Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ม.1 ภาคเรียนที่ 2

แผนการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ม.1 ภาคเรียนที่ 2

Published by Tanapat Issarangkul Na Ayutthaya, 2021-05-04 01:37:23

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ม.1 ภาคเรียนที่ 2

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 91 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูตรวจแบบฝึกหดั วิทยาศาสตรใ์ นแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 2. ครูประเมินการออกแบบการทดลอง เร่ือง สมดุลความร้อน โดยใช้แบบประเมินการออกแบบการ ปฏบิ ัตกิ าร 3. ครูประเมนิ นักเรยี นจากการทำใบงาน โดยใช้แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายกล่มุ 4. ครูประเมินนักเรียนจากการสืบค้นข้อมูล และการตอบคำถามในชั้นเรียน โดยใช้แบบสังเกต พฤติกรรมการทำงานรายบุคคล 7. การวดั และประเมนิ ผล รายการวดั วธิ ีวัด เคร่อื งมือ เกณฑ์การประเมิน 7.1 การประเมินระหว่าง การจดั กจิ กรรม 1) สมดุลความร้อน - ตรวจแบบฝกึ หัด - แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ม.1 เลม่ 2 2) การออกแบบการ - ประเมินการออกแบบ - แบบประเมินการ ระดับคุณภาพ 2 ปฏิบตั ิการ การปฏบิ ัติการ ออกแบบการปฏบิ ัติการ ผ่านเกณฑ์ 3) พฤตกิ รรมการ - สังเกตพฤตกิ รรม ทำงานรายบคุ คล การทำงานรายบุคคล - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดับคุณภาพ 2 4) พฤติกรรมการ - สังเกตพฤติกรรม การทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ ทำงานรายกลมุ่ การทำงานรายกลุ่ม - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดบั คณุ ภาพ 2 5) คุณลักษณะ - สังเกตความมวี ินยั อนั พึงประสงค์ ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งมน่ั การทำงานรายกลุ่ม ผา่ นเกณฑ์ ในการทำงาน - แบบประเมินคณุ ลกั ษณะ ระดับคณุ ภาพ 2 อนั พึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ 8. สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 2) แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 3) PowerPoint เรอื่ ง สมดุลความร้อน 4) อุปกรณ์การทดลอง 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องเรยี น 2) ห้องปฏบิ ัติการ โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 92 9. การบรู ณาการตามจุดเนน้ ของโรงเรยี น : ความหลากหลายทางชวี ภาพ หลักปรัชญา ครู ผู้เรยี น ของเศรษฐกจิ พอเพียง 1. ความพอประมาณ พอดีด้านเทคโนโลยี พอดีด้านจิตใจ 2. ความมีเหตุผล รจู้ กั ใช้เทคโนโลยีมาผลิตส่ือท่ี มจี ติ สำนกึ ท่ีดี จติ สาธารณะรว่ ม 3. มภี ูมิคมุ กันในตัวทด่ี ี เหมาะสมและสอดคลอ้ งเนื้อหาเป็น อนุรกั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและ 4. เงอ่ื นไขความรู้ ประโยชน์ต่อผู้เรยี นและพัฒนาจากภมู ิ สิง่ แวดลอ้ ม ปญั ญาของผ้เู รียน - ยึดถอื การประกอบอาชพี ด้วยความ ไมห่ ยุดนง่ิ ที่หาหนทางในชวี ติ หลุดพน้ ถูกตอ้ ง สุจริต จากความทกุ ข์ยาก (การคน้ หาคำตอบ เพ่อื ให้หลุดพ้นจากความไม่ร)ู้ ภูมิปญั ญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ ภูมปิ ัญญา : มคี วามรู้ รอบคอบ ระมัดระวงั รับผิดชอบ ระมดั ระวงั สร้างสรรค์ ความรอบรู้ เร่ือง สมดุลความร้อน ความรอบรู้ เรือ่ ง สมดุลความรอ้ น ท่เี ก่ยี วข้องรอบด้าน นำความรมู้ า สามารถนำความรู้เหลา่ น้นั มาพิจารณา เชือ่ มโยงประกอบการวางแผน การ ให้เกดิ ความเช่อื มโยง สามารถ ดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนร้ใู ห้กับ ประยุกต์ ผู้เรียน ใช้ในชีวติ ประจำวันได้ 5. เง่ือนไขคณุ ธรรม มคี วามตระหนกั ใน คณุ ธรรม มี มีความตระหนกั ใน คุณธรรม มคี วาม ความซื่อสตั ยส์ ุจริตและมคี วามอดทน ซื่อสตั ยส์ ุจริตและมีความอดทน มี มคี วามเพยี ร ใช้สตปิ ัญญาในการ ความเพียร ใช้สตปิ ญั ญาในการดำเนิน ดำเนินชวี ติ ชวี ติ สวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น ครู ผูเ้ รียน ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สำรวจความหลากหลายทางชวี ภาพ ในโรงเรียน (ตามจดุ ที่ไดร้ บั มอบหมาย) - ความหลากหลายทางชวี ภาพ - สำรวจความหลากหลายทาง ผู้เรยี น ชีวภาพในโรงเรยี น (กำหนดจุดให้ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สืบค้นข้อมูลการอนรุ กั ษค์ วาม ผู้เรยี นสำรวจ) หลากหลายทางชีวภาพ (ตามหวั ข้อที่ ได้มอบหมาย) สิ่งแวดลอ้ ม ครู ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - การอนรุ กั ษ์ความหลากหลาย - การอนรุ กั ษค์ วามหลากหลายทาง ทางชีวภาพ ชีวภาพ (กำหนดหวั ข้อใหผ้ เู้ รียน สืบคน้ ) โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 93 10. ความเหน็ /ข้อเสนอแนะ ของผู้บรหิ ารสถานศึกษาหรือผทู้ ีไ่ ด้รับมอบหมาย 10.1 หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชือ่ …………………………………………. (นางสาวณัฐธนญั า บญุ ถึง) ………./……………./…………. 10.2 รองผอู้ ำนวยการฝา่ ยบริหารวิชาการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื …………………………………………. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ………./……………./…………. 10.3 ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่อื …………………………………………. (นางวลิ าวลั ย์ ปาลี) ………./……………./…………. โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 94 11. บันทกึ ผลหลงั การสอน  ด้านความรู้  ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน  ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์  ด้านความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์  ด้านอืน่ ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรอื พฤตกิ รรมท่ีมีปัญหาของนกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล (ถา้ มี))  ปญั หา/อุปสรรค  แนวทางการแกไ้ ข ลงชอื่ .........................................................ผู้สอน (นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา) ตำแหน่ง ครผู ูช้ ว่ ย โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 1 95 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 5 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 2/2562 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วิทยาศาสตร์ (ว21102) หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 พลังงานความรอ้ น เรอ่ื ง การนำความร้อน จำนวนเวลาท่ีสอน 4 ช่วั โมง ผู้สอน นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา 1. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (ความเข้าใจที่คงทน) สารท่ีมีอุณหภูมิแตกต่างกัน จะมีการถ่ายโอนความร้อนระหว่างกัน การถ่ายโอนความร้อนมี 3 แบบ คือ การนำความร้อน การพาความร้อน และการแผ่รังสีความร้อน ซ่ึงการนำความร้อนเป็นการถ่ายโอน ความร้อนที่อาศัยตัวกลาง โดยตัวกลางไม่เคล่ือนที่ การพาความร้อนเป็นการถ่ายโอนความร้อนที่อาศัย ตวั กลาง โดยตัวกลางมีการเคลือ่ นท่ี ส่วนการแผร่ ังสีความร้อนเปน็ การถา่ ยโอนความรอ้ นทไ่ี ม่อาศัยตัวกลาง 2. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชวี้ ัดชั้นปี/ผลการเรียนรู้/เป้าหมายการเรยี นรู้ 2.1 ตัวช้วี ดั ว 3.2 ม.1/6 สรา้ งแบบจำลองทีอ่ ธบิ ายการถ่ายโอนความรอ้ นโดยการนำความร้อน การพาความร้อน การแผร่ งั สีความร้อน 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ (Knowledge) 1) อธบิ ายการนำความร้อนได้ 3.2 ด้านทักษะและกระบวนการ (Skill/Process) 2) สรา้ งแบบจำลองการนำความร้อนได้ 3.3 ด้านเจตคติ (Attitude) 3) รบั ผดิ ชอบต่อหนา้ ท่ีและงานที่ไดร้ ับมอบหมาย 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 เนอ้ื หาสาระหลัก : Knowledge (ผ้เู รยี นตอ้ งรูอ้ ะไร) 1) การถ่ายโอนความรอ้ นมี 3 แบบ คือ การนำความร้อน การพาความรอ้ น และการแผร่ ังสี ความร้อน 2) การนำความรอ้ นเป็นการถา่ ยโอนความรอ้ นทอี่ าศัยตัวกลาง โดยทีต่ ัวกลางไม่เคลือ่ นที่ การพาความรอ้ นเป็นการถา่ ยโอนความรอ้ นท่ีอาศัยตวั กลาง โดยทีต่ วั กลางเคล่อื นทไ่ี ปด้วย สว่ นการแผ่รังสี ความร้อนเป็นการถ่ายโอนความร้อนทไ่ี ม่ต้องอาศยั ตวั กลาง 4.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process (ผเู้ รยี นสามารถปฏบิ ัตอิ ะไรได้) 1) ความสามารถในการสอื่ สาร 2) ความสามารถในการคิด 2.1) ทักษะการวิเคราะห์ โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1 96 2.2) ทักษะการสรุปลงความเห็น 3) ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ 4.3 คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ : Attitude (ผูเ้ รยี นควรแสดงพฤติกรรมการเรียนอะไรบ้าง) 1) มวี ินัย 2) ใฝ่เรียนรู้ 3) มงุ่ มนั่ ในการทำงาน 5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี นและคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 1. มวี ินัย 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝเ่ รียนรู้ 1) ทักษะการวิเคราะห์ 3. ม่งุ มน่ั ในการทำงาน 2) ทักษะการสรปุ ลงความเห็น 3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ 6. กิจกรรมการเรียนรู้  วธิ สี อนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชวั่ โมงท่ี 1 ขน้ั นำ กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูถามคำถาม prior knowledge กระตุ้นความคิดของนกั เรียนวา่ วัตถสุ ามารถถา่ ยโอนความรอ้ น ให้แกก่ ันได้อยา่ งไร (แนวตอบ วตั ถุสามารถถ่ายโอนความร้อนให้แกก่ ันโดยการถา่ ยโอนความรอ้ นผ่านตัวกลาง ซึง่ ตวั กลางอาจเคล่อื นท่หี รือไมเ่ คลอื่ นท่ี หรอื อาจถ่ายโอนความรอ้ นโดยไมอ่ าศัยตัวกลางโดยการแผ่รงั สี ความร้อน) 2. ครูสนทนา และถามคำถามนักเรยี นเกีย่ วกับการถา่ ยโอนความรอ้ น ดังน้ี - เพราะเหตุใดเราจึงรู้สกึ รอ้ นขณะทีถ่ ูกแสงแดดจากดวงอาทิตย์ (แนวตอบ ดวงอาทติ ย์แผ่รงั สีความรอ้ นมายังโลก ทำให้คนบนโลกไดร้ ับพลังงานความร้อน) - เพราะเหตใุ ดทัพพีตักอาหาร ทำจากวสั ดุตา่ งชนิดกนั เช่น พลาสตกิ ไม้ เป็นตน้ ทำใหข้ ณะทีต่ กั อาหาร ร้สู กึ วา่ ทัพพรี ้อนไมเ่ ท่ากนั (แนวตอบ ทพั พตี ักอาหารบรเิ วณชอ้ นตักทำด้วยโลหะมสี มบัตนิ ำความรอ้ นได้ สว่ นดา้ มจับถกู ออกแบบมาให้ใชว้ ัสดทุ ี่มสี มบัติเปน็ ฉนวนกนั ความร้อน เช่น พลาสติก ไม้ เปน็ ตน้ ) - เพราะเหตุใดเวลาเปดิ ฝาหม้อนำ้ ทกี่ ำลังเดอื ด เราจงึ รสู้ ึกรอ้ น โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 97 (แนวตอบ ไอนำ้ เดือดทรี่ ะเหยจากหม้อ เกิดการพาความร้อนทำให้เราได้รับพลงั งานความรอ้ น) 3. นกั เรยี นชว่ ยกันอภปิ รายและแสดงความคดิ เหน็ เพ่ือเช่ือมโยงไปสกู่ ารเรยี นรู้ จากน้นั ครูจึงสรปุ เหตุการณท์ ั้ง 3 ตวั อย่างว่า เปน็ เหตุการณ์ท่เี กิดขึ้นเนือ่ งจากสารมกี ารถา่ ยโอนความรอ้ น ขน้ั สอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครูให้นักเรียนศึกษาประเภทของการถ่ายโอนความร้อนจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 หนา้ 16-17 2. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ออกเป็นกลุ่มละ 3-4 คน และแบ่งหน้าท่ีเพ่ือทำกิจกรรม เร่ือง การสร้าง แบบจำลองการถา่ ยโอนความร้อน ในหนังสอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 หนา้ ท่ี 18 3. ครูใหน้ ักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรม และตอบคำถามทา้ ยกิจกรรมลงในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูใหน้ ักเรียนแตล่ ะกล่มุ นำเสนอผลงาน ด้วยการสง่ ตวั แทนกล่มุ ละ 2-3 คน นำเสนอผลการทำ กิจกรรม เรอ่ื ง การสร้างแบบจำลองการถ่ายโอนความรอ้ น 2. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันอภปิ รายผลท่ไี ดจ้ ากการทำกจิ กรรม 3. ครูใหแ้ ต่ละกลุม่ เสนอคำตอบท้ายกิจกรรม และครูเฉลยคำตอบ ดังน้ี - การถ่ายโอนความร้อนแต่ละประเภทมลี กั ษณะอย่างไร (แนวตอบ การนำความรอ้ น เปน็ การถา่ ยโอนความร้อนผ่านตัวกลางท่ีไมเ่ คล่อื นที่ การพาความรอ้ น เปน็ การถา่ ยโอนความรอ้ นผา่ นตวั กลางทเี่ คลือ่ นที่ การแผ่รงั สีความร้อน เปน็ การถา่ ยโอนความร้อนโดยไม่อาศัยตวั กลาง) - การถ่ายโอนความร้อนแต่ละประเภทมตี วั กลางสถานะใดท่ีสามารถถา่ ยโอนความร้อนไดด้ ที ่ีสุด (แนวตอบ การนำความร้อน ตัวกลางที่เปน็ ของแขง็ จะสามารถนำความร้อนไดด้ ที ่ีสุด การพาความรอ้ น ตัวกลางทีเ่ ปน็ แกส๊ จะสามารถพาความร้อนไดด้ ีท่สี ุด) - ประเมนิ แบบจำลองของกลุ่มอน่ื วา่ แสดงถงึ เนอ้ื หาทถ่ี ูกต้องและครบถว้ นหรอื ไม่ อยา่ งไร (แนวตอบ คำตอบขึ้นอยกู่ ับแบบจำลองของนักเรยี น และดลุ ยพินจิ ของนกั เรียนและครู) ชว่ั โมงที่ 2 ขน้ั สอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็นกลุ่มละเท่า ๆ กัน ให้แต่ละกลุ่มวางแผนและแบ่งหน้าที่ค้นคว้า ความรู้ เรื่อง การนำความร้อน จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 หน้า 19 และแหล่งการ เรียนรู้ทางอินเทอรเ์ นต็ หรือเอกสารตา่ ง ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง 2. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มระดมความคดิ แล้วสรปุ ข้อมูลเป็นความรูข้ องกลมุ่ โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 98 อธิบายความรู้ (Explain) 1. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มผลัดกนั เล่าเร่อื งทีต่ นได้ศึกษามาให้สมาชกิ ในกลมุ่ ฟัง 2. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มส่งตัวแทนออกมานำเสนอผลการสบื ค้นขอ้ มลู หน้าชนั้ เรยี น 3. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั อภิปรายผลจากการปฏบิ ัติกจิ กรรม โดยใชแ้ นวคำถาม เช่น - นกั เรียนจะรูส้ กึ รอ้ น เมือ่ จับแกว้ น้ำร้อน เพราะสาเหตุใด (แนวตอบ เน่อื งจากน้ำร้อนมกี ารถา่ ยโอนพลังงานความร้อนจากน้ำผา่ นตวั กลาง หรอื ภาชนะที่ บรรจุ (แก้วนำ้ ) มายงั มอื ของเรา) - การถา่ ยโอนความรอ้ นผ่านตวั กลาง มหี ลักการอย่างไร (แนวตอบ อาศยั หลักการส่ันของอะตอม หรือโมเลกุลเมอื่ ไดร้ บั ความรอ้ น ทำให้อะตอม หรอื โมเลกลุ ทอี่ ยู่ข้างเคยี งเกิดการสนั่ ดว้ ย ซ่งึ การส่นั จะเกิดขน้ึ ต่อเนื่องจนไปอะตอมหรอื โมเลกุลท่ี อยู่ตดิ กับตัวกลางน้ัน) - ความสามารถในการนำความรอ้ นของสารแต่ละชนิดเหมอื นกนั หรอื ไม่ อยา่ งไร (แนวตอบ ต่างกัน ข้นึ อยกู่ ับสารแต่ละชนิด เรยี กว่า สภาพการนำความร้อน โดยของแข็งมกั นำ้ ความรอ้ นได้ดีกวา่ ของเหลว และของเหลวนำความร้อนได้ดกี วา่ แก๊ส) 4. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั สรุปผลจากการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม ช่ัวโมงที่ 3 ขน้ั สอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครใู หน้ กั เรยี นแบง่ กลุ่ม ออกเปน็ กลุ่มละ 3-4 คน และแบง่ หนา้ ท่ีเพื่อทำกิจกรรม เร่อื ง การนำความ รอ้ น ในหนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 หน้า 20 2. ครูให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่มทำกิจกรรม แลว้ บนั ทึกผลและตอบคำถามทา้ ยกจิ กรรมลงในแบบฝกึ หัด วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูให้นกั เรียนแต่ละกล่มุ นำเสนอผลงาน ด้วยการสง่ ตัวแทนกลุม่ ละ 2-3 คน นำเสนอผลการทำ กจิ กรรม เรือ่ ง การนำความรอ้ น 2. ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั อภิปรายผลทีไ่ ด้จากการทำกจิ กรรม 3. ครใู ห้แต่ละกลุ่มเสนอคำตอบท้ายกิจกรรม และครูเฉลยคำตอบ ดังน้ี - เมอ่ื สังเกตดนิ น้ำมันบนแทง่ วัสดุแทง่ เดยี วกนั ดินน้ำมนั บริเวณกลางแทง่ หรอื ปลายแทง่ ท่รี ่วงกอ่ น กนั เพราะเหตใุ ด (แนวตอบ ดนิ นำ้ มันบริเวณกลางแทง่ เพราะเป็นบรเิ วณท่ีใกล้กบั แหล่งความรอ้ นมากกวา่ ) - เมือ่ สงั เกตดนิ นำ้ มันบริเวณกลางแท่งวัสดุทง้ั 5 แท่ง ดินนำ้ มันทตี่ ดิ กับวสั ดุใดท่รี ่วงกอ่ น และดิน นำ้ มนั ท่ีตดิ กับวัสดุใดท่ไี ม่ร่วง (แนวตอบ ดนิ นำ้ มันทต่ี ดิ กบั ทองแดงจะร่วงก่อนดนิ นำ้ มันที่ตดิ กบั วสั ดุอ่ืน ส่วนดินนำ้ มนั ทต่ี ิดกับ ไมแ้ ละแก้วจะไมร่ ว่ ง) โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 99 ชว่ั โมงท่ี 4 ขั้นสรุป ขยายความรู้ (Expand) 1. ครูยกตวั อยา่ งวสั ดทุ ส่ี ามารถนำความรอ้ นได้ และฉนวนความร้อน โดยอธบิ ายให้นกั เรียนเหน็ ภาพวา่ กระทะทใ่ี ชป้ ระกอบอาหารทำใหอ้ าหารสุก แตท่ ำไมมอื เราจงึ ไม่สกุ ไปด้วย เน่อื งจากตัวกระทะทำ จากโลหะ เชน่ เหล็ก อะลูมเิ นยี ม เป็นต้น แต่ดา้ มจบั กระทะมักนิยมทำมาจากวสั ดุทเ่ี ป็นฉนวนกนั ความรอ้ น คอื วสั ดุทไ่ี ม่นำความร้อน เช่น พลาสติก ยาง ไม้ เป็นต้น 2. ครใู ห้นกั เรยี นทำแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูตรวจแบบฝกึ หดั ในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 2. ครูประเมินการปฏิบตั กิ ารจากการทำกิจกรรม เร่อื ง การสร้างแบบจำลองการถ่ายโอนความร้อน และจากกิจกรรม เร่ือง การนำความรอ้ น โดยใชแ้ บบประเมนิ การปฏิบตั ิการ 3. ครปู ระเมนิ นักเรียนจากการทำงานกลุ่ม โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายกลุม่ 4. ครูประเมนิ นกั เรยี นจากการสืบค้นข้อมูล และการตอบคำถามในช้นั เรยี น โดยใชแ้ บบสังเกต พฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล 7. การวัดและประเมินผล วธิ วี ดั เครือ่ งมือ เกณฑ์การประเมิน รายการวัด - ตรวจแบบฝกึ หัด - แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 7.1 การประเมนิ ระหวา่ ง การจัดกจิ กรรม ม.1 เล่ม 2 ระดบั คณุ ภาพ 2 1) การนำความรอ้ น ผ่านเกณฑ์ - ประเมินการปฏิบตั กิ าร - แบบประเมนิ ระดับคณุ ภาพ 2 2) การปฏบิ ัติการ ผ่านเกณฑ์ การปฏิบตั กิ าร ระดบั คณุ ภาพ 2 3) พฤตกิ รรมการทำงาน ผา่ นเกณฑ์ รายบุคคล - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ 4) พฤติกรรมการทำงาน การทำงานรายบคุ คล การทำงานรายบคุ คล รายกลุ่ม - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม 5) คุณลกั ษณะ อนั พงึ ประสงค์ การทำงานกลุ่ม การทำงานกลมุ่ - สงั เกตความมวี นิ ัย - แบบประเมิน ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งม่ัน คุณลกั ษณะอนั ในการทำงาน พงึ ประสงค์ โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 100 8. สอื่ /แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 สือ่ การเรยี นรู้ 1) หนงั สอื เรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 2) แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 3) PowerPoint เร่ือง การนำความร้อน 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) หอ้ งสมดุ 2) แหล่งขอ้ มลู สารสนเทศ - http://www.aksorn.com/LC/Sci/B2/M1/09 9. การบูรณาการตามจุดเน้นของโรงเรยี น : ความหลากหลายทางชวี ภาพ หลกั ปรัชญา ครู ผู้เรยี น ของเศรษฐกิจพอเพียง 1. ความพอประมาณ พอดีดา้ นเทคโนโลยี พอดีด้านจติ ใจ 2. ความมีเหตุผล รจู้ กั ใชเ้ ทคโนโลยมี าผลิตสอ่ื ท่ี มีจิตสำนึกที่ดี จิตสาธารณะรว่ ม 3. มภี ูมคิ ุมกันในตวั ทดี่ ี เหมาะสมและสอดคลอ้ งเน้ือหาเป็น อนรุ กั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและ 4. เง่อื นไขความรู้ ประโยชน์ต่อผเู้ รียนและพฒั นาจากภูมิ ส่งิ แวดลอ้ ม ปัญญาของผู้เรียน - ยดึ ถือการประกอบอาชพี ด้วยความ ไมห่ ยุดนิ่งท่ีหาหนทางในชีวติ หลุดพน้ ถูกต้อง สจุ ริต จากความทกุ ขย์ าก (การคน้ หาคำตอบ เพ่ือใหห้ ลุดพน้ จากความไมร่ ้)ู ภมู ิปัญญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ ภูมปิ ัญญา : มคี วามรู้ รอบคอบ ระมดั ระวงั รบั ผิดชอบ ระมัดระวงั สรา้ งสรรค์ ความรอบรู้ เร่ือง การนำความร้อน ความรอบรู้ เร่ือง การนำความ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งรอบด้าน นำความรู้มา ร้อน สามารถนำความรเู้ หลา่ น้ันมา เช่อื มโยงประกอบการวางแผน การ พจิ ารณาให้เกดิ ความเชอื่ มโยง ดำเนนิ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ใหก้ บั สามารถประยุกต์ ผเู้ รียน ใช้ในชีวติ ประจำวนั ได้ 5. เง่อื นไขคุณธรรม มคี วามตระหนกั ใน คณุ ธรรม มี มคี วามตระหนักใน คุณธรรม มีความ ความซ่ือสตั ย์สุจรติ และมคี วามอดทน ซ่อื สัตยส์ จุ ริตและมคี วามอดทน มี มคี วามเพยี ร ใช้สตปิ ญั ญาในการ ความเพยี ร ใช้สตปิ ญั ญาในการดำเนนิ ดำเนนิ ชีวิต ชีวติ โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 101 สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ครู ผ้เู รียน ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สำรวจความหลากหลายทางชีวภาพ ในโรงเรยี น (ตามจุดทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย) - ความหลากหลายทางชีวภาพ - สำรวจความหลากหลายทาง ผู้เรยี น ชีวภาพในโรงเรียน (กำหนดจดุ ให้ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สืบค้นขอ้ มลู การอนุรกั ษ์ความ ผู้เรียนสำรวจ) หลากหลายทางชวี ภาพ (ตามหัวขอ้ ที่ ไดม้ อบหมาย) ส่งิ แวดลอ้ ม ครู ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - การอนุรกั ษค์ วามหลากหลาย - การอนุรักษ์ความหลากหลายทาง ทางชีวภาพ ชีวภาพ (กำหนดหัวข้อใหผ้ ู้เรยี น สบื คน้ ) โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 102 10. ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารสถานศกึ ษาหรือผู้ท่ไี ดร้ บั มอบหมาย 10.1 หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ…………………………………………. (นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถึง) ………./……………./…………. 10.2 รองผู้อำนวยการฝา่ ยบรหิ ารวชิ าการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชือ่ …………………………………………. (นายวิเศษ ฟองตา) ………./……………./…………. 10.3 ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นางวลิ าวลั ย์ ปาลี) ………./……………./…………. โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 103 11. บันทึกผลหลงั การสอน  ดา้ นความรู้  ด้านสมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน  ด้านคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์  ดา้ นความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์  ด้านอ่ืน ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรือพฤติกรรมทม่ี ปี ญั หาของนักเรียนเป็นรายบคุ คล (ถา้ ม)ี )  ปัญหา/อปุ สรรค  แนวทางการแกไ้ ข ลงชือ่ .........................................................ผู้สอน (นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา) ตำแหน่ง ครผู ู้ช่วย โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 104 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 6 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2/2562 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา วิทยาศาสตร์ (ว21102) หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 พลงั งานความร้อน เรือ่ ง การพาความรอ้ น จำนวนเวลาทส่ี อน 2 ช่ัวโมง ผสู้ อน นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา 1. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด (ความเข้าใจท่ีคงทน) สารท่ีมีอุณหภูมิแตกตา่ งกัน จะมีการถ่ายโอนความรอ้ นระหว่างกัน การถ่ายโอนความร้อนมี 3 แบบ คือ การนำความร้อน การพาความร้อน และการแผ่รังสีความร้อน ซ่ึงการนำความร้อนเป็นการถ่ายโอน ความร้อนท่ีอาศัยตัวกลาง โดยตัวกลางไม่เคล่ือนที่ การพาความร้อนเป็นการถ่ายโอนความร้อนที่อาศัย ตวั กลาง โดยตวั กลางมกี ารเคล่ือนที่ ส่วนการแผร่ ังสีความรอ้ นเป็นการถา่ ยโอนความรอ้ นทไ่ี ม่อาศัยตวั กลาง 2. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ชี้วดั ช้นั ปี/ผลการเรียนรู้/เปา้ หมายการเรยี นรู้ 2.1 ตวั ชวี้ ดั ว 3.2 ม.1/6 สร้างแบบจำลองท่ีอธิบายการถา่ ยโอนความรอ้ นโดยการนำความร้อน การพาความรอ้ น การแผ่รงั สีความร้อน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ (Knowledge) 1) อธิบายการพาความร้อนได้ 3.2 ด้านทักษะและกระบวนการ (Skill/Process) 2) สรา้ งแบบจำลองการพาความรอ้ นได้ 3.3 ด้านเจตคติ (Attitude) 3) รบั ผิดชอบต่อหน้าทแ่ี ละงานท่ีไดร้ บั มอบหมาย 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 เน้ือหาสาระหลัก : Knowledge (ผเู้ รยี นตอ้ งรอู้ ะไร) 1) การถา่ ยโอนความร้อนมี 3 แบบ คอื การนำความร้อน การพาความรอ้ น และการแผ่รงั สี ความร้อน 2) การนำความร้อนเป็นการถา่ ยโอนความร้อนที่อาศยั ตัวกลาง โดยที่ตัวกลางไมเ่ คลอ่ื นท่ี 3) การพาความร้อนเป็นการถา่ ยโอนความรอ้ นท่อี าศยั ตัวกลาง โดยทต่ี ัวกลางเคลอื่ นทไ่ี ปดว้ ย 4) การแผร่ ังสีความรอ้ นเปน็ การถ่ายโอนความร้อนที่ไม่ต้องอาศยั ตัวกลาง 4.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process (ผเู้ รยี นสามารถปฏิบัตอิ ะไรได้) 1) ความสามารถในการส่อื สาร 2) ความสามารถในการคิด 2.1) ทักษะการวิเคราะห์ โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 105 2.2) ทักษะการสรุปลงความเห็น 3) ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต 4.3 คณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ : Attitude (ผู้เรยี นควรแสดงพฤติกรรมการเรียนอะไรบา้ ง) 1) มีวนิ ัย 2) ใฝ่เรียนรู้ 3) มงุ่ ม่ันในการทำงาน 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการส่ือสาร 1. มวี ินยั 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 1) ทกั ษะการวิเคราะห์ 3. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน 2) ทักษะการสรุปลงความเหน็ 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 6. กิจกรรมการเรียนรู้  วิธสี อนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชวั่ โมงที่ 1 ขน้ั นำ กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูสนทนากบั นักเรยี นเกยี่ วกับการพาความรอ้ นของสาร ดังนี้ - นกั เรยี นมวี ิธรี ะบายอากาศรอ้ นในหอ้ งอย่างไร (แนวตอบ เปิดหน้าต่างเพ่ือระบายความร้อน หรือพาความร้อนออกจากห้อง หรือเปิด เครื่องปรับอากาศเพื่อให้อากาศเย็นมาแทนทอ่ี ากาศรอ้ น) - ของเหลวและแก๊สสามารถถา่ ยโอนความรอ้ นดว้ ยวิธีใด (แนวตอบ การพาความร้อน) 2. นักเรยี นชว่ ยกนั อภิปรายและแสดงความคิดเหน็ เพื่อเช่อื มโยงไปสกู่ ารเรยี นรู้ เรื่อง การพาความร้อน ขน้ั สอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน ให้แต่ละกลุ่มวางแผนและแบ่งหน้าท่ีค้นคว้าความรู้ เร่ือง การพาความร้อน จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 หน้า 21 และแหล่งการเรียนรู้ทาง อนิ เทอร์เนต็ หรือเอกสารต่าง ๆ ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 106 2. นกั เรียนแต่ละกลุ่มระดมความคดิ แล้วสรปุ ข้อมลู เปน็ ความรู้ของกลุ่ม อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. นักเรยี นแตล่ ะกลุม่ ผลดั กันเล่าเรอื่ งท่ตี นไดศ้ กึ ษามาให้สมาชิกในกลมุ่ ฟงั 2. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ สง่ ตัวแทนออกมานำเสนอผลการสืบคน้ ข้อมูลหนา้ ช้ันเรยี น 3. ครูและนักเรียนรว่ มกันอภปิ รายผลจากการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม โดยใชแ้ นวคำถาม เชน่ - การพาความร้อน เปน็ การถ่ายโอนความร้อนแบบใด (แนวตอบ เป็นการถ่ายโอนความรอ้ นโดยอาศยั ตัวกลาง) - การพาความร้อนในตวั กลางทตี่ ่างชนดิ กนั มีผลอย่างไร (แนวตอบ มีผลทำให้รู้สึกร้อนเร็วและช้าต่างกัน ซ่ึงตัวกลางที่เป็นแก๊สจะพาความร้อนได้ดีกว่า ตัวกลางที่มสี ถานะเป็นของเหลว) - จงยกตวั อยา่ งการพาความร้อนในธรรมชาติ (แนวตอบ การเกดิ กระแสลม การเกดิ ลมบก-ลมทะเล เปน็ ต้น) - การเกิดกระแสลมแบบตา่ ง ๆ เก่ยี วข้องกับการพาความร้อนหรอื ไม่ อยา่ งไร (แนวตอบ เก่ียวข้อง เน่ืองจากบริเวณที่มีอากาศร้อน อากาศจะขยายตัวและมีความหนาแน่น นอ้ ยกว่าบริเวณข้างเคยี ง อากาศจึงลอยตัวสงู ข้ึน ขณะเดียวกันบรเิ วณท่มี อี ากาศเย็น อากาศจะมี ความหนาแน่นมากกว่า จึงเคลอื่ นท่เี ข้ามาแทนทบี่ ริเวณที่มีอากาศรอ้ น) 4. ครูและนักเรยี นรว่ มกันสรปุ ผลจากการปฏิบตั ิกิจกรรม ช่วั โมงที่ 2 ขน้ั สอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูใหน้ กั เรยี นแบง่ กลุ่ม ออกเปน็ กล่มุ ละ 3-4 คน ทำกจิ กรรม เรอ่ื ง การพาความรอ้ น ในหนงั สือเรียน วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 หนา้ 21 2. ครใู ห้นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มทำกิจกรรม แล้วบนั ทกึ ผลและตอบคำถามท้ายกจิ กรรมลงในแบบฝกึ หัด วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูใหน้ กั เรียนแต่ละกล่มุ นำเสนอผลงาน ดว้ ยการสง่ ตัวแทนกลุ่มละ 2-3 คน นำเสนอผลการทำ กจิ กรรม เรอื่ ง การพาความร้อน 2. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันอภปิ รายผลทไี่ ดจ้ ากการทำกิจกรรม 3. ครูให้แต่ละกล่มุ เสนอคำตอบท้ายกิจกรรม และครูเฉลยคำตอบ ดังนี้ - สีผสมอาหารสีใดที่เปรียบเสมอื นเป็นน้ำร้อน และสีผสมอาหารใดทเ่ี ปรียบเสมอื นเปน็ น้ำเย็น (แนวตอบ สีแดงเปรยี บเสมือนน้ำร้อน สว่ นสนี ำ้ เงนิ เปรยี บเสมอื นน้ำเยน็ ) - เม่อื นำแก้วใส่น้ำร้อนไปวางไว้ใตถ้ าดบรเิ วณตรงกลางของถาด สผี สมอาหารสีแดงและสีนำ้ เงินมี การเคลอ่ื นทอ่ี ยา่ งไร โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 107 (แนวตอบ สีแดงจะเคล่ือนท่จี ากก้นถาดลอยขน้ึ ไปบนผิวน้ำ สว่ นสีนำ้ เงนิ จะเคลอื่ นที่เข้ามาตรง กลางถาด) ขัน้ สรุป ขยายความรู้ (Expand) 1. ครใู หน้ กั เรยี นทำแบบฝกึ หดั ในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 2. ครปู ระเมนิ การปฏิบัติการจากการทำกิจกรรม เร่อื ง การนำความรอ้ น โดยใช้แบบประเมินการ ปฏบิ ัตกิ าร 3. ครปู ระเมนิ นักเรียนจากการทำงานกล่มุ โดยใช้แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายกลุ่ม 4. ครูประเมินนกั เรียนจากการสบื คน้ ข้อมลู และการตอบคำถามในชนั้ เรยี น โดยใช้แบบสงั เกต พฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล 7. การวัดและประเมนิ ผล รายการวดั วิธีวดั เคร่ืองมอื เกณฑ์การประเมนิ 7.1 การประเมินระหวา่ ง การจัดกิจกรรม 1) การพาความรอ้ น - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ม.1 เลม่ 2 2) การปฏิบัติการ - ประเมินการปฏิบตั ิการ - แบบประเมิน ระดบั คณุ ภาพ 2 การปฏบิ ตั กิ าร ผ่านเกณฑ์ 3) พฤตกิ รรมการ - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดบั คณุ ภาพ 2 ทำงานรายบคุ คล การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบคุ คล ผ่านเกณฑ์ 4) พฤติกรรมการ - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดับคุณภาพ 2 ทำงานรายกลมุ่ การทำงานรายกลุ่ม การทำงานรายกลุ่ม ผ่านเกณฑ์ 5) คุณลักษณะ - สังเกตความมีวนิ ยั - แบบประเมินคณุ ลกั ษณะ ระดับคุณภาพ 2 อันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งม่ัน อนั พงึ ประสงค์ ผ่านเกณฑ์ ในการทำงาน 8. สอื่ /แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 สอื่ การเรียนรู้ 1) หนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 2) แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 3) PowerPoint เรื่อง การพาความร้อน 4) อปุ กรณ์การทดลอง โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 108 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องสมุด 2) แหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ - http://www.aksorn.com/LC/Sci/B2/M1/09 9. การบรู ณาการตามจดุ เน้นของโรงเรยี น : ความหลากหลายทางชวี ภาพ หลกั ปรัชญา ครู ผเู้ รยี น ของเศรษฐกิจพอเพียง 1. ความพอประมาณ พอดีดา้ นเทคโนโลยี พอดดี า้ นจิตใจ 2. ความมเี หตผุ ล ร้จู กั ใช้เทคโนโลยมี าผลิตสื่อท่ี มีจิตสำนึกที่ดี จติ สาธารณะร่วม 3. มภี ูมคิ ุมกนั ในตัวทีด่ ี เหมาะสมและสอดคลอ้ งเน้ือหาเป็น อนรุ กั ษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติและ 4. เงื่อนไขความรู้ ประโยชนต์ ่อผเู้ รียนและพฒั นาจากภมู ิ ส่ิงแวดล้อม ปัญญาของผ้เู รียน - ยดึ ถอื การประกอบอาชพี ดว้ ยความ ไม่หยุดนง่ิ ทหี่ าหนทางในชีวิต หลุดพน้ ถกู ตอ้ ง สจุ ริต จากความทกุ ขย์ าก (การค้นหาคำตอบ เพ่อื ใหห้ ลดุ พน้ จากความไมร่ ู้) ภมู ิปญั ญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ ภมู ปิ ญั ญา : มคี วามรู้ รอบคอบ ระมดั ระวงั รบั ผิดชอบ ระมดั ระวัง สร้างสรรค์ ความรอบรู้ เรอ่ื ง การพาความรอ้ น ความรอบรู้ เรอ่ื ง การพาความ ทเ่ี กี่ยวขอ้ งรอบด้าน นำความรูม้ า รอ้ น สามารถนำความร้เู หล่านั้นมา เช่อื มโยงประกอบการวางแผน การ พิจารณาให้เกิดความเชือ่ มโยง ดำเนินการจัดกิจกรรมการเรยี นรใู้ หก้ ับ สามารถประยกุ ต์ ผเู้ รยี น ใชใ้ นชวี ิตประจำวันได้ 5. เง่ือนไขคณุ ธรรม มคี วามตระหนกั ใน คณุ ธรรม มี มคี วามตระหนักใน คณุ ธรรม มีความ ความซื่อสตั ยส์ ุจริตและมคี วามอดทน ซอ่ื สัตย์สจุ รติ และมีความอดทน มี มคี วามเพียร ใช้สตปิ ัญญาในการ ความเพียร ใช้สติปญั ญาในการดำเนนิ ดำเนนิ ชีวติ ชีวิต สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ครู ผเู้ รียน ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สำรวจความหลากหลายทางชีวภาพ - ความหลากหลายทางชวี ภาพ - สำรวจความหลากหลายทาง ในโรงเรยี น (ตามจดุ ท่ไี ดร้ ับมอบหมาย) ชีวภาพในโรงเรียน (กำหนดจดุ ให้ ผู้เรียนสำรวจ) โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 109 สงิ่ แวดล้อม ครู ผู้เรียน ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สืบค้นขอ้ มลู การอนุรักษ์ความ - การอนรุ ักษ์ความหลากหลาย - การอนุรกั ษ์ความหลากหลายทาง หลากหลายทางชวี ภาพ (ตามหัวขอ้ ที่ ได้มอบหมาย) ทางชวี ภาพ ชวี ภาพ (กำหนดหัวขอ้ ใหผ้ เู้ รียน สืบค้น) โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 110 10. ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารสถานศกึ ษาหรือผู้ท่ไี ดร้ บั มอบหมาย 10.1 หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ…………………………………………. (นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถึง) ………./……………./…………. 10.2 รองผู้อำนวยการฝา่ ยบรหิ ารวชิ าการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชือ่ …………………………………………. (นายวิเศษ ฟองตา) ………./……………./…………. 10.3 ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นางวลิ าวลั ย์ ปาลี) ………./……………./…………. โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 111 11. บันทึกผลหลงั การสอน  ดา้ นความรู้  ด้านสมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน  ด้านคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์  ดา้ นความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์  ด้านอ่ืน ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรือพฤติกรรมทม่ี ปี ญั หาของนักเรียนเป็นรายบคุ คล (ถา้ ม)ี )  ปัญหา/อปุ สรรค  แนวทางการแกไ้ ข ลงชือ่ .........................................................ผู้สอน (นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา) ตำแหน่ง ครผู ู้ช่วย โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 112 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 7 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่ ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 2/2562 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วิทยาศาสตร์ (ว21102) หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 พลงั งานความรอ้ น เรือ่ ง การแผร่ ังสคี วามร้อน จำนวนเวลาที่สอน 2 ชัว่ โมง ผสู้ อน นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา 1. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด (ความเขา้ ใจท่ีคงทน) สารที่มีอุณหภูมิแตกต่างกัน จะมีการถ่ายโอนความรอ้ นระหว่างกัน การถ่ายโอนความร้อนมี 3 แบบ คือ การนำความร้อน การพาความร้อน และการแผ่รังสีความร้อน ซ่ึงการนำความร้อนเป็นการถ่ายโอน ความร้อนท่ีอาศัยตัวกลาง โดยตัวกลางไม่เคล่ือนท่ี การพาความร้อนเป็นการถ่ายโอนความร้อนที่อาศัย ตวั กลาง โดยตวั กลางมกี ารเคล่ือนท่ี ส่วนการแผร่ งั สคี วามรอ้ นเป็นการถา่ ยโอนความรอ้ นทไ่ี ม่อาศัยตวั กลาง 2. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชว้ี ัดชน้ั ปี/ผลการเรียนรู้/เปา้ หมายการเรยี นรู้ 2.1 ตัวชวี้ ดั ว 3.2 ม.1/6 สรา้ งแบบจำลองท่อี ธบิ ายการถา่ ยโอน ความรอ้ นโดยการนำความรอ้ น การพาความรอ้ น การแผ่รงั สีความรอ้ น 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 ด้านความรู้ (Knowledge) 1) อธบิ ายการแผ่รงั สีความรอ้ นได้ 3.2 ดา้ นทักษะและกระบวนการ (Skill/Process) 2) สร้างแบบจำลองการแผร่ งั สคี วามรอ้ นได้ 3.3 ด้านเจตคติ (Attitude) 3) รับผิดชอบต่อหน้าที่และงานทีไ่ ด้รับมอบหมาย 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 เนือ้ หาสาระหลกั : Knowledge (ผู้เรียนตอ้ งร้อู ะไร) 1) การถา่ ยโอนความร้อนมี 3 แบบ คอื การนำความรอ้ น การพาความร้อน และการแผ่รังสี ความรอ้ น 2) การนำความร้อนเป็นการถ่ายโอนความรอ้ นท่อี าศยั ตวั กลาง โดยที่ตัวกลางไม่เคล่ือนท่ี 3) การพาความร้อนเปน็ การถ่ายโอนความร้อนท่อี าศยั ตัวกลาง โดยที่ตวั กลางเคลือ่ นทไี่ ปด้วย 4) การแผร่ ังสีความร้อนเปน็ การถา่ ยโอนความร้อนท่ีไมต่ ้องอาศัยตวั กลาง 4.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process (ผู้เรียนสามารถปฏบิ ตั ิอะไรได้) 1) ความสามารถในการสือ่ สาร 2) ความสามารถในการคิด 2.1) ทกั ษะการวเิ คราะห์ โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 113 2.2) ทกั ษะการสรปุ ลงความเห็น 3) ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ 4.3 คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ : Attitude (ผู้เรยี นควรแสดงพฤตกิ รรมการเรียนอะไรบา้ ง) 1) มีวินยั 2) ใฝ่เรยี นรู้ 3) มุ่งม่ันในการทำงาน 5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียนและคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการส่อื สาร 1. มีวินัย 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรยี นรู้ 1) ทักษะการวเิ คราะห์ 3. มุง่ มนั่ ในการทำงาน 2) ทักษะการสรปุ ลงความเหน็ 3. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต 6. กิจกรรมการเรยี นรู้  วธิ สี อนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ช่วั โมงที่ 1 ขน้ั นำ กระต้นุ ความสนใจ (Engage) 1. ครูสนทนากบั นกั เรยี นเกี่ยวกบั การแผ่รงั สีความรอ้ น เชน่ - นกั เรียนคิดวา่ ดวงอาทติ ยอ์ ยหู่ ่างจากโลกของเรามาก แล้วทำไมนกั เรยี นยังรสู้ กึ ร้อน (แนวตอบ ดวงอาทติ ย์แผ่รงั สคี วามร้อนมายังโลก) - เม่ือนกั เรยี นนำอาหารไปอุ่นดว้ ยเตาไมโครเวฟ อาหารจะสกุ ดว้ ยความรอ้ นโดยวธิ ใี ด (แนวตอบ ใช้หลักการแผ่รังสีความร้อน โดยปล่อยคล่ืนไมโครเวฟผา่ นเขา้ ไปในอาหาร ทำให้ โมเลกลุ ของน้ำในอาหารส่ัน สง่ ผลใหอ้ ณุ หภูมิอาหารสูงขึน้ อยา่ งรวดเร็ว) 2. นกั เรยี นชว่ ยกนั อภิปรายและแสดงความคดิ เห็น เพ่อื เชื่อมโยงไปสู่การเรยี นรู้ เรื่อง การแผ่รงั สี ความรอ้ น ขน้ั สอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กนั ให้แตล่ ะกล่มุ วางแผนและแบ่งหน้าท่ีค้นคว้าความรู้ เรื่อง การแผ่รังสีความรอ้ น จากหนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 หน้า 23 และแหล่งการเรียนรู้ทาง อนิ เทอรเ์ นต็ หรือเอกสารต่าง ๆ ท่เี กยี่ วข้อง โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 114 2. นกั เรียนแตล่ ะกลุม่ ระดมความคดิ แลว้ สรปุ ขอ้ มลู เปน็ ความร้ขู องกลุม่ อธิบายความรู้ (Explain) 1. นักเรียนแต่ละกลมุ่ ผลัดกนั เล่าเร่ืองที่ตนได้ศึกษามาให้สมาชกิ ในกลุ่มฟัง 2. นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ สง่ ตวั แทนออกมานำเสนอผลการสืบค้นข้อมูลหน้าชนั้ เรยี น 3. ครูและนักเรียนร่วมกันอภปิ รายผลจากการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม โดยใช้แนวคำถาม ดังน้ี - การแผร่ ังสีความรอ้ น เปน็ การถ่ายโอนความร้อนแบบใด (แนวตอบ เปน็ การถ่ายโอนความร้อนแบบไมอ่ าศยั ตวั กลาง) - จงยกตวั อยา่ งการแผ่รังสีความรอ้ นในธรรมชาติ (แนวตอบ ดวงอาทิตย์แผ่รังสคี วามรอ้ นมายงั โลก) 4. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั สรปุ ผลจากการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม ช่ัวโมงที่ 2 ขน้ั สอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูให้นักเรยี นแบ่งกลมุ่ ทำกจิ กรรม เร่ือง การแผ่รังสคี วามร้อน โดยครนู ำผ้าสีดำ สีขาว และวัตถทุ ม่ี ี พน้ื ผวิ เรยี บมันและขรุขระไม่มนั ไปวางกลางแดดหรอื ใช้ความร้อนจากหลอดไฟ แล้วใหน้ กั เรียนนำ มือทง้ั สองข้างไปวางบนผ้าสีดำ สขี าว และวัตถทุ ง้ั สองชนิด 2. ครูใหน้ ักเรียนเปรยี บเทียบความเหมือนหรอื แตกต่างกันหรอื ไม่ เพราะเหตุใด อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครสู ุ่มตวั แทนกลุ่มนักเรียนออกมานำเสนอผลทไี่ ด้จากการทำกจิ กรรม 2. ครเู พ่ิมเติม และแก้ไขข้อมูลการนำเสนอของตัวแทนกลุ่มให้ถกู ตอ้ ง ขน้ั สรุป ขยายความรู้ (expand) 1. ครูและนกั เรยี นรว่ มกันสรุปเกี่ยวกับการถา่ ยโอนความร้อน โดยสรปุ เขยี นเปน็ แผนผงั มโนทัศน์ เร่อื ง การถ่ายโอนความรอ้ น 2. ครูให้นักเรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรียน 3. ครใู หน้ กั เรียนทำแบบฝึกหัดในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 4. ครใู ห้นกั เรียนทำ Self-Check และ Unit Question เพ่อื ประเมินตนเอง ตรวจสอบผล (Evaluate) รวบ 1. ครตู รวจแบบทดสอบหลังเรียน 2. ครูตรวจแบบฝกึ หัดในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 3. ครูประเมินผังมโนทัศน์ เร่ือง การถ่ายโอนความร้อน โดยใช้แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน ยอด โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 115 4. ครูประเมินนักเรียนจากการสืบค้นข้อมูลและการตอบคำถามในห้องเรียน โดยใช้แบบสังเกต พฤติกรรมการทำงานรายบุคคล 5. ครูประเมินนกั เรยี นจากการทำงานกลุ่ม โดยใช้แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายกลุ่ม 6. ครูประเมินการปฏิบัติการจากการทำกิจกรรม เรื่อง การแผ่รังสีความร้อน โดยใช้แบบประเมินการ แผร่ ังสคี วามร้อน 7. การวดั และประเมนิ ผล วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑก์ ารประเมนิ รายการวัด - ผังมโนทศั น์ เรือ่ ง การ - แบบประเมนิ ช้ินงาน/ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 7.1 การประเมนิ ระหว่าง ถ่ายโอนความร้อน การจัดกจิ กรรม ภาระงานรวบยอด 1) การแผร่ งั สี - ตรวจแบบฝึกหดั ความร้อน - แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ - ประเมินการนำเสนอ 2) การนำเสนอผลงาน ผลงาน ม.1 เล่ม 2 - สงั เกตพฤตกิ รรม 3) พฤติกรรมการ การทำงานรายบคุ คล - แบบประเมินการ ระดบั คณุ ภาพ 2 ทำงานรายบคุ คล - สังเกตพฤติกรรม การทำงานรายกลุ่ม นำเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์ 4) พฤติกรรมการ - สงั เกตความมวี ินยั ทำงานรายกลมุ่ ใฝ่เรยี นรู้ และมงุ่ มน่ั - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดบั คณุ ภาพ 2 ในการทำงาน 5) คุณลักษณะ การทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ อันพงึ ประสงค์ - ตรวจแบบทดสอบ หลังเรยี น - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดบั คุณภาพ 2 7.2 ประเมินหลงั เรยี น 1) ทดสอบหลงั เรียน การทำงานรายกล่มุ ผ่านเกณฑ์ - แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยการเรียนรู้ - แบบประเมินคุณลักษณะ ระดับคณุ ภาพ 2 ท่ี 1 เรื่อง การพา ความร้อน อันพงึ ประสงค์ ผา่ นเกณฑ์ - แบบทดสอบหลังเรยี น รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 8. ส่อื /แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 สอ่ื การเรียนรู้ 1) หนังสอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 2) แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 3) PowerPoint เรอ่ื ง การแผร่ งั สีความรอ้ น 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) หอ้ งสมดุ โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 116 2) แหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ - http://www.aksorn.com/LC/Sci/B2/M1/09 9. การบูรณาการตามจุดเนน้ ของโรงเรียน : ความหลากหลายทางชวี ภาพ หลักปรชั ญา ครู ผเู้ รยี น ของเศรษฐกิจพอเพยี ง 1. ความพอประมาณ พอดดี า้ นเทคโนโลยี พอดีดา้ นจติ ใจ 2. ความมีเหตุผล รู้จักใช้เทคโนโลยีมาผลติ ส่ือที่ มจี ติ สำนกึ ทด่ี ี จติ สาธารณะรว่ ม 3. มีภมู ิคมุ กันในตวั ทีด่ ี เหมาะสมและสอดคลอ้ งเนือ้ หาเปน็ อนรุ กั ษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติและ 4. เงื่อนไขความรู้ ประโยชน์ตอ่ ผูเ้ รยี นและพฒั นาจากภมู ิ สง่ิ แวดลอ้ ม ปญั ญาของผเู้ รียน - ยดึ ถือการประกอบอาชพี ด้วยความ ไม่หยุดนิง่ ทห่ี าหนทางในชวี ติ หลุดพน้ ถูกตอ้ ง สุจรติ จากความทกุ ขย์ าก (การค้นหาคำตอบ เพ่ือให้หลดุ พ้นจากความไมร่ )ู้ ภูมปิ ัญญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ ภูมปิ ญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ ระมดั ระวงั รับผดิ ชอบ ระมดั ระวงั สรา้ งสรรค์ ความรอบรู้ เรื่อง การพาความรอ้ น ความรอบรู้ เรอื่ ง การพาความ ทีเ่ กยี่ วข้องรอบด้าน นำความรมู้ า ร้อน สามารถนำความรเู้ หลา่ น้นั มา เช่ือมโยงประกอบการวางแผน การ พจิ ารณาให้เกิดความเช่ือมโยง ดำเนินการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ใหก้ บั สามารถประยุกต์ ผเู้ รียน ใชใ้ นชวี ติ ประจำวันได้ 5. เง่ือนไขคณุ ธรรม มีความตระหนกั ใน คณุ ธรรม มี มคี วามตระหนักใน คุณธรรม มีความ ความซื่อสตั ย์สุจรติ และมคี วามอดทน ซ่ือสัตย์สุจริตและมีความอดทน มี มคี วามเพยี ร ใช้สติปญั ญาในการ ความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนิน ดำเนินชวี ติ ชีวิต สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ครู ผเู้ รียน ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สำรวจความหลากหลายทางชีวภาพ ในโรงเรยี น (ตามจดุ ทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย) - ความหลากหลายทางชีวภาพ - สำรวจความหลากหลายทาง ผ้เู รียน ชีวภาพในโรงเรยี น (กำหนดจดุ ให้ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สืบคน้ ขอ้ มูลการอนรุ ักษ์ความ ผเู้ รยี นสำรวจ) หลากหลายทางชีวภาพ (ตามหัวข้อที่ ได้มอบหมาย) สง่ิ แวดลอ้ ม ครู ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - การอนุรกั ษ์ความหลากหลาย - การอนุรกั ษ์ความหลากหลายทาง ทางชวี ภาพ ชีวภาพ (กำหนดหัวขอ้ ให้ผ้เู รียน สบื คน้ ) โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 117 10. ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารสถานศกึ ษาหรือผูท้ ีไ่ ดร้ ับมอบหมาย 10.1 หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถงึ ) ………./……………./…………. 10.2 รองผู้อำนวยการฝา่ ยบรหิ ารวชิ าการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่อื …………………………………………. (นายวิเศษ ฟองตา) ………./……………./…………. 10.3 ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นางวลิ าวลั ย์ ปาลี) ………./……………./…………. โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 118 11. บันทึกผลหลงั การสอน  ดา้ นความรู้  ด้านสมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน  ด้านคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์  ดา้ นความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์  ด้านอ่ืน ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรือพฤติกรรมทม่ี ปี ญั หาของนักเรียนเป็นรายบคุ คล (ถา้ ม)ี )  ปัญหา/อปุ สรรค  แนวทางการแกไ้ ข ลงชือ่ .........................................................ผู้สอน (นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา) ตำแหน่ง ครผู ู้ช่วย โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 119 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 5 บรรยากาศ เวลา 23 ชัว่ โมง 1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชวี้ ัด ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงท่ีกระทำต่อวัตถุ ลักษณะการเคล่ือนท่ีแบบ ตา่ ง ๆ ของวัตถุ รวมท้ังนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ ว 2.2 ม.1/1 สร้างแบบจำลองท่ีอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความดันอากาศกับความสูงจากพน้ื โลก ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบ และความสัมพนั ธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลีย่ นแปลงภายในโลก และ บนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมท้ังผลต่อ ส่งิ มชี ีวิตและส่ิงแวดลอ้ ม ว 3.2 ม.1/1 สร้างแบบจำลองที่อธิบายการแบ่งช้ันบรรยากาศ และเปรียบเทียบประโยชน์ของ บรรยากาศแต่ละชั้น ว 3.2 ม.1/2 อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปล่ียนแปลงองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ จากข้อมูลที่ รวบรวมได้ 2. สาระการเรียนรู้ 2.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง 1) โลกมีบรรยากาศห่อหุ้ม นักวิทยาศาสตร์ใช้สมบัติและองค์ประกอบของบรรยากาศในการแบ่ง บรรยากาศของโลกออกเป็นช้ัน ซ่ึงแบ่งได้หลายรูปแบบตามเกณฑ์ท่ีแตกต่างกัน โดยท่ัวไป นักวิทยาศาสตรใ์ ช้เกณฑก์ ารเปลี่ยนแปลงอุณหภมู ิตามความสูงแบง่ บรรยากาศไดเ้ ป็น 5 ช้ัน ได้แก่ ช้นั โทรโพสเฟียร์ ช้ันสตราโทสเฟยี ร์ ชัน้ มโี ซสเฟยี ร์ ช้ันเทอรโ์ มสเฟยี ร์ และช้ันเอกโซสเฟียร์ 2) บรรยากาศแตล่ ะช้ันมีประโยชนต์ ่อสิ่งมชี ีวติ แตกต่างกัน โดยช้ันโทรโพสเฟียรม์ ปี รากฏการณ์ลมฟ้า อากาศท่ีสำคัญต่อการดำรงชีวิตของส่ิงมีชีวิต ชั้นสตราโทสเฟียร์ช่วยดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลต จากดวงอาทิตยไ์ ม่ให้มายงั โลกมากเกินไป ช้ันมีโซสเฟยี ร์ช่วยชะลอวตั ถุนอกโลกท่ีผ่านเขา้ มาใหเ้ กิด การเผาไหม้กลายเป็นวัตถุขนาดเล็ก ลดโอกาสที่จะทำความเสียหายแก่สิ่งมีชีวิตบนโลก ช้ันเทอร์ โมสเฟยี รส์ ามารถสะท้อนคล่ืนวทิ ยุ และชั้นเอกโซสเฟียรเ์ หมาะสำหรับการโคจรของดาวเทียมรอบ โลกในระดับต่ำ 3) ลมฟ้าอากาศ เป็นสภาวะของอากาศในเวลาหนึ่งของพ้ืนท่ีหนึ่งที่มีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลา ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบลมฟ้าอากาศ ได้แก่ อุณหภูมิอากาศ ความกดอากาศ ลม ความช้ืน เมฆ และหยาดน้ำฟ้า โดยหยาดน้ำฟ้าที่พบบ่อยในประเทศไทย ได้แก่ ฝน องค์ประกอบลมฟ้าอากาศ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ เช่น ปริมาณรังสีจากดวงอาทิตย์และลักษณะ พ้ืนผิวโลกส่งผลต่ออุณหภูมิอากาศ อุณหภูมิอากาศและปริมาณไอน้ำส่งผลต่อความชื้น ความกด อากาศสง่ ผลตอ่ ลม ความชน้ื และลมส่งผลต่อเมฆ โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 120 4) เมื่อวัตถุอยู่ในอากาศจะมีแรงที่อากาศกระทำต่อวัตถุในทุกทิศทาง แรงท่ีอากาศกระทำต่อวัตถุ ขึน้ อยกู่ ับขนาดพื้นที่ของวัตถนุ ั้น แรงที่อากาศกระทำตั้งฉากกับผิววัตถุต่อหนงึ่ หน่วยพ้ืนทเี่ รยี กว่า ความดนั อากาศ 5) ความดันอากาศมีความสัมพันธ์กับความสูงจากพ้ืนโลก โดยบริเวณท่ีสูงจากพ้ืนโลกขึ้นไป อากาศ เบาบางลง มวลอากาศน้อยลง ความดนั อากาศกจ็ ะลดลง 2.2 สาระการเรียนรู้ท้องถ่ิน (พิจารณาตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา) 3. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด บรรยากาศ เป็นชั้นแก๊สที่ห่อหุ้มโลกและดาวเคราะห์ต่าง ๆ ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 5 ช้ัน ตามเกณฑ์ การเปล่ียนแปลงอุณหภูมิ บรรยากาศมีความสำคัญต่อส่ิงมีชีวิตในการดำรงชีวิต บรรยากาศช้ันล่างสุดจะ เกิดปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ ซึ่งองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศจะประกอบไปด้วยอุณหภูมิอากาศ ความชน้ื อากาศ ความดันอากาศ ลม เมฆ และหยาดนำ้ ฟา้ 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนและคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มีวินยั 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรยี นรู้ 1) ทักษะการสังเกต 3. มงุ่ มั่นในการทำงาน 2) ทักษะการจดั กลมุ่ 3) ทักษะการเปรยี บเทียบ 4) ทกั ษะการจำแนกประเภท 5) ทักษะการสำรวจ 6) ทักษะการเชอื่ มโยง 7) ทักษะการระบุ 8) ทกั ษะการสำรวจค้นหา 9) ทักษะการสรปุ ยอ่ 10) ทกั ษะการนำความรูไ้ ปใช้ 11) ทักษะการรวบรวมขอ้ มลู 12) ทกั ษะการให้เหตุผล 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ 5. ช้นิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) - แผนผงั มโนทศั น์ เร่ือง องคป์ ระกอบของบรรยากาศ - แบบจำลอง เรื่อง การแบง่ ช้ันบรรยากาศ - รายงาน เรือ่ ง องคป์ ระกอบของลม ฟา้ อากาศ โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 121 - แผนผังมโนทัศน์ เรอ่ื ง ปจั จยั ท่มี ีผลต่ออณุ หภูมิของอากาศ - แบบจำลอง เร่ือง ความดันอากาศ - แผนภาพ เรอ่ื ง ผลของความช้นื อากาศต่อการดำรงชวี ติ ของมนุษย์ - เคร่ืองมอื วดั ความชื้นแบบเสน้ ผม 6. การวดั และการประเมินผล รายการวัด วิธีวัด เคร่อื งมือ เกณฑก์ าร ประเมิน 6.1 การประเมินชิ้นงาน/ - แผนผงั มโนทัศน์ เรอ่ื ง - แบบประเมินช้ินงาน/ภาระ ระดับคุณภาพ 2 ภาระงาน (รวบยอด) องค์ประกอบของ งานรวบยอด ผ่านเกณฑ์ บรรยากาศ - แบบประเมินช้ินงาน/ภาระ ระดับคุณภาพ 2 - แบบจำลอง เรือ่ ง งานรวบยอด ผา่ นเกณฑ์ การแบ่งชัน้ บรรยากาศ - แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระ ระดับคุณภาพ 2 - รายงาน เร่ือง งานรวบยอด ผา่ นเกณฑ์ องคป์ ระกอบของลม ฟา้ - แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระ ระดับคุณภาพ 2 อากาศ งานรวบยอด ผ่านเกณฑ์ - แผนผังมโนทัศน์ เร่อื ง - แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระ ระดับคณุ ภาพ 2 ปจั จยั ทีม่ ีผลต่ออุณหภูมิ งานรวบยอด ผ่านเกณฑ์ ของอากาศ - แบบประเมินช้ินงาน/ภาระ ระดบั คุณภาพ 2 - แบบจำลอง เรอื่ ง งานรวบยอด ผา่ นเกณฑ์ ความดนั อากาศ - แผนภาพ เรื่อง ผลของ - แบบประเมินช้ินงาน/ภาระ ระดับคณุ ภาพ 2 ความชน้ื อากาศตอ่ การ งานรวบยอด ผ่านเกณฑ์ ดำรงชีวติ ของมนุษย์ - เครอื่ งมอื วดั ความชนื้ แบบ - แบบประเมินการนำเสนอ ระดบั คุณภาพ 2 เส้นผม ผลงาน ผา่ นเกณฑ์ 6.2 การประเมนิ กอ่ นเรียน - แบบทดสอบกอ่ น - ตรวจแบบทดสอบกอ่ น - แบบทดสอบกอ่ นเรียน - ประเมนิ ตาม เรียนหนว่ ยการเรียนรู้ เรียน สภาพจริง ท่ี 2 เรอ่ื ง บรรยากาศ 6.3 การประเมินระหวา่ ง การจัดกิจกรรม 1) องคป์ ระกอบของ - ตรวจแบบฝกึ หดั - แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ร้อยละ 60 บรรยากาศ ม.1 เลม่ 2 ผ่านเกณฑ์ 2) การแบ่งช้นั - ตรวจใบงานที่ 5.1 - เฉลยใบงานท่ี 5.1 รอ้ ยละ 60 โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 122 รายการวดั วิธวี ดั เครื่องมือ เกณฑก์ าร บรรยากาศ ประเมิน ผา่ นเกณฑ์ - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ร้อยละ 60 ม.1 เลม่ 2 ผ่านเกณฑ์ 3) องค์ประกอบของ - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ร้อยละ 60 ลม ฟา้ อากาศ ม.1 เล่ม 2 ผา่ นเกณฑ์ 4) อณุ หภูมอิ ากาศ - ตรวจใบงานที่ 5.2 - เฉลยใบงานท่ี 5.2 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ รอ้ ยละ 60 ม.1 เลม่ 2 ผา่ นเกณฑ์ 5) ความดันอากาศ - ตรวจใบงานท่ี 5.3 - เฉลยใบงานที่ 5.3 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ - ตรวจแบบฝึกหดั - แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ร้อยละ 60 ม.1 เลม่ 2 ผา่ นเกณฑ์ 6) ความช้ืนอากาศ - ตรวจใบงานที่ 5.4 - เฉลยใบงานที่ 5.4 เรอ่ื ง ร้อยละ 60 ความชนื้ อากาศ ผา่ นเกณฑ์ - ตรวจแบบฝกึ หดั - แบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ รอ้ ยละ 60 ม.1 เลม่ 2 ผา่ นเกณฑ์ 7) ลม - ตรวจใบงานที่ 5.5 - เฉลยใบงานที่ 5.5 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ รอ้ ยละ 60 ม.1 เลม่ 2 ผ่านเกณฑ์ 8) เมฆและฝน - ตรวจใบงานที่ 5.6 - เฉลยใบงานที่ 5.6 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - ตรวจแบบฝกึ หัด - แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ รอ้ ยละ 60 ม.1 เล่ม 2 ผ่านเกณฑ์ 9) การปฏิบตั กิ าร - ประเมนิ การปฏิบัตกิ าร - แบบประเมินการ ระดบั คุณภาพ 2 ปฏิบตั กิ าร ผา่ นเกณฑ์ 10) การนำเสนอผลงาน - ประเมนิ การนำเสนอ - แบบประเมนิ การนำเสนอ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผลงาน ผลงาน ผา่ นเกณฑ์ 11) พฤติกรรมการ - สงั เกตพฤตกิ รรมการ ทำงานรายบุคคล ทำงานรายบคุ คล - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2 12) พฤตกิ รรมการ - สงั เกตพฤตกิ รรมการ การทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ ทำงานรายกลมุ่ ทำงานรายกลมุ่ - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดบั คุณภาพ 2 การทำงานรายกลมุ่ ผ่านเกณฑ์ โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 123 รายการวัด วธิ ีวดั เครือ่ งมอื เกณฑก์ าร ประเมนิ 13) คณุ ลกั ษณะ - สงั เกตความมีวนิ ยั ใฝ่ - แบบประเมินคณุ ลักษณะ ระดบั คุณภาพ 2 อันพึงประสงค์ เรียนรู้ และมงุ่ ม่นั ในการ อันพงึ ประสงค์ ผา่ นเกณฑ์ ทำงาน 6.3 การประเมนิ หลังเรียน - แบบ ทดสอบหลัง - ตรวจแบบทดสอบหลงั แบบทดสอบหลงั เรยี น ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ เรยี นหน่วยการเรียนรู้ เรียน ท่ี 5 เร่อื ง บรรยากาศ 7. กิจกรรมการเรยี นรู้ เวลา 3 ชวั่ โมง เวลา 3 ชั่วโมง นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 5 เรือ่ ง บรรยากาศ เวลา 2 ช่วั โมง • แผนฯ ที่ 1 : องคป์ ระกอบของบรรยากาศ เวลา 3 ชั่วโมง เวลา 3 ชว่ั โมง วธิ สี อนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) เวลา 3 ชัว่ โมง เวลา 3 ชัว่ โมง • แผนฯ ที่ 2 : การแบ่งชน้ั บรรยากาศ เวลา 3 ชั่วโมง วิธสี อนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) • แผนฯ ที่ 3 : องค์ประกอบของลม ฟ้า อากาศ วิธสี อนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) • แผนฯ ที่ 4 : อณุ หภูมอิ ากาศ วิธีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) • แผนฯ ที่ 5 : ความดนั อากาศ วิธีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) • แผนฯ ท่ี 6 : ความชน้ื อากาศ วธิ สี อนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) • แผนฯ ที่ 7 : ลม วิธีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) • แผนฯ ที่ 8 : เมฆและฝน วิธสี อนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) 8. สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้ 8.1 สื่อการเรยี นรู้ 1) หนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 2) แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 3) ภาพ พายุ การพยากรณ์อากาศ การวิเคราะห์สภาพอากาศในแผนทีอ่ ากาศ 4) เอกสารประกอบการสอน เรื่อง การพยากรณอ์ ากาศ 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ช้ันเรยี น / หอ้ งสมุด / แหล่งข้อมลู สารสนเทศ โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 124 แบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 5 คำชแ้ี จง : ให้นักเรยี นเลือกคำตอบที่ถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดไม่ใช่ประโยชนข์ องบรรยากาศท่มี ีต่อโลก 6. อะไรคอื สาเหตทุ ที่ ำใหเ้ กิดเมฆ ก. ชว่ ยดูดกลืนรังสตี ่าง ๆ ก. ไอนำ้ ในอากาศอมิ่ ตวั ข. ชว่ ยในการโคจรของโลกรอบดวงอาทติ ย์ ข. ไอน้ำในอากาศมีอณุ หภมู ิลดลง ค. ช่วยให้โลกมีอณุ หภมู ทิ ่เี หมาะสมสำหรับสง่ิ มชี วี ติ ค. ไอน้ำในอากาศเย็นตัวลงรวมตัวเปน็ กลมุ่ ละอองน้ำ ง. ช่วยเสียดสกี บั วัตถุนอกโลก เพือ่ ใหล้ ุกไหมห้ รอื มี ง. อากาศเยน็ ลอยตำ่ ลง อากาศรอ้ นลอยขนึ้ ไปกระทบ ขนาดเล็กลงกอ่ นถงึ ผวิ โลก ความเยน็ 2. อากาศจดั เป็นสารชนิดใด 7. สาเหตุที่ทำใหเ้ กิดลมเน่ืองจากความแตกตา่ งของอะไร ก. สารเนือ้ เดยี ว ข. สารประกอบ ก. แรงดันอากาศ ค. สารบรสิ ุทธ์ิ ง. ของผสม ข. ความกดอากาศ 3. ความช้นื ในอากาศหมายถึงอะไร ค. ปรมิ าตรของอากาศ ก. ความหนาแน่นของอากาศ ง. ความหนาแน่นของอากาศ ข. อุณหภูมิของอากาศ 8. ฝนมีความเก่ยี วขอ้ งกบั ความสมั พนั ธใ์ ดมากท่ีสดุ ค. ไอน้ำในอากาศ ก. ไอนำ้ ความเยน็ ข. ไอน้ำ ความรอ้ น ง. ถูกทุกข้อ ค. ไอน้ำ การระเหย ง. ไอนำ้ การควบแน่น 4. เมื่อเราอย่บู นดอยอินทนนท์แลว้ จะรสู้ กึ หูอ้ือ เกี่ยวขอ้ ง 9. อากาศมีความกดอากาศตำ่ อุณหภูมิสูง มผี ลต่อการเกดิ เมฆ กับสาเหตใุ ด อย่างไร ก. ความดันอากาศ ข. อุณหภูมขิ องอากาศ ก. เมฆเพ่มิ ข้ึน ข. เมฆนอ้ ยลง ค. ลม ง. ความช้ืนของอากาศ ค. เมฆเท่าเดมิ ง. เมฆเปลย่ี นรปู รา่ ง 5. ความดัน 1 บรรยากาศ หมายถึงอะไร 10. เมฆและฝนแตกตา่ งกันในประเด็นใด ก. ความดนั อากาศทดี่ นั ปรอทใหอ้ ยสู่ งู 760 m ก. ขนาดละอองน้ำ ข. ความดันอากาศท่ีดันปรอทให้อยสู่ ูง 76 mm ข. ชนิดของอนภุ าคน้ำ ค. ความดนั อากาศท่ีดันปรอทให้อยสู่ ูง 76 cm ค. ประจขุ องอนภุ าคน้ำ ง. ความหนาแนน่ ของน้ำ ง. ความดนั อากาศทด่ี ันปรอทใหอ้ ยูส่ ูง 760 cm เฉลย 1. ข 2. ง 3. ค 4. ก 5. ค 6. ค 7. ข 8. ง 9. ก 10. ก โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 1 125 แบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 คำชแี้ จง : ใหน้ กั เรียนเลือกคำตอบท่ีถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ความชนื้ ในอากาศหมายถึงอะไร 6. ความดนั 1 บรรยากาศ หมายถึงอะไร ก. ไอนำ้ ในอากาศ ก. ความดันอากาศที่ดนั ปรอทให้อยสู่ ูง 76 cm ข. อณุ หภูมขิ องอากาศ ข. ความดันอากาศท่ดี ันปรอทให้อย่สู ูง 760 m ค. ความดันทอ่ี ยู่ในอากาศ ค. ความดนั อากาศทด่ี ันปรอทให้อย่สู งู 76 mm ง. ความหนาแน่นของอากาศ ง. ความดนั อากาศทดี่ ันปรอทใหอ้ ยูส่ งู 760 cm 2. เม่อื เราอยบู่ นดอยอินทนนทแ์ ล้วจะรสู้ กึ หอู ือ้ เก่ยี วข้องกับ 7. ฝนมีความสมั พนั ธใ์ ดมากทสี่ ุด สาเหตุใด ก. ไอนำ้ ความเย็น ก. ความดนั อากาศ ข. ไอน้ำ ความร้อน ข. อณุ หภูมิของอากาศ ค. ไอน้ำ การควบแน่น ค. ความชน้ื ของอากาศ ง. ไอน้ำ การระเหยเป็นไอ ง. ความหนาแน่นของอากาศมาก 8. สาเหตุทที่ ำใหเ้ กิดเมฆคอื ขอ้ ใด 3. อากาศจดั เปน็ สารชนดิ ใด ก. ไอน้ำในอากาศอ่มิ ตวั ก. ของผสม ข. สารบรสิ ุทธ์ิ ข. ไอน้ำในอากาศมอี ุณหภมู ิลดลง ค. สารประกอบ ง. สารเนอ้ื เดยี ว ค. ไอน้ำในอากาศรวมตัวเป็นกล่มุ ละอองนำ้ 4. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ประโยชนข์ องบรรยากาศท่มี ตี อ่ โลก ง. อากาศเยน็ ลอยตำ่ ลง อากาศร้อนลอยขึ้นไป ก. ช่วยดูดกลืนรังสีทุกชนดิ 9. อากาศมคี วามกดอากาศสงู มผี ลตอ่ การเกดิ เมฆ ข. ทำใหว้ ัตถุนอกโลกลกุ ไหม้ อยา่ งไร ค. ชว่ ยให้โลกมีอุณหภมู ิที่เหมาะสม ก. เมฆเพ่มิ ขึ้น ข. เมฆนอ้ ยลง ง. ช่วยในการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ ค. เมฆเทา่ เดมิ ง. เมฆเปลยี่ นรปู ร่าง 5. สาเหตทุ ีท่ ำใหเ้ กิดลมเน่ืองจากความแตกตา่ งของอะไร 10. เมฆและฝนเหมอื นกนั ในประเด็นใด ก. ความชนื้ อากาศ ก. ขนาดละอองนำ้ ข. ความกดอากาศ ข. มวลของละอองนำ้ ค. ปรมิ าตรในอากาศ ค. ชนิดของสารในละอองน้ำ ง. ความหนาแน่นของอากาศ ง. เหมอื นกันทกุ ข้อ เฉลย 1. ก 2. ก 3. ก 4. ง 5. ข 6. ก 7. ค 8. ค 9. ข 10. ค โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 1 126 แบบประเมินการปฏิบตั ิการ แผนฯท่ี 3,4,5,6 คำชแ้ี จง : ให้ผสู้ อนประเมินการปฏบิ ตั กิ ารของนักเรยี นตามรายการทก่ี ำหนด แลว้ ขีด ✓ ลงในช่องทต่ี รงกบั ระดบั คะแนน ลำดบั ท่ี รายการประเมิน 4 ระดับคะแนน 1 32 1 การปฏิบัติการทดลอง 2 ความคล่องแคลว่ ในขณะปฏบิ ัตกิ าร 3 การนำเสนอ รวม ลงชื่อ ................................................... ผปู้ ระเมนิ ................./................../.................. โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 127 เกณฑ์การประเมนิ การปฏบิ ตั กิ าร ประเดน็ ท่ปี ระเมิน 4 ระดับคะแนน 2 1 3 ต้องใหค้ วาม 1. การปฏบิ ัตกิ าร ทำการทดลองตาม ทำการทดลองตาม ตอ้ งใหค้ วามชว่ ยเหลือ ช่วยเหลอื อยา่ งมาก ในการทำการ ทดลอง ข้ันตอน และใชอ้ ปุ กรณ์ ขน้ั ตอน และใชอ้ ุปกรณ์ บ้างในการทำการ ทดลอง และการใช้ อุปกรณ์ ได้อย่างถกู ต้อง ได้อยา่ งถูกต้อง แตอ่ าจ ทดลอง และการใช้ ต้องไดร้ บั คำแนะนำบ้าง อปุ กรณ์ 2. ความ มคี วามคลอ่ งแคล่ว มคี วามคลอ่ งแคลว่ ขาดความคลอ่ งแคลว่ ทำการทดลองเสร็จ คลอ่ งแคล่ว ในขณะทำการทดลอง ในขณะทำการทดลอง ไมท่ ันเวลา และทำ ในขณะ ในขณะทำการทดลอง แตต่ อ้ งไดร้ บั คำแนะนำ จึงทำการทดลองเสรจ็ อปุ กรณ์เสียหาย ปฏิบตั กิ าร บา้ ง และทำการทดลอง ไม่ทนั เวลา โดยไมต่ ้องไดร้ ับคำ เสรจ็ ทันเวลา ต้องใหค้ วาม 3. การบนั ทึก สรุป ตอ้ งใหค้ ำแนะนำในการ ชว่ ยเหลืออย่างมาก และนำเสนอผล ช้แี นะ และทำการ บนั ทกึ และสรุปผลการ บันทึก สรุป และ ในการบนั ทึก สรุป การทดลอง ทดลองได้ถกู ต้อง แต่ นำเสนอผลการทดลอง และนำเสนอผลการ ทดลองเสรจ็ ทันเวลา การนำเสนอผลการ ทดลอง ทดลองยังไม่เป็น บันทึกและสรุปผลการ ขน้ั ตอน ทดลองไดถ้ ูกต้อง รัดกมุ นำเสนอผลการทดลอง เป็นขัน้ ตอนชดั เจน เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ 11-12 ดมี าก 9-10 ดี 6-8 พอใช้ ต่ำกว่า 6 ปรบั ปรงุ โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 128 แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผน ฯ ที่ 1 แบบประเมนิ ผังมโนทัศน์ คำชแ้ี จง ให้ผู้สอนประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน แล้วขีด ✓ลงในช่องท่ตี รงกับระดับคะแนน ลำดับท่ี รายการประเมิน 4 ระดบั คะแนน 1 รวม 32 1 ความสอดคลอ้ งกับจุดประสงค์ 2 ความถูกตอ้ งของเน้อื หา 3 ความคดิ สร้างสรรค์ 4 ความตรงต่อเวลา ลงชือ่ ................................................... ผปู้ ระเมิน ................./................../.................. เกณฑ์การประเมินผังมโนทัศน์ ประเดน็ ทป่ี ระเมิน 4 ระดบั คะแนน 1 1. ความสอดคลอ้ ง ผลงานสอดคล้องกับ 32 ผลงานไม่สอดคล้องกบั กบั จุดประสงค์ จดุ ประสงคท์ กุ ประเด็น จุดประสงค์ ผลงานสอดคลอ้ งกับ ผลงานสอดคล้องกบั จุดประสงค์เปน็ สว่ นใหญ่ จดุ ประสงค์บางประเด็น 2. ความถกู ตอ้ ง เนอ้ื หาสาระของผลงาน เนือ้ หาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนือ้ หาสาระของ ของเน้อื หา ผลงานไม่ถูกต้องเปน็ ถกู ตอ้ งครบถว้ น ถกู ตอ้ งเปน็ สว่ นใหญ่ ถูกต้องบางประเดน็ สว่ นใหญ่ 3. ความคดิ สร้างสรรค์ ผลงานแสดงถึงความคดิ ผลงานแสดงถงึ ความคดิ ผลงานมคี วามน่าสนใจ ผลงานไมม่ ีความ สรา้ งสรรค์ แปลกใหม่ สร้างสรรค์ แปลกใหม่ แต่ แตย่ งั ไม่มแี นวคดิ แปลก น่าสนใจ และไมแ่ สดง 4. ความตรง และเป็นระบบ ยงั ไม่เป็นระบบ ใหม่ ถงึ แนวคดิ แปลกใหม่ ต่อเวลา ส่งชน้ิ งานภายในเวลาที่ สง่ ช้ินงานช้ากวา่ เวลาที่ สง่ ช้นิ งานช้ากวา่ เวลาที่ ส่งช้นิ งานชา้ กวา่ เวลา กำหนด กำหนด 1 วนั กำหนด 2 วนั ทกี่ ำหนด 3 วันขนึ้ ไป เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14-16 ดมี าก 11-13 ดี 8-10 พอใช้ ตำ่ กว่า 8 ปรบั ปรงุ โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 129 แบบประเมนิ ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผน ฯ ที่ 6 แบบประเมนิ ผังสรุป คำชแี้ จง ให้ผสู้ อนประเมินชน้ิ งาน/ภาระงาน แลว้ ขดี ✓ลงในช่องทตี่ รงกบั ระดับคะแนน ลำดบั ที่ รายการประเมนิ 4 ระดบั คะแนน 1 รวม 32 1 ความสอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์ 2 ความถูกต้องของเนื้อหา 3 ความคดิ สร้างสรรค์ 4 ความตรงต่อเวลา ลงชอ่ื ................................................... ผปู้ ระเมิน ................./................../.................. โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 130 เกณฑ์การประเมินผงั สรปุ ประเดน็ ทปี่ ระเมนิ 4 ระดับคะแนน 1. ความสอดคล้อง ผลงานสอดคลอ้ ง 3 21 กบั จดุ ประสงค์ กบั จุดประสงคท์ ุก ประเดน็ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคล้อง 2. ความถูกตอ้ งของ จุดประสงคเ์ ปน็ ส่วนใหญ่ จดุ ประสงค์บางประเดน็ กบั จุดประสงค์ เนื้อหา เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของผลงาน เนือ้ หาสาระของผลงาน เน้ือหาสาระของ 3. ความคดิ สร้างสรรค์ ผลงานถูกต้อง ถกู ตอ้ งเปน็ สว่ นใหญ่ ถูกตอ้ งบางประเด็น ผลงานไมถ่ กู ตอ้ ง ครบถ้วน เปน็ ส่วนใหญ่ 4. ความตรงต่อเวลา ผลงานมคี วามนา่ สนใจ ผลงานแสดงถึง ผลงานแสดงถงึ ความคิด แต่ยงั ไมม่ ีแนวคิดแปลก ผลงานไมม่ คี วาม ความคิดสร้างสรรค์ สรา้ งสรรค์ แปลกใหม่ ใหม่ น่าสนใจ และไม่ แปลกใหม่ และ แตย่ ังไมเ่ ปน็ ระบบ แสดงถงึ แนวคดิ เป็นระบบ ส่งชน้ิ งานช้ากว่าเวลาท่ี แปลกใหม่ กำหนด 2 วัน ส่งชน้ิ งานภายใน ส่งชน้ิ งานช้ากว่าเวลาที่ ส่งช้นิ งานชา้ กว่า เวลาท่กี ำหนด กำหนด 1 วนั เวลาทกี่ ำหนด 3 วัน ขนึ้ ไป เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 14-16 ดมี าก 11-13 ดี 8-10 พอใช้ ตำ่ กวา่ 8 ปรบั ปรงุ โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 131 แบบประเมินชนิ้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 2,5 แบบประเมนิ ผลงาน คำชแี้ จง ให้ผู้สอนประเมินช้ินงาน/ภาระงาน แลว้ ขีด ✓ลงในช่องทีต่ รงกับระดับคะแนน ลำดับท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน 4321 1 การออกแบบ 2 การเลือกใชว้ ัสดุ รวม 3 ความสมบูรณ์ 4 ความตรงตอ่ เวลา ลงชื่อ ................................................... ผปู้ ระเมิน ................./................../.................. โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 1 132 เกณฑก์ ารประเมนิ ผลงาน ประเด็นทปี่ ระเมนิ ระดบั คะแนน 1. การออกแบบ 4 32 1 ออกแบบชนิ้ งานก่อนลง ออกแบบช้นิ งานกอ่ นลง ออกแบบชนิ้ งานกอ่ นลง สร้างช้ินงานได้ มือปฏิบตั ิ วางแผนและ สอดคลอ้ งกับ ดำเนินการสรา้ งชิ้นงาน มอื ปฏบิ ัติ วางแผนและ มือปฏิบัติ วางแผนและ จดุ ประสงค์บางสว่ น ได้สอดคลอ้ งกับ โดยไม่ได้ออกแบบและ จุดประสงค์ ดำเนินการสร้างช้ินงาน ดำเนนิ การสรา้ งชิ้นงาน วางแผนดำเนนิ การ ได้สอดคล้องกับ ได้สอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์เปน็ สว่ น จดุ ประสงค์บางสว่ น ใหญ่ 2. การเลอื กใช้ เลือกใช้วสั ดุได้ เลือกใช้วัสดุได้ เลอื กใช้วสั ดุได้ เลอื กใชว้ สั ดไุ ม่ วัสดุ เหมาะสม และใช้ เหมาะสม แต่ใช้ เหมาะสมพอสมควร เหมาะสม และใช้ งบประมาณอย่าง งบประมาณสงู และใช้งบประมาณสูง งบประมาณสงู มาก 3. ความสมบรู ณ์ ประหยดั ช้นิ งานมีความแขง็ แรง ช้นิ งานมคี วามแขง็ แรง ชน้ิ งานไม่แขง็ แรง และ 4. ความตรงต่อ ชิน้ งานมคี วามแขง็ แรง ทนทาน และใช้งานได้ ทนทาน แตไ่ มส่ ามารถ ไมส่ ามารถใชง้ านได้จริง เวลา ทนทาน สวยงาม และ จริง ใชง้ านได้จรงิ ใช้งานได้จริง ส่งช้ินงานชา้ กว่าเวลาที่ สง่ ช้นิ งานชา้ กวา่ เวลาท่ี สง่ ชิน้ งานชา้ กวา่ เวลาท่ี กำหนด 3 วนั ขึ้นไป ส่งช้ินงานภายในเวลาที่ กำหนด 1 วนั กำหนด 2 วนั กำหนด เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 14-16 ดีมาก 11-13 ดี 8-10 พอใช้ ต่ำกว่า 8 ปรบั ปรงุ โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 133 แบบประเมนิ ชนิ้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 3 แบบประเมนิ รายงาน คำช้แี จง : ให้ผู้สอนประเมนิ ช้นิ งาน/ภาระงาน แลว้ ขดี ✓ลงในช่องทต่ี รงกับระดับคะแนน ลำดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดับคะแนน 1 432 1 ความถกู ตอ้ งของเน้อื หา 2 ความสมบรู ณ์ของรปู เลม่ รวม 3 ความตรงตอ่ เวลา ลงชอ่ื ................................................... ผูป้ ระเมิน ................./................../.................. เกณฑก์ ารประเมินรายงาน ประเด็นท่ีประเมนิ ระดบั คะแนน 1. ความถกู ตอ้ ง 432 1 ของเนื้อหา เนือ้ หาสาระของ เน้อื หาสาระของ เนอ้ื หาสาระของ เนือ้ หาสาระของ 2. ความสมบรู ณ์ รายงานไม่ถูกต้องเปน็ ของรปู เลม่ รายงานถกู ตอ้ งครบถว้ น รายงานถกู ตอ้ งเป็นสว่ น รายงานถูกตอ้ งบาง สว่ นใหญ่ 3. ความตรงต่อ ใหญ่ ประเด็น องค์ประกอบไม่ เวลา ครบถว้ น ไมเ่ ป็น มีองค์ประกอบครบถ้วน มีองคป์ ระกอบครบถว้ น มอี งคป์ ระกอบครบถ้วน ระเบยี บ และรปู เล่มไม่ สวยงาม สมบูรณ์ มีความเปน็ สมบรู ณ์ มีความเปน็ สมบรู ณ์ แต่ยังไม่เปน็ สง่ ชนิ้ งานช้ากวา่ เวลาท่ี ระเบียบ และรูปเล่ม ระเบยี บ แตร่ ปู เลม่ ไม่ ระเบยี บ และรปู เล่มไม่ กำหนด 3 วนั ขนึ้ ไป สวยงาม สวยงาม สวยงาม ส่งชิ้นงานภายในเวลาท่ี ส่งชิ้นงานชา้ กว่าเวลาที่ ส่งชนิ้ งานช้ากว่าเวลาท่ี กำหนด กำหนด 1 วนั กำหนด 2 วนั เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 11-12 ดมี าก 9-10 ดี 6-8 พอใช้ ต่ำกวา่ 6 ปรบั ปรงุ โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 134 แบบประเมินการนำเสนอผลงาน คำชีแ้ จง : ให้ผู้สอนประเมนิ การนำเสนอผลงาน แลว้ ขีด ✓ลงในชอ่ งท่ตี รงกบั ระดับคะแนน ลำดับที่ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 1 32   1 ความถูกต้องของเนอ้ื หา    2 ภาษาท่ีใช้เขา้ ใจง่าย   3 ประโยชน์ทไ่ี ด้จากการนำเสนอ  4 วิธกี ารนำเสนอผลงาน  5 ความสวยงามของผลงาน  รวม ลงช่อื ................................................... ผปู้ ระเมิน .............../................/................ เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมินสมบรู ณ์ชัดเจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมนิ เปน็ สว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมินบางสว่ น เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 14-15 ดมี าก 11-13 ดี 8-10 พอใช้ ตำ่ กวา่ 8 ปรับปรุง โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 135 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล คำช้ีแจง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในช่องทีต่ รงกบั ระดับ คะแนน ลำดบั ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน 1 32 1 การแสดงความคดิ เหน็   2 การยอมรบั ฟังความคิดเห็นของผอู้ ื่น   3 การทำงานตามหนา้ ทีท่ ีไ่ ด้รับมอบหมาย   4 ความมีน้ำใจ   5 การตรงตอ่ เวลา   รวม ลงช่อื ................................................... ผปู้ ระเมิน ................/.............../................ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้งั ให้ 1 คะแนน ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางครงั้ เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 14-15 ดีมาก 11-13 ดี 8-10 พอใช้ ต่ำกวา่ 8 ปรับปรงุ โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 136 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายกลุม่ คำชแ้ี จง : ให้ผู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในชอ่ งทีต่ รงกบั ระดับ คะแนน ลำดับ ชอ่ื –สกลุ การแสดง การยอมรบั ฟัง การทำงาน ความมีนำ้ ใจ การมี รวม ที่ ของนักเรยี น ความคิดเหน็ คนอื่น ตามทไี่ ดร้ ับ สว่ นรว่ มในการ 15 มอบหมาย คะแนน ปรับปรงุ ผลงานกลมุ่ 3213213213 21 3 21 เกณฑ์การใหค้ ะแนน ลงชือ่ ................................................... ผู้ประเมนิ ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอยา่ งสมำ่ เสมอ ................/.............../............... ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยคร้ัง ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14-15 ดีมาก 11-13 ดี 8-10 พอใช้ ตำ่ กวา่ 8 ปรับปรงุ โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 137 แบบประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คำชแี้ จง : ให้ผสู้ อนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ✓ลงในช่องทตี่ รงกบั ระดบั คะแนน คุณลักษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน อันพงึ ประสงค์ด้าน 321 1. รักชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และรอ้ งเพลงชาติได้ กษัตรยิ ์ 1.2 เข้าร่วมกจิ กรรมท่ีสรา้ งความสามัคคี ปรองดอง และเปน็ ประโยชน์ตอ่ โรงเรียน 1.3 เขา้ รว่ มกิจกรรมทางศาสนาทต่ี นนับถอื ปฏบิ ตั ิตามหลักศาสนา 1.4 เข้าร่วมกจิ กรรมทีเ่ กยี่ วกับสถาบนั พระมหากษัตริยต์ ามที่โรงเรียนจัดขน้ึ 2. ซ่อื สัตย์ สจุ รติ 2.1 ให้ขอ้ มูลทถี่ ูกต้องและเป็นจรงิ 2.2 ปฏิบัตใิ นสงิ่ ทถ่ี กู ตอ้ ง 3. มีวนิ ัย รับผิดชอบ 3.1 ปฏิบัตติ ามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครวั มคี วามตรงต่อเวลาในการปฏบิ ัติกจิ กรรมตา่ ง ๆ ในชีวิตประจำวัน 4. ใฝเ่ รียนรู้ 4.1 รจู้ ักใช้เวลาว่างให้เปน็ ประโยชน์และนำไปปฏบิ ตั ิได้ 4.2 รจู้ กั จัดสรรเวลาใหเ้ หมาะสม 4.3 เชื่อฟังคำสงั่ สอนของบิดา-มารดา โดยไมโ่ ต้แย้ง 4.4 ต้งั ใจเรยี น 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง 5.1 ใชท้ รัพย์สนิ และส่ิงของของโรงเรียนอย่างประหยัด 5.2 ใชอ้ ุปกรณ์การเรียนอยา่ งประหยัดและรูค้ ณุ คา่ 5.3 ใชจ้ า่ ยอย่างประหยัดและมกี ารเก็บออมเงนิ 6. ม่งุ มนั่ ในการทำงาน 6.1 มคี วามต้ังใจและพยายามในการทำงานท่ีไดร้ ับมอบหมาย 6.2 มคี วามอดทนและไมท่ ้อแท้ต่ออปุ สรรคเพือ่ ให้งานสำเร็จ 7. รักความเป็นไทย 7.1 มจี ติ สำนกึ ในการอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมและภมู ปิ ัญญาไทย 7.2 เห็นคณุ ค่าและปฏิบัตติ นตามวัฒนธรรมไทย 8. มจี ติ สาธารณะ 8.1 รจู้ ักชว่ ยพอ่ แม่ ผปู้ กครอง และครูทำงาน 8.2 รจู้ กั การดแู ลรกั ษาทรัพย์สมบัติและสิ่งแวดลอ้ มของหอ้ งเรยี นและโรงเรยี น เกณฑ์การใหค้ ะแนน ลงชื่อ ................................................... ผปู้ ระเมนิ พฤติกรรมที่ปฏิบัติชดั เจนและสมำ่ เสมอ ................/.............../................ พฤตกิ รรมที่ปฏิบตั ชิ ัดเจนและบ่อยคร้ัง พฤตกิ รรมทป่ี ฏบิ ัตบิ างคร้ัง ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14-15 ดีมาก 11-13 ดี 8-10 พอใช้ ตำ่ กวา่ 8 ปรับปรุง โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 138 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นที่ 2/2562 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา วิทยาศาสตร์ (ว21102) หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 บรรยากาศ เรือ่ ง องค์ประกอบของบรรยากาศ จำนวนเวลาที่สอน 3 ชัว่ โมง ผ้สู อน นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา 1. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด (ความเขา้ ใจที่คงทน) บรรยากาศเปน็ อากาศท่ีหอ่ หุ้มดาวเคราะห์ รวมถึงโลกของเรา บรรยากาศประกอบไปด้วยอากาศแห้ง ซึ่งเป็นอากาศที่ไม่มีไอน้ำอยู่ ส่วนประกอบของอากาศแห้ง ได้แก่ ไนโตรเจน ออกซิเจน อาร์กอน คาร์บอนไดออกไซด์ ไอน้ำ และอ่ืน ๆ นอกจากน้ี บรรยากาศยังประกอบไปด้วยไอน้ำ และฝุ่นผง ซ่ึงมี บทบาทสำคัญตอ่ การดำรงชวี ิตของส่งิ มีชวี ิต 2. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชีว้ ัดชัน้ ป/ี ผลการเรยี นรู้/เปา้ หมายการเรยี นรู้ 2.1 ตัวชว้ี ดั ว 3.2 ม.1/1 สร้างแบบจำลองท่อี ธบิ ายการแบง่ ชั้นบรรยากาศ และเปรยี บเทียบประโยชน์ของ บรรยากาศแต่ละชนั้ 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 ด้านความรู้ (Knowledge) 1) อธิบายความหมายและองค์ประกอบของบรรยากาศได้ 2) อธบิ ายความสำคญั ของบรรยากาศที่มตี อ่ ส่ิงมชี ีวิตและส่ิงแวดล้อมได้ 3.2 ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ (Skill/Process) 3) นำเสนอผลงานเก่ียวกับองคป์ ระกอบของบรรยากาศได้ 3.3 ดา้ นเจตคติ (Attitude) 4) รบั ผดิ ชอบต่อหน้าที่และงานทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 เน้ือหาสาระหลัก : Knowledge (ผเู้ รยี นตอ้ งรู้อะไร) โลกมบี รรยากาศห่อหมุ้ นักวทิ ยาศาสตรใ์ ช้สมบตั ิและองคป์ ระกอบของบรรยากาศในการแบ่ง บรรยากาศของโลกออกเปน็ ช้นั ซ่งึ แบง่ ได้หลายรูปแบบตามเกณฑ์ท่ีแตกต่างกนั โดยทัว่ ไปนักวทิ ยาศาสตร์ใช้ เกณฑก์ ารเปลย่ี นแปลงอุณหภูมติ ามความสูงแบ่งบรรยากาศไดเ้ ปน็ 5 ชั้น ไดแ้ ก่ ชั้นโทรโพสเฟียร์ ช้ันสตราโทส เฟยี ร์ ชั้นมโี ซสเฟียร์ ชน้ั เทอร์โมสเฟยี ร์ และช้ันเอกโซสเฟียร์ 4.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process (ผู้เรียนสามารถปฏบิ ตั อิ ะไรได้) 1) ความสามารถในการสอ่ื สาร 2) ความสามารถในการคิด 2.1) ทกั ษะการวิเคราะห์ โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 139 2.2) ทกั ษะการสรุปลงความเหน็ 3) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ 4.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ : Attitude (ผู้เรียนควรแสดงพฤติกรรมการเรียนอะไรบา้ ง) 1) มวี นิ ยั 2) ใฝ่เรียนรู้ 3) มงุ่ มัน่ ในการทำงาน 5. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียนและคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 1. มีวนิ ยั 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรยี นรู้ 1) ทกั ษะการวเิ คราะห์ 3. มุ่งม่นั ในการทำงาน 2) ทักษะการสรุปลงความเหน็ 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ 6. กิจกรรมการเรยี นรู้  วธิ สี อนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชวั่ โมงท่ี 1 ขน้ั นำ กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครแู จง้ ผลการเรียนรู้ ให้นักเรยี นทราบ 2. ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียนเก่ียวกับเรื่อง องค์ประกอบของบรรยากาศ โดยใช้คำถามเพื่อ กระตุ้นนักเรียน ดังนี้ - เพราะเหตุใดส่ิงมชี ีวิตจึงสามารถดำรงชีวิตอยู่บนโลกได้ ขณะท่ีดาวเคราะหด์ วงอ่ืนในระบบสรุ ิยะไม่ พบสง่ิ มชี วี ติ ทสี่ ามารถดำรงชวี ติ อยูไ่ ด้ (แนวตอบ เพราะโลกมบี รรยากาศหอ่ หมุ้ ) - ครูใหน้ กั เรยี นดูภาพเครื่องบนิ ทบ่ี นิ อยู่บนท้องฟา้ เหนอื เมฆ และศึกษาคำอธิบายเก่ียวกับบรรยากาศใน ภาพ แล้วถามนักเรียนว่า อากาศที่ห่อหุ้มโลกน้ัน น่าจะประกอบไปด้วยอะไรบ้างท่ีอยู่ภายใน บรรยากาศ (แนวตอบ พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินจิ ของครผู ู้สอน ตัวอย่างเช่น อากาศ ประกอบไปดว้ ยแกส๊ ฝนุ่ ละออง และนำ้ ) - ครูถามโดยใช้คำถามจาก Big question ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 หน้า 26 ว่า บรรยากาศมคี วามสำคญั ต่อโลกของเราอยา่ งไร โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 1 140 (แนวตอบ พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครผู ู้สอน ตัวอย่างเช่น ช่วย สะทอ้ นรังสีจากดวงอาทติ ย์ เป็นตน้ ) - ครูเกริ่นว่า ผลของบรรยากาศที่มีความสำคัญต่อโลกเกี่ยวข้องกับองค์ประกอบของบรรยากาศ จากน้นั ครถู ามนักเรียนต่อว่า บรรยากาศหมายถงึ อะไร (แนวตอบ พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน ตัวอย่างเช่น บรรยากาศ หมายถงึ อากาศทห่ี ่อหุ้มโลก เปน็ ต้น) - ครูถามนักเรยี นเกีย่ วกับคำถาม prior knowledge ว่า บรรยากาศประกอบด้วยสารชนดิ ใดบา้ ง (แนวตอบ อากาศประกอบไอดว้ ยอากาศแหง้ ซึง่ เป็นแก๊สชนิดตา่ ง ไอนำ้ และอนภุ าคฝุ่นตา่ ง ๆ) ขน้ั สอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า บรรยากาศ คือ อากาศที่อยู่รอบตัวเราซ่ึง ประกอบด้วยแก๊สชนิดต่าง ๆ อากาศห่อหุ้มโลกเราตั้งแต่ผิวโลกข้ึนไปจนสูงประมาณ 600 กิโลเมตร โดยครูช่วยอธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนเข้าใจว่า องค์ประกอบของบรรยากาศจะมี สดั สว่ นคงท่ี ต้ังแต่ระดับผิวโลกข้นึ ไปจนสงู ประมาณ 80 กิโลเมตร 2. ครูถามนักเรียนต่อว่า องค์ประกอบของบรรยากาศแต่ละส่วน มีบทบาทสำคัญต่อสิ่งมีชีวิต และ สง่ิ แวดล้อมอยา่ งไร แล้วให้นักเรยี นแบ่งกลมุ่ กลุ่มละ 5 คน เพ่ือศึกษาเกีย่ วกบั เร่ือง องค์ประกอบ ของบรรยากาศ จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 หน้า 27–30 หรือสืบค้นจากแหล่ง เรียนรูอ้ ่ืน ๆ ใชเ้ วลาไมเ่ กิน 15 นาที โดยแบ่งหัวข้อทีศ่ กึ ษาในแต่ละกลุ่ม ดังน้ี - กล่มุ ที่ 1 ศกึ ษาหัวข้อ เรือ่ ง อากาศแหง้ ในบรรยากาศ - กลมุ่ ท่ี 2 ศกึ ษาหัวขอ้ เร่ือง ไอนำ้ ในบรรยากาศ - กลุม่ ที่ 3 ศึกษาหวั ข้อ เรือ่ ง อนภุ าคของฝุน่ ในบรรยากาศ หมายเหตุ : หากมนี ักเรียนในหอ้ งมากกวา่ 15 คน ให้แบง่ กลุ่มเพิ่มเพอื่ ให้ได้กลมุ่ ละประมาณ 5 คน แลว้ ให้เลอื กศกึ ษาองค์ประกอบของบรรยากาศ 1 เร่ือง เช่นเดยี วกับกลุม่ ท่ี 1–3 3. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนแผนภาพนำเสนอองค์ประกอบของบรรยากาศในเรื่องที่กลุ่มของ ตนเองศึกษาลงผงั มโนทศั น์ เร่ือง องค์ประกอบของบรรยากาศ โดยใชเ้ วลาไมเ่ กิน 10 นาที ชวั่ โมงที่ 2 อธบิ ายความรู้ (Explain) 3 1. ครูให้ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผังมโนทัศน์ เร่ือง องค์ประกอบของบรรยากาศ หนา้ ชัน้ เรียน จากน้ันครแู ละนักเรยี นร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องและความละเอยี ดของขอ้ มลู ที่ แตล่ ะกลมุ่ นำเสนอหน้าชนั้ เรยี น จากนั้นใหแ้ ต่ละกลุ่มศกึ ษาการนำเสนอแผนภาพของกลุ่มอ่ืนแล้ว เขยี นข้อมูลเพมิ่ เตมิ ลงในผังมโนทัศน์ของกล่มุ ตนเอง 2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและหาข้อสรปุ จากการปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้แนวคำถามตอ่ ไปนี้ - อากาศแห้งคืออะไร และมคี วามสำคัญอยา่ งไร โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่