Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มงคล 38 ประการ

มงคล 38 ประการ

Published by Sarapee District Public Library, 2020-11-16 13:34:34

Description: มงคล 38 ประการ

Keywords: มงคล 38 ประการ,ธรรมะ

Search

Read the Text Version

๓๘มงคล ประการ ป ร ะ ที ป ข อ ง ผู้ ป ร า ร ถ น า ค ว า ม เ จ ริ ญ รุ่ ง เ รื อ ง แ ห่ ง ชี วิ ต สิริคุตฺโต ภกิ ฺขุ

๓๘มงคล ประการ ป ร ะ ที ป ข อ ง ผู้ ป ร า ร ถ น า ค ว า ม เ จ ริ ญ รุ่ ง เ รื อ ง แ ห่ ง ชี วิ ต สิรคิ ตุ โฺ ต ภิกขฺ ุ



ค�ำน�ำจากผ้เู รียบเรียง มงคลสตู ร เปน็ สตู รหนง่ึ ในคมั ภรี ข์ ทุ ทกปาฐะ ในพระสตุ ตนั ต-  ปฎิ ก เปน็ พระพทุ ธภาษติ ทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ทรงแสดงไวเ้ ปน็ ภาษาบาล ี มจี ำ� นวน ๑๑ คาถา มคี วามยาวเพยี ง ๒๒ บรรทดั  เรมิ่ ตง้ั แตค่ าถา  ที่ขึ้นต้นว่า อเสวนา จ พาลานํ เป็นต้น ไปจนถึงคาถาที่ข้ึนต้นว่า  ผฏุ ฐสสฺ  โลกธมเฺ มห ิ ซงึ่ มคี วามไพเราะ ทง้ั เบอื้ งตน้  ทา่ มกลาง และทสี่ ดุ   เป็นพุทธพจน์ว่าด้วยมงคล ๓๘ ประการ อันเป็นสูตรพัฒนาการ  ทางจิตแบบอมตะ เป็นค�ำส่ังสอนท่ีเสริมสร้างสังคมให้เจริญด้วย  ศลี  สมาธ ิ ปญั ญา ตามหลกั พระพทุ ธศาสนา แตเ่ นอื่ งดว้ ยพระสตู รนี ้ มคี วามยอ่ มาก ยากทจี่ ะเขา้ ใจและน�ำมาปฏบิ ตั  ิ เมอื่ ประมาณ พ.ศ.  ๙๐๖ พระพทุ ธโฆษจารย ์ แหง่ อนิ เดยี  ไดร้ จนาคมั ภรี อ์ รรถกถาชอ่ื   ปรมตั ถโชตกิ า ขน้ึ  อธบิ ายสตู รตา่ งๆ ในคมั ภรี ข์ ทุ ทกปาฐะ ทา่ นได้  อธบิ ายเนอื้ ความในมงคลสตู รนใ้ี หเ้ ขา้ ใจงา่ ยขน้ึ ดว้ ย แตไ่ มส่ พู้ สิ ดาร  มากนัก 4 มงคล ๓๘ ประการ

ขอนอบนอ้ มแด่ สมเด็จพระผู้มีพระภาคผู้ทรงตรสั ค�ำสอนนี้ และท่านสริ ิมงั คลาจารย์ผรู้ จนามงคลทีปนี ตลอดจน ผ้ทู ไี่ ด้เรียบเรยี งเร่อื งน้มี าแล้วทุกทา่ น

ตอ่ มาเมอ่ื จลุ ศกั ราช ๘๘๖ (พ.ศ. ๒๐๖๗) ทา่ นสริ มิ งั คลาจารย ์ พระมหาเถระผเู้ ปรือ่ งปราดทางภาษาบาลรี ูปหน่งึ แหง่ ล้านนาไทย  ไดร้ จนาคมั ภรี  ์ มงั คลตั ถทปี น ี ขน้ึ เปน็ ภาษาบาล ี ซง่ึ นยิ มเรยี กสนั้ ๆ  ตามภาษาไทยวา่  มงคลทปี น ี คมั ภรี น์ ไ้ี ดอ้ ธบิ ายขยายความมงคลสตู ร  อยา่ งวจิ ติ รพสิ ดาร ใหค้ วามรทู้ ง้ั ทางวรรณคด ี ศพั ทศ์ าสตร ์ และหลกั   ธรรม พรอ้ มทงั้ มอี ทุ าหรณป์ ระกอบคำ� อธบิ ายอยา่ งแจม่ แจง้  นบั เปน็   คมั ภรี ท์ ลี่ ำ้� คา่ คมั ภรี ห์ นง่ึ  ซง่ึ เปน็ ผลงานของคณะสงฆไ์ ทย เปน็ ทนี่ ยิ ม  แพร่หลายในวงการศกึ ษาและปฏิบตั ธิ รรม และตอ่ มากไ็ ดม้ ผี รู้ จนา มงคลสตู รแปลพสิ ดาร โดยแปลเปน็   สำ� นวนเทศนาของ พระครสู ริ ปิ ญั ญามนุ  ี (ออ่ น) ไดร้ จนาขน้ึ โดยแปล  ถอดความจากบาลมี งคลสตู ร แลว้ อธบิ ายหลกั ธรรม ยกอทุ าหรณ์  ประกอบค�ำอธิบาย ตามแนวคัมภีร์มังคลัตถทีปนีของท่านสิริมัง- คลาจารย ์ และคมั ภรี อ์ น่ื ๆ ส่วนส�ำนวนภาษาไทย ปัจจุบันก็มีผู้รู้หลายท่านได้แต่ง โดย  เฉพาะชั้นพระเถระก็มีอยู่สองส�ำนวน คือของพระเดชพระคุณ  ทา่ นเจา้ คณุ พระอบุ าลคี ณุ ปู มาจารย ์ (สริ จิ นโฺ ท จนั ทร)์  วดั บรมนวิ าส  กบั ของเจา้ พระคณุ สมเดจ็ พระมหาวรี วงศ ์ (จวน อฏุ ฐาย ี ป. ๙) วดั   มกุฏกษัตริยาราม และผลงานของท่านผู้รู้อีกหลายท่าน เช่น  ของพนั เอกปน่ิ  มทุ กุ นั ต ์ อาจารยเ์ กษม บญุ ศร ี และเจา้ คณุ พระเทพ-  สทิ ธมิ นุ  ี (โชดก) วดั มหาธาตฯุ  ซง่ึ ปจั จบุ นั เปน็ สมเดจ็ พระสงั ฆราชเจา้   พระอรยิ วงศาคตญาณ ทา่ นเหลา่ นไี้ ดแ้ ตง่ ไวอ้ ยา่ งเรยี บรอ้ ยสวยงาม แต่เนื่องจาก คุณสุรวิทย์ ไชยพงศาวลี เจ้าของส�ำนักพิมพ์  เจรญิ วทิ ยาการ ไดม้ คี วามประสงคจ์ ะเผยแพรห่ ลกั ธรรมในมงคลสตู ร  สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 5

นอี้ กี  ซ่งึ ได้เคยบอกแล้วว่าไดม้ ีผูเ้ ขียนไวห้ ลายสำ� นวน ขอให้เลอื ก  พมิ พเ์ อา แตเ่ จา้ ของไมม่ คี วามประสงคเ์ ชน่ นน้ั  จงึ ใหข้ า้ พเจา้ เรยี บเรยี ง  ขน้ึ ใหม่อีกฉบับหนงึ่ ซงึ่ การเรยี บเรยี งน ี้ ไดอ้ าศยั คำ� อธบิ ายจากทา่ นผรู้ ทู้ ไ่ี ดอ้ ธบิ าย  ไว้แล้วเป็นแนวโดยตลอด ดังน้ัน ข้าพเจ้าจึงถือว่า ข้าพเจ้าเป็นผู้  เรยี บเรยี งจากความรทู้ ไี่ ดศ้ กึ ษามาจากคมั ภรี  ์ และหนงั สอื ของทา่ น  ผู้รู้ดังกล่าว ดังนั้นจึงมิได้ถือว่าเป็นงานเขียนโดยตรงของข้าพเจ้า  เปน็ แตเ่ พยี งเรยี บเรยี งผลงานนขี้ นึ้ มาใหม ่ และบางตอนไดส้ อบทาน  จากพระไตรปิฎก และได้แทรกไว้ใหม่บ้าง ซึ่งเป็นการเรียบเรียง  ดว้ ยกศุ ลเจตนาเพอื่ ใหค้ �ำสง่ั สอนของพระพทุ ธองคท์ า่ นแพรห่ ลาย  ทว่ั ไปเทา่ นนั้  มไิ ดม้ เี จตนาเปน็ อนื่  เมอ่ื มคี วามผดิ พลาดใดๆ เกดิ ขน้ึ   ขา้ พเจา้ ขอนอ้ มรบั วา่ เปน็ ความเบาปญั ญาของขา้ พเจา้  สว่ นความดี  ทม่ี อี ย ู่ ขออทุ ศิ ใหแ้ กบ่ รรดาทา่ นผเู้ ปน็ ผรู้ จนาเรมิ่ ตน้ ทก่ี ลา่ วมาแลว้   ทุกประการ สิริคุตโฺ ต ภกิ ขฺ ุ (วดั เขาอิติสุคะโต หัวหิน) 6 มงคล ๓๘ ประการ

ค�ำนำ� จากชมรมกลั ยาณธรรม หนังสือมงคล ๓๘ ประการ เล่มนี้ มีท่ีมาจากความตั้งใจดี  ที่จะตอบแทนพระคุณครูบาอาจารย์เป็นท่ีตั้ง เน่ืองจากสมัยท่ี  ข้าพเจ้าเป็นนักเรียนโรงเรียนวังไกลกังวล อ. หัวหิน จ. ประจวบ-  คีรีขันธ์ มีโอกาสเข้าเรียนโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ท่ีส�ำนัก  วัดหัวหิน เรียนอยู่หลายปี และท่านสิริคุตฺโต ภิกฺขุ เป็นพระ  อาจารยส์ อนทา่ นหนงึ่  ทา่ นมคี วามเมตตาขา้ พเจา้ มาก ตอ่ มาบดั น ี้ ท่านลาสิกขานานแล้ว และปรารภว่าต้องการท�ำหนังสือเล่มน ้ี อกี ครง้ั เพอื่ เผยแผใ่ หก้ วา้ งขวาง ขา้ พเจา้ จงึ รบั ปากวา่ จะท�ำใหท้ า่ น  เพราะเนื้อหาแห่ง มงคล ๓๘ ประการ เล่มนี้ เป็นหลักธรรม  ส�ำคัญอันสมเด็จพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแนะน�ำให้  เราชาวพทุ ธถอื ปฏบิ ตั เิ ปน็ มงคลเปน็ แนวทางดำ� เนนิ ชวี ติ  และทา่ น  อาจารยไ์ ดอ้ ธบิ ายไวเ้ ขา้ ใจงา่ ย มตี วั อยา่ งมากมายและมคี วามเหน็   ท่ีคมคาย ชวนอา่ น สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 7

บัดน้ีข้าพเจ้าได้จัดท�ำหนังสือส�ำเร็จแล้วด้วยความร่วมมือ  ร่วมใจของทีมงานชมรมกัลยาณธรรม ขอขอบคุณทุกท่านผู้มี  อุปการคุณต่อชมรมกัลยาณธรรม ในโอกาสนี้ขอน้อมถวาย  อานิสงส์แห่งธรรมเพ่ือเป็นพุทธบูชา เป็นอาจริยบูชาแด่ครูบา  อาจารย์ทุกท่าน และขออุทิศผลแห่งบุญกุศลนี้ให้แก่ดวงวิญญาณ  ของคุณพ่อฉัตร และคุณแม่บุญเล่ือม กลิ่นสุวรรณ์ บิดามารดา  ผเู้ ปน็ ทรี่ กั บชู ายง่ิ  ขอใหท้ า่ นทง้ั สองมคี วามสขุ ในสมั ปรายภพและมี  ความเจริญในธรรมย่ิงๆ ข้ึนไป หวังว่าทุกท่านจะได้รับประโยชน์  สาระแห่งมงคลชีวติ จากธรรมทานนโ้ี ดยทวั่ กัน กราบอนโุ มทนาและขอบพระคณุ ทุกท่าน ทพญ. อจั ฉรา กลน่ิ สวุ รรณ์ ประธานชมรมกลั ยาณธรรม 8 มงคล ๓๘ ประการ

สารบัญ ทางพัฒนาชีวติ ๑๒ มลู เหตุแห่งมงคล ๑๕ ความหมายของค�ำวา่ มงคล ๑๙ อย่างไหนขลัง ๒๓ มงคลข้อท ่ี ๑   อเสวนา จ พาลานํ (ไมค่ บคนพาล) ๒๘ มงคลขอ้ ที่ ๒   ปณฺฑิตานญฺจ เสวนา (คบบณั ฑิต) ๔๕ มงคลข้อที่ ๓   ปูชา จ ปชู นยี านํ (บชู าบุคคลที่ควรบูชา) ๕๘ มงคลขอ้ ที่ ๔   ปฏริ ปู เทสวาโส (อยู่ในประเทศอันสมควร) ๗๕ มงคลข้อท ่ี ๕   ปุพเฺ พ จ กตปญุ ฺ ตา (มบี ุญวาสนามาก่อน) ๘๒ มงคลข้อที่ ๖   อตฺตสมฺมาปณิธ ิ (ต้ังตนไว้ชอบ) ๙๖ มงคลข้อท ่ี ๗   พาหุสจจฺ ณฺจ (มีความรอบร,ู้ ความเป็นพหสู ูต) ๑๐๖ มงคลข้อที่ ๘   สปิ ปญฺจ (มศี ิลปะ) ๑๑๕ มงคลข้อที่ ๙   วินโย จ สุสกิ ขฺ ิโต (มีวนิ ัยดี) ๑๒๑ มงคลขอ้ ท่ ี ๑๐  สุภาสิตา จ ยา วาจา (มวี าจาเป็นสุภาษติ ) ๑๓๑ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 9

มงคลข้อท ่ี ๑๑  มาตาปติ ุอปุ ฏาน ํ (การบำ� รุงบิดามารดา) ๑๓๙ มงคลข้อท ่ี ๑๒  ปุตตฺ สงคฺ โห (เลี้ยงดูบตุ ร) ๑๕๒ มงคลข้อท่ี ๑๓  ทารสฺส สงฺคโห (การสงเคราะห์ภรรยา-สาม)ี ๑๖๔ มงคลขอ้ ที่ ๑๔  อนากุลา จ กมฺมนตฺ า (การงานไมค่ ง่ั คา้ ง) ๑๗๖ มงคลข้อท ่ี ๑๕  ทานญฺจ (บ�ำเพญ็ ทาน) ๑๘๓ มงคลขอ้ ท ่ี ๑๖  ธมมฺ จรยิ า จ (ประพฤติธรรม) ๑๙๒ มงคลขอ้ ท ่ี ๑๗  าตกานญฺจ สงฺคโห (สงเคราะหญ์ าติ) ๒๐๐ มงคลข้อท ่ี ๑๘  อนวชฺชานิ กมมฺ าน ิ (ท�ำงานไมม่ ีโทษ) ๒๐๗ มงคลขอ้ ที่ ๑๙  อารตี วริ ต ี ปาปา (งดเว้นจากบาปกรรม) ๒๑๔ มงคลขอ้ ที่ ๒๐  มชชฺ ปานา จ สญฺ โม          (สำ� รวมจากการดื่มน้ำ� เมา) ๒๒๑ มงคลข้อที่ ๒๑  อปฺปมาโท จ ธมฺเมส ุ (ไม่ประมาทในธรรม) ๒๒๘ มงคลข้อที่ ๒๒  คารโว จ (มีสัมมาคารวะ) ๒๓๓ มงคลขอ้ ที่ ๒๓  นวิ าโต จ (มีความถ่อมตน) ๒๔๐ มงคลข้อที่ ๒๔  สนตุฏี (มีความสนั โดษ) ๒๔๖ มงคลข้อที่ ๒๕  กตญญฺ ตุ า (มคี วามกตัญญู, เป็นสตั บรุ ุษ) ๒๕๔ มงคลข้อท ี่ ๒๖  กาเลน ธมมฺ สวน ํ (ฟงั ธรรมตามกาลอนั สมควร) ๒๕๙ มงคลขอ้ ท ่ี ๒๗  ขนฺต ี จ (ความอดทน) ๒๖๔ มงคลขอ้ ท่ ี ๒๘  โสวจสสฺ ตา (เปน็ คนวา่ งา่ ย) ๒๗๐ มงคลขอ้ ท ่ี ๒๙  สมณานญจฺ  ทสสฺ น ํ (เห็นสมณะ) ๒๗๖ 10 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

มงคลขอ้ ที่ ๓๐  กาเลน ธมมฺ สากจั ฉา (สนทนาธรรมตามกาล) ๒๘๒ มงคลข้อที่ ๓๑  ตโป จ (การบำ� เพ็ญตบะ) ๒๘๗ มงคลขอ้ ท ่ี ๓๒  พรฺ หมจรยิ ญจฺ  (ประพฤตพิ รหมจรรย์) ๒๙๔ มงคลข้อที่ ๓๓  อรยิ สจจฺ าน ทสฺสนํ (เห็นอรยิ สัจ) ๓๐๐ มงคลขอ้ ท ่ี ๓๔  นพิ พฺ านสจฉฺ ิกริ ยิ า จ  (ท�ำให้แจ้งซึ่งพระนพิ พาน) ๓๑๐ มงคลขอ้ ท ่ี ๓๕  ผฏุ สฺส โลกธมฺเมหิ จติ ตฺ ํ ยสสฺ  น กมปฺ ติ (จติ ไม่หวนั่ ไหวดว้ ยโลกธรรม) ๓๑๘ มงคลขอ้ ท ่ี ๓๖  อโสกํ (จติ ไมโ่ ศก) ๓๒๕ มงคลข้อที่ ๓๗  วริ ช ํ (จติ ปราศจากธลุ ี) ๓๓๐ มงคลขอ้ ท่ ี ๓๘  เขมํ (จติ หลดุ พน้ , จิตเกษม) ๓๓๓ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 11

ทางพฒั นาชีวติ ในปัจจุบันนี้ เป็นสมัยของการพัฒนา ทุกคนต่างก็มีความ ตอ้ งการความกา้ วหนา้ ดว้ ยกนั ทงั้ นน้ั  และตา่ งกพ็ ยายามทกุ วถิ ที าง  ท่ีจะได้มาซ่ึงความก้าวหน้าของชีวิตนั้น เป็นต้นว่าต้องการท�ำมา  คา้ ขายขนึ้  ทำ� ราชการกม็ งุ่ หวงั ทจ่ี ะใหเ้ จา้ นายรกั  และอกี หลายประการ  ซงึ่ กอ่ ใหเ้ กดิ มขี บวนการแปลกๆ เชน่  ประเดย๋ี วเครอ่ื งรางของขลงั   อาจารย์วิปัสสนา ไม่ว่าจะไปทางไหนก็มีผู้อ้างตัวว่าเป็นผู้วิเศษ  ทง้ั นน้ั  ซง่ึ ในยามปรกตอิ าจารยท์ มี่ คี ณุ วเิ ศษทางของขลงั  จะตอ้ งเปน็   ผทู้ มี่ อี ายรุ าวๆ คณุ ป ู่ แตถ่ า้ คนเราลองคลงั่ กนั แลว้ บางทสี ามเณรนอ้ ย  หรอื ไมก่ ย็ ายแกอ่ ะไรคนหนงึ่ เทา่ นน้ั กม็ คี วามขลงั วเิ ศษแลว้  โดยอา้ งวา่   เจ้าพอ่ น้ันเจ้าแมน่ ้มี าเขา้ ประทับทรง แจกของขลงั  บอกหวยเบอร ์ บำ� บดั โรคภยั ไขเ้ จบ็ ไปตามเรอ่ื งตามราว ปญั หาวา่ ทำ� อยา่ งไรจงึ จะรวย  ท�ำอยา่ งไรจึงจะกา้ วหนา้ ในหน้าท่กี ารงาน ฯลฯ เหล่านเ้ี ป็นปญั หา  สำ� หรบั สังคมปัจจุบัน 12 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

ถ้าเราจะย้อนกลับไปอีกประมาณ ๒๖ ศตวรรษ คือก่อนท ่ี พระพทุ ธเจา้ ของเราจะตรสั รธู้ รรม ประชาชนชาวชมพทู วปี กม็ คี วาม  คดิ เหน็ เหมอื นกบั เราในปจั จบุ นั นเี้ หมอื นกนั  แตก่ ารแสวงหาของเขา  ครั้งกระน้ันแตกต่างกว่าของเราในปัจจุบันน้ี คือมุ่งหวังแสวงหา  คณุ วิเศษเขา้ ตวั ปรากฏเรอ่ื งตามคมั ภรี ท์ างศาสนาวา่  คนสมยั นนั้ กำ� ลงั ตนื่ ตวั   ในการคน้ ควา้ ปญั หาเกยี่ วกบั ชวี ติ จติ ใจ เชน่ ปญั หาวา่  คนเราเกดิ มา  อยา่ งไร เกดิ มาแลว้ ทำ� ไมจงึ ตอ้ งตาย ตายแลว้ ไปไหน ตลอดจนปญั หา  เกย่ี วกบั เรอื่ งความสขุ ความทกุ ข ์ เคราะหด์ หี รอื เคราะหร์ า้ ย และตา่ งก ็ แสดงความคดิ เหน็ กนั แตล่ ะทศั นะ แลว้ กโ็ ฆษณาความคดิ ของตนวา่   ถูกต้อง อย่างอื่นผิด พอเผยแพร่ไปหนักๆ เข้า เม่ือมีคนเช่ือมาก  ตวั เองกเ็ ลยเปน็ คณาจารย ์ มลี กู ศษิ ยค์ นละมากๆ และตา่ งคนตา่ งก็  มุ่งอวดคุณวิเศษของตัวเอง เพื่อมุ่งหวังแสวงหาศิษย์ และศิษย์ก็  แสดงคณุ ของอาจารย ์ สบั สนวนุ่ วาย จนกระทง่ั ยา่ งเขา้ สสู่ มยั พทุ ธ- กาล คอื สมยั ทพี่ ระพทุ ธเจา้ ของเราตรสั รแู้ ลว้  การแขง่ ขนั ประชนั ด ี กนั ระหวา่ งศิษย์ตา่ งอาจารย์ก็ทวีความรนุ แรงยง่ิ ขนึ้ ในคร้ังกระนั้น มีการชุมนุมสาธารณะกันอย่างกว้างขวาง  ตามหวั เมอื งตา่ งๆ เกอื บจะทว่ั เจด็ แควน้ ของภาคกลางในชมพทู วปี   สถานทชี่ มุ นมุ ใชส้ ถานทภี่ ายใตร้ ม่ ไมบ้ า้ ง ศาลากลางเมอื งบา้ ง สวน  สาธารณะ และจตั รุ สั ตา่ งๆ บางแหง่ บา้ ง บางแหง่ เจา้ บา้ นผา่ นเมอื ง  นยิ มในเรอ่ื งการอภปิ ราย กอ็ นญุ าตใหใ้ ชส้ ณั ฐาคารหรอื หอประชมุ   ส�ำหรับเมืองนั้นๆ พอถึงวันนัดก็ไปประชุมกัน และผลัดกันพูด  ผลดั กนั อภปิ รายเสนอความคดิ ความเหน็ จนถงึ กบั ตง้ั รางวลั เอาแพ้  สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 13

ชนะกนั ก็มี สว่ นทางดา้ นพทุ ธสาวก ไมป่ รากฏวา่ พระพทุ ธเจา้ ทรงสนบั สนนุ   ในเร่ืองการโตว้ าทะน ้ี แตก่ ็มีบางปัญหาทขี่ ัดแยง้ กันในวงอภิปราย  มาทูลถามพระพุทธเจ้าอยู่เสมอ และพระองค์ก็ทรงวินิจฉัยช้ีถูก  ชผ้ี ดิ ใหเ้ สรจ็ สนิ้ ไป เมอื่ ถงึ ตอนนแี้ ลว้ กม็ ปี ญั หาขนึ้ วา่  ทำ� ไมพระองค ์ จึงไม่ส่งสาวกออกไปโต้วาทะกับเขาหรือ พระองค์ทรงเป็นห่วงใน  สาระธรรม เกรงวา่ จะไมส่ ามารถจะทนตอ่ การวพิ ากษว์ จิ ารณ ์ ตรง  กันข้าม พระองค์กลับท้าอยู่ตลอดเวลาว่า “เอหิปสฺสิโก” แปลว่า  “เชิญมาพิสูจน์” และข้อความเหลา่ นก้ี ไ็ ดถ้ กู ประกาศออกไปอย่าง  กว้างขวาง ท้ังน้ีเพื่อท่ีจะท้าพวกนักอภิปรายท้ังปวงให้มาพิสูจน์ด ู พระธรรมของพระพทุ ธเจา้ นนั้ นอกจากจะทนตอ่ การเพง่ พสิ จู นแ์ ลว้   ยงั สามารถทจ่ี ะทำ� ใหค้ นทมี่ าพสิ จู นน์ น้ั เกดิ ความเลอื่ มใสศรทั ธาได้ 14 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

มูลเหตุแหง่ มงคล ในขณะท่ีทุกคนต่างดำ� เนินการอภิปรายกันอยู่อย่างถึงพริก  ถงึ ขงิ นนั้  กเ็ กดิ ปญั หาขน้ึ  แรกในระหวา่ งวงสนทนาขน้ึ วา่  “อะไรเปน็   มงคล” เมื่อเราดูรูปของปัญหาแล้วไม่น่าท่ีจะยาก แต่ว่าก็ก่อให้เกิด  ความสบั สนอยไู่ มน่ อ้ ยในวงของนกั อภปิ ราย และนกั อภปิ รายตา่ งก็  เสนอความคิดเห็นของตนออกมาว่า  “ทา่ นทง้ั หลายโปรดฟงั ทางน”ี้  นกั คดิ คนหนง่ึ พดู  “ขา้ พเจา้ รดู้ วี า่   อะไรเปน็ มงคล” “ไหนลองเสนอความคิดของท่านมาดูซิว่า ท่านมีความเห็น วา่ อยา่ งไร” นักคิดอีกคนหนึง่ ถามขึน้   สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 15

“ออ๋  แนน่ อนทส่ี ดุ  ขา้ พเจา้ จะตอ้ งแถลงแน”่  นกั คดิ คนนนั้ พดู   อยา่ งมน่ั ใจ “ตามธรรมดาในรา่ งกายของคนเรานน้ั มสี ง่ิ หนงึ่ ทเ่ี ชดิ ชู  อวยั วะทง้ั หลาย สง่ิ นนั้ คอื  “ตา” ตาสามารถทจี่ ะเหน็ สง่ิ สวยๆ งามๆ  เปน็ ตน้ วา่  เหน็ ปราสาททง่ี ดงาม เหน็ นางงาม เหน็ แสงสอี นั สวยงาม  ตลอดจนไดถ้ า่ ยทอดความรสู้ กึ ของธรรมชาตมิ าสจู่ ติ ใจได ้ ฉะนน้ั สงิ่ ท ่ี ตาเหน็ น่ันแหละเปน็ มงคล” “ประเด๋ียวก่อนท่าน” นักคิดอีกผู้หนึ่งแย้ง “ท่ีท่านว่าส่ิงท่ีดี  ทเ่ี หน็ นนั้ เปน็ มงคลจรงิ แน่หรอื ” นกั คดิ อีกคนหนึง่ เรม่ิ จะแยง้ “ไมน่ า่ จะถามเลยนท่ี า่ น ขา้ พเจา้ ไดบ้ อกแลว้ อยา่ งไรละวา่  ตาน ้ี เปรยี บเหมอื นเทพเจา้ แหง่ ชวี ติ  ฉะนนั้ สงิ่ ทตี่ าเหน็ กต็ อ้ งเปน็ มงคล”  เจา้ ของความคดิ ตอบอยา่ งภาคภมู ใิ จและนกึ กระหยมิ่ วา่  วาทะของตน  จะตอ้ งถกู แน่ “ถกู แลว้  ขา้ พเจา้ เขา้ ใจตามทท่ี า่ นพดู  แตย่ งั ไมม่ นั่ ใจจงึ ถามด ู ขอถามสกั หนอ่ ยเถอะวา่  ตาของคนเราเหน็ ของด ี ของสวยงามเสมอ  ไปหรือ คนร่างกายผุดผ่องสวยงามก็เห็น และไอ้ตาดวงเดียวกัน  นั้นแหละก็เห็นคนรูปร่างน่าเกลียด คนเป็นโรคเรื้อน มีน้�ำเลือด  นำ้� หนองไหลเยมิ้ ไปหมดทงั้ ตวั  เงนิ ทองตากเ็ หน็  สงิ่ สกปรกโสโครก  มูตรคูถตาก็เห็น ยาส�ำหรับรักษาโรคตาก็เห็น ยาพิษตาก็เห็น  ปราสาทสวยงามตากเ็ หน็  เรอื นจำ� และขอื่ คาทตี่ าเหน็ กต็ อ้ งเปน็ มงคล  ไปดว้ ยละสิ เพราะส่ิงเหลา่ นีต้ ากเ็ ห็น” วาทะของนกั คดิ คนแรก เปน็ อนั วา่ ลม้ พบั ไป “โปรดฟงั ขา้ พเจา้   บ้าง” นายสุตมังคลิกะ นักอภิปรายคนท่ีสองเริ่มเสนอตัว “เป็น  ความคิดท่ีเบาเหลือเกินที่นายคนนั้นว่าตาเป็นอวัยวะส�ำคัญ ซ่ึง  16 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

ความจริงแล้ว ตาเป็นอวัยวะหยาบๆ ส่วนหนึ่งเท่าน้ัน คนเราถ้า  ลองหลบั ตาเสยี แลว้  รา่ งกายกไ็ มม่ คี วามหมายอยา่ งไร สงิ่ หนงึ่ ทมี่  ี ความสำ� คญั ของรา่ งกายกค็ อื  “ห”ู  เพราะหขู องคนเรานนั้ ตน่ื ท�ำงาน  เกอื บตลอดเวลา ขณะทเ่ี ราหลบั อย ู่ ถา้ มอี ะไรเกดิ ขน้ึ หจู ะรบี รายงาน  ทนั ท ี แมส้ งิ่ ทตี่ าไมส่ ามารถเหน็ ได ้ แตห่ กู ส็ ามารถไดย้ นิ  ไมว่ า่ เสยี ง  น้ันจะมาทางทิศไหนหูเป็นได้ยินทั้งนั้น นอกจากน้ันเสียงเพลงที่  เพราะๆ ซึ่งเราไม่สามารถจะรับด้วยตา จมูก ล้ิน และไม่สามารถ  จะถูกต้องลูบคล�ำได้ด้วยร่างกายได้ รวมความแล้วเสียงที่หูได้ยิน  แล้ว เป็นของท่ีพ้นจากสี กล่ิน รส และสัมผัส เป็นของที่ละเอียด  สะอาดแท ้ ฉะนั้นเสียงทีห่ ไู ดย้ นิ จึงเป็นมงคล” “นา่ คดิ เหมอื นกนั  ทา่ นสตุ มงั คลกิ ะ” นกั พดู อกี คนหนง่ึ เรม่ิ จะ  คดั คา้ น “แตข่ อโทษเถอะ เสยี งทเี่ ราไดย้ นิ นน้ั เปน็ มงคลไปทกุ อยา่ ง  หรอื ” “ออ๋  แน่นอน” นายสตุ มังคลกิ ะตอบ “ถา้ อยา่ งนน้ั  เสยี งดา่ ทอ เสยี งสาปแชง่  เสยี งขเู่ ขญ็  เสยี งโกหก  ตอแหล เสียงส่อเสียดยุยง เหล่านี้ก็จัดเป็นมงคลด้วยละสิ ท่าน  สุตมังคลิกะ” นายสุตมังคลิกะนิ่งเงียบ เป็นอันว่าวาทะของนาย  สุตมังคลกิ ะได้ถูกหักล้างแลว้ อยา่ งสน้ิ เชงิ “ทา่ นผเู้ จรญิ ทงั้ หลายโปรดฟงั ทางน ้ี ถา้ ทา่ นอยากทราบความ  จริง” นักอภิปรายคนที่สามเร่ิมเสนอตัวเอง “ข้าพเจ้ารู้สึกสงสาร  ทา่ นทง้ั สองเปน็ อยา่ งยงิ่  ทมี่ คี วามคดิ เหน็ ผดิ ๆ อยา่ งนนั้  ความจรงิ   แลว้ ทา่ นไดล้ มื ไปแลว้ หรอื วา่  สงิ่ ทส่ี �ำคญั ภายในรา่ งกายของเรานน้ั   นอกจาก “ปาก” แลว้ จะมอี ะไรส�ำคญั กวา่ เปน็ ไมม่  ี เพราะปากของ  สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 17

เราน้ีสามารถท่ีจะกินอาหารเพื่อน�ำไปหล่อเล้ียงส่วนต่างๆ ของ  รา่ งกาย และทำ� ใหร้ า่ งกายเปน็ อยไู่ ด ้ ปากและลนิ้ ของเราสามารถท่ี  จะล้ิมรสอาหารท่ีเอร็ดอร่อยได้ ฉะนั้นส่ิงที่ล้ินได้ลิ้มรสน้ันแหละ  เป็นมงคล” “ประเดยี๋ วกอ่ นทา่ น ทา่ นวา่ ทกุ อยา่ งทลี่ น้ิ ลมิ้ รสนนั้ เปน็ มงคล  ทัง้ หมดใช่ไหม” นกั คดิ อีกคนเร่ิมแย้ง “ออ๋  แน่นอนที่สดุ ละทา่ นเอย๋ ” นายมตุ มงั คลิกะตอบ “ถา้ อยา่ งนน้ั  ของตา่ งๆ เปน็ ตน้ วา่ ของขมๆ รสเผด็ จดั ๆ และ  รสเฝื่อนๆ จนเหลือจะกินเข้าไปได้ก็เป็นมงคลละซี” เป็นอันว่า  ความคิดของนายมุตมังคลกิ ะไดถ้ กู ลบลา้ งไปอีก ในทสี่ ดุ กไ็ มม่ ใี ครสามารถจะตอบไดว้ า่ อะไรเปน็ มงคล ญตั ต ิ เร่ืองมงคลน้ีได้กลายเป็นข้อพิพาทและไม้เบื่อไม้เมาของบรรดา  คณาจารยต์ า่ งๆ ปญั หาเรอื่ งนไี้ ดถ้ กู นำ� มาคดิ กนั อยเู่ นอื งๆ ตามคมั ภรี  ์ ไดก้ ลา่ วไวว้ า่  เรอ่ื งมงคลนไี้ มค่ ดิ กนั เฉพาะในหมมู่ นษุ ย ์ แมแ้ ตเ่ หลา่   เทวดากน็ �ำเอาไปคิดกัน กาลได้ลว่ งไปดว้ ยความวนุ่ วายถึง ๑๒ ปี ครน้ั แลว้ ไดม้ ผี นู้ ำ� เรอ่ื งราวนไ้ี ปทลู ถามตอ่ พระผมู้ พี ระภาคเจา้   ซึ่งขณะนั้นเสด็จประทับอยู่ท่ีพระวิหารเชตวันใกล้ๆ เมืองสาวัตถี  และพระองคก์ ไ็ ดต้ รสั เรอื่ งมงคลในทางพระพทุ ธศาสนาใหพ้ ระสงฆ ์ และประชาชนฟัง เร่ืองที่พระองค์แสดงมีทั้งหมด ๓๘ ข้อ ทุกข้อ  เปน็ ผลจากการตรสั รขู้ องพระองคท์ ง้ั สนิ้  เพราะพระองคม์ ไิ ดค้ ดิ เอา  เดาเอา ฉะน้ันแต่ละข้อของพระองค์จึงเข้าถึงสัจธรรมทั้งส้ิน ไม่มี  ใครผใู้ ดคดั คา้ นหรอื ทกั ทว้ ง เรอื่ งราวทงั้ หลายทสี่ บั สนกนั อยถู่ งึ  ๑๒ ป ี กเ็ ป็นอันหมดไป 18 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

ความหมาย ของคำ� ว่ามงคล เมอื่ พดู ถงึ เรอื่ งมงคลแลว้  บางคนอาจจะนกึ วาดภาพไปวา่ คงจะ  เปน็ เรอ่ื งอภนิ หิ าร เรอ่ื งมหศั จรรย ์ เรอ่ื งลงขมอ่ ม เครอ่ื งรางของขลงั   อะไรท�ำนองน้ัน ความจริงก็น่าจะให้คิดอย่างนั้น เพราะสมัยเมื่อ  ข้าพเจ้ายังเด็กอยู่ก็มักจะได้ยินเร่ืองนี้ในทำ� นองของขลังอยู่บ่อยๆ  ถา้ เราคดิ ไปในทำ� นองนนั้ กเ็ ปน็ เรอ่ื งทน่ี า่ เสยี ใจไมน่ อ้ ยทเี่ รายงั พากนั   คดิ อยา่ งน้ัน ความจรงิ แลว้ กไ็ มน่ า่ ทจ่ี ะตำ� หน ิ เพราะวา่ เมอื่ เราไดย้ นิ วา่  มงคล  แลว้ ทำ� ใหเ้ ราเกดิ ความคดิ เชน่ นนั้ จรงิ ๆ ความจรงิ แลว้ มนั เปน็ เรอ่ื งท ี่ เราเขา้ ใจผดิ กนั ในเรอ่ื งของภาษา ฉะนน้ั เมอ่ื พระจะแสดงเรอ่ื งมงคล  หรอื วา่ เหน็ หนงั สอื ทเ่ี กยี่ วกบั เรอื่ งของมงคลแลว้  โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ   พวกหนุ่มๆ สาวๆ จะรู้สึกว่าหัวใจและตาปรือลงไปถนัดเมื่อได้ยิน  ค�ำว่ามงคล บางทีก็คิดเลยไปว่าควรจะน�ำไปอ่านเมื่อเราแก่แล้ว  หรือน�ำไปฝากคณุ ย่าคุณยายทางบ้านตามเรอื่ ง สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 19

ทนี เี้ ราลองมาศกึ ษาเรอ่ื ง “มงคล” กนั เสยี กอ่ นเพอื่ ความเขา้ ใจ  คำ� วา่ มงคล มงคลนใี้ นทางภาษาไทยของเรากย็ ากทจ่ี ะหาค�ำแปลที ่ ตรงตวั ไดย้ ากสกั หนอ่ ย แตถ่ า้ จะเอาความหมายแลว้  คำ� วา่  “มงคล”  หมายถึงเหตุท่ีท�ำให้คนเจริญขึ้น มีฐานะดีข้ึน มีวิชาความรู้ดีขึ้น  มียศ มีต�ำแหน่งสูงข้ึน ได้บรรลุความส�ำเร็จ ความสมบูรณ์ย่ิงข้ึน  เหลา่ นลี้ ว้ นแตเ่ ปน็ ความหมายของคำ� วา่ มงคลทงั้ สน้ิ  ในขณะทเี่ ขยี น  เร่ืองนี้อยู่ก็ยังหาความหมายของค�ำนี้ให้กะทัดรัดกินใจความยาก  ได้พยายามหาหนังสือที่ท่านผู้รู้ได้แต่งเอาไว้ก็ยังไม่สู้กระจ่าง ใน  หนงั สอื มงคลชวี ติ ของ พนั เอกปน่ิ  มทุ กุ นั ต ์ อธบิ ดกี รมการศาสนา  ไดใ้ หค้ วามหมายของคำ� วา่ มงคลวา่  “ทางกา้ วหนา้ ” แตข่ า้ พเจา้ กเ็ ลย  มาไดแ้ งค่ ดิ อกี อยา่ งหนง่ึ วา่  “ทางพฒั นาชวี ติ ” ดจู ะเหมาะกวา่  เพราะวา่   สมยั นเี้ ปน็ สมยั ทเ่ี ราก�ำลงั แขง่ ขนั กนั ในดา้ นพฒั นาและอกี ประการ  หนง่ึ  กเ็ ปน็ คำ� แปลทกี่ นิ ใจความทง้ั บาลเี ดมิ และภาษาปจั จบุ นั  เปน็   อันตกลงกันในท่ีนี้ว่าข้าพเจ้าจะถือแปลค�ำว่า “มงคล” หมายถึง  “ทางพฒั นาชีวิต” นี่หมายถึงความเขา้ ใจของข้าพเจ้าเท่านัน้ เป็นอันว่า มงคล หมายถึงทางพัฒนาชีวิตน่ันเอง ในสมัยนี้  เป็นสมัยแห่งการพัฒนา ไม่ว่าประเทศใดก็ต่างเร่งรัดพัฒนากัน  เป็นการใหญ ่ เชน่  พฒั นาชนบท พฒั นาการศกึ ษา และอกี หลายๆ  อย่างที่เราต่ืนเต้นกับความก้าวหน้าในด้านการพัฒนาของชาต ิ ต่างๆ ซ่ึงความจริงไม่ใช่อะไร คือมงคลของเรานั่นเอง การพัฒนา  ก็หมายความถึงการท�ำสงิ่ หนงึ่ ใหเ้ จรญิ ก้าวหนา้ ขน้ึ อกี การพัฒนาไม่ใช่จะมาเริ่มกันแต่ยุคนี้เท่านั้น ความจริงแล้ว  เปน็ เรอื่ งทผี่ คู้ นในชมพทู วปี ไดส้ งสยั และพยายามหากนั มานานแลว้   20 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

ถึงกับเถียงกันเป็นระยะเวลา ๑๒ ปี ความคิดการพัฒนาของคน  สมัยก่อนน้ันเขาคิดกันรอบคอบมาก และถึงกับอภิปรายกันถึง  แตกหักเลย แต่ความคิดของเขาเป็นไปอย่างช้าๆ แต่ว่าได้ผลด ี ไมเ่ หมอื นคนสมยั นค้ี ดิ ทจี่ ะพฒั นาตวั เองในทางลดั  บางคนสบู บหุ รี่  ไม่เป็น ริสูบบุหร่ีเพ่ือท่ีจะเข้าสังคมง่าย บางคนริดื่มสุราเพื่อหา  เพื่อนฝูง บางคนคดิ อยากจะรวยทางลดั  ถงึ กบั ลงทนุ ไปหาหลวงพอ่   น้ันเจ้าพ่อนี้กันให้วุ่นไปหมด ท้ังน้ีก็เพื่อจะพัฒนาตัวเองและ  ครอบครัวนั่นเอง แต่นา่ เสียดายท่ีใช้ความพยายามในการนึกเอา  เดาเอา ผลทส่ี ดุ กไ็ มไ่ ดร้ บั ผลตามความมุง่ หมาย ถา้ เราเดากนั อยา่ งในสมยั เมอื่  ๒,๕๐๐ ปกี อ่ นนน้ั กไ็ มเ่ ปน็ ไร  เพราะในสมยั นน้ั บา้ นเมอื งยงั ไมเ่ จรญิ และกย็ งั ไมม่ ผี รู้ คู้ อยแนะนำ�   เหมอื นคนทเี่ ดนิ บกุ ปา่ ฝา่ ดง เพราะวา่ ในสมยั นนั้ ถนนหนทางยงั ไมม่  ี เหมือนในสมัยน้ี แต่เด๋ียวน้ีทางเขามีไว้ให้เดินอย่างสบาย ถ้าใคร  ขืนยอมบุกป่าอย่างเดิมก็น่าจะต�ำหนิ เรื่องมงคลน้ีก็เหมือนกัน  ความจริงแล้วพระพุทธเจ้าของเราได้แสดงไว้อย่างสมบูรณ์ท่ีสุด  แต่แล้วเราก็ยังแสวงหาทางพัฒนาท่ีล้าสมัยกันอยู่ก็เป็นเรื่องท่ี  นา่ สังเวช เปน็ อนั ยตุ ไิ ดว้ า่  มงคล แปลวา่  ทางพฒั นาชวี ติ  ทนี กี้ เ็ กดิ เปน็   ปัญหาขึ้นมาอีกว่า เราจะท�ำอย่างไรจึงจะเป็นการพัฒนาชีวิต  ปญั หานกี้ ม็ ตี อบกนั เปน็ สองสายคอื  จากฝา่ ยคณาจารยเ์ จา้ ลทั ธติ า่ งๆ  ซงึ่ ทำ� ใหต้ อ้ งถกเถยี งกนั อยถู่ งึ  ๑๒ ป ี นนั่ ทางหนง่ึ  และจากพระพทุ ธ-  เจ้าทางหน่ึง มงคลแรกเป็นมงคลของนักคิด ส่วนมงคลของพระ  พทุ ธเจา้  เปน็ มงคลของผตู้ รสั ร ู้ และเรอื่ งมงคลตา่ งๆ กม็ เี ชอื้ สายตดิ กนั   สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 21

มาอยจู่ นถงึ ทกุ วนั น ้ี เปน็ ตน้ วา่  เราจะทำ� การมงคลใดๆ กต็ าม จะตอ้ ง  มใี บไมอ้ ยา่ งนน้ั อยา่ งนจ้ี งึ จะเปน็ มงคล เชน่ ตอ้ งใสใ่ บมะตมู  เพอ่ื จะ  ให้ชื่อเสียงโด่งดัง ใส่ใบทอง ใบนาก ใบเงิน ผิวมะกรูด ขม้ินชัน  หญ้าแพรก ใบมะขาม ฝักราชพฤกษ์ เหล่านี้เรียกว่าเบญจมงคล  เพราะว่าจะทำ� ให้เจา้ ของงานไดเ้ ปน็ ใหญเ่ ป็นโต นเี่ รากส็ งั เกตไดว้ า่ มงคลของนกั คดิ นน้ั  ถอื วตั ถตุ า่ งๆ วา่ เปน็   มงคล ถา้ ใครมสี งิ่ นนั้ ไวแ้ ลว้ เปน็ อนั วา่ มมี งคลทเี ดยี ว เพราะฉะนน้ั   เวลาจะทำ� งานมงคลตา่ งๆ จงึ ตอ้ งวง่ิ หากนั  เชน่  งานแตง่ งานตอ้ งมี  หอยสงั ข ์ มมี งคลแฝด เปน็ ตน้  มไี วเ้ องไมไ่ ด ้ กต็ อ้ งไปขอยมื หรอื ไม่  กต็ อ้ งเชา่ เขามา ทง้ั นเ้ี พราะอยากไดม้ งคล เรอื่ งพธิ กี รรมนยี่ งิ่ หลายคน  ยงิ่ หลายความคดิ  ยากทจ่ี ะประมวลกนั มาหมดสน้ิ ได ้ เพราะเจา้ ลทั ธิ  เหล่าน้ีถือจากการเดานั่นเอง เม่ือต่างคนต่างเดาก็เดากันไปต่างๆ  นานา อย่างเช่นเราจะให้ใครเขียนรูป “พระปฐมเจดีย์” ถ้าคน  ไม่ได้เห็นพระปฐมเจดีย์เลย จะเขียนภาพไม่ถูก และถ้าเขียน  ร้อยภาพก็เป็นร้อยอย่าง ถ้าได้เคยเห็นแล้วร้อยคนหรือพันคน  กเ็ ขยี นไดเ้ หมอื นกนั 22 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

อยา่ งไหนขลัง มงคลท้ังสองอย่างน้ี เราลองมาพิจารณากันดูว่า อย่างไหน  จะขลังกว่ากัน อันน้กี ็ตอ้ งอาศัยทท่ี า่ นผอู้ ่านไดต้ ดั สนิ พิจารณากัน  เอาเอง คือการตั้งมงคลของนักคิดนั้น ใช้วิธีถามตัวเอง เอาความ  ตอ้ งการของตวั เองไปตง้ั เปน็ มงคล และความคดิ เหลา่ นเี้ มอื่ จะสรปุ   แล้วจะได้อยู่ ๖ ทาง คือ ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ อย่างไหน  ตอ้ งการอะไร ชอบอะไร แล้วก็ยกเอาส่ิงนนั้ ขึ้นมาเป็นมงคล เช่น พวกท่ีเอาตาเป็นเกณฑ์ ได้แก่ พวกท่ีถือขนาดรูปร่าง เช่น  ตะพดตอ้ งยาวขนาดนน้ั  ไมเ้ ทา้ ยาวเทา่ นน้ั  พวกทถ่ี อื ส ี กน็ ยิ มใชส้  ี ตามวนั  เชน่  วนั อาทติ ยส์ แี ดง วนั จนั ทรส์ เี หลอื ง เปน็ ตน้  นเี่ ปน็ การ  ถอื โดยเอาตาเปน็ เกณฑ ์ ถือเป็นมงคล สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 23

พวกทเี่ อาหเู ปน็ เกณฑ ์ ไดแ้ กพ่ วกทถ่ี อื เสยี งอยา่ งพวกพราหมณ์  ถอื หอยสงั ข ์ และทถี่ อื วา่ ใบมะตมู เปน็ ไมม้ งคลเพราะเอาชอื่ มนั เปน็   เกณฑ ์ ไดย้ นิ คำ� วา่  “ตมู ” กร็ สู้ กึ วา่ เปน็ เสยี งดงั  ฉะนนั้ พวกทอี่ ยาก  จะดงั ทงั้ หลาย เวลาประกอบการมงคลกเ็ ลยเอาใบมะตมู มารว่ มดว้ ย  หรือบางทีก็ใช้ใบเงิน ใบทอง เพราะชื่อของมันกระเดียดไปทาง  เงินๆ ทองๆ เหล่านี้เอาเสียงหูมาเป็นเกณฑ์ในการตัดสินเรื่อง  มงคล แตม่ งคลอยา่ งพระพทุ ธเจา้  ไมไ่ ดเ้ อาสงิ่ ทค่ี นชอบมาเปน็ เกณฑ์  แตท่ รงเอาเหตผุ ลเปน็ ทตี่ งั้  เชน่  คนอยากจะเจรญิ กา้ วหนา้  ทรงพบวา่   อยา่ งไหนทจี่ ะทำ� ใหเ้ จรญิ กา้ วหนา้  กท็ รงแสดงวา่ การท�ำอยา่ งนนั้ ๆ  เปน็ มงคล และในชวี ติ ของคนๆ หนงึ่  ถา้ ไดฝ้ กึ ฝนตนเองอยา่ งเตม็ ที ่ แลว้ ก็จะสามารถท่ีจะพัฒนาตัวเองให้เจริญได้เท่าไร ทรงแสดงไว ้ หมดสนิ้ รวม ๓๘ ขั้นด้วยกนั เม่ือกล่าวถึงมงคลภายนอกแล้วเช่นนี้ ก็จะมีปัญหาถามว่า  ถ้าอย่างนั้น เมื่อวัตถุที่ท�ำกันในศาสนพิธีนั้น เช่น ใบเงิน ใบทอง  ใบนาก ใบทบั ทมิ  เหลา่ นจ้ี ะไมม่ ผี ลทางมงคลเลยหรอื  เรอื่ งนกี้ ข็ อ  ตอบวา่ ตามธรรมดาของคนเราทอ่ี ยใู่ นสงั คมและอยใู่ นสง่ิ แวดลอ้ ม  ของขนบประเพณ ี ฉะนนั้ การทำ� สงิ่ ใดทชี่ อบดว้ ยขนบประเพณ ี แลว้   เปน็ ผลดที างดา้ นจติ ใจแลความสามคั ค ี แตส่ ำ� คญั อยทู่ วี่ า่ เราไมค่ วร  ท่ีจะฝากความส�ำคัญ หรือความเจริญก้าวหน้าไว้กับส่ิงเหล่าน้ัน  ซึ่งถงึ แมว้ า่ เราจะมขี องครบตามทนี่ กั คดิ ทงั้ หลายระบไุ วแ้ ลว้ ในพธิ  ี มงคลสมรส ถ้าค่มู งคลสมรสไมม่ มี งคลของพระพทุ ธเจ้าเลย เชน่   ไมซ่ อื่ สตั ยต์ ่อกัน ไม่เอื้อเฟื้อต่อกัน ชีวิตของคู่สมรสจะไม่ราบรื่น  24 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

เลย นำ�้ สงั ขจ์ ากมงคล นกั คดิ นนั้  จะเปยี กชมุ่ เฉพาะทรี่ ดมอื เทา่ นน้ั   แตม่ งคลของพระพทุ ธเจ้าจะใหค้ วามชุ่มฉำ�่ ไปตลอดชีวติ เพื่อพิสูจน์ความจริง ขอเชิญท่านศึกษามงคลท้ัง ๓๘ ข้อ  ของพระพทุ ธเจ้าได้ ๑. ไมค่ บคนพาล ๒. คบบัณฑติ ๓. บชู าบุคคลที่ควรบชู า ๔. อยู่ในประเทศอนั สมควร ๕. มบี ญุ วาสนามากอ่ น ๖. ตั้งตนไว้ชอบ ๗. มีความรอบรู้ (ความเป็นพหูสตู ) ๘. มศี ลิ ปะ ๙. มีวนิ ัยดี ๑๐. มวี าจาเป็นสภุ าษติ ๑๑. การบำ� รงุ บิดามารดา ๑๒. เลยี้ งดูบุตร ๑๓. การสงเคราะห์ภรรยา-สามี ๑๔. ท�ำงานไม่คง่ั คา้ ง ๑๕. บำ� เพ็ญทาน ๑๖. ประพฤตธิ รรม ๑๗. สงเคราะห์ญาติ ๑๘. ทำ� งานไม่มีโทษ ๑๙. งดเวน้ บาปกรรม สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 25

๒๐. ส�ำรวมจากการด่มื น�ำ้ เมา ๒๑. ไมป่ ระมาทในธรรม ๒๒.​ มีสมั มาคารวะ-มคี วามเคารพ ๒๓. มีความถอ่ มตน ๒๔. มีความสนั โดษ ๒๕. มคี วามกตัญญู (เปน็ สตั บรุ ษุ ) ๒๖. ฟงั ธรรมตามกาลอันสมควร ๒๗. ความอดทน ๒๘. เปน็ คนว่างา่ ย ๒๙. เห็นสมณะ ๓๐. สนทนาธรรมตามกาล ๓๑. การบำ� เพ็ญตบะ ๓๒. ประพฤติพรหมจรรย์ ๓๓. เห็นอรยิ สัจ ๓๔. ท�ำใหแ้ จง้ ซึง่ นพิ พาน ๓๕. จิตไม่หว่ันไหวในโลกธรรม ๓๖. จติ ไมโ่ ศก ๓๗. จิตปราศจากธุลี ๓๘. จติ หลดุ พน้  (จติ เกษม) 26 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร



๑มงคล ข้อท่ี อเสวนา จ พาลานํ (ไมค่ บคนพาล) ในบรรดาสตั วโ์ ลกทงั้ หลาย สง่ิ ทน่ี า่ สนใจทสี่ ดุ คอื คน เพราะวา่   ตวั เราเองกเ็ ปน็ คน พอ่ แมพ่ น่ี อ้ งตลอดจนเพอื่ นฝงู กเ็ ปน็ คน เมอื่ เรา  โตขนึ้ พอทจี่ ะไดร้ บั การศกึ ษาได ้ เรากไ็ ปเรยี นอยกู่ บั ครซู ง่ึ กเ็ ปน็ คน  ตลอดจนการคา้ ขายเรากต็ อ้ งพบปะอยกู่ บั คน แมต้ วั ตายเรากไ็ มว่ าย  ทจี่ ะต้องย่งุ กับคน เพราะวา่ คนนั่นเองเปน็ ผนู้ �ำเราไปเผาไปฝงั เมอื่ สงิ่ แวดลอ้ มทงั้ หลายของเราขน้ึ อยกู่ บั คนเชน่ นแ้ี ลว้  สงิ่ ที่  เราจะตอ้ งศกึ ษาหาความเขา้ ใจใหด้ เี กย่ี วกบั เรอื่ งของคน เพราะคนเรา  28 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

จะดีก็เพราะคน และจะเสียคนก็เพราะคน จะร�่ำรวยหรือยากจน  กเ็ พราะคนอกี เหมอื นกนั  สว่ นสง่ิ อน่ื สตั วอ์ น่ื เปน็ แตเ่ พยี งสว่ นประกอบ  เทา่ นนั้  ฉะนนั้ ในมงคลหรอื ทางพฒั นาชวี ติ ขอ้ ตน้ นนั้  พระพทุ ธองค์  จึงทรงสอนเรื่องคนและขอ้ ท ี่ ๒ ก็เกีย่ วกบั คน ไมว่ า่ เราจะทำ� งานอะไร จะเปน็ การคา้ หรอื วา่ การแตง่ งานกต็ าม  สง่ิ ทเี่ ราจะตอ้ งคำ� นงึ อยเู่ ปน็ ประการแรกกค็ อื  คน ถา้ สมมตวิ า่ ทา่ น  จะแตง่ งานกบั ใครสกั คนหนง่ึ  แทนทจ่ี ะเปน็ หว่ งเรอ่ื งสนิ สอดทองหมน้ั   แทนที่จะเป็นห่วงน้�ำหอยสังข์มงคลแฝด และห่วงจ�ำนวนคนท่ีจะ  มารดน้�ำอวยพร แต่ควรท่ีจะห่วงคนที่จะร่วมกับเรานั่นแหละเป็น  ประการส�ำคญั  ดวู า่ เขาจะเปน็ คนดหี รือไม่ด ี เป็นปญั หาแรกท่สี ดุ คนพาล คนในโลกน้ีมีอยู่สองประเภท คือ คนดีกับคนพาล ในมงคล  ข้อแรกของพระพุทธเจ้า พระองค์ทรงสั่งสอนให้เว้นจากการคบ  คนพาล ก่อนที่เราจะเว้นจากการคบกับคนพาลนั้น เราก็ควรท่ ี จะทราบเสียก่อนว่าคนพาลมีลักษณะอย่างไร เพราะเป็นเรื่องที่  ยากมากทจ่ี ะรไู้ ดว้ า่ คนไหนเปน็ คนพาล เพราะเราไมส่ ามารถทจี่ ะ  พิสูจน์ได้ โดยทางเคร่ืองแต่งตัวหรืออาภรณ์ประดับร่างกาย ท้ังนี ้ เพราะว่าคนพาลบางคนแฝงมาในร่างของผู้ดีก็มี วิธีท่ีจะสังเกต  คนพาลไดน้ น้ั  กอ็ าศยั จากการสงั เกต กริ ยิ าอาการทแี่ สดงออก เพราะ  คนพาลน้นั ยอ่ มจะมีอาการท่จี ะแสดงออกมาอยู ่ ๕ อย่างดว้ ยกัน สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 29

๑มงคลข้อท่ี ไมค่ บคนพาล เพื่อความเข้าใจในเรื่องของคนพาลจึงใคร่ท่ีจะยกนิทานมา  ให้ได้ฟังสักเรื่อง เป็นเร่ืองสมัยก่อนพุทธกาล คือ มีดาบสคนหนึ่ง  มีนามว่าอกิตติ ท่านดาบสผู้น้ีเม่ือก่อนจะบวชท่านเป็นคนม่ังคั่ง  โดยไดร้ บั มรดกจากมารดาบดิ า ทา่ นเปน็ คนชาวเมอื งพาราณส ี ทาง  ภาคเหนือของประเทศอินเดีย แต่ท่านจะออกบวชด้วยเร่ืองอะไร  ไม่ทราบได ้ แต่ความในท้องเรอื่ งน้ันบ่งชดั ว่าท่านบวชเพราะได้รบั   ความกระทบกระเทอื นใจจากคนบางพวก หลงั จากทที่ า่ นไดบ้ วชแลว้   กไ็ ดอ้ อกจารกิ ไปทางภาคเหนอื จนกระทงั่ เขา้ ไปตง้ั สำ� นกั ทำ� ความเพยี ร  อยทู่ แี่ ควน้ กาฬะ และในทน่ี นั้ ทา่ นตอ้ งไดป้ ระสบกบั ความอดอยาก  ยากแค้นจนกระท่ังต้องฉันเปลือกไม้ทีเดียว ข่าวน้ีได้ทราบไปถึง  ทา้ วสักกะ พระองคจ์ ึงเสดจ็ มายังสำ� นกั ของดาบส “พระคณุ เจา้  โยมขอปวารณา หากพระคุณเจ้าตอ้ งประสงค์  สง่ิ ใดแลว้ โปรดเรยี กรอ้ งเอาเถดิ  โยมจะจดั ถวาย” ทา้ วสกั กะปวารณา  ตอ่ ดาบส “ขอถวายพระพร การทม่ี หาบพติ รไดป้ วารณานนั้ เปน็ พระมหา-  กรณุ าอย่างหาทเ่ี ปรียบมิได”้  พระดาบสตอบ “โปรดบอกมาเถดิ พระคณุ เจา้  ตอ้ งการปจั จยั สง่ิ ใดโยมจะจดั   ถวาย” “ปจั จยั เคร่ืองขบฉันไม่สจู้ ะเดอื ดรอ้ น ขอถวายพระพร” “โยมได้ทราบว่าเวลานี้พระคุณเจ้าถึงกับฉันเปลือกไม้ใบไม้ แล้วมิใชห่ รือ” “ถกู แลว้ ถวายพระพร แตเ่ วลานเ้ี ปลอื กไมใ้ บไมย้ งั พอประทงั   ชวี ติ อย ู่ ถา้ มหาบพติ รจะโปรดประทานพรแลว้  อาตมาภาพมขี อ้ อนื่   30 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

ที่จะประสงค์ยงิ่ กว่า” “ออ๋  ไมเ่ ปน็ ไร พระคณุ เจา้  บอกโยมมาซพิ ระคณุ เจา้ ประสงค ์ สิง่ ใด เภสัชแกโ้ รคหรอื  หรือขดั ข้องด้วยเครื่องบริขารอย่างไร” “เภสัชก็ด ี บรขิ ารอื่นๆ ก็ดี อาตมาไม่ต้องการ มหาบพิตร” “ถา้ เช่นนั้นพระคุณเจ้าประสงค์สิง่ ใด” “มหาบพติ ร ประการแรกทสี่ ดุ  ขอใหอ้ าตมาอยา่ ไดพ้ บ อยา่   ไดเ้ หน็ คนพาล...” “อา้ ว...” ทา้ วสกั กะอทุ านดว้ ยความแปลกพระทยั  เพราะทรง  คาดคิดว่าพระดาบสคงจะขอเครื่องขบฉัน หรือไม่ก็ให้หาพาหนะ  อพยพไปยงั ถนิ่ อนื่  แตแ่ ลว้ ความคาดหมายของพระองคก์ ก็ ลายเปน็   อนื่ ไป จงึ ตรสั ถามซำ้� อกี วา่  “ไหน พระคณุ เจา้ วา่ อยา่ งไรนะ พระคณุ   เจา้ ต้องการอะไร” “ขอถวายพระพร ขออย่าให้อาตมาภาพอย่าได้พบได้เห็น  คนพาลเลย...” “แล้วอย่างไรอีก” ท้าวสกั กะตรสั ถาม “ขออยา่ ไดย้ นิ ไดฟ้ งั เรอ่ื งราวของคนพาลดว้ ย ขอถวายพระพร” “เท่าน้ีหรือ พระคณุ เจา้ ” “ขออย่าได้อยู่ร่วมกบั คนพาลอกี ” “แล้วอย่างไรอีก” “ขออย่าได้ แม้แต่จะท�ำงานเก่ียวข้องกับคนพาลเลยทีเดียว  ขอถวายพระพร” “แหม พระคุณเจ้าน่เี กลยี ดคนพาลเอามาก...” “มใิ ชแ่ ตเ่ ทา่ นน้ั  มหาบพติ ร ขออยา่ ใหจ้ ติ ใจของอาตมาหลงใหล  สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 31

๑มงคลขอ้ ที่ ไมค่ บคนพาล นยิ มชมชอบกบั คนพาลเปน็ อนั ขาด...” พระดาบสทูลในท่ีสุด “หมายความวา่  พระคณุ เจา้ ไมป่ ระสงคท์ จี่ ะเกยี่ วขอ้ งกบั คนพาล  อยา่ งเดด็ ขาด ไมว่ ่าในกรณีใดๆ” “ใช่แลว้ มหาบพิตร” “เอาละ โยมขอถามพระคณุ เจา้ สกั นดิ เถอะ คนพาลนะ่ ทำ� อะไร  ให้กับพระคุณเจา้ หรือ บอกโยมหนอ่ ยได้ไหม” “มหาบพติ ร ขออยา่ ใหอ้ าตมาไดเ้ ลา่ เรอื่ งทไ่ี ดผ้ า่ นมาแลว้ เลย  เมื่อเรอื่ งมันผ่านมาแลว้ ก็ให้มนั แลว้ ไป แต่อาตมาจะขอสรุปพฤติ-  การณ์ของคนพาล เพอ่ื ทรงทราบดังนค้ี อื ๑. คนพาลชกั นำ� ในทางผดิ ๒. คนพาลชอบทำ� ในสิ่งทีไ่ มใ่ ช่ธรุ ะ ๓. คนพาลเห็นผดิ เปน็ ชอบ ๔. คนพาลแมเ้ ราพดู ดกี ็โกรธ ๕. คนพาลไม่รู้จักระเบียบวนิ ยั คนพาลเปน็ อยา่ งนแี้ หละมหาบพติ ร อาตมาภาพจงึ ไมป่ รารถนา  จะพบ หรอื ไดย้ นิ ไดฟ้ งั ขา่ วคราววา่ มคี นพาลอยทู่ น่ี น่ั ทน่ี  ่ี มหาบพติ ร”  พระดาบสเนน้ ความประสงคข์ องตนในทีส่ ุด เมอื่ เราไดอ้ า่ นเรอื่ งนจี้ บลง เรากพ็ อทจี่ ะรวบรวมความหมาย  ของคำ� วา่  คนพาล แลว้ วา่ เปน็ อยา่ งไร มลี กั ษณะอยา่ งไร และคงจะ  ทำ� ใหท้ า่ นดาบสปน่ ปม้ี าแลว้ เมอ่ื คราวครองฆราวาส ซง่ึ แทนทจ่ี ะกลวั   อดตาย กลับกลัวจะต้องเผชิญกับคนพาล ด้วยเหตุน้ีเองท่านจึง  ตัง้ ขอ้ สงั เกตคนพาลไดอ้ ยา่ งเหมาะสม อกี ประการหนง่ึ ความหมายของคำ� วา่  พาละ คำ� นเี้ ปน็ คำ� บาลี  32 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

แปลวา่  เยาว ์ ออ่ น อยา่ งเชน่  พาลทารกะ เดก็ เยาว ์ ฉะนน้ั เมอื่ เอา  ความหมายของคำ� นม้ี าเปน็ ฉายาของคน เราเรยี กวา่ คนพาล หมายถงึ   คนมีก�ำลังน้อย หรือคนอ่อนแอ ตามทัศนะทางพุทธศาสนานั้น  เหน็ วา่ คนพาลคอื คนออ่ นแอ เปน็ คนประเภทมกี �ำลงั นอ้ ย ซงึ่ ถา้ จะ  เทียบกับความเข้าใจของชาวบ้านแล้วออกจะไม่ถูกต้องนัก ซ่ึง  ชาวบ้านเข้าใจว่าคนพาลคือคนแขง็ ทนี เี้ หตไุ รจงึ วา่ คนพาลเปน็ คนออ่ นแอ กอ่ นอน่ื เราจะตอ้ งเขา้ ใจ  เสยี กอ่ นวา่  ตามธรรมดาคนเรานนั้ มกี �ำลงั อยใู่ นตวั ดว้ ยกนั ทง้ั หมด  ๓ กอง คอื ๑. ก�ำลงั ความดี ๒. ก�ำลังความรู้ ๓. ก�ำลังกาย นแ่ี หละเปน็ กองกำ� ลงั ของคนเราละ ใครจะสามารถทจ่ี ะพฒั นา  ชวี ติ ของตนเองไดม้ ากนอ้ ยเพยี งไร กต็ อ้ งแลว้ แตจ่ ะมกี ำ� ลงั  ๓ กองน ้ี มากเพยี งไร และจะตอ้ งใชป้ ระกอบใหค้ รบ ไมใ่ หส้ กั แตว่ า่ จะมเี ฉยๆ  บางคนมไี มค่ รบ หรอื มแี ตใ่ ชไ้ มค่ รบ นยิ มใชแ้ ตก่ ำ� ลงั กายอยา่ งเดยี ว  เช่นเวลาเกิดขัดแย้งกับใคร แทนท่ีเราจะเอาชนะกันด้วยความรู ้ หาเหตผุ ลตามความเปน็ จรงิ เขา้ สกู้ นั  แตเ่ รากลบั ไมใ่ ช ้ ชอบใชก้ �ำลงั   เข้าสู้กันแต่อย่างเดียว พ่ึงแต่ก�ำลังกายอย่างเดียว คนประเภทน้ี เรยี กวา่ คนมกี ำ� ลงั นอ้ ย ในเมอื่ คนทว่ั ไปเขามกี �ำลงั  ๓ อยา่ ง แตเ่ รา  ใชเ้ พยี งอยา่ งเดยี ว ฉะนนั้ ตามหลกั ศาสนาจงึ ถอื วา่ ผนู้ เี้ ปน็ คนออ่ นแอ  ซง่ึ ความออ่ นแอนต้ี ามภาษาบาลเี รยี กวา่  พาโล หรอื พาละ ถกู ตอ้ ง  ทุกประการ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 33

๑มงคลข้อที่ ไม่คบคนพาล เม่ือเราจะสรุปคนพาลตามนัยของพระไตรปิฎก ในพาล  บัณฑิตสูตร ในอุปริปัณณาสก์ พระพุทธองค์ทรงแสดงลักษณะ  ของคนพาลแกพ่ ระภกิ ษุสงฆ์ว่า คนพาลมีลกั ษณะ ๓ คอื ๑. มคี วามคิดช่ัว ๒. พดู จาช่วั ๓. ชอบท�ำชัว่ เมื่อได้อธิบายลักษณะของคนพาลมาพอสมควรแล้ว คิดว่า  ทา่ นคงสามารถทจ่ี ะรโู้ ฉมหนา้ ของคนพาลแลว้ วา่ มลี กั ษณะอยา่ งไร  ตอ่ ไปนจ้ี ะอธบิ ายถงึ วา่ การคบ การคบ ในทางภาษาบาลที า่ นเรยี กวา่   เสวนา ชาวบ้านเรียกว่า ส้องเสพ คบหาสมาคม ทีน้ีการคบของ  คนเรากม็ อี ยู่ ๒ ขน้ั  คือ ใกลก้ ัน คบกนั คำ� วา่ ใกลก้ นั  หมายความวา่  เดนิ ใกลก้ นั  ยนื ใกลก้ นั  นงั่ ใกลก้ นั   นอนใกลก้ นั  อยา่ งเชน่ เราทำ� งานอยใู่ นทเ่ี ดยี วกนั  การเขา้ ใกลก้ นั นนั้   ไมใ่ ช่หมายความว่าจะคบกันเสมอไป คบกัน หมายถึงการร่วมจิตใจด้วย เห็นพร้อมกับเขา ผสม  กับเขา ตา่ งจากลกั ษณะทกี่ ลา่ ววา่ ใกลก้ นั  เพราะเมอ่ื ถงึ ตอนนแี้ ลว้ ก็  เปน็ อนั วา่ คบ คอื ถา่ ยทอดเอานสิ ยั ใจคอตลอดจนการกระท�ำของเขา  มาทเี ดยี ว ตามทัศนะของทางพระพุทธศาสนา ถือว่าคนพาลเป็น  บคุ คลทพ่ี งึ รงั เกยี จ ทหี่ า้ มโดยตรงกค็ อื การหา้ มคบ เพราะแมไ้ มร่ ว่ ม  กินร่วมอัธยาศัยก็ยังเป็นข้อเสียหายหลายอย่าง เช่น อาจถูก  คนพาลท�ำอันตราย รังแก ข่มเหง อาจถูกคนต�ำหนิติเตียน อาจ 34 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

พลาดพลง้ั คบคนพาลเขา้ จรงิ ๆ ทกุ อยา่ งทยี่ กมาลว้ นแตเ่ ปน็ สงิ่ ทไ่ี มเ่ ปน็ มงคลแกต่ วั ทง้ั สนิ้  ถงึ   แมว้ า่ เราจะเปน็ คนด ี แตล่ งไดค้ ลกุ คลกี บั คนพาลแลว้  ยอ่ มเปน็ ทหี่ วาด  ระแวงแกค่ นทงั้ หลาย จะอยา่ งไรกต็ าม บางครง้ั เราจำ� เปน็ จะตอ้ งอยใู่ กลก้ บั คนพาล  ซงึ่ ไมม่ ที างทจ่ี ะหลกี เลยี่ งได ้ เชน่ บดิ ามารดาเปน็ คนพาล บตุ รตอ้ ง  คอยปรนนบิ ตั ติ ามหนา้ ท ี่ หรอื สามภี รรยาเปน็ คนพาล อกี ฝา่ ยหนง่ึ   กจ็ ะตอ้ งเลยี้ งด ู แตก่ ารกระทำ� ดงั กลา่ วนไี้ มไ่ ดช้ อ่ื วา่ คบคนพาล หรอื   บางทพี ระสงฆก์ จ็ ะตอ้ งไปเทศนโ์ ปรดคนพาลกม็  ี คนควบคมุ นกั โทษ  ต้องคลกุ คลอี ยูก่ ับนกั โทษตลอดวัน ก็ไม่จดั ว่าเปน็ คนพาล ในขณะทเ่ี ราอยใู่ กลค้ นพาล จ�ำเปน็ จะตอ้ งคดิ ไวเ้ สมอวา่  เรา  อยใู่ กลส้ ง่ิ ทเี่ ปน็ อนั ตราย เหมอื นเรากำ� ลงั อยใู่ กลค้ นทเ่ี ปน็ โรคตดิ ตอ่   คนท่ีอยู่ใกล้คนพาลจะต้องระวังตัวแจ คือระวังความพาลของเขา  จะมาตดิ ตอ่ เอาเราเข้า ถ้าเผลอก็นับวา่ เปน็ กรรมของเรา คบพาล การคบคนพาลน้ันมีลักษณะที่จะพอแสดงให้เห็นเป็น ๓  ลกั ษณะคือ การรว่ ม ๑ การรับ ๑ และการให้ ๑ การรว่ มนนั้  หมายความวา่  ตกลงปลงใจรว่ มกนั  รว่ มการงาน  รว่ มกนิ  รว่ มนอน รว่ มสขุ  รว่ มทกุ ข ์ รว่ มเทยี่ วเตร ่ รว่ มพรรค รว่ ม  ความคิด กริ ยิ าอย่างนเี้ ป็นลักษณะของการคบ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 35

๑มงคลขอ้ ท่ี ไมค่ บคนพาล การรบั  หมายความวา่ รบั เปน็ นาย รบั เปน็ ลกู นอ้ ง รบั เปน็ ครู  รบั เปน็ ผวั  รบั เปน็ เมยี  รบั เปน็ ผอู้ ดุ หนนุ เชอื้ เชญิ  เหลา่ นเี้ ปน็ เครอ่ื ง  แสดงออกซง่ึ การคบเหมอื นกนั การให้ หมายถึงการให้ความสนับสนุนยกย่อง ให้ยศ ให ้ ต�ำแหน่งให้บ�ำเหน็จ ให้ค�ำชมเชย แม้แต่จะปรบมือให้ก็เข้าใน  ลักษณะคบท้ังสน้ิ การทพ่ี ระพทุ ธองคท์ รงแสดงมงคลขอ้ แรกวา่ อยา่ คบคนพาล  กห็ มายความวา่ อยา่ รว่ ม อยา่ รบั  อยา่ ใหแ้ กค่ นพาล เพราะเมอื่ เรา  ไปคบเขา้ แลว้  กจ็ ะถา่ ยเอาความเสยี มาสตู่ วั เรา และเปน็ อปั มงคล  คือไม่เป็นมงคลแก่เราเลย เพ่ือประกอบเรื่องให้ชัดในมงคลข้อนี้  จงึ จะขอยกเรอื่ งราวมาแสดงสกั  ๒-๓ เร่อื ง นทิ านกุมารโจรและเทวทตั เรอื่ งมอี ยวู่ า่  มชี ายหนมุ่ คนหนง่ึ เปน็ คนมนี สิ ยั เกกมะเหรกเกเร  บดิ าจะวา่ กลา่ วสง่ั สอนกไ็ มย่ อมฟงั  ในทสี่ ดุ กถ็ กู บดิ าขบั ไลอ่ อกจาก  บา้ นไป ชายหนมุ่ นนั้ กเ็ ทยี่ วซดั เซพเนจรไปคบหากบั พวกโจร พวกโจร  ไดพ้ ากนั ไปโจรกรรมในทตี่ า่ งๆ บางทกี่ ป็ ลน้ ฆา่ เจา้ ทรพั ยต์ าย ปลน้   วัวปล้นควายเอามาขาย แบ่งปันทรัพย์ท่ีได้ การกระท�ำน้ีได้ล่วงรู้  ไปถงึ พระมหากษตั รยิ  ์ พระองคจ์ งึ ตรสั สงั่ ใหเ้ สนาอำ� มาตยย์ กไพรพ่ ล  ทหารไปจบั พวกเหลา่ โจร รวมทงั้ ชายหนมุ่ นนั้ ดว้ ยเอามาประหารสน้ิ   ชายหนมุ่ คนนนั้ ตอ้ งตายลงอยา่ งนา่ อนาถ เพราะโทษทค่ี บกบั คนพาล  36 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

จงึ ถึงความพนิ าศในทสี่ ดุ อกี เรอ่ื งหนง่ึ กค็ อื เรอื่ งของพระเทวทตั กบั พระเจา้ อชาตศตั ร ู มี  เรอ่ื งดำ� เนนิ ความวา่  พระเทวทตั ซง่ึ เปน็ คเู่ วรคกู่ รรมกบั พระพทุ ธเจา้   ไดเ้ กดิ มารว่ มวงศศ์ ากยะกบั พระพทุ ธเจา้  และไดอ้ อกบวชพรอ้ มกบั   ศากยวงศอ์ นื่ ๆ เมอ่ื บวชแลว้ กเ็ จรญิ ฌานจนไดฌ้ านโลกยี  ์ สามารถ  ทจ่ี ะแสดงฤทธต์ิ า่ งๆ ได ้ พระเทวทตั มคี วามนอ้ ยพระทยั เปน็ อยา่ งมาก  ทบี่ รรดาพทุ ธบรษิ ทั เมอื่ มาสพู่ ระอารามแลว้ ตา่ งถามหาแตพ่ ระพทุ ธ-  เจา้  พระอคั รสาวกทงั้ สอง พระอนรุ ทุ  พระอานนท ์ ไมม่ ใี ครถามหา  พระเทวทตั เลย จงึ บงั เกดิ ความรษิ ยา มคี วามคดิ ทจ่ี ะหาอำ� นาจและ  ผู้อุปัฏฐาก ได้เล็งเห็นว่าพระเจ้าอชาตศัตรูราชกุมารของพระเจ้า  พิมพิสารเป็นกุมารยังเยาว์อยู่ เมื่อพระเทวทัตได้แสดงอิทธิฤทธิ์  แปลงตวั เปน็ กมุ ารนอ้ ยมอี สรพษิ พนั กาย ยงั ความเลอ่ื มใสแกพ่ ระ-  กุมารเป็นอย่างมาก พระกุมารได้ถวายตัวเป็นโยมอุปัฏฐากเลย  ท�ำให้ฐานะของพระเทวทัตดีขึ้นมาก แต่ต่อมาพระเทวทัตเกิดมี  ความคดิ รา้ ยตอ่ พระพทุ ธเจา้  โดยตนเองจะเปน็ พระพทุ ธเจา้ เสยี เอง  และได้ยยุ งใหพ้ ระเจ้าอชาตศัตรูปลงพระชนมพ์ ระบิดาเสยี “ทา่ นอาจารย ์ ขา้ พเจา้ นนั้ กม็ ฐี านะทจี่ ะไดร้ บั พระราชบลั ลงั ก ์ แทนเสดจ็ พ่ออยแู่ ลว้ ” พระเจ้าอชาตศตั รูแยง้ “มหาบพติ รไมร่ อู้ ะไร” พระเทวทตั แหย ่ “พระองคร์ หู้ รอื ไมว่ า่   เดี๋ยวนี้คนเราไม่แน่นอน บางทีลูกตายก่อนพ่อก็มีมาก ขอมหา-  บพติ รเช่ือหม่อมฉนั เถดิ ” เมอื่ โดนไมน้ เี้ ขา้  พระกมุ ารซงึ่ ยงั ออ่ นตอ่ ความคดิ กค็ ลอ้ ยตาม  ดงั นนั้  ในวนั หนง่ึ พระกมุ ารจงึ ไดเ้ หนบ็ กรชิ เขา้ มาในวงั  แตเ่ นอ่ื งจาก  สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 37

๑มงคลข้อที่ ไมค่ บคนพาล ไมเ่ คยทำ� ความผดิ มากอ่ น ฉะนนั้ การทำ� จงึ สอ่ พริ ธุ และถกู อำ� มาตย์  จบั ได ้ พระเจา้ พมิ พสิ ารเมอ่ื ไดท้ ราบวา่ อ�ำมาตยจ์ บั พระกมุ ารได ้ จงึ   ไดส้ อบถามวา่ “การที่ลูกของพ่อเหน็บกริชเข้ามาในวังน้ี มีความประสงค ์ อย่างไร” “หม่อมฉันตอ้ งการราชสมบัตพิ ระเจา้ ขา้ ” พระกมุ ารตอบ “เมอ่ื ลกู ต้องการอย่างนั้นก็จะเป็นไร เอาเถอะพ่อยกให”้ แลว้ พระเจา้ พิมพิสารก็ไดส้ ถาปนาพระเจ้าอชาตศัตรูให้เป็น  พระราชาแหง่ มคธตอ่ ไป เมอื่ แผนของตนไดร้ บั ความสำ� เรจ็  พระเจา้   อชาตศตั รจู งึ ไดแ้ จง้ แกพ่ ระเทวทตั  วา่ บดั นต้ี นไดร้ บั มอบราชสมบตั ิ แลว้ “มหาบพิตร การท�ำอย่างน้ีจะได้ช่ือว่าส�ำเร็จก็หาไม่” พระ  เทวทตั กลา่ วขน้ึ เมอ่ื ไดร้ บั รายงานจากพระกมุ าร “การกระทำ� อยา่ งนี้  เปรียบเหมือนพระองค์ขังสุนัขไว้ในกลอง เมื่อสุนัขมันหิวข้ึนมา  มันก็จะกัดหนังกลองกินฉันใด ราชสมบัติที่บิดายกให้ท่านโกรธ  ข้ึนมาเมื่อไร ท่านก็จะเอาคืนไปเมื่อน้ัน อาตมาคิดว่า ฆ่าเสียให ้ ตายนนั่ แหละ สมบัตจิ ึงจะเป็นสิทธ์ิแกม่ หาบพิตรโดยแท”้ “อะไรท่านอาจารย์” พระเจ้าอชาตศัตรูอุทาน “ข้าพเจ้าไม ่ สามารถทีจ่ ะประหารพระราชบดิ าดว้ ยศาสตราไดห้ รอก” “มหาบพิตรไม่ต้องท�ำถึงอย่างนั้นหรอก เพียงแต่พระองค์  จับพระราชบิดากักขังให้อดพระกระยาหาร ในไม่ช้าก็จะต้องตาย  ไปเอง” พระเทวทัตแนะ พระเจ้าอชาตศตั รกู ็เหน็ ด้วยกับความคิดของพระเทวทัต จึง  38 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

ตรสั สง่ั ใหจ้ บั บดิ าไปขงั ไวใ้ นเรอื นจำ�  สง่ั ไมใ่ หใ้ ครเขา้ เยย่ี มนอกจาก  พระราชมารดา พระนางเวเทหิ ซึ่งเป็นพระมเหสีมีความกตัญญูต่อพระราช  สวามยี งิ่  จงึ ได้จดั อาหารใส่ขนั ทองคลุมดว้ ยผ้าหม่ นอนซอ่ นเขา้ ไป  ถวายพระสวาม ี พระเจา้ พมิ พสิ ารกอ็ าศยั อาหารนน้ั ยงั พระชนมอ์ ย ู่ ตอ่ มาเมอื่ พระเจา้ อชาตศตั รจู บั ได ้ กห็ า้ มไมใ่ หพ้ ระมารดาหม่ ผา้ คลมุ   เขา้ ไป พระนางกเ็ อาอาหารซอ่ นไปในฉลองพระบาทเขา้ ไปถวายแก่  พระราชสวาม ี พระเจา้ อชาตศตั รทู ราบเขา้ กส็ งั่ หา้ มไมใ่ หพ้ ระมารดา  ใสฉ่ ลองพระบาทเขา้ ไปเยยี่ ม พระนางกใ็ ชอ้ าหารมาเคลา้ ขยำ� บดทา  พระกายของนาง คลมุ พระกายดว้ ยผา้ เขา้ ไปเยยี่ ม และใหพ้ ระเจา้   พิมพิสารเลียอาหารตามร่างกายนั้น พระเจ้าพิมพิสารก็อยู่ได้  ตอ่ มาเมอื่ พระเจา้ อชาตศตั รทู ราบความจงึ สง่ั หา้ มเยยี่ มโดยเดด็ ขาด  พระราชมารดาถึงกับเศร้าโศกพระทัยอยู่ในเคราะห์กรรมของ  พระสวามี คร�่ำครวญดว้ ยนำ�้ เสยี งละห้อยแตภ่ ายนอกว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นราชสวามี ตั้งแต่บัดนี้ไปเบ้ืองหน้า  หมอ่ มฉนั จะไมไ่ ดเ้ หน็ พระองคส์ บื ไป นบั แตจ่ ะไกลกนั ไมม่ กี ำ� หนด  ราวกับว่าพระจันทร์ดับลับบรรพตเหลี่ยมพระสุเมรุ โทษานุโทษ  อันใดทขี่ า้ พเจา้ ทำ� ผดิ มาแตก่ อ่ นดว้ ยกาย วาจา ใจ ขอพระองคท์ รง  ใหอ้ ภยั แกห่ มอ่ มฉนั ในวันนี้ ถึงพระองค์จะทรงส้ินพระชนม์ เกล้า  กระหมอ่ มฉนั กม็ ไิ ดเ้ หน็ พระองคอ์ กี แลว้  ขอทลู กระหมอ่ มแกว้  จงให้  อภยั โทษแกเ่ กลา้ กระหมอ่ มผูเ้ ปน็ อัครชายาในกาลบดั น”้ี เมอื่ พระเจา้ พมิ พสิ ารไมไ่ ดเ้ สวยพระกระยาหารเลย แตอ่ าศยั   ทว่ี า่ พระองคท์ รงเปน็ พระอรยิ บคุ คลชนั้ ตน้ คอื พระโสดาบนั  พระองค์  สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 39

๑มงคลข้อท่ี ไมค่ บคนพาล กอ็ าศยั การเดนิ จงกรม มพี ระพทุ ธคณุ เปน็ อารมณ ์ ยงั ปตี ใิ หบ้ งั เกดิ   ขนึ้  ทำ� ใหร้ า่ งกายและวรรณะของพระองคน์ นั้ ผอ่ งใส มปี ตี หิ ลอ่ เลยี้ ง  พระชนมชพี อย่โู ดยมิตอ้ งเสวยอะไรเลย พระเจา้ อชาตศตั ร ู หลงั จากทไ่ี ดส้ ง่ั หา้ มไมใ่ หพ้ ระราชมารดา  เข้าเยี่ยมพระเจ้าพิมพิสารแล้ว ก็คอยฟังข่าวการสิ้นพระชนม์ของ  พระราชบดิ าอย ู่ เมอื่ ทรงทราบวา่  พระราชบดิ ามไิ ดท้ รงสน้ิ พระชนม์  เพราะอาศยั การเดนิ จงกรม มปี ตี หิ ลอ่ เลยี้ งพระชนมช์ พี อย ู่ จงึ สงั่ ให้  ชา่ งกลั บกเอามดี โกนกรดี ฝา่ พระบาททงั้ สองขา้ งแลว้ ทาดว้ ยนำ�้ เกลอื   พระเจ้าพิมพิสารได้เสวยทุกขเวทนากล้า ไม่สามารถจะทรงพระ  ชนมายุอยูไ่ ด้ ในทส่ี ดุ ก็ทรงส้นิ พระชนม์ ในวันเดยี วกันน้ันเอง ไดเ้ กิดมเี หตุ ๒ อย่างพร้อมกนั  กลา่ ว  คอื ในขณะทพี่ ระเจา้ พมิ พสิ ารไดส้ วรรคตลง พระมเหสขี องพระเจา้   อชาตศตั รไู ดป้ ระสตู พิ ระราชโอรส เมอื่ มเี หตเุ กดิ ขน้ึ อยา่ งน ้ี อำ� มาตย์  จงึ ปรกึ ษากนั วา่  เราจะควรกราบทลู เรอื่ งอะไรกอ่ น ในทส่ี ดุ กล็ งมต ิ กนั วา่  ควรทจ่ี ะกราบทลู เรอ่ื งการประสตู พิ ระราชโอรสกอ่ น เพราะ  เป็นเร่ืองมงคล เมอื่ ไดป้ รกึ ษากนั ตกลงแลว้ กค็ อยอยู่ พอพระเจา้ อชาตศตั รเู สดจ็ มา อ�ำมาตยผ์ หู้ นง่ึ กก็ ราบทลู เรอื่ ง  การประสตู พิ ระราชโอรส เมอื่ พระเจา้ อชาตศตั รไู ดท้ รงสดบั  กบ็ งั เกดิ   ความปตี ิโสมนัสอย่างแรงกล้า ถึงกบั ร�ำพึงในพระทัยของพระองค์  เองว่า “อา...นี่พระบิดาของเรานั้นจะมีความรู้สึกเหมือนกับท่ีเราน ี้ รสู้ กึ ปตี ขิ ณะนห้ี รอื ไม ่ พระบดิ าของเรากค็ งจะรกั เราเหมอื นอยา่ งทเ่ี รา  มคี วามรสู้ กึ อยขู่ ณะน ้ี แลว้ ปา่ นนพี้ ระบดิ าของเราจะเปน็ อยา่ งไรบา้ ง  40 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

ก็ไม่ร้”ู เมือ่ ทรงรำ� พึงในพระทยั เช่นนัน้ แล้วกท็ รงรับส่ังถามว่า “นอ่ี ำ� มาตย ์ แลว้ พระราชบดิ าของขา้ ยงั มพี ระชนมช์ พี สบายดี  อย่หู รอื ” “หามไิ ด ้ พระอาญามพิ น้ เกลา้  บดั นพี้ ระเจา้ พมิ พสิ ารพระบดิ า  ไดส้ ิน้ พระชนมเ์ สียแลว้ พระเจา้ ข้า” “หา เจา้ วา่ อยา่ งไรนะ พระบดิ าขา้ สนิ้ พระชนมแ์ ลว้ กระนนั้ หรอื ”  ตรสั ถาม “พะย่ะค่ะ” พระเจา้ อชาตศตั รไู ดท้ รงสดบั เรอื่ งราว กม็ คี วามโทมนสั พระทยั   ยงิ่ นกั  ยงิ่ เมอื่ ไดท้ ราบขา่ วถงึ ความรกั ของพระบดิ าทม่ี ตี อ่ ตนเมอื่ ยงั   เยาวว์ ยั  กย็ ง่ิ มคี วามโทมนสั เปน็ ทวคี ณู  ทรงวปิ โยคโศกเศรา้ ทไ่ี ดท้ รง  พลัดพรากจากพระราชบิดา ถึงกับเสวยมิได้ บรรทมก็ไม่หลับ  พระกายผา่ ยผอมลง นายแพทยโ์ กมารภจั จจ์ งึ ไดท้ ลู แนะนำ� ใหไ้ ปเฝา้   พระผมู้ พี ระภาคเจา้  แลว้ พระพทุ ธเจา้ กไ็ ดเ้ ทศนา สามญั ญผลสตู ร  ใหฟ้ งั  ยงั ความเลอื่ มใสในพระรตั นตรยั  มพี ระทยั เบกิ บาน เสอ่ื มสน้ิ   จากความเศร้าโศก ตงั้ แตบ่ ดั นน้ั มา พระเจา้ อชาตศตั รกู ส็ นิ้ ความเลอื่ มใสในพระ  เทวทตั  ไมไ่ ปมาหาส่แู ละคอยอุปัฏฐากเหมือนอย่างเคย พระเทวทตั  เมอื่ สนิ้ ความอปุ ถมั ภเ์ สอ่ื มจากลาภสกั การะจงึ เขา้   ไปเฝา้ พระพทุ ธเจา้  ทลู ขอทจี่ ะปกครองสงฆ ์ และพรอ้ มกนั นน้ั กท็ ลู   ขอใหพ้ ระองค์บัญญตั ิวตั ถ ุ ๕ ประการแก่สงฆ์ คือ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 41

๑มงคลขอ้ ท่ี ไมค่ บคนพาล ๑. พึงเป็นผู้อยู่ป่าเป็นวัตร ผูใ้ ดเข้าบา้ นตอ้ งอาบัติ ๒. พงึ เทย่ี วบิณฑบาตเปน็ วัตร ๓. พงึ ถอื ผ้าบงั สุกลุ เป็นวัตร ๔. พึงอยโู่ คนไมเ้ ป็นวัตร ๕. หา้ มฉนั ปลาและเนอ้ื พระพทุ ธองคท์ รงเหน็ วา่  บญั ญตั ทิ พ่ี ระเทวทตั ขอนน้ั เปน็ การ  ตงึ จนเกนิ พอด ี จงึ ไมท่ รงประทานอนญุ าตให ้ และพระเทวทตั กไ็ ด้  ท�ำร้ายพระพุทธเจ้าด้วยวิธีการต่างๆ ต้ังแต่ให้นายขมังธนูยิง ให ้ ชา้ งซบั มนั ไลแ่ ทง และในทสี่ ดุ กก็ ลง้ิ หนิ บนยอดเขาคชิ กฏู ลงมาทบั   แตท่ �ำไดเ้ พียงยังพระโลหติ ของพระพุทธเจา้ ให้ห้อเทา่ นนั้ ในทสี่ ดุ พระเทวทตั กค็ ดิ การใหญ ่ ยยุ งพระสงฆท์ บ่ี วชใหมย่ งั ไมร่  ู้ พระธรรมวนิ ยั แยกพวกออกไป พระพทุ ธเจา้ จงึ ไดร้ บั สง่ั ใหพ้ ระโมค- คลั ลานะและพระสารบี ตุ ร อคั รสาวกทง้ั สอง ไปนำ� พระสงฆก์ ลบั คนื   มาได ้ พระเทวทตั ซง่ึ ตอ่ มากไ็ ดล้ ม้ ปว่ ยลง เมอ่ื เหน็ อาการจะไปไมร่ อด  กส็ ำ� นกึ ในความผดิ ของตนทไ่ี ดก้ ระทำ� มา จงึ ขอรอ้ งใหศ้ ษิ ยข์ องตน  ใหห้ ามไปทก่ี รงุ สาวตั ถเี พอื่ ทำ� การขอขมากรรม เมอื่ ลกู ศษิ ยไ์ ดห้ าม  พระเทวทตั มาถงึ สระโบกขรณ ี ใกลพ้ ระเชตวนั  พระเทวทตั กใ็ หว้ าง  เตยี งลงเพอ่ื จะสรงน�ำ้ พอพระเทวทตั หยอ่ นเทา้ ถงึ พนื้  แผน่ ดนิ ไมส่ ามารถจะทนทาน  ความบาปของพระเทวทัตได้จึงสูบลงไป พระเทวทัตได้ยกสองมือ  ขน้ึ ถวายบงั คมพระศาสดาบชู าดว้ ยกระดกู คางทง้ั สอง แลว้ แผน่ ดนิ   กส็ บู ลงไปสอู่ เวจมี หานรก ไดเ้ สวยทกุ ขเวทนาอยา่ งแสนสาหสั  เทา้   ท้ังสองจมลงไปในพ้ืนเหล็กเพียงข้อเท้า มือทั้งสองจมลงไปเสมอ  42 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

ขอ้ มอื  ศรี ษะนน้ั จมลงไปในเหลก็ แดงถงึ ขอบหบู น มหี ลาวเหลก็ โต  เท่าล�ำตาลท่ิมแทงกายอยู่ตลอดเวลา ทั้งมีเปลวไฟลุกโชติช่วงท้ัง  สี่ทิศ คือ ดา้ นข้างทั้งสอง เบ้ืองบน เบ้ืองล่าง กายของพระเทวทัต  เหมอื นดงั เหลก็ แดงทถี่ กู ไฟเผา ฉะนนั้  ไดร้ บั ทกุ ขเวทนาอยใู่ นอเวจี มหานรกนั้น แตพ่ ระเทวทตั จะพน้ ทกุ ขก์ เ็ มอื่ สน้ิ ภทั รกปั ปน์  ี้ คอื หมายความวา่   จะตอ้ งสนิ้ พระศาสนาของพระศรอี ารยิ แ์ ลว้  นนั่ แหละจงึ จะพน้  และ  ก็จะได้มาตรัสรู้เป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า เพราะผลท่ีได้บวชใน  พระพุทธศาสนานี้ ส่วนพระเจ้าอชาตศัตรูน้ันได้รับผลกรรมช่ัวใน  ชาติน้ี คือไม่สามารถที่จะบรรลุเป็นพระอริยบุคคลได้ แต่พระเจ้า  อชาตศตั รไู ดส้ ำ� นกึ ผดิ รซู้ งึ่ บาปบญุ คณุ โทษ และทลู ขออจั จโยโทษแก ่ พระพุทธเจ้า พระองค์ก็ทรงอภัยให้ด้วยพระกรุณา โทษที่พระเจ้า  อชาตศตั รฆู า่ พระบดิ าจงึ เสวยเพยี งโลหกมุ ภนี รก ซง่ึ เปน็ เพยี งบรวิ าร  ของอเวจมี หานรกเทา่ นน้ั  เมอื่ พ้นจากโทษนั้นแลว้ กจ็ ะได้มาตรสั ร้ ู เปน็ พระปจั เจกพทุ ธเจา้  เพราะผลทไ่ี ดอ้ ปุ ถมั ภก์ ารสงั คายนา และ  กอ่ สถูปบรรจุพระบรมธาตุไว้ เมอ่ื ไดอ้ า่ นเรอ่ื งนทิ านกมุ ารโจร และเรอ่ื งของพระเทวทตั มา  แล้ว ก็คงจะเห็นได้แล้วว่า การที่เราคบกับคนพาลนั้น ย่อมเสีย  ผลประโยชนท์ ง้ั ในชาตนิ แี้ ละชาตหิ นา้  ฉะนน้ั การคบคนจงึ เปน็ เรอื่ ง  สำ� คญั  เพราะมันจะท�ำให้เราได้รับความพินาศในที่สุด พระพุทธ-  องคจ์ งึ ตรัสถงึ การเว้นจากการคบคนพาลเป็นขอ้ ตน้ ข้อส�ำคญั บางคนอาจจะคดิ วา่  คนพาลนั้นมีประโยชน์ในการ  แผอ่ ำ� นาจ จงึ แสดงความยง่ิ ใหญด่ ว้ ยการชบุ เลยี้ งคนพาลไวเ้ ปน็ พวก  สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 43

๑มงคลขอ้ ที่ ไมค่ บคนพาล พยายามทจี่ ะฝนื พทุ ธวจนะซง่ึ เปน็ สจั ธรรมความจรงิ มอี ยวู่ า่  ความ  รุ่งโรจน์ที่ได้จากคนพาลนั้น เป็นความรุ่งโรจน์ท่ีแฝงไปด้วยความ  หายนะ อยา่ งเชน่ เดยี วกบั ไฟทล่ี กุ ไหมบ้ า้ นเรอื น มนั จะสวา่ งไสวไป  ทั่วบริเวณ แต่แสงสว่างท่ีเกิดจากเปลวไฟไหม้บ้านเรานั้น ไม่ม ี คนฉลาดคนไหนหลงยินดี เพราะมันเป็นแสงสว่างท่ีแฝงไว้ด้วย  ความหายนะของเราเอง มนั เปน็ แสงสวา่ งเพยี งชว่ั ครทู่ จ่ี ะนำ� ความ  มดื มนมาสชู่ ่ัวกาลนาน 44 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

๒มงคล ขอ้ ท่ี ปณฑติ านญจฺ เสวนา (คบบัณฑติ ) ตามธรรมดาเม่ือเรารู้จักช�ำระร่างกายให้สะอาดแล้วยังไม ่ พอ จะตอ้ งแสวงหาสง่ิ ทม่ี าประดบั ตกแตง่  และอบตวั ใหเ้ กดิ ความ  งดงามหรือมีกล่ินหอมอีกด้วย เรื่องนี้ก็เหมือนกัน การที่เราเว้น  จากการไมค่ บคนชวั่ แลว้  ยงั ไมไ่ ดช้ อื่ วา่ จะเปน็ คนดไี ด ้ เหมอื นคนท่ี  ชำ� ระรา่ งกายแลว้ จะยงั ไดช้ อ่ื วา่  เปน็ ผทู้ ส่ี วยงามกย็ งั ไมถ่ กู ตอ้ งนกั ลักษณะค�ำสอนในมงคลข้อท่ี ๒ น้ีแตกต่างจากข้อท่ี ๑ คือ  มงคลขอ้ ท ่ี ๑ เปน็ คำ� สอนทท่ี วนกระแส เพราะวา่ คนเรานนั้ ยอ่ มมี  การคบหาสมาคมกนั  ทนี เ้ี มอื่ มาหา้ มเสยี แลว้ กเ็ ปน็ การฝนื หลกั การ  ไป พระพทุ ธองคท์ รงเหน็ ความส�ำคญั ของคน เพราะวา่ สงิ่ แวดลอ้ ม  สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 45

๒มงคลขอ้ ที่ คบบัณฑิต ต่างๆ นั้นก็เกิดมาจากคนเป็นส่วนใหญ่ ดังนั้นจึงได้ทรงชี้ให้เห็น  สิ่งที่สามารถจะเห็นได้ชัดมาแสดง ปัญหาส�ำคัญของทางพัฒนา  ชวี ติ ขอ้ น ้ี คอื ลกั ษณะของบณั ฑติ  เพราะทา่ นสอนใหเ้ ราคบบณั ฑติ   ฉะนั้นเราจึงจะต้องรู้เสียก่อนว่า บัณฑิตมีลักษณะอย่างไรเราจึง  จะคบหาถูก เหมือนว่าเราจะไปหาใครสักคนหนึ่ง เราจะต้องรู้จัก  ลักษณะ ชื่อ ที่อยู่ แล้วจึงจะหาได้ถูก ถ้าไม่อย่างน้ันต่อให้อยู่ตรง  หนา้ เราก็หาไมถ่ ูก ลกั ษณะอยา่ งไรเรียกวา่ บัณฑติ ลกั ษณะคนทพี่ ระพทุ ธองคท์ รงใหค้ บนน้ั ทรงเรยี กวา่  บณั ฑติ   ช่ือน้ีเป็นคุณลักษณะท่ีบอกถึงคุณความดีของคนๆ นั้น ก่อนอ่ืน  เราจะต้องท�ำความเข้าใจเสียก่อนว่า บัณฑิต น้ันหมายความว่า  อยา่ งไร เพราะความหมายของทางโลกกับทางธรรมนั้น ดูเหมือนจะ  ใหค้ วามหมายเหลอ่ื มลำ้� กนั อย ู่ ความจรงิ คำ� วา่  “บณั ฑติ ” เมอ่ื แปล  แล้วจะได้ความหมายว่า ดวงปัญญาท่ีฉลาดรอบรู้เหมือนกัน แต่  เวลาตคี วามหมายแล้วจะไม่ตรงกันนกั  ชาวบา้ นถือกันว่า บัณฑติ   คือคนมีความรู้ ซ่ึงต่อมาก็ได้ถือเอาเป็นดีกรีประกาศคุณความรู ้ ของผนู้ น้ั  เชน่  ผสู้ อบในทางกฎหมายเรากเ็ รยี ก เนตบิ ณั ฑติ  ผสู้ อบ  ทางแพทยเ์ รากเ็ รยี ก แพทยศาสตรบณั ฑติ  รฐั ศาสตรบณั ฑติ  นเ่ี ปน็   ตัวอย่าง หรือในวงการศึกษาของคณะสงฆ์ปัจจุบัน อย่างท่ีมหา  46 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

จุฬาลงกรณ์ วิทยาลัยสงฆ์ วัดมหาธาตุฯ ผู้จบหลักสูตรเรียกว่า  พทุ ธศาสตรบ์ ณั ฑติ  ทม่ี หามกฏุ ฯ กเ็ รยี ก ศาสนศาสตรบ์ ณั ฑติ  คอื   เอาคำ� วา่ บณั ฑติ นมี้ าวดั ความรกู้ นั  หมายความวา่ ใครมคี วามรมู้ าก  กเ็ รียกว่า บณั ฑติ  น่ีเปน็ ความหมายของทางโลก แตค่ วามหมายในทางธรรมนน้ั  คำ� วา่  บณั ฑติ  นนั้ ไมใ่ ชห่ มาย  เอาความรเู้ ปน็ เกณฑใ์ นการตดั สนิ ความเปน็ บณั ฑติ แตอ่ าศยั อาการ  ท่ีใช้ความรู้มาตัดสิน เม่ือจะแปลเอาใจความแล้ว ก็จะได้ความว่า  “ผทู้ ด่ี ำ� เนนิ ชวี ติ ดว้ ยความร”ู้  ขอเปรยี บเทยี บใหเ้ หน็ ชดั อกี สกั หนอ่ ย  คอื  บณั ฑติ  ทางโลกหมายถงึ คนทม่ี คี วามร ู้ สว่ นในทางธรรมนน้ั   หมายถงึ ผทู้ ใี่ ชค้ วามรนู้ น้ั ใหเ้ ปน็ ประโยชน์ โดยความหมายนถ้ี งึ แม ้ วา่ ผนู้ นั้ จะมคี วามรทู้ างศาสนาจบพระไตรปฎิ ก แตถ่ า้ ไมส่ ามารถท ่ี จะปฏบิ ตั ติ ามความรนู้ นั้ ได ้ หาไดช้ อ่ื วา่ เปน็ บณั ฑติ ไม ่ ยกตวั อยา่ ง  เช่น คนตาบอดกับคนตาดี คนตาดีนั้นหมายถึงคนที่มีนัยน์ตา  ครบสองขา้ งอยใู่ นสภาพด ี นใ่ี นความรสู้ กึ ของชาวบา้ น ถอื วา่ คนมี  นัยน์ตาสว่าง แต่ความจริงแล้ว ถ้าคนตาดีน้ันลองหลับตาเดิน ก็  จะมสี ภาพไมผ่ ดิ อะไรกบั คนตาบอด ฉะนนั้ คนทมี่ นี ยั นต์ าดนี นั้ ตอ้ ง  หมายถึงตอ้ งลืมตาดว้ ย ไม่ใช่สกั แตว่ ่ามีตาเทา่ นั้น รอู้ ยา่ งไรจึงได้ชอื่ ว่าเป็นบณั ฑิต เพราะวา่ ความรใู้ นโลกนมี้ มี าก ฉะนน้ั จงึ ยากทจี่ ะตดั สนิ ลงไป  ไดว้ า่ จะมคี วามรอู้ ยา่ งไรทา่ นจงึ เรยี กวา่  บณั ฑติ  เรอ่ื งนพี้ ระพทุ ธเจา้   สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 47

๒มงคลขอ้ ที่ คบบัณฑิต ของเราไดต้ รสั ไวอ้ ยา่ งชดั เจน ในทนี่ จี้ ะถอดเอาเฉพาะใจความ ไม ่ แปลตามตวั อกั ษรนกั  เพราะถา้ จะแปลตามตวั อกั ษรแลว้ กจ็ ะกลาย  เป็นหนังสือของชาววัดไป เพราะไม่มีความประสงค์จะให้เป็นเช่น  นัน้ ลักษณะความรู้ที่จะท�ำให้คนเป็นบัณฑิตน้ัน พระพุทธเจ้า  ได้ทรงแสดงว่า “คนที่ฉลาดรู้ประโยชน์ชาติน้ี ประโยชน์ชาติหน้า  และประโยชนอ์ ยา่ งสงู สดุ  เรยี กวา่ บณั ฑติ ” ถา้ เราจะสรปุ เอาสาระ  ใจความกจ็ ะไดด้ ังน้ี คือ • รูจ้ กั ผิดชอบ • รูจ้ ักบาปบุญ • รู้จักประโยชน์และไม่ใชป่ ระโยชน์ ลกั ษณะความรดู้ งั กลา่ วน ้ี ในทางศาสนาเรยี กวา่  ปญั ญา ซงึ่   แปลความวา่  รรู้ อบหรอื รทู้ ว่ั  ฉะนนั้ คนทเี่ ปน็ บณั ฑติ จะตอ้ งเปน็ คน  มีปัญญา มีความรู้จักผิดชอบช่ัวดี ถึงจะมีความรู้อย่างอื่นมากสัก  เพียงใด แตถ่ า้ ขาดความรจู้ กั ผิดชอบช่วั ดแี ล้ว กเ็ ปน็ บณั ฑติ ไม่ได้ ลักษณะของบณั ฑิต ถ้าพูดถึงเรื่องลักษณะของบัณฑิตทางโลกนั้น เราจะดู  ลักษณะได้ไม่ยาก เพราะว่าเม่ือเราเข้าไปในบ้านของเขา เราก็จะ  สามารถทจ่ี ะเหน็ ได ้ โดยถา้ เขาเปน็ บณั ฑติ กจ็ ะมใี บประกาศความ  เปน็ บณั ฑติ ใหเ้ รารไู้ ด ้ แตบ่ ณั ฑติ ทางธรรมไมม่ ใี บรบั รอง ไมม่ บี ตั ร  48 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

แสดง จะดทู ไี่ หนกร็ ไู้ มไ่ ดว้ า่ เปน็ บณั ฑติ  นอกจากดทู ตี่ วั ผนู้ นั้  แตน่ น่ั   กไ็ มไ่ ดห้ มายความวา่ เราจะดทู ห่ี นา้ ของเขาหรอื วา่ ดทู เี่ ครอ่ื งแตง่ ตวั   น่ันไม่ใช่ทางท่ีเราจะสามารถจะทราบได้ แต่ส่ิงที่เราจะสามารถ  ทราบได้กค็ ือ ดคู วามประพฤติหรอื พฤติการณท์ ี่เขาแสดงออกมา ในพาลบณั ฑติ สตู ร พระพทุ ธเจา้ ไดแ้ สดงลกั ษณะของบณั ฑติ   ไว้ ๓ อย่าง คือ • มีปกติทำ� ดี • มปี กตพิ ดู ดี • มปี กติคดิ ดี คำ� วา่ ปกตนิ นั้ หมายเอาถงึ พน้ื เพของจติ ใจ คอื โดยทว่ั ๆ ไปแลว้   เขาท�ำอย่างน้ัน ไม่ใช่เวลาน้ีท�ำไปอย่างอีกเวลาท�ำไปอย่าง เช่น  ปกตทิ ำ� ดกี ต็ อ้ งทำ� ดเี ปน็ ปกต ิ ไมใ่ ชท่ ำ� พอเอาหนา้  กลวั ถกู ฟอ้ งรอ้ ง  ก็ท�ำดีที หรือคนที่มีปกติพูดดี คือพูดจาสุภาพเรียบร้อยซ่ือสัตย ์ เป็นปกติ มีพื้นเพนิสยั ใจคอเป็นอยา่ งน้ันจริงๆ ไม่ว่าจะพูดกบั ใคร  เมื่อไร ท่ีไหน ไม่ใช่ต่อหน้าคนรักพูดจาอ่อนหวาน แต่กับผู้อื่นพูด  หยาบคาย หรอื ปกตคิ ดิ ดกี เ็ หมอื นกนั  ถงึ แมว้ า่ จะตกอยใู่ นฐานะใด  กต็ าม จะตอ้ งคดิ ในทางดอี ยเู่ สมอ เรอ่ื งนเ้ี ปน็ เรอื่ งทเ่ี ราจะตอ้ งดกู นั   นานหนอ่ ย แตท่ ง้ั นไี้ มไ่ ดห้ มายความวา่ จะตอ้ งดตี ลอดกาล เพราะ  คนเรานนั้ เปน็ ปถุ ชุ น ฉะนนั้ จงึ ตอ้ งมบี างครง้ั ยอ่ มพลง้ั พลาดบา้ ง แต่  สว่ นใหญแ่ ลว้  เป็นคนดกี แ็ ลว้ กัน อาการคบหากับบัณฑิต ก็เป็นเช่นเดียวกับท่ีได้แสดงเร่ือง  คบหากบั คนพาล ทไี่ ดแ้ สดงแลว้ ในทางพฒั นาขอ้ แรก สว่ นการทเ่ี รา  จะเอาอะไรมาเป็นเครื่องวัดของการพูด การท�ำ การคิดนั้น ว่า  สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook