Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มงคล 38 ประการ

มงคล 38 ประการ

Published by Sarapee District Public Library, 2020-11-16 13:34:34

Description: มงคล 38 ประการ

Keywords: มงคล 38 ประการ,ธรรมะ

Search

Read the Text Version

๓๓มงคล ข้อที่ อรยิ สจฺจาน ทสสฺ นํ (เหน็ อริยสัจ) ในมงคลขอ้ ท ่ี ๓๓ น ้ี เปน็ การปฏบิ ตั สิ งู ขน้ึ ตามล�ำดบั  เปน็ การ  ปฏบิ ตั เิ พอ่ื ความพน้ ทกุ ข ์ ซง่ึ เรยี กวา่  “อรยิ สจจฺ าน ทสสฺ น”ํ  การเหน็   อรยิ สจั  กอ่ นอน่ื จะตอ้ งรเู้ สยี กอ่ นวา่  “อรยิ สจั ” หมายถงึ อะไร และ  มีอะไรบ้าง จะได้เป็นเครื่องสังเกต ถ้าเราไม่รู้อริยสัจแล้ว ก็เห็น  ไมไ่ ด ้ เพราะถึงแมว้ ่าเราเหน็  เรากไ็ ม่รู้ว่าน่นั เป็นอรยิ สัจ 300 มงคล ๓๘ ประการ

อริยสจั อรยิ สจั  เปน็ ธรรมทสี่ ำ� คญั อยา่ งยงิ่ ในพระพทุ ธศาสนา เพราะ  ในคมั ภรี ต์ า่ งๆ ไดก้ ลา่ ววา่  เจา้ ชายสทิ ธตั ถะ ไดค้ วามเปน็ พระพทุ ธ-  เจ้าเพราะรู้อริยสัจ คนท่ีรู้ท่ัวถึงธรรมในพระพุทธศาสนา ก็คือคน  ท่ีร้ใู นอรยิ สัจน่ันเอง อริยสัจเป็นงานค้นคว้า วิจัยปัญหาเรื่องของความทุกข์ด้วย  ปญั ญาของพระองคเ์ อง ไมไ่ ดม้ ผี หู้ นง่ึ ผใู้ ดมาสง่ั สอน ไมต่ อ้ งอา้ งวา่   คำ� สอนนเ้ี ปน็ คำ� สอนของพระเจา้ เบอ้ื งบน เปน็ การวางรากฐานจาก  ความเปน็ จรงิ  กลา้ รบั รองความเปน็ จรงิ ดว้ ยตวั เอง ซงึ่ ผดิ กบั ศาสนา  อน่ื  ซง่ึ เมอื่ คน้ พบอะไรแลว้ จะตอ้ งโยนใหพ้ ระเจา้  เพราะเกรงวา่ จะ  ไม่มีผใู้ ดเชอ่ื มน่ั  แต่พระองค์ไมท่ รงทำ� อย่างน้นั อรยิ สจั  เปน็ ศาสตรอ์ สิ ระอกี ชนดิ หนง่ึ ตา่ งหากวา่ ดว้ ยการทำ�   ตนใหบ้ รสิ ทุ ธห์ิ ลดุ พน้ จากทกุ ข ์ และความมดื มนทงั้ ปวง หากจะนบั   ว่าเป็นศาสตร์หน่ึงอีก ก็เรียกได้อย่างเดียวว่า “พุทธศาสตร์” คือ  หลักวิชาท่ีจะท�ำให้คนบรรลุเป็นพุทธะ เช่นเดียวกับพระพุทธเจ้า  ผูค้ น้ พบ อรยิ สจั  ซง่ึ เปน็ ผลจากการคน้ ควา้ วจิ ยั เรอ่ื งความทกุ ขแ์ ละการ  พน้ ทกุ ขข์ องพระพุทธเจา้ มอี ยู่ ๔ หัวข้อดว้ ยกัน คือ ๑. ทุกข ์ ๒. สมุทัย ๓. นิโรธ ๔. มรรค สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 301

มง๓คล๓ขอ้ ท่ี เห็นอริยสจั เร่ืองของอริยสัจ นับเป็นของท่ีมีอยู่ในตัวของเราทุกคนอยู ่ แลว้  ความทกุ ขแ์ ละเหตุของทุกข์มอี ยู่แล้วในตวั ของเรา ไมต่ ้องไป  ศกึ ษาคน้ ควา้ ทไ่ี หน ไมต่ อ้ งลงทนุ ลงแรงในการศกึ ษา ซงึ่ ผดิ กบั การ  ศกึ ษาสภาวะสจั จะบางอยา่ ง ทน่ี กั วทิ ยาศาสตรก์ ระทำ� กนั อยนู่ นั้  ตอ้ ง  ลงทุนนับเป็นพันๆ ล้านดอลล่าร์ ต้องสร้างจรวดออกไปศึกษาถึง  ในอวกาศ บางคนถงึ กบั เสยี ชวี ติ ในขณะศกึ ษา นบั วา่ มภี ยั อนั ตราย  รอบด้าน เม่ือรู้สัจจะท่ีต้องการรู้แล้ว ก็ไม่สามารถท�ำให้ผู้รู้ดีขึ้น  แต่อย่างใด ส่วนการศึกษาในอริยสัจน้ันไม่มีโทษไม่มีภัย ไม่ต้อง  ลงทุนลงแรงอะไร เมอ่ื รแู้ ล้วก็มคี ณุ ประโยชน์อยา่ งเดยี ว อริยสัจ ถ้าจะแปลตามความหมายแล้วก็จะได้ความว่า  “ความจรงิ อนั ยงั ใหผ้ รู้ เู้ ปน็ อรยิ ะ” คอื หมายความวา่ ใครกต็ ามเมอ่ื ร้ ู อริยสัจแล้วก็สามารถเป็นพระอริยะได้ แต่ความรู้ในที่น้ีไม่ได ้ หมายความว่ารู้จากตัวหนังสือหรือท่องบ่น การรู้แบบตัวหนังสือ  หรือท่องบ่นเป็นความรู้แบบ “สัญญา” คือความจ�ำ ความรู้น้ีเป็น  พระอรยิ ะไมไ่ ด ้ แตเ่ ปน็ บนั ไดทจ่ี ะน�ำไปสคู่ วามรอู้ ยา่ งแทจ้ รงิ คอื  “ร ู้ ดว้ ยปัญญา” อนั เกิดจากการปฏบิ ตั ิวิปัสสนา ๑. ทุกข์อริยสจั   ความทุกข์ในอริยสัจน้ีแตกต่างจากความทุกข์ในไตรลักษณ ์ ความทกุ ขใ์ นไตรลกั ษณน์ น้ั หมายถงึ สภาพทที่ นอยไู่ มไ่ ด ้ แตค่ วาม  ทกุ ขใ์ นอรยิ สจั นนั้ หมายถงึ ความทกุ ขอ์ นั เกดิ จากความเบยี ดเบยี น  ตา่ งๆ นานา เมอื่ จะแยกกจ็ ะไดป้ ระเภทออกเปน็  ๒ ลกั ษณะใหญๆ่ คือ 302 มงคล ๓๘ ประการ

๑. สภาวทุกข์ ได้แก่ความทุกข์อันเป็นผลโดยตรงของ  ความเกิด ความแก่ และความตาย ทุกข์ประเภทนี้เราไม่สามารถ  หลกี เลย่ี งได ้ เพราะเมอ่ื เราเกดิ มาแลว้ กต็ อ้ งแก ่ ตอ้ งเจบ็  ตอ้ งตาย  วิธปี ้องกนั ความทกุ ข์นกี้ ็คอื  “ไม่เกิด” ๒. ปกณิ ณกทกุ ข ์ ไดแ้ กค่ วามทกุ ขอ์ นั เกดิ จากไมส่ ามารถทน  ตอ่ การกระทบของเหตภุ ายนอกได ้ ซ่ึงมอี ย ู่ ๘ อย่างด้วยกนั คือ ๑. โสกะ ความเสียใจ ๒. ปริเทวะ อาการครำ่� ครวญ ๓. ทกุ ขะ มอี าการเจบ็ ทางกายและใจ ๔. โทมนัสสะ อาการเสียใจ น้อยใจ ๕. อปุ ายาสะ อาการทอ้ แท้ใจ-กลุ้มใจ  ๖. สัมปโยคะ ไมส่ บายเพราะประสบในสง่ิ ทไ่ี ม่รกั ๗. วปิ ปโยคะ ความไมส่ มหวงั -ความพลัดพรากจากสงิ่ ทรี่ ัก ๘. อลาภะ ความเสยี ดาย นี่เป็นผลจากการวิจัยความทุกข์ในทางพระพุทธศาสนาท่ ี พระพทุ ธเจ้าทรงค้นพบ ๒. สมุทยั สจั   กลา่ วถงึ มลู เหตแุ หง่ ความทกุ ขแ์ ละไดท้ รงคน้ พบความจรงิ วา่   เหตทุ ที่ ำ� ใหค้ นเราทกุ ขน์ นั้ เกดิ มาจาก ความทะยานอยาก ซงึ่ เรยี ก  วา่  “ตณั หา” และไดท้ รงแสดงอาการของความอยากออกไวเ้ ปน็  ๓  ลกั ษณะ คือ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 303

มง๓คล๓ขอ้ ที่ เหน็ อริยสัจ ๑. กามตัณหา ความอยากได้ ๒. ภวตณั หา ความอยากเป็น ๓. วิภวตัณหา ความอยากไม่เป็น การคน้ พบของพระพทุ ธเจา้ นนั้ เปน็ การคน้ พบเหตขุ องความ  ทกุ ขโ์ ดยตรง และเปน็ การคา้ นลทั ธศิ าสนาฝา่ ยเทวนยิ มทง้ั สน้ิ  ซง่ึ   สอนว่า ความทุกข์ของมนุษย์เกิดจากการลงโทษลงทัณฑ์ของ  พระผู้เป็นเจ้าเป็นใหญ่บนสวรรค์ รวมทั้งเช่ือเรื่องผีสางนางไม้มา  ทำ� ใหค้ นทกุ ขน์ น้ั ดว้ ย ถา้ จะเปรยี บหลกั ค�ำสอนของพระพทุ ธเจา้ กบั   เจ้าลัทธิอ่ืนๆ ก็คล้ายกับคนโบราณ เมื่อเป็นโรคอหิวาต์ หรือเป็น  ไขม้ าเลเรยี  แลว้ กม็ คี วามเชอ่ื ถอื วา่ เกดิ มาจากผใี นปา่  ในมหาสมทุ ร  ในทะเล มาลงโทษเรา แล้วก็มีการเซ่นไหว้อ้อนวอนกับผีสางนั้น  แตเ่ มอ่ื วทิ ยาการไดก้ า้ วหนา้ และคน้ พบวา่  การทเี่ ปน็ โรคอหวิ าตน์ นั้   ไม่ได้เกิดจากผีป่า ผีทะเลแต่อย่างไร มันเกิดมาจากเรากินของที่  ผิดส�ำแดง หรือเกิดจากเราได้รับเช้ือโรคจากการกินน�้ำไม่ได้ต้ม  ฯลฯ ส่วนไข้มาเลเรียนั้นก็ไม่ได้เกิดมาจากผีทะเลอีกเช่นกัน  ปัจจุบันค้นพบว่ายุงก้นปล่องน�ำเช้ือมา และยุงจะเกิดได้เพราะ  เราท�ำให้มีท่ีขังน�้ำไว้ เป็นที่เพาะเช้ือยุงซึ่งเป็นพาหะน�ำเช้ือไข ้ มาเลเรยี มาสเู่ รา แตค่ นเรากลบั มองขา้ มไป โดยไปโทษผสี างนางไม้  หรือเทวดาซ่ึงท�ำให้เกิดทุกข์ ตรงข้าม พระพุทธเจ้าทรงช้ีมาท ่ี ตัวเองว่า ใจเราน่ันแหละทำ� ใหเ้ ราทกุ ข์ 304 มงคล ๓๘ ประการ

๓. นิโรธสจั   นิโรธะ คือความดับทุกข์ คือทรงค้นพบลักษณะของความ  ทกุ ขท์ แ่ี ทจ้ รงิ  ทป่ี ลอดภยั ทสี่ ดุ วา่ เปน็ อยา่ งไร ซง่ึ ไดค้ ำ� ตอบวา่  ความ  พน้ ทกุ ขท์ แ่ี ทจ้ รงิ นน้ั จติ จะตอ้ งหมดกเิ ลสโดยสน้ิ เชงิ  ตราบใดทเ่ี รา  ยงั มกี เิ ลสอย ู่ ความทกุ ขก์ จ็ ะตอ้ งมอี กี  ยงั ไมพ่ น้ เดด็ ขาด จติ ทห่ี มด กเิ ลสแลว้  เราเรยี กสนั้ ๆ วา่  “นพิ พาน” (น+ิ วานะ) ซงึ่ แปลวา่  หมด  จากกเิ ลส หรือเคร่อื งร้อยรดั ความพ้นทุกข์ที่ว่าน้ี ก็ไม่ตรงกับทัศนะของเจ้าลัทธิอ่ืนๆ อีก  เหมอื นกนั  ตามทศั นะของเจา้ ลทั ธศิ าสนาตา่ งๆ สอนความพน้ ทกุ ข ์ ในลกั ษณะต่างกนั  เช่น การคอยให้ผู้วเิ ศษรบั ไปอยสู่ วรรค์ การทรมานตวั ให้มนึ ชาตอ่ ความรู้สกึ การตดั ความรู้สกึ ทางกายเสีย ลกั ษณะความพน้ ทกุ ขด์ งั กลา่ วมาน ี้ พระพทุ ธเจา้ ทรงปฏเิ สธ  วา่ ไมใ่ ชค่ วามหลดุ พน้ ทกุ ขอ์ ยา่ งแทจ้ รงิ  เปน็ แตเ่ พยี งการขม่ ทกุ ขเ์ อา  ไวช้ วั่ คราวเทา่ นนั้  เปน็ ความพน้ ทกุ ขท์ ยี่ งั ไมพ่ น้ ทกุ ข ์ แตค่ นเหลา่ นนั้   นึกเอาเองว่าพ้นแล้ว เหมือนคนเป็นไข้แต่อาการของมันสงบชั่ว  ขณะ กเ็ ขา้ ใจวา่ ไขห้ ายแลว้  แทจ้ รงิ มนั ยงั มเี ชอ้ื ไขอ้ ยเู่ ตม็ อตั รา เพยี ง  แตม่ นั สงบอยู่เท่านัน้ การคอยรบั ความชว่ ยเหลอื จากผอู้ น่ื โดยทไ่ี มม่ กี ำ� หนดแนน่ อน  ก็เป็นเพียงความสุขด้วยความหวังของตนเท่าน้ันเหมือนคนท่ีไม่มี  สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 305

มง๓คล๓ข้อท่ี เหน็ อริยสจั อาหารจะกิน แต่เม่ือความหวังว่าจะต้องมีคนเชิญไปกินอาหาร  ระหว่างการรอคอยน้ัน ก็คงต้องกลืนนำ�้ ลายตัวเองไปพลาง มันก็  เป็นการสร้างความสขุ ได ้ แต่ไมใ่ ช่ความพ้นทุกขท์ ีแ่ ท้ การทรมานตวั ใหม้ นึ ชาตอ่ ความทกุ ข ์ เชน่ คนทมี่ คี วามเหน็ วา่   ความทุกข์ท้ังหลายเกิดมาจากร่างกาย ได้รับความสะดวกสบาย  มากไป ต้องทรมานร่างกายให้ได้รับความล�ำบากอย่างที่เรียกว่า  “ทุกรกิริยา” แล้วจะได้เห็นความทุกข์อื่นเป็นเร่ืองเล็กไป เพราะ  จติ ใจหรอื รา่ งกายไดร้ บั การทรมานจนตายดา้ นเสยี แลว้  วธิ นี ก้ี ไ็ มใ่ ช ่ ความพ้นทกุ ข์ท่แี ท้จริง ตวั เองก็ยังอยูใ่ นกองทุกข์น่นั เอง แต่ท�ำตัว  ไม่ให้รู้จักทุกข์ คล้ายๆ คนท่ีอยู่กลางป่า มีสัตว์ร้ายและอสรพิษ  มาก ตัวเองน่ีนึกกลัวอันตราย อยากท�ำให้ตัวเองพ้นอันตราย แต ่ ใช้วิธีท�ำให้ตาตัวเองบอดเสีย ท�ำหูให้หนวกเสีย งูมาจะได้ไม่เห็น  เสือร้องก็ไม่ได้ยนิ แล้วกค็ ดิ ว่าตัวเองพ้นอนั ตรายแลว้ ส่วนการท�ำใจให้เข้าภวังค์ ตัดความรู้สึกทางกายเสีย ไม่รู ้ สึกหนาว ไม่รู้สึกร้อน แล้วคิดว่าตัวเองพ้นทุกข์แล้ว นั่นเป็นเพียง  ความฝนั  เหมอื นคนไขท้ น่ี อนหลบั  และฝนั วา่ ตวั เองหายจากไขแ้ ลว้ มกี ำ� ลงั รา่ งกายแขง็ แรงด ี พอตน่ื แลว้ กย็ งั คงเปน็ ไขอ้ ยอู่ ยา่ งเดมิ  นก่ี ็  ไมใ่ ชค่ วามพน้ ทกุ ข์อยา่ งแท้จริง เราจะสงั เกตไดว้ า่  ค�ำสอนของเจา้ ลทั ธอิ น่ื ๆ เปน็ การสอนให ้ หลบทุกข์ แต่พระพุทธศาสนาสอนให้รู้ทุกข์ ก�ำหนดทุกข์ และ  ท�ำลายทุกข์ ความทุกข์จะหมดไปได้ต้องท�ำใจให้หมดจากกิเลส  เหมือนกับไฟท่ียังลุกอยู่เพราะมีเช้ือ การใช้นำ�้ ดับเป็นการระงับที่  ปลายเหต ุ ตราบใดทยี่ งั มเี ชอ้ื อย ู่ พอไดร้ บั เหตปุ จั จยั  ไฟนนั้ กย็ งั ตดิ   306 มงคล ๓๘ ประการ

ไดอ้ กี  สว่ นการทำ� ลายไมใ่ หม้ เี ชอื้ เหลอื อย ู่ ไฟกต็ ดิ ไมไ่ ด ้ ดงั นนั้ เมอ่ื   พระองค์ได้แสดงอย่างนี้แล้ว ได้ทรงแสดงต่อไปถึงหนทางแห่ง  ความดบั ทุกข์ที่เรียกว่า “มรรค” ๔. มรรคสัจ  มรรคสจั  หมายถงึ วถิ ที างแหง่ ความพน้ ทกุ ข ์ ซง่ึ ทา่ นไดแ้ สดง  ถึงทางปฏิบัติก้าวไปสู่ความพ้นทุกข์ มีอยู่ด้วยกัน ๘ ข้อ เรียกว่า  มรรค ๘ คือ ๑. สมั มาทฏิ ฐิ ความเห็นท่ถี กู ตอ้ ง ๒. สัมมาสงั กัปปะ ความคิดท่ถี กู ต้อง ๓. สมั มาวาจา เจรจาถกู ต้อง ๔. สัมมากมั มนั ตะ ทำ� งานถูกต้อง ๕. สมั มาวายามะ ท�ำความเพยี รถูกต้อง ๖. สัมมาอาชีวะ หาเลย้ี งชีพในทางถูกตอ้ ง ๗. สมั มาสต ิ ระลกึ ถกู ตอ้ ง ๘. สมั มาสมาธิ ความตั้งใจถกู ตอ้ ง ทั้ง ๘ ข้อนี้ เป็นวิธีปฏิบัติเพื่อความพ้นทุกข์ตามหลักอบรม  จิตให้ด�ำเนินตามวิถีทางท่ีถูกต้อง ไม่ต้องมีการวิงวอนขออ�ำนาจ  ลกึ ลับใดๆ มาช่วย สมั มาทฏิ ฐ ิ ความเหน็ ทถี่ กู ตอ้ ง คอื เหน็ ในเรอ่ื งของอรยิ สจั  ๔  เห็นตามเหตแุ ละผลโดยอาศัยปญั ญา สมั มาสงั กปั ปะ ความคดิ ทถี่ กู ตอ้ ง คอื คดิ ในทางออกจากกาม  คดิ ในการไมโ่ ลภของผอู้ ่นื  หรือคิดไมพ่ ยาบาท สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 307

มง๓คล๓ข้อท่ี เห็นอรยิ สจั สัมมาวาจา เจรจาที่ถูกต้อง คือเจรจาด้วยถ้อยค�ำไพเราะ  เวน้ การพดู ปด พูดส่อเสยี ด พูดคำ� หยาบ พูดเพอ้ เจอ้ ฯ สัมมากัมมันตะ ท�ำงานที่ถูกต้อง คือเว้นจากการท�ำงานใน  การใหโ้ ทษ เช่น ฆา่ สตั ว์ ลกั ทรัพย์ สมั มาวายามะ ความเพยี รทถ่ี กู ตอ้ ง คอื เพยี รละอกศุ ล เจรญิ   กศุ ล เป็นตน้ สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีพในทางถูกต้อง คือประกอบอาชีพ  ในทางสุจริต ไม่ล่อลวงเขาเลี้ยงชีพ หรือไม่ท�ำการค้าขายของผิด  กฎหมาย สัมมาสติ ระลึกที่ถูกต้อง คือระลึกท่ัวไปในการพิจารณา  สติปฏั ฐาน ๔ ระลกึ ในทางประกอบกศุ ล สัมมาสมาธิ ความต้ังใจท่ีถูกต้อง คือตั้งใจในการประกอบ  กุศล ละความฟุ้งซ่าน ทำ� นิพพานให้เป็นอารมณ์ ในบาลีแสดงว่า  จิตท่ีเข้าสอู่ งค์ฌาน เรยี ก สมั มาสมาธไิ ด้ สูตรของอริยสัจ ที่พระพุทธองค์ทรงค้นพบคือ หลักเหตุผล  พระพทุ ธศาสนาสอนใหเ้ รารจู้ กั  เหต-ุ ผล ถา้ จะสรปุ ตามเหตผุ ลแลว้   เราก็จะได้ดังนี้ เหต ุ คอื  สมทุ ยั  มรรค-ผล ทกุ ข-์ นโิ รธ สาเหตขุ องความทกุ ข ์ ทง้ั หลายทเี่ กดิ ขนึ้ นน้ั  เราจะตอ้ งสอบสวนหาเหตแุ ละหาทางดบั เหต ุ นนั้  และไมใ่ ชก่ ารบวงสรวงเทวดา หรอื ผสี างนางไม ้ เหมอื นกบั เรา  เจบ็ ปว่ ย เราจะตอ้ งคน้ หาสาเหตวุ า่ เราเปน็ อะไรแลว้  หาทางรกั ษา  ให้ถูกกับโรคท่ีเราเป็น เรากห็ ายจากโรคร้ายนั้นได้ การเห็นอริยสัจน้ัน เป็นการเห็น ๒ ชั้น คือชั้นธรรมดา  308 มงคล ๓๘ ประการ

สามารถท่ีจะใช้ธรรมนี้ในทางด�ำเนินชีวิตในทางถูกต้อง และต้อง  ทำ� ใจของเราใหร้ บั ฟงั เหตุผลด้วย ในชน้ั สงู  การเหน็ อรยิ สจั นน้ั  ไมใ่ ชห่ มายถงึ การเหน็ อรยิ สจั ใน  หนังสือท่ีว่ามาน้ี แต่จะต้องปฏิบัติตามมรรค ๘ จนถึงข้อ “สัมมา  สมาธ”ิ  ทำ� สมาธใิ หเ้ กดิ สมบรู ณต์ ามหลกั เกณฑจ์ นเกดิ ดวงปญั ญา  ขึ้น แล้วเห็นอริยสัจครบทุกข้อด้วยปัญญานั้น จึงเรียกว่าเห็น อริยสัจ การเหน็ อรยิ สจั ดว้ ยปญั ญานนั้  ทำ� ใหเ้ ราเปน็ คนหายมดื  หาย  หลงในสงิ่ ทไ่ี มเ่ ปน็ ประโยชน ์ เลกิ งมงายในลทั ธพิ ธิ ที ไี่ รส้ าระเสยี  ถา้   เราปฏิบัติได้ข้ันนี้แล้วผลท่ีจะเกิดขึ้นคือความดับทุกข์ได้อย่างเด็ด  ขาด ซ่งึ เป็นทป่ี รารถนาของคนท้งั ปวงท่ีแสวงหากันอยู่ ดว้ ยเหตนุ ี ้ การเหน็ อริยสัจจงึ เปน็ มงคลอยา่ งสงู สดุ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 309

มงคล ๓๔ข้อท่ี นิพฺพานสจฉฺ กิ ิรยิ า จ (ท�ำให้แจง้ ซงึ่ พระนิพพาน) เร่ืองของพระนิพพาน ซ่ึงมีอยู่ในมงคลข้อน้ี เป็นเร่ืองที่สุด  เออ้ื มจรงิ ๆ เพราะวา่ แมต้ วั ผเู้ ขยี นเองกย็ งั ไมเ่ ฉยี ดใกลพ้ ระนพิ พาน  ดังน้ัน การที่จะบรรยายเร่ืองของนิพพานให้แจ้งน้ันเป็นการยาก  ถึงแม้ว่าจะมีผู้รู้ก็ไม่สามารถจะบรรยายคุณของนิพพานให้แจ้งได้  เหมือนกับคนที่ไม่เคยล้ิมรสของน้�ำตาลเลย แต่จะให้พรรณนาว่า  นำ�้ ตาลมรี สหวานนน้ั  ค�ำวา่ หวานๆ อยา่ งไร เรากจ็ นดว้ ยเกลา้ ทจ่ี ะ  บรรยายรสให้ชัดเจนได้ นอกจากจะเปรียบอุปมาอุปไมยให้ฟัง  เทา่ นน้ั  ซงึ่ การเปรยี บเทยี บนไี้ มใ่ ชว่ า่ จะเขา้ สเู่ ปา้  แตก่ เ็ ปน็ การแสดง  ไว้โดยสังเขปเท่านนั้ 310 มงคล ๓๘ ประการ

เร่ืองนิพพานเป็นเรื่องที่ยากและเหลือวิสัยที่สามารถจะ  บรรยายไดถ้ กู ตอ้ ง แตถ่ งึ กระนนั้ กจ็ ะตอ้ งอธบิ ายตามแนวทางของ  คัมภีรท์ ่ีแสดงไว้ คำ� วา่  นพิ พาน เมอ่ื แยกออกแลว้ ม ี ๒ บท คอื  น ิ + วาน, น ิ =  พน้ , วาน = ธรรมทเ่ี ปน็ เครอ่ื งเกยี่ วโยงไว ้ หมายถงึ ตณั หา เมอ่ื รวม  ๒ บทเขา้ ดว้ ยกนั แลว้ เปน็  นวิ าน = ธรรมทพี่ น้ จากเครอ่ื งเกย่ี วโยง  หมายถึงพ้นจากตัณหา ทา่ นให้ความหมายไวว้ า่ วินติ สํสิพฺพตีติ วานํ ธรรมชาติใดย่อมเป็นผู้เก่ียวไว้ ฉะน้ัน  ธรรมชาตินัน้ ชื่อวา่  วาน ไดแ้ ก่ ตณั หา วานโต นิกฺขนฺตนฺติ = นิพฺพานํ ธรรมชาติใดย่อมพ้นจาก  เคร่อื งเกย่ี วโยง คือ ตณั หา ฉะนัน้ ธรรมชาติน้นั ชอื่ ว่านิพพาน เท่าท่ีแสดงมานี้คิดว่าผู้อ่านคงจะปวดหัวชอบกล เพราะได ้ บอกแลว้ วา่ เรอื่ งนพิ พานนเี้ ปน็ เรอื่ งทยี่ ากยงิ่ ส�ำหรบั คนสามญั  ทา่ น  ไดใ้ ห้คำ� อธบิ ายไว้ว่า ตามธรรมดาสัตว์ท้ังหลายที่เกิดอยู่ในโลกนี้ ความเกิดและ  ความตายของแตล่ ะบคุ คลทผ่ี า่ นมาแลว้  มากมายจนไมส่ ามารถจะ  ค�ำนวณได้ว่า เคยเกิดเคยตายมาแล้วเท่าไหร่ และต่อไปข้างหน้า  ความเกดิ และความตายจะมตี อ่ ไปเรอื่ ยๆ กำ� หนดไมไ่ ดว้ า่ จะสน้ิ สดุ   ลงเมอื่ ไร ทเี่ ปน็ เชน่ นกี้ เ็ พราะอาศยั  ตณั หา คอื  ความทะยานอยาก  ความพอใจตดิ ใจ ตอ้ งการในอารมณต์ า่ งๆ นน่ั เอง เปน็ เครอ่ื งเกยี่ ว  สตั วไ์ วไ้ มใ่ หห้ ลดุ พน้ จากความเกดิ และความตายไปได ้ ทา่ นเปรยี บ  เหมือนช่างเย็บผ้าท่ีเอาผ้าหลายๆ ชิ้นมาเย็บให้ติดต่อกันฉันใด  ตณั หาเปรยี บเหมอื นชา่ งเยบ็ ผา้  คอื เกยี่ วสตั วใ์ นภพเกา่ ใหต้ ดิ อยใู่ น  สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 311

๓๔มงคลขอ้ ท่ี ทำ� ให้แจง้ ซง่ึ พระนพิ พาน ภพใหมเ่ รื่อยๆ ไป ดว้ ยเหตอุ ย่างนี้จงึ เรยี กตัณหาว่า ‘วาน’ สำ� หรบั พระนพิ พานนนั้  เปน็ ธรรมชาตทิ พ่ี น้ จากตณั หาไปแลว้   จงึ ชอ่ื วา่  นวิ าน ตามความหมายของภาษาแลว้  ค�ำวา่  วาน เปน็ ชอ่ื   ของธรรมชาติท่ีไม่ดี แต่เมื่อมีค�ำ นิ ประกอบอยู่ข้างหน้าแล้ว ก็  กลายเป็นของดีที่สุดไป เช่นเดียวกับค�ำว่า พระขีณาสพ ค�ำว่า  ขีณาสพ นี้ เม่ือแยกออกแล้วได้ ๒ บท คือ ขีณ + อาสว, ขีณ =  หมด, อาสวะ = ธรรมชาตทิ ไ่ี หลไปใน ๓๐ ภมู  ิ ไดแ้ ก ่ โลภะ ทฏิ ฐิ  โมหะ ซ่ึงก็เป็นตัวกิเลสทั้งน้ัน ชื่ออาสวะจึงเป็นชื่อไม่ดี แต่เม่ือม ี ขณี  อยขู่ า้ งหนา้ แลว้ กก็ ลายเปน็ สง่ิ ดไี ป แปลวา่  ผสู้ น้ิ อาสวะ ไดแ้ ก่  พระอรหนั ตท์ ง้ั หลาย มพี ระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ เปน็ ตน้  หมายความ  วา่  ‘นิพพาน’ คือ ดับอวิชชา ตณั หา อุปาทาน และกิเลสหมดส้ิน นพิ พาน ๒ อยา่ ง ในคมั ภรี  ์ ขทุ ทกนกิ าย อติ วิ ตุ กกะ และ องั   คตุ ตรนกิ าย นวกนิบาต ทา่ นจำ� แนกนพิ พานไว ้ ๒ ลกั ษณะ คือ ๑. สอปุ าทเิ สสนพิ พาน ๒. อนปุ าทิเสสนิพพาน และโดยการเข้าถึง ม ี ๓ ลักษณะคือ ๑. สญุ ญตนพิ พาน ๒. อนมิ ติ ตนิพพาน ๓. อปั ปณิหิตนพิ พาน พระนิพพานนั้น ว่าโดยสภาวะลักษณะแล้วมีอย่างเดียวคือ  สนั ตลิ กั ขณะ หมายถงึ สงบจากกเิ ลสและขนั ธ ์ ๕ ทงั้ หลาย ทก่ี ลา่ ว  ว่าพระนิพพานว่าโดยสภาวะลักษณะของตนแล้ว มีอยู่อย่างเดียว  312 มงคล ๓๘ ประการ

น้ัน หมายความว่า ไม่เหมือนกับวัตถุส่ิงของท่ีมีสิ่งเดียว แต่มี  เจ้าของหลายๆ คน ฉะนั้นจะใช้ของสิ่งนั้นพร้อมๆ กันไม่ได้ ต้อง  ผลดั กนั ใชท้ ลี ะคน สว่ นพระนพิ พานนนั้ ไมเ่ ปน็ เชน่ นนั้  พระอรหนั ต์  ทง้ั หลาย เมอ่ื ปรนิ พิ พานแลว้ ยอ่ มเขา้ สสู่ นั ตสิ ขุ ดว้ ยกนั ทงั้ นนั้  แสดง  ให้เห็นว่า นิพพาน คือสภาพสันติสุขที่นับไม่ถ้วน แล้วแต่จ�ำนวน  พระอรหันตท์ ่ีปรนิ พิ พานไปแลว้ ทา่ นผอู้ า่ นคงจะหนกั สมองชอบกล เพราะเรอ่ื งนไี้ ดก้ ลา่ วแลว้   ว่าเปน็ ของทย่ี ากจะบรรยาย โปรดดคู ำ� อธบิ ายของนิพพาน ๒ นัย  ทก่ี ลา่ วแลว้ ดังน้ี ๑. สอปุ าทเิ สสนพิ พาน หมายถงึ พระอรหนั ตท์ ด่ี บั กเิ ลสแลว้ ยงั มีเบญจขนั ธ์อยู่ ๒. อนปุ าทเิ สสนพิ พาน หมายถงึ นพิ พานทไี่ มม่ ขี นั ธ ์ ๕ ไดแ้ ก่  นิพพานของพระอรหันตท์ ่ปี รนิ พิ พานแลว้ อีกอย่างหน่ึง สอุปาทิเสสนิพพาน เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า  ‘ทิฏฐธัมมนิพพาน’ ก็ได้ เพราะพระอรหันต์ผู้ซึ่งเข้าไปรู้แจ้งพระ  นพิ พานน้นั  ยงั มีชีวติ อยู ่ ยังไม่ได้ปรินิพพาน อนปุ าทเิ สสนพิ พาน เรยี กอกี อยา่ งหนง่ึ วา่  สมั ปรายกิ นพิ พาน  กไ็ ด ้ เพราะพระอรหนั ตท์ ง้ั หลาย เมอ่ื ปรนิ พิ พานแลว้  จงึ เขา้ ถงึ พระ  นิพพานนนั้ สญุ ญตนพิ พาน หมายความวา่  ความเปน็ อยขู่ องพระนพิ พาน  น้ัน สูญส้ินจากกิเลสและขันธ์ ๕ ไม่มีอะไรเหลืออยู่เลย ดังน้ันจึง  เรยี กว่า สุญญตนพิ พาน อนมิ ติ ตนพิ พาน หมายความวา่  ความเปน็ อยขู่ องนพิ พานนน้ั   สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 313

๓๔มงคลขอ้ ที่ ท�ำใหแ้ จ้งซ่งึ พระนิพพาน ไม่มนี มิ ิต เครือ่ งหมาย รปู รา่ งสัณฐาน สีสันวรรณะอยา่ งใดเลย อปั ปณหิ ติ นพิ พาน หมายความวา่  ความเปน็ อยขู่ องนพิ พาน  นน้ั  ไมม่ อี ารมณท์ น่ี า่ ปรารถนาดว้ ยโลภะ และไมม่ ตี ณั หาทเี่ ปน็ ตวั   ตอ้ งการอยใู่ นนพิ พานนนั้  คอื หมายความวา่ สงั ขตธรรม คอื ธรรมท่ ี ถกู ปรงุ แตง่  ทเ่ี ปน็ รปู กต็ าม นามกต็ าม ตอ้ งมอี ารมณท์ นี่ า่ ปรารถนา  ดว้ ยโลภะ หรอื มตี ณั หา ทง้ั สองอยา่ งน ้ี อยา่ งใดอยา่ งหนงึ่  หรอื ทง้ั   สองอย่าง แตน่ ิพพานไม่มอี ย่างนัน้  นิพพานคอื ผลสำ� เร็จทางจิต นิพพานน้ัน เป็นผลส�ำเร็จทางจิตใจของบุคคล ซ่ึงอาจทำ� ให้  เกิดมีข้ึนได้ในชีวิตนี้เอง กระบวนการของการสร้างหรือท�ำให้  ‘แจ้งนิพพาน’ ตามความหมายของมงคลน้ีคือ ๑. ปฏบิ ัติตามมรรคมอี งค ์ ๘  ๒. ดวงปัญญา หรอื วชิ ชา หรือญาณเกดิ ขึ้น ๓. อวิชชา ตัณหา อปุ าทาน ฯลฯ หายไป ๔. สภาพนิพพานเกิดขนึ้ ๕. ผลพลอยได้จากนพิ พานคอื  สะอาด สวา่ ง สงบ เรื่องของนิพพานเป็นเร่ืองท่ีพูดกันยาก และยากท่ีจะชี้ลงไป  ได้ว่าอยู่ที่ไหน สำ� หรับนิพพานของพระอรหันต์ผู้ยังมีชีวิตอยู่ เรา  อาจกล่าวได้ว่า นิพพานอยู่ท่ีจิตใจของท่านน่ันเอง แต่นิพพาน  โดยสภาวะท่ี ‘มีอยู่’ นั้นอยู่ไหน คนเราต้ังค�ำถามแบบนี้จาก  ประสบการณ์ของตนเอง เพราะในชีวิตประจ�ำวันของเรานั้น เม่ือ  เราพดู วา่ สงิ่ ใดสงิ่ หนงึ่ มอี ย ู่ ยอ่ ม ‘มที อ่ี ย’ู่  เชน่  ปตั ตานอี ยทู่ างใตข้ อง  ประเทศไทย วดั พระศรรี ตั นศาสดารามอยใู่ นกรงุ เทพฯ เปน็ ตน้  แต่  สง่ิ ตา่ งๆ ทเ่ี ราพดู ถงึ นน้ั เปน็ วตั ถซุ ง่ึ มรี ปู รา่ งจ�ำกดั  จงึ มที อี่ ยอู่ นั จำ� กดั   314 มงคล ๓๘ ประการ

เราสามารถบอกที่อยไู่ ด้แนน่ อน นพิ พานเปน็ สภาวธรรมอนั ไมจ่ ำ� กดั สถานท ี่ และไมถ่ กู จำ� กดั   ดว้ ยกาลเวลา เพราะฉะนนั้ จงึ บอกไมไ่ ดว้ า่  นพิ พานนนั้ อยทู่ ไ่ี หนแน ่ ถา้ ขนื บอกวา่ อยทู่ น่ี น่ั ทนี่  ี่ กเ็ ทา่ กบั ไปจำ� กดั ขอบเขตของพระนพิ พาน  ไป ซง่ึ เปน็ การผดิ  เชน่ เดยี วกบั การบรรยายคณุ ลกั ษณะของนพิ พาน  นิพพานมีคุณลักษณะซึ่งไม่มีคุณลักษณะใดๆ ท่ีเรารู้แล้วเหมือน  ฉะน้ันการบรรยายคุณลักษณะของนิพพาน จึงเท่ากับไปจ�ำกัด  คณุ ลักษณะของนพิ พาน ซง่ึ เปน็ การผิด เพราะนพิ พานมคี วามไมจ่ ำ� กดั ขอบเขตนเ้ี อง พระพทุ ธเจา้ จงึ   ทรงบอกทอี่ ยขู่ องนพิ พานดว้ ยการปฏเิ สธ เชน่ ในขทุ ทกนกิ ายวา่  “ด ู ก่อนภิกษุทั้งหลาย อายตนะ (สภาวะ) น้ันมีอยู่ท่ี ดิน น�้ำ ไฟ ลม  ไม่มีแล อากาสานัญจายตนะ วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญา-  ยตนะ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ก็ไม่ใช่ โลกน้ีก็ไม่ใช่ โลกอื่นก็  ไมใ่ ช ่ ดวงจนั ทร ์ ดวงอาทติ ย ์ ทง้ั สองกไ็ มใ่ ช ่ อนงึ่ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เรา  ไม่กล่าวเลยซึ่งอายตนะน้ัน ว่าเป็นการมา การไป เป็นการต้ังอยู่  เป็นการจุติ เป็นการเกิด อายตนะนั้นหาที่ต้ังมิได้ มิได้เป็นไป หา  อารมณ์มิได้ น่ันแล ท่สี ุดแห่งทุกข”์ นพิ พานเปน็ ธรรมชาตทิ เ่ี หน็ ไดย้ ากอยา่ งยง่ิ  เหตทุ เี่ หน็ ไดย้ าก  กเ็ พราะนพิ พานเปน็ ธรรมชาตอิ นั ละเอยี ดลกึ ซง้ึ  ไมเ่ หมอื นกบั สงิ่ ท่ ี มนุษย์รู้เห็นอยู่ในภพท้ัง ๓ ความรู้ ความคิด การคาดคะเนของ  มนษุ ย ์ ยอ่ มจำ� กดั ขอบเขตอยใู่ นภพทง้ั  ๓ เกย่ี วขอ้ งอยกู่ บั อารมณ์  ในภพทงั้  ๓ เท่านัน้  ถา้ ส่ิงใดอยนู่ อก เหนอื อารมณข์ องภพทง้ั  ๓ มนษุ ยก์ ไ็ มส่ ามารถจะรไู้ ด ้ แมผ้ ทู้ ี ่ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 315

๓๔มงคลขอ้ ท่ี ท�ำให้แจง้ ซึ่งพระนพิ พาน บรรลุถงึ นพิ พานแล้ว เช่นพระอรหนั ต์ที่ไมส่ ามารถจะอธิบายหรือ  บรรยายคณุ ลกั ษณะของนพิ พานใหค้ นธรรมดาเขา้ ใจได ้ เพราะไมม่  ี คำ� พดู ใดๆ ในภาษามนษุ ยจ์ ะอธบิ ายลกั ษณะของนพิ พานไดถ้ กู ตอ้ ง  เพราะค�ำพูดของมนุษย์ย่อมถูกบัญญัติข้ึนตามประสบการณ์ของ  มนษุ ย์เท่านัน้ เรอื่ งการเปรยี บเทยี บลกั ษณะนพิ พานน ี้ ทา่ นมนี ทิ านเกย่ี วกบั   เตา่ และปลาสนทนากันดังน้ี มีปลาตัวหน่ึงอาศัยอยู่ในน้�ำตลอดชีวิตของมันเช่นเดียวกับ  ปลาท้ังหลาย และรู้เห็นทุกส่ิงทุกอย่างภายในน�้ำเท่านั้น วันหน่ึง  ปลาตวั นน้ั ไดพ้ บกบั เตา่ เพอ่ื นเกา่  ซงึ่ เพงิ่ กลบั จากขนึ้ ไปเทยี่ วบนบก “สวัสดี เพ่ือนเต่า” ปลาตัวนั้นทักทาย “ไม่เห็นเสียนาน ไป ไหนมา” “ฉันขึน้ ไปเท่ียวบนบกเพ่งิ กลับมา” เตา่ ตอบ “บนบก!” ปลาอทุ านออกมาอยา่ งประหลาดใจ “บนบกอะไร  ของคณุ  ฉนั ไม่เคยเหน็ บนบก บนบกไมม่ ีแนๆ่  คณุ ฝันไปละม้ัง” “ถา้ คณุ อยากเขา้ ใจอยา่ งนน้ั  ฉนั กห็ า้ มคณุ ไมไ่ ด ้ แตฉ่ นั กเ็ พง่ิ   กลบั มาจากบนบกจรงิ ๆ ” “บอกฉนั หนอ่ ยซ ิ ‘บนบก’ ของคณุ นะ่ เหมอื นอะไร มนั เปยี ก  ตลอดเหมือนน้ำ� หรือเปล่า” “เปล่า” “มันเยอื กเย็นสดชน่ื หรอื เปลา่ ” “เปล่า” “มนั ใสแสงส่องผา่ นทะลไุ ด้หรือเปล่า” 316 มงคล ๓๘ ประการ

“เปล่า” “มนั ลืน่ ๆ นิ่มๆ พอทีฉ่ ันจะเอาจมูกจ้มิ เขา้ ไปไดห้ รือเปลา่ ” “เปล่า” “ฉนั จะว่ายไปมา ‘บนบก’ ได้หรอื เปล่า” “มันเคลื่อนไหวไปมาตามกระแสน�้ำไดห้ รอื เปลา่ ” “เปล่า” ปลาส่ันศีรษะอย่างเบื่อหน่ายแล้วพูดว่า “เมื่อฉันถามอะไร  คุณก็ตอบได้ค�ำเดียวว่าเปล่าๆ ในที่สุด ‘บนบก’ อะไรที่คุณว่านั้น  ก็หลอกลวงท้ังเพ ลาก่อน” ว่าแล้วปลาก็ว่ายหนีไปในน้�ำอันจ�ำกัด  ของมัน ปลารู้เรื่องบนบกไม่ได้ฉันใด คนสามัญก็ไม่สามารถจะรู้จัก  นิพพานไดฉ้ นั นน้ั ดังน้ันเร่ืองของนิพพานจึงยากแก่การท่ีคนสามัญจะรู้ได้ว่าม ี สภาพอยา่ งไร ดงั นน้ั การทเ่ี ราจะสามารถรเู้ รอื่ งนพิ พานไดก้ จ็ ะตอ้ ง  ทำ� ตวั เองใหเ้ ปน็ อรยิ บคุ คล จงึ จะสามารถเหน็ นพิ พานได ้ การเหน็   นิพพานเป็นการเห็นอย่างประเสริฐ เห็นแล้วรู้แล้ว ตัดความทุกข ์ ไดอ้ ยา่ งเด็ดขาด จงึ เปน็ มงคล สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 317

มงคล ๓๕ขอ้ ที่ ผุฏสฺส โลกธมฺเมหิ จิตตฺ ํ ยสสฺ  น กมปฺ ติ (จติ ไมห่ วัน่ ไหวดว้ ยโลกธรรม) มงคลขอ้ ท ่ี ๓๕ ตามพระบาลวี า่  “ผฏุ ฐฺ สสฺ  โลกธมเฺ มห ิ จติ ตฺ  ํ ยสสฺ  น กมปฺ ต”ิ  แปลวา่  จติ ไมห่ วน่ั ไหวดว้ ยโลกธรรม หมายความ  ว่า การทำ� จิตใจให้เป็นอยา่ งนี้ได้เป็นมงคลอนั สูงอยา่ งหน่ึง เรอ่ื งอาการของใจนนั้ เปน็ เรอ่ื งทรี่ ยู้ ากเหน็ ยากวา่ เปน็ อยา่ งไร  เราจะรไู้ ดก้ เ็ พราะเขาแสดงอาการออกมาใหเ้ ราเหน็ วา่  คนน ้ี คนนนั้   มจี ติ ใจอยา่ งไร คอื อาการของมนั ไมอ่ ยกู่ บั รอ่ งกบั รอย ประเดยี๋ วดใี จ  ประเดย๋ี วเสยี ใจ พอดใี จกแ็ ชม่ ชน่ื  พอเสยี ใจกเ็ หยี่ วแหง้ หดห ู่ รอ้ งไห้  รำ� พนั  แลว้ แตอ่ ารมณท์ ม่ี ากระทบ อาการทจี่ ติ ใจของเราเองเอยี งไป  ทางดใี จบา้ ง เสยี ใจบา้ ง อยา่ งนเี้ รยี กวา่  “จติ หวนั่ ” เหมอื นกบั เปลวไฟ 318 มงคล ๓๘ ประการ

ทถี่ กู ลมพดั จะเอนเอียงไปตามกระแสลมพัด จิตไหวหมายถึงไหว  ไปตามอารมณ์ท่ีตัวชอบใจ ทั้งนี้เพราะไปติดใจ ชอบใจ อาการที ่ จติ ไหวไปตามอารมณท์ ร่ี กั ทชี่ อบ นแ่ี หละเรยี ก “จติ ไหว” อาการท ่ี จติ ยังมคี วามหวน่ั และไหว น่ีแหละเรยี กวา่ จติ หว่นั ไหว สิ่งที่ท�ำให้จิตหวั่นไหวน้ีท่านเรียกว่า “โลกธรรม” ค�ำว่า  “โลกธรรม” ไดแ้ กธ่ รรมของโลก คอื  ธรรมอนั มแี กส่ ตั วโ์ ลก ไมม่ ผี ใู้ ด  ล่วงพ้นไปได้ แปลกแต่จะยินดียินร้ายหรือไม่ยินดียินร้ายเท่าน้ัน  แบ่งออกเป็น ๘ อย่างด้วยกัน คือ ไปทางทำ� ให้จิตไหว ๔ และให้  จติ หวัน่  ๔ โลกธรรมทที่ �ำใหจ้ ิตไหว ๔ คือ ๑. มีลาภ ๒. มียศ ๓. ไดร้ ับคำ� สรรเสริญ ๔. ได้รบั ความสขุ ๑. มลี าภ หมายถงึ ไดร้ บั ผลประโยชน ์ เชน่ ไดท้ รพั ย ์ ไดบ้ า้ น  ท่ีดิน เรือกสวนไรน่ า ลูกเมีย ฯลฯ ๒. มยี ศ หมายถงึ ไดร้ บั การแตง่ ตงั้ ใหไ้ ดฐ้ านนั ดรศกั ดสิ์ งู  ได ้ เลื่อนขั้น เล่ือนต�ำแหน่ง ได้อ�ำนาจ ได้เป็นใหญ่เป็นโต นี่เรียกว่า  ไดย้ ศ หรือ มียศ ๓. สรรเสรญิ  หมายความว่า ไดร้ ับค�ำยกยอ่ งชมเชย ค�ำยอ  ค�ำสดดุ ี ทผี่ ้อู ่นื ให้เรา ๔. สขุ  กค็ อื  ไดร้ บั ความสบายกาย สบายใจ ไดร้ บั ความรา่ เรงิ   เบิกบาน สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 319

๓๕มงคลขอ้ ที่ จิตไมห่ ว่ันไหวด้วยโลกธรรม ท้ังส่ีอย่างน้ีเป็นของที่คนทุกคนต้องการ ท่ียังไม่ได้ก็ต้อง  แสวงหา ทไี่ ดแ้ ลว้ กต็ อ้ งพยายามรกั ษา อาการทแ่ี สวงหาหรอื อาการ  ที่ห่วงต้องรักษาน่ีแหละเป็นจิตไหว คือไหวไปตามอารมณ์ ขอให้  สงั เกตดตู วั เราเองกแ็ ลว้ กนั วา่  เมอื่ ไดร้ บั ของ ๔ อยา่ งนแ้ี ลว้ มอี าการ  อย่างไร โลกธรรมท่ที �ำใหจ้ ิตหวน่ั มี ๔ คือ ๑. เสอ่ื มลาภ ๒. เสือ่ มยศ ๓. นนิ ทา ๔. ทุกข์ ๑. เสอื่ มลาภ หมายความวา่  ไดร้ บั ความวบิ ตั คิ วามเสอื่ มสญู   ของทรพั ย์สมบัติ บ้านเรือน เรอื กสวนไร่นา ลกู เมีย ๒. เสื่อมยศ หมายถึงว่า ถูกลดอ�ำนาจ ถูกถอดยศ ถอด  อำ� นาจ ฯลฯ ๓. นินทา หมายถึงได้รับค�ำติเตียนว่าไม่ดี ไม่มีใครพูดถึง  ความดีของเราในท่ลี บั หลัง ๔. ทกุ ข ์ หมายถงึ ความไมส่ บายกายไมส่ บายใจ มคี วามระทม  ขมข่นื  ไม่แช่มชื่น ทั้งส่ีอย่างน้ีเป็นของท่ีทุกคนคอยหวาดระแวงอยู่ และคอย  หว่ งพะวงวา่ จะตอ้ งไดร้ บั  หรอื อยา่ งทเี่ ราเรยี กวา่  “หวน่ั ” คอื หวน่ั วา่   จะตอ้ งสญู เสยี ของทร่ี กั  หวน่ั วา่ จะตอ้ งถกู ถอดยศถอดอำ� นาจ หวน่ั   วา่ จะตอ้ งถกู คนนนิ ทา หวน่ั วา่ จะตอ้ งไดร้ บั ความทกุ ข ์ เปน็ ของทค่ี น  ทกุ คนเกลยี ด แมว้ า่ มนั จะกลบั กลายผา่ นไปแลว้  กย็ งั หวนั่ วา่ มนั จะ  320 มงคล ๓๘ ประการ

หวนกลับมาอีก ท�ำใหจ้ ติ ใจของเราอยไู่ มเ่ ปน็ ปรกติสุข เรอื่ งของโลกธรรมน ี้ พระพทุ ธเจา้ สอนวา่ มนั เปน็ ของทปี่ ระจ�ำ  โลก ไม่ว่าใครจะต้องประสบทั้งน้ัน คนท่ีดีๆ แต่พอเกิดความไหว  ข้ึนมาก็ท�ำชั่วได้ อย่างเช่น ต้องการลาภ ต้องการยศ ต้องการได ้ รับค�ำสรรเสริญ ถึงกับฉ้อโกงหรือคอรัปช่ันก็มี ดังนั้นเราจึงต้อง  หมั่นพิจารณาและมีสติอยู่ทุกขณะ นึกอยู่เสมอว่า ไม่มีใครถูก  สรรเสรญิ หรอื ถกู ตเิ ตยี นแตอ่ ยา่ งเดยี ว ถงึ คนเลวอยา่ งไรกต็ าม ก ็ ยงั มผี สู้ รรเสรญิ  คอื พวกคนเลวกส็ รรเสรญิ พวกคนเลว ขอเลา่ เรอ่ื ง  อบุ าสกคนหนงึ่ ใหท้ า่ นฟงั  เพอื่ เปน็ เครอ่ื งยนื ยนั วา่ คนเลวคนด ี ยอ่ ม  ถูกติเตียนและสรรเสรญิ ท้งั นั้น คอื ครง้ั หนงึ่  เมอื่ พระพทุ ธเจา้ ประทบั อยทู่ เี่ ชตวนั มหาวหิ าร กรงุ   สาวตั ถ ี มอี บุ าสกชาวสาวตั ถคี นหนงึ่  ชอ่ื อตลุ อบุ าสก อตลุ อบุ าสกมี  บริวาร ๕๐๐ อยู่มาวันหน่ึง อตุลอุบาสกได้พาพวกอุบาสกบริวาร  ไปทวี่ หิ ารเพอื่ จะฟงั ธรรม อยากจะฟงั ธรรมในส�ำนกั ของพระเรวตั   เถรเจ้า เมอ่ื ไปถึงก็ไหวพ้ ระเรวัตตเถรเจ้าแลว้ นง่ั ลง พระเรวัตตะนั้น ท่านเป็นพระเถระที่ยินดีในความสงัดและ  ชอบเทยี่ วไปผเู้ ดยี ว ดงั นนั้ ทา่ นจงึ ไมพ่ ดู อะไรกบั อบุ าสกนนั้  อบุ าสก  กโ็ กรธว่าพระเถระองค์นไี้ ม่พูดอะไร จึงลกุ ไปหาพระสารบี ุตร พอไปถงึ ก็ยืนอยูใ่ นทส่ี มควรแก่ตน เมือ่ พระเถระถามว่า “อุบาสกท่านมาเพ่ือประสงค์อะไร” “ขา้ พเจา้ พาอบุ าสกเหลา่ นไี้ ปหาพระเรวตั ตะ เพอื่ จะฟงั ธรรม  พระเรวตั ตะไมพ่ ดู อะไรกบั ขา้ พเจา้ เลย ขา้ พเจา้ โกรธจงึ ไดม้ าทน่ี  ี่ ขอ  ทา่ นจงแสดงธรรมใหข้ า้ พเจา้ ฟงั ดว้ ยขอรบั ” อตลุ ตอบ พระสารบี ตุ ร  สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 321

๓๕มงคลขอ้ ท่ี จติ ไมห่ วั่นไหวดว้ ยโลกธรรม จึงบอกให้อุบาสกทั้งหลายน่ังลง และแสดงอภิธรรมให้ฟังเป็นอัน  มาก อตุลอุบาสกก็โกรธอีก หาว่าพระสารีบุตรแสดงอภิธรรมซ่ึง  เป็นของละเอียดสุขุมเกินไป มิหน�ำซ�้ำยังแสดงเสียยืดยาวเสียอีก  ดว้ ย แลว้ กเ็ ลยพาบรวิ ารไปหาพระอานนท ์ พระอานนทก์ ถ็ ามวา่ ม ี เรอ่ื งอะไร อตุลอุบาสกก็เล่าเร่อื งใหฟ้ ังว่า “พวกกระผมไปหาท่าน  เรวตั ตะเพอ่ื ฟงั ธรรม ทา่ นกไ็ มแ่ สดงธรรม ไปหาพระสารบี ตุ ร ทา่ น  ก็แสดงอภิธรรมอันเป็นธรรมละเอียดสุขุม และแสดงเสียยืดยาว  ไมร่ เู้ รื่องเลย พวกกระผมจึงได้มาที่น่ี ขอให้ท่านพระอานนท์ช่วย  แสดงธรรมโปรดด้วย ขา้ พเจ้าทง้ั หลายจะฟงั ธรรม” “เอาละดแี ลว้  พวกทา่ นจงนงั่ ลง เราจะแสดงธรรมใหท้ า่ นฟงั ” แล้วพระอานนท์ก็แสดงธรรมเพียงเล็กน้อยเข้าใจง่ายๆ  พวกนั้นก็โกรธอีก จึงพากันไปเฝ้าพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าจึง  ไดท้ รงตรสั ถามถงึ การมาของอตลุ อบุ าสกและบรวิ าร อตลุ อบุ าสก  จงึ กราบทูลว่า “พระเจา้ ขา้ ! พวกขา้ พระองคไ์ ดเ้ ขา้ ไปหาทา่ นเรวตั ตะเพอ่ื ฟงั   ธรรม แต่ท่านเรวัตตเถระหาได้แสดงธรรมไม่ จึงไปหาท่านสารี-  บตุ รๆ กแ็ สดงอภธิ รรมอนั ละเอยี ดลกึ ซงึ้ เสยี ยดื ยาว พวกขา้ พระองค ์ ไม่พอใจ จึงได้ไปหาท่านพระอานนท์เพ่ือฟังธรรม พระอานนท์ก ็ แสดงส้ันและย่อเกินไป พวกข้าพระองค์ไม่พอใจ จึงได้พากัน  มาหาพระผู้มีพระภาค เพ่อื ฟงั ธรรมพระเจ้าข้า” เมอ่ื พระพทุ ธองค์ไดท้ รงสดับเรื่องโดยตลอดแล้ว จงึ ตรสั ว่า “น่ีแน่ะ อตุละ ตั้งแต่โบราณมาแล้ว การติเตียนสรรเสริญนี ้ ยอ่ มเปน็ ของมตี งั้ แตไ่ หนแตไ่ ร คอื คนทงั้ หลายยอ่ มตเิ ตยี นผนู้ ง่ั นง่ิ   322 มงคล ๓๘ ประการ

บา้ ง ผพู้ ดู มากบา้ ง ผพู้ ดู นอ้ ยบา้ ง ผทู้ ถี่ กู ตเิ ตยี นอยา่ งเดยี ว หรอื ถกู   สรรเสรญิ อยา่ งเดยี วไมม่ เี ลย ถงึ พระราชาทง้ั หลาย กม็ คี นบางพวก  ตเิ ตยี น มคี นบางพวกสรรเสรญิ  อยา่ วา่ แตผ่ อู้ น่ื เลย ถงึ แผน่ ดนิ  ดวง  จนั ทร ์ ดวงอาทติ ย ์ อากาศ เปน็ ตน้  กย็ งั มผี ตู้ เิ ตยี น ผสู้ รรเสรญิ  อยา่   วา่ แตผ่ อู้ นื่ เลย ถงึ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้  ผปู้ ระทบั นงั่ แสดงธรรมอย่ ู ในทา่ มกลางบรษิ ทั  ๔ กม็ บี างคนตเิ ตยี น มคี นบางพวกสรรเสรญิ  ก็  แตว่ า่ ความตเิ ตยี นหรอื สรรเสรญิ ของคนอนั ธพาล ใครๆ ไมค่ วรถอื   เปน็ ประมาณ สว่ นผใู้ ดถกู บณั ฑติ ผมู้ คี วามคดิ ตเิ ตยี นหรอื สรรเสรญิ   ผู้นั้นแหละชื่อว่า ควรติเตียนแท้ ควรสรรเสริญแท้” แล้วทรงตรัส  ตอ่ ไปว่า “นแ่ี นะ่  อตลุ ะ การตเิ ตยี นสรรเสรญิ นเ้ี ปน็ ของมมี านานแลว้   ไมใ่ ชเ่ พง่ิ มใี นวนั น ้ี คอื คนบางพวกตเิ ตยี นผนู้ ง่ั นง่ิ  ตเิ ตยี นผพู้ ดู มาก  ตเิ ตยี นผพู้ ดู พอประมาณ ผไู้ มถ่ กู ตเิ ตยี นไมม่ ใี นโลก ผทู้ ถ่ี กู ตเิ ตยี น  อยา่ งเดยี ว หรอื ถกู สรรเสรญิ อยา่ งเดยี วไมม่ ใี นอดตี กาล จกั ไมม่ ใี น  อนาคตกาล และไมม่ อี ยใู่ นปจั จบุ นั กาลน ้ี ผมู้ คี วามรพู้ จิ ารณาทกุ วนั   แลว้ สรรเสรญิ ผใู้ ด ซง่ึ มคี วามประพฤตไิ มข่ าดวนิ่  ประกอบดว้ ย ศลี   สมาธิ ปัญญา ใครจะสมควรติเตียนผู้น้ัน ซึ่งเป็นเหมือนแท่งทอง  ชมพนู ุท ฉะน้นั  ผูน้ ้ันถึงเทวดาก็สรรเสรญิ  พรหมกส็ รรเสรญิ ” จากเรื่องที่ยกมานี้ก็เป็นเรื่องชี้ให้เราเห็นว่า ไม่มีใครพ้นไป  จากโลกธรรมไปได ้ แปลกแตใ่ ครจะยนิ ดแี ละยนิ รา้ ยหรอื ไมเ่ ทา่ นน้ั   ผู้ท่ีไม่รู้จักว่าโลกธรรม ๘ เป็นของไม่เท่ียง มีความแปรปรวนเป็น  ธรรมดา ยอ่ มไมย่ นิ ด ี ไมย่ นิ รา้ ย ในเมอ่ื พบโลกธรรม สว่ นผทู้ รี่ วู้ า่   โลกธรรมเปน็ ของไมเ่ ทย่ี ง ไมย่ งั่ ยนื  มคี วามแปรปรวนเปน็ ธรรมดา  สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 323

๓๕มงคลข้อที่ จติ ไมห่ วนั่ ไหวดว้ ยโลกธรรม ยอ่ มไมย่ นิ ดไี มย่ นิ รา้ ยเวลาไดล้ าภ ยศ สรรเสรญิ  สขุ  กไ็ มย่ นิ ด ี ไมม่  ี ใจฟขู น้ึ ผดิ ปรกต ิ เวลาไมไ่ ดล้ าภ ไมไ่ ดย้ ศ ไมไ่ ดส้ ขุ  ไมไ่ ดส้ รรเสรญิ   กไ็ มย่ นิ รา้ ย ไมม่ ใี จฟบุ ลงผดิ ปรกต ิ หรอื เมอื่ ไดแ้ ลว้  เสอ่ื มไป หรอื   เม่ือเสื่อมลาภยศ ถูกติเตียน ได้ทุกข์ ก็ไม่ยินร้าย กัลยาณปุถุชน  ถึงจะยินดียินร้าย ก็ไม่แสดงออกมาทางกาย วาจา จนเสียกิริยา  ส่วนปุถุชนท่ีเป็นพาล คือไม่รู้จักค�ำสอนของพระพุทธเจ้า ไม่รู้จัก  ธรรมดาโลก ย่อมแสดงความยนิ ดียินร้ายออกมาทางกาย วาจา พระพุทธเจ้า ทรงสอนภิกษุท้ังหลายไม่ให้ยินดียินร้ายต่อ  โลกธรรมว่า “ดกู ร ภกิ ษทุ งั้ หลาย เธอทงั้ หลายจงอยา่ ยนิ ดตี อ่ การสรรเสรญิ   อยา่ ยนิ รา้ ยตอ่ การนนิ ทา ใหร้ บั และปฏเิ สธความจรงิ  ถา้ เธอทง้ั หลาย  ยนิ ดยี นิ รา้ ย กจ็ กั เปน็ อนั ตรายแกเ่ ธอทง้ั หลาย จกั เปน็ ความลำ� บาก  ใจแกเ่ ธอท้งั หลายดงั น”ี้ จากขอ้ ความทงั้ หลายทย่ี กขนึ้ มาแสดงน ้ี เพอื่ ทจี่ ะชใี้ หเ้ หน็ วา่   บุคคลผู้มีใจหว่ันไหวไปกับโลกธรรมนั้น ย่อมเป็นผู้ที่มีความทุกข์  มีความเดือดรอ้ น การได ้ ลาภ ยศ สรรเสรญิ  สขุ  เปน็ ทกุ ขเ์ พราะตอ้ งแสวงหา  ผู้ที่ได้มาแล้ว มีแล้ว ถ้ายังคิดยังยึดอยู่ก็ยังเป็นทุกข์ เพราะต้อง  รกั ษา ไมต่ อ้ งการใหข้ องทไี่ ดม้ านนั้ เสอื่ มไปสญู ไป ดงั นนั้  บคุ คลผมู้  ี จติ ใจไมห่ วนั่ ไหวเพราะโลกธรรม รสู้ ภาพตามความเปน็ จรงิ  วา่ สงิ่   เหลา่ นเี้ มอื่ เกดิ ขน้ึ แลว้  ยอ่ มวบิ ตั แิ ปรปรวนไปตามธรรมดา แลว้ ใจ กเ็ ปน็ สขุ  ดว้ ยเหตนุ ก้ี ารทม่ี จี ติ ใจไมห่ วน่ั ไหวตอ่ โลกธรรม จงึ จดั วา่   เป็นมงคล คอื ความดีในพุทธศาสนาน้ี 324 มงคล ๓๘ ประการ

มงคล ๓๖ข้อที่ อโสกํ (จิตไมโ่ ศก) มงคลท ่ี ๓๖ พระพทุ ธวจนะวา่  ‘อโสก’ํ  แปลวา่  จติ  (ทบี่ รรล ุ นิพพานแล้ว) ไม่โศก ซึ่งเป็นการสรรเสริญคุณของนิพพาน จิตท ี่ บรรลโุ ลกตุ ตรภมู  ิ คอื พน้ วสิ ยั โลก เรอื่ งของจติ นเ้ี ปน็ เรอื่ งทลี่ ะเอยี ด มาก เพราะจติ นน้ั เปน็ นามธรรม ไมใ่ ชว่ ตั ถธุ รรมทเี่ ราจะสามารถร้ ู ไดว้ า่ มรี ปู รา่ งอยา่ งไร เราจะพยากรณว์ า่ จติ นน้ั มรี ปู รา่ งสงู ต�่ำดำ� ขาว  ไมไ่ ด ้ เพราะจติ ไมม่ รี ปู รา่ ง แตท่ เ่ี ราจะรไู้ ดก้ ต็ อ่ เมอ่ื จติ ไดแ้ สดงออก  มาทางกาย วาจา น่ันแหละเราจึงจะสามารถรู้ได้ว่าคนผู้น้ีมีจิตใจ  อย่างไร ถ้าไม่อย่างนัน้ แลว้ เราจะไมม่ ีทางร้เู ป็นอันขาด ในมงคลขอ้ น ี้ เราจะไดม้ าศกึ ษาถงึ เรอื่ งจติ ไมโ่ ศกวา่ มลี กั ษณะ  อย่างไร และส่ิงไรท่ีท�ำให้เกิดความโศก เรื่องของความโศกเศร้า  หรือจิตโศกนั้น ส่วนมากมักจะเข้าใจกันดีเพราะมักจะประสบกับ  ตวั เองอยบู่ า้ งแลว้ เกอื บทกุ คน ดงั นนั้ เราจะมาศกึ ษาในรปู ของภาษา  เสียก่อน สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 325

มง๓คล๖ข้อท่ี จติ ไมโ่ ศก ค�ำว่า โสกะ หรือ โสก แปลว่า แห้ง หรือ แห้งผาก ซึ่งตรง  ขา้ มกบั คำ� วา่  ชมุ่ ชนื่  จติ ทแี่ หง้ ผากนนั่ เองทเ่ี รยี กวา่ โศกเศรา้  อาการ  ของจติ แหง้ ผากยงั แยกออกไปอกี  คอื  ปรเิ ทวะ โทมนสั สะ ความคบั   แค้น อุปายาส ความเสีย แต่ในมงคลข้อนี้แสดงความโศกไว้คำ� เดียว ทวี่ า่ จติ โศกหรอื ใจแหง้ นนั้  มนั เกดิ มาจากอะไร ซง่ึ ขอ้ นข้ี อให้  ทา่ นได้พิจารณาจากพทุ ธวจนะท่ีว่า “เปมโต ชายเต โสโก” ความโศกเกดิ จากความรกั หมายความวา่  เพราะรกั จงึ มโี ศก ถา้ ไมม่ รี กั กไ็ มม่ โี ศก รกั มาก  โศกมาก รกั นอ้ ยโศกนอ้ ย ไมม่ รี กั เลย กไ็ มโ่ ศกเลย และความจรงิ ก ็ เปน็ อยา่ งนนั้ จรงิ ๆ ถา้ สมมตวิ า่  หนงั สอื พมิ พล์ งขา่ วรถคว่�ำคนตาย  หมด เรากเ็ พยี งแตร่ บั ทราบ และสงสาร แตถ่ า้ เราทราบวา่ คนตาย ในจำ� นวนนน้ั มเี พอื่ นรกั ของเรามารว่ มอยดู่ ว้ ยคนหนงึ่  ความโศกก ็ เกดิ ขนึ้ ในใจ แตก่ ย็ งั พอกนิ ไดน้ อนหลบั  แตถ่ า้ บงั เอญิ คนๆ นนั้ เปน็   ญาติของเรา เป็นลูกหลาน หรือพ่อแม่ของเรา หรือภรรยาท่ีเรา  รักมากๆ ความโศกก็จะมากข้ึน เร่ืองของความโศกเกิดขึ้นเพราะ ความรักเป็นสาเหตุ เร่ืองน้ีมีเร่ืองเป็นอุทาหรณ์ ในคร้ังพุทธกาล  ในสมัยที่พระพุทธเจ้าของเรายังทรงมีพระชนมชีพอยู่ ซึ่งปรากฏ  อยใู่ นพระสตุ ตนั ตปฎิ ก มชั ฌมิ นกิ าย มชั ฌมิ ปณั ณาสก ์ ปยิ ชาตกิ สตู ร กล่าวว่า พระนางมัลลิกาเทวี ได้ตรัสสั่งให้นาฬิชังฆพราหมณ์ว่า  ท่านจงไปเฝ้าพระพุทธเจ้า ทูลถามว่า คำ� ว่า โสกะ ปริเทวะ ทุกข์  326 มงคล ๓๘ ประการ

โทมนัสสะ อุปายาส เกิดจากความรักนี้ พระองค์ตรัสไว้จริงหรือ  พระองคท์ รงแกไ้ ขอยา่ งไรจงจำ� ไว้อย่างนน้ั พราหมณน์ นั้ กเ็ ขา้ ไปเฝา้  และทลู ถามพระพทุ ธเจา้  พระองค ์ กท็ รงรบั วา่ ตรสั ไวอ้ ยา่ งนนั้ จรงิ  คอื กลา่ ววา่ ไดพ้ ดู วา่  โสกะ ปรเิ ทวะ  ทุกข ์ โทมนัส อปุ ายาส ยอ่ มเกดิ จากความรกั  และตรสั ตอ่ ไปว่า “นแี่ นะ่ พราหมณ ์ เมอื่ กอ่ นทกี่ รงุ สาวตั ถนี  ี้ มมี ารดาของหญงิ   คนหนงึ่ ไดต้ ายไป หญงิ คนนนั้ ไดค้ ลมุ้ คลง่ั รอ้ งไปตามถนนวา่  ทา่ น  ท้ังหลายเห็นมารดาของเราบ้างหรือไม่ หญิงอีกคนหน่ึงบิดาตาย  อีกคนหน่ึงพ่ีชายตาย อีกคนหน่ึงพี่สาวตาย อีกคนหน่ึงบุตรตาย  อกี คนหนง่ึ ธดิ าตาย อกี คนหนง่ึ สามตี าย หญงิ คนนน้ั กไ็ ดค้ ลมุ้ คลงั่   ร้องไห้ไปตามถนนเหมือนกับคนก่อน และมีบุรุษคนหนึ่งที่เมือง  สาวตั ถนี  ี้ มารดาของเขาตาย อกี คนหนงึ่ บดิ าตาย อกี คนหนง่ึ พช่ี าย  ตาย อีกคนหนึ่งพ่ีสาวตาย อีกคนหน่ึงบุตรตาย อีกคนหนึ่งธิดา  ตาย อกี คนหนงึ่ ภรรยาตาย พวกนนั้ ไดร้ อ้ งไหค้ ลมุ้ คลง่ั ไปตามถนน  เหมือนกัน เมื่อก่อน ท่ีกรุงสาวัตถีน้ีมีหญิงคนหน่ึงไปเยี่ยมญาต ิ พวกญาติของหญิงคนนั้น ได้ชิงเอาสามีของนางเพ่ือจะไปให้ผู้อื่น  นางไมย่ อมให ้ บรุ ษุ ผนู้ น้ั กไ็ ดฟ้ นั ภรรยาของตนใหข้ าด ๒ ทอ่ น แลว้   ผา่ อกตวั เองตายเสยี  ดว้ ยคดิ วา่  เราทง้ั สองตายเสยี ดกี วา่  ดว้ ยเหตุ  เหลา่ นแ้ี หละพราหมณ ์ เราจงึ กลา่ ววา่  โสกะ ปรเิ ทวะ ทกุ ข ์ โทมนสั   อุปายาส ยอ่ มเกิดจากความรกั ” นาฬชิ งั ฆพราหมณไ์ ดฟ้ งั ดงั นนั้ แลว้ กช็ นื่ ชมยนิ ด ี กลบั ไปกราบ  ทูลพระนางมัลลิกาเทวี พระนางมัลลิกาเทวีจึงได้เข้าไปกราบทูล  พระเจา้ ปเสนทโิ กศล ผไู้ มท่ รงเชอื่ วา่ ความรกั ทำ� ใหเ้ กดิ ทกุ ข ์ ทรงเขา้   สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 327

มง๓คล๖ขอ้ ที่ จิตไม่โศก พระทัยว่าความรักทำ� ให้เกิดสุข คือพระนางได้ทรงทูลถามว่า “ข้า  แตม่ หาราชเจา้  พระนางวชริ กี มุ ารเี ปน็ ทร่ี กั ของพระองคห์ รอื ” กท็ รง  ตรัสตอบวา่  ถูกแล้ว เปน็ ที่รักของเรา จึงกราบทูลต่อไปว่า ถ้าพระนางวชิรีกุมารีวิบัติไป โสกะ ปริ  เทวะ ทกุ ข ์ โทมนสั  อปุ ายาส จะเกดิ แกพ่ ระองคห์ รอื  ตรสั ตอบวา่ เกดิ แน่ และพระนางกไ็ ดท้ รงยกเอาพระนางวาสภขตั ตยิ า และวฑิ ฑู ภ  เสนาบด ี กบั ตวั พระนางเอง และประชาชนขน้ึ ทลู ถามวา่  เปน็ ทรี่ กั   ของพระองคห์ รอื ไม ่ และถา้ คนเหลา่ นถี้ งึ ความวบิ ตั ไิ ป พระองคจ์ ะ  ทกุ ขห์ รอื ไม ่ พระเจา้ ปเสนทโิ กศลกท็ รงยอมรบั วา่ เกดิ  พระนางจงึ   สรปุ วา่  ดว้ ยเหตนุ ้แี หละ ความทกุ ขจ์ งึ เกดิ เพราะความรกั โดยปกติแล้ว ความรักเหมือนแม่น�้ำ ท�ำให้ใจเบ่งตัวข้ึน ม ี ความอ่ิมตัว ถ้ารักมากก็ย่ิงอ่ิมตัวมาก ดูแต่หนุ่มสาวยามรักกันสิ  รักกันมากๆ ลืมกินข้าวกินนำ้�  เพราะใจนั้นอิ่มตัว แต่พอความรัก  หมดไป หมายความวา่ ใจมนั อยากรกั อย ู่ แตม่ นั ไมม่ รี กั จะรกั  ใจจะ  เห่ียวแห้งซูบซีดลง ท่ีเรียกว่าโศก ทุกคนท่ีมีความผิดหวังเรื่องรัก  แลว้ แหง้ ทกุ คน อาการเหลา่ นมี้ นั แสดงออกมาทางกาย เปน็ ตน้ วา่   รา่ งกายซบู ซดี  ใบหนา้ หมน่ หมอง และอากปั กริ ยิ าตา่ งๆ ผดิ แปลก  ไปจากธรรมดา ไมม่ คี วามรา่ เรงิ เลย เพราะความผดิ หวงั  ตามปกต ิ ของใจคนเรานั้นเป็นธรรมชาติท่ีตะกละอารมณ์ อยากดูอยากฟัง  อยูท่ กุ ขณะ การทจ่ี ติ ใจตดิ อารมณน์ น้ั  เพราะมยี างเหนยี วอยอู่ ยา่ งหนงึ่ ท ่ี จติ  คอื ความรกั หรอื สเิ นหะ ทเี่ ราพดู วา่ เสนห่  ์ (แปลตามตวั แลว้ วา่   328 มงคล ๓๘ ประการ

ความเหนยี ว) ความรกั นแี่ หละเปน็ ยางเหนยี ว ท�ำใหจ้ ติ ตดิ อารมณ ์ แตพ่ อความรกั แหง้ ไป ใจกไ็ มร่ บั อารมณ ์ มนั ไมต่ ดิ  ดงั นน้ั คนทก่ี ำ� ลงั   เศร้าโศกอยู่ เขียวๆ แดงๆ ไม่อยากดู ร้องรำ� ท�ำเพลงไม่อยากฟัง  ทั้งนั้น กินก็ไมอ่ ยากกนิ  เบื่อ อาการอยา่ งน้ีแหละคือความแหง้ ใจ แตใ่ จของพระอรยิ เจา้ ไมม่ รี กั  ตดั รกั ไดแ้ ลว้ โดยสน้ิ เชงิ  ดงั นนั้   ใจท่านจงึ ไมแ่ ห้ง ไมม่ โี ศก ดังพระบาลีวา่ “เปมโต วปิ ปฺ มตุ ตฺ สสฺ  นตถฺ  ิ โสโก กโุ ต ภย”ํ  “เมอื่ ไมร่ กั แลว้   โศกกไ็ ม่มี ความกลัวไม่มี” กล่าวคือความแตกต่างของใจปุถุชนกับใจของพระอริยะน้ัน  ไม่เหมือนกัน ใจของพระอริยะน้ันเป็นใจไม่อยากรัก ส่วนใจของ  ปถุ ชุ นมนั อยากรกั  แตม่ นั อดรกั เพราะไมม่ จี ะรกั  ใจของพระอรยิ ะ  เจา้ นนั้ ทา่ นสขุ อยใู่ นตวั เอง ไมต่ อ้ งพงึ่ รกั  สว่ นใจของคนธรรมดาไม ่ สขุ ในตวั  แต่สขุ เพราะรัก พอหมดรักมันก็เลยแห้งใจ ถา้ เราเปน็ คนธรรมดา เมอ่ื เวลาคดิ จะรกั ใครแลว้ กข็ อใหร้ ะวงั   อยู่สักหน่อยว่า ความรักมักเป็นเหตุให้เกิดความทุกข์ เราอย่าได้  ทุ่มเทความรักของเราไปท้ังหมด จะต้องเหลือไว้บ้าง ท่ีว่าเหลือ  ไม่ใช่ให้รักเผ่ือเลือก แต่ให้รักไว้เผ่ือความผิดหวัง จะได้มีนำ�้ หล่อ  เลย้ี งหวั ใจไวบ้ า้ ง จะไดไ้ มแ่ หง้ ผาก มนี กั ปราชญบ์ างทา่ นบอกวา่ ให้  แบ่งความรักของเราไว้สามส่วน คือ ไว้รักคนท่ีเรารัก ทุ่มเทไว้กับ  การงาน และสงวนพลังไว้เผอ่ื ความผดิ หวงั ความท่ีเราจะระวังจิตใจของเรา ไม่ให้หลงไปด้วยอ�ำนาจ  ความโศกจึงเปน็ มงคลอยา่ งยง่ิ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 329

มงคล ๓๗ข้อที่ วิรช ํ (จติ ปราศจากธลุ )ี ในมงคลบทนเ้ี ปน็ เรอื่ งทล่ี ะเอยี ดขน้ึ ตามลำ� ดบั  กอ่ นอนื่ เราจะ  ตอ้ งทำ� ความเขา้ ใจคำ� วา่  “ธลุ ”ี  เสยี กอ่ น เพราะจะเปน็ แนวทางของ  ความเขา้ ใจในความหมายของมงคลขอ้ น้ตี อ่ ไป คำ� วา่  ‘ธลุ ’ี  ตามความหมายของโลกแปลวา่  ฝนุ่ ละออง คอื ฝนุ่   ทล่ี ะเอียดเกือบจะมองไม่เห็นดว้ ยตาเปล่า แตเ่ ม่ือมันปลวิ ไปเกาะ  กับของท่ีใสสะอาดมากเช่นกระจกเงาแล้วจึงเห็น คือท�ำให้ของใส  กลายเปน็ มัวเข้า ของจ�ำพวกนที้ �ำให้เสยี ความผุดผ่อง ในพทุ ธศาสนา ทา่ นสอนวา่ สงิ่ ทท่ี ำ� ใหจ้ ติ ใจมวั หมองคอื กเิ ลส  คนเรานี่ถ้ากิเลสเกาะเข้าแล้วมันมืดมัวลงไป มัวมากมัวน้อยตาม  แตข่ นาดของกิเลส 330 มงคล ๓๘ ประการ

ในมงคลทีปนี ท่านได้แสดงธุลีเอาไว้ ๓ อย่าง คือ ราคะ  โทสะ และโมหะ ทงั้ สามอยา่ งนช้ี อื่ วา่ เปน็ ธลุ ขี องจติ ใจ ท�ำใหจ้ ติ ใจ  ของบคุ คลนนั้ มวั หมองดว้ ยอ�ำนาจราคะ คอื ความรกั  อ�ำนาจโทสะ  คือความชงั  และอำ� นาจโมหะ คือความหลง เรื่องของอ�ำนาจราคะ คือความรักนี้ ลองได้หุ้มห่อจิตใจของ  ผู้ใดแล้ว ย่อมจะท�ำให้ผู้นั้นมืดมัว ไม่สามารถท่ีจะรู้ผิดรู้ชอบ  บุคคลผู้ใดถูกอ�ำนาจราคะเข้าครอบง�ำ ย้อมใจแล้ว ย่อมกระท�ำ  กาเมสมุ จิ ฉาจาร คอื ประพฤตผิ ดิ ประเวณลี กู เมยี ผอู้ น่ื  ทา้ ยทส่ี ดุ พอ่   แมพ่ น่ี อ้ ง พสี่ ะใภ ้ นอ้ งเขย กล็ ว่ งเกนิ กนั ไดเ้ พราะอำ� นาจของราคะ  ย่ิงในปัจจุบันน้ียิ่งเห็นได้ชัดและมีข่าวลงตามหน้าหนังสือพิมพ์อยู่  บ่อยๆ และฆา่ กันตาย ยิงกนั ตาย เพราะอ�ำนาจของราคะตัวเดยี ว  ทที่ ำ� ใหม้ องไมเ่ หน็ แมแ้ ตม่ รณภยั  หรอื โทษทณั ฑท์ จ่ี ะไดร้ บั  อำ� นาจ  ราคะเปน็ เสมอื นธลุ ที บี่ งั ใจคนไมใ่ หเ้ หน็ ความผดิ ความถกู  เหมอื น  กับกระจกบังหน้ารถลองได้ถูกฝุ่นละอองจับเสียแล้ว เราก็ไม่เห็น  หนทาง และกข็ บั รถชนนน่ั ชนนใี่ นทส่ี ดุ  อ�ำนาจราคะนท้ี า่ นวา่ มโี ทษ  นอ้ ย แต่คลายช้า ธุลีตัวที่สองคือ โทสะ ความประทุษร้าย เรื่องของโทสะก ็ เหมอื นกนั  เมอ่ื เกดิ ขนึ้ มาแลว้  มนั กจ็ ะคลมุ จติ ใจของเราใหไ้ มเ่ หน็   ผิดถูกอีกเหมือนกัน เมื่อเกิดข้ึนมาแล้วย่อมประทุษร้ายแม้แต่  บดิ ามารดาพนี่ อ้ ง ชายหญงิ และบรรพชติ ทงั้ หลาย คนเราลองไดม้ ี  โทสะขนึ้ มาแลว้  “เหน็ ชา้ งตวั เทา่ หม”ู  คอื  สดู้ ะ หรอื ท�ำลายไมเ่ ลอื ก  เพราะอำ� นาจโทสะ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 331

๓๗มงคลข้อที่ จิตปราศจากธลุ ี อำ� นาจของธลุ ที  ี่ ๓ คอื  โมหะ ความหลง เมอื่ มคี วามหลงผดิ   เกดิ ขน้ึ  กย็ อ่ มจะทำ� บาปกรรมไดห้ ลายอยา่ งหลายสถาน โมหะเปน็   ต้นตอของราคะ และโทสะ ทงั้ นี้เพราะว่าความหลงเปน็ เหตใุ ห้ตก  อยใู่ นอำ� นาจของราคะ โทสะ ทา่ นกลา่ ววา่ เปน็ ธลุ ที มี่ โี ทษมากและ  คลายชา้ ดว้ ย ใจของพระอริยเจา้  เป็นใจทีบ่ รสิ ุทธิ์อย่างยงิ่  เพอ่ื ท่จี ะใหเ้ หน็   คุณภาพของจิตด้านน้ี ท่านจึงแสดงว่า ‘วิรชํ’ แปลว่าปราศจาก  ธุลี คือกิเลสที่จะท�ำให้ใจเศร้าหมอง แม้ว่าจะเป็นละอองกิเลสช้ิน  ละเอยี ดกไ็ ม่เกาะเกี่ยว สว่ นคนเราธรรมดา แมท้ ำ� จติ ไมไ่ ดถ้ งึ ขนั้ ของพระอรยิ เจา้  แต ่ กต็ อ้ งคอยพยายามระวงั จติ ของเราอยา่ ใหต้ กลงไปในอ�ำนาจความ  รกั  ความชงั  และความหลง โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ คนทเี่ ปน็ ผปู้ กครอง  ย่ิงต้องระวังมาก เอียงมากคนที่อยู่ใต้ปกครองก็แย่ ผู้ปกครอง  เหมอื นยานพาหนะ รถ เรอื  สว่ นผอู้ ยใู่ ตป้ กครองเหมอื นผโู้ ดยสาร  ถ้ารถเรือมันเอียงมาก ผู้โดยสารก็อยู่ไม่เป็นสุข ไม่เป็นอันน่ัง ไม่  เป็นอันยืน ไม่เป็นอันท�ำ เฮโลไปทางโน้นที ทางน้ีที เฮกันไป เฮ  กันมาประเดยี๋ วก็ล่ม ดงั นน้ั จึงต้องคอยระวังจิตใหด้ ี อยา่ ใหธ้ ุลเี ขา้   มาครอบงำ� จติ ใจของเราได ้ การทไ่ี มใ่ หธ้ ลุ เี ขา้ ครอบงำ� จติ ใจนแ่ี หละ  ทา่ นว่าเป็นมงคลอย่างยง่ิ 332 มงคล ๓๘ ประการ

มงคล ๓๘ขอ้ ท่ี เขมํ (จิตหลดุ พ้น, จติ เกษม) ยอดสดุ ของมงคลชวี ติ  พระพทุ ธองคต์ รสั วา่  “เขม”ํ  แปลวา่ จติ   เกษม หมายถงึ วา่ ผดู้ ำ� เนนิ ตามปฏทิ าแหง่ มงคลในพระพทุ ธศาสนา  มาบรรลุถงึ จุดสดุ ยอดแล้วคอื  จิตเกษม ที่ว่า เกษม หมายความว่าปลอดภัย พ้นจากภัยท้ังปวงโดย  สนิ้ เชงิ   ตามธรรมดาจิตของคนเราปถุ ุชน เปน็ จิตทอี่ ยู่ในวงล้อมของ  อันตรายร้อยแปดพันประการ เพียงแต่เกิดมาเป็นคนเท่านั้น ก็มี  ภยั ใหญด่ กั หนา้ ดกั หลงั ขนาบขา้ ง คอื  ชาตภิ ยั  ชราภยั  และมรณภยั   และนอกจากนนั้ กย็ งั มภี ยั เลก็ ภยั นอ้ ย เปน็ ตน้ วา่  เกดิ จากไดล้ กู ไมด่  ี ผวั ไมด่  ี เมยี ไมด่  ี เพอื่ นไมด่  ี สารพดั ทจ่ี ะประสบ แตบ่ คุ คลผดู้ ำ� เนนิ   สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 333

๓๘มงคลข้อท่ี จิตหลุดพน้ , จิตเกษม ตามมรรควธิ แี ล้วย่อมพน้ เกษมจาก “โยคะ” คำ� วา่  “โยคะ” หมายถงึ เครอื่ งทคี่ อยประกอบใหส้ ตั วโ์ ลกตดิ ไว้  ไมส่ ามารถลว่ งพน้ ไปได ้ บคุ คลผยู้ งั มโี ยคะ เครอ่ื งประกอบไว ้ ยงั ไม ่ ช่อื วา่ ปลอดภัย โยคะ เครอื่ งประกอบไว้มอี ยู่ ๔ คอื ๑. กามโยคะ เครอื่ งประกอบจติ ของสตั วท์ ง้ั หลาย ใหย้ นิ ดอี ย ู่ ในกามคณุ  ๕ คอื  รปู  เสยี ง กลนิ่  รส สมั ผสั  ทงั้ หา้ ประการน ี้ เปน็   เครือ่ งรอ้ ยรัดให้สตั วโ์ ลกตดิ อยู่ ไม่ให้พ้นไปได้ ๒. ภวะโยคะ เครอื่ งประกอบจติ แหง่ สตั วโ์ ลกทง้ั หลายใหย้ นิ ด ี อยูใ่ นภพ ๓. ทิฏฐิโยคะ เคร่ืองประกอบจิตแห่งสัตว์โลกทั้งหลายให ้ ยินดีอยู่ในทิฏฐิ ความเห็นผิดจากคลองธรรมวินัยพุทธศาสนา  เป็นการเห็นผิดจากของที่จริงที่แท้ คือ สัสสตทิฏฐิ ความเห็นว่า  สัตว์ท้ังหลายเกิดมาเท่ียงไม่แปรผัน เคยเป็นมาอย่างไรก็เป็นไป  อย่างนั้น คือ เม่ือเกิดมาเป็นมนุษย์แล้ว เมื่อตายไปแล้วก็ยังคง  เป็นมนุษย์อีก เกิดเป็นเทพก็คงเป็นเทพ อุจเฉททิฏฐิ เห็นว่าสัตว ์ สญู  ความเหน็ วา่ สตั วโ์ ลกสญู นน้ั  สญู โดยประการทงั้ ปวง บญุ ไมม่  ี บาปไมม่ ี ๔. อวชิ ชาโยคะ เครอ่ื งประกอบจติ แหง่ สตั วท์ งั้ หลายใหย้ นิ ด ี อยใู่ นอวชิ ชา โมหะหลงใหลในสงั ขารไมร่ เู้ นา่  สงั ขารทเี่ วยี นวา่ ยตาย  เกดิ อยใู่ นก�ำเนดิ และภพทง้ั  ๓ ใหเ้ กดิ รปู เกดิ นามตามยถากรรมท ่ี ทำ� ไวใ้ หผ้ ล อวชิ ชาความมดื มนไมร่ จู้ กั ทางมนษุ ย ์ ทางสวรรค ์ ทาง  นิพพาน อวิชชาเป็นเคร่ืองปิดบังตัวปัญญาของปุถุชนให้มืดมน  อนธการ ไม่รู้เท่าทันสังขารท่ีเกิดดับ ได้แก่อวิชชา ตัณหา กรรม  334 มงคล ๓๘ ประการ

และอาการ อวชิ ชานป้ี กปดิ มาชา้ นานอเนกชาตนิ บั ไมถ่ ว้ น ทา่ นจงึ   เรยี กวา่  “อวชิ ชาโยคะ” เครอื่ งประกอบสตั วด์ ว้ ยอวชิ ชา ใหป้ กปดิ   ในเบือ้ งหน้าสิ้นกาลนาน โยคะทั้งส่ีนี้เปรียบเสมือนเชือกสี่เกลียวท่ีผูกสัตว์โลกให้ติด  อย ู่ สว่ นพระอรยิ บคุ คลทา่ นไดต้ ดั เชอื กทง้ั สเ่ี กลยี วนไ้ี ดห้ มดสนิ้ แลว้   ตงั้ แตไ่ ดบ้ รรลธุ รรมชน้ั พระอนาคามกี ต็ ดั เชอื กไดห้ มดแลว้  ๒ เกลยี ว  คอื  กามราคะ พอไดบ้ รรลเุ ปน็ พระอรหนั ตก์ ต็ ดั เชอื กอกี  ๓ เกลยี ว  จนหมดสิ้น เมื่อท่านได้ท�ำลายเชือกท่ีร้อยรัดไว้ส้ินทั้ง ๔ เกลียว  ทา่ นกห็ ลดุ จากวงลอ้ มของภยั โลกยี ท์ กุ ชนดิ  ด�ำรงอยใู่ นโลกตุ ระอนั   เปน็ แดนเกษมมคี วามสุขชวั่ นริ ันดร มงคลสดุ ยอดของชาวพทุ ธกค็ อื  การตดั เชอื กทรี่ อ้ ยรดั สเ่ี กลยี ว  นน้ั เสยี  ตฝี า่ วงลอ้ มแหง่ ภยั  คอื  ความเกดิ  ความแก ่ และความตาย  เข้าสูโ่ ลกุตตรภูมติ ามรอยบาทพระพุทธองค์ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 335

มงคล ๓๘ประการ ป ร ะ ที ป ข อ ง ผู้ ป ร า ร ถ น า ค ว า ม เ จ ริ ญ รุ่ ง เ รื อ ง แ ห่ ง ชี วิ ต สิริคุตฺโต ภิกขฺ ุ ชมรมกลั ยาณธรรม หนังสือดลี �ำดบั ท่ ี ๓๒๒ พมิ พ์คร้ังที่ ๒ ธันวาคม ๒๕๕๘ จำ� นวนพิมพ์ ๑,๐๐๐ เล่ม (จัดพมิ พ์ครัง้ แรก เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๑๔) จัดพมิ พ์โดย ชมรมกัลยาณธรรม  ออกแบบปก ๑๐๐ ถนนประโคนชัย ต�ำบลปากน�้ำ  ออกแบบรปู เล่ม อ�ำเภอเมอื ง จังหวัดสมทุ รปราการ ๑๐๒๗๐  ภาพประกอบ โทรศพั ท ์ ๐-๒๗๐๒-๗๓๕๓ และ ๐-๒๗๐๒-๙๖๒๔  พิสูจน์อักษร สมุ ลฑา ประจงเนตร คนข้างหลงั    พิมพ์โดย ความสขุ , ภรณี โสรัจจกลุ ปมุ๋ , ทีมงานกัลยาณธรรม แคนนา กราฟฟิก โทรศพั ท์ ๐๘-๖๓๑๔-๓๖๕๑ สพั พทานงั  ธัมมทานงั  ชนิ าติ การใหธ้ รรมะเปน็ ทาน ย่อมชนะการใหท้ ง้ั ปวง wFawcewb.koaonkla:yaknaantlaayma.ncaotmam

มงคลสตู ร เปน็ สตู รหนง่ึ ในคมั ภรี ข์ ทุ ทกปาฐะ ในพระสตุ ตนั ต  ปฎิ ก เปน็ พระพทุ ธภาษติ ทพี่ ระพทุ ธเจา้ ทรงแสดงไวเ้ ปน็ ภาษาบาลี  มจี ำ� นวน ๑๑ คาถา มคี วามยาวเพยี ง ๒๒ บรรทดั  เรม่ิ ตงั้ แตค่ าถา  ที่ขึ้นต้นว่า อเสวนา จ พาลานํ เป็นต้น ไปจนถึงคาถาท่ีข้ึนต้นว่า  ผฏุ ฐสสฺ  โลกธมเฺ มห ิ ซงึ่ มคี วามไพเราะทงั้ เบอื้ งตน้  ทา่ มกลาง และทส่ี ดุ   เป็นพุทธพจน์ว่าด้วยมงคล ๓๘ ประการ อันเป็นสูตรพัฒนาการ  ทางจิตแบบอมตะ เป็นค�ำส่ังสอนที่เสริมสร้างสังคมให้เจริญด้วย  ศลี  สมาธ ิ ปญั ญา ตามหลกั พระพทุ ธศาสนา www.kanlayanatam.com Facebook : Kanlayanatam


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook