค่อนข้างดี แตไ่ มเ่ ข้าใจส่งิ ท่กี �ำลังอ่าน เพราะ พลาดประเดน็ ส�ำคญั ทว่ี า่ เวลาอา่ นหนงั สอื ตอ้ งสรา้ งความหมายเชอื่ มโยงอะไรบางอยา่ ง ขน้ึ มาในใจดว้ ย เพราะถา้ ไมม่ คี วามหมายอยา่ งนนั้ แลว้ ค�ำตา่ งๆ กเ็ ปน็ แคค่ �ำ เดก็ ชาย คนหนง่ึ บรรยายประสบการณข์ องตวั เองไวอ้ ยา่ งน้ี “กเ็ หมอื นตอนอา่ นปา้ ยหนา้ ธนาคาร ทีม่ ตี ัวอักษรวิ่ง พออ่านจบปุ๊บ ค�ำก็หายป๊บั ” คุณไม่จ�ำเป็นต้องเป็นครูสอนการอ่านจึงจะให้ค�ำแนะน�ำพื้นฐานส�ำหรับความ เข้าใจในการอา่ นแกน่ ักเรยี นได้ อนั ดับแรก ใหอ้ ธิบายว่า ตอนอ่านหนงั สือ ใหส้ รา้ งภาพ ในใจของสิ่งที่ก�ำลังอ่านข้ึนมา พอเติมรายละเอียดลงไปมากข้ึน ภาพจะชัดข้ึน หรือ เปลย่ี นไปเมอ่ื มขี อ้ มลู ใหมห่ รอื ทตี่ า่ งไปจากเดมิ ถา้ ภาพหายไปตอนอา่ น ความเขา้ ใจจะหาย ไปดว้ ย ใหถ้ อยหลงั ไปจนกวา่ จะเหน็ ภาพอกี ครงั้ แลว้ คอ่ ยอา่ นตอ่ ไป ถา้ เปน็ การอา่ นเรอื่ ง หรอื บทความดว้ ยกนั ทงั้ ชน้ั ใหอ้ า่ นจบหนง่ึ ยอ่ หนา้ แลว้ ถามนกั เรยี นวา่ เหน็ ภาพอะไรบา้ ง และเปรียบเทียบภาพที่แต่ละคนเห็นต่างกัน วิธีนี้จะช่วยนักเรียนที่ยังไม่เข้าใจสามารถ เขา้ ใจเรอื่ งทค่ี ณุ ก�ำลงั พดู ได้ จากนนั้ ใหอ้ า่ นยอ่ หนา้ ถดั ไป แลว้ หยดุ อกี ครงั้ เพอื่ ใหน้ กั เรยี น บรรยายภาพในใจของตัวเอง เวลาใช้วิธนี ้ีในช้ัน แม้กบั นักศึกษาผู้ใหญ่ ตามปกติพวกเขา จะตนื่ เตน้ มาก เพราะในทสี่ ดุ (หรอื เปน็ ครง้ั แรกส�ำหรบั บางคน) กจ็ ะไดเ้ ขา้ ใจสกั ทวี า่ เรอื่ งนี้ เก่ียวกับอะไร และท�ำไมบางคนจงึ สนกุ กบั การอา่ น แบบฝกึ หดั นีใ้ ช้ไดผ้ ลมากกว่าแคต่ ง้ั ค�ำถามเพอ่ื เชค็ ความเขา้ ใจหลงั นกั เรยี นอา่ นจบ เพราะคนทอ่ี า่ นแลว้ จบั ใจความไมค่ อ่ ยได้ จะไมเ่ ข้าใจว่า ท�ำไมตัวเองจ�ำขอ้ มลู ไม่ได้ แตค่ นอน่ื จ�ำได้ อีกทางเลือกหน่ึงคือ ใช้หนังสือเสียง จะซ้ือมา หรือท�ำเองก็ได้ ฉันอัดเสียงไว้ มากมายและเปิดใหน้ กั เรียนฟังในช้ัน ซง่ึ ช่วยใหเ้ รียนรู้จงั หวะการอา่ นและการใช้ถ้อยค�ำ พอไมต่ อ้ งอา่ นเอง นกั เรยี นจะมอี สิ ระและมสี มาธกิ บั การวาดภาพในใจ แทนทจี่ ะมวั พะวง 264
กบั การออกเสยี ง ฉนั ขอใหน้ กั เรยี นฟงั จนจบแลว้ ตง้ั ค�ำถาม และเปดิ ใหฟ้ งั อกี รอบ แนน่ อน ่อาน ่อาน... พวกเราร้วู า่ ถ้าเอาสงิ่ ทต่ี ัวเองรแู้ ลว้ ไปสอนคนอ่นื จะท�ำให้เรียนรู้ดีขึ้น ฉะนัน้ การขอให้ นักเรียนอ่านแล้วไปสรุปให้คนทไี่ ม่ไดอ้ า่ นฟงั จงึ เปน็ กจิ กรรมทีด่ ี ถ้าตรวจพบว่านักเรียนมีปัญหาด้านความเข้าใจมากจริงๆ หรือถ้านักเรียนขอ ใหช้ ่วยมากขึ้น ก็ต้องดูวา่ ในโรงเรียนมผี เู้ ช่ียวชาญการอ่านหรือไม่ ซงึ่ อาจเป็นเจ้าหน้าท่ี ของโรงเรยี น หรอื ทม่ี าเยยี่ มโรงเรยี นเปน็ ประจ�ำกไ็ ด้ แตถ่ า้ ไมม่ ี ใหไ้ ปดวู า่ หอ้ งสมดุ ชมุ ชน มโี ปรแกรมการรหู้ นงั สอื หรอื ไม่ และกระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นไปเรยี นบททสี่ อนฟรี นอกจากนนั้ ให้หาเว็บไซต์ส่งเสริมการอ่านท่ีดีๆ และค้นหาหัวข้อ “การสอนการอ่านทางออนไลน์” ทางอนิ เทอร์เนต็ ซง่ึ มีหนงั สือ บทความ แบบฝึกหดั เกม และสือ่ การสอนอยา่ งมากมาย มหาศาล 10. ถา้ ครขู อความเหน็ เกยี่ วกบั หนงั สอื หรอื เรอื่ งทอ่ี า่ น กก็ ลวั วา่ จะออกความเหน็ ผดิ ๆ นักเรียนส่วนใหญ่น้�ำตาคลอเวลาเล่าประสบการณ์เดิมๆ ให้ฉันฟัง เช่น ครูคนหน่ึง ขอให้นักเรียนเขียนความเห็นเก่ียวกับหนังสือหรือเร่ืองท่ีอ่าน พวกเขาท�ำงานหนัก และคาดว่าจะได้คะแนนดีๆ ส�ำหรับความพยายามและเนือ้ หาทเี่ ขยี นไป แต่ครูกลบั ให้เกรดดี หรือเอฟ โดยไม่มีค�ำอธิบาย หรือบางทีก็เขียนข้อความดูถูก เช่น “ผิด!” หรือ “ไรส้ าระ!!” ดว้ ยหมกึ แดงตรงหวั กระดาษ นอกจากให้คะแนนตำ่� แลว้ ยงั ท�ำให้ นักเรียนสงสัยในระดับสติปัญญาของตัวเอง ครูส่งสารที่ชัดเจนไปให้นักเรียนว่า ความเหน็ ของพวกเขาไร้คา่ ถา้ ขอใหน้ กั เรยี นแสดงความเหน็ กต็ อ้ งยอมรบั ฟงั และใหค้ ะแนนการเรยี บเรยี ง ถอ้ ยค�ำและเนอื้ หา ไม่ใชด่ ูว่า นักเรียนเห็นด้วยกับคุณหรอื ไม่ แน่นอน คณุ อาจจะชนื่ ชม คณุ คา่ ดา้ นวรรณกรรมของหนงั สอื เรอื่ ง Scarlet Letter กบั Julius Caesar แตบ่ างครงั้ เด็กๆ ก็ไมช่ ่นื ชมสง่ิ ทเ่ี ราคิดวา่ ควรชน่ื ชม แทนทจ่ี ะดแู คลนหรอื กดคะแนนเวลานกั เรยี น ไม่เข้าใจ คุณควรให้รางวัลความพยายามอย่างจริงใจ และกระตุ้นให้นักเรียนพัฒนา ความคิดอย่างมีเหตุผลและครบถ้วน ถ้ายอมให้นักเรียนรักษาศักดิ์ศรีและความเคารพ ตัวเองไว้ พวกเขาจะพยายามและพัฒนาต่อไป เมื่อเป็นผู้ใหญ่มากข้ึนและฝึกฝนบ่อยๆ 265
ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด ทกั ษะการอ่านและการเขียนของนักเรียนจะดีขึ้น และมคี วามรูค้ วามเข้าใจท่ีซับซ้อนข้ึน เพ่อื ชน่ื ชมงานวรรณกรรมไดล้ ึกซงึ้ ข้นึ พอนกั เรยี นมน่ั ใจเพมิ่ ขนึ้ อกี นดิ กเ็ รม่ิ สอนใหเ้ หน็ ความแตกตา่ งระหวา่ งความเหน็ ส่วนตัว (เช่น ไม่ชอบเร่ืองที่สัตว์ถูกฆ่า) กับการวิจารณ์ทางวิชาการ (ตัวละครแบบน้ี ไม่สมจริง) อันดับแรก สอนวิธีวิเคราะห์งานท่ีครูให้อ่าน และอธิบายความเห็นส่วนตัว เก่ียวกับเร่ืองท่ีก�ำลังอ่านได้ชัดเจน แม้แต่เด็กเล็กๆ ยังบอกได้ว่า เร่ืองท่ีอ่านน่าสนใจ ให้ความรู้ หรือน่าต่ืนเต้น ตัวละครดีหรือเลว ค�ำบรรยายท�ำให้ผู้อ่านวาดภาพในใจได้ ชดั เจน และตอนจบท�ำให้ผู้อ่านพอใจหรือไม่ ใหก้ ระตุน้ นักเรียนด้วยค�ำถาม เชน่ ท�ำไม ไมช่ อบเรอ่ื งราวบางเรอ่ื งและหนงั สอื บางเลม่ ค�ำศพั ทย์ ากเกนิ ไปไหม นกั เรยี นจะยกตวั อยา่ ง ค�ำศพั ทย์ ากๆ ได้หรอื เปล่า ประโยคยาวและซับซ้อนเกินไป หรอื สั้นและฟังตะกกุ ตะกกั ไมต่ อ่ เนอ่ื งเลย ตวั ละครไมน่ า่ รกั หรอื หรอื ไมส่ มจรงิ ใชไ่ หม ตรงไหนทเี่ คา้ โครงเรอื่ งไมน่ า่ เชอื่ จงั หวะของเรอื่ งด�ำเนินไปช้าหรอื เรว็ เกนิ ไป มนั ยากไหมท่จี ะบอกวา่ ใครก�ำลังพดู ถา้ นักเรียนอธิบายความเหน็ ของตัวเองไดร้ ้เู รือ่ งชดั เจน แสดงว่า พวกเขาพรอ้ ม จะเรยี นรวู้ ธิ วี เิ คราะหเ์ รอ่ื งราวในดา้ นคณุ คา่ ทางวรรณกรรม (ค�ำวา่ “นา่ เบอ่ื ” และ “โง”่ เปน็ ค�ำคณุ ศพั ทท์ ย่ี อมรบั ไมไ่ ดใ้ นการวจิ ารณเ์ ชงิ วรรณกรรม) ตอนนนี้ กั เรยี นตอ้ งใชห้ ลกั ฐาน อา้ งอิงทจ่ี �ำเพาะเพ่อื อธบิ ายประเด็นของตัวเอง การใช้ค�ำศัพท์เฉพาะท่คี ุณสอนไปแลว้ เช่น เค้าโครงเรื่อง บทเจรจา การแฝงนัย และน�้ำเสียง การสอนให้รู้จักวิธีเชิงวิพากษ์ ทแี่ ตกตา่ งกนั 2 แบบ ระหวา่ งปฏกิ รยิ าความเหน็ “สว่ นตวั ” กบั “มอื อาชพี ” ตอ่ หนงั สอื หรือเร่ืองราวจะเป็นประโยชน์กับนักเรียน คุณอาจชอบหนังสือเล่มน้ีเป็นการส่วนตัว แมจ้ ะรวู้ า่ เขยี นไมค่ อ่ ยดี (เชน่ ตวั ละครมเี พยี งมติ เิ ดยี ว เดาเคา้ โครงเรอ่ื งได้ และบทเจรจา ใชภ้ าษาโออ้ วด) ท�ำนองเดยี วกนั คณุ อาจไมช่ อบหนงั สอื ทเ่ี ขยี นตรงตามหลกั เกณฑก์ ารเขยี น ท่ดี อี ยา่ งครบถว้ นก็ได้ (เช่น ตวั ละครมีพัฒนาการที่ดี บทเจรจายอดเยี่ยม เคา้ โครงเรือ่ ง ดีมาก) กุญแจส่คู วามส�ำเรจ็ คือการเรยี นร้หู ลักเกณฑ์ที่ “ผู้เชย่ี วชาญ” ใช้ในการประเมนิ หนังสือ อย่างนอ้ ยทสี่ ุด คุณตอ้ งสอนใหน้ ักเรยี นร้จู กั หลกั เกณฑ์พวกน้ี และสิ่งสุดท้ายท่ีฉันคิดว่าส�ำคัญมาก คือ ต้องสอนนักเรียนท่ีมีปัญหาการอ่าน ใหร้ วู้ ธิ เี ขยี นบทวจิ ารณว์ รรณกรรมซง่ึ เปน็ ทยี่ อมรบั กนั ในโรงเรยี น แตถ่ า้ ออกจากโรงเรยี น 266
ไปแลว้ นกั เรยี นจะคดิ อยา่ งไรกบั หนงั สอื เลม่ ไหนกไ็ ด้ และไมม่ ใี ครใหค้ วามเหน็ ของนกั เรยี น ใครๆ อาจไมเ่ หน็ ดว้ ยกบั นกั เรยี นในทกุ เรอ่ื ง แตใ่ นชวี ติ จรงิ ไมม่ บี ตั รรายงานผลการเรยี น นักเรียนจะเปน็ ท้ังผพู้ พิ ากษาและคณะลูกขุนที่จะตัดสนิ หนงั สือทุกเล่มท่ีตัวเองอา่ นหรอื ไมอ่ า่ น แตอ่ ยา่ ท�ำใหน้ กั เรยี นเลกิ อา่ นและปฏเิ สธประโยชนท์ จ่ี ะไดจ้ ากหนงั สอื เพยี งเพราะ พวกครไู มช่ ่ืนชมความเหน็ ช้ันเยีย่ มของตวั เอง 11. เกลยี ดคนท่ีคอยสัง่ ใหท้ �ำโนน่ ท�ำนต่ี ลอดวนั นี่เป็นปัญหาส่วนตัว ไม่ใช่ปัญหาการอ่านแต่มักจะเข้ามาก้าวก่ายการอ่าน หากครู พยายามจะเอาชนะเจตจ�ำนงของนักเรียน ครูจะเสียเวลาและพลังงานไปเปล่าๆ บางครงั้ เปน็ เรอ่ื งยากจรงิ ๆ ทคี่ นชอบอา่ น (ครสู ว่ นใหญร่ กั การอา่ น) จะเขา้ ใจความรสู้ กึ ของคนไม่ชอบอ่าน และครูจ�ำนวนมากกังวลว่า การไม่ชอบอ่านจะท�ำให้มาตรฐาน ทางวชิ าการตำ่� ลง ฉนั ไมไ่ ดแ้ นะน�ำใหพ้ วกเราลดมาตรฐาน แตใ่ หส้ นใจวา่ ท�ำไมนกั เรยี น ไมอ่ ยากอา่ นกอ่ น แลว้ คอ่ ยไปหาวธิ โี นม้ นา้ วหรอื บงั คบั ใหอ้ า่ น บางคนไมอ่ า่ นหนงั สอื ่อาน ่อาน... เพยี งเพราะตอ้ งการแสดงความเปน็ อิสระของตวั เอง และต่อต้านความพยายามทจ่ี ะ บงั คบั ใหพ้ วกเขาท�ำโนน่ ท�ำน่ี โดยเฉพาะการอา่ น แตบ่ างคนไมอ่ า่ นเพราะเจอประสบการณ์ ท่ีท�ำให้เกลียดการอ่าน ฉันเห็นความเหมอื นระหว่างเจตคตติ อ่ หนงั สือกับเจตคติต่อ ส่งิ ต่างๆ เชน่ สนุ ัข มา้ บร็อคโคลี หรอื เพศ น่ันคอื ถา้ ประสบการณค์ ร้งั แรกเปน็ เรอ่ื ง สนกุ ผูค้ นมีแนวโนม้ ที่จะตงั้ ตารอคอยท่ีจะได้เจอสงิ่ เหลา่ นน้ั อีก แต่ถ้าประสบการณ์ ครั้งแรกท�ำให้จิตใจบอบช้ำ� เจบ็ ปวด หรอื นา่ ละอาย กย็ ากจะลืมเลอื นได้ แล้วถ้าครงั้ ที่สาม หรือครั้งที่ส่ีกท็ �ำให้อึดอดั ได้พอๆ กนั เราจะเขา้ ใจไดว้ ่า เหตใุ ดผคู้ นจงึ ตอ่ ต้าน กิจกรรมบางอย่างแบบหวั ชนฝา ถา้ คณุ พยายามสรา้ งความสมั พนั ธอ์ นั ดกี บั นกั เรยี นทไ่ี มเ่ ตม็ ใจอา่ นกอ่ น แลว้ คอ่ ย ขอให้อ่านทีหลัง คุณจะพบว่านักเรียนเต็มใจจะท�ำงานที่ตัวเองไม่ชอบมากข้ึนทีเดียว แต่ถ้าคดิ วา่ “ฉนั ไม่มเี วลาส�ำหรับเรื่องไรส้ าระอย่างนั้นหรอก” กใ็ ห้คิดดูว่า คุณจะตอ้ ง เสียเวลามากแค่ไหนไปโต้แย้งกับนักเรียน หรือจัดการปัญหาด้านวินัยที่เกิดจากการที่ นกั เรยี นไมอ่ ยากท�ำงาน เวลาทคี่ ณุ ใชไ้ ปสรา้ งสภาพแวดลอ้ มในหอ้ งเรยี นทจ่ี งู ใจใหน้ กั เรยี น รว่ มมอื จะให้ผลตอบแทนคุณเปน็ 10 เทา่ 267
ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด แลว้ ตอนนก้ี ม็ าถึงบางสิง่ ท่แี ตกตา่ งไปอย่างส้ินเชงิ ครโู รงเรยี นประถมคนหนง่ึ เลา่ เรอื่ งของเดก็ ชายในชนั้ ทร่ี ว่ มมอื ท�ำตามทคี่ รสู อนทกุ อยา่ ง แต่ยังไม่มีทที า่ วา่ จะอา่ นหนงั สอื ออก หลังจากทดสอบการมองเห็นกบั การไดย้ ิน และ เข้าไปแทรกแซงทุกอยา่ งแล้ว ท้งั ตัวเธอกับครทู ่ีปรกึ ษาก็จนปัญญา กลับหัวกลับหางแล้วไดผ้ ล เธอพดู วา่ “หลงั จากนนั้ วนั หนง่ึ ฉนั ตดั สนิ ใจพลกิ หนงั สอื กลบั หวั กลบั หาง ไมร่ เู้ หมอื นกนั วา่ ท�ำไม แคอ่ ยากลองดเู ทา่ นนั้ ทนั ใดนน้ั เองทกุ อยา่ งกล็ งตวั เขาเรมิ่ อา่ น เดก็ ชายคนนี้ มีความบกพร่องในการประมวลผลทางภาพ หรืออะไรสักอย่างท่ีฉันก็ไม่เข้าใจนัก แต่เขาเรียนรู้ท่ีจะอ่านแบบกลับหัวกลับหาง ต่อมาเขาหมุนหนังสือและเร่ิมอ่านจาก ขวาไปซ้าย” การอ่านแบบกลับหัวกลับหางเป็นตัวอย่างท่ีดีของครูท่ีรู้จักใช้ประโยชน์จาก ทรพั ยากรทม่ี พี รอ้ มสดุ อยแู่ ลว้ และส�ำคญั ทส่ี ดุ นน่ั คอื สมองของคณุ เอง ความคดิ สรา้ งสรรค์ กับจินตนาการ อย่ากลัวท่ีจะลองท�ำอะไรบางอย่างเพียงเพราะดูเหมือนเป็นเรื่องโง่ๆ เวลาเจอปญั หาทดี่ เู หมอื นไมม่ ที างแก้ ใหร้ ะดมความคดิ ทกุ อยา่ งทพี่ อจะนกึ ออก (คณุ กร็ วู้ า่ ส่วนทีย่ ากที่สดุ ของการระดมความคดิ คอื การตอ่ ต้านกเิ ลสตามธรรมชาติทต่ี ้องการจะ ตัดสิน) ให้ระดมความคิดกับครูคนอ่ืน หรือกับนักเรียน เพราะหลายหัวดีกว่าหัวเดียว ก็ถือเป็นคณุ ูปการอันใหญ่หลวงต่อชวี ติ ของนักเรียนคนนน้ั และต่อการศึกษา เพราะผล กระทบจะแผก่ ระจายออกไป ถา้ คณุ สอนอะไรบางอยา่ งทเ่ี ปลยี่ นชวี ติ ของนกั เรยี นใหด้ ขี น้ึ ความเปล่ียนแปลงเชิงบวกจะมีผลกระทบต่อครอบครัวของนักเรียน และครอบครัว ในอนาคตของพวกเขา ฉะนั้นการสอนตัวต่อตัวจึงเป็นวิธีที่ทรงพลัง คุณไม่จ�ำเป็นต้อง ช่วยชวี ิตนกั เรียนทุกคนหรอก แคช่ ่วยได้คนเดยี ว คุณกเ็ ป็นวรี บุรุษหรือวรี สตรีในหนงั สอื ของฉนั แลว้ 268
วิธอี า่ นใหถ้ กู ตอ้ ง ่อาน ่อาน... ในที่ประชุมการศึกษาคร้ังหน่ึง ฉันบังเอิญได้พบครูที่เพิ่งทดลองวิธีใหม่ที่อ่านเจอ ในหนังสือของ Dr. Dee Tadlock ชื่อ Read Right! Coaching Your Child to Excellence in Reading (ส�ำนักพิมพ์แมคกรอ-ฮิล, ปี 2005) แทดล็อกเป็น ผ้เู ชีย่ วชาญการอา่ น และมลี ูกชายเลก็ ๆ ท่ฉี ลาดมาก แตอ่ ่านหนงั สอื ไม่ออก แมค้ รู กบั ผเู้ ชี่ยวชาญการอ่านจะช่วยไมไ่ ด้ แต่เธอไม่กงั วล เพราะตัวเองกเ็ ป็นผูเ้ ช่ยี วชาญ การอ่าน แทดล็อกจึงสอนลูกชายเอง แต่กลับลม้ เหลว และลกู ชายเลกิ หวังว่าตวั เอง จะเรยี นร้ไู ด้ แทดล็อกลาออกจากงาน และกลับไปเรียนเพ่อื ศึกษาเรอ่ื งสมองและวธิ ี เรียนรู้ของสมอง เธอพัฒนาวิธีสอนการอ่านข้ึนมาแล้วเอาไปสอนลูกชาย จากน้ัน ก็เขยี นเล่าประสบการณ์ของตัวเอง โดยหวังว่าวธิ นี ีอ้ าจจะชว่ ยผ้อู น่ื ได้ ครทู ่เี จอกันในทปี่ ระชมุ ใหห้ นังสอื เล่มน้ันมา และฉันอา่ นระหว่างนัง่ เคร่ืองบิน กลับบ้าน แม้หนังสือจะเขียนเพื่อให้ใช้กับคนที่เพิ่งเร่ิมอ่าน แต่ฉันตัดสินใจว่า จะลอง เอาข้อแนะน�ำบางอย่างไปใช้กับนักเรียนชั้นมัธยม และได้ผลจริงๆ! ความคิดพ้ืนฐาน ตามความเขา้ ใจของฉัน คือ ถ้าอยากเรียนรกู้ ารใชท้ กั ษะใหมใ่ ห้ได้อย่างยอดเย่ยี ม สมอง ของเราจ�ำเปน็ ตอ้ งมตี น้ แบบภายในของความเปน็ เลศิ เพอื่ จะท�ำตาม แตค่ นทอี่ า่ นหนงั สอื ไมเ่ กง่ ไมม่ ตี น้ แบบภายในอยา่ งนน้ั พวกเขาไดย้ นิ คนอน่ื ทอ่ี า่ นไดด้ ี แตไ่ มร่ วู้ า่ ตวั เองจะรสู้ กึ อยา่ งไร ถา้ อา่ นไดย้ อดเยย่ี มขนาดนน้ั การอา่ นไดด้ ที �ำใหร้ สู้ กึ สบายๆ เหมอื นการสนทนากนั โดยทว่ั ไปและมคี วามหมาย นกั เรยี นชน้ั มธั ยมทมี่ ปี ญั หาการอา่ นสว่ นใหญอ่ า่ นดว้ ยนำ�้ เสยี ง ราบเรยี บ ไม่มกี ารเปลย่ี นน้�ำเสียง หรอื เปล่ียนนำ้� เสยี ง แต่ไมใ่ ส่ใจเครือ่ งหมายวรรคตอน หรือสง่ิ ทบี่ อกความหมายอืน่ ๆ จงึ เห็นไดช้ ดั วา่ พวกเขาไม่เขา้ ใจกระทัง่ ครงึ่ หน่งึ ของเรอื่ ง ทก่ี �ำลงั อา่ นดว้ ยซำ�้ แมจ้ ะอา่ นใหด้ ที สี่ ดุ เทา่ ทจ่ี ะท�ำได้ แตย่ งั หา่ งไกลจากการอา่ นไดอ้ ยา่ ง ยอดเยยี่ ม ดังนั้นฉันจึงท�ำตามค�ำแนะน�ำในหนังสอื เกี่ยวกบั การใหค้ �ำติชม ฉันอธบิ ายสงิ่ ที่ ตวั เองพยายามจะท�ำกอ่ น นกั เรยี นจะได้ไมค่ ับข้องใจหรอื อดึ อดั ใจ ฉันเรมิ่ อา่ นประโยค จากหนงั สอื วรรณกรรม และขอใหน้ ักเรยี นคนหนึง่ อาสามาอา่ นออกเสียงแบบทีฉ่ นั ท�ำ (นักเรียนบางคนเลือกจะท�ำแบบน้ีเป็นการส่วนตัว แต่ส่วนใหญ่เต็มใจจะท�ำเป็นกลุ่ม 269
ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด เพราะไม่ต้องอาสา) นักเรียนต้องอ่านประโยคเหล่านั้นจริงๆ ไม่ใช่แค่เลียนแบบหรือ ออกเสยี งตามทฉ่ี นั พดู โดยไมไ่ ดอ้ า่ นจรงิ ๆ แทนทจี่ ะชมเชยนกั เรยี นและพดู วา่ “ดี ขอบใจ” ฉนั จะพดู วา่ “ยงั ไมย่ อดเยยี่ มเลย ลองอกี ท”ี นกั เรยี นอา่ นประโยคอกี ครง้ั หากครง้ั ทสี่ อง ดขี นึ้ ฉนั จะพดู วา่ “ดขี นึ้ แลว้ แตย่ งั ไมย่ อดเยย่ี ม” จากนน้ั ฉนั จะแสดงตน้ แบบของการอา่ น ที่ยอดเย่ียมอีกครั้ง และนักเรียนลองท�ำตามอีกคร้ัง ถ้าอ่านได้ยอดเย่ียม ฉันจะพูดว่า “ยอดเยยี่ ม” ตอนนส้ี มองของนกั เรยี นรแู้ ลว้ วา่ จะตอ้ งพยายามท�ำอะไร พวกเขามมี าตรฐาน ภายในของความเปน็ เลศิ และจะปรบั เปลีย่ นเพื่อบรรลมุ าตรฐานนัน้ อกี ครัง้ พอมีนักเรียนลองอ่านออกเสียงมากขึ้นเร่ือยๆ คนอ่ืนจะกล้ามากข้ึน เพราะ อยากรู้ว่าการอ่านท่ียอดเย่ียมท�ำให้รู้สึกอย่างไร การทดลองน้ีช่วยนักเรียนที่มีปัญหา การอา่ นจ�ำนวนมากใหพ้ ฒั นาขน้ึ ไปอกี ระดบั นไ่ี มใ่ ชเ่ ครอ่ื งมอื เพยี งหนง่ึ เดยี วของฉนั เทา่ นนั้ แตเ่ ปน็ เครอ่ื งมอื ทดี่ มี ากอกี อนั หนงึ่ ในกลอ่ งเครอ่ื งมอื ของครู เหน็ ไดช้ ดั วา่ ฉนั ไมม่ ที างพดู ถงึ ขอ้ ดขี องหนงั สอื เลม่ น้ี หรอื วธิ สี อนอา่ นแบบนไ้ี ดค้ รบถว้ นในยอ่ หนา้ สน้ั ๆ เพยี ง 2-3 ยอ่ หนา้ แตก่ ต็ อ้ งพดู ถงึ ไวใ้ นทนี่ ี้ เพราะเปน็ วธิ ที ไี่ ดผ้ ลไดด้ สี �ำหรบั ฉนั และเปน็ วธิ ที อ่ี าศยั สามญั ส�ำนกึ แมว้ ธิ ีนี้ไมไ่ ด้ผลส�ำหรบั คณุ แต่อาจชว่ ยจดุ ประกายความคดิ หรอื น�ำคณุ ไปสู่วธิ ีอ่นื ๆ ได้ ถา้ เราไม่พยายามหาทางออก จะไม่มีวันเจอวิธแี กป้ ญั หาแน่นอน เชกสเปียรส์ ำ�หรับคนไม่เตม็ ใจอา่ น กอ่ นจะพดู ถงึ เชกสเปยี ร์กับนกั เรยี นทไี่ ม่เตม็ ใจอ่าน ฉันต้องม่นั ใจว่านักเรยี นรู้วา่ ฉนั ใส่ใจพวกเขาและเห็นประโยชน์ของนักเรียนส�ำคัญที่สุด ฉันอยากให้นักเรียนไว้ใจ เมอ่ื บอกวา่ เราจะอ่านเชกสเปยี ร์ และจะไมท่ �ำให้ใครทุกข์ทรมาน นักเรียนไม่ตอ้ งจ�ำ วนั เกดิ และทเ่ี กดิ ของเชกสเปยี ร์ ไมต่ อ้ งวาดภาพโรงละครเชกสเปยี ร์ (Globe Theatre) ฉนั จะไมส่ ุ่มค�ำพูดจากละครทอ่ี า่ นไปแล้วถามว่าใครพูดประโยคน้ัน (พออ่านผลงาน บางเร่ืองของเชกสเปียร์ไปแล้ว นักเรียนเริ่มสนใจรายละเอียดทางประวัติศาสตร์ 270
ฉันจึงเอามาใสใ่ นบทเรียนและการอภปิ ราย แต่ไมเ่ อามาออกขอ้ สอบ) และพออา่ น ่อาน ่อาน... จบแล้ว จะไม่มีการทดสอบเหมือนปกติ ฉันจะต้ังค�ำถามเก่ียวกับละคร แต่จะไม่มี ค�ำตอบท่ีถูกหรือผิด และนักเรียนเลือกท�ำโครงงานได้ตามใจ จะเป็นการเขียน การวาดภาพ หรือการแสดงก็ได้ ฉนั สัญญากับนกั เรยี นวา่ จะไม่ท�ำใหพ้ วกเขาเกลยี ดเชกสเปียร์ และพออ่านจบ บทละครเรื่องแรกไปคร่ึงหน่ึงแล้ว จะให้นักเรียนลงคะแนน ถ้าส่วนใหญ่อยากเลิกอ่าน เราจะปดิ หนังสือ และเปลยี่ นไปท�ำอยา่ งอ่ืนโดยไม่มกี ารลงโทษ แตจ่ ะขอเหตผุ ลวา่ ท�ำไม ไม่อยากอ่าน และเราจะไม่ชมภาพยนตร์ (ก่อนเร่ิมอ่าน นักเรียนมักจะสาบานว่าจะลง คะแนนใหเ้ ลกิ อา่ น แตย่ งั ไมเ่ คยมชี น้ั เรยี นไหนทท่ี �ำแบบนน้ั มแี ตค่ นอยากรตู้ อนจบเสมอ เพราะเรื่องของวิลเลยี ม เชกสเปียรส์ นกุ ๆ ทง้ั นน้ั ) ท�ำไมนักเรียนจึงควรอ่านบทละครของ “ชายผิวขาวน่าเบื่อท่ีตายไปแล้ว” อีกคนหน่ึง ท่ีเป็นวรรณกรรมเก่าแก่ที่น่าเบ่ือ ค�ำตอบก็คือ เพราะนอกจากจะเป็นชาย ผวิ ขาวท่ีเสียชีวติ ไปแล้ว เชกสเปียร์ยังเป็นนักเขยี นทมี่ พี รสวรรค์ยอดเยยี่ ม และมีผลงาน ท่ีแพรห่ ลายไปทวั่ เราจะพบค�ำอา้ งอิงจากผลงานของเชกสเปียรใ์ นหลากหลายมมุ มอง ของวฒั นธรรมโลก ซงึ่ มมี ากมายจนนกั เรยี นทไ่ี มค่ นุ้ เคยกบั งานของเชกสเปยี รจ์ ะเสยี เปรยี บ คนอนื่ ในสงั คม (เชน่ เรามกั เรยี กผชู้ ายนกั รกั วา่ โรเมโอ และบางครงั้ คนทก่ี ลา่ วสนุ ทรพจน์ จะเรมิ่ ด้วยค�ำพูดของเชกสเปียรท์ วี่ า่ “สหาย ชาวโรมัน เพอ่ื นรว่ มชาติ โปรดฟังทางน”้ี ) นอกจากนน้ั มหาวทิ ยาลยั ตา่ งๆ ในอเมรกิ าและยโุ รปยงั ถอื วา่ ถา้ อยากใหค้ นคดิ วา่ ตวั เอง เป็นพวกมกี ารศึกษา นักศึกษาต้องเคยอ่านละครหรือโคลงแบบซอนเนตของเชกสเปยี ร์ มาบ้างตอนเรียนชั้นมัธยม นกั เรยี นมกั จะประทว้ งวา่ งานของเชกสเปยี รย์ ากเกนิ ไป ฉนั เหน็ ดว้ ยวา่ การอา่ น งานของเชกสเปียร์ต้องใช้ความพยายาม บางคนใช้เวลาอย่างต่�ำ 4 ปี ในมหาวิทยาลัย เพ่ือศกึ ษางานของเชกสเปียรเ์ พยี งอยา่ งเดียวเทา่ นั้น แตอ่ ะไรท่ียากไม่ได้หมายความว่า เป็นไปไม่ได้ 271
ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด ฉันอธิบายว่า “สมองของนกั เรยี นไม่มีอะไรผดิ ปกติ ครูไมไ่ ด้ใหค้ ะแนนความคดิ นักเรียนก็คดิ ไดเ้ หมือนคนอน่ื ๆ แมแ้ ต่พวกนักศึกษาในมหาวทิ ยาลยั ทักษะการอา่ นของ นักเรียนอาจต้องการความช่วยเหลือบางอย่าง พวกเธอจึงต้องมีครูคอยช่วย และครูจะ ช่วยเวลานกั เรียนอา่ น” หลงั จากพดู ถงึ เชกสเปยี รใ์ นชน้ั เปน็ ครงั้ แรกแลว้ ฉนั จะคอยอยา่ งนอ้ ยหนงึ่ สปั ดาห์ แลว้ เร่มิ เขยี นประโยค “แบบสมยั โบราณ” หลายๆ ประโยคบนกระดาน เชน่ “Where goest thou after class? He thinks to woo the fair maiden. “Twere better, methinks, to run than to tarry” แลว้ ขอใหน้ ักเรียนคิดว่าประโยคท่ถี ูกต้องคอื อะไร และพยายามเขยี นประโยคแบบโบราณของตวั เองเพมิ่ เขา้ มา เพอ่ื ใหค้ นุ้ เคยกบั การตคี วาม ทงั้ วลี ไม่ใช่แบบค�ำต่อค�ำ จากน้นั ฉันท�ำรายการอภธิ านศัพทส์ ้นั ๆ ของค�ำศพั ท์ในละคร ที่เราจะอ่าน เช่น marry (จริงๆ หรือ ยิ่งนัก) tarry (รอก่อน) prithee (ได้โปรดเถิด) hence (จากน้ี หรือในโลกหน้า) ‘tis (รูปย่อของ it is) และ whence (จากท่ีไหน) (นักเรียนจะดีใจแล้วเอะอะโวยวายเสมอ พอไปถึงค�ำอุทานว่า –Ho ซึ่งเหมือน เฮ้! ใน สมัยน)้ี พวกเราท�ำโปสเตอร์อภธิ านศพั ท์ตดิ ไว้บนผนงั ห้องเอาไว้อา้ งองิ แลว้ เพิ่มแผนผัง อีกอันท่ีเป็นค�ำจ�ำกัดความสั้นๆ ของศัพท์วรรณกรรม เช่น irony (การแฝงนัย) fore- shadowing (การเกรนิ่ การณ)์ และ motivation (แรงจงู ใจ) ซงึ่ เราอภปิ รายในชน้ั เรยี นดว้ ย งานศิลปะ ถดั ไปคอื งานศิลปะ เพ่ือท�ำให้คนท่ีเรียนรู้ได้ดีเมอื่ เหน็ สนใจ ฉนั วาดภาพรา่ งของฉาก ท่ีคล้ายภาพ 7.1 บนบอร์ดหรือบนกระดาษแผ่นใหญ่ เพื่อแสดงฉากละครกับตัว ละครหลกั ถา้ เราก�ำลงั อา่ นเรอ่ื ง The Taming of the Shrew ฉนั จะวาดภาพพน่ี อ้ ง สองสาว ใหค้ นหนงึ่ ยม้ิ อกี คนท�ำหน้าบูดบงึ้ และมีพวกผูช้ ายที่มาเก้ียวสาวยนื อยู่บน ถนน มเี พทรคู ีโอก�ำลงั ขมี่ ้าจะเข้าเมอื งมาจากทางหน่งึ ขณะที่ลเู ชนซโิ อ กบั ทรานโี อ มาจากอีกด้านหนึ่ง 272
7.1 The Taming of the Shrew ่อาน ่อาน... Get Lost ไสหวั ไป I’m so crabby. ฉันอารมณบ์ ูดสดุ ๆ I’m so sweet. ฉันเป็นคนอ่อนหวานสุดๆ Hi Fellas! สวสั ดหี นุ่มๆ Kate เคต Bianca เบียงกา I’m so cool! ฉันเท่สดุ ๆ (Mr. Cool) Petruchio (หนมุ่ เท่) เพทรูคีโอ Fools in love คนโงต่ กหลมุ รกั I’m so in love! ฉนั กำ� ลังมีความรักสุดใจ Lucentio ลเู ชนซิโอ 273
ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด 7.2 Romeo and Juliet O, Romeo โอ โรเมโอ Capulet คาปุเล็ต Montagues are dogs! พวกมอนตะควิ เปน็ หมา Capulets sucketh!! พวกคาปเุ ล็ตสดุ หว่ ย O, Juliet โอ จเู ลยี ต Montague มอนตะคิว กอ่ นเรม่ิ อา่ นเรอื่ ง Romeo and Juliet ฉนั วาดภาพปราสาท 2 หลงั ทมี่ กี �ำแพงลอ้ ม และถนนอยู่ดา้ นหน้าตามภาพ 7.2 ฉันวาดภาพจเู ลียตกับโรเมโอทต่ี า่ งมองออกไปนอก หน้าต่าง และมีหัวใจเช่ือมโยงกัน ตัวละครหลักอีก 2 คน คือ เมอร์คูซีโอ กับ ทีบัลต์ ก�ำลงั สกู้ นั อยบู่ นถนน ฉนั ใชส้ ี 2 สที ต่ี า่ งกนั เพอ่ื แยกพวกคาปเุ ลต็ ออกจากพวกมอนตะควิ ซึ่งกระตุ้นให้นักเรียนเปรียบเทียบความคล้ายกันระหว่างตระกูลโบราณ 2 ตระกูล กับ พวกแกง๊ ในยคุ ปจั จบุ นั เพราะตา่ งจงรกั ภกั ดแี บบถวายหวั และเตม็ ใจจะตายเพอ่ื “ครอบครวั ” 274
หมายเหตสุ �ำหรบั ความทา้ ทายทางศลิ ปะ: ดจู ากภาพวาดแลว้ คณุ คงรวู้ า่ ฉนั ไมเ่ คย ่อาน ่อาน... เรียนเทคนิคการวาดภาพให้ได้สัดส่วน แต่ศิลปะที่ไม่เอาไหนกลับกลายเป็นเรื่องดีใน ห้องเรยี น เพราะท�ำให้นกั เรยี นอยากปรบั ปรุงภาพของฉันให้สวยขนึ้ ตามปกตนิ ักเรียน มักอาสาขอแก้ไขผลงานศิลปะของฉัน หรือไม่ก็วาดเองเลย ท�ำให้บางครั้งได้ค้นพบ พรสวรรคใ์ หมๆ่ ของตวั เอง ขณะพยายามสอนใหฉ้ นั วาดภาพมา้ ปราสาท หรอื สาวนอ้ ย กตกิ าพื้นฐาน ก่อนเร่ิมอ่าน พวกเราท�ำบัญชีรายช่ือของตัวละครส�ำคัญๆ ไปติดไว้บนผนังห้อง ใกลก้ บั รายการอภธิ านศพั ท์ เพอื่ จะไดไ้ มม่ ใี ครหลงลมื เวลาอา่ น จากนน้ั ฉนั จะอธบิ าย ความคาดหวังของตวั เองอยา่ งชดั เจน ดังนี้ กฎสำ�หรับการอ่านเชกสเปียร์ 1. ไมบ่ งั คับใหใ้ ครอา่ นออกเสยี ง 2. ไมบ่ งั คับใหใ้ ครเข้าร่วมการอภปิ ราย 3. ไม่หักคะแนนคนท่ฟี งั เงยี บๆ แตห่ กั คะแนนคนทหี่ ลับ คนทีห่ ัวเราะเยาะเพ่ือนทอี่ าสา ออกมาอ่าน หรอื คนที่กอ่ กวนระหว่างการอ่าน 4. ถา้ อยากไดค้ ะแนนเพอื่ สอบผา่ นบทเรยี นน้ี นกั เรยี นตอ้ งนง่ั ตวั ตรง ไมห่ ลบั เปดิ หนงั สอื ไปหนา้ ทที่ กุ คนก�ำลงั อา่ น ตอ้ งใสใ่ จ ถา้ ตามไมท่ นั ใหต้ งั้ ค�ำถาม และตอ้ งฟงั เงยี บๆ ถา้ ไม่ อยากบันทกึ ประเดน็ ส�ำคัญๆ ระหว่างการอภปิ รายในตอนจบของแต่ละองก์ ก็ไมเ่ ป็นไร 275
ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด เปิดม่าน พวกเราเรม่ิ ชา้ ๆ ฉนั อธบิ ายองคป์ ระกอบพนื้ ฐานของบทละคร แลว้ อา่ น 2-3 บรรทดั แรก และหยดุ เพอ่ื แปลความโดยใชภ้ าษาทง่ี า่ ยขน้ึ ฉนั อา่ นเหตกุ ารณฉ์ ากหนง่ึ และพยายาม เพมิ่ สีสนั โดยดัดเสยี งหลายๆ แบบส�ำหรับตัวละครต่างๆ แล้วหยดุ ชว่ั ขณะและขอให้ นกั เรียนช่วยอ่านบทของตวั ละครตัวหน่งึ แต่ถ้าไมม่ ีใครอาสา ฉันจะอ่านตอ่ ไป และ หยดุ บอ่ ยๆ เพอ่ื สรปุ เหตกุ ารณ์ บางครง้ั บางคราวฉนั จะอา่ นหมดทงั้ องกเ์ พยี งคนเดยี ว จนนกั เรยี นมั่นใจพอที่จะลองอา่ นออกเสยี งดบู ้าง ตอนเร่มิ ตน้ เราไมใ่ ชเ้ วลาอา่ นเชกสเปยี รจ์ นหมดคาบ อ่านแค่ 1-2 ฉาก คยุ กนั สนั้ ๆ แลว้ ไปท�ำกจิ กรรมอน่ื พออา่ นจบ 1 องก์ เราจะเขยี นประเดน็ ส�ำคญั ๆ ในการเรยี น คร้ังนั้นขึ้นมา 1 ชุดไว้บนบอร์ด หรือเขียนบนแผ่นใสของเคร่ืองโปรเจคเตอร์ ฉันขอให้ นักเรียนพูดออกมาสัก 1-2 วลี เกี่ยวกับสิ่งส�ำคัญที่สุดในแต่ละฉาก พออ่านละครจบ นกั เรยี นจะไดบ้ ทสรปุ ของเคา้ โครงเรอื่ งทสี่ มบรู ณแ์ บบ ฉนั อนญุ าตใหน้ กั เรยี นใชบ้ ทสรปุ นี้ ในการตอบค�ำถามหลังการอ่านได้ (แตไ่ มอ่ นุญาตใหน้ กั เรยี นทไี่ ม่บนั ทึกประเด็นส�ำคญั ๆ ไปลอกบนั ทกึ ของเพอ่ื นๆ ในนาทสี ดุ ทา้ ย ฉนั ไมบ่ งั คบั ใหพ้ วกเขาบนั ทกึ อะไรกจ็ รงิ แตไ่ ด้ เตือนแล้วว่า ถา้ ไม่บนั ทกึ จะไมม่ ปี ระเดน็ ส�ำคัญๆ อยู่ในมอื เวลาครูเริ่มต้งั ค�ำถาม พอถงึ ตอนอา่ นองกท์ ีส่ อง พวกท่นี ง่ั เฉยๆ ในตอนแรก มักจะเรมิ่ จดบันทกึ เหมอื นเพ่ือนๆ) ปิดมา่ น พออา่ นบทละครจบ ถา้ มภี าพยนตรท์ สี่ รา้ งจากบทละครเรอื่ งนน้ั เราจะชมภาพยนตร์ แล้วแต่ละคนจะเขยี นค�ำถามสรปุ ตอนท้าย และบันทกึ วา่ ตัวเองคิดอย่างไรกับละคร เรอ่ื งนี้ แลว้ เลอื กวา่ จะท�ำโครงงานอะไรเพยี ง 1 อยา่ ง จากทางเลอื ก 3 ทาง ดงั ตอ่ ไปน้ี หนึ่ง วาดภาพประกอบฉากในละคร หรือท�ำโปสเตอร์โฆษณาละคร สอง เขียนบท 276
วิจารณ์ละครแบบที่เขียนกันในนิตยสาร และสาม แสดงละครแบบน่ังพูดคนเดียว ่อาน ่อาน... หรือเลือกแสดงฉากใดฉากหน่ึงในละครก็ได้ (นักเรียนอาจจะเขียนบทใหม่ส�ำหรับ การพูดคนเดยี ว หรอื แสดงฉากใดฉากหนึ่งดว้ ยภาษาสมยั ใหม่) ในการใหเ้ กรดส�ำหรบั หนว่ ยการเรยี นนน้ั ๆ คดิ คะแนน 50 เปอรเ์ ซนต์ จากค�ำถาม สรุปตอนทา้ ย และอีก 50 เปอรเ์ ซนต์ ส�ำหรบั การเขียนบนั ทกึ และโครงงาน ค�ำถามสรุป ไม่ไดท้ ดสอบทักษะการคดิ แบบงา่ ยๆ เช่น การจบั คู่ หากนกั เรียนต้องเลอื กตอบค�ำถาม 5 ข้อ จากที่มีให้ท้ังหมด 10 ข้อ การตอบค�ำถามต้องอาศัยความเข้าใจพ้ืนฐานของ เคา้ โครงเร่อื ง แรงจงู ใจของตัวละคร และฉากในละคร ตอ่ ไปนี้เปน็ ตวั อย่างของค�ำถาม สรปุ - ให้เหตุผลที่เป็นไปได้มาอธิบายพฤติกรรมของเคตว่า ท�ำไมจึงท�ำตัวเป็นหญิง ปากจดั อารมณร์ ้าย - ถ้าต้องแต่งงานกับหน่ึงในพ่ีน้องสองสาว คือ เคต หรือ เบียงกา จะแต่งงาน กับใคร เพราะอะไร - โรเมโอเป็นคนแบบไหน ใหย้ กตวั อย่างสนับสนุนจากบทละคร - ใหย้ กตวั อยา่ งการเกรน่ิ การณ์ 1 ตัวอยา่ งทีเ่ กิดขึ้นในเรือ่ ง โรเมโอและจเู ลยี ต - ท�ำไมพระจงึ โกหกพอ่ แม่ของวยั รุ่นบางคนท่ีไมค่ วรออกเดต - ท�ำไมผู้คนจงึ รสู้ ึกว่าไม่อาจมีชวี ติ ตอ่ ไปได้หลังจากคนรกั เสียชวี ิต - คุณจะตอบสนองอย่างไร ถ้าคนที่คุณเพิ่งแต่งงานด้วยปฏิบัติต่อคุณเหมือนที่ เพทรคู ีโอปฏบิ ตั ิต่อเคต - ในตอนจบ คุณคิดว่า เคตกลายเป็นคนว่าง่ายจริงๆ หรือแค่เสแสร้ง อธิบาย พร้อมให้เหตผุ ล 277
ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด นกั เรยี นจะโกงหรอื แกลง้ ตอบค�ำถามสรปุ ไมไ่ ด้ ถา้ ไมห่ ลบั ตอนก�ำลงั อา่ น นกั เรยี น จะพูดเรื่องเค้าโครงเรื่องและตัวละครได้ แต่แทนที่จะนึกถึงข้อมูลเท่านั้น นักเรียนต้อง วเิ คราะหแ์ ละประเมนิ สงิ่ ทตี่ วั เองอา่ นดว้ ย แนน่ อน พออา่ นละครเรอ่ื งแรกจบแลว้ นกั เรยี น จะขออา่ นงานอื่นๆ ของเชกสเปยี ร์อีก การอ่านเชกสเปียร์ด้วยวิธีน้ีใช้เวลามาก อย่างน้อยที่สุดก็ตอน 2-3 คร้ังแรก แต่ไดผ้ ลตอบแทนมากมาย นักเรียนได้เรียนรู้ว่า ตัวเองเขา้ ถึงงานของเชกสเปียรไ์ ด้ และ คณุ ภาพการเขยี นของเชกสเปยี รค์ มุ้ คา่ กบั ความพยายาม ทส่ี �ำคญั ทสี่ ดุ คอื นกั เรยี นไดร้ วู้ า่ ตัวเองไม่โง่ และอ่านสิ่งที่ “พวกเด็กฉลาดๆ” อ่านได้ จึงเป็นธรรมดาท่ีพออ่านละคร เรอ่ื งแรกจบแลว้ เราจะไดย้ นิ นกั เรยี นพยายามพดู “เหมอื นอยใู่ นสมยั เชกสเปยี ร”์ เวลา คุยกัน เช่น “เฮ้ โทนี ท่านจะไปรับอาหารม้ือกลางวันกระน้ันหรือ” หรือ “ดูสิ ไทโรน ก�ำลังเกีย้ วพาราสแี ม่นางเทอชิ า” เพราะการบ้านหลงั การอา่ นเน้นที่การเขา้ ใจตัวละคร และแรงจูงใจของตัวละคร พร้อมท้ังการประเมินและการวิเคราะห์ พอท�ำโครงงาน แตล่ ะอยา่ งเสร็จ นกั เรียนจงึ รสู้ กึ วา่ เป็นการวิจารณ์ละคร ไม่ใชก่ ารทดสอบ ซ่งึ ฉันคิดวา่ ทัง้ สองอย่างแตกต่างกนั มาก ใชด้ นตรีเพ่อื แนะนำ�ให้นักเรยี นรจู้ กั บทกวี เพราะนกั เรยี นจ�ำนวนมากของฉนั เกลยี ดการอ่าน หรอื มีประสบการณเ์ ชิงลบกับวิชา ภาษาองั กฤษ ฉนั จึงรวู้ า่ ถา้ ประกาศว่าจะอ่านบทกวี จะไมม่ ีนกั เรยี นเหลือเลยต้งั แต่ ก่อนเริ่มอ่านด้วยซ้�ำ จงึ ตัดสินใจใช้ลกู เล่นดว้ ยจงั หวะกับสมั ผัส ซึ่งในภาพยนตรเ์ ร่ือง Dangerous Minds พวกผสู้ รา้ งถอื วสิ าสะเตมิ สสี นั จนเกนิ จรงิ ใสใ่ นวธิ ขี องฉนั ใชฉ่ นั ใชเ้ นอื้ เพลงจรงิ ๆ แตไ่ ม่ใช่เพลง “Tambourine Man” ของ Bob Dylan ฉนั พิมพ์ เนื้อเพลงแรพ ชือ่ “911 Is a Joke” ของวง Public Enemy เพลง “Tears of a Clown” ของ Smokey Robinson ซ่งึ เป็นภาคภาษาองั กฤษของเพลงโฟล์กสเปน ช่อื “Guantanamera” และเพลงฮิต “We Shall Be Free” ของ Garth Brooks 278 ต่างหาก ตอนนักเรยี นเดนิ เข้าช้นั ฉันแจกเนื้อเพลงใหโ้ ดยไม่พดู อะไรสกั ค�ำ
นักเรยี นถามว่า “นอี่ ะไร” ่อาน ่อาน... ฉนั ตอบวา่ “สงิ่ ทค่ี รคู ดิ วา่ นา่ สนใจ” ไมก่ น่ี าทตี อ่ มา เดก็ คนหนงึ่ พดู วา่ “เฮ้ ฉนั รจู้ กั เพลงน”้ี แลว้ มเี สยี งคยุ กนั ดงั ไปทวั่ หอ้ ง สดุ ทา้ ยมคี นพดู วา่ “เฮ้ ครเู จ ท�ำไมเอาเพลงพวกน้ี ใหเ้ ราล่ะ” ฉนั ตอบวา่ “ครอู ยากรวู้ า่ นกั เรยี นคดิ วา่ เพลงพวกนเี้ ปน็ บทกวหี รอื เปลา่ ” (ฉนั ชอบ จริงๆ เวลาเดก็ ๆ เล่นตามบทท่ฉี นั เขียนไว้โดยไมร่ ูต้ ัว) “บทกวีเหรอ” เด็กๆ 2-3 คน พึมพ�ำ ยกั ไหล่ และมองหนา้ กนั “นี่เป็นบทกวี เหรอ” ฉนั ยำ�้ ค�ำถามเดมิ “นกั เรยี นคดิ วา่ ยงั ไงละ่ บอกครสู ิ พวกเธอรวู้ า่ บทกวคี อื อะไร ใชไ่ หม” พวกเขาตอบวา่ “รูส้ ิ บทกวีต้องมสี ัมผัส” อีกคนเสริมว่า “มจี งั หวะดว้ ย” “ถูกต้อง บทกวีมีจังหวะ หรือสัมผัส และบางครั้งก็มีท้ังสองอย่าง” ฉันพูด พลางยกกระดาษท่มี ีเน้อื เพลงข้นึ มาถามว่า “แล้วนเ่ี ป็นบทกวีหรือเปลา่ ” เด็กหญิงคนหนึ่งพูดว่า “ครูเป็นครูนี่นา ครูบอกพวกเราสิว่า น่ีเป็นบทกวี หรือเปล่า” ฉนั พดู “พวกเธอเปน็ นกั เรยี นนนี่ า บอกครมู าสิ ใชเ้ วลาคดิ ตามสบาย จะปรกึ ษากนั กไ็ ด้นะ ครูจะคอย” และฉนั นง่ั ลงพรอ้ มสหี น้าทแ่ี สดงความอดทนรอคอยอยา่ งใจเยน็ ไมก่ น่ี าทตี ่อมา เดก็ ชายคนหน่งึ ลองเสย่ี งให้ค�ำตอบ “ผมคดิ ว่า เพลงพวกนเ้ี ปน็ บทกวี เพราะมีดนตรี ดนตรีมีจงั หวะ และพวกนี้สว่ นใหญม่ ีสมั ผัส” ฉันตอบว่า “ครูเหน็ ดว้ ย ครูคดิ ว่า เน้อื เพลงของหลายๆ เพลงเปน็ บทกวี และ เพลงที่ดีท่ีสุดหลายๆ เพลงเป็นบทกวีที่ดีมาก ครูจะให้โอกาสนักเรียนเอาเน้ือเพลงท่ี ตวั เองชอบมาแบง่ ปนั กบั เพื่อนๆ ในชนั้ ” นักเรียนหลายคนตบมือ บางคนสง่ เสียงเชยี ร์ แตไ่ มม่ ใี ครประทว้ ง 279
ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด “แล้วถ้าเราไมม่ เี นอ้ื เพลงล่ะ” เดก็ หญิงคนหนง่ึ ถาม “ถา้ ไมม่ ี ใหไ้ ปคน้ ในอนิ เทอรเ์ นต็ หรอื ฟงั เพลงหลายๆ ครงั้ และจดเนอ้ื ออกมา แล้วครจู ะพมิ พใ์ ห้” นกั เรียนพร้อมแลว้ บางคนเปิดสมดุ เรมิ่ รอ้ งเพลงใหต้ วั เองฟัง และจดเนื้อร้อง ฉันเสริมว่า “แต่มีเงื่อนไขหนึ่งข้อ นักเรียนต้องอธิบายให้เพื่อนๆ ฟังว่า ท�ำไม จึงชื่นชอบเพลงน้ันในฐานะบทกวีทด่ี ”ี เด็กชายคนหนึ่งถามว่า “แค่นั้นเหรอ เราแค่พูดว่า ท�ำไมเพลงน้ันเป็นบทกวี ที่ดี ใชไ่ หม” ฉันตอบว่า “ใช่แล้ว แค่น้ันเอง ครูมีเงื่อนไขเล็กน้อยเพียงข้อเดียวเท่านั้น ใคร สนใจบา้ ง” นกั เรยี นเกอื บทกุ คนยกมอื “ดี แตก่ อ่ นจะอธบิ ายวา่ ท�ำไมเพลงทต่ี วั เองเลอื ก จึงเป็นบทกวีที่ดี นกั เรยี นจะตอ้ งเรยี นรู้ภาษาของบทกวีกอ่ น ถ้าพวกเธอยอมอดทนกับ ครสู ัก 1 อาทติ ย์ หรอื ราวๆ นัน้ ครูจะสอนวธิ ีคยุ เร่อื งบทกวีให้” เด็กๆ 2-3 คน ขมวดค้ิว แต่ก่อนพวกเขาจะสงสัย ฉันรีบเร่ิมบทน�ำเก่ียวกับ การสร้างค�ำโดยเลียนเสียงธรรมชาติ ปัง! บูม! ตูม! ปิ๊ง! ก่อนท่ีจะรู้ตัวว่าเกิดอะไรข้ึน นกั เรยี นก็เรมิ่ อา่ นบทกวีกันแลว้ ฉนั จะเลา่ ผลการทดลองสอนบทกวคี รง้ั แรกกบั นกั เรยี นทตี่ อ่ ตา้ นการอา่ นใหค้ ณุ ฟงั ทุกคนในช้ันรวมทั้งฉันเองแสดงอย่างเด่นชัดว่าชอบดนตรีแบบไหน ก่อนเร่ิมโครงการ ฉนั ไมค่ ิดว่าจะมเี พลงเฮฟวเี มทัลทเ่ี ป็นบทกวี แตก่ ็มีคนเจอว่ามีนกั เรยี นน้อยมากท่รี ูจ้ กั ดนตรีแจส๊ แต่ตอ่ มาหลายคนกลายเปน็ แฟนแจส๊ ตวั ยง และคนทอี่ ้างว่าเกลยี ดเพลงแรพ หรอื เพลงคนั ทรพี บวา่ ตวั เองตอบสนองตอ่ เนอ้ื เพลงเวลาอา่ นเนอื้ โดยไมม่ ดี นตรปี ระกอบ เราค้นพบว่า ส่วนใหญแ่ ล้วที่เราไม่ค่อยชอบคอื จังหวะ ไม่ใช่ไม่ชอบตวั เพลง นักเรยี นซง่ึ มาจากภมู หิ ลงั ทแ่ี ตกตา่ งกนั มากไดต้ ระหนกั วา่ พวกเขามอี ารมณแ์ ละความฝนั คลา้ ยๆ กนั และฉนั ยงั เรยี นรู้ว่า เพลงท่ีลามกหยาบคาบ นา่ ขยะแขยง ดูหม่ินเช้อื ชาติและเพศ หรอื 280
สง่ เสรมิ ความรนุ แรงไมใ่ ชบ่ ทกวที ด่ี ี ชายหนมุ่ คนหนงึ่ (ชายหนมุ่ ทก่ี �ำลงั โกรธ ซงึ่ ตามปกติ ่อาน ่อาน... จะนัง่ กอดอกและปดิ ปากแน่น ขณะท่คี นอืน่ แลกเปล่ยี นความคดิ เห็นกัน) เอาเพลงแรพ ทีเ่ ตม็ ไปด้วยถอ้ ยค�ำหยาบคายและลามกอนาจารมา แทนทจี่ ะทง้ิ เพลงนัน้ ไป ฉนั ขอให้ เขาบอกวา่ ท�ำไมจึงชน่ื ชมเพลงน้นั ในฐานะบทกวี เขาตอบว่า “ผมชอบจังหวะ” ฉันบอกว่า “ในโครงงานน้ีเราไม่ได้หาแค่เพลง ที่มีจังหวะดีๆ แต่ก�ำลังหาเพลงท่ีมีค�ำเพราะๆ มีค�ำไหนบ้างในเพลงน้ีท่ีเธอชื่นชมจริงๆ ในฐานะบทกวีที่ดี ช่วยช้ีให้ครูดูว่า ตรงไหนเป็นสัมผัสใน หรืออุปลักษณ์ หรืออุปมา หรือสัมผสั พยัญชนะ” เขาขมวดคิ้วและดเู น้ือเพลงท่ีเขยี นไว้ในกระดาษสมุด ก่อนจะยอมรับวา่ “เออ่ ผมไมไ่ ดช้ อบค�ำพวกน้นั มากขนาดนั้น แตจ่ ังหวะของเพลงน้ีดีจริงๆ” ฉันพูดว่า “ถ้าอย่างนั้น ให้หาเพลงอ่ืนที่มีค�ำที่เธอช่ืนชอบจริงๆ” วันต่อมา เขาเอาเพลงอนื่ ซง่ึ ไมใ่ ชเ่ พลงทพ่ี วกพอ่ แมช่ นื่ ชอบ แตไ่ มถ่ งึ กบั หยาบคายหรอื ลามกอนาจาร และเพราะเขาเตรียมพร้อมจะเขา้ รว่ มการเรียนร้เู ปน็ ครั้งแรก ฉันจงึ ยอมรับเพลงน้ัน มสี องสงิ่ ทน่ี า่ ทง่ึ เกดิ ขนึ้ หลงั จากเราท�ำโครงงานบทกวเี สรจ็ อยา่ งแรกคอื นกั เรยี น ไมป่ ระทว้ งเมอื่ ฉนั ประกาศวา่ เราจะอา่ นต�ำราเพอื่ วเิ คราะหแ์ ละอภปิ ราย เกยี่ วกบั บทกวี คลาสสิกและโคลงแบบซอนเนตของเชกสเปียร์ เห็นได้ชัดว่า เป็นเพราะนักเรียนผ่าน การวิเคราะหแ์ ละประเมินเพลงกบั บทกวขี องใหม่มามาก จนมั่นใจว่าตัวเองจะรบั มอื กบั บทกวีไดท้ กุ ประเภท เรอื่ งนา่ ทงึ่ อยา่ งทสี่ องคอื นกั เรยี นทเี่ ปน็ ปฏปิ กั ษ์ ชอบทะเลาะววิ าท และไมแ่ ยแส พากนั ลงคะแนนเปน็ เอกฉันทเ์ ลือกเพลง “We Shall Be Free” ใหเ้ ปน็ บทกวที ่ีดีท่สี ุด ของทุกเพลงท่ีเราอ่านกัน ฉันจึงตระหนักว่า นักเรียนพวกนี้ไม่ใช่หนุ่มสาวขบถท่ีไร้ ศีลธรรมและไม่ใส่ใจ แต่เป็นเด็กมีอุดมการณ์ท่ีเต็มไปด้วยความหวัง และต้องการผู้น�ำ ท่ีเป็นผู้ใหญ่ดีๆ ส�ำหรับคนที่ไม่คุ้นเคยกับเพลงนี้ น่ีคือถ้อยค�ำ ท่ีนักเรียนลงคะแนนให้ เปน็ บทกวีที่ดีทส่ี ุด 281
ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด เมอื่ เด็กคนสดุ ทา้ ยร้องขอขอบขนมปงั เมื่อผชู้ ายคนสดุ ทา้ ยตายเพยี งเพราะถอ้ ยค�ำท่ีเขาพดู เม่ือสิ่งสุดท้ายที่เราสังเกตเหน็ คือสผี วิ และส่งิ แรกทเี่ รามองหาคือความงามภายใน... ...เมื่อนัน้ เราจะเป็นอสิ ระ 282
ประเด็นส�ำ หรบั การอภปิ ราย ่อาน ่อาน... 1. ให้บรรยายประสบการณ์ในการอ่านของตัวเองตอนเป็นเด็ก คณุ อา่ นหนงั สือออกได้อยา่ งไร 2. เทคนคิ ไหนไดผ้ ลดที สี่ ดุ ทคี่ ณุ ใชเ้ พอื่ จงู ใจคนทไี่ มเ่ ตม็ ใจอา่ นแลว้ 3. คณุ คดิ อยา่ งไรกับการบงั คับใหน้ กั เรียนอา่ นออกเสียงต่อหน้า เพือ่ นๆ 4. เราจะใช้ดนตรีกับศิลปะมาพัฒนาการอ่านของนักเรียนได้ อยา่ งไร 5. คุณคดิ อยา่ งไรท่ีโรงเรียนก�ำหนดช่วงเวลาให้นกั เรียนอา่ น หนงั สือเงียบๆ เป็นประจ�ำทกุ วัน 283
8 แสงกับการเรยี นรู้ อเลก็ ซ์ กอนซาเลซ นา่ จะไดเ้ ปน็ นกั เรยี นในฝนั ของฉนั เขาฉลาด มีไหวพริบ มารยาทดี น่ารัก หล่อ รับผิดชอบ และมีน�้ำใจกับ คนอ่ืนๆ ร่วมมือกับเจ้าหน้าท่ีของโรงเรียน ปฏิบัติต่อพ่อแม่ อยา่ งเคารพ ไดค้ ะแนนการทดสอบมาตรฐานอยใู่ นกลมุ่ รอ้ ยละ 10 ทีไ่ ด้คะแนนสงู สดุ ของประเทศ แตใ่ นโรงเรยี น อเลก็ ซ์กลบั สอบ ผา่ นทกุ วชิ าแบบเฉยี ดฉวิ เขาไมย่ อมอา่ นหนงั สอื เกนิ ทโ่ี รงเรยี น ก�ำหนดไว้ต�ำ่ สดุ เพอ่ื จะสอบผ่านวิชาน้ัน
อา่ นไมไ่ ด้ หรือไม่ยอมอา่ น “ผมเกลียดโรงเรียน” อเล็กซ์บอกฉันตอนสมัครเข้าเรียนต่อในคอมพิวเตอร์ อคาเดมี ซ่ึงเป็นโรงเรียนลูกในโรงเรียนแม่ส�ำหรับวัยรุ่นกลุ่มเสี่ยง ท่ีโรงเรียน มธั ยมทางตอนใตข้ องเมอื งซานฟรานซสิ โก แสงกับ... “แต่เธอฉลาดพอท่ีจะเรียนจบและไปเข้ามหาวิทยาลัยได้” ฉันพูดพลางคิดว่า บางทกี ารกระตุน้ แรงๆ จะชว่ ยเพม่ิ แรงจงู ใจให้เขาได้ อเลก็ ซต์ อบวา่ “ผมอยากเขา้ คกุ มากกวา่ เขา้ มหาวทิ ยาลยั แตพ่ อ่ แมอ่ ยากใหผ้ ม เรยี นจบ ก็เลยต้องมาเรียนทีค่ อมพวิ เตอรอ์ คาเดม”ี อเล็กซ์เรียนวิชาภาษาอังกฤษกับฉัน เขาเข้าร่วมการอภิปราย เขียนเรียงความ ทอ่ี ธบิ ายประเดน็ ตา่ งๆ ไดช้ ดั เจน และตง้ั ใจฟงั เวลาเพอ่ื นๆ อา่ นออกเสยี ง แตพ่ อใหท้ �ำงาน ท่ีต้องอ่านเอง อเล็กซ์จะกลายเป็นนักเรียนในกลุ่มเส่ียงที่ท�ำอะไรต่�ำกว่าความสามารถ ของตวั เอง และสอบตกตอนอยเู่ กรด 9 เขาเคาะโตะ๊ เปน็ จงั หวะเหมอื นตกี ลอง พบั กระดาษ เป็นจรวดแล้วขว้างไปรอบห้อง เรียกร้องขอบัตรอนุญาตไปห้องน�้ำ “แกล้ง” ท�ำต�ำรา ตกลงพนื้ หาเรอื่ งทะเลาะกบั นกั เรยี นคนอน่ื และทา้ ทายใหฉ้ นั สง่ ตวั ไปหอ้ งครใู หญ่ เขาท�ำ ทุกอย่างเพื่อหลกี เลี่ยงการอ่านแมจ้ ะแค่ไมก่ ่นี าทีก็ช่าง 285
ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด เพราะฉันสอนนกั เรียนกล่มุ เดิมตลอด 3 ปี และเพราะฉนั ใชเ้ วลาปีแรกประเมนิ ความสามารถกับเจตคติของนักเรียน และช่วยให้เรียนทันคนอื่น อเล็กซ์จึงผ่านไปได้ โดยอ่านน้อยท่ีสุด และได้เกรดซีในวิชาภาษาอังกฤษตอนอยู่เกรด 10 พอเริ่มเกรด 11 ฉนั มงุ่ ไปทกี่ ารจดั การปญั หาพฤตกิ รรมทข่ี ดั ขวางไมใ่ หอ้ เลก็ ซไ์ ดเ้ กรดเอ ทงั้ ทเ่ี หน็ ไดช้ ดั วา่ เขาสามารถท�ำได้ อเล็กซ์เข้าเรียนในคอมพิวเตอร์อคาเดมี เพราะเช่ือว่าจะเรียนจบได้ด้วยความ ช่วยเหลือของทมี ครูที่มี 4 คน เขาเซ็นสญั ญาว่า จะไมย่ ุง่ กับยาเสพติดและแก๊ง และจะ เข้าเรียน ซึ่งเป็นส่ิงที่ควรท�ำ และเขาเก่งพอจะเรียนได้ อเล็กซ์ยืนยันว่า อยากปรับปรุง ทักษะด้านการศึกษากับนิสัย และเต็มใจท�ำทุกอย่างเพื่อจะเรียนให้จบ ยอมทุกอย่าง ยกเว้นอา่ นหนังสอื “ผมไม่ชอบอ่านหนังสอื ” อเล็กซย์ ืนกราน “ไม่เคยชอบเลย” ฉันพูดว่า “แตเ่ ธอกช็ อบฟังนกั เรียนคนอน่ื อา่ นนน่ี า ชอบแสดงความคดิ เห็นใน เร่อื งราวทเ่ี ราอ่าน และเสริมข้อคิดฉลาดๆ เวลาอภิปรายกนั เธอชอบหาแรงจูงใจของตวั ละคร และคาดเดาการหกั มุมในเค้าโครงเรือ่ ง” “ก็จริง” อเล็กซ์พยักหน้า “แต่ไม่เหมือนกันนะ เวลาฟังคนอ่ืนอ่าน ผมชอบ เรื่องราวพวกน้นั แต่พออ่านเองกลบั ไม่ชอบเลย” อเลก็ ซไ์ มม่ ปี ญั หาดา้ นความเขา้ ใจในการอา่ น เขารคู้ �ำศพั ท์ อา่ นออกเสยี งถกู ตอ้ ง และสอบผ่าน โดยได้คะแนนสูงกว่าค่าเฉลี่ยในการทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทุกครั้ง ต่อมา ฉนั จงึ รวู้ า่ เขาตอ้ งฝนื อา่ นเพอ่ื สอบใหผ้ า่ น ฉนั เรม่ิ สงสยั วา่ ครคู นกอ่ นๆ ของอเลก็ ซพ์ ดู ถกู หรือเปล่าท่ีบอกว่า ปัญหาของอเล็กซ์คือเร่ืองอ�ำนาจ เขาชอบควบคุมและเลือกท่ีจะ ควบคุมการอ่าน พวกครูเชื่อว่า ถ้าอยากอ่าน อเล็กซ์จะอ่านได้ดี เขาแค่ไม่อยากอ่าน เทา่ นน้ั เอง เชา้ วนั หน่งึ ฉนั โน้มนา้ วใหน้ กั เรียนแตล่ ะคนในชนั้ ของอเล็กซอ์ า่ นละครเอง โดย อ่านองกท์ ่ี 2 ของเรอ่ื ง Othello ซึ่งเปน็ งานยากส�ำหรับทกุ กลมุ่ และท้าทายเปน็ พเิ ศษ ส�ำหรบั วยั รนุ่ ทไ่ี มแ่ ยแสการเรยี นและออ่ นวชิ าการ พออา่ นเงยี บๆ ไปไดแ้ ค่ 2 นาที อเลก็ ซ์ กเ็ รมิ่ พฤตกิ รรมกอ่ กวนทที่ �ำเปน็ ประจ�ำ ฉนั หมดความอดทนจงึ ตะโกนวา่ “อเลก็ ซ์ นง่ั ลง 286 และอ่านหนังสือซะ”
อเลก็ ซ์เปิดหนังสือเสียงดัง และก้มหน้าอา่ น 10 นาที ต่อมาเขาเดนิ มาท่ีโต๊ะครู แสงกับ... และพูดว่า “ผมไม่ชอบอ่านหนังสือก็เพราะอย่างน้ี” เขาช้ีไปที่ดวงตาแดงก่�ำมีเลือดคั่ง และนำ�้ ตาไหลอาบแกม้ ฉนั ตกใจมาก เพราะรู้ว่าในชว่ ง 10 นาทีนัน้ อเลก็ ซไ์ ม่ไดไ้ ปไหน หรอื ท�ำอะไรเลย นอกจากอา่ นหนงั สือ “เกิดอะไรขน้ึ ?” ฉนั ถาม อเล็กซ์ตอบว่า “ผมไม่รู้ แตเ่ ป็นแบบนี้ทกุ ครั้ง เวลาอา่ นหนงั สอื ผมจะปวดตา” “เป็นแบบนม้ี านานแคไ่ หนแลว้ ” “นานเป็นชาติแลว้ ” เยน็ น้นั ฉันโทรไปหาพ่อแมข่ องอเลก็ ซเ์ พื่อใหม้ ั่นใจว่า พวกเขามีประกนั สขุ ภาพ และขอใหน้ ัดหมายจักษแุ พทย์เพือ่ ตรวจตาของอเล็กซ์ ฉนั ไปกบั แมอ่ เล็กซ์ด้วย เพราะ กังวลกับปัญหานี้มาก และอยากให้ม่ันใจว่า แพทย์จะตรวจอาการอย่างจริงจัง พอ ทดสอบเสรจ็ แพทยส์ า่ ยหน้าพลางพดู วา่ “อเลก็ ซม์ สี ายตาเอยี งเลก็ นอ้ ย แตก่ ารมองเหน็ ไมม่ อี ะไรผดิ ปกติ และไมม่ เี หตผุ ล ด้านการแพทยท์ จี่ ะบอกได้ว่าท�ำไมจึงมีเลอื ดค่ังที่ดวงตา และนำ้� ตาไหล” พอกลบั ไปทีโ่ รงเรยี นในวันถัดมา ฉันถามเพือ่ นรว่ มงานว่าเคยเจอสถานการณ์ แบบของอเลก็ ซไ์ หม บางคนตอบว่าเคย แต่ไม่มีใครใหค้ �ำอธิบายหรอื ข้อแนะน�ำได้ หลงั เลกิ เรยี นฉนั โทรไปหา ไดแอน แฮรเ์ รรา เชพเพริ ด์ เพอ่ื นจากเมอื งแอลบเู คอรค์ ี ทตี่ อนนน้ั มบี า้ นอยู่ใกล้โรงเรียน และเปน็ ครูสอนพิเศษส�ำหรับนักศกึ ษาทีม่ ีความบกพรอ่ งในการ เรียนรู้ ฉนั อธิบายสถานการณข์ องอเล็กซ์ให้ไดแอนฟัง เธอพดู วา่ “พรุ่งนฉี้ นั จะแวะไปที่ห้องเรียน” ไดแอนมาพร้อมกับกระเป๋าเอกสารที่มีกระดาษกับแผ่นใสขนาด 8 x 10 นิ้ว สแี ดง สกี หุ ลาบ สเี หลอื งอมชมพู สที อง สเี ทา สมี ว่ ง สเี ขยี ว และสนี ำ�้ เงนิ เธอยนื่ กระดาษ ที่มีชุดของตัวเอ็กซ์ (X) สีด�ำรวมกันเป็นรูปฟักทอง แล้วให้อเล็กซ์นับดูว่ามีเอ็กซ์ก่ีตัว ตรงแถวกลางของรปู ฟกั ทอง โดยหา้ มเอานิว้ ชท้ี ่ีตวั อักษรเพื่อชว่ ยนับ 287
ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด อเลก็ ซ์บอกว่า “ผมนบั ไม่ได้ เพราะตัวเอ็กซไ์ ม่อยนู่ ง่ิ ” ฉนั กบั พวกนกั เรียนพากนั ยนื ลอ้ มรอบไดแอน นักเรียนบางคนนบั ตวั เอก็ ซ์อย่างรวดเร็ว และอกี หลายคนเหน็ ดว้ ยกบั อเลก็ ซว์ า่ ตวั เอก็ ซ์ “กระดกุ กระดกิ ” นกั เรยี นคนหนง่ึ พดู วา่ ดูเหมือนตัวเอ็กซ์ก�ำลังลุกไหม้บนหน้ากระดาษ ส่วนอีกคนบอกว่า การเพ่งดูตัวเอ็กซ์ เป็นเรื่องยาก เพราะบนหนา้ กระดาษมี “แม่น้�ำสขี าว” หลายสายไหลผ่าน ไดแอนวางแผน่ ใสสมี ว่ งบนหนา้ กระดาษ แล้วถามอเลก็ ซ์ว่านบั ตวั เอ็กซไ์ ดไ้ หม เขานับทันทโี ดยไมล่ งั เล และนับได้ถูกตอ้ ง “สดุ ยอด!” เขาอุทาน “คุณท�ำไดไ้ งเนยี่ ” ไดแอนอธิบายว่า ตัวหนังสอื สดี �ำบนกระดาษสขี าวท�ำใหเ้ กดิ ความแตกตา่ งมาก คนที่ตาไวแสงเกินไป (หรือเรียกอีกอย่างหน่ึงว่ามีกลุ่มอาการเออร์เลน) จะเสียสมาธิ กับความแตกต่างนั้น และอึดอัดหรือถึงกับปวดตาได้เวลาอ่านหนังสือ แสงไฟนีออน ยิ่งท�ำให้อึดอัด เพราะหลอดนีออนกระพริบ และไม่มีแสงเต็มสเปคตรัมเหมือนแสง ธรรมชาติ การวางแผ่นใสมีสีไว้บนหน้าหนังสือ หรือสวมแว่นท่ีมีเลนส์สีพิเศษท�ำให้ คนจ�ำนวนมากที่ทุกข์ทรมานจากอาการตาไวแสงเกนิ ไปอ่านหนังสอื ได้ โดยตาไมล่ ้าหรือ ไม่ปวดหัว แมแ้ ตค่ นท่ีมีปัญหาการอ่านมายาวนานก็ยงั อา่ นไดส้ บายๆ ไดแอนแจกแผ่นใสให้นักเรียนเอาไปวางบนต�ำราของตัวเอง เพ่ือเปรียบเทียบ ความแตกตา่ งระหวา่ งแผน่ สหี ลายๆ สี ฉนั กล็ องท�ำดว้ ยและพบวา่ แผน่ ใสสนี ำ้� เงนิ ชว่ ยให้ 288 ตัวเองอ่านง่ายข้นึ มากทเี ดยี ว
“ความไวต่อแสงเปน็ ประเด็นทีย่ ังโตแ้ ย้งกันอย”ู่ ไดแอนเตอื นฉัน “ฉันเพียงแต่ แสงกับ... เสนอวิธีแกป้ ัญหาอย่างหนง่ึ ท่เี ปน็ ไปได้ให้นกั เรยี น ถ้าแผ่นใสมีสชี ว่ ยพวกเขาได้ ฉันยินดี ใหข้ อ้ มูลตา่ งๆ ทีม่ อี ยู่” หลงั จากไดแอนมาทห่ี อ้ งเรยี นครง้ั นนั้ ฉนั ไดเ้ ปน็ ผกู้ ลา่ วปาฐกถาหลกั ในทป่ี ระชมุ ขององคก์ รตา่ งๆ มากกวา่ 100 แหง่ ในระยะ 20 ปที ผ่ี า่ นมา ฉนั จะพดู เรอื่ งอาการตาไวแสง เกนิ ไปทกุ ครงั้ และทกุ ครงั้ จะมคี นมาเลา่ เรอ่ื งอาการตาไวแสงของตวั เองใหฉ้ นั ฟงั ครงั้ ลา่ สดุ ในเมืองออสตนิ รฐั เทกซสั ฉันไปพดู ในทป่ี ระชมุ ประจ�ำปีของสมาคมนักการศกึ ษาแหง่ เทกซัส พอพดู จบกม็ คี รคู นหนง่ึ เข้ามากอดฉันและพูดว่า “ขอบคุณทีเ่ ลา่ เรื่องของเด็กคนนั้น คุณไม่รหู้ รอกว่าจะชว่ ยใครไดบ้ ้าง ลูกสาว ของฉันอยู่เกรด 4 และเราเพ่ิงให้เธอใส่เลนส์เคลือบสีตอนอ่านหนังสือ ซ่ึงเปลี่ยนชีวิต ของเธอไปเลย กอ่ นหนา้ นไี้ มม่ ใี ครรวู้ า่ จะท�ำอะไรกบั เธอดี แมจ้ ะไปเขา้ โปรแกรมการศกึ ษา พิเศษทกุ แบบท่ีมใี นโรงเรียน ก็ไมม่ อี ะไรได้ผล แต่ตอนนี้เธออ่านหนงั สอื ได้แลว้ ” เพราะผู้คนเหล่าน้ันและเร่ืองราวของพวกเขา และเพราะฉันได้เห็นผลลัพธ์ ท่ีน่าท่ึงทันทีที่มีการใช้เออร์เลนฟิลเตอร์ ซ่ึงมีทั้งแบบที่เป็นเลนส์เคลือบสี กับแผ่นใส มีสีที่ใช้วางทับบนหน้าหนังสือหลายต่อหลายครั้งในห้องเรียนของตัวเอง ฉันจึงเช่ือว่า อาการตาไวแสงเกินไปมีอยู่จริง และอาจเป็นสาเหตุของสิ่งท่ีเรียกกันว่าความบกพร่อง ในการเรียนรู้ของเด็กๆ ในโรงเรียน ฉันเชื่อว่า ถ้าเปล่ียนแสงไฟในห้องเรียนให้เป็นแสง ธรรมชาตอิ ยา่ งตอนกลางวนั (โดยเจาะหนา้ ตา่ งในหอ้ งทไ่ี มม่ หี นา้ ตา่ ง) หรอื เปลยี่ นหลอด นอี อนมาตรฐานเปน็ หลอดไสร้ อ้ นธรรมดา หรอื หลอดเกลยี วนอี อนทม่ี แี สงเตม็ สเปคตรมั จะช่วยลดปัญหาการอ่านและปัญหาพฤติกรรมของนักเรียนได้มากมาย นอกจากน้ัน ฉันยังเชื่อว่า เราควรรวมเอาการคัดกรองเด็กท่ีตาไวแสงเกินไปไว้ในโปรแกรมสุขภาพ ตามปกติของโรงเรียนทุกแหง่ และใช้เป็นการแทรกแซงอันดบั แรกส�ำหรับปัญหา พฤติกรรมทีเ่ กดิ ข้ึนระหว่างการท�ำกิจกรรมการอา่ น 289
ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด พอเหน็ แลว้ จึงเชอ่ื ในหอ้ งเรยี นของฉนั พฤตกิ รรมของอเลก็ ซเ์ ปลย่ี นไปอยา่ งนา่ ทงึ่ นบั แตเ่ รม่ิ ใชเ้ ออรเ์ ลน ฟิลเตอร์เวลาอ่านหนังสือ ท�ำให้ปัญหาการอ่านหมดไป เขาตัดสินใจไปเรียนต่อใน มหาวิทยาลยั (ปัจจบุ ันอเลก็ ซ์เปน็ วศิ วกรอิเลก็ ทรอนิกส์ในบริษทั ท่ีซลิ คิ อนแวลเลย)์ คะแนนก็ดีข้ึนทุกวิชา อเล็กซ์ยืนกรานว่า แผ่นใสสีม่วงเป็นกุญแจไปสู่ความส�ำเร็จ แต่ฉนั ยงั ไมม่ นั่ ใจนกั สี่ปตี อ่ มา หลงั ย้ายจากแคลฟิ อรเ์ นียไปอยู่นิวเมก็ ซโิ ก ฉนั ไดพ้ บนกั เรยี นอีกคน ที่ท�ำให้เช่อื ว่าอาการตาไวแสงเกินไปมีอยจู่ ริง แวเลอรี มาร์ตนิ เป็นนกั เรยี นเกรด 9 ใน วชิ าการอา่ นของฉนั เธอมพี ฤตกิ รรมคลา้ ยอเลก็ ซม์ าก ฉลาด ชอบสมาคม อธบิ ายเรอื่ งราว ตา่ งๆ ไดช้ ดั เจน แตจ่ ะบน่ ปวดหวั ทกุ ครง้ั ทใี่ หอ้ า่ นหนงั สอื เอง เวลาฉนั สงั่ ใหอ้ า่ นหนงั สอื เอง เงยี บๆ แคไ่ มก่ น่ี าที แวเลอรจี ะเรม่ิ ทา้ ทายและท�ำตวั นา่ รงั เกยี จ พอรวู้ า่ อาจจะเจอนกั เรยี น อกี คนทตี่ าไวแสง ฉนั จงึ ดใี จทใ่ี นโรงเรยี นมคี รทู ป่ี รกึ ษาคนหนงึ่ ซง่ึ ผา่ นการฝกึ อบรมเรอื่ งน้ี มาแล้ว สัปดาห์ต่อมาพอครูที่ปรึกษามาท่ีห้องก็ได้พบว่า นักเรียนคร่ึงห้องตอบสนอง ต่อการใช้แผ่นใสมีสี นักเรียน 17 คน จาก 34 คน ทท่ี กุ ขท์ รมานกับการถกู กลา่ วหาว่ามี ความบกพร่องในการเรยี นรู้ หรือมีปัญหาพฤตกิ รรม ทง้ั ๆ ที่อาจจะเป็นปญั หาการรับรู้ ตา่ งหาก ร้อยละ 50 ของนกั เรียนทตี่ อบสนองต่อแผน่ ใสมีสีสอดคล้องกบั ข้อสรุปในการ วจิ ยั ของ พอล ไวทงิ แวเลอรตี อบสนองเหมอื นอเลก็ ซท์ กุ อยา่ ง ทนั ทที ไี่ ดร้ บั เออรเ์ ลนฟลิ เตอร์ (ของเธอ เปน็ สมี ว่ งเขม้ ทฉ่ี นั ใชแ้ ลว้ อา่ นตวั หนงั สอื ใตแ้ ผน่ ใสไมอ่ อก) แลว้ กลายเปน็ นกั อา่ นตวั แทน ของห้อง และยืนกรานวา่ ท่เี พื่อนๆ ใหเ้ ธออา่ นออกเสยี งมากกว่าคนอน่ื เพราะเมือ่ กอ่ น เธอไมเ่ คยอา่ นเลยตา่ งหาก แวเลอรอี า่ นออกเสียงนาน 20-30 นาที ได้โดยไมบ่ ่นเลยวา่ อึดอดั และสอบได้เกรดเอทกุ วชิ า 290
“หนูดีใจเหลือเกินท่ีได้รู้เร่ืองนี้” แวเลอรีบอกฉัน และพูดต่อไปว่า แต่หนูก็ แสงกับ... โกรธดว้ ย เพราะไปโรงเรยี นมา 10 ปแี ลว้ ใครๆ กบ็ อกวา่ หนบู า้ ขเ้ี กยี จ ดอ้ื ดา้ น และโง่ หนูเคยคิดว่าตัวเองคงจะเป็นบ้าหรืออะไรซักอย่าง เพราะพอบอกว่า อา่ นแลว้ ปวดตา ครกู บ็ อกวา่ ไมจ่ รงิ หรอก เธอพยายามหาทางเลย่ี งไมต่ อ้ งท�ำงาน ล่ะสิ พ่อกบั แม่ก็คิดเหมือนครู ทุกคนโกรธหนูตลอดเวลา ถงึ หนูจะบอกวา่ อ่าน แล้วปวดหัว หนูเลยเรมิ่ คดิ ว่า ตัวเองคงจะโง่และบ้าจริงๆ ฉันจินตนาการออกเลยว่า เด็กๆ คับข้องใจแค่ไหนท่ีมีแต่คนบอกว่า เธอไม่ได้ ปวดหัวหรือปวดตา เธอข้ีเกียจและดื้อด้านต่างหาก ส่ิงที่น่าท้อแท้ที่สุดในสถานการณ์ แบบนคี้ อื ยง่ิ คนทท่ี กุ ขท์ รมานจากตาไวแสงเกนิ ไปพยายามเพง่ สมาธกิ บั การอา่ น อาการ จะยง่ิ แยล่ ง ไมต่ อ้ งสงสยั เลยวา่ ท�ำไมนกั เรยี นทมี่ ปี ญั หาการอา่ นจงึ มปี ญั หาพฤตกิ รรมดว้ ย เด็กๆ มีทางเลือกจ�ำกัด และเรียกร้องให้ใครๆ มาใส่ใจกับปัญหาอย่างจริงจังไม่ได้ แต่ พวกเขาท�ำตัวแยๆ่ ในโรงเรยี นได้ เพราะการยนื ตรงมุมหอ้ งหรอื นงั่ ในหอ้ งกักตัวหลงั เลิก เรยี นไมท่ �ำให้ปวดหัวหรอื ปวดตา หลังจากเจอนักเรียนที่มีปัญหาการอ่านแล้วตอบสนองดีมากต่อการใช้แผ่นใส ฉนั จงึ เรมิ่ ซอ้ื แผน่ ใสมสี จี ากรา้ นขายอปุ กรณส์ �ำนกั งานมาแจกนกั เรยี นทกุ ชนั้ ในสปั ดาหแ์ รก ที่เปิดเรียนพร้อมๆ กับเล่าเรื่องตาไวแสงเกินไปให้ฟังส้ันๆ มีสิ่งท่ีน่าสนใจมากเกิดกับ นกั เรยี นทมี่ ปี ญั หาการอา่ นและอยใู่ นกลมุ่ เสย่ี ง พวกนกั เรยี นเกรด 10 หรอื 11 ทต่ี อ้ งอา่ น หนังสือของเกรด 4 หรือ 5 แต่ไม่มีอาการตาไวแสงเกินไป พากันเอาแผ่นใสไปวาง บนหน้าหนังสือ และขอเชิญให้ฉันสอนให้พวกเขาอ่าน เด็กชายอายุ 17 ปี คนหน่ึง ทกี่ อ่ นหนา้ นต้ี อ่ ตา้ นความชว่ ยเหลอื ทกุ อยา่ งไดต้ ดั สนิ ใจวา่ พรอ้ มจะเรยี นแลว้ การใชแ้ ผน่ ใส ท�ำให้เขาไม่เสียหน้า เขายอมให้ครูสอนอ่านหนังสือ ซ่ึงก่อนหน้านี้เขายืนกรานว่าเป็น เรื่องของ “เด็กๆ” และ “คนโง่” เขาพูดว่า “ผมไม่โง่นะ แค่มีปัญหาสุขภาพ ก่อนหน้าน้ีผมเลยอ่านหนังสือ ไม่ออก” 291
ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด ตาไวแสงเกนิ ไป ฉนั พบอเลก็ ซต์ อนตน้ ทศวรรษ 1990 สมยั นนั้ มขี อ้ มลู เกยี่ วกบั อาการตาไวแสงเกนิ ไป นอ้ ยมาก นอกจากมนี กั จติ วทิ ยาชอ่ื เฮเลน เออรเ์ ลน ซง่ึ คน้ พบปญั หาการรบั รทู้ างภาพ ท่ีเกิดข้ึนซ้�ำๆ ตอนท�ำงานกับนักศึกษาผู้ใหญ่ที่มีปัญหาการอ่าน แล้วจดสิทธิบัตร เออรเ์ ลนฟลิ เตอร์ แตอ่ ปุ กรณน์ กี้ บั กระบวนการการคดั กรองยงั ไมพ่ รอ้ มใหค้ นทวั่ ไปใช้ ถา้ อยากไดฟ้ ลิ เตอร์ นกั เรยี นตอ้ งไปตรวจการมองเหน็ กอ่ น เพอื่ ตดั ปญั หาการมองเหน็ ตามปกติออกไป แล้วต้องไปทดสอบกับเจ้าหน้าที่คัดกรองท่ีผ่านการรับรองด้วย นบั แตน่ นั้ มากม็ กี ารผลติ ฟลิ เตอรอ์ อกมาใหค้ นทว่ั ไปใช้ พรอ้ มกบั บทความและหนงั สอื มากมายทใ่ี หค้ �ำแนะน�ำและเชื่อมโยงไปสแู่ หลง่ ข้อมลู อ่นื ๆ คุณจะหาแหล่งข้อมูลเพิ่มเติมได้ในภาคผนวกของหนังสือเล่มนี้ แต่ถ้าอยากรู้ แคค่ รา่ วๆ ใหเ้ ขา้ ไปทเ่ี วบ็ ไซตข์ องสถาบนั รปู แบบการอา่ นแหง่ ชาติ (NRSI; www.nrsi.com) หรือสถาบันเออร์เลน (www.irlen.com) ท้ังสองแห่งมีข้อมูลภูมิหลังและจ�ำหน่ายชุด การทดสอบกบั แผน่ ใสซอ้ นทบั สถาบนั รปู แบบการอา่ นแหง่ ชาตมิ ชี ดุ ตวั อยา่ งของแผน่ ใส ซอ้ นทบั ขนาดเลก็ กบั แผน่ ใสขนาดมาตรฐาน สว่ นเวบ็ ของสถาบนั เออรเ์ ลนมบี ญั ชรี ายชอื่ นานาชาติของเจ้าหน้าท่ีคัดกรองซ่ึงผ่านการรับรอง และโปรแกรมการฝึกอบรมท่ีจด สิทธิบตั รแล้วส�ำหรบั เจา้ หนา้ ที่คัดกรองด้วย แม้จะมีการศึกษาเรื่องนี้มากมาย แต่ยังไม่มีมติเอกฉันท์ในหมู่นักวิจัยเกี่ยวกับ สาเหตุของอาการตาไวแสง บางคนเช่ือว่า แสงสีเขียวท่ีเป็นสีเด่นในแสงไฟนีออนท�ำให้ เกิดปัญหาการอา่ นในหอ้ งเรยี นทไี่ ดแ้ สงจากไฟนีออนเทา่ นน้ั (ตอนนี้มหี ลอดนอี อนแบบ มแี สงเตม็ สเปคตรมั ออกมาจ�ำหนา่ ยในราคาทไ่ี มแ่ พงนกั ) แตบ่ างคนเชอื่ วา่ ความไวตอ่ แสง เกิดจากปญั หาการมองเห็นแบบแกนสายตาลูเ่ ข้าหากัน ดวงตาจงึ ท�ำงานไม่ประสานกนั อยา่ งทคี่ วรจะเปน็ บางคนบอกวา่ ความไวตอ่ แสงอาจเกยี่ วกบั การขาดกรดไขมนั ทจ่ี �ำเปน็ หรือสารอาหารอื่นๆ แต่โดยท่วั ไปกเ็ หน็ พอ้ งกันว่า ปัจจัยดงั ต่อไปนี้มผี ลกระทบต่อคนท่ี ตาไวแสงเกินไปแน่นอน 292
การพิมพท์ ่ีมคี วามแตกต่างระหว่างความสวา่ งกบั ความมืดสูง เช่น ตัวอักษรสดี �ำ บนกระดาษสขี าว ครจู �ำนวนมากรายงานวา่ แรงจงู ใจและผลสมั ฤทธสิ์ งู ขน้ึ เมอ่ื พมิ พค์ �ำสง่ั ใหท้ �ำการบา้ นบนกระดาษสีอ่อนๆ การให้แสงสว่าง ถ้าเลือกได้ นักเรียนส่วนใหญ่อยากอ่านหนังสือด้วยแสงจาก หลอดไสร้ ้อนธรรมดาหรอื แสงธรรมชาติ แทนแสงไฟนีออน แสงสะทอ้ นทเี่ กดิ จากแสงไฟหรอื ขอ้ ความทพี่ มิ พบ์ นกระดาษมนั ตอนนโ้ี รงเรยี น บางแหง่ อนญุ าตใหน้ กั เรยี นใส่ทบ่ี งั แสงเวลาอ่านหนงั สือในหอ้ ง หรือตอนสอบได้ โรงเรียนในก�ำกับของรัฐบาลและโรงเรียนที่ไม่มีสังกัด วิทยาลัย มหาวิทยาลัย และองค์กรทางวิทยาศาสตร์ต่างๆ ตอบรับความเป็นไปได้ที่ว่า การคัดกรองคนที่ตาไว แสงเกินไปอาจเป็นความหวังใหม่ส�ำหรับผู้อ่านที่มีปัญหา แต่เนื่องจากมีข้อก�ำหนดกับ อปุ สรรคอนั ซบั ซอ้ นของระบบ จงึ นา่ เศรา้ ทโ่ี รงเรยี นของรฐั ในสหรฐั อเมรกิ า และนกั เรยี น ทมี่ ปี ญั หาการอา่ นนบั หมนื่ ๆ คน กลบั เปดิ โอกาสใหก้ ารคดั กรองอยา่ งเชอื่ งชา้ มาก ซง่ึ อาจ เปน็ เพราะหลอดนีออนในโรงเรยี นเป็นสาเหตสุ �ำคัญของปัญหาการอ่าน และการเปล่ียน แสงกับ... หลอดไฟใหม่ต้องใช้งบประมาณสูงมาก แต่ตอนน้ีมีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์จากผล การศึกษามาสนับสนุนการพูดปากต่อปากและเรื่องราวของนักเรียนท่ีตาไวแสงเกินไป โดยยืนยันว่า การใช้แผ่นใสมีสีวางบนหน้าหนังสือสามารถช่วยเหลือคนท่ีอ่านหนังสือ ไมค่ ลอ่ งไดจ้ รงิ ๆ โรงเรยี นของรฐั จงึ ยอมรบั ความคดิ นมี้ ากขน้ึ ตอนนี้ โรงเรยี นหลายแหง่ กระตนุ้ ใหค้ รทู ปี่ รกึ ษากบั ครอู นื่ ๆ เขา้ รว่ มการประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเพอื่ เรยี นรวู้ ธิ คี ดั กรอง นกั เรยี น และบางโรงเรยี นส่งบรรดาพอ่ แมไ่ ปหาเจา้ หนา้ ทค่ี ดั กรองท่ผี ่านการรบั รองเป็น ประจ�ำ ซงึ่ เปน็ การแทรกแซงตามมาตรฐานเวลานักเรียนมีปัญหาการอา่ น มหาวิทยาลัยกลามอร์แกนในเซาทเ์ วลส์ใหค้ วามส�ำคัญกบั ความไวต่อแสงอย่าง จริงจัง และติดค�ำเตือนไว้ในเว็บไซต์ท่ีให้การสนับสนุนนักศึกษา (www.glam.ac.uk) ภายใต้ลิงกช์ อ่ื “การสนับสนุนส�ำหรับนักศกึ ษาทมี่ ีความบกพรอ่ งในการเรียนร้แู ละเปน็ ดสิ เลก็ เซีย” 293
ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด ปัญหาตาไวแสงเกินไปเป็นกลุ่มอาการ แม้จะไม่ค่อยมีคนรู้เรื่องพื้นฐานทาง สรีรวิทยาของกลุ่มอาการนี้ แต่คาดว่า น่าจะเกิดจากการปรับสเปคตรัมของ แสงสว่าง คนที่มีกลุ่มอาการน้ีจึงรับรู้โลกรอบตัวผิดเพ้ียนไป เพราะความไว ต่อแสงท�ำให้ตอบสนองต่อแสงที่มีความยาวคล่ืนบางคลื่นเท่านั้น การอ่านจึง เปน็ เรอ่ื งยาก เพราะเหน็ ตวั อกั ษรบนหนา้ กระดาษตา่ งจากคนทอี่ า่ นหนงั สอื คลอ่ ง เช่น หน้าหนังสือมีแสงวาบขึ้นมา ตัวหนังสืออาจจะพร่าเลือน ย้ายท่ี เปลี่ยน รูปรา่ ง กลบั ด้าน หรอื พน้ื หลังสน่ั ทีโ่ รงเรียนพีดมอนตค์ อมมูนิตซี ่ึงเปน็ โรงเรียนในก�ำกบั ของรฐั ท่ีเมอื งแกสโตเนยี ในรัฐนอร์ทแคโรไลนา อาการตาไวแสงมากเกินไปเป็นเร่ืองจริงท่ีไม่ต้องพิสูจน์อีกแล้ว ครใู หญ่ คอร์ตนีย์ แมดเดน ใช้แผน่ ใสมสี ีเป็นคร้ังแรกตอนเป็นครูใหญ่ในโรงเรยี นของรัฐ โดยน�ำกลุ่มเด็กชายเกเรมาอยู่ในห้องท�ำงานของตัวเองทุกๆ บ่าย แล้วเอาแผ่นใสมีสี วางบนหนา้ หนงั สอื ใหน้ กั เรยี นอา่ น ครแู มดเดนบอกวา่ “ผมกล็ องมวั่ ไปเรอ่ื ยๆ ไมร่ จู้ รงิ ๆ วา่ ก�ำลังท�ำอะไรอยู่ ผมอา่ นเรือ่ งน้แี ละได้แผน่ ตัวอยา่ งมา แลว้ ใชไ้ ด้ผลกับวยั รุ่นพวกน้ัน ปที แี่ ลว้ ในพดี มอนตม์ เี ดก็ 36 คน ทไี่ มก่ า้ วหนา้ เรอื่ งการอา่ น ผมจงึ ตดั สนิ ใจลองคดั กรอง เดก็ ทต่ี าไวแสงเกนิ ไป เผอื่ จะไขปรศิ นานไี้ ด้ หลงั จากใชแ้ ผน่ ใสมสี แี ลว้ มนี กั เรยี นแค่ 2 คน ทีไ่ ม่ไดเ้ ลือ่ นชน้ั เพราะสอบตกตอนปลายภาค” นอกจากแจกแผน่ ใสมสี ใี หน้ กั เรยี นใชท้ โี่ รงเรยี นกบั ทบ่ี า้ นแลว้ โรงเรยี นพดี มอนต์ ยงั จดั กระดาษหลากสใี หค้ รูใชพ้ มิ พก์ ารบา้ นกับใบงานส�ำหรับนักเรยี นที่ตอ้ งใช้แผน่ ใสมีสี และตดิ ชอ่ื เด็กคกู่ บั สที เ่ี หมาะกับตวั เขาไว้ในหอ้ งท�ำงาน รฐั นอร์ทแคโรไลนาอนมุ ัตใิ ห้ใช้ แผ่นใสมีสีตอนสอบปลายภาคได้ นักเรียนที่โรงเรียนพีดมอนต์จึงใช้แผ่นนี้ระหว่างการ ทดสอบดว้ ย ครูแมดเดนพูดว่า “ผมรู้ว่า มีผู้คนจ�ำนวนมากยังกังขากับการใช้แผ่นใสมีสี พวกเขาอยากได้วิธีที่ทา้ ทายและยากจรงิ ๆ เพอื่ แก้ปัญหาการอา่ น ถ้าไมไ่ ดท้ ดลองเรื่อง นเ้ี องเมือ่ หลายปีกอ่ น ผมคงคดิ ว่าวธิ นี ี้แก้ปัญหาไม่ได้ แต่แผ่นใสมสี ชี ว่ ยนกั เรยี นไดจ้ ริงๆ บางคนทเี่ คยไดค้ ะแนน 30 และ 40 กว่าๆ ตอนนก้ี ลบั ท�ำไดเ้ กนิ 90 และบางคนได้เตม็ 100 ดว้ ยซำ้� มอี ยปู่ หี นงึ่ อตั ราของนกั เรยี นทสี่ อบผา่ นการทดสอบของรฐั ของเราเพม่ิ จาก 294 รอ้ ยละ 75 เป็น 89.4”
สญั ญาณและอาการของความไวต่อแสง แสงกับ... นกั เรยี นท่ีตาไวแสงจะแสดงพฤตกิ รรมท่วั ๆ ไป ดังนี้ ตาแดงหรือแดงกำ�่ เพราะเสน้ เลือดฝอยแตกหลังจากอา่ นหนงั สอื ขย้ตี าหรอื แตะใบหนา้ ซ้ำ� ๆ เวลาอ่านหนงั สอื กระวนกระวายหรอื บดิ ตวั ไปมาขณะอา่ นหนงั สอื หรอื ท�ำกจิ กรรมทใ่ี กลช้ ดิ ดวงตา ไม่ยอมอ่าน หรืออ่านเพยี งชัว่ ครูเ่ ทา่ นน้ั หรี่ตา หรอื ถอื หนังสอื ในทา่ ที่ดขู ัดตา เอนตวั เหนือหนงั สือหรือโตะ๊ เพื่อท�ำใหเ้ กดิ เงาบนหนา้ หนงั สือ อ่านหนงั สือโดยถอื ไวใ้ ต้โตะ๊ หรอื วางบนตกั บน่ วา่ ปวดหวั หรอื เจบ็ ตาเวลาอา่ นหนงั สือ บอกว่าตัวอักษรดู “เปน็ คลื่นหรอื บดิ เบ้ียว” อ่านข้ามค�ำหรือขา้ มบรรทัด ไม่รูว้ า่ ตวั เองอ่านถึงไหนแม้จะชไ้ี ปด้วยตอนอ่าน กย็ ังหลงบ่อยๆ รสู้ ึกวา่ ตัวหนังสือเคล่อื นทไ่ี ปมา หมายเหต:ุ คนมกั เขา้ ใจผดิ วา่ นกั เรยี นทตี่ าไวแสงเปน็ ดสิ เลก็ เซยี นกั เรยี นบางคน เปน็ ท้ังตาไวแสงและดิสเลก็ เซยี ตามประสบการณ์ของฉนั ถ้านกั เรยี นเป็นท้ังสองอย่าง การแทรกแซงเพ่อื แก้ปญั หาดสิ เล็กเซยี จะไม่ไดผ้ ล ถา้ ไมจ่ ดั การปัญหาตาไวแสงกอ่ น หลกั ฐานสนบั สนนุ ทางวิทยาศาสตร์ ตอนฉันเร่ิมสอนหนังสือ ความไวแสงเป็นประเด็นท่ีถกเถียงกันอยู่ และไม่มีข้อมูล มากนกั แตท่ กุ วนั นี้ เมอื่ คน้ หาทางอนิ เทอรเ์ นต็ เรอ่ื ง “กลมุ่ อาการตาไวแสงมากเกนิ ไป” 295
ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด หรอื “แผน่ ใสมีสสี �ำหรบั การอ่าน” คณุ จะไดร้ ายชื่อเวบ็ ไซต์ออกมาหลายสิบเวบ็ ไซต์ ในหลายๆ ภาษา จากวทิ ยาลยั และมหาวทิ ยาลยั ทมี่ กี ารวจิ ยั เรอื่ งนี้ จากผคู้ นทเี่ ลา่ เรอื่ ง ของตัวเองและความส�ำเร็จ และจากหน่วยงานท่ีจัดการทดสอบกับการฝึกอบรม เรอ่ื งตาไวแสงเกนิ ตอนนตี้ ามวทิ ยาลยั จดั หลกั สตู รการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื งเปน็ ประจ�ำส�ำหรบั ครูและคนที่มีอาชีพทางจิตวิทยา ซ่ึงต้องการเรียนรู้วิธีคัดกรองนักเรียน เพื่อดูว่ามี อาการนี้หรอื ไม่ จะได้จัดหาแผ่นใสมสี ี หรือแวน่ ตาทีใ่ ช้เลนส์เคลอื บสใี ห้ ส�ำหรบั คน ทยี่ งั สงสยั กม็ กี ารศกึ ษาทางวทิ ยาศาสตรท์ ย่ี นื ยนั วา่ แผน่ ใสมสี เี ปน็ เครอื่ งมอื ทใี่ ชไ้ ดผ้ ล จรงิ ๆ ส�ำหรับคนทีม่ ีปัญหาการอา่ นซึง่ ไมไ่ ด้เกดิ จากความบกพรอ่ งในการมองเห็น จุดเริ่มต้นท่ีดีส�ำหรับการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ คือ เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย เอสเซกซ์ในสหราชอาณาจักร www.essex.ac.uk/psuychology/overlays/ ovelaysMl.htm ซง่ึ ใหข้ อ้ มลู ภมู หิ ลงั ลงิ กเ์ ชอื่ มไปยงั แหลง่ ขอ้ มลู ตา่ งๆ และบทสรปุ ของ งานวจิ ัยทส่ี �ำคญั ๆ เกย่ี วกับแผน่ ใสมสี ี เช่น การศกึ ษาเมอื่ ปี 1995 โดยไทเรลลแ์ ละคณะ ยนื ยนั วา่ ความเรว็ ในการอ่านของนักเรยี นทใ่ี ชแ้ ผน่ ใสมีสเี พมิ่ ขึ้นรอ้ ยละ 15-50 พอล ไวทิง ศาสตราจารยด์ ้านการศกึ ษา แห่งมหาวทิ ยาลัยซดิ นีย์ เปน็ นักวจิ ัย ทสี่ �ำคญั คนหนง่ึ ในสาขากลมุ่ อาการตาไวแสงมากเกนิ ไป ไวทงิ เขยี นรายงานมากมาย รวมทงั้ ชนิ้ ทต่ี พี มิ พเ์ มอื่ ปี 1993 ในวารสารชอื่ Australian Journal of Remedial Education (ช่ือ “เออร์เลนฟิลเตอรส์ �ำหรบั การอ่าน: การตดิ ตามผลเปน็ เวลา 6 ป”ี ) ซึ่งรายงานถึง ผลงานวจิ ยั อน่ื ๆ ทต่ี ีพมิ พแ์ ล้ว อ่านรายงานฉบับเต็มของไวทิงได้ท่ี www.dyslexia services.com.au/Six- Year_Follow-Up.htm ซงึ่ ฉนั ขอสรปุ สนั้ ๆ ดงั นี้ ไวทงิ ตง้ั ขอ้ สงั เกตวา่ อปุ สรรคอยา่ งหนงึ่ ทนี่ กั วจิ ยั ตอ้ งเผชญิ คอื มกี ารจดสทิ ธบิ ตั รเออรเ์ ลนฟลิ เตอรก์ บั สตู รไว้ ผสู้ งั เกตการณอ์ สิ ระ 296
จงึ น�ำมาทดลองโดยสะดวกไมไ่ ด้ (โชคดี ทห่ี ลังจากไวทิงตพี ิมพ์รายงานเมอื่ ปี 1993 ก็มี แสงกับ... ฟิลเตอร์พวกน้ีให้ใช้อย่างกว้างขวางขึ้น) การศึกษาโดยละเอียดของไวทิงได้ทดสอบ การใช้เคร่ืองมือหลายๆ อย่างร่วมกัน เช่น เออร์เลนฟิลเตอร์ ฟิลเตอร์แบบอื่นๆ และ แผน่ ใสมสี ที ขี่ ายกนั ในทอ้ งตลาด คนสว่ นใหญท่ เี่ กย่ี วขอ้ งกบั การศกึ ษาเรอ่ื งการใชฟ้ ลิ เตอร์ ได้รายงานว่า รับรู้ภาพของตัวหนังสือได้ดีข้ึน อ่านง่ายขึ้น และทักษะภาษาเขียนดีขึ้น ไวทิงสรปุ ว่า คนส่วนใหญท่ ่ีใช้เออร์เลนฟิลเตอรม์ พี ฒั นาการดีขน้ึ เรอื่ ยๆ ไวทิงได้สรปุ ผลศกึ ษาตา่ งๆ ไวด้ ังนี้ ในบรรดาผู้เข้าร่วมการศึกษาในรัฐลุยเซียนา มากกว่าร้อยละ 90 ที่เคยใช้ ฟิลเตอร์รายงานว่า อ่านคล่องขึ้น และรอ้ ยละ 49 รายงานวา่ ปวดหัวน้อยลง ในบรรดาผเู้ ขา้ รว่ มการศกึ ษาในออสเตรเลยี มรี อ้ ยละ 91 ทรี่ ายงานวา่ การอา่ น โดยรวมง่ายขึ้น ร้อยละ 86 รายงานว่า มีอาการตาล้าน้อยลง และร้อยละ 85 อ่าน คลอ่ งข้ึน การศึกษาเป็นเวลา 3 ปี ในรัฐต่างๆ ทางฝั่งตะวันตก รายงานว่าร้อยละ 86 ของผูเ้ ข้าร่วมช้วี ่า ฟิลเตอร์มีประโยชน์ เพราะประสบการณ์ของฉันสอดคล้องมากกับการศึกษาวิจัยที่มีการตีพิมพ์ เพม่ิ ขนึ้ เรอื่ ยๆ จงึ เหน็ วา่ เปน็ เรอ่ื งสมเหตผุ ลทโี่ รงเรยี นทกุ แหง่ ควรทดสอบความไวตอ่ แสง ของนักเรียน เช่นเดียวกับที่มีการทดสอบการมองเห็นและการได้ยินอยู่เป็นประจ�ำ แต่ เหตุผลดีๆ ข้อน้ีมักจมหายไปในเอกสารท่ีกองท่วมหัวของระบบราชการ การทดสอบ นักเรียนใช้เวลามากและเป็นกระบวนการท่ีน่าท้อแท้ ในเขตพ้ืนท่ีการศึกษาบางแห่ง พอ่ แมห่ รอื ผู้ปกครองจึงต้องพานักเรยี นไปทดสอบการมองเหน็ เพือ่ ตัดปัญหาอื่นๆ เช่น สายตาสั้น ออกไปก่อนจะคัดกรองนกั เรยี นทต่ี าไวแสงเกนิ ไป ถา้ พ่อแม่หรอื ผู้ปกครอง ตัดสินใจไม่ให้นักเรียนไปทดสอบการมองเห็นไม่ว่าจะด้วยเหตุผลใดๆ ก็ตาม เราจะ 297
ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด คดั กรองนกั เรยี นทตี่ าไวแสงเกนิ ไปอยา่ งเปน็ ทางการไมไ่ ด้ เราคดิ วา่ พอ่ แมน่ า่ จะเหน็ ดว้ ยกบั การทดสอบการมองเหน็ และความไวตอ่ แสง เพราะเปน็ ประโยชนก์ บั ลกู ๆ แตใ่ นโรงเรยี น แหง่ หนึ่ง ฉันพบแมค่ นหนึง่ ทปี่ ฏิเสธเรอ่ื งนี้ และพูดว่า “ฉนั เบอื่ จรงิ ๆ ทโ่ี รงเรยี นบอกวา่ ลกู มปี ญั หาเพราะฉนั ดม่ื เหลา้ ตอนทอ้ ง” ฉนั เขา้ ใจ ทเ่ี ธอไมเ่ ตม็ ใจจะเพมิ่ การทดสอบอกี หนงึ่ อนั เขา้ ไปในรายการทดสอบทยี่ าวเหยยี ดอยแู่ ลว้ ดงั นน้ั จงึ แคเ่ อาแผน่ ใสทซี่ อื้ ทางออนไลนม์ าแจก และลกู ชายของเธอเหน็ วา่ เปน็ ประโยชน์ จึงใช้แผ่นใสในวิชาของฉัน การให้แผ่นใสกระตุ้นให้เขาค้นคว้าเรื่องนั้นเอง แล้วในท่ีสุด กไ็ ปโนม้ นา้ วใหแ้ มย่ อมพาไปทดสอบและคดั กรอง เขาไมม่ ปี ญั หาการมองเหน็ แตม่ อี าการ ตาไวแสงเกินไป และเป็นดสิ เลก็ เซียด้วย โรงเรียนจ�ำนวนมากขาดทุนสนับสนุนหรือไม่มีบุคลากรที่จะเข้าฝึกอบรมเพื่อ เรยี นรวู้ ธิ คี ดั กรองนกั เรยี นทต่ี าไวแสงเกนิ ไป แถมครกู บั เจา้ หนา้ ทบี่ างคนไมเ่ ตม็ ใจใชเ้ วลา หรอื เงนิ ทองไปกบั วธิ แี กป้ ญั หาการอา่ นทยี่ งั ไมม่ ขี อ้ ยตุ ิ และนา่ เศรา้ เมอ่ื ครดู า้ นการศกึ ษา พเิ ศษคนหนงึ่ ซึ่งขอไม่เปดิ เผยชอื่ สารภาพวา่ เธอเชือ่ ว่าแผนกการศึกษาพเิ ศษบางแห่ง จะตอ่ ตา้ นการแทรกแซงทกุ อยา่ งทท่ี �ำใหจ้ �ำนวนนกั เรยี นในโปรแกรมลดลง เพราะไมอ่ ยาก ถกู ตัดงบประมาณ “พวกเขาอยากจะยดึ เงนิ ทองทมี่ คี า่ ไวม้ ากกวา่ ทจ่ี ะชว่ ยเหลอื เดก็ ๆ ทม่ี คี า่ ของเรา” ครหู ญิงคนนน้ั พดู ฉันได้แตภ่ าวนาวา่ ท่ีพวกเขาท�ำแบบน้นั เพราะจัดล�ำดับความส�ำคัญ ของงานไม่ถกู ตอ้ ง หรือเพราะเจอผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจตกต�่ำ ไม่ใช่เพราะขาด จรยิ ธรรมหรอื ความรว่ มรู้สึก 298
ให้ความรู้เร่ืองนมี้ ากขนึ้ แสงกับ... ขณะทบทวนงานวจิ ยั เพอื่ ปรบั ปรงุ ขอ้ มลู ส�ำหรบั ฉบบั พมิ พค์ รง้ั ทส่ี องของหนงั สอื เลม่ นี้ ฉนั ได้พบผลการวจิ ยั มากข้ึนทแ่ี สดงใหเ้ ห็นความเชือ่ มโยงระหว่างแสงกบั การเรียนรู้ และการวิจัยเกย่ี วกับผลกระทบเชงิ บวกของการจดั แสงตอ่ ความสามารถในการรบั รู้ และสุขภาพจิตของผู้อาวโุ ส ตอ่ ไปน้เี ปน็ บทสรุปของการศกึ ษาบางชิ้นทีร่ ายงานผล การคน้ พบท่สี �ำคญั ๆ และบางครงั้ ก็น่าทง่ึ คะแนนดีขึน้ เข้าเรียนมากข้ึน และฟนั ผุน้อยลง! ทมี ของแพทย์ ครู นกั สงั คมสงเคราะห์ นกั โภชนาการ และทนั ตแพทย์ ในรฐั แอลเบอรต์ า ประเทศแคนาดา น�ำโดย ดบั บลวิ .อ.ี แฮทาเวย์ รว่ มมอื กนั ท�ำการศกึ ษาเปน็ เวลา 2 ปี ดว้ ยทนุ สนบั สนนุ จากแผนกการศกึ ษาของรฐั แอลเบอรต์ า เกย่ี วกบั นกั เรยี นชน้ั ประถม และชนิดของแสงในห้องเรียน 4 แบบ ในหัวข้อ “การศึกษาผลกระทบของแสง ต่อเด็กช้ันประถม: กรณีศึกษาของการขาดแสงอาทิตย์” ผลการศึกษาเมื่อปี 1992 แสดงใหเ้ หน็ วา่ นกั เรยี นในหอ้ งเรยี นทม่ี แี สงแบบเตม็ สเปคตรมั เรยี นรเู้ รว็ กวา่ ไดค้ ะแนน สอบดกี วา่ เจรญิ เตบิ โตเรว็ กวา่ มอี ตั ราการขาดเรยี นเพราะเจบ็ ปว่ ยนอ้ ยกวา่ 1 ใน 3 และท่นี า่ สนใจก็คือ เด็กๆ ฟนั ผุน้อยกว่าทค่ี าดไว้ บทสรุปส�ำหรับผู้บริหารบรรยายไว้ว่า การศึกษานี้ได้ทุนสนับสนุนจากฝ่าย นโยบายและแผน ในแผนกการศกึ ษาของรฐั แอลเบอรต์ า ทเ่ี มอื งเอด็ มนั ตนั จากปี 1987 ถงึ ปี 1989 เพอื่ ท�ำการศกึ ษาซำ�้ การศกึ ษากอ่ นหนา้ นี้ ทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ผลเชงิ บวกของการ จดั แสงแบบเตม็ สเปคตรมั ในโรงเรยี น ดบู ทสรปุ ส�ำหรบั ผบู้ รหิ ารในรายงานส�ำหรบั การศกึ ษา ของรัฐแอลเบอร์ตาได้ที่ www.netnewsdesk.comllfhlindex.cfm?fuseaction= ShowIssue& PID=740&ID=2367,0,9053 299
ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด ยงิ่ มแี สงแดดในหอ้ งเรยี น นกั เรยี นย่ิงได้คะแนนทดสอบดี บริษัทมาโฮนีกรุ๊ปซึ่งเป็นบริษัทที่ปรึกษาในรัฐแคลิฟอร์เนีย ได้ใช้การศึกษาทาง สถาปัตยกรรม ภาพถ่าย และการส่งคนไปดูด้วยตัวเอง เพื่อจัดอันดับปริมาณของ แสงตอนกลางวนั ในหอ้ งเรยี นมากกวา่ 2,000 หอ้ ง ในรฐั แคลฟิ อรเ์ นยี วอชงิ ตนั และ โคโลราโด ซึ่งมีความคล้ายคลึงกันในด้านการออกแบบอาคาร สภาพอากาศ และ ภูมิหลังของนักเรียนจ�ำนวน 21,000 คน ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า ตลอด 1 ปี นกั เรยี นในหอ้ งเรยี นทมี่ แี ดดจา้ ทสี่ ดุ สามารถอา่ นคลอ่ งกวา่ รอ้ ยละ 18-26 และเรยี นรู้ คณิตศาสตร์เรว็ กว่าร้อยละ 7-20 อ่านประเด็นส�ำคัญๆ ในผลการศึกษาของมาโฮนีกรุ๊ป ท่ีตีพิมพ์เมื่อปี 2003 จากลิงก์ “Schools” ในเว็บไซต์ Light for Health (www.lightforhealth.com) และอ่านบทสรุปส�ำหรับผู้บริหารของผลการศึกษาอ่ืนๆ เกี่ยวกับส�ำนักงาน ห้องเรียน และการจัดแสง ไดจ้ ากเว็บไซต์ของ Heschong Mahone Group (www.h-m-g.com /projects/daylighting!summaries%20on%20daylighting.htm) มีการศึกษา 3 เร่ืองท่ีน่าสนใจมาก เร่ืองแรกคือ “แสงแดดตอนกลางวันใน โรงเรียน: บริษัทแปซิฟิกแก๊สแอนด์อิเล็กทริก ปี 1999” ซ่ึงได้ทุนสนับสนุนจากบริษัท แปซิฟิกแก๊สแอนด์อิเล็กทริก เพื่อศึกษาเขตพ้ืนที่การศึกษาในเมืองซีแอทเทิล ฟอร์ต คอลลินส์และซานฮวน คาพิสตราโน ผลการศึกษาพบว่า นักเรียนท่ีรัฐโคโลราโดกับ รฐั วอชงิ ตนั ซง่ึ ในหอ้ งเรยี นมแี สงแดดตอนกลางวนั มากทส่ี ดุ ไดค้ ะแนนสอบสงู กวา่ รอ้ ยละ 7-18 และภายในเวลา 1 ปีนักเรียนในรัฐแคลิฟอร์เนีย ซ่ึงในห้องเรียนมีแสงแดดตอน กลางวนั มากทส่ี ดุ ไดค้ ะแนนสอบคณติ ศาสตรส์ งู กวา่ รอ้ ยละ 20 และอา่ นเรว็ กวา่ รอ้ ยละ 26 เมอื่ เปรยี บเทยี บกบั นกั เรยี นทใ่ี นหอ้ งเรยี นมแี สงแดดตอนกลางวนั นอ้ ยทส่ี ดุ การศกึ ษา เรอ่ื งทส่ี องคอื “แสงแดดตอนกลางวนั ในโรงเรยี น: การวเิ คราะหเ์ พม่ิ เตมิ ” ไดท้ นุ สนบั สนนุ จากคณะกรรมาธิการพลังงานแห่งแคลิฟอร์เนียเม่ือปี 2001 เพ่ือท�ำการศึกษาต่อจาก การศึกษาคร้ังก่อนในเมืองซานฮวน คาพิสตราโน ผลการศึกษาแสดงแนวโน้มเข้าสู่ สว่ นกลางรอ้ ยละ 21 ของอตั ราการเรยี นรขู้ องนกั เรยี นทดี่ ขี นึ้ ระหวา่ งหอ้ งเรยี นทมี่ แี สงแดด 300 ตอนกลางวันนอ้ ยทีส่ ดุ กับมากท่สี ุด
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400