Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มงคล 38 ประการ

มงคล 38 ประการ

Published by Sarapee District Public Library, 2020-11-16 13:34:34

Description: มงคล 38 ประการ

Keywords: มงคล 38 ประการ,ธรรมะ

Search

Read the Text Version

มงคล ๑๗ขอ้ ท่ี าตกานญจฺ  สงคฺ โห (สงเคราะห์ญาต)ิ เรื่องของการสงเคราะห์ญาตินี้ จะว่าง่ายก็ง่าย จะว่ายากก ็ ยาก คนท่ีทิ้งญาติพี่น้องเสียผู้เสียคนไปก็มี คนท่ีเอาพ่ีเอาน้องจน  ตัวเองต้องตายท้ังเป็นก็มี ดังนั้นเร่ืองน้ีจึงต้องมีขอบเขต ไม่ใช่ว่า  ใครจะทำ� อะไรใหญ้ าตแิ ลว้ จะดเี สมอไป คนทมี่ วี าสนาในอดตี  และ  พระสงฆก์ ็เสียชอื่ เสยี งเพราะเอาพ่เี อาน้องมากเกินไปกม็ ี คำ� วา่ ญาต ิ หรอื  ญา-ต ิ แปลวา่ คนรจู้ กั กนั  ทนี ก้ี ารรจู้ กั กนั นนั้   จะเอาขนาดไหน รู้ชื่อรู้นามสกุล หรือรู้เรื่องราวขนาดไหนจึงจะ  เรยี กวา่ ญาต ิ การรจู้ กั กนั ฉนั ญาตนิ น้ั ตอ้ งมขี อบเขต ไมใ่ ชว่ า่ พอรจู้ กั   กนั บา้ งจะเหมาเอาเปน็ ญาตไิ ปหมด ญาตนิ น้ั เมอ่ื เราจะจบั ประเดน็   แล้วกจ็ ะไดอ้ ยู ่ ๒ ประการ คือ ๑. เครอื ญาติสาโลหิต (สายโลหิต)  ๒. เครอื ญาตทิ างธรรม 200 มงคล ๓๘ ประการ

ญาตสิ ายโลหติ  ไดแ้ กค่ นทมี่ สี ายเลอื ดอนั เดยี วกนั  เชน่ ญาติ  ผใู้ หญม่  ี ป ู่ ยา่  ตา ยาย พอ่  แม ่ ลงุ  ปา้  นา้  อา พ ี่ ญาตผิ นู้ อ้ ยรองจาก  ตวั เราไป เชน่  ลกู  หลาน เหลน นอ้ ง เหลา่ นเ้ี รยี กวา่ ญาตโิ ดยสาย  โลหิต ญาตทิ างธรรม คอื คนทรี่ จู้ กั มกั คนุ้ กนั ทางศาสนา ถอื วา่ เปน็   ญาตทิ างธรรม ญาตปิ ระเภทนเ้ี กดิ จากสองทาง คอื  เกดิ จากคนุ้ เคย  สนิทสนมระหว่างเรากับเขาโดยตรงก็มี อย่างเช่นเพื่อนฝูงมิตร  สหาย เกิดจากความสนิทสนมกับสายโลหิตของเราก็มี อย่างเช่น  ลูกชายของเราไปแต่งงานกับหญิงคนใด ผู้หญิงคนน้ัน ตลอดจน  พอ่ แม ่ พนี่ อ้ ง ของเขา กก็ ลายมาเปน็ ญาตขิ องเรา ญาตปิ ระเภทน ้ี หาเอาขอบเขตยาก ค�ำว่าญาติ แปลว่ารู้จักกันก็จริง แต่ไม่ได้หมายความว่ารู้จัก  ตัว หรือรู้จักกัน เพราะการรู้จกั กันน้นั มอี ยู่หลายช้ัน ร้จู ักตัวแตไ่ มใ่ ช่เผ่าพันธ์ ุ กม็ ี รูจ้ ักกันแตไ่ มใ่ ชญ่ าติ ก็มาก ทา่ นเคยเหน็ คนทมี่ อี ำ� นาจวาสนาไหม เวลาทมี่ อี �ำนาจวาสนา  ก็มีคนอยากที่จะท�ำความรู้จัก มีคนอยากจะเป็นญาติ แต่พอเรา  อับวาสนาเข้า จะหันหน้าไปหาใครก็ยาก บางคนยังขัดสนจนยาก  จะบ่ายหน้าไปหาใครก็ไม่มีใครยอมรับว่าเป็นญาติ มองหาญาติ  สักคนมองท้ังวันก็ไม่เห็น แต่พอเรามีวาสนา มีโชคร่�ำรวยข้ึนมาสิ  ทนี แี้ หละตอ้ นรบั ญาตไิ มห่ วาดไหว มแี ตค่ นพยายามทจ่ี ะหาทางมา  เป็นญาติเราให้ได ้ นแี่ หละเรือ่ งของโลก คนที่รู้จัก ท่ีเรียกว่าญาติน้ัน ไม่ใช่เพียงรู้จักตัว ไม่ใช่รู้จักว่า  สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 201

๑๗มงคลข้อที่ สงเคราะห์ญาติ เวลาน้ีเขาจะช่วยอะไรเราได้บ้าง แต่จุดหมายปลายทางท่ีส�ำคัญก็  คอื  รจู้ ักญาติธรรม หรอื ญาติสงเคราะห์ คนทร่ี จู้ กั ญาตสิ งเคราะหน์ นั้  จะตอ้ งคอยสอดสอ่ งดแู ลเราอย ู่ เสมอ อย่างน้อยก็มีใจผูกพันกับผู้ที่ตนนับถือว่าเป็นญาติ ถ้าแยก  ย้ายกันไป ก็อยากรู้ข่าวคราวว่าผู้น้ันไปตกระก�ำล�ำบากหรือเป็น  ตายรา้ ยดอี ยา่ งไร ถา้ มเี รอื่ งเดอื ดรอ้ นกจ็ ะไดช้ ว่ ยสงเคราะห ์ คนท ่ี อยากรเู้ พอื่ สงเคราะหอ์ ยา่ งนเ้ี รยี กวา่ ญาต ิ ญาตแิ ทต้ อ้ งมใี จผกู พนั   ทงั้ ตอ่ หน้าและลับหลงั การสงเคราะหญ์ าติ ในบรรดาคนต่างๆ ที่เรารู้จักมักคุ้น และที่เป็นญาติของเรา  นนั้  มอี ยหู่ ลายประเภทดงั กลา่ วมาแลว้  บางทคี นดแี ทๆ้  ทต่ี อ้ งเสยี   ชื่อเพราะการชว่ ยเหลือสงเคราะห์ญาติกม็ ี จริงอยู่การสงเคราะห์ญาติเป็นความดี เป็นมงคลแก่ตัว แต่  ทง้ั นตี้ อ้ งทำ� ตามวถิ ที างทถ่ี กู ตอ้ งเทา่ นน้ั  ขอ้ สำ� คญั อยทู่ วี่ า่ เราจะตอ้ ง  รจู้ กั การแบง่ หนา้ ทอี่ อกใหถ้ กู  ถา้ ท�ำถกู แลว้ ไมเ่ สยี  ทเี่ สยี เพราะท�ำ  ไม่ถูก ถ้าเราจะศึกษาถึงพุทธจริยาของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซ่ึง  เป็นพระบรมครูของเรา พระพุทธองค์ทรงแบ่งการช่วยเหลือออก  เป็น ๓ ตอน แล้วทรงบ�ำเพ็ญให้พอเหมาะพอสม ไม่ให้ปะปนกัน  ซ่งึ เรียกว่าพทุ ธจริยา คือ ๑. โลกตถฺ จริยา ทรงทำ� งานเพ่อื ชว่ ยเหลอื โลก 202 มงคล ๓๘ ประการ

๒. ญาตตฺถจรยิ า ทรงท�ำงานเพือ่ ชว่ ยเหลือพระญาติ  ๓. พุทธตฺถจริยา ทรงท�ำงานเพอื่ ช่วยเหลอื ชาวพุทธ ทวี่ า่ ทรงชว่ ยชาวโลกนน้ั  คอื พระองคท์ รงอำ� นวยความสขุ แก ่ ชาวโลก ทกุ ชาตทิ กุ ภาษา และทกุ ศาสนา เชน่ ทรงสอนใหม้ เี มตตา  กรุณาแก่กัน ให้เว้นจากการเบียดเบียนกัน ไม่ว่าผู้น้ันจะเป็นใคร  กต็ าม ด้านท่ีทรงช่วยพระญาตินั้น พระองค์ได้ทรงช่วยเหลือพระ  ญาติโดยที่มิได้มุ่งหวังความช่วยเหลือ โดยทรงให้ความช่วยเหลือ  ในคราวทพ่ี ระญาตทิ ง้ั สองฝา่ ยเกดิ ทะเลาะกนั เรอ่ื งแยง่ นำ้� กนั ทำ� นา  และทรงช่วยเหลือในคราวที่ทรงไปยับยั้งพระเจ้าวิทูฑภะถึงสาม  ครง้ั สามคราว เรอ่ื งเหลา่ นเี้ ปน็ ตวั อยา่ งแกก่ ารบ�ำเพญ็ ประโยชนแ์ ก่  พระญาติของพระองค์ เม่ือเราได้พิจารณาถึงพุทธจริยาดังกล่าวแล้ว จะเห็นได้ว่า  การช่วยเหลือพระญาติของพระพุทธองค์ พระองค์ทรงแยกการ  ช่วยเหลือพระญาติไว้ต่างหาก จากหน้าท่ีของพระพุทธเจ้า ถ้าเรา  ท�ำอย่างพระองค์ โดยแยกหน้าท่ีออกจากญาติเสีย ญาติเป็นเร่ือง  ญาต ิ หนา้ ทเี่ ปน็ หนา้ ทก่ี จ็ ะไมเ่ สยี  ทเ่ี สยี นนั้ เพราะไมแ่ ยกตา่ งหาก แตก่ ารทจ่ี ะทำ� ไดอ้ ยา่ งน ี้ พน่ี อ้ งจะตอ้ งเขา้ ใจกนั และใหค้ วาม  รว่ มมอื กนั  ทางญาตผิ ใู้ หก้ ารสงเคราะหจ์ ะตอ้ งแยกเรอื่ งพๆ่ี  นอ้ งๆ  ออกจากหน้าที่ ไม่อย่างนั้นแล้วจะเกิดความเสียหายมาก โดย  เฉพาะอย่างยิ่งผู้ท่ีมีหน้าที่ในราชการแล้วจะท�ำให้เสียความเที่ยง  ธรรม ถ้าเราท�ำผิดแนวทางแล้วจะมาโทษธรรมของพระพุทธเจ้า  ไม่ได้ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 203

๑๗มงคลขอ้ ท่ี สงเคราะหญ์ าติ วัตถุประสงค์ในมงคลข้อนี้ก็เพื่อที่จะให้การสงเคราะห์ญาต ิ เป็นการผูกความสามัคคี คือรวมน้�ำใจของญาติให้เป็นปึกแผ่น  มน่ั คง เพราะฉะนน้ั  วธิ สี งเคราะหญ์ าตกิ ต็ อ้ งถอื หลกั สงั คหวตั ถ ุ ๔  คอื ๑. ทาน การให้ปันสง่ิ ของ ๒. ปิยวาจา การเจรจาดว้ ยถ้อยค�ำไพเราะ ๓. อัตถจริยา การบ�ำเพ็ญประโยชน์แกก่ ัน  ๔. สมานตั ตตา การวางตัวเสมอ ข้อท่ี ๑ ทาน นั้นหมายถึงการแบ่งปันสิ่งของแก่กันและ  กนั  ใหข้ องฝากยามเยยี่ มเยอื น ใหข้ องกนิ ของใชใ้ นยามตรษุ สารท  ตลอดจนใหท้ นุ ทำ� มาหากนิ  งานเหลา่ นร้ี วมเรยี กวา่  ทาน เปน็ การ  สงเคราะห์อย่างหนึ่ง ข้อท่ี ๒ ปิยวาจา พูดจากันด้วยความสุภาพอ่อนหวานไม ่ ดา่ ทอซงึ่ กนั และกนั  ใหค้ วามเคารพซง่ึ กนั และกนั ในคำ� พดู  แนะนำ�   ในสงิ่ ทเี่ ปน็ ประโยชน์แกก่ นั ดว้ ยความหวังดี ข้อที่ ๓ อัตถจริยา ท�ำตัวให้เป็นประโยชน์แก่ญาติ คือการ  ชว่ ยเหลอื ญาตนิ นั่ เอง เมอื่ ญาตมิ ธี รุ การงาน เชน่ แตง่ งาน บวชนาค  เจ็บไข้ได้ป่วย เป็นความท�ำศพ และอื่นๆ เม่ือญาติต้องการ หรือ  อย่างน้อยกใ็ ห้กำ� ลงั ใจ ผ่อนคลายความวิตกกังวล ขอ้ ท ่ี ๔ สมานตั ตตา การวางตวั กบั ญาตดิ ว้ ยอาการอนั เสมอ  กับฐานะ เคารพต่อผู้ใหญ่ เอ็นดูญาติผู้น้อย ไม่แสดงอาการเย่อ  หย่ิงจองหอง หรือดูหมิ่นดูแคลน แม้ว่าตนจะมีฐานะแตกต่างกัน  ก็ตาม 204 มงคล ๓๘ ประการ

การสงเคราะห์ต่อญาติ เม่ือจะสรุปโดยใจความแล้วก็จะได ้ เพียง ๒ คือ สงเคราะห์ด้วยอามิส เช่น การแบ่งปันวัตถุส่ิงของ  เปน็ ตน้  และสงเคราะหด์ ว้ ยธรรม เชน่ การเจรจาออ่ นหวาน ชกั ชวน  ให้ญาติให้ทานรักษาศีลภาวนาเป็นต้น แต่การกระท�ำอะไรก็ตาม  กจ็ ะตอ้ งดกู าล ดฐู านะความเหมาะสม ไมอ่ ยา่ งนนั้ แลว้ กอ็ าจจะให้  โทษกไ็ ด ้ จึงอยู่ทเี่ ราจะตอ้ งพิจารณาดว้ ยปัญญาตามสมควร มงคลของการสงเคราะห์ญาติ เพอ่ื ใหเ้ หน็ ความเปน็ มงคลของการสงเคราะหญ์ าต ิ จงึ ใครย่ ก  เรอื่ งมาประกอบ ซง่ึ เรอ่ื งนมี้ าในขทุ ทกนกิ าย เอกนบิ าต รกุ ขธรรม  ชาดก วรณุ วรรค เรอื่ งมีอยู่ คร้ังหน่ึง ท้าวเวสสุวัณ ซ่ึงได้เกิดใหม่แทนผู้ท่ีล่วงลับไปแล้ว  ไดท้ รงปา่ วประกาศใหเ้ ทวดาซง่ึ อยบู่ นตน้ ไม ้ กอไม ้ เครอื ไม ้ เลอื ก  จบั จองตน้ ไมต้ ามชอบใจ ในคราวนนั้ รกุ ขเทวดาโพธสิ ตั วไ์ ดป้ ระกาศ  แกเ่ หลา่ ญาตวิ า่  ทา่ นทงั้ หลายอยา่ ไดจ้ บั จองวมิ านในกลางทงุ่  หรอื   ต้นไม้โดดเด่ียว จงจับจองวิมานในป่ารังใหญ่ ล้อมวิมานของเรานี้  พวกเทวดาทม่ี ปี ญั ญากก็ ระทำ� ตามคำ� ของพระโพธสิ ตั ว ์ พวกทไ่ี มม่ ี  ปญั ญา กเ็ หน็ วา่ ควรทจี่ ะไปหาอยใู่ กลห้ มบู่ า้ นมนษุ ยจ์ งึ จะไดเ้ ครอื่ ง  เซน่ เคร่ืองบูชา พวกนี้ไดพ้ ากนั ไปจับจองวมิ านตามตน้ ไม้ใหญ่ ซ่ึง  อยู่ตามทุ่งนาหรือตามทางคนเดินไปมา ไม่เลือกว่าเป็นต้นไม้ที่  โดดเดี่ยวหรือเกี่ยวขอ้ งกบั ตน้ ไมอ้ ืน่ อย่างไร สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 205

๑๗มงคลขอ้ ท่ี สงเคราะห์ญาติ อยู่มาวันหนึ่งก็เกิดลมพายุและฝนใหญ่ขึ้น ต้นไม้ท่ีอยู่โดด  เดยี่ วกห็ กั โคน่ ลม้ ลง ทำ� ใหว้ มิ านของเทวดาเหลา่ นน้ั พลอยหกั พงั ไป  ดว้ ย เทวดาเหลา่ นนั้ จงึ พาลกู หลานไปหาพระโพธสิ ตั วใ์ นปา่ รงั ใหญ ่ เลา่ เรอื่ งใหฟ้ งั แลว้ ขออาศยั อยดู่ ว้ ย พระโพธสิ ตั วจ์ งึ กลา่ วขน้ึ วา่  ผไู้ ม ่ กระทำ� ตามถอ้ ยคำ� ของนกั ปราชญม์ กั ไดร้ บั ความฉบิ หาย ไรท้ พ่ี ง่ึ พา  อาศัยดงั นี ้ เม่ือกล่าวเชน่ นัน้ แล้วก็กลา่ วเปน็ ภาษติ ว่า สาธ ุ สมพหลุ า ญาติ อปริ กุ ขฺ า อรญญฺ ชา วาโต วทติ เอกฏฐฺ ํ พรฺ หนฺตมฺปิ วนปปฺ ตฯึ แปลความว่า ต้นไม้ท่ีเกิดรวมกันอยู่ในป่าดง แต่ละต้นย่อม  ชว่ ยปะทะลมพายใุ หแ้ กก่ นั  จงึ ยนื ตน้ อยไู่ ดน้ าน ผดิ จากตน้ ไมท้ เ่ี กดิ   อยู่โดดเด่ียว แม้จะเป็นจ้าวป่าสูงใหญ่ก็ตาม มันต้องโต้พายุตาม  ล�ำพังและโค่นลงโดยง่าย ฉันใดก็ฉันนั้น คนที่มีญาติอยู่พร้อมหน้าก็ย่อมมีผู้คอยช่วย  เหลือปะทะมรสุมชีวิตให้หลายคน ท่ีหนักก็กลายเป็นเบา เม่ือเรา  ท�ำดกี ม็ ีหลายคนคอยชว่ ยสนบั สนุน ดงั นั้นการสงเคราะห์ญาตเิ ป็นมงคลดงั น้ีแล 206 มงคล ๓๘ ประการ

มงคล ๑๘ขอ้ ที่ อนวชฺชานิ กมฺมานิ (ทำ� งานไมม่ ีโทษ) ในมงคลข้อที่ ๑๘ นี้ เป็นเรื่องของความก้าวหน้าของชีวิต  คือท�ำดีตามบาลีพุทธวจนะข้างต้นว่า “อนวชฺชานิ กมฺมาทิ” เมื่อ  แปลแล้วจะไดค้ วามหมายวา่  การทำ� งานท่ปี ราศจากโทษ ซึ่งเรียก  ว่า “อนวัชชกรรม” ซ่ึงหมายความถึงงานท่ีไม่มีโทษ การท�ำงานท ่ี ไม่มีโทษนับเป็นมงคล จากมงคลขอ้ นเ้ี ราจะเหน็ วา่  พระพทุ ธองคท์ รงแสดงวา่  ใหเ้ รา  มงี านทำ� จงึ จะเกดิ เปน็ มงคล ถา้ เปน็ คนวา่ งงานไมม่ งี านท�ำจะทำ� ให ้ เกิดมงคลไม่ได้ ดังได้กล่าวไว้แล้วในข้อที่เก่ียวกับการงานว่า การ  งานนนั้ เปน็ เครอื่ งแสดงออกถงึ คณุ ความดขี องบคุ คล งานเปน็ แหลง่   ประกอบชอื่ เสยี งเกยี รตยิ ศ นเ่ี ปน็ ชนั้ หนง่ึ  อกี ชนั้ หนงึ่  คนเราทำ� งาน  นนั้ ไมใ่ ชว่ า่ จะเปน็ มงคลเสมอไป เหมอื นอยา่ งการกนิ นนั้ ทำ� ใหช้ วี ติ   ของเรายงั อตั ภาพอยไู่ ด ้ แตก่ ารกนิ นน้ั ถา้ เรากนิ ไมถ่ กู เรอ่ื งหรอื ไมร่ ้ ู จกั อาหารการกนิ แลว้ กเ็ ปน็ โทษ อยา่ งเรากนิ อาหารทมี่ ปี ระโยชนก์ ็  สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 207

๑๘มงคลขอ้ ท่ี ทำ� งานไม่มโี ทษ บ�ำรุงร่างกาย แต่ถ้าตรงกันข้าม ถ้าเรากินยาพิษ หรืออาหารเป็น  พษิ เขา้ กเ็ กดิ โทษแกร่ า่ งกาย ดงั นนั้ การกนิ ไมใ่ ชว่ า่ จะเปน็ ประโยชน์  แกร่ า่ งกายเสมอไปฉนั ใด การทำ� งานกเ็ ชน่ กนั ไมใ่ ชว่ า่ จะมปี ระโยชน ์ เสมอ ดังน้ันเมื่อเรามีงานท�ำก็จัดเป็นมงคลช้ันที่หน่ึง ในประการ  ตอ่ ไปทเ่ี ราจะตอ้ งศกึ ษาและทำ� ความดเี ปน็ ชน้ั ทสี่ อง เพอื่ ใหค้ วามดี  นัน้ สมบรู ณ์ยงิ่ ข้นึ  ทา่ นจึงสอนใหเ้ รา “ทำ� งานที่ปราศจากโทษ” เม่ือพูดถึงงานแล้วก็ใคร่ท่ีจะขอวกท�ำความเข้าใจอีกสักเล็ก  น้อย ดังได้กล่าวแล้วว่าคนที่ท�ำงาน หรือมีงานท�ำน้ันจึงจัดเป็น  มงคล สว่ นคนทว่ี า่ งงานคอื คนทไ่ี มม่ งี านจดั วา่ ไมม่ มี งคล เมอ่ื กลา่ ว  อยา่ งนแ้ี ลว้ บางคนทค่ี ดิ มากกอ็ าจจะคดิ เลยไปอกี ถงึ คนแกค่ นเฒา่   รุ่นคุณปู่ คุณย่า คุณตา คุณยาย ถ้าเราจะมองในสายตาของคน  ท่ัวไปจะเห็นว่าเป็นคนว่างงาน ถึงแม้ความรู้สึกของท่านเหล่าน้ ี ก็เหมือนกัน คือรู้สึกว่าไม่ได้ท�ำอะไร เพราะอยู่ในวัยชรา ซ่ึงเรา  เรียกสามัญว่า “ปลดชรา” ถ้าเป็นอย่างน้ันแล้วคนแก่คนเฒ่า  ประเภทนม้ี เิ ปน็ คนทเี่ ปลา่ จากมงคลขอ้ นไี้ ปหรอื  เรากจ็ ะตอ้ งตอบ  ว่าไม่แน ่ ทีว่ า่ ไม่แน่นัน้ อยา่ งไร ที่ว่าไม่แน่น้ันเพราะเหตุว่า ในทางศาสนาของเรานั้นจัดการ  กระท�ำออกเป็น ๓ ประเภท คือหมายความว่าคนเราสามารถ  ทำ� งานได้ถึง ๓ ทาง คอื ๑. กายกรรม การทำ� งานทางกาย      ๒. วจกี รรม การกระทำ� ทางวาจา ๓. มโนกรรม การกระท�ำทางใจ    งานเหล่านีเ้ ราจะพูดสนั้ ๆ ไดว้ ่า ท�ำ พดู  คิด 208 มงคล ๓๘ ประการ

เมอ่ื เราไดเ้ หน็ อยา่ งนแ้ี ลว้ กพ็ อทจ่ี ะคดิ ออกแลว้ ซวิ า่  ทกี่ ลา่ ววา่   ไม่แน่นั้นอย่างไร แต่บางท่านก็ยังคงคิดไม่ออกอยู่ดี ดังนั้นเราจึง  ตอ้ งมาทำ� ความเขา้ ใจในงาน ๓ ประเภทนเี้ สยี กอ่ น ขอเวลาสกั นดิ กายกรรม การกระทำ� ทางกายหรอื ทำ� งานดว้ ยแรงกาย ตงั้ แต่  การแบกหาม หงุ ขา้ ว ซกั ผา้  รดี ผา้  กวาดเรอื น อา่ นหนงั สอื  กราบ  ไหวพ้ ระ ใสบ่ าตร ไกวเปลใหห้ ลาน และงานทกุ อยา่ งทใ่ี ชแ้ รงกาย  งานเหลา่ น้ีขึน้ อยูก่ ับก�ำลังกาย วจีกรรม การท�ำงานทางวาจา เช่น พูดสอน พูดให้โอวาท  พูดแนะน�ำ จนกระท่ังพูดนินทา พูดส่อเสียดยุยง เหล่านี้ล้วนเป็น  วจกี รรมทัง้ นนั้  รวมทัง้ การร้องเพลง สวดมนต์ ก็อยู่ในประเภทน้ี มโนกรรม คอื การกระทำ� ทางใจ เชน่ การนกึ คดิ ตรติ รอง การ  ทำ� สมาธ ิ การฝกึ จติ  การรบั การอบรมทางใจ การบงั คบั ทางจติ  การ  ค้นคว้าทางปญั ญา เมื่อได้แจกแจงออกมาอย่างน้ีแล้วก็พอที่จะคิดออกแล้ว  ว่า คนแก่คนเฒ่ามีอะไรบ้างที่ท่านสามารถท�ำได้ใน ๓ ประเภทน้ี  สำ� หรบั งานทางกาย เชน่  ขดุ ดนิ  ถากหญา้  หรอื แบกหาม กข็ อบอก  ไดเ้ ลยวา่  ทา่ นทำ� ไมไ่ ด ้ เพราะกำ� ลงั ของทา่ นลดถอยลงไปแลว้  อยา่   วา่ แต่จะใหท้ ำ� งานเลย แม้แตส่ งั ขารของท่านเองก็แทบจะประคอง  ไม่ไหวแล้ว ถ้าอย่างนั้นอย่างอื่น เช่นไหว้พระสวดมนต์ ก็ยังไหว  มิใช่หรือ เมื่อเป็นอย่างนั้นท่านก็ท�ำงานทางกายได้ หรือว่าอ่าน  หนงั สอื ไหวไหม แมแ้ ตก่ ารไกวเปลหลาน กย็ งั จดั วา่ ท�ำงานเหมอื น  กัน นีเ่ ราเหน็ แล้วใช่ไหมวา่ ทา่ นไม่ใชค่ นวา่ งงาน เขา้ มาอกี ขนั้ คอื ทางวาจา ซง่ึ เรยี กวา่  “วจกี รรม” อยา่ งนค้ี นแก่  สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 209

๑๘มงคลข้อที่ ทำ� งานไมม่ โี ทษ ท�ำได้แน่และท�ำได้ดีเสียด้วย เพราะคนแกม่ ปี รกติเป็นคนชอบบน่   แล้วก็บ่นไม่รู้จักหยุดเสียด้วย บางทีก็ทำ� เอาลูกๆ หลานๆ พากัน  หลบหน้าไปเป็นแถวๆ เพราะข้ีเกียจร�ำคาญ แต่ก็อีกน่ันแหละ  คนแกจ่ ะเกณฑใ์ หท้ า่ นไปนง่ั เทศนย์ นื เทศนส์ อนเปน็ ชวั่ โมงๆ อยา่ ง  คนหนุ่มๆ ไม่ได้ แต่ถ้าท่านหันมาสอนลูกสอนหลานอยู่กับบ้าน  ท่านก็เรียกว่าท�ำงานทางวาจาแล้ว ถ้าไม่ถนัดในการสอน แม้แต ่ การเปล่งวาจา สวดพุทธคณุ  อติ ิปโิ ส ภควาฯ ก็เปน็ วจกี รรมแลว้ ทางใจซ่ึงเรียกว่า “มโนกรรม” ซ่ึงเรื่องของการคิดนี้มีปรกต ิ อยทู่ กุ คน แมแ้ ตท่ างอภธิ รรมกแ็ สดงวา่ ธรรมชาตขิ องจติ หรอื ใจนน้ั   มีปรกติมีความคิดเป็นอารมณ์อยู่แล้ว ซึ่งเราก็สามารถท่ีจะท�ำได ้ ตั้งแต่เกิดจนตาย ฯลฯ ซ่ึงข้อนี้เป็นงานท่ีเหมาะอย่างยิ่งส�ำหรับ  คนแก ่ พระพทุ ธศาสนาเปน็ ศาสนาทมี่ งุ่ อบรมทางใจโดยตรง ฉะนน้ั   ในทางพระพุทธศาสนาจึงมีการท�ำงานทางใจอยู่ ๒ อย่าง ที่จะ  สามารถหกั หา้ มใจ ควบคมุ ใจ ฝกึ ใจ จนกระทงั่ ท�ำใจใหบ้ รสิ ทุ ธจ์ิ าก  กเิ ลสตณั หา คนทอ่ี าภพั  ทำ� งานทางใจไมไ่ ดจ้ รงิ ๆ คอื  คนวกิ ลจรติ   หรือคนบ้า อย่างน้นี บั วา่ เปน็ กรรมของเขา ดังนั้นรวมความแล้วว่า ทุกคนมีทางท�ำงาน ตั้งแต่พอรู ้ เดยี งสาจนกระทง่ั สน้ิ ลม ทำ� งานทางกายไมไ่ หวกผ็ อ่ นลงมาทำ� งาน  ทางวาจาและทางใจตามล�ำดับ การท�ำงานทางใจนั้นสมควรท่ีเรา  จะทำ� กนั อยา่ งจรงิ ๆ จงั ๆ กนั เสยี ท ี เคยสอนคนมามากแลว้  เมอื่ แก ่ ลงลองฝกึ ใจนน้ั ดสู กั ท ี นเ่ี ราเหน็ แลว้ ใชไ่ หมวา่  แมค้ นแกค่ นเฒา่ ตาม  สายตาของคนทวั่ ไปวา่ ไมม่ งี านทำ�  ความจรงิ ม ี ดงั นนั้ อยา่ ไปลงโทษ  ทา่ น จะเปน็ บาปเปล่าๆ 210 มงคล ๓๘ ประการ

งานที่ไม่มีโทษ เม่ือเราศึกษาถึงเรื่องการท�ำงานแล้ว ก็มีปัญหาอยู่ท่ีจะต้อง  ศึกษาต่อไปคือ เร่ืองโทษ เพราะในมงคลข้อนี้ท่านสอนให้เรา  ทำ� งานชนิดหนึ่งคืองานไมม่ โี ทษ งานอยา่ งไหนเปน็ งานไม่มีโทษ  คำ� วา่  วชั ชะ (วชั ชกรรม) ซงึ่ แปลวา่ โทษนน้ั ตอ้ งเขา้ ใจวา่ ไมไ่ ด้  หมายความเพียงโทษท่ีผู้มีอ�ำนาจสั่งให้รับเพื่อชดใช้ความผิด  อย่างการปรับไหม จองจ�ำ หรือการถอดยศถอดต�ำแหน่ง ไม่ได้  หมายความอย่างนั้น ค�ำว่า “วัชชะ” ในทางศาสนาหมายถึงข้อท่ี  ควรตำ� หน ิ หรอื นา่ ต ิ อยา่ งเชน่ ในวนิ ยั ของพระสงฆม์ ขี อ้ ตำ� หนอิ ย ู่ ๒  ประเภทคอื  ความผดิ บางประเภท ผดิ ทางวนิ ยั และชาวบา้ นตเิ ตยี น  อาบตั อิ ยา่ งนเี้ รยี ก “โลกวชั ชะ” แปลวา่ ชาวโลกเขาตเิ ตยี น อกี อยา่ ง  หน่ึงชาวโลกเขาไม่ติ แต่ทางวินัยสงฆ์ติ เรียก “ปัณณัตติกวัชชะ”  ตวั อยา่ งเชน่  พระฉนั อาหารไมร่ บั ประเคน ชาวบา้ นเขาไมถ่ อื  แตผ่ ดิ   วนิ ยั ทางสงฆ ์ นแี่ ปลกนั โดยความหมายของรปู ศพั ท ์ แตท่ ท่ี า่ นแปล  ว่า “โทษ” นั้นไม่ผิด แต่เป็นส�ำนวนซึ่งชาวบ้านและชาววัดเข้าใจ  ไม่ตรงกัน ถ้าแปลว่าต�ำหนิทุกคนเข้าใจ ดังน้ันเม่ือเราจะจ�ำแนก  ประเภทของการงาน ซง่ึ บณั ฑติ ใชต้ ชิ มนน้ั มอี ย ู่ ๔ หลกั ดว้ ยกนั  มี  ทางโลกเสียสอง ทางธรรมเสียสอง ทางคดีโลก มีกฎหมาย ประเพณี ทางคดีธรรมมีศีล ธรรม  เพอื่ ทดสอบความเขา้ ใจในมงคลขอ้ น ้ี ขอใหท้ า่ นไดส้ ำ� รวจขอ้ ความ  ข้างลา่ งดงั ตอ่ ไปนี้ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 211

๑๘มงคลข้อท่ี ทำ� งานไมม่ ีโทษ ๑. งานบางอยา่ ง ตำ� หนิโดยกฎหมาย   ๒. งานบางอย่าง กฎหมายไมม่ ีท่ีต ิ (โทษ) แต่น่าตำ� หนทิ าง จารีตประเพณี ๓. งานบางอย่าง ทางกฎหมายและจารีตประเพณีไม่มีท่ีติ  แตต่ ไิ ด้ทางศีล ๔. งานบางอย่าง จะติโดยกฎหมาย ประเพณี และศีลไม่ได้ เลย แต่ทางธรรมตไิ ด้ ๕. งานบางอยา่ ง หาทตี่ ไิ มไ่ ดโ้ ดยตลอดทง้ั สท่ี าง นนั่ คอื ยอด ของงาน อนวัชชกรรม การท�ำงานท่ีต�ำหนิทางกฎหมายก็มี การฆ่าคน การท�ำร้าย  ร่างกายกันและกัน การลักทรัพย์ ปล้น ค้าของเถื่อน หลอกลวง  ต้มเหล้าเถื่อน ต้ังบ่อนการพนัน รับจ้างท�ำความผิด การกบฏต่อ  บา้ นเมอื ง ฯลฯ เหลา่ นีเ้ ปน็ ความผิดทางกฎหมาย ทางประเพณีหมายถึง ขนบธรรมเนียม หรือจารีตประเพณี  ของมหาชนในถ่ินหนึ่งๆ หรือในสังคมหนึ่งๆ ซึ่งไม่ใช่กฎหมายแต่  เป็นกฎหมู ่ เชน่  การแตง่ งาน การเผาศพ การปลกู บา้ น ฯลฯ ในทางศลี นน้ั ไดแ้ ยกออกเปน็ ประเภท เชน่  ของภกิ ษ ุ ภกิ ษณุ ี  สามเณร อบุ าสก อบุ าสกิ า ปฏบิ ตั ขิ องแตล่ ะชน้ั มนี �้ำหนกั มากนอ้ ย  ไมเ่ ทา่ กนั  โดยเฉพาะศลี  ๕ ศลี  ๘ กม็ กี ารไมฆ่ า่ สตั ว ์ ไมล่ กั ทรพั ย ์ ไมป่ ระพฤตผิ ดิ ลกู เมยี คนอนื่  การพดู เทจ็  การดมื่ สรุ า งานบางอยา่ ง  ไมผ่ ดิ กฎหมายแตผ่ ดิ ศลี  เชน่  การทำ� การประมง การฆา่ สตั ว ์ ไมผ่ ดิ   กฎหมาย แตท่ างศีลผิด เปน็ อาทิ ในทางธรรม บางอย่างแม้จะไม่ผิดกฎหมาย ไม่ผิดจารีต  212 มงคล ๓๘ ประการ

ประเพณี ไม่ผิดศีลเลย แต่อาจผิดธรรมได้ ยกตัวอย่างเช่น  ความโกรธ การคดิ พยาบาท ความเกยี จครา้ น การเปน็ นกั เลงเจา้ ช้ ู ประพฤติงมงาย การกระท�ำอย่างนี้ ในสามประเภทแรกไม่มีผิด แต่ผิดหลัก  ธรรมคำ� สอนของพระพทุ ธเจา้  การแสดงอาการโกรธฉนุ เฉยี ว และ  การผกู พยาบาท ผดิ หลกั อกศุ ลกรรมบถ ความเกยี จครา้ น ผดิ หลกั   อิทธบิ าท เหล่านี้เปน็ วชั ชกรรม ในมงคลทีปนีท่านแสดงงานที่จัดเป็นอนวัชชกรรม คืองาน  ที่ไม่มีโทษ คือ การรักษาศีลอุโบสถ ในวัน ๘ ค�่ำ ๑๔ ค่�ำ ๑๕ ค่�ำ  การกระทำ� ความขวนขวายในการชว่ ยการกศุ ลของผอู้ นื่  เชน่  ปลกู   ตน้ ไม ้ สรา้ งถนนหนทาง สะพาน สรา้ งโรงพยาบาล สรา้ งโรงเรยี น  ตลอดจนสิง่ ที่เป็นสาธารณประโยชน์ทั่วไป การทำ� งานทปี่ ราศจากโทษ คอื  ไมเ่ ปน็ ทตี่ ำ� หนขิ องกฎหมาย ๑  ไม่เป็นที่ต�ำหนิทางประเพณี ๑ ไม่เป็นการต�ำหนิของศีล ๑ และ  ไม่เป็นท่ีต�ำหนิของทางธรรม ๑ เหล่านี้เป็นงานท่ีปราศจากโทษ  ดงั ทยี่ กตวั อยา่ งมาแลว้ ขา้ งตน้ น ้ี เชน่  การสรา้ งวดั  สรา้ งสาธารณ-  ประโยชน ์ ลว้ นแตก่ ารมงุ่ ผลประโยชนแ์ กช่ นทวั่ ไป สมควรทเี่ ราจะ  พึงกระท�ำเพื่อความเจริญแก่ตน แก่หมู่คณะ ประเทศชาติและ  พระศาสนา เหล่าน้ีเป็นความเจริญท้ังสิ้น เป็นความเจริญทั้งใน  ชาตินีแ้ ละชาตหิ น้า สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 213

มงคล ๑๙ขอ้ ที่ อารตี วิรต ี ปาปา (งดเว้นจากบาปกรรม) ในมงคลขอ้  ๑๙ น ี้ เปน็ การสรา้ งความเจรญิ ของจติ ใจโดยตรง  ซง่ึ ใน ๑๘ มงคลเบอ้ื งตน้ สว่ นมากเปน็ การสรา้ งชวี ติ  เกย่ี วกบั สงั คม  การเรยี น การทำ� มาหากนิ  เรอื่ งพอ่ แม ่ ลกู เมยี  แมแ้ ตก่ ารทำ� งาน ก็  มงุ่ ใหเ้ วน้ งานทมี่ โี ทษ อนั จะเปน็ ความผดิ ทางบา้ นเมอื ง และเปน็ ท่ ี ครหาตเิ ตยี นของผอู้ นื่  แตม่ งคลขอ้ ท ี่ ๑๙ น ้ี เปน็ การปรงุ แตง่ จติ ใจ  ใหส้ งู ขนึ้ โดยเฉพาะ 214 มงคล ๓๘ ประการ

ความดีและความช่ัวน้ันเราจะวัดได้อย่างไร เราวัดได้ด้วย  การกระท�ำของบคุ คล ถา้ ใจใครเกลียดชว่ั -รกั ดแี น่วแน่ ใจคนน้ันสงู ย่งิ ถา้ ใจใครในบางคราวรกั ด-ี บางคราวรกั ชว่ั  ใจคนนนั้ ปานกลาง ถา้ ใจใครเกลียดด-ี รักช่ัวทางเดยี ว ใจคนน้นั ตำ่� มาก ในมงคลที่ ๑๙ ตามบาลวี า่  “อารต ี วริ ตี ปาปา” แปลวา่ การ  งดเว้นจากบาปกรรม ในมงคลข้อแรกเราจะเห็นว่ามีการงดเว้น  เหมือนกนั  คอื เวน้ จากการคบคนพาล มาตอนนีเ้ ปน็ การสร้างคณุ   ความดีทางใจโดยตรง ท่านจึงเร่ิมต้นด้วยการงดเว้นจากบาป คน  เราเวลากอ่ นทจ่ี ะแตง่ ตวั  เราจะตอ้ งช�ำระลา้ งสงิ่ สกปรกของรา่ งกาย  เป็นต้นว่าเหง่ือไคลให้หมดเสียก่อนจึงจะแต่งตัว การแต่งใจก ็ เชน่ กนั  จะตอ้ งชำ� ระสงิ่ สกปรกทางใจออกเสยี กอ่ น สงิ่ สกปรกทาง  ใจน ี้ ในทางศาสนาเรยี กวา่  “บาป” ซง่ึ ถา้ จะแปลแลว้ กไ็ ดแ้ ก ่ ความ  สกปรกทางใจ ในมงคลขอ้ น ้ี พระพทุ ธองคต์ รสั วา่ ใหเ้ วน้ จากบาปเสยี  ตวั เรา  ยังท�ำบาปอยู่ตราบใด การแต่งใจก็ไม่เป็นผล เม่ือมาถึงประเด็นน้ี  ปัญหาตอ่ ไปที่เราจะตอ้ งเขา้ ใจ คือคำ� วา่  ‘บาป’ คำ� วา่ บาปนนั้  ไดแ้ กค่ วามเศรา้ หมองของจติ ใจ ซง่ึ การกระทำ�   อะไรก็ตาม ถ้าการกระท�ำน้ันเป็นการก่อความเดือดร้อน ท�ำให ้ จติ ใจของเรานนั้ ผดิ ปกตไิ ปจากความเปน็ จรงิ ของธรรมชาต ิ เปน็ ตน้   ว่า ใจรา้ ย ใจด�ำ ใจต�่ำ จติ เศรา้ หมอง เหล่านเี้ ป็นบาปทั้งนั้น ในทางศาสนานน้ั มงุ่ หวงั การกระทำ� ทางจติ ใจเปน็ เกณฑ ์ การ  กระท�ำใดๆ ก็ตาม เม่ือท�ำแล้วท�ำให้เกิดความเส่ือมเสียทางจิตใจ  สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 215

๑๙มงคลข้อที่ งดเวน้ จากบาปกรรม ส่ิงนั้นเป็นบาป ท่ีว่าเสื่อมเสียทางจิตใจน้ัน หมายถึงการกระทำ� ที่  ท�ำให้ใจของบุคคลน้ัน มีสภาพต�่ำลงจากปกติคนท่ัวไป เราทราบ  ความหมายของมนุษย์เป็นอย่างดีแล้วว่า แปลว่า ผู้มีจิตใจสูง คือ  สูงจากสัตว์ทั่วไปในด้านของคุณธรรม ถ้าการกระท�ำใดๆ ของเรา  มีเจตนาในทางชั่วร้ายแล้ว ก็ไม่ท�ำให้ต่างอะไรกับสัตว์ท่ัวๆ ไป  ดงั นน้ั ความหมายของมนษุ ย ์ หรอื คน ไมใ่ ชอ่ ยทู่ ว่ี า่ มหี วั  มแี ขนสอง  แขน มขี าสองขา มกี ารกนิ อย ู่ หลบั นอน เหลา่ นเี้ ทา่ นน้ั  แตจ่ ะตอ้ ง  มีคุณธรรมที่สูงกว่าสัตว์ทั่วไป คือ มีจารีตประเพณี มีคุณธรรม  เหลา่ นเี้ ปน็ เครอื่ งหมายของมนษุ ยท์ ที่ ำ� ใหแ้ ตกตา่ งจากสตั วท์ ว่ั ๆ ไป การกระท�ำท่ีศาสนาต่างๆ สอนว่าเป็นบาปน้ันผิดแผกกัน  เป็นส่วนมาก ศาสนาใดสอนว่าโลกและสรรพสัตว์มีพระเจ้าสร้าง  ศาสนาน้ันก็สอนว่าการกระท�ำผิดต่อพระเป็นเจ้าเป็นบาป ดังนั้น  บาปกห็ มายถงึ การผดิ จากคำ� สง่ั สอนของทา่ น และทา่ นอาจมสี ทิ ธ ิ ยกบาปใหด้ ว้ ย เชน่  ครสิ ตศ์ าสนา เปน็ ตน้  ถอื วา่ คนจะบรสิ ทุ ธนิ์ นั้   ดว้ ยการทพี่ ระเจา้ ไถบ่ าปให ้ แตพ่ ทุ ธศาสนาไมไ่ ดส้ อนเรอื่ งพระเจา้   สรา้ ง เรอ่ื งบาปเปน็ เรอ่ื งเหตผุ ลทางจติ ใจ คอื การกระท�ำใดๆ กต็ าม  เมอ่ื ทำ� ลงไปแลว้ จติ ใจของคนนนั้ แปรสภาพในทางเสยี นน้ั เปน็ บาป  ท้ังส้ิน บาปคงเป็นบาป ไม่มีการหยิบย่ืนบาปให้แก่ผู้ใด และไม่ม ี การงดเวน้ หรอื ไถบ่ าปใหแ้ กผ่ ใู้ ด ใครท�ำผนู้ นั้ กจ็ ะตอ้ งไดร้ บั  ดงั พทุ ธ  ภาษิตว่า “ผู้ท�ำบาปเอง ผู้น้ันย่อมเศร้าหมองเอง” หรือ “ความ  บริสุทธ์หิ รือไม่บริสทุ ธิม์ ีอย่เู ฉพาะตน” เหลา่ น้ีเปน็ ต้น การท�ำบาปของบุคคลเรามีอยู่ ๓ ทาง ดังเช่นท่ีได้กล่าวมา  แลว้ ในมงคลท ่ี ๑๘ คอื ทางกาย ทางวาจา และทางใจ ทง้ั  ๓ ทางนี้  216 มงคล ๓๘ ประการ

รวมเปน็ บาป ๑๐ ประการ คอื ทางกาย ๓ ทางวาจา ๔ ทางใจ ๓ ท้ัง ๑๐ ทางน้ี นับเฉพาะหัวข้อใหญ่ๆ ซึ่งเป็นแม่บทโดย  เฉพาะ ไมไ่ ดห้ มายความถงึ วธิ กี ารกระทำ� อนื่ ๆ เชน่  การทำ� รา้ ยกนั   ดว้ ยวธิ กี ารตา่ งๆ หรอื วา่ การหลอกลวงดว้ ยเลห่ ก์ ลอนื่ ๆ ซง่ึ จะแยก  ให้เห็นดงั ต่อไปน้ี ทางกาย  ๑. การฆา่   ๒. การลกั ทรัพย์  ๓. การผดิ ประเวณี  และไดแ้ ยกสาขาออกไปอกี  เชน่  การฆา่  รวมไปถงึ การฆา่ คน  ยงิ นกตกปลา ทรมานสตั ว ์ กดั ปลา ชนไก ่ ทำ� รา้ ยรา่ งกาย การลักทรัพย์ มีการขโมย ปลน้  ฉอ้ โกง หลอกลวง หนีภาษี  หากนิ ทางทจุ ริต คอรัปชน่ั การผิดประเวณ ี คือ การท�ำชู้ ฉุดครา่  อนาจาร ฯลฯ ทางวาจา มกี ารพูดเทจ็  แยกออกเปน็ สาขาดังนี้ ๑. พดู โกหก เสรมิ ความ บิดพลิ้ว ท�ำหลกั ฐานเทจ็  ฯลฯ ๒. พูดค�ำหยาบ มีด่า ประชด แช่งชัก ว่ากระทบกระแทก  ฯลฯ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 217

๑๙มงคลข้อท่ี งดเวน้ จากบาปกรรม ๓. พูดสอ่ เสยี ด ม ี ยยุ ง ใส่รา้ ยปา้ ยสี ฯลฯ  ๔. พดู เหลวไหล เชน่  พดู เหลาะแหละ พดู โปรยประโยชน ์ พดู   พล่าม พูดเพ้อเจอ้  ฯลฯ ทางใจ มอี ย ู่ ๓ คือ ๑. คดิ โลภมาก คอื  อยากไดใ้ นทางทจุ รติ  เพง่ เลง็ ทรพั ยผ์ อู้ น่ื   วางแผนทจุ ริต ฯลฯ  ๒. พยาบาท คดิ อาฆาต คิดแกแ้ คน้  คดิ ปองร้าย ฯลฯ  ๓. เห็นผิด เห็นว่าบาปบุญไม่มี เห็นว่าบิดามารดาไม่มีคุณ  เหน็ วา่ ตายแลว้ สูญ เห็นวา่ ท�ำดีไมไ่ ดด้  ี ฯลฯ เหลา่ นเี้ ปน็ เรอ่ื งของบาป ซงึ่ แยกออกเปน็  ๑๐ ประการ มที าง  กาย ๓ ทางวาจา ๔ ทางใจ ๓ ดงั ทไ่ี ดแ้ สดงมาแลว้  สง่ิ เหลา่ นล้ี ว้ น  เปน็ บาปอกุศลทั้งสิน้ ในทางศาสนา ได้แสดงโทษของบุคคลผู้กระท�ำบาปไว้ดังนี ้ คนทฆ่ี า่ สตั ว ์ เมอื่ ตายไปแลว้ กจ็ ะบงั เกดิ ในอบาย คอื นรก ครน้ั เกดิ   มาเป็นมนุษย์ก็จะเป็นคนท่ีมีอายุส้ัน จะตายต้ังแต่อายุยังน้อย  คนท่ีทรมานสัตว์ เม่ือเกิดเป็นมนุษย์ก็จะเป็นคนที่มีโรคภัยไข้เจ็บ  เบยี ดเบยี นอยเู่ นอื งๆ คนทล่ี กั ทรพั ย ์ กเ็ ปน็ หนทางไปอบาย ถา้ เกดิ   มาเปน็ มนษุ ยก์ จ็ ะเป็นคนยากจนอนาถา มที รพั ย์ก็จะฉบิ หายดว้ ย  ไฟไหม ้ ดว้ ยโจรสลดั  เปน็ ตน้  คนทช่ี อบประพฤตผิ ดิ หรอื เสพเมถนุ   กจ็ ะไดร้ บั โทษทณั ฑใ์ นอบาย และตอ้ งเวยี นวา่ ยตายเกดิ อยใู่ นวฏั ฏ-  สงสารไม่มีที่สิ้นสุด โทษของการกล่าวมุสาวาท เป็นหนทางไป อบาย ครั้นเกิดมาเป็นมนุษย์ก็ไม่ได้รับความบริสุทธ์ิ มีแต่คนมา  218 มงคล ๓๘ ประการ

ลอ่ ลวงใหเ้ สยี ทรพั ยข์ า้ วของ และถกู โจทกด์ ว้ ยความเทจ็  เอาของท่ี  ตอ้ งหา้ มมาลกั ใสใ่ หเ้ กดิ ความเสยี หาย โทษของการดมื่ สรุ าเมรยั  ก ็ ใหเ้ กดิ ในอบาย นายนริ ยบาลกรอกดว้ ยน�้ำทองแดง ครน้ั มาบงั เกดิ   เป็นมนุษย์ ก็เป็นคนโง่เขลาไม่มีสติปัญญา เป็นบ้าใบ้ผิดมนุษย์  ทงั้ ปวง นี่เปน็ โทษของผลู้ ่วงละเมิดการทำ� บาปอกศุ ล ในทางพุทธศาสนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในมงคลข้อนี้ บุคคล  ผู้กลัวต่อผลของการกระท�ำบาปอกุศล ก็พึงมีธุระที่จะต้องละอยู่  ๒ อย่าง คอื อารต ี งด วิรต ี เว้น อารตี แปลว่า งด หมายถึงงดการก่อกรรมท�ำบาป หมาย  ความว่า ถ้าหากมีบาปกรรมอันใดที่เราได้ท�ำอยู่แล้วด้วยความ  หลงใหลเหน็ ผดิ เปน็ ชอบมากอ่ น จนการกระทำ� นนั้ ไดต้ ดิ เปน็ นสิ ยั   อย่างเช่นติดสุราเมรัย ชอบโกหก มีจิตเห้ียมโหด ชอบตกปลา  ล่าสัตว์ เมื่อรู้ว่าเป็นบาปกรรมก็งดเสีย คือเลิกท�ำ การหยุดเลิก  บาปกรรมท่ที ำ� อยูแ่ ลว้ อยา่ งน ้ี เรียกว่า อารตี แปลวา่  งด สว่ น วริ ต ี แปลวา่  เวน้  ซงึ่ เราชาวพทุ ธมกั จะไดย้ นิ อยเู่ สมอๆ  แตเ่ ปน็ อกี รปู แบบหนงึ่  คอื  มชั ชวริ ตั  ิ เวน้ ดม่ื นำ้� เมา มงั สวริ ตั  ิ เวน้ การ  กนิ เนอื้ สตั ว ์ เวรวริ ตั  ิ เวน้ จากการจองเวร ทว่ี า่ เวน้ บาปหมายความ  วา่  ไมร่ อิ า่ นทำ� บาปกรรมขน้ึ อกี  รวู้ า่ งานใดเปน็ บาปกรรมกเ็ วน้ เสยี   เชน่ เวน้ จากการปลน้  เวน้ จากการฉอ้ โกง เวน้ จากการทจุ รติ  อยา่ งน ี้ เรยี กวา่  เวน้ เจตนาในการงดและเจตนาในการเว้นต่างกัน การงด เราม ี สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 219

๑๙มงคลขอ้ ที่ งดเวน้ จากบาปกรรม เจตนาในการชำ� ระสะสางบาปกรรมเกา่ ในตวั เรา สว่ นการเวน้  เปน็   เจตนาระวงั ตวั  ไม่ให้พลัดลงไปในทางบาป การงดเว้นจากบาปอกุศลเหล่านี้ เป็นเหตุให้สังคมมนุษย ์ ปกตสิ ขุ  พน้ จากความเบยี ดเบยี นกอ่ ทกุ ขแ์ กก่ นั และกนั  เหลา่ นเี้ ปน็   มงคลแหง่ ความเจรญิ 220 มงคล ๓๘ ประการ

มงคล ๒๐ข้อท่ี มชชฺ ปานา จ สญฺโม (ส�ำรวมจากการดื่มน�ำ้ เมา) ในมงคลขอ้ น ี้ พระพทุ ธเจา้ ทรงแสดงวา่  “มชชฺ ปานา จ สญฺ   โม” แปลว่า ส�ำรวมจากการด่ืมน้�ำเมา ในปัญหาข้อน้ีเป็นข้อท่ีจะ  ตอ้ งท�ำความเขา้ ใจในคำ� ว่า “มชั ชปานะ” เสียก่อน “มัชชปานะ” แปลว่า ของเมา ซ่ึงกินความรวมไปถึงของ  มึนเมาทุกอย่าง น้�ำหนักของค�ำน้ีตรงในภาษาไทยว่า “ของเสพ  ติดให้โทษ” ซึ่งไม่ได้หมายถึงสุราอย่างเดียว แต่หมายถึงของเสพ  ตดิ ใหโ้ ทษทกุ อยา่ ง เชน่  เหลา้  ฝน่ิ  กระแช ่ นำ�้ ตาลเมา เบยี ร ์ กญั ชา  ใบกระทอ่ ม และของอืน่ ๆ อกี “ปานะ” แปลตามตัวว่า ดื่ม คืออมเข้าปากแล้วกลืนลงท้อง  แตโ่ ดยความหมายแลว้  ค�ำวา่  ดม่ื  หมายถงึ การทำ� สงิ่ ใดสง่ิ หนงึ่ ซมึ   เขา้ ไปในตวั  จะเปน็ การกนิ  การอม การอดั  การนตั ถ ์ุ การฉดี  การ  สูบ รวมอยใู่ นคำ� วา่  ปานะ ทงั้ ส้ิน สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 221

๒๐มงคลข้อที่ ส�ำรวมจากการด่ืมน้ำ� เมา เพราะฉะนั้นค�ำว่า มัชชปานะ หมายถึงการเสพของเสพ  ตดิ ใหโ้ ทษทกุ อยา่ ง และทกุ วธิ  ี เจตนาของมงคลขอ้ นอ้ี ยทู่ ก่ี ารรกั ษา  ตวั ไมใ่ หเ้ ปน็ ทาสของยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ ถา้ ใครตดิ เขา้ แลว้ กใ็ หถ้ อน  ตวั ออก ทำ� ตวั ใหเ้ ปน็ อสิ ระเสีย กจ็ ะเกิดมงคล สำ� หรบั ในมงคลขอ้ นจ้ี ะแสดงถงึ โทษของการดมื่ นำ้� เมา เพราะ  เป็นเครื่องท�ำให้เกิดความประมาท ในทางศาสนาถือว่าเป็นวัตถุ  อันตราย แต่ก็ยังรับว่าสุราอาจเป็นประโยชน์ได้ เช่น ใช้ปรุงผสม  กับยา หรือปรุงอาหารให้มีรสดีข้ึน น่ันไม่ได้หมายความว่าจะให ้ เราหลกี เลยี่ งการดม่ื สรุ า อยา่ งบางคนทเี่ คยเหน็ กนิ ยาดองผสมสรุ า  แล้วใส่ยาดองเพียงนิดเดียว แต่เติมสุราเข้าไปบ่อยๆ และกินจน  เมามายไม่ได้สติ อย่างน้ีเรียกว่าขาดความส�ำรวม ค�ำว่าส�ำรวมน ี้ ท่านมุ่งหมายเหมือนกับฉลากยาท่ีบอกว่า “ยาอันตราย” ให้ระวัง  คือระวังว่าจะเสีย หรือห้ามขาดเลย อย่างเช่นมีใครมาเตือนเรา  ว่า “ระวังจะตาย” เราก็จะต้องเข้าใจว่าต้องระวังขนาดท่ีไม่เฉียด  เข้าไปหาความตาย พยายามเว้นจากที่ๆ มันจะท�ำให้เราตายเด็ด  ขาด ไมใ่ ชห่ มายความวา่ เราลองตายเลน่ ๆ ดกู ไ็ ด ้ หรอื ตายอยา่ งนน้ั   อยา่ งนจ้ี งึ จะผดิ คำ� เตอื น ในทางศาสนา พระศาสดาของเราตรสั วา่   ใหส้ ำ� รวมจากการดมื่ นำ้� เมา กห็ มายความวา่ ใหเ้ ราเลกิ โดยเดด็ ขาด  เลิกกินเหลา้ เมายาเสีย 222 มงคล ๓๘ ประการ

โทษของการดม่ื สรุ า พระพุทธศาสนาประณามการด่ืมสุราและการซ่องเสพของ  มนึ เมาเสพตดิ ใหโ้ ทษทกุ ชนดิ  แตจ่ ดุ หนกั อยทู่ ส่ี รุ า โทษของการดมื่   สรุ า ทท่ี า่ นแสดงไวใ้ นสงิ คาลกสตู ร ซงึ่ ทรงสอนแกส่ งิ คาลกมาณพ วา่ ๑. ธนชาน ิ ทำ� ใหเ้ ส่ือมเสยี ทรพั ย์  ๒. กลฺหปปฺ วฑฒฺ น ี ก่อการทะเลาะววิ าท ๓. โรคาน ํ อายตนํ จะเกิดโรคหลายอยา่ ง ๔. อกิตฺต ิ สญชฺ นณ ี เสอ่ื มเสยี ชอื่ เสยี ง ๕. หิร ิ โกปินนิททฺ สํ น ี ทำ� ให้ขาดความละอาย ๖. ปญฺาย ทุพพฺ ลีกรณ ี ทำ� ให้สตปิ ญั ญาเส่อื มถอย การดื่มสุราชื่อว่าไม่รักตัว ล้างผลาญทรัพย์สมบัติลูกเมีย  ผลาญคุณงามความดีทุกอยา่ ง จึงชอ่ื ว่าไมร่ ักตัว ไม่รักคณุ ความด ี ของตวั  ไมร่ กั ลกู เมยี  ทรพั ยส์ มบตั  ิ ไมร่ กั เกยี รตยิ ศของตวั ทกุ อยา่ ง  คนท่ีดีมีศีลมีสัตย์ เป็นท่ีเคารพนับถือของคนทั่วไป ถ้าเวลาเขาจะ  คิดท�ำลายเสีย เขาก็ใช้อุบายมอมเหล้าให้เมาเสียจนลืมตัวชวนให้  ทำ� ผดิ ทำ� ชว่ั ทเี่ ขาไดเ้ ตรยี มเอาไว ้ เพราะเมาจนลมื ตวั ไปทำ� ชว่ั เขา้ ก ็ เสียคน พอเวลาหายเมาแล้วนึกถึงการกระทำ� ต่างๆ ท่ีตัวท�ำไป ก็  เกดิ มคี วามเดอื ดรอ้ นใจ เหมอื นกบั วา่ หนา้ ของตวั เองเปน็ ใบหนา้ ท่ ี เกลย้ี งเกลาสะอาดไมม่ ีต�ำหนิเลย ต้องมาเป็นแผล เห็นแลว้ ก็เกดิ   สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 223

๒๐มงคลขอ้ ท่ี สำ� รวมจากการด่มื น�ำ้ เมา ความไมส่ บายใจฉนั ใด คนทไี่ มเ่ คยทำ� บาปทำ� ชวั่  แตเ่ พราะประมาท  ท�ำช่ัวเพราะขาดสติ นึกถึงบาปท่ีไม่ดีก็ย่อมไม่สบายใจทุกที สิ่งท ่ี เราท�ำไปแล้วก็ให้มันแล้วไป เราต้องตั้งต้นด้วยการส�ำรวมใหม่  อยา่ กระทำ� เชน่ นน้ั อกี เปน็ ครงั้ ทส่ี อง แตบ่ างคนไมเ่ ขา้ ใจ เมอื่ ท�ำชวั่   ทำ� เสยี เกดิ ความเสยี ใจกห็ นั ไปดม่ื สรุ าอกี เปน็ การดบั กลมุ้  ซงึ่ ยอ่ ม  เปน็ ไปไมไ่ ดจ้ ะยง่ิ ซำ้� หนกั อกี  เปรยี บเหมอื นรา่ งกายของเราหรอื พนื้   สกปรก แตแ่ ทนทเี่ ราจะใชน้ �้ำสะอาดลา้ ง กลบั ใชน้ �้ำสกปรกมาลา้ ง  แล้วลองคิดดูว่ามันจะสะอาดได้อย่างไร เม่ือเราสกปรกแล้วต้อง  อาบน�้ำช�ำระร่างกาย ฟอกสบู่ให้สะอาด แล้วไม่เข้าไปเกลือกกลั้ว  กับสิง่ สกปรกอ่ืนๆ อีก ก็ไมเ่ ปอ้ื นสกปรกอีกเชน่ กัน เพื่อแสดงโทษของการด่ืมน้�ำเมานั้น จะขอยกนิทานชุด  ประกอบสัก ๓ เรื่องเพ่ือเป็นแนวทางของการพิจารณา ซ่ึงเรื่อง  หนง่ึ เปน็ เรื่องตน้ กำ� เนิดของสรุ า ซึง่ มเี รอื่ งเลา่ ดังนี้ เรอื่ งต้นก�ำเนดิ สรุ า มเี รอื่ งเลา่ วา่  มนี ายพรานคนหนงึ่  เปน็ ผหู้ าเนอื้ มาสง่ พระเจา้   กรุงพาราณสีเป็นประจ�ำ และได้พบต้นไทรใหญ่ต้นหนึ่ง ท่ีปลาย  มีโพรง พวกนกแขกเต้าคาบข้าวสาลีมากินที่โพรงไม้นั้น และนก  อนื่ ๆ กค็ าบชะเอม พรกิ ไทย มากนิ ทโี่ พรงไมน้ น้ั ไมข่ าด ของเหลา่   นน้ั กต็ กลงไปในโพรงไทรเปน็ อนั มาก ครน้ั ฝนตกลงมาน�้ำขงั อยใู่ น  โพรงไทร และมสี แี ดง มรี สเมาบงั เกดิ ขน้ึ  เมอื่ นกทง้ั หลายมากนิ น้�ำ  224 มงคล ๓๘ ประการ

ในโพรงไม้น้ันก็เกิดความมึนเมาพลัดตกลงมา นายพรานได้ดูอยู่  สกั ครกู่ เ็ หน็ นกนน้ั บนิ ไป เดย๋ี วเดยี วกต็ กลงมาอกี  กเ็ กดิ ความสงสยั   จึงได้ขึ้นไปบนต้นไทรเห็นน้�ำสีแดงก็ยังไม่รู้ว่าเป็นน�้ำอะไร นาย พรานก็กินเข้าไปสองสามอึก ก็เกิดจิตใจครึกครื้น มีความสนุก  สนานแลว้ กน็ อนหลบั ไป พอตนื่ ขน้ึ มากไ็ ดป้ นี ขนึ้ ไปบนตน้ ไทร ตกั   เอานำ�้ นนั้ ไปถวายพระเจา้ กรงุ พาราณส ี พระองคใ์ หร้ าชบรุ ษุ ทดลอง  ราชบรุ ษุ เมอ่ื ทดลองแลว้ กเ็ กดิ ใจแกลว้ กลา้  พระองคก์ เ็ รยี กน�้ำนนั้ วา่   สุรามาจนบดั น้ี อกี เรอ่ื งหนง่ึ เป็นเรื่องโทษของการด่ืมสรุ า ในอดีตกาลพระราชาองค์หนึ่ง ในกรุงพาราณสี เป็นผู้ท่ีดื่ม  สรุ าเปน็ นจิ  และชอบเสวยเนอ้ื เปน็ ประจ�ำจะขาดเนอื้ เสยี ไมไ่ ดเ้ ลย  อยู่มาวันหน่ึง เป็นวันอุโบสถซึ่งไม่มีใครฆ่าเน้ือขายในวันนั้น พ่อ  ครัวก็เกิดร้อนใจไม่มีเนื้อสดจะถวาย จึงเข้าไปกราบทูลแก่พระ  อัครมเหสีให้ทรงทราบ พระนางจึงตรัสว่า ถ้ากระน้ันเม่ือท่านจะ  น�ำโภชนาหารไปถวายแล้ว เราจะให้พระโอรสเข้าไปก่อน เพราะ  พระโอรสเป็นทร่ี ักของพระราชา เม่ือพ่อครัวได้น�ำโภชนาหารเข้าไปถวาย จึงได้น�ำพระโอรส  เขา้ ไปกอ่ น เพราะเปน็ ทด่ี บั รอ้ นของพระราชา ซงึ่ กเ็ ปน็ เวลาทพี่ ระ  ราชากำ� ลงั เมาสรุ าอย ู่ ครนั้ เหน็ พระโอรสทเ่ี ปน็ ทร่ี กั กอ็ มุ้ ขนึ้ นง่ั บนตกั แลว้ ชมเชย เมอื่ พอ่ ครัวน�ำอาหารไปถวาย พระราชาไม่เห็นมีเนื้อ  จงึ ถามขน้ึ วา่ ทำ� ไมจงึ ไมม่ เี นอ้ื  พอ่ ครวั กท็ ลู ใหท้ ราบวา่  วนั นเ้ี ปน็ วนั   อโุ บสถไมม่ ใี ครฆา่ เนอ้ื ขาย พระราชากจ็ งึ ไดจ้ บั พระราชบตุ รหกั คอ  แล้วโยนไปให้พ่อครัว “ท่านจงเอาเน้ือนี้แกงมาให้เรา” พระราชา  ตรสั  พอ่ ครวั กน็ ำ� เนอื้ นน้ั มาปรงุ เปน็ อาหารถวาย ครน้ั ทรงเสวยแลว้   สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 225

๒๐มงคลข้อที่ สำ� รวมจากการด่มื นำ้� เมา ก็ทรงบรรทมหลับไป ครั้นรุ่งเช้า เมื่อสร่างเมาก็ทรงเรียกหาพระโอรส พระมเหสี  ก็ทรงพิลาปร�ำพันกราบทูลว่า พระราชโอรสน้ันได้ถูกพระองค์ฆ่า  แล้วประทานให้พ่อครัวไปท�ำอาหารเสียแล้ว เม่ือพระราชาได้ทรง  สดับก็ระลึกได้ ร้องไห้ปริเทวนาต่างๆ แล้วทรงอธิษฐานว่า ต่อนี้  ไปเราจะไมเ่ สวยสรุ าจนตราบเท่าส่นู พิ พาน นเ่ี ปน็ เรอ่ื งแสดงใหเ้ หน็ วา่  การดม่ื นำ�้ เมากอ่ ความพนิ าศใหญ่  หลวง แม้พระโอรสที่รกั ย่งิ  กท็ รงประหารเสยี ไดเ้ พราะความเมา อีกเร่ืองหน่ึง หลานชายของอนาถบิณฑิกเศรษฐีได้ผลาญ  เงนิ ทองเปน็ จ�ำนวนมาก แมจ้ ะไดร้ บั การชว่ ยเหลอื จากเศรษฐกี ย็ งั   ประพฤตเิ ชน่ นนั้ อกี  พระพทุ ธเจา้ ไดท้ รงแสดงใหฟ้ งั วา่  ในกาลกอ่ น  เราแม้ได้ให้หม้อวิเศษอ�ำนวยส่ิงที่ต้องการทุกอย่างแก่เขา ยังไม่  สามารถทำ� ใหพ้ อใจได้ แลว้ ทรงแสดงเร่อื งอดตี มาเล่าใหฟ้ งั วา่ ในอดตี กาล พระโพธิสตั ว์เป็นเศรษฐี ฝังทรัพย์ไวใ้ นแผ่นดนิ   สสี่ บิ โกฏ ิ ในกรงุ พาราณส ี ไดบ้ ำ� เพญ็ ทานเปน็ อนั มาก เมอื่ ตายแลว้   ก็ไปเกิดเป็นท้าวสักกะเทวราชฯ เศรษฐีน้ันมีบุตรชายอยู่คนหนึ่ง  เม่ือบิดาตายแล้วก็เอาแต่ดื่มสุรา ตบรางวัลแก่นักเต้นร�ำ นักขับ  ประโคมครงั้ ละพนั  และกลายเปน็ นกั เลงผหู้ ญงิ  นกั เลงสรุ า ผลาญ  เงนิ ทองจนหมดสนิ้  และไดก้ ลายเปน็ คนยากจน ทา้ วสกั กะไดท้ รง  ทราบว่าเขาเป็นคนเข็ญใจแล้วก็เกิดความสงสาร จึงได้ประทาน  หม้อวิเศษท่ีให้ทุกส่ิงทุกอย่างที่เขาต้องการ แล้วตรัสว่า “เจ้าจง  รักษาหม้อน้ีไว้ อย่าให้มันแตกท�ำลายลงเป็นอันขาดทีเดียว เม่ือ  หม้อยังมีอยู่ เจ้าจะไม่ขาดทรัพย์ เจ้าจงไม่เป็นผู้ประมาทนะ”  226 มงคล ๓๘ ประการ

แล้วเสด็จกลับ จ�ำเดิมแต่นั้นชายคนนั้นก็ดื่มสุราอีกและเท่ียวไป  วนั หนง่ึ เขาเมาแลว้ โยนหมอ้ นน้ั ขนึ้ ไปในอากาศแลว้ รบั  โยนแลว้ รบั   ครงั้ หนง่ึ เกดิ รบั ผดิ  หมอ้ ตกลงพนื้ แตก ตงั้ แตน่ นั้ มาเขากก็ ลายเปน็ คนยากจนอีก น่ีแสดงให้เห็นว่า การดื่มน�้ำเมา คือสุราเมรัยเป็นเหตุแห่ง  ความฉิบหาย ท�ำให้บุคคลผู้ดื่มได้ตกทุกข์ได้ยาก แม้บิดามารดา  ญาตกิ ไ็ มอ่ าจอปุ ถมั ภอ์ มุ้ ชไู ด ้ ผดู้ ม่ื สรุ าทำ� ตนเองใหห้ มดคา่  ไมเ่ ปน็   ทตี่ อ้ งปรารถนาของผใู้ ด ดงั นน้ั พระบรมศาสดาจงึ ตรสั วา่  “การดมื่   สุราเป็นเหตุให้ต้ังอยู่ในความประมาท” และอบายมุขคือหนทาง  แห่งความฉิบหายแหง่ โภคทรพั ย์ ผู้หวังความเจริญก้าวหน้า และความเป็นมงคลแห่งชีวิตพึง  เว้นจากการดื่มสุราเมรัย และสิ่งเสพติดให้โทษทั้งหลาย ความ  สวัสดีจะเกดิ แกต่ นทกุ เม่อื สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 227

๒๑มงคล ข้อที่ อปปฺ มาโท จ ธมฺเมสุ (ไม่ประมาทในธรรม) ในมงคลข้อน้ีท่านได้แสดงไว้ว่า ความไม่ประมาทในธรรม  ท้ังหลาย ซึ่งเราก็พอท่ีจะแยกความหมายของมงคลข้อน้ีได้ ๒  ประการ คือ ความไม่ประมาท ๑ และธรรมทงั้ หลาย ๑ ความไมป่ ระมาทคอื อยา่ งไร เรอื่ งนเ้ี ปน็ เรอื่ งทก่ี นิ ความหมาย  กว้างมาก อัปปมาทะ ซ่ึงเมื่อแปลแล้วก็จะได้ใจความว่า ความไม ่ ประมาท ความไม่ประมาทนั้นท่านได้ให้ความหมายไว้ว่า ความท ี่ 228 มงคล ๓๘ ประการ

ไมอ่ ยปู่ ราศจากสต ิ หรอื ความมวั เมาในลาภ ยศ สรรเสรญิ  สขุ  ในวยั   ในความท่ไี มม่ โี รค เหล่านีเ้ ป็นลักษณะของความประมาทท้งั สน้ิ   สตนิ นั้ เปน็ ธรรมชาตอิ ยา่ งหนงึ่ ทเ่ี ปน็ เครอ่ื งคมุ้ ครองรกั ษาใจ  ตลอดจนการกระท�ำทางกาย วาจาของเราให้เป็นไปในทางท่ีถูก  ที่ควร สติ ได้แก่ความระลึกได้ คือระลึกไว้ก่อนที่จะทำ�  ก่อนท่ีจะ  พูด ก่อนที่จะคิดกิจการท้ังปวง บุคคลที่ขาดสติเหนี่ยวร้ังในการ  งานทต่ี นกระทำ�  กท็ ำ� ใหเ้ สยี หายมากทง้ั ทรพั ยส์ มบตั แิ ละชวี ติ  เชน่   เราประกอบการค้าขาดการเอาใจใส่ในสินค้า ท�ำไปโดยไม่รู้จัก  กาลเทศะย่อมได้รับความพินาศป่นปี้ในท่ีสุด หรือในส่วนร่างกาย  ไมเ่ อาใจใสบ่ รหิ ารรกั ษา ยง่ิ กวา่ นน้ั ยงั กลา้ ประกอบเหตอุ นั เปน็ ทาง  มาแหง่ โรค เมอื่ เปน็ เชน่ นแ้ี ลว้  โรคทย่ี งั ไมเ่ กดิ กเ็ กดิ ขนึ้  ทเ่ี กดิ ขนึ้ แลว้   กก็ ำ� เรบิ มากขน้ึ  และในทสี่ ุดก็ทำ� ลายชีวติ ของตนเองในที่สุด หรอื   คนทข่ี บั รถมคี วามประมาทขบั รถเรว็ เกนิ อตั รา โดยคดิ วา่ ฝมี อื ของ  ตัวเองน้ันดีแล้ว ก็ย่อมได้รับความตายในที่สุด ดังน้ันการท่ีเราจะ  กระท�ำกิจการใดๆ ก็ตาม ท่านสอนให้เรานั้นมีสติ คือคิดให้ดีเสีย  ก่อนทีจ่ ะกระท�ำการใดๆ ลงไป ลกั ษณะของความมสี ตนิ แ้ี หละทเ่ี รยี กวา่ ไมป่ ระมาท สว่ นคน  ท่ีขาดสติ ความยบั ยงั้ ชัง่ ใจ ท่านเรยี กว่าคนประมาท สว่ นคำ� วา่  ธรรม นน้ั  มคี วามหมายหลายประการซงึ่ คำ� นไ้ี มไ่ ด้  หมายความว่าค�ำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าเสมอไป คำ� ว่าธรรมน้ัน  เปน็ คำ� ในภาษาอนิ เดยี ทเ่ี ขาใชก้ นั มานานแลว้  ซง่ึ พอทจี่ ะสรปุ ความ  หมายของคำ� วา่  ธรรม วา่ หมายถงึ สภาพ สงิ่ ของ หรอื เรอ่ื งเทา่ นนั้   เอง ซึ่งใชไ้ ดท้ ้ังทางดแี ละทางเลว อยา่ งเชน่ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 229

๒๑มงคลขอ้ ท่ี ไมป่ ระมาทในธรรม รูปธรรม ส่ิงทมี่ ีรูปรา่ ง อรูปธรรม สงิ่ ที่ไม่มรี ปู ร่าง โลกธรรม เรือ่ งของโลก สภาวธรรม ส่ิงท่ีเปน็ ขึ้นเอง มรณธรรม ความตาย วัฒนธรรม ความเจริญ หายนธรรม ความเสือ่ ม               ฯลฯ ซงึ่ สง่ิ ทยี่ กมาน ี้ ลว้ นแตเ่ ปน็ ความหมายของคำ� วา่ ธรรมทง้ั สน้ิ   ดงั นน้ั  ความหมายของค�ำวา่  ธรรม หรอื ความไมป่ ระมาทในธรรม  ในมงคลข้อน้ี หมายถึงไม่ประมาทในคำ� สอนของพระพุทธเจ้า ซึ่ง  คำ� สอนของพระพทุ ธเจา้ นน้ั เปน็ สจั ธรรม ความไมป่ ระมาทในธรรม  ก็คือความไมป่ ระมาทในสจั ธรรมน่ันเอง หรอื ถา้ จะใหค้ วามหมาย  ชิดเข้ามา ธรรมน้ันหมายถึงเหตุหรือต้นเหตุ อย่างข้อความใน  สปั ปรุ สิ ธรรมขอ้ ทว่ี า่  ธมั มญั ญตา แทนทจ่ี ะแปลวา่ รจู้ กั ธรรมะ ทา่ น  แปลเอาความหมายทเี ดยี วเลยวา่  ความเปน็ ผรู้ จู้ กั เหต ุ ซง่ึ ถา้ เราจะ  ศกึ ษาคำ� สอนของพระพทุ ธเจา้ แลว้  ทกุ ขอ้ ลว้ นแตค่ �ำบอกเหตทุ งั้ สน้ิ   คอื บอกวา่ ทำ� เหตอุ ยา่ งนแ้ี ลว้ จะไดร้ บั ผลอยา่ งนน้ั  หรอื ไมก่ บ็ อกวา่   ผลอยา่ งนเ้ี กดิ มาจากเหตอุ ยา่ งนน้ั  ซงึ่ เปน็ ค�ำสอนทบี่ อกเหตทุ ง้ั สนิ้ ดงั นนั้ ความไมป่ ระมาทในธรรม คอื ความไมป่ ระมาทในเหตุ  นน่ั เอง คนทดี่ เู บาตอ่ การกระท�ำของตนเอง เพราะการกระทำ� ของ  เราเองทเี่ รยี กวา่ ธรรมนน่ั แหละ เปน็ เหตทุ จ่ี ะใหเ้ กดิ ผลตอ่ ไป คนที่  ดเู บาตอ่ การกระทำ� ของตนเอง คนนน้ั เรยี กวา่ คนประมาทในเหตุ  230 มงคล ๓๘ ประการ

ผู้ที่รู้ความนี้แล้ว ก็ต้องละความประมาทเสีย ตั้งอยู่ในความไม ่ ประมาท เมอื่ หมน่ั ทำ� ใหเ้ กดิ ในจติ ใจของผใู้ ดแลว้  กย็ อ่ มจะเตอื นให้  ผนู้ นั้ ประกอบการอนั หาโทษมไิ ด ้ ดงั นน้ั บณั ฑติ จงึ สรรเสรญิ ความ  ไม่ประมาทไว้อเนกประการ ความไม่ประมาทนั้นมีคุณานิสงส ์ มากมายหลายประการ ทั้งในทางคดีโลกและคดีธรรม ความไม ่ ประมาทในธรรมท้ังหลายเป็นมงคลอันสูงสุด ซ่ึงหมายถึงความ  ช่ัว และความดีทั้งปวง ในความชั่วก็ไม่ประมาท คือไม่ดูหมิ่นว่า  ไม่เป็นไร แม้เพียงเล็กน้อย ก็รีบละเสียไม่ปล่อยให้เพิ่มพูนขึ้น  หม่ันขจัดอยู่เสมอ ความช่ัวก็มีแต่จะหมดไป ในความดีก็ตั้งใจ  ขะมกั เขมน้ กระทำ�  ไมด่ หู มนิ่ วา่ เลก็ นอ้ ย แลว้ ทอดธรุ ะเสยี  ความดี  ยอ่ มเพม่ิ พนู ขน้ึ  เมอ่ื ความชวั่ หมดไป ความดเี ตม็ เปย่ี มยอ่ มบรบิ รู ณ์  ดว้ ยสนั ตสิ ขุ ซงึ่ ตนปรารถนา บคุ คลทไี่ มป่ ระมาท ยอ่ มไมค่ ลาดจาก  ประโยชนอ์ นั ตนควรไดค้ วรถงึ  ดงั นนั้ จงึ ควรทจี่ ะบำ� เพญ็ ใหบ้ รบิ รู ณ ์ ในตน ความไม่ประมาทน้ีมีคุณมาก ดังท่ีเราจะเห็นได้ว่า คนที่ไม ่ ประมาทนั้นย่อมจะประกอบกิจการงานของตนได้ผลดี ตรงข้าม  ถา้ เราประมาทแลว้ กจ็ ะเกดิ โทษ ดงั ทไ่ี ดก้ ลา่ วแลว้ วา่  แมแ้ ตก่ น้ บหุ ร่ ี เพยี งกน้ เดยี วกส็ ามารถทจ่ี ะทำ� ลายทรพั ยส์ นิ ของตนและของผอู้ นื่   ใหม้ อดไหมไ้ ปในพรบิ ตาเดยี ว ความไมป่ ระมาทจงึ เปน็ ความเจรญิ   คือต้องท�ำเหตุให้ดี และท�ำเต็มท่ี และท�ำให้สมผล การปฏิบัติตน  อย่างนเี้ รียกว่า ไมป่ ระมาทในธรรม ในจตกุ กนบิ าต องั คตุ ตรนกิ าย พระพทุ ธองคท์ รงชเี้ หตสุ �ำคญั   ไว ้ ๔ ประการดว้ ยกัน ทบ่ี ุคคลไม่ควรประมาทอย่างยงิ่ คือ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 231

๒๑มงคลข้อท่ี ไม่ประมาทในธรรม ๑. ในการละกายทุจรติ  ประพฤติกายสจุ ริต ๒. ในการละวจที ุจรติ  ประพฤติวจีสจุ รติ ๓. ในการละมโนทุจริต ประพฤตมิ โนสจุ ริต ๔. ในการเลกิ ละมิจฉาทฐิ ิ ต้ังอยู่ในสมั มาทฐิ ิ รวมความสเ่ี รอ่ื งเขา้ ดว้ ยกนั  คอื ไมใ่ หป้ ระมาทในการทำ�  การ  พูด การคิด และการปรับปรุงความคิดเห็นของตนให้ถูกต้อง เม่ือ  เราประพฤติในความไม่ประมาทแล้ว ความเจริญก็บังเกิดขึ้น  แกต่ นในท่สี ุด 232 มงคล ๓๘ ประการ

๒๒มงคล ขอ้ ท่ี คารโว จ (มีสัมมาคารวะ) มนุษย์ทุกคนอยากเป็นคนดี อยากให้ตนเป็นที่รักท่ีชอบใจ  ของคนทว่ั ไปๆ อยากเปน็ คนเฉลยี วฉลาดรอบรสู้ ง่ิ ทง้ั ปวง อยากให้  ตนเปน็ ทน่ี ยิ มยกยอ่ งของคนอน่ื  แตส่ งิ่ เหลา่ นจี้ ะเกดิ ขน้ึ มาไดเ้ พราะ  ผนู้ นั้ ประกอบเอาไว ้ เชน่  อยากใหม้ คี นรกั ใครย่ กยอ่ งนบั ถอื  กต็ อ้ ง  เปน็ คนมสี มั มาคารวะ รจู้ กั เคารพซง่ึ กนั และกนั  เหลา่ นเ้ี ปน็ เหตใุ ห้  เราเปน็ ทร่ี กั ใครข่ องคนทว่ั ไป ดว้ ยเหตนุ พ้ี ระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ จงึ ได้  สอนในมงคลขอ้ น้ีว่า ให้มคี วามเคารพ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 233

๒๒มงคลขอ้ ท่ี มีสัมมาคารวะ ถ้าเราจะดูความหมายของมงคลข้อน้ีแล้วก็คิดว่า เป็นความ  หมายที่ตื้นๆ ถ้าเราคิดอย่างน้ันแล้วขอบอกได้เลยว่า ท่านดูเบา  ธรรมะข้อนี้ไปเสียแล้ว ถ้าความหมายมีอยู่เพียงเท่านี้แล้ว  พระพทุ ธเจ้าไม่จดั เอาไว้ในอนั ดับเกอื บจะสดุ ท้าย ความจรงิ ความ  หมายของ คารโว จ นี้ มีความหมายมากกว่าที่เราเข้าใจ ที่เรา  เขา้ ใจความหมายของคำ� วา่  คารวะ ในทน่ี สี้ ว่ นมากแลว้ จะมงุ่ หมาย  ถงึ การกราบไหว ้ ซงึ่ ความเปน็ จรงิ แลว้ ไมไ่ ดห้ มายความวา่ อยา่ งนนั้   ความหมายของค�ำว่า คารวะ น้ัน มูลศัพท์เดิมคือ ครุ เมื่อ  ประกอบกรรมวธิ ที างไวยากรณแ์ ลว้ รปู ศพั ทก์ ถ็ กู แปลงไป ซงึ่ ความ  หมายของค�ำว่า ครุ น้ี ที่เราแปลกันท่ัวๆ ไปว่าหนัก ความหนักน้ี  เป็นความหมายที่ออกจะมีความหมายไปทางที่ไม่ดีในทางภาษา  ไทย เช่นว่า ป่วยหนัก อาการหนัก โทษหนัก อะไรเหล่านี้ ถ้าจะ  แปลเอาความหมายทไ่ี ดใ้ จความแล้ว ควรจะแปลวา่  ตระหนัก ความตระหนักที่เป็นความหมายของคารวะนั้น หมายถึง  ความตระหนกั ในความดอี นั มอี ยใู่ นตวั คนอนื่ และสง่ิ อนื่  คณุ ความดี  ท่ีมีอยู่ในคนหรือในสิ่งใดก็ตาม ถ้าเราไปใส่ใจ สนใจ ปลงใจใน  คนน้ันสิ่งนั้น เรียกว่าตระหนักในความดี น่ีแหละเป็นเน้ือแท้ของ  คารวธรรม หรอื ความเคารพ เมอื่ เราเขา้ ใจอยา่ งนแี้ ลว้ อยา่ ไดค้ ดิ วา่  กริ ยิ ากราบไหว ้ ทา่ โคง้   ทา่ หมอบ เหลา่ นี้เป็นคารวะ น่เี ปน็ เพียงกริ ยิ าแสดงคารวะเทา่ น้ัน  บางคนอาจจะแสร้งท�ำก็ได้ คารวธรรมนั้นเป็นคุณธรรมท่ีมีอยู่ใน  ใจ เราไม่สามารถท่ีจะดูด้วยตาเปล่า หรือจะใช้กล้องขยายก็มอง  ไม่เห็น เปรียบเหมือนคนที่รู้หนังสือ ความรู้นั้นอยู่ท่ีใจของคนที่มี 234 มงคล ๓๘ ประการ

ความร ู้ เราดดู ว้ ยสายตากร็ ไู้ มไ่ ดว้ า่ คนนนั้ มคี วามรหู้ รอื ไม ่ ตอ่ เมอ่ื   เขาแสดงความรอู้ อกมาโดยการเขยี นหนงั สอื  หรอื อา่ นหนงั สอื  ซงึ่   เปน็ กริ ยิ าทแ่ี สดงออกมาจากความรทู้ ม่ี อี ยใู่ นใจแลว้  ขอ้ นฉี้ นั ใดกด็ ี  คารวะ กับ การแสดงความเคารพก็ฉนั นน้ั ความเคารพนี้เป็นคุณสมบัติของหมู่ชนที่เจริญแล้ว ดังจะ  เหน็ ไดจ้ าก หมชู่ นทเ่ี จรญิ แลว้ ยอ่ มมคี วามเคารพกนั  เปน็ ระเบยี บ  แมแ้ ตพ่ ระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ผสู้ งู สดุ ในโลก หาบคุ คลผมู้ คี ณุ ธรรม  เสมอพระองคไ์ มไ่ ดเ้ ลย ถงึ กระนนั้ พระองคก์ ย็ งั ทรงเคารพในธรรม  ท่ีพระองค์ได้ทรงตรัสรู้แล้ว เพราะทรงเห็นว่าความท่ีไม่มีความ  เคารพนั้นเป็นส่ิงล�ำบาก ดังน้ีแสดงว่า ความเคารพเป็นคุณธรรม  ที่จำ� เป็นสำ� หรบั โลก ในมงคลทีปนีและในคัมภีร์พระไตรปิฎก ท่านได้แสดงส่ิงที่  พุทธบรษิ ัททำ� คารวะ ๖ สถาน คอื ๑. พทุ ธฺ คารวตา ความเคารพในพระพทุ ธเจา้ ๒. ธมฺมคารวตา ความเคารพในพระธรรม ๓. สงฺฆคารวตา ความเคารพในพระสงฆ์ ๔. สิกขฺ คารวตา ความเคารพในการศึกษา ๕. อปปฺ มาทคารวตา เคารพในความไม่ประมาท ๖. ปฏสิ นถฺ ารคารวตา ความเคารพในปฏสิ นั ถารการตอ้ นรบั นอกจากนั้นก็มีความเคารพในบิดามารดา ครูอาจารย์ และ  ป ู่ ยา่  ตา ยาย พ ่ี ปา้  นา้  อา ลงุ  ตลอดจนคนทม่ี อี าย ุ การเคารพใน  ท่านเหล่านี้เรียกว่า คารวะ ซึ่งการเคารพน้ันจำ� แนกออกเป็น ๓  อย่าง คอื  การเคารพดว้ ยกาย ด้วยวาจา และดว้ ยใจ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 235

๒๒มงคลข้อที่ มีสมั มาคารวะ เคารพพระพุทธเจ้าด้วยกายนั้นคือ เม่ือเห็นท่านแล้ว ก็ย่อ  กายคารวะด้วยองค์ ๕ คือ เข่าท้ัง ๒ มือท้ัง ๒ หน้าผาก ๑ ให ้ จรดพื้น ถ้าเป็นภิกษุสามเณรให้ลดผ้าเฉวียงบ่า และลดร่ม ถอด  รองเทา้  ผา้ คลมุ ศรี ษะ ใหอ้ ยใู่ นท ่ี ๑๒ ศอก ถา้ อยใู่ นทไ่ี กล ตอ้ งไป  สู่ท่ีอุปัฏฐาก ถ้าพระพุทธองค์ปรินิพพานไปแล้ว ได้เห็นพระเจดีย์ ไม้โพธิ์และพระพุทธรูป ก็ให้เคารพเหมือนอย่างน้ัน การเคารพ  พระพทุ ธเจา้ ดว้ ยวาจานนั้  คอื  ไดเ้ หน็ พระองคแ์ ลว้ กก็ ลา่ วสรรเสรญิ   พระคุณ มีอรหังเป็นต้น หรืออยู่ท่ีเฉพาะหน้า ก็ไม่พูดจาหัวเราะ  เฮฮาให้มีเสียงดังเป็นต้น เมื่อเห็นพระเจดีย์พระพุทธรูปก็มีความ  คารวะเหมือนอย่างนั้น การเคารพพระพุทธเจ้าด้วยใจนั้น จะได้  เห็นหรือไม่ได้เห็นก็ตาม ก็ให้ใจของเราน้อมจิตไปถึงพระคุณของ  ทา่ นทกุ อริ ยิ าบถ การเคารพพระธรรมด้วยกายนั้น ก็คล้ายกับความเคารพ  ในพระพุทธเจ้า แปลกอยู่แต่ว่าเมื่ออยู่ในที่ใกล้ไม่ไปฟังธรรมเป็น  อคารวะ ขาดความเคารพในพระธรรม เคารพพระธรรมดว้ ยวาจา  นน้ั  ถา้ เปน็ คฤหสั ถก์ ารฟงั ธรรมเปน็ ใหญ ่ ถา้ เปน็ ภกิ ษสุ ามเณร การ  เลา่ เรียนศึกษาทอ่ งบน่ สาธยายเป็นใหญ ่ ถา้ จะฟังธรรมอย่าไดพ้ ูด  เสยี งดงั  อยา่ คยุ กนั ในเวลาฟงั ธรรม การกระท�ำอยา่ งนเี้ ปน็ คารวะ  การเคารพในธรรมดว้ ยใจนนั้ ใหร้ ะลกึ ถงึ คณุ พระธรรม คอื  พระวนิ ยั   พระสตู ร และพระปรมตั ถ ์ ซง่ึ รวมเรยี กวา่ ปรยิ ตั ธิ รรม ส�ำหรบั เลา่   เรียนศึกษาให้รู้ข้อปฏิบัติ ให้ระลึกถึงพระธรรม ข้อปฏิบัติคือ ศีล  สมาธ ิ ปัญญา ให้ระลึกถงึ ปฏิเวธธรรม คอื  มรรค ผล นพิ พาน ความเคารพในพระสงฆด์ ว้ ยกายนน้ั  เมอื่ เหน็ พระสงฆก์ ย็ กมอื   236 มงคล ๓๘ ประการ

ไหว้นมัสการ หรือไปถึงวัดอาวาสวิหารและสีมา ให้ถอดรองเท้า  และลดรม่  อยา่ หม่ ผา้ คลมุ ไหล ่ อยา่ คลมุ ศรี ษะหรอื ใสห่ มวกเขา้ ไป  ในอาราม เคารพพระสงฆด์ ว้ ยวาจานน้ั  คอื  เหน็ พระสงฆแ์ ลว้ กลา่ ว  สรรเสรญิ คณุ พระสงฆ ์ มสี ปุ ฏปิ นั โนเปน็ ตน้  และอยา่ พดู ใหพ้ ระสงฆ์  เดือดร้อนใจด้วยค�ำหยาบ และยุยงพระสงฆ์เป็นต้น เคารพใน  พระสงฆ์ด้วยใจนัน้  คือจะเห็นพระสงฆห์ รอื ไมก่ ็ตาม ให้มีจติ น้อม  ถงึ คุณของพระสงฆ ์ มีสปุ ฏิปนั โนเปน็ ตน้ สกิ ขฺ าคารวตา ความเคารพในสกิ ขาบทและการศกึ ษา มกี าร  รักษาศีล ๕ ศีล ๘ ศีล ๑๐ ศีล ๒๒๗ ให้บริสุทธิ์ มีการปฏิบัติดี  ปฏบิ ัตชิ อบตามค�ำส่ังสอนของพระพุทธเจ้าเป็นต้น อปฺปมาทคารวตา เคารพในความไม่ประมาทน้ัน คือ ให้ม ี สติระลึกถึงในสติปัฏฐานท้ัง ๔ ไม่ปล่อยกาย วาจาและใจเป็นไป  ตามอ�ำนาจของอกศุ ล หมั่นประกอบการกุศล มีให้ทาน รักษาศลี   เจริญภาวนาอยเู่ สมอ อยา่ งนี้เรียกว่า เคารพในความไม่ประมาท ปฏสิ นถฺ ารคารวตา เคารพในการตอ้ นรบั คอื  ธมมฺ ปฏสิ นถฺ าร  การตอ้ นรบั ดว้ ยธรรม และอามสิ ปฏสิ นถฺ าร การตอ้ นรบั ดว้ ยอามสิ   การตอ้ นรบั ดว้ ยธรรมนน้ั  คอื การแสดงธรรม กลา่ วใหค้ ำ� อบรมสง่ั   สอน ใหค้ �ำแนะนำ� ทด่ี  ี กลา่ ววาจาทไี่ พเราะ การตอ้ นรบั ดว้ ยอามสิ   มีการให้ข้าว ให้น้�ำ ให้ท่ีอยู่อาศัย ให้ที่นั่ง หมากพลูบุหร่ี เป็นต้น  เหลา่ นจ้ี ดั เป็นการปฏิสันถาร ความเคารพใน ๖ ประการดงั กลา่ วมาแล้วน้นั  ท�ำให้ศาสนา  เจรญิ  และไดช้ อ่ื วา่ ยกยอ่ งพระพทุ ธศาสนา ถา้ เราจะมาดใู นปจั จบุ นั   บุคคลที่มีความเคารพในหน้าท่ีของตนท่ีได้รับมอบหมายให้ท�ำ  สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 237

๒๒มงคลข้อท่ี มีสมั มาคารวะ ตั้งใจท�ำให้บริบูรณ์ไม่บกพร่อง ผู้เคารพต่อหน้าที่ของผู้อื่น โดย  อำ� นวยความสะดวกแกเ่ ขา เพอ่ื ทจี่ ะทำ� หนา้ ทนี่ น้ั ใหส้ ำ� เรจ็ โดยชอบ  คอื ผใู้ หญก่ บั ผนู้ อ้ ยหรอื ผเู้ สมอกนั  ตา่ งเออ้ื เฟอ้ื ตอ่ หนา้ ทขี่ องกนั และ  กนั  และเหน็ วา่ มคี วามสำ� คญั ตอ่ เนอื่ งกนั และเทา่ กนั  ทจี่ ะทำ� งานให ้ สำ� เรจ็ ดว้ ยกนั  ไมด่ ดู ายในหนา้ ทข่ี องกนั และกนั  และไมข่ ดั ขวางกนั   แตช่ ว่ ยกนั ใหส้ ำ� เรจ็ ทนั กาลทนั เวลา แมเ้ ปน็ ผใู้ หญก่ ใ็ หค้ วามเคารพ  ในหน้าท่ีของผู้น้อย ไม่ควรที่จะดูหมิ่นว่ามีตำ� แหน่งเพียงเล็กน้อย  เพราะหน้าที่ทั้งหลายย่อมจะต่อเนื่องกัน ถ้าส่วนน้อยไม่สะดวก  แล้วส่วนใหญ่กล็ า่ ช้าลง ธรรมดาตกึ ทจ่ี ะสงู ไดน้ นั้ ตอ้ งอาศยั อฐิ ทร่ี องลา่ งเปน็ ฐาน ลอง  ถ้าเรายกอิฐข้างล่างออกเสียแล้ว ตอนบนถึงจะมีความแข็งแรง  มีความสวยงามสักเพียงไรก็ไม่สามารถที่จะอยู่ได้ต้องทลายลง  ฉันใดผู้ใหญ่จะมีอ�ำนาจมีความสง่าได้ต้องอาศัยผู้น้อยเป็นเครื่อง  สนบั สนนุ  และตอ่ เนอ่ื งกนั  ถา้ เราขาดความเคารพในหนา้ ทขี่ องกนั   และกนั เสยี แลว้ กจ็ ะเปน็ ผลใหค้ วามเจรญิ ไมเ่ กดิ ขน้ึ  พดู งา่ ยๆ กค็ อื   คารวตา หรอื ความเคารพในทน่ี หี้ มายถงึ ความทเ่ี รารจู้ กั หนา้ ทขี่ อง  ตนวา่ มอี ยา่ งไร แลว้ เราทำ� ตามหนา้ ทนี่ น้ั  อยา่ งเชน่ ในรา่ งกายของ  เราซง่ึ ตามภาษาธรรมเรยี กวา่ อนิ ทรยี  ์ ๖ คอื  ตา ห ู จมกู  ลนิ้  กาย  และใจ ตามหี นา้ ทดี่  ู หมู หี นา้ ทฟ่ี งั  จมกู มหี นา้ ทดี่ มกลน่ิ  ลน้ิ มหี นา้ ที่  ลม้ิ รส กายมหี นา้ ทรี่ บั สมั ผสั  ใจมหี นา้ ทคี่ ดิ  ตา่ งท�ำงานประสานกนั   และรจู้ กั หนา้ ทขี่ องกนั และกนั  มคี วามเคารพในความส�ำคญั ของกนั   และกัน ไม่กา้ วกา่ ยหน้าท่ีของกนั  กท็ ำ� ใหเ้ รามคี วามสะดวกสบาย  แต่ถ้าตาเกิดอยากจะฟัง หูเกิดอยากจะดู จมูกเกิดอยากจะลิ้มรส  238 มงคล ๓๘ ประการ

ขึ้นมาแล้ว ร่างกายของเราจะเป็นอย่างไร หรือว่าส่ิงต่างๆ มันไม ่ ยอมทำ� งานตามหน้าทแ่ี ลว้  เราจะทำ� อยา่ งไร ในสังคมของเราก็เหมือนกัน ความสงบความสามัคคีจะเกิด  ขึ้นได้ก็ต้องอาศัยท่ีเรามีคารวะ หรือความเคารพในหน้าที่ คุณ  ความดีของกันและกัน จึงท�ำให้เกิดความพร้อมเพรียงกัน พระ  สมั มาสมั พทุ ธเจา้ ของเราไดต้ รสั ไวใ้ น อปรหิ านยิ ธรรมสตู ร ทง้ั ฝา่ ย  บรรพชิตและคฤหัสถ์ว่า ภิกษุท้ังหลายยังเคารพนับถือบูชาภิกษุ  ผู้เป็นเถระบวชมานาน เป็นบิดาสงฆ์ เป็นผู้น�ำของหมู่ จักเช่ือฟัง  ถอ้ ยคำ� ของทา่ นอยเู่ พยี งไร กพ็ งึ หวงั ความเจรญิ ไมม่ เี สอื่ มเพยี งนน้ั ฯ  ในทางฆราวาส ถา้ ชนทงั้ หลายยงั เคารพผใู้ หญโ่ ดยอายหุ รอื โดยคณุ   ความด ี หรอื โดยตำ� แหนง่ หนา้ ทอ่ี ยเู่ พยี งไรแลว้  กพ็ งึ หวงั ความเจรญิ   อยา่ งเดยี ว ไม่มเี สอื่ มเพียงน้นั ฯ ในทางปกครอง บุตรธิดาเคารพเชื่อฟังค�ำสั่งสอนของบิดา  มารดา ศิษย์เคารพเช่ือฟังค�ำสั่งสอนของครูอาจารย์ ทหาร ข้า-  ราชการเคารพเชื่อฟังค�ำส่ังโดยชอบของผู้บังคับบัญชาเหนือตน  พลเมอื งเคารพตอ่ กฎหมายบา้ นเมอื ง และพระสงฆเ์ คารพพระวนิ ยั   พระบญั ญตั ขิ องพระศาสดาไมล่ ะเมดิ  ยอ่ มเปน็ ทางเจรญิ แกต่ นเอง  แก่วงศ์ตระกูล หมู่คณะ แก่ชาติ ศาสนา ดังนั้นความเคารพหรือ  คารวตา จงึ จดั เป็นมงคลด้วยประการฉะน้ี สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 239

๒๓มงคล ขอ้ ท่ี นิวาโต จ (มคี วามถ่อมตน) ตามพระบาลใี นมงคลขอ้ นวี้ า่  นวิ าโต จ แปลวา่  ถอ่ มตน ซงึ่ มี  ความหมายแตกตา่ งจากความหมายในมงคลขอ้ ทแ่ี ลว้  อยา่ มคี วาม  เข้าใจว่าเป็นอย่างเดียวกัน หรือว่าเป็นธรรมท่ีต่อเนื่องกัน ท้ังนี้  เพราะว่า พระพุทธองค์ได้ทรงแสดงมงคลคือความเจริญก้าวหน้า  ถ้าเป็นข้อเดียวกันแล้วจะไม่เป็นความก้าวหน้าเลย ในมงคลข้อท่ี  ๒๒ ท่านแสดงไว้ว่าให้มี คารวตา ความเคารพ และในมงคลข้อน ้ี แสดงวา่ ใหม้ คี วามถอ่ มตวั  ถา้ จะดเู ผนิ ๆ แลว้  เราจะเหน็ วา่ มคี วาม  หมายคลา้ ยคลงึ กนั  เพราะตามสายตาของชาวบา้ นแลว้  จะเหน็ วา่   อาการอย่างนี้มีลักษณะอย่างเดียวกัน คือเข้าใจว่าการเคารพคือ  240 มงคล ๓๘ ประการ

กริ ยิ ากราบๆ ไหวๆ้  และการถอ่ มตวั คอื อาการกม้ ศรี ษะ หรอื หมอบ  เราไปถอื กิริยาอาการเหลา่ น้ีวา่ เปน็ เนอ้ื แท้ของคารวตา กับนิวาโต  ซงึ่ การแสดงอยา่ งนเ้ี ปน็ เพยี งมรรยาทเทา่ นน้ั  คณุ ธรรมอยา่ งนมี้ นั   อยูท่ ีใ่ จ จะขอแยกออกใหด้ ู คารวะ คอื ความตระหนกั ในคุณความดีของผ้อู น่ื   นวิ าตะ คือถอ่ มใจของเราเอง การบำ� เพญ็ คารวะนน้ั  ปรารภผอู้ นื่  สว่ นนวิ าตะนนั้  ปรารภ  ตนเอง บางคนมีคารวะแล้วแต่ไม่มีนิวาตะก็ได้ อย่างเช่นเรารู้ว่า  เขาดีและตระหนักในความดีของเขาเหมือนกัน ซึ่งนับว่ามีคารวะ  แต่ในขณะเดียวกัน นิสัยความทะนงตนถือตนมีอยู่ในจิตใจ ก็ม ี ความคิดว่า “แกเก่งจริง ดีจริง ข้ารู้ แต่ข้าเองก็หนึ่งเหมือนกัน”  อย่างน้ีเรียกว่าทะนงตน หรือในภาษาปัจจุบันนี้เราเรียกว่า “เบ่ง”  คือคนประเภทที่ขาดนิวาตะนี้ พอเห็นความดีของคนอ่ืนแล้วเป็น  ตอ้ ง “เบง่ ” หรอื พองตวั เขา้ หาทนั ท ี เหมอื นกบั อง่ึ อา่ งทพ่ี องตวั เอง  เพื่อจะให้เทียมเท่าโค ดังนั้นท่านจึงสอนให้เราแก้ตรงนี้ คือแก้ท่ี  ตวั ของเราเอง คำ� วา่  นวิ าตะ แปลตามตวั วา่  ลมออก (น ิ = ออก วาตะ=ลม)  นวิ าโต กห็ มายความวา่  ผมู้ ลี มออกแลว้  คอื ใหค้ ลายจากความเบง่   ตามธรรมดาเราจะเหน็ ไดว้ า่ คนเรานน้ั เมอ่ื เวลาทไี่ มส่ บายอยา่ งเชน่   ทอ้ งอืด ทอ้ งเฟอ้  เพราะวา่ มลี มมาก จะกนิ อะไรเข้าไปก็ไมไ่ ด้ เรา  จะต้องก�ำจัดลมในท้องที่ท�ำให้ท้องอืดท้องเฟ้อเสียก่อน จึงจะกิน  อาหารเข้าไปได้ คุณความดีก็เหมือนกัน ตราบใดที่เรายังมีมานะ ถือตัว หรือพองลมอยู่แลว้  คณุ ความดหี รือวชิ าการกไ็ ม่สามารถท่ี  สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 241

๒๓มงคลขอ้ ที่ มคี วามถ่อมตน จะเขา้ ไปได ้ เพราะมนั ตดิ อยทู่ คี่ วามถอื ตวั เสยี แลว้  และความถอื ตวั   หรอื มที ฐิ นิ ที้ ำ� ใหค้ นพนิ าศมามากแลว้  ไมม่ ใี ครทอ่ี ยากจะคบคา้ ดว้ ย  มแี ตค่ นรงั เกยี จ นานเขา้ กก็ ลายเปน็ คนทส่ี งั คมรงั เกยี จไป เหมอื น  กบั ลกู โปง่ ทถ่ี กู อดั แนน่ มากเพราะแรงลม พอนานเขา้ กแ็ ตกเพราะ  วา่ ลมนน้ั ดนั  ความถอื ตวั กเ็ หมอื นกนั  เมอ่ื มมี ากเขา้ กท็ ำ� ใหร้ ะเบดิ   ออกมา ทางกาย ทางวาจา เป็นที่น่ารังเกียจของคนทั่วไป ท่ีเรียก  วา่  “ไอห้ มอนมี่ นั เบง่ มาก” บางทคี วามเบง่ ของตวั เองนนั่ แหละเปน็   หนทางให้เจบ็ ตวั ได้งา่ ยๆ เหมอื นกัน คนทม่ี มี านะถอื ตวั หรอื  “เบง่ จดั ” เหลา่ นเ้ี ปน็ คนทท่ี �ำความด ี ยาก ที่ว่าท�ำความดียากนั้น ไม่ใช่ยากที่ความดี แต่ยากที่คนทำ�   เพราะคนประเภทน้ีเป็นคนเจ้ามานะ เจ้าทิฐิ คิดว่าตนเองนั้นม ี ความประเสรฐิ เลศิ ลอยกวา่ คนธรรมดา หรอื อยา่ งนอ้ ยกพ็ อๆ กบั   คนท่ีว่าเก่ง ย่ิงเบ่งมากก็ย่ิงหาโอกาสท�ำความดียาก เพราะถือว่า  เราดแี ลว้  อยา่ งเชน่  สญั ชยั ปรพิ พาชก อาจารยข์ องอปุ ตสิ สะ หรอื   พระสารีบุตร เมื่อตอนท่ีศิษย์ชวนมาเฝ้าพระพุทธเจ้าก็ไม่ยอมมา  เพราะถือตัวว่าเราเป็นอาจารย์คนแล้ว และมีอายุพรรษามากกว่า  เลยพลาดจากคุณความดี  และนอกจากนั้นคนประเภทน้ี เป็นคนท่ีไม่ยอมรับความมีด ี จากบุคคลอื่น คนเราท่ีจะมีความดี มีความรู้ ก็ต้องอาศัยจากการ  ถ่ายทอดความดีความรู้จากคนอื่น เช่นจากอาจารย์ถ่ายทอด  เอาความดีมาจากผู้ท่ีประพฤติชอบ ถ่ายทอดเอาแนวการปฏิบัต ิ จากพระสงฆ์ การที่เราจะถ่ายเอามาได้นั้น จะต้องอาศัยการยอม  นอบน้อมถ่อมตน ยอมรับนับถือท่าน ต้องเทิดท่านไว้ในฐานะสูง  242 มงคล ๓๘ ประการ

และถอ่ มตวั เราลงตำ�่  อยา่ งเชน่ เราจะถา่ ยนำ�้ หรอื นำ�้ มนั จากถงั หนง่ึ   ไปยงั อกี ถงั หนงึ่  ตามหลกั แลว้ จะตอ้ งเอาถงั ทจี่ ะรบั ถา่ ยไวต้ ่�ำ ถงั ท่ี  มีน้�ำไว้สูง ไม่อย่างน้ันแล้วน้�ำก็จะไม่ยอมลงมา หรือกรณีท่ีส่งน้�ำ  ประปา เขาจะต้ังถังจ่ายน้�ำไว้สูงแล้วจึงจะจ่ายน�้ำได้ ฉันใดคนเรา  ลองไดม้ คี วามเสมอกนั แลว้  หรอื มคี วามสงู กวา่ คนทเี่ ราจะถา่ ยทอด  แล้ว ไม่มีวันท่ีเราจะได้ความดีหรือความรู้มาได้ ดังนั้นคนท่ีขาด  นิวาตะ จงึ เปน็ คนท่ียากจะถ่ายทอดเอาความดีหรือความรู้มาจาก  ผ้อู ืน่ ได้ ดังนั้นพระพุทธองค์จึงได้ทรงสอนให้เรางดเบ่งเสีย แล้ว  ประพฤตนิ วิ าโต คอื ความถอ่ มตน ผอ่ นลมเบง่ ออกมาเสยี บา้ ง การ  ที่เราลดทิฐิมานะนั้น ไม่ได้หมายความว่าจะท�ำให้เราเสียศักดิ์ศร ี หรอื ฐานะของตนแตอ่ ยา่ งใด การวางตวั ตามฐานะของคนนน้ั ไมใ่ ช่  เปน็ มานะทฐิ  ิ แตเ่ ปน็ การทำ� งานตามฐานะของตน ไมอ่ ยา่ งนน้ั แลว้   ความเปน็ บา่ วเปน็ นาย เปน็ เดก็ เปน็ ผใู้ หญจ่ ะมไี ดอ้ ยา่ งไร ลกั ษณะ  คนมมี านะทฐิ นิ น้ั เปน็ ลกั ษณะของคนทหี่ ลงผดิ ตา่ งหาก หลงผดิ คดิ   ว่าเราดีเลิศกว่าเขาอะไรท�ำนองนี้ แต่พระพุทธองค์ได้ทรงสอนให้  เราเห็นความดีของคนอื่น แล้วหันมาเปรียบเทียบความดีของเรา  ละมานะทิฐขิ องเราลงเสียบ้าง ความเยอ่ หยง่ิ หรอื มานะทฐิ นิ นั้  เกดิ ดว้ ยลกั ษณะ ๒ คอื  เกดิ   ด้วยชาติและตระกูล ๑ เกิดด้วยลาภยศและบริวาร ๑ ความจริง  แลว้ การทบ่ี คุ คลทม่ี กี ำ� เนดิ ชาตติ ระกลู สงู นน้ั เปน็ เพราะกศุ ลกรรม  เก่า คือความประพฤติอ่อนน้อมต่อบุคคลท่ีควรเคารพ เพราะมี  คณุ ความดสี งู  จงึ ไดใ้ หก้ �ำเนดิ สงู  ความทม่ี ชี าตสิ งู นน้ั เปน็ ของทท่ี กุ   สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 243

๒๓มงคลขอ้ ท่ี มคี วามถอ่ มตน คนปรารถนาตอ้ งการ เพราะเปน็ เหตใุ หค้ นทงั้ หลายเคารพยกยอ่ ง  แต่ถา้ เกิดมีความเย่อหยิง่ ถือตนเพราะว่าเราเกิดในชาตติ ระกูลสูง  แล้ว ก็เป็นที่น่ารังเกียจ ไม่น่านับถือ แสดงว่าผู้มีชาติสูงน้ัน ไม่รู ้ คณุ คา่ ของความมชี าตสิ งู ของตน นำ� ไปใชใ้ นทางทผ่ี ดิ  คอื ทะนงตน  เหยียดหยามผู้อื่น ควรจะเป็นท่ียกย่องนับถือ ก็เลยกลายเป็นคน  ท่ีนา่ เกลียดชัง ไมน่ า่ นับถอื ไปเสียฯ ความมง่ั มนี นั้ กเ็ หมอื นกนั  เปน็ ผลของกศุ ลกรรมในชาตกิ อ่ น  มาสนับสนุน เพราะจะได้ใช้ทรัพย์ท่ีมีอยู่เป็นเครื่องบ�ำรุงตนและ  ผทู้ อี่ ยใู่ นบงั คบั ใหไ้ ดร้ บั ความสขุ  ตลอดจนสงเคราะหเ์ พอ่ื นรว่ มชาติ  ตามสมควร เพอ่ื สรา้ งความรกั ความนบั ถอื  และชอ่ื เสยี งเกยี รตคิ ณุ   ซงึ่ รวมเรยี กวา่ ยศและเกยี รต ิ แตถ่ า้ เรามที รพั ยแ์ ลว้ กลบั ทะนงตน ดู  หมนิ่ ผอู้ น่ื  ทม่ี กี ำ� ลงั ทรพั ยไ์ มเ่ ทา่ เทยี มตน แทนทจี่ ะใชท้ รพั ยท์ มี่ อี ย ู่ สรา้ งคณุ ความดใี หเ้ กดิ แกช่ มุ ชน เพอ่ื ใหเ้ กดิ ไมตรแี ละความเคารพ  นับถือ กลับใช้ทรัพย์ไปในทางท่ีก่อความเดือดร้อน สร้างความ  รงั เกยี จแกค่ นทว่ั ไป คนทมี่ คี วามรกู้ เ็ หมอื นกนั  ถา้ เราใชค้ วามรไู้ ป  ในทางที่ข่มผู้อ่ืนแล้ว ความรู้น้ันแทนท่ีจะเกิดคุณกลับจะให้โทษ  แก่ตนเอง ซึ่งความดูถูกเหยียดหยาม ความเย่อหยิ่งถือตนเพราะ  ชาต ิ ตระกลู  ทรพั ย ์ วชิ านนั้  กอ่ ใหเ้ กดิ โทษมาก ซงึ่ เรามกั จะไดร้ บั   ข่าวทางหน้าหนังสือพิมพ์อยู่บ่อยๆ ดังนั้นพระพุทธองค์จึงได้ตรัส  ไวใ้ นปราภวสูตรวา่ ชาติถทโฺ ธ ธนถทฺโธ โคตตฺ ถทฺโธ จโย นโร สญญฺ าตมิ ติมญฺเญต ิ ต ํ ปราภวโต มุขํ 244 มงคล ๓๘ ประการ

นรชนใดเย่อหย่ิงเพราะชาติ เย่อหย่ิงเพราะทรัพย์ เย่อหย่ิง  เพราะโคตร ยอ่ มดหู มนิ่ ซงึ่ ญาตขิ องตน ความเยอ่ หยง่ิ นนั้ เปน็ ทาง  ของผูเ้ สือ่ ม ความไมเ่ ยอ่ หยง่ิ  ความทปี่ ระพฤตนิ อบนอ้ มถอ่ มตนไมถ่ อื ตวั   ดูหม่ินผู้อื่น เป็นเหตุให้ผู้อื่นรักใคร่และเอ็นดู ชวนใจให้ผู้อ่ืนมี  เมตตากรณุ าหวงั ใหม้ คี วามสขุ ความเจรญิ  ผใู้ ดเปน็ ทรี่ กั ของคนเปน็   อนั มาก ผนู้ นั้ ยอ่ มไดร้ บั ความสะดวกในกจิ การตา่ งๆ น�ำตวั เองไปส่ ู ความเจริญด้วยอิสริยยศและบริวาร ดังน้ันผู้ท่ีมีความเจริญด้วย  ชาตติ ระกลู  ลาภยศและบรวิ าร จงึ ควรทจ่ี ะระวงั ตนเพราะชาตแิ ละ  ทรัพย์เป็นต้น อย่าให้เป็นเหตุให้เราเป็นคนเย่อหย่ิงถือตน โปรด  ระลกึ อยเู่ สมอวา่  คนทจ่ี ะไปสคู่ วามเจรญิ ไดน้ น้ั จะตอ้ งอาศยั ความ  นอบน้อมถ่อมตน คนที่ไม่มีนิวาตะ จะไปสู่ที่สูงไม่ได้เลย เหมือน  คนทจี่ ะกระโดดสงู จะตอ้ งยอ่ ตวั เสยี กอ่ นจงึ จะกระโดดไดส้ งู  ถา้ ลอง  เราไม่ย่อตัวซิ เราท�ำตัวแข็งๆ จะกระโดดสูงได้หรือไม่ ความถ่อม  ตนก็ฉันนั้น ย่อมที่จะน�ำตนไปสู่ความเจริญรุ่งเรืองได้ ด้วยเหตุนี้ พระพทุ ธองคจ์ งึ ได้ตรัสวา่  ความถ่อมตนนี้เปน็ มงคลอยา่ งสูงสดุ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 245

๒๔มงคล ขอ้ ท่ี สนตุฏี (มคี วามสันโดษ) ในมงคลข้อนี้ พอท่านได้อ่านหัวมงคลแล้วก็จะเกิดความ  คลางแคลงใจข้ึนมาทันทีว่า ความสันโดษน้ันเป็นมงคลได้อย่างไร  ซงึ่ เรอื่ งความสนั โดษนเ้ี องเปน็ เรอื่ งราวใหญโ่ ตเกรยี วกราวกนั มาก  และทำ� ใหเ้ ปน็ การเขา้ ใจผดิ กนั อยา่ งใหญโ่ ตจนถงึ กบั มกี ารวพิ ากษ ์ วจิ ารณก์ นั อยพู่ กั หนง่ึ เรยี กวา่ วจิ ารณก์ นั เปน็ ระดบั ชาตทิ เี ดยี ว และ  กห็ าวา่ สนั โดษนนั้ ท�ำใหย้ ากจนบา้ งละ่  หาวา่ สนั โดษขดั ขวางความ  เจรญิ ของชาตบิ า้ งละ่  ทง้ั นเี้ พราะสนั โดษนนั้ ไปคลา้ ยคลงึ กบั ความ  มกั นอ้ ยเทา่ นนั้ เอง ซง่ึ มคี นเปน็ อนั มากเขา้ ใจกนั วา่  ความสนั โดษก็  คอื ความมกั น้อย จนเรยี กกนั ตดิ ปากว่า “สนั โดษมกั น้อย” 246 มงคล ๓๘ ประการ

เพื่อความเข้าใจขอให้ท่านได้ดูความหมายของค�ำสองค�ำน ้ี ในพระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ทสกนิบาต ซ่ึงพระพุทธองค์  ตรัสวา่ ทสยมิ าน ิ ภกิ ขฺ เว กถาวตถฺ นู  ิ กตมาน ิ ทส อปปฺ จิ  ฺ ฉกิ ถา สนฺ  ตุฏิกถา ปริเวกฺถา อสงฺสคฺคกถา วิริยาสมฺภกถา สีลกถา สมาธ ิ กถา ปญฺากถา วิมุตฺติกถา วิมุตฺติาณทสฺสณกถา อิมานิ โข  ภิกขฺ เว กถาวตฺถนุ ติ ิ แปลความวา่  ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เรอื่ งทภี่ กิ ษคุ วรสนทนากนั มอี ย่ ู ๑๐ เร่ือง คอื ๑. อปั ปจิ ฉกิ ถา เรือ่ งความมกั น้อย  ๒. สนั ตฏุ ฐิกถา เรอ่ื งความสันโดษ ๓. ปวิเวกกถา เรอ่ื งความสงบวเิ วก ๔. อสงั สคั คกถา เรอื่ งความไม่คลกุ คลีกับหมู่ ๕. วริ ิยาสมั ภกถา เร่ืองท�ำความเพียร ๖. สลี กถา เรือ่ งการรักษาศลี ๗. สมาธิกถา เรอ่ื งการทำ� สมาธิ ๘. ปญั ญากถา เร่ืองการอบรมปญั ญา ๙. วิมตุ ติกถา เรอ่ื งทำ� ใหพ้ น้ ทุกข์ ๑๐. วิมตุ ญิ าณทสั นกถา เรอื่ งญาณเครอ่ื งเหน็ ความพ้นทกุ ข์ ธรรมท้ัง ๑๐ ข้อน้ีท่านเรียกว่า กถาวัตถุ แปลว่าเรื่องท่ีควร  กลา่ ว ดงั นนั้ เมอ่ื เราไดม้ าพจิ ารณาตามหวั ขอ้ ธรรมเหลา่ นแี้ ลว้  เราก ็ จะเหน็ ไดว้ า่  มคี วามหมายแตกตา่ งกนั อย ู่ ไมอ่ ยา่ งนนั้ พระพทุ ธเจา้   ไมท่ รงจำ� แนกไว้อีกขอ้ หน่ึงต่างหาก ขอใหพ้ จิ ารณาดทู ัง้ สองขอ้ ดู สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 247

๒๔มงคลขอ้ ที่ มคี วามสนั โดษ อัปปจิ ฉา ความมกั นอ้ ย สนั ตุฏฐ ิ ความสันโดษ ดังนั้นเม่ือเราได้ความกระจ่างแล้วว่า ความมักน้อย กับ  ความสันโดษ นั้นเป็นคนละข้อแล้ว ก็ขอให้เราเลิกเข้าใจในทางท ่ี ไม่งามเสยี  ซ่งึ ต่อไปนเ้ี ราจะไดม้ าศึกษาค�ำว่า สันโดษ ตอ่ ไป ค�ำว่า สันตุฏฐิ มูลศัพท์เดิมว่า สันโตสะ (สํ + ตุสะ) เขียน  ตามแบบสันสกฤต เป็น สันโตษะ เรามาเขียนเป็นค�ำไทยว่า  สนั โดษสนั ตฏุ ฐ ิ หรอื  สนั โดษ แปลตามความหมายแลว้ จะไดค้ วาม  หมายว่า ยินดีพอใจกับของๆ ตน ซึ่งแยกในทางปฏิบัติออกเป็น  ระหวา่ งชาววดั กบั ชาวบา้ น ชาววดั คอื พระกเ็ ครง่ ครดั กวา่ ชาวบา้ น  ซง่ึ บางทีกใ็ ชค้ วามมกั นอ้ ยเลยก็มี ลกั ษณะของสนั โดษ  สันโดษ ท่านได้จ�ำแนกออกเป็น ๓ ประการ คือ สกํ ตุฏิ  ยินดีของๆ ตน ๑ สนฺตํ ตุฏิ ยินดีของท่ีมีอยู่ ๑ สมํ ตุฏิ ยินดี  สม่�ำเสมอ ๑ ถ้าจะให้เขา้ ใจสน้ั ๆ กจ็ ะไดค้ วามดังน้ ี คอื ๑. ยินดตี ามมี ๒. ยนิ ดีตามได้    ๓. ยนิ ดีตามควร ข้อแรก ยินดีตามมี หมายความว่า ยินดีกับของที่ตนมีอยู ่ แล้ว หรือจะพูดอีกอย่างหน่ึงว่า ความยินดีกับของๆ ตนนี่แหละ  248 มงคล ๓๘ ประการ

คอื สนั โดษ เรอื่ งความยนิ ดกี บั ของๆ ตนนจ้ี ะตอ้ งทำ� ความเขา้ ใจใหด้ ี  บางท่านเข้าใจผิดคิดว่า มัวแต่พอใจกับของๆ ตัวเอง ท�ำให้คนคิด  ไม่ก้าวหน้า ทำ� ให้ตนเองและบ้านเมืองไม่เจริญ เพื่อป้องกันความ  เข้าใจผิดในท�ำนองนี้ จึงใคร่ท่ีจะยกตัวอย่างบุคคลสองคนมา  เปรียบเทยี บให้เห็นเพื่อประกอบในการพจิ ารณา คอื  คนหนึง่ เป็น  คนที่รักตัว รักพ่อแม่ของตัว รักลูกของตัว รักสามีภรรยาของตัว  รกั ประเทศชาตขิ องตวั  คนทส่ี อง เปน็ คนไมร่ กั ตวั  ไมร่ กั พอ่ แมข่ อง  ตวั  ไมร่ กั ลกู ของตวั  ไมร่ กั สามภี รรยาของตวั  ไมร่ กั ประเทศชาตขิ อง  ตัว คนท้ังสองประเภทน้ีท่านจะว่าคนไหนดี ท่านก็ต้องตอบว่าคน ประเภทแรกดี คนประเภทแรกเป็นคนที่มีความสันโดษ มีความ  รักตัว รักความก้าวหน้าของตัว ท�ำให้ตัวเองเจริญ พ่อแม่ลูกเมีย  ประเทศชาตเิ จริญกา้ วหนา้  ตรงขา้ มกับบคุ คลประเภทท่ีสอง เป็น  คนไมม่ ีสันโดษ เป็นคนท�ำลายตนเอง ทำ� ลายพอ่ แม่ลูกเมียตลอด  จนประเทศชาติของตนเอง เอาอย่างนี้ก็แล้วกัน สมมติว่าท่านเป็นผู้หญิง และก็มีชาย  สองคนมาขอความรกั จะขอแตง่ งานดว้ ย ชายคนหนง่ึ บอกกบั ทา่ น  ว่า เม่ือแต่งงานแล้วจะรักลูกเมียของตน แต่อีกคนหนึ่งมาบอกว่า  เมอื่ แตง่ งานแลว้ จะไมร่ กั ลกู เมยี ของตน จะเทยี่ วไปรกั ลกู เมยี คนอนื่   แล้วท่านเป็นผู้หญิงท่านจะเลือกใคร หรือต่างว่ามีเจ้านายสองคน  คนหนงึ่ รกั ลกู นอ้ งของตวั  อกี คนหนง่ึ ไมร่ กั ลกู นอ้ งของตวั  ไปเทย่ี ว  รกั และยกย่องคนอื่น แล้วท่านจะเลือกเจา้ นายประเภทไหน เมอ่ื กลา่ วมาถงึ ตอนนแ้ี ลว้ กจ็ ะมคี นหวั หมอเกดิ ความสงสยั วา่   ถา้ อยา่ งนน้ั แลว้ ของทม่ี นั ไมด่ มี อี ยใู่ นตวั ของเรา เรากจ็ ะตอ้ งรกั มนั   สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 249


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook