Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ม.1 ภาคเรียนที่ 2

แผนการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ม.1 ภาคเรียนที่ 2

Published by Tanapat Issarangkul Na Ayutthaya, 2021-05-04 01:37:23

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ม.1 ภาคเรียนที่ 2

Search

Read the Text Version

จดั ทำโดย... นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่ สำนกั งานบรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ กระทรวงศึกษาธกิ าร

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 1 การออกแบบการจดั การเรียนรู้ กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ รายวชิ า วิทยาศาสตร์ รหสั วิชา ว21102 ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ ตำบลช่างเคิง่ อำเภอแม่แจ่ม จงั หวัดเชียงใหม่ สำนกั บริหารงานการศึกษาพเิ ศษ สำนกั งานการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 2 คำอธิบายรายวชิ า รายวชิ า วิทยาศาสตร์ รหสั วชิ า ว 21102 ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2562 เวลา 60 ชวั่ โมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ คำอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาเกี่ยวกับสารรอบตัว สมบัติของสาร การจำแนกสารด้วยสถานะ เนื้อสาร และขนาดอนุภาคของ สาร การเปลี่ยนแปลงของสาร สารบริสุทธิ์และสารผสม สมบัติของสารบริสุทธิ์และสารผสม การใช้ความรู้ ทางเคมีให้เป็นประโยชน์ต่อการเลือกใช้สารเคมีในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย การศึกษา ชีววทิ ยาโดยอาศยั วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ศึกษาประเภทโครงสรา้ งและหนา้ ที่ของส่วนประกอบภายในเซลล์ สิ่งมีชีวิตด้วยกล้องจุลทรรศน์ ศึกษากระบวนการลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ด้วยวิธีการแพร่และ การออสโมซสิ ศึกษาการดำรงชวี ิตของพชื กระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสง การลำเลยี งสารในพืช การ เจริญเตบิ โตของพืช การสืบพนั ธ์ขุ องพชื และเทคโนโลยชี ีวภาพของพชื ศกึ ษาเก่ยี วกบั อณุ หภูมแิ ละการวัด ผล ของความร้อนที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสาร สมดุลความร้อน การถ่ายโอนความร้อน องค์ประกอบของ บรรยากาศ การแบ่งชั้นบรรยากาศ ผลของรังสีจากดวงอาทิตย์ต่อบรรยากาศ องค์ประกอบของบรรยากาศ ได้แก่ อุณหภูมิอากาศ ความดันอากาศ ความชื้นอากาศ ลม เมฆและฝน พายุฟ้าคะนอง พายุหมุนเขตร้อน มรสุม การพยากรณอ์ ากาศ และการเปล่ยี นแปลงภมู อิ ากาศของโลก โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การวิเคราะห์ การทดลอง การอภิปราย การอธิบาย และสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน มจี ติ วิทยาศาสตร์ มคี ุณธรรม และจริยธรรม ตัวช้ีวัด ว 1.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7 ม.1/8 ม.1/9 ม.1/10 ม.1/11 ม.1/12 ม.1/13 ม.1/14 ม.1/15 ม.1/16 ม.1/17 ม.1/18 ว 2.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7 ม.1/8 ม.1/9 ม.1/10 ว 2.2 ม.1/1 ว 2.3 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7 ว 3.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7 รวม 43 ตวั ช้ีวัด โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 3 ตวั ช้วี ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง วทิ ยาศาสตร์ * สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบตั ิของสิ่งมีชวี ติ หนว่ ยพ้นื ฐานของส่งิ มชี วี ติ การลำเลยี งสารผ่านเซลล์ ความสมั พันธ์ ของโครงสร้าง และหน้าท่ขี องระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษยท์ ่ที ำงานสัมพันธก์ ัน ความสัมพนั ธข์ องโครงสรา้ งและหน้าที่ของอวยั วะต่าง ๆ ของพืชท่ที ำงานสัมพันธก์ นั รวมทั้ง นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ชั้น ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ม.1 1. เปรียบเทยี บรปู ร่างและ • เซลล์เป็นหนว่ ยพนื้ ฐานของสิง่ มีชวี ิต สงิ่ มชี ีวิตบางชนดิ มี โครงสรา้ งของเซลลพ์ ืชและสตั ว์ เซลลเ์ พยี งเซลล์เดยี ว เชน่ อะมีบา พารามีเซยี ม ยีสต์ บาง รวมทัง้ บรรยายหนา้ ทขี่ องผนงั ชนดิ มีหลายเซลล์ เช่น พืช สัตว์ เซลล์ เยื่อหุม้ เซลล์ ไซโทพลา • โครงสร้างพ้นื ฐานทพ่ี บทง้ั ในเซลลพ์ ชื และเซลลส์ ัตว์ และ ซมึ นิวเคลียส แวควิ โอล ไมโท สามารถสังเกตไดด้ ้วยกล้องจุลทรรศนใ์ ชแ้ สง ไดแ้ ก่ เยอื่ หมุ้ คอนเดรีย และคลอโรพลาสต์ เซลล์ ไซโทพลาซมึ และนิวเคลยี ส โครงสร้างทพ่ี บในเซลล์ 2. ใชก้ ลอ้ งจลุ ทรรศน์ใชแ้ สงศกึ ษา พชื แต่ไม่พบในเซลลส์ ัตว์ ได้แก่ ผนังเซลล์ และคลอโร- เซลล์และโครงสร้างตา่ ง ๆ พลาสต์ ภายในเซลล์ • โครงสร้างต่าง ๆ ของเซลล์มหี นา้ ที่แตกตา่ งกนั - ผนังเซลล์ ทำหนา้ ท่ีให้ความแข็งแรงแกเ่ ซลล์ - เยื่อหมุ้ เซลล์ ทำหน้าที่หอ่ หุม้ เซลล์ และควบคมุ การ ลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ - นวิ เคลียส ทำหน้าทค่ี วบคมุ การทำงานของเซลล์ - ไซโทพลาซึม มอี อรแ์ กเนลล์ท่ีทำหน้าทแ่ี ตกต่างกนั - แวคิวโอล ทำหนา้ ท่ีเก็บน้ำและสารต่าง ๆ - ไมโทคอนเดรีย ทำหนา้ ที่สลายสารอาหารเพื่อให้ได้ พลังงานแกเ่ ซลล์ - คลอโรพลาสต์ เปน็ แหล่งที่เกดิ การสังเคราะห์ดว้ ยแสง 3. อธบิ ายความสมั พันธ์ระหว่าง • เซลล์ของสงิ่ มชี วี ติ มีรปู รา่ งลกั ษณะทีห่ ลากหลาย และมี รปู รา่ งกับการทำหน้าทข่ี อง ความเหมาะสมกบั หน้าทข่ี องเซลล์นน้ั เชน่ เซลล์ประสาท เซลล์ สว่ นใหญม่ ีเสน้ ใยประสาทเป็นแขนงยาว นำกระแส ประสาทไปยังเซลลอ์ นื่ ๆ ที่อย่ไู กลออกไป เซลล์ขนราก เป็นเซลล์ผิวของรากทม่ี ผี นังเซลล์และเยอ่ื ห้มุ เซลล์ยื่นยาว ออกมา ลกั ษณะคล้ายขนเสน้ เลก็ ๆ เพือ่ เพิม่ พ้ืนท่ีผวิ ใน การดดู นำ้ และแร่ธาตุ 4. อธิบายการจดั ระบบของ • พืชและสตั ว์เป็นส่ิงมีชวี ติ หลายเซลลม์ ีการจดั ระบบ โดยเร่ิม สิ่งมีชีวติ โดยเริม่ จากเซลล์ จากเซลล์ไปเป็นเนื้อเยื่อ อวยั วะ ระบบอวยั วะ และสง่ิ มชี ีวิต ตามลำดับ เซลลห์ ลายเซลล์มารวมกนั เป็นเนอื้ เยอื่ เนื้อเยอื่ โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 4 ชัน้ ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง เน้ือเยื่อ อวยั วะ ระบบอวัยวะ หลายชนิดมารวมกัน และทำงานร่วมกนั เป็นอวัยวะ อวยั วะ จนเป็นส่ิงมีชีวิต ตา่ ง ๆ ทำงานร่วมกนั เป็นส่งิ มีชวี ติ นอกจากนใี้ นกระดกู ฟัน และกลา้ มเนือ้ จะมธี าตุเป็นองคป์ ระกอบดว้ ย 5. อธิบายกระบวนการแพร่และ • เซลล์มีการนำสารเข้าสู่เซลล์เพอื่ ใช้ในกระบวนการตา่ ง ๆ ออสโมซิส จากหลักฐานเชิง ของเซลล์ และมีการขจัดสารบางอย่างท่ีเซลล์ไม่ต้องการ ประจักษ์ และยกตัวอย่างการ ออกนอกเซลล์ การนำสารเข้าและออกจากเซลล์ มีหลาย แพรแ่ ละออสโมซิส ใน วธิ ี เชน่ การแพร่ เป็นการเคลอื่ นท่ีของสารจากบริเวณที่มี ชีวติ ประจำวนั ความเขม้ ข้นของสารสงู ไปสบู่ ริเวณท่มี ีความเขม้ ข้นของ สารตำ่ สว่ นออสโมซิสเป็นการแพร่ของนำ้ ผา่ นเยอ่ื หุม้ เซลล์ 6. ระบุปัจจยั ทีจ่ ำเปน็ ในการ จากด้านทีม่ ีความเขม้ ขน้ ของสารละลายต่ำไปยังดา้ นทม่ี ี สงั เคราะห์ดว้ ยแสงและผลผลิต ความเขม้ ข้นของสารละลายสูงกว่า ที่เกดิ ข้นึ จากการสงั เคราะห์ • กระบวนการสงั เคราะหด์ ้วยแสงของพืชท่ีเกิดข้นึ ในคลอ ด้วยแสง โดยใช้หลกั ฐานเชิง โรพลาสต์ จำเปน็ ต้องใชแ้ สง แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ ประจกั ษ์ คลอโรฟลิ ล์ และนำ้ ผลผลติ ทไ่ี ด้จากการสังเคราะห์ด้วย แสง ได้แก่ นำ้ ตาลและแก๊สออกซิเจน 7. อธบิ ายความสำคัญของการ สงั เคราะห์ด้วยแสงของพชื ต่อ • การสังเคราะห์ดว้ ยแสงเป็นกระบวนการท่ีสำคัญต่อ ส่ิงมีชวี ติ และส่งิ แวดล้อม สง่ิ มชี วี ติ เพราะเป็นกระบวนการเดียวทสี่ ามารถนำ พลังงานแสงมาเปลย่ี นเป็นพลังงานในรปู สารประกอบ 8. ตระหนักในคุณคา่ ของพืชท่ีมี อนิ ทรยี แ์ ละเกบ็ สะสมในรปู แบบต่าง ๆ ในโครงสร้างของ ต่อสงิ่ มชี วี ติ และสงิ่ แวดลอ้ ม พืช พืชจึงเปน็ แหลง่ อาหารและพลงั งานที่สำคญั ของ โดยการรว่ มกนั ปลกู และดแู ล ส่ิงมีชีวติ อืน่ นอกจากน้ีกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสงยงั รักษาตน้ ไม้ในโรงเรยี น เปน็ กระบวนการหลักในการสร้างแก๊สออกซิเจนใหก้ ับ บรรยากาศเพื่อให้สิง่ มีชวี ติ อ่นื ใช้ในกระบวนการหายใจ 9. บรรยายลกั ษณะและหนา้ ท่ี ของไซเลม็ และโฟลเอม็ • พืชมีไซเล็มและโฟลเอ็ม ซงึ่ เปน็ เนื้อเยื่อมลี กั ษณะคลา้ ยท่อ เรยี งตัวกันเปน็ กลุม่ เฉพาะท่ี โดยไซเล็มทำหนา้ ที่ลำเลยี ง 10. เขยี นแผนภาพท่บี รรยายทิศ น้ำและธาตอุ าหาร มีทศิ ทางลำเลยี งจากรากไปส่ลู ำต้น ใบ ทางการลำเลยี ง สารในไซ และสว่ นต่าง ๆ ของพืช เพ่อื ใชใ้ นการสงั เคราะหด์ ้วยแสง เล็มและโฟลเอม็ ของพืช รวมถึงกระบวนการอืน่ ๆ ส่วนโฟลเอ็ม ทำหน้าท่ลี ำเลยี ง อาหารทไ่ี ด้จากการสังเคราะหด์ ว้ ยแสง มีทิศทางลำเลยี ง จากบรเิ วณที่มีการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงไปสู่ส่วนต่าง ๆ ของ พชื โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 5 ช้นั ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง 11. อธิบายการสบื พนั ธุ์แบบอาศยั • พืชดอกทกุ ชนิดสามารถสืบพนั ธแ์ุ บบอาศยั เพศได้ และบาง เพศ และไมอ่ าศยั เพศของพืช ชนิดสามารถสบื พนั ธุแ์ บบไมอ่ าศัยเพศได้ ดอก • การสืบพันธแุ์ บบอาศยั เพศเป็นการสบื พันธุท์ ม่ี กี ารผสมกัน 12. อธบิ ายลกั ษณะโครงสร้างของ ของสเปริ ม์ กับเซลล์ไข่ การสบื พันธุแ์ บบอาศัยเพศของพืช ดอกทม่ี สี ่วนทำให้เกิดการถา่ ย ดอกเกดิ ขึน้ ที่ดอก โดยภายในอับเรณูของสว่ นเกสรเพศผู้มี เรณู รวมท้งั บรรยาย การ เรณู ซึ่งทำหนา้ ท่ีสร้างสเปิรม์ ภายในออวลุ ของสว่ นเกสร ปฏิสนธิของพชื ดอก การ เพศเมยี มีถงุ เอม็ บรโิ อ ทำหนา้ ที่สรา้ งเซลล์ไข่ เกดิ ผลและเมล็ด การกระจาย เมลด็ และการงอกของเมล็ด • การสืบพันธแุ์ บบไม่อาศัยเพศ เปน็ การสืบพนั ธท์ุ พี่ ืชต้นใหม่ ไม่ไดเ้ กิดจากการปฏิสนธริ ะหวา่ งสเปริ ์มกบั เซลล์ไข่ แต่เกิด 13. ตระหนกั ถงึ ความสำคญั ของ จากส่วนต่าง ๆ ของพืช เชน่ ราก ลำตน้ ใบ มกี าร สัตว์ ท่ีชว่ ยในการถ่ายเรณู เจรญิ เติบโตและพัฒนาขน้ึ มาเปน็ ต้นใหมไ่ ด้ ของพชื ดอก โดยการไม่ ทำลายชีวิตของสัตว์ ท่ชี ่วย • การถ่ายเรณู คอื การเคล่อื นย้ายของเรณจู ากอบั เรณไู ปยัง ในการถา่ ยเรณู ยอดเกสรเพศเมีย ซงึ่ เก่ียวข้องกับลักษณะและโครงสร้าง ของดอก เช่น สีของกลีบดอก ตำแหนง่ ของเกสรเพศผูแ้ ละ 14. อธิบายความสำคญั ของธาตุ เกสรเพศเมยี โดยมสี ิ่งทชี่ ว่ ย ในการถ่ายเรณู เชน่ แมลง อาหารบางชนดิ ท่มี ีผลตอ่ การ ลม เจริญเตบิ โต และการดำรงชวี ิต ของพืช • การถา่ ยเรณูจะนำไปสู่การปฏิสนธิ ซ่ึงจะเกดิ ข้ึนท่ถี งุ เอ็มบรโิ อ ภายในออวุล หลังการปฏิสนธจิ ะไดไ้ ซโกตและเอนโดสเปิร์ม ไซ 15. เลอื กใช้ปยุ๋ ทีม่ ีธาตุอาหาร โกต จะพฒั นาต่อไปเป็นเอ็มบริโอ ออวุลพัฒนาไปเปน็ เมลด็ เหมาะสมกบั พชื ใน และรงั ไข่พฒั นาไปเปน็ ผล สถานการณ์ท่ีกำหนด • ผลและเมลด็ มีการกระจายออกจากต้นเดมิ โดยวิธีการต่าง ๆ เม่อื เมลด็ ไปตกในสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมจะเกดิ การ งอกของเมล็ด โดยเอม็ บริโอภายในเมลด็ จะเจรญิ ออกมา โดยระยะแรกจะอาศยั อาหารทีส่ ะสมภายในเมลด็ จนกระท่งั ใบแทพ้ ฒั นา จนสามารถสังเคราะห์ดว้ ยแสงได้ เตม็ ทแ่ี ละสร้างอาหารไดเ้ องตามปกติ • พืชต้องการธาตอุ าหารทีจ่ ำเปน็ หลายชนดิ ในการ เจรญิ เตบิ โต และการดำรงชวี ิต • พชื ต้องการธาตอุ าหารบางชนิดในปริมาณมาก ได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม และกำมะถัน ซ่ึง ในดนิ อาจมีไมเ่ พียงพอสำหรบั การ เจรญิ เตบิ โตของพชื จึงต้องมี การให้ธาตอุ าหารในรปู ของปุ๋ยกบั พืชอยา่ งเหมาะสม โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 6 ช้นั ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง 16. เลือกวิธีการขยายพนั ธุ์พชื ให้ • มนุษย์สามารถนำความรเู้ ร่อื งการสืบพันธ์แุ บบอาศัยเพศ เหมาะสมกับความต้องการของ และไมอ่ าศัยเพศ มาใช้ขยายพันธุเ์ พอ่ื เพิ่มจำนวนพชื เช่น มนษุ ย์ โดยใช้ความรูเ้ กี่ยวกับ การใช้เมล็ดท่ไี ด้จากการสบื พันธแ์ุ บบอาศยั เพศมาเพาะเลี้ยง การสืบพันธขุ์ องพืช วธิ กี ารน้ีจะไดพ้ ืชในปรมิ าณมาก แต่อาจมีลกั ษณะท่ีแตกต่าง 17. อธิบายความสำคัญของ ไปจากพอ่ แม่ ส่วนการตอนก่ิง การปกั ชำ การตอ่ ก่ิง การตดิ เทคโนโลยี การเพาะเลีย้ ง ตา การทาบกงิ่ การเพาะเล้ยี งเน้อื เยอื่ เปน็ การ นำ เน้ือเยื่อพืชในการใช้ประโยชน์ ความรเู้ รอื่ ง การสบื พันธ์แุ บบไมอ่ าศยั เพศของพืชมาใช้ใน ด้านต่าง ๆ การขยายพันธ์เุ พอื่ ให้ได้พืชทีม่ ีลักษณะเหมือนต้นเดิม ซง่ึ 18. ตระหนกั ถึงประโยชน์ของการ การขยายพันธุ์แต่ละวธิ ี มขี ัน้ ตอนแตกตา่ งกนั จงึ ควรเลอื ก ขยายพันธ์ุพชื โดยการนำความรู้ ให้เหมาะสมกบั ความตอ้ งการของมนุษย์ โดยตอ้ งคำนงึ ถึง ไปใช้ในชีวิตประจำวนั ชนิดของพชื และลกั ษณะการสบื พันธ์ขุ องพชื • เทคโนโลยีการเพาะเลีย้ งเนอื้ เยื่อพชื เป็นการนำความรู้ เกีย่ วกับปจั จัยท่ีจำเป็นต่อการเจริญเตบิ โตของพชื มาใช้ใน การเพม่ิ จำนวนพืช และทำใหพ้ ืชสามารถเจรญิ เตบิ โตไดใ้ น หลอดทดลอง ซึ่งจะได้พืชจำนวนมากในระยะเวลาสัน้ และ สามารถนำเทคโนโลยกี ารเพาะเลยี้ งเนอ้ื เยื่อมาประยกุ ตเ์ พ่อื การอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื ปรบั ปรุงพันธุพ์ ืชท่ีมีความสำคญั ทางเศรษฐกิจ การผลติ ยา และสาระสำคญั ในพชื และอนื่ ๆ สาระที่ 2 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง สถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี ชั้น ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.1 1. อธบิ ายสมบตั ิทางกายภาพบาง • ธาตุแต่ละชนดิ มีสมบัตเิ ฉพาะตวั และมสี มบัติทาง ประการของธาตโุ ลหะ อโลหะ และ กายภาพ บางประการเหมือนกนั และบางประการ กึง่ โลหะ โดยใชห้ ลกั ฐานเชิง ตา่ งกัน ซ่งึ สามารถนำมาจดั กลมุ่ ธาตุเปน็ โลหะ ประจักษ์ที่ได้จากการสงั เกต และ อโลหะ และกง่ึ โลหะ ธาตโุ ลหะมจี ุดเดือด จดุ การทดสอบ และใชส้ ารสนเทศที่ได้ หลอมเหลวสูง มีผิวมนั วาว นำความรอ้ น นำไฟฟา้ จากแหล่งขอ้ มูลต่าง ๆ รวมทง้ั จดั ดึงเป็นเสน้ หรือตเี ปน็ แผ่นบางๆ ได้ และมีความ กลมุ่ ธาตุเป็นโลหะ อโลหะ และกึง่ หนาแนน่ ทัง้ สูงและต่ำ ธาตุอโลหะ มีจุดเดือด จดุ โลหะ หลอมเหลวต่ำ มีผวิ ไม่มันวาว ไม่นำความร้อน ไมน่ ำ ไฟฟ้า เปราะแตกหกั ง่าย และ มีความหนาแน่นตำ่ โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 7 ชั้น ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ธาตุกงึ่ โลหะมสี มบัติบางประการเหมอื นโลหะ และ สมบตั ิบางประการเหมือนอโลหะ 2. วิเคราะห์ผลจากการใชธ้ าตโุ ลหะ • ธาตโุ ลหะ อโลหะ และก่ึงโลหะ ท่ีสามารถแผร่ ังสีได้ อโลหะ กง่ึ โลหะ และธาตุ จัดเปน็ ธาตุกมั มนั ตรงั สี กมั มันตรังสที ี่มตี อ่ สงิ่ มชี ีวติ สิง่ แวดล้อม เศรษฐกิจ และสงั คม จากขอ้ มูลทรี่ วบรวมได้ 3. ตระหนกั ถงึ คุณค่าของการใชธ้ าตุโลหะ • ธาตมุ ที ง้ั ประโยชน์และโทษ การใชธ้ าตโุ ลหะ อโลหะ อโลหะ กึง่ โลหะ ธาตกุ มั มนั ตรังสี โดย กึง่ โลหะ ธาตกุ มั มันตรงั สี ควรคำนงึ ถงึ ผลกระทบต่อ เสนอแนวทางการใช้ธาตุอยา่ ง สิ่งมชี วี ิต สิ่งแวดลอ้ ม เศรษฐกจิ และสงั คม ปลอดภัย ค้มุ ค่า 4. เปรียบเทยี บจดุ เดอื ด จุด • สารบริสุทธ์ิประกอบดว้ ยสารเพยี งชนิดเดียว ส่วนสาร หลอมเหลวของสารบรสิ ทุ ธแ์ิ ละ ผสมประกอบดว้ ยสารตงั้ แต่ 2 ชนดิ ขนึ้ ไป สาร สารผสม โดยการวดั อณุ หภมู ิ เขยี น บรสิ ทุ ธิ์แต่ละชนดิ มีสมบตั ิบางประการท่ีเป็นค่า กราฟ แปลความหมายขอ้ มลู จาก เฉพาะตวั เชน่ จุดเดือดและจุดหลอมเหลวคงท่ี แต่ กราฟ หรอื สารสนเทศ สารผสมมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวไมค่ งที่ ขึ้นอยู่ กับชนดิ และสดั สว่ นของสารท่ีผสมอยดู่ ว้ ยกัน 5. อธิบายและเปรยี บเทยี บความ • สารบรสิ ุทธ์ิแต่ละชนดิ มีความหนาแนน่ หรือมวลต่อ หนาแนน่ ของสารบริสุทธิ์และสาร หนึ่งหน่วยปรมิ าตรคงท่ี เป็นค่าเฉพาะของสารนั้น ณ ผสม สถานะ และอณุ หภมู หิ น่งึ แต่สารผสมมีความ 6. ใชเ้ คร่อื งมอื เพอ่ื วดั มวลและ หนาแน่นไม่คงที่ ขึน้ อยูก่ บั ชนิดและสดั ส่วนของสารท่ี ปรมิ าตรของสารบริสทุ ธิ์และสาร ผสมอยูด่ ้วยกนั ผสม 7. อธิบายเกยี่ วกับความสมั พันธ์ • สารบริสทุ ธิแ์ บ่งออกเป็นธาตแุ ละสารประกอบ ระหวา่ งอะตอม ธาตุและ • ธาตุประกอบดว้ ยอนุภาคทีเ่ ลก็ ท่ีสุดท่ยี ังแสดงสมบัติ สารประกอบ โดยใช้แบบจำลอง และสารสนเทศ ของธาตุน้ัน เรียกวา่ อะตอม ธาตแุ ตล่ ะชนิด ประกอบด้วยอะตอมเพียงชนดิ เดียว และไม่สามารถ แยกสลายเป็นสารอนื่ ได้ด้วยวิธีทางเคมี ธาตุเขยี น แทนด้วยสัญลักษณธ์ าตุ สารประกอบเกิดจากอะตอม ของธาตตุ ั้งแต่ 2 ชนิดขึน้ ไปรวมตวั กนั ทางเคมใี น อัตราส่วนคงที่ มสี มบัตแิ ตกต่างจากธาตทุ ่ีเปน็ องคป์ ระกอบ สามารถแยกเปน็ ธาตุได้ด้วยวธิ ีทางเคมี ธาตแุ ละสารประกอบสามารถเขียนแทนได้ดว้ ยสูตร เคมี โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 8 ชน้ั ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 8. อธิบายโครงสรา้ งอะตอมท่ี • อะตอมประกอบด้วยโปรตอน นวิ ตรอน และ ประกอบด้วย อเิ ลก็ ตรอน โปรตอน มีประจุไฟฟ้าบวก ธาตุชนิด เดยี วกันมีจำนวนโปรตอนเทา่ กัน และเป็นคา่ เฉพาะ โปรตอน นวิ ตรอน และอิเลก็ ตรอน ของธาตนุ ้นั นวิ ตรอนเปน็ กลางทางไฟฟ้า สว่ น โดยใช้แบบจำลอง อิเล็กตรอนมปี ระจุไฟฟ้าลบ เมือ่ อะตอมมีจำนวน โปรตอนเท่ากับจำนวนอิเล็กตรอนจะเปน็ กลาง 9. อธิบายและเปรียบเทยี บการ ทางไฟฟ้า โปรตอนและนิวตรอนรวมกนั ตรงกลาง จัดเรยี งอนุภาค แรงยึดเหนย่ี ว อะตอมเรยี กว่า นวิ เคลียส ส่วนอิเล็กตรอนเคล่อื นที่ ระหวา่ งอนุภาค และการเคลอ่ื นที่ อยใู่ นทีว่ า่ งรอบนิวเคลียส ของอนภุ าคของสสารชนดิ เดยี วกัน ในสถานะของแขง็ ของเหลว และ • สสารทกุ ชนดิ ประกอบดว้ ยอนภุ าค โดยสารชนดิ แก๊ส โดยใช้แบบจำลอง เดยี วกนั ท่มี ีสถานะของแขง็ ของเหลว แก๊ส จะมีการ จดั เรยี งอนุภาค แรงยดึ เหนี่ยวระหว่างอนภุ าค การ 10. อธบิ ายความสมั พันธ์ระหวา่ ง เคลื่อนทข่ี องอนภุ าคแตกต่างกนั ซ่งึ มีผลตอ่ รูปรา่ ง พลังงานความรอ้ นกับการเปลี่ยน และปรมิ าตรของสสาร สถานะของสสาร โดยใชห้ ลักฐาน เชิงประจักษ์และแบบจำลอง • อนุภาคของของแขง็ เรยี งชดิ กนั มแี รงยึดเหนีย่ ว ระหว่างอนภุ าคมากท่สี ดุ อนภุ าคสั่นอยกู่ ับท่ี ทำให้มี รปู ร่างและปรมิ าตรคงที่ • อนุภาคของของเหลวอยู่ใกลก้ นั มีแรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาคนอ้ ยกวา่ ของแขง็ แตม่ ากกวา่ แกส๊ อนุภาคเคล่อื นทีไ่ ดแ้ ตไ่ ม่เป็นอิสระเท่าแก๊ส ทำให้มี รปู ร่างไมค่ งที่ แตป่ รมิ าตรคงที่ • อนุภาคของแก๊สอยหู่ ่างกันมาก มีแรงยดึ เหนยี่ ว ระหว่างอนภุ าคน้อยทสี่ ดุ อนุภาคเคลอื่ นที่ได้อยา่ ง อสิ ระทกุ ทศิ ทาง ทำให้มรี ปู ร่างและปริมาตรไม่คงที่ • ความร้อนมีผลต่อการเปลย่ี นสถานะของสสาร เมื่อให้ ความร้อนแก่ของแขง็ อนุภาคของของแข็ง จะมี พลังงานและอณุ หภูมเิ พม่ิ ขึ้นจนถงึ ระดบั หนง่ึ ซง่ึ ของแข็งจะใชค้ วามร้อน ในการเปลีย่ นสถานะเป็น ของเหลว เรียกความรอ้ นท่ีใชใ้ นการเปล่ียนสถานะ จากของแข็งเป็นของเหลวว่า ความรอ้ นแฝงของการ หลอมเหลว และอุณหภูมิขณะเปล่ียนสถานะจะคงที่ เรียกอุณหภมู ินีว้ ่า จุดหลอมเหลว • เม่อื ให้ความรอ้ นแกข่ องเหลว อนภุ าคของของเหลว จะมีพลังงานและอณุ หภมู เิ พ่ิมขึ้นจนถึงระดับหนึง่ ซ่ึง โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 9 ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ของเหลวจะใช้ความร้อนในการเปล่ียนสถานะเป็น แกส๊ เรยี กความรอ้ นที่ใชใ้ นการเปล่ยี นสถานะจาก ของเหลวเป็นแก๊สวา่ ความร้อนแฝงของการ กลายเปน็ ไอ และอณุ หภูมขิ ณะเปลี่ยนสถานะจะคงที่ เรยี กอุณหภูมิน้วี ่า จดุ เดอื ด • เม่ือทำให้อุณหภมู ขิ องแก๊สลดลงจนถึงระดับหนึ่งแก๊ส จะเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว เรียกอณุ หภูมินวี้ ่า จุดควบแนน่ ซง่ึ มีอุณหภูมเิ ดียวกบั จุดเดือดของ ของเหลว • เมอ่ื ทำใหอ้ ุณหภมู ขิ องของเหลวลดลงจนถึงระดบั หน่ึง ของเหลวจะเปลย่ี นสถานะเปน็ ของแขง็ เรยี ก อณุ หภูมินว้ี ่า จุดเยอื กแขง็ ซ่ึงมีอณุ หภมู ิเดียวกบั จดุ หลอมเหลวของของแข็งน้นั มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาตขิ องแรงในชีวิตประจำวนั ผลของแรงท่กี ระทำตอ่ วัตถุ ลกั ษณะการเคล่ือนที่ แบบต่าง ๆ ของวัตถุ รวมทั้งนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ ชน้ั ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ม.1 1. สรา้ งแบบจำลองทอี่ ธิบาย • เมอ่ื วตั ถุอยูใ่ นอากาศจะมีแรงท่ีอากาศกระทำตอ่ วัตถใุ นทกุ ความสัมพันธ์ระหวา่ งความ ทศิ ทาง แรงทอ่ี ากาศกระทำตอ่ วตั ถุขึ้นอยู่กบั ขนาดพน้ื ทขี่ อง ดนั อากาศกบั ความสงู จากพนื้ วัตถุนน้ั แรงทอี่ ากาศกระทำตัง้ ฉากกบั ผิววตั ถุตอ่ หนง่ึ หนว่ ย โลก พ้ืนที่ เรยี กว่า ความดันอากาศ ความดันอากาศ มี ความสมั พนั ธ์กบั ความสูงจาก พน้ื โลก โดยบริเวณทส่ี ูงจาก พนื้ โลกขึ้นไป อากาศเบาบางลง มวลอากาศนอ้ ยลง ความ ดนั อากาศก็จะลดลง โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1 10 มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลงั งาน การเปล่ียนแปลง และการถา่ ยโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสสาร และพลงั งาน พลังงานในชีวิตประจำวนั ธรรมชาตขิ องคลนื่ ปรากฏการณ์ท่ี เกยี่ วข้องกับเสยี ง แสง และคล่นื แม่เหล็กไฟฟ้า รวมทัง้ นำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ ชัน้ ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ม.1 1. วิเคราะห์ แปลความหมาย • เมื่อสสารไดร้ บั หรอื สูญเสียความรอ้ นอาจทำให้สสาร ข้อมูล และคำนวณปริมาณ เปลยี่ นอณุ หภูมิ เปล่ยี นสถานะ หรือเปล่ียนรูปรา่ ง ความรอ้ นทท่ี ำให้สสารเปล่ียน • ปริมาณความร้อนท่ีทำให้สสารเปลี่ยนอุณหภูมิขึ้นกบั มวล อณุ หภมู ิและเปลย่ี นสถานะ ความรอ้ นจำเพาะ และอุณหภมู ิท่ีเปล่ยี นไป โดยใช้สมการ Q = mc∆t • ปริมาณความรอ้ นทที่ ำให้สสารเปล่ยี นสถานะข้นึ กบั มวล และ Q = mL และความรอ้ นแฝงจำเพาะ โดยขณะทส่ี สารเปลย่ี นสถานะ 2. ใช้เทอร์มอมิเตอรใ์ นการวัด อณุ หภมู จิ ะไม่เปลีย่ นแปลง อุณหภูมขิ องสสาร 3. สร้างแบบจำลองท่ีอธิบาย • ความร้อนทำให้สสารขยายตวั หรอื หดตวั ได้ เนอ่ื งจากเมอ่ื การขยายตวั หรอื หดตัวของ สสารไดร้ ับความร้อนจะทำใหอ้ นุภาคเคล่อื นที่เร็วขึ้น ทำ สสารเนือ่ งจากได้รับ หรือ ใหเ้ กดิ การขยายตวั แต่เมอ่ื สสารคายความร้อน จะทำให้ สญู เสียความรอ้ น อนภุ าคเคลื่อนท่ีช้าลง ทำให้เกิดการหดตัว 4. ตระหนักถึงประโยชน์ของ • ความร้เู รอื่ งการหดและขยายตวั ของสสารเนอ่ื งจากความ ความรขู้ องการหดและ รอ้ น นำไปใชป้ ระโยชน์ ในดา้ นตา่ ง ๆ เชน่ การสร้างถนน ขยายตัวของสสารเน่อื งจาก การสร้างรางรถไฟ การทำเทอร์มอมิเตอร์ ความร้อน โดยวเิ คราะห์ สถานการณ์ปญั หา และ เสนอแนะวิธีการนำความร้มู า แกป้ ญั หา ในชีวิตประจำวนั 5. วเิ คราะห์สถานการณก์ ารถา่ ย • ความร้อนถา่ ยโอนจากสสารทม่ี ีอณุ หภูมิสูงกวา่ ไปยังสสาร โอนความรอ้ น และคำนวณ ท่ีมีอณุ หภมู ติ ่ำกว่าจนกระทั่งอณุ หภมู ิของสสารทง้ั สอง ปรมิ าณความร้อนทถ่ี ่ายโอน เท่ากัน สภาพท่สี สารทั้งสองมอี ณุ หภูมิเทา่ กัน เรียกว่า ระหว่างสสารจนเกิดสมดุล สมดลุ ความร้อน ความรอ้ นโดยใช้ • เมอื่ มีการถ่ายโอนความร้อนจากสสารท่ีมีอณุ หภูมิตา่ งกัน สมการ Qสญู เสยี = Qได้รับ จนเกิดสมดุลความรอ้ น ความร้อนที่เพ่ิมขน้ึ ของสสารหน่ึง จะเทา่ กับ ความร้อนท่ลี ดลงของอกี สสารหนง่ึ ซ่ึงเป็นไป ตามกฎการอนุรกั ษพ์ ลังงาน 6. สร้างแบบจำลองท่ีอธบิ ายการ • การถา่ ยโอนความรอ้ นมี 3 แบบ คอื การนำความรอ้ น ถ่ายโอนความร้อนโดยการนำ การพาความรอ้ น และการแผร่ งั สคี วามรอ้ น การนำความ ความร้อน การพาความรอ้ น ร้อน เปน็ การถ่ายโอนความรอ้ นทีอ่ าศัยตวั กลาง โดยที่ การแผ่รงั สี ความร้อน ตวั กลางไม่เคลือ่ นท่ี การพาความรอ้ นเป็นการถ่ายโอน ความรอ้ นที่อาศัยตวั กลาง โดยทต่ี วั กลางเคลือ่ นท่ไี ปด้วย โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 11 ชน้ั ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 7. ออกแบบ เลือกใช้ และสรา้ ง สว่ นการแผร่ ังสคี วามรอ้ นเป็นการถา่ ยโอนความรอ้ นทไ่ี ม่ อปุ กรณเ์ พ่ือแก้ปัญหาใน ตอ้ งอาศยั ตัวกลาง ชวี ติ ประจำวนั โดยใช้ความรู้ • ความรเู้ กย่ี วกับการถา่ ยโอนความร้อนสามารถนำไปใช้ เกีย่ วกับการถ่ายโอนความรอ้ น ประโยชนใ์ นชวี ติ ประจำวันได้ เช่น การเลือกใช้วัสดเุ พื่อ นำมาทำภาชนะบรรจอุ าหารเพอ่ื เกบ็ ความรอ้ น หรอื การ ออกแบบระบบระบายความรอ้ นในอาคาร สาระท่ี 3 วทิ ยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ มาตรฐาน ว 3.2 เขา้ ใจองค์ประกอบ และความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลยี่ นแปลงภายในโลก และบนผิวโลก ธรณีพบิ ตั ิภัย กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟา้ อากาศและภมู อิ ากาศโลก รวมทงั้ ผลต่อสง่ิ มีชวี ิต และสงิ่ แวดล้อม ชั้น ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ม.1 1. สรา้ งแบบจำลองที่อธิบายการ • โลกมบี รรยากาศหอ่ หุ้ม นกั วทิ ยาศาสตร์ใช้สมบตั ิและ แบ่งช้นั บรรยากาศ และ องคป์ ระกอบของบรรยากาศในการแบง่ บรรยากาศของโลก เปรยี บเทียบประโยชนข์ อง ออกเป็นช้ัน ซงึ่ แบง่ ไดห้ ลายรูปแบบตามเกณฑ์ทแ่ี ตกต่าง บรรยากาศแต่ละชัน้ กัน โดยท่ัวไปนักวทิ ยาศาสตร์ใชเ้ กณฑ์การเปล่ียนแปลง อุณหภูมิตามความสูง แบ่งบรรยากาศได้เปน็ 5 ช้ัน ไดแ้ ก่ ช้นั โทรโพสเฟยี ร์, ชั้นสตราโตสเฟียร์, ชน้ั มโี ซสเฟยี ร์, ชนั้ เทอร์โมสเฟียร์ และชนั้ เอกโซสเฟียร์ • บรรยากาศแต่ละชัน้ มีประโยชน์ต่อสิ่งมชี ีวติ แตกต่างกัน โดยชน้ั โทรโพสเฟียร์มปี รากฏการณล์ มฟา้ อากาศท่ีสำคญั ต่อการดำรงชวี ิตของสงิ่ มีชวี ติ ชนั้ สตราโตสเฟียร์ ช่วย ดดู กลนื รงั สีอลั ตราไวโอเลตจากดวงอาทิตยไ์ มใ่ หม้ ายังโลก มากเกนิ ไป ช้ันมโี ซสเฟยี รช์ ว่ ยชะลอวตั ถุนอกโลกท่ีผา่ นเข้า มาให้เกิดการเผาไหม้กลายเปน็ วตั ถุขนาดเล็ก ลดโอกาสที่ จะทำความเสยี หายแก่ส่งิ มชี ีวิตบนโลก ชนั้ เทอรโ์ มส-เฟียร์ สามารถสะทอ้ นคลื่นวทิ ยุ และช้ันเอกโซสเฟยี รเ์ หมาะ สำหรบั การโคจรของดาวเทยี มรอบโลกในระดบั ต่ำ 2.อธิบายปัจจัยที่มีผลตอ่ การ • ลมฟ้าอากาศเปน็ สภาวะของอากาศในเวลาหนึ่งของพนื้ ที่ เปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของ หนึง่ ที่มีการเปลยี่ นแปลงตลอดเวลาข้ึนอยกู่ บั องค์ประกอบ ลมฟ้าอากาศ จากขอ้ มูลท่ี ลมฟ้าอากาศ ไดแ้ ก่ อุณหภูมอิ ากาศ ความกดอากาศ ลม รวบรวมได้ ความชน้ื เมฆ และหยาดน้ำฟ้า โดยหยาดนำ้ ฟ้าที่พบบอ่ ย ในประเทศไทย ได้แก่ ฝน องค์ประกอบลมฟ้าอากาศ โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 12 ช้นั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง 3. เปรยี บเทยี บกระบวนการเกดิ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาขนึ้ อยกู่ ับปัจจยั ตา่ ง ๆ เช่น ปรมิ าณ พายุฝนฟ้าคะนองและพายุ รงั สีจากดวงอาทติ ยแ์ ละลักษณะพื้นผวิ โลกสง่ ผลต่อ หมุนเขตรอ้ น และผลทีม่ ตี ่อ อุณหภมู อิ ากาศ อณุ หภูมิอากาศ และปริมาณไอน้ำสง่ ผลต่อ ส่ิงมชี ีวติ และส่งิ แวดลอ้ ม ความช้ืน ความกดอากาศส่งผลต่อลม ความช้นื และลม รวมทัง้ นำเสนอแนวทางการ สง่ ผลต่อเมฆ ปฏิบตั ิตนให้เหมาะสมและ • พายฝุ นฟ้าคะนอง เกิดจากการทีอ่ ากาศทม่ี ีอุณหภูมิและ ปลอดภยั ความชื้นสูงเคล่อื นทข่ี ึ้นส่รู ะดับความสงู ทมี่ อี ุณหภูมติ ่ำลง จนกระทง่ั ไอน้ำในอากาศเกิดการควบแน่นเปน็ ละอองน้ำ 4. อธิบายการพยากรณ์อากาศ และเกดิ ตอ่ เนื่องเปน็ เมฆขนาดใหญ่ พายฝุ นฟ้าคะนอง ทำ และพยากรณอ์ ากาศอย่างงา่ ย ให้เกดิ ฝนตกหนัก ลมกรรโชกแรง ฟ้าแลบฟ้าผ่า ซ่ึงอาจ จากข้อมลู ทร่ี วบรวมได้ กอ่ ใหเ้ กิดอนั ตรายตอ่ ชวี ติ และทรพั ยส์ ิน • พายุหมนุ เขตรอ้ นเกิดเหนอื มหาสมุทร หรอื ทะเลท่ีน้ำ 5. ตระหนกั ถงึ คณุ คา่ ของการ อุณหภมู ิสูงตงั้ แต่ 26–27 องศาเซลเซยี สขน้ึ ไป ทำให้ พยากรณอ์ ากาศโดยนำเสนอ อากาศที่มีอุณหภมู แิ ละความชน้ื สูงบรเิ วณนน้ั เคลื่อนที่ แนวทางการปฏิบตั ิตน และ สูงขึน้ อย่างรวดเร็วเป็นบริเวณกว้าง อากาศจากบรเิ วณอ่นื การใช้ประโยชน์จากคำ เคล่อื นเขา้ มาแทนท่ี และพัดเวียนเข้าหาศนู ย์กลางของพายุ พยากรณ์อากาศ ยง่ิ ใกล้ศนู ยก์ ลางอากาศจะเคล่ือนท่พี ดั เวยี นเกือบเป็น วงกลม และมอี ัตราเรว็ สงู ท่สี ุด พายหุ มนุ เขตรอ้ นทำให้เกิด 6. อธิบายสถานการณ์และ คลื่นพายุซัดฝัง่ ฝนตกหนกั ซึ่งอาจกอ่ ใหเ้ กิดอนั ตรายตอ่ ผลกระทบการเปลยี่ นแปลง ชีวติ และทรัพย์สิน จึงควรปฏบิ ัตติ นใหป้ ลอดภยั โดยตดิ ตาม ข่าวสารการพยากรณ์อากาศ และไม่เขา้ ไปอยใู่ นพน้ื ท่ีท่ี เสย่ี งภยั • การพยากรณ์อากาศเป็นการคาดการณ์ลมฟ้าอากาศทจ่ี ะ เกดิ ขึ้น ในอนาคตโดยมีการตรวจวัดองค์ประกอบลมฟา้ อากาศ การสอ่ื สารแลกเปล่ยี นข้อมูลองค์ประกอบลมฟา้ อากาศระหวา่ งพน้ื ที่ การวิเคราะหข์ อ้ มลู และสรา้ งคำ พยากรณอ์ ากาศ • การพยากรณ์อากาศสามารถนำมาใช้ประโยชนด์ ้านต่าง ๆ เชน่ การใช้ชีวิตประจำวนั การคมนาคม การเกษตร การปอ้ งกัน และเฝา้ ระวังภัยพบิ ตั ิทางธรรมชาติ • ภูมิอากาศโลกเกิดการเปลีย่ นแปลงอยา่ งต่อเนื่องโดยปัจจัย ทางธรรมชาติ แตป่ ัจจบุ ันการเปลย่ี นแปลงภูมิอากาศ เกดิ ข้ึนอย่างรวดเรว็ เนื่องจากกจิ กรรมของมนษุ ย์ในการ โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 13 ชน้ั ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ภมู ิอากาศโลกจากขอ้ มูลท่ี ปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจกสู่บรรยากาศ แกส๊ เรอื นกระจก รวบรวมได้ ท่ถี กู ปลดปลอ่ ยมากทส่ี ุด ได้แก่ แก๊สคารบ์ อนไดออกไซดซ์ ่ึง หมนุ เวยี นอยู่ในวัฏจักรคารบ์ อน 7. ตระหนักถึงผลกระทบของการ • การเปลีย่ นแปลงภมู อิ ากาศโลกกอ่ ให้เกิดผลกระทบตอ่ เปลี่ยนแปลงภูมอิ ากาศโลกโดย ส่ิงมีชีวติ และสิง่ แวดล้อม เช่น การหลอมเหลวของน้ำแขง็ นำเสนอแนวทางการปฏบิ ัตติ น ข้วั โลก การเพ่มิ ขน้ึ ของระดบั น้ำทะเล การเปลย่ี นแปลง ภายใต้การเปลี่ยนแปลง วัฏจักรน้ำ การเกดิ โรคอุบตั ิใหม่และอุบัตซิ ำ้ และการเกดิ ภูมอิ ากาศโลก ภัยพบิ ตั ิทางธรรมชาตทิ ีร่ ุนแรงขน้ึ มนษุ ย์จึงควรเรียนร้แู นว ทางการปฏบิ ตั ิตนภายใต้สถานการณด์ ังกล่าว ทง้ั แนวทาง การปฏบิ ัตใิ ห้เหมาะสม และแนวทางการลดกิจกรรม ท่ีส่งผลต่อการเปลีย่ นแปลงภมู อิ ากาศโลก * สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ, ตัวชี้วัดและสาระการ เรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2560) โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 14 ผงั มโนทศั น์ รายวชิ า วิทยาศาสตร์ รหัสวชิ า ว 21102 ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2562 ชื่อหนว่ ยท่ี 4 พลังงานความรอ้ น จำนวน 21 ช่วั โมง : ….. คะแนน รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 จำนวน 60 ชว่ั โมง ชือ่ หน่วยที่ 5 บรรยากาศ ชือ่ หน่วยที่ 6 บรรยากาศ 2 จำนวน 23 ชว่ั โมง : ….. คะแนน จำนวน 16 ชั่วโมง : ….. คะแนน โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 15 ผงั มโนทัศน์ 1 รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหสั วชิ า ว21102 ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4 เร่ือง พลังงานความรอ้ น จำนวน 21 ช่วั โมง : .................... คะแนน หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 4 เรือ่ ง พลงั งานความรอ้ น จำนวน 21 ชั่วโมง 1. ช่ือเรื่อง อณุ หภูมแิ ละการวดั 4. ช่ือเรื่อง สมดลุ ความรอ้ น จำนวน 4 ชว่ั โมง : ….. คะแนน จำนวน 2 ช่ัวโมง : ….. คะแนน 2. ชื่อเร่อื ง ผลของความรอ้ นที่มตี อ่ การ 5. ชื่อเรื่อง การนำความรอ้ น ขยายตวั หรือหดตัวของสาร จำนวน 4 ชวั่ โมง : ….. คะแนน จำนวน 3 ช่ัวโมง : ….. คะแนน 6. ช่ือเร่ือง การพาความร้อน จำนวน 2 ชวั่ โมง : ….. คะแนน 3. ชื่อเรื่อง ผลของความร้อนที่ต่อการ เปลยี่ นแปลงอุณหภมู ิของสาร จำนวน 4 ชั่วโมง : ….. คะแนน 7. ชื่อเรื่อง การแผร่ ังสคี วามร้อน จำนวน 2 ช่ัวโมง : ….. คะแนน โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 16 ผังมโนทศั น์ 2 รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหสั วชิ า ว21102 ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 5 เรือ่ ง บรรยากาศ จำนวน 23 ชว่ั โมง : .................... คะแนน หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 5 เร่อื ง บรรยากาศ จำนวน 23 ชว่ั โมง 1. ชื่อเร่อื ง องคป์ ระกอบของบรรยากาศ 5. ช่ือเร่ือง ความดันอากาศ จำนวน 3 ชั่วโมง : ….. คะแนน จำนวน 3 ชั่วโมง : ….. คะแนน 2. ชื่อเรอื่ ง การแบ่งชั้นบรรยากาศ 6. ชื่อเร่ือง ความช้นื อากาศ จำนวน 3 ช่ัวโมง : ….. คะแนน จำนวน 3 ชั่วโมง : ….. คะแนน 3. ชื่อเรือ่ ง องค์ประกอบของลม 7. ช่อื เรื่อง ลม ฟ้า อากาศ จำนวน 3 ชวั่ โมง : ….. คะแนน จำนวน 2 ช่ัวโมง : ….. คะแนน 8. ช่ือเรื่อง เมฆและฝน จำนวน 3 ชว่ั โมง : ….. คะแนน 4. ชื่อเร่อื ง อณุ หภูมอิ ากาศ จำนวน 3 ชว่ั โมง : ….. คะแนน โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1 17 ผงั มโนทัศน์ 3 รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหสั วิชา ว21102 ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 6 เร่ือง บรรยากาศ 2 จำนวน 16 ชว่ั โมง : .................... คะแนน หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 6 เร่ือง บรรยากาศ 2 จำนวน 16 ช่วั โมง 1. ช่ือเรอื่ ง พายุฟ้าคะนอง 3. ชื่อเร่ือง เกณฑ์การรายงานการ จำนวน 3 ชัว่ โมง : ….. คะแนน พยากรณ์อากาศ 2. ช่ือเร่ือง พายุหมนุ เขตร้อน จำนวน 3 ชัว่ โมง : ….. คะแนน จำนวน 3 ชวั่ โมง : ….. คะแนน 4. ช่ือเร่ือง แผนทีอ่ ากาศ จำนวน 3 ชัว่ โมง : ….. คะแนน 5. ช่ือเรื่อง การเปลย่ี นแปลง ภมู อิ ากาศของโลก จำนวน 4 ชว่ั โมง : ….. คะแนน โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 1 18 โครงสร้างรายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ ม.1 ลำดับที่ ชื่อหน่วย มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา 4. การเรยี นรู้ เรยี นรู/้ ตวั ชวี้ ดั (ชม.) อุณหภมู ิ คอื ระดบั ความร้อนของสาร สามารถวัดได้โดยใช้ พลังงานความร้อน ว 2.3 อุปกรณ์ทเ่ี รียกวา่ เทอรม์ อมเิ ตอร์ 21 ม.1/1 เทอร์มอมิเตอร์มีอยู่หลายแบบ เช่น เทอร์มอมิเตอร์แบบ ม.1/2 กระเปาะ เทอร์มอมิเตอรแ์ บบดิจิทลั เป็นต้น ขั้นตอนการใช้ ม.1/3 เทอร์มอมิเตอร์แบบกระเปาะ คือ จุ่มเทอร์มอมิเตอร์ด้าน ม.1/4 กระเปาะลงในสารที่ต้องการวัด โดยให้เทอร์มอมิเตอร์อยู่ใน ม.1/5 แนวดิ่ง แล้วอ่านค่าอุณหภูมิโดยให้สายตาอยู่ระดับเดียวกับ ม.1/6 ระดบั ของเหลวในเทอร์มอมิเตอร์ ม.1/7 หน่วยวัดอุณหภูมิมีอยู่หลายหน่วย ซึ่งแต่ละหน่วยจะมีจุด เยือกแข็งและจุดเดือดแตกตา่ งกัน หากต้องการเปรียบเทียบ คา่ อุณหภมู ิระหว่างหน่วยวัดอณุ หภูมิจะไดส้ มการ ดังนี้ C/5 = (K-273)/5 = (F-32)/9 = R/4 สารเมื่อได้รับความร้อนอาจมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ สถานะ หรือรูปร่างของสาร ความรอ้ นที่มผี ลตอ่ การเปลยี่ นแปลงอุณหภูมขิ องสารขึ้นอยู่ กับมวล ความร้อนจำเพาะ และอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไป โดยสถานะของสารไมเ่ ปลี่ยนแปลง ความร้อนที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสถานะของสารขึ้นอยู่กับ มวล และความร้อนแฝงจำเพาะ โดยที่อุณหภูมิของสารไม่ เปลี่ยนแปลง ความร้อนที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของสาร เม่ือ สารไดร้ บั ความรอ้ นจะทำให้อนภุ าคเคลื่อนทเี่ รว็ ข้ึน ทำให้เกิด การขยายตวั สง่ ผลให้ขนาดและรูปร่างเปลีย่ นแปลงไป สารที่มีอุณหภูมิแตกต่างกัน จะมีการถ่ายโอนความร้อน ระหว่างกนั การถ่ายโอนความร้อนมี 3 แบบ คอื การนำความ ร้อน การพาความรอ้ น และการแผร่ งั สคี วามร้อน การนำความรอ้ นเปน็ การถ่ายโอนความรอ้ นที่อาศยั ตัวกลาง โดยตัวกลางไม่เคลื่อนที่ การพาความร้อนเป็นการถ่ายโอน ความร้อนที่อาศัยตัวกลาง โดยตัวกลางมีการเคลื่อนที่ ส่วน การแผ่รังสีความร้อนเป็นการถ่ายโอนความร้อนที่ไม่อาศัย ตัวกลาง วัตถุเมื่อได้รับความร้อนจะดูดกลืนพลังงานความร้อนและ แผ่รังสีความร้อนออกมา วัตถุชนิดต่าง ๆ จะมีการดูดกลืน และคายความร้อนได้แตกต่างกัน ซึ่งปัจจัยที่มีผลต่อการ ดดู กลืนและคายรงั สีความร้อน มดี งั น้ี 1. สี วัตถุทม่ี สี ีเข้ม จะดูดกลืนและคายความร้อนได้ดกี ว่าวัตถุท่ี มสี ีออ่ น โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 19 ลำดับท่ี ชือ่ หน่วย มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา การเรยี นรู้ เรยี นรู้/ตวั ช้วี ดั (ชม.) 2. อุณหภูมิ วัตถุที่มีอุณหภูมิแตกต่างกับสิ่งแวดล้อมมาก 5. บรรยากาศ ว. 2.2 จะดดู กลืนและคายความรอ้ นได้เร็วกว่าวัตถุท่มี ีอุณหภูมิแตกต่าง 23 ม.1/1 กบั ส่งิ แวดลอ้ มนอ้ ย ว. 3.2 3. ผิวของวัตถุ วัตถุที่มีผิวหยาบและด้าน จะดูดกลืนและ ม.1/1 คายความร้อนได้ดกี วา่ วัตถุท่มี ีผวิ เรียบและมัน ม.1/2 4. พื้นที่ผิว วัตถุที่มีพื้นที่ผิวมาก จะดูดกลืนและคาย ความร้อนไดด้ กี ว่าวตั ถุทมี่ ีพน้ื ทผ่ี วิ น้อย สารที่มีอุณหภูมิแตกต่างกันเกิดการถ่ายโอนความร้อน ระหวา่ งกันจนกระท่งั อุณหภูมขิ องสารเทา่ กนั เรยี กสภาพนี้ว่า สมดุลความร้อน โดยความร้อนที่เพิ่มขึ้นของสารหนึ่ง จะเท่ากับความร้อนท่ีลดลงของอีกสารหนึง่ ซึง่ เป็นไปตามกฎ การอนุรักษ์พลังงาน การถ่ายโอนความร้อนจนเกิดสมดุล ความรอ้ นเป็นไปตามสมการ Qสูญเสยี = Qได้รบั บรรยากาศ คือ ชั้นแก๊สชนิดต่าง ๆ หรืออากาศที่ห่อหุ้มดาว เคราะห์ทั้งหมด ซึ่งประกอบไปด้วยอากาศแห้งที่ไม่มีน้ำเป็น องค์ประกอบ ไอนำ้ และอนุภาคฝุ่นตา่ ง ๆ บรรยากาศแบ่งออกเป็น 5 ช้นั ตามสภาวะของอุณหภูมิ ดังนี้ 1. ชั้นโทรโพสเฟียร์ (troposphere) มีปรากฏการณ์ทางลมฟ้า อากาศ อุณหภูมิลดลงตามระดบั ความสูง 2. สตราโทสเฟียร์ (stratosphere) มีชั้นโอโซนช่วยดูดกลืนรังสี อัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ อุณหภมู เิ พ่มิ ขึน้ ตามระดับความสูง 3. มีโซสเฟียร์ (mesosphere) ช่วยให้เกิดการเผาไหม้ ของวัตถุ นอกโลก อุณหภูมิลดลงตามระดับความสูง 4. เทอร์โมสเฟียร์ (thermosphere) มีโมเลกุลที่แตกตัวเป็น ไอออนช่วยสะท้อนคลื่นวิทยุ อุณหภูมเิ พม่ิ ขนึ้ ตามระดับความสงู 5. เอกโซสเฟียร์ (exosphere) เหมาะสำหรับการโคจรของ ดาวเทียมรอบโลกในระดับต่ำ อุณหภมู เิ พมิ่ ข้ึนตามระดับความสงู ลมฟ้าอากาศ เป็นสภาวะของอากาศ ณ พื้นที่หนึ่งในเวลาหนึ่ง ซึ่งลมฟ้าอากาศมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ขึ้นอยู่กับ องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ ได้แก่ อุณหภูมิอากาศ ความดัน อากาศ ความชืน้ อากาศ ลม เมฆ และฝน อุณหภูมิอากาศ หมายถึง ระดับความร้อน-เย็นของอากาศ ปัจจยั ทสี่ ง่ ผลตอ่ อณุ หภูมิอากาศ คอื แสงจากดวงอาทิตย์ ปริมาณ เมฆ ลักษณะพ้ืนท่ี และความสูงจากระดับนำ้ ทะเล ความช้ืนอากาศ คอื ปริมาณไอน้ำท่ีมอี ยใู่ นอากาศ ปจั จัยทสี่ ่งผล ต่อความช้นื อากาศ คอื ไอนำ้ ในอากาศ และอณุ หภูมิอากาศ ความดันอากาศ คือ แรงที่อากาศกระทำต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ ปัจจัยที่ส่งผลต่อความดันอากาศ คือ จำนวนโมเลกุลของอากาศ อณุ หภมู ิอากาศ และความสงู จากระดับน้ำทะเล ลม คือ การเคลอ่ื นทข่ี องอากาศ ปจั จยั ทีส่ ่งผลต่อการเกิดลม คือ ความดันอากาศหรอื อุณหภูมิอากาศ โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 20 ลำดับที่ ช่อื หน่วย มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา การเรียนรู้ เรียนรู/้ ตัวช้วี ดั (ชม.) 16 เมฆ คือ ละอองน้ำหรือน้ำแข็งในอากาศที่รวมกันเป็นกลุม่ ก้อน 60 ปัจจยั ที่สง่ ผล คอื ความดนั อากาศและความช้ืนอากาศ ฝน คือ ละอองน้ำขนาดใหญ่ที่ตกลงสู่พื้นดิน ปจั จัยที่สง่ ผล คือ ความดันอากาศและความช้ืนอากาศ 6. บรรยากาศ 2 ว 3.2 องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศที่เปลี่ยนแปลง ทำให้เกิด ม.1/3 ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ได้แก่ มรสุม พายุฟ้าคะนอง พายุหมุนเขต ม.1/4 รอ้ น เปน็ ต้น ม.1/5 มรสุม เป็นการหมุนเวียนของลมตามฤดูกาล แบ่งออกเป็น ม.1/6 มรสุมฤดูร้อนและมรสุมฤดูหนาว มรสุมฤดูร้อนเกิดจากพ้ืนทวปี ม.1/7 รอ้ นกว่า พื้นมหาสมุทร มรสมุ ฤดูหนาวเกิดจากพ้ืนทวีปเย็นกว่า พ้ืนมหาสมุทร ลมจงึ พัดจากพืน้ ทวีปไปยังพื้นมหาสมุทร พายุฟ้าคะนอง เกิดขึ้นในวันที่อากาศร้อนจัด ทำให้เกิดการ ระเหยของน้ำปริมาณมาก เกิดเป็นเมฆคิวมูโลนิมบัส แล้วเกิด การกลน่ั ตัวเป็นฝน เกดิ ลมกระโชก ฟ้าแลบ ฟ้าร้องและฟ้าผา่ พายุหมุนเขตร้อน เกิดขึ้นเหนือมหาสมุทร โดยอากาศบริเวณ ที่เกิดพายุจะมีความดันอากาศต่ำ อากาศลอยตัวสูงขึ้น อากาศ บริเวณรอบข้างเข้ามาแทนที่ ประกอบกับการหมุนรอบตัวเอง ของโลก ทำใหเ้ กดิ เปน็ พายุหมุน การพยากรณ์อากาศ เป็นการคาดหมายสภาวะของลมฟ้า อากาศ และปรากฏการณ์ที่จะเกิดขึ้นในช่วงเวลาข้างหน้า โดย ตรวจวัดองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ การสื่อสารแลกเปลี่ยน ข้อมูลลมฟ้าอากาศระหว่างพ้ืนท่ี การวิเคราะห์ข้อมูล และสร้าง คำพยากรณ์อากาศ ซึ่งเกณฑ์ในการพยากรณ์อากาศของกรม อตุ ุนยิ มวทิ ยา ไดแ้ ก่ เกณฑ์อากาศร้อน เกณฑอ์ ากาศเย็น เกณฑ์ การกระจายของฝน เกณฑ์ปริมาณฝน เกณฑ์ปริมาณเมฆ ใน ท้องฟ้า เกณฑ์สถานะของทะเล ร่องมรสุม ลมพัดรอบบริเวณ ความกดอากาศสงู บรเิ วณความกดอากาศตำ่ เป็นต้น แผนที่อากาศ เป็นแผนที่แสดงสภาพลมฟ้าอากาศในช่วงเวลา หน่งึ ขอ้ มลู ในแผนท่ีอากาศจะนำไปใช้ในการพยากรณ์อากาศ การเปล่ยี นแปลงภูมิอากาศโลกสง่ ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต และ ส่งิ แวดล้อม ซ่ึงปัจจบุ นั ภมู อิ ากาศโลกเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็ว เช่น การหลอมเหลวของน้ำแข็งขั้วโลก การเพิ่มขึ้นของ ระดบั นำ้ ทะเล การเปล่ียนแปลงวัฏจกั รน้ำ การเกดิ โรคอุบัติใหม่ และอบุ ัตซิ ้ำ และการเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาตทิ ีร่ ุนแรงข้ึน เป็น ผลมาจากการกระทำของมนุษย์ที่ทำให้เกิดภาวะโลกร้อน ซึ่งมี สาเหตุมาจากภาวะเรือนกระจกและรูโหว่โอโซน มนุษย์จึงควร เรียนรู้แนวทางปฏิบตั ิตนภายในสถานการณ์ดังกล่าว ท้งั แนวทาง ปฏิบัติตนให้เหมาะสม และแนวทางลดกิจกรรมที่ส่งผลต่อการ เปล่ยี นแปลงภูมอิ ากาศโลก จำนวนชั่วโมงเรียน รวมทงั้ หมด โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

โครงสรา้ งแผนการจดั การเรียนรู้ วทิ ยาศาส หน่วยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ แนวคดิ /รูปแบบการสอ 1. พลังงานความรอ้ น แผนท่ี 1 อุณหภูมิและการวัด วิธีการสอน/เทคนคิ แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es structional Model) แผนท่ี 2 ผลของความรอ้ นทีม่ ีต่อ แบบสืบเสาะหาความรู้ การขยายตัวหรอื หดตวั (5Es Instructional Mode ของสาร

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 21 สตร์ ม.1 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2562 เวลา 60 ชั่วโมง อน/ ทกั ษะท่ไี ด้ การประเมนิ เวลา ค (ช่ัวโมง) - ทักษะการสังเกต - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน 4 ) - ทกั ษะการวัด - ตรวจใบงานที่ 4.1 เรื่อง การวัด - ทกั ษะการส่ือสาร อณุ หภมู ิ - ทกั ษะการสำรวจค้นหา - ตรวจใบงานท่ี 4.2 เรื่อง การเปลยี่ น - ทกั ษะการทำงานรว่ มกนั หนว่ ยวัดอุณหภมู ิ - ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ - ตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัดวิทย์ฯ ม.1 เล่ม 2 •ประเมนิ ผังมโนทศั น์ เรื่อง เครื่องมือ วดั อุณหภูมิ •ประเมินเครื่องมือเปลี่ยนหน่วย อุณหภมู ิ •ประเมนิ การนำเสนอผลงาน •สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายกล่มุ •สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล •ประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ - ทกั ษะการสงั เกต - ประเมินแบบจำลองการขยายตัว 3 el) - ทักษะการวดั หรือหดตวั ของสาร - ทกั ษะการสอื่ สาร •ประเมินแผน่ พับ เรอื่ ง การขยายตัว - ทักษะการสำรวจค้นหา ของวัตถุ - ทักษะการทำงานร่วมกัน - ตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัดวิทย์ฯ - ทักษะการคิดวเิ คราะห์ ม.1 เล่ม 2 โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ แนวคิด/รูปแบบการสอ วธิ ีการสอน/เทคนคิ แผนท่ี 3 ผลของความร้อนทต่ี อ่ แบบสบื เสาะหาความรู้ การเปลย่ี นแปลง (5Es Instructional Mode อุณหภูมิของสาร แผนที่ 4 สมดลุ ความรอ้ น แบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Mode

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 22 อน/ ทักษะทไ่ี ด้ การประเมิน เวลา ค (ชั่วโมง) • สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติการ จากการทำกจิ กรรม - ประเมนิ การนำเสนอผลงาน •สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายกลมุ่ •สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล •ประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ - ทักษะการสังเกต - ตรวจใบงานท่ี 4.3 เรื่อง น้ำเปลี่ยน 4 el) - ทักษะการระบุ สถานะ - ทกั ษะการเปรยี บเทียบ - ตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัดวิทย์ฯ - ทักษะการจำแนกประเภท ม.1 เลม่ 2 - ทักษะการสำรวจค้นหา •สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติการ - ทักษะการรวบรวมข้อมูล จากการทำกจิ กรรม - ทักษะการสรปุ ย่อ - ประเมนิ การนำเสนอผลงาน - ทกั ษะการนำความรไู้ ปใช้ •สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายกล่มุ - สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล - ประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ - ทกั ษะการสงั เกต - ตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัดวิทย์ฯ 2 el) - ทักษะการสื่อสาร ม.1 เลม่ 2 - ทักษะการสำรวจค้นหา - ป ร ะ เ ม ิ น ก า ร อ อ ก แ บ บ ก า ร - ทักษะการคดิ คำนวณ ปฏบิ ัติการ - ทักษะการทำงานรว่ มกัน - ประเมินการนำเสนอผลงาน - ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ - สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายกลุ่ม - สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล - ประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครผู ู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ แนวคิด/รปู แบบการสอ แผนท่ี 5 การนำความร้อน วิธีการสอน/เทคนิค แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Mode แผนที่ 6 การพาความร้อน แบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Mode แผนท่ี 7 การแผร่ งั สคี วามร้อน แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Mode

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 1 23 อน/ ทกั ษะท่ีได้ การประเมนิ เวลา ค (ชั่วโมง) - ตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัดวิทย์ฯ - ทักษะการสงั เกต ม.1 เลม่ 2 4 - ประเมนิ การปฏบิ ัติการ el) - ทักษะการสอ่ื สาร - ประเมินการนำเสนอผลงาน 2 - สงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายกลุ่ม - ทกั ษะการสำรวจคน้ หา - สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล 2 - ประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ - ทกั ษะการทำงานรว่ มกนั - ตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัดวิทย์ฯ - ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ ม.1 เลม่ 2 - ประเมนิ การปฏิบตั กิ าร - ทักษะการคิดสรา้ งสรรค์ - ประเมนิ การนำเสนอผลงาน - สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายกลุม่ - ทกั ษะการสงั เกต - สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล el) - ทกั ษะการส่อื สาร - ประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ - ทักษะการสำรวจคน้ หา - ประเมินผลงานแผนผังมโนทัศน์ - ทักษะการทำงานร่วมกัน เร่ือง การถา่ ยโอนความรอ้ น - ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ - ตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัดวิทย์ฯ - ทกั ษะการคดิ สรา้ งสรรค์ ม.1 เล่ม 2 - ประเมินการนำเสนอผลงาน - ทกั ษะการสังเกต - สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายกลุ่ม el) - ทักษะการสอ่ื สาร - สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล - ประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ - ทกั ษะการสำรวจคน้ หา - ทกั ษะการทำงานรว่ มกัน - ทักษะการคดิ วิเคราะห์ - ทกั ษะการคิดสรา้ งสรรค์ โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ แนวคดิ /รูปแบบการสอ 2. บรรยากาศ วธิ กี ารสอน/เทคนิค แผนท่ี 1 องคป์ ระกอบของ บรรยากาศ แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Mode แผนที่ 2 การแบง่ ชั้นบรรยากาศ แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Mode แผนที่ 3 องค์ประกอบของลม แบบสบื เสาะหาความรู้ ฟ้า อากาศ (5Es Instructional Mode

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 24 อน/ ทักษะทไี่ ด้ การประเมนิ เวลา ค (ช่ัวโมง) - ประเมินผลงานแผนผังมโนทัศน์ - ทักษะการสังเกต เร่ือง องค์ประกอบของบรรยากาศ 3 - ตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัดวิทย์ฯ el) - ทักษะการสอ่ื สาร ม.1 เลม่ 2 3 - ประเมนิ การนำเสนอผลงาน - ทกั ษะการสำรวจค้นหา - สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายกลุ่ม 2 - สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล - ทักษะการทำงานรว่ มกนั - ประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ - ตรวจใบงานที่ 5.1 เรื่อง การแบ่ง - ทักษะการคดิ วิเคราะห์ ชน้ั บรรยากาศ -ประเมินแบบจำลองชนั้ บรรยากาศต่าง ๆ - ทักษะการสงั เกต - ตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัดวิทย์ฯ el) - ทกั ษะการสื่อสาร ม.1 เล่ม 2 •สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติการ - ทกั ษะการสำรวจคน้ หา จากการทำกจิ กรรม - ทกั ษะการทำงานรว่ มกัน - ประเมินการนำเสนอผลงาน - ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ •สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายกลมุ่ - ทกั ษะการสังเกต - สงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล el) - ทักษะการสื่อสาร - ประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ - ประเมนิ รายงาน เร่อื ง องคป์ ระกอบ - ทักษะการสำรวจค้นหา ของลม ฟ้า อากาศ - ทักษะการทำงานรว่ มกัน -ประเมินการปฏบิ ตั ิการ - ทักษะการคิดวเิ คราะห์ - ตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัดวิทย์ฯ ม.1 เล่ม 2 โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ แนวคิด/รปู แบบการสอ วธิ กี ารสอน/เทคนคิ แผนที่ 4 อณุ หภมู อิ ากาศ แบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Mode แผนท่ี 5 ความดันอากาศ แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Mode

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 25 อน/ ทกั ษะท่ไี ด้ การประเมนิ เวลา ค (ชวั่ โมง) •สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติการ - ทักษะการส่อื สาร จากการทำกิจกรรม 3 el) - ทักษะการสำรวจคน้ หา - ประเมนิ การนำเสนอผลงาน 3 - ทกั ษะการทำงานรว่ มกัน •สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายกลุม่ - ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ - สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล - ประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ - ทกั ษะการสังเกต - ตรวจใบงานที่ 5.2 เรื่อง อุณหภูมิ el) - ทกั ษะการสอ่ื สาร ของอากาศ - ตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัดวิทย์ฯ - ทกั ษะการสำรวจค้นหา ม.1 เล่ม 2 - ทักษะการทำงานรว่ มกัน •สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติการ จากการทำกิจกรรม - ทกั ษะการคดิ สร้างสรรค์ - ประเมนิ การนำเสนอผลงาน •สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายกลุ่ม - สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล - ประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ - ตรวจใบงานที่ 5.3 เรื่อง เครื่องมือ วัดความดนั อากาศ - ประเมินแบบจำลองความดัน อากาศ - ตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัดวิทย์ฯ ม.1 เลม่ 2 •สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติการ จากการทำกจิ กรรม โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ แนวคดิ /รูปแบบการสอ วิธีการสอน/เทคนคิ แผนท่ี 6 ความชน้ื อากาศ แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Mode แผนที่ 7 ลม แบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Mode

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1 26 อน/ ทักษะทีไ่ ด้ การประเมิน เวลา ค (ช่วั โมง) - ประเมนิ การนำเสนอผลงาน •สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายกลุ่ม - สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล - ประเมนิ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ - ทักษะการสื่อสาร - ตรวจใบงานที่ 5.4 เรื่อง ความชื้น 3 el) - ทักษะการสำรวจค้นหา อากาศ - ทักษะการทำงานรว่ มกัน - ประเมินแผนผังสรุป เรื่อง ผลของ - ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ ความชื้นอากาศต่อการดำรงชีวิต - ทกั ษะการวัด ของมนษุ ย์ - ประเมินการนำเสนอเครื่องมือวัด ความชื้นแบบเสน้ ผม - ตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัดวิทย์ฯ ม.1 เล่ม 2 •สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติการ จากการทำกิจกรรม - ประเมินการนำเสนอผลงาน •สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายกลมุ่ - สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล - ประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ - ทักษะการสอื่ สาร - ตรวจใบงานที่ 5.5 เรื่อง ลม 3 el) - ทักษะการสำรวจค้นหา - ตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัดวิทย์ฯ - ทกั ษะการทำงานร่วมกัน ม.1 เล่ม 2 - ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ - ประเมนิ การนำเสนอผลงาน •สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายกลมุ่ โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครผู ูช้ ่วย กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ แนวคิด/รูปแบบการสอ วิธกี ารสอน/เทคนคิ แผนท่ี 8 เมฆและฝน แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Mode 3. บรรยากาศ 2 แผนท่ี 1 พายฟุ า้ คะนอง แบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Mode แผนท่ี 2 พายหุ มุนเขตร้อน แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Mode

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 27 อน/ ทักษะที่ได้ การประเมนิ เวลา ค (ชั่วโมง) - สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล - ทักษะการส่อื สาร - ประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 3 el) - ทักษะการสำรวจคน้ หา - ตรวจใบงานที่ 5.6 เรื่อง เมฆและ 3 - ทักษะการทำงานรว่ มกัน ฝน - ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ - ตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัดวิทย์ฯ 3 ม.1 เลม่ 2 - ทักษะการสงั เกต - ประเมนิ การนำเสนอผลงาน el) - ทักษะการสอ่ื สาร •สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายกลุ่ม - ทกั ษะการสำรวจค้นหา - สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล - ทักษะการทำงานร่วมกนั - ประเมนิ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ - ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ - ประเมินผังมโนทัศน์ เรื่อง พายุฟ้า คะนอง - ทักษะการสังเกต •ประเมินป้ายนิเทศ เรื่อง ความ el) - ทกั ษะการสื่อสาร รุนแรงของพายุฟ้าคะนอง - ตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัดวิทย์ฯ - ทักษะการสำรวจคน้ หา ม.1 เล่ม 2 - ประเมินการนำเสนอผลงาน • สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายกลมุ่ • สังเกตพฤติกรรมการทำงาน รายบคุ คล - ประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ - ตรวจใบงานที่ 6.1 เรื่องพายุหมุน เขตร้อน โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ แนวคิด/รูปแบบการสอ วิธกี ารสอน/เทคนิค แผนที่ 3 เกณฑ์การรายงานการ แบบสบื เสาะหาความรู้ พยากรณอ์ ากาศ (5Es Instructional Mode แผนท่ี 4 แผนทอ่ี ากาศ แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Mode

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 28 อน/ ทักษะท่ไี ด้ การประเมิน เวลา ค (ชั่วโมง) - ป้ายนิเทศ เรื่อง ความรุนแรงของ - ทกั ษะการทำงานรว่ มกัน พายุหมุนเขตรอ้ น 3 - ตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัดวิทย์ฯ - ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ ม.1 เล่ม 2 3 - ประเมินการนำเสนอผลงาน - ทกั ษะการสังเกต el) - ทักษะการสื่อสาร • สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายกลมุ่ - ทักษะการสำรวจคน้ หา • สังเกตพฤติกรรมการทำงาน - ทกั ษะการทำงานรว่ มกนั รายบคุ คล - ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ • ประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ - ทักษะการสังเกต - ตรวจใบงานที่ 6.2 เรอื่ ง el) - ทักษะการส่อื สาร การพยากรณ์อากาศ - ตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัดวิทย์ฯ - ทกั ษะการสำรวจคน้ หา ม.1 เลม่ 2 - ทกั ษะการทำงานร่วมกนั - ประเมนิ การนำเสนอผลงาน - ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ • สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายกล่มุ • สังเกตพฤติกรรมการทำงาน รายบคุ คล • ประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ - ตรวจใบงานท่ี 6.3 เร่ือง แผน ทอี่ ากาศ - ตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัดวิทย์ฯ ม.1 เล่ม 2 - ประเมินการนำเสนอผลงาน • สงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายกลุ่ม โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ู้ช่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ แนวคดิ /รปู แบบการสอ วิธกี ารสอน/เทคนคิ แผนที่ 5 การเปลย่ี นแปลง แบบสบื เสาะหาความรู้ ภูมอิ ากาศของโลก (5Es Instructional Mode

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 29 อน/ ทกั ษะทไ่ี ด้ การประเมนิ เวลา ค (ชั่วโมง) • สังเกตพฤติกรรมการทำงาน - ทักษะการสงั เกต รายบคุ คล 4 el) - ทกั ษะการส่ือสาร • ประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ - ตรวจใบงานที่ 6.4 เรื่อง - ทักษะการสำรวจคน้ หา ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง - ทักษะการทำงานร่วมกนั อณุ หภูมิของโลก - ทักษะการคดิ วิเคราะห์ - ตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัดวิทย์ฯ ม.1 เล่ม 2 - ประเมนิ การนำเสนอผลงาน • สงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายกล่มุ • สังเกตพฤติกรรมการทำงาน รายบคุ คล • ประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 30 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 4 พลงั งานความรอ้ น เวลา 21 ช่ัวโมง 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชว้ี ัด ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหว่าง สสารและพลงั งาน พลงั งานในชวี ติ ประจำวนั ธรรมชาตขิ องคลน่ื ปรากฏการณ์ที่เกีย่ วข้องกับ เสียง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รวมท้งั นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ว 2.3 ม.1/1 วิเคราะห์ แปลความหมายขอ้ มูล และคำนวณปริมาณความร้อนทที่ ำให้สสารเปลี่ยน อุณหภมู ิและเปลย่ี นสถานะ โดยใช้สมการ โดยใช้สมการ Q = mcΔt และ Q = mL ว 2.3 ม.1/2 ใช้เทอรม์ อมเิ ตอร์ในการวดั อุณหภมู ิของสสาร ว 2.3 ม.1/3 สร้างแบบจำลองที่อธิบายการขยายตัว หรือ หดตัวของสสารเนื่องจากได้รับหรือ สูญเสยี ความร้อน ว 2.3 ม.1/4 ตระหนักถงึ ประโยชน์ของความรขู้ องการหด และขยายตวั ของสสารเนือ่ งจากความ ร้อน โดยวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา และเสนอแนะ วิธีการนำความรู้มาแก้ปัญหาใน ชวี ิตประจำวัน ว 2.3 ม.1/5 วิเคราะห์สถานการณ์การถ่ายโอนความร้อน และคำนวณปริมาณความรอ้ นท่ีถ่าย โอน ระหว่างสสารจนเกดิ สมดุลความรอ้ นโดยใช้สมการ Qสญู เสีย = Qไดร้ ับ ว 2.3 ม.1/6 สร้างแบบจำลองที่อธิบายการถ่ายโอน ความร้อนโดยการนำความร้อน การพา ความร้อน การแผร่ ังสีความรอ้ น ว 2.3 ม.1/7 ออกแบบ เลือกใช้และสร้างอุปกรณ์ เพ่ือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันโดยใช้ความรู้ เกย่ี วกับการถา่ ยโอนความร้อน 2. สาระการเรยี นรู้ 2.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1) เมื่อสสารไดร้ ับหรือสูญเสียความรอ้ นอาจทำให้ สสารเปลย่ี นอุณหภมู ิ เปลยี่ นสถานะ หรอื เปลยี่ นรปู ร่าง 2) ปรมิ าณความร้อนที่ทำให้สสารเปลยี่ นอุณหภูมิ จะขึน้ อยู่กับมวล ความรอ้ นจำเพาะ และอณุ หภูมิที่ เปลย่ี นไป 3) ปริมาณความร้อนที่ทำให้สสารเปลี่ยนสถานะ จะข้ึนอยู่กับมวลและความร้อนแฝงจำเพาะ โดย ขณะท่ีสสารเปลีย่ นสถานะ อุณหภมู ิจะไม่เปลย่ี นแปลง 4) ความร้อนทำให้สสารขยายตัวหรือหดตัวได้ เน่ืองจากเม่ือสสารได้รับความร้อนจะทำให้อนุภาค เคล่ือนท่ีเร็วข้ึนทำให้เกิดการขยายตัว แต่เม่ือสสารคายความร้อนจะทำให้อนุภาคเคล่ือนที่ช้าลง ทำให้เกิดการหดตวั 5) ความรู้เร่ืองการหดและขยายตวั ของสสารเนื่องจากความรอ้ นนำไปใช้ประโยชน์ได้ด้านต่าง ๆ เช่น การสรา้ งถนน การสรา้ งรางรถไฟ การทำเทอร์มอมิเตอร์ 6) ความร้อนถา่ ยโอนจากสสารทม่ี อี ณุ หภูมิสูงกวา่ ไปยงั สสารทม่ี ีอุณหภมู ิตำ่ กวา่ จนกระท่ังอุณหภูมิของ สสารทงั้ สองเท่ากัน สภาพที่สสารทง้ั สองมีอุณหภูมิเทา่ กัน เรียกว่า สมดลุ ความรอ้ น โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 31 7) เม่ือมีการถ่ายโอนความร้อนจากสสารท่ีมีอุณหภูมิ ต่างกันจนเกดิ สมดุลความรอ้ น ความร้อนท่ีเพ่ิมข้นึ ของ สสารหนึง่ จะเท่ากับความร้อนที่ลดลงของอกี สสารหนึ่ง ซ่ึงเปน็ ไปตามกฎการอนุรักษพ์ ลังงาน 8) การถา่ ยโอนความร้อนมี 3 แบบ คือ การนำความรอ้ น การพาความรอ้ น และการแผ่รงั สีความรอ้ น การนำความร้อนเป็นการถ่ายโอนความร้อนท่ีอาศัยตัวกลาง โดยท่ีตัวกลางไม่เคล่ือนท่ี การพา ความร้อนเป็นการถ่ายโอนความร้อนท่ีอาศัย ตัวกลาง โดยที่ตัวกลางเคล่ือนท่ีไปด้วย ส่วนการแผ่ รงั สีความร้อนเปน็ การถา่ ยโอนความร้อนท่ไี มต่ อ้ งอาศัยตัวกลาง 9) ความรู้เกีย่ วกับการถ่ายโอนความร้อนสามารถ นำไปใชป้ ระโยชน์ในชวี ิตประจำวันได้ เชน่ การเลือกใช้วัสดุ เพอื่ นำมาทำภาชนะบรรจอุ าหาร เพือ่ เกบ็ ความร้อน หรอื การออกแบบระบบระบายความร้อนในอาคาร 2.2 สาระการเรียนรู้ทอ้ งถนิ่ (พิจารณาตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา) 3. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด อณุ หภูมิ คือ ระดับความร้อนของสาร ซ่ึงเครอ่ื งมือท่ีใช้วัดอุณหภูมิ คอื เทอร์มอมิเตอร์ และหน่วยวัด อณุ หภูมิ ได้แก่ องศาเซลเซียส องศาฟาเรนไฮต์ เคลวิน และองศาโรเมอร์ โดยแต่ละหน่วยมีความสัมพันธ์กัน สารจะเกิดการขยายตัวเมื่อได้รับความร้อน และหดตัวเม่ือสูญเสียความร้อน โดยแก๊สจะขยายตัวได้มากท่ีสุด รองลงมา คือ ของเหลวและของแข็ง ตามลำดับ โดยนำไปประยุกต์ใช้งาน เช่น การวางรางรถไฟ การเว้น ช่องว่างระหว่างรอยต่อของสะพาน การขงึ สายไฟ การสร้างตวั ควบคุมอุณหภูมิ เครื่องใช้ไฟฟ้า หว่ งรดั ส่ิงของ ถังเก็บน้ำสำรองในรถยนต์ เป็นต้น เม่ือสารได้รับความร้อนอุณหภูมิจะสูงข้ึน และเม่ือสูญเสียความร้อน อณุ หภูมิจะต่ำลง โดยปรมิ าณความร้อนที่ทำให้สารเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิจะข้ึนอยู่กับมวล ความร้อนจำเพาะ และอุณหภูมิที่เปล่ียนแปลงไปของสารน้ัน เมื่อสารได้รับความร้อนจะเกิดการหลอมเหลว การระเหย หรื อ การระเหิด และเมอื่ สารสญู เสียความร้อนจะเกิดการควบแน่น การแข็งตัว หรือการระเหดิ กลับ ความร้อนที่ทำ ให้สารเปล่ียนสถานะจะข้ึนอยู่กับมวลและความร้อนแฝงจำเพาะของสารนั้น การถ่ายโอนความร้อน มี 3 ประเภท คือ การนำความร้อน การพาความร้อน และการแผ่รังสีความร้อน ประโยชน์ของการดูดกลืนและคาย ความรอ้ น เช่น ถงั เก็บเช้อื เพลงิ สขี าว วัตถุสดี ำช่วยระบายความร้อน ตอู้ บพลังงานแสงอาทติ ย์ สมดุลความร้อน คอื สภาวะที่สารเกิดการถ่ายโอนความร้อนจากสารท่ีมีอณุ หภูมิสูงกว่าไปยงั สารท่ีมอี ุณหภมู ิต่ำกว่า จนกระท่ัง ระดับอุณหภูมิของสารท้งั สองเทา่ กนั และคงที่ โดยสูตรคำนวณ คือ Qสญู เสีย = Qไดร้ บั 4. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี นและคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 1. มวี นิ ัย 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรียนรู้ 1) ทักษะการสังเกต 3. มุ่งมั่นในการทำงาน 2) ทักษะการจดั กลุม่ 3) ทกั ษะการเปรยี บเทียบ 4) ทักษะการจำแนกประเภท 5) ทักษะการสำรวจ 6) ทกั ษะการเชอื่ มโยง 7) ทักษะการระบุ 8) ทกั ษะการสำรวจค้นหา โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 32 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 9) ทักษะการสรุปย่อ 10) ทักษะการนำความรไู้ ปใช้ 11) ทักษะการรวบรวมขอ้ มูล 12) ทกั ษะการใหเ้ หตุผล 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ 5. ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ­ ผงั มโนทัศน์ เรอื่ ง เครอ่ื งมือวัดอุณหภมู ิ ­ ชิน้ งาน เครื่องมอื เปล่ียนหนว่ ยอุณหภมู ิ ­ แบบจำลองการขยายตัว หรือหดตัวของสาร ­ แผน่ พบั เร่อื ง การขยายตัวของวัตถุ ­ ผังมโนทศั น์ เรอ่ื ง การถา่ ยโอนความร้อน 6. การวดั และการประเมนิ ผล รายการวดั วธิ วี ัด เครื่องมอื เกณฑ์การประเมิน 6.1 การประเมินชิ้นงาน/ ­ ผังมโนทัศน์ เรือ่ ง - แบบประเมนิ ชน้ิ งาน/ ระดบั คุณภาพ 2 ภาระงาน (รวบยอด) เครื่องมือวดั อณุ หภูมิ ภาระงานรวบยอด ผ่านเกณฑ์ ­ ช้นิ งาน เครื่องมอื เปลีย่ น - แบบประเมินชนิ้ งาน/ ระดับคุณภาพ 2 หนว่ ยอณุ หภมู ิ ภาระงานรวบยอด ผา่ นเกณฑ์ ­ แบบจำลองการขยายตวั - แบบประเมินช้นิ งาน/ ระดับคุณภาพ 2 หรอื หดตัวของสาร ภาระงานรวบยอด ผา่ นเกณฑ์ ­ แผ่นพบั เรือ่ ง การ - แบบประเมินช้นิ งาน/ ระดับคุณภาพ 2 ขยายตวั ของวัตถุ ภาระงานรวบยอด ผ่านเกณฑ์ ­ ผงั มโนทัศน์ เรื่อง การ - แบบประเมินชิ้นงาน/ ระดบั คณุ ภาพ 2 ถ่ายโอนความร้อน ภาระงานรวบยอด ผ่านเกณฑ์ 6.2 การประเมินก่อนเรียน - แบบทดสอบกอ่ นเรียน ­ ตรวจแบบทดสอบกอ่ น ­ แบบทดสอบกอ่ น ประเมนิ ตามสภาพ เรียน จริง หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 เรยี น เรอ่ื ง พลังงานความรอ้ น 6.3 การประเมนิ ระหวา่ ง การจัดกิจกรรม 1) อุณหภมู แิ ละการวัด - ตรวจใบงานท่ี 4.1 - เฉลยใบงานที่ 4.1 ร้อยละ 60 - เฉลยใบงานที่ 4.2 ผ่านเกณฑ์ - ตรวจใบงานที่ 4.2 - แบบฝึกหัด รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - ตรวจแบบฝกึ หัด รอ้ ยละ 60 โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 33 รายการวดั วธิ ีวดั เคร่ืองมอื เกณฑก์ ารประเมนิ วิทยาศาสตร์ ผ่านเกณฑ์ ม.1 เลม่ 2 2) ผลของความร้อนต่อ - ตรวจแบบฝึกหดั - แบบฝึกหดั รอ้ ยละ 60 การขยายตัวและหด ตวั ของสาร วทิ ยาศาสตร์ ผา่ นเกณฑ์ 3) ผลของความร้อนต่อ - ตรวจใบงานท่ี 4.3 ม.1 เลม่ 2 ก าร เป ล่ีย น แ ป ล ง อุณหภูมิและสถานะ - ตรวจแบบฝกึ หดั - เฉลยใบงานท่ี 4.3 ร้อยละ 60 ของสาร ผ่านเกณฑ์ 4) สมดุลความร้อน - ตรวจแบบฝกึ หดั - แบบฝกึ หดั ร้อยละ 60 วทิ ยาศาสตร์ ผา่ นเกณฑ์ ม.1 เล่ม 2 - แบบฝกึ หดั ร้อยละ 60 วทิ ยาศาสตร์ ผ่านเกณฑ์ ม.1 เลม่ 2 5) การนำความรอ้ น - ตรวจแบบฝึกหดั - แบบฝกึ หดั รอ้ ยละ 60 วทิ ยาศาสตร์ ผ่านเกณฑ์ ม.1 เล่ม 2 6) การพาความร้อน - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบฝึกหัด ร้อยละ 60 วิทยาศาสตร์ ผ่านเกณฑ์ ม.1 เล่ม 2 7) การแผ่รังสคี วามรอ้ น - ตรวจแบบฝึกหดั - แบบฝึกหัด ร้อยละ 60 วิทยาศาสตร์ ผา่ นเกณฑ์ ม.1 เล่ม 2 8) การออกแบบการ - ประเมนิ การออกแบบการ - แบบประเมินการ ระดบั คณุ ภาพ 2 ปฏบิ ัติการ ปฏบิ ัติการ ออกแบบการ ผ่านเกณฑ์ ปฏบิ ัตกิ าร 9) การปฏิบตั ิการ - ประเมนิ การปฏบิ ตั ิการ - แบบประเมนิ ระดับคุณภาพ 2 การปฏบิ ตั กิ าร ผา่ นเกณฑ์ 10) การนำเสนอผลงาน - ประเมินการนำเสนอ - ผลงานทนี่ ำเสนอ ระดับคุณภาพ 2 ผลงาน ผ่านเกณฑ์ 11) พฤติกรรมการทำงาน - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดบั คณุ ภาพ 2 รายบคุ คล การทำงานรายบคุ คล การทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ 12) พฤติกรรมการทำงาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดับคณุ ภาพ 2 รายกลุ่ม การทำงานรายกลุ่ม การทำงานรายกลมุ่ ผ่านเกณฑ์ 13) คณุ ลักษณะ - สงั เกตความมวี ินยั - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ 2 อันพงึ ประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และมงุ่ มัน่ คณุ ลกั ษณะ ผ่านเกณฑ์ ในการทำงาน อันพึงประสงค์ โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 34 รายการวัด วิธีวัด เครื่องมอื เกณฑ์การประเมนิ 6.4 การประเมนิ หลงั เรยี น ­ ตรวจแบบทดสอบ ­ แบบทดสอบหลงั ร้อยละ 60 - แบบทดสอบหลงั เรียน หลงั เรยี น เรียน ผา่ นเกณฑ์ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 เรอื่ ง พลงั งานความร้อน 7. กจิ กรรมการเรยี นรู้ เวลา 4 ชว่ั โมง เวลา 3 ชวั่ โมง นักเรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 4 เรอ่ื ง พลังงานความรอ้ น เวลา 4 ชั่วโมง • แผนฯ ที่ 1 : อณุ หภมู ิและการวดั เวลา 2 ช่ัวโมง เวลา 4 ชว่ั โมง วธิ สี อนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) เวลา 2 ชั่วโมง เวลา 2 ชว่ั โมง • แผนฯ ท่ี 2 : ผลของความร้อนตอ่ การขยายตวั และหดตวั ของสาร วิธสี อนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) • แผนฯ ที่ 3 : ผลของความรอ้ นตอ่ การเปลี่ยนแปลงอุณหภมู ิและสถานะของสาร วิธีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) • แผนฯ ที่ 4 : สมดุลความรอ้ น วิธสี อนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) • แผนฯ ที่ 5 : การนำความรอ้ น วธิ สี อนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) • แผนฯ ท่ี 6 : การพาความร้อน วธิ สี อนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) • แผนฯ ท่ี 7 : การแผร่ งั สีความร้อน วิธสี อนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) 8. ส่ือ/แหล่งการเรยี นรู้ 8.1 ส่อื การเรียนรู้ 1) หนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 2) แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 3) บตั รภาพ เรือ่ ง ระดบั อณุ หภมู ิ 4) ใบงานที่ 4.1 เรื่อง การวัดอุณหภูมิ 5) ใบงานท่ี 4.2 เรือ่ ง การเปลย่ี นหน่วยวัดอุณหภูมิ 6) ใบงานท่ี 4.3 เรือ่ ง นำ้ เปลย่ี นสถานะ 7) PowerPoint นำเสนอ 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ช้ันเรียน 2) ห้องสมุด 3) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ่วย กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 35 แบบทดสอบก่อนเรยี น หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 4 คำชี้แจง : ใหน้ ักเรียนเลือกคำตอบท่ีถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. เครื่องมอื ในขอ้ ใดท่ีใชว้ ดั อุณหภมู ิ 6. ข้อใดเปน็ การคายความรอ้ น ก. บารอมเิ ตอร์ ก. นำ้ กลายเป็นไอนำ้ ข. ไฮโกรมเิ ตอร์ ข. น้ำกลายเป็นนำ้ ร้อน ค. เทอรม์ อสตัต ค. นำ้ แขง็ ละลายเปน็ นำ้ ง. เทอร์มอมิเตอร์ ง. นำ้ กลายเป็นนำ้ แขง็ 2. อุณหภมู ิของวัตถจุ ะเพิม่ ข้ึนไดจ้ ากสาเหตใุ ด 7. ข้อใดเป็นประโยชน์จากการสมบตั ิการดูดความร้อน ก. ลดความดัน ทีต่ ่างกันของวัตถุ ข. เพม่ิ ความดัน ก. การสรา้ งเครอื่ งเรอื น ค. การดูดความรอ้ น ข. การสร้างรางรถไฟ ง. การคายความร้อน ค. การเลือกสีทาบ้าน 3. เหตกุ ารณ์ในข้อใดทอ่ี ณุ หภมู ิลดลง ง. การสรา้ งถนน ก. น้ำแขง็ ละลายกลายเป็นน้ำ 8. วัตถใุ นขอ้ ใดเม่ือได้รับความร้อนเทา่ กันจะมีการขยายตัว ข. ไอนำ้ ระเหยไปในอากาศ มากทสี่ ดุ ค. น้ำจับตวั กลายเป็นน้ำแข็ง ก. เหล็ก ง. ลูกเหม็นระเหิดกลายเปน็ ไอ ข. ตะกั่ว 4. การถา่ ยโอนความรอ้ นแบบใดต้องอาศัยตัวกลาง ค. ฮเี ลียม ก. การดูดความรอ้ น ง. ออกซิเจน ข. การพาความรอ้ น 9. วัตถุขยายตวั ได้เพราะอะไร ค. การนำความร้อน ก. วัตถุมีมวลขนาดเพ่ิมมากข้ึน ง. การคายความร้อน ข. อุณหภูมขิ องวัตถมุ กี ารลดลง 5. การถ่ายโอนความรอ้ นโดยการส่ันของโมเลกุลเป็นการ ค. นำ้ หนักของวัตถุมีการเพ่ิมขนึ้ ถ่ายโอนแบบใด ง. แรงยึดเหนย่ี วระหวา่ งอนภุ าคลดลง ก. การแผค่ วามร้อน 10. ขอ้ ใดเป็นการใช้ประโยชนข์ องการขยายตวั ของวัตถุเมือ่ ไดร้ ับ ข. การพาความรอ้ น ความรอ้ น ค. การนำความร้อน ก. การสร้างเคร่ืองเรอื น ง. การดดู ความร้อน ข. การสรา้ งรางรถไฟ ค. การเลอื กสีทาบ้าน ง. การเลือกเส้ือผ้า เฉลย 1. ง 2. ค 3. ค 4. ข 5. ค 6. ง 7. ค 8. ง 9. ง 10. ข โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 36 แบบทดสอบหลังเรยี น หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 4 คำช้แี จง : ให้นกั เรียนเลือกคำตอบท่ีถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. อณุ หภมู ิของวตั ถุจะลดลงจากสาเหตุใด 6. ข้อใดเปน็ ประโยชน์จากการสมบตั กิ ารดูดความร้อน ก. ลดความดัน ก. การสร้างถนน ข. เพมิ่ ความดนั ข. การสร้างรางรถไฟ ค. การดูดความร้อน ค. การเลือกสที าบ้าน ง. การคายความรอ้ น ง. การสร้างเครอ่ื งเรอื น 2. เหตุการณใ์ นขอ้ ใดทีอ่ ณุ หภูมลิ ดลง 7. ขอ้ ใดเปน็ การคายความรอ้ น ก. น้ำแข็งละลายกลายเปน็ นำ้ ก. นำ้ กลายเป็นน้ำแขง็ ข. น้ำจับตัวกลายเป็นน้ำแข็ง ข. น้ำกลายเป็นน้ำร้อน ค. ไอนำ้ ระเหยไปในอากาศ ค. น้ำกลายเปน็ ไอน้ำ ง. ลูกเหม็นระเหิดกลายเปน็ ไอ ง. น้ำแขง็ ละลายเป็นนำ้ 3. การแผ่รงั สีความรอ้ น เปน็ การถา่ ยโอนแบบใด 8. วัตถใุ นข้อใดเมื่อได้รบั ความร้อนเทา่ กนั จะมกี ารขยายตัว ก. การสง่ ผ่านความร้อนมาทางของเหลว มากท่สี ดุ ข. ถ่ายโอนความรอ้ นโดยการสนั่ ของโมเลกลุ ก. เหลก็ ค. การสง่ ผ่านความร้อนโดยรวมไว้จดุ เดียว ข. ดบี กุ ง. การสง่ ผ่านความร้อนมาทางคลน่ื แม่เหลก็ ค. อารก์ อน 4. การถ่ายโอนความรอ้ นแบบใดต้องอาศยั ตวั กลาง ง. คลอรีน ก. การดดู ความร้อน 9. ข้อใดเป็นการใช้ประโยชน์ของการขยายตวั ของวตั ถเุ ม่ือ ข. การคายความรอ้ น ไดร้ บั ความรอ้ น ค. การนำความร้อน ก. การเลือกเส้ือผา้ ง. การพาความรอ้ น ข. การสรา้ งรางรถไฟ 5. ขอ้ ใดไม่ใช่ประโยชนข์ องการถ่ายโอนความรอ้ น ค. การเลือกสีทาบ้าน ก. การตากผ้า ง. การสร้างเคร่อื งเรือน ข. การต้มน้ำ 10. วตั ถุขยายตวั ไดเ้ พราะอะไร ค. การปลกู ตน้ ไม้ ก. วัตถมุ มี วลขนาดเพมิ่ มากข้ึน ง. การใช้กะทะทอดปลา ข. อุณหภมู ขิ องวัตถมุ ีการลดลง ง. การดดู ความร้อน ค. นำ้ หนกั ของวัตถุมีการเพมิ่ ขึ้น ง. แรงยดึ เหนี่ยวระหวา่ งอนภุ าคลดลง เฉลย 1. ค 2. ข 3. ง 4. ง 5. ค 6. ค 7. ก 8. ง 9. ข 10. ง โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กล่มุ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 37 แบบประเมนิ การออกแบบปฏบิ ัติการ แผนฯที่ 4 คำชี้แจง : ใหผ้ ูส้ อนประเมนิ การออกแบบปฏบิ ัตกิ ารของนกั เรียนตามรายการที่กำหนด แลว้ ขีด ✓ ลงในชอ่ ง ท่ตี รงกบั ระดบั คะแนน ลำดับท่ี รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 4321 1 การออกแบบการทดลอง 2 การดำเนนิ การทดลอง รวม 3 การนำเสนอ ลงชือ่ ................................................... ผู้ประเมิน ................./................../.................. โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุม่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 38 เกณฑก์ ารประเมนิ การออกแบบปฏบิ ัติการ ประเด็นท่ีประเมนิ 4 ระดบั คะแนน 1 32 1. การออกแบบ เข้าใจปญั หา เข้าใจปัญหา เขา้ ใจปัญหา เข้าใจปญั หา การทดลอง ตง้ั สมมตฐิ านได้ ต้ังสมมติฐานไดถ้ กู ตอ้ ง ตั้งสมมตฐิ านได้ถูกต้อง ตั้งสมมติฐานได้ถกู ตอ้ ง สอดคล้องกบั ปญั หา ออกแบบการทดลอง ออกแบบการทดลอง ต้องอาศัยการแนะนำใน ออกแบบการทดลอง และใชเ้ ทคนคิ วธิ ีถกู ต้อง และใช้เทคนคิ วิธี การออกแบบการ และใช้เทคนคิ วิธีถกู ตอ้ ง ยงั ไม่ถูกตอ้ ง ทดลอง แสดงถงึ ความคดิ ริเรม่ิ 2. การดำเนนิ การ การดำเนินการทดลองมี การดำเนินการทดลองมี การดำเนินการทดลองมี การดำเนินการทดลอง ทดลอง ขนั้ ตอนครบถว้ นถูกตอ้ ง มีการทำซำ้ และการ ขน้ั ตอนครบถว้ นถูกต้อง ขั้นตอนถูกตอ้ งเป็นส่วน ไม่ถกู ตอ้ งเปน็ สว่ นใหญ่ เกบ็ ขอ้ มูลไดล้ ะเอยี ด รอบคอบ ครบถ้วน แต่ไม่มกี ารทำซ้ำ และ ใหญ่ และการเก็บข้อมลู และการเกบ็ ขอ้ มูล การเก็บขอ้ มูลได้ ได้ครบถ้วนตามที่ ไมค่ รบถ้วน ครบถว้ นตามที่ต้องการ ตอ้ งการ ตามทตี่ ้องการ 3. การนำเสนอ เหมาะสมกับลกั ษณะ นำเสนอขอ้ มูลถูกต้อง นำเสนอข้อมลู ถกู ตอ้ ง นำเสนอข้อมลู ถูกตอ้ ง ของข้อมูล แสดงถึง ครบถว้ น วเิ คราะห์ วิเคราะห์ข้อมูลได้ วิเคราะห์ข้อมูลไม่ ความคดิ สรา้ งสรรค์ใน ขอ้ มูลไดค้ รบถ้วน ครบถว้ น นำเสนอผล ครบถ้วน สรปุ ผลการ การนำเสนอ วเิ คราะห์ สรุปผลการทดลอง การทดลองถกู ตอ้ ง ทดลองไมถ่ ูกต้อง ขอ้ มูลไดค้ รบถ้วน ถกู ต้อง มีการนำเหตุผล เหมาะสม สรุปผลการ และความร้มู าอา้ งอิง ทดลองถกู ต้อง มีการนำ ประกอบการสรปุ ผล เหตุผลและความรมู้ า การทดลอง อ้างอิงประกอบการ สรุปผลการทดลอง เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 10-12 ดีมาก 7-9 ดี 4-6 พอใช้ 0-3 ปรับปรุง โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 39 แบบประเมินการปฏิบตั ิการ แผนฯที่ 2,5,6 คำชแ้ี จง : ให้ผสู้ อนประเมนิ การปฏบิ ตั ิการของนักเรียนตามรายการที่กำหนด แล้วขีด ✓ ลงในชอ่ งทต่ี รงกบั ระดับคะแนน ลำดับที่ รายการประเมนิ 4 ระดับคะแนน 1 32 1 การปฏบิ ตั ิการทดลอง 2 ความคล่องแคลว่ ในขณะปฏบิ ัตกิ าร 3 การนำเสนอ รวม ลงช่ือ ................................................... ผปู้ ระเมนิ ................./................../.................. โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 40 เกณฑก์ ารประเมินการปฏบิ ัติการ ประเดน็ ท่ปี ระเมิน 4 ระดบั คะแนน 1 32 ต้องใหค้ วามชว่ ยเหลือ 1. การปฏบิ ัตกิ าร ทำการทดลองตาม ทำการทดลองตาม ตอ้ งใหค้ วามชว่ ยเหลือ อยา่ งมากในการทำการ ทดลอง และการใช้ ทดลอง ข้ันตอน และใช้อุปกรณ์ ขัน้ ตอน และใชอ้ ุปกรณ์ บ้างในการทำการ อปุ กรณ์ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง แตอ่ าจ ทดลอง และการใช้ ต้องได้รบั คำแนะนำบ้าง อปุ กรณ์ 2. ความ มีความคลอ่ งแคล่ว มคี วามคล่องแคลว่ ขาดความคลอ่ งแคลว่ ทำการทดลองเสร็จไม่ คลอ่ งแคล่ว ในขณะทำการทดลอง ในขณะทำการทดลอง ทันเวลา และทำ ในขณะ ในขณะทำการทดลอง แตต่ ้องได้รบั คำแนะนำ จึงทำการทดลองเสร็จ อปุ กรณเ์ สียหาย ปฏิบตั กิ าร บ้าง และทำการทดลอง ไม่ทนั เวลา โดยไมต่ อ้ งไดร้ บั คำ เสรจ็ ทันเวลา ต้องให้ความชว่ ยเหลือ 3. การบนั ทึก สรุป ตอ้ งให้คำแนะนำในการ อยา่ งมากในการบันทกึ และนำเสนอผล ช้แี นะ และทำการ บันทึกและสรุปผลการ บันทึก สรุป และ สรปุ และนำเสนอผล การทดลอง ทดลองไดถ้ กู ตอ้ ง แต่ นำเสนอผลการทดลอง การทดลอง ทดลองเสร็จทันเวลา การนำเสนอผลการ ทดลองยังไมเ่ ปน็ บันทึกและสรปุ ผลการ ขัน้ ตอน ทดลองไดถ้ กู ต้อง รัดกมุ นำเสนอผลการทดลอง เปน็ ขน้ั ตอนชัดเจน เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 11-12 ดีมาก 9-10 ดี 6-8 พอใช้ ต่ำกวา่ 6 ปรบั ปรุง โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่