๒๔มงคลข้อท่ี มคี วามสันโดษ ดว้ ยหรอื เชน่ โรคภยั ไขเ้ จบ็ บางชนดิ ทอี่ ยใู่ นตวั เชน่ โรคกลาก โรค เกลอ้ื น มนั อยใู่ นตวั ของเราๆ เรากต็ อ้ งรกั มนั ดว้ ยหรอื หรอื วา่ บดิ า มารดาของเราตดิ ฝน่ิ ตดิ กญั ชา ตดิ สรุ า เรากต็ อ้ งตดิ ตามหรอื รกั ษา สงิ่ นดี้ ว้ ยหรอื เปลา่ ขอ้ นข้ี อตอบไดเ้ ลยวา่ ไมต่ อ้ งรกั เพราะสง่ิ เหลา่ น้ี จะเปน็ โรคภยั ไขเ้ จบ็ กลาก เกลอื้ น หรอื ฝน่ิ กญั ชา สรุ า เหลา่ นมี้ นั ไม่ใช่ของๆ เรา มันเป็นเรื่องท่ีมาทีหลัง และท�ำอันตรายแก่ตัวเรา เอง ข้อทสี่ อง ยนิ ดตี ามได ้ หมายความวา่ ยนิ ดกี บั สว่ นท่ไี ด้ เชน่ เดมิ เราตง้ั ใจวา่ จะไดเ้ งนิ สกั พนั บาท แตผ่ ลทส่ี ดุ มนั ไดเ้ พยี งรอ้ ยบาท อกี เกา้ รอ้ ยบาทสญู เสยี ไป เรากห็ นั มายนิ ดกี บั เงนิ รอ้ ยบาททเ่ี ราได ้ สว่ นอกี เกา้ รอ้ ยบาททเี่ ราไมไ่ ดเ้ รากเ็ ฉยเสยี อยา่ งนเี้ รยี กวา่ ยนิ ดกี บั สว่ นทไี่ ด ้ แตค่ วามจรงิ เทา่ ทป่ี รากฏแกต่ าและใจคนสว่ นมากนน้ั มกั จะเอาความยนิ ดไี ปฝากไวก้ บั สว่ นทไี่ มไ่ ด ้ ความรสู้ กึ ของคนชนดิ นี้ ขาดสนั โดษในตามได ้ ไดส้ ง่ิ ใดมาแทนทจ่ี ะพอใจวา่ นนั่ เปน็ ลาภอนั ม ี ส�ำหรับตน กลับคิดว่าสูญเสียลาภส่วนใหญ่ไปเสียแล้ว ที่ได้มาได้ เพียงเลาๆ เหลือเดนจากคนอื่นเขา ใจคนที่ไม่สันโดษตามได้ ม ี ความรสู้ กึ อยา่ งนที้ ง้ั นนั้ คอื พยายามทจี่ ะใสไ่ ฟตวั เอง ใหม้ นั เรา่ รอ้ น อยตู่ ลอดเวลาแทนทจ่ี ะชอบสว่ นทไ่ี ด ้ กลบั เกลยี ด แตแ่ ลว้ เอาความ ชอบใจไปฝากไวก้ บั สว่ นทไ่ี มไ่ ด ้ แลว้ อยา่ งนจี้ ะมคี วามสขุ ไดอ้ ยา่ งไร ดังน้นั เราจึงต้องฝึกหัดใจใหร้ ับรู้ความจริงเหล่าน้ีไวเ้ สมอ ขอ้ ทสี่ าม ยนิ ดตี ามควร เปน็ ยอดของความสนั โดษทเี ดยี ว ท ่ี วา่ เปน็ ยอดของความสนั โดษนน้ั กเ็ พราะวา่ ความยนิ ดตี ามควร เปน็ ความยนิ ดที ป่ี ระกนั ความสขุ ใจไดต้ ลอด ถา้ จะเปรยี บเอาความยนิ ด ี 250 มงคล ๓๘ ประการ
ตามควรเปน็ เครอื่ งกลนั่ กรอง กเ็ ปน็ เครอื่ งกลน่ั กรองทลี่ ะเอยี ด เปน็ เครอ่ื งกลน่ั กรองอนั สดุ ทา้ ย ความยนิ ดตี ามมอี นั ดบั แรก เปน็ ธรรมะ ทช่ี ว่ ยใหเ้ รายนิ ดกี บั ของทเ่ี ราม ี เลกิ ยนิ ดกี บั สงิ่ ทเี่ ราไมม่ ี อนั ดบั สอง ยนิ ดตี ามได ้ ธรรมะขอ้ นส้ี งู ขน้ึ มาอกี ระยะหนง่ึ อนั ดบั สามยนิ ดตี าม ควร เทา่ กบั เปน็ ธรรมะกำ� กบั ความยนิ ดตี ามมตี ามไดอ้ กี ทหี นงึ่ ของ ทเ่ี รามอี ยกู่ บั ของทเ่ี ราไดม้ า บางอยา่ งกเ็ ปน็ ของทค่ี วรใชค้ วรบรโิ ภค บางอยา่ งกไ็ มค่ วรใชไ้ มค่ วรบรโิ ภค อยา่ งเชน่ เราไดผ้ ลไมม้ า ๒ ผล และไดม้ าใหมอ่ กี ๑ ผล ผลทม่ี อี ยมู่ นั เกดิ เนา่ เกดิ เสยี ขนึ้ เรากเ็ ลกิ ยินดีท้ิงมันไป อย่าเก็บไว้ให้เน่าคาบ้าน เหม็นเน่าเปล่าๆ ไม่ใช่ว่า เปน็ ของๆ เราแลว้ ตอ้ งยนิ ดเี รอ่ื ยไป เนา่ กเ็ กบ็ ไว ้ เสยี กเ็ กบ็ ไว ้ สว่ น ผลที่สองที่ได้มาใหม่ เรายินดีกับการที่เราได้มา แต่พร้อมกันน ้ี เมอ่ื ถงึ คราวกนิ กต็ อ้ งเลอื กกนิ แตท่ มี่ นั ควรกนิ เมลด็ และเปลอื กเรา กต็ อ้ งฝานมนั ทง้ิ ไป ไมใ่ ชว่ า่ ถา้ ไดม้ าแลว้ ตอ้ งกนิ ทง้ั หมดผล เปลอื ก เมลด็ กก็ นิ ดว้ ย เราตอ้ งเลอื กกนิ เทา่ ทมี่ นั จะกนิ ไดฉ้ นั ใด ความยนิ ดี ตามควร ซง่ึ เปน็ ความยนิ ดสี ดุ ยอดกเ็ ชน่ เดยี วกนั มอี ะไรไดม้ าตอ้ ง พจิ ารณาถงึ ความทคี่ วรหรอื ไมค่ วรดว้ ย ความยนิ ดตี ามควรน ้ี ทา่ น วางหลกั ไว้ส�ำหรับพจิ ารณา ๓ ประการ คือ ๑. ยถาลาภะ ควรแกฐ่ านะ ๒. ยถาพละ ควรแกส่ มรรถภาพ ๓. ยถาสารุปะ ควรแกศ่ ักด์ศิ รี ยถาลาภะ ควรแก่ฐานะน้ัน ได้แก่ฐานะของเรา คือเราต้อง นึกถึงฐานะของเราว่า เราอยู่ในฐานะอย่างไร เป็นบรรพชิต เป็น คฤหัสถ์ เป็นผู้ใหญ่ เป็นผู้น้อย แต่ละฐานะก็ยังมีจำ� แนกช้ันออก สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 251
๒๔มงคลข้อท่ี มีความสันโดษ ไปอกี ตวั อยา่ งเชน่ ในฝา่ ยคฤหสั ถก์ แ็ ยกออกไปอกี ทางยศ มนี าย พล นายพนั นายรอ้ ย นายสบิ พลทหาร ทางพลเรอื นกม็ ี หวั หนา้ กอง หัวหน้าแผนกประจำ� แผนก ลดหล่ันกันลงไป รวมความแล้ว เราแตล่ ะคนมฐี านะไมเ่ หมอื นกนั คนมสี นั โดษประเภทน ี้ เปน็ คนร ู้ ประมาณตวั วางตวั ไดเ้ หมาะสมกบั ฐานะของตน เขา้ หลกั ของคนดี ข้อที่ว่า อัตตัญญุตา เป็นผู้รู้จักตน และข้อว่า มัตตัญญุตา ความ เปน็ ผรู้ จู้ กั ประมาณ ถา้ เปน็ ผนู้ อ้ ยกเ็ ปน็ ผนู้ อ้ ยทนี่ า่ รกั ถา้ เปน็ ผใู้ หญ ่ กเ็ ปน็ ผใู้ หญท่ นี่ า่ เคารพนบั ถอื คนทขี่ าดสนั โดษประเภทน ี้ ไมม่ ที าง ดมี แี ตท่ างเสยี เสยี ถงึ สองทาง คอื ๑. เสยี ในทางใฝส่ งู เกนิ ฐานะ คดิ แตจ่ ะเอาดเี อาเดน่ หนกั เขา้ กก็ ลายเปน็ คนทสี่ งั คมรงั เกยี จ ๒. เสยี ในทางเหอ่ เหมิ ในสงิ่ ทีเ่ กนิ วาสนาของตน ยถาพละ ควรแก่ก�ำลัง หรือสมรรถภาพ ก�ำลังของคนหรือ สมรรถภาพของคนนนั้ มไี มเ่ ทา่ กนั ไมว่ า่ จะเปน็ ก�ำลงั กาย ก�ำลงั ใจ บางคนกำ� ลงั กายเขม้ แขง็ แตก่ ำ� ลงั ใจออ่ นแอมาก กระทบอะไรนดิ อะไรหนอ่ ยไมไ่ ด ้ พลอยตายเอางา่ ยๆ บางคนกำ� ลงั กายออ่ นปวกเปยี ก แต่ก�ำลังใจเข้มแข็งเด็ดขาด สามารถเอาชนะคนที่มีก�ำลังกาย แข็งแรงไดอ้ ยา่ งนา่ อศั จรรย ์ รวมความแลว้ วา่ คนเรานไี้ มเ่ หมอื นกัน แน ่ อยา่ ไปหลงเขา้ ใจผิดว่าเป็นคนแลว้ เหมือนกันหมด ยถาสารุปะ ยินดีตามศักดิ์ศรี หมายความว่า ให้ยินดีตาม ในสง่ิ ทเ่ี หมาะทคี่ วรแกภ่ มู ศิ ลี ธรรมของตน หรอื จะพดู วา่ ยนิ ดตี าม ความดีของตนก็ได้ ถ้าจะพูดให้เข้าใจชัดตามค�ำสามัญก็จะได้ว่า “ศักดศิ์ ร”ี ของใครก็ตาม แม้ว่าเราจะพอใจตามได้และตามกำ� ลังท่ีเรา 252 มงคล ๓๘ ประการ
มอี ย ู่ แตถ่ า้ ไปเกดิ ยนิ ดกี บั สง่ิ นน้ั เขา้ แลว้ มนั เสยี ศกั ดศิ์ รขี องเรา คอื เสยี ศลี เสยี ธรรม เสียช่ือเสียของ สิ่งน้นั เรากไ็ มค่ วรยนิ ดี เมื่อได้อธิบายมาเสียนานก็ใคร่ที่จะให้เราคิดดูว่า ธรรมะใน ข้อสันโดษนี้เป็นภัยต่อความเจริญก้าวหน้าของใครหรือไม่ ท้ังใน ทางส่วนตัวและในทางส่วนรวมและประเทศชาติ ความมีสันโดษ นน้ั ทำ� ใหเ้ กดิ ความสขุ คอื คนเราถา้ มคี วามพอใจเสยี อยา่ งเดยี วแลว้ ความสุขก็จะเกิดข้ึน แต่ถ้าคอยไม่มีความพอใจแล้ว ความสุขจะ เกดิ ขน้ึ ไมไ่ ด ้ ความมสี นั โดษนน้ั ทำ� ใหเ้ กดิ ความกา้ วหนา้ และมคี วาม เจริญโดยเฉพาะอย่างย่ิง ความก้าวหน้าทางจิตใจ ในทางโลก เรา ลองมาดกู นั วา่ ระหวา่ งคนทร่ี กั หนา้ ทขี่ องตัว กบั คนที่ไมร่ ักหนา้ ที ่ ของตัวเองน้ัน ใครจะมีความก้าวหน้ากว่ากัน คนท่ีมีหน้าท่ีของ ตวั เองแลว้ แตไ่ มร่ กั หนา้ ท ี่ ไปเทย่ี วท�ำงานอนื่ ซง่ึ ไมใ่ ชห่ นา้ ท ่ี ถา้ ทา่ น เปน็ ผบู้ งั คบั บญั ชา ทา่ นจะเลอ่ื นคนไหนขน้ึ ในตำ� แหนง่ สงู แนน่ อน ทา่ นจะตอ้ งเลอื กเอาคนทร่ี กั หนา้ ทม่ี าท�ำงาน เพราะคนทรี่ กั หนา้ ท ี่ ของตนน้ันสามารถท่ีจะท�ำงานให้เจริญก้าวหน้าต่อไป ดังน้ัน พระพุทธองค์จึงทรงชี้ให้เราเห็นว่า ความมีสันโดษเป็นมงคล อยา่ งยงิ่ กอ่ นจบมงคลขอ้ นี ้ ขอยกเอาอทุ านธรรมของทา่ นเจา้ คณุ ศาสนโสภณ (แจ่ม จตตฺ สลโฺ ล) วัดมกฏุ กษตั รยิ ารามวา่ ความไม่พอใจจนเป็นคนเขญ็ พอแลว้ เปน็ เศรษฐมี หาศาล จนทง้ั นอกจนท้งั ในไม่ได้การ จงคิดอ่านแกจ้ นเปน็ คนพอ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 253
๒๕มงคล ขอ้ ที่ กตญญฺ ตุ า (มคี วามกตัญญ,ู เปน็ สัตบุรษุ ) โลกทจี่ ะตงั้ อยไู่ ด ้ โดยอาการราบรน่ื เปน็ ปกตสิ ขุ พน้ จากทกุ ข ์ ยากลม่ จม ดว้ ยอาศยั เหต ุ ๒ ประการคอื ผมู้ อี ปุ การะเกอื้ กลู อดุ หนนุ กนั ๑ ปฏกิ าระ การตอบแทนคณุ ทา่ น ๑ เชน่ บดิ ามารดาอปุ การะ บตุ รดว้ ยการเลย้ี งด ู ปกครองรกั ษาใหเ้ จรญิ เตบิ โต จนสามารถชว่ ย เหลอื ตวั เองไดแ้ ลว้ บตุ รส�ำนกึ อปุ การคณุ ของทา่ นแลว้ แสดงความ เคารพนับถือไม่ดูหมิ่น ต้ังใจปฏิบัติตามโอวาทของท่านผู้แนะน�ำ พรำ�่ สอนใหเ้ วน้ ชวั่ ใหป้ ระพฤตดิ ี ไมฝ่ า่ ฝนื ตง้ั ใจเลา่ เรยี นศลิ ปวทิ ยา เพอื่ เปน็ คนฉลาดตามความประสงคข์ องทา่ น ทำ� ตนใหเ้ ปน็ ทเ่ี บาใจ 254 มงคล ๓๘ ประการ
ของท่านในปฐมวัย เมื่อพ้นปฐมวัยไปแล้ว เสร็จจากการศึกษา ศิลปวิทยาแล้วตั้งใจประกอบอาชีพที่ชอบ เพื่อตั้งตนให้เจริญด้วย ทรัพย์ ยศ เกียรติ ไมตรี และความสุข ด้วยความขยันหมั่นเพียร แสดงความเป็นคนดีให้ท่านเห็น ให้ท่านเช่ือถือไว้วางใจว่าจะเป็น ผสู้ ามารถปกครองตน ปกครองทรพั ย ์ ด�ำรงวงศต์ ระกลู ใหเ้ จรญิ ได ้ เม่ือท่านเจ็บป่วยก็ช่วยดูแลรักษา ช่วยเหลือกิจการงานของท่าน เหลา่ นเ้ี ปน็ หนา้ ทข่ี องบตุ รทจี่ ะพงึ กระท�ำตอ่ ผมู้ อี ปุ การคณุ ดงั ทไ่ี ด ้ แสดงไวใ้ นมงคลขอ้ ทว่ี า่ เลย้ี งดบู ดิ ามารดาใหเ้ ปน็ สขุ ซง่ึ ในทน่ี จ้ี ะไม่ ขออธบิ ายให้มากความเพราะจะกลายเปน็ วา่ อธบิ ายซ�้ำข้อ ตามความหมายขา้ งบนทไ่ี ดแ้ สดงมาแลว้ หรอื ผอู้ น่ื ทใี่ หค้ วาม หมายในมงคลข้อนี้ว่า กตัญญู แปลว่า รู้คุณท่ีท่านอุปการะแล้ว เหล่านี้เป็นการแปลตามความหมาย ถ้าเราจะมาพิจารณาดูแล้ว ความหมายในมงคลข้อนี้จะต้องมีความหมายย่ิงไปกว่าท่ีเรารู้ๆ กันอยู่ ท้ังน้ีได้กล่าวไว้แล้วว่า พระพุทธองค์แสดงมงคลไว้เพื่อท่ี จะท�ำให้ผู้ปฏิบัติตามเจริญก้าวหน้าต่อไป ดังน้ัน ความหมายของ มงคลข้อนี้ท่ีว่า กตัญญู จะต้องมีความหมายสูงกว่าที่เรามีความ เข้าใจกันอยู่ ลองดูความหมายของมงคลข้อน้ีในมงคลทีปนี ตอน ปลายของมงคลทา่ นสรุปไว้ว่า “กตญฺญุตาย สปฺปุริสภูมิยํ ตวา” แปลว่า ตั้งอยู่ในภูม ิ สตั ตบรุ ษุ โดยความเปน็ คนกตญั ญ ู ซงึ่ ความหมายนม้ี คี วามหมาย วา่ กตญั ญใู นมงคลท ่ี ๒๕ เปน็ กตญั ญชู นั้ สงู ทเ่ี รยี กวา่ ชน้ั สตั ตบรุ ษุ ท่านพันเอกปิ่น มุทุกันต์ ได้อธิบายความหมายของค�ำนี้ว่า “...ความกตัญญูสามัญทั่วไป (ซึ่งเป็นคู่กันกับกตเวที) เป็นการรู ้ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 255
๒๕มงคลข้อที่ มคี วามกตัญญ,ู เปน็ สตั บรุ ุษ อปุ การคณุ ทค่ี นอนื่ ทำ� แกต่ น จะรบั รองวา่ ใครมคี ณุ กต็ อ่ เมอื่ เขาทำ� อะไรใหแ้ กต่ วั เทา่ นนั้ เชน่ รบั วา่ พอ่ แมม่ คี ณุ กเ็ พราะทา่ นเลยี้ งดเู รา มา รับว่าครูอาจารย์มีคุณ ก็เพราะท่านได้สอนวิชาความรู้แก่เรา มา รู้ว่าญาติพี่น้องมีคุณ ก็เพราะท่านเหล่าน้ีได้เคยให้ข้าวน�้ำเรา รับประทาน รวมความว่ากตัญญูอย่างสามัญทั่วไป หมายถึงรู ้ อุปการคุณท่เี ขาทำ� ให้เรา น่ีกตญั ญูสามัญ สว่ นกตญั ญชู น้ั สตั ตบรุ ษุ หมายถงึ การรเู้ หน็ ความดอี นั มอี ย ู่ ในตวั ของคนอนื่ ใครมคี วามดกี ร็ วู้ า่ เขาด ี ไมว่ า่ เขาจะทำ� อะไรใหเ้ รา หรอื ไม่กต็ าม” เม่ือได้ยกเอาข้อความท้ังในฝ่ายบาลี และความคิดเห็นของ ท่านผู้เป็นปราชญ์มาเสนอแล้ว เราก็จะมีความเข้าใจได้อย่าง ถอ่ งแทว้ า่ กตญั ญ ู ในมงคลขอ้ นส้ี งู กวา่ กตญั ญสู ามญั ตรงทวี่ า่ เปน็ กตญั ญซู ง่ึ อยใู่ นภมู ขิ องสตั ตบรุ ษุ ซง่ึ มคี วามเหน็ ตา่ งจากคนสามญั ทว่ั ๆ ไป คนทไ่ี มใ่ ชส่ ตั ตบรุ ษุ นนั้ ยากทจี่ ะรบั รวู้ า่ คนอน่ื ด ี ถา้ ตวั เอง ไมไ่ ดร้ บั ประโยชนจ์ ากเขา แมว้ า่ คนนน้ั จะเปน็ คนดที ำ� คณุ ประโยชน์ ชว่ ยเหลอื คนทง้ั เมอื ง ถา้ เราคนเดยี วไมไ่ ดร้ บั แลว้ กไ็ มย่ อมทจี่ ะรบั ร้ ู ความดขี องคนอน่ื เทา่ นนั้ ยงั ไมพ่ อ ยงั แถมโพนทนาวา่ รา้ ยเขาเสยี ด้วย เพราะว่าตัวไม่ได้ประโยชน์ ซ่ึงความกตัญญูช้ันสามัญถ้าเรา จะพิจารณาแล้วก็จะเห็นได้ว่า ต้องได้รับประโยชน์จึงจะรู้คุณ ซึ่ง ความกตญั ญแู บบนกี้ ไ็ มพ่ น้ เหน็ แกต่ วั อยนู่ นั่ เอง ดงั นน้ั ความกตญั ญ ู ในมงคลข้อน้ีจงึ สูงกว่ากตญั ญสู ามัญ คนมีกตัญญูแบบสัตตบุรุษแล้ว ไม่ยอมเอาตัวเองเป็นเคร่ือง วดั ความดขี องคนอน่ื ใครดกี ร็ บั รวู้ า่ ด ี เปน็ การตดั สนิ ความดดี ว้ ย 256 มงคล ๓๘ ประการ
ความด ี ซง่ึ อยใู่ นหลกั ขอ้ ทว่ี า่ ธรรมาธปิ ไตย ปรารภธรรมเปน็ ใหญ่ ดังนั้นเราจะเห็นได้ว่า กตัญญูแบบสามัญนั้น เป็นเหตุให้เกิด กตเวท ี สว่ นกตญั ญแู บบสตั ตบรุ ษุ เปน็ เหตใุ หม้ ี ธรรมสวนะ การ ฟังธรรม เป็นการยอมรับถ่ายทอดความดีจากคนอื่น ซึ่งก็มีความ สมั พนั ธ์กบั มงคลข้อต่อไป คือขอ้ ๒๖ กอ่ นทจ่ี ะขา้ มไป จะใครข่ อใหค้ วามหมายของคำ� วา่ สตั ตบรุ ษุ เสยี กอ่ น เพราะวา่ ผทู้ ไี่ มค่ นุ้ เคยกบั ภาษาธรรมกจ็ ะสงสยั วา่ สตั ต- บุรุษ น้ันแปลว่าอย่างไร สัตตบุรุษ นั้นแปลว่าผู้สงบ หรือผู้ที่มี คณุ ธรรม ๗ ประการ (สตั ต = เจด็ , บรุ ษุ = บคุ คล) ซงึ่ มภี มู ธิ รรม ดังนี้ ๑. ธัมมัญญตุ า เปน็ ผรู้ ้จู ักเหตุ ๒. อัตถญั ญตุ า เปน็ ผ้รู ู้จกั ผล ๓. อตั ตัญญุตา เป็นผู้รจู้ กั ตน ๔. มัตตัญญตุ า เปน็ ผรู้ ู้จกั ประมาณ ๕. กาลัญญตุ า เปน็ ผู้รจู้ กั กาล ๖. ปรสิ ญั ญุตา เปน็ ผู้รจู้ ักชมุ ชน ๗. ปุคคลปโรปรญั ญุตา เป็นผูร้ จู้ กั บคุ คล คณุ ธรรมทงั้ ๗ ประการนแี้ หละเปน็ ภมู ขิ องสตั ตบรุ ษุ ซงึ่ เมอื่ บุคคลใดท�ำให้มีในตนแล้วก็จะเป็นผู้มีความสงบ เพราะเป็นผู้ไม ่ ฟุ้งซ่านทะเยอทะยานจนเกินเหตุ นอกจากนั้น ความหมายของ คำ� วา่ กตญั ญ ู ในมงคลขอ้ นท้ี า่ นยงั ไดใ้ หค้ วามหมายคลมุ ไปถงึ วา่ รู้คุณของบุญกุศล คือความดีท่ีตนเองได้ท�ำสืบต่อกันมาโดยไม ่ ขาดสาย อนั เปน็ เหตดุ ที สี่ ง่ เสรมิ ใหต้ นเจรญิ รงุ่ เรอื ง กจ็ ะไดต้ ง้ั ใจ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 257
๒๕มงคลข้อที่ มีความกตัญญ,ู เปน็ สัตบุรุษ ท�ำความดีท่ีจัดว่าเป็นบุญกุศลน้ันสม�่ำเสมอ ไม่ทอดธุระเสีย เมื่อ เรายิ่งท�ำความดี ความดีก็ยิ่งแสดงผลให้เห็นชัด น�ำให้ท�ำดียิ่งข้ึน ซงึ่ นบั วา่ เป็นมงคลอย่างสูงประการหน่ึง ดงั นนั้ เรากจ็ ะไดค้ วามรวู้ า่ กตญั ญใู นมงคลขอ้ ท ่ี ๒๕ น ี้ หมาย ถึงความกตัญญูอย่างสัตตบุรุษ คือรู้จักคุณความดีและคุณธรรม อนั มอี ยใู่ นตวั ผอู้ น่ื ตลอดจนรจู้ กั บญุ คณุ ของบญุ กศุ ลทตี่ นทำ� มาแลว้ ว่ามีคุณคา่ อย่างไร และตงั้ หน้าที่จะประกอบคณุ ความดตี ่อไป 258 มงคล ๓๘ ประการ
มงคล ๒๖ข้อท่ี กาเลน ธมฺมสวนํ (ฟังธรรมตามกาลอนั สมควร) ไดก้ ลา่ วแลว้ ในมงคลท ี่ ๒๕ วา่ ความมกี ตญั ญตู ามแบบสตั ต- บรุ ษุ นนั้ เปน็ เหตใุ หเ้ กดิ ธรรมสวนะ คอื การฟงั ธรรม ดงั นนั้ ในมงคล นี้ พระพุทธเจ้าทรงตรัสว่า “กาเลน ธมฺมสวนํ การฟังธรรมตาม กาลเป็นมงคล” ความรแู้ ละความฉลาดของโลกทส่ี บื ตอ่ กนั มาและเจรญิ ขนึ้ นนั้ อาศยั จากการถา่ ยทอดกนั มาดว้ ยการฟงั ตอ่ ๆ กนั มา แมก้ ารรมู้ งคล ในพระพุทธศาสนาทุกอย่าง ก็อาศัยฟังจากท่านท่ีรู้มาก่อน เล่า บอกฟงั ตอ่ ๆ กนั มา ดงั นนั้ การฟงั จงึ เปน็ บอ่ เกดิ แหง่ ปญั ญาความร ู้ ต่างๆ ทั้งที่เป็นฝ่ายโลกและฝ่ายธรรม นิยายต่างๆ ที่เป็นสารคดี สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 259
๒๖มงคลขอ้ ที่ ฟงั ธรรมตามกาลอันสมควร หรอื เปน็ สภุ าษติ สอนใหเ้ วน้ ชว่ั ประพฤตดิ ี สบื ตอ่ กนั มาไมข่ าดสาย กด็ ว้ ยการเลา่ บอกใหฟ้ งั ตอ่ ๆ กนั มา ผฟู้ งั เหน็ วา่ เปน็ ประโยชนก์ เ็ ลย เลา่ ใหล้ กู หลานฟงั เพอ่ื รจู้ กั ประพฤตติ นใหเ้ หมาะสมกบั ภาวะกาล ของตนและของโลก เพราะวา่ คนเราในโลกนมี้ คี วามปรารถนาอยาก จะใหค้ นด ี บดิ ามารดา ครอู าจารย ์ ทอ่ี ตุ สา่ หส์ ง่ั สอนบตุ รและศษิ ย์ กม็ คี วามปรารถนาทอี่ ยากจะใหบ้ ตุ รหรอื ศษิ ยข์ องตนเองเปน็ คนดี มวี ชิ าความร ู้ ไมต่ อ้ งการใหศ้ ษิ ยแ์ ละบตุ รของตนเปน็ คนชว่ั ดงั นน้ั คนที่ตั้งใจศึกษาเล่าเรียน ประพฤติปฏิบัติตามค�ำส่ังสอนจึงเป็น คนดี ส่วนผู้ท่ีไม่ตั้งใจศึกษาเล่าเรียน ไม่ตั้งใจประพฤติดีตามค�ำ ส่ังสอน ก็ย่อมเป็นคนช่ัวและไร้วิชาความรู้ คนท่ีเป็นคนดีมีวิชา ความรู้ท�ำให้โลกเจริญ ส่วนคนท่ีไม่มีวิชาความรู้และประพฤติชั่ว เป็นคนที่ท�ำให้โลกเข้าสู่ความเส่ือม ไม่เป็นที่ต้องการของชาวโลก ดงั นนั้ การฟงั หรือการศึกษาจากผู้ร้นู ้นั จัดวา่ กอ่ ใหเ้ กดิ ความเจริญ ตามความหมายของมงคลขอ้ นวี้ า่ “กาเลน ธมมฺ สวน”ํ แปลวา่ การฟังธรรมตามกาล หมายความว่าการที่เราฟังธรรมตามระยะ เวลาอันสมควร เป็นการทำ� ให้ตัวเกิดความเจริญก้าวหน้าอีกทาง หนึ่ง ในทางโลกถ้าเราจะพิจารณาแยกประเภทของเสียงแล้วก็จะ ได้อย่ ู ๓ ประเภท เสียงท่ีท�ำใหจ้ ิตใจเลวลง เสียงทท่ี �ำใหจ้ ติ ใจเสมอตัว เสียงท่ที �ำใหจ้ ติ ใจดขี ึน้ เสียงแรกท่ีท�ำให้จิตใจเลวลง ได้แก่เสียงด่าทอกันต่างๆ ตลอดจนเสยี งทกี่ ลา่ วคำ� ไมไ่ พเราะสภุ าพ เสยี งทสี่ อง ฟงั แลว้ เสมอ 260 มงคล ๓๘ ประการ
ตวั ได้แก่เสียงท่เี ปน็ ไปตามภาษาโลก อยา่ งเช่นเสียงรอ้ งเรยี กกัน เสียงเจรจากัน เสียงเพลงที่ขับกล่อมอารมณ์เหล่านี้ เป็นต้น เสยี งทสี่ าม ฟงั แลว้ เกดิ ความเจรญิ ขนึ้ ฟงั แลว้ ทำ� ใหเ้ กดิ ความสวา่ ง ความรแู้ ก่จิตใจ เสียงเหล่าน้ไี ด้แก่เสยี งธรรม เสยี งทเี่ รยี กวา่ เสยี งธรรม นนั้ ไดแ้ กค่ ำ� สงั่ สอนของพระพทุ ธ- เจ้าทั้งหมด ที่ทรงสั่งสอนโดยมีวัตถุประสงค์ได้บรรลุประโยชน์ ในปัจจุบัน ๑ ทรงสั่งสอนเพื่อให้บรรลุประโยชน์ในเบื้องหน้า ๑ และทรงสั่งสอนให้บรรลุประโยชน์อย่างสูงสุด เช่นทรงสั่งสอนให ้ เจริญสมถะ และวปิ ัสสนา เปน็ ต้น เมื่อเราเข้าใจอยา่ งนแ้ี ลว้ ปัญหาต่อไปก็คือ กาลอย่างไรเป็น กาลทคี่ วรฟงั ธรรม เมอ่ื จะแยกประเภทของกาลฟงั ธรรมแลว้ จะได ้ อยู่ ๒ ประเภท คอื กาลฟังธรรมตามพทุ ธบญั ญตั ิ กาลฟังธรรมตามพทุ โธวาท กาลฟงั ธรรมตามพทุ ธบญั ญตั นิ น้ั มหี ลกั ฐานตามพทุ ธวจนะวา่ “จาตุทฺทสี ปณฺณรสี ยา จ ปกฺขสฺส อฏฺมี กาลา พุทฺเธน ปญฺ ตตฺ า สทฺธมฺมสวนสฺสิเม” แปลความว่า วันที่ ๑๔ ค่�ำ ๑๕ ค่�ำ และวัน ๘ ค�่ำแห่งปักษ ์ เป็นวันท่ีพระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้ให้ฟังธรรม หมายความว่า วันพระ ๘ คำ่� ๑๔ ค�ำ่ ๑๕ ค�ำ่ เป็นกาลฟงั ธรรมตามพุทธบัญญตั ิ ส่วนในด้านพระพุทโธวาท คือค�ำสั่งสอนเชิงแนะน�ำของ พระพทุ ธเจา้ กาลสำ� หรบั ฟงั ธรรมนน้ั ไมไ่ ดก้ ำ� หนดเปน็ การตายตวั เพยี งแตเ่ มอื่ ไรมเี รอื่ งสมควรใหฟ้ งั ธรรมกฟ็ งั ทา่ นยกตวั อยา่ งกาล สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 261
๒๖มงคลข้อที่ ฟังธรรมตามกาลอันสมควร อนั สมควรฟงั ธรรมไว ้ ๒ ขอ้ คือ ๑. เมอื่ จติ ของตนถูกวิตกครอบง�ำ ๒. เมอ่ื มีผู้แสดงธรรม ในขอ้ แรกทรงหมายความวา่ เมอ่ื ใดจติ ของเราถกู อกศุ ลวติ ก เชน่ ความคดิ ไปในทางตำ่� ถกู กเิ ลสเขา้ รบกวนจติ ใจ กใ็ หช้ ว่ ยตวั เอง โดยการฟงั ธรรม ไมจ่ �ำเปน็ ทจ่ี ะตอ้ งรอใหไ้ ปถงึ วนั พระ เหมอื นกบั ว่าในเวลาใดท่ีเรารู้สึกว่าจะมีโรคแก่ตัว เราก็ควรไปหาหมอเพ่ือ เชค็ รา่ งกาย ไม่ต้องรอให้ถงึ กำ� หนด ประการทส่ี อง หมายความวา่ เมอ่ื มผี แู้ สดงธรรมเชน่ มเี ทศน ์ มปี าฐกถา มอี ภปิ ราย กค็ วรทจ่ี ะหาโอกาสทจี่ ะไปฟงั เพราะโอกาส เหลา่ นห้ี ายาก จงึ ควรทจี่ ะหาโอกาสเปดิ ฟงั โดยทเี่ ราไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ ง ออกจากสถานท่ถี า้ เราไม่มเี วลาว่างออก การฟงั ธรรมนนั้ มปี ระโยชนอ์ ยา่ งไร ซง่ึ เปน็ ปญั หาทมี่ กั จะถกู ตั้งอยู่ในสมองของคนเกือบจะท่ัวไป และอย่างไรท่านจึงจัดว่าเป็น มงคล ประโยชน์ของการฟังธรรมน้ันมีมาก แต่ที่พระพุทธองค์ได ้ ทรงแสดงไวใ้ น พระสตุ ตนั ตปฎิ ก องั คตุ ตรนกิ าย ปญั จกนบิ าต วา่ ๑. อสฺสุตํ สุณาติ ผู้ฟังย่อมได้ฟังเร่ืองที่ยังไม่เคยฟัง เพ่ือ เพิ่มพูนความรู้ ความฉลาดของตนเอง เพราะผู้แสดงธรรมย่อม จะต้องศึกษา ค้นคว้า และขบคดิ ข้อธรรมใหมๆ่ มาแสดง ๒. สุตํ ปริโยทปติ ผู้ฟังย่อมเข้าใจเร่ืองที่เคยฟังแล้ว แต ่ ไม่แจ่มแจ้ง หมายความว่า ถ้าหัวข้อธรรมท่ีตนได้ฟังมาแล้ว ผู้ฟัง ก็จะไดใ้ ชก้ ารฟงั นน้ั เปน็ เครอื่ งทบทวนความรทู้ างธรรมะ และทำ� ให ้ เกดิ ความแมน่ ย�ำและแตกฉานยิง่ ข้นึ 262 มงคล ๓๘ ประการ
๓. กงฺขํ วิหนติ ผู้ฟังย่อมท�ำลายความสงสัยของตนเสียได้ หมายความว่า ถ้าผู้ฟังยังมีความลังเลสงสัยในธรรมะบางอย่าง หรือท�ำความดีบางอย่าง เมื่อได้มาฟังธรรมะเพิ่มเติม จะท�ำให ้ ความสงสัยลังเลใจนั้นหมดสิ้นไป และตัดสินใจละความชั่วและ ทำ� ความดีงา่ ยข้นึ ๔. ทฏิ ฺ ิ อชุ ุ กโรต ิ ทำ� ความเหน็ ใหต้ รง คอื ปรบั ความคดิ เหน็ ของตนเองให้ถูกต้องตามความหมายของธรรมะ ท่ีใคร่จะมุ่งไปสู ่ การเรียน การท�ำงาน การครองเรือน การท�ำบุญ การบ�ำเพ็ญ ภาวนาเพราะในระหว่างที่เราดำ� เนินชีวิตสู่จุดหมายปลายทางของ ชีวิต เราจะถูกมารคือกิเลสรบกวน ท�ำให้เกิดความเห็นผิด การ ฟงั ธรรมจะทำ� ใหเ้ ราเกดิ ความรวู้ า่ ความคดิ เหน็ ของเราไดบ้ ดิ เบอื นไป อยา่ งไร แล้วก็จะได้เลิกความคิดความเหน็ นน้ั เสีย ๕. จติ ตฺ มสสฺ ปสที ติ จติ ของผฟู้ งั ยอ่ มผอ่ งใส หมายความวา่ การฟังธรรมเปน็ การฝกึ หัดอบรมจติ ให้เกดิ ความสงบผ่องใส ดงั นนั้ การฟงั ธรรมตามกาลอนั สมควร จงึ เปน็ อดุ มมงคลอนั สูงสุด เพราะเป็นเหตุให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความฉลาด และ เป็นการอบรมจติ ของเราให้สงู ข้นึ ดงั กลา่ วมาแล้ว สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 263
มงคล ๒๗ข้อที่ ขนตฺ ี จ (ความอดทน) ความอดทนเป็นเครื่องตบแต่งจิตใจของเราไม่ให้เกิดความ ท้อถอย ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกน้ีที่จะสำ� เร็จด้วยความง่ายโดยไม่ม ี อุปสรรคเป็นไม่มี ทุกอย่างจะต้องมีอุปสรรคทั้งสิ้น ต่างกันแต่ว่า จะมากจะน้อยกว่ากนั เท่านนั้ ด้วยเหตนุ ้บี ุคคลผทู้ ี่หวังความเจริญ ในกิจการต่างๆ ต้องปลูกฝังความอดทนให้มีอยู่ในใจ เพ่ือจะเป็น เคร่ืองต้านทานส่ิงท่ีจะมาท�ำให้ส่ิงท่ีเราปรารถนาต้องสูญเสียไป เหมือนกับว่าร่างกายของเราน้ีมีก�ำลังต้านทานโรคเอาไว้ หรือไม่ อยา่ งนน้ั เรากต็ อ้ งฉดี วคั ซนี ปอ้ งกนั ตวั เอาไวฉ้ นั ใด บคุ คลทมี่ ขี นั ตอิ ย ู่ ในตนแลว้ กเ็ หมอื นมกี �ำลงั ตา้ นทาน หรอื มวี คั ซนี ปอ้ งกนั ตวั ฉะนน้ั 264 มงคล ๓๘ ประการ
ขันติ เม่ือแปลตามตัวก็จะได้ความหมายว่า ความอดทน ทา่ นไดจ้ ำ� แนกความอดทนเอาไวส้ ามประการคอื ทนลำ� บาก ๑ ทน ตรากตร�ำ ๑ และทนเจ็บใจ ๑ ทนลำ� บาก นน้ั อธบิ ายวา่ ความทม่ี คี วามอดทนตอ่ ความเจบ็ ปว่ ยอนั เกดิ จากการทเ่ี ราไดร้ บั ความทกุ ขเวทนาทางกาย หรอื ไดร้ บั บาดเจ็บอย่างใดอย่างหนึ่ง ไม่แสดงอาการทุรนทุรายหรือส่งเสียง ร้องครวญคราง ซ่ึงอาจจะท�ำให้เกิดความล�ำบากแก่ผู้พยาบาลอีก ด้วย ความอดทนต่อทุกขเวทนาอย่างนี้เรียกว่า ทนล�ำบาก ทน ตรากตร�ำ ได้แก่การทนต่อ ความหนาว ความร้อน แดด ฝน ใน ระหวา่ งทเี่ ราประกอบกจิ การงานตา่ งๆ ซง่ึ จะตอ้ งประสบกบั ความ หนาว ความร้อน ลม แดด สัมผัสเหลือบยุงต่างๆ เราก็มีความ อดทน ไมท่ อดทงิ้ กจิ การงานกลางคนั ฟนั ฝา่ อปุ สรรคนนั้ ๆ จนกวา่ จะบรรลุถึงท่ีตนปรารถนา ความทนเจ็บใจ ได้แก่การอดทนต่อ การถูกด่าว่า เสียดสีจากคนท่ัวๆ ไป ไม่แสดงอาการโกรธเคือง หรือความอาฆาต เหล่าน้ีเรียกว่าทนเจ็บใจ น่ีเป็นลักษณะของ ความหมายของค�ำวา่ ขันติ แต่ความหมายของค�ำว่า ขันติ ในมงคลข้อน้ี ท่านให้ความ หมายวา่ ไดแ้ ก ่ อธวิ าสนขนั ต ิ ซง่ึ ในมงคลทปี นภี าค ๒ ตอนอธบิ าย มงคลข้อขันติ ในท่ีนั้นท่านอ้างหลักฐานจากคัมภีร์อรรถกถา ปรมตั ถ โชติกา ขุททกปาฐะ วา่ “...ขนตฺ ิ นาม อธวิ าสนขนตฺ ิ ยาย สมนนฺ าคโต ภกิ ข ุ - ฯลฯ - ภทฺรกโต มนสิกโร ตโต อุตฺตรึ อปราธภาเภน อายสฺมา ปุณฺณ- ตเฺ ถโร วยิ าต.ิ .. แปลความวา่ ค�ำวา่ ขนั ต ิ (ในมงคลขอ้ น)้ี หมายถงึ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 265
มง๒คล๗ข้อที่ ความอดทน อธิวาสนขันติ ซ่ึงถ้าภิกษุมีขันติข้อนี้แล้ว แม้ว่าถูกคนอื่นด่าด้วย คำ� ดา่ ถงึ ๑๐ อยา่ ง* หรอื ถกู ขม่ เหงจติ ใจ กจ็ ะดำ� รงจติ ของตนไวใ้ น ฐานะดกี วา่ คนทมี่ าดา่ มารงั แกตน โดยทที่ า่ นไมท่ ำ� ชว่ั (ตอบ) เชน่ ทา่ น พระปณุ ณะได้ท�ำตวั อยา่ งมาแลว้ จากบาลที ยี่ กมาน ี้ กแ็ สดงใหเ้ หน็ วา่ ขนั ต ิ ในมงคลขอ้ น ี้ ทา่ น หมายเอา อธิวาสนขันติ ความหมายของค�ำว่า อธิวาสนขันตินั้น หมายความถงึ ความอดทนตอ่ ค�ำวา่ รา้ ยหรอื ค�ำดา่ ทอ เสยี ดสขี อง บคุ คลอน่ื ซงึ่ หมายความเอาบคุ คลทล่ี ว่ งเกนิ เรานนั้ มฐี านะตำ่� กวา่ เรา แต่ถ้าผู้นั้นมีฐานะสูงกว่าเราและเราไม่มีทางจะตอบโต้ได ้ เพราะเขามอี ำ� นาจกวา่ ความอดทนทม่ี เี พราะกลวั อ�ำนาจไมจ่ ดั เปน็ อธวิ าสนขนั ติ ซง่ึ มพี ระบาลใี นมงคลทปี นีภาค ๒ แสดงว่า ภยา หิ เสฏฺวโจ ขเมถ สารมฺภเหตุ ปน สาทิสสฺส โย จีธ หนี สฺส วโจ ขเมถ เอตํ ขนฺติ อุตตฺ มมาหุ สนโฺ ต ค�ำแปลโดยใจความ คนอดทนต่อถ้อยค�ำของคนท่ีสูงกว่า เพราะความกลวั อดทนคำ� ของคนเสมอกนั ไดเ้ พราะแขง่ ด ี แตถ่ า้ ผู้ใดในโลกนี้ ทนค�ำของคนเลวกว่าได้ สัตตบุรุษกล่าวว่าความ อดทนน้ันสงู สดุ และอกี ทอ่ นหนง่ึ กลา่ วว่า * หมายถงึ อกั โกสวตั ถ ุ ๑๐ อยา่ ง (เรอ่ื งทยี่ กขนึ้ ดา่ กนั ๑๐ ขอ้ ) คือ ด่าว่า แกเป็น โจร แกเป็นพาล แกเป็นคนหลง แกเป็นวัว แกเป็นหมา แกเป็นอูฐ แกเป็น สตั วน์ รก แกเปน็ สตั วด์ ริ จั ฉาน คนอยา่ งแกไมม่ หี วงั จะไดไ้ ปสวรรค ์ คนอยา่ งแกจะ ไปสทู่ ุคต”ิ 266 มงคล ๓๘ ประการ
ตตฺต เอต ํ ขนตฺ ินตฺ ิ ยญฺจ เอต ํ ชาตโิ คตตฺ าทหี ิ หีนสสฺ วจนกฺขม ํ เอตํ ขนฺติ อุตฺตมนตฺ ิ โปราณกปณฑฺ ิตา วทนตฺ ิ ยมปฺ เนต ํ ชาติอาทีหิ เสฏฺ สฺส ภเยน สทสิ สสฺ การณตุ ฺริยลกขฺ เณ สารมเุ ภ อาทนี วทสฺสเนน ขมนํ เนสา อธิวาสนขนตฺ ิ นาม. แปลความว่า “คำ� ว่า ขันต ิ ในบาล ี (ทอ่ นกอ่ น) น้นั หมายถึง ความอดทนตอ่ ถอ้ ยคำ� ของคนผตู้ ำ�่ กวา่ โดยชาตติ ระกลู เปน็ ตน้ เปน็ บัณฑิต แต่โบราณกล่าวว่าเป็นขันตสิ ูงสุด” ส่วนความอดทนต่อถ้อยค�ำของคนผู้สูงกว่า เพราะกลัวเขา และความอดทนตอ่ ถอ้ ยคำ� ของคนเสมอกนั เพราะดว้ ยการชงิ ไหว ชงิ พรบิ กับเขา ขนั ตอิ ย่างนไ้ี ม่เรียก อธิวาสนขนั ติ เมอื่ ยกบาลมี าแสดงกเ็ ปน็ อนั วา่ เราไดเ้ ขา้ ใจความหมายของคำ� วา่ ขันติ ในข้อน้ีแล้วว่า ท่านหมายถึงขันติข้ันสูงสุด คืออธิวาสนขันต ิ บคุ คลผทู้ ม่ี อี ธวิ าสนขนั ตอิ ยา่ งดเี ยย่ี ม ในครงั้ พทุ ธกาลพระพทุ ธเจา้ ได้ทรงยกย่อง พระปุณณะ ในปุณโณวาทสตู ร ซ่ึงมีเร่อื งเล่าวา่ พระปณุ ณะผอู้ ดทน พระปุณณะนี้เป็นพระภิกษุชาวสุนาปรันตะ มีอาชีพเป็น พ่อค้า มีฐานะดีพอควร และท่านปุณณะได้เดินทางไปยังกรุง สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 267
มง๒คล๗ขอ้ ที่ ความอดทน สาวตั ถเี พอื่ กจิ การคา้ และไดม้ โี อกาสไปเฝา้ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ไดฟ้ งั ธรรมะ กเ็ กดิ ความเลอ่ื มใสศรทั ธา จงึ ทลู ขอบรรพชาอปุ สมบท ในพระพุทธศาสนา ครนั้ อปุ สมบทแลว้ การบำ� เพญ็ เพยี รไมไ่ ดผ้ ล ทา่ นมคี วามคดิ วา่ หากไดจ้ ารกิ ไปทำ� ความเพยี รในแควน้ สนุ าปรนั ตะอนั เปน็ บา้ นเกดิ ของทา่ น จะไดผ้ ลดกี วา่ ทงั้ นกี้ เ็ นอื่ งจากวา่ อากาศในแควน้ สาวตั ถ ี นัน้ ไม่เหมาะกบั ทา่ นกเ็ ปน็ ได ้ จึงไดเ้ ข้าไปทูลลาพระพุทธเจา้ วา่ “ในชนบทแถวสาวัตถีน้ันไม่ค่อยสบายพะย่ะค่ะ ไม่เหมาะ ส�ำหรับการท�ำความเพียรของข้าพระองค”์ “แลว้ เธอคดิ วา่ ทไ่ี หนจะสบายเลา่ ปณุ ณะ” พระพทุ ธเจา้ ทรง รบั สง่ั ถาม ซง่ึ พระองค์กท็ รงทราบได้ดวี ่า สงิ่ แวดล้อมนั้นเป็นส่วน ส�ำคญั ในการทำ� ความเพียรอยูเ่ หมือนกนั “ข้าแต่พระองค์ ข้าพระองค์คิดว่า ทางต�ำบลสุนาปรันตะ คงจะสบายกวา่ ทนี่ ้ี จงึ ใครจ่ ะขอทลู ลาไปท�ำความเพยี รทางโนน้ ด”ู “เธอแน่ใจหรือปุณณะ” พระองคท์ รงถาม “ชาวสนุ าปรันตะ น้ันมีนิสัยดุร้ายมากนะ ท้ังเป็นคนหยาบคายด้วย เธอจะมีความ อดทนไหวหรือ” “ไหวพะย่ะค่ะ” “นปี่ ณุ ณะ ถ้าคนพวกน้ันเขาดา่ เธอ เธอจะท�ำอยา่ งไร” “ถึงเขาด่าก็ยังด ี ดกี ว่าทเ่ี ขาจะทบุ ตีด้วยมือ” “ถ้าเผื่อเขาทบุ ตลี ะปุณณะ” “ก็ยงั ดพี ะยะ่ คะ่ ดกี ว่าที่เขาจะขวา้ งเราดว้ ยกอ้ นดิน” “ถา้ เขาเอาก้อนดนิ ขวา้ งล่ะ” 268 มงคล ๓๘ ประการ
“ก็คดิ ว่ายงั ดี ดกี วา่ ที่เขาจะใชไ้ ม้ตเี รา” “แลว้ ถ้าเขาใช้ไม้ตเี อาละ” “ก็ยงั ดพี ะย่ะคะ่ ดีกวา่ ท่ีเขาจะใช้อาวุธมาประหาร” “ถา้ เขาใชอ้ าวธุ มาประหารเธอเลา่ ปณุ ณะ” “ขา้ พระองค์กค็ ดิ วา่ เปน็ การดเี หมอื นกนั พะยะ่ คะ่ ” “ดีอยา่ งไรปณุ ณะ” “ก็คนบางพวกท่ีคิดอยากตาย ต้องเสียเวลาในการเที่ยว แสวงหาอาวุธมาฆ่าตัวเอง แต่ข้าพระองค์มีโชคดีกว่าคนพวกนั้น ไมต่ ้องเสยี เวลาไปหาอาวุธอยา่ งพวกนั้น” “ดีมาก ปุณณะ เธอคิดดีมาก เป็นอันตกลง เราอนุญาตให้ เธอไปพ�ำนักท�ำความเพยี รในเขตสนุ าปรนั ตะได”้ จากเร่ืองตัวอย่างท่ียกขึ้นมานี้เราจะเห็นได้ว่า พระปุณณะ เปน็ ผทู้ ม่ี คี วามอดทนอยา่ งยอดเยยี่ ม เพราะการกระท�ำความดนี น้ั เราอาจจะไดร้ บั ความกระทบกระเทอื นจากคนเลวได ้ ไมว่ า่ สมยั ใด หรอื ในสมยั นก้ี เ็ หมอื นกนั ลงใครไดเ้ ขา้ วดั จ�ำศลี แลว้ กจ็ ะเปน็ ถกู วา่ ค่อนขอดเอา บางทีก็รังแกข่มเหงเอาก็มี แม้จนที่สุดพระสงฆ ์ องคเ์ จา้ กถ็ กู ขม่ เหงรงั แกเอาจนตอ้ งหลบหนเี ขา้ ปา่ เขา้ ดง ปลอ่ ยให้ วัดร้างไปก็มี ดังนั้นผู้ท่ีมีอธิวาสนขันติจึงไม่ตอบโต้ด้วยความเลว ไม่อย่างนั้นก็จะเสียการบ�ำเพ็ญธรรม เป็นการท่ีจะขัดเกลา หรือ ฝกึ ใจของเราใหส้ งู ขนึ้ ไปในการทจ่ี ะบำ� เพญ็ มงคลขอ้ อนื่ ๆ ไดส้ ะดวก ความอดทนเทา่ นน้ั ทจี่ ะทำ� ใหเ้ ราบรรลคุ ณุ ความดใี นทสี่ ดุ ได ้ ดงั นนั้ พระพุทธองค์จึงทรงสอนว่า ความมขี ันตนิ ั้นเปน็ มงคลอย่างยิ่ง สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 269
มงคล ๒๘ข้อที่ โสวจสสฺ ตา (เป็นคนว่าง่าย) เรื่องของมงคลข้อน้ีท่านแสดงไว้ว่า “โสวจัสสตา” แปลว่า ความวา่ งา่ ย หรอื ไดแ้ กค่ วามไมด่ อื้ นน่ั เอง ความวา่ งา่ ยนนั้ ทา่ นใช้ คำ� วา่ โสวจสั สตา หรอื สวุ โจ คอื แปลวา่ คนวา่ งา่ ย ดงั นนั้ เพอื่ ความ เข้าใจในเรือ่ งน ้ี จึงใครข่ อต้ังจุดทจ่ี ะพจิ ารณาไว้ ๓ จุด คอื ๑. คนอยา่ งไรเรียกวา่ คนว่างา่ ย ๒. ทำ� อยา่ งไรจึงจะเป็นคนวา่ ง่าย ๓. และผลดีของความวา่ ง่าย อนั ดบั แรก คนวา่ งา่ ย ไดแ้ กค่ นทฟี่ งั คำ� สง่ั สอนหรอื คำ� ตกั เตอื น จากผอู้ นื่ แลว้ ใจของตนมคี วามรสู้ กึ ยนิ ดรี บั คำ� สงั่ สอนและคำ� เตอื น นน้ั ดว้ ยด ี ถา้ ตรงกนั ขา้ มไมถ่ อื วา่ เปน็ คนวา่ งา่ ย ขอ้ สงั เกตเกยี่ วกบั ความเปน็ ผวู้ า่ งา่ ยทเี่ ราๆ ทา่ นๆ มกั จะมคี วามเขา้ ใจไขวเ้ ขวอยเู่ สมอๆ 270 มงคล ๓๘ ประการ
ก็มีอยู่ ๒ ลักษณะ คือ คนเห็นแก่ได้ และคนหัวอ่อน คนที่เห็น แก่ได้และคนหัวอ่อนน้ี มีกิริยาอาการคล้ายคลึงกันมาก ถ้าไม่ ท�ำความเข้าใจเสียให้ถูก ก็จะคว้าผิด คิดไปว่า คนเห็นแก่ได้ เป็น คนวา่ งา่ ยไปเสยี ดงั นน้ั ควรทจี่ ะไดท้ ำ� ความเขา้ ใจเสยี เปน็ เบอ้ื งแรก ความเขา้ ใจจะไดไ้ ม่สบั สน คนเหน็ แกไ่ ด ้ ทท่ี ำ� อาการเหมอื นคนวา่ งา่ ยนนั้ ความจรงิ ไมใ่ ช่ คนว่าง่าย แต่แสร้งท�ำกิริยาอาการเป็นคนว่าง่าย เพ่ือผลอย่างใด อยา่ งหนงึ่ พอไดผ้ ลทตี่ นตอ้ งการแลว้ กเ็ ลกิ เปน็ คนวา่ งา่ ย ตวั อยา่ งเชน่ ลกู บางคนแสรง้ ทำ� ตนเปน็ คนวา่ งา่ ย เพยี งปรารภอะไรสกั อยา่ งหนง่ึ ก็รีบรับ ท�ำทีว่าเช่ือฟังและจะน�ำไปปฏิบัติ เพ่ือให้พ่อแม่เข้าใจผิด คดิ วา่ ลกู ของตนเปน็ คนวา่ งา่ ยสอนงา่ ย แลว้ ทา่ นกม็ อบทรพั ยส์ มบตั ิ ให้ พอได้สมบัติก็เลิกกระท�ำอย่างน้ี เจตนาอย่างนี้พระพุทธเจ้า ไมท่ รงรับรองว่าเป็นคนว่าง่าย ทรงยนื ยันไว้ในกกจูปมสตู รวา่ “ภิกษุทั้งหลาย พระท่ีท�ำตัวเป็นคนว่าง่ายสอนง่าย เพราะ เหน็ แกอ่ ามสิ ตา่ งๆ มอี าหารการกนิ เปน็ ตน้ เราไมเ่ รยี กวา่ คนวา่ งา่ ย เพราะเหตไุ รเราจงึ ไมเ่ รยี ก กเ็ พราะวา่ ถา้ พระรปู นนั้ เกดิ ไมไ่ ดข้ นึ้ มา กจ็ ะเลิกเป็นคนวา่ งา่ ยเสีย แต่ถ้าพระรูปใด เป็นคนว่าง่ายสอนง่าย โดยท่ีตนมีความ เคารพหนักแน่นต่อธรรมะจริงๆ พระรูปนั้นเท่านั้นท่ีเราเรียกว่า คนวา่ งา่ ย” ตามพระบรมพุทโธวาสน้ี ช้ีให้เห็นว่าคนเห็นแก่ได้ไม่ใช่คน วา่ งา่ ย เขาแสร้งทำ� กิริยาว่าเปน็ คนว่าง่ายไปอย่างน้ันเอง จงึ ควรท ่ี จะต้ังข้อสังเกตไว้เพื่อจะได้ไมเ่ ข้าใจผิดต่อไป สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 271
๒๘มงคลข้อที่ เปน็ คนวา่ งา่ ย คนหัวอ่อนอีกประเภทหนึ่ง ซ่ึงมีลักษณะคล้ายคลึงกับคน ว่าง่าย ถ้าไม่ทำ� ความเข้าใจเสียให้ดีก็อาจจะเข้าใจผิด โดยเฉพาะ เยาวชนของชาตเิ ปน็ บคุ คลทนี่ า่ เปน็ หว่ งมาก ถา้ ลงไดเ้ ขา้ ใจผดิ แลว้ เปน็ ผลรา้ ยอยา่ งมากทเี ดยี ว ซง่ึ เคยมตี วั อยา่ งมาแลว้ คอื เขาคดิ วา่ คนวา่ งา่ ยนน้ั กค็ อื คนหวั ออ่ น กลวั คนจะวา่ เปน็ คนหวั ออ่ น กท็ ำ� เปน็ คนหวั แข็ง เลยยุ่งกนั ใหญ่ ท่ีจริงคนหัวอ่อนกับคนว่าง่ายน้ันไม่เหมือนกัน คนหัวอ่อน เป็นคนท่ีไม่เป็นตัวของตัวเอง ยอมให้คนอ่ืนจูงจมูกได้ง่ายๆ ใคร จะสอนให้ท�ำดีก็ท�ำ ใครสอนให้ท�ำชั่วก็ท�ำ แล้วแต่คนอื่นจะปลุก เสก คนว่าง่ายที่เรียกว่า โสวจัสสตา เป็นคนที่เป็นตัวของตัวเอง ใครจูงจมกู ไมไ่ ด้ พดู ง่ายๆ คนหวั อ่อนกับคนว่างา่ ยต่างกนั ตรงท่ีวา่ คนว่าง่าย มจี ดุ มงุ่ หมายไวใ้ นใจเทา่ นน้ั เอง ตวั อยา่ งเชน่ นกั เรยี นสองคน คน หนึ่งต้ังจุดหมายไว้ว่าจะสอบให้ได้ แล้วทำ� ทุกส่ิงทุกอย่างเพ่ือที่จะ ใหต้ นสอบได ้ ครสู อนกฟ็ งั เพอื่ นนกั เรยี นสอนใหก้ เ็ อา ทส่ี ดุ แมแ้ ต ่ ภารโรงบอกความรู้ให้ก็เอา เพ่ือให้ตนได้บรรลุถึงจุดหมาย คือ สอบไล่ได้ นี่คนว่าง่าย ส่วนคนหัวอ่อนเป็นคนไม่มีจุดหมาย คือ ไมไ่ ดต้ งั้ จดุ หมายไวท้ ส่ี อบไลใ่ หไ้ ด ้ เรยี นหนงั สอื กส็ กั แตว่ า่ เรยี น คร ู สอนกฟ็ งั เพอ่ื นชวนหนโี รงเรยี นกเ็ อา เพอื่ นทเี่ กเรชวนไปชกตอ่ ย กับเขากเ็ อา คนอยา่ งนี้เรียกวา่ คนหัวออ่ น เมื่อทราบถึงลักษณะของคนว่าง่ายอย่างแท้จริงแล้ว ก็มาถึง อันดับที่สองว่า ท�ำอย่างไรจึงจะเป็นคนว่าง่าย ปัญหาตอนน้ีไม ่ ยากเยน็ อะไร เพราะความวา่ งา่ ยเปน็ ลกั ษณะตรงกนั ขา้ มกบั ความ 272 มงคล ๓๘ ประการ
วา่ ยาก เมอื่ ถอนสง่ิ ทที่ ำ� ใหเ้ ปน็ คนวา่ ยากออกเสยี แลว้ ความเปน็ คน ว่าง่ายก็จะเกิดขึ้นเอง เหมือนคนที่ต้องการความสุขแต่ยังเป็นสุข ไมไ่ ด ้ เพราะตวั ของตวั เองก�ำลงั เปน็ ทกุ ขเ์ พราะยงั มโี รคทางกายอย ู่ เม่ือเขาท�ำลายโรคทางร่างกายออกหมดแล้ว ทุกข์ทางร่างกายก็ หมดไป เมอื่ ทกุ ขม์ นั ไมม่ กี ก็ ลายเปน็ สขุ ฉนั ใด เรอื่ งของคนวา่ งา่ ย กเ็ ปน็ เชน่ เดยี วกนั คอื เมอื่ ถอนสง่ิ ทท่ี ำ� ใหเ้ ปน็ คนวา่ ยากออกไปแลว้ ความเปน็ คนวา่ ง่ายก็จะปรากฏขน้ึ มาเอง ฉันนน้ั เหตทุ ท่ี ำ� ใหค้ นเราเปน็ คนวา่ งา่ ยนนั้ พระพทุ ธเจา้ ทรงแสดงไว้ ในมูลปณั ณาสก์ มชั ฌมิ นกิ ายว่า มีอยู่ ๑๖ อยา่ งคอื ๑. ความใฝต่ ่ำ� (อาปจิ ฺฉา ปรารถนาลามก) ๒. ยกตวั (อตตฺ ุกกฺ สํ โก โหติ ปรวมฺกี) ๓. เดือดดาล (โกธโน โกธาภภิ ูโต) ๔. ผกู โกรธ (โกธเหต ุ อุปนาห) ๕. รงั เกยี จเหยยี ดหยาม (โกธเหต ุ อภสิ งกฺ )ี รงั เกยี จดว้ ยฤทธ ์ิ โกรธ ๖. คิดต่อว่าต่อขาน (โกธสามนฺต ํ วาจ นจิ ฺฉา เรนตา) ๗. คดิ แย้ง (โจทิโต โจทเกน ปฏปิ ปฺ ยติ) ๘. คิดตะเพดิ (โจทิโต โจทเกน โจทกํ อป สาเทติ) ๙. คดิ ยอ้ น (โจทิโต โจทเกน โจทกสสฺ ปจฺจาโร เปติ) ๑๐. คดิ กลบเกลอ่ื น (โจทโิ ต โจทเกน โจทก ํ อญเฺ อญฺ ํ ปฏ-ิ จรต)ิ ๑๑. คดิ นอกเรอ่ื ง (โจทโิ ต โจทเกน พหทิ ธฺ า กต ํ อปนาเมต)ิ ๑๒. คดิ ปดิ บงั (โจทโิ ต โจทเกน อปทาเน นสมปฺ ายติ) สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 273
๒๘มงคลข้อที่ เปน็ คนว่าง่าย ๑๓. ลบหลู่ - ตเี สมอ (มกขฺ ี ปลาสี) ๑๔. ริษยา - ตระหนี ่ (อสิ สุกิ มะฉรี) ๑๕. โอ้อวด - เจ้าเล่ห ์ (สโฐมายาวี) ๑๖. กระดา้ ง - หวั รั้น (ถิทฺโธ อติมาน)ี เมอ่ื ถอนรากเหงา้ ของคนวา่ ยากทงั้ ๑๖ อยา่ ง ออกไดแ้ ลว้ ก็ จะกลายเปน็ คนวา่ งา่ ย เปน็ คนทใี่ ครๆ กต็ กั เตอื นได ้ แมแ้ ตเ่ ดก็ เลก็ ๆ กต็ กั เตอื นได ้ ไมโ่ กรธแมค้ นทโี่ งก่ วา่ ตำ่� กวา่ มากตกั เตอื นกไ็ มโ่ กรธ ยินดีรับฟังเอาไปคิดไปนึก เม่ือเป็นคนว่าง่ายแล้ว ก็จะกลายเป็น คนออ่ นโยน ไมม่ ีความกระด้างด้วยมานะทฐิ ิ พึงร้ไู วเ้ ถิดว่า ความ เป็นผู้ว่าง่ายเป็นคุณสมบัติของพระอริยบุคคลชั้นต้น แต่การถอน เหตุแห่งความเป็นคนว่ายากน้ัน เป็นของยาก ต้องใช้อุบายวิธี ๔ อย่างด้วยกนั คือ ๑. ปวารณา ๒. มปี กติอภิวาท ๓. มีความเคารพ ๔. มีความนอบนอ้ ม ปวารณา คืออนุญาตให้เขาว่ากล่าวตักเตือนและแนะน�ำส่ัง สอน เหตุที่ต้องท�ำดังนี้ เพราะตามธรรมดาคนเรานั้นโดยมาก ไมย่ อมใคร ความไมย่ อมแกก่ นั และกนั นแี่ หละทำ� ใหบ้ คุ คลฉบิ หาย ทำ� บา้ นเมอื งใหพ้ นิ าศ หรอื อาจทำ� ใหโ้ ลกพนิ าศได ้ ความไมย่ อมให้ ใครเตือนนี้เกิดจากมานะทิฐิน่ันเอง ดังน้ันการท่ียอมเพ่ือความดี เปน็ การยอมรบั ความตกั เตอื นของผอู้ นื่ การปวารณากเ็ หมอื นเรา มกี ระจกสำ� หรับส่องดูตวั เอง 274 มงคล ๓๘ ประการ
ประการท่ีสอง การอภิวาท ก็เกิดจากการฝึกฝนมาจากการ ปวารณากอ่ น แลว้ ทำ� ใจของเราใหม้ ปี กตอิ ภวิ าทภายหลงั การอภวิ าท เปน็ การท�ำลายกิเลส คือ ทิฐมิ านะ ความกระด้างของตัวเอง ประการท่ีสาม การท�ำตนให้มีความเคารพ ท�ำให้เกิดความ เจรญิ ทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ทรงสรรเสรญิ ซงึ่ ไดก้ ลา่ วไวแ้ ลว้ ในมงคลท ี่ ๒๒ แลว้ อันดับที่ส่ี ความอ่อนน้อม คือความถ่อมตนซึ่งได้กล่าวไว้ใน มงคลที่ ๒๓ ซ่ึงท�ำตนให้เป็นผู้ท่ีเป็นท่ีรักใคร่ของผู้อ่ืน และท�ำให ้ เรามีท่ีพึ่งได้ โลกเราทุกวันนี้ เกิดความเสื่อมเสียข้ึนก็เพราะความว่ายาก สอนยากท้ังส้ิน ไม่เลือกว่าผู้ใหญ่ผู้น้อย อันความว่ายากสอนยาก น ี้ ตามปกตเิ รามกั จะเพง่ เลง็ เอาผนู้ อ้ ย คอื เดก็ ๆ เทา่ นนั้ หาไดค้ ดิ เฉลียวใจไม่ว่าผู้ใหญ่ที่เป็นคนว่ายากสอนยากก็มี ผู้น้อยว่ายาก สอนยากยังพอที่จะมีทางแก้ไขได้ เพราะสติปัญญายังอ่อน มานะ ทฐิ ยิ งั ออ่ น เหมอื นไมท้ อ่ี อ่ นอยกู่ ด็ ดั ไดง้ า่ ย สว่ นผใู้ หญซ่ งึ่ เหมอื นไม ้ แกแ่ ลว้ ดดั ยาก การวา่ กลา่ วตกั เตอื นคนแกน่ น้ั ดเู หมอื นวา่ จะมที าง ส�ำเร็จยาก ความเดือดร้อนที่มีอยู่ทุกวันน้ี ส่วนมากมักจะเกิดมา จากความคดิ เหน็ ของคนใหญท่ มี่ อี ำ� นาจ ไมย่ อมรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผอู้ นื่ และทำ� ใหป้ ระชาชนและประเทศชาติเดือดรอ้ นในทส่ี ุด ดังนั้นเพ่ือความเจริญแก่ตัวเองและประเทศชาติ พระพุทธ- องคจ์ งึ สอนใหเ้ ราเปน็ คนวา่ งา่ ย ซง่ึ ไมเ่ สยี เกยี รตเิ สยี ศกั ดศ์ิ รขี องเรา แตป่ ระการใด ผใู้ ดประพฤติไดก้ ็จะเกิดเปน็ มงคลแก่ตวั เอง สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 275
มงคล ๒๙ข้อที่ สมณานญฺจ ทสสฺ นํ (เห็นสมณะ) เม่ือได้จับเขียนมงคลข้อนี้ ก็รู้สึกว่าเป็นเร่ืองหวาดเสียวอยู่ มาก ท้ังนี้เพราะว่าการเขียนในมงคลข้อน้ีได้พาดพิงไปถึงพระ ดว้ ย ซงึ่ การเขยี นความหมายของมงคลขอ้ นก้ี อ็ าจจะเปน็ ทก่ี ระทบ กระเทือนแก่บุคคลบางคนด้วย และดีไม่ดีก็อาจจะทำ� ให้มีคนมอง ในแงร่ า้ ยมากกวา่ ทจี่ ะมองในแงด่ ี และประกอบกบั ผเู้ ขยี นเองกเ็ ปน็ พระด้วย จึงเป็นเรื่องที่ออกจะดูไม่งามอยู่สักหน่อย แต่เมื่อความ จริงมีอยู่อย่างไรก็เขียนตามความเป็นจริง ท้ังน้ีก็เพ่ือที่จะเขียนให ้ คนเขา้ หาธรรม ไมไ่ ดม้ งุ่ เอาธรรมเขา้ หาคน ดงั นน้ั เมอ่ื ไดอ้ า่ นตอนนี้ แล้ว จึงใคร่ท่ีจะขอให้ท่านได้ใช้สติปัญญาพิจารณาอย่างถี่ถ้วน ก่อนท่ีจะกระท�ำอะไรลงไปในทางท่ีไม่งามเก่ียวกับพระ เพราะ ความเกย่ี วพนั ระหวา่ งฆราวาสกบั พระกม็ อี ย ู่ ดงั นนั้ เพอ่ื ทจ่ี ะไมใ่ ห้ 276 มงคล ๓๘ ประการ
เราหลงเข้าใจผิด ซ่ึงบางคนได้มีอคติเกี่ยวกับพระอยู่แล้วจะได้มี ความเขา้ ใจกนั อยา่ ไดม้ องกนั ในแงข่ องความระแวง เพราะเปน็ การ พรา่ ประโยชนข์ องตนเอง และจะพลอยใหพ้ ระทปี่ ฏบิ ตั ดิ ปี ฏบิ ตั ชิ อบ ต้องพลอยเสยี หายไปด้วย กอ่ นทเ่ี ราจะทำ� ความเขา้ ใจในความหมายของมงคลขอ้ นที้ วี่ า่ สมณานญจฺ ทสสฺ นํ การไดพ้ บเหน็ สมณะเปน็ มงคลนนั้ เพอ่ื ความ เข้าใจจงึ จะขอแยกออกเปน็ ๓ ประเด็น คือ ๑. คนอย่างไรเรยี กสมณะ ๒. การเห็นสมณะนัน้ คอื ท�ำอย่างไร ๓. พบเหน็ สมณะแลว้ ได้อะไร ประการแรกที่ว่า คนอย่างไรเรียกว่าสมณะ เราอย่าเพิ่งไป ตคี วามหมายเอาวา่ การเหน็ ภกิ ษสุ ามเณรซง่ึ โกนผมนงุ่ หม่ ผา้ เหลอื ง ซง่ึ อนั นเี้ ปน็ ตน้ เดมิ ของความเขา้ ใจผดิ และทำ� ใหเ้ กดิ ความเสยี หาย มามากแล้วซ่ึงก็ปรากฏเป็นข่าวอยู่บ่อยๆ อันท่ีจริงคนท่ีครองเพศ เป็นนักบวชน้ันเรียกว่าบรรพชิต และบรรพชิตนั้นไม่ใช่ว่าจะเป็น นกั บวชทกุ รปู กห็ าไม ่ เพอ่ื ความแนน่ อนใจวา่ จะไมก่ ลา่ วตพู่ ระพทุ ธ พจน์ ขอเชิญท่านได้โปรดพิจารณาพระบาลีโอวาทปาฏิโมกข์ ซึ่ง พระองคต์ รสั ว่า น หิ ปพฺพชโิ ต ปรูปฆาติ สมโณ โหติ ปรํ วิเหฐยนฺโต ฯ ฯลฯ แปลความว่า บรรพชิตผู้ฆ่าสัตว์อื่นเบียดเบียนสัตว์อื่นอยู ่ หาใชส่ มณะไม่ ฯ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 277
มง๒คล๙ขอ้ ท่ี เหน็ สมณะ ตามพระพทุ ธพจนน์ ท้ี า่ นกค็ งเหน็ แลว้ ใชไ่ หมวา่ พระพทุ ธองค์ ไดท้ รงแสดงวา่ บรรพชติ กบั สมณะนน้ั เปน็ คนละพวก คอื บรรพชติ และสมณะ ทง้ั สองนม้ี ภี มู ธิ รรมตา่ งกนั คนละชน้ั คนละราคา อยา่ ไดเ้ หมาเอาว่าเป็นพวกเดียวกนั บรรพชิต เราแปลว่า นักบวช คือท่านผู้ทรงศีล อยู่ด้วยศีล เอาศีลก�ำกับตัว เม่ือไม่ละเมิดศีล (ตามช้ันของบรรพชิต) ก็คงมี ศกั ดเ์ิ ปน็ บรรพชติ ทกุ องค ์ แตใ่ นบรรดาผทู้ เ่ี ปน็ บรรพชติ นนั้ กม็ อี ย่ ู หลายชัน้ รกั ษาศลี วนิ ัยไดม้ นั่ คงก็ม ี รักษาไดข้ าดๆ ว่ินๆ ก็มี ส่วนสมณะ แปลว่า ผู้สงบ หมายถึงผู้สงบจากการท�ำบาป นอกจากเว้นการท�ำบาปทางวินัยหรือทางศีลแล้ว ยังเว้นจากบาป ทางธรรมด้วย ยกตัวอย่างเช่น ทางศีลห้ามลักทรัพย์ ศีลจะขาด ต่อเม่ือลักจริงๆ เพียงแต่คิดจะลักศีลยังไม่ขาด แต่ทางธรรมถือ ละเอียดไปกว่า แม้แต่คิดจะลัก จิตก็เป็นอกุศล ก็เสียธรรมะ สมณะกับบรรพชิตต่างกันตรงที่ว่า บรรพชิตถือเอาศีลเป็น ขอบเขต สว่ นสมณะนน้ั ถือท้ังศลี และธรรมเป็นขอบเขต เพอ่ื ความแนใ่ จ ขอไดโ้ ปรดดบู าลพี ทุ ธวจนะทม่ี าในธรรมบท ขุททกนิกายวา่ “น มณุ ฑเกน สมโณ อพฺพโต วลิกํ ภณํ อิจฉฺ า โลภสมาปนฺโน สมโก กิ ภวิสสฺ ติ” แปลวา่ คนเราไมใ่ ชจ่ ะเปน็ สมณะเพราะหวั โลน้ คนทไี่ มม่ วี ตั ร มีแต่พูดพล่อยๆ มีความริษยากัน เป็นคนละโมบ จัดเป็นสมณะ ได้อยา่ งไร 278 มงคล ๓๘ ประการ
และอกี บทหนงึ่ ว่า “โย จ สเมติ ปาปานิ อนุํ ถลู าน ิ สพพฺ โส สมิตตฺตาหิ ปาปานํ สมโณต ิ ปวจุ จฺ ติ” แปลว่า คนที่เราตถาคตเรียกว่าสมณะ จะต้องเป็นผู้ระงับ การทำ� บาปนอ้ ยใหญ่เสีย รวมความแล้วว่า เฉพาะคนที่สงบเท่าน้ัน ท่ีเรียกว่าสมณะ และท่ีว่าสงบนั้นหมายถึง สงบกาย สงบวาจา และสงบใจตนเอง สงบกายนน้ั หมายความวา่ เลกิ แสดงกิริยาอาการรา้ ย เช่น ทบุ ตี ชกตอ่ ย ฆา่ ฟนั สะพายดาบ พกปนื หรอื ยกพวกเขา้ ชงิ ดชี งิ เดน่ กนั คนที่เป็นสมณะแล้วไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน ย่อมไม่ท�ำความชอกช�้ำแก ่ ผู้ใด สงบปาก หมายถึงไม่เปน็ คนปากรา้ ย เว้นจากการด่า นินทา สอ่ เสยี ด ใสร่ า้ ยปา้ ยสกี นั โดยอาศยั เอาหมคู่ ณะเปน็ เครอื่ งบงั หนา้ และพูดเคาะแคะผู้หญิงเล่นสนุก ซึ่งผิดสมณสารรูป สงบใจน้ัน หมายความว่า ท�ำใจของตนเองให้สงบจากปากด้วย ไม่ใช่ท�ำตัว สงบแตภ่ ายนอก อยา่ งเสอื เฒา่ จ�ำศลี สมณะจะตอ้ งเปน็ ผเู้ ปย่ี มดว้ ย เมตตาธรรม นี่เป็นการขยายความจาก ปรูปฆาติ กับ ปรํ วิเหฐยนฺโต ซ่ึงแสดงความเว้นของสมณะเท่าน้ัน ส่วนในทางปฏิบัตินั้น พระพุทธองคไ์ ดท้ รงแสดงไวใ้ นพระไตรปฎิ กวา่ “โอโณทโร โย สเหเต ชิคจฺฉํ ทนฺโต ตปสี มิตปานโภชโน อาหารเหต ุ น กโรติปาปํ ตํ เว นรํ สมณมาหู โลเก” แปลว่า บุคคลใดทนต่อความหิว ฝึกตน บ�ำเพ็ญตบะ จ�ำกัด อาหาร ไม่ท�ำบาปเพราะเห็นแก่ปากแก่ท้อง บุคคลนั้นแหละ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 279
มง๒คล๙ขอ้ ท่ี เห็นสมณะ เรียกว่า สมณะในโลก เหล่าน้ีเป็นลักษณะของสมณะที่ยกขึ้นมา แสดงให้เห็นว่า บรรพชิตไม่ใช่ว่าจะเป็นสมณะทุกรูป ซึ่งเป็นการ แสดงตามหลักฐานท่ีมีมาในพระไตรปิฎกเป็นหลักฐาน ไม่ใช่ เปน็ การกล่าวเอาเองโดยพละการ ประเดน็ ตอ่ ไปทจี่ ะแสดงกค็ อื การเหน็ สมณะ การเหน็ สมณะ นนั้ เราอาจจะเหน็ ได ้ ๓ ทาง คอื เหน็ ดว้ ยตา เรยี กวา่ พบเหน็ เหน็ ดว้ ยใจ เรียกวา่ คดิ เห็น และ เหน็ ด้วยปญั ญา เรยี กวา่ รู้เหน็ การเหน็ ดว้ ยตานนั้ ไดแ้ กก่ ารเหน็ คนทเี่ ปน็ สมณะอยา่ งทเ่ี รา เห็นกันทั่วๆ ไป ส่วนสมณธรรมหมายถึงความดีท่ีมีอยู่ในผู้นั้นฯ ความดขี องสมณะในทน่ี ี้ หมายถงึ ความดอี ยา่ งพระ ไมใ่ ชด่ อี ยา่ งอนื่ เช่นว่าดีในทางเสกเป่า ผูกดวงหมอดูทางเสน่ห์มหานิยม หรือ บอกใบ้หวย ดังน้ันเมื่อเราจะเอาดีอย่างพระ ก็เลยไปเกณฑ์ให้ พระดีอย่างเราไปเสยี เพราะคดิ ว่าให้พระดีอยา่ งท่ตี วั ชอบ อยา่ งไรกต็ าม การดสู มณธรรมหรอื ความดขี องคนสำ� คญั ทใ่ี จ ของเรา คอื เราอยา่ ไดห้ ลงโลกธรรม หรอื หลงสง่ิ ทแี่ บง่ แยกของโลก เช่น หลงก๊ก หลงเหล่า หลงสำ� นัก หลงนิกาย การกระท�ำแบบน้ี เป็นการแบ่งตามโลก ดังน้ันเราจึงต้องระวังให้มาก และใช้ปัญญา พิจารณาอย่างถ่ีถ้วน อย่าลุแก่อ�ำนาจความพอใจของเรา จึงจะ ท�ำให้เราเป็นคนผู้มองโลกในแงข่ องความดมี ากกว่าความระแวง เหน็ สมณะแล้วได้อะไร ปัญหาต่อไปอยู่ที่ว่า การเห็นสมณะท่ีว่าเป็นมงคลแก่ผู้เห็น นนั้ เป็นอยา่ งไร 280 มงคล ๓๘ ประการ
เรอ่ื งนขี้ อตอบวา่ ถา้ เหน็ ถกู แบบแลว้ ความดจี ะเกดิ ขน้ึ ในใจ ของผเู้ หน็ เอง ตง้ั แตใ่ นขณะทเี่ หน็ ทเี ดยี ว ดงั ทไี่ ดก้ ลา่ วแลว้ วา่ การ เหน็ สมณะทถ่ี กู นนั้ ตอ้ งเหน็ สองชนั้ คอื เหน็ คนผเู้ ปน็ สมณะ แลว้ ก็ เหน็ ความดใี นตวั ของผเู้ ปน็ สมณะดว้ ย การเหน็ สมณธรรมนน้ั เรา จำ� เปน็ จะตอ้ งแหวกโลกออกเสยี กอ่ น จงึ จะเหน็ ทวี่ า่ แหวกโลกนนั้ ไดแ้ กแ่ หวกกเิ ลสออกจากใจของเรานนั่ เอง ทกุ ครง้ั ทเ่ี ราเหน็ สมณะ กเิ ลสนนั้ จะคอ่ ยๆ สลายออกไปจากใจของเรา และเบาลงทกุ ขณะ การเห็นสมณะจึงเป็นการช่วยให้เราหลุดพ้นจากกิเลส แต่ท้ังนี้ จะตอ้ งเหน็ สมณธรรม ไมใ่ ชเ่ หน็ แตเ่ พยี งสมณบคุ คลเทา่ นนั้ หากจะ เปรยี บใหฟ้ งั กเ็ หมอื นกบั วา่ เราเหน็ ดอกบวั ทล่ี อยอยเู่ หนอื นำ้� มอง เห็นแล้วเย็นตา สบายใจ ส่วนคนทเี่ หน็ สมณธรรมดว้ ยใจ เหมอื น คนดำ� ลงไปถอนเอาเหงา้ บวั ใตน้ ำ�้ สง่ิ ทเ่ี ราจะไดร้ บั กค็ อื มคี วามเยน็ สบาย เหงอื่ ไคลหลดุ ออกจากตวั เนอื้ ตวั สะอาดขนึ้ และถา้ สามารถ ถอนเอาเหงา้ บวั ขน้ึ มาไดด้ ว้ ย กย็ งั จะไดก้ นิ อม่ิ ทอ้ งอกี ดว้ ย การเหน็ สมณธรรมในตัวสมณบุคคลก็เหมือนกัน ท�ำให้กิเลสคลายจากใจ ใจบริสทุ ธ์ขิ ้ึน และยังไดธ้ รรมะจากท่านมาปฏิบตั อิ ีกด้วย การเห็นสมณะเป็นอุดมมงคลอยา่ งนี้ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 281
มงคล ๓๐ขอ้ ท่ี กาเลน ธมมฺ สากจั ฉา (สนทนาธรรมตามกาล) การสนทนากนั ไดแ้ กก่ ารพดู คยุ กนั ตง้ั แตส่ องคนขนึ้ ไป นำ� เรอื่ ง ต่างๆ ที่แต่ละคนได้เห็นได้ฟังหรือได้ทราบมาเล่าสู่กันฟัง เฉลี่ย ความรู้ให้กันและกัน เป็นการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซ่ึงกันและ กนั เพราะการสนทนากนั นน้ั เปน็ การเพมิ่ ความรคู้ วามฉลาดเฉลยี ว แก่ตนและผทู้ ร่ี ว่ มสนทนากนั ต่างคนตา่ งคดิ เหตผุ ลแล้วน�ำมาพดู มาแสดงความร ู้ ความเหน็ ของตนในเรอ่ื งนน้ั ๆ เมอ่ื มผี ไู้ มเ่ หน็ ดว้ ย กแ็ สดงเหตผุ ลคดั คา้ น ผทู้ เ่ี หน็ ดว้ ยกใ็ หก้ ารสนบั สนนุ ความคดิ ของ 282 มงคล ๓๘ ประการ
เรา แต่เรื่องการสนทนานั้นออกจะเป็นเร่ืองท่ีเฮ้ียนอยู่หน่อย บาง คนซ่ึงเป็นถึงต�ำแหน่งครูบาอาจารย์ มีลูกศิษย์ลูกหาท่ัวเมือง แต่ แลว้ พอรว่ มแสดงธรรมสากจั ฉากบั ใครเขา้ เปน็ วงแตกทกุ ท ี เพราะ ทนตอ่ การขดั แยง้ ไมไ่ ด ้ ทงั้ นเี้ พราะวา่ กเิ ลสมนั หลบใน และดว้ ยเหต ุ นวี้ งสนทนาธรรมจงึ อยไู่ มย่ ดื พอสนทนากนั เขา้ กเ็ ลยเปน็ การววิ าท กนั มากกวา่ ทจี่ ะสนทนากนั บางคนถงึ กบั มองหนา้ กนั ไมไ่ ดเ้ ลยกม็ ี นแ่ี หละเปน็ เรอ่ื งทเ่ี ราจะตอ้ งทำ� ความเขา้ ใจเสยี กอ่ น ในมงคลขอ้ น ้ี พระพทุ ธองคไ์ ดท้ รงแสดงวา่ “การสนทนาธรรมตามกาลอนั สมควร” ใครปฏิบตั ิไดก้ จ็ ะเกดิ มงคลแกผ่ นู้ ั้น การสนทนาธรรมของเราน้ี เป็นการทดสอบความรู้ความ อดทนของผทู้ ไ่ี ดฝ้ กึ มาแลว้ เราจะเหน็ ไดว้ า่ มงคลตา่ งๆ ทไ่ี ดผ้ า่ นมา นน้ั เปน็ การเตรยี มตวั สำ� หรบั ตอ้ นรบั มงคลขอ้ น ้ี กลา่ วคอื ขอ้ ท ี่ ๗ ทรงสอนให้เราหาความรู้ ข้อท่ี ๑๐ ทรงสอนให้เรามีวาจาไพเราะ ข้อที่ ๒๗ ทรงสอนให้เรามีความอดทน ข้อที่ ๒๖ ทรงสอนให้เรา ฟังธรรม นับว่าเป็นการฝึกตัวเราเองตามล�ำดับ ในข้อนี้เป็น บททดสอบความรขู้ องเราทไี่ ดฝ้ กึ มาวา่ จะฝกึ ไดแ้ คไ่ หน การสนทนา ธรรมนนั้ ยอ่ มเปน็ ทก่ี ระทบกระทง่ั กนั บา้ ง บางทถี กู ขดั ถกู แขวะ ถกู ค้าน ถูกติ ถูกชมซ่ึงๆ หน้า น่ีแหละเป็นการย่ัวกิเลสของเราอย่าง ชัดๆ ดังนั้นผู้สนทนาธรรมจึงต้องควบคุมใจของตัวเอง มากกว่า การพูด การฟังมาแล้วสักสิบเท่า เผลอไม่ได้เลยทีเดียว กิเลสมัน จะออกมายงุ่ กนั นงุ นงั ทเี ดยี ว เคยเหน็ มานกั แลว้ ขนึ้ ตน้ คยุ ธรรมะ กันไปไดไ้ ม่กน่ี ้�ำ กเิ ลสมันกอ็ อกมายุ่งกบั เราทเี ดยี ว ดงั นนั้ การสนทนาธรรมเราจงึ จะตอ้ งตงั้ หลกั เกณฑข์ องเราไว้ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 283
๓๐มงคลขอ้ ท่ี สนทนาธรรมตามกาล ในใจ โดยจะตอ้ งยดึ หลกั ๓ ประการ คือ ๑. สนทนาในธรรม ๒. สนทนาดว้ ยธรรม ๓. สนทนาเพ่ือธรรม สนทนาในธรรม หมายความวา่ เรอื่ งทจ่ี ะสนทนากนั ตอ้ งเปน็ เรอ่ื งธรรมะ ใหอ้ ยใู่ นวงธรรมะ อยา่ ออกนอกวง ถงึ กเิ ลสมนั จะผลกั หลังให้ออกก็ฝืนไว้อย่ายอมออก เช่นถ้าจะพูดถึงการท�ำดีก็ให้มัน สดุ ทท่ี ำ� ด ี อยา่ ใหไ้ ปถงึ อวดด ี พดู ถงึ เรอ่ื งทำ� ชว่ั กส็ ดุ แคท่ ำ� ชว่ั อยา่ ให ้ เลยไปถงึ นินทาคนอน่ื อยา่ งนเี้ รียกว่าสนทนาในธรรม สนทนาด้วยธรรม หมายถึงบุคคลท่ีสนทนากัน จะต้องไม ่ แสดงกิริยาวาจาให้ผิดธรรมะ เช่น ทางกายก็มีสัมมาคารวะกัน ตามฐานานรุ ปู ควรไหว-้ ไหว ้ ควรกราบ-กราบ อยา่ คดิ ทรนงตวั วา่ ม ี ความรมู้ ากกวา่ ในทางวาจาควรใชถ้ อ้ ยค�ำสภุ าพ ถา้ ฝา่ ยหนง่ึ ถกู ก ็ ชม ถา้ ฝา่ ยหนงึ่ ผดิ กท็ กั โดยสภุ าพ ไมก่ ลา่ ววาจาลว่ งเกนิ เหนบ็ แนม ถ้าพลาดพล้ังก็ขอโทษ อย่างนี้เรียกว่าสนทนาด้วยธรรม ไม่ใช ่ สนทนาด้วยกิเลส สนทนาเพื่อธรรม คือผู้สนทนาต้องตั้งจุดมุ่งหมายไว้ในใจ เสมอวา่ เราจะหาความร ู้ ความเขา้ ใจในธรรมใหย้ ง่ิ ขน้ึ ไป ไมใ่ ชจ่ ะ อวดรู้หรืออวดธรรมะ การสนทนาธรรมน้ันเราต้องคิดอยู่เสมอว่า การทเ่ี ราแสดงความรอู้ อกไป กค็ ดิ วา่ เราเอาความรเู้ กา่ ไปตอ่ ความ ร้ใู หม่ ไมใ่ ชค่ ิดจะอวดร ู้ อย่างนเี้ รียกว่าสนทนาธรรมเพื่อธรรมะ เมื่อต้ังหัวข้อส�ำหรับสนทนาไว้ในใจและรักษาระเบียบการ สนทนาไวไ้ ดโ้ ดยตลอดแลว้ การสนทนาธรรมกเ็ ปน็ ไปโดยราบรนื่ 284 มงคล ๓๘ ประการ
และเปน็ การสนทนาเพอื่ ความร ู้ การสนทนาอยา่ งนจี้ งึ จะเกดิ มงคล ดว้ ยกนั ทง้ั สองฝ่าย อีกประการหนึ่ง การสนทนาธรรมที่ดีนั้น เราจะต้องรู้เร่ือง บัญญัติโลก บัญญัติธรรมด้วย จึงจะเป็นการทนต่อการสนทนา ธรรมไดส้ ะดวก ทเี่ ราไมค่ อ่ ยจะเขา้ ถงึ ธรรมกเ็ พราะเรายงั ตดิ อยใู่ น เรอื่ งของโลก ตดิ รปู จะตอ้ งคนนน้ั พดู คนนพ้ี ดู จงึ จะฟงั เดก็ กวา่ พดู ไม่ยอมเอาใจใส่ ต้องผู้ใหญ่คราวพ่อคราวปู่จึงจะยอมฟัง บางคน ติดรั้วติดก�ำแพง ชอบแต่เจ้าคุณวัดน้ี เกลียดเจ้าคุณวัดนั้น ฯลฯ เหลา่ นเ้ี ปน็ เรอ่ื งของการตดิ อยใู่ นบญั ญตั ขิ องโลกทงั้ นน้ั ของเหลา่ น ี้ ไม่ใช่เรื่องของธรรมะ แต่เป็นเพียงเคร่ืองช่วยในการพูดการฟัง ธรรมะเท่านน้ั อุปสรรคของการที่ท�ำไม่ให้เข้าถึงธรรม ก็คือความติดโลก นเี่ อง ดว้ ยเหตนุ ใี้ นหลกั ของโพชฌงค ์ คอื องคป์ ระกอบทท่ี �ำใหเ้ ขา้ ถงึ ธรรมะ พระพุทธองค์จึงทรงวางหลักไว้ข้อหน่ึง คือ “ธัมมวิจยะ” การวิจัยธรรม หรือเลือกเฟ้นธรรม หมายความว่าผู้นั้นจะต้อง ปฏบิ ตั ขิ อ้ นี้ดว้ ยจงึ จะบรรลุธรรมได้ การวิจัยธรรมน้ันมีอยู่หลายช้ัน แล้วแต่ผู้ปฏิบัติอยู่ในภูมิ ไหน เช่น การวิจัยธรรมะของคนช้ันสามัญทั่วไป จะต้องสามารถ ทจ่ี ะแยกให้ร้วู า่ อยา่ งไหนเปน็ ธรรม อย่างไหนเป็นอธรรม แล้วยดึ เอาเฉพาะในส่วนท่ีเป็นธรรม ทิ้งอธรรมเสีย และจะต้องรู้สูงขึ้น ไปวา่ อยา่ งไหนเป็นโลกบญั ญัติ อะไรเป็นสจั ธรรม แล้วปล่อยวาง บัญญัติโลกเสีย ยึดเฉพาะสัจธรรมจึงจะบรรลุจุดหมายของการ สนทนาธรรมได้ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 285
๓๐มงคลขอ้ ท่ี สนทนาธรรมตามกาล การสนทนาธรรมนนั้ มอี านสิ งสเ์ หมอื นกบั การฟงั ธรรม กลา่ ว คอื ๑. ผู้สนทนาหรือฟังธรรมย่อมได้รับสิ่งท่ีตนไม่เคยได้รู้และ ไดฟ้ งั ๒. สงิ่ ไหนที่เรารแู้ ลว้ กม็ ีความเข้าใจชดั ย่งิ ข้ึน ๓. ทำ� ลายความสงสยั เสียได้ ๔. ทำ� ความเหน็ ของตนให้ถกู ต้อง ๕. และเกดิ ความผอ่ งใสแกผ่ ไู้ ดส้ นทนาและผูฟ้ งั การสนทนาธรรมจงึ เปน็ มงคลอยา่ งยงิ่ ดังท่ีบรรยายมานี้ 286 มงคล ๓๘ ประการ
มงคล ๓๑ข้อที่ ตโป จ (การบ�ำเพ็ญตบะ) ตบะ แปลว่า การท�ำให้ร้อน หรือแปลว่า การแผดเผา ใน ภาษาบาลนี นั้ การทำ� อะไรใหร้ อ้ น ใชค้ ำ� วา่ ‘ตบะ’ ทง้ั นนั้ เชน่ ตม้ นำ�้ ให้ร้อนก็ใช้ค�ำว่า “อุทกํ ตาเปติ” ร้อนใจก็ใช้ค�ำว่า “ปจฺฉาตปฺปติ ทกุ กฺ ฏ”ํ แปลวา่ การทำ� ความผดิ ทำ� ใหร้ อ้ นใจภายหลงั ดงั นนั้ คำ� วา่ ตบะ หรอื ตโป น ้ี หมายถงึ การใหร้ อ้ นทกุ อยา่ ง ตรงกบั ค�ำในภาษา ไทยเราวา่ เผา ลน ยา่ ง ตม้ ปง้ิ อบ คว่ั ฯลฯ คอื พวกคำ� อนื่ ทหี่ มาย ถงึ การท�ำใหร้ ้อนทกุ คำ� น่ีวา่ ตามภาษาเดมิ ของเขา ตบะ ในค�ำสอนทางพุทธศาสนา ก็เพ่งถึงการท�ำให้ร้อน เหมอื นกนั แตห่ มายถงึ การทำ� ใหค้ วามชวั่ รอ้ นตวั ธรรมใดเผาอกศุ ล บาปธรรมใหม้ อดไหมไ้ ป ธรรมนนั้ ชอื่ วา่ ตบะ เชน่ ทาน เปน็ เครอ่ื ง สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 287
๓๑มงคลขอ้ ที่ การบ�ำเพญ็ ตบะ แผดเผาความตระหน ่ี ความโลภใหห้ มดไป เมตตากเ็ ปน็ เครอื่ งเผา โทสะใหห้ มดไปจากใจ ผู้ทีเ่ จริญเมตตาเป็นธรรมประจำ� ใจ ยอ่ มมี ใจสงบเยน็ ฯ ความจริงแล้ว ค�ำว่า ตบะ ไม่ใช่ค�ำใหม่ที่มีในเฉพาะพุทธ- ศาสนาน้ีเท่าน้ัน มีมาก่อนในศาสนาพราหมณ์ ครั้นมาภายหลัง พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนพุทธบริษัทให้บ�ำเพ็ญตบะเหมือนกัน แต ่ วิธบี �ำเพ็ญต่างกัน ตามพระพุทธประวัติ เห็นได้ว่าพระพุทธเจ้าของเราเคยทรง บำ� เพญ็ ตบะแบบพราหมณม์ ากอ่ น คอื ในระยะ ๖ ปที แี่ สวงหาทาง ตรสั รนู้ นั่ เอง ครน้ั มาไดต้ รสั รสู้ จั ธรรมแลว้ ทรงพบเหน็ ทางทถ่ี กู ตอ้ ง จงึ ตรสั ประกาศในทป่ี ระชมุ สงฆ ์ ทเ่ี มอื งราชคฤห ์ ซง่ึ เปน็ เวลาหลงั จากตรสั รู้แลว้ ๙ เดอื นเทา่ นนั้ พระดำ� รสั นนั้ วา่ ขนฺตี ปรมํ ตโป ตีติกขฺ า ความอดทนเป็นตบะอยา่ งยง่ิ จากพระพทุ ธดำ� รสั น ี้ แสดงใหเ้ ราเหน็ วา่ พระองคท์ รงรบั เอา ตบะมาใชใ้ นทางพระพทุ ธศาสนา ความมงุ่ หมายในการทท่ี รงสอน ให้บ�ำเพ็ญตบะนี้ เพ่ือต้องการขับไล่กิเลสทั้งหลาย เป็นข้อปฏิบัติ ที่ฝืนความต้องการของกิเลส ขับไล่กิเลสออกจากใจ ไม่ใช่ท�ำเพ่ือ อย่างอื่น การขับไล่กิเลสออกจากใจ การทำ� ให้กิเลสร้อนตัว มีอยู ่ ๒ ชน้ั คือ ๑. ช้ันสัลเลขะ ขัดเกลา ๒. ชน้ั ธุตังคะ กำ� จัด 288 มงคล ๓๘ ประการ
ชน้ั สลั เลขะ หมายถงึ การปฏบิ ตั ทิ กุ อยา่ งทเี่ ปน็ การฝนื กเิ ลส อยา่ งเชน่ ความโลภเกดิ ขน้ึ กข็ จดั ดว้ ยการบรจิ าค ความเกยี จครา้ น เกิดขึ้น ปฏิบัติด้วยความขยัน การเห็นแก่กิน ก็งดกินอาหารยาม วิกาล ชอบเจ้าชู้ ก็งดเสพเมถนุ เม่ือโกรธ กฝ็ กึ แผเ่ มตตา การปฏบิ ัตเิ หลา่ นี ้ พระพทุ ธองคท์ รงตรสั วา่ ข้อธรรมเหลา่ น้ ี ลว้ นแตเ่ ปน็ “สลั เลขธรรม” ทงั้ สน้ิ คอื เปน็ วธิ ปี ฏบิ ตั เิ พอื่ กำ� จดั กเิ ลส ทกุ ขอ้ ดงั นน้ั เราจงึ กำ� หนดตายตวั ลงไปไมไ่ ดว้ า่ สลั เลขธรรมมเี ทา่ ไร การปฏบิ ตั ธิ รรมเหลา่ น ้ี เปน็ การบ�ำเพญ็ ตบะเบอื้ งตน้ อยใู่ นตวั ดว้ ย ช้ันธุตังคะ ธุตังคะ แปลว่า การก�ำจัด หมายถึงการขับไล ่ กิเลสอย่างรุนแรง แรงกว่าสัลเลขะ ธุตังคะ หรือการบ�ำเพ็ญ ธดุ งควตั รสว่ นมากเปน็ พระภกิ ษ ุ เมอ่ื บำ� เพญ็ ธดุ งควตั ร เรากเ็ รยี ก วา่ พระธุดงค์ เม่ือพูดถึงเรื่องพระธุดงค์ ก็ขอท�ำความเข้าใจกับท่านผู้อ่าน ไว้สักหน่อย คือมีคนเข้าใจว่า พระธุดงค์จะต้องเป็นผู้เก่งกล้าทาง คาถาอาคม ปลกุ เสกเลขยนั ต ์ บอกใบใ้ หห้ วย ขอ้ นไ้ี มเ่ ปน็ ความจรงิ เลย เพราะธุดงควัตรไม่มีทางจะเป็นอย่างน้ันได้ พระธุดงค์ที่ชอบ ปกั กลดแลว้ รบั ท�ำนำ�้ มนต ์ แจกเครอื่ งรางของขลงั ไมใ่ ชพ่ ระธดุ งค์ จริง เป็นพระธุดงค์อาชีพ ธุดงควัตรน้ัน เป็นวิธีบ�ำเพ็ญตบะ มี ทง้ั หมดดว้ ยกนั ๑๓ หวั ขอ้ แบง่ ออกเปน็ ๘ ลกั ษณะ ตามแหลง่ ของ กเิ ลสท่ีมันซมุ่ อยูใ่ นกายของเรา คือ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 289
๓๑มงคลขอ้ ท่ี การบ�ำเพ็ญตบะ หมวดท่ี ๑ เกี่ยวกบั เครือ่ งแต่งตัว (จวี ร) ๑. ปงั สกุ ลู กิ งั คะ ใชแ้ ตผ่ า้ บงั สกุ ลุ ทซี่ กั มาไดเ้ ทา่ นน้ั งดเวน้ ผา้ ทีห่ ามาได้จากทางอนื่ เชน่ ผู้อืน่ ถวายก็ใช้ไมไ่ ด ้ ๒. เตจีวริกังคะ ใช้เฉพาะผ้าไตรจีวร คือผ้า ๓ ผืนเท่านั้น (สบง จวี ร สังฆาฏิ) ใช้ผ้าอื่นๆ นอกจากสามผนื น้ีไม่ได้ ดงั นน้ั เมอ่ื ไดถ้ งึ ขอ้ นแี้ ลว้ ความทเี่ ราชอบความโออ้ วดมงั่ ม ี ซง่ึ มเี สอ้ื ผา้ เปน็ ตๆู้ นน้ั เมอื่ โดนธดุ งคส์ องขอ้ นเี้ ทา่ นน้ั กเ็ ปน็ เครอ่ื งขจดั ไปไดแ้ ลว้ หมวดท่ี ๒ เก่ียวกับการกนิ ๑. ปิณฑปาติกังคะ ฉันเฉพาะอาหารที่ได้มาจากบิณฑบาต เทา่ น้ัน ได้มาโดยวิธีอืน่ ไมร่ บั ๒. สัมปทานจาริกังคะ เดินรับบิณฑบาตไปตามแนวทางท่ี กำ� หนดใจไว ้ ไมไ่ ดไ้ ปตามทน่ี กึ วา่ ทางโนน้ จะไดม้ าก ทางนจ้ี ะไดน้ อ้ ย ๓. เอกาสนกิ งั คะ ฉนั หนเดยี ว คอื วนั หนงึ่ ฉนั อาหารหนเดยี ว ซึง่ เรามกั จะพูดกนั ว่า ฉนั เอกา ๔. ปตั ตปณิ ฑกิ งั คะ ฉนั อาหารในบาตร คอื ไมใ่ ชภ้ าชนะอน่ื เอา 290 มงคล ๓๘ ประการ
อาหารทงั้ คาวทง้ั หวานวางไวใ้ นบาตรแลว้ ฉนั ซงึ่ เราเรยี กวา่ ฉนั สำ� รวม ๕. ขลุปัจฉาภัตติกังคะ คือเม่ือได้ลงมือฉันแล้วจะมีผู้ให ้ อาหารมาอกี กไ็ มฉ่ นั ทั้งห้าข้อนี้เป็นตบะเก่ียวกับการกิน ขอให้สังเกตดูว่าท้ังห้า ขอ้ นเ้ี ปน็ การฝนื กเิ ลสคนทงั้ นนั้ ไมต่ อ้ งพดู ถงึ วา่ จะลกั ของกนิ โกงเขา กนิ แมข้ องทไ่ี ดม้ าดๆี นแ่ี หละ กต็ ดั ความฟงุ้ เฟอ้ ลง กเิ ลสใดๆ ทจี่ ะ ยุใจให้เราท�ำผิดเพราะเห็นแก่ปากแก่ท้อง ตลอดจนความโลเลจะ กนิ ไอน้ นั่ จะกนิ ไอน้ ่ี จจู้ จี้ กุ จกิ ไมร่ จู้ กั ก�ำลงั ปากกำ� ลงั ทอ้ งของตวั เอง หมวดท ี่ ๓ เก่ียวกบั ทอ่ี ย่อู าศยั (เสนาสนะ) ๑. อารั ิกงั คะ อยู่ในป่า คอื นอกละแวกบ้าน ๒. รกุ ขมลู ิกังคะ อย่ตู ามรม่ ไม้ ไมอ่ ย่ใู นเรือนโรง ๓. อพั โภกาสกิ ังคะ อยกู่ ลางแจ้ง ๔. โสสานิกังคะ อยู่ในปา่ ช้า ๕. ยถาสนั ถตกิ ังคะ อยใู่ นทีๆ่ คนอื่นจัดให ้ (ไม่เลอื ก) ดังนั้น เมื่อเราได้สมาทาน หรือบ�ำเพ็ญตบะข้อน้ีแล้ว เร่ือง โกงทโ่ี กงทางกไ็ มต่ อ้ งพดู ถงึ พอกเิ ลสโดนธดุ งค ์ ๕ ขอ้ นแ้ี ลว้ กเ็ กดิ รอ้ นตัวข้นึ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 291
๓๑มงคลข้อที่ การบ�ำเพ็ญตบะ หมวดท ่ี ๔ เก่ียวกับดัดนสิ ยั ๑. เนสัชชิกังคะ น่ังตลอดเวลา เช่น อธิษฐานใจว่าจะนั่ง สมาธติ ลอดคนื และนงั่ ใหไ้ ดไ้ มเ่ อนกายเลย ไมพ่ งิ เลย ขอ้ นด้ี ดั นสิ ยั เกยี จครา้ น ผลัดวันประกนั พรงุ่ รวมเป็นธุดงค์ ๑๓ ข้อ ในทางปฏิบัติจะเลือกท�ำข้อใดบ้าง ก็ได้ และจะท�ำในระยะใด ก็ต้ังใจอธิษฐาน ไม่จ�ำเป็นจะต้องเอา ทงั้ หมด ทง้ั นแี้ ลว้ แตว่ า่ ความพอใจของเรา เชน่ เรารสู้ กึ ตวั วา่ ตวั เรา นนั้ มกั จะชอบไปทางไหนมาก ตามใจตวั เองมาก กต็ ดั ตรงนนั้ เมอ่ื เราไดฝ้ กึ ฝนจนเคยชนิ แลว้ กเิ ลสทง้ั หลายตา่ งๆ ทมี่ อี ยใู่ นใจของเรา ก็จะส้นิ ไป นอกจากท้ังสองประการ คือ สัลเลขธรรม และธุตังคธรรม ๑๓ นแี้ ลว้ ในมงคลทปี นที า่ นยงั ไดแ้ สดงไวอ้ กี วา่ ตบะนน้ั หมายถงึ ขนั ติ อนิ ทรียสงั วร และวิริยะ อนิ ทรยี สงั วร ไดแ้ กก่ ารสำ� รวมอนิ ทรยี ท์ ง้ั ๖ ไดแ้ กต่ า ห ู จมกู ลนิ้ กาย และใจ ช่อื ว่า ตบะ เพราะเปน็ เคร่อื งเผาอกุศลธรรม คือ ความยินดีและยินร้าย เพราะกระทบกับอารมณ์ที่ชอบใจหรือไม่ ชอบใจ เหลา่ นเ้ี ปน็ ตน้ ฯ ความเพยี รไดช้ อื่ วา่ ตบะ เพราะเปน็ เครอ่ื ง แผดเผา โกสัชชะ คือความเกยี จคร้านให้มอดไหม้ไปฯ ดังทกี่ ล่าวมาแล้วน ้ี จะเหน็ ไดว้ า่ การทเี่ รามี ตบะ เป็นเครอ่ื ง แผดเผากิเลสน้ัน เป็นการขจัดส่ิงท่ีเป็นอัปมงคลต่างๆ อันเป็น 292 มงคล ๓๘ ประการ
อปุ สรรคต่อความก้าวหน้าของชีวิตตวั เองและครอบครวั การบำ� เพญ็ ตบะ ทจี่ ะใหผ้ ลแกต่ วั ผปู้ ฏบิ ตั ไิ ดเ้ พยี งไรนน้ั ขน้ึ อยกู่ บั คณุ ธรรมอกี ขอ้ หนง่ึ ซงึ่ เปน็ เครอื่ งสนบั สนนุ ตบะ ใหส้ มบรู ณ์ เหตุท่ีท�ำให้ตบะแตก ท�ำให้ไม่บรรลุถึงคุณความดีที่ต้องการ ได ้ เพราะขาดความอดทนทเี่ รยี กวา่ “ขนั ต”ิ ดงั ขอ้ ความพทุ ธพจน์ ท่ียกขน้ึ ตอนตน้ วา่ ยอดของตบะนั้นคอื ความอดทน มีปัญหาอยู่ว่า การที่เราจะขับไล่ความชั่วร้ายออกจากตัว เป็นการท�ำให้ตัวเราสบายข้ึน เหตุใดจึงต้องใช้ขันติ และท�ำไมจึง ต้องทน เร่ืองนี้ขอให้เราคิดถึงความเจ็บป่วยในร่างกายของเรา การทเี่ ราจะสามารถรกั ษาโรคในกายของเราใหห้ ายไดน้ น้ั จะตอ้ งทำ� พิธีกรรมหลายอย่าง ต้องงดสิ่งท่ีเราชอบและต้องท�ำในสิ่งท่ีเรา เกลียด เพราะฉะนั้นจึงต้องอดทน อย่างเช่นเราเป็นฝี จะต้อง ท�ำการผ่าตัดฝีจึงจะหาย ถึงแม้ว่าจะต้องเจ็บปวดเราก็ต้องยอม ทั้งนี้เพ่ือให้โรคร้ายนั้นหายไป ถ้าเรามัวกลัวต่อความเจ็บปวด เพราะการผา่ ตดั แลว้ เรากจ็ ะไมม่ โี อกาสทจ่ี ะหายจากโรคนไ้ี ดเ้ ลย และนบั วนั จะทำ� ใหเ้ ราไดร้ บั ความทรมานยงิ่ ขนึ้ หรอื บางทกี อ็ าจจะ ท�ำให้เราเกิดอาการเจ็บป่วยอย่างอ่ืนอีกก็ได้ การท่ีเราจะละกิเลส กเ็ หมอื นกนั จะตอ้ งอาศยั ความอดทนเปน็ เครอ่ื งก�ำกบั ตบะ ถา้ เรา ไมม่ คี วามอดทนเปน็ ทนุ แลว้ ตบะกแ็ ตกแนๆ่ การประพฤติธรรมในข้อนี้ พระพุทธองค์ทรงมีจุดมุ่งหมาย เพื่อจะให้เราละกิเลส ซ่ึงเป็นส่วนบาปธรรมให้สิ้นไปจากสันดาน การละกเิ ลสจงึ ตอ้ งอาศยั การแผดเผาซง่ึ เรยี กวา่ ‘ตบะ’ จงึ จดั วา่ เปน็ มงคลเพราะนำ� ความเกษมสำ� ราญมาส่ผู ูป้ ฏบิ ัติ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 293
มงคล ๓๒ข้อท่ี พฺรหมฺ จรยิ ญฺจ (ประพฤตพิ รหมจรรย์) ในมงคลขอ้ นที้ า่ นแสดงวา่ การประพฤตพิ รหมจรรยเ์ ปน็ มงคล ค�ำว่า “พรหมจรรย์” นั้น แปลวา่ การประพฤติตวั อยา่ งพรหม ค�ำว่า พรหม นั้น เป็นคำ� ที่ใช้อยู่ในศาสนาพราหมณ์มาก่อน ลัทธิพราหมณ์หรือฮินดูนั้น หมายถึงพระพรหมผู้สร้างโลก และ หมายถึงผทู้ ท่ี �ำความดีแล้วไปเกดิ เป็นพรหมอยู่ นับพระพรหมนัน้ ดว้ ย และกเ็ ชอื่ กนั วา่ ผทู้ จี่ ติ บรรลถุ งึ ความเปน็ พรหมแลว้ จะหมด ความรู้สึกทางเพศ เพราะพรหมไม่มีเพศ ไม่มีพรหมผู้ชาย ไม่ม ี พรหมผหู้ ญงิ พวกพรหมจงึ ไมย่ งุ่ ในการเสพกาม ไมม่ กี ารสบื พนั ธ์ุ ด้วยเหตุที่ว่า ความรู้สึกทางเพศเป็นเครื่องตัดสินความเป็น พรหมตามท่ีว่ามาน้ี ความเข้าใจที่ว่าผู้หญิงท่ีไม่เคยสมสู่กับชาย 294 มงคล ๓๘ ประการ
เขาเรยี กวา่ หญงิ พรหมจาร ี กน็ า่ จะตอ้ งเพง่ ถงึ ความรสู้ กึ ทางเพศดว้ ย คือหญิงท่ีเป็นพรหมจารีนั้นย่อมมีเฉพาะเยาว์วัย คือยังไม่มีความ ร้สู ึกทางเพศเทา่ นั้น ดังน้นั การประพฤติพรหมจรรยน์ น้ั ในทางศาสนาฮินดูไดม้ ี มาก่อนแล้ว ซ่ึงมีจุดประสงค์อยู่ที่การขจัดความรู้สึกทางเพศ แต่ จุดหมายปลายทางของเขาอยู่ที่การท�ำเพื่อให้ตนบรรลุถึงพรหม โลกเทา่ นั้น ในทางพทุ ธศาสนา พทุ ธศาสนามหี ลกั การอยวู่ า่ การทค่ี นเราจะบรรลโุ ลกตุ ตรภมู ิ ได้ จะต้องปลีกตัวออกจากกามารมณ์ และได้วางวิธีการน้ีเอาไว้ แตไ่ ดข้ อยมื ค�ำพดู ของพราหมณท์ ว่ี า่ “พรหมจรรย”์ นน้ั มาเปน็ ชอ่ื ของวิธีการทางพุทธด้วย เพราะเป็นเร่ืองตัดกามารมณ์เหมือนกัน เว้นแต่วิธีและจุดหมายต่างกัน แต่จะอย่างไรก็ตาม พระพุทธเจ้า กม็ ไิ ดท้ รงปฏเิ สธพรหมจรรยแ์ บบของพราหมณ ์ ทเี่ ชอ่ื วา่ ประพฤติ พรหมจรรยแ์ ลว้ จะไดเ้ ปน็ พรหม ทรงรบั รองอยบู่ างสว่ น แตท่ รงเผย ว่าพรหมจรรย์อย่างน้ันไม่อาจบรรลุโลกุตตรภูมิได้ ซ่ึงตอนนี ้ พระพทุ ธองคไ์ ดท้ รงแสดงไว้ในสีหนาทสูตรวา่ หีเนน พฺรหฺมจริเยน ขตฺติเย อุปฺปชฺชติ มชฺฌิเมน จ เทวตฺต ํ อตุ ฺตเมน วสิ ุชฌฺ ติ แปลวา่ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 295
๓๒มงคลขอ้ ท่ี ประพฤติพรหมจรรย์ พรหมจรรยอ์ ย่างเลว คนจะไดเ้ กดิ เปน็ กษัตรยิ ์ พรหมจรรยอ์ ย่างกลาง คนจะไดเ้ กิดเป็นเทวดา พรหมจรรยอ์ ยา่ งสูง คนจะไดบ้ รรลโุ ลกตุ ตระ ดงั นนั้ ตามพระพทุ ธวจนะน ้ี แสดงวา่ พรหมจรรยม์ อี ย ู่ ๓ ชน้ั คืออย่างเลว อย่างกลาง และอย่างสูงสุด และให้ผลต่างกันตาม ขนาดของการบำ� เพ็ญ และทรงแสดงว่าพรหมจรรย์ของพราหมณ ์ ทที่ ำ� เพอื่ ความเปน็ พรหมนน้ั เปน็ พรหมจรรยอ์ ยา่ งกลาง แตก่ ม็ ไิ ด้ ทรงวจิ ารณว์ า่ วธิ ปี ระพฤตพิ รหมจรรยอ์ ยา่ งทเ่ี ขาทำ� กนั นน้ั ผดิ หรอื ถกู พรหมจรรยใ์ นพทุ ธศาสนา เร่ืองของการประพฤติพรหมจรรย์นั้น เรายังมีความเข้าใจ กนั ไขวเ้ ขวและผดิ พลาดกนั อย ู่ เพราะทกุ คนเขา้ ใจวา่ การประพฤต ิ พรหมจรรย์นั้น หมายถึงการบวชพระ ซึ่งเป็นความเข้าใจท่ีถูก เหมอื นกนั แตอ่ ยใู่ นวงแคบ และกท็ ำ� ใหฆ้ ราวาสบางคนคดิ วา่ ตนเอง ไมม่ โี อกาสประพฤตมิ งคลขอ้ นไี้ ด ้ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ผเู้ ปน็ สตรแี ลว้ ก็จะเป็นผู้อาภัพอับโชคเอาเสียจริงๆ โดยเข้าใจว่าถ้าจะประพฤติ พรหมจรรย์กันแล้ว ต้องโกนหัว โกนคิ้ว มีเพศแตกต่างจากชาว บา้ น นุ่งหม่ ผา้ เหลือง ดงั นนั้ ขอใหท้ า่ นพจิ ารณาพระบาลซี ง่ึ ในมงคลทปี นไี ดแ้ สดง ไว ้ โดยอธิบายเรื่องของมงคลนี้โดยตรง ท่านอธบิ ายวา่ 296 มงคล ๓๘ ประการ
“พฺรหฺมจริยํ นาม ทาน เวยฺยาวจฺจ ปญฺจสีล อปฺปมญฺญา เมถุน วิรติ สทาร สนฺโตส วิริย อุโบสถงฺค อริยมคฺ คสาสนวเสน ทสวธิ ํ โหติ” แปลวา่ “ธรรมชาตอิ นั ไดช้ อ่ื วา่ พรหมจรรยน์ นั้ มปี ระเภท ๑๐ ประการ คือ ทาน ๑ เวยยาวัจจะ ๑ เบญจศีล ๑ เมตตา อัปปมัญญา ๑ เมถุนวิรัต ๑ สทารสันโดษ ๑ วิริยะ ๑ อุโบสถ ๑ อริยมรรค ๑ ศาสนา ๑” หมายความว่า ข้อปฏิบัติ ๑๐ ข้อน้ี แต่ละข้อเรียกว่าพรหม- จรรย ์ พรหมจรรยท์ ง้ั สบิ น ี้ ถา้ แบง่ เปน็ ชนั้ กไ็ ด ้ ๓ ชน้ั คอื ต่�ำ-กลาง และสงู ขอใหผ้ อู้ า่ นไดส้ งั เกต เรอื่ งของการประพฤตพิ รหมจรรยต์ าม แนวทางทท่ี า่ นไดอ้ ธบิ ายเอาไวก้ จ็ ะไดเ้ หน็ ถงึ ความมงุ่ หมายของการ ประพฤติพรหมจรรย์ในมงคลขอ้ นีไ้ ดอ้ ย่างชดั เจน ในขอ้ ท ี่ ๑ ไดส้ อนใหส้ ละความเหน็ แกต่ วั ความตระหน ่ี และ ความโลภอันเป็นข้าศึกของการประพฤติพรหมจรรย์ โดยการให ้ ทาน มกี ารใหข้ า้ ว น�้ำ เสอื้ ผา้ เครอ่ื งนงุ่ หม่ ทอ่ี ยอู่ าศยั ตลอดจนยา รกั ษาโรค แกค่ นยากคนจนทวั่ ไป แมท้ สี่ ดุ กระทง่ั สตั วด์ ริ จั ฉาน เปน็ องคข์ องการประพฤตพิ รหมจรรย์ขอ้ ๑ ในขอ้ ๒ การชว่ ยเหลอื ชว่ ยขวนขวายในกจิ การทเี่ ปน็ การกศุ ล ทัว่ ไป ดว้ ยจติ ท่ชี น่ื ชมโสมนัส คอื ให้สละแรงกายชว่ ยดว้ ย ข้อ ๓ สอนให้รักษาศีล ๕ คือเว้นจากการฆ่าสัตว์ เว้นจาก การลกั ทรพั ย ์ เวน้ จากการประพฤตผิ ดิ ในสามภี รรยาผอู้ น่ื เวน้ จาก สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 297
๓๒มงคลข้อที่ ประพฤติพรหมจรรย์ การพดู เทจ็ และเวน้ จากการดม่ื สรุ าเมรยั อนั เปน็ เครอ่ื งยงั ใหต้ นเอง ปราศจากสติ เป็นที่ต้ังแห่งความประมาท นี่เป็นการประพฤต ิ พรหมจรรยข์ อ้ สาม ในข้อที่ ๔ นอกจากเราจะเว้นจากการกระท�ำความช่ัวทาง กายและวาจาแลว้ ในขอ้ ท ี่ ๔ นนั้ ไดแ้ สดงถงึ การแผพ่ รหมวหิ าร ๔ คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา แก่บรรดาสรรพสัตว์ทั่วกัน โดยไมม่ ปี ระมาณ ซงึ่ เรยี กวา่ ‘อปั ปมญั ญา’ อปั ปมญั ญาน ี้ เปน็ การ ประพฤติพรหมจรรย์ท่ีต่างกับ ‘พรหมวิหาร’ พรหมวิหารนั้น เป็นการแผ่ความเมตตาเฉพาะผู้ที่รักใคร่ชอบพอเท่าน้ัน ส่วน อัปปมญั ญานนั้ แผ่ไปทั่ว แม้กระทง่ั ศตั รขู องเราเอง ในขอ้ ท ่ี ๕ เวน้ จากการเสพเมถนุ (คอื การรว่ มเพศ) แมผ้ นู้ น้ั จะเป็นสามีภรรยาของเราเอง ในข้อท่ี ๖ มีความยินดี หรือความพอใจเฉพาะสามีภรรยา ของเราเทา่ นน้ั นเี่ ปน็ อกี ขอ้ หนงึ่ ของการประพฤตพิ รหมจรรย ์ เรยี กวา่ ‘สทารสันโดษ’ ในขอ้ ท ่ี ๗ การมคี วามเพยี รอยา่ งแรงกลา้ ไมม่ คี วามทอ้ ถอย ต่อการท�ำกุศลต่างๆ แม้ว่าส่ิงนั้นจะยากล�ำบาก ก็สามารถท�ำจน ลุลว่ งไปได้ ข้อที่ ๘ เป็นการรักษาศีลอุโบสถ เป็นการเว้นจากสิ่งที่เป็น ขา้ ศกึ ของกศุ ล ซงึ่ มกี ารเวน้ อยา่ งเดยี วกนั กบั ศลี ๕ แตแ่ ตกตา่ งกนั ในข้อที่ ๓ และเพ่ิมมาอีกสามข้อ ในข้อที่สามของศีล ๕ เป็นการ เวน้ จากเสพเมถนุ กบั สามภี รรยาผอู้ นื่ แตใ่ นศลี อโุ บสถแมแ้ ตว่ า่ จะ เป็นสามีภรรยาเราเองก็ไม่ได้ เป็นการถือท่ีอุกฤษฏ์ย่ิงกว่าศีล ๕ 298 มงคล ๓๘ ประการ
และนอกจากน้ันก็มีการเว้นจากการกินอาหารในเวลาวิกาล คือ ตงั้ แตเ่ ทยี่ งวนั ลว่ งไปแลว้ เปน็ การตดั ปลโิ พธกงั วลเรอื่ งการกนิ เวน้ จากการประดบั ตน แตง่ ดว้ ยเครอื่ งหอมลบู ไลท้ าตวั เวน้ จากการดู การละเลน่ ตา่ งๆ ซงึ่ อาจจะกอ่ ใหเ้ กดิ ความกำ� หนดั ยนิ ด ี เชน่ ดภู าพ- ยนตร ์ ดลู ะคร ฯลฯ เวน้ จากการนอนบนทน่ี อนอนั ออ่ นนมุ่ ทน่ี อน สงู ใหญ ่ เพราะอาจเปน็ ชอ่ งทางของความก�ำหนดั ยนิ ดเี กดิ ขน้ึ การ รกั ษาศลี อโุ บสถกม็ ปี ระจำ� ในวนั ขนึ้ ๘ คำ่� ๑๕ คำ�่ แรม ๘ คำ่� ๑๕ คำ่� ในข้อที่ ๙ การท่ีเจริญสมถกัมมัฏฐาน วิปัสสนากัมมัฏฐาน ตามอริยมรรคมีองค์ ๘ มีปัญญาเห็นแจ้งในอริยสัจจ ๔ คือ ทุกข์ นโิ รธ สมุทัย มรรค (ซ่ึงจะได้กลา่ วพสิ ดารในมงคลต่อไป) ในขอ้ ๑๐ เปน็ การประพฤตพิ รหมจรรยร์ วบยอด คอื ประพฤติ โดยบรบิ รู ณท์ ัง้ ศลี สมาธิ และปญั ญา ซึง่ เรียกวา่ ศาสนธรรม พอได้เห็นค�ำอธิบายเหล่านี้แล้ว ท่านก็คงจะมองเห็นแล้วว่า การประพฤตพิ รหมจรรยน์ นั้ ไมไ่ ดม้ ขี อบเขตจ�ำกดั เฉพาะบรรพชติ เทา่ นน้ั แมฆ้ ราวาสกส็ ามารถทจ่ี ะท�ำได ้ ดงั นน้ั ความนอ้ ยเนอื้ ต่�ำใจ ท่ีวา่ ไม่มีโอกาสประพฤตพิ รหมจรรย ์ กเ็ ป็นอนั วา่ หมดสิน้ ไป การประพฤตพิ รหมจรรยท์ ง้ั ๑๐ ขอ้ น ี้ แมว้ า่ เราจะรกั ษาขอ้ ใด ขอ้ หนึ่งกเ็ ป็นมงคลแกต่ นเอง และเปน็ ทางแห่งความสุขในท่สี ดุ สิ ริ คุ ตฺ โ ต ภิ กฺ ขุ 299
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338