Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มงคล 38 ประการ

มงคล 38 ประการ

Published by Sarapee District Public Library, 2020-11-16 13:34:34

Description: มงคล 38 ประการ

Keywords: มงคล 38 ประการ,ธรรมะ

Search

Read the Text Version

๖มงคลข้อท่ี ตง้ั ตนไว้ชอบ เปน็ อนั ไดค้ วามวา่ ทางถกู   ก็คอื   ทางดี ทางผดิ   กค็ ือ  ทางเสยี เพราะฉะนั้นค�ำสอนในมงคลข้อนี้ของพระพุทธเจ้า ท่ีว่าต้ัง  ตนในทางทช่ี อบนนั้  หมายถงึ ตง้ั ตวั ในทางทด่ี เี ทา่ นนั้  ซงึ่ ทางน ้ี พระ  สมั มาสมั พทุ ธเจา้ ของเราไดป้ กั เครอื่ งหมายบอกทางไวแ้ ลว้  แตถ่ า้   ใครไมด่  ู หรอื ดแู ลว้ ไมเ่ ชอื่ ปา้ ย ถา้ ไมน่ ง่ั นำ�้ ตาเชด็ หวั เขา่ กจ็ นใจ โทษ  ใครไมไ่ ด้ ต้องโทษตัวเอง เมอื่ พดู ถงึ ตอนนแี้ ลว้ กข็ อกลา่ วอกี สกั นดิ เถอะ คอื มกั จะมคี น  ทเี่ หน็ แกต่ วั  ชอบโฆษณาในทางทผี่ ดิ ๆ อยเู่ สมอ หรอื ไมบ่ างทกี ร็ อื้   ปา้ ยทง้ิ หรอื ไมก่ ป็ ดิ ปา้ ยทบั ปา้ ยเดมิ เสยี กม็  ี ทเ่ี หน็ ตวั อยา่ งมากมาย  ทุกวันน้ีก็คือ เร่ืองการพนัน พระพุทธเจ้าได้สอนแล้วว่าเป็นทาง  แห่งความฉิบหาย แต่ก็ยังมีลูกศิษย์ใจบาปของพระองค์เท่ียวท�ำ  เลห่ ก์ ลบอกใบห้ วย เสย้ี มสอนชาวบา้ นวา่ ตอ้ งเลขนนั้ เลขนจ้ี งึ จะถกู   รางวลั  แลว้ แนะนำ� ใหเ้ ลน่ การพนนั  ทางตรงบา้ ง ทางออ้ มบา้ ง ทท่ี ำ�   อยา่ งนเ้ี ปน็ เรอ่ื งนอกคร ู นอกอาจารย ์ ลกู ศษิ ยแ์ ทๆ้  อวดฉลาดเกนิ   อาจารยไ์ ปได ้ อย่าหลงเช่อื เนอ้ื ความของมงคลในขอ้ น ้ี ทวี่ า่ ตงั้ ตนในทางทช่ี อบนนั้  หมาย  ถึงตั้งตนอยู่ในสัมมาปฏิบัติ กล่าวคือ เมื่อเราเป็นคนไม่มีศรัทธา  ก็ท�ำตนให้มีศรัทธา เมื่อเราไม่มีศีลก็ท�ำตนให้มีศีล และท�ำตนให ้ มกี ารบรจิ าคทาน ประกอบกศุ ลอนั จะทำ� ใหต้ นมคี วามสขุ ในชาตนิ ้ ี และในชาตหิ นา้  การทจ่ี ะทำ� ตนใหเ้ ปน็ คนมศี รทั ธานน้ั  จะตอ้ งอาศยั   กลั ยาณมติ ร คอื เพอื่ นทดี่ เี ปน็ เครอื่ งชกั จงู  ดงั ตวั อยา่ งเชน่  เรอื่ งพระ  100 มงคล ๓๘ ประการ

พุทธเจ้าของเราเม่ือเสวยพระชาติเป็นพระโพธิสัตว์ ได้ไปเกิดอยู ่ ในตระกลู มจิ ฉาทิฐ ิ คอื ตระกลู ที่มคี วามเหน็ ผิดภายนอกพระพทุ ธ  ศาสนา พระโพธิสัตว์ก็มีความเห็นผิดไปตามบิดามารดา คือไม่ม ี ศรทั ธาความเลอ่ื มใส ตอ่ มาไดอ้ าศยั เพอ่ื นทดี่ ซี งึ่ มศี รทั ธาชกั ชวนไป  ฟงั ธรรม และกเ็ กดิ ศรทั ธาคดิ ทำ� ทานแกผ่ ยู้ ากจนและในสงฆ ์ ทง้ั นี้  ก็เพราะอาศัยกัลยาณมิตร อีกเรื่องหน่ึงเป็นเร่ืองท่ีเล่าไว้เก่ียวกับ  บุคคลท่ีไม่มีศีลแต่ต่อมาได้เกิดความสำ� นึกผิดสมาทานรักษาศีล  เหมือนเรือ่ งโจรหา้ รอ้ ย เรอื่ งโจรห้ารอ้ ย มเี รอื่ งเลา่ มาวา่  มพี วกโจรพวกหนงึ่ เปน็ โจรทม่ี คี วามรา้ ยกาจ  มาก ได้ปล้นสะดมฆ่าฟันชาวบ้านตายลงเป็นอันมาก ความ  รา้ ยกาจของโจรเหลา่ นเ้ี ปน็ ทเี่ กรงขามของพวกชาวบา้ นมาก แตใ่ น  ทสี่ ดุ ความรา้ ยกาจของโจรนท้ี ำ� ใหช้ าวบา้ นเกดิ ความสามคั ครี ว่ มแรง  กนั ตอ่ ต้าน และพากนั ออกลา่ โจรเป็นการใหญ ่ จนพวกโจรเห็นวา่   ทา่ จะไปไม่รอด จึงไดพ้ ากันหลบหนเี ขา้ ไปในปา่ พวกโจรได้พากันหลบหนีเข้าไปในป่าจนกระท่ังมาพบพระ  ภกิ ษรุ ปู หนงึ่ เขา้  ดว้ ยความรกั ตวั กลวั ตายจงึ ขอรอ้ งใหพ้ ระภกิ ษชุ ว่ ย  เหลอื  ซง่ึ เปน็ ธรรมดาของคนเราโดยทวั่ ไป เวลายงั มคี วามสขุ ดอี ย ู่ ก็ไม่ใคร่จะนึกถึงพระกันนักหรอก มิหนำ� ซ�้ำกลับเห็นว่าพระภิกษุ  เปน็ ทน่ี า่ รงั เกยี จ ตอ่ มาเมอื่ ถงึ คราวอบั จนเขา้ กน็ กึ ถงึ พระ ซง่ึ กย็ งั ด ี สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 101

๖มงคลขอ้ ท่ี ต้ังตนไวช้ อบ ทยี่ งั มคี วามระลกึ ถงึ พระ โจรหา้ รอ้ ยนกี่ เ็ หมอื นกนั  พากนั ขอรอ้ งให ้ พระภิกษรุ ปู นัน้ เป็นทพ่ี งึ่  พระภกิ ษรุ ปู นน้ั จึงกลา่ วว่า “นแี่ นะ่ อบุ าสก เราจะเปน็ ทพ่ี ง่ึ ของทา่ นไมไ่ ดห้ รอก นอกจากการ  รกั ษาศลี เทา่ นน้ั ทจี่ ะเปน็ ทพ่ี งึ่ ของทา่ นได ้ ทา่ นจงสมาทานศลี เถดิ ” เมอ่ื โจรไดฟ้ งั อยา่ งนน้ั กย็ นิ ดรี บั ศลี  ซงึ่ กเ็ ปน็ ธรรมดา คนเรา  พอจวนตวั เขา้ ใครจะใหท้ ำ� อะไรกท็ ำ� ทงั้ นน้ั  ขอใหต้ นเองไดร้ บั ความ  สขุ เถอะ โจรกย็ อมสมาทานศลี  ๕ ในสำ� นกั ของพระภกิ ษนุ นั้  แลว้ ก ็ จากพระภิกษุรูปน้ันไป พอจากไปไม่ทันไร พวกชาวบ้านก็ตามมา  ทนั จึงไดฆ้ ่าโจรน้นั ตายเสียส้นิ ดว้ ยผลของการรกั ษาศลี ของโจรนนั้  ทำ� ใหเ้ มอ่ื ตายไปกไ็ ดไ้ ป  เกดิ ในสวรรค ์ และตอ่ มาในพทุ ธศาสนาน ้ี โจรหา้ รอ้ ยนนั้ กไ็ ดม้ าเกดิ   ในหมบู่ า้ นเกวฏั ฏคาม บา้ นนายพรานเบด็  ๕๐๐ อยใู่ กลเ้ มอื งสาวตั ถ ี นเี่ ปน็ ผลของการรกั ษาศลี  ซง่ึ บางทา่ นทอ่ี า่ นมาถงึ ตอนนกี้ ค็ งจะเกดิ   ความสงสยั วา่  ท�ำไมพวกโจรฆา่ คนมามากมายจงึ ไมต่ กนรก ซงึ่ จะ  บรรยายในที่น้ีคงจะไม่พอเพราะจะต้องอธิบายกันหลายแง่หลาย  มุม จงึ จะได้เขียนอกี เลม่ หนงึ่ ต่างหากทีเ่ กี่ยวกับเรื่องกรรม 102 มงคล ๓๘ ประการ

เร่อื งปลากปิละ เรอ่ื งนเี้ ปน็ เรอ่ื งสบื เนอ่ื งมาจากเรอ่ื งกอ่ น กลา่ วคอื ชาวประมง  ท้ัง ๕๐๐ นั้นได้ออกหาปลาตามปกติของตนในแม่น้�ำอจิรวดี  ทอดแหไดป้ ลาทองตวั หนง่ึ  นำ� ปลาทองนน้ั ใสเ่ รอื มาเพอ่ื ทจ่ี ะถวาย  แกพ่ ระเจา้ ปเสนทโิ กศลราชาแหง่ สาวตั ถ ี พระเจา้ ปเสนทโิ กศลเหน็   ปลานั้นเป็นท่ีน่าอัศจรรย์ จึงได้น�ำปลาน่ันไปยังเชตวันที่ประทับ  ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พอปลาทองตัวน้ันอ้าปากขึ้นก็ปรากฏ  ว่ามีกล่ินเหม็นตลบไปท่ัวเชตวัน พระเจ้าปเสนทิโกศลจึงได้ทูล  ถามถงึ บพุ กรรมของปลานก้ี บั พระพทุ ธเจา้  พระพทุ ธองคก์ ต็ รสั เลา่   เร่ืองของปลาน้ันแก่พระราชาและบรวิ าร “ดกู รมหาบพติ ร ปลาทองตวั นแ้ี ตก่ อ่ นนไี้ ดเ้ กดิ เปน็ พระภกิ ษุ  อยใู่ นศาสนาของพระกสั สปพทุ ธเจา้  มนี ามวา่  กปลิ ภกิ ษ ุ กปลิ ภกิ ษ ุ นี้เป็นพหูสูตมีความรอบรู้ในพระธรรมวินัยของพระพุทธศาสนา  นั้น มีลาภสักการะมาก แต่กปิลภิกษุน้ีเป็นผู้ท่ีปากกล้า ชอบด่า  ภกิ ษสุ ามเณรทไี่ มน่ บั ถอื ตน และประพฤตคิ วามเสยี หายแกศ่ าสนา  ครนั้ ตายลงกไ็ ปบงั เกดิ ในอเวจนี รก พอพน้ จากนรกกม็ าบงั เกดิ เปน็   ปลาทองในชาตินี้ ด้วยกุศลท่ีกปิลภิกษุเป็นผู้ทรงจ�ำพุทธวจนะ  สงั่ สอนธรรม จงึ ทำ� ใหร้ า่ งกายของปลานเ้ี ปน็ ทอง แตด่ ว้ ยผลบาปที ่ ชอบด่าพระภิกษุสามเณรจึงท�ำให้ปากเหม็น ถ้ามหาบพิตรม ี ความปรารถนาท่ีจะทราบความพิสดารของปลาน้ี ตถาคตจะถาม  บุพกรรมของปลาน้ี” สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 103

๖มงคลข้อที่ ตงั้ ตนไว้ชอบ แลว้ พระองคก์ ท็ รงมพี ระดำ� รสั ถามปลากปลิ วา่  “กปลิ  ตวั ทา่ น  เมอื่ ชาตกิ ่อนไดเ้ กดิ เป็นภิกษชุ อื่ กปลิ หรอื ?” “ถกู แล้วพระเจา้ ข้า” ปลาทองทลู ตอบ “แล้วตัวท่านมาแต่ไหน จึงได้มาเกิดเป็นปลาทองในแม่น้�ำ  แห่งน”ี้ “ข้าพระองคม์ าจากอเวจมี หานรกพระเจา้ ขา้ ” “แล้วพ่ีชายของท่านเลา่ ” “พช่ี ายของขา้ พระองคไ์ ดด้ บั ขนั ธปรนิ พิ พานไปแลว้ พระเจา้ ขา้ ” “แล้วมารดาและน้องสาวของท่านเล่าอยู่ท่ีไหน” พระองค์ ถามตอ่ ไป “มารดาและน้องสาวของข้าพระองค์เป็นคนปากร้าย ด่าว่า  พระภิกษทุ งั้ หลาย ขณะนตี้ กอย่ใู นอเวจมี หานรกพระเจา้ ขา้ ” “แล้วท่านเมื่อละจากชาตนิ ี้แล้วจะไปเกดิ ในทใ่ี ด” “ข้าพระองค์ตายจากชาตินี้แล้ว ก็จะไปบังเกิดในอเวจีมหา  นรกอีกพระเจ้าข้า” เม่ือกล่าวจบลงปลาทองนั้นก็บังเกิดความ  ละอายในบาปกรรมทตี่ นไดก้ ระทำ�  จงึ ใชศ้ รี ษะของตนฟาดกบั ขอบ  เรอื ตายลง และไปบังเกดิ ในอเวจี เม่ือท่ีประชุมท้ังหมดได้ฟังเรื่องราวของปลาทองจบลงก ็ บงั เกดิ ความสลดใจ พระพทุ ธองคจ์ งึ ไดท้ รงแสดงพระธรรมเทศนา  แสดงคุณและโทษของการท�ำกุศลและอกุศลโดยพิสดาร จบพระ  ธรรมเทศนาแลว้  บรรดาชาวประมงทงั้  ๕๐๐ กบ็ งั เกดิ ความสลดใจ  ในการทำ� อกศุ ลกรรม จึงไดท้ ลู ขอบรรพชาในพระพทุ ธศาสนา ได ้ เจริญวิปัสสนากรรมฐานส�ำเร็จมรรคผลเป็นพระอริยบุคคลใน  104 มงคล ๓๘ ประการ

พระพุทธศาสนา เพราะผลของการต้งั ตนในทางทถ่ี ูก เท่าท่ียกเร่ืองราวซ่ึงมีมาในชาดกและธรรมบทเพ่ือเป็น  ตัวอย่าง แสดงผลของการต้ังตนในทางท่ีชอบว่าเป็นผลดีอย่างไร  และเป็นมงคลคือความดีอย่างไร เร่ืองราวยังมีอีกมาก แต่ยกมา  พอเปน็ ตวั อยา่ งประกอบเพยี ง ๒ เรอ่ื งเทา่ นน้ั  ดงั นนั้ ผหู้ วงั ตงั้ อยใู่ น  ความเจรญิ พงึ ประพฤตธิ รรมขอ้ น ี้ คอื ตงั้ ตนในทางทถ่ี กู ตอ้ งจะเปน็   ความกา้ วหน้าของชวี ติ ในทสี่ ุด เมอ่ื ไดศ้ กึ ษามงคลทง้ั สามขอ้ นแี้ ลว้ จะเหน็ วา่ มคี วามสมั พนั ธ ์ กันอย่างไร ขอใหด้ ูภาพประกอบที่เขยี นประกอบข้างล่างนี้แล้วจะ  เข้าใจดี ปฏริ ูปเทส  เปรียบเหมือนเนือ้ ท่ี ตั้งตวั ถกู   เปรยี บเหมอื นขดุ หลมุ ปลูกพชื บุญเกา่   เปรยี บเหมือนเชอ้ื ยางภายในเมล็ดพชื เมื่อเหตุทั้งสามอย่างน้ีบรรจบกัน ผู้น้ันมีหวังเจริญก้าวหน้า  อยา่ งมาก สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 105

มงคล ๗ข้อท่ี พาหุสจฺจณจฺ (มีความรอบร,ู้ ความเปน็ พหูสตู ) ความหมายของมงคลขอ้ น ้ี หมายความวา่  ความเปน็ ผไู้ ดส้ ดบั   ตรับฟังมาก หรือความท่ีได้เล่าเรียนมาก เราจะต้องเข้าใจความ  หมายของภาษาวัดค�ำน้เี สยี กอ่ น เพ่ือเป็นแนวทางของความเขา้ ใจ  หวั ข้อธรรมต่อไป ค�ำว่า พาหุสัจจะ มูลศัพท์เดิมว่า พาหุสุต สุต แปลว่า ฟัง  พห ุ แปลวา่  มาก เมอื่ รวมกันเขา้ แล้วจะไดค้ วามวา่  พหสุ ตุ  หมาย  ถึง การได้ยินได้ฟังมาก เม่ือได้เขียนมาถึงตอนนี้ก็มีปัญหาอยู่ว่า  การไดย้ นิ ไดฟ้ งั มากนน้ั หมายถงึ ไดย้ นิ ไดฟ้ งั อะไรมาก เพราะเรอื่ งท ่ี ได้ยินได้ฟังนั้นมากมายเหลือเกิน จะหมายเอาได้ยินได้ฟังมาก  หรอื หมายเอาการทไี่ ดฟ้ งั มากกนั แน ่ เพอื่ ความเขา้ ใจขอไดโ้ ปรดดู  ขอ้ ความในอรรถกถาต่อไปน ี้ ซึ่งท่านไดใ้ ห้ความหมายวา่ 106 มงคล ๓๘ ประการ

“พาหุสจฺจํ นาม พหุสุตภาโว อตฺถโต พุทฺธวจนํ วา พหิร  สิปฺปํ วา อุคฺคณฺหิตวา วา อุปฺปนฺนํ ตตฺถ โกสลฺลํฯ” แปลความว่า  ธรรมขอ้ พาหสุ จั จะนน้ั  ได้แก่ความเป็นผคู้ งแกเ่ รยี น ผ้คู งแก่เรียน  หมายความวา่ ความรใู้ นงานแขนงนนั้ ๆ อนั เกดิ จากการเรยี น หรอื   การฟงั พทุ ธวจนะ หรอื วิชาภายนอก เมอื่ ไดพ้ จิ ารณาตามความหมายของอรรถกถาจารยแ์ ลว้ กจ็ ะ  ไดค้ วามวา่  อาการทฟี่ งั มากหรอื ฟงั บอ่ ยๆ ไมไ่ ดห้ มายเอาความมาก  ของเรอื่ งหรอื วชิ าทเี่ ราฟงั  เพราะคำ� อธบิ ายของพระอรรถกถาจารย์  ทย่ี กมาอา้ งขา้ งตน้ น ี้ เปน็ หลกั ยนื ยนั อยใู่ นตวั แลว้ คอื ค�ำอธบิ ายนนั้   ทา่ นระบสุ งิ่ ทไี่ ดย้ นิ ไดฟ้ งั มาเพยี งสองเรอื่ งเทา่ นน้ั  คอื ฟงั พระพทุ ธ-  วจนะกบั ฟงั เรอื่ งภายนอกเทา่ นนั้  การเรยี นหรอื การศกึ ษานนั้ มอี ย่ ู ๒ ทาง คือ เรียนจากครอู าจารย์ เรยี นดว้ ยตนเอง เรยี นจากครอู าจารยน์ น้ั  ไดแ้ ก ่ การเรยี นจากโรงเรยี น ถา่ ยทอด  วิชาความรู้ความเห็นจากคนอื่น การเรียนกับครูนั้น ขึ้นอยู่กับวัย  ของผเู้ รยี น โดยปกตนิ น้ั กจ็ ะเรยี นตงั้ แตป่ ฐมวยั  สว่ นการเรยี นเมอ่ื   วยั สงู นนั้ มเี ปน็ บางกรณ ี ขน้ึ อยกู่ บั วาสนาของคนๆ นน้ั ดว้ ย เพราะ สว่ นมากแลว้ เมอื่ อยใู่ นวยั สงู จะตอ้ งทำ� มาหากนิ  ไมม่ เี วลาจะเรยี น สว่ นการศกึ ษาดว้ ยตนเองนนั้  ไดแ้ ก ่ การศกึ ษาจากการอา่ น  หนงั สอื พมิ พ ์ ฟงั วทิ ย ุ และการสงั เกตจากสง่ิ ตา่ งๆ ทวั่ ไป การศกึ ษา  นี้เหมาะแกผ่ ูท้ ่ีผ่านปฐมวัยมาแล้ว สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 107

๗มงคลขอ้ ท่ี มคี วามรอบรู,้ ความเปน็ พหูสตู ความดขี องพาหสุ ุตตะ การศกึ ษานนั้ เราตอ้ งเลอื กทง้ั สองวธิ ตี ามความเหมาะสมและ  โอกาสอนั ควร เมอ่ื มคี รกู เ็ รยี นกบั คร ู เมอื่ ไมม่ คี รกู เ็ รยี นดว้ ยตนเอง  วิชาความรู้ยิ่งมากเท่าไรก็ยิ่งเป็นประโยชน์แก่ตนเองมากเท่าน้ัน  และคนเราก็จะต้องมีความรู้ให้เกินไว้เสมอ คือมีความรู้มากเกิน  กวา่ ธรุ กจิ ทตี่ นจะทำ�  เชน่  รจู้ กั อา่ นหนงั สอื  ถา้ จะรแู้ ตพ่ อวา่ อา่ นให ้ ออก ผสมตวั ได ้ และรถู้ งึ อรรถรสเรอื่ งราวนนั้ ดว้ ย ความรทู้ เ่ี กนิ ไป  อยา่ งน้แี หละเป็น “พาหสุ ัจจะ” รมู้ ากเรยี นมาก ถ้าจะมองกันในแง่ของความก้าวหน้าแล้วเราจะเห็นได้ว่า  ความรู้ที่เกินไปน่ันแหละเป็นความก้าวหน้า หรือสามารถที่จะ  พัฒนาตัวเองไปสู่ความเจริญไปได้ เหมือนคนท่ีประกอบการค้า  ท่ีกิจการเจริญก้าวหน้าได้ จะต้องมีก�ำไรเกินอยู่แล้ว จึงจะน�ำ  สว่ นทเ่ี กนิ นน้ั มาพฒั นาหรอื ทำ� กจิ การของตนใหก้ า้ วหนา้ กวา้ งขวาง  ออกไป ถ้ามีก�ำไรพอดีปากพอดีท้องแล้วจะม่ังมีหรือขยายกิจการ  ไม่ได้เลย เพราะฉะน้ันแทนท่ีพระพุทธองค์จะทรงตรัสว่าการ  เรียนเป็นมงคล หรอื วา่ ความรเู้ ปน็ มงคล หรือวา่ ความรู้เป็นมงคล  แต่พระองค์ทรงตรัสว่า “พาหุสัจจะเป็นมงคล” พระพุทธด�ำรัสน้ ี เทา่ กบั ตรสั วา่  ความรทู้ เ่ี กนิ เปน็ เหตใุ หพ้ ฒั นาชวี ติ ไปสคู่ วามเจรญิ เมอื่ บรรยายมานค้ี ดิ วา่ เรากค็ งจะมคี วามเขา้ ใจในความหมาย  ดีแล้ว แต่ขอทำ� ความเข้าใจในเร่ืองพาหุสัจจะน้ีอีกสักนิด เพราะมี  ข้อความท่ีจะต้องอธิบายอีกเล็กน้อย ดังท่ีได้กล่าวมาแล้วว่า พาห ุ 108 มงคล ๓๘ ประการ

สจั จะนน้ั มอี ยสู่ องเรอื่ งทจ่ี ะตอ้ งศกึ ษาทำ� ความเขา้ ใจคอื  พาหสุ จั จะ  ภายนอก และพาหุสัจจะภายใน พาหุสัจจะภายนอกได้แก่การ  ศึกษาวิชาการอาชีพทางโลก พาหุสัจจะภายในได้แก่การศึกษาใน  เรื่องของศีลธรรม ซ่ึงเป็นวิชาท่ีประคองชีพอีกต่อหน่ึง เมื่อเราจะ  ประกอบอาชีพอย่างใดอย่างหนึ่ง แต่พร้อมกันนี้ ก็อย่าลืมต้องใช ้ วชิ าศลี ธรรมเปน็ เครอื่ งประกอบดว้ ย จะขาดอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ไมไ่ ด้  คนที่มีแต่ความรู้อย่างใดอย่างหน่ึงแล้วจะหาความเจริญไม่ได้เลย  เชน่  เรามแี ตค่ วามรทู้ างโลกแตข่ าดศลี ธรรม ขาดความเมตตา ขาด  ความซ่ือสัตย์แล้ว เราจะอยู่กับใครไม่ได้ หรือคนที่ไม่มีศีลธรรมก็  มักจะใช้วิชาการเหล่านั้นไปในทางท่ีผิดและสร้างความเดือดร้อน  แกผ่ อู้ นื่  จะเขา้ ทำ� นองทว่ี า่  “ความรทู้ ว่ มหวั  เอาตวั ไมร่ อด” ตามเรอื่ ง  ของมงคลในข้อน้ีจะขอยกนิทานประกอบสักเรื่องหนึ่ง เพ่ือช้ีให ้ เหน็ ความเปน็ มงคลของพาหสุ จั จะ มเี รอ่ื งดงั ตอ่ ไปน้ี เร่อื งเสนกบณั ฑติ ในอดีตกาล เมื่อพระพุทธเจ้าของเราได้เสวยพระชาติเป็น  พระโพธสิ ตั ว ์ ไดถ้ อื กำ� เนดิ ในตระกลู พราหมณป์ โุ รหติ  ชอื่ วา่ เสนก  บณั ฑติ  เปน็ ผมู้ ปี ญั ญามาก อยใู่ นกรงุ พาราณส ี เสนกบณั ฑติ ไดเ้ ลา่   เรียนอยู่ในส�ำนักอาจารย์ทิศาปาโมกข์ เมืองตักศิลา และได้เป็น  ปโุ รหติ าจารยใ์ นสำ� นกั ของพระชนกราชเมอื งพาราณสนี น้ั  และได ้ เปน็ อาจารย์สั่งสอนธรรมแกพ่ ระราชา สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 109

๗มงคลข้อที่ มคี วามรอบรู,้ ความเป็นพหูสตู เมอื่ ถงึ วนั  ๘ คำ่�  ๑๔ คำ่�  ๑๕ คำ่�  เสนกบณั ฑติ กไ็ ดแ้ สดงธรรม  แก่ประชาชนในเมอื งน้ันเป็นประจำ� ตลอดมา ในคร้ังน้ัน มีพราหมณ์แก่คนหน่ึง แกมีอาชีพในการขอทาน  เมอ่ื แกไดเ้ งินมาแกกน็ �ำไปฝากเพอื่ นพราหมณด์ ว้ ยกนั ในเมอื งน้ัน  เปน็ ประจำ� เสมอมา ตอ่ มาพราหมณผ์ เู้ ปน็ เพอื่ นเกดิ ความขดั สนใน  เร่ืองการเงิน จึงน�ำเอาเงินที่พราหมณ์แก่ฝากไว้น้ันมาใช้จนหมด  เมอ่ื ตาพราหมณแ์ กก่ ลบั มาทวงเอาเงนิ  แกกไ็ มม่ จี ะให ้ จงึ ไดย้ กเอา  บุตรสาวของตนใหเ้ ป็นภรรยาแก่พราหมณ์แกน่ ้ัน ตาพราหมณแ์ ก ่ เมอื่ ไดเ้ มยี สาว กม็ คี วามกระหยมิ่ ยม้ิ ยอ่ งใน  ลาภของตน พาเมียสาวกลับมายังบ้านของตนใกล้เมืองพาราณสี  อยกู่ นั ฉนั สามภี รรยามาเปน็ เวลาพอสมควร เมยี สาวของแกกเ็ ลน่ ไม ่ ซอ่ื  โดยไปคบชกู้ บั ชายอนื่  ซง่ึ เปน็ ธรรมดาของผวั แกเ่ มยี สาวทว่ั ไป  นางไดร้ ว่ มนอกใจสามขี องนางมาเปน็ เวลานานเทา่ ใดกไ็ มร่  ู้ ตอ่ มา  นางก็มคี วามตอ้ งการท่จี ะใหส้ ามขี องตนออกไปใหไ้ กลเพอ่ื ท่จี ะได้  สะดวกในการคบชสู้ ชู่ าย ดงั นน้ั นางจงึ เรมิ่ วางแผนทนั ท ี โดยแกลง้   ทำ� เปน็ โกรธผวั ของนาง ฝา่ ยผวั เฒา่ เมอ่ื เหน็ เมยี มอี าการผดิ ปกตไิ ป  เช่นน้นั กถ็ ามวา่ “สุนทรี วันนี้น้องเป็นอย่างไรไปจึงไม่ย้ิมแย้มแจ่มใสเหมือน  อย่างเคย น้องเจ็บป่วยเป็นอย่างไรไป บอกให้พี่รู้บ้างซี น้องท�ำ  อยา่ งน้พี ไี่ มส่ บายใจไปดว้ ย” ตาพราหมณเ์ ฒา่ ออดออ้ นเมยี สาว “นอี่ ยา่ มายงุ่ นะตาแก”่  ภรรยาสาวแหวอยา่ งทไ่ี มเ่ คยมากอ่ น “โธ่ น้องท�ำไมกล่าวกับพ่ีอย่างนั้น มีเรื่องอะไรก็บอกกันมา  พ่ีจะไดช้ ว่ ย” 110 มงคล ๓๘ ประการ

“พ่จี ะช่วยน้องจริงๆ หรอื ” นางเสยี งออ่ นลง “ช่วยซี ไมช่ ่วยนอ้ งแลว้ จะชว่ ยใครเลา่ ” “พฟ่ี งั นะ ทนี่ อ้ งมคี วามทกุ ขอ์ ยนู่ กี้ เ็ พราะวา่  นอ้ งนต้ี อ้ งทำ� งาน  หนักอยู่ตลอดเวลา ถ้าพี่ไม่หาคนใช้มาให้แล้วเห็นจะตายเป็นแน ่ ทเี ดยี ว” นางว่า “โธ ่ แล้วพจ่ี ะหาได้ทีไ่ หนล่ะ เงินเราก็ไมม่ จี ะจา้ ง” “ถา้ พรี่ กั นอ้ งตอ้ งท�ำได ้ พตี่ อ้ งออกไปขอเงนิ ชาวบา้ นมาใหไ้ ด ้ มาก แล้วหาจ้างคนใช้มาให้นอ้ งให้ได ้ ไม่อยา่ งนน้ั แล้วนอ้ งจะมผี วั   ใหม่ ไมเ่ ชอ่ื คอยดู” เมอ่ื โดนไมน้ เี้ ขา้  ตาพราหมณเ์ ฒา่ กม็ คี วามกลวั ภรรยาจะไปมี  ผวั ใหม ่ จงึ ไดร้ บั ปากตกลง เพราะความทห่ี ลงรกั ภรรยาสาวนน่ั เอง  โดยหารู้ไม่ว่าภรรยาก�ำลังจะสวมเขาให้แล้ว แกจัดแจงเคร่ืองเดิน  ทางมอี าหารคอื ขา้ วตลู งใสถ่ งุ  แลว้ ออกเดนิ ทางไปเทยี่ วขอทานตาม  บ้านเมืองใหญ่นอ้ ย แกขอทานอยนู่ านเทา่ ไรกไ็ มป่ รากฏ จนกระทง่ั ไดเ้ งนิ ถงึ  ๙๐๐  กหาปนะ แลว้ จงึ เดนิ ทางกลบั หวงั จะไดช้ นื่ ชมใหส้ มใจทไ่ี ดจ้ ากไปนาน  ระหว่างทางที่ได้เดินมาน้ันพราหมณ์เฒ่าก็มีความหิว จึงได้แวะท่ี  โคนตน้ ไมใ้ หญน่ ง่ั พกั ใกลโ้ พรงไม ้ แกห้ อ่ ขา้ วตอู อกกนิ  เมอื่ กนิ เสรจ็   แลว้ กจ็ ะไปกนิ นำ้�  แตแ่ กลมื ปดิ ปากถงุ ไว ้ แกเดนิ ไปทลี่ ำ� ธารเพอื่ กนิ นำ้� ในระหว่างท่ีตาพราหมณ์เฒ่าไปกินนำ�้ อยู่น้ัน มีงูเห่าตัวหนึ่ง  ทอ่ี าศยั อยใู่ นโพรงไม ้ เมอ่ื ไดก้ ลนิ่ ขา้ วตกู อ็ อกมาจากโพรงแลว้ เลอ้ื ย  เขา้ ไปในถงุ นน้ั  ครนั้ แกกลบั มากไ็ มไ่ ดพ้ จิ ารณา รบี ผกู ปากถงุ แลว้   แบกถงุ มุง่ กลับไปบา้ นอยา่ งเรง่ รีบ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 111

๗มงคลขอ้ ท่ี มคี วามรอบร,ู้ ความเป็นพหสู ตู เทพยดาที่อาศัยอยู่ที่ต้นไม้ มีความสงสารตาพราหมณ์เฒ่า  จงึ ได้บอกแกต่ าพราหมณเ์ ฒา่ เป็นปรศิ นาวา่ “น่ีแน่ะพราหมณ์ ตัวท่านนี้ถ้าอยู่แรมคืนในกลางทางวันน ้ี ทา่ นจะถงึ แกค่ วามตายในวนั น ้ี ถา้ ทา่ นรบี กลบั บา้ นในวนั น ้ี ภรรยา ของท่านจะถงึ แก่ความตาย” ตาพราหมณ์เมื่อได้ฟังเทพยดากล่าวเป็นปริศนาเช่นน้ันก็มี  ความกลัวตาย จึงได้แบกถุงเดินร้องไห้มาตลอดทาง จนถึงกรุง  พาราณสี วันนั้นเป็นวันพระ ๑๔ ค�่ำ ชาวเมืองต่างถือดอกไม้ธูป  เทียนมาเพื่อฟังธรรม ตาพราหมณ์เฒ่าก็ติดตามไปฟังธรรมด้วย  ทง้ั นเี้ พอื่ จะดบั ความเศรา้ โศก ครนั้ ถงึ ทแี่ ลว้  แทนทแ่ี กจะนงั่ ลง แก  กลบั ยนื แบกถงุ ข้าวตูร้องไห้อยทู่ ที่ า้ ยของหมู่คนทั้งหลาย เสนกบัณฑิตเม่ือได้ยินเสียงตาพราหมณ์ร้องไห้ ก็คิดว่าจะ  ต้องมีความทุกข์ จึงได้ถามถึงเรื่องท่ีร้องไห้ พราหมณ์ก็เล่าเร่ืองที่ เทพยดาบอกมาทุกประการ เม่ือพระโพธิสัตว์ได้ฟังเร่ืองราวจาก  ค�ำบอกเล่าของตาพราหมณ์แล้วก็รู้ได้ทันทีว่ามีอะไรเกิดขึ้น จึงได้  สอบถามความจากพราหมณเ์ ฒ่าวา่ “นแี่ นะ่ พราหมณ์ในวนั นท้ี ่านได้พกั กนิ อาหารทไ่ี หน” “ข้าพเจา้ พกั กินอาหารทีร่ ่มไทรใหญ่ขอรบั ” “แลว้ เมอ่ื ทา่ นกนิ อาหารเสรจ็ แลว้ ลงไปกนิ นำ้� ทลี่ ำ� ธาร ทา่ นได้  ผูกปากถุงน้ันเรยี บร้อยหรอื ไม่” พระโพธสิ ตั วซ์ ักถาม “ขา้ พเจ้าหาไดผ้ กู ปากถุงไม”่ “ถา้ อยา่ งนน้ั ” พระโพธสิ ตั วเ์ รมิ่ แนใ่ จในการคาดคะเนของตน  “เราเขา้ ใจวา่ งไู ดก้ ลนิ่ ขา้ วตจู งึ ไดเ้ ลอ้ื ยออกจากโพรงไมแ้ ลว้ เขา้ ไปอย ู่ 112 มงคล ๓๘ ประการ

ในถุงของท่านแน่นอน ถ้าท่านแรมคืนในระหว่างทางวันน้ี เวลาที ่ ท่านล้วงมือเข้าไปเพื่อจะกินข้าวตูท่านจะถูกงูกัดตาย ถ้าท่านรีบ  ไปให้ถึงบ้านในวันน้ี ภรรยาของท่านล้วงมือเข้าไปเพื่อเอาทรัพย ์ ก็จะถูกงูกัดตาย ดังน้ัน เทพยดาจึงกล่าวแก่ท่านดังน้ี เอาละท่าน  วางถงุ นนั้ ลงแลว้ แกป้ ากถงุ ออก ออกมาใหห้ า่ งแลว้ ใชไ้ มต้ ที ถ่ี งุ  งจู ะ  เลอื้ ยออกมา” พระโพธสิ ตั วก์ ลา่ วอยา่ งนน้ั แลว้  พราหมณเ์ ฒา่ กว็ างถงุ ลงแลว้   แกป้ ากถุง ออกมาใหห้ า่ งพอควรใช้ไม้เคาะท่ถี ุง กม็ ีงูเลือ้ ยออกมา  แผ่พังพานขู่ฟ่อๆ สมจริงดังท่ีพระโพธิสัตว์กล่าวทุกประการ พวก  บรรดาหมองจู งึ ไดจ้ บั งนู นั้ ไปปลอ่ ยในปา่  บรรดาผทู้ มี่ าฟงั ธรรมในท ่ี นนั้ ตา่ งชน่ื ชมในปญั ญาของพระโพธสิ ตั วเ์ ปน็ อนั มาก พราหมณเ์ ฒา่   เกิดความศรัทธา ได้น้อมเอาทรัพย์ที่ตนขอได้มาน้ันถวายแก่พระ  โพธิสัตว์ แต่พระโพธิสัตว์ไม่รับ กลับเพิ่มให้อีก ๑๐๐ กหาปนะ รวมเป็นพันหน่งึ พอดี แล้วพระโพธสิ ตั ว์ก็ถามวา่ “การท่ีท่านมาหาทรพั ยน์  ้ี ผู้ใดเปน็ คนใชใ้ ห้ทา่ นมาหา” “ภรรยาของข้าพเจ้าเป็นผู้ใหม้ าหาขอรับ” พราหมณ์ตอบ “ภรรยาของทา่ นสาวหรอื แก”่  พระโพธิสัตวซ์ กั ตอ่ ไป “ภรรยาของขา้ พเจา้ อยใู่ นวยั สาว อายรุ าวๆ ๑๕-๑๖ ป ี กำ� ลงั   อย่ใู นวยั งามทเี ดยี ว”  “ถา้ อยา่ งนั้น ภรรยาของทา่ นเล่นไมซ่ ่อื กับทา่ นเสยี แล้ว” แลว้ พระโพธสิ ตั วก์ ไ็ ดบ้ อกอบุ ายทจี่ ะจบั ชายชใู้ หแ้ กพ่ ราหมณ ์ เฒา่ ฟงั จนสนิ้  เมอื่ กลบั ไปถงึ บา้ น กอ่ นจะเขา้ บา้ นกไ็ ดน้ ำ� เงนิ นน้ั ไป  ฝงั เอาไว ้ แลว้ เขา้ ไปเรยี กภรรยาใหเ้ ปดิ ประต ู ภรรยาขณะนน้ั กำ� ลงั   สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 113

๗มงคลข้อที่ มีความรอบร,ู้ ความเปน็ พหสู ตู อยกู่ บั ชายช ู้ เมอื่ ไดย้ นิ เสยี งเรยี กกใ็ หช้ แู้ อบซอ่ นเสยี แลว้ ออกมาเปดิ   ประตรู บั  พรอ้ มกบั ถามวา่ ไดเ้ งนิ มาไหม พราหมณก์ บ็ อกวา่ ได ้ และ  ฝงั เอาไวใ้ นทน่ี นั้ ๆ ภรรยาจงึ น�ำความนนั้ ไปบอกแกช่ ายช ู้ ชายชจู้ งึ   ได้แอบไปขุดลักเงนิ นั้นมาจนหมด รุ่งเช้าตาพราหมณ์ได้ไปขุดเงินที่ตนฝังอยู่ ปรากฏว่าเงินน้ัน  หายไปจนหมด จึงน�ำความไปแจ้งแก่เสนกบัณฑิต เสนกบัณฑิต  จึงได้มอบทรัพย์ให้พราหมณ์มาพอเป็นค่าใช้สอยและท�ำบุญตาม  ธรรมเนยี มพราหมณ์กะไดส้ กั  ๗ วนั  พร้อมกบั แนะอุบายวา่ “นพี่ อ่ พราหมณ ์ ทา่ นจงออกอบุ ายทำ� บญุ สกั  ๗ วนั  โดยทา่ น  นมิ นตพ์ ราหมณข์ องฝา่ ยทา่ น ๗ คน ฝา่ ยภรรยา ๗ คน แลว้ ผอ่ น  ออกวันละคน โดยทางท่านออกคนหนึ่งภรรยาออกคนหน่ึง แล้ว  คอยสงั เกตวา่ พราหมณฝ์ า่ ยภรรยาทา่ นผใู้ ดทมี่ าเปน็ ประจำ� แลว้ นำ�   ความมาบอกเรา” พราหมณเ์ ฒา่ กท็ ำ� ตามแผนการทกุ ประการ และกไ็ ดผ้ ลโดย  มพี ราหมณห์ นมุ่ คนหนง่ึ มาเปน็ ประจำ� มไิ ดข้ าด ตาพราหมณจ์ งึ นำ�   ความไปแจง้ แกเ่ สนกบณั ฑติ ๆ กม็ า และไดจ้ บั พราหมณช์ นู้ น้ั ได ้ โดย  พราหมณช์ นู้ น้ั ยอมรบั สารภาพหมดสน้ิ วา่ ตนเปน็ ผเู้ อาเงนิ ไป และ  เป็นชกู้ บั ภรรยาพราหมณเ์ ฒ่าด้วย เท่าท่ียกนิทานเร่ืองน้ีมาประกอบ ก็เพื่อจะชี้ให้เห็นว่าการที่  เสนกบัณฑิตสามารถปลดเปล้ืองความทุกข์ของพราหมณ์เฒ่าได ้ นนั้  เพราะอาศยั การทต่ี นเปน็ ผมู้ คี วามรอบรใู้ นวชิ าทงั้ ปวง ซง่ึ เปน็   ผลเพราะ พาหสุ จั จะ ความเปน็ ผไู้ ดเ้ ลา่ เรยี นมามากนน่ั เอง การที ่ ไดเ้ ลา่ เรยี นมามากเปน็ มงคลดังท่ไี ด้อธบิ ายมานี้ 114 มงคล ๓๘ ประการ

๘มงคล ข้อท่ี สปิ ปญฺจ  (มศี ิลปะ) คำ� วา่  ศลิ ปะ นน้ั มใี ชก้ นั อยมู่ ากทงั้ ภาษาพดู  ภาษาเขยี น และ  คำ� วา่ ศลิ ปะนก้ี เ็ กดิ ปญั หาขดั แยง้ กนั อยมู่ าก ตำ� รวจจบั ชายหญงิ ทไ่ี ม ่ นงุ่ ผา้  เอามาตง้ั ประเดน็ ฟอ้ งรอ้ งวา่ ลามกอนาจาร แตฝ่ า่ ยผตู้ อ้ งหา  ก็ว่าน่ันเป็นภาพศิลปะ ซึ่งปัญหาเหล่านี้มีอยู่บ่อยๆ ไม่ว่าจะเป็น  วงการไหนๆ และกม็ กั จะอา้ งวา่ นน่ั เปน็ ศลิ ปะ ซง่ึ เปน็ ปญั หาทย่ี าก  แกก่ ารจะตดั สนิ วา่  ภาพเปลอื ยนนั้ เปน็ ศลิ ปะ หรอื  อนาจาร ซง่ึ ใน  ท่ีน้ีจะไม่ขอให้ความเห็นในเร่ืองนี้ เพราะไม่ใช่อยู่ในข่ายท่ีจะต้อง  ศกึ ษา สง่ิ ทจี่ ะตอ้ งศกึ ษากอ็ ยทู่ วี่ า่  ศลิ ปะ ตามความหมายในมงคล  ขอ้ น้ีมคี วามหมายวา่ อยา่ งไร และเป็นมงคลอยา่ งไร สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 115

๘มงคลข้อที่ มีศลิ ปะ คำ� วา่  สปิ ปะ เปน็ ภาษาบาล ี ตรงกบั ภาษาสนั สกฤตทเ่ี ราเอา  มาใช้เป็นภาษาไทยว่า ศิลปะ น่ันเอง ดังนั้นเพื่อความสะดวกใน  การจดจำ�  จงึ จะใช ้ เรยี กวา่  ศลิ ปะ แทนคำ� วา่  สปิ ปะ ความหมาย  ของค�ำน้ีท่านอรรถกถาจารย์ผู้รจนามงคลทีปนีได้ให้อรรถาธิบาย  วา่  “สปิ ปฺ  ํ นาม อนาคารยิ าอาคารยิ วเสน ทวุ ธิ  หตถฺ  โกศลลฺ ฯํ  แปล  ความว่า ศิลปะหมายถึงหัตถโกศลสองประเภท คือของบรรพชิต  และของคฤหัสถ์” ความหมายของคำ� วา่  หตั ถโกศล แปลวา่  ฉลาดทำ�  ถา้ เราจะ  พูดให้เป็นภาษาไทยของเราก็จะได้ความว่า ท�ำเป็น ฉะนั้น ค�ำว่า  ศิลปะในที่นี้ ก็หมายความว่าท�ำเป็นน่ันเอง ความหมายของค�ำว่า  ทำ� เปน็  กบั  ทำ� ได ้ นนั้ มคี วามหมายแตกตา่ งกนั  คนทที่ �ำไดน้ นั้ ไมไ่ ด ้ หมายความว่าทำ� เป็น ซ่ึงเราก็จะได้ศกึ ษากนั ต่อไป  เมอ่ื เราไดอ้ า่ นค�ำสอนในมงคลท ี่ ๗ พระพทุ ธเจา้ ทรงสงั่ สอน  ให้เราศึกษาหาความรู้ใส่ตัว พอมาถึงมงคลท่ี ๘ นี้ทรงส่ังสอนให้  เปน็ คนมศี ลิ ปะ แสดงวา่ ความรกู้ บั ศลิ ปะนน้ั เปน็ คนละอยา่ งแนน่ อน  จะเปน็ อยา่ งเดยี วกันไมไ่ ด้ ไม่อย่างนั้นทา่ นคงไม่แยกเอาไว้ ความแตกต่างระหว่างพาหุสัจจะกับศิลปะน้ัน ต่างกันตรงท ี่ วา่  พาหสุ จั จะเปน็ การเรยี นหลกั วชิ า รวู้ า่ อะไรเปน็ อะไร รวู้ า่ จะทำ�   อยา่ งไร สว่ นศลิ ปะนนั้ เปน็ ความสามารถในการปฏบิ ตั  ิ คอื เอาวชิ า  ความรทู้ ไ่ี ดเ้ รยี นมาแลว้ ใชใ้ หบ้ งั เกดิ ผล ความรกู้ บั ศลิ ปะนนั้ คนละ  อยา่ ง คนทมี่ วี ชิ าความรไู้ มแ่ นเ่ สมอไปวา่ จะมศี ลิ ปะทกุ คน ตวั อยา่ ง เช่น การหุงข้าว ทุกคนมีความรู้อยู่ว่าท�ำอย่างไร เป็นต้นว่าเอา  ขา้ วสารซาวนำ้�  แลว้ เอานำ�้ ใสไ่ ปในหมอ้ ยกขน้ึ ตงั้ ไฟ พอเดอื ดแลว้ เท  116 มงคล ๓๘ ประการ

นำ�้ ทง้ิ  ดงเสยี สกั พกั หนงึ่ กเ็ อามากนิ  นเ่ี ปน็ หลกั วชิ า แตค่ นทรี่ หู้ ลกั   วิชาไม่แน่เสมอไปว่าจะหุงข้าวกินได้ทุกคน บางทีดิบ บางทีแฉะ  บางทกี ไ็ หม ้ ทง้ั นเ้ี พราะไมม่ ศี ลิ ปะในการหงุ ขา้ ว ถงึ กบั ขา้ วกเ็ หมอื น กนั  เชน่  แกงเผด็  สตู รของมนั กอ็ ยา่ งเดยี วกนั  วธิ ที ำ� อยา่ งเดยี วกนั   แตค่ นหนงึ่ ทำ� ไดอ้ รอ่ ย บางคนทำ� ไมเ่ ปน็ ทา่  เหลา่ นเ้ี ปน็ ตน้  ไมว่ า่ จะ  เป็นงานอ่ืนๆ ก็จะต้องมีศิลปะ เช่น เล่นกีฬาเตะฟุตบอล เราเห็น  แล้วนั่นก็ไม่ยากแตอ่ ย่างไร แตพ่ อเตะเข้าจรงิ แลว้ มนั ไมไ่ ด้อยา่ งท่ี  เราคิด จะเตะถูกแต่ละทีก็ดูจะยาก ถึงถูกก็ไม่ไปตามท่ีต้องการ  รวมความแล้วความรู้กับความเป็นมันคนละทาง หรืออย่างที่ได้  กลา่ วไวข้ า้ งตน้ นน้ั วา่  การทำ� ไดก้ บั ทำ� เปน็ ไมเ่ หมอื นกนั  เชน่  คนพดู   ไดใ้ ครๆ กพ็ ดู ได ้ แตก่ ารทจ่ี ะพดู ใหไ้ ดจ้ งั หวะทว่ งทนี น้ั ไมไ่ ด ้ หรอื การ  รอ้ งเพลง ใครๆ กร็ อ้ งได ้ แตจ่ ะใหร้ อ้ งเปน็  ยากมาก เหลา่ นเ้ี ปน็ ตน้   ฉะน้ัน อย่าได้เข้าใจผิดว่าความรู้กับความเป็นมีค่าเท่ากัน ซึ่งคน  ประเภทนมี้ กั จะเสยี  กลา่ วคอื เมอื่ ตนมคี วามรอู้ ะไรบา้ งแลว้  มกั จะ  เขา้ ใจวา่ ตวั เปน็  นกึ วา่ ตวั มฝี มี อื  ตวั มศี ลิ ปะเหมอื นกนั  คนจำ� พวกนี้  ทำ� ให้สงั คมยงุ่ เอามาก การที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงมงคลข้อน้ีไว้ เพื่อให้เรารู้จักว่า  ล�ำพังความรู้หาเป็นการเพียงพอไม่ ต้องมีศิลปะ คือท�ำเป็นแล้ว  จึงจะดแี ท้ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 117

๘มงคลขอ้ ที่ มศี ิลปะ ศิลปะเป็นมงคลอยา่ งไร ก่อนอ่ืนเราจะต้องเข้าใจความหมายของค�ำว่า เป็นมงคล  อยา่ งไร เราจะตอ้ งนกึ ถงึ ตน้ ไม ้ ดอกไมท้ เ่ี ราปลกู เสยี กอ่ น เปน็ ตน้   ว่า ขนุน ทุเรียน เงาะ ดอกกุหลาบ ทานตะวัน และอ่ืนๆ ความ  งอกงามของมนั มอี ยสู่ องระยะ คอื ระยะสรา้ งตวั มนั เองและระยะให้  ผล ระยะเรม่ิ ตน้ มนั มกี ง่ิ มใี บ มลี ำ� ตน้  ระยะนแ้ี มจ้ ะมมี ากกไ็ มไ่ ดใ้ ห ้ ประโยชนอ์ ยา่ งไร เพราะใบ เปลอื ก กนิ ไมไ่ ด ้ ขายกไ็ มไ่ ด ้ (ยกเวน้   ไม้บางประเภทท่ีขายท้ังใบและผล หรือขายต้น อย่างเช่น กล้วย  หรือต้นไม้สัก ไม้ตะแบก ฯลฯ) ท้ังกลิ่นและท้ังรสก็ไม่เป็นท่ีน่า  ชอบใจ ตอ้ งรอคอยจนถงึ อกี ระยะหน่งึ คอื ระยะให้ดอกและให้ผล เช่นเดียวกัน ความรู้ทุกอย่างที่เรามีอยู่ มันจะช่วยตัวเราได ้ กเ็ พราะเรามศี ลิ ปะเทา่ นน้ั  คอื เอาความรอู้ อกมาใชใ้ หเ้ ปน็ ประโยชน์  ความรตู้ า่ งๆ ทเี่ รามเี ปรยี บเหมอื นเปลอื กไมก้ บั ตน้ ไมเ้ ทา่ นนั้  สว่ น  ศลิ ปะนน้ั เปรยี บเหมอื นผลและดอก ซงึ่ ทำ� ใหเ้ ราอม่ิ ได ้ เรารำ่� รวยได้  เปรียบเหมือนเรามีข้าวกิน ไม่ได้หมายความว่าเราจะอ่ิมเพราะม ี ข้าวกิน แต่จะอ่ิมเพราะกินข้าวท่ีเรามีแล้วน้ันด้วย เพราะฉะน้ัน  พระพุทธองค์จึงทรงตรัสว่า การมีศิลปะประจ�ำตัวเป็นมงคล คือ  ท�ำใหม้ ีความเจริญกา้ วหนา้ ได้ ได้กล่าวมาเสียนานเกี่ยวกับการมีศิลปะของฆราวาส ส่วน  ทางพระภกิ ษนุ น้ั  พระพทุ ธองคก์ ท็ รงตรสั ถงึ ความเปน็ ผมู้ ศี ลิ ปะไว้  ใน ทสกนบิ าต อังคตุ ตรนกิ าย สตั ตมสูตร ทุติยวรรค วา่ 118 มงคล ๓๘ ประการ

“ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในพระพุทธศาสนาน้ีมีความฉลาด  ในกิจการต่างๆ ทางบรรพชิตพึงกระท�ำ ซึ่งกิจการน้อยใหญ่ใน  พระพุทธศาสนา กิจน้อยน้ันก็คืออาคันตุกกิจ (การต้อนรับแขก)  ภิกษุผู้มาสู่อาวาสและกลับไปจากอาวาส และปฏิบัติอุปัชฌาย ์ อาจารย์ กวาดลานพระอุโบสถและลานพระเจดีย์และอาวาส เป็นต้น กิจใหญ่น้ันคือ ตัดจีวรและเย็บจีวร ตลอดจนปฏิสังขรณ ์ วัดวาอาวาสกุฏิวิหารท่ีช�ำรุดให้ปกติ ต้ังมั่นถาวรเป็นที่สุด กิจ  ทงั้ สองนเ้ี ปน็ กจิ ของภิกษุในพระพุทธศาสนาจะพึงกระท�ำ ถ้าภิกษุ  ทั้งหลายท�ำได้ดังนี้ จัดว่าเป็นผู้ฉลาดในพระพุทธศาสนา ย่อม  เปน็ คุณแก่ตนและผู้อื่นจดั เปน็ มงคลอนั ประเสริฐ” ในทางพระพทุ ธศาสนา พระพทุ ธองคไ์ ดท้ รงยกยอ่ งสรรเสรญิ   พระอานนทว์ ่าเปน็ ผมู้ ศี ิลปะ ดังมีเร่ืองราวทจี่ ะเลา่ ตอ่ ไปน้ี พระพุทธเจา้ ทรงยกย่อง สรรเสริญพระอานนท์ แต่ก่อนน้ีจีวรของพระเราไม่เหมอื นในปัจจบุ นั น้ี และเป็นผา้   ผนื เดยี วไมเ่ ยบ็ ปะตดิ ปะตอ่ เหมอื นอยา่ งทกุ วนั น ้ี ปรากฏวา่ ผา้ ของ  พระในคร้ังน้ันมีราคา ถูกพวกโจรแย่งชิงผ้าอยู่เนืองๆ ต่อมาเมื่อ  พระพุทธเจ้าได้เสด็จด�ำเนินมาถึงแคว้นมคธ ได้ทอดพระเนตร  กระทงนาของชาวแควน้ มคธ จงึ มรี บั สง่ั แกพ่ ระอานนทว์ า่  “อานนท ์ ท่านอาจสามารถจะท�ำจีวรให้เหมือนกับกระทงนาของชาวแคว้น สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 119

๘มงคลข้อที่ มศี ิลปะ มคธน้ีได้หรือไม่ เพราะการกระทำ� ดังน้ี จะทำ� ให้ผ้านี้ไม่มีราคาไม่  เปน็ ทป่ี รารถนาของโจรทั้งหลาย” พระอานนท์ได้รับพุทธบัญชา ไปตัดจีวรเป็นรูปกระทงนา ของชาวแคว้นมคธแล้วย้อมด้วยสีน�ำมาถวายแก่พระพุทธเจ้า  พระพุทธเจ้าเมื่อได้รับแล้วก็ทรงยกย่องสรรเสริญพระอานนท์ว่า  เปน็ ผมู้ ปี ญั ญา และทรงอนญุ าตใหภ้ กิ ษทุ ง้ั หลายถอื เปน็ แบบอยา่ ง  ในการตัดเยบ็ จวี รพระตอ่ มาจนถงึ ปจั จุบนั น้ี 120 มงคล ๓๘ ประการ

มงคล ๙ขอ้ ท่ี วินโย จ สุสกิ ฺขิโต (มวี ินยั ดี) ในความหมายของมงคลข้อท่ี ๗ ได้เคยกล่าวไว้แล้วว่า  พระพทุ ธองคไ์ ดท้ รงสงั่ สอนใหค้ นเราตอ้ งเรยี นความรทู้ างโลก และ  ทางศลี ธรรมดว้ ย เพราะวา่ จะมคี วามรแู้ ตเ่ พยี งอยา่ งเดยี วไมไ่ ด ้ เรา  มาลองพจิ ารณาดวู ่า ถ้าคนเรามีความร ู้ ความเป็น แต่ขาดความรู้  ทางศีลธรรมท่ีเรียกว่า วินัย แล้วก็จะมีท้ังคุณและท้ังโทษเท่ากัน  เพราะความรู้และความเป็นนั่นแหละ คนเราจึงสามารถท่ีจะท�ำ  ทุจริตต่อหน้าที่ คดโกงต่างๆ แล้วก็ต้องติดคุกติดตารางเป็นปีๆ  สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 121

๙มงคลข้อท่ี มวี ินัยดี เพราะความรแู้ ละความเปน็ นน่ั เอง จงึ ทำ� ใหค้ ดิ อา่ นทำ� ความผดิ ทาง  อาญาแผน่ ดนิ  จนกระทงั่ ตวั เองตอ้ งระเหเรร่ อ่ นไมม่ แี ผน่ ดนิ จะอย่ ู พระพทุ ธองคข์ องเราไดท้ รงสอนใหเ้ ปน็ ผมู้ คี วามรอบร ู้ รจู้ กั ทำ� แลว้   จึงทรงสั่งด้วยวา่  ต้องมวี ินัย ตามมงคลข้อนี้พระพุทธวจนะว่า วินโย จ สุสิกฺขิโต แปลว่า  มวี นิ ยั ทไ่ี ดศ้ กึ ษาดแี ลว้  ในพระพทุ ธศาสนามอี ย ู่ ๒ อยา่ งคอื  คำ� สงั่   กบั  คำ� สอน วนิ ยั เปน็ คำ� สงั่  หมายความวา่  สงั่ ใหท้ ำ� อยา่ งนน้ั อยา่ งนี้  ไมใ่ หท้ ำ� อย่างน้นั อย่างน้ี นีเ่ ปน็ ลักษณะของคำ� วา่  วนิ ัย การด�ำเนินชีวิตของเราน้ันมีอยู่ ๒ ทาง คือทางโลกกับทาง  ธรรม ในตัวของเรามีความส�ำคัญอยู่ ๒ อย่างคือ ชีวิตกับจิตใจ  ชวี ติ แปลวา่ ความเปน็ อยตู่ อ้ งขนึ้ กบั โลก ตอ้ งพง่ึ โลกชวี ติ จงึ จะเจรญิ   ก้าวหน้าได้ ส่วนจิตใจน้ัน ต้องอาศัยธรรม การอบรมจิตใจทาง ธรรม จึงจะท�ำให้จิตใจของเราเจริญก้าวหน้าได้ เพราะฉะน้ัน เรา  จึงต้องด�ำเนินชีวิตให้สอดคล้องทั้งสองทาง ฉะนั้นวินัยที่จะใช้เป็น  เคร่ืองมอื ก�ำกบั ความรนู้ นั้ จึงมอี ยสู่ องทางดว้ ยเหมือนกัน คือ วินยั ทางโลก เรยี กวา่  อาคารยิ วินยั วนิ ัยทางธรรม เรียกว่า อนาคารยิ วนิ ยั การอยรู่ วมกนั เปน็ หมมู่ ากทจี่ ะใหค้ วามสขุ ไดน้ นั้ จะตอ้ งอาศยั   วินัยเป็นเครื่องควบคุมความเป็นอยู่ ชาวบ้านท่ีอยู่ทางโลกก็ต้อง  รกั ษาวนิ ยั ทางธรรมดว้ ย สว่ นพระสงฆส์ ามเณรทอี่ ยทู่ างธรรม กจ็ ะ  ตอ้ งรกั ษาวนิ ยั ทางโลกดว้ ย ถา้ เราทง้ิ ทางใดทางหนง่ึ แลว้ จะเปน็ ผลเสยี   อยา่ งมาก เชน่  ทางโลกไมม่ วี นิ ยั ทางธรรมก�ำกบั  กเ็ สยี ผลทางดา้ น  อบรมจิตใจ ทางธรรมไม่มีวินัยทางโลก ถึงจะไม่เสียผลทางด้าน  122 มงคล ๓๘ ประการ

จติ ใจ แตก่ ไ็ มม่ คี วามราบรน่ื ในชวี ติ  ถา้ ใครทง้ิ ทง้ั สองทาง กเ็ หมอื น  หลบั ตาเดนิ  มแี ตภ่ ยั อนั ตรายรอบดา้ น พระพทุ ธองคจ์ งึ ทรงตรสั วา่ “โน เจ อสสฺ  สกา พทุ ธฺ  ิ วนิ โย วาสสุ กิ ขฺ โิ ต วเน อนธฺ มหฺ โี สว  จเรยยฺ  พาหุโก ชโน” แปลความวา่  พฤตกิ ารณข์ องคนหมมู่ าก ทไี่ มม่ คี วามรรู้ กั ษา  ตัว หรอื ไมม่ วี นิ ยั จะเปน็ เหมือนควายบอดที่เทยี่ วอยใู่ นป่าดง ความหมายของทางรูปศัพท์ว่า วินัย มูลศัพท์เดิมว่า วิ + น ี คำ� วา่  น ี แปลวา่  นำ� ไป คำ� วา่  ว ิ แปลได ้ ๓ อยา่ งคอื  แปลวา่  วเิ ศษ  ก็ได้ หรือแปลว่า แจ้ง ก็ได้ และแปลว่า ต่างๆ ก็ได้ เม่ือเอาคำ� ว่า  วิ มานำ� หน้า คำ� วา่  นี สำ� เรจ็ รปู เป็น วนิ ัย วินัยทางโลก หมายถึงระเบียบการควบคุมในสังคมหน่ึงๆ  ซงึ่ เปน็ ขอ้ บงั คบั ของสงั คม ซง่ึ เรยี กกนั หลายอยา่ ง เปน็ ตน้ วา่  พระ  ราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา กฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ แบบแผน ธรรมเนยี ม ค�ำสงั่  กตกิ า และอกี หลายๆ อยา่ ง สงิ่ เหลา่   นีเ้ ปน็ วนิ ยั ทง้ั สน้ิ นกั ปราชญท์ กุ ชาตทิ กุ ภาษา ตา่ งกลา่ วกนั เปน็ เสยี งเดยี วกนั วา่   วนิ ัย เป็นข้อแตกต่างท่ีท�ำใหม้ นษุ ยม์ คี วามแตกตา่ งจากสตั วท์ ว่ั ไป  มนุษย์มีจารีตประเพณี เพ่ือด�ำเนินวิถีชีวิตของหมู่คณะ มีศาสนา  เป็นเครื่องคุ้มครองใจ มีปัญญาสามารถถอดเอาความรู้สึกทางดี  งามสร้างข้ึนเป็นศิลปกรรม เพื่อความสดชื่นบันเทิงแก่จิตใจ และ  มภี าษาเปน็ เครอื่ งถา่ ยทอดความรตู้ า่ งๆ เหลา่ นเ้ี ปน็ เครอ่ื งแตกตา่ ง  ท่ีมนุษย์มีมากกว่าสัตว์ท้ังหลาย การเป็นอยู่ในชีวิตประจำ� วันของ  สงั คมทอ่ี ยกู่ นั ดว้ ยความสงบนน้ั ตอ้ งมวี นิ ยั เปน็ เครอ่ื งควบคมุ  เชน่   สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 123

๙มงคลขอ้ ท่ี มวี ินยั ดี จะค้าขาย จะแต่งงาน จะหย่าร้าง จะไปทางบกทางอากาศ มีวินัย  ควบคุมไว้ทั้งส้ิน แม้เวลาท่ีชกต่อยกันก็ต้องมีวินัย คือกติกา หรือ  แม้แต่จะรบราฆ่าฟันกันก็มีวินัย เรียกว่ายุทธวินัย นี่แสดงให้เห็น  แล้วว่าวินัยเป็นสิ่งที่ทั่วโลกยอมรับรอง แม้แต่กระท่ังเราจะเลือก  บุคคลใดเป็นผู้น�ำเราก็จะต้องดูว่า ผู้นั้นมีวินัยไหม หรือว่าเคารพ  วินัยหรือไม่ การเลือกคนท่ีไม่มีวินัย ไม่รู้จักวินัย ไปเป็นผู้บัญญัต ิ วนิ ยั  นบั วา่ เปน็ การกระทำ� ทผี่ ดิ อยา่ งชว่ ยไมไ่ ดท้ เี ดยี ว เหมอื นเลอื ก  เอาปศี าจไปเปน็ หมอรักษาคนไข้ทีเดยี ว ในทางธรรมกเ็ หมอื นกนั  ทกุ ๆ ศาสนายอ่ มจะมขี อ้ บญั ญตั ไิ ว ้ ส�ำหรับศาสนิกชนในศาสนาน้ันๆ ในพุทธศาสนาก็ได้บัญญัติวินัย สำ� หรบั พทุ ธศาสนกิ ชนไวอ้ ยา่ งครบถว้ น โดยแยกเปน็ สองพวก คอื   อาคาริยวินัย เป็นวินัยของชาวบ้าน และอนาคาริยวินัย เป็นวินัย  ของชาววดั  มพี ระภกิ ษ ุ สามเณร เปน็ ตน้  ใครอยใู่ นประเภทไหนก็  รกั ษาวนิ ัยของประเภทน้ันไว ้ อาคาริยวินยั อาคารยิ วนิ ยั  เปน็ วนิ ยั ของชาวบ้าน เปน็ คนครองเหยา้ ครอง เรอื น ไดแ้ ก ่ ศลี  ๕ ศลี  ๘ ใครจะเลอื กปฏบิ ตั เิ อาอยา่ งหนงึ่ อยา่ งใด  กไ็ ด้ในสองอย่างน้ี ตวั อยา่ งวนิ ัยของชาวบ้าน 124 มงคล ๓๘ ประการ

ศีล ๕   ศีล ๘ เว้นจากฆา่ สัตว์  (เหมือนศลี  ๕) เว้นจากการลกั ทรัพย ์ (เหมือนศลี  ๕) เว้นจากการประพฤตผิ ดิ ในกาม  (เหมือนศลี  ๕) เว้นจากการเสพเมถุน  (เหมอื นศีล ๕) เวน้ จากการพดู เทจ็ (เหมอื นศีล ๕) เวน้ จากการดืม่ สุรา เมรยั ตา่ งๆ  (เหมือนศีล ๕) เวน้ จากการบรโิ ภคอาหาร  ในเวลาวิกาล เว้นจากการ ตบแตง่ รา่ งกาย และดกู ารละเล่น  เว้นจากการนอนบนท่ีนอน อนั สูงใหญภ่ ายใน ยัดดว้ ยนุ่นหรอื สำ� ลี นเ่ี ปน็ โครงประกอบโดยยอ่ ของคฤหสั ถ ์ นอกจากนแี้ ลว้ ยงั จะ  ตอ้ งมขี อ้ ปฏบิ ตั นิ อกเหนอื ไปจากน ้ี ทพี่ ทุ ธศาสนกิ ชนจะตอ้ งศกึ ษา  อีก เรามาพิจารณาถึงวินัยของชาวบ้านเสียก่อนว่ามีความส�ำคัญ  และเปน็ มงคลอย่างไร มาพจิ ารณาเรื่องศลี  ๕ กอ่ น ความมงุ่ หมายของศลี  ๕ นน้ั  เปน็ การรกั ษาความสงบ ความ  สามัคคี และเมตตาธรรมแก่สังคม ซ่ึงเราจะเห็นได้ดังตัวอย่างข้อ  ท ี่ ๑ ทว่ี า่ หา้ มฆา่ สตั ว ์ เรามานกึ ถงึ ตวั ของเราเองเปน็ เกณฑว์ า่  เรามี  ความรักชีวิตหรือไม่ เราก็จะต้องยอมรับว่ารักชีวิตด้วยกันทุกคน  และถ้าใครมาฆ่าเรา เราจะท�ำอย่างไร แน่นอนทุกคนจะต้องสู้  ปอ้ งกนั ตวั  ถา้ สมมตุ วิ า่  เราไมม่ วี นิ ยั ขอ้ นแ้ี ลว้  เราคดิ ดทู หี รอื วา่  เรา  สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 125

๙มงคลข้อท่ี มวี นิ ัยดี จะมคี วามสงบสขุ อยไู่ ดห้ รอื ไม ่ จะตอ้ งรบราฆา่ ฟนั ประหตั ประหาร  ชวี ติ กนั  วนิ ยั ขอ้ นเ้ี ปน็ การรกั ษาสทิ ธชิ วี ติ ของกนั และกนั  และพรอ้ ม  กันน้ัน ก็เป็นเหตุให้มีความเมตตาซึ่งกันและกัน ในข้อท่ี ๒ ห้าม  การลักทรัพย์ เพราะเป็นการท�ำให้ได้รับความเดือดร้อน เพราะ  ทรัพย์เป็นของที่หามาได้ด้วยหยาดเหง่ือแรงงานของตน การลัก  ทรพั ยไ์ มท่ ำ� คนใหเ้ ปน็ คนได ้ เพราะวา่ การลกั นแ้ี มแ้ ตส่ ตั วเ์ ดรจั ฉาน  เช่น สุนัข กา ก็รู้จักลักของๆ คนอ่ืน แล้วเราเป็นมนุษย์ แต่การ  กระทำ� ไมแ่ ตกตา่ งจากสตั วก์ เ็ ปน็ ทน่ี า่ ละอาย ในวนิ ยั ขอ้ ท ี่ ๓ หา้ ม  ประพฤตผิ ดิ ในลกู เมยี ผอู้ นื่  เพราะการเปน็ ชนู้ น้ั เปน็ การขม่ เหงน�้ำใจ  กัน ก่อให้เกิดความแตกร้าวของสังคม วินัยข้อที่ ๔ เว้นจากการ  พูดเท็จ เพราะการพูดโกหกกันนั้นเป็นการท�ำลายประโยชน์ของ  ผอู้ นื่  ทางศาสนาตำ� หนมิ าก และในวนิ ยั ขอ้ ท ่ี ๕ คอื เวน้ จากการดม่ื   สุราเมรัยเคร่ืองมึนเมา เพื่อต้องการให้คนเรามีสติสัมปชัญญะ มี  ความรสู้ กึ รบั ผดิ ชอบ ไมเ่ ปน็ คนทป่ี ระมาทมวั เมา เพราะสรุ าเปน็ ท ่ี ตง้ั ของความประมาท การรักษาวินัยเหล่าน้ีไม่ใช่เป็นเร่ืองของการบังคับหรือฝืน  จติ ใจ เพราะการทำ� อยา่ งนนั้ เปน็ การกระทำ� ทเ่ี ปรยี บเสมอื นลกู จา้ ง  ทที่ ำ� ไปเพราะหวงั ใหเ้ จา้ นายรกั  คนประเภทนเี้ มอ่ื มอี �ำนาจเหมอื น  คนอน่ื เมอ่ื ใด กจ็ ะกลายเปน็ ผนู้ �ำในทางผดิ วนิ ยั  หมายความวา่  ตวั   เขาเองจะเป็นผู้เปิดช่องให้ความหายนะหล่ังไหลเข้ามาสู่หมู่คณะ  การรักษาวินัยคือการปรับปรุงตัวเองให้ดีขึ้น เป็นผลภายในของ  ตัวเองแท้ๆ และถ้าใครกล้าลบหลู่ระเบียบวินัยเหยียบย�่ำระเบียบ  วนิ ยั  กเ็ หมือนกบั วา่ เหยยี บยำ่� ตัวเอง 126 มงคล ๓๘ ประการ

อนาคารยิ วนิ ยั วนิ ยั นเี้ ปน็ วนิ ยั สำ� หรบั พระภกิ ษโุ ดยเฉพาะ ซง่ึ เราไมส่ ามารถ  ทจ่ี ะนำ� มาชแ้ี จงใหถ้ ถ่ี ว้ นได ้ เพราะถา้ ทำ� อยา่ งนนั้ กจ็ ะกลายเปน็ วา่   อธิบายวินัยของพระไป ซ่ึงไม่ใช่จุดประสงค์ของหนังสือน้ี แต่จะ  กลา่ วโดยยอ่ เกย่ี วกบั วนิ ยั ของพระกม็ อี ย ู่ ๔ คอื  ปาฏโิ มกขสงั วรศลี   ความสำ� รวมในพระปาฏโิ มกข ์ ไดแ้ ก ่ ศลี ของพระ ๒๒๗ ขอ้  เรม่ิ แต ่ ปาราชิก ๔ สังฆาทิเสส ๑๓ เป็นต้น อินทรียสังวรศีล คือการ  สำ� รวมในอนิ ทรยี ท์ ง้ั  ๖ ม ี ตา ห ู จมกู  ลนิ้  กาย และใจ อาชวี ปาร-ิ   สุทธิศีล การแสวงหาเลี้ยงชีพในทางท่ีบริสุทธ์ิ ไม่หลอกลวงเขา  เล้ียงชีพ เช่น ท�ำเล่ห์กะเท่บอกใบ้หวย เพื่อหวังลาภสักการะ  เป็นต้น ปัจจัยสันนิสสิตศีล ให้ภิกษุพิจารณาปัจจัย ๔ ที่ได้มา มี  บิณฑบาต เป็นต้น เหล่านี้เป็นกุศลโดยย่อ หรือวินัยของพระ ซ่ึง  เรียกว่า อนาคาริยวินัย ถ้าจะมีค�ำถามว่า ผู้ท่ีไม่รักษาวินัยทั้ง ๔  อยา่ งนจ้ี ะเปน็ อยา่ งไร ขอ้ นที้ า่ นแกว้ า่  ภกิ ษผุ ไู้ มร่ กั ษาวนิ ยั ทงั้  ๔ นี้  ช่ือว่า เป็นอลัชชี ผู้ไม่มียางอาย เป็นผู้ย่�ำยีศาสนา ครั้นตายลงไป  แลว้ ย่อมไปเกิดในอบาย สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 127

๙มงคลขอ้ ท่ี มีวินยั ดี ผลของการมีวนิ ัย เม่ือเราเข้าใจถงึ เรอื่ งของวินยั มาพอสมควรแลว้  ขอใหเ้ รามา  พจิ ารณาถงึ ผลทเ่ี ราจะไดร้ บั จากการมวี นิ ยั  เราจะสงั เกตเหน็ งา่ ยๆ  จากดอกไม ้ ซงึ่ แตล่ ะดอกกม็ คี วามงามอยใู่ นตวั ของมนั แลว้  แตถ่ า้   เรานำ� เอามนั มารอ้ ยรวมกนั เขา้ เปน็ พวงมาลยั  หรอื นำ� มาจดั รวมกนั   ในแจกนั  กจ็ ะทำ� ใหม้ คี วามงามมากยงิ่ ขน้ึ  คนเรากเ็ หมอื นกนั  ตอ้ ง  ไดร้ บั การปรงุ แตง่ ดว้ ยวนิ ยั ดอี ยใู่ นตวั ของแตล่ ะบคุ คลแลว้ จะท�ำให ้ หมคู่ ณะงามไปด้วย ดงั ไดก้ ลา่ วถงึ ความหมายของคำ� วา่  วนิ ยั  ในตอนตน้ แลว้ วา่ มี  ความหมายวา่ อยา่ งไร เพราะค�ำวา่  ว ิ นน้ั แปลวา่ วเิ ศษ แปลวา่  แจง้   แปลว่า ต่าง กไ็ ด ้ เมื่อรวมกันแล้วกจ็ ะได้ความหมายว่า น�ำไปดี (วิเศษ)  นำ� ไปแจง้ นำ� ไปตา่ ง คำ� วา่  นำ� ไปด ี หมายความวา่  ทำ� ใหผ้ รู้ กั ษาเปน็ คนดขี นึ้  หรอื   วิเศษขึ้น ตรงกันข้าม คนท่ีไม่มีวินัยก็คือคนท่ีไม่ดี ดีไม่ได้มีแต่จะ  เลวลง แมจ้ ะเขา้ ใจวา่ ตวั ดวี เิ ศษกเ็ ปน็ การเขา้ ใจเพราะความหลงผดิ วินัยน�ำไปดี วินัยน�ำไปดีหรือท�ำให้เป็นคนวิเศษ น้ันหมายความว่า วินัย  ท�ำให้พลเรือนเป็นทหาร วินัยท�ำให้เด็กกลางถนนเป็นนักเรียน  128 มงคล ๓๘ ประการ

นกั ศกึ ษา วนิ ยั ทำ� ใหเ้ ดก็ ชาวบา้ นเปน็ สามเณร และวนิ ยั อกี นนั่ แหละ  ท�ำให้สามเณรเป็นพระ วินัยนี้เป็นของประหลาดและศักดิ์สิทธ ิ์ มีอิทธิพลอย่างประหลาด ท�ำให้คนที่เข้าบวชในพระพุทธศาสนา  แมว้ า่ จะมอี ายเุ พยี งคราวลกู คราวหลาน กท็ ำ� ใหญ้ าตพิ น่ี อ้ งเพอื่ นฝงู   ตลอดจนผู้บังคับบัญชา พากันกราบไหว้ด้วยความอ่อนน้อม  นอกจากน้ันแม้แต่พระมหากษัตริย์ก็ทรงถวายความเคารพแก ่ ผทู้ คี่ รองวนิ ยั สงฆ ์ นเี่ ปน็ ผลของวนิ ยั  ทกุ คนทท่ี ำ� ตวั อยใู่ นแบบของ  วินัยแล้ว จะเป็นคนดีข้ึนทั้งนั้น และตรงกันข้ามคนที่ไม่มีวินัยจะ  เปน็ คนไมด่ ขี นึ้ เลย นอกจากนนั้ ถา้ เราจะมองดภู ายนอกอกี  เปน็ ตน้   ว่า การท่ีเราจะเดินทางไปท่ีไหนก็ตามจะต้องมีระเบียบวินัย เช่น  ทำ� ตามกฎของการจราจรอยา่ งเครง่ ครดั จงึ จะทำ� ใหเ้ กดิ ความปลอดภยั ในทางฆราวาสผหู้ วงั ความสขุ ในภายหนา้  พระพทุ ธองคก์ ท็ รง  สอนให้เป็นผู้ที่อยู่ในวินัยก่อน น่ันคือศีล ๕ และศีล ๘ เสียก่อน  พึงจะทำ� ใหเ้ จรญิ งอกงามในการทำ� กศุ ลอ่ืนๆ และในชนั้ ของผทู้ มี่ คี วามตอ้ งการจะท�ำใหจ้ ติ บรสิ ทุ ธหิ์ ลดุ พน้   บรรลุถึงพระนิพพาน พระพุทธองค์ก็ทรงสอนไว้ ๓ ขั้น คือ ศีล  สมาธแิ ละปญั ญา คอื จะตอ้ งเปน็ คนมศี ลี บรสิ ทุ ธด์ิ ว้ ย สมาธ ิ ปญั ญา  จึงจะบรสิ ุทธบ์ิ รรลุผลสมความมุง่ หมาย วินยั น�ำไปแจ้ง หมายความว่า วินัยเป็นเครื่องส่องให้เรารู้ว่าธาตุแท้ของคน  ผนู้ น้ั วา่ เปน็ อยา่ งไรกนั แน ่ จะเปน็ พระ อบุ าสก อบุ าสกิ า เปน็ ทหาร  เป็นต�ำรวจ เป็นนักเรยี น เปน็ ข้าราชการ และอื่นๆ ถา้ ปากวา่ เปน็   สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 129

๙มงคลขอ้ ท่ี มวี นิ ยั ดี วินัยไม่เป็น ไม่อยู่ในขอบเขตวินัยของคนประเภทน้ัน ก็เป็นอันว่า  ผดิ ทไ่ี ป ถา้ คำ� ปฏญิ ญาเพศ และทที า่ กบั วนิ ยั ทเ่ี ขาประพฤตผิ ดิ หรอื   ขดั กนั แลว้  กถ็ อื วนิ ยั เปน็ เครอื่ งตดั สนิ ชข้ี าด วนิ ยั เปรยี บเหมอื นแสง  สว่างท่ีส่องดูคนให้รู้แจง้ ว่าอะไรเป็นอะไร ผดิ หรอื ถกู อย่างไร วินัยนำ� ไปตา่ ง หมายความวา่  วนิ ยั  น้ีเป็นเคร่อื งจ�ำแนกคนเราให้มลี ักษณะ  ไปต่างๆ เพื่อท่ีจะจ�ำแนกความเป็นอยู่ของคน หรือหมู่คณะนั้นๆ  ความแตกต่างจึงอยู่ทว่ี นิ ยั  ตวั อย่างเชน่ คนท่ีซ่องสุมสมัครพรรคพวกและศัตราวุธไว้สู้รบกับคนอื่น  นน้ั  ฝา่ ยทมี่ วี นิ ยั เราเรยี กวา่  กองทหาร เปน็ มงิ่ ขวญั ของประเทศชาต ิ ฝ่ายท่ีไม่มีวนิ ัยเราเรยี กว่า กองโจร เป็นภยั แก่ประเทศและหมูช่ น คนท่ีพกอาวุธเดินส่ายอาดๆ เข้าไปในที่ชุมชน ถ้าเป็นคนมี  วนิ ยั เราเรยี กว่า ต�ำรวจ แต่ถ้าคนน้นั ไม่มีวนิ ัยเราเรียกวา่  นกั เลง คนที่เท่ียวภิกขาจารพ่ึงคนอื่นเล้ียงชีพ ถ้าเป็นผู้รักษาสิกขา  วินัย เราก็เรียกว่า ภิกษุ เป็นเนื้อนาบุญของคนท่ัวไป ถ้าเป็นคน  ไม่มีสกิ ขาวนิ ยั  เรากเ็ รียกว่า ยาจก เหล่านี้เป็นเครื่องจ�ำแนกบุคคลและหมู่คณะให้เป็นไปต่างๆ  ดงั ที่ได้อธบิ ายมานี ้ ความเปน็ มงคลของผู้มวี นิ ยั นนั้ กค็ อื  ท�ำตนให้  เป็นคนดี ท�ำหมู่คณะให้อยู่ในความเรียบร้อยสงบสุข คนที่มีวินัย  จงึ ยอ่ มจะเปน็ ทเ่ี คารพเชอื่ ถอื ของคนทว่ั ไป บคุ คลทไ่ี มม่ วี นิ ยั  ชอ่ื วา่   เปน็ อปั มงคล ไมเ่ ป็นมงคล 130 มงคล ๓๘ ประการ

มงคล ๑๐ข้อท่ี สุภาสติ า จ ยา วาจา (มีวาจาเปน็ สุภาษติ ) ค�ำโบราณมีอยู่ค�ำหนึ่งว่า “ปากเป็นเอก เลขเป็นโท หนังสือ  เปน็ ตร”ี  ซงึ่ เปน็ เครอื่ งยนื ยนั แลว้ วา่  ในบรรดาสงิ่ ส�ำคญั ในรา่ งกาย  ของเรานน้ั ปากเปน็ สง่ิ สำ� คญั ทสี่ ดุ  ปากใชก้ นิ อาหารมาเลย้ี งรา่ งกาย  และปากกน็ ำ� ความดแี ลความชว่ั มาใหเ้ จา้ ของเหมอื นกนั  เขา้ ทำ� นอง  ทวี่ า่  “ปลาหมอตายเพราะปาก” ดังนเ้ี ปน็ ต้น ด้วยความส�ำคัญซึ่งน�ำมาท้ังคุณและโทษดังน้ี มงคลในข้อที่  ๑๐ จงึ ไดช้ ล้ี งไปทปี่ าก โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ลมปาก เพราะบรรดาลม  ท้ังหลายที่มีอยู่ในโลก ไม่ว่าจะเป็นพายุ ไต้ฝุ่น ลมสลาตัน ซ่ึงเรา  ถือกันว่าร้ายแรงมาก แต่ก็ยังเป็นรองความร้ายกาจของลมปาก  ลมปากของเราน ี้ ไมพ่ ดั รนุ แรงพดั แผว่ ๆ เทา่ นน้ั  แตว่ า่ ฤทธขิ์ องมนั   รา้ ยแรงนกั  ลมสลาตนั  ลมพาย ุ ไตฝ้ นุ่  เมอื่ มนั พดั แรงมากพ็ ดั เอา  สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 131

๑๐มงคลข้อที่ มวี าจาเป็นสุภาษติ หลงั คาบา้ นเรอื นปลวิ กระจายไปคนละทศิ ละทาง แตล่ มปากมนั พดั   หลงั คาบา้ นเรอื นไมก่ ระดกิ  ทวา่ ทำ� ใหพ้ อ่ บา้ นแตกจากแมบ่ า้ น ทงิ้   ลูกเต้าหนีไปคนละทิศละทาง ปากคนทำ� ให้เกิดความสามัคคีก็ได้  หรือความพินาศก็ได้ จึงเป็นลมที่ร้ายแรงมาก โบราณท่านจึงถือ  เอาวา่  ปากเปน็ เอก เลขเปน็ โท เพราะความสำ� คญั ตา่ งๆ อยทู่ ปี่ าก เปน็ ใหญ่ มงคลท ี่ ๑๐ จงึ ว่าดว้ ยเร่ืองความส�ำคญั ของปากโดยตรง ซงึ่   ตามพระบาลีว่า สุภาสิตา จ ยา วาจา แปลตามศัพท์ว่า วาจา  สุภาษิต หมายความว่า วาจาชนิดน้ีใครท�ำข้ึนได้เป็นมงคล ทั้งแก่  ผนู้ น้ั เองและผฟู้ งั ดว้ ย คำ� พดู ของคนเราในโลกน ้ี เมอ่ื นบั อยา่ งรวบ  ยอดแล้วจะได้อย ู่ ๒ ชนิดคือ คำ� พูดด ี ทง้ั หมดเรียกว่า สุภาษิต ค�ำพดู เสีย ท้งั หมดเรียกว่า ทพุ ภาษติ ค�ำว่า สุภาษิต หรือ สุภาสิตา วาจา แปลว่า ค�ำพูดที่พูดดี  แลว้  มลู ศพั ทเ์ ดมิ คอื  ส+ุ ภาสติ า ส ุ แปลวา่  ด ี ภาสติ า แปลวา่  พดู   แลว้  คำ� วา่  ภาสติ า รากศพั ทอ์ นั เดยี วกนั กบั คำ� วา่  ภาษา คอื  คำ� พดู   เพราะฉะนน้ั  เมอ่ื รวมกนั เขา้ แลว้ จะไดค้ วามวา่  สภุ าสติ า คอื  คำ� พดู   ท่ผี พู้ ูดๆ ดีแล้ว เราจะตอ้ งสงั เกตค�ำนดี้ วู า่  ทา่ นหมายถงึ วา่  สภุ าษติ นนั้ ไมไ่ ด้  หมายความวา่ พดู ดเี ฉยๆ จะตอ้ งหมายถงึ วา่ พดู เพราะดว้ ย บางคน  พูดดีแต่ไม่มีความไพเราะ อาจจะท�ำให้คนอ่ืนเข้าใจผิดได้ง่ายๆ  อย่างที่เรียกกันว่า พูดมะนาวไม่มีน้�ำ ดังท่ีผู้เขียนได้กล่าวไว้ใน  มงคลท ี่ ๘ วา่  พดู ได ้ กบั  พดู เปน็  นน้ั เปน็ คนละอยา่ ง คนทม่ี วี าจา  132 มงคล ๓๘ ประการ

สุภาษติ  ไม่ใช่หมายถงึ พดู ดอี ย่างเดยี ว ตอ้ งพดู เพราะด้วย ลกั ษณะ สภุ าสติ า ทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ทรงแสดง กลา่ วไว ้ ๕ ชนดิ   ซ่งึ ได้ทรงแสดงไวใ้ น สุภาสิตคสูตร พระสตุ ตนั ตปฎิ กวา่ ๑. กาเลน ภาสติ า  คำ� พดู ทถี่ กู กาลเทศะ ๒. สจจฺ า ภาสติ า  ค�ำทเี่ ปน็ ความจริง ๓. สณหฺ า ภาสิตา  ค�ำทีส่ ุภาพ ๔. อตฺถสญฺหิตา ภาสิตา  ค�ำทีม่ ีประโยชน์ ๕. เมตฺตจติ เตน ภาสิตา  คำ� พดู ท่ีประกอบด้วยเมตตา จากองค์ประกอบเหล่านี้ท่ีพระพุทธองค์ได้ทรงแสดงไว้ ซ่ึง  เป็นเคร่ืองแสดงว่า วาจาภาษิตนั้นจะต้องประกอบด้วยองค์ท้ัง ๕  จะขาดอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ไมไ่ ด ้ ซง่ึ ตอ่ ไปนเ้ี รากจ็ ะไดศ้ กึ ษาท�ำความ  เขา้ ใจในหวั ขอ้ ธรรมตอ่ ไป ๑. กาเลน ภาสิตา ค�ำพดู ท่ีถกู กาลเทศะ ความหมายขององคป์ ระกอบในขอ้ น ้ี มคี วามหมายถงึ วา่  การ  ท่ีเราจะพูดอะไรน้ัน ประการแรกทีเดียวนั้นเราจะต้องดูกาลเทศะ  คือ เวลาและสถานท่ี เพราะถ้าเราไม่ดูกาลดูสถานที่แล้ว บางท ี ความหวังดีของเราก็จะกลับกลายเป็นว่าให้โทษก็เป็นได้ จะเข้า  ทำ� นองทว่ี า่  ทำ� คณุ บชู าโทษ อะไรทำ� นองนนั้  ดว้ ยเหตนุ ท้ี า่ นจงึ ตอ้ ง  ให้เราดูกาลเสียก่อนว่า เวลาน้ีเราควรพูดหรือไม่ และสถานท่ีน้ี  สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 133

๑๐มงคลขอ้ ท่ี มวี าจาเปน็ สุภาษติ ควรจะพูดไหม เป็นต้น เรื่องการพูดที่ถูกตามกาลเวลาสถานท่ีน ้ี พระพุทธเจ้าของเราก็ตระหนักถือเป็นเร่ืองส�ำคัญมาก ดังที ่ พระองค์ได้ตรัสไว้ใน มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ อภัยราช กมุ ารสูตร สตุ ตนั ตปิฎก ว่า “วาจาทไี่ มจ่ รงิ ไมแ่ ท ้ ไมป่ ระกอบดว้ ยประโยชน ์ และวาจานนั้   ไม่เป็นท่ีรัก ไม่เป็นท่ีชอบใจของผู้อ่ืน ตถาคตไม่กล่าววาจาน้ันๆ  อนงึ่ ตถาคตยอ่ มรวู้ าจาทจ่ี รงิ ทแี่ ท ้ แตไ่ มป่ ระกอบดว้ ยประโยชนแ์ ละ  วาจานนั้ ไมเ่ ปน็ ทรี่ กั  ไมเ่ ปน็ ทชี่ อบใจของผอู้ นื่  ตถาคตไมก่ ลา่ ววาจา  นั้นๆ อน่ึง ตถาคตย่อมรู้วาจาท่ีจริง ที่แท้ และประกอบด้วย  ประโยชน ์ แตว่ าจานนั้ ไมเ่ ปน็ ทรี่ กั  ไมเ่ ปน็ ทชี่ อบใจของผอู้ น่ื  ในขอ้ นน้ั   ตถาคตย่อมรู้กาลท่ีจะพยากรณ์วาจาน้ันๆ ตถาคตย่อมรู้วาจาท่ ี ไม่จริง ไม่แท้ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ แต่วาจานั้นเป็นท่ีรัก ท่ ี ชอบใจของผู้อื่น ตถาคตไม่กล่าววาจานั้นๆ ตถาคตย่อมรู้วาจาท่ี  จริงแท้ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ แต่วาจาน้ันเป็นที่รัก ที่ชอบใจ  ของผู้อ่ืน ตถาคตไม่กล่าววาจานั้นๆ อนึ่งตถาคตย่อมรู้วาจาท่ีจริง  ทแี่ ท ้ และประกอบดว้ ยประโยชน ์ และวาจานน้ั เปน็ ทรี่ กั  เปน็ ทชี่ อบ  ใจของผอู้ น่ื  ในขอ้ นนั้  ตถาคตยอ่ มรกู้ าลทจ่ี ะพยากรณว์ าจานนั้ ฯ...” จากพทุ ธวจนะขอ้ น้ี เราก็จะเห็นได้แลว้ ว่า แม้สิง่ เหลา่ นน้ั จะ  เป็นของจริง และเป็นประโยชน์ ก็ต้องรู้กาลที่จะกล่าวเหมือนกัน  ไม่ใช่ว่าเป็นของจริงแล้วจะกล่าวได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ ฉะนั้นจึง  ควรท�ำความเข้าใจในท่ีนี้เสียเลยว่า เราจะพูดเรื่องจริงก็ตาม จะ  ต้องรู้กาล รู้สถานท่ีด้วยจึงจะเป็นมงคล ไม่อย่างนั้นแล้วจะน�ำ  ความอปั มงคลมาส่ตู ัวเอง 134 มงคล ๓๘ ประการ

๒. สจจฺ า ภาสิตา ค�ำทเี่ ปน็ ความจรงิ ตามความหมายของข้อน้ี หมายถึงวาจาที่เป็นความจริง ค�ำ  วา่  สัจวาจาน ี้ มคี วามหมายอย ู่ ๒ อยา่ งคอื ๑. เร่อื งทพ่ี ูดนั้นเปน็ ความจรงิ ๒. เจตนาของผู้พูดก็พูดด้วยใจจริง ไม่ใช่แกล้งหรือสับปลับ ตลบตะแลง พดู คลุมเครือ ขอให้สังเกตดูว่า ทัศนะในทางพระพุทธศาสนานั้น นิยม  ความจรงิ  เฉพาะเรอ่ื งทพ่ี ดู นนั้  ค�ำพดู ทถี่ อื วา่ ดแี ละถกู ตอ้ งทกุ กรณี  จะต้องมีความจริงเป็นหลัก ถ้าค�ำพูดไม่จริงแล้ว จะพูดอย่างไรๆ  ก็เอาดีไม่ได้ ลักษณะที่เป็นคำ� พูดท่ีเรียกว่าความเท็จหรือมุสาน้ัน  มีอยู่ ๗ วิธีดว้ ยกันคอื ๑. ปด คือพูดโกหกชดั ๆ ไมร่ ้วู า่ ร้ ู ไมเ่ หน็ ว่าเห็น ๒. ทนสาบาน คอื กลบความจรงิ ด้วยการทนสาบาน ๓. ท�ำเล่ห์ คืออวดอ้างคุณวเิ ศษเกินความจริง ๔. มารยา คอื หลอกคนอื่นด้วยอาการมารยา ๕. ทำ� เลส คือพูดคลมุ เครอื ทำ� ให้คนอนื่ เข้าใจผดิ ๖. เสริมความ คือความจริงมนี ้อยพูดเสรมิ ให้มาก ๗. กำ� ความ คอื ความจริงมีมากอำ� พรางใหน้ ้อยลง นี่คือค�ำมุสา มีอยู่ ๗ แบบด้วยกัน เห็นจะไม่ต้องอธิบาย  เพราะเปน็ ค�ำทเี่ ขา้ ใจงา่ ยๆ อยแู่ ลว้  เราจะเหน็ วา่  ความจรงิ นนั้ เปน็   สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 135

๑๐มงคลขอ้ ท่ี มีวาจาเปน็ สภุ าษิต แกนของคำ� พดู  คำ� พดู ทจ่ี ะเปน็ สภุ าษติ  นา่ เชอื่  นา่ ฟงั  และนา่ นบั ถอื   ก็ต้องมีความจริงเป็นแกน ถ้าไม่มีความจริงแล้ว ก็จะเป็นค�ำพูดท่ ี เปน็ สุภาษติ ไมไ่ ด้ ๓. สณฺหา ภาสิตา คำ� ทส่ี ุภาพ ลกั ษณะท ี่ ๓ คำ� พดู สภุ าพ หมายความวา่ คำ� ทพ่ี ดู ออกมานน้ั   เปน็ คำ� สภุ าพ ตามภาษาบาลที า่ นวา่  สณั หา ซง่ึ แปลวา่  เกลย้ี งเกลา  ละมุนละไม หรือราบเรียบ ถือเอาความไทยๆ ว่า ค�ำพูดที่สุภาพ  ก็คือค�ำพูดดี เพราะค�ำพูดท่ีออกมานั้นมีท้ังดีและไม่ดี จึงต้องวาง  หลักเกณฑใ์ หร้ ูว้ ่าอยา่ งไหนดีและไม่ดี ค�ำสุภาพน้ันตรงข้ามกับค�ำหยาบคาย หมายความว่าค�ำท ่ี ไมใ่ ชค่ ำ� หยาบคายทงั้ หมดนน่ั เอง เรยี กวา่ คำ� สภุ าพ ทา่ นไดว้ างหลกั   เกณฑข์ องคำ� หยาบคายมอี ย่ ู ๖ ชนิด คือ ๑. คำ� ดา่  คอื คำ� พดู กดใหเ้ ขาตำ่� ลง เชน่  เขาเปน็ คนวา่ เขาเปน็ หมา เขาเปน็ นายวา่ เขาเปน็ ขี้ข้า นี่เป็นค�ำดา่ ๒. ค�ำประชด คือพูดยกย่องให้สูงเกินเหตุ เช่น พ่อเทวดา  แม่คุณหญิง ๓. คำ� กระทบ คอื อยากวา่ คนน ี้ แตไ่ พลไ่ ปพดู เรอื่ งอนื่ ใหผ้ ถู้ กู   วา่ ไปคดิ เอาเอง เชน่  จะวา่ คนเตยี้ กพ็ ดู ถงึ ไหกระเทยี ม พดู ถงึ คนผม  นอ้ ยวา่ นกตะกรุม เปน็ ตน้ 136 มงคล ๓๘ ประการ

๔. คำ� แดกดนั  เรยี กงา่ ยๆ วา่ คำ� กระแทก ซง่ึ เรามกั จะพดู ควบ  กนั วา่  “กระแทกแดกดัน” อย่างเช่น จะให้กินหรือให้นอนก็บอก  อย่างแดกดัน อย่างจะใหก้ นิ ข้าวกบ็ อกว่า แดกเสยี ซี ยดั ห่าเสียซิ ๕. คำ� ตำ่�  คอื คำ� ระคายห ู สภุ าพชนไมน่ ยิ ม เชน่  คำ� วา่  ไอ ้ อ ี มงึ   ก ู ทง้ั นเี้ อาความนยิ มของสภุ าพชนเปน็ เกณฑ ์ หากคำ� เหลา่ นนั้ เปน็ ท ่ี นิยมอยใู่ นเวลานนั้ ก็ไมห่ ยาบ เช่นคำ� วา่  ก ู ในสมัยโบราณ ๖. คำ� สบถ คอื คำ� แชง่ ชกั หกั กระดกู  เชน่  เรยี กหา่ มากนิ  เรยี ก  ผมี ากนิ  ไอฉ้ บิ หาย ตลอดจนคำ� คาดคนั้ ทเี่ กนิ ด ี เชน่  ใหพ้ ระมาหกั คอ  แชง่ ให้ฟ้าผา่  รวมคำ� เหลา่ นเ้ี รียกว่า คำ� สบถ ตกลงว่า ค�ำด่า ค�ำประชด ค�ำกระทบ ค�ำแดกดัน ค�ำต่�ำ ค�ำ  สบถ รวม ๖ ค�ำ เป็นค�ำหยาบคาย ฉะน้ัน ผู้ที่มีความต้องการจะ  ใหเ้ ป็นวาจาสภุ าษติ กพ็ งึ เวน้ คำ� เหล่าน้เี สีย ๔. อตฺถสญฺหิตา ภาสติ า ค�ำทีม่ ปี ระโยชน์ ลกั ษณะท ี่ ๔ ของวาจาภาษติ  คอื  คำ� นน้ั มปี ระโยชน ์ ไมใ่ ชค่ ำ�   ท่ีไร้ประโยชน์ ถึงแม้จะเป็นค�ำจริง ค�ำสุภาพ แต่เป็นค�ำพูดที่ไม่ม ี ประโยชน์ก็ใช้ไม่ได้ ประโยชน์ท่ีว่าน้ีหมายถึงผลดี หมายความว่า  ผพู้ ดู ไดพ้ ดู คำ� นแ้ี ลว้  ผลดบี งั เกดิ แกผ่ พู้ ดู  ฝา่ ยผฟู้ งั เมอ่ื ไดฟ้ งั คำ� นนั้   แลว้  กไ็ ดร้ บั ผลด ี อยา่ งนอ้ ยกด็ กี วา่ ทไ่ี มไ่ ดฟ้ งั  เชน่  คำ� สภุ าษติ ตา่ งๆ  เหล่าน้เี ป็นต้น สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 137

๑๐มงคลข้อท่ี มวี าจาเป็นสภุ าษติ ๕. เมตตฺ จติ เตน ภาสติ า  ค�ำพูดประกอบดว้ ยเมตตา เราทราบได้ดีอยู่แล้วว่า พุทธศาสนาเป็นศาสนาฝ่ายกรรม  นยิ ม ถอื วา่  กรรม (การกระท�ำ) เป็นเรื่องส�ำคญั  คนจะดหี รอื เลว  ก็เพราะกรรม และกรรมจะดีหรือเลวก็อยู่ที่เจตนา ถ้าเจตนาดี ก็  เปน็ กรรมดถี า้ เจตนาเลว กเ็ ปน็ กรรมชวั่  ฉะนน้ั เจตนาจงึ เหมอื นผใู้ ห ้ กำ� เนดิ กรรม องค์ของสุภาษิตข้อท่ี ๕ นี้ ท่านวางเจตนา เมตตา ไว้เป็น พื้นฐานในสมัยก่อนครูอาจารย์มักจะสอนศิษย์ว่า ให้เสกเมตตา  เสยี กอ่ นจงึ พดู กบั คนอน่ื  หมายความถงึ วา่  ตอ้ งมเี จตนาเมตตาเปน็   พนื้ ฐานเสยี กอ่ นทจ่ี ะพดู  คอื หวงั ความดคี วามงาม ความเจรญิ แกผ่ ทู้  ่ี เราจะพดู ดว้ ย ไมใ่ ชพ่ ดู เพอื่ หวงั เครอื่ งตอบแทน อยา่ งเชน่ คนขายยา  เปน็ ตน้  ทพ่ี ดู เพราะหวงั ทจี่ ะใหค้ นซอ้ื ยา ไมใ่ ชป่ รารถนาดแี ตอ่ ยา่ งไร องค์ประกอบของสุภาสิตา หรือวาจาภาษิตน้ัน จะต้อง  ประกอบด้วยองค์ ๕ ประการดังท่ีได้อธิบายมานี้ จึงจะจัดว่าเป็น  วาจาภาษิตได้ ถ้าขาดอย่างใดอย่างหน่ึงไม่จัดเป็นวาจาภาษิต  ฉะน้ันใครมีวาจาภาษิตอยู่ในตัวแล้ว ย่อมจะก่อความเจริญแก่  ตนเอง เปน็ ทรี่ กั ของเพอ่ื นฝงู  ผบู้ งั คบั บญั ชาและคนทว่ั ไป ดงั ภาษติ   ที่ว่า “พูดดีเป็นศรีแก่ปาก พูดมากปากจะมีสี” ซ่ึงจะเป็นของใคร  กไ็ มร่ แู้ ตก่ เ็ ปน็ คตดิ อี ยเู่ หมอื นกนั  เมอ่ื เราหวงั ความเปน็ มงคลพงึ เวน้   วาจาทพุ ภาษิต หนั มาใช้วาจาภาษติ  กจ็ ะเป็นมงคลทกุ เม่ือ 138 มงคล ๓๘ ประการ

๑๑มงคล ข้อที่ มาตาปติ ุอุปฏานํ (การบ�ำรุงบดิ ามารดา) ในมงคลข้อน้ีท่านได้ให้เลี้ยงดูบิดามารดาให้เป็นสุข ซ่ึงตาม  บาลีข้างต้นว่า มาตาปิตุอุปฏฺานํ แปลความว่า การบ�ำรุงบิดา  มารดาใหเ้ ป็นสุข ก่อนอื่น เราจะต้องท�ำความเข้าใจค�ำว่า มารดา บิดา เสีย  กอ่ น ซง่ึ ความจรงิ เมอื่ เขยี นมาถงึ ตอนนบ้ี างทา่ นกจ็ ะคดิ วา่  จะตอ้ ง  ทำ� ความเขา้ ใจอะไรกนั อกี  เพราะทกุ คนกย็ อ่ มจะรจู้ กั มารดา บดิ า  เป็นอย่างดีแล้ว และท�ำไมจะต้องท�ำความเข้าใจ ซึ่งความจริงแล้ว  ไมน่ ่าจะตอ้ งมปี ัญหา สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 139

๑๑มงคลข้อท่ี การบำ� รุงบิดามารดา ในภาษาธรรมของเราใชค้ ำ� นอ้ี ย ู่ ๔ คำ�  คอื  ชนก ชนน ี มารดา  บดิ า ซงึ่ คำ� เหลา่ นม้ี คี วามหมายแตกตา่ งกนั  และเปน็ คำ� ทเ่ี ราจะตอ้ ง  ทำ� ความเขา้ ใจดว้ ย คำ� วา่  ชนก แปลวา่  ชายผทู้ ใ่ี หก้ ำ� เนดิ  ชนน ี แปลวา่  หญงิ ผใู้ ห ้ กำ� เนดิ  คำ� สองคำ� นแี้ มจ้ ะไดร้ บั การเทดิ ทนู ในภาษาไทยวา่ เปน็ คำ� สงู   แต่มูลศัพท์เดิมอันมีความหมายทางธรรมะไม่มีอะไรดีวิเศษหนัก  หนา เปน็ คำ� บอกชอื่ พอ่ แมใ่ นขน้ั ธรรมชาตเิ ทา่ นน้ั  ไมถ่ งึ ขน้ั คณุ ธรรม  ความหมายเพยี งแตว่ า่  คนผถู้ กู เรยี กนน้ั เปน็ คนทำ� ใหล้ กู เกดิ เทา่ นนั้   เอง ซึ่งไม่มอี ะไรนา่ สนใจ สว่ นคำ� วา่  บดิ า มารดา แปลวา่ ผเู้ ลย้ี งลกู  คอื  บดิ า หมายถงึ   ชายทไี่ ดเ้ ลยี้ งลกู  มารดาหมายถงึ หญงิ ทไี่ ดเ้ ลยี้ งลกู  ค�ำทง้ั สองคำ� นี้  เป็นค�ำทแี่ สดงถงึ คุณธรรมของพ่อแมอ่ ยา่ งครบถว้ น ดังนน้ั เมือ่ คำ�   ทง้ั  ๔ มคี วามหมายแตกตา่ งกนั เชน่ น ี้ คำ� ทนี่ า่ ภมู ใิ จทส่ี ดุ นา่ จะไดแ้ ก่  คำ� วา่  มารดา บดิ ามากกวา่ คำ� อน่ื  ทงั้ นเ้ี พราะวา่  ธรรมนนั้ มอี ยสู่ อง  ขน้ั  คอื  สภาวธรรม กบั  คณุ ธรรม ทงั้ สองนมี้ คี วามหมายแตกตา่ ง  กันมาก สภาวธรรม หมายถึงส่ิงท่ีเกิดข้ึนเอง บางทีเราก็เรียกว่า  ธรรมดา ไมต่ อ้ งมใี ครมาท�ำมนั ๆ กเ็ ปน็ ของมนั เอง อยา่ งเชน่  ความ  เปน็ เดก็  ความเปน็ หนมุ่  เปน็ สาว ความแก ่ ความหวิ กระหาย ฯลฯ  สิ่งเหล่าน้ีเกิดข้ึนเองท้ังน้ันเรียกว่า สภาวธรรมหรือธรรมดา ส่วน  คุณธรรม เป็นส่ิงท่ีทำ� ไว้มีจึงมีขึ้น ถ้าไม่ทำ� ก็ไม่มี ธรรมนี้เกิดจาก  ธรรมปฏิบัต ิ คือการปฏบิ ัตธิ รรม เพื่อความเข้าใจธรรมทั้งสองประการน้ี จะเปรียบเทียบให้ดู  ยกตัวอย่างเชน่  ดินท่ีเป็นของมันเอง หมายถงึ ดินที่อยูต่ ามท้องไร่  140 มงคล ๓๘ ประการ

ทอ้ งนา หรอื ตามใตถ้ นุ บา้ นเรอื นของเราเอง มนั เปน็ ดนิ ของมนั เอง  ตามธรรมชาต ิ แตถ่ า้ เราเอาดนิ นน้ั มาปน้ั เปน็ โอง่  เปน็ ไห เปน็ ถว้ ย  ชาม ดินน้ันก็จะเปลี่ยนสภาพจากธรรมชาติขึ้นมาทันที ดินตาม  ธรรมชาติน้ัน เป็นสภาวธรรม ส่วนท่ีปั้นเป็นเคร่ืองใช้ต่างๆ นั้น  เป็นคุณธรรม ซ่ึงคุณธรรมนี้ทำ� ให้สิ่งที่เป็นธรรมดากลายเป็นของ  มรี าคาไปได้ คนเรากเ็ หมอื นกนั  คอื เปน็ เองกบั ทำ� ใหเ้ ปน็  ความเปน็ เองนน้ั   เปน็ เพยี งสง่ิ ทเ่ี กดิ จากธรรมชาต ิ ไมใ่ ชค่ ณุ ธรรม ความด ี ยกตวั อยา่ ง  เชน่  การรอ้ งไห ้ มนั เปน็ ไปของมนั เอง ไมต่ อ้ งมคี รมู อี าจารยส์ ง่ั สอน  ลงได้เกิดมาเป็นลูกคนแล้วร้องไห้เป็นทุกคน ท้ังๆ ท่ีไม่มีโรงเรียน  สอนการรอ้ งไห ้ แตต่ รงกนั ขา้ ม “การรอ้ งเพลง” ตอ้ งเรยี นตอ้ งหดั   จึงจะร้องเป็น รวมความแล้วว่าการร้องไห้มันเป็นของมันเอง การ  รอ้ งเพลงทำ� ใหเ้ ปน็  และอกี หลายๆ อยา่ งทเี่ ปน็ ของมนั เองและตอ้ ง  ท�ำให้เป็น เมอื่ เราเปรยี บเทยี บดแู ลว้  คา่ ของการทเ่ี ปน็ เองกบั การทท่ี �ำให้  เป็นอย่างไหนจะมีราคาดีกว่ากัน เอาการร้องไห้กับการร้องเพลง  ก็ได้ ร้องท้ังสองอย่างน้ีจะมีใครนิยมมากกว่ากัน และจะมีที่ไหน  บ้างท่ีเขาประกวดร้องไห้ เพราะการร้องไห้มีแต่ให้ความร�ำคาญ  มากกว่าความส�ำราญ ที่ว่านี้ไม่ได้หมายเอาท่ีคนรับจ้างร้องไห้ใน  เวลางานศพ หรือว่าการท่ีดาราภาพยนตร์ร้องไห้ นั่นเป็นการฝืน  ให้ร้องไม่ใช่ร้องธรรมชาติ เป็นศิลปะของการแสดง ถ้าร้องตาม  ธรรมชาตแิ ล้วไม่มใี ครจ้างและไมต่ อ้ งใชศ้ ลิ ปะ การแสดงออกของลกู ต่อพ่อแม่ เพียงแต่รู้จักตัวพ่อตัวแม่ว่า  สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 141

๑๑มงคลข้อที่ การบำ� รุงบิดามารดา นเ่ี ปน็ พอ่ เปน็ แมเ่ รา รเู้ ทา่ นเี้ ปน็ เพยี งธรรมชาต ิ ใครๆ กร็ ไู้ ด ้ ลกู เปด็   ลกู ไกก่ ร็ จู้ กั แมข่ องมนั  วง่ิ ตามแมไ่ ปเปน็ ฝงู ๆ สว่ นการรจู้ กั บญุ คณุ   ของพ่อแม่ เป็นคุณธรรม คนเท่านั้นที่ท�ำได้ดี ระหว่างผัวเมียกัน  การเหน็ แกเ่ มถนุ รว่ มสงั วาสกนั เปน็ ชนั้ ของธรรมชาต ิ มเี หมอื นกนั   กับสัตว์ดิรัจฉาน ในมนุษย์เราแม้แต่คนเลวที่สุดก็มีความรู้สึก  เชน่ นนั้ ได ้ เพราะวา่ มนั เปน็ ธรรมชาต ิ แตก่ ารเหน็ อกเหน็ ใจกนั นนั้   เปน็ ช้ันคุณธรรม คนเทา่ น้ันท�ำได้ดี ระหว่างพ่อแม่กับลูก การให้ก�ำเนิดลูกเป็นเพียงธรรมชาติ  สตั วช์ นดิ ใดๆ กใ็ หก้ ำ� เนดิ ลกู ได ้ แตก่ ารอปุ การะแกล่ กู คนเทา่ นน้ั ท ่ี ท�ำไดด้ ี โดยนยั ดงั กลา่ วมาน ้ี เราอาจจะสรปุ ตามทศั นะทางศาสนาจะ ไดว้ ่า คนทเ่ี ป็นพ่อแมข่ องลูกนัน้ มอี ย ู่ ๓ ประเภท คอื เปน็ ชนกชนนดี ว้ ย เปน็ มารดาบดิ าด้วย เปน็ ชนกชนนี ไม่ได้เป็นมารดาบดิ า  เป็นมารดาบิดา แต่ไม่ไดเ้ ป็นชนกชนนี ประเภทแรก พ่อแม่ท่ีเป็นผู้ให้ก�ำเนิดแก่ลูก และได้เล้ียงด ู ลกู ด้วย พอ่ แมป่ ระเภทนี้นับว่าประเสริฐสดุ  เป็นบุญของผเู้ ปน็ ลกู ประเภท ๒ หมายถึงคนท่ีให้ก�ำเนิดลูกแล้ว ไม่ได้เลี้ยงลูก  อย่างที่บางคนได้เสียกับหญิงแล้วทอดทิ้งเสีย หญิงต้ังครรภ์แล้ว  ออกลกู มา  ประเภทท่ี ๓ คนท่ีเป็นมารดาบิดาแต่ไม่ได้เป็นชนกชนนี  ไดแ้ กค่ นทเี่ อาลกู เขามาเลยี้ งเปน็ ลกู ของตวั  ตนเองไมไ่ ดใ้ หก้ �ำเนดิ   จงึ ไม่จัดเป็นชนกชนนี 142 มงคล ๓๘ ประการ

ถ้าจะกล่าวถึงคุณของพ่อแม่แล้ว ยากที่จะให้ละเอียดถี่ถ้วน  ได้ในที่น้ี จะต้องใช้เวลามากและก็ไม่แน่ใจว่าจะบรรยายได้อย่าง  ถถ่ี ว้ น เพราะมคี ำ� โบราณกลา่ ววา่  แมจ้ ะเอาทอ้ งฟา้ มาเปน็ กระดาษ  เอานำ้� ในมหาสมทุ รเปน็ นำ�้ หมกึ  เอาเขาพระสเุ มรเุ ปน็ ปากกากย็ ากที่  จะพรรณนาคณุ ไดห้ มดสนิ้  ดงั นนั้ จงึ จะขอยกเอาพทุ ธวจนะ ทพี่ ระ-  พทุ ธเจ้าไดท้ รงแสดงคณุ ลกั ษณะของพอ่ แม่ไว้ในสิงคาลกสตู รวา่ มารดาบิดาย่อมอนุเคราะห์บุตรด้วย ๕ สถานคือ ห้ามไม ่ ให้ท�ำความช่ัว ๑ ให้ตั้งอยู่ในความดี ๑ ให้ศึกษาศิลปวิทยา ๑  หาภรรยาที่สมควรให้ ๑ มอบทรัพย์สมบัติให้ในสมัย ๑ น่ีเป็น  คุณลักษณะของบดิ ามารดา นอกจากนแ้ี ล้วในมงคลทีปนี ทา่ นยัง  ไดแ้ สดงคณุ ของบดิ ามารดาวา่  บดิ ามารดานน้ั จดั วา่ เปน็ พรหมของ  บตุ ร มารดาบดิ าจดั วา่ เปน็ บพุ เทวดา มารดาบดิ าจดั วา่ เปน็ บพุ พา-  จารย ์ มารดาบดิ าจัดว่าเปน็ อาหเุ นยยะ ทจ่ี ดั วา่ เปน็ พรหมนนั้  หมายความวา่  มารดาบดิ านน้ั ม ี เมตตา  กรุณา มุทิตา อุเบกขา ซึ่งจัดเป็นพรหมวิหารธรรม เป็นประดุจ  พรหม หมายความว่า เม่ือบุตรก�ำลังอยู่ในครรภ์ มารดาบิดาท้ัง  สองน้ันท่านประกอบไปด้วยเมตตา อยากจะให้ทารกมีความสุข  ความเจริญ ไม่ต้องการที่จะให้ทารกที่อยู่ในครรภ์น้ันมีความทุกข ์ อุตส่าห์อุ้มท้องประคองครรภ์มาด้วยความทะนุถนอม ครั้นเม่ือ  ทารกได้คลอดออกมาแล้ว ไมว่ า่ จะเปน็ หญิงหรอื ชาย มารดาบิดา  ก็มีจิตกรุณาเล้ียงดูด้วยความชื่นชมยินดี คอยขับกล่อมไกวเปล  ป้องกันมิให้เหลือบยุงร้ินไรมาไต่ตอมให้ได้รับความลำ� บาก คร้ัน  เม่ือเจริญเติบโตข้ึนมาแล้วก็ให้ได้รับการศึกษาบุตรต้องการสิ่งใด  สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 143

๑๑มงคลข้อท่ี การบ�ำรุงบิดามารดา ก็แสวงหาให้ด้วยจิตมุทิตา คือด้วยความยินดีหรือเมื่อบุตรได้รับ  ความส�ำเร็จ บิดามารดาก็มีความช่ืนชมยินดีในความส�ำเร็จน้ัน  คร้ันบุตรได้เจริญเติบใหญ่พอท่ีจะรักษาตัวได้แล้ว มีสามีภรรยา  มารดาบิดาก็มีจิตเป็นอุเบกขา คือความวางเฉย เพราะไม่ต้อง  พิทักษ์รักษาเหมือนแต่กอ่ น ท่ีว่ามารดาบิดาเป็นบุพพเทวดานั้น คือได้พิทักษ์รักษาบุตร  ธดิ าน้นั มาก่อนเทพยดาทั้งปวง ตง้ั แตอ่ ยู่ในครรภ์ ทวี่ า่ มารดาบดิ าเปน็ บพุ พาจารยน์ นั้  หมายความวา่ มารดาบดิ า  ไดเ้ ปน็ ผสู้ งั่ สอนบตุ รธดิ ากอ่ นอาจารยอ์ นื่  เปน็ ตน้ วา่ สอนใหน้ งั่  ใหย้ นื   ให้พูด ตลอดจนส่ังสอนใหร้ ู้จกั สิง่ ต่างๆ ทวี่ า่ มารดาบดิ าเปน็ อาหเุ นยยะนนั้  หมายความวา่ มารดาบดิ า  ควรท่ีจะรับของท่ีบุตรน�ำมาให้ เป็นต้นว่าผ้าผ่อนท่อนสไบ ฟูก  หมอน เสอ่ื สาดอาสนะ ตลอดจนขนมนมเนยตา่ งๆ ทบ่ี ตุ รชายหญงิ   น�ำมาสักการะบูชา เมอื่ เราไดศ้ กึ ษาเรอื่ งความหมายของค�ำวา่  มารดาบดิ า พรอ้ ม  กนั นน้ั เรากไ็ ดร้ ถู้ งึ บญุ คณุ ของบดิ ามารดามาพอสมควรแลว้  ฉะนนั้   ต่อไปน้ีเราจึงจะต้องรู้ถึงหน้าที่เราจะพึงกระท�ำต่อมารดาบิดา  เพราะการทเี่ ราตอบสนองคณุ ของทา่ นนนั้ เปน็ ความดขี องคนทว่ั ไป  และเปน็ เครอ่ื งหมายของคนด ี ดงั มพี ทุ ธวจนะรบั รองวา่  นมิ ติ ตฺ  ํ สาธู  รูปานํ กตญฺญูกตเวทิตา แปลความว่า กตัญญูกตเวทีเป็นเคร่ือง  หมายของคนดี 144 มงคล ๓๘ ประการ

กตญั ญู เร่ืองของค�ำว่า กตัญญู น้ัน เป็นปัญหาท่ีเราจะต้องท�ำความ  เขา้ ใจอกี วา่  กตญั ญทู แี่ ปลวา่ รคู้ ณุ  หมายความเอาแคไ่ หน และเรยี น  กนั ไปถงึ ขัน้ ไหนจึงจะถือวา่ รคู้ ณุ บดิ ามารดาแลว้ การรคู้ ณุ บดิ ามารดานนั้ หมายถงึ การรเู้ หน็ ดว้ ยใจ ไมใ่ ชห่ มาย  เพยี งจดจำ�  ถงึ แมว้ า่ เราจะสามารถจดจำ� หนงั สอื ทเ่ี ขาไดแ้ ตง่ พรรณนา  คณุ ความดขี องมารดาบดิ าอยา่ งมากมายและจดจำ� ไดห้ มด ถา้ ใจจรงิ   ยังไม่เห็นคุณของท่านก็ยังไม่นับว่ามีกตัญญู ความที่รู้เห็นด้วยใจ  จึงเป็นเร่ืองส�ำคัญ ความจ�ำและความรู้สึกมีผลต่างกัน เพียงแต่  ความจ�ำไม่ช่วยให้พ้นจากการท�ำผิดได้ คือผิดท้ังๆ ท่ีได้ทรงจ�ำไว ้ อยา่ งมากนน่ั เอง ดงั นน้ั จงึ กลา่ วไดว้ า่  ความรกู้ บั ความเหน็ นน้ั ตา่ งกนั   อยา่ งเชน่ เราไดศ้ กึ ษาวา่ ไฟนน้ั เปน็ ของรอ้ น เรากร็ วู้ า่ ไฟนน้ั มลี กั ษณะ  อยา่ งไรดว้ ย แตเ่ ราไมม่ โี อกาสไดเ้ หน็ ไดส้ มั ผสั  ฉะนนั้ ความรสู้ กึ ท ี่ เก่ยี วกับไฟนนั้ ยอ่ มไมซ่ าบซึ้งได้ว่า ท่วี า่ รอ้ นนั้นรอ้ นอย่างไร คุณธรรมข้อ กตัญญู ก็เหมือนกัน ถ้าเราจะแปลให้ได้ความ  หมายแล้ว เราจะต้องแปลว่า เห็นคุณท่าน คือเห็นด้วยปัญญา  ความเหน็ นแ่ี หละสำ� คญั  คนทท่ี ำ� ผดิ ตอ่ พอ่ แมน่ นั้  ผดิ เพราะไมเ่ หน็   คุณของท่าน ถ้าเห็นเสียแล้วคงไม่ผิด เหมือนเราเห็นทางเดินก ็ ก้าวเดินไม่ผิดทาง คนที่ตาบอดน้ันเวลาจะเดินไปทางไหนมักจะ  ชนนั่นชนนี่เพราะตามองไม่เห็น คนที่มีความรู้แต่ไม่มีความเห็น  ก็เหมือนคนตาบอดตาใส คือมองแต่ภายนอกจะเห็นได้ว่าเขาก็ม ี สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 145

๑๑มงคลขอ้ ท่ี การบำ� รงุ บิดามารดา ตาบริบูรณ์เหมือนเรา ถ้าไม่ลุกเดินแล้วเราจะไม่รู้เลยว่าตาบอด  จะรกู้ ต็ อ่ เมอื่ ลกุ เดนิ เทา่ นนั้  คนทมี่ คี วามรกู้ เ็ หมอื นกนั  เราไมร่ ไู้ ดเ้ ลย  วา่ เขาจะเปน็ คนดหี รอื ไม ่ จะรกู้ ต็ อ่ เมอื่ เขาแสดงออกทางการกระท�ำ  นนั่ แหละจงึ จะร ู้ บางคนพดู ไดเ้ ขยี นไดว้ า่ พอ่ แมม่ คี ณุ อยา่ งนน้ั อยา่ ง  นี้ พรรณนาได้อย่างหยดย้อย แต่การปฏิบัติแล้วตรงกันข้าม น่ัน  เพราะมีแตค่ วามรไู้ ม่มีความเห็น การทเ่ี ราจะรคู้ ณุ พอ่ คณุ แมไ่ ดน้ นั้  เราจะตอ้ งพยายามฝกึ ฝน  ให้ความเห็นท่ีถูกต้องเกิดขึ้นกับใจของเราให้ได้ หมั่นใช้ความรู้ที ่ เรยี นมาพรอ้ มกบั ขบคดิ ดว้ ยปญั ญาอยา่ งรอบคอบ เราลองคดิ ดวู า่   คณุ ของพอ่ แมท่ ไี่ ดอ้ ปุ การะเรามา คอื ประโยชนท์ ท่ี า่ นท�ำใหแ้ กเ่ รา  มอี ะไรบา้ งทตี่ า่ งจากคนอน่ื  ตามธรรมดาของคนทว่ั ไป เขาจะลงทนุ   ใหค้ วามชว่ ยเหลอื เรานน้ั  เขาจะตอ้ งมองเหน็ ทางไดจ้ งึ จะท�ำ อยา่ ง  เชน่ วา่  ผนู้ นั้ มหี ลกั ทรพั ยไ์ หม พอ่ แมพ่ นี่ อ้ งอยไู่ หน และมอี ะไรเปน็   ประกัน ถ้าเราไม่มี เขาก็ไม่ช่วยเหลือ หรือเขาจะต้องดูว่าเราจะ  แทนคณุ ของเขาไหม บางทตี อ้ งมหี นงั สอื สญั ญาอะไรใหว้ นุ่ ไปหมด  แตพ่ อ่ แมเ่ รานนั้ ชว่ ยเหลอื เราดว้ ยความบรสิ ทุ ธใ์ิ จ ไมไ่ ดม้ องถงึ หลกั   ประกนั อะไรเลย เราเองเกดิ มาไมม่ อี ะไรตดิ ตวั มาสกั ชนิ้  ทง้ั กไ็ มม่ ี  ใครรดู้ ว้ ยซำ้� ไปวา่ มาจากไหน มนี สิ ยั ใจคออยา่ งไร โตขนึ้ มาแลว้ จะ  ตอบแทนบุญคุณหรือไม่ก็ไม่รู้ หนังสือสัญญาระหว่างเรากับท่าน  สักค�ำเดียวก็ไม่มี ท้ังท่ีสิ่งทั้งหลายท่ีจะเป็นหลักประกันไม่มีท่าน  กย็ งั ทมุ่ เทจติ ใจชว่ ยเราอยา่ งเตม็ ท ่ี เมอ่ื เราพจิ ารณาพระคณุ ของทา่ น  ด้วยจิตท่ีเป็นกุศล มีความรู้สึกนึกคิดในพระคุณของท่านด้วยใจ  อยา่ งนแ้ี หละ เรียกว่า กตัญญู 146 มงคล ๓๘ ประการ

กตเวที กตเวที เมื่อแปลตามตัวว่า ประกาศคุณ แต่แปลตามความ  ความหมายของภาษาไทยว่า ตอบแทนคุณท่าน ที่ว่าประกาศคุณ  ท่าน หมายความว่าท�ำให้คนอื่นรู้ว่า ท่านมีคุณแก่เราอย่างไรบ้าง  มากนอ้ ยเพยี งไร การประกาศคณุ ของทา่ นนน้ั  ไมใ่ ชห่ มายความวา่   เราจะยกย่องสรรเสริญท่านด้วยคำ� พูด หรือว่าด้วยการเขียนเป็น  หนังสือ แท้ที่จริงแล้ว การประกาศคุณท่านนั้นจะต้องอยู่ท่ีการ  ปฏบิ ตั ติ วั ของเราเอง คอื ตวั เราเองจะตอ้ งทำ� ตวั ของเราใหเ้ ปน็ คนด ี ตามทที่ า่ นมงุ่ หมาย ไมใ่ ชว่ า่ เรายกยอ่ งสรรเสรญิ ทา่ นวา่  เปน็ คนด ี มีศีลธรรม แต่ตัวเราเองประพฤติส�ำมะเลเทเมา ศีลสักข้อเดียวก็  ไมส่ นใจรกั ษา สดดุ วี า่ พอ่ แมข่ องเราเปน็ คนสภุ าพเรยี บรอ้ ย แตว่ า่   เราเองกลับประพฤติตัวเป็นนักเลงอันธพาล อย่างน้ีแทนที่จะ  ประกาศคุณของทา่ นกลบั เป็นวา่ ช่วยประจานท่าน อยา่ งนอ้ ยทส่ี ดุ   กป็ ระจานแกช่ าวบา้ นวา่ พอ่ แมข่ องเราเลย้ี งลกู ไมเ่ ปน็ ภาษา ดังน้ัน เมื่อเราจะประกาศคุณของท่านโดยให้ท่านได้รับ  ความชน่ื ใจ เมอื่ เราเปน็ นกั เรยี นกเ็ ปน็ นกั เรยี นทดี่  ี เปน็ ทหารกเ็ ปน็   ทหารทดี่  ี เปน็ ตำ� รวจกเ็ ปน็ ตำ� รวจทดี่  ี การกระทำ� อยา่ งนเี้ ปน็ การกระทำ�   ทท่ี ำ� ใหท้ า่ นไดร้ บั ความสขุ ใจยงิ่  ซงึ่ การกระทำ� เหลา่ นม้ี ผี ลมากกวา่   ท่ีเราจะตอบแทนท่านด้วยเงินทองเสียอีก เพราะว่าท่านที่เล้ียงด ู ใหก้ ารศกึ ษาเรามา กเ็ พอื่ ทจ่ี ะเหน็ วา่ เราเปน็ คนด ี ยงิ่ มใี ครสรรเสรญิ   ว่าบุตรของนายคนนั้นแม่คนน้ีดี พ่อแม่ก็มีความอิ่มอกอ่ิมใจท ่ี สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 147

๑๑มงคลขอ้ ที่ การบำ� รงุ บิดามารดา ไมเ่ สยี ทที เ่ี ลยี้ งดมู า ฉะนน้ั เราอยา่ คดิ วา่ เราจะตอ้ งมเี งนิ มที องเทา่ นน้ั   เทา่ นจี้ งึ จะตอบแทนคณุ ทา่ นได ้ การกระทำ� นนั่ แหละเปน็ ปจั จยั สำ� คญั   กว่าเงินทองท่ีเราตอบแทนเสียอีก การตอบแทนท่านด้วยเงินทอง  หรอื การเลย้ี งดทู า่ นนนั้ อยใู่ นประเดน็ ทส่ี องซงึ่ จะไดบ้ รรยายต่อไป ความหมายของคำ� วา่ กตเวทปี ระการท ี่ ๒ คอื ทดแทนคณุ ทา่ น  การทดแทนคณุ ทา่ นนนั้  ในสงิ คาลกสตู ร ในสตุ ตนั ตปฎิ ก พระพทุ ธ-  องคท์ า่ นแสดงไวว้ า่  “ดกู รคฤหบดบี ตุ ร มารดาบดิ าเปน็ ทศิ เบอื้ งหนา้   บุตรพึงบ�ำรงุ ท่านด้วยสถาน ๕ คอื ภโต เนส กรสิ สฺ าม ิ เลีย้ งดูทา่ น กจิ ฺจ เนส กรสิ ฺสามิ  ชว่ ยท�ำธรุ ะให้ทา่ น กลุ วส ฺ เปสฺสาม ิ ด�ำรงวงศส์ กุลทา่ นไว้ ทายชฺช ปฏิปชชฺ ามิ  ทำ� ตัวเปน็ ทายาททดี่ ี เปตาน กาลกตาน ทกฺขินํ เม่อื ท่านล่วงลับไปแลว้ ทำ� บญุ อุทศิ ใหท้ า่ น” ตามพทุ ธวจนะทย่ี กมานเ้ี รากจ็ ะเหน็ ไดว้ า่  การตอบแทนคณุ   บดิ ามารดานั้นแบ่งเป็นสองภาคคือ เมือ่ ท่านยังมีชีวิตอยภู่ าคหนึ่ง  และอกี ภาคหนง่ึ เมอ่ื ทา่ นไดล้ ว่ งลบั ไปแลว้  ในสองอยา่ งน ี้ การตอบแทน  คุณท่านเม่ือยังมีชีวิตอยู่ส�ำคัญมากกว่า ธุระท่ีเราจะท�ำก็มีมาก  การตอบแทนบญุ คณุ ของทา่ นในขณะทยี่ งั มชี วี ติ อยนู่ น้ั  เราจะตอ้ ง  พจิ ารณาตามความเหมาะสม ตามสภาพของสงั ขาร ถา้ ทา่ นยงั อย่ ู ในวยั แขง็ แรง เชน่  ทา่ นอายรุ ะหวา่ ง ๔๐-๕๐ สงั ขารรา่ งกายของทา่ น  148 มงคล ๓๘ ประการ

ยงั คงทน เราจะคอยเอาใจใสอ่ ยหู่ า่ งๆ กเ็ ปน็ การสมควร และหมนั่   เย่ียมเยือนท่านตามสมควร หาของกินของใช้ไปให้ท่าน เป็นการ  คำ� นบั คณุ ของทา่ นเปน็ บางครงั้ บางคราวเทา่ นนั้ กไ็ ด ้ แตเ่ มอื่ ทา่ นม ี อายุมาก เราก็ต้องคอยเข้าใกล้ชิดท่าน รับเป็นธุระหมดทุกอย่าง  เหมือนท่ที ่านได้ดแู ลเราเมอ่ื วยั เดก็ การตอบแทนคณุ บดิ ามารดาอกี ภาคหนง่ึ  คอื เมอ่ื ทา่ นลว่ งลบั   ไปแลว้  ลกู จะตอ้ งดแู ลรบั เปน็ เจา้ ภาพจดั งานปลงศพของทา่ นตาม  ประเพณที างศาสนา แมจ้ ะเปน็ การเหนด็ เหนอื่ ยสนิ้ เปลอื งกต็ อ้ งยอม  นอกจากนั้นเราก็ต้องท�ำกุศลอุทิศให้ท่านเป็นคร้ังคราวก็เป็นการ  สมควร รวมความแล้วว่า การแสดงกตเวทีของมารดาบิดาน้ันมีงาน  ทเ่ี ราจะตอ้ งทำ� อย ู่ ๒ ประการ คอื  ประกาศคณุ ทา่ นและตอบแทน  คุณท่าน การตอบแทนคุณบิดามารดานั้นแม้ในทางพุทธศาสนา  ภกิ ษจุ ะนำ� อาหารทไ่ี ดม้ าแลว้ เลยี้ งบดิ ามารดากอ่ นกไ็ มเ่ ปน็ การเสยี หาย  แตอ่ ยา่ งไร นอกจากนนั้ พระพทุ ธองคย์ งั ทรงสรรเสรญิ อกี ดว้ ย ดงั   เรื่องต่อไปน้ี สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 149


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook