Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มงคล 38 ประการ

มงคล 38 ประการ

Published by Sarapee District Public Library, 2020-11-16 13:34:34

Description: มงคล 38 ประการ

Keywords: มงคล 38 ประการ,ธรรมะ

Search

Read the Text Version

๒มงคลข้อท่ี คบบัณฑติ อย่างไหนดี อย่างไหนไม่ดีน้ัน เราก็ต้องอาศัยเร่ืองของศีลธรรม  ถ้ามีการกระท�ำเพ่ือเป็นไปในทางเบียดเบียนตนและผู้อื่นให้ได้รับ  ความเดอื ดรอ้ นแลว้  กจ็ ดั วา่ ไมด่  ี การคบบณั ฑติ นนั้  ไดร้ บั ประโยชน ์ ทงั้ ชาติน้แี ละชาติหนา้  รวมทัง้ ประโยชน์อยา่ งย่งิ คอื  พระนิพพาน นิทานเรอื่ งลูกนกแขกเตา้ ในอดตี กาลนานมาแลว้  ยงั มนี กแขกเตา้ สองพนี่ อ้ งอาศยั อยใู่ น  รงั ของปา่ ไมง้ วิ้  และทเี่ หนอื ลมขนึ้ ไปเปน็ หมบู่ า้ นของพวกโจร ๕๐๐  ทางข้างใต้ลมเป็นท่ีตั้งอาศรมของพวกฤๅษี ๕๐๐ ลูกนกท้ังสองนี้  ยังมีปีกอ่อนอยู่ ไม่สามารถท่ีจะบินไปท่ีไหนตามความปรารถนา  ได้ ดังนั้นเม่ือเกิดพายุใหญ่ ก็ได้หอบเอาลูกนกท้ังสองไปตกอยู่ท ่ี ของโจรและฤๅษี ลกู นกตวั หนง่ึ ทต่ี กลงไปในหมขู่ องโจรนนั้  ตกลงไปทา่ มกลาง  กองอาวุธ จึงได้ชื่อว่า สัตติคุมพะ ส่วนอีกตัวหน่ึงได้ตกลงไปใน  กองดอกไม้ของฤๅษีจึงได้นามว่า ปุปผกะ ลูกนกท่ีตกลงไปในหมู่  ของโจร ก็ได้รับการส่ังสอนในเรื่องของโจรและเร่ืองของคนพาล  ส่วนลูกนกที่ตกอยู่ในหมู่ของฤๅษีก็ได้รับการสั่งสอนทางเรื่องของ  นกั ปราชญ์ กาลได้ผ่านมา ยังมีพระมหากษัตริย์ครองกรุงปัญจาละ  ไดเ้ สดจ็ ออกประพาสยงิ เนอ้ื ในปา่  และไดส้ ง่ั แกเ่ หลา่ เสนาทม่ี ากบั   พระองคว์ า่  ถ้าเนื้อหนีหลุดรอดออกไปทางผู้ใด ผนู้ ้นั จะต้องไดร้ บั   50 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

โทษ แต่เนื้อนั้นได้หนีออกไปทางที่พระราชายืนอยู่ พระองค์จึงม ี ความแคน้ พระทยั ขบั มา้ ออกกวดตามมฤคนี นั้  แตพ่ อกวดตามไปได้ สกั พกั  เนอ้ื นน้ั กห็ ายไป พระองคม์ คี วามกระหายน้�ำเปน็ อยา่ งมาก  จงึ ไดเ้ สดจ็ ไปเสวยอทุ กวารใี นลำ� ธาร และไดท้ รงพกั ผอ่ นพระวรกาย  ที่โคนต้นไทรใหญ่ใกล้กบั ทีอ่ ย่ขู องหมบู่ ้านโจร เวลาน้ันพวกโจรไม่อยู่ออกไปสู่ป่าใหญ่กันหมด คงอยู่แต่  พอ่ ครวั กบั นกแขกเตา้ เทา่ นน้ั  นกแขกเตา้ ตวั ทอี่ ยกู่ บั พวกโจรไดบ้ นิ   มาพบพระราชาบรรทมอยู่ จึงไดบ้ ินไปท่พี อ่ ครวั แล้วพดู วา่ “นี่แน่ะนายท่าน เราได้พบบุรุษผู้หน่ึงนอนหลับอยู่ท่ีโคน  ตน้ ไทรใหญ ่ มเี ครอ่ื งประดบั รา่ งกายมาก เราจงออกไปชว่ ยกนั ฆา่   เสียแล้วเปล้ืองเอาเครื่องประดับมา ลากเท้าของเขาเอาตัวไปทิ้ง  เสียในที่ไกลๆ เร็วเข้าเถดิ ” ขณะนนั้  พระราชาไดต้ นื่ จากบรรทม ไดส้ ดบั เสยี งสนทนาของ  นกกบั พอ่ ครวั กม็ คี วามตกพระทยั  เสดจ็ ขน้ึ สมู่ า้ พระทน่ี ง่ั  แลว้ ตรง มายงั ทอี่ ยขู่ องฤๅษ ี ๕๐๐ และในวนั นน้ั  พระดาบสทง้ั  ๕๐๐ กไ็ มอ่ ย่ ู ออกไปปา่ หาผลไม้ จงึ คงอยู่แตน่ กแขกเตา้ ตวั เดยี วเทา่ น้ัน นกแขกเตา้ เมอ่ื เหน็ พระราชาเสดจ็ มาแตไ่ กล จงึ ไดบ้ นิ เขา้ ไป  ใกล้ แลว้ ปฏสิ ันถารตอ้ นรบั ดว้ ยวาจาอนั ไพเราะอ่อนหวานวา่ “ข้าแต่พระราชาผู้ประเสริฐ พระองค์เสด็จมาในที่นี้ นับว่า  เป็นบุญอย่างใหญ่หลวงนักแล้ว เชิญพระองค์เสด็จไปยังอาศรม  ทรงประทบั พกั พระวรกายใหส้ บายอารมณ ์ แลว้ จงึ คอ่ ยเสดจ็ ตอ่ ไป  ในเบอื้ งหนา้ ” พระราชาไดฟ้ งั คำ� กลา่ วของนกแขกเตา้ ตวั น ี้ กม็ คี วามชนื่ ชม  สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 51

๒มงคลขอ้ ที่ คบบัณฑิต เปน็ อนั มาก พระองคไ์ ดก้ ลา่ วสรรเสรญิ นกแขกเตา้ มปี ระการตา่ งๆ  และพรอ้ มกนั น้ันกไ็ ดท้ รงติเตยี นนกแขกเต้าตวั แรกใหฟ้ งั จนสิ้น เมอื่ นกแขกเตา้ ไดย้ นิ พระราชาตรสั เชน่ นน้ั  จงึ ไดก้ ราบทลู แก ่ พระราชาวา่ “ข้าแต่พระราชาผู้ประเสริฐ อันนกแขกเต้าท่ีอยู่กับโจรนั้น  เป็นพี่น้องท้องเดียวกันกับข้าพเจ้า แต่ไปอยู่กับพวกโจร โจรจึง  สง่ั สอนแตใ่ นเรอ่ื งของพวกคนพาล นกนนั้ เปน็ พาลใจบาปหยาบชา้   ส่วนตัวข้าพเจ้าน้ันได้มาอยู่ในหมู่ของฤๅษี จึงได้รับการส่ังสอน  ในทางปราชญ์ ตัวข้าพเจ้าจึงฉลาดในทางธรรม ข้าแต่พระองค์  ผเู้ จรญิ  บคุ คลใดกต็ ามทค่ี บคา้ สมาคมอยกู่ บั คนพาลกย็ อ่ มจะเปน็   พาล อาจารย์เป็นพาลแล้วศิษย์ก็เป็นพาล บุคคลใดคบหาสมาคม  กบั นกั ปราชญแ์ ลว้ กจ็ ะเปน็ นกั ปราชญ ์ คนพาลเปรยี บเหมอื นยาพษิ   บุคคลใดบริโภคเข้าไปแล้ว ก็ย่อมได้รับอันตราย คนพาลเปรียบ  เหมอื นปลาเน่า เอาใบไม้มาหอ่ กพ็ าให้ใบไมเ้ หมน็ ไปดว้ ย คนพาล  สนั ดานหยาบชา้ กย็ อ่ มชกั นำ� ไปสอู่ บายภมู ทิ งั้  ๔ คนพาลยอ่ มนำ� มา  ซง่ึ ความฉบิ หายทง้ั ชาตนิ แ้ี ละชาตหิ นา้  ขอพระองคผ์ ปู้ ระเสรฐิ จงใช ้ วิจารณญาณใคร่ครวญดเู ถดิ ” พระราชาไดฟ้ งั คำ� ของนกแขกเตา้ กม็ คี วามชน่ื ชมหรรษา ทรง  สรรเสรญิ นกนน้ั มปี ระการตา่ งๆ ขณะนนั้  บรรดาพระฤๅษไี ดก้ ลบั   มาจากป่า เมื่อพระราชาได้ท�ำอภิวันทนาและได้สนทนากันเป็นท่ ี ตอ้ งอธั ยาศยั แลว้  พระองคก์ อ็ าราธนาใหบ้ รรดาฤๅษที ง้ั หลายไปพกั   ทส่ี วนหลวง แลว้ สงั่ ใหอ้ ภยั แกบ่ รรดานกแขกเตา้ ทงั้ มวลอยา่ ใหใ้ คร  ท�ำอันตรายเป็นอันขาด ส่วนพระองค์เองก็ได้ถวายอาหารแก่ฤๅษี  52 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

ทง้ั  ๕๐๐ ตราบจนเทา่ อาย ุ จตุ จิ ากมนษุ ยแ์ ลว้ กไ็ ดไ้ ปเกดิ บนสวรรค ์ ด้วยอ�ำนาจของกศุ ลท่ไี ด้ทำ� ไว้ ตัวอย่างเร่ืองของการคบคนพาลและการคบบัณฑิต หาได้ม ี เพียงเท่านี้ไม่ ยังมีอีกหลายเรื่อง ดังจะน�ำมาเล่าเพื่อเป็นตัวอย่าง  ดงั ต่อไปน้ี เร่อื งช้างมหฬิ ามุข ช้างมหิฬามุข เป็นช้างทรงรูปงามของพระเจ้ากรุงพาราณสี  เป็นช้างที่ไม่ดุร้าย มีความละมุนละม่อม สมกับเป็นช้างทรงของ  พระราชาทีเดยี ว แตใ่ นกาลตอ่ มา มเี หตกุ ารณอ์ ยา่ งหนงึ่ เกดิ ขน้ึ  กลา่ วคอื  ไดม้  ี พวกโจรไดล้ กั ลอบเขา้ มาปรกึ ษาความกนั ในเรอ่ื งของการโจรกรรม  เป็นต้นว่า ให้ฆ่าเจ้าของทรัพย์ชิงเอาทรัพย์มา พบปะใครเดินทาง  มามขี า้ วของแลว้  กฆ็ า่ ใหต้ ายแลว้ เอาขา้ วของมาแบง่ ปนั กนั  โจรทงั้   หลายมาพดู กนั อยอู่ ยา่ งนที้ กุ วนั ๆ ชา้ งนน้ั กม็ คี วามส�ำคญั วา่ มาสอน  ให้มันท�ำอย่างน้ัน ช้างที่มีใจอ่อนก็เกิดความดุร้าย ฆ่าหมอควาญ  และผู้อ่นื ถึงแกค่ วามตาย และกม็ ีจิตใจหยาบช้าย่ิงขึน้ เมอ่ื พระราชาไดท้ ราบขา่ วเชน่ นนั้  จงึ มรี บั สงั่ ใหพ้ ระโพธสิ ตั ว ์ ออกสืบสวนดูว่ามันมีเหตุอย่างไร ในเม่ือช้างท่ีไม่เคยดุร้ายกลับ  ดรุ า้ ย พระโพธสิ ตั วไ์ ดร้ บั ค�ำสง่ั กอ็ อกตรวจสอบ ในทส่ี ดุ กไ็ ดค้ วาม  จรงิ วา่  การทชี่ า้ งดรุ า้ ยเพราะวา่ ไดฟ้ งั ค�ำปรกึ ษาของพวกโจร จงึ ได้  สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 53

๒มงคลขอ้ ที่ คบบัณฑิต กราบทูลให้พระเจ้ากรุงพาราณสีให้ทรงทราบ แล้วจัดการให้พวก  พราหมณ์ผู้มีความรู้ได้มาน่ังสนทนาถึงเร่ืองทางธรรม ในที่สุด  ชา้ งน้ันกเ็ ส่ือมจากพยศรา้ ย กลับมีจติ ใจเมตตาปราณีดงั เดิม เรอื่ งพระยาโสมราช ในอดีตกาล มีพระราชาพระองค์หนึ่งนามว่าโสมราชอยู่ใน  เมืองพาราณสี ครั้งนั้น พระโพธิสัตว์เกิดเป็นพราหมณ์ปุโรหิต  สง่ั สอนอรรถธรรมแกพ่ ระราชา และพระราชากม็ มี า้ พระทน่ี ง่ั อยตู่ วั   หน่ึงช่ือว่า ปัณฑวะ และก็มีคนเล้ียงม้าเป็นคนพิการคือเดินขา  กระเผลก ช่ือนายคิริทัตต์ นายคิริทัตต์แกเป็นคนขากระเผลกอยู่  แล้ว เม่ือเดินจูงม้าก็เดินขากระเผลกไปข้างหน้า ฝ่ายม้าทรง  ของพระราชาเม่ือเห็นเช่นนั้น ก็มีความส�ำคัญว่าสอนให้มันเดิน  อย่างน้นั  มา้ ก็เลยเดนิ ขากระเผลกอยา่ งนายคิริทตั ต์ เมอ่ื พระราชาไดท้ ราบเหต ุ กไ็ ดใ้ หน้ ายแพทยไ์ ปตรวจอาการ  ของมา้ วา่ เปน็ อยา่ งไร แตน่ ายแพทยก์ ต็ รวจดแู ลว้ วา่ ไมม่ อี าการผดิ   ปกตทิ างรา่ งกายอยา่ งไร จะเปน็ กห่ี มอๆ กล็ งความเหน็ กนั วา่ ไมม่ ี  โรคแต่อย่างไร จึงได้กราบทูลให้พระราชาทรงทราบ พระราชาจึง  ให้พระโพธสิ ตั ว์ไปพจิ ารณา เมื่อพระโพธิสัตว์ไปพิจารณาดู ก็ทราบชัดว่าการที่ม้าเดิน  อย่างนั้น เพราะว่ามันเดินตามคนที่เลี้ยง พระราชาจึงมีรับสั่งให ้ เปลย่ี นคนเลยี้ งใหม ่ มา้ ทรงของพระราชากเ็ ดนิ เปน็ ปกตเิ หมอื นเดมิ 54 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

เรือ่ งมะมว่ งพระยาทธวิ าหนะ ในอดตี กาล มพี ระมหากษตั รยิ พ์ ระองคห์ นงึ่ ทรงพระนามวา่   พระยาทธิวาหนะ ครองกรุงพาราณสี และพระโพธิสัตว์ได้ไปเกิด  เปน็ ครปู โุ รหติ สอนอรรถธรรมแกพ่ ระราชา อยมู่ าวนั หนง่ึ พระองค ์ พร้อมด้วยเหล่าสนมได้ไปสรงน�้ำที่ล�ำธารแห่งหนึ่ง ในขณะน้ัน  มีมะม่วงสุกผลหนึ่งลอยตามน้�ำมาและมาติดอยู่ที่ตาข่าย ที่เหล่า  ข้าราชการได้กั้นไว้ป้องกันอันตรายต่างๆ เมื่อพระราชาเสด็จขึ้น  จากการสรงนำ�้ แลว้  พนกั งานกไ็ ดจ้ ดั การเลกิ ตาขา่ ยขนึ้  และไดพ้ บ  มะม่วงผลหนึ่งสุกงอมงดงามประหลาด บุรุษน้ันจึงน�ำไปถวาย  พระราชา พระองค์ได้ทรงเสวยมะม่วงผลนั้นแล้วก็มีความรู้สึกว่า  มะมว่ งผลนมี้ รี สหอมหวานอยา่ งประหลาดกวา่ ทไี่ ดเ้ คยเสวยมา จงึ   มรี บั สงั่ ใหพ้ นกั งานนำ� ไปปลกู ไว ้ โดยใหร้ ดดว้ ยน้�ำนมและทนบุ ำ� รงุ อย่างดี มะม่วงน้ันก็เจริญงอกงามเติบโตแผ่กิ่งก้านสาขาใหญ่โต  ผลิตดอกออกผลตามฤดูกาล เม่ือออกผลแล้วก็มีรสหวานอย่าง  ประหลาด พระองค์ได้โปรดให้ส่งไปยังเมืองต่างๆ แต่ก็ได้ท�ำลาย  เมล็ดมะม่วงน้ันเสียเพ่ือไม่ให้เพาะข้ึน เม่ือพระราชาต่างนครได้ เสวยกม็ คี วามพอพระทยั  เพราะไมเ่ คยประสบมากอ่ น รบั สงั่ ใหน้ �ำ  เมลด็ ไปปลูกกไ็ ม่ขน้ึ  เพราะเมลด็ น้นั ไดถ้ ูกทำ� ลายเสยี แล้ว ยงั มอี กี นครหนงึ่  พระราชาแหง่ นครนน้ั เมอื่ ทราบขา่ ววา่  เจา้   กรุงพาราณสีมีมะม่วงรสหอมหวานก็มีความริษยา จึงได้มีรับสั่ง  ให้นายอุทยานผู้มีความสามารถผู้หนึ่งมาเข้าเฝ้า แล้วจ้างให้นาย  สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 55

๒มงคลขอ้ ท่ี คบบณั ฑติ อุทยานน้ันไปท�ำลายรสของมะม่วงน้ันเสีย นายอุทยานน้ันเมื่อได ้ รบั พระราชโองการแลว้  กม็ าสกู่ รงุ พาราณสแี ละไดท้ ลู ขออาสาเปน็   ผู้ดูแลอุทยานหลวง เมื่อได้โอกาสเช่นน้ันแล้ว นายอุทยานคนใหม่ก็ดำ� เนินการ  บอ่ นทำ� ลายทนั ทตี ามวธิ กี ารทไ่ี ดค้ ดิ ไว ้ กลา่ วคอื ไดป้ ลกู ตน้ บอระเพด็   ไวโ้ ดยรอบ ใหพ้ นั ตง้ั แตโ่ คนตน้ จนตลอดถงึ ยอด เมอื่ แผนการณข์ อง  ตนเสร็จแลว้ กห็ นีกลบั ไปเมืองของตน ครนั้ ปตี อ่ มา เมอ่ื มะมว่ งไดผ้ ลดิ อกออกผลกม็ รี สขม พระราชา  ไดเ้ สวยแล้วกม็ คี วามขมขื่นจนไม่อาจท่ีจะเสวยได ้ จึงไดม้ รี บั สั่งให ้ พระโพธสิ ตั วไ์ ปพจิ ารณาด ู พระโพธสิ ตั วเ์ มอ่ื เขา้ ไปพจิ ารณาดอู ยา่ ง  ถีถ่ ้วนแลว้ กท็ ราบความ จงึ กราบทูลแกพ่ ระราชาว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้ประเสริฐ ต้นมะม่วงนี้มีของขมเป็นบริวาร  ต้ังแต่รากไปยังโคนและยอดโดยตลอด เหตุนั้นมะม่วงจึงมีรสขม  เพราะปะปนอยูก่ บั ของขม” พระราชาจงึ มรี บั สง่ั ใหต้ ดั ตน้ บอระเพด็ ออกใหห้ มด ทงั้ ขดุ ดนิ   ทโี่ ดยรอบนนั้ ออกหมด แลว้ ใหน้ ำ� ดนิ ใหมม่ าใส ่ รดดว้ ยนำ้� หอมและ  นมสด คร้นั มะม่วงออกผลมาใหม่ก็มีรสหวานหอมอย่างเดมิ เรื่องนี้เป็นเครื่องชี้ให้เห็นว่า แม้ของท่ีไม่มีวิญญาณเมื่ออยู่  ปะปนกับของขมดังคนพาลก็ขมตามไปด้วย เมื่อระคนด้วยของ  หอมหวาน ก็มีความหอมหวานดุจคบกับนักปราชญ์ก็ย่อมได้รับ  ประโยชน์อันดี พระพุทธองค์จึงได้ตรัสว่า การคบคนพาลน้ันให ้ ความฉิบหายท้ังในโลกน้ีและโลกหน้า ส่วนการคบกับบัณฑิตน้ัน  ให้ความสุขความเจริญ ท้ังในชาติน้ีและชาติหน้า ดังนิทานสาธก  56 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

ดงั ตอ่ ไปนี้ เรอื่ งศิษยพ์ ระมหากัสสป มีเร่ืองเล่ามาว่า ศิษย์ของพระมหากัสสป ได้บวชเป็นพระ  ภิกษไุ ด้ฌานโลกยี ์ สามารถที่จะเหาะเหินเดินอากาศได ้ แต่ต่อมา  เกดิ ความรกั ใครใ่ นตวั ของหญงิ สาวชาวบา้ น ฌานนนั้ จงึ เสอื่ ม และ  ไดส้ กึ ออกมาครองชวี ติ ฆราวาส นอกจากนนั้ ยงั ประพฤตผิ ดิ สมคบ  กบั พวกโจร ทำ� การโจรกรรมตา่ งๆ ในทส่ี ดุ กถ็ กู จบั ได ้ และจะถกู นำ�   ไปประหาร พระมหากสั สปไดบ้ ณิ ฑบาตผา่ นมาทางนนั้  ไดเ้ หน็ ศษิ ย ์ ของทา่ นกม็ จี ติ กรณุ า จงึ ไดเ้ ขา้ ไปบอกศษิ ยข์ องตนเจรญิ กรรมฐาน  ศษิ ยไ์ ดเ้ จรญิ กรรมฐานจนเกดิ ฌาน แมเ้ พชฌฆาตจะทำ� การประหาร  กไ็ มส่ ามารถทจ่ี ะทำ� อนั ตรายได ้ จงึ ไดน้ ำ� ความไปกราบทลู แกพ่ ระเจา้   พมิ พสิ าร พระองคม์ รี บั สงั่ ใหป้ ลอ่ ยตวั ไป ตอ่ มาไดเ้ จรญิ กรรมฐาน  จนได้บรรลุเปน็ พระอรหนั ต์ในพทุ ธศาสนา นี่เป็นเร่ืองสาธกให้เห็นถึงผลของการคบคนพาลและคบ  บณั ฑติ วา่ ใหผ้ ลตา่ งกนั อยา่ งไร พระพทุ ธองคจ์ งึ ตรสั วา่  เวน้ จากการ  คบคนพาล คบบัณฑิตเปน็ มงคลอนั ประเสริฐ ดังบรรยายมาน้ี สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 57

มงคล ๓ข้อที่ ปูชา จ ปชู นียานํ (บชู าบคุ คลทคี่ วรบูชา) ในมงคลหรอื ทางพฒั นาขอ้ ท ี่ ๓ ซง่ึ พระพทุ ธองคต์ รสั วา่  ปชู า  จ ปูชนียานํ แปลความว่า บูชาบุคคลที่ควรบูชา ซ่ึงมีเรื่องท่ีเราจะ  ตอ้ งทำ� ความเขา้ ใจในหวั ขอ้ นส้ี กั เลก็ นอ้ ยกอ่ น ปญั หาแรกคอื  บชู า  และท ี่ ๒ บคุ คลทคี่ วรบชู า ๒ ประการนแ้ี หละทเี่ ราจะตอ้ งมาศกึ ษา  ท�ำความเข้าใจกัน บางคนอาจจะคิดว่าเร่ืองบูชา ไม่จ�ำเป็นต้อง  ศกึ ษา เพราะวา่ การทเี่ ราเอาดอกไมธ้ ปู เทยี นมาสกั การะพระพทุ ธ-  รปู หรอื ปชู นยี วตั ถอุ ะไรสกั อยา่ งกจ็ ดั เปน็ บชู าแลว้  ถา้ เราเขา้ ใจอยา่ ง นนั้  กเ็ ปน็ การทเี่ ราเขา้ ใจในความหมายของคำ� นเี้ บาเกนิ ไป หรอื วา่   มคี วามดแู คลนในความหมายของคำ� น้มี าก ซึง่ ถา้ เราเข้าใจอยา่ งนี้  แล้ว คำ� ว่า บชู า ก็เป็นค�ำทีไ่ รค้ ณุ ค่า ความหมายของค�ำว่า บูชา ในมงคลข้อนี้ เม่ือได้ศึกษาจาก  อรรถกถาโดยตลอดแล้ว เราก็จะได้ความหมายของค�ำว่า บูชา น ้ี อยู่ ๓ ประการ คอื 58 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

๑. ปคั คัณหะ ยกย่อง ๒. สกั การะ บูชาดว้ ยสง่ิ ของ ๓. สัมมานะ นบั ถอื ๑. การบูชาแบบปัคคัณหะ  การบชู าแบบปคั คณั หะนหี้ มายถงึ การยกยอ่ ง ถา้ หากจะกลา่ ว  ตามความหมายสมยั น ้ี กไ็ ดแ้ กก่ ารสนบั สนนุ นน่ั เอง เหมอื นกบั การ  ทเ่ี ราจะเลอื กใครสกั คนหนงึ่ เขา้ เปน็ ตวั แทนของเรา เชน่  การเลอื ก  ผแู้ ทน เป็นต้น เมื่อกล่าวเช่นน้ีแล้ว เราก็จะเห็นว่า การบูชานี้ไม่จ�ำเป็นจะ  ต้องใช้ดอกไม้ธูปเทียนก็มีแล้ว ฉะน้ันความหมายท่ีเรานึกเอา  คดิ เอาวา่  การเอาดอกไมธ้ ปู เทยี นไปสกั การะนนั้  ไมใ่ ชค่ �ำตอบทถ่ี กู   ต้อง เพราะอย่างน้อยค�ำตอบในเรื่องบูชานี้ ก็ให้ความกระจ่างชัด  อยใู่ นตวั แลว้  และความจรงิ ของเราชาวบา้ นหรอื ชายหนมุ่ หญงิ สาว  ก็ใช้กันอยู่แล้ว อย่างเช่นชายหนุ่มบอกหญิงสาวว่า “คุณเป็นยอด  บชู าของผม” หรอื วา่  “ผมจะบชู าคณุ ไปตลอดชวี ติ ของผม” อยา่ งนี้  เรากเ็ หน็ ไดแ้ ลว้ วา่ การบชู าไมจ่ �ำเปน็ ทจ่ี ะตอ้ งใชด้ อกไมธ้ ปู เทยี นแต่  ประการใด แตก่ ารบชู าแบบปคั คณั หะทว่ี า่ มาน ี้ ถา้ เรายกยอ่ งคนท่ ี ไมส่ มควรแลว้ แทนทจี่ ะใหป้ ระโยชนก์ ลบั จะเกดิ โทษ ดงั ตวั อยา่ งใน  คมั ภีรม์ งคลทีปนกี ลา่ วเรอ่ื งเป็นอทุ าหรณ์ว่า สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 59

๓มงคลข้อที่ บูชาบุคคลทีค่ วรบูชา เร่ืองหนุม่ เสกเสอื ในอดีตกาล ที่ส�ำนักท่านอาจารยท์ ิศาปาโมกข์ เมืองตกั ศลิ า  มเี ดก็ หนมุ่ เปน็ จำ� นวนมากไดม้ าขอเปน็ ลกู ศษิ ยเ์ รยี นวชิ ากบั อาจารย ์ ตามความสมัครใจของตน และในจำ� นวนนั้นมีสัญชีวมาณพอยู่ใน  จำ� นวนนน้ั ดว้ ย สญั ชวี มาณพไดม้ าขอเรยี นวชิ าชบุ ชวี ติ ใหฟ้ น้ื ขนึ้ มา  มนต์ประเภทนี้ ปกติแล้วจะต้องเรียนท้ังสองอย่างคือ เรียนท�ำให ้ ตาย กบั เรยี นทำ� ใหเ้ ปน็  แตส่ ญั ชวี มาณพเรยี นเพยี งอยา่ งเดยี ว คอื   เรียนแตผ่ กู ไม่ได้เรียนแก้ ครั้นอยู่มาวันหน่ึง สัญชีวมาณพและเพ่ือนๆ ได้เข้าไปในป่า  เพอ่ื หาฟนื  ซงึ่ เปน็ หนา้ ทขี่ องศษิ ยท์ จี่ ะตอ้ งทำ� เปน็ กจิ วตั ร เมอ่ื เขา้ ไป  ถงึ ดงลกึ กไ็ ดพ้ บเสอื ตวั หนงึ่ นอนตายอยใู่ นปา่  สญั ชวี มาณพเลยเอย่   อวดตวั เองข้ึนว่า “อยา่ งน้ีข้าเปา่ พรวดเดียวก็ฟืน้ ” “ลกู พ่ีท�ำได้จริงรึ” เพอื่ นคนหนึ่งถาม “ทำ� ไมจะทำ� ไมไ่ ด ้ เสกเสอื ตวั เดยี ว ปอกกลว้ ยเขา้ ปากยงั ยาก  กว่า” สญั ชวี มาณพคุย “ลูกพ่แี น่อยา่ งนัน้ เชียวหรือ” เพอื่ นอกี คนถาม “พูดแล้วจะว่าคุย ใครอยากจะดูบ้างล่ะ” สัญชีวมาณพถาม  อย่างโอ่ “ผมอยากดจู ังเลยพ”่ี  เสยี งสนับสนนุ กนั หลายคน สญั ชวี มาณพไดร้ บั แรงสนบั สนนุ จากเพอื่ น กเ็ กดิ ความฮกึ เหมิ   ใจคดิ วา่ เรานแ่ี หละเปน็ ฮโี ร่คนหนงึ่  จงึ รา่ ยมนตแ์ ลว้ เป่าพรวดไปที่  60 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

ร่างของเสือน้ันทันที พยัคฆ์ร้ายคืนชีพข้ึนมาอย่างประหลาด มัน  ลมื ตาลกุ ขนึ้ สะบดั ตวั  เหลยี วไปรอบๆ ขา้ งรสู้ กึ หวิ โหยโรยแรงมาก  เพราะต้ังแต่ตายมาอาหารยังไม่ตกถึงท้องเลย พอมันเห็นมาณพ  ๔-๕ คน รวมทงั้ สญั ชวี มาณพดว้ ย มนั กไ็ มร่ อชา้  กระโดดตะปบรา่ ง  สัญชีวมาณพและเพื่อนอกี เป็นอาหารเสียส้นิ   จากนทิ านเรอื่ งทย่ี กมาน ้ี กจ็ ะเหน็ ไดแ้ ลว้ วา่ การบชู าบคุ คลที ่ ไมค่ วรบชู านน้ั ใหผ้ ลอยา่ งไร แทนทจ่ี ะใหค้ ณุ กลบั จะเปน็ โทษ เปน็   เรอื่ งทเ่ี ราจะตอ้ งพงึ สงั วรไวใ้ หม้ ากในการสนบั สนนุ ใครสกั คนหนง่ึ   เพราะการบชู านน้ั  จะหมายความวา่ สนบั สนนุ ดว้ ยกไ็ มผ่ ดิ  การบชู า  นน้ั อาจมไี ดท้ งั้ ทางถกู ทางผดิ  บชู าไมใ่ ชห่ มายความวา่ จะนงั่ สงบใจ  ภาวนา พทุ โธ ธัมโม สงั โฆ เสมอไป แมใ้ ครสักคนหนึ่งจะชกู ำ� ปน้ั   แล้วเชียร์ว่า เอามันเลยลูกพี่ ตะบันมันเลย อย่างน้ีก็เป็นการบูชา  เหมือนกัน ท่ีผิดถูกยังไม่ว่ากัน ว่าตามความหมายของรูปศัพท์ท่ ี ว่า ปคั คัณหะ ๒. การบูชาแบบสักการะ  มาถึงการบูชาแบบน้ีก็ตรงกับความคิดของท่านหลายคน  ทีเดียว ท่ีตีความหมายว่าได้แก่การน�ำสิ่งของต่างๆ มีดอกไม้ธูป  เทยี น เปน็ ตน้  ไปสกั การะปชู นยี สถานและพระพทุ ธรปู  ตลอดจน  โคม ธงทวิ  และอนื่ ๆ ตามธรรมดานยิ ม ของใชด้ งั กลา่ วน ้ี รวมเรยี ก  วา่  “เครอ่ื งสกั การะ” ฉะนน้ั คำ� วา่ สกั การะจงึ แปลวา่  เครอื่ งประกอบ  สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 61

๓มงคลขอ้ ที่ บชู าบุคคลทีค่ วรบชู า พธิ กี าร ถา้ จะเรยี กตามภาษาของนกั เรยี นกแ็ ปลวา่ อปุ กรณป์ ระกอบ  การสอน เมื่อได้กล่าวมาถึงตอนนี้ ก็จะขอท�ำความเข้าใจเสียก่อนว่า  การทเ่ี ราเอาดอกไม ้ ธปู  เทยี น และเครอ่ื งประดบั อน่ื ๆ ไปประดบั   ทแี่ ทน่ พระนน้ั  ไมใ่ ชเ่ ราเอาของเหลา่ นน้ั ไปใหพ้ ระ การใหเ้ ปน็ เรอ่ื ง  ของ “ทาน” แตน่ เี่ ปน็ การบชู า เราจดั ของเหลา่ นนั้ บชู าพระ และ  เครอ่ื งบชู าเหลา่ นเี้ ปน็ เครอื่ งชกั จงู ใหจ้ ติ ใจของผทู้ ไ่ี ดพ้ บเหน็ เกดิ   ความปสาทะและแชม่ ชน่ื  เกดิ มมุ านะในการทำ� ความด ี เรามคี วาม  มุง่ หมายอย่างน้ีตา่ งหาก ถ้าเราจะลองคิดดูให้ดีแล้ว เราจะเห็นความลึกซ้ึงของผู้คิด  รเิ รมิ่ ในการจดั เครอื่ งประกอบในการบชู าขนึ้  กลา่ วคอื พระพทุ ธรปู   เป็นส่ือจูงใจให้เรานึกถึงศาสนา นึกถึงคุณความดีต่างๆ เราจะ  สังเกตให้ดี เวลาท่ีเราเข้าไปในโบสถ์หรือในห้องพระของเรา เรา  จะมคี วามรสู้ กึ ปลอดโปรง่  รสู้ กึ คลายความทกุ ขไ์ ดอ้ ยา่ งประหลาด  เม่ือได้พบพระพักตร์อันงดงามของพระพุทธรูป นึกถึงบาปบุญ  คณุ โทษ นกึ ถงึ ความดงี ามตา่ งๆ มคี วามเมตตาอยา่ งประหลาด สง่ิ   ประกอบอกี อยา่ งหนง่ึ ซงึ่ เปน็ วตั ถปุ ระกอบทยี่ อดทสี่ ดุ ทธี่ รรมชาตไิ ด ้ สรา้ งสรรคม์ า ความหมายของดอกไม ้ ไดอ้ มคตแิ ละความหมายไว้  หลายอยา่ งหลายประการ ซง่ึ เราจะหาจากสงิ่ อนื่ ไมไ่ ดเ้ ลย เปลวไฟ  จากเทยี นขผ้ี ง้ึ  ตลอดจนความหอมของมวลดอกไมท้ ม่ี ารวมกนั เปน็   ธูป มันเป็นกลิ่นหอมอย่างประหลาด เป็นความหอมที่ไม่เจือด้วย  กามารมณ์ เป็นกลิ่นหอมที่หยุดยั้งความช่ัวร้าย ท�ำให้นึกถึงบาป  บญุ ไดอ้ ยา่ งนา่ อศั จรรย ์ ฉะนน้ั เครอื่ งสกั การะเหลา่ นจ้ี งึ เปน็ ทห่ี ยดุ   ความวา้ วุ่นใจของเราอยา่ งหนกั ให้หยดุ ลง 62 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

๓. บชู าแบบสัมมานะ  แปลวา่  ยอมรบั นบั ถอื  คอื หมายความวา่ ไมใ่ ชแ่ ตเ่ พยี งนบั ถอื   เฉยๆ จะต้องยอมรับและนับถือด้วย หมายถึงถือเอาเป็นคต ิ ตวั อยา่ งดว้ ย เปน็ การฝากกายถวายชวี ติ  อนั เปน็ ลกั ษณะหนงึ่ ของ  การบูชา ตวั อย่างเช่น ชาวพทุ ธ ยอมรับนบั ถือพระรตั นตรัย ชาวมสุ ลมิ  ยอมรบั นับถือพระอลั เลาะห์ หรอื  นบมี ูฮมั มัด ชาวคริสต ์ ยอมรบั นับถือพระยะโฮวาห์ หรือพระเยซู การนบั ถอื อยา่ งน ้ี เปน็ การยอมรบั นบั ถอื แบบสมั มานะ การที่  ใครยอมรับนับถือศาสนาใดก็หมายความว่าบูชาศาสนาน้ัน การ  บชู ายกยอ่ งของชาวพทุ ธนน้ั  ไมใ่ ชก่ ารนบั ถอื หรอื บชู าอยา่ งงมงาย  ถา้ เราบชู าอยา่ งปราศจากปญั ญา กน็ บั วา่ เปน็ กรรมของคนนนั้  และ  ยอ่ มทจี่ ะเปน็ เครอ่ื งมอื ของคนบางคน พระพทุ ธเจา้ ไมส่ รรเสรญิ การ  บูชาอยา่ งปราศจากปัญญา เมอื่ เขา้ ใจความหมายของค�ำวา่  “บชู า” แลว้  ประเดน็ ตอ่ ไปท่ี  เราจะตอ้ งเขา้ ใจในประเด็นข้อท่ี ๒ คือคำ� วา่  “คนท่ีควรบูชา”   สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 63

๓มงคลขอ้ ที่ บชู าบคุ คลท่คี วรบูชา คนท่คี วรบชู า เรื่องนี้เป็นเรื่องที่เราควรจะสนใจมาก เพราะว่าการท่ีเราจะ  ยกย่องหรือยอมรับนับถือสักการะคนใด เราก็จะต้องเลือกบูชา  เพราะไม่เช่นน้ันแล้ว เราอาจจะไม่ได้รับมงคลท่ีเราปรารถนาได้  เพราะเราอยกู่ นั ทกุ วนั ในโลกน ้ี เรากต็ อ้ งคบกบั คนจงึ ตอ้ งระวงั  เรา  จะเจรญิ หรอื เสอื่ มกข็ น้ึ อยกู่ บั คน ถา้ เราบชู าคนผดิ แลว้ กจ็ ะใหโ้ ทษ  อยา่ งเรอื่ งสญั ชวี มาณพเปน็ ตน้  ในหนงั สอื ของพนั เอกปน่ิ  มทุ กุ นั ต ์ ไดใ้ หแ้ ยกการบชู าออกเป็น ๓ ประเภทใหญๆ่  คือ คน ค�ำ คณะ คน หมายถงึ  บคุ คลเราธรรมดานแี่ หละ อยา่ งเชน่ พทุ ธศาสนกิ -  ชนบชู าพระพทุ ธเจา้  หรอื คนทง้ั หลายทเ่ี ราสนบั สนนุ ใหเ้ ปน็ หวั หนา้ ค�ำ หมายถึง ค�ำสั่งสอน ข้อบัญญัติ และคติธรรมต่างๆ ซึ่ง  ไม่ใช่ตัวคนแต่ออกมาในลักษณะ ศาสนา ลัทธิ นโยบาย โอวาท  และอนื่ ๆ ใครเทดิ ทนู ปฏบิ ตั ติ ามคำ� สง่ั สอนชนดิ ใดกเ็ รยี กวา่  บชู าคำ� คณะ หมายถงึ  หมคู่ น เชน่  คณะสงฆ ์ พรรคการเมอื ง นกิ าย  รัฐบาล วัด สมาคม ส�ำนัก หน่วยราชการ เป็นต้น ใครเลื่อมใส  ศรทั ธาสนบั สนุนคณะใครกเ็ ปน็ การบชู าคณะนนั้ ผลของการบูชาท่ีถูกต้องนั้นย่อมได้รับผลของการบูชาหรือ  เกิดความสุขหลายประการด้วยกัน กล่าวคือ ไล่เสนียด ป้องกัน  ความหลงผิด อบรมจติ ใหด้ ีขึ้น และผลทางอภนิ ิหาร ท่ีกล่าวว่า ไล่เสนียดน้ัน หมายความว่าเราจะต้องยึดหลัก  บูชาตามค�ำสอนของพระพุทธเจ้าอย่างเคร่งครัด กล่าวคือ บูชา  สนบั สนนุ แตค่ นด ี ถา้ รวู้ า่ เปน็ คนชวั่ แลว้ เรากไ็ มเ่ ลน่ ดว้ ย ไมเ่ ชญิ ไป  64 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

ปราศรัย ไม่เชิญไปในงานมงคล ไม่ออกเสียงเลือกตั้งให้เป็นนั้น  เปน็ น ี่ นอกจากไมเ่ จรญิ แลว้  กไ็ มย่ อมรบั เชญิ ดว้ ย ถา้ เปน็ คนดแี ลว้   เราก็สนับสนุนอย่างเต็มท่ี ผลท่ีเราจะได้รับก็คือ จะได้คนดีมา  บรหิ ารบา้ นเมอื ง เมอื่ บา้ นเมอื งมผี บู้ รหิ ารดแี ลว้  เราซงึ่ เปน็ ประชาชน  ก็ย่อมได้รับความสงบสุข การที่เราได้รับความทุกข์ยากเกย่ี วกบั   ปัญหาต่างๆ อยู่ทุกวันน้ี เพราะว่าเราใช้การบูชาท่ีไม่ถูกต้องไป  สนับสนุนให้ความร่วมมือกับคนช่ัว เห็นแก่อามิสบางอย่างท่ีเขา  หยิบยื่นให้ เมื่อเราต่างช่วยกันสนับสนุนแต่คนดีแล้ว คนไม่ดี  ซึ่งเปรียบเหมอื นเสนียดของบา้ นเมอื งก็หลบหนีไป บชู าปอ้ งกนั การหลงผดิ  ขอ้ นเ้ี ปน็ เรอื่ งทเี่ ราจะตอ้ งตระหนกั   อย่างยิ่ง เพราะในสังคมปัจจุบันมักจะมีสิ่งน้ีปะปนอยู่มาก ถ้าเรา  จะมองกนั ดๆี  แลว้  เราจะเหน็ ไดอ้ ยา่ งชดั เจน อยา่ งเชน่  เราบชู าพระ  อตุ สา่ หเ์ อาพระเลยี่ มทองมาแขวนคอ แตต่ วั เราเองกลบั ไปเทยี่ ว จ้ ี ปล้น หรือด่ืมสุราตั้งอยู่ในความประมาทจะใช้ได้อย่างไรกัน ปาก  เราบอกวา่ นบั ถอื พระ แตเ่ รากลบั เดนิ ตามหลงั มาร นแี่ หละคนหลง  ผดิ  พระพทุ ธเจา้ ทรงสอนใหเ้ ราบชู าพระ กเ็ พอ่ื ปอ้ งกนั ความหลง  ผดิ อยา่ งน ี้ ทกุ ครงั้ ทเี่ ราอยตู่ อ่ หนา้ พระและมพี ระตดิ ตวั เราอย ู่ เรา  ควรที่จะสอบตัวเองอยู่เสมอว่า เราเป็นอะไรและอยู่ต่อหน้าใคร  เมอ่ื เรานกึ ถงึ พระแลว้ เรากไ็ มป่ ระมาท เชอ่ื พระ บชู าพระแลว้  เราก็  ไมท่ ำ� ความชว่ั  ถา้ เราประมาททำ� ความชว่ั ลงไป กห็ มายความวา่ เรา  ไม่เช่ือพระ ไม่บูชาพระแล้ว มงคลจะเกิดขึ้นไม่ได้ การบูชาน้ันให้  มงคลคอื กนั ความไมห่ ลงอยา่ งนี้ การบูชาอบรมจิตให้ดีข้ึน ในประเด็นข้อนี้ดูเหมือนว่าจะไม่  สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 65

๓มงคลข้อท่ี บูชาบคุ คลท่คี วรบชู า ตอ้ งขยายความมาก เพราะวา่ ไดอ้ ธบิ ายในเรอื่ งเกยี่ วกบั บชู าไปแลว้   หมายความว่า ผู้ที่มีความเคารพในพิธีกรรม มีความเลื่อมใสใน  ค�ำสั่งสอนแล้ว จะท�ำให้จิตใจของเขาเหล่านั้นมีความเยือกเย็น  ทา่ นลองสงั เกตดคู นในครอบครวั ของทา่ นกไ็ ดว้ า่  ถา้ คนใดคนหนงึ่   เปน็ ผทู้ ม่ี คี วามเคารพในค�ำสอนอยา่ งเครง่ ครดั แลว้  จะท�ำใหก้ ริ ยิ า  อาการของเขานมุ่ นวล มคี วามสภุ าพออ่ นโยน ตรงขา้ มผทู้ ไี่ มม่ หี ลกั   เคารพจะเป็นคนใจหยาบกระดา้ ง น่ีเป็นผลของการบชู า ประการสดุ ทา้ ยเกยี่ วกบั ผลในทางอภนิ หิ าร ขอ้ นเี้ ปน็ เรอื่ งท ่ี ยากมาก เพราะเปน็ สง่ิ ทเี่ ราไมส่ ามารถจะเหน็ ไดด้ ว้ ยตาเพราะเปน็   นามธรรม เป็นเร่ืองของอ�ำนาจทางจิตของเรา ยกตัวอย่างเช่น  พระพุทธรูป ซ่ึงเป็นสิ่งรวบรวมของชาวพุทธทั้งหลาย เป็นสิ่งที ่ ใครๆ ก็เอาใจจดจ่ออยู่กับรูปเคารพบูชาน้ัน การที่เราเคารพบูชา  กเ็ หมอื นเราเอากระแสจติ ของเราเอง ถา่ ยทอดไปสพู่ ระพทุ ธรปู นนั้   และสิ่งน้ันก็เป็นส่ิงท่ีต่อกระแสจิตของคนท้ังหลาย ทุกคร้ังท่ีเรา  เคารพบูชาพระพุทธรูป เราก็จะได้อานุภาพที่ได้ถ่ายทอดจาก  กระแสจติ ของคนทงั้ หลาย ซงึ่ กอ่ ใหเ้ กดิ ผลอยา่ งนา่ อศั จรรย ์ ถา้ เรา  เชอ่ื เรอ่ื งอำ� นาจของจติ แลว้  เรากจ็ ะไมป่ ฏเิ สธอำ� นาจของการบชู า  การที่เราเคารพสิ่งที่คนอ่ืนเคารพ ท่านก็จะได้รับสิ่งตอบแทนคือ  การเคารพจากมวลชน แต่ถ้าเราดูถูกหรือเหยียบยำ�่ สิ่งที่มวลชน  เคารพ ทา่ นนน่ั แหละจะตอ้ งถกู คนอน่ื เหยยี บยำ่�  เรอื่ งนเี้ ปน็ เรอ่ื งท่ ี เราจะตอ้ งศึกษากนั อีกมาก สรุปความหมายของค�ำว่า “บูชา” หมายถึง ปัคคัณหะ  ยกยอ่ ง ๑ สกั การะ บชู าดว้ ยสงิ่ ของ ๑ และสมั มานะ ความยอมรบั   66 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

นบั ถอื  ๑ นเี่ ปน็ ความหมายของคำ� วา่  “บชู า” ในมงคลน ี้ และบคุ คล  ทคี่ วรบชู านน้ั ในมงคลทปี นที า่ นจำ� แนกไวห้ ลายประเภทดว้ ยกนั คอื   พระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ พระปัจเจกพุทธ ครูอาจารย์  บดิ า มารดา และผทู้ ีป่ ฏิบัติดปี ฏิบัติชอบ การบูชาก็จ�ำแนกโดยหัวข้อใหญ่ๆ มีอยู่ ๒ คือ อามิสบูชา  และปฏิบัติบูชา อามิสบูชาหมายถึงการสักการะด้วยอามิสต่างๆ  มดี อกไมธ้ ปู เทยี น เปน็ ตน้  สว่ นปฏบิ ตั บิ ชู า ไดแ้ ก ่ การถอื ไตรสรณ-  คม การรักษาศีล ๕ ศีล ๘ และกุศลกรรมบถ ๑๐ เจริญสมถ-  วิปัสสนา เป็นต้น เป็นปฏิบัติบูชา เพ่ือความเข้าใจในมงคลข้อน ้ี ขอยกเร่ืองราวทม่ี ีมาในอดตี ซ่งึ เปน็ ผลของการบชู าดังต่อไปน้ี เร่อื งนายสุมนะ นายสุมนะเป็นช่างร้อยกรองดอกไม้ อยู่ท่ีเมืองราชคฤห์ ได ้ เคยถวายดอกมะลแิ กพ่ ระเจา้ พมิ พสิ ารวนั ละ ๘ ทะนาน เปน็ ประจ�ำ  ทุกวันและไดร้ บั พระราชทานรางวลั ครงั้ ละ ๘ กหาปณะ อยมู่ าวนั หนง่ึ  นายสมุ นะกอ็ อกไปเกบ็ ดอกมะลเิ ชน่ เคย และ  เตรียมที่จะไปถวายพระเจ้าพิมพิสาร ในระหว่างที่เดินทางมาน้ัน  ไดพ้ บกบั พระพุทธเจ้าก็เกดิ ความเลอื่ มใสจงึ คดิ ในใจว่า “ในวนั นถี้ า้ เราไมไ่ ดถ้ วายดอกไมแ้ กพ่ ระราชา พระองคก์ ค็ งจะ  กริ้วและลงอาญาแก่เราประการใดก็ตาม เราจะยอมรับอาญาน้ัน  สว่ นการทเี่ ราไดถ้ วายดอกไมแ้ กพ่ ระพทุ ธเจา้ นนั้ ยอ่ มไดร้ บั ความสขุ   สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 67

๓มงคลขอ้ ท่ี บชู าบคุ คลทค่ี วรบูชา ทั้งในโลกน้ีและโลกหน้า เราถวายแก่พระราชาก็มีผลแต่ในชาตินี ้ เท่าน้นั ” เม่ือคิดดังน้ันแล้ว นายสุมนะก็มีความเล่ือมใสเกิดความปีต ิ อยา่ งมาก ไดซ้ ดั ดอกมะลอิ อกไปก�ำแรกเปน็ การบชู า ดอกมะลนิ น้ั   แผเ่ ปน็ ตาขา่ ยอยเู่ บอื้ งบน ครง้ั ท ี่ ๒ ซดั ไปกแ็ ผเ่ ปน็ ตาขา่ ยทางเบอ้ื ง  ขวา คร้ังที่ ๓-๔ ก็อยู่ทางเบ้ืองซ้ายและเบ้ืองหน้าของพระสัมมา-  สมั พทุ ธเจา้  ลอ้ มรอบทงั้  ๔ ดา้ น และตดิ ตามพระองคพ์ ระพทุ ธเจา้   ไปทกุ แหง่  ไมว่ า่ พระองคจ์ ะยา่ งพระบาทไปทางใด ดอกไมก้ ต็ ามไป  ถงึ นนั่  และดอกไมน้ นั้ กห็ นั ทางดอกออกและหนั ทางกา้ นเขา้ ทงั้ สน้ิ   ประชาชนในนครนน้ั เหน็ เปน็ อศั จรรย ์ จงึ ไดพ้ ากนั มาสกั การะพระ  ผู้มพี ระภาคอยา่ งเนืองแน่น นายสุมนะมีความช่ืนชมในบุญกุศลที่ตนได้กระท�ำไปแล้ว  อยา่ งมาก กลบั มาบอกความเรอื่ งการบชู าแกพ่ ระพทุ ธเจา้ ใหภ้ รรยา  ทบี่ า้ นฟงั  แตแ่ ทนทภ่ี รรยาจะมคี วามชน่ื ชมยนิ ดกี บั สาม ี นางกลบั ม ี ความโกรธแคน้ ในการกระทำ� ของสามมี าก ไดก้ ลา่ ววาจาหยาบคาย  แก่นายสุมนะเป็นอันมาก แล้วได้น�ำบุตรของตนไปเพ่ือเข้าเฝ้า  กราบทลู การกระท�ำของสามใี หพ้ ระราชาทราบ พระเจา้ พิมพิสารไดฟ้ งั ภรรยาของนายสมุ นะเลา่ เรอื่ งแล้ว ก ็ ด�ำริในพระทัยว่าหญิงคนนี้เป็นคนพาล มีสันดานไม่เลื่อมใสใน  พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้  แมก้ ารสกั การะของสามกี ห็ ามจี ติ ยนิ ดดี ว้ ย  ไม ่ เมื่อได้ทรงด�ำริเชน่ นั้นแลว้ พระองคจ์ งึ ได้ทรงขับไลน่ างนัน้ ไป เม่ือพระพุทธเจ้าได้เสด็จด�ำเนินมา พระเจ้าพิมพิสารจึงได ้ ออกไปอปุ ฏั ฐากตอ้ นรบั พระพทุ ธเจา้ ดว้ ยความเลอ่ื มใส พระพทุ ธ- 68 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

องค์มีความประสงค์ท่ีจะประกาศคุณความดีของนายสุมนะ  พระองค์จึงได้ส่งบาตรให้พระเจ้าพิมพิสาร พระราชาได้รับบาตร  นั้นมา แล้วถวายอาหารแก่พระพุทธองค์ พระพุทธองค์ได้ท�ำ  ภัตตกิจเสร็จแล้วกอ็ นโุ มทนาในทานนน้ั  แลว้ ถวายพระพรลามาส ู่ พระเชตวัน ดอกไม้ทั้งหลายก็ล้อมพระองค์จนกระท่ังถึงประต ู พระวหิ าร พระเจ้าพิมพิสารได้เห็นความมหัศจรรย์เช่นนั้น ก็มีความ  เล่ือมใสในการบูชาของนายสุมนะ จึงได้ตรัสเรียกนายสุมนะมา แล้วได้พระราชทานทรัพย์ทั้งหลาย มี ๘ สิ่งๆ ละ ๘ คือ ช้าง ๘  มา้  ๘ ขา้ หญงิ  ๘ ขา้ ชาย ๘ นารรี ปู งาม ๘ บา้ นสว่ ย ๘ เงนิ  ๘ พนั ต�ำลึง นายสุมนะได้รับพระราชทานรางวัลเป็นอันมาก เพราะผล  ของการบชู าพระพทุ ธเจา้ ดว้ ยความเลอื่ มใส พระอานนทไ์ ดท้ ลู ถาม  พระพุทธเจ้าว่า “ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ ปน็ นาถะของโลก นายสมุ นะไดร้ บั ผลจาก  การบูชาเป็นอันมาก ในเบื้องหน้าน้ันคติของเธอจะเป็นอย่างไร  พระเจ้าข้า” “น่ีแน่ะอานนท์” พระพุทธเจ้าตรัสตอบ “นายสุมนะทำ� พุทธ  บชู าครง้ั นเี้ สมอดว้ ยชวี ติ ของตน ในชาตนิ ยี้ อ่ มไดร้ บั ผลเปน็ อนั มาก  ตอ่ เบอ้ื งหนา้ นายสมุ นมาลาจะไมไ่ ปเกดิ ในอบายถงึ แสนกลั ป ์ จะไป  เกดิ อยใู่ นมนษุ ยแ์ ละสวรรค ์ ในชาตสิ ดุ ทา้ ยจะมาเกดิ เปน็ มนษุ ยแ์ ละ  ได้ตรัสรู้เป็นพระปัจเจกพุทธ ช่ือว่าพระสุมนะ แล้วเสด็จดับขันธ ์ ปรินพิ พานในทสี่ ุด” นเ่ี ปน็ ตวั อยา่ งในอดตี ซงึ่ มมี าในมงคลทปี น ี ซงึ่ กลา่ วถงึ ผลของ  สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 69

๓มงคลข้อที่ บชู าบุคคลท่ีควรบูชา การบูชาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าด้วยจิตเลื่อมใส และยังมีตัวอย่าง  อีกเร่ืองหน่ึงท่ีเก่ียวถึงผลของการบูชาในพระพุทธเจ้าคือเร่ือง  พราหมณจ์ เู ฬกสาฎก พราหมณจ์ เู ฬกสาฎกเปน็ พราหมณท์ ยี่ ากจน อาศยั อยใู่ นกรงุ   สาวัตถี แกมีภรรยาคนหน่ึง แต่ด้วยความยากจนของแกปรากฏ  ตามทอ้ งเรอื่ งวา่ มผี า้ นงุ่ คนละผนื  และมผี า้ หม่ ผนื เดยี วผลดั กนั หม่   อย่ตู ลอดเวลา ซงึ่ นับวา่ เปน็ คนท่ีมีความยากจนมากท่สี ดุ อยู่มาวันหนึ่ง มีคนได้มาป่าวประกาศให้คนท้ังหลายไปฟัง  พระธรรมเทศนาของพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้  พราหมณท์ งั้ สองไดฟ้ งั   ป่าวประกาศเช่นน้ัน ก็มีความปรารถนาที่จะไปฟังธรรมอย่างแรง  กลา้  แตท่ ง้ั สองขดั สนดว้ ยเรอ่ื งผา้ หม่  เพราะมเี พยี งผนื เดยี ว จงึ ได้  ปรึกษากนั วา่ “นี่แน่ะแม่นาง ในวันน้ีจะมีพระธรรมเทศนาจากพระบรม  ศาสดาซงึ่ เปน็ นาถะของโลก เราและเจา้ กม็ คี วามตอ้ งการทจ่ี ะไปฟงั   พระธรรมเทศนาในวันน้ีเหมือนกัน แต่ว่าเรามาคิดดูว่าเราน้ีมี ผ้าห่มเพียงผนื เดยี วจะไปพร้อมกนั ไมไ่ ด้ เอาอย่างนีก้ แ็ ลว้ กัน” “เอาอย่างไรเลา่ พ่อ” นางพราหมณถี าม “เราทงั้ สองผลดั กนั ไปกแ็ ลว้ กนั  เจา้ เลอื กเอาดวู า่ เจา้ จะไปฟงั   ธรรมในเวลากลางคืนหรือกลางวนั ” พราหมณ์ผ้สู ามแี นะ “เอาละ ฉันเป็นหญิงการไปกลางคืนนั้นไม่เหมาะสม ฉนั ขอ  ไปเวลากลางวนั กแ็ ล้วกนั ” เปน็ อนั วา่  ทง้ั สองไดต้ กลงกนั ผลดั กนั ไปฟงั พระธรรมเทศนา  โดยฝ่ายภรรยาไปฟังก่อนในเวลากลางวัน ส่วนสามีก็ไปในเวลา  70 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

กลางคนื  ในคนื วนั นน้ั พระบรมศาสดาไดต้ รวจดอู ปุ นสิ ยั ของเวไนย  สตั ว ์ กท็ ราบดว้ ยพระญาณวา่ พราหมณน์ มี้ คี วามเลอื่ มใสในการบชู า  จงึ แสดงเทศนาในเรอ่ื งของทาน ศลี  ภาวนา มใี จความวา่  บคุ คลใด  จะเป็นชายหรือหญิงก็ตามไม่ทำ� ทานการบูชา ในชาติหน้าจะเป็น  คนยากจนอนาถา จะหาข้าวกิน ผ้าจะนุ่งห่มก็ยากและย่อมได้รับ  ความล�ำบากนานาประการ เม่ือพราหมณ์ได้ฟังอย่างนั้นก็บังเกิด  จิตศรัทธาเล่ือมใส คิดจะเปลื้องผ้าท่ีห่มมานั้นถวายเป็นพุทธบูชา  แต่ถึงกระน้ันความมัจฉริยะความตระหนี่ยังครอบง�ำจิตใจอยู่ไม ่ สามารถเปลอื้ งผา้ ออกถวายได ้ พราหมณไ์ ดฟ้ งั พระธรรมเทศนาอย ู่ จนถงึ ยามสามกม็ คี วามศรทั ธากลา้ หาญ ตดั ความตระหนอ่ี อกจาก  สันดาน เปล้ืองผ้าห่มออกจากกายถวายเป็นพุทธบูชา เปล่งวาจา  ข้นึ ดว้ ยความโสมนัสยินดใี นทานของตน “เราชนะแลว้  เราชนะแล้ว” เสยี งของตาพราหมณ ์ ทเ่ี ปลง่ ออกมานนั้ ดงั กอ้ ง เพราะเปลง่   ด้วยความดีใจอย่างท่ีสุด เสียงของพราหมณ์นี้ได้ยินถึงพระเจ้า  ปเสนทโิ กศล ซง่ึ ฟงั พระธรรมเทศนาอย ู่ จงึ ไดต้ รสั ใหน้ ำ� ตวั พราหมณ์  นน้ั เขา้ เฝา้ และซักถามวา่ “น่ีแน่ะพราหมณ์ ที่ท่านว่าท่านชนะแล้วนั้น ท่านชนะอะไร  หรอื ” “พระอาชญามิพ้นเกล้า” พราหมณ์ตอบ “การที่ข้าพระองค ์ ได้เปล่งวาจาว่า ชนะแล้ว ชนะแล้วนั้น ข้าพระองค์หมายถึงว่าข้า  พระองค์ได้มีชัยชนะข้าศึกภายในของข้าพเจ้า คือความตระหน่ีที่  ครอบคลมุ จติ ใจของขา้ พเจา้ มาแตเ่ พลาคำ่�  บดั นคี้ วามตระหนนี่ นั้ ได ้ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 71

๓มงคลข้อท่ี บชู าบุคคลท่ีควรบชู า หมดไปจากใจของข้าพระองค์แล้ว ข้าพระองค์จึงได้กล่าวว่า ชนะ  แลว้  ดังน้ีแหละพระเจ้าขา้ ” พระเจ้าปเสนทิโกศลได้ฟังค�ำกราบทูลของพราหมณ์ผู้น้ัน  แล้วก็มีความยินดี จึงได้พระราชทานผ้านุ่งห่มแก่พราหมณ์คู่หน่งึ   พราหมณ์นั้นก็น�ำมาถวายเป็นพุทธบูชา พระเจ้าปเสนทิโกศล  เล่ือมใสในความศรัทธา จึงได้พระราชทานผ้าให้ใหม่ ๒ คู่ ๓ คู ่ จนถงึ  ๘ ค ู่ พราหมณไ์ ดแ้ ยกผา้ ไว ้ ๒ ค ู่ เพอื่ ตนเองและเพอื่ ภรรยา  ของตน เหลือนอกนั้นไดถ้ วายเป็นพุทธบชู าสน้ิ   พระเจ้าปเสนทิโกศลประทานผ้ารัตนกัมพลมีราคามากสอง  ผนื แกพ่ ราหมณ ์ ครนั้ พราหมณไ์ ดผ้ า้ นน้ั มากค็ ดิ วา่ ผา้ นม้ี รี าคามาก  ไมส่ มควรทจ่ี ะนำ� มานงุ่ หม่ ปกปดิ รา่ งกาย ควรจะนำ� ไปเปน็ พทุ ธบชู า  เมื่อคิดเช่นน้ันจึงน�ำผ้าท้ังสองผืนไปท�ำเพดานท่ีบรรทมพระพุทธ-  เจา้  อกี ผนื หนง่ึ ไปทำ� เปน็ เพดานที่ส�ำหรบั สงฆ์นงั่ ฉนั อาหาร ครน้ั เวลาเยน็ พระเจา้ ปเสนทโิ กศลไดเ้ สดจ็ มา ทอดพระเนตร  เห็นผ้ากัมพล ๒ ผืน มีพระทัยเต็มไปด้วยความปีติพระทัย จึงได ้ พระราชทานทรัพย์แก่พราหมณ์น้ันอย่างละ ๔ คือ ช้าง ๔ ม้า ๔  ข้าทาสชายหญิงอย่างละ ๔ นี่เป็นผลของการบูชาพระสัมมาสัม-  พุทธเจา้ อกี เรอ่ื งหนง่ึ  เปน็ เรอ่ื งทก่ี ลา่ วถงึ ผลของการบชู าพระสถปู เจดยี ์  ซง่ึ จะไดก้ ลา่ วต่อไปน้ี 72 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

เร่ืองนางโกสาตกี เป็นเร่ืองหลังจากที่พระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว พระเจ้า  อชาตศตั รไู ดน้ ำ� เอาพระบรมสารรี กิ ธาตมุ าจากเมอื งกสุ นิ ารา ดว้ ย  ความศรทั ธาเลอื่ มใส มาก่อเปน็ พระเจดีย์ใหญ่บรรจพุ ระบรมธาตุ  เพอ่ื เปน็ ทบ่ี ชู าสกั การะของเทพยดาและมนษุ ยท์ ง้ั หลาย ในเมอื งนน้ั   มหี ญงิ สาวคนหนง่ึ นามวา่ โกสาตก ี นางมคี วามเลอ่ื มใสใครท่ จี่ ะบชู า  พระบรมธาตุ ดังนั้นนางจึงได้ออกแสวงหาดอกไม้นานาพันธุ์เพื่อ  จะน�ำไปสักการบูชาพระบรมธาตุ นางแสวงหาได้ดอกโกสาตกี ๔  ดอกมีสีสวยสดงดงาม นางมีความชื่นชมหรรษา ออกจากบ้าน  เดนิ ไปยงั สถปู พระบรมธาต ุ ในขณะทนี่ างเดนิ ทางไปนน้ั  ไดม้ วี วั แม ่ ลูกอ่อนตัวหนึ่งได้ว่ิงมาอย่างรวดเร็ว และพุ่งเข้าชนนางน้ันล้มลง  และสิ้นชวี ิตลงในทีน่ ั้น ขณะที่จิตของนางดับลงน้ัน ดับด้วยอาการเต็มไปด้วยความ  เลื่อมใสศรัทธา นางจึงได้ไปเกิดในสวรรค์ มีนางฟ้าพันหนึ่งเป็น  บริวาร และเทพยดาทั้งหลายเรียกนางว่านางโกสาตกี นางเป็น  ทร่ี กั ใครข่ องบรรดาเทพบตุ รเทพธดิ าทง้ั ปวง ทง้ั นด้ี ว้ ยอานสิ งสข์ อง  การทนี่ างมจี ติ เล่ือมใสศรัทธาบูชาพระบรมธาตุ คราวหนึ่ง ท้าวสักกะเทวราชซ่ึงเป็นประมุขของเทวดา ได้  เสดจ็ ประพาสนนั ทวันอุทยาน ได้ทอดทัศนาเหน็ นางโกสาตก ี กม็  ี เทวบัญชาถามวา่ “ดูกรนางผเู้ จริญ นางได้สรา้ งกุศลอยา่ งไรจึงได้ประสบโภค-  สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 73

๓มงคลข้อที่ บูชาบคุ คลที่ควรบชู า ทรพั ยถ์ ึงปานนี”้ นางโกสาตกไี ดฟ้ งั เทวบญั ชาถามเชน่ นน้ั  นางจงึ มวี าจาตอบแก ่ จอมสวรรค์วา่ “ขา้ แตท่ า่ นผเู้ ปน็ จอมเทพ หมอ่ มฉนั มคี วามเลอื่ มใสศรทั ธาใน  การบชู าพระบรมธาต ุ ดว้ ยจติ ทป่ี ระกอบดว้ ยกศุ ลจติ  ดว้ ยอานสิ งส์  นี้ จึงทำ� ให้หมอ่ มฉันไดเ้ สวยทิพยสมบัติอย่างนี้เพคะ” ทา้ วอนิ ทราธริ าชเมอ่ื ไดส้ ดบั ค�ำของนางแลว้  จงึ สรรเสรญิ ผล  แห่งการสักการบูชาแกม่ าตุลเี ทพบุตรวา่ “ดกู รมาตลุ  ี เครอ่ื งบชู าจะนอ้ ยหรอื มากกด็  ี ไมเ่ ปน็ ประมาณ  ในการทำ� กศุ ล กศุ ลจะมากหรอื นอ้ ยกอ็ าศยั จติ ทเ่ี ลอ่ื มใสเปน็ ประธาน  พระพุทธเจ้าจะอยู่หรือดับขันธปรินิพพานไปแล้วก็ตาม บุคคลใด  มีจิตศรัทธาเลื่อมใสกราบไหว้บูชาอยู่แล้วย่อมมีผลเสมอกนั  จะ  มากน้อยกว่ากันก็หาไม่ ท่านผู้นิรทุกข์ ท่านจงประกอบการกุศล  ในการสกั การบูชา แมพ้ ระบรมสารีรกิ ธาตกุ ย็ อ่ มมอี านสิ งส์มาก” เมอื่ ตรสั ดงั นนั้ แลว้  ทา้ วมฆั วานกไ็ ดเ้ สดจ็ ไปจากนนั ทวนั อทุ ยาน  เสด็จไปสกั การบูชาพระบรมธาตุจฬุ ามณใี นดาวดงึ ส์พภิ พ นเี่ ปน็ ผลของการสกั การบชู าพระบรมธาต ุ ซง่ึ ไดย้ กมาแสดง เป็นอุทาหรณ์ ส่วนเรื่องราวอื่นยังมีอีกมาก ท่านผู้ที่มีความสนใจ พึงหาอ่านจากมงคลทีปนีเถิด 74 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

มงคล ๔ขอ้ ที่ ปฏิรูปเทสวาโส (อย่ใู นประเทศอันสมควร) ในมงคลขอ้ ท ่ี ๔ พระพทุ ธเจา้ ไดว้ างหลกั ไวว้ า่ ใหอ้ ยใู่ นปฏริ ปู   เทส และเราจะตอ้ งท�ำความเขา้ ใจเกี่ยวกบั คำ� น้เี สยี ก่อนว่า ปฏริ ปู   เทส แปลว่าอยา่ งไร และมคี วามหมายว่าอยา่ งไร ค�ำว่า ปฏิรูปเทสวาสะ แยกออกเป็นสองค�ำ คือ ปฏิรูปะ  ค�ำหน่ึง เทสะ ค�ำหน่ึง ค�ำว่าเทสะน้ันไม่เป็นปัญหา เพราะแปล  ใจความว่า สถานท่ี หรือถิ่น ปัญหาท่ีเราจะต้องเข้าใจให้มากก็คือ  ปฏิรูปะ ซ่ึงแปลความว่าสมควร เม่ือรวมทั้งสองค�ำนี้แล้วก็จะได้  ความวา่  “อยใู่ นประเทศอนั สมควร” อยา่ งไรเปน็ ประเทศทเ่ี หมาะสมหรอื สมควร เปน็ ปญั หาทเ่ี รา  จะตอ้ งเขา้ ใจใหด้  ี เพราะมงคลขอ้ นพ้ี ระพทุ ธองคท์ รงมคี วามหมาย  สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 75

๔มงคลข้อท่ี อยใู่ นประเทศอนั สมควร แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความสำ� คญั ของ ปฏริ ปู เทส เพราะเปน็ ของสำ� คญั ยงิ่   อยา่ เขา้ ใจวา่ ทอ่ี ยไู่ มส่ �ำคญั  เพราะคนเราจะมคี วามเจรญิ หรอื ความ  เสื่อม ก็ต้องขึ้นอยู่กับปฏิรูปเทสวาสะ ไม่ใช่ว่าจะอยู่ท่ีไหนได้ผล  เทา่ กนั  จะลองเปรยี บดวู า่  ตน้ สกั  ตน้ ตะเคยี น เปน็ ตน้ ไมใ้ หญ ่ ถา้   น�ำมาปลูกอยู่ในกระถางมันจะมีความเจริญไปไม่ได้ ดังนั้นเราจะ  เห็นได้แล้วว่า ต้นไม้แม้ว่ามันจะเป็นส่ิงไม่มีวิญญาณมันก็ยังต้อง  เลือกท่ีอยู่เหมือนกัน อีกอยา่ งหน่ึงนั้นมีความหมายถึงว่า ในถิ่นท ่ี เราอยอู่ าศยั นน้ั มอี าชพี หรอื ความเปน็ อยเู่ หมาะสมกบั ความรคู้ วาม  สามารถของเราหรือไม่ สิ่งที่เราจะต้องค�ำนึงในการปฏิบัติมงคล  ข้อนี ้ มคี วามหมายอย ู่ ๒ อย่าง คอื ๑. เราตอ้ งเลือกอย่ใู นปฏิรปู เทส ๒. เราตอ้ งท�ำทีอ่ ยใู่ ห้เปน็ ปฏิรูปเทส ประการแรก ทวี่ า่ ตอ้ งเลอื กอยใู่ นปฏริ ปู เทสนน้ั  หมายความ  วา่ เราจะอยทู่ ไี่ หนกต็ อ้ งเลอื ก วธิ เี ลอื กนน้ั ใหถ้ อื เอาหลกั ความเจรญิ   ของเราเปน็ เกณฑ ์ คอื  ทรพั ยเ์ จรญิ  ชวี ติ เจรญิ  และคณุ ความดเี จรญิ   ท่ีบางแห่งทรัพย์เจริญ การท�ำมาหากินคล่องแต่มีสิ่งที่เป็นภัยแก ่ สขุ ภาพและชวี ติ  บางแหง่ ทรพั ยก์ พ็ อควร ชวี ติ ไมต่ อ้ งหว่ ง แตเ่ ปน็ ท่ ี หอ้ มลอ้ มดว้ ยสงิ่ ทจ่ี ะดงึ ดดู จติ ใจของเราและบรวิ ารใหถ้ อยตำ�่ ชวั่ ชา้   ลงไป ฉะนั้นเราจึงต้องเลอื กทีๆ่  เราจะอยู่ ตัวอยา่ งเช่น จะเข้าโรงเรียน จะบวชวดั ไหน ท�ำงานหาเลย้ี งชพี ท่ีไหน ฯลฯ 76 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

การเลอื กเปน็ สง่ิ จำ� เปน็ มาก ไมอ่ ยา่ งนนั้ แลว้  พระพทุ ธเจา้ ไม ่ ตรัสไว้ว่าเป็นมงคล ตัวอย่างแม้พระพุทธเจ้าของเราเมื่ออยู่ใน  สวรรคช์ น้ั ดสุ ติ  เวลาเทวดามาอาราธนาพระองคย์ งั ตอ้ งพจิ ารณาดู  ประเทศเหมอื นกนั  โรงเรยี นกเ็ หมอื นกนั  ไมใ่ ชว่ า่ เปน็ โรงเรยี นแลว้   จะสอนดีเหมือนกันหมด หรือว่าเป็นวัดมีกุฏิอยู่แล้วก็เหมือนกัน  หมด ถ้าทุกอย่างมันเหมือนกันแล้วพระพุทธเจ้าคงไม่สอนให้เรา  เลือก หรือเราจะมาพิจารณาดู เอาความคิดของเราเป็นเคร่ืองวัด  กไ็ ด ้ ถา้ สมมตวิ า่ ทา่ นไปเขา้ โรงเรยี นทไี่ มเ่ ปน็ โรงเรยี นอยา่ งแทจ้ รงิ   มกี ารสอนไมไ่ ดค้ วาม หรอื ครไู มม่ คี วามสามารถ ทา่ นลองนกึ ดเู อา  ว่าจะท�ำให้เรามีความรู้ความสามารถเจริญพัฒนาไปได้ไหม หรือ  ว่าท่านจะบวช เราไปบวชในวัดท่ีไม่มีการศึกษา หรือวัดท่ีคลุกคลี  ดว้ ยหมบู่ า้ น อยา่ งนที้ า่ นลองนกึ ดวู า่  จดุ มงุ่ หมายของการบวชเพอ่ื   หาความสงบ หาความร ู้ ทา่ นจะไดไ้ หม หรอื ทท่ี ำ� มาหากนิ ของเรา  มันถนัดต่อความสามารถของเราหรือไม่ การเลือกงานให้ถูกกับ  นิสัยความสามารถของเราก็จัดเป็นปฏิรูปเทสวาสะได้เหมือนกัน  อยา่ งเชน่ เรามคี วามสามารถในทางเกษตร แตไ่ ปอยใู่ นหนว่ ยทเ่ี กย่ี ว  กบั เครอ่ื งจกั รเปน็ ตน้  เรากเ็ ปน็ อนั วา่ หมดความสามารถและสรา้ ง  ความเจรญิ แกช่ วี ติ ไมไ่ ด ้ ฉะนน้ั เรอื่ งปฏริ ปู เทสวาสะนนั้ เปน็ เรอื่ งที ่ ส�ำคญั มาก ทา่ นจึงได้จัดเปน็ มงคล การทำ� ทอ่ี ยใู่ หเ้ ปน็ ปฏริ ปู เทสวาสะนน้ั  กย็ ดึ หลกั อยา่ งเดยี วกนั   คือ ทรัพย์ ชีวิต ความดี ผู้ท่ีเป็นฆราวาสถ้าจะด�ำเนินตามค�ำของ  พระ จะตอ้ งปรับปรงุ สถานท่ีอยอู่ าศัยใหเ้ รยี บรอ้ ย ด้านทรพั ย ์ ทำ�   บ้านเรือนให้เป็นที่ปลอดภัย มีอุปกรณ์เครื่องใช้ในการแสวงหา  สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 77

๔มงคลขอ้ ที่ อยูใ่ นประเทศอันสมควร ทรัพย์ ส่ิงใดท่ีจะนำ� ความพินาศล่มจมแก่ทรัพย์สินและครอบครัว  เราก็ก�ำจัดเสีย และพยายามปรับปรุงที่อยู่ของเราให้เป็นท่ีน่า  ร่ืนรมย์ แสวงหาสิ่งประกอบอันจะโน้มน้าวจิตใจของเราให้มุ่งใน  ความดี นเี่ ป็นความมุง่ หมายของมงคลหรือหลกั พัฒนาในข้อน้ี นอกจากนั้น ในมงคลสูตรท่านแสดงไว้ว่า ที่ซึ่งเป็นปฏิรูป  เทสวาสะน้ันหมายถึงเอาสถานที่มีพระพุทธศาสนา มีการให้ทาน  รักษาศีล เป็นต้น การอยู่ในประเทศอันสมควรน้ันย่อมให้ความ  เจรญิ แก่จิตใจและความกา้ วหน้าของเราอยา่ งน้ี ต่อไปนี้ จะได้ยกเร่ืองราวประกอบในเร่ืองของมงคลข้อน้ ี มาเปน็ การประกอบความเขา้ ใจในมงคลข้อน้ีอีก เรือ่ งพราหมณว์ กั กลิ พราหมณว์ กั กลเิ ปน็ ผทู้ อ่ี าศยั อยทู่ ก่ี รงุ สาวตั ถ ี ไดเ้ หน็ พระรปู   พระโฉมของพระบรมศาสดา กม็ คี วามเลอื่ มใสในรปู รา่ ง พยายาม ตดิ ตามไปทกุ แหง่ หน และตอ่ มาเมอื่ อำ� นาจความปรารถนามกี ำ� ลงั   แรงก็มีความคิดว่า การที่อยู่ครองเรือนนั้น นานๆ จะได้เห็นพระ  พุทธเจ้าสักครั้ง ถ้าเราได้ออกบวชก็จะได้อยู่ใกล้ชิดพระพุทธเจ้า  ตลอดเวลา เมอื่ คดิ ดงั นน้ั แลว้ จงึ ไดข้ อบวชในพระพทุ ธศาสนา พระ  ศาสดาก็บวชให้ พราหมณ์วักกลิ เม่ือเข้ามาบวชก็ไม่เป็นอันศึกษาพระธรรม วนิ ยั  ไดแ้ ตเ่ ฝา้ ดพู ระรปู พระโฉมของพระพทุ ธเจา้ อยา่ งเดยี วเทา่ นนั้   78 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

พระองค์จะเสด็จไปทางใดวักกลิก็ติดตามไปทางน้ัน พระพุทธเจ้า  รอจนอุปนิสัยของวักกลิแก่กล้าพอท่ีจะรับพระสัทธรรมเทศนาได้  แล้ว จึงในวันหน่ึงขณะที่วักกลิได้เล็งแลดูพระรูปพระโฉมอยู่น้ัน  พระพุทธองคก์ ็มดี �ำรัสวา่ “นแี่ นะ่ วกั กล ิ เธอจะมาดอู ะไรกนั กบั รา่ งกายอนั เนา่ เปอ่ื ยของ  เราตถาคตเลา่  ทา่ นบวชมาไมเ่ ลา่ เรยี นพระธรรมวนิ ยั  เอาแตด่ เู รา  เท่าน้ัน ดูก่อนวักกลิ ผู้ใดเห็นธรรม ผู้น้ันได้ชื่อว่าเห็นตถาคต ไป  ออกไปเสยี  วกั กล”ิ เมอ่ื พระพทุ ธเจา้ ไดท้ รงขบั ไลพ่ ระวกั กลเิ ชน่ นนั้  พระวกั กลกิ ม็  ี ความเสยี ใจเปน็ อนั มาก ทค่ี วามจงรกั ภกั ดขี องตนถกู พระพทุ ธเจา้   มองในแงไ่ มด่  ี จงึ มคี วามนอ้ ยใจ จงึ คดิ วา่ เราอยา่ อยเู่ ลย คดิ แลว้ จงึ   ขึ้นไปส่ยู อดเขาคิชฌกูฏเพ่ือทจี่ ะกระโดดเขาลงมาใหต้ าย พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ไดท้ รงทราบถงึ การกระทำ� ของพระวกั กล ิ จึงได้เปล่งพระรัศมีต่อหน้าของพระวักกลิ แล้วตรัสด้วยพระทัย  เมตตาวา่ “วกั กล ิ เธอจงดรู า่ งของตถาคตเถดิ  วกั กล ิ บคุ คลผใู้ ดมคี วาม  เล่ือมใสในพระพุทธศาสนาแล้ว ย่อมได้รับมรรคผลหลุดพ้นจาก  ความทุกขท์ ง้ั มวล วกั กล ิ เธออยา่ เปน็ ผูม้ ีความประมาทเลย” เมอ่ื พระบรมศาสดาตรสั เชน่ นน้ั แลว้  พระวกั กลไิ ดฟ้ งั กม็ ปี ตี ิ  เปน็ กำ� ลงั  บงั เกดิ ขน้ึ ในสนั ดานของทา่ น ดว้ ยความปตี ทิ ำ� ใหร้ า่ งของ  ทา่ นลอยไปในอากาศ ปลงปญั ญาพจิ ารณาตามพทุ ธโอวาท ขม่ เสยี   ซ่ึงปีติได้ส�ำเร็จพระอรหันต์ปฏิสัมภิทาญาณในครั้งน้ัน พระวักกล ิ ได้เห็นพระศาสดา ได้ฟังธรรมของพระองค์จนสำ� เร็จพระอรหันต์  สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 79

๔มงคลข้อท่ี อยู่ในประเทศอนั สมควร ตดั กเิ ลสขาดจากสนั ดาน กอ็ าศยั อยใู่ นปฏริ ปู เทส เปน็ ประเทศอนั   สมควร จึงจดั เปน็ มงคลอนั ประเสรฐิ ดังน้ี เรอ่ื งนายอรยิ ะ นายอรยิ ะแกเปน็ พรานเบด็  อาศยั อยใู่ นกรงุ สาวตั ถ ี แกมอี าชพี   ในการตกปลาขายเป็นนิจ วันหน่ึงแกก็ออกไปยังนอกเมืองเพื่อ  หาตกปลาอย่างทีเ่ คยกระทำ� มา ในวันนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าพร้อมด้วยพระอัครสาวกได้  ออกโคจรบณิ ฑบาตในนครสาวตั ถ ี หลงั จากทไี่ ดอ้ าหารพอสมควร  แลว้  จึงเสด็จออกจากพระนครมาทางท่นี ายอรยิ ะกำ� ลังจะตกปลา  อย ู่ เมอื่ นายอรยิ ะไดแ้ ลเหน็ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ เสดจ็ มาแตไ่ กลกม็  ี ความละอาย จงึ ไดน้ ำ� คนั เบด็ นน้ั ซอ่ นไวแ้ ลว้ ยนื อยใู่ นทนี่ น้ั  พระผมู้ ี  พระภาคพาพระภกิ ษมุ าหยดุ ยนื อยใู่ นทใี่ กลๆ้  กบั นายอรยิ ะยนื อย่ ู แล้วจึงตรัสถามเหล่าพระสาวกว่า ท่านช่ืออะไร พระสาวกก็ได ้ กราบทลู ชอื่ ของตนๆ เปน็ ลำ� ดบั ลงไปวา่  ขา้ พเจา้ ชอ่ื สารบี ตุ ร ขา้ พเจา้   ชอื่ โมคคลั ลานะ ขา้ พเจา้ ชอ่ื กสั สปะ เมอ่ื พระสาวกบอกชอ่ื ของตนๆ  ดงั นนั้ นายอรยิ ะกค็ ดิ ในใจวา่  พระสมณโคดมถามชอ่ื พระสาวกแลว้   เดีย๋ วกค็ งจะถามชอ่ื ของเรา พระพทุ ธเจา้ ทรงรวู้ าระจติ ของนายพรานเบด็ แลว้  จงึ หนั มาตรสั   ถามวา่  “ดกู รอบุ าสก ตวั ของทา่ นชอ่ื วา่ อยา่ งไร” “ขา้ พเจ้าชือ่ อรยิ ะ พระเจ้าขา้ ” นายอรยิ ะทูลตอบ 80 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

พระพุทธองค์จึงตรัสว่า “ดูกรอุบาสก คนท้ังหลายประหาร  สตั วเ์ หมอื นอยา่ งตวั ทา่ นน ้ี จะเรยี กชอ่ื วา่ อรยิ ะนน้ั ไมส่ มควร คนทงั้   หลายใดทไี่ มฆ่ า่ สตั ว ์ ไมเ่ บยี ดเบยี นสตั ว ์ มจี ติ เมตตากรณุ าแกส่ ตั ว์  ทง้ั หลายเปน็ เบอ้ื งหนา้  และมปี ญั ญารเู้ ทา่ ทนั สงั ขาร นกั ปราชญท์ งั้   หลาย มพี ระพุทธเจา้ เปน็ ตน้  ย่อมเรียกบุคคลนนั้ ว่าอรยิ ะ” เมอ่ื พระองคไ์ ดต้ รสั พระธรรมเทศนาแกน่ ายอรยิ ะพรานเบด็   โดยพิสดาร แล้วสรุปเป็นคาถาว่า “บุคคลใด หญิงก็ดี ชายก็ดี  เบยี ดเบยี นสตั วท์ งั้ หลายใหล้ ำ� บาก คอื  เฆยี่ นต ี ผกู มดั จองจำ�  เปน็   ตน้  หรอื ฆา่ สตั วท์ งั้ หลายใหต้ ายลงดว้ ยมเี จตนา คนเหลา่ นนั้ จะชอื่   วา่ อรยิ ะกห็ าไม ่ คนเหลา่ ใดมคี วามสจุ รติ กายวาจาใจ ไมเ่ บยี ดเบยี น  สตั วท์ ั้งหลายให้ลำ� บาก คอื ไม่เฆ่ียนตี ผกู มดั จองจ�ำ เป็นตน้  มศี ีล  สมาธปิ ญั ญาบรบิ ูรณ์ในสันดาน จึงได้นามว่า อรยิ ะ”  เมอื่ พระองคต์ รสั พระธรรมเทศนาจบลง นายอรยิ ะกไ็ ดบ้ รรลุ  พระโสดาปัตติผลเป็นพระอริยะบุคคลในพระพุทธศาสนา ปิด  ประตูอบายภูมิท้ัง ๔ คือไม่ไปเกิดในนรก ๑ ไม่เกิดเป็นเปรต ๑  ไม่ไปเกิดเป็นอสุรกาย ๑ ไม่เกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน ๑ การที่  นายพรานเบ็ดได้ส�ำเร็จเป็นพระอริยะบุคคลนั้นเพราะอยู่ใน  ประเทศอนั สมควร จงึ จัดเปน็ มงคลอันประเสริฐ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 81

มงคล ๕ข้อท่ี ปุพฺเพ จ กตปญุ ฺตา (มีบญุ วาสนามาก่อน) ตามความหมายของมงคลในข้อน้ี มีความหมายว่า การท่ีมี  ปุพฺเพ จ กตปุญฺตา ซึ่งเม่ือแปลแล้วจะได้ความอย่างภาษา  ธรรมดาว่า “บุญเก่า” เร่ืองน้ีเป็นเรื่องท่ีเราจะต้องศึกษาในเรื่อง  ความหมายของมงคลในข้อน้ีเสยี ก่อน ความหมายของมงคลในข้อน้ี หมายถึงบุญที่ได้ท�ำไว้แล้วใน  อดตี  กอ่ นอนื่ เราจะตอ้ งเขา้ ใจเรอ่ื งบญุ กนั เสยี กอ่ น เพราะคำ� วา่ บญุ   เปน็ คำ� ทเ่ี ราใชอ้ ยกู่ นั อยา่ งแพรห่ ลาย คำ� วา่  บญุ  หมายถงึ ความดขี น้ึ   ของจิต หมายความว่าการกระท�ำใดก็ตามท่ีท�ำให้เกิดความสบาย  โดยไม่ท�ำให้ผู้อ่ืนได้รับความเดือดร้อนเพราะการกระท�ำของเรา  82 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

สง่ิ นน้ั เรยี กวา่  บญุ  บญุ ทไ่ี ดส้ งั่ สมอยใู่ นจติ ใจเปน็ เวลานาน เราเรยี ก  วา่ บญุ เกา่  หรืออย่างบางทีเราเรยี กกันอยา่ งติดปากวา่  บุญวาสนา  ซงึ่ กม็ คี วามหมายอยา่ งเดยี วกนั นน่ั เอง บคุ คลเราทเ่ี กดิ มาในโลกน้ี  เราจะสังเกตเห็นว่ามีสภาพต่างกันไม่เหมือนกัน บางคนสวยงาม  บางคนรปู รา่ งนา่ เกลยี ด บางคนดำ�  บางคนขาว บางคนสตปิ ญั ญาดี  บางคนสตปิ ญั ญาทราม บางคนยากจน บางคนมง่ั ม ี เหลา่ นเ้ี กดิ มา  จากผลของการกระท�ำไว้ในชาติปางก่อนท้ังส้ิน ไม่ใช่อ�ำนาจ พระเจ้าบันดาลแต่อยา่ งใด จะขอยกตวั อยา่ ง เชน่  เดก็ คนหนงึ่ มคี วามเกยี จครา้ น ไมเ่ รยี น  หนังสือ เอาแต่เที่ยวเตร่ เด็กอีกคนหนึ่งเป็นคนขยันหมั่นเพียร  ไม่เกียจคร้าน ผลของคนท้ังสองก็ย่อมจะปรากฏขึ้น คือ คนท ่ี เกยี จครา้ นไมเ่ รยี นหนงั สอื เอาแตเ่ ทย่ี วเตร ่ ทำ� ใหอ้ า่ นหนงั สอื ไมอ่ อก  มคี วามยากจน สว่ นคนทหี่ มน่ั เพยี ร ไมเ่ กยี จครา้ น ผลทไี่ ดร้ บั กค็ อื   อา่ นหนงั สอื ออก มคี วามมง่ั ม ี มงี านทมี่ เี กยี รต ิ เหลา่ นเี้ ปน็ ผลของ  การท�ำความดีทงั้ น้ัน นีห่ มายใหเ้ หน็ ถงึ บุญเกา่ ท่ีทำ� ในปัจจบุ ัน ส่วน ปุพฺเพ กตปญุ ฺตา นนั้ หมายถึงผลที่ทำ� ในอดีตแล้วส่ง  ผลมาในภพปจั จบุ นั  เชน่  คนทไ่ี ดท้ ำ� ความดไี วใ้ นชาตกิ อ่ น บญุ นน้ั   จะสง่ ผลใหเ้ กดิ มาในตระกลู ทม่ี ง่ั คงั่  มสี ตปิ ญั ญาเฉลยี วฉลาด หรอื   เราจะสังเกตดูก็ได้ว่า ในการท�ำการค้า คนแต่ละคนมีความเจริญ  ผดิ กนั มาก บางคนท�ำการคา้ ไดร้ ับผลดีสมความมุ่งหมาย บางคน  ยิ่งท�ำการค้ายิ่งขาดทุน ทั้งๆ ที่ท�ำอย่างรอบคอบแล้วก็ตาม หรือ  บางคนเกดิ ในตระกลู ทย่ี ากจน และพรอ้ มกนั นน้ั อกี คนหนง่ึ กอ็ ยใู่ น  ฐานะเดียวกัน แต่คนหน่ึงไปได้ดิบได้ดีเป็นนายกรัฐมนตรี แต่  สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 83

๕มงคลข้อที่ มบี ุญวาสนามากอ่ น อีกคนหน่ึงยังท�ำไร่ท�ำนาอยู่ เหล่าน้ีเป็นผลของ “ปุพฺเพ กตปุญฺ-  ตา” ท้ังน้ัน แต่ท่ีพระพุทธองค์กล่าวเช่นน้ีไม่ได้หมายความว่า  ให้เรามีความท้อถอยในการงาน แต่พระองค์ทรงช้ีให้เห็นว่า  “ปพุ เฺ พ กตปญุ ฺ ตา” เปน็ ผลทจี่ ะคอยสนบั สนนุ การกระทำ� ของเรา  ในภพปัจจุบันให้ได้รับผลไพบูลย์ย่ิงขึ้น ถ้าเรามีความท้อถอย  ไมท่ ำ� อะไรเลย แลว้ เราจะไมป่ ระสบผลเลย เพราะถา้ เราไดก้ ระทำ�   บญุ ในปจั จบุ นั นแ้ี ลว้  ถงึ แมว้ า่ จะไมไ่ ดร้ บั ผลในชาตนิ  ี้ แตจ่ ะเปน็ เชอื้   ซ่งึ เรยี กว่า ปุพฺเพ กตปุญฺ ตา ในชาติตอ่ ไป ฉะน้ัน มงคลในข้อน้ีพระองค์ชี้ให้เห็นว่า ผู้ท่ีมีความดีได้  กระท�ำแล้วในชาติปางก่อนนั้น ย่อมเป็นเครื่องสนับสนุนความ  สำ� เรจ็ ใหม้ ขี นึ้  พดู งา่ ยๆ กค็ อื คนทม่ี พี น้ื ฐานดนี น่ั เอง เหมอื นกบั วา่   เรามีพื้นฐานการเรียนดีย่อมเป็นปัจจัยในการท่ีเราจะท�ำกิจการ  งานทงั้ หลายไดง้ า่ ยและรวดเรว็ ขน้ึ  ซงึ่ ผดิ กบั คนทไี่ มม่ พี น้ื ฐานการ  ศกึ ษาเลย หรอื มพี นื้ ฐานการศกึ ษานอ้ ยกย็ อ่ มจะมคี วามยากลำ� บาก  และช้าในการประกอบการงานต่างๆ ท่านจึงว่าจะต้องมี “ปุพฺเพ  กตปุญฺตา” คือสั่งสมความดีเอาไว้ หมายถึงเม่ือเล็กน้อยหมั่น  ประกอบการศกึ ษา เมอื่ วยั หนมุ่ แสวงหาทรพั ย ์ และเมอ่ื วยั แกเ่ ฒา่   กไ็ ดร้ บั ความสขุ สบาย เพราะผลทเ่ี ราไดก้ ระทำ� ไวเ้ มอื่ คราวเปน็ เดก็   หรอื ขวนขวายหาทรพั ยเ์ มอ่ื เปน็ หนมุ่  ผลทไี่ ดร้ บั กค็ อื ความสบาย นี ่ คอื  “ปุพฺเพ กตปุญฺ ตา”  เปน็ อนั สรปุ ความไดว้ า่  ความดที กุ อยา่ งทค่ี นเราทำ� ไว ้ แมจ้ ะ  ไม่ให้ผลในปัจจุบันทันตาเห็น ก็ไม่สูญเปล่า ความดีเหล่านี้จะมา ปรบั ปรุงจิตของเราใหด้ ีขึ้น ซ่งึ เรยี กว่า บญุ เก่า 84 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

ปุพฺเพ กตปุญฺตา เป็นพลังวิเศษอย่างหน่ึง ท่ีจะท�ำให้เรา  ได้พบความเจริญก้าวหน้า พัฒนาตัวเองให้มีความรุ่งเรืองในชีวิต  จากมงคลข้อน้ี ผู้ปฏิบัติธรรมจะต้องระลึกไว้สองสถาน คือเมื่อ  ตนได้รับความเจริญก้าวหน้า ก็นึกว่าน่ันเป็นผลดีแห่งความที่เรา  สู้พยายามกระทำ� มา หาควรที่จะฉวยโอกาสท่ีเราได้รับผลบุญนั้น  ไปสรา้ งกรรมทำ� บาปไม ่ จะเขา้ ตำ� ราทวี่ า่  เขยี นดว้ ยมอื ลบดว้ ยเทา้ อกี ประการหนง่ึ  ความเชอ่ื ในบญุ เกา่ ของตนและของคนอน่ื   ยอ่ มปอ้ งกนั ความรษิ ยาเสยี ได ้ เมอื่ เหน็ คนอนื่ ไดด้ กี วา่ กค็ ดิ วา่  นนั่   เปน็ บญุ วาสนาของเขา ถงึ ตวั เราเมอ่ื ตกตำ่� กค็ ดิ เสยี วา่ หมดบญุ เกา่   ของเราที่ได้ท�ำไว้ หาควรเสียใจไม่ เร่งสร้างสมบุญใหม่ดีกว่า อีก  สถานหน่ึง เมื่อทราบว่า การท�ำบุญเป็นการส่ังสมความดีไว้ช่วย  ตวั เองแลว้  ไมค่ วรประมาทในการทำ� บญุ  ทำ� เทา่ ทกี่ ำ� ลงั ความสามารถ  ของเราจะอำ� นวย คนทม่ี คี วามสามารถอยแู่ ตเ่ พกิ เฉยในการทำ� บญุ   เสมือนหน่ึงว่าชาวนาเก็บเก่ียวข้าวได้แล้วแจกจ่ายไปหมด ไม่ได ้ สงวนไวท้ �ำพนั ธเุ์ ลย หรอื เหมือนคนที่หาได้เท่าไรแลว้ ใช้หมดเลย การกระท�ำกจิ การทง้ั ทางโลกและทางธรรม กต็ อ้ งอาศยั บญุ   เกา่ เหมอื นกนั  อยา่ งเชน่  คนทจี่ ะบรรลมุ รรคผลในชาตนิ ก้ี จ็ ะตอ้ งมี  อปุ นสิ ยั ปจั จยั แตป่ างกอ่ นเปน็ เครอ่ื งสนบั สนนุ  หรอื ถา้ เราไมม่ บี ญุ   เกา่ แลว้  ถงึ มขี องอยกู่ ไ็ มส่ ามารถทจี่ ะรกั ษาได ้ ดงั จะไดย้ กเรอื่ งราว  มาเล่าประกอบดังตอ่ ไปน้ี สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 85

๕มงคลขอ้ ท่ี มบี ญุ วาสนามากอ่ น เรือ่ งพระยามหากัปปนิ ะ ในอดีตกาลล่วงมาแล้วช้านาน ที่เมืองพาราณสี มีหมู่บ้าน  ของช่างหูกจ�ำนวนพันหน่ึงตั้งอยู่ในเมืองนี้ ครั้งนั้น มีพระปัจเจก-  พุทธเจ้าจ�ำนวนพันหน่ึง เหาะมาจากป่าหิมพานต์เพื่อจะอาศัยอยู ่ ในชนบท ก�ำหนด ๔ เดือน ครั้นเม่ือมาแล้วก็แสวงหาที่จะอยู่  จำ� พรรษาในกาลฤดฝู น ในวนั หนง่ึ  ภรรยาของหวั หนา้ ชา่ งหกู ไดเ้ ขา้ ไปในกรงุ พาราณสี  พบพระปจั เจกพทุ ธเจา้  มคี วามเลอ่ื มใสจงึ เขา้ ไปนมสั การเรยี นถาม  ก็ได้ความว่า ท่านจะแสวงหาที่อยู่จ�ำพรรษา นางมีจิตเล่ือมใสใน  พระปัจเจกพุทธเจา้ นั้น จึงไดเ้ รียนกบั ทา่ นว่า “ข้าแต่พระคุณเจ้าผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลายเป็นนายช่างหูก  มบี า้ นอยปู่ ระมาณพนั หนงึ่  ขา้ พเจา้ ขอนมิ นตพ์ ระคณุ เจา้ ทงั้ หมดน้ี  เข้ารับบิณฑบาตในบ้านของข้าพเจ้าทั้งหลายในวันพรุ่งน้ีเถิด  ข้าพเจา้ ทง้ั หลายจะจดั เสนาสนะถวายใหอ้ ยจู่ ำ� พรรษา” เมื่อนางได้กล่าวอาราธนาแล้ว พระปัจเจกพุทธเจ้าท้ังหลาย  กร็ บั อาราธนา ภรรยาหวั หนา้ ชา่ งหกู กก็ ลบั ไป และปา่ วประกาศให ้ พวกชาวบา้ นทง้ั หลายมาถวายทานในวนั พรุง่ นี้ ครั้นวันรุ่งเช้า พระปัจเจกพุทธเจ้าก็พากันมารับบิณฑบาต  ชา่ งหกู ทงั้ หลายกถ็ วายทานตามศรทั ธา แลว้ กพ็ ากนั สรา้ งกฏุ ถิ วาย  ใหจ้ ำ� พรรษาบา้ นละองค ์ และทำ� สำ� รบั สง่ ถวายจนตราบเทา่ วนั ออก  พรรษา จงึ ไดถ้ วายผา้ จำ� นำ� พรรษาแกพ่ ระปจั เจกพทุ ธเจา้  เมอ่ื ชา่ งหกู   86 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

ทง้ั หลายทำ� กาลกริ ยิ าตาย กไ็ ปบงั เกดิ เปน็ เทพบตุ รเทพธดิ าในดาวดงึ ส์ ครั้นกาลล่วงมา ในศาสนาของพระพุทธกัสสป เทพบุตร  เทพธิดาได้พากันจุติลงมาบังเกิดในตระกูลต่างๆ ซึ่งมีโภคทรัพย ์ อยู่ในเมืองพาราณสี ช่างหูกซึ่งเป็นหัวหน้าและภรรยามาเกิดใน  ตระกลู กฎมุ พผี ใู้ หญ ่ ชา่ งหกู อกี  ๙๙๙ คน กบั ภรรยาไดม้ าบงั เกดิ   ในตระกูลต่�ำลงมาตามล�ำดับ และได้มาเป็นสามีภรรยากันอย่าง  เชน่ เคย เมอื่ มโี ภคทรพั ย ์ ไดม้ ศี รทั ธาสรา้ งวหิ ารพนั หอ้ งถวาย และ  ท�ำการฉลองถวายแก่สงฆ์หมื่นหนึ่ง มีพระพุทธเจ้าเป็นประธาน  สิ้นเวลา ๗ วัน วันสุดท้ายได้ถวายผ้าไตรจีวรบริขาร แต่ภรรยา  กฎุมพีผู้ใหญ่น้ันมีความปรารถนาจะท�ำบุญให้ย่ิงกว่าคนทั้งปวง  จึงได้น�ำผ้ามีสีดังดอกอังกาบ มีราคาพันหน่ึง กับดอกอังกาบมา  สักการะถวายแก่พระกัสสปพุทธเจ้า แล้วต้ังความปรารถนาว่า  ถ้าข้าพเจ้ายังต้องเวียนว่ายตายเกิดอยู่ตราบใด ขอให้ข้าพเจ้า  มีสีกายงามเหมือนสีดอกองั กาบ และมชี อื่ วา่  อโนชากมุ าร ี เมอื่ ได ้ ตง้ั ความปรารถนาเชน่ น้ันแล้ว พระพุทธเจ้าก็ทำ� การอนุโมทนาว่า  ขอความปรารถนาของนางจงส�ำเร็จทกุ ประการ หลังจากได้ตายจากภพนั้นแล้ว ก็ได้กลับมาเกิดในสวรรค ์ ดาวดึงส์เทวโลก เกิดท่องเท่ียวอยู่ในสวรรค์และมนุษย์เป็นเวลา  ช่ัวพุทธันดรหน่ึง คร้ันกาลล่วงมา คนเหล่าน้ันได้ลงมาเกิดเป็น  มนษุ ย ์ กอ่ นทพี่ ระพทุ ธเจา้ จะลงมาตรสั  กฎมุ พผี ใู้ หญม่ าบงั เกดิ เปน็   กษตั รยิ  ์ มพี ระนามวา่ พระยามหากปั ปนิ ะอยใู่ นเมอื งกกุ กฏุ วดนี คร  ฝ่ายภรรยาได้เกิดเป็นมเหสีนามว่านางอโนชาเทวี เพราะนางม ี ผวิ กายดงั สดี อกองั กาบ คนทง้ั หลายทที่ ำ� บญุ รว่ มกนั มากไ็ ดบ้ งั เกดิ   สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 87

๕มงคลข้อที่ มบี ญุ วาสนามาก่อน เป็นอำ� มาตย์ตามลำ� ดบั เมื่อพระบรมศาสดาของเราลงมาตรัสรู้ในโลกนี้ และเสด็จ  ประทบั อยทู่ กี่ รงุ สาวตั ถ ี ขณะทพี่ ระยากปั ปนิ ะเสดจ็ ประทบั อยใู่ นราช  อุทยาน ได้ฟังข่าวจากนายพานิชว่า บัดน้ีพระพุทธเจ้า พระธรรม  พระสงฆไ์ ดเ้ กดิ ขนึ้ แลว้  บงั เกดิ ความปตี อิ ยา่ งมาก ไดพ้ ระราชทาน  ทรพั ยพ์ นั หนง่ึ แกน่ ายพานชิ นนั้  แลว้ สง่ั ใหน้ ายพานชิ นำ� ความเรอื่ งน ้ี ไปบอกแกน่ างอโนชาเทว ี สว่ นพระองคก์ ไ็ ดท้ รงเสดจ็ ดว้ ยมา้  พรอ้ ม  กบั บรวิ ารพนั หนง่ึ  ม่งุ ตรงต่อพระพทุ ธเจา้ พระพุทธองค์ได้เล็งเห็นอุปนิสัยแห่งมรรคผลของพระยา  กัปปินะและบริวาร จึงเปล่งรัศมีแผ่ซ่านออกจากพระกายปรากฏ  โชติช่วง ส่วนพระยากัปปินะพร้อมด้วยบริวารได้เสด็จเดินทาง  มาได้ระยะทางสองร้อยโยชน์ จนถึงแม่น้�ำจันทภาคา พระองค์  ก็ทรงประทับพัก ณ ร่มไทรใหญ่ เม่ือเสด็จมาถึงในท่ีแห่งหน่ึง มี  มหานทีสามแถวขวางหน้าอยู่ แม่น�้ำสายท่ีหน่ึงชื่อว่าอารวปัจฉา  กวา้ งคาพยตุ หนงึ่ กบั เสน้  ๑๕ วา แมน่ ำ�้ ท ี่ ๒ ชอ่ื วา่ นลิ วาหนา กวา้ ง  กึ่งโยชน์ แม่น้�ำท่ี ๓ ชื่อจันทภาคา กว้างหนึ่งโยชน์ เม่ือมาถึง  แม่น�้ำทั้ง ๓ สาย พระองค์ก็ได้ทรงตั้งสัตยาธิษฐาน เอาคุณของ  พระพุทธเจ้าเป็นท่ีพึ่ง พระองค์และบริวารข้ามพ้นห้วงน�้ำทั้งสาม  ไปโดยปลอดภยั  ครนั้ พระองคพ์ าบรวิ ารมาถงึ ฝง่ั  กไ็ ดเ้ หน็ พระรศั ม ี ๘ ประการ จงึ เสดจ็ ลงจากหลงั อาชา พาบรวิ ารเขา้ ไปเฝา้ พระบรม  ศาสดาถวายนมสั การ พระองคจ์ งึ แสดงพระธรรมเทศนาใหพ้ ระยา  กัปปินะและบริวารได้ส�ำเร็จโสดาปัตติผล แล้วทูลขอบรรพชา  อปุ สมบท พระองค์ก็ได้ทรงประทานอุปสมบทให้ 88 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

ทางฝ่ายนางอโนชาเทวี เมื่อได้ทราบข่าวจากนายพานิชว่า  พระสวามีได้เสด็จออกไปเฝ้าพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนางก็ม ี ความเลื่อมใส และประทานทรัพย์แก่นายพานิชนั้น ๙ แสน น�้ำ  พระทยั ของพระนางมคี วามหนกั แนน่ อยใู่ นพระพทุ ธคณุ  พระนาง  จึงตรัสเรียกเหล่าบรรดาสนมทั้งปวงเข้ามา แล้วพากันเข้าไปเฝ้า  พระบรมศาสดา พระพทุ ธองคท์ รงพจิ ารณาเหน็ แลว้ วา่  เมอื่ สองสามภี รรยาได้  เหน็ กนั กจ็ ะเปน็ อนั ตรายแกม่ รรคผล พระองคจ์ งึ ทรงบนั ดาลไมใ่ ห ้ ทั้งสองฝ่ายได้แลเห็นกัน พระนางอโนชาได้เข้าไปถวายอภิวาท  พระบรมศาสดา พระองคจ์ งึ ไดต้ รสั พระธรรมเทศนาใหน้ างทงั้ หมด  ได้รับโสดาปัตติผล ส่วนภิกษุผู้สามีท้ังพันองค์ ได้ฟังพระธรรม  เทศนาน้ันแล้วส�ำเร็จเป็นพระอรหัตปฏิสัมภิทา แล้วพระองค์ก็ได ้ ทรงคลายปาฏิหาริย์ให้คนทั้งสองพวกได้เห็นกัน แล้วพระนาง  อโนชาพร้อมด้วยบริวารได้ขอบรรพชาอุปสมบทเป็นภิกษุณี  พระองคก์ อ็ นญุ าตใหบ้ วชในสำ� นกั อบุ ลวรรณาเถร ี และไดบ้ รรลเุ ปน็   พระอรหนั ตท์ งั้ สน้ิ  ทา่ นทงั้ หลายทไ่ี ดพ้ น้ จากความทกุ ขน์ นั้  เพราะ  ด้วยกุศลผลเก่าที่ได้ส่ังสมไว้มาสนับสนุน พระองค์จึงตรัสว่าเป็น  มงคล คอื ทำ� ความพน้ ทกุ ขไ์ ด ้ และคนทไี่ มม่ บี ญุ เกา่ สนบั สนนุ ถงึ วา่   มขี องดอี ยกู่ ไ็ มส่ ามารถจะรกั ษาไวไ้ ด ้ เพราะไมม่ กี ศุ ลทจี่ ะรกั ษา ดงั   เร่อื งท่จี ะเล่าตอ่ ไปน้ี สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 89

๕มงคลขอ้ ท่ี มีบุญวาสนามาก่อน นทิ านเรอ่ื งพระเจา้ ทธิวาหนะ ในอดตี กาลนานมาแลว้  ยงั มพี ราหมณ ์ ๔ คนพนี่ อ้ งอยใู่ นกรงุ   พาราณส ี และไดเ้ กดิ เบอื่ หนา่ ยในการครองฆราวาส จงึ ไดอ้ อกบวช  เปน็ ฤๅษอี ยใู่ นปา่ หมิ พานต ์ ฤๅษซี งึ่ เปน็ พต่ี อ่ มาไดต้ ายลง และไดไ้ ป  เกดิ เปน็ พระอนิ ทรอ์ ยใู่ นสวรรคช์ น้ั ดาวดงึ ส ์ รวู้ า่ นอ้ งนนั้ มคี วามทกุ ข ์ จึงได้ลงมาจากสวรรค์เพ่ือที่จะช่วยสงเคราะห์น้องของตน เมื่อมา  ถงึ ก็ได้นมัสการฤๅษีน้นั “พระคณุ เจ้า พระองคส์ บายดีอยู่หรอื ” พระอนิ ทรถ์ าม “สบายอย่างไรกันได้เล่าท่าน” ฤๅษีตอบ “เวลานี้เราเองก็ได ้ รบั ความทกุ ขอ์ ยา่ งหนกั ทเี ดียว เพราะอากาศหนาว” “แลว้ พระคณุ เจ้าตอ้ งการอะไรเลา่ ครบั ” “เวลานเ้ี ราตอ้ งการไฟ เพอ่ื ผงิ ในเวลาอากาศหนาว” ฤๅษตี อบ  ทา่ ทางของฤๅษขี ณะนนั้ มที กุ ขอ์ ยา่ งหนกั จนถงึ กบั ซบู ซดี ผอมเหลอื ง  อยา่ งเห็นไดช้ ดั “กระผมจะถวายมดี วเิ ศษใหพ้ ระคณุ เจา้ เลม่ หนงึ่  เมอ่ื พระคณุ   เจา้ มคี วามประสงคท์ จี่ ะไดอ้ ะไร กเ็ คาะดา้ มมดี วเิ ศษน ี้ พระคณุ เจา้   กจ็ ะไดส้ มปรารถนา” แลว้ พระอนิ ทรก์ ไ็ ดม้ อบมดี วเิ ศษนน้ั แกด่ าบส หลังจากน้ันแลว้ พระอนิ ทร์ก็ไปยังท่อี ยขู่ องฤๅษีรปู ที่ ๒ แล้ว  ถามสารทกุ ข์สุกดบิ ตามธรรมเนียม ฤๅษีจงึ บอกวา่ “เราจะสบายได้อย่างไรกันเล่า” ฤๅษีถอนหายใจอย่างหนัก  “เราถูกช้างมารบกวนอยู่เนืองๆ แล้วเราก็ไม่มีปัญญาที่จะไปต่อสู้  90 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

กบั มนั  ไอจ้ ะยา้ ยไปทอี่ นื่ หรอื มนั กไ็ มเ่ หมาะสมกต็ อ้ งทนอยอู่ ยา่ งน้ี  แหละ” “กระผมจะชว่ ย” พระอนิ ทรต์ อบ “กระผมจะถวายกลองวเิ ศษ  ให้พระคุณเจ้า” แล้วพระอินทร์ก็น�ำกลองวิเศษมามอบให้ฤๅษีน้ัน  พรอ้ มกับกล่าววา่ “หน้ากลองข้างน้ีเมื่อตีแล้วข้าศึกศัตรูจะหนีไป และเม่ือต ี กลองหน้านี้แล้วจะมีพลโยธามาแวดล้อมไว้ ขอพระคุณเจ้าจงใช้  ตามความปรารถนาเถดิ ขอรบั ” แล้วพระอินทร์ก็ไปยังที่อยู่ของฤๅษีคนที่ ๓ ซึ่งขณะน้ันมี  ความเจ็บป่วยอยู่ และมีความอดอยากอย่างหนัก จึงได้บอกแก ่ พระอนิ ทร์วา่   “อาตมาก�ำลังอาพาธอยู่และมีความต้องการอยู่อย่างเดียว  ในเวลาน้ีคือ อาตมามีความต้องการนมเปรี้ยว (หมายถึงนมวัวท ี่ เกบ็ ไวจ้ นขน้ึ ฝา แปรจากรสเดมิ เปน็ รสเปรยี้ ว) เพราะสามารถทจ่ี ะ  ทำ� ให้อาตมาหายจากการเจบ็ ป่วยได้” “เอาเถิดกระผมจะถวายหม้อวิเศษให้พระคุณเจ้า เมื่อ  พระคณุ เจ้ามคี วามต้องการนมเปรย้ี วเมอ่ื ไรแลว้ กค็ ว�่ำหมอ้ ใบน้ีลง  จะมีนมมาให้อย่างไม่รู้จักหมด” แล้วพระอินทร์ก็ถวายหม้อวิเศษ  นัน้ แก่ดาบสรูปท ่ี ๓ แล้วก็ลาจากไปสวู่ ิมานของตน ต้ังแต่นั้นมา ฤๅษีก็ได้อาศัยมีดวิเศษนั้นช่วยก่อไฟ รูปที่ ๒  ใช้กลองวิเศษไล่ช้าง และองค์ที่ ๓ ก็อาศัยหม้อวิเศษเรียกเอานม  เปรยี้ วตามความปรารถนา จึงทำ� ใหม้ คี วามสุขสบายตอ่ มา ในครง้ั นนั้  ไดม้ หี มบู า้ นตวั หนง่ึ ไดอ้ อกเทยี่ วแสวงหาอาหารกนิ   สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 91

๕มงคลข้อท่ี มีบุญวาสนามากอ่ น ในวนั นนั้ กไ็ ดพ้ บกบั แกว้ วเิ ศษดวงหนงึ่ ซงึ่ สามารถทจี่ ะทำ� ใหต้ วั ของ  มนั เหาะไดเ้ ขา้ กม็ คี วามดใี จ ไดอ้ าศยั แกว้ วเิ ศษนนั้ พาตวั มนั เหาะไป  แสวงหาอาหารในเกาะแหง่ หนงึ่ กลางมหาสมทุ ร และไดอ้ าศยั อยใู่ น  เกาะแห่งนั้น โดยนอนอยู่ใต้ต้นมะเด่ือในเกาะน้ัน และได้วางแก้ว  วเิ ศษไวข้ า้ งหน้าของตนและหลบั ไป ตอ่ มาไดม้ ชี ายชาวเมอื งกาสกิ ราช ซง่ึ ไดอ้ อกไปคา้ ขายยงั แดน  ไกล และเรอื ของตนไดอ้ บั ปางลงกลางมหาสมทุ ร สว่ นตวั ของชาย  คนนนั้ ไดร้ อดมาไดโ้ ดยวา่ ยเขา้ สฝู่ ง่ั  ซงึ่ เปน็ บนเกาะทห่ี มตู วั นนั้ นอน  อยู่ เมื่อไปถึงก็พบหมูนอนอยู่ใต้ต้นมะเด่ือ และเห็นแก้ววิเศษอยู ่ เบอื้ งหนา้ หมนู น้ั  จงึ ไดห้ ยบิ มาด ู ดว้ ยอานภุ าพของแกว้ วเิ ศษท�ำให ้ ชายคนนั้นเหาะข้ึนไปในอากาศ แล้วกลับมานั่งอยู่บนก่ิงมะเดื่อ  ความดีใจท่ีได้แก้ววิเศษทำ� ให้ชายคนน้ันลืมความหิวไปช่ัวครู่ เมื่อ  ความดีใจได้ผ่อนคลายลงแล้วก็เกิดความหิวขึ้นมา จึงไม่รู้ว่าจะ  หาอาหารกนิ ไดท้ ไี่ หน เพราะวา่ ตนกเ็ พงิ่ จะขนึ้ มาใหมไ่ มร่ วู้ า่ จะหา  อาหารไดท้ ่ีไหน จงึ คดิ วา่ “เราจะตอ้ งฆา่ หมตู วั นแี้ ลว้ กนิ เนอื้ ของมนั เปน็ อาหาร เพราะ ไม่รวู้ า่ เราจะไปหาอาหารได้ทไ่ี หน” เมื่อคิดอย่างน้ันแล้วจึงได้หักก่ิงมะเด่ือแล้วขว้างลงไปยังตัว  หมนู นั้  เมอื่ หมตู นื่ ขนึ้ มาไมเ่ หน็ แกว้ ของตวั กเ็ ทย่ี วแสวงหาแกว้ ตาม  ทบี่ รเิ วณนนั้  อาการทหี่ มหู าแกว้ อยนู่ น้ั เปน็ ภาพทน่ี า่ ขบขนั  จงึ ทำ� ให ้ ชายคนนน้ั กห็ วั เราะขน้ึ ดว้ ยความขบขนั ในกริ ยิ าทา่ ทางของหม ู เสยี ง  หวั เราะนนั้ ไดย้ นิ ไปถงึ หมทู อี่ ยขู่ า้ งลา่ ง จงึ แหงนหนา้ มองขนึ้ ไปเบอื้ ง  บนก็เหน็ คนอยบู่ นนนั้ ก็รู้วา่ ตอ้ งเสียทา่ เจา้ มนษุ ยน์ ัน้ เสยี แล้ว จึงมี  92 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

ความโกรธ พงุ่ ศรี ษะของตนชนตน้ มะเดอื่ นนั้ ตายลง เปน็ อนั วา่ หมู  นั้นก็กลายเป็นอาหารอันโอชะของชายผู้นั้นอย่างอ่ิมเอม น่ีแหละ  หนอ ความโงข่ องหมู เมอื่ ไดฆ้ า่ หมตู ายแลว้ และไดบ้ รโิ ภคอาหารมอื้ นน้ั อยา่ งอมิ่ เอม  แลว้  บรุ ษุ นนั้ กไ็ ดอ้ าศยั แกว้ นนั้ เหาะไปยงั ทต่ี า่ งๆ และกไ็ ดม้ าถงึ ยงั   ที่อยู่ของฤๅษีตนท่ี ๑ เป็นเวลา ๒-๓ วันก็ได้เห็นอานุภาพของมีด  วิเศษจึงมคี วามอยากไดข้ องน้นั “พระคุณเจ้าผู้เจริญ” ชายผู้นั้นเอ่ยขึ้น “มีดของท่านวิเศษ  เหลอื เกนิ  ผมคดิ วา่ ไมม่ ขี องวเิ ศษใดๆ จะเทา่ ของพระคณุ เจา้ ” ชาย  หนมุ่ ยอ “อ๊ะ แน่ละท่าน ของนี้วิเศษมากเราได้รับมาจากพระอินทร ์ เชยี วนา” พระฤๅษสี นบั สนนุ คำ� พดู นน้ั  “ของวเิ ศษนสี้ ามารถทจี่ ะดล  บันดาลได้หลายอยา่ งตามทเี่ ราต้องการ” “กระผมมีของวิเศษอยู่อย่างหนึ่ง อยากจะแสดงให้ท่านด ู ของวเิ ศษนส้ี ามารถทจ่ี ะทำ� ใหเ้ ราเหาะไปไหนมาไหนทางอากาศได”้   แล้วชายคนน้นั กแ็ สดงให้ด ู ทำ� ให้ฤๅษีตนนนั้ มคี วามอยากได้ “ของๆ ทา่ นวเิ ศษเหลอื เกนิ ” ฤๅษกี ลา่ วขนึ้ หลงั จากไดช้ มของ  วิเศษนั้นแล้ว “กระผมกไ็ ดอ้ าศยั อยกู่ บั พระคณุ เจา้ มาหลายเวลาแลว้  กร็ สู้ กึ   วา่ เปน็ บญุ คณุ อยา่ งยง่ิ  กระผมจงึ อยากจะตอบแทนคณุ ของพระคณุ   เจ้า โดยกระผมจะขอแลกเปลี่ยนกบั พระคณุ เจา้ ๆ จะว่าอยา่ งไร” “ฮา้  น่เี ปน็ ความจรงิ หรอื ” ฤๅษถี ามอยา่ งไมแ่ นใ่ จ “แนน่ อนทเี ดยี วพระคณุ เจา้ ” ชายคนนน้ั กลา่ วอยา่ งหนกั แนน่ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 93

๕มงคลขอ้ ที่ มีบญุ วาสนามากอ่ น เป็นอันว่าฤๅษีน้ันหลงกลชายเจ้าเล่ห์คนนั้น ได้ยอมแลก  เปลย่ี นดว้ ยโดยหาไดเ้ ฉลยี วใจไมว่ า่  นน่ั จะนำ� ความหายนะถงึ ชวี ติ   มาสตู่ น เมอื่ ชายคนนนั้ ไดม้ ดี วเิ ศษไปแลว้ กล็ าจากไป และไดย้ อ้ น  กลบั มาภายหลงั และไดใ้ ชม้ ดี วเิ ศษนน้ั แหละฆา่ ดาบสตายลง แลว้ ก ็ ยึดแก้ววเิ ศษกลบั คนื มา จากดาบสตนที่ ๑ มาแล้ว ชายคนนั้นก็ได้ไปหาดาบสตนที ่ ๒-๓ ตามลำ� ดบั  พรอ้ มกนั นน้ั กไ็ ดบ้ อกขอแลกเปลยี่ นของวเิ ศษ และ  ดาบสทั้งสองก็ยอมแลกเปลี่ยนด้วย แล้วชายคนน้ันก็ใช้มีดวิเศษ  ฆ่าดาบสอีกสองตนตายท้ังสิ้น เป็นอันว่าชายคนน้ันได้ของวิเศษ  ถงึ  ๔ อยา่ ง คอื  แกว้ วเิ ศษ มดี วเิ ศษ กลองวเิ ศษ หมอ้ วเิ ศษ มาเปน็   สมบตั ขิ องตน เมอื่ ไดข้ องวเิ ศษทง้ั หลายมาแลว้  ชายคนนนั้ กไ็ ดเ้ หาะมงุ่ ตรง  ไปยงั กรงุ พาราณส ี เมอ่ื ถงึ กรงุ พาราณส ี กไ็ ดม้ สี าสนไ์ ปยงั พระเจา้   กรุงพาราณสี ให้ออกมารบกัน พระเจ้ากรุงพาราณสีก็กรีฑาทัพ  ออกมาเพอ่ื จะจับบรุ ษุ คนนั้นฆ่าเสีย ชายผมู้ ขี องวเิ ศษกไ็ ดใ้ ชก้ ลองวเิ ศษตขี นึ้  ๓ ครง้ั  กก็ ลายเปน็   ร้ีพลแวดล้อมตัวมากมาย เจ้ากรุงพาราณสีได้สั่งให้โยธาของตน  บุกเข้าไปฆ่าให้ได้ แต่ชายคนนั้นใช้หม้อวิเศษควำ่� ลง ปรากฏเป็น  น้�ำนมไหลออกมามากมายท่วมเหล่าทหารนั้นจนสิ้น แล้วใช้มีด วเิ ศษฆา่ พระเจา้ กรงุ พาราณสสี นิ้ พระชนมล์ ง แลว้ ตนเองกข็ น้ึ ครอง  เมอื งแทน เรอ่ื งทยี่ กมาแสดงน ี้ เปน็ เรอ่ื งทจ่ี ะชใ้ี หเ้ ราเหน็ วา่ บคุ คลทไ่ี มม่  ี บญุ กศุ ลแลว้  ถงึ แมว้ า่ จะไดข้ องดเี หลา่ นน้ั มากไ็ มส่ ามารถทจ่ี ะรกั ษา  94 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

ของนั้นไว้ได้ อย่างตัวอย่างในปัจจุบันนี้ บางคนพอถูกล็อตเตอร่ี  รางวลั ทหี่ นง่ึ  กเ็ ปน็ ลมตายดว้ ยความดใี จ นเ่ี ปน็ เพราะไมม่ วี าสนาท่ ี จะได้เงินจ�ำนวนมากเชน่ นน้ั  ดงั น้ันพระพทุ ธองคจ์ ึงตรัสวา่  บคุ คล  ผมู้ บี ญุ เกา่ อนั ไดส้ งั่ สมไวแ้ ลว้ เปน็ มงคลอยา่ งยง่ิ  อยา่ งทวี่ า่  “แขง่ เรอื   แข่งพายก็พอจะแข่งได้ แต่แข่งบุญแข่งวาสนาแข่งกันไม่ได้” ดังนี้ แล สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 95

๖มงคล ข้อที่ อตตฺ สมฺมาปณิธิ (ตงั้ ตนไวช้ อบ) การดำ� เนนิ ชวี ติ ของคนเรานนั้ เปน็ เรอ่ื งทสี่ ำ� คญั ทสี่ ดุ ของชวี ติ   ถ้าเราเดินทางในทางที่ถูกต้องก็สามารถที่จะท�ำให้เราได้รับความ  สบายในท่ีสุด ถ้าเราด�ำเนินชีวิตในทางที่ผิดก็ท�ำให้เราได้รับความ  ล�ำบากอย่างมาก ฉะน้ันความส�ำคัญที่สุดของชีวิตจึงอยู่ที่การ  ดำ� เนินในทางท่ีถูกตอ้ ง  ตามความหมายของมงคล หรือทางพัฒนาชีวิตข้อนี้ พระ  สัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ว่า อตฺตสมฺมาปณิธิ การตั้งตนไว้ชอบ  ซ่ึงเม่ือเราแปลความหมายอย่างน้ีแล้ว คนที่ไม่คุ้นต่อภาษาธรรม  96 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

ก็จะเกิดความสงสยั ว่าหมายความว่าอย่างไรกันแน่ ถา้ เราจะถอด  เอาใจความแลว้ กจ็ ะไดค้ วามหมายวา่  “ตง้ั ตนถกู ทาง” นน่ั เอง เมอื่   เราไดเ้ ขา้ ใจความหมายของมงคลขอ้ นแี้ ลว้  เรากจ็ ะตอ้ งเขา้ ใจความ  หมายของคำ� วา่  ‘ตน’ เสยี กอ่ น คำ� วา่  ตน นน้ั เปน็ คำ� ทเี่ ราสมมตกิ นั   ข้นึ  หมายถึงร่างกายท้งั หมดที่รวมกันเป็นตวั ตนทเี่ รยี กกันวา่ นาย  ก. นาย ข. นัน่ แหละ เมอ่ื มาถงึ ความหมายทวี่ า่  “ตง้ั ตนถกู ” บางคนอาจจะคดิ เลย  ไปถึงส่ิงต่างๆ ภายนอกร่างกาย เป็นต้นว่า ต้องมีเงินทอง ต้อง  มีต�ำแหน่งหน้าท่ีจึงจะต้ังตนได้ ซ่ึงความจริงแล้ว เงินทอง หรือ  ต�ำแหน่งหน้าที่น้ัน เป็นเพียงสิ่งประกอบภายนอกเท่าน้ัน ซึ่งเป็น  งานที่มีความส�ำคัญรองลงไปจากตนอีกทีหน่ึง การมีทรัพย์สมบัติ  กบั เงนิ ทองเปน็ คนละทางกนั  จะขอยกตวั อยา่ งใหด้ ถู งึ ความหมาย  ของค�ำว่า “ตั้งตัว” เช่น เราจะแบกของหนักๆ สักสิ่งหน่ึง เราจะ  ต้องตั้งตัวให้มั่นคงเสียก่อน ถ้าเราไม่ต้ังตัวให้ม่ันคงเสียก่อนแล้ว  พอของมาถึงเราก็จะเสียหลักล้มลงก็ได้ ดีไม่ดีของน้ันก็จะทับเอา  ตัวเราเจ็บเข้าอีก น่ีเห็นหรือยังละว่าการต้ังตนนั้นเป็นสิ่งที่เราจะ  ตอ้ งทำ� กอ่ น สว่ นของทเี่ ราจะแบกจะหามนนั้ มาทหี ลงั  งานอนื่ ๆ ก็  เหมอื นกนั  เราจะตอ้ งแยกงานใหถ้ กู  คนทแี่ ยกงานไมถ่ กู  ไปคดิ ตงั้   ตวั เอาเมอื่ มเี งนิ มที องแลว้ มกั จะพลาด บางคนไดร้ บั มรดกจากพอ่   แมม่ ามากมาย ผลทสี่ ดุ กร็ กั ษามรดกนน้ั ไมไ่ ด ้ ทงั้ นเ้ี พราะเราไมไ่ ด้  ตั้งตัวไว้ก่อนเลยรับไม่ไหว บางคนต้ังตัวยังไม่พร้อม สมัครพรรค  พวกยดั เยยี ดเอาตำ� แหนง่ รฐั มนตรไี ปให ้ กเ็ ลยเซน็ ผดิ เซน็ ถกู  แลว้ ก็  ลม้ ลกุ อยา่ งนา่ สงสาร โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ทเี่ หน็ ไดง้ า่ ยในปจั จบุ นั น้ ี สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 97

๖มงคลขอ้ ท่ี ตงั้ ตนไวช้ อบ เดก็ หนมุ่ เดก็ สาวบางคน เพงิ่ จะสอนตงั้ ไข ่ แบกการเรยี นยงั ไมค่ อ่ ย  จะไหว เกดิ ไปรขิ อความรกั ใครๆ มาแบกเขา้ ไปอกี  ไหนจะเรอ่ื งเรยี น  ไหนจะเรอื่ งรกั  ผลทสี่ ดุ กไ็ ปไมร่ อด นเ่ี ปน็ เรอ่ื งทจี่ ะชใี้ หเ้ หน็ วา่ การ  ต้ังตนให้ถูกน้ันเป็นงานท่ีจะต้องท�ำก่อน ด้วยเหตุน้ีเองมงคลของ  พระพทุ ธเจ้าขอ้ ที ่ ๖ น้ี จงึ ช้ีจุดท่กี ารตง้ั ตน เมอ่ื เราไดท้ ำ� ความเขา้ ใจในเรอ่ื งของการตง้ั ตวั แลว้  ตอ่ ไปนเี้ รา  กจ็ ะตอ้ งศกึ ษาถงึ ประเดน็ ของการตงั้ ตวั  วา่ การตง้ั ตวั นน้ั ตงั้ อยา่ งไร  เพ่ือความเข้าใจในปัญหาข้อนี้จึงใคร่ท่ีจะขออัญเชิญเอาพุทธวจนะ  ของพระสมั มาสมั พุทธเจา้ ทีต่ รสั ไวใ้ นธรรมบทวา่ ทโิ ส ทิสํ ยนตฺ  ํ กยริ า    เวร ี วา ปน เวรนิ ํ มจิ ฉาปณิหิตํ จติ ฺต ํ   ปาปิโย น ํ ตโต กเร โจรหวั โจกเหน็ โจรหวั โจก หรอื คนทมี่ เี วรเหน็ คนทผี่ กู เวรกนั ไว้  พงึ ทำ� ความพนิ าศใหแ้ กก่ นั  จติ ทตี่ งั้ ไวผ้ ดิ  พงึ ท�ำบคุ คลใหเ้ ลวเสยี ยง่ิ   กวา่ โจรหรือคนมเี วรท่ีทำ� แกก่ นั น้ัน และอีกบทว่า น ตํ มาตา ปิตา กยิรา อญเฺ  วาปิจ ญาตกา สมฺมาปณิหิตํ จิตฺต ํ   เสยยฺ โส น ํ ตโต กเร มารดาบิดาก็ดี ญาติเหล่าอ่ืนก็ดี ไม่พึงท�ำสมบัติอันใดให้ได ้ จิตท่ีต้ังตนไว้ชอบ พึงท�ำบุคคลให้ประเสริฐกว่าการท�ำของบุคคล  เหล่านน้ั จากพทุ ธวจนะสองบททีไ่ ด้อัญเชญิ มาน้ี เราจะเห็นได้แล้วว่า  จดุ ใหญข่ องการตงั้ ตนไดน้ น้ั อยทู่ จ่ี ติ ใจนนั่ เอง ฉะนนั้ ความหมาย  ของมงคลขอ้ ทว่ี า่  อตตฺ สมมฺ าปณธิ  ิ ตงั้ ตนไวช้ อบ กค็ อื ตงั้ ใจดนี นั่ เอง  98 ม ง ค ล ๓ ๘ ป ร ะ ก า ร

เรื่องการตัง้ ใจนน้ั ตามภาษาธรรมเรียกวา่  เจตนา เม่ือเราเข้าใจแล้ว ปัญหาต่อไปที่เราจะท�ำความเข้าใจต่อไป  ก็คือ ตั้งอย่างไร การตั้งใจน้ันจะต้องตั้งให้ถูกทาง ที่ว่าถูกทางนั้น  เราจะเอาอะไรเปน็ เครอื่ งตดั สนิ  เพราะวา่ ตา่ งคนตา่ งกค็ ดิ วา่ การท�ำ  ของตนน้ันถกู ทัง้ ส้นิ  ไม่มใี ครยอมรับวา่ ตนผิด ข้อนี้เป็นเร่ืองท่ีส�ำคัญ ก่อนอ่ืนเราจะต้องเข้าใจเสียก่อน  ว่าทางในโลกนี้มีอยู่ ๒ ทาง คือ ทางถูก และทางผิด เราจะรู้ได ้ อย่างไรเล่าว่าผิด ก่อนอื่นเราต้องตั้งปัญหาถามตัวของเราเอง  เสียก่อนว่า มีความต้องการอย่างไร ทุกคนก็ต้องตอบเป็นเสียง  เดียวกันว่า ต้องการ “ความสบาย” ซ่ึงทุกคนก็ต้องยอมรับ และ  เท่าท่ีแสวงหากันอยู่ทุกวันนี้ เป็นต้นว่าการศึกษาเล่าเรียน การ  คา้ ขาย เหลา่ นกี้ เ็ พอื่ ตอ้ งการความสบาย แตก่ ม็ อี ยเู่ ปน็ จ�ำนวนมาก  ที่ไม่เข้าใจการด�ำเนินทางว่าท�ำอย่างไรจึงจะสบาย บางคนคิดว่า  กินเหล้าแล้วสบาย แล้วก็กินเหล้า บางคนว่าสูบฝิ่นสบาย แล้ว  ก็สูบฝิ่น หรือสูบกัญชาสบาย แล้วก็สูบกัญชา เหล่านี้เป็นต้น ซึ่ง  ความจริงแล้วน่ีไม่ใช่เจตนาด้ังเดิม แต่เป็นเจตนาท่ีถูกมารหรือ  ความมวั เมาท�ำใหเ้ ราหลงไป ฉะนน้ั  เมอ่ื เราจะด�ำเนนิ ชวี ติ อยา่ งไร  ก็ตาม เราจะต้องมีหลักอยู่ที่ตัวของเราว่ามีความต้องการอย่างไร  แล้วด�ำเนินการให้ถูกต้อง ทางใดท่ีเราด�ำเนินไปแล้วได้รับความ  ส�ำเร็จ ได้ลาภ เกียรติยศ ช่ือเสียง ความสุขความสบาย โดยไม ่ ท�ำให้ผู้อื่นได้รับความเดือดร้อนแล้ว ทางน้ันเป็นทางที่ถูก ทางใด  เป็นทางที่เสีย คือผู้ด�ำเนินไปแล้วได้รับความเสียหาย จะเป็นเสีย  ทรพั ยเ์ สยี เกยี รต ิ หรอื เสยี ศลี ธรรมกต็ าม ทางนนั้ เปน็ ทางผดิ  ดงั นนั้   สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 99


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook