Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ครูประณีต คิดนอกกรอบ

ครูประณีต คิดนอกกรอบ

Published by ห้องสมุดประชาชน, 2020-05-31 14:11:14

Description: ครูประณีต คิดนอกกรอบ

Search

Read the Text Version

จะสนกุ กบั การเปน็ “เดก็ ฉลาด” เสยี บา้ ง (คณุ ตอ้ งเตรยี มตวั ใหด้ ี เพราะบางครง้ั นกั เรยี น ุสดยอด... อาจจะได้ค�ำตอบอนื่ ทีไ่ ม่มใี นรายการ แตเ่ ปน็ ค�ำตอบท่ีถูกต้องเช่นกนั ) พิจารณาวิธเี รียนรตู้ ามความถนัดของแต่ละคน หลงั จากท�ำกจิ กรรมของสมองซกี ขวาแลว้ ใหบ้ อกนกั เรยี นวา่ คณุ อยากชว่ ยใหพ้ วกเขา ระบุวิธีเรียนรู้ตามความถนัดของตัวเอง (ต้องม่ันใจว่า คุณเขียนวิธีเรียนรู้เบ้ืองต้น 3 แบบ ไวบ้ นบอรด์ ส�ำหรบั นกั เรยี นทเ่ี รยี นรไู้ ดด้ เี มอ่ื เหน็ แลว้ ) อนั ไดแ้ ก่ วธิ เี รยี นดว้ ยการ ไดย้ นิ เสยี ง (พวกชอบฟงั ) การมองเหน็ (พวกชอบด)ู และการเคลอื่ นไหว (พวกชอบ เคลอื่ นไหว) จากนน้ั ขอใหน้ กั เรยี นคดิ ถงึ วธิ ที ตี่ วั เองเรยี นรเู้ กมใหม่ เชน่ ชอบแบบใหม้ ี คนอธิบายเกมกับกฎและวิธีเล่น หรือชอบดูคนอ่ืนเล่นก่อนสักระยะหน่ึง แล้วจึง กระโดดเขา้ ไปรว่ มวง หรอื ชอบแบบลองเลน่ ไปเลย แลว้ คอ่ ยๆ เรยี นรรู้ ะหวา่ งเลน่ เกม อกี ตัวอย่างหน่งึ ที่ช่วยให้นกั เรียนระบุวธิ ีเรียนรู้ตามความถนัดของตวั เองได้คอื การบอกทาง เช่น ให้นกั เรียนจนิ ตนาการว่า ตวั เองถามครูว่าจะไปทท่ี �ำการไปรษณยี ไ์ ด้ อย่างไร ตอนแรกให้ครูพูดว่า “ออกจากโรงเรียน แล้วเล้ียวขวา เดินผ่านไป 2 ช่วงตึก แลว้ เลยี้ วซา้ ยแยกหนา้ เดนิ ขนึ้ เนนิ เขาไปตามทางโคง้ แลว้ เลยี้ วขวาตรงแยกทสี่ อง พอผา่ น ป้ายรถเมล์ที่สองไปแล้ว ให้เลี้ยวซ้ายเข้าไปในท่ีจอดรถ” แล้วถามว่า หลังจากฟังครู บอกทางจบ มีกี่คนม่ันใจว่าจะไปท่ีท�ำการไปรษณีย์ได้ พวกท่ียกมือแสดงว่าเป็นคนท่ี เรยี นร้ดู ว้ ยการฟัง (ซึง่ อาจมแี คไ่ ม่ก่คี น) วธิ ตี อ่ ไป ใหว้ าดแผนทบ่ี นบอรด์ หรอื แจกส�ำเนาแผนทท่ี คี่ ณุ วาดไว้ แลว้ บอกทาง เหมอื นตอนแรกทบ่ี อกดว้ ยวาจา จากนนั้ ใหถ้ ามวา่ มกี ค่ี นมนั่ ใจวา่ จะไปทท่ี �ำการไปรษณยี ไ์ ด้ ซ่งึ อาจจะมมี ากกว่าครึ่งยกมือ พวกน้ีเปน็ คนท่เี รียนรูไ้ ด้ดเี มื่อเห็น ถา้ มนี กั เรยี นขมวดคว้ิ ตอนดแู ผนที่ หรอื หมนุ แผนทไี่ ปดา้ นขา้ ง หรอื บางทกี เ็ อยี ง ศรี ษะไปดว้ ย ใหถ้ ามว่า “ถ้าครูขบั รถพานักเรียนไปท่ีท�ำการไปรษณีย์ ตอนนม้ี กี ค่ี นท่ีจะ ยอ้ นรอยกลบั ไปทางเดมิ ได้ แมเ้ ราจะขบั รถไปทนี่ นั่ เพยี งหนง่ึ ครงั้ ” พวกทข่ี มวดควิ้ (คนที่ เรียนรู้ดว้ ยการเคลอื่ นไหว) จะยกมอื และโลง่ อกท่ีครูมที างเลือกที่สามให้ 351

ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด ถ้ามีเวลา ฉันขอแนะน�ำให้คุณสอนนักเรียนให้รู้วิธีขอความช่วยเหลือจากครู ครสู อนพเิ ศษ หรอื พอ่ แม่ นกั เรยี นทส่ี บั สนมกั จะพดู ว่า “หน/ู ผม ไมเ่ ขา้ ใจ” และครกู จ็ ะ อธิบายซ�้ำให้ดังข้ึนหรือช้าลง แต่การตอบสนองแบบนั้นจะช่วยคนท่ีเรียนรู้ด้วยการฟัง เทา่ นน้ั พวกนตี้ อ้ งพดู วา่ “กรณุ าพดู อกี ครงั้ ” หรอื “กรณุ าอธบิ ายอกี ทใี หช้ า้ ลง” สว่ นคนท่ี เรียนรู้ได้ดีเม่ือเห็นต้องพูดว่า “หนู/ผม ยังจินตนาการไม่ออก แต่ถ้ามีภาพวาด กราฟ วดิ โี อ หรอื อะไรสกั อยา่ ง หน/ู ผม จะเขา้ ใจไดด้ ขี น้ึ และถา้ มตี วั อยา่ ง จะชว่ ยไดม้ ากทเี ดยี ว” คนท่เี รยี นรูด้ ว้ ยการเคลื่อนไหวตอ้ งพดู วา่ “หน/ู ผม เรียนรดู้ ้วยการท�ำ กรณุ ายกตวั อยา่ ง สกั 2 แบบ และอธบิ ายไปทีละขัน้ เพอ่ื ใหห้ น/ู ผม ฝกึ จนกว่าจะท�ำไดเ้ อง” และแนน่ อน ครตู ้องจ�ำว่า นกั เรียนมวี ธิ เี รียนร้ตู า่ งกัน เราจงึ ตอ้ งเปลย่ี นวิธีสอน โดยรวมกิจกรรมหลายอยา่ งเขา้ ดว้ ยกัน ท้งั การดู การเคล่อื นไหว และการฟงั เช่น เวลา คยุ เรอ่ื งแนวคดิ ใหม่ ครตู อ้ งแนใ่ จวา่ ตอนกลา่ วน�ำดว้ ยวาจา ตอ้ งแสดงภาพประกอบดว้ ย และอธบิ ายดว้ ยตวั อยา่ งหลายๆ แบบ คนทเ่ี รยี นรดู้ ว้ ยการเคลอ่ื นไหวตอ้ งท�ำตามตวั อยา่ ง ด้วยตวั เองจงึ จะเข้าใจ ฉะนน้ั แคแ่ จกส�ำเนาของงานทีเ่ ขียนไวบ้ นบอรด์ จึงไม่พอ ตอ้ งให้ พวกเขาท�ำงานเองตามการแนะแนวของครูด้วย นักวิจัยจ�ำนวนมากแนะน�ำว่า ครูควร กระตุ้นนักเรียนให้ปรับปรุงจุดอ่อนของตัวเอง เช่น คนท่ีเรียนรู้ได้ดีเม่ือเห็นอาจจะต้อง พฒั นาทกั ษะการฟงั ดว้ ย เพราะเปน็ ไปไมไ่ ดท้ จี่ ะวาดภาพความคดิ ทกุ อยา่ งออกมาไดง้ า่ ยๆ ในท�ำนองเดยี วกนั คนทชี่ อบฟงั อาจจะไดป้ ระโยชนจ์ ากการพฒั นาทกั ษะการเคลอ่ื นไหว เชน่ การท�ำงานประสานกนั ระหวา่ งตากบั มอื การรจู้ กั วธิ เี รยี นรตู้ ามความถนดั ของนกั เรยี น จงึ เปน็ ประโยชนส์ �ำหรบั ครู เผอื่ มปี ญั หาเกดิ ขน้ึ ระหวา่ งการสอน จะไดใ้ ชต้ วั อยา่ งทเ่ี หมาะ กับจุดแขง็ ของนักเรียนได้ และชว่ ยให้พวกเขาก้าวหนา้ 10. ก�ำหนดว่า จ�ำเป็นต้องท�ำผิด ขอให้สนุกกับการท�ำผิด พวกเรามักบอกเด็กๆ ว่า ไม่เป็นไรท่ีจะท�ำผิด เพราะใครๆ ก็ท�ำผิดได้ แต่แล้วเรากลับลงโทษนักเรียนด้านวิชาการ เพราะไม่ท�ำงานให้ดีพร้อม ลองจินตนาการว่า หัวหน้าคาดหวังให้คุณท�ำงาน 8 อย่างจากทั้งหมด 10 อย่างได้ 352

สมบูรณ์แบบ มีพนักงานขายน้อยมากที่จะอวดว่าตัวเองเก่ง ด้วยอัตราความส�ำเร็จ ุสดยอด... ถงึ รอ้ ยละ 70 เพราะสว่ นมากไดแ้ คร่ อ้ ยละ 50 หรอื ตำ�่ กวา่ นนั้ กม็ คี วามสขุ แลว้ ผเู้ ลน่ เบสบอลท่ีตีลูกถูกมากกว่าร้อยละ 30 ของลูกท่ีโยนมาให้ ก็ถือเป็นผู้เล่นชั้นยอด แล้วท�ำไมเราจึงคาดหวังให้เด็กๆ ท�ำงานได้แม่นย�ำถึงร้อยละ 70 ในเร่ืองที่นักเรียน ไม่คุ้นเคยและเป็นทกั ษะใหม่ เราจะไร้เหตผุ ลกนั ไปถึงไหน แน่นอน เราต้องให้นักเรียนสอบย่อย สอบใหญ่ และใช้มาตรการอ่ืนๆ เพ่ือ ประเมนิ วา่ พวกเขาเรยี นรไู้ ดด้ แี คไ่ หน แตถ่ า้ อยากใหเ้ ดก็ ๆ สนใจการเรยี นรู้ กต็ อ้ งปลอ่ ย ให้ท�ำผิดบ้าง โดยไม่ท�ำให้อับอายหรือไม่ลงโทษ เช่น แทนที่จะให้คะแนนกับงานปกติ ทที่ �ำในหอ้ งเรยี น ทนั ทที นี่ กั เรยี นท�ำเสรจ็ กอ็ นญุ าตใหน้ กั เรยี นเกบ็ งานไวก้ อ่ น ขณะทคี่ ณุ ทบทวนโจทย์แต่ละขอ้ และคยุ กนั ถึงค�ำตอบท่ถี ูกต้อง ค�ำตอบที่เปน็ ไปได้ และความผิด ทวั่ ๆ ไป แลว้ ใหน้ กั เรยี นอธบิ ายวา่ ไดค้ �ำตอบมาอยา่ งไร ทง้ั ค�ำตอบทผ่ี ดิ และทถี่ กู จากนนั้ ให้นักเรียนท�ำงานใหม่ แล้วน�ำมาส่งอีกคร้ัง วิธีน้ีช่วยให้นักเรียนเข้าใจมากขึ้น และเป็น ไปได้มากขึ้นทีเดียววา่ จะจ�ำข้อมูลได้ด้วยถา้ คุณรีบแกค้ วามเขา้ ใจผิดๆ ของนักเรียนทนั ที แทนทจ่ี ะปลอ่ ยใหค้ อยไป 1-2 (หรอื 6) วนั จงึ จะรวู้ า่ ตวั เองท�ำไดด้ แี คไ่ หน เพราะระหวา่ งท่ี รอคอยขอ้ มลู ผดิ ๆ จะกระจายอยูใ่ นสมองของนกั เรยี นแลว้ ติดตวั กลายเปน็ ความทรงจ�ำ ระยะยาว วิธีนี้ส�ำคญั เปน็ พิเศษส�ำหรบั บางวชิ าอย่างเช่นคณติ ศาสตร์ ถา้ เพียงแคน่ �ำเสนอ บทเรียน แล้วสั่งให้นักเรียนท�ำงานให้เสร็จ บางคนจะตอบถูกประมาณครึ่งหน่ึง และ ดเู หมอื นจะเขา้ ใจบทเรยี น แตอ่ นั ทจ่ี รงิ ค�ำตอบทถ่ี กู ตอ้ งพวกนน้ั อาจไดม้ าโดยบงั เอญิ หรอื ดว้ ยเหตผุ ลผดิ ๆ การแกไ้ ขใหน้ กั เรยี นเขา้ ใจถกู ตอ้ งจงึ ส�ำคญั ส�ำหรบั ความส�ำเรจ็ ระยะยาว ของนักเรียน ตัวอย่างเช่น หลานชายวัย 8 ขวบ ของฉันดูเหมือนจะเข้าใจแนวคิดของ การยา้ ยตวั เลขไปอกี ชอ่ งหนง่ึ เวลาบวกเลขสามหลกั และท�ำโจทยเ์ ลขถกู ราวๆ รอ้ ยละ 60 ครูกับพ่อแม่จึงคิดว่าแอนโทนีคงขี้เกียจ หรือพยายามท�ำงานเร็วเกินไป จึงท�ำได้แค่นั้น คืนหนง่ึ ตอนแอนโทนีมาท�ำการบ้านคณิตศาสตร์ทบ่ี า้ นฉนั เขามกั ท�ำผดิ เวลายา้ ยตัวเลข ฉนั จงึ ขอใหเ้ ขาอธบิ ายวธิ ที �ำในแตล่ ะขนั้ แอนโทนพี ดู วา่ “ถา้ ตวั เลขเปน็ 10 หรอื สงู กวา่ นน้ั 353

ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด ให้เขียนตัวเลขไว้บนน้ี แล้วท�ำต่อไป” พอฉันถามว่า รู้ได้อย่างไรว่าต้องเขียนตัวเลข ตัวไหนไว้บนน้ัน เขาก็ตอบว่า ตัวไหนก็ไม่ส�ำคัญ แค่ใส่ตัวเลขลงไปเท่านั้น พอฉันแสดง ให้แอนโทนเี ห็นวธิ ียา้ ยตัวเลขท่ีถูกต้อง เขาต่นื เต้นมาก และเริม่ ท�ำเกรดวชิ าคณติ ศาสตร์ ดีขึ้นทันที ฉันเข้าใจแล้วว่า ท�ำไมครูของแอนโทนีจึงมองไม่เห็นเหตุผลผิดๆ เป็นเพราะ แอนโทนที �ำท่าเหมอื นเขา้ ใจดวี า่ ตวั เองก�ำลังท�ำอะไร และถ้าคุณถาม เขากจ็ ะยืนยันว่า เข้าใจดีแล้ว ให้ช่ืนชมความผิด แม้แต่ความผิดของตัวเอง เวลาท�ำผิด ขอให้นักเรียน ปรบมอื ให้ เพราะคณุ แสดงใหเ้ หน็ วา่ แมจ้ ะมกี ารศกึ ษาและเปน็ ครทู ฉี่ ลาด แตค่ ณุ ยงั เปน็ มนษุ ยด์ ว้ ย จงึ ท�ำผดิ ได้ อยา่ กงั วลวา่ นกั เรยี นจะเลกิ เคารพนบั ถอื หากรวู้ า่ คณุ ไมส่ มบรู ณแ์ บบ ตรงกนั ขา้ ม พวกเขาจะยงิ่ เคารพมากขนึ้ ทค่ี ณุ ยอมรบั วา่ ตวั เองท�ำผดิ และชว่ ยใหน้ กั เรยี น ไดเ้ รียนรจู้ ากความผดิ พลาดของตวั เอง ขณะแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ ในชนั้ เรยี น ถา้ นกั เรยี นตอบไมถ่ กู หรอื เสนอความคดิ ท่ีผิด แทนท่ีจะพูดแค่ว่า “ผิด” หรือหันไปถามนักเรียนคนอื่น ให้ลองพูดว่า “ความคิด ของนกั เรยี นนา่ สนใจ เธอไดข้ อ้ สรปุ มาอยา่ งไร” หรอื “ครไู มเ่ คยคดิ เรอ่ื งนนั้ เลย ชว่ ยอธบิ าย ความคิดของเธอหน่อยสิ” วิธีนี้จะสอนนักเรียนว่า ความผิดเป็นสิ่งท่ียอมรับได้ แต่ต้อง บอกว่าอะไรผิด ก่อนท่ีข้อมูลนั้นจะติดแน่นอยู่ในใจ เช่น ถ้านักเรียนบอกว่า เลขศูนย์ เปน็ เศษเกนิ แสดงวา่ ยงั ไมเ่ ขา้ ใจหลกั การพน้ื ฐานของเศษสว่ น ถา้ ถามนกั เรยี นวา่ ไดค้ �ำตอบ มาอย่างไร คุณอาจจะปรับวิธีคิดและช่วยใหน้ กั เรียนเขา้ ใจเรอื่ งน้ีถูกต้อง ฉนั ยอมรบั วา่ รสู้ กึ ผดิ ทซ่ี อ่ นความผดิ ของตวั เอง ในชว่ งปแี รกทเ่ี ปน็ ครู มกี จิ กรรม นา่ ทง่ึ อยา่ งหนงึ่ ของฉนั ลม้ เหลวไมเ่ ปน็ ทา่ ในชนั้ เรยี น พอนกั เรยี นออกจากหอ้ งไปหมดแลว้ ฉันก็เก็บรวบรวมรายงานและโยนท้ิงไป ตามปกตินักเรียนจะลืมความล้มเหลวนั้นไป แตถ่ า้ มใี ครถาม ฉนั จะพดู วา่ “ครยู งั ไมม่ เี วลาจะใหค้ ะแนนรายงานพวกนน้ั เลย” แลว้ สดุ ทา้ ย นกั เรยี นกล็ มื แบบฝกึ หดั ทไ่ี มไ่ ดผ้ ลไป แตฉ่ นั กลบั ไมล่ มื หลงั จากคยุ กนั เรอื่ งการท�ำความผดิ ครง้ั หนง่ึ ฉนั จงึ รวู้ า่ ตวั เองเปน็ คนหนา้ ไหวห้ ลงั หลอก เพราะเทยี่ วไปกระตนุ้ นกั เรยี นใหท้ �ำ ความผดิ แต่กลับซ่อนความผดิ ของตวั ไว้ ฉะน้นั ครั้งต่อไปทแี่ บบฝกึ หัดของฉนั ล้มเหลว อย่างน่าสมเพช ฉันจะหยุดนักเรียนและบอกว่า ครูหวังว่านักเรียนจะได้บทเรียนจาก 354

กจิ กรรมน้ี จากนัน้ กข็ อใหน้ กั เรียนจบั กล่มุ ย่อย แลว้ คุยกนั เรื่องงาน ทง้ั กล่มุ อาจจะแกไ้ ข ุสดยอด... งานให้ดีข้ึน หรือตัดสินใจว่า ไม่คุ้มค่าที่จะท�ำต่อไป ไม่ว่าจะเป็นแบบไหน นักเรียนจะ สรา้ งงานทที่ า้ ทายและซบั ซอ้ นมากกวา่ งานทฉึ่ นั ให้ นอกจากไดบ้ ทเรยี นดา้ นวชิ าการแลว้ นกั เรยี นยงั ไดเ้ รยี นรวู้ า่ ครไู มด่ พี รอ้ ม และความผดิ เปน็ บนั ไดขนั้ ตอ่ ไปสกู่ ารพฒั นา หลงั จาก สอนมากว่า 10 ปี ฉันก็ออกแบบบทเรียนดีขึ้น และล้มเหลวแค่นิดหน่อย แต่ทุกคร้ังท่ี ล้มเหลว ฉันจะเล่าให้นักเรียนฟัง และน่าประหลาดใจท่ีการเปิดเผยความผิด พวกเขา กลบั นับถือฉันมากข้นึ แทนทจี่ ะน้อยลง 11. เช่ือมโยงผา่ นบันทึกประจ�ำวันสว่ นตัว ถา้ คณุ ใหน้ กั เรยี นเขยี นบนั ทกึ ประจ�ำวนั แตพ่ วกเขาไมเ่ ขยี นอะไรมากนกั และมเี หตผุ ล ทีท่ �ำแบบนนั้ ฉนั ขอแนะน�ำความเป็นไปไดส้ ัก 2-3 อย่าง ตามความเห็นของนักเรยี น เช่น ครูไม่อ่านบันทึกประจ�ำวัน ให้คะแนนตามการสะกดค�ำและไวยากรณ์ซึ่งยับย้ัง ไม่ใหน้ ักเรียนแสดงความคดิ เหน็ ครูไมใ่ ห้เวลามากพอ นักเรยี นรู้สกึ ว่าถกู เรง่ และคดิ ไม่ออก หรือครูให้เวลามากเกินไป นักเรียนจึงผัดวันประกันพรุ่ง และครูไม่มีจุดเน้น หรือการกระตุ้นของครสู รา้ งแรงบนั ดาลใจใหน้ ักเรยี นไม่ได้ การกระตนุ้ เพ่ือสร้างแรงบนั ดาลใจเปน็ สง่ิ ท่ีจ�ำเปน็ ถา้ คณุ คาดหวงั วา่ การเขยี น บนั ทกึ ประจ�ำวนั จะเปน็ ผลดี แลว้ กระตนุ้ โดยใหง้ านหลายแบบ เชน่ “เขยี นจดหมายไปหา อับราฮัม ลินคอล์น” หรือ “เขียนการประกาศข่าวมรณกรรมของตัวเอง” ซ่ึงอาจฟังดู น่าสนใจส�ำหรับผใู้ หญ่ และดึงดูดใจนกั เรียนที่เปน็ นกั วิชาการ แต่จะไม่ได้ผลกับนกั เรยี น ที่ไมต่ ื่นเตน้ กบั โรงเรียน หรอื ไม่กลัวตาย ถา้ อยากให้นกั เรยี นเขยี นจดหมายถึงใครสักคน ใหเ้ ลอื กคนทนี่ กั เรยี นนา่ จะอยากคยุ ดว้ ยจรงิ ๆ (หรอื ใหเ้ ลอื กเอง) เดก็ สว่ นใหญไ่ มอ่ ยากคยุ กับประธานาธบิ ดีทตี่ ายไปแลว้ หรือบุคคลในประวตั ิศาสตร์ แต่อยากคุยกบั พ่อแม่ ญาติ ครู ครูใหญ่ และเพื่อนๆ ถ้าคุณใช้การเขียนจดหมายเป็นแรงกระตุ้น ต้องรับประกันว่า จะไมส่ ่งจดหมายไปถงึ ผู้รับ และใหน้ ักเรียนท�ำลายจดหมายไดเ้ ลย หลงั จากครูตรวจงาน และบนั ทึกคะแนนแล้ว 355

ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด การเขยี นจดหมายเปน็ การระบายอารมณค์ วามรสู้ กึ ทย่ี อดเยยี่ มส�ำหรบั นกั เรยี น ท่ีวอกแวก เพราะมีความเครียดทางอารมณ์ หรือตื่นเต้นมากจนไม่มีสมาธิในโรงเรียน คุณอาจจะใช้การเขียนบันทึกประจ�ำวันมาสอนนักเรียนว่า การเขียนระบายความรู้สึก ของตัวเองออกมา โดยเฉพาะเวลาโกรธ จะช่วยปลดปล่อยพลังท่ีเก็บกักไว้ และท�ำให้ สงบลงได้ ส�ำหรบั ครทู ไี่ มใ่ ชบ้ นั ทกึ ประจ�ำวนั หรอื ใชแ้ ลว้ แตล่ ม้ เหลว นกั เรยี นมธั ยมของฉนั ได้เขยี นรายการส่งิ ท่ีควรท�ำและห้ามท�ำไวด้ งั น้ี อา่ นบันทึกประจ�ำวัน ถา้ ครูไมอ่ ่าน อย่าขอให้นกั เรียนเขียน เขียนวิจารณ์บันทกึ ประจ�ำวนั เพื่อใหข้ ้อคดิ เห็นอย่างนอ้ ยที่สดุ 1 ข้อ ในทุกๆ หน้า อยา่ ท�ำเครือ่ งหมายตรงท่นี กั เรยี นสะกดค�ำผิดและใชไ้ วยากรณ์ผิดทุกอนั วงกลมทผี่ ดิ สกั 2 แห่ง ก็พอ ใหค้ �ำสง่ั วิธีการท่ีดี ใหน้ ักเรียนมีทางเลือก หรือปล่อยใหส้ ร้างทางเลือกเอง เอาบนั ทกึ ประจ�ำวนั ทดี่ ีของเด็กคนอ่นื มาให้ดเู ป็นตวั อยา่ ง อา่ นบนั ทึกประจ�ำวันบางเรอ่ื งใหน้ กั เรยี นในชน้ั ฟงั แต่อยา่ บอกชือ่ คนเขียน บอกใหน้ กั เรียนรเู้ วลาเขยี นอะไรดีๆ หรอื เขยี นได้ไมเ่ หมอื นใคร อนุญาตใหน้ กั เรียนใช้บนั ทกึ ประจ�ำวนั ของตวั เองเป็นรา่ งส�ำหรับการเขยี นเรยี งความ หรอื งานชน้ิ ใหญๆ่ ก�ำหนดใหก้ ารเขยี นบนั ทกึ ประจ�ำวนั เปน็ กจิ กรรมประจ�ำ อยา่ งนอ้ ยทส่ี ดุ สปั ดาหล์ ะครง้ั อนุญาตใหน้ กั เรยี นใช้ค�ำสบถไดใ้ นบางเวลาท่โี กรธจริงๆ ถา้ หาค�ำสง่ั วธิ กี ารดๆี ไมไ่ ด้ ลองไปคน้ หาการเขยี นบนั ทกึ ประจ�ำวนั ทางออนไลน์ มเี วบ็ ไซตด์ ๆี มากมาย ซงึ่ พวกครแู บง่ ปนั สงิ่ ทที่ ต่ี วั เองใชก้ บั เดก็ ๆ หลายวยั คณุ ตอ้ งเลอื ก สิ่งที่นักเรียนใส่ใจอย่างแท้จริง ถ้าฉันไม่ได้ใช้แบบฝึกหัดการเขียนบันทึกประจ�ำวันเพื่อ ชว่ ยใหน้ กั เรยี นทบทวนขอ้ คดิ เหน็ เกย่ี วกบั เรอ่ื งราวทอ่ี า่ นกนั ในชน้ั เรยี น ฉนั จะใชแ้ บบฝกึ หดั นี้ เปน็ แรงกระตนุ้ สดุ ทา้ ยเสมอ เชน่ “เขยี นบอกครหู นอ่ ยวา่ นกั เรยี นก�ำลงั คดิ อะไรอยใู่ นใจ (ถ้าเปน็ เร่อื งส�ำคญั จรงิ ๆ แตอ่ ย่าบอกครูวา่ นักเรียนก�ำลงั จะกนิ อะไรตอนม้อื กลางวัน)” 356

เมอ่ื เรว็ ๆ น้ี ครคู นหนงึ่ สง่ อเี มลมาเลา่ วา่ เธอตดั สนิ ใจใชก้ ารเขยี นบนั ทกึ ประจ�ำวนั ุสดยอด... เป็นกิจกรรมเร่ิมต้นส�ำหรับ 10 นาทีแรกในชั้นเรียนทุกช้ัน แต่นักเรียนคัดค้าน ฉันจึง แนะน�ำใหท้ �ำตอ่ ไป เพราะไมอ่ ยา่ งนน้ั นกั เรยี นจะคดิ วา่ ถา้ ไมอ่ ยากท�ำกจิ กรรมอะไร กห็ าทาง ใหค้ รเู ลกิ ท�ำสิ และแนะน�ำใหส้ งั่ นกั เรยี นเขยี นบนั ทกึ ประจ�ำวนั สกั 2-3 สปั ดาห์ แลว้ หยดุ สกั 2-3 วนั จากนนั้ 2-3 สปั ดาห์ ถดั มา ครกู ส็ ง่ อเี มลมาบอกวา่ “ฉนั ท�ำส�ำเรจ็ แลว้ ตอนน้ี นกั เรยี นบน่ ทไ่ี มไ่ ดเ้ ขยี นบนั ทกึ ประจ�ำวนั เลย เพราะชอบกจิ กรรมเงยี บๆ ทชี่ ว่ ยใหส้ งบลง และมีสมาธิ” เวลาสอนนักเรียนท่ีไม่เต็มใจเขียน ให้บอกนักเรียนว่า จะไม่มีใครรู้ว่าบันทึก ประจ�ำวันอันไหนเปน็ ของใคร นอกจากครู แลว้ สรา้ งรหสั ใช้ตวั อกั ษร หรอื ตวั เลขระบุ บนั ทกึ ประจ�ำวนั ตามชน้ั เรยี น แตอ่ ยา่ ตดิ ปา้ ยเรยี งตามตวั อกั ษร ใหใ้ สร่ หสั แบบสมุ่ เผอ่ื วา่ บันทึกหายไป จะได้ไม่มีใครรู้ว่าบันทึกประจ�ำวันที่ก�ำลังอ่านเป็นของใคร นอกจากนั้น ฉนั ยังเสนอทางเลอื กให้นักเรยี นเขียนบันทกึ ประจ�ำวันทม่ี คี วามยาวตามจ�ำนวนหน้าที่ครู ก�ำหนดไว้ พอเสร็จแล้วก็เอามาส่งครูเพื่อเอาคะแนน พอได้คะแนนแล้วก็ท�ำลายทิ้งได้ เพราะนักเรยี นอาจจะรสู้ กึ ไมส่ บายใจถ้าเหน็ ข้อความพวกน้ัน และส�ำหรับคนทไ่ี มเ่ ต็มใจ เขยี นจรงิ ๆ ฉนั จะมที างเลอื กใหเ้ ขยี นสงิ่ ทตี่ วั เองอยากพดู ออกมา แลว้ พบั กระดาษทเ่ี ขยี น ลงคร่ึงหนง่ึ เพอ่ื ไมใ่ หใ้ ครเห็นขอ้ ความในนัน้ จากนัน้ ฉนั จะเช็คว่า นักเรยี นได้เขียนตาม ค�ำสงั่ 1-2 หนา้ แตจ่ ะไมอ่ า่ น ฉนั ใหค้ ะแนนการท�ำงาน และเคารพค�ำขอความเปน็ สว่ นตวั ของนกั เรยี น มแี คค่ รงั้ เดยี วเทา่ นน้ั ทฉ่ี นั ผดิ สญั ญาวา่ จะไมด่ งู านเขยี นของนกั เรยี น ตอนนนั้ มนี กั เรยี นคนหน่งึ ทแี่ สดงออกชดั เจนวา่ ไมช่ อบพวกครู รวมทงั้ ตวั ฉนั ดว้ ย ตัง้ แตก่ ้าวแรก ที่ย่างเข้ามาในห้อง ฉันพยายามจะเช่ือมโยงกับนักเรียนให้ได้ แต่เขาไม่ให้ความร่วมมือ และแทบไม่เขียนอะไรมากกว่าหนึ่งประโยคเลย แล้วอยู่มาวันหนึ่งเขากลับเขียน เขียน และเขียน ฉันตื่นเต้นมากจนอดใจแทบไม่ไหวท่ีจะอ่านงานของเขา แต่พอกลับถึงบ้าน และเอาลังใส่บันทกึ ประจ�ำวันออกมาเพื่อจะให้คะแนน ฉันเหน็ ว่าเขาพบั หน้าท่ีเขยี นไว้ ในสมดุ บนั ทกึ แสดงวา่ ไมอ่ ยากใหฉ้ ันอ่าน แต่ฉันอดใจไม่ไดจ้ งึ เปดิ หน้าน้ัน และเหน็ ว่า เขาฉกี กระดาษทเี่ ขยี นแลว้ ทง้ิ ไปหลายหนา้ สว่ นหนา้ ทย่ี งั อยใู่ นสมดุ เขาเขยี นวา่ “ผมรวู้ า่ ไวใ้ จครูไมไ่ ด้ ครูขโี้ กหกฉ*ิ *หาย” เขาพูดถูกแล้ว เขาไวใ้ จฉนั ไมไ่ ด้ และฉนั ต้องพยายาม 357

ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด อย่างหนัก เพื่อให้นักเรียนกลบั มาไว้ใจฉันอีกครง้ั ซึง่ ตอ้ งใชเ้ วลาถงึ 2 ปี โชคดีท่ฉี นั สอน นกั เรียนกลุ่มเดิมตอ่ เนื่องกนั 3 ปี จึงมเี วลาท�ำแบบนั้นได้ แต่นักเรียนไดส้ อนบทเรียนท่ี มคี ุณคา่ ยิ่งแกฉ่ ัน นั่นคือ อย่าสัญญาอะไรกับนักเรียน จนกว่าจะแน่ใจว่ารักษาค�ำพดู ได้ 12. แนะน�ำใหน้ ักเรยี นรู้จกั จริยธรรม เดก็ ๆ มสี �ำนกึ ของความยตุ ธิ รรมตดิ ตวั มาแตเ่ กดิ แตม่ กั เหน็ ตวั เองเปน็ ศนู ยก์ ลางของ จักรวาล จึงเกิดปัญหาเพราะไม่ตระหนักว่า การกระท�ำของตัวเองจะส่งผลกระทบ ต่อคนอน่ื อยา่ งไร การแนะน�ำใหน้ กั เรียนรจู้ กั วชิ าสังคมวทิ ยาและจิตวิทยาจึงชว่ ยให้ พวกเขาเหน็ ภาพใหญข่ นึ้ และตระหนกั วา่ แตล่ ะคนมบี ทบาทเลก็ ๆ กจ็ รงิ แตส่ �ำคญั ยง่ิ ในสังคมใหญ่ เป้าหมายของครูคือ อย่าบังคับให้นักเรียนเห็นด้วยกับค่านิยมและ หลกั จริยธรรมของตัวเอง แตก่ ระตนุ้ ให้นักเรยี นส�ำรวจ สร้าง และอธบิ ายค่านิยมกับ หลกั จริยธรรมของตัวเองได้ชัดเจน ฉันเอาแบบฝึกหัดหลักจรยิ ธรรมไปใชก้ ับนักเรียน เป็นคร้ังแรก เมื่อแรงกดดันเชิงลบจากเพ่ือนๆ ท�ำให้เกิดความเครียดและปัญหา พฤตกิ รรมมากมาย ฉนั อยากใหน้ กั เรยี นตระหนกั วา่ แตล่ ะคนมหี ลกั จรยิ ธรรมสว่ นตวั แมจ้ ะไมร่ ตู้ วั ฉนั คดิ วา่ ถา้ นกั เรยี นอธบิ ายคา่ นยิ มและหลกั ศลี ธรรมของตวั เองไดช้ ดั เจน กม็ โี อกาสนอ้ ยลงทจ่ี ะยอมจ�ำนนตอ่ แรงกดดนั เชงิ ลบ ส�ำหรบั การทดลองครงั้ แรก ฉนั ใช้ ประเด็นสากลท่ีไม่เป็นเรื่องส่วนตัว น่ันคือ เรื่องเงิน โดยขอให้นักเรียนเลือกค�ำตอบ ทด่ี ีท่สี ดุ ของตัวเองส�ำหรับค�ำถามในเอกสารประกอบที่ 10.3 แลว้ เขยี นค�ำตอบลงใน บนั ทึกประจ�ำวัน เอกสารประกอบที่ 10.3 แบบฝกึ หัดจริยธรรม แบบฝึกหดั จริยธรรม : เงินมากเกินไป ใหต้ อบค�ำถามตอ่ ไปนีใ้ นบันทึกประจ�ำวนั 358

1. หากพนกั งานหรอื บรกิ รใหเ้ งนิ ทอนเกนิ มาเปน็ จ�ำนวนมาก นกั เรยี นจะคนื เงนิ หรอื เกบ็ ุสดยอด... เอาไว้ ก. แนน่ อน ฉนั จะเก็บเงนิ ไว้ ข. ไม่ ฉันไมม่ ีวนั เกบ็ เงนิ ไว้ ค. ก็แลว้ แต่ ฉนั อาจจะเกบ็ เงินไว้ก็ได้ 2. ถา้ เลือกค�ำตอบขอ้ ก. หรอื ข. กรณุ าอธบิ ายเหตผุ ล 3. หากเลือกข้อ ค. อะไรเป็นตัวก�ำหนดการตัดสินใจ - ปริมาณเงิน มีคนรู้หรือไม่ หรือ เหตุผลอน่ื 4. หากค�ำตอบส�ำหรบั ค�ำถามขอ้ 3 ขนึ้ กบั ปรมิ าณเงนิ นกั เรยี นจะขดี เสน้ ไวท้ ไี่ หน เงนิ ทอน ทเี่ กินมาต้องมากแค่ไหน จงึ จะร้สู ึกวา่ ต้องเอาไปคืน © ลูแอนน์ จอหน์ สัน ปี 2011 หลังจากนักเรียนเขียนค�ำตอบแล้ว ฉันส�ำรวจค�ำตอบอย่างรวดเร็ว และนับ จ�ำนวนคนที่ตอบค�ำถามขอ้ 1 ไว้บนบอร์ดโดยแบ่งเป็น 3 กลุ่ม ไดแ้ ก่ คนื เงิน ไมค่ นื เงนิ และอาจจะคนื เงิน จากนั้นใหน้ กั เรียนคยุ กนั สกั 10 นาที ต่อมาใหจ้ ับกลมุ่ ย่อย กลุ่มละ 3-5 คน เพื่อคุยกันอีก 10 นาที เสร็จแล้วก็กลับไปนั่งท่ีโต๊ะของตัวเอง และเขียนว่าคิด อยา่ งไรกบั การแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ โดยเฉพาะถา้ เปลยี่ นใจและเปลยี่ นค�ำตอบ ตอ้ งเขยี น เหตผุ ลประกอบดว้ ย ในทส่ี ดุ พวกเราลงคะแนนเสยี งอยา่ งรวดเรว็ เพอ่ื ดวู า่ มคี นเปลย่ี นใจ หรอื ไม่ และพบวา่ มนี ักเรียนเลอื กจะ “คนื เงิน” มากขนึ้ นักเรียนสนุกท่ีได้เหน็ ว่าตวั เอง อยู่ตรงไหนบนเส้นจริยธรรม และช่ืนชมพวกที่ตัดสินใจคืนเงินตั้งแต่แรก ซ่ึงม่ันคงและ ไมย่ อมประนีประนอมกบั หลักจรยิ ธรรมของตัวเองอย่างเดด็ ขาด คณุ ปรับแบบฝกึ หดั หลกั จรยิ ธรรมให้เหมาะกบั วิชาทตี่ วั เองสอนได้ เชน่ ถา้ เปน็ วชิ าสงั คมศกึ ษา พอท�ำแบบฝกึ หดั เสรจ็ ครอู าจจะมอบหมายโครงงานใหน้ กั เรยี นไปวจิ ยั สถิติอาชญากรรมท่ีเกิดขึ้นเม่ือ 10, 20 และ 30 ปีก่อน แล้วท�ำแผนผังแนวโน้ม การเกิดอาชญากรรม ส่วนนักเรียนในวิชาคณิตศาสตร์ก็คิดหาร้อยละของคนที่จะเก็บ เงนิ ไว้ หรอื เอาเงนิ ไปคนื และรอ้ ยละของคนทเ่ี ปลยี่ นใจหลงั จากคยุ กบั คนอนื่ ถา้ เปน็ วชิ า 359

ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด คอมพวิ เตอร์ กใ็ หน้ กั เรียนสร้างแผนผังหรอื ตารางแสดงผลการลงคะแนน ส่วนนักเรียน ในวิชาศิลปะก็วาดภาพหรือท�ำโปสเตอร์ท่ีแสดงความรู้สึกเกี่ยวกับเงินและความโลภ ในวชิ าการเขยี นเรยี งความภาษาองั กฤษกใ็ หเ้ ขยี นเรยี งความ เพอื่ แสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั หลักจรยิ ธรรมโดยทวั่ ไป หรอื เรือ่ งการขโมยโดยเฉพาะก็ได้ ด้วยการฝึกฝนเพียงเล็กน้อย คุณจะสามารถออกแบบกิจกรรมเกี่ยวกับหลัก จริยธรรมและวชิ าสงั คมวทิ ยาทีเ่ หมาะสม และใช้ไดผ้ ลกับนักเรยี น ฉนั ขอแนะน�ำใหเ้ ริม่ ทกี่ ารเขยี นบนั ทกึ ประจ�ำวนั กอ่ น เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นไตรต่ รองความคดิ ของตวั เองกอ่ นจะไดร้ บั อทิ ธิพลจากคนอนื่ 360

ประเด็นสำ�หรับการอภปิ ราย ุสดยอด... 1. ถ้านักเรียนไม่เต็มใจจะพูดคุย เราจะรู้ได้อย่างไรว่า พวกเขา คดิ ถงึ ตัวเองแบบไหน 2. เราจะมีวิธีไหนบ้างท่จี ะ “เห็นนกั เรยี นตอนท�ำตัวด”ี 3. พยายามสรา้ งปรศิ นาค�ำพิลกึ ของตัวเอง 4. ทดสอบว่าสมองซีกไหนเดน่ และความชอบของคณุ มอี ิทธพิ ล ตอ่ วิธสี อนของตัวเองอย่างไร 5. ท�ำแบบฝึกหัดหลักจริยธรรมเรื่องเงินท่ีมากเกินไปในกลุ่มครู แลว้ แบง่ ปนั ความคดิ ของตวั เองเกย่ี วกบั วธิ อี อกแบบและน�ำเสนอ กิจกรรมน้นั ให้นกั เรียนทโี่ รงเรยี นของตัวเอง 361

11 บอกเลา่ ข่าว เล่าเรือ่ งนักเรยี น ผู้คนมักจะถามว่า เกิดอะไรข้ึนกับพวกนักเรียนที่ฉันเล่าไว้ใน หนงั สอื ชอ่ื My Posse Don’t Do Homework และตอ่ มาในปี 1995 มีการน�ำไปดัดแปลงเป็นภาพยนตร์เรื่อง Dangerous Minds ท่ีน�ำแสดงโดย มิเชล ไฟเฟอร์ ฉันขอบอกด้วยความ ยินดีว่า นักเรียนหลายคนยังติดต่อกับฉัน และรายงานความ ก้าวหน้าเร่ืองการเรียน งาน และครอบครัวมาให้ทราบเป็น ครั้งคราว หลายคนมีลูกแล้ว และหลายคนบอกอย่างดีใจว่า ตอนน้ีท�ำงานได้เงินมากกว่าฉันเสียอีก พวกเขาไม่รู้หรอกว่า ฉันมีรายได้แค่ไหนจริงๆ แต่วิศวกรอิเล็กทรอนิกส์ นักพัฒนา

ซอฟต์แวร์ และนักออกแบบเกมวิดีโอก็น่าจะท�ำเงินมากกว่าครูบ้างอยู่แล้ว บอกเ ่ลา... ต้องกลายเป็นหญิงจรจัดยากจนข้นแค้น ก็มีหลายบ้านที่จะไปเคาะประตูขอ ความช่วยเหลอื ได!้ จริงๆ นะ ฉันภูมิใจในตัวนักเรียนกลุ่มนั้นที่สุด เพราะเอาชนะปัญหาสุดหินได้ ทง้ั ความยากจน การขม่ เหงทางกาย การถกู ทอดทงิ้ ความบกพรอ่ งในการเรยี นรู้ และอุปสรรคด้านภาษา เอาชนะจนเรยี นจบช้นั มธั ยมได้ โรงเรยี นของเราอยใู่ น โปรแกรมคอมพวิ เตอรอ์ คาเดมี ซงึ่ เปน็ โรงเรยี นลกู ทตี่ งั้ อยใู่ นโรงเรยี นแม่ เมอ่ื ตน้ ทศวรรษ 1990 ด้วยทุนสนับสนุนของรัฐบาล มีนักเรียนเกรด 10 อยู่ 50 คน ซ่ึงเป็นกลุ่มเส่ียงในโรงเรียนมัธยม มีทีมครู 4 คน สอนนักเรียนต่อเน่ือง 3 ปี จนจบการศกึ ษา พอกลมุ่ แรกทม่ี ี 50 คน เลอ่ื นชนั้ เปน็ นกั เรยี นเกรด 11 กม็ นี กั เรยี น เกรด 10 รุ่นใหม่ทยอยเขา้ มาในปีถดั ไปทลี ะปี จนเตม็ จ�ำนวนนกั เรยี นกลมุ่ เสี่ยง 363

ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด ท่ีเรารับได้คือ 250 คน ในรุ่นแรกที่เรียนจบ ได้ทุนการศึกษาเต็มจ�ำนวน 8 คน ไปเรียนต่อในวิทยาลัย ปถี ดั มา มีไดท้ นุ 16 คน และโปรแกรมน้กี ก็ า้ วหน้าตอ่ ไป แต่ตอนนี้แทนท่ีจะเป็นโปรแกรมส�ำหรับ “พวกข้ีแพ้” ตามท่ีนักเรียนเรียก กลบั กลายเปน็ โปรแกรมทมี่ นี ักเรยี นมากมายจากภูมหิ ลงั ทกุ รูปแบบรอควิ จะเขา้ มาเรียน ทกุ วนั น้เี ดก็ ๆ ในเร่อื ง DANGEROUS MINDS ไปอย่กู นั ทไี่ หนบา้ ง ปี 2004 ซึง่ เป็นปีที่ 12 หลงั จากนักเรยี นท่เี รยี นจบกลมุ่ แรกมากอดฉันเพือ่ กลา่ วค�ำ อ�ำลา ฉนั ไปท�ำธรุ ะทแ่ี คลฟิ อรเ์ นยี ระยะสน้ั ๆ และนกั เรยี นเกา่ คนหนงึ่ จดั งานคนื สเู่ หยา้ เล็กๆ ขึ้นมา น่าต่ืนเต้นจริงๆ ที่ได้เห็นนักเรียนพวกนั้นย้ิมแย้มมาพร้อมคู่สมรสและ ลกู ๆ และยง่ิ ตน่ื เตน้ มากขนึ้ ทไี่ ดร้ บั รวู้ า่ ชวี ติ ของพวกเขาเปน็ อยา่ งไร ในกลมุ่ เลก็ ๆ นน้ั มีทง้ั เลขาในโรงเรยี น พยาบาล ตัวแทนขายประกนั ชวี ติ วิศวกรอิเล็กทรอนิกส์ 2 คน พนกั งานขบั รถบรรทกุ สง่ ของ นกั พฒั นาซอฟตแ์ วร์ ผจู้ ดั การส�ำนกั งาน นายหนา้ ซอ้ื ขาย อสงั หารมิ ทรพั ย์ เจา้ หนา้ ทส่ี นิ เชอื่ และนกั ดนตรอี าชพี พวกเขาเลา่ ใหฟ้ งั วา่ คนทไ่ี มไ่ ด้ มางานน้ีก�ำลังท�ำงานอะไรบ้าง เช่น เป็นหัวหน้างานของบริษัทเฟดเอกซ์ พนักงาน ขับรถบรรทุกของบริษัทยูพีเอส พนักงานควบคุมเคร่ืองขุดเจาะน้�ำมันขนาดใหญ่ ผู้จัดการของบริษัทของช�ำท่ีมีสาขามากมาย เจ้าหน้าที่ทันตสุขภาพ ครูสอนภาษา อังกฤษเป็นภาษาที่สอง ครสู อนศิลปะ ท่ปี รกึ ษาการเลย้ี งลกู ด้วยนมแม่ นกั วเิ คราะห์ ระบบ เจา้ หนา้ ทฝ่ี า่ ยการสอ่ื สารของกองทพั เรอื ผบู้ รหิ ารบรษิ ทั ผจู้ ดั การศนู ยบ์ รบิ าล ทารก เจา้ ของฟารม์ ปศสุ ตั ว์ โปรดวิ เซอรด์ นตรี 2 คน และโคช้ ฟตุ บอล 2 คน (คนหนงึ่ ผา่ นการคัดตวั รอบแรกของทมี ซานดเิ อโกชารจ์ เจอร์ส แต่ตกรอบสุดทา้ ย ถึงกระน้ัน เราก็ยังภูมิใจในความส�ำเร็จของเขาเช่นเดิม ทุกคนจ�ำได้ว่าตอนเรียนชั้นมัธยม เรา เชือ่ มั่นวา่ เขาเก่งพอจะไปเล่นฟตุ บอลอาชีพได้) ต่อไปน้ีเป็นบทสรุปส้ันๆ ว่าด้วยชีวิตในปัจจุบันของตัวละครส�ำคัญบางตัว ในภาพยนตรท์ ดี่ ดั แปลงจากหนงั สอื อนั ไดแ้ ก่ ราอลู , กสั มาโร, แคลลี และอมี ลี โิ อ พรอ้ มกบั 364 เพอื่ นรว่ มชน้ั สกั สองสามคน ซง่ึ เปน็ ตวั แทนนกั เรยี นในโปรแกรมของเรา และอกี นบั รอ้ ยๆ

นับพันๆ คนท่กี �ำลงั ดน้ิ รนต่อสู้ในโปรแกรมท�ำนองเดยี วกนั อยทู่ ่วั ประเทศ เร่ืองราวและ ชีวิตของพวกเขาเป็นแรงบันดาลใจให้ฉันยังเช่ือมั่นในศักยภาพของนักเรียนอเมริกันท่ี “ไมแ่ ยแสอะไรทงั้ สนิ้ ” หวงั วา่ เรอื่ งราวนจี้ ะเปน็ แรงบนั ดาลใจใหค้ รคู นอน่ื ๆ คงความเชอื่ มนั่ และเปน็ แรงบันดาลใจให้เด็กๆ เพียรพยายามต่อไป “ราอลู ” ราอูลไปเรียนมหาวิทยาลัยอยู่ 1 ปี แล้วลาออกไปท�ำงานในธุรกิจของครอบครัว (ออ้ เขาคนื เงนิ ฉนั แลว้ คา่ แจก็ เกตวนั ทเ่ี รยี นจบชนั้ มธั ยมตอนอายุ 21 ป)ี รายงานลา่ สดุ บอกว่า ราอูลท�ำผิดกฎหมายและต้องเข้าคุกชั่วคราว แต่ยังฉลาดและมีอารมณ์ขัน เหมือนเดิม ฉันมีจดหมายและภาพถ่ายจากราอูลมากมาย ไม่ว่าชีวิตจะเป็นอย่างไร จดหมายของราอลู จะลงท้ายด้วยรอยยิ้ม ออ้ มกอด และแผนส�ำหรบั อนาคตเสมอ ออสการ์ (“กัสมาโร”) ตอนอยู่ช้ันมัธยม ออสการ์เร่ิมท�ำงานเป็นพนักงานต้อนรับที่ Stanford Linear Accelerator Center (หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารระดบั ชาตขิ องกระทรวงพลงั งานแหง่ สหรฐั อเมรกิ า ภายใต้การดแู ลของมหาวทิ ยาลยั สแตนฟอร์ด) พอเรียนจบกไ็ ดเ้ ป็นพนักงานประจ�ำ แลว้ เลอ่ื นขนั้ เปน็ เจา้ หนา้ ทแ่ี ผนกควบคมุ คณุ ภาพ แมจ้ ะไมย่ อมเขา้ เรยี นมหาวทิ ยาลยั (ออสการไ์ มเ่ คยชอบเรยี นหนงั สอื เลย แมจ้ ะไดค้ ะแนนด)ี แตเ่ กง่ คอมพวิ เตอร์ และไมช่ า้ บอกเ ่ลา... กต็ อ้ งตดั สนิ ใจวา่ จะเลอื กท�ำงานอะไรทชี่ อบมากทง้ั สองอยา่ ง ราวๆ หนงึ่ ปตี อ่ มา ฉนั เจอ ออสการ์ในงานเปดิ ตัวหนังสือท่ใี หน้ กั เขียนแจกลายเซ็น ในเมืองพาโล อลั โต เขามา ช้านิดหน่อย และรีบจนหายใจแทบไม่ทัน 365

ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด “สวัสดี ครูเจ” เขาพูดพลางกอดฉัน “ขอโทษท่ีมาสาย ต�ำรวจเรียกให้ผมจอด เพราะดนั ไปขับรถเอสยวู สี ีเงินเป็นเงาวับ ครกู ร็ ู้ว่า ผมไม่ควรท�ำแบบน้ันในย่านน”ี้ พอเหน็ ฉนั เป็นกงั วล ออสการ์กต็ บไหล่ฉนั เบาๆ และย�ำ้ ให้สบายใจว่า “ผมไมเ่ ปน็ ไร ผมรวู้ า่ ต�ำรวจคงแคโ่ กรธจดั ทผ่ี มขบั รถดกี วา่ รถของเขา” ออสการ์ หัวเราะ “และผมท�ำเงินไดม้ ากกวา่ อาจจะมากกวา่ ครดู ว้ ยซำ้� ไป” จากน้นั ออสการก์ ็เล่าใหฟ้ งั วา่ ตอนน้ีท�ำงานอะไรเราคยุ กันเรอื่ งงานแรกท่เี ขาท�ำ ตอนอยู่โรงเรียนมัธยม เรื่องที่เขาต่อต้านการไปสัมภาษณ์งาน เพราะไม่อยากคุยกับ “ชายผวิ ขาวทส่ี วมสทู เตม็ ยศ” และยนื กรานวา่ คนพวกนนั้ จะไมช่ อบเขาหรอื จะไมจ่ า้ งเขา แมจ้ ะไดร้ บั การขอรอ้ งเปน็ พเิ ศษใหน้ กั เรยี นของเราสมคั รงานในบรษิ ทั ได้ ฉนั ถามออสการว์ า่ ร้สู ึกอยา่ งไรกบั งานในปัจจบุ นั เขาเลา่ วา่ “พวกเพอื่ นทท่ี �ำงานกใ็ ชไ้ ดน้ ะ ไมบ่ า้ แฟชน่ั เลย และชอบเลา่ เรอื่ งตลก โง่ๆ แตก่ ถ็ อื วา่ ใช้ได้ทีเดียว” ราวๆ 2 ปี ตอ่ มาหลงั จากการพบกนั ครงั้ นน้ั ออสการโ์ ทรมาปรกึ ษาปญั หา เขาได้ งานใหม่อยู่อีกฝั่งของทางด่วนและไกลสุดกู่จากบ้านที่อีสต์พาโล อัลโต แต่มีโอกาสจะ ซอ้ื บ้านใกล้ท่ที �ำงานได้ เขาพดู วา่ “เพอ่ื นบา้ นบอกวา่ ถา้ ผมยา้ ยไปทอ่ี นื่ กเ็ ทา่ กบั หกั หลงั กนั ครคู ดิ วา่ ไง” ฉนั ถามวา่ เขาใชเ้ วลากับเพอื่ นๆ ท่ีเคยเรยี นมธั ยมดว้ ยกันมากแคไ่ หน ออสการ์ ตอบวา่ นอ้ ยมาก ฉนั ถามตอ่ ไปวา่ อยากใหล้ กู สาวเตบิ โตขน้ึ ในอสี ตพ์ าโล อลั โตหรอื เปลา่ ออสการ์ตอบว่าไม่ และภรรยาคิดว่าควรย้าย แล้วพ่อแม่พ่ีน้องล่ะ พวกเขาบอกว่าจะ สนับสนุนไมว่ ่าออสการ์จะตัดสนิ ใจอย่างไร ฉนั แนะน�ำวา่ “เพอ่ื นแทจ้ ะไมข่ ดั ขวางความกา้ วหนา้ ของเพอื่ น และตอ้ งสง่ เสรมิ เธอตามอยา่ งครอบครวั ครคู ดิ วา่ เธอนา่ จะซอ้ื บา้ น และถา้ เพอื่ นบา้ นเปน็ มติ รแท้ พวกเขา จะไปเยี่ยมเธอ และเธอจะกลับมาเย่ียมพวกเขา แต่ถ้าไม่ใช่มิตรแท้ ก็หาเพื่อนใหม่สิ ตอนนสี้ ิ่งทเ่ี ธอควรกังวล คอื การท�ำดที ส่ี ดุ ใหค้ รอบครัวของตวั เอง” 366

ออสการ์ซื้อบ้าน แล้วโทรมาบอกว่า มีความสุขที่ตัดสินใจแบบนั้น เราไม่ได้ บอกเ ่ลา... ติดต่อกนั 2-3 ปี ออสการ์ส่งอเี มลมาให้ หลงั จากนิยายเร่ือง Muchacho ของฉันพมิ พ์ ออกมา เขาคิดว่าหนังสือเล่มนี้ “ค่อนข้างดี” ซ่ึงถือเป็นค�ำชมเชยอย่างสูงจากออสการ์ และขอบคณุ ทฉี่ นั “ท�ำใหเ้ ขาตนื่ เตน้ ” กบั หนงั สอื เรอ่ื ง The Four Agreements ทกี่ �ำลงั อ่านพร้อมกับลูกสาว ทุกวันน้ีออสการ์เป็นเจ้าหน้าที่เทคนิคคอมพิวเตอร์ในบริษัทท่ี ซลิ ิคอนแวลลยี ์ และมีความสขุ ในชีวติ สมรส แค่ความส�ำเร็จของออสการ์เพียงคนเดียวก็พอแล้วที่จะท�ำให้อาชีพการสอน ทั้งหมดของฉันคุ้มค่า แต่ปีที่แล้วฉันได้รับอีเมลจากเชอร์เมล (“แคลลี” ในภาพยนตร์ คนท่ีตั้งท้องและต้องต่อสู้เพื่อจะอยู่ในโรงเรียนต่อไป) ฉันมักสงสัยว่า เกิดอะไรกับ เชอรเ์ มลบ้าง และตืน่ เต้นมากทีไ่ ด้ขา่ วจากเธอ เชอร์เมล (“แคลล”ี ) เชอรเ์ มลเขยี นอเี มลมาบอกวา่ “ขอโทษทห่ี นใู ชเ้ วลานานมากกวา่ จะเรยี นจบปรญิ ญาตรี สาขาธุรกจิ ” ฉันหัวเราะจนเกือบตกเก้าอ้ี แตพ่ ออา่ นต่อไป จากทห่ี วั เราะกก็ ลายเป็น นำ�้ ตาซมึ เชอรเ์ มลแตง่ งานกบั หวานใจสมยั ชนั้ มธั ยม ซง่ึ เปน็ หนมุ่ ทใ่ี ชช้ วี ติ อยา่ งบา้ ระหำ�่ และตายไปเม่ือลูกคนท่ีสามยังเล็กอยู่ เชอร์เมลเล้ียงลูกเองคนเดียวพร้อมกับท�ำงาน ไปด้วย พอลูกชายเรียนช้ันมัธยมต้นก็ดันเข้าไปยุ่งกับธุรกิจอันตรายบางอย่าง และ ถกู ยงิ แต่โชคดที ่ไี มต่ าย เธอเลา่ ตอ่ ไปว่า “มีเพอื่ นโทรมาถามวา่ ชีวิตเธอเลวรา้ ยมากพอหรอื ยัง” หนูบอกว่าพอแล้ว และย้ายไปอยู่นอกเมืองแอตแลนตา ท่ีรัฐจอร์เจีย แล้วเร่ิม ไปเรียนหนังสือ หนูเพิ่งเรียนจบและอยากให้ครูรู้ เพราะครูสนับสนุนหนูเสมอ ตอนนี้หนูได้งานดีในองค์กรการกุศลขนาดใหญ่ หนูยังต้องใช้หน้ีที่กู้มาเรียน 367

ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด อีกเยอะ และก�ำลังจะไปท�ำงาน 2 แห่ง เพอ่ื ใชห้ นีไ้ ดเ้ ร็วขนึ้ แตล่ กู สาวก�ำลงั จะ เรมิ่ เรยี นชน้ั มธั ยมตน้ ในปนี ้ี และหนจู �ำไดว้ า่ แมต่ อ้ งท�ำงานตอนกลางคนื ตอนหนู เรียนช้ันมธั ยมตน้ และตอนนั้นเองทีห่ นูเร่มิ ออกนอกลู่นอกทาง กเ็ ลยตดั สินใจ ท�ำงานแคท่ เี่ ดยี ว แมเ้ ราจะมเี งนิ ไมม่ าก แตห่ นรู วู้ า่ ลกู สาวอยทู่ ไี่ หนตอนกลางคนื เมอ่ื เรว็ ๆ นฉี้ นั กลบั ไปตดิ ตอ่ กบั เชอรเ์ มลอกี ครงั้ เธอกา้ วหนา้ ขนึ้ มาเปน็ นกั ธรุ กจิ และคุณแม่ผู้งดงามที่ประสบความส�ำเร็จ ในอีเมลล่าสุด เชอร์เมลเล่าว่า พออายุ 30 ปี ก็เริ่มรู้ตัวว่า ถ้าอยากรักษาหุ่นเพรียวเอาไว้ ต้องเลิกกินเลิกดื่มตามใจปาก “ปีนี้หนูเร่ิม เข้าวิ่งแข่งระยะทาง 5 กิโลเมตร และวิ่งไป 2 คร้ังแล้ว หนูไม่ใช่นักว่ิงทีมชาติ แต่ดีใจ ที่อย่างน้อยท่ีสุดก็เข้าเส้นชัยได้เป็นท่ี 2 และที่ 3 ของคนในกลุ่มอายุเดียวกัน เดือน ตุลาคมน้หี นูจะบินไปแคลิฟอรเ์ นียเพ่อื วิง่ กึง่ มาราธอนเป็นคร้งั แรก” ฉันเหน็ ภาพเชอร์เมลผดุ ขึ้นมาในใจ ก�ำลังวิง่ เร็วฉวิ เหมือนลมพรอ้ มด้วยรอยยิ้ม บนใบหน้าท่ีงดงาม โฮเซ กับ ฮวน (“อมี ีลโิ อ”) แล้วอีมีลิโอล่ะ อันที่จริงตัวละครในหนังสือที่เป็นอีมีลิโอ มาจากการรวมบุคลิกท่ี แตกต่างกันสุดข้ัวของนักเรียนชาย 2 คน แต่มีเจตคติพ้ืนฐานท่ีก้าวร้าวและด้ือดึง เหมอื นกัน นกั เรยี นตัวจริงไม่ได้ตายเหมือนในภาพยนตร์ (เปน็ เรื่องหนึง่ ท่ฉี ันบ่นมาก ที่สุด เพราะหนังสือกบั บทภาพยนตรด์ ัดแปลงไม่ตรงกัน) ตวั ตนครงึ่ แรกของอีมลี โิ อ คอื โฮเซ ทท่ี �ำงานในหนว่ ยบญั ชาการนาวกิ โยธนิ อยู่ 4 ปี กอ่ นลงหลกั ปกั ฐานกบั ภรรยา และลูกสาว 2 คน เราโทรคุยกันส้ันๆ แต่ก็สนุกกับเรื่องราวท่ีเขาเรียกว่า”ชีวิตใหม่ ท่ีดขี ้ึน” อกี หน่ึงแรงบนั ดาลใจทท่ี �ำให้เกดิ ตัวละครชือ่ อมี ลี โิ อ คือ ฮวน ซึ่งตัวโตกว่าและ ก้าวร้าวกว่าโฮเซ ฮวนต้องติดคุกในสัปดาห์ท่ีจะเรียนจบช้ันมัธยม เพราะไปข่มขู่ครูที่ เสียดสีเขา (โชคดีที่มีพยานเห็นเหตุการณ์ตอนครูท�ำอย่างนั้น ฮวนจึงได้รับอนุญาตให้ ท�ำงานตอ่ ในคกุ จนเสร็จ และมาสอบท่โี รงเรียน จึงไดเ้ รยี นจบ) 368

ราวๆ 1 เดอื น หลงั จบการศกึ ษา ฮวนโทรมาหาฉนั เขาท�ำงานเปน็ พนกั งานดแู ล บอกเ ่ลา... สัมภาระทส่ี นามบนิ นานาชาติซานฟรานซิสโก ฮวนเลา่ ว่า พนักงานท�ำงานเป็นกะ และ บางคนรวมทง้ั พนกั งานในกะของเขาดว้ ย เรม่ิ งดั กระเปา๋ ผโู้ ดยสารและขโมยกลอ้ ง อปุ กรณ์ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ กบั เงนิ เขาบอกว่า หวั หน้าเรม่ิ สงสยั และเขากงั วลเพราะไมอ่ ยากถูกจบั ฉันจงึ แนะน�ำให้ขอย้ายไปอยู่กะทไ่ี ม่มีขโมย “เวลาพดู กบั หวั หนา้ ใหม้ องหนา้ เขาแบบทบ่ี อกใหร้ วู้ า่ เธออยากยา้ ยจรงิ ๆ เขาจะ รู้ว่าท�ำไมจึงขอย้าย โดยเธอไม่ต้องพูดอะไร” 2-3 วันต่อมา ฮวนโทรมาบอกว่าย้ายกะ ได้แล้ว และทกุ อยา่ งเป็นไปด้วยดี แตอ่ กี 2-3 สปั ดาห์ ถัดมา ฮวนโทรมาเล่าว่า “ผมมีปัญหา เจ้านายใหม่เป็นตัวแสบ เอาแต่ไล่จ้ีผมไม่หยุด สักวันผมคงต้อง ชกมัน” ฉนั เตือนวา่ “อยา่ ท�ำอย่างนน้ั เธอต้องไม่ชกเจา้ นายในที่ท�ำงานอย่างเดด็ ขาด” “ตกลง” ฮวนสัญญาว่าจะไม่ชกเจ้านาย แต่อีก 2 วันต่อมา ฉันได้รับโทรศัพท์ จากเรือนจ�ำ เขาบอกว่า “อย่าตกใจ ผมติดคุกไม่นานหรอก แต่ไม่อยากให้ครูรู้เร่ืองน้ีจาก คนอ่นื ” กลายเปน็ ว่า ในทีส่ ดุ เขาก็ชกเจ้านายจนได้ ฉันพูดว่า “แต่เธอสัญญาว่า จะไม่ชกเจ้านายนี่นา” ฮวนมีจริยธรรมสูง และ ตามปกติถ้าสัญญาอะไรแล้ว จะไม่ผิดค�ำพูดเด็ดขาด ฮวนพูดว่า “ผมไม่ได้ชกเขาในท่ี ท�ำงาน ครูบอกว่าผมไม่ควรต่อยเขาในท่ีท�ำงาน ฉะนั้น พอครั้งต่อไปที่เขาเริ่มไล่บ้ีผม ผมก็ถามเขาว่าจะเลิกงานเมื่อไหร่ พอเขาบอก ผมขอใหเ้ ขาไปเจอกนั ตรงที่จอดรถ แล้ว ต่อยเขา แต่ไมไ่ ด้ต่อยในที่ท�ำงานตามที่สญั ญาไว”้ โชคดีทีเ่ จา้ นายไมอ่ าฆาตพยาบาท และพอออกจากคกุ ก็ไดก้ ลบั ไปท�ำงานทีเ่ ดิม เราคยุ กันอีกคร้ัง และคร้งั น้ีฉนั พดู เฉพาะเจาะจงยิ่งข้ึน “ห้ามชกเจ้านาย ไม่ว่าจะเป็นเร่ืองอะไร หรือที่ไหน ถ้าเกลียดงาน ก็เลิกท�ำ แล้วไปหางานอ่ืน แต่ห้ามชกเจ้านายเป็นอันขาด” นับแต่นั้นมาเขาไม่ได้โทรมาอีกเลย ซ่งึ ฉันถือเปน็ สญั ญาณที่ดวี ่า เขาไม่มีเรือ่ งกับใคร 369

ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด ไฮดี พอโปรแกรมใหม่ที่มีระยะเวลา 3 ปี เปดิ ใหน้ กั เรียนเกรด 9 ท่มี ีปญั หาเขา้ มาเรียนได้ ไฮดเี ปน็ คนหนง่ึ ทส่ี มคั รเขา้ มาในรนุ่ แรก และเดนิ เขา้ หอ้ งแบบวยั รนุ่ ทม่ี แี รงจงู ใจสงู สดุ และมีวุฒิภาวะที่สุดคนหน่ึงเท่าที่ฉันเคยเจอ เด็กผู้หญิงส่วนใหญ่ในโปรแกรม 3 ปี จะรสู้ กึ วา่ การรบั มอื กบั เดก็ ผชู้ ายไมใ่ ชเ่ รอ่ื งงา่ ย แตไ่ ฮดจี ะเผชญิ หนา้ กบั พวกเดก็ ผชู้ าย ตรงๆ และท�ำใหพ้ วกเขารู้จักนับถอื ให้เกยี รตเิ ธอ เธอเปน็ นักเรียนที่มแี รงจูงใจตงั้ แต่ วันแรกที่มาเรียน โดยต้ังเป้าจะท�ำงานในสายทันตกรรม และท�ำได้ส�ำเร็จ ทุกวันน้ี ไฮดเี ปน็ ชา่ งเทคนคิ ทนั ตกรรมทผี่ า่ นการรบั รอง อยใู่ นเมอื งฟอเรสตซ์ ติ กี บั สามแี ละลกู ชาย ออคทาวโิ อ เชน่ เดยี วกบั กสั มาโร ออคทาวโิ อสนกุ กบั งานในแผนกลา้ งจานทมี่ หาวทิ ยาลยั สแตนฟอรด์ เพราะไดท้ �ำงานกบั กลมุ่ ผชู้ ายทโ่ี ตมาจากยา่ นเดยี วกนั พดู ภาษาเดยี วกนั และไมช่ อบ เรยี นหนงั สอื เหมอื นกัน ออคทาวิโอไมล่ งั เลท่จี ะท�ำงานท่ตี วั เองไม่ค้นุ เคย และยังเปน็ ลกู จา้ งที่ภักดตี อ่ มหาวทิ ยาลยั สแตนฟอรด์ ตลอด 17 ปที ผ่ี ่านมา ปจั จบุ ันได้เล่ือนข้นั เป็นพนักงานรับโทรศัพท์สายนอกของมหาวิทยาลัย ออคทาวิโอเป็นคุณพ่อคนใหม่ ท่ียังชอบสมาคม มีอารมณ์ขันในทุกสถานการณ์ และพร้อมต้อนรับความท้าทายกับ 370 ประสบการณ์ใหม่ๆ

เอริค ตอนเข้ามาในโปรแกรม เอริคไม่สนใจโรงเรยี นเลย แตใ่ นทีส่ ุดก็ตระหนกั วา่ สามารถ ก�ำหนดทิศทางของชีวิตได้เอง โดยไม่จ�ำเป็นต้องปล่อยไปตามยถากรรม เม่ือ 2-3 ปกี อ่ น เอรคิ ตามหาฉนั และสง่ จดหมายขอบคณุ ซง่ึ อธบิ ายเรอื่ งราวไดช้ ดั เจนและจบั ใจ มาให้ เขาขอบคุณท่ฉี นั เชอ่ื มั่นในตวั เขาตอนทเี่ ขาเลิกศรทั ธาในคุณคา่ ของการศกึ ษา เอริคฉลาดมาก มีความสามารถพิเศษหลายอย่าง และยังมีนิสัยเหมือนเดิมคือ ต้อง วิเคราะห์สถานการณก์ อ่ นแสดงความเหน็ เขาแบ่งเวลาไปท�ำงาน 2 อย่างที่แตกตา่ ง กันมาก นนั่ คือ เปน็ ทง้ั ศิลปินฮปิ -ฮอปอิสระ กับผูเ้ ช่ียวชาญตรวจสอบการฉอ้ โกง ชอนทา ไม่มีใครลืมรอยยิ้มของชอนทาได้ลง เธอเป็นหลักฐานพิสูจน์ว่า ค�ำพูดว่า “ใบหน้า เปล่งปลั่ง” ไม่ได้เป็นแค่ค�ำพูดท่ีใช้กันจนเฝือ เพราะใบหน้าของชอนทาเปล่งปลั่ง เปน็ ประกายจรงิ ๆ แม้จะเรยี นจบช้ันมธั ยมมาเกือบ 20 ปีแลว้ และเราไม่เจอกันเลย ต้ังแต่เธอเรียนจบ แต่ฉันจ�ำชอนทาได้ทันทีเมื่อเห็นภาพเธอในเฟซบุ๊ก เราติดตาม ความเคลอ่ื นไหวในชวี ติ ของกนั และกนั ทนั ที ในอเี มลฉบบั หนงึ่ ชอนทาเขยี นวา่ “หนเู ปน็ บอกเ ่ลา... ผปู้ ระสานงานแฟม้ คดขี องวทิ ยาลยั โอโลนี และก�ำลงั เรยี นเพอ่ื เอาใบประกอบวชิ าชพี นักสังคมสงเคราะห์ หนูตกหลุมรักวิชามานุษยวิทยาทางวัฒนธรรม... แต่เป็นนัก ปฏบิ ัติด้วย หนูยงั ไมเ่ จองานท่อี ยากได้ นนั่ คือ เปน็ สาวแอฟรกิ นั อเมรกิ ันนกั ผจญภยั แบบอนิ เดียนาโจนส์ ฮา่ ฮ่า ฮา่ ” 371

ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด นกิ ส�ำหรบั คนแปลกหนา้ นกิ อาจจะดเู หมอื นวยั รนุ่ “กลมุ่ เสยี่ ง” ตวั จรงิ เพราะชอบตอ่ ตา้ น ไมอ่ ยากท�ำตวั เหมอื นใคร ไมป่ ระทบั ใจโรงเรยี นมธั ยมกบั ขอ้ ก�ำหนดของการเขา้ เรยี นนกั แต่ถ้าดูให้ลึกซึ้ง เราจะเห็นนิกอีกคนที่ต่างไปเลย เช่น หลังการพิจารณาคดีของ รอดนีย์ คิง การทนี่ กั เรียนกอ่ ความว่นุ วายกบั การปะทะกนั ทางวัฒนธรรมกลายเปน็ เร่ืองธรรมดามากข้ึนในโรงเรียนมัธยมท่ีมีกลุ่มพหุชาติพันธุ์ นิกกลายเป็นเป้าโจมตี ของกลุ่มนักเรียนแอฟริกันอเมริกัน ซึ่งบางคนเป็นเพื่อนร่วมชั้นของนิกด้วยซ้�ำ แต่ แทนที่จะหาทางแกแ้ ค้น นิกกับเด็กชายพวกน้นั พรอ้ มเพอื่ นร่วมชั้นจ�ำนวนมากกลบั ร่วมกันก่อตั้งองค์กรท่ีมีนักเรียนเป็นสมาชิกเท่านั้น และต้ังเป้าหมายว่าจะส่งเสริม ความสมานฉนั ทร์ ะหวา่ งเชอ้ื ชาติ แมเ้ ราจะเขา้ ไปรว่ มไมไ่ ดเ้ พราะเปน็ ผใู้ หญ่ แตป่ ระทบั ใจ กบั ความเหน็ อกเหน็ ใจและความใจกวา้ งยอมรบั ความเหน็ ของคนอนื่ ในกลมุ่ หนมุ่ สาว พวกนน้ั ทกุ วนั นนี้ กิ เปน็ มอื กลองและชา่ งไฟทมี่ แี รงบนั ดาลใจ เขายงั สนบั สนนุ วาระเดมิ นั่นคือ ขอให้เราอยู่รว่ มกันอย่างสมานฉนั ท์ อซิ าเบล เชน่ เดียวกบั นักเรยี นจ�ำนวนมากท่ี “พดู ภาษาองั กฤษไมค่ ่อยได”้ ในรุ่นแรก อิซาเบล 372 อพยพจากเมก็ ซโิ กมาสหรฐั อเมรกิ าโดยพดู หรอื อา่ นภาษาองั กฤษไมไ่ ดเ้ ลย แตม่ พี น้ื ฐาน

ภาษาสเปนดีมากจากชนั้ ประถม และเช่นเดียวกับเพ่ือนรว่ มชน้ั จ�ำนวนมาก อซิ าเบล บอกเ ่ลา... ยืนกรานว่า อ่านหรือเขียนเน้ือหาท่ีฉันสอนในช้ันเรียนไม่ได้ ทุกครั้งเวลาเธอพูดว่า “หนทู �ำไม่ได้” ฉันจะตอบว่า “หนอู าจจะพดู ว่าไมอ่ ยากท�ำอะไรบางอย่างได้ แตห่ า้ ม บอกวา่ หนทู �ำไมไ่ ด”้ อซิ าเบลจดจ�ำค�ำพดู นนั้ ไวใ้ นใจ และพอ 3 ปผี า่ นไป ในโปรแกรม ส�ำหรบั นกั เรยี นมธั ยมกลมุ่ เสย่ี ง เธอเรยี นจบดว้ ยเกรดทด่ี ี และไดท้ นุ เรยี นตอ่ วทิ ยาลยั ตอนน้ีอิซาเบลจบปริญญาตรีสาขาบัญชีอย่างน่าภูมิใจจากวิทยาลัยฮีลด์ มีลูกสาว แสนสวยวัย 15 ปี และท�ำงานเป็นเลขาท่ีโรงเรียนในย่านท่ีเธอเคยอยู่สมัยเรียนช้ัน มัธยม ความเหน็ ของฉันเรอ่ื งภาพยนตร์ อันดับแรก ฉันต้องบอกว่า มิเชล ไฟเฟอร์ เป็นนักแสดงชั้นยอดและเป็นคนดีมาก เธออา่ นหนงั สอื ของฉนั และมาอยใู่ นหอ้ งกบั พวกนกั เรยี น 3 วนั เพอื่ ท�ำความรจู้ กั และ สงั เกตปฏสิ ัมพนั ธข์ องนกั เรียนกับฉัน มเิ ชลแสดงได้ดไี มม่ ผี ดิ เพ้ียน พอดูหนงั จบแลว้ เด็กชายคนหนึ่งพูดว่า “ผมขนลุกเลย ที่เห็นเธอท�ำท่าเหมือนครูเป๊ะ เช่น ท่าเสยผม แบบน้นั หรอื จอ้ งหน้านกั เรยี นเขมง็ จนพวกเขาตอ้ งหบุ ปากและนั่งลง” การมาเยี่ยมของมิเชลท�ำให้ห้องเรียนเปลี่ยนไป ไม่ใช่ทางกายแต่เป็นทางใจ กอ่ นเธอมา ใครๆ พากนั เรยี กพวกเราวา่ “คนโง”่ แมแ้ ตน่ กั เรยี นของเรายงั เชอ่ื วา่ เปน็ จรงิ แตม่ นตราของมิเชลยงั คงอยแู่ ม้ตวั เธอจากไปแลว้ และสร้างชื่อเสยี งใหมใ่ หห้ ้องของเรา ทันใดนั้นเองใครๆ ก็อยากเข้า “โปรแกรมสุดเท่” นอกจากน้ันมิเชลยังเห็นอกเห็นใจ ในความทกุ ข์ยากของคนอืน่ และใจกว้าง ซงึ่ ฉนั จะส�ำนกึ ในบญุ คณุ ไปชั่วนริ ันดร์ แตป่ ระสบการณก์ บั ฮอลลวี ดู ท�ำใหฉ้ นั ตอ้ งครนุ่ คดิ อยา่ งจรงิ จงั ถงึ เรอื่ งทน่ี กั เขยี น ขายสิทธิในหนังสือของตัวเองให้บริษัทสร้างภาพยนตร์ ฉันคับข้องใจและได้บทเรียน ราคาแพง เพราะโงม่ ากทเ่ี ซน็ ชอื่ สละโอกาสทจี่ ะมสี ว่ นในการเขยี นบท และยอมรบั สว่ นแบง่ เปน็ เปอรเ์ ซน็ ตข์ องก�ำไรสทุ ธิ กอ่ นจะไดเ้ รยี นรวู้ า่ ในฮอลลวี ดู ไมม่ สี งิ่ ทเี่ รยี กวา่ ก�ำไรสทุ ธหิ รอก 373

ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด ฉนั จดจอ่ กบั เรอ่ื งเงนิ (หรอื เรอ่ื งไมม่ เี งนิ ) อยนู่ าน จนในทส่ี ดุ กย็ อมรบั วา่ ผสู้ รา้ งภาพยนตร์ ไดป้ ระโยชนจ์ ากความไมร่ เู้ รอ่ื งของฉนั แตพ่ วกเขาอยใู่ นธรุ กจิ ของการหาเงนิ และท�ำก�ำไร ฉันน่าจะโทรหาสมาคมนักเขียนบทภาพยนตร์ หรือติดต่อนักเขียนคนอ่ืนๆ เพ่ือขอค�ำ แนะน�ำ แต่ไม่ได้ท�ำ และเซ็นสัญญาไปแล้ว อย่างไรก็ตาม ฉันตระหนักว่า ถ้าอยากเป็น มหาเศรษฐี ก็คงไม่มาเป็นครูตง้ั แตแ่ รก ประเดน็ ท่ีแทจ้ รงิ ตรงนี้กค็ อื เราจะมอบผลงานกับจนิ ตนาการของตัวเองไปให้ คนอ่ืนซ่ึงก็มีจินตนาการของพวกเขาเองเหมือนกันหรือไม่ เวลานักเขียนสร้างผลงาน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องแต่งหรือเรื่องจริง ก็มีภาพที่ชัดเจนของเหตุการณ์กับตัวละครในเร่ือง ส่วนผู้อ่านก็วาดภาพเรื่องราวขึ้นมาในใจ ซึ่งอาจจะตรงหรือไม่ตรงกับของนักเขียนก็ได้ ผสู้ รา้ งภาพยนตรก์ ม็ ภี าพในใจทช่ี ดั เจนมาก ซงึ่ ไดร้ บั อทิ ธพิ ลมาจากจนิ ตนาการของผสู้ รา้ ง คนก่อนหนา้ นัน้ ทุกๆ คน ถา้ นกั เขียนไม่มั่นใจเตม็ ร้อยว่า จนิ ตนาการของตวั เองกบั ของ ผ้สู รา้ งจะตรงกัน ก็ไมค่ วรขายสิทธิของผลงานเทา่ น้นั เอง แต่ถ้าไมส่ นใจเรือ่ งจนิ ตนาการ และเป็นเรื่องเงินล้วนๆ นักเขียนก็ควรเซ็นสัญญา เอาเช็คไปข้ึนเงิน และอย่ามองย้อน กลับไปอีกเลย แต่ถ้าหลักคุณธรรมด้านศิลปะหรือความชัดเจนของจินตนาการเป็น ปัจจัยหลัก นักเขียนควรพูดว่า “ขอบคุณ แต่ฉันไม่ขายหรอก” แล้วเอาหนังสือเล่มนั้น กลบั ไปวางบนชน้ั ตามเดมิ แมฉ้ นั จะบน่ และครำ�่ ครวญ แมบ้ างฉากจะมกี ารคดิ แบบเหมารวม เรอ่ื งชาตพิ นั ธแ์ุ ละการจงู ใจทางอารมณ์ แตฉ่ นั เชอ่ื วา่ Dangerous Minds เปน็ ภาพยนตร์ ที่ดีและตรึงใจผู้ชม เป็นแรงบันดาลใจให้ผู้คนมากมายอยากเป็นครู หรือเป็นครูแบบที่ ตวั เองอยากเปน็ และเปน็ แรงกระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นหลายคนเปลย่ี นใจไมล่ าออกจากโรงเรยี น กลางคนั ภาพยนตรเ์ รอื่ งนม้ี เี พลงไพเราะสดุ ๆ ของ คลู โี อ ทชี่ อื่ “Gangsta’s Paradise” และให้โอกาสเหล่านักแสดงท่ีมีพรสวรรค์แต่ยังไม่โด่งดังได้แสดงกับดาราใหญ่อย่าง มิเชล ไฟเฟอร์ ซงึ่ ตอ้ งยกความดเี ร่ืองน้ใี ห้กบั ทีมผูส้ ร้างภาพยนตร์ วนั หนงึ่ ตอนฉนั บน่ เรอื่ งความไมถ่ กู ตอ้ งในภาพยนตร์ เพอ่ื นชอ่ื ทาวานา พดู ขนึ้ วา่ “ฉนั ไมแ่ คร์ หนงั เรอื่ งนนั้ มคี วามหมายกบั คนผวิ ด�ำ มเี รอื่ งของเราบนจอ และเรากระหาย อยากไดอ้ ยา่ งนน้ั จะตรงหรอื ไมต่ รงกบั ความจรงิ กช็ า่ ง เดก็ ผวิ ด�ำตอ้ งการเหน็ เงาสะทอ้ น 374 ของตัวเองในสงั คม”

แทนที่จะถือเอาประสบการณ์นี้มาเป็นอารมณ์ ข้อคิดเห็นของทาวานาท�ำให้ บอกเ ่ลา... ฉนั ถอยกลบั มามองภาพใหญ่ และยอมรบั วา่ เธอพดู ถกู Dangerous Minds เปน็ ภาพยนตร์ ที่ดี แม้จะมีการคิดแบบเหมารวมเรื่องเช้ือชาติและข้อบกพร่อง แต่ก็น่าจับใจ เป็นแรง บันดาลใจใหผ้ ูค้ นท�ำตามหัวใจและความฝนั ของตวั เอง และสาดแสงสอ่ งมาให้ผูค้ นเห็น กลมุ่ นกั เรยี นทม่ี สี ทิ ธแิ์ ละสมควรไดร้ บั ชอื่ เสยี งชว่ั ครแู่ ละอนื่ ๆ อกี นกั เรยี นท่ี “สอนไมไ่ ด”้ ที่กลายเป็นคนมากความสามารถ เฉลียวฉลาด และสอนใหฉ้ ันร้วู ธิ ีเป็นครูทีด่ ี 375

12 อกี 20 ปจี ากน้ี อีก 20 (หรือแม้แต่ 40) ปี ต่อจากน้ี คุณอาจจะจ�ำนักเรียน ของตัวเองไม่ได้ แต่พวกเขาจะจ�ำคุณได้ นักเรียนอาจจะลืม บทเรยี นทค่ี ณุ สอนหรอื นกึ หนา้ คณุ ไมอ่ อก แตจ่ ะจดจ�ำไดค้ อ่ นขา้ ง ชัดเจนวา่ คุณท�ำใหพ้ วกเขารสู้ ึกกับตัวเองอยา่ งไร จะไม่ลืมวา่ คณุ เคยวจิ ารณห์ รอื ชมเชยอะไรไปบา้ ง ค�ำตอ่ ค�ำเลยทเี ดยี ว มอี ยู่ คร้ังหน่ึงฉันชมพนักงานธนาคารว่าลายมือสวย เธอหน้าแดง และฉันคิดวา่ เธอคงเขา้ ใจผิด จงึ พูดซ้ำ�

พนักงานก้มดูมือตัวเองและพูดว่า “ครูเกรด 2 เคยใช้ไม้บรรทัดตีข้อมือฉัน ีอก20ปี... เพราะลายมอื เหมอื นไกเ่ ขย่ี ฉนั รกั ครแู ละอยากใหค้ รชู อบ กเ็ ลยนง่ั คดั ลายมอื ทโ่ี ตะ๊ ในครวั ทุกวันอยู่หลายเดอื น” ฉนั พูดวา่ “ครตู ้องดีใจมากเลยทเ่ี หน็ ลายมือคณุ สวยขนาดน”ี้ พนักงานตอบว่า “ฉันไม่เคยท�ำไดถ้ ึงมาตรฐานของครูเลย แต่กฝ็ ึกตอ่ ไป แม้จะ จบเกรด 2 ไปแลว้ พออยเู่ กรด 4 ฉนั กลบั ไปหาครแู ละเอางานใหด้ วู า่ ฉนั เขยี นสวยแคไ่ หน” ฉันบอกวา่ “ครตู ้องชมคณุ แน่นอน ท่พี ยายามคัดลายมอื ขนาดน”ี้ พนักงานถอนหายใจพลางจดั เรยี งใบฝากเงนิ บนเคาน์เตอร์ “ครจู �ำฉนั ไม่ไดด้ ว้ ยซ้ำ� ” แล้วฝนื ยิ้ม “แต่มนั นานมาแลว้ นะ” มีคนนับร้อยๆ เขียนมาเล่าเรื่องครูของตัวเองให้ฉันฟัง เห็นได้ชัดว่า วันเวลา ไมอ่ าจลบเลอื นความทรงจ�ำเกย่ี วกบั ครไู ดเ้ หมอื นเร่อื งอื่นๆ พออายุมากขน้ึ เราจะเข้าใจ ประสบการณ์วัยเด็กของตัวเองดีข้ึน แต่ไม่แน่ว่าจะท�ำให้ความทรงจ�ำ ความสุขใจ หรือ ความเจ็บปวดลดลง ดังจะเหน็ จากค�ำพูดในจดหมายของผอู้ า่ นตอ่ ไปนี้ 377

ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด เหตกุ ารณห์ นงึ่ ทฉ่ี นั จ�ำไดแ้ มน่ คอื ตอนครเู กรด 8 ขอใหน้ กั เรยี นเขยี นความเหน็ เก่ียวกับวิชาหนึ่ง ซึ่งจ�ำไม่ได้แล้วว่าเป็นวิชาอะไร หรือตอบว่าอะไร ฉันจ�ำได้แต่เสียง หวั เราะเยาะของครู ตวั เอฟสแี ดงทบ่ี อกวา่ ฉนั สอบตก และค�ำวจิ ารณว์ า่ “ตอบผดิ ” ทค่ี รู เขยี นไวด้ า้ นบนสดุ ของหนา้ แรก พอไปถามครเู รอื่ งคะแนน และยำ้� วา่ กค็ รอู ยากไดค้ วามเหน็ ของหนไู มใ่ ชเ่ หรอ ครหู วั เราะและบอกวา่ ครรู สู้ กึ วา่ เธอตอบผดิ ตอนนฉี้ นั อายุ 42 ปี แลว้ และเพ่งิ จะเรียนรู้เมื่อ 3 ปีก่อนน่เี องวา่ ความเหน็ ของฉันมีคุณคา่ และตวั ฉนั มีคา่ -ไดแอน เมอื งเซนต์แอลบันส์ รฐั เวสต์เวอร์จเิ นยี ฉนั จ�ำครเู กรด 1 ไดด้ ี แมจ้ ะผา่ นมาหลายปแี ลว้ กย็ งั เหน็ ภาพผหู้ ญงิ ทส่ี อนใหฉ้ นั อา่ นออก นบั แต่นั้นมาการอ่านกเ็ ป็นนิสยั ทท่ี �ำให้ชีวิตฉนั สดใสมากวา่ 50 ปี ฉันยงั จ�ำครูทีแ่ สนจะ จู้จีจ้ ุกจกิ ซึ่งสอนวิชาภาษาองั กฤษโบราณตอนเรียนปรญิ ญาตรีปี 1 ได้ จ�ำไดว้ า่ ครสู รา้ ง ปญั หาใหฉ้ นั มากแคไ่ หน และครฉู ลาดแคไ่ หน ครใู หข้ องขวญั อนั ยงิ่ ใหญแ่ กฉ่ นั ตอนบงั คบั ให้ฉนั ท�ำผลงานชั้นเลศิ เรายงั เปน็ มติ รทด่ี ีตอ่ กนั มาตลอด มีครมู ากมายที่โดดเด่นเหมือน ดวงดาวสอ่ งประกายอยู่บนฟากฟ้าของฉัน -อาเธอร์ ซัฟฟิลด์ รฐั คอนเนตตกิ ตั แม่กบั พอ่ หย่ากนั ตอนผมอายุราวๆ 9 หรอื 10 ขวบ แม่เรยี นจบแคเ่ กรด 8 พวกเราตอ้ ง ท�ำงานหนักมากเพ่อื ใหอ้ ยู่รอด ผมยงั จ�ำเสือ้ เช้ติ เนือ้ แข็งทที่ �ำจากถุงอาหารสัตว์ได้ชัดเจน เพราะความชว่ ยเหลอื บวกแรงกระตนุ้ ของโคช้ กบั ครทู รี่ กั และเหน็ อกเหน็ ใจนกั เรยี น ซงึ่ มี ความมงุ่ มน่ั เหมอื นคณุ นเี่ องทท่ี �ำใหผ้ มเรยี นตอ่ ไป ผมไดท้ นุ นกั กฬี าเรยี นตอ่ มหาวทิ ยาลยั และสมัครเป็นพลทหารในกองทัพอากาศของสหรัฐอเมริกาตอนเรียนปี 3 แล้วไปเข้า โปรแกรมฝึกอบรมการบิน พอจบก็ได้ตดิ ปกี ประดับยศกับเขา้ ประจ�ำการในวนั เดยี วกนั ผมเป็นนกั บนิ ประจ�ำเครือ่ งบินรบอยู่ 20 ปี และท�ำงานในกระทรวงกลาโหม 4 ปี จนได้ เลอ่ื นยศเปน็ นาวาอากาศเอก ผมลาราชการไปเรยี นจนจบปรญิ ญาตรี และไดป้ รญิ ญาโท จากการเรยี นภาคคำ�่ แถมยงั จบหลกั สตู รการจดั การความมนั่ คงของชาตจิ ากวอรค์ อลเลจดว้ ย 378

ตอนนี้ผมเป็นรองประธานและผู้จัดการใหญ่ของบริษัทการบิน ผมไม่ได้เล่าเร่ืองนี้เพื่อ ีอก20ปี... โออ้ วด แตอ่ ยากใหค้ ณุ รวู้ า่ ชวี ติ และอาชพี ทปี่ ระสบความส�ำเรจ็ มกั เรมิ่ ตน้ จากครทู อ่ี บอนุ่ และนา่ รักเสมอ -บัด สปริงเดล รฐั อารค์ นั ซอ ฉนั เปน็ ผหู้ ญงิ วยั 24 โรงเรยี นเปน็ ศตั รขู องฉนั ฉนั ถกู รงั แกและทรมาน ฉนั ทะเลาะววิ าท กบั คนมากมายและเริม่ เข้าแกง๊ ตอนฉนั ต่อสู้สองครง้ั แรก แมจ้ ะท�ำไปเพอ่ื ป้องกันตัวเอง แตย่ งั เจอปญั หาอยดู่ ี จนในทสี่ ดุ วนั หนงึ่ ฉนั เกดิ สตแิ ตก แลว้ ไลท่ บุ อนั ธพาลประจ�ำโรงเรยี น จนนว่ ม เดก็ อน่ื ๆ จงึ หนั มาใสใ่ จฉนั มากกวา่ เจา้ หนา้ ทข่ี องโรงเรยี น จากนน้ั ฉนั กเ็ ปน็ คนดงั ข้ึนเรื่อยๆ และพยายามทุกวิถีทางที่จะรักษาต�ำแหน่งหัวโจกไว้ ผู้ช่วยครูใหญ่พยายาม เข้ามาช่วยเหลือ แตพ่ อฉนั ตีกบั คนอืน่ เป็นคร้ังทส่ี าม คณะกรรมการบรหิ ารของโรงเรยี น จึงท�ำให้ผู้ช่วยครูใหญ่เช่ือได้ว่า ฉันเป็น “อันตรายต่อเด็กคนอ่ืน” ถ้าเพียงแต่จะมีครู แคค่ นเดยี วทใี่ สใ่ จ ฉนั คงไดไ้ ปเขา้ โรงเรยี นมธั ยมแลว้ แทนทจี่ ะตอ้ งมาเรยี นเพอื่ สอบเทยี บ เอาวฒุ มิ ธั ยมปลายตอนอายุ 17 ปี นกั เลงสว่ นใหญ่ในแวดวงทฉ่ี ันเติบโตมาก็ไม่ตา่ งกนั นน่ั คอื โดดเดยี่ ว รสู้ ึกวา่ ตัวเองไม่มีคา่ ไมม่ ีที่ทางใหเ้ ขา้ เปน็ พวกใครได้ และไมม่ ใี ครให้โอกาสหรือมองเหน็ ว่าเปน็ มนุษยค์ นหนึง่ เด็กส่วนใหญท่ ีเ่ ลวเหมอื นฉนั ไม่เขม้ แข็งพอทจ่ี ะลุกข้ึนมาต�ำหนิระบบวา่ ลา้ หลงั และปญั ญาอ่อน! สว่ นใหญก่ ลายเป็นพวกติดยา ติดคกุ หรอื ท่ีแย่กว่านั้นคอื พอมี ลกู ลกู ก็ไม่อยากเรียนหนังสือเหมือนตวั เอง -เดนา เพลซนทัน รฐั แคลิฟอรเ์ นยี ขา่ วดี ตอนนมี้ าถงึ ขา่ วดี แมจ้ ะไดจ้ ดหมายเชงิ ลบเกย่ี วกบั ครู แตม่ จี ดหมายเชงิ บวกสง่ มามากกวา่ เชงิ ลบเปน็ รอ้ ยเทา่ ซงึ่ ยนื ยนั ความเชอื่ ของฉนั ทวี่ า่ เรามคี รดู มี ากกวา่ ครแู ย่ และมมี ากขนึ้ เรอ่ื ยๆ หลายปกี อ่ นตอนไปนครนวิ ยอรก์ ฉนั โชคดแี ละดใี จทไ่ี ดพ้ บ บลิ พารก์ เฮสิ ต์ ผสู้ อื่ ขา่ ว โทรทัศน์กับนักเขียน เราคุยกันหลายเรื่อง และตอนหน่ึงก็วกกลับมาคุยเรื่องครู บิลเล่า 379

ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด เรื่องน่าท่ึงจริงๆ ให้ฟังว่า ตอนค้นข้อมูลเพ่ือเขียนนิยายจากอาชญากรรมท่ีเกิดขึ้นจริง เขาใช้เวลา 1 ปี ท�ำงานใกล้ชิดกับนักสืบเอกชน เพื่อจะเขียนเร่ืองของนักสืบในนิยาย ใหแ้ มน่ ย�ำและเปน็ จรงิ มากข้นึ บิลบอกว่า “ผมคิดว่า คุณจะสนใจและแปลกใจ ถ้ารู้ว่าผู้คนจ้างนักสืบเอกชน ท�ำอะไรมากท่ีสุด ไม่ใช่ให้เฝ้าดูว่าคู่สมรสนอกใจหรือเปล่า อย่างที่คนส่วนใหญ่คิด ผม สัมภาษณ์นักสืบกว่า 150 คน และทุกคร้ังท่ีเดินเข้าส�ำนักงานนักสืบ ส่ิงแรกที่ผมได้ยิน คือ ช่วยตามหาครูเกา่ ใหห้ น่อย เพราะอยากขอบคณุ ” บลิ พดู ถกู ฉนั สนใจและแปลกใจจรงิ ๆ ทไี่ ดร้ วู้ า่ มคี นมากมายทมุ่ เทความพยายาม ตามหาครู และดใี จเพราะรวู้ า่ มคี นอกี นบั รอ้ ยๆ ทคี่ ดิ จะท�ำแบบเดยี วกนั แสดงวา่ ครใู น ประเทศน้ีก�ำลงั ท�ำหนา้ ท่ีของตัวเอง นัน่ คือ ใหก้ ารศกึ ษาและเป็นแรงบนั ดาลใจใหเ้ ด็กๆ แม้จะมขี ่าวตามหนงั สอื พมิ พ์เก่ียวกับความลม้ เหลวของโรงเรียนกต็ าม แน่นอน ไม่มีวิธีท่ีจะบอกได้ว่า นักเรียนจดจ�ำอะไรเก่ียวกับคุณได้บ้าง แต่คุณ อาจจะเหน็ บางสว่ นของตวั เองในค�ำพดู ทต่ี ดั มาจากจดหมาย 3 ฉบบั ทร่ี วมอยใู่ นจดหมาย จ�ำนวนมากท่ีฉันได้รับ เพื่อแสดงความเห็นต่องานเขียนของฉัน คือ My Posse Don’t Do Homework กบั The Girls in the Back of the Class จดหมายฉบบั แรกมาจาก ผู้ชายทมี่ องข้ามความส�ำคัญของครู เรยี นครูลแู อนนท์ ีน่ ับถอื ผมไม่รู้จริงๆ ว่าจะเริ่มตรงไหนดี เมื่อคืนก่อนผมอ่านนิตยสาร Reader’s Digest และเจอเรื่องท่ีครูเขียน คือ The Girls in the Back of the Class ตามปกติ ผมไมอ่ า่ นอะไรทย่ี าวเกนิ 1 ยอ่ หนา้ แตก่ ลบั ใชเ้ วลาตลอดชว่ งอาหารกลางวนั มาอา่ น และคดิ ถงึ เรอื่ งทค่ี รเู ขยี น ผมรวู้ า่ ครไู มร่ จู้ กั ผม และคงเหน็ แลว้ วา่ ภาษาองั กฤษของผม ไมด่ เี ลย และผมไมช่ อบเขยี นอะไรดว้ ยซำ�้ แตร่ สู้ กึ วา่ ตอ้ งเขยี นถงึ ครู อยา่ ถามวา่ ท�ำไม อาจจะเป็นเพราะครูท�ำให้ผมร้องไห้ ผมไม่เคยร้องไห้ ยกเว้นตอนท่ีคนในครอบครัว 380 เสียชีวิตเทา่ นั้น

พออ่านจบ ผมเดินออกไปข้างนอก คืนน้ันอากาศเย็นและมืดมิด ผมท�ำงาน ีอก20ปี... บนแท่นขนสินค้าข้นึ รถบรรทกุ ตัง้ แต่ 3 ทุ่ม ถงึ 7 โมงเช้า ผมเดิน และเดินไปในทีท่ ไี่ ม่มี ใครเหน็ แลว้ รอ้ งไห้ และรอ้ งอยา่ งหนกั ผมมคี รทู เ่ี หมอื นครตู อนอยมู่ ธั ยม ครทู �ำทกุ อยา่ ง เพอ่ื ชว่ ยผมและพดู วา่ “เธอท�ำได”้ เปน็ รอ้ ยครงั้ ตอ่ อาทติ ย์ และชว่ ยใหผ้ มศรทั ธาในตวั เอง มากจนคิดวา่ ผมท�ำได้ทุกอย่าง เหตผุ ลส�ำคญั ทผี่ มอยากเขยี นถงึ ครู เพราะผมไมร่ จู้ รงิ ๆ วา่ ครขู องผมรสู้ กึ กบั ผม อย่างไร การอ่านเร่ืองของครูท�ำให้ผมเข้าใจอย่างลึกซึ้ง-โอ้โฮ ผมใช้ศัพท์สูงเลยนะเนี่ย ผมรู้วา่ ครขู องผมกบั ครูตา่ งกัน แตเ่ ชื่อว่าทัง้ สองคนรสู้ กึ กับนักเรียนเหมือนกัน ตอนอา่ น เรื่องท่ีครูเขียน ผมเห็นตัวเองอยู่ในนั้นหลายครั้ง ผมเห็นแก่ตัวและคิดถึงแต่ความรู้สึก ของตวั เอง ตอนนีผ้ มรูแ้ ลว้ วา่ ครูใสใ่ จผมจริงๆ และอยากมโี อกาสขอบคุณครูอีกคร้งั ดูสิ ครูท�ำให้ผมอยากร้องไห้อีกแล้ว ผมอยากกอดครูของตัวเองแน่นๆ และ ขอบคุณส�ำหรับทุกอย่าง ทเี่ ป็นก�ำลงั ส�ำคญั ในการสร้างรากฐานชีวติ ให้ผม -รกิ อบิลนี รัฐเทกซสั จดหมายฉบบั ทสี่ องเปน็ ของหญงิ สาวทเี่ ขยี นมาจากประเทศเยอรมนี และไปเรยี น แพทยท์ น่ี นั่ ในจดหมายเปน็ เรอื่ งของครทู เ่ี ธอเจอ ตอนเปน็ นกั เรยี นแลกเปลยี่ นทโ่ี รงเรยี น มธั ยมในสหรัฐอเมริกา สวัสดีลูแอนน์ ตอนเปน็ นกั เรยี นแลกเปลย่ี นทสี่ หรฐั อเมรกิ า ฉนั ถกู จบั ไปอยใู่ นชนั้ ทสี่ อนภาษาองั กฤษ เปน็ ภาษาทสี่ อง วนั นนั้ ฉนั ตดั สนิ ใจวา่ จะไมช่ อบครคู นนที้ ย่ี นื ยนั วา่ ฉนั ตอ้ งเขา้ โปรแกรม การสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาท่ีสอง ท้ังๆ ท่ีฉันพยายามจะออกจากโปรแกรมน้ี แต่ในทสี่ ดุ ก็ตอ้ งยอมแพ้ โดยไมร่ เู้ ลยว่าการเรยี นแบบน้จี ะช่วยชวี ติ ฉันได้ 381

ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด ฉันแน่ใจว่า ครูต้องเกลียดฉันท่ีก่อปัญหาทุกอย่าง ฉันคาดหวังว่า ครูจะไม่ ยอมรับฉนั แต่ครูกลับคอยสอบถามเกย่ี วกบั ตัวฉนั และการเรียนของฉัน ท�ำใหฉ้ นั สงสยั พฤตกิ รรมของครอู ยนู่ านมาก เพราะนกึ ไมอ่ อกวา่ จะมใี ครมาสนใจตวั ฉนั กบั ชวี ติ ของฉนั จริงๆ ฉันยังจ�ำวันที่ครูบอกว่า มาคุยกับครูได้เสมอ ตอนนั้นครูน่ังที่โต๊ะครู และพอฉัน ก�ำลงั จะออกจากหอ้ ง ครกู เ็ รยี กฉนั ไวแ้ ละพดู วา่ ครจู ะอยตู่ รงนเี้ สมอ ถา้ หนอู ยากคยุ ดว้ ย ฉนั ไม่เคยไดย้ นิ ใครพูดแบบน้นั มากอ่ น ตอนนั้นฉันมีทางเลอื กว่า จะตอบรบั หรือปฏิเสธ ก็ได้ แต่คิดว่าไม่เห็นจะเป็นอะไรน่ีนา เพราะถึงอย่างไรก็จะออกจากอเมริกาทันทีที่จบ ปีการศกึ ษา จึงลองเส่ียงตอบรบั ค�ำชวน และเรมิ่ เปิดใจกบั ครูทลี ะนดิ เมื่อแวดล้อมไปด้วยความเคารพ ความเข้าใจ และความรัก ฉันจึงบอกครูได้ ทกุ เรอ่ื งที่ตัวเองไม่ยอมรับมานานแลว้ พอจบปกี ารศกึ ษา ครูคนท่ฉี ันเคยตัดสนิ ใจว่าจะ ไมช่ อบ กลบั กลายเปน็ คนส�ำคญั ทส่ี ดุ ในชวี ติ ของฉนั มาจนทกุ วนั น้ี ครเู ปน็ คนแรกทบี่ อกวา่ รักและใส่ใจฉัน เชื่อมั่นในตัวฉันและความสามารถของฉันเสมอ แม้ครูจะอยู่อีกมุมโลก ก็ยังช่วยให้ฉันผ่านพ้นวิกฤตที่สุดคร้ังหนึ่งในชีวิตไปได้ ไม่นานหลังกลับจากอเมริกาถึง เยอรมนี แพทย์วินิจฉัยว่าฉันเป็นมะเร็ง มีเน้ืองอกท่ีรังไข่ จึงผ่าตัดและท�ำเคมีบ�ำบัด ตอนน้ันฉนั เหมือนตกนรก แตผ่ ่านการรักษาท่ียากล�ำบากน้ีไปได้ เพราะรวู้ า่ ยงั มคี นที่รกั และเคารพตัวตนท่ีแท้จริงของฉัน หลายครั้งท่ีใกลจ้ ะยอมแพ้ ครจู ะอยใู่ นใจและเตอื นให้ รวู้ ่า ฉนั มคี วามเขม้ แขง็ อยภู่ ายใน ถ้ามคี นทีร่ กั และใสใ่ จ คณุ จะรบั มอื กับเกอื บทุกสิง่ ในชวี ติ ได้ดี -ลีเซลิ ดุสเซลดอร์ฟ ประเทศเยอรมนี จดหมายฉบบั สดุ ทา้ ยมาจากชายหนมุ่ ในประเทศอนิ เดยี ทเี่ ขยี นมาหาฉนั สองครง้ั เขาเล่าเรื่องของครูที่น่าท่ึงในมหาวิทยาลัยกับโรงเรียนมัธยม น่ีเป็นจดหมายฉบับแรก ตอนเขาเรยี นชนั้ มธั ยม 382

เรยี นท่านที่นับถอื ีอก20ปี... ผมเปน็ เดก็ ชายอายุ 16 ปี ชอ่ื จสั กรี ติ แตค่ ณุ จะเรยี กผมวา่ อานู เหมอื นคนทบ่ี า้ นกไ็ ด้ วันท่ีอ่านบทความของคุณ ผมอยากติดต่อคุณมากท่ีสุด ด้วยเหตุผลหลายประการ แต่เหตุผลหลักคือ ผมมีครูที่เหมือนคุณ และผมช่ืนชมครูมากๆ แต่พอสอนพวกเรา ไปไดไ้ มก่ เี่ ดอื น ครกู ย็ า้ ยไปแคนาดา ผมชอ็ กไปเลย แตท่ �ำอะไรไมไ่ ด้ ผมเสยี ครไู ปแลว้ และอาจจะเสียไปตลอดกาล แตค่ วามทรงจ�ำอันแสนสุขจะอยใู่ นใจผมไปจนวนั ตาย ตอนอ่านบทความของคุณ ผมเห็นครูของผมในตัวคุณ และเริ่มคิดว่า มีมนต์วิเศษ อะไรในตวั คนอยา่ งครูทที่ �ำให้ผูค้ นประทบั ใจไปนานแสนนานท้งั ท่ีพบกนั แค่ชว่ งส้ันๆ วันที่เรารู้ผลการทดสอบมาตรฐานครั้งท่ี 10 ผมยืนน�้ำตาคลอ และอยากให้ครูรู้ว่า คนอยา่ งผมทค่ี นอน่ื เหน็ เปน็ แคน่ กั เรยี นธรรมดาๆ สอบได้ 91 เปอรเ์ ซน็ ต์ และเปน็ ท่ี 1 ของห้องในวิชาทค่ี รสู อน (วิทยาศาสตร์ทวั่ ไป) ผมเขียนจดหมายมาหาคุณ เพราะอยากบอกให้ครูรู้ว่า ผมรู้สึกอย่างไรกับครู และอยากขอบคณุ แตผ่ มท�ำไมไ่ ด้ จงึ อยากบอกคณุ แทน เพราะคณุ เปน็ เหมอื นครขู องผม ทเี่ ป็นคนดี อ่อนหวาน และน่ารัก ผมอยากเปน็ เพอื่ นกับคุณ เพราะต้องการปลดปล่อย ความรู้สึกทแี่ สดงให้คนอื่นเหน็ ไมไ่ ด้ ผมหวงั วา่ คุณจะยอมรบั มติ รภาพ และขอสญั ญาว่า จะไมร่ บกวนคุณมากนัก รักและนบั ถอื -อานู เมอื งโมเดลทาวน์ ประเทศอินเดีย หลายปีต่อมาฉันได้รับจดหมายอีกฉบับจากอานู เขาเล่าเรื่องครูอีกคนหน่ึง ที่เป็นอาจารย์ในมหาวิทยาลัย ซ่ึงคอยส่งเสริมและช่วยเหลือตอนเขาเจอปัญหาต่างๆ สมัยเป็นนักศึกษาปี 1 “เป็นเพราะอาจารย์ท่านนั้น และครูคนอื่นๆ ที่ใส่ใจนักเรียน ผมถงึ เรยี นจบด้วยคะแนนที่ดีมาก และคดิ วา่ คุณคงอยากรู้เร่อื งนี”้ สักวันหน่ึงนักเรียนท่ีคุณสอนตอนน้ีจะอยากขอบคุณท่ีคุณช่วยเหลือพวกเขา แม้คุณอาจจะไม่มีวันได้รับรู้ คนที่อยากขอบคุณจะไม่ใช่พวกนักเรียนเกรดเอ เพราะ 383

ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด ส่วนใหญ่เคยขอบคุณครูมาแล้ว แต่คนท่ีอยากขอบคุณจะเป็นพวกนักเรียนที่สอนยาก พวกที่บางครั้งท�ำให้คุณอยากเลิกเป็นครู แต่ที่น่าขันคือ เด็กดื้อพวกน้ีนี่เองที่อยากได้ ความรักจากคุณมากท่ีสุด และบางครั้งคุณอาจเป็นผู้ใหญ่เพียงคนเดียวเท่าน้ันท่ีรัก พวกเขาจริงๆ ในฐานะตวั แทนของนกั เรยี นทห่ี าครไู มเ่ จอ หรอื อายเกนิ กวา่ จะยอมรบั วา่ ตอ้ งใช้ เวลานานแคไ่ หนจึงส�ำนึกบุญคณุ ของครูได้ ผมอยากขอบคุณท่คี ุณเป็นครู ขอบคุณ ขอบคณุ ขอบคุณ -อานู เมืองโมเดลทาวน์ ประเทศอนิ เดีย 384

ีอก20ปี... ประเด็นสำ�หรบั การอภิปราย 1. บรรยายเรื่องครูของคุณทั้งครูที่ดีที่สุดและที่แย่ที่สุด พวกครู เหลา่ น้นั มีอิทธพิ ลต่อวธิ ที ่ีคุณสอนอยา่ งไร 2. คุณอยากให้นักเรียนจดจ�ำอะไรเก่ียวกับตัวคุณบ้างในอีก 20 หรือ 30 ปี ตอ่ จากนี้ 385

ภาค ผนวก

ฉันมีหนังสือเป็นร้อยๆ เล่ม วางอยู่บนช้ัน และเว็บไซต์ “โปรด” นับสิบๆ แห่ง บนคอมพิวเตอร์ จึงเลือกยากจริงๆ แต่คิดว่า รายการต่อไปนี้น่าจะเป็นแหล่ง ขอ้ มลู และแรงบนั ดาลใจทดี่ ที สี่ ดุ ส�ำหรบั ครู (และพอ่ แมท่ ส่ี อนลกู เองทบี่ า้ น หรอื พอ่ แมท่ อี่ ยากรวู้ า่ เดก็ ๆ มวี ธิ เี รยี นรอู้ ยา่ งไร) เวบ็ ไซตก์ บั หนงั สอื ทเ่ี ลอื กมานเ้ี นน้ ที่ การแบง่ ปนั ขอ้ มลู ไมใ่ ชเ่ พอื่ ขายสนิ คา้ แหลง่ ทรพั ยากรหลายอยา่ งทแี่ นะน�ำมลี งิ ก์ เชื่อมโดยตรง หรือข้อแนะน�ำให้ไปอ่านเพ่ิมเติม ...เพื่อให้แบ่งปันกันต่อๆ ไป ถ้าคณุ เจออะไรในนท้ี ่มี ีประโยชน์ กรุณาส่งต่อใหค้ นอื่นด้วย รายการหนังสอื ทยี่ อดเยี่ยม 11 เลม่ Right-Brained Children in a Left-Brained World: Unlocking the Potential of Your ADD Child โดย เจฟฟรีย์ ฟรดี กับ ลอรี พารส์ นั ส์ (นวิ ยอรก์ : ไฟรไ์ ซด,์ ปี 1998) ฉันมักจะแนะน�ำหนังสือเล่มน้ีให้พ่อแม่ ครู และทุกคนท่ีท�ำงานกับเด็ก หรือวัยรุ่นลอง อ่านดู ฟรดี เคยเปน็ ครู และตอนนีท้ �ำงานเปน็ ทปี่ รกึ ษาฝ่ายการศึกษา เขาอุทิศเวลาเพื่อ ช่วยนักเรียนท่ีมีอาการสมาธิส้ันโดยเฉพาะ เพราะเห็นผลเชิงบวกจากวิธีของตัวเอง จึง ยืนยันว่า อันท่ีจริงเด็กสมาธิสั้นส่วนใหญ่เป็นเด็กปัญญาเลิศ เขาถกปัญหาเรื่องอาหาร กบั ยา แตเ่ น้นหนกั ท่เี ทคนิคซึ่งจะช่วยให้เดก็ ๆ ยอมรับและใชพ้ รสวรรคข์ องตัวเอง Brain-Compatible Strategies โดย เอรคิ เจนเซน (เทาซันด์ โอกส์, แคลฟิ อรเ์ นยี : คอร์วิน เพรส, ปี 2004) หนงั สอื 84 หนา้ เลม่ นี้ อดั แนน่ ไปดว้ ยขอ้ แนะน�ำกบั ยทุ ธวธิ นี บั รอ้ ยๆ อยา่ ง ตามหลกั การ ของประสาทวทิ ยาศาสตร์ เพอ่ื เปลย่ี นหอ้ งเรยี นใหก้ ลายเปน็ สถานทแ่ี สนสนกุ และเปน็ มติ ร กบั สมอง เจนเซนเขยี นหนงั สือชนั้ ยอดมากมายส�ำหรับครู และเปน็ นักพัฒนาพนกั งาน กับสมาชิกของสมาคมประสาทวิทยาศาสตร์ 387 ภาคผนวก

ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด Teaching with the Brain in Mind โดย เอรคิ เจนเซน (อเลก็ ซานเดรยี , เวอรจ์ เิ นยี : สมาคมควบคมุ และพฒั นาหลกั สตู ร, ปี 1998) หนงั สอื เล่มนอ้ี าจจะเก่าไปหน่อย แตย่ งั อยูใ่ นรายการหนังสอื โปรด 10 เล่มของฉนั มคี �ำ อธบิ ายทางวทิ ยาศาสตรท์ เี่ ขา้ ใจงา่ ยเกยี่ วกบั วธิ ที �ำงานของสมอง ฉะนนั้ จงึ เปน็ ทรพั ยากร มคี า่ ส�ำหรบั ครู และมปี ระโยชนอ์ ยา่ งยงิ่ หากตอ้ งการเขา้ ใจวา่ อารมณ์ ความเครยี ด รางวลั และการเคลอื่ นไหว มีผลกระทบตอ่ ความจ�ำ ความใส่ใจ ความหมาย การสร้างแรงจูงใจ และการเรยี นร้อู ยา่ งไร Teach Like a Champion: 49 Techniques That Put Students on the Path to College โดย ดกั๊ เลมอฟ (ซานฟรานซิสโก: จอสซีย์-บาสส์, ปี 2010) หนังสือเล่มน้ีมีกลยุทธ์ที่น�ำไปปฏิบัติได้และค�ำแนะน�ำเฉพาะส�ำหรับการน�ำไปใช้ เป็น ทรัพยากรท่ีดีมากส�ำหรับครูท่ีอยากรู้ว่า จะต้องท�ำอะไรและอย่างไรแบบเป๊ะๆ โดยใช้ เทคนคิ ท่ีพสิ ูจน์แล้ว เช่น โทรไปหา ส่งอเี มลไปให้ หรือตดิ ต่อทางเครือข่ายสังคม เพอ่ื คง การมีส่วนร่วมไว้เต็มร้อย และเช็คความเข้าใจของนักเรียน แถมมีดีวีดีที่เป็นคลิปวีดีโอ ของพวกครูซึ่งใช้เทคนิคพวกนี้สอนนักเรียนที่โรงเรียนท่ัวประเทศในสังกัดขององค์กร ไม่แสวงหาก�ำไรชือ่ อันคอมมอนสกลู ส์ (Uncommon Schools) How the Brain Learns (พมิ พ์คร้ังที่ 3) โดย เดวดิ ซูซา (เทาซันด์ โอกส,์ แคลิฟอรเ์ นีย: คอรว์ นิ เพรส, ปี 2006) ฉันใช้หนังสือเล่มนี้ตอนสอนนักศึกษาครู ผู้เขียนเริ่มด้วยข้อเท็จจริงพื้นฐานเก่ียวกับวิธี ท�ำงานของสมอง และเล่าถึงการวิจัยเก่ียวกับสมองและการเรียนรู้ (ซีกสมองที่เด่น การเรียนรู้ภาษา หน้าต่างแห่งโอกาส และความจ�ำกับการรักษาไว้) รวมท้ังแนะน�ำวิธี น�ำไปประยุกตใ์ ช้ในห้องเรียน 388

Read Right: Coaching Your Child to Excellence in Reading ภาคผนวก โดย ดี แทดลอ็ ก (นิวยอร์ก: แมค็ กรอ-ฮลิ ล,์ ปี 2005) ดี แทดล็อก เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการอ่าน เธอคับข้องใจมากเมื่อไม่มีใครสอนลูกชาย ท่ีฉลาดให้อ่านออกได้ จึงลาออกจากงาน แล้วกลับไปเรียนต่อในวิทยาลัย เพื่อศึกษา เกย่ี วกบั สมอง เธอคดิ คน้ วธิ สี อนการอา่ น ซงึ่ ไดร้ างวลั มากมาย และมผี เู้ ลอ่ื มใสจ�ำนวนมาก แทดลอ็ กตงั้ สมมตฐิ านวา่ ผอู้ า่ นตอ้ งมคี วามคดิ ทช่ี ดั เจนมากในสมองวา่ การอา่ นทดี่ ที �ำให้ รู้สึกอย่างไรและออกเสียงอย่างไร เพ่ือให้สมองปรับเปล่ียนขณะท่ีผู้อ่านเรียนรู้ หนังสือ เลม่ นีค้ ุ้มคา่ ท่ีจะอา่ นแน่นอน ส�ำหรบั ครูและพอ่ แม่ทีส่ นใจจะชว่ ยเหลือผอู้ า่ นทม่ี ีปญั หา Tools for Teaching โดย เฟรด็ โจนส์ (ซานตาครซู , แคลิฟอรเ์ นีย: เฟรด็ โจนส์ แอนด์ แอซโซซิเอตส,์ ปี 2000) หนงั สอื เลม่ นเี้ ปน็ คมู่ อื และค�ำแนะน�ำส�ำหรบั ครเู ลม่ หนงึ่ ทฉี่ นั ชอบมาก เพราะโจนสร์ เู้ รอ่ื ง การสอนเป็นอย่างดี เขาเขียนไว้ในค�ำน�ำว่า หนังสือเล่มน้ีเป็น “สุดยอดของทุกอย่างท่ี ผมได้เรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการห้องเรียน” เขาเขียนได้ละเอียดลออครบถ้วนอย่าง ไม่น่าเชื่อและสนุกมาก โดยมีลูกชายเป็นคนวาดภาพประกอบ หนังสือคู่มือส่ีสีเล่มน้ี คุม้ คา่ จริงๆ The Highly Sensitive Person โดย อีเลน แอรอน (นวิ ยอรก์ : บรอดเวยบ์ ๊กุ ส์, ปี 1997) ธรรมชาตขิ องครเู ปน็ คนทช่ี อบหลอ่ เลยี้ งดแู ลผอู้ นื่ และครจู �ำนวนมากออ่ นไหวงา่ ย แอรอน ใหข้ อ้ แนะน�ำส�ำหรบั การรบั มอื กบั ความรสู้ กึ ทว่ มทน้ เวลาเจอสงิ่ เรา้ แมค้ รทู ไ่ี มอ่ อ่ นไหวนกั ก็ได้ประโยชน์จากข้อแนะน�ำบางอย่างเช่นกัน หนังสือเล่มน้ีมีข้อแนะน�ำส�ำหรับครูที่ ท�ำงานกบั เดก็ ๆ ทอ่ี อ่ นไหว (หากคดิ วา่ ขอ้ แนะน�ำมปี ระโยชน์ ใหล้ องอา่ นหนงั สอื เลม่ อนื่ ๆ ของแอรอนด้วย) 389

ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด The Curious Incident of the Dog in the Night โดย มารก์ แฮดดอน (นิวยอร์ก: ดบั เบิลเดย,์ ปี 2003) นิยายอ่านสนุกเล่มนี้ใช้ประโยชน์ได้สองอย่าง คือ เป็นหนังสือเพื่อการเรียนรู้ส�ำหรับครู และนยิ ายอา่ นเลน่ ทดี่ มี ากส�ำหรบั วยั รนุ่ ครทู ไ่ี มค่ อ่ ยเขา้ ใจอารมณค์ วามรสู้ กึ เดก็ ออทสิ ตกิ หรือไม่ค่อยผูกพันทางอารมณ์กับเด็กๆ อาจจะได้ความเข้าใจท่ีลึกซึ้งบางประการ และ นกั เรยี นชอบอา่ นเรอ่ื งราวของเดก็ ชายออทสิ ตกิ วยั 15 ปี ทเี่ กง่ กาจขนาดแกโ้ จทยส์ มการ คณติ ศาสตรซ์ ับซ้อนในใจได้ แตก่ ลบั ไม่เข้าใจอารมณธ์ รรมดาๆ ท่สี ุดของมนุษย์เลย It’s So Amazing! A Book About Eggs, Sperm, Birth, Babies, and Families โดย โรบี เอช. แฮร์ริส (เคมบริดจ์, แมสซาชเู ซตส:์ แคนเดิลวกิ เพรส, ปี 1999) น่ีเป็นหนังสือโปรดตลอดกาลเล่มหนึ่งของฉัน ไมเคิล เอ็มเบอร์ลีย์ เขียนภาพประกอบ ได้น่าท่งึ ที่สุด ซึง่ แสดงให้เห็นเด็กๆ กับผูใ้ หญ่ ที่มรี ปู รา่ งทกุ แบบ ทกุ ขนาด และทกุ สผี ิว บรรยายโดยนกกบั ผงึ้ เปน็ หนงั สอื ทด่ี มี ากส�ำหรบั เดก็ ๆ ทส่ี งสยั วา่ ทารกมาจากไหน และ เหมาะที่สุดส�ำหรับการสอนวิชาเพศศึกษาด้วย นักเรียนโตๆ อาจจะชอบอ่านเนื้อหาท่ี น่าเขินในหนงั สอื ท่ีมขี อ้ เทจ็ จริง แต่อา่ นสนุกและขบขันด้วย Practical Classroom Management โดย เวิรน์ โจนส์ (บอสตัน: เพียรส์ ัน, ปี 2011) ข้อแนะแนวส�ำหรับครูในห้องเรียนเล่มนี้ดีเยี่ยมจนได้เกรดเอบวกไปเลย เพราะเน้นท่ี การสร้างความสัมพันธ์เชิงบวกระหว่างครูกับนักเรียน ไม่ใช่เทคนิคการสร้างวินัยด้วย การลงโทษ ซงึ่ มกั ใหผ้ ลตรงขา้ มกบั ทค่ี ดิ ไว้ โดยเฉพาะเมอื่ ครทู ด่ี อ้ ยประสบการณน์ �ำไปใช้ และมีค�ำแนะน�ำมากมายในทุกๆ บท ต้ังแต่การท�ำงานกับพ่อแม่เพ่ือเพ่ิมแรงจูงใจให้ นกั เรยี นอยากเรยี นรู้ และในตอนท้ายของทกุ บทมรี ายการหนังสอื ดีๆ ทแี่ นะน�ำให้อ่าน ผู้เขียนเคยเป็นครูโรงเรียนมัธยมต้นและรองอาจารย์ใหญ่ ปัจจุบันเป็นหัวหน้าแผนก การฝึกหัดครู ในวิทยาลัยลอู สิ แอนดค์ ลารก์ เขารเู้ รือ่ งการจดั การห้องเรยี นดจี รงิ ๆ! 390

เว็บไซต์แนะน�ำ ภาคผนวก www.learner.org เปน็ แหลง่ ทรพั ยากรทน่ี า่ ทง่ึ ส�ำหรบั ครแู ละผเู้ รยี น ไดท้ นุ สนบั สนนุ จาก แอนเนนเบริ ์กมีเดีย เว็บไซตน์ มี้ วี ดี โี อออนไลนเ์ ก่ยี วกับการสอนและการเรียนรู้ใหช้ มกวา่ 2,000 เรอ่ื ง โดยแบง่ เปน็ รายวชิ า เชน่ ศลิ ปะ ภาษา วทิ ยาศาสตร์ สงั คม และคณติ ศาสตร์ ครสู ามารถคน้ เนอ้ื หาไดต้ ามระดบั ชนั้ หรอื วชิ า วดี โี อหลายเรอื่ งมแี หลง่ ทรพั ยากรกบั ลงิ ก์ เพ่มิ เติม www.sitesforteachers.com/index.html มีลิงก์มากมายส�ำหรับแผนการสอน การศกึ ษาทางอนิ เทอรเ์ นต็ เพลง คลปิ อารต์ และเครอื ขา่ ยสงั คม มที กุ อยา่ งทค่ี รตู อ้ งการ เลยทเี ดยี ว www.busyteacherscafe.com เวบ็ ไซตส์ �ำหรับครูเกรด 6 มีทัง้ หัวข้อหลักๆ ยุทธวธิ ี และทรัพยากรต่างๆ เช่น ใบงานที่อนุญาตให้พิมพ์ได้ส�ำหรับวิชาการอ่าน การเขียน คณิตศาสตร์ และภาษาสเปน มีปฏิทินท่ีปรับได้ตามความต้องการ แผนผังพฤติกรรม และจดหมายข่าวของห้องเรยี น teachers.net มีกระดานสนทนา แผนการสอน โครงการ บล็อก และบทความ โดย แฮรี วอง กบั เพ่ือนๆ รายการต�ำแหน่งงานทีก่ �ำลังรับสมคั ร ใบงานท่ีอนุญาตให้พิมพไ์ ด้ ส�ำหรับครทู ุกชน้ั และทกุ วิชา ถา้ คณุ มีแผนการสอนดๆี ก็ส่งไปทีน่ ีไ่ ด้ www.theteacherscorner.net มที รพั ยากรฟรสี �ำหรบั ครู ใบงานทอ่ี นญุ าตใหพ้ มิ พไ์ ด้ หัวข้อส�ำหรับการเขียนประจ�ำวัน เพ่ือนทางจดหมาย รายการต�ำแหน่งงานที่ก�ำลัง รบั สมคั ร โครงการที่ท�ำรว่ มกัน กระดานขา่ วสาร ฯลฯ www.schoolrack.com บรกิ ารฟรสี �ำหรับครเู กรด 12 รวมท้งั เวบ็ ไซต์ฟรสี �ำหรับครู 391

ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด www.educatorpages.com เว็บไซต์น้ีอนุญาตให้ครูสร้างเว็บไซต์ของตัวเองได้ฟรี โดยไมจ่ �ำกัดจ�ำนวนหน้าเพจ www.behavioradvisor.com/CatchGood.html น่าเสียดายท่ีเว็บไซต์หลักต้อง ลงทะเบยี นเพอื่ เขา้ ใช้ และมโี ฆษณาเยอะมาก แตโ่ ชคดที ค่ี ณุ เขา้ ไปอา่ นบทความยอดเยยี่ ม ชอ่ื “วธิ สี งั เกตเหน็ ตอนเดก็ ท�ำตวั ดี (Ways to Catch Kids Being Good)” ไดโ้ ดยไมต่ อ้ ง ลงชอื่ เขา้ ใช้ และมลี งิ กเ์ ชอื่ มไปสปู่ ระสบการณใ์ นชวี ติ จรงิ ของครู ทย่ี กยอ่ งการมงุ่ ความสนใจ ไปกับสิ่งทเี่ ด็กๆ ท�ำถูก ไมใ่ ชท่ ท่ี �ำผดิ www.positivediscipline.com สมาคมระเบียบวินัยเชิงบวก (Positive Discipline Association) เปน็ องคก์ รไมแ่ สวงหาก�ำไรทที่ �ำงานตามหลกั การของ อลั เฟรด แอดเลอร์ นกั จติ วเิ คราะหช์ าวออสเตรยี ซง่ึ เชอ่ื วา่ มนษุ ยท์ กุ คนเทา่ เทยี มกนั และควรไดร้ บั การปฏบิ ตั ิ อย่างมีศักดิ์ศรีและเคารพ โปรแกรมนี้ส่งเสริมและกระตุ้นการพัฒนาทักษะชีวิตกับ ความสมั พนั ธท์ นี่ า่ นบั ถอื ในระบบครอบครวั โรงเรยี น ธรุ กจิ และชมุ ชน เจน เนลเซน กบั ลนิ น์ ลอตต์ ท�ำงานต่อจากงานของแอดเลอร์ แมเ้ วบ็ ไซตน์ ้จี ะโปรโมตหนังสือและนกั พูด ของสมาคมเปน็ หลกั แตม่ บี ทความประเทอื งปญั ญาทมี่ ปี ระโยชนใ์ หอ้ า่ นมากมาย (ดลู งิ ก์ ทด่ี า้ นบนของเพจ) ส�ำหรบั ครู และพอ่ แม่ รวมทงั้ “18 วธิ ี ทจ่ี ะหลกี เลย่ี งการตอ่ สชู้ งิ อ�ำนาจ (18 Ways to Avoid Power Struggles)” และ “จะจูงใจวัยรุ่นได้อย่างไร (How Do You Motivate a Teen?)” เวบ็ ไซตน์ เ้ี หมาะกบั ผใู้ หญท่ กี่ �ำลงั หาวธิ สี รา้ งวนิ ยั ทไ่ี ดผ้ ล และ มีวีดโี อให้ชมฟรที างยูทูบด้วย www.accelerated.org นกั การศกึ ษาทต่ี อ้ งการขอ้ พสิ จู นว์ า่ เปน็ ไปไดท้ จี่ ะสรา้ งโรงเรยี น ให้ประสบความส�ำเรจ็ จะพบแรงบันดาลใจในเว็บไซต์น้ี ครหู นุม่ สองคนทม่ี ีความคดิ เชิง อดุ มคติ ไดร้ ิเรม่ิ โรงเรียนในก�ำกับของรฐั เมือ่ ปี 1994 ในเมืองลอสแอนเจลสิ เดก็ ทกุ คน ที่โรงเรียนแอกเซอเลอเรเทิด (Accelerated School) จะได้รับการปฏิบัติเหมือนเปน็ 392 เดก็ อจั ฉรยิ ะ และพวกเขาสามารถบรรลคุ วามคาดหวงั ทตี่ งั้ ไวส้ งู ได้ หลกั สตู รของโรงเรยี น

รวมเอาวฒั นธรรม วจิ ติ รศลิ ป์ และกจิ กรรมทางกาย อยา่ งเชน่ โยคะ ไวด้ ว้ ย และดทู า่ วา่ การผสมผสานแบบนจี้ ะไดผ้ ล ท�ำใหอ้ ตั ราการเขา้ เรยี นของเดก็ สงู กวา่ รอ้ ยละ 90 คะแนน ทดสอบส�ำหรบั การอา่ นกับคณิตศาสตร์สงู ขนึ้ เร่ือยๆ และมีการขยายสาขาของโรงเรียน ออกไปอีกหลายแหง่ http://homepage.smc.edu/zehr_david/brent%20staples.htm เวบ็ ไซตน์ ี้ มีเรียงความที่ยอดเยี่ยม ซึ่งเป็นฉบับเต็มให้อ่านทางออนไลน์ ของเบรนต์ สเตเพิลส์ เรอ่ื ง “แคเ่ ดนิ ต่อไป: ชายผวิ ด�ำครุน่ คิดถงึ อ�ำนาจของตัวเองที่จะเปลยี่ นพ้นื ทส่ี าธารณะ (Just Walk on By: A Black Man Ponders His Power to Alter Public Space)” ซงึ่ ตพี มิ พค์ รงั้ แรกในนติ ยสาร Ms. เมอ่ื ปี 1986 สเตเพลิ สเ์ กดิ ในครอบครวั ยากจนในเมอื ง และจบปริญญาเอกสาขาจิตวิทยา แล้วท�ำงานเป็นนักหนังสือพิมพ์มีช่ือ อยู่ในกอง บรรณาธกิ ารของ The New York Times ครูทุกคนต้องอ่านเรียงความฉบับนี้ หากต้องการฟื้นฟูความนับถือตัวเองและ ความมนั่ ใจของหนมุ่ ผวิ ด�ำทที่ กุ ขท์ รมานจากการทคี่ นอน่ื กลวั เขาอยา่ งไรเ้ หตผุ ล เรยี งความ ของสเตเพิลส์จะให้ความกระจ่างและเป็นแรงบันดาลใจที่ดี แม้ไม่อาจเยียวยาความ เจบ็ ปวดได้ แต่จะแสดงให้ชายหนุ่มที่เปน็ ชนกลมุ่ น้อยไดเ้ ห็นว่า ตัวเองไมโ่ ดดเดย่ี ว และ ยังชว่ ยให้เรยี นรู้การรบั มอื กบั อคตเิ ชงิ ดแู คลนท่แี ผไ่ ปอย่างกว้างขวางในหมู่ชาวอเมรกิ นั ท่ไี มส่ ามารถหรือไม่เตม็ ใจกา้ วข้ามอคตแิ บบนี้ www.adbusters.org เว็บไซต์นี้ดีเย่ียมส�ำหรับเด็กโตและครูท่ีก�ำลังหาบทความแบบ กระตุ้นความคิดไปใช้ในการอภิปรายในชั้นเรียน ในการวิจัย และการเขียนเรียงความ รับรองว่าโฆษณาล้อเลียนบุหรี่ อาหารจานด่วน และแฟช่ันในเว็บน้ีจะดึงดูดใจเด็กๆ ท่ี เริ่มตระหนักวา่ นักโฆษณาบงการชวี ติ ของตัวเองได้อย่างไร แตร่ ะวงั หนอ่ ย เพราะเว็บน้ี ได้ทุนสนับสนุนจากกลุ่มนักสร้างสรรค์ (อยู่ในประเทศแคนาดา และเรียกตัวเองว่า “เครือข่ายระดับโลกของศิลปนิ นกั กจิ กรรม นกั เขยี น คนขเ้ี ล่น นักเรียน นกั การศึกษา และผปู้ ระกอบการ ทอ่ี ยากสง่ เสรมิ ความกา้ วหนา้ ของขบวนการนกั กจิ กรรมทางสงั คมใหม่ ในยุคข่าวสาร)” และนานๆ ครั้งกใ็ ช้ค�ำหยาบบ้าง 393 ภาคผนวก

ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด www.bbc.co.uk/learning ถ้าวันน้ีคุณจะเข้าไปดูเว็บไซต์เพียงเว็บเดียว ก็ขอให้ เปน็ เวบ็ ไซตน์ ้ี และตอ้ งมนั่ ใจวา่ มเี วลาวา่ ง เพราะพอเขา้ แลว้ จะไมอ่ ยากออก เวบ็ ไซตน์ เ้ี ปน็ ของ บรรษทั การกระจายเสยี งแหง่ องั กฤษ (British Broadcasting Corporation) ซงึ่ อนญุ าต ให้ทุกคนตั้งแต่เด็กก่อนวัยเรียนไปจนถึงผู้ใหญ่เข้าไปเรียนทางออนไลน์ได้ บนโฮมเพจ มีหัวข้อให้เลือกมากมาย ตั้งแต่ศาสนาและจริยธรรม ไปจนถึงศิลปะและการออกแบบ หมวดท่ีเปน็ หลักสตู รฟรที างออนไลนก์ น็ า่ ดู แตฉ่ นั ชอบรายการในหมวดการศึกษาและ วิชาต่างๆ ซ่ึงมีทางเลือกมากมาย รวมทั้ง “ทรัพยากรส�ำหรับครู--โรงเรียนบีบีซี (BBC Schools-Teacher Resources)” ครูจะเลือกตามกลุ่มอายุ ต้ังแต่พวกก่อนวัยเรียน อายุ 4-11, 11-16 หรือ 16 ปีขึ้นไปก็ได้ แต่ละกลุ่มมีบทเรียน เกม และการทดสอบ โดยไม่มีโฆษณาโผล่มาให้ร�ำคาญใจ เหมือนที่เห็นในเว็บไซต์ที่มีเกมการศึกษาออนไลน์ ของอเมริกัน เปน็ ทช่ี ดั เจนวา่ เวบ็ ไซตน์ อ้ี ทุ ศิ ตนใหก้ บั การเรยี นรแู้ ละการส�ำรวจลงิ กอ์ นื่ ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง มบี ทเรยี นใหใ้ ชไ้ ดห้ ลายเดอื นหรอื หลายปี ครทู ส่ี อนภาษาองั กฤษเปน็ ภาษาทสี่ องจะพบวา่ เกมสะกดค�ำและการอา่ นส�ำหรบั เดก็ อายุ 4-11 ปี เหมาะทสี่ ดุ ส�ำหรบั ผเู้ รยี นทงั้ ระดบั ตน้ และชั้นสูง บนหน้าเพจหลักมีหลายหมวดหมู่ท้ังผู้ใหญ่ โรงเรียน พ่อแม่ ครู การศึกษา ทางไกล (หลักสูตรฟรีทางออนไลน์) และวิชาต่างๆ ครูคงเห็นว่าเห็นลิงก์ของวิชาต่างๆ มีประโยชน์ที่สุด เช่น ถ้าเลือกวิชาภาษาอังกฤษ จะเจอลิงก์ส�ำหรับการสอนอ่านเขียน ในโรงเรยี นประถมศกึ ษา ทกั ษะการใชค้ �ำ บรกิ ารทวั่ โลกส�ำหรบั ผเู้ รยี นภาษาองั กฤษ และ อ่ืนๆ อีกมากมาย ลิงกห์ นงึ่ ที่ฉนั ชอบคือ BBC Primary School- Literacy ฉันชอบเกม เคลอื่ นไหวใน Magic Key, Bitesize Literacy, Little Animals Activity Centre และ Words and Pictures ท่ีมี ซอลตี แซม ช่วยเด็กๆ อ่านค�ำในโปสการ์ดสีสันสดใส และ Colin the Clam มเี กมสอ์ า่ นออกเสยี งใหถ้ กู ตอ้ งทส่ี นกุ ๆ Bitesize Literacy มแี บบฝกึ หดั ใหเ้ ลอื กมากมายส�ำหรบั การอา่ นออกเสยี งใหถ้ กู ตอ้ ง ค�ำคลอ้ งจอง การสะกดค�ำ การใชค้ �ำ สรรพนาม เครอ่ื งหมายวรรคตอน ค�ำเหมอื น เรยี งล�ำดบั พยญั ชนะ ฯลฯ Bitesize Maths มเี กมฝกึ การบวก การลบ บอกเวลา เรยี งตวั เลข การชง่ั ตวงวดั เงนิ ตรา คา่ ประจ�ำหลกั ฯลฯ ถา้ คณุ จะดแู คเ่ วบ็ ไซตเ์ ดยี ว กต็ อ้ งเปน็ เวบ็ ไซตน์ เ้ี ลย ถา้ คอมพวิ เตอรข์ องคณุ ไมม่ โี ปรแกรม Adobe Reader เว็บไซต์นี้จะมีลิงก์เช่ือมไปที่ BBC Webwise เพ่ือช่วยให้คุณติดต้ัง 394 โปรแกรมได้

www.englishpage.com น่ีเป็นอีกแหล่งทรัพยากรหน่ึงที่ดีส�ำหรับครูสอนภาษา ภาคผนวก รวมทงั้ ครทู สี่ อนภาษาองั กฤษเปน็ ภาษาทส่ี องมบี ทเรยี นไวยากรณร์ ายสปั ดาห์การสรา้ งค�ำ และการตวิ ไวยากรณ์ รวมทง้ั การทดสอบและเกมตา่ งๆ ทที่ �ำใหเ้ วบ็ ไซตน์ ชี้ นะเลศิ พจนานกุ รม ออนไลน์กม็ ีประโยชนม์ าก โดยเฉพาะส�ำหรับนักเรยี นยากจน ทอ่ี าจไมม่ พี จนานกุ รมดๆี ทบ่ี า้ น จดุ เดน่ ของเวบ็ ไซตน์ คี้ อื หอ้ งอา่ นออนไลน์ ซง่ึ มบี ทความดๆี ใหอ้ า่ นฟรจี ากหนงั สอื พมิ พ์ ต่างๆ ในสหรฐั อเมรกิ า สหราชอาณาจกั ร แคนาดา ออสเตรเลีย นวิ ซีแลนด์ แอฟริกาใต้ และอินเดีย รวมทั้งนิตยสารยอดนิยมมากมาย และนิยายคลาสสิกฉบับเต็มให้อ่านทาง ออนไลน์ ตง้ั แต่ Alice’s Adventures in Wonderland ไปจนถงึ This Side of Paradise www.EdibleSchoolyard.org เวบ็ ไซตช์ วนมองนมี้ ตี น้ แบบชน้ั ยอดส�ำหรบั ทกุ โรงเรยี น โดยเฉพาะครูวิทยาศาสตร์ที่อยากให้นักเรียนได้ประสบการณ์ภาคปฏิบัติท่ีลืมไม่ลง เอดิเบิลสคูลยาร์ด (Edible Schoolyard) เป็นโปรแกรมไม่แสวงหาก�ำไรในโรงเรียน มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ มารต์ นิ ลเู ธอร์ คงิ จเู นยี ร์ ทเี่ มอื งเบริ ก์ ลยี ์ รฐั แคลฟิ อรเ์ นยี โปรแกรม การปรุงอาหารและท�ำสวนเกิดจากความร่วมมือระหว่างแม่ครัวชื่อดังระดับโลกอย่าง อลิซ วอเตอส์ กับ นีล สมิท อดีตครูใหญ่ของโรงเรียน โดยเปลี่ยนท่ีจอดรถขนาดใหญ่ กว่า 1 เอเคอร์ พื้นยางมะตอย ให้กลายเป็นพ้ืนที่ปลูกพืช เพ่ือท�ำให้ดินอุดมสมบูรณ์ เม่ือปี 1997 โรงเรียนได้ปรับปรุงครัวของโรงอาหารที่ถูกทิ้งร้างให้กลายเป็นห้องเรียน การปรุงอาหารส�ำหรบั นกั เรียน ปจั จบุ นั มกี ารรวมสวนอนิ ทรยี ข์ องโรงเรยี นเขา้ ไปในหลกั สตู รดว้ ย นกั เรยี นจงึ เปน็ ทั้งคนท�ำสวนทีเ่ กง่ นกั พฤกษศาสตรร์ นุ่ เยาว์ และพอ่ ครวั แมค่ รวั ช้ันยอดทไ่ี ดป้ ระโยชน์ จากแรงงานของตวั เอง วชิ าท�ำสวนท�ำใหน้ กั เรยี นไดค้ วามรเู้ กย่ี วกบั หลกั การของนเิ วศวทิ ยา และเคารพระบบท่ีมชี วี ิตทกุ อย่าง นักเรยี นปลูกพืช ดูแลปยุ๋ หมกั เกบ็ เก่ยี วพชื ทป่ี ลกู เอง ท้ังดอกไม้ ผลไม้ ธัญพืช และผัก เว็บไซต์นี้มีค�ำแนะน�ำและแนวทางส�ำหรับครูท่ีอยาก จะเรม่ิ ท�ำโครงการ รวมทั้งลงิ กแ์ ละทรพั ยากรท่หี ลากหลายส�ำหรับขอ้ มลู เพมิ่ เติม 395

ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด www.eslcafe.com Dave’s ESL Cafe เปน็ เวบ็ ไซตท์ ย่ี อดเยย่ี มส�ำหรบั ผเู้ รยี นภาษาองั กฤษ เป็นภาษาที่สอง แตก่ ารทดสอบไวยากรณก์ ม็ ีประโยชน์ส�ำหรับคนทม่ี ีภาษาองั กฤษเป็น ภาษาแม่เช่นกัน เนื้อหาส่วนใหญ่ยากเกินส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมส่วนใหญ่ (ยกเว้น grammar whizzes) แตเ่ วบ็ ไซตน์ ม้ี กี ารทดสอบหลายวชิ า รวมทงั้ ภมู ศิ าสตรก์ บั ส�ำนวนอเมรกิ นั และลิงก์เชื่อมไปเว็บไซต์อ่ืนๆ อีกมากมาย โดยเฉพาะลิงก์ “Pronunciation Power” ใต้หัวข้อ “Stuff for Students” มีประโยชน์มาก เพราะนักเรียนจะฟังการออกเสียง อย่างถูกตอ้ งกค่ี รั้งก็ไดต้ ามต้องการ www.funbrain.com เปน็ เวบ็ ไซตท์ สี่ นกุ เนน้ เดก็ เปน็ หลกั มเี กมการศกึ ษาทย่ี อดเยย่ี มอยา่ ง Grammar Gorillas กบั Spell Check และเกมคณติ ศาสตรก์ บั การอา่ นทด่ี เี ยย่ี มใหเ้ ลอื ก มากมาย เช่น Math Arcade มีเกมท้าทายส�ำหรับนกั เรยี น 25 เกม www.pbs.org/wgbh/pages/frontline/shows/medicating เปน็ ลงิ กท์ เี่ ชอ่ื มตรง ให้ไปชมสารคดีที่ช่องพีบีเอสฟรอนท์ไลน์ (PBS Frontline) เรื่อง Medicating Kids: A Report on Parents, Educators, and Doctors Trying to Make Sense of a Mysterious and Controversial Medical Diagnosis—ADHD ซ่ึงสัมภาษณ์เด็ก สมาธสิ นั้ เกย่ี วกบั ยาทเ่ี ขากนิ พอ่ แม่ ครู และผเู้ ชยี่ วชาญ ทมี่ คี วามเหน็ แตกตา่ งกนั มากมาย รายการนแี้ สดงใหป้ ระชาชนเหน็ ความเชอื่ มโยงระหวา่ งการจดั การเดก็ กบั ผใู้ หญท่ มี่ อี าการ สมาธิสน้ั กับบริษัทยาทีใ่ หท้ ุนผลิตวีดโี อของกลุ่มทีส่ นับสนุนการใช้ยาริทาลิน (Ritalin) เพื่อรักษาอาการน้ี เราชมรายการท้ังหมด 5 ตอน ได้ทางออนไลน์ตั้งแต่เดือนมิถุนายน ปี 2011 และมตี อนตอ่ ทตี่ ดิ ตามชวี ติ ของเดก็ สมาธสิ นั้ 4 คน กบั ครอบครวั ของพวกเขาดว้ ย www.borntoexplore.org นเ่ี ปน็ เวบ็ ไซตห์ นงึ่ ทม่ี รี ายละเอยี ดและสมบรู ณม์ ากส�ำหรบั พอ่ แม่ ท่ีลูกมีอาการสมาธิส้ัน ชื่อ Born to Explore! The Other Side of ADD เป็นของ นกั วทิ ยาศาสตรส์ งิ่ แวดลอ้ มซง่ึ สอนลกู อยทู่ บี่ า้ น ในเวบ็ ไซตม์ ขี อ้ มลู เกย่ี วกบั “ความสรา้ งสรรค์ วธิ เี รยี นรู้ และพรสวรรค์ เพอื่ ตอ่ ตา้ นความคดิ ทวี่ า่ อนั ทจี่ รงิ เดก็ ๆ สมาธสิ นั้ ทกุ คนมคี วาม 396

ผดิ ปกตบิ างอยา่ ง” เวบ็ ไซตน์ มี้ ขี อ้ มลู ทางโภชนาการและวทิ ยาศาสตร์ ลงิ กไ์ ปสทู่ รพั ยากร ภาคผนวก ทห่ี ลากหลาย บทวจิ ารณห์ นงั สือ ค�ำพดู ที่สรา้ งแรงบันดาลใจ บทความ และเรยี งความ รวมท้ังเร่ือง “ปัญหาเรื่องโรคสมาธิส้ัน (The Problem with CHADD)” ซ่ึงวิจารณ์ การจัดการเรื่องนอ้ี ยา่ งสมดลุ มากขน้ึ www.blockcenter.com เวบ็ ไซตข์ อง ดร. แมรี แอนน์ บลอ็ ค นกั เขยี นเรอื่ ง No More Ritalin (เคนซิงตันบุ๊กส์, ปี 1996) บล็อคเป็นแพทย์รักษากระดูกและกล้ามเนื้อท่ีมี ใบอนญุ าต เธอไปเรียนแพทย์เพราะตอ้ งการช่วยลูกทไ่ี มส่ บาย และวธิ ีรกั ษาแบบเกา่ ไม่ ได้ผล วิธีที่เธอคิดค้นข้ึนมาเน้นท่ีสาเหตุแฝงของอาการสมาธิสั้น เช่น ภาวะน้�ำตาล ในเลอื ดต�่ำ ภูมิแพ้ ปจั จัยทางสภาพแวดล้อม และตอ่ มไทรอยดเ์ ป็นพษิ เธอเลา่ ประวัติ ของคนไข้ ใหแ้ นวทางด้านอาหาร และรายช่ือแหล่งทรัพยากรดีๆ รวมทั้งอธบิ ายวา่ จะ ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ได้อย่างไร บล็อคพัฒนาชุดของโปรแกรมและวัสดุเนื้อหา ท่ีซื้อไปใช้ท่ีบ้านได้ และให้บรรณานุกรมของการวิจัยทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับอาการ สมาธิสน้ั ดว้ ย www.methylphenidate.net เวบ็ ไซตน์ จี้ ะน�ำคณุ ไปยงั เวบ็ ไซตช์ อ่ื Death from Ritalin ซง่ึ ฟงั ดเู ปน็ ละครนำ�้ เนา่ ไปหนอ่ ย แตค่ ณุ จะเปลยี่ นใจเมอ่ื ไดร้ วู้ า่ เวบ็ ไซตน์ ก้ี อ่ ตง้ั โดยคสู่ ามี ภรรยาทล่ี กู ชายเสยี ชวี ติ เพราะกนิ ยารทิ าลนิ โดยลงวนั ทที่ ล่ี กู ตาย ชอ่ื แพทยท์ ร่ี กั ษา และ ขอ้ ความในใบมรณบตั รของลกู ชายทวี่ า่ “เสยี ชวี ติ เนอื่ งจากใชย้ าเมทลิ เฟนเิ ดต (รทิ าลนิ ) เป็นเวลานาน” รวมท้ังให้ข้อมูลส�ำคัญๆ ท่ีท้ังคู่เชื่อว่า แพทย์ปิดบังไว้จากพ่อแม่ที่ต้อง ตัดสนิ ใจวา่ จะให้ลูกกินยาหรือไม่ อยา่ งนอ้ ย อา่ นคร่าวๆ ก็คมุ้ คา่ 397

ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด รู้จกั ผู้เขยี น ลแู อนน์ จอหน์ สนั เปน็ ชาวเพนซลิ เวเนยี เธอมปี ระสบการณก์ ารสอนทห่ี ลากหลาย ทงั้ จากการเปน็ ครสู อนการพฒั นาการอา่ นและการเขยี น เปน็ อาจารยใ์ นโรงเรยี นฝกึ หดั ครู อาจารยส์ อนภาษาองั กฤษเปน็ ภาษาทสี่ อง และทท่ี �ำใหเ้ ธอไดร้ บั การยอมรบั อยา่ งกวา้ งขวาง คอื การเปน็ ครูพิเศษสอนวัยรนุ่ ทม่ี คี วามเสี่ยง ลูแอนนจ์ บการศกึ ษาระดับปริญญาตรสี าขาจติ วิทยา ปริญญาโทสาขาการสอน ภาษาอังกฤษและปริญญาเอกสาขาภาวะผู้น�ำทางการศึกษาก่อนเริ่มต้นชีวิตครูลูแอนน์ ท�ำงานเป็นผู้สื่อข่าวประจ�ำกองทัพเรือสหรัฐอเมริกาและเจ้าหน้าที่นาวิกโยธินสหรัฐฯ อยู่นาน 9 ปี เธอได้เป็นสุภาพสตรีคนแรกท่ีมีชื่อจารึกอยู่ในหอเกียรติยศของ Defense Information School (DINFOS) ของสหรัฐอเมรกิ า ลูแอนน์เขียนหนังสือมาแล้ว 11 เรื่อง รวมท้ัง Teaching Outside the Box และ Kick-Start Your Class ผลงานท่ีท�ำให้เธอโด่งดังในฐานะนักเขียนคือ My Posse Don’t Do Homework ซง่ึ ไดร้ บั การแปลเปน็ ภาษาตา่ งประเทศถงึ 9 ภาษา และตดิ อนั ดบั หนงั สอื ขายดขี องนติ ยสาร The New York Times ทงั้ ยงั เปน็ เคา้ โครงเรอ่ื งของภาพยนตร์ เรื่อง Dangerous Minds (1995) ด้วย Muchacho นวนิยายส�ำหรับวัยรุ่นเรื่องแรก ของเธอได้รับรางวัล Skipping Stones Award ส�ำหรับหนังสือประเภทพหุวัฒนธรรม ในการเขยี นหนงั สอื และวาดภาพประกอบหนงั สอื ส�ำหรบั เยาวชน เชน่ That Darn Donkey! และ That Dang Dog ลแู อนนจ์ ะใชน้ ามปากกาวา่ “Alyce Shirleydaughter” ซงึ่ เธอ ตั้งขึ้นเพ่ือระลึกถึงมารดาที่เสียชีวิตจากมะเร็งเต้านม โดยเธอจะตีพิมพ์หนังสือเองและ 398 มอบรายได้จากการจ�ำหน่ายเพอ่ื สนบั สนุนงานศึกษาวิจยั เกี่ยวกับมะเร็งเตา้ นม

นอกจากงานเขียนแล้ว ลูแอนน์ ยังเป็นนักพูดที่ได้รับเชิญไปเป็นองค์ปาฐก ให้สถาบันการศึกษามากมายทั้งในประเทศและต่างประเทศ อาทิ National Staff Development Council, the National Title I Conference, the European Council of International Schools, National Hispanic University, Scholastic Inc., Puerto Rico Department of Education, the National School Boards Association เธอยังปรากฏตัวในรายการโทรทัศน์ดังๆ อย่าง Oprah, Talkback ของ CNN, Maury Povich และ Eye to Eye ของ CBS อกี ด้วย ลแู อนนเ์ ผยแพรส่ าระนา่ รมู้ ากมายเกย่ี วกบั การศกึ ษาส�ำหรบั ครู พอ่ แมผ่ ปู้ กครอง และนกั เรยี น ผา่ นทางเวบ็ ไซต์ www.louannejohnson.com รวมทงั้ ตอบค�ำถามผอู้ า่ น จากทว่ั โลกทางอเี มล นอกจากนนั้ เธอยงั โพสตค์ ลปิ วดิ โี อทใี่ หค้ �ำแนะน�ำและเทคนคิ ตา่ งๆ ท่คี รูสามารถน�ำไปใช้ได้ รวมทัง้ ภาพวาดตวั ละครในนิยายของเธอไว้บน YouTube ด้วย ปจั จบุ นั ลแู อนน์ จอนหส์ นั เปน็ อาจารยส์ อนทโี่ รงเรยี นการศกึ ษาผใู้ หญใ่ นยา่ น วอร์เรน-เจมส์ทาวน์ เธอพ�ำนักอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของรัฐเพนซิลเวเนียกับสุนัข ทเ่ี ธอรบั มาเลยี้ งชอ่ื เนลลี 399

ครูประณีตคิดนอกกรอบ: ่ยัวใ ้หนึก ฝึกให้ ิคด อกี หนง่ึ หนงั สือดี...เพือ่ เชดิ ชคู รสู อนดี 400 มีจ�ำหน่ายที่ร้านนายอนิ ทร์ ศนู ยห์ นงั สือจฬุ าฯ และซเี อด็ บคุ๊ ทกุ สาขา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook