Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ม.1 ภาคเรียนที่ 2

แผนการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ม.1 ภาคเรียนที่ 2

Published by Tanapat Issarangkul Na Ayutthaya, 2021-05-04 01:37:23

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ม.1 ภาคเรียนที่ 2

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 191 10. ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารสถานศกึ ษาหรือผทู้ ไี่ ดร้ ับมอบหมาย 10.1 หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชือ่ …………………………………………. (นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถึง) ………./……………./…………. 10.2 รองผู้อำนวยการฝา่ ยบรหิ ารวชิ าการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ…………………………………………. (นายวิเศษ ฟองตา) ………./……………./…………. 10.3 ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………. (นางวลิ าวลั ย์ ปาลี) ………./……………./…………. โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 192 11. บันทึกผลหลงั การสอน  ดา้ นความรู้  ด้านสมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน  ด้านคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์  ดา้ นความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์  ด้านอ่ืน ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรือพฤติกรรมทม่ี ปี ญั หาของนักเรยี นเป็นรายบคุ คล (ถา้ มี))  ปัญหา/อปุ สรรค  แนวทางการแกไ้ ข ลงชื่อ.........................................................ผู้สอน (นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา) ตำแหน่ง ครูผู้ชว่ ย โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 193 ใบงานที่ 5.3 เร่อื ง เครอ่ื งมือวัดความดันอากาศ คำชีแ้ จง ให้นกั เรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับเครือ่ งมือวัดความดันอากาศในหวั ขอ้ เครอื่ งมือที่กลุ่มของตนเองไดร้ บั แล้วเขยี นรายละเอยี ดลักษณะและการทำงานของเครือ่ งมือดงั กล่าวลงใตร้ ูปให้สอดคลอ้ งกบั เคร่ืองมือทหี่ ัวขอ้ ทกี่ ลมุ่ นกั เรียนไดร้ ับ ภาพเครื่องมอื วดั ชือ่ เคร่ืองมือวดั ลักษณะ หลกั การทำงาน ความดันอากาศ ความดนั อากาศ โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 194 ใบงานท่ี 5.3 เฉลย เร่ือง เคร่อื งมือวัดความดันอากาศ คำช้แี จง ใหน้ ักเรยี นสืบคน้ ข้อมูลเกี่ยวกับเคร่อื งมือวดั ความดันอากาศในหวั ขอ้ เคร่ืองมอื ทก่ี ลุ่มของตนเองไดร้ บั แลว้ เขยี นรายละเอียดลักษณะและการทำงานของเคร่ืองมอื ดงั กล่าวลงใตร้ ูปให้สอดคลอ้ งกบั เครอื่ งมือท่ีหัวข้อท่ีกลมุ่ นกั เรียนไดร้ บั ภาพเครอื่ งมอื วัด ชื่อเครื่องมือวดั ลักษณะ หลกั การทำงาน ความดนั อากาศ ความดนั อากาศ เป็นตลับโลหะปิดผนึกที่ ใช้หลักการยบุ ตัวหรือพองตัวของ นำอากาศออกไปบางสว่ น ตลับโลหะตามความดันของ แอนริ อยด์ และเช่ือมต่อกับกลไกที่ บรรยากาศ บารอมิเตอร์ แสดงค่าความดันอากาศ โดยตรง ลักษณะคล้ายกับแอนิ ค ว า ม ก ด อ า ก า ศ จ ะ ล ด ล ง รอยด์บารอมิเตอร์ แต่ 1 มิลลิเมตรปรอท ทุก ๆ ความ แอลตมิ ิเตอร์ ปรับหน้ าปั ดให้ บอก สูงท่ีเพ่ิมขึ้น 11 เมตร มักใช้บอก ความสงู ได้ ระดับความสงู ของเคร่ืองบนิ บารอมเิ ตอร์ ประกอบด้วยหลอดแก้ว แรงดันจากอากาศภายนอกจะ แบบปรอท ปลายปิดข้างหนึ่งที่มี ดันปรอทในภาชนะให้ไหลเข้าไป ปรอทบรรจุอยู่เต็ม คว่ำ ในหลอดแก้ว ซ่ึงความสูงของ อยู่ในภาชนะที่ บรรจุ ปรอทในหลอดแก้วจะแสดงค่า ปรอท ความดนั อากาศ บารอกราฟ คล้ายกับบารอมิเตอร์ ใชห้ ลกั การยบุ ตวั หรือพองตวั ของ แบบแอนิรอยด์ แต่จะต่อ ตลับโลหะตามความดันของ กับแขนปากกาให้ขีดบน บรรยากาศ กระดาษ กราฟ ท่ี หุ้ ม กระบอกหมุนที่หมุนด้วย นาฬกิ า โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 195 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 6 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาคเรยี นที่ 2/2562 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา วิทยาศาสตร์ (ว21102) หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 บรรยากาศ เรือ่ ง ความชนื้ อากาศ จำนวนเวลาท่ีสอน 3 ชวั่ โมง ผ้สู อน นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา 1. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด (ความเขา้ ใจทค่ี งทน) ความชนื้ อากาศเปน็ ปริมาณไอน้ำทีม่ ีอยู่ในอากาศ ซงึ่ ปัจจัยที่มีผลต่อความชื้นอากาศ ได้แก่ อุณหภูมิ อากาศและลักษณะพื้นท่ี ความชื้นอากาศสามารถตรวจวัดได้โดยใช้ไฮกรอมิเตอร์ และนำมาใช้ในการ พยากรณ์อากาศ 2. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ช้วี ัดชั้นปี/ผลการเรยี นรู้/เป้าหมายการเรียนรู้ 2.1 ตัวชวี้ ัด ว 3.2 ม.1/2 อธบิ ายปัจจัยทีม่ ีผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงองคป์ ระกอบของลมฟ้าอากาศจากข้อมลู ที่ รวบรวมได้ 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ (Knowledge) 1) อธบิ ายปัจจัยทม่ี ีผลต่อการเปลย่ี นแปลงความชืน้ อากาศในแต่ละบริเวณได้ 3.2 ดา้ นทักษะและกระบวนการ (Skill/Process) 2) ทดลองและรวบรวมข้อมลู ปจั จยั ท่มี ีผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงความชื้นอากาศในแตล่ ะบรเิ วณได้ 3.3 ดา้ นเจตคติ (Attitude) 4) รับผดิ ชอบต่อหนา้ ท่แี ละงานทีไ่ ด้รับมอบหมาย 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 เนอ้ื หาสาระหลัก : Knowledge (ผู้เรียนตอ้ งรอู้ ะไร) ลมฟ้าอากาศ เป็นสภาวะของอากาศในเวลาหน่ึงของพื้นที่หนึ่งที่มีการเปล่ียนแปลง ตลอดเวลาขนึ้ อยู่กบั องค์ประกอบลมฟ้าอากาศ ได้แก่ อุณหภูมิของอากาศ ความกดอากาศ ลม ความชื้น เมฆ และหยาดน้ำฟ้า โดยหยาดน้ำฟ้าท่พี บบ่อยในประเทศไทย ได้แก่ ฝน องค์ประกอบลมฟา้ อากาศเปล่ียนแปลง ตลอดเวลาขึ้นอยกู่ ับปจั จยั ต่าง ๆ เช่น ปริมาณรังสีจากดวงอาทติ ย์และลกั ษณะพ้นื ผวิ โลกส่งผลต่ออณุ หภมู ิของ อากาศ อุณหภูมิของอากาศและปริมาณไอน้ำสง่ ผลต่อความช้นื ความกดอากาศส่งผลตอ่ ลม ความช้ืนและลม สง่ ผลตอ่ เมฆ 4.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process (ผเู้ รียนสามารถปฏิบตั อิ ะไรได้) 1) ความสามารถในการสอ่ื สาร 2) ความสามารถในการคิด 2.1) ทกั ษะการระบุ โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 196 2.2) ทกั ษะการเปรยี บเทียบ 2.3) ทกั ษะการประเมนิ 3) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 4.3 คุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ : Attitude (ผู้เรยี นควรแสดงพฤติกรรมการเรยี นอะไรบา้ ง) 1) มวี ินยั 2) ใฝ่เรยี นรู้ 3) มงุ่ มน่ั ในการทำงาน 5. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี นและคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. มวี นิ ัย 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรียนรู้ 1) ทักษะการสังเกต 3. มงุ่ ม่ันในการทำงาน 2) ทักษะการสำรวจคน้ หา 3) ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ 3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. กจิ กรรมการเรยี นรู้  วธิ ีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ช่ัวโมงท่ี 1 ขน้ั นำ กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูแจง้ ผลการเรียนรู้ ใหน้ ักเรยี นทราบ 2. ครจู ัดเตรียมชุดอปุ กรณก์ อ่ นการสอน ดังน้ี - ผา้ เปยี กขนาดประมาณ 2x2 ตารางเซนติเมตร 4 ช้ิน - บีกเกอรข์ นาด 100 ml 4 อนั และ - ตะแกรงเหลก็ 4 อัน 3. ครจู ัดชดุ อุปกรณ์เปน็ 4 ชุด แต่ละชุดนำบีกเกอร์ขนาด 100 ml วางหงายขน้ึ จากน้ันนำตะแกรงวาง บนปากบีกเกอร์ และนำผา้ เปยี กหน่งึ ชนิ้ วางบนตะแกรง 4. ครูเตรียมชุดอุปกรณ์ดัง ข้อ 4 เป็น 4 ชุด ชุดที่ 1 ใส่น้ำในบีกเกอร์ ชุดท่ีสองไม่ต้องใส่น้ำ ชุดที่ 3 ใสน่ ้ำ ชดุ ที่ 4 ไม่ใสน่ ้ำ 5. ครนู ำชดุ ที่ 1 2 และ 3 ไปตากแดด ชุดที่ 4 ไว้ในท่รี ่ม แตล่ ะชุดใช้เวลา 4 ชั่วโมง จากนน้ั นำผา้ แตล่ ะ ผืนใส่ถุงพลาสตกิ แยกกัน แลว้ ปิดถงุ ให้มิดชิด เพ่ือเตรยี มไว้สำหรับการสอนในช้ันเรียน ดังรปู โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 197 แสงแดด ผา้ เปียก ตะแกรง ทีม่ า : ดดั แปลงภาพจาก http://wwwช.ุดistทoี่c1kphoto.com/thช/ดุ veทcี่ t2or/graphic-set-sชcดุieทncี่ 3e-and-chemicaชl-ุดobทje4่ี cts-on-white-background- ve-gm626592724-110731701?st=_p_beaker%20 6. ครูถามนักเรยี นวา่ ปัจจยั ใดทมี่ ีผลทำให้บางวนั รสู้ กึ เหนยี วตัว บางวันรสู้ ึกผวิ แห้ง บางวนั ผา้ จึงแห้ง เรว็ และบางวนั ผา้ แหง้ ช้า (แนวตอบ พจิ ารณาตามคำตอบของนกั เรียน โดยใหอ้ ย่ใู นดลุ ยพินิจของครูผู้สอน ตวั อย่างเชน่ ความชนื้ อากาศ เปน็ ตน้ ) ขน้ั สอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. นักเรียนรับม้วนกระดาษเล็กจากครูคนละ 1 ชิ้น ซ่ึงกระดาษทุกใบจะมีเลขติดอยู่เลขใดเลขหนึ่ง ได้แก่เลข 1, 2, 3 หรือ 4 กระดาษท่ีมีหมายเลข 1 จะมีคำว่าผู้นำ เขียนอยู่ด้วย โดยครูแจ้งว่า ใน กระดาษที่นักเรยี นไดร้ ับไปนน้ั จะมีกระดาษแหง่ ผ้นู ำอย่จู ำนวน 1 ใน 4 ของกระดาษทั้งหมด 2. ครูแจ้งให้นักเรยี นส่งตอ่ กระดาษวนกันไปเร่อื ย ๆ โดยระหว่างท่ีนักเรียนส่งกระดาษ ครูอาจรอ้ งเพลง หรอื เปิดเพลง แล้วหยดุ เพลงในชว่ งใดช่วงหนึ่ง เม่อื เพลงหยดุ นักเรียนจะต้องหยุดส่งกระดาษ 3. นักเรียนคลี่ม้วนกระดาษออก จากนั้นนักเรียนคนท่ีได้กระดาษหมายเลข 1 ซึ่งเป็นผู้นำจะเป็น หัวหน้ากลุ่ม หัวหน้ากลุ่มเลือกสมาชิก 3 คนท่ีมีหมายเลข 2 3 และ 4 ตามลำดับ จากน้ันครูแจ้ง หนา้ ที่ของนักเรยี น ดังนี้ สมาชิกทไ่ี ดห้ มายเลข 1 : ทำหน้าท่นี ำเสนอใบงานหนา้ ช้ันเรียน สมาชิกท่ีได้หมายเลข 2 : ทำหน้าท่ีจดบันทึกลงในงาน และเขียนคำตอบบนกระดานหน้าชั้นเรียน ในช่วงทมี่ กี ารนำเสนอ สมาชิกท่ไี ดห้ มายเลข 3 : ทำหน้าทีเ่ ป็นหวั หนา้ กลมุ่ โดยวางแผนลำดับการทำงานกลมุ่ ของสมาชิก สมาชิกท่ีได้หมายเลข 4 : ทำหน้าที่รับฟังความคิดเห็นของสมาชิกในกลุ่มแล้วช่วยอธิบายให้กับ สมาชกิ ทีท่ ำหนา้ ท่จี ดบนั ทึกลงในใบงาน และจดั เตรียมอปุ กรณ์และใบงาน สมาชกิ ทุกคน : ทำหนา้ ทีแ่ สดงความคิดเหน็ เกีย่ วกบั ใบงาน 4. สมาชิกหมายเลข 4 ออกมารับใบงานที่ 5.4 เรอื่ ง ปัจจัยท่ีมีผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงความช้นื อากาศ จากนั้นนักเรยี นศึกษาวตั ถปุ ระสงค์ คำชแี้ จง และข้ันตอนการทำกิจกรรม 5. ครูนำตัวอย่างผ้าท้ัง 4 ชิ้นที่เตรียมไว้มาแสดงหน้าชั้นเรียน และอธิบายเกี่ยวกับการจัดเตรียมชุด อปุ กรณ์สาธิต วา่ ผ้าท้งั 4 ชิ้นถูกจัดอยู่ในสภาวะแวดลอ้ มแบบใดบ้างท้ัง 4 แบบ จากน้ันให้นักเรียน เปรียบเทียบผ้าจากชุดสาธิตชุดที่ 1 กับ 2 และ 3 กับ 4 โดยครูต้ังคำถามเกร่ินนำว่า นักเรียนคิดว่า ผา้ ชนิ้ ใดทีเ่ ปยี กช้นื กว่า ผา้ ผนื ใดท่ีแห้งมากกว่า เพราะเหตใุ ดจงึ คิดเช่นน้นั โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 198 6. สมาชิกหมายเลข 3 ของแต่ละกลุ่มออกมาจับผ้าทั้ง 4 ช้ิน แล้วบอกความแห้งของผ้าโดย เปรียบเทยี บผนื ท่ี 1 กบั 2 และเปรยี บเทียบผืนท่ี 3 กับ 4 ให้เพ่ือนในกลุม่ ฟัง 7. นักเรยี นแต่ละกลุ่มเขียนบนั ทึกผลลงในตารางเปรยี บเทียบความแหง้ ของผา้ จากชุดสาธิตท้งั 4 ชนิ้ 8. นักเรยี นศกึ ษาเนอ้ื หาในหนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 หนา้ 43 แลว้ ตอบคำถามท้ายกจิ กรรม อธิบายความรู้ (Explain) 9. ครใู ห้นักเรียนนำเสนอคำตอบของแต่ละคำถามทา้ ยกิจกรรมตอนที่ 1 โดยทกุ กลุ่มเสนอคำตอบพร้อม กันทลี ะคำถาม 10. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปผลจากการทำกิจกรรมในใบงานท่ี 5.4 เรื่อง ปัจจยั ที่มีผล ต่อการเปล่ียนแปลงความช้นื อากาศ ชวั่ โมงที่ 2 ขน้ั สอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครเู กรนิ่ นำวา่ ความชื้นอากาศในส่งิ แวดลอ้ มแต่ละบริเวณมีความแตกต่างกนั ซ่ึงลว้ นแตส่ ่งผลต่อการ ดำรงชวี ติ ของมนษุ ย์ ดังนน้ั หากเราทราบปริมาณความชื้นอากาศในแต่ละบรเิ วณก็จะเปน็ ประโยชน์ ต่อการดำรงชวี ิต แต่เราจะสามารถหาค่าความชื้นอากาศในอากาศได้อย่างไร (แนวตอบ ใช้เคร่ืองมอื วดั ความชน้ื อากาศ) 2. ครูอธิบายเกี่ยวกับคา่ ความชน้ื สัมบูรณ์และค่าความชน้ื สัมพัทธใ์ นหนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 หนา้ ที่ 44 และครเู ขียนโจทย์ตวั อย่างเก่ียวกับการคำนวณความชน้ื สมั บรู ณ์และความชน้ื สัมพทั ธ์ให้ นกั เรยี นฝึกทำหนา้ ชัน้ เรียน 3. ครตู ัง้ คำถามเกริน่ นำว่า จากการเปล่ยี นแปลงของเสน้ ผมเนอื่ งจากความชืน้ อากาศในอากาศ สามารถนำการเปลีย่ นแปลงของเส้นผมนี้มาใช้ในการบอกความชน้ื อากาศได้หรอื ไม่ อยา่ งไร 4. ครูใหน้ กั เรียนศึกษาหนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 หนา้ 45 เกีย่ วกบั เครอื่ งมือวดั ความชื้น อากาศไฮกรอมเิ ตอร์ 5. ครูใหน้ ักเรยี นแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละ 4 คน เพ่ือหาความช้นื สมั พัทธโ์ ดยใชไ้ ฮกรอมเิ ตอร์ จากการทำ กิจกรรม การหาความชื้นสัมพนั ธ์ ในหนังสอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 หนา้ 46 6. ครูมอบหมายใหน้ กั เรยี นนำไฮกรอมิเตอร์ไปวดั ความชื้นอากาศในช่วงเช้าและช่วงบา่ ยลว่ งหนา้ และ บันทึกผลลงแบบฝึกวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 แล้วตอบคำถามท้ายกิจกรรม อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูให้แต่ละกลมุ่ นำเสนอขอ้ มูลและกราฟความสัมพนั ธร์ ะหว่างช่วงเวลาและความชื้นสัมพทั ธ์ 2. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันอภปิ รายผลกิจกรรม การหาความช้นื สัมพทั ธ์ 3. ครเู ฉลยคำถามท้ายกิจกรรม ดังนี้ - ความช้ืนสัมพนั ธ์ทห่ี าได้จากการทดลองในชว่ งเช้าและช่วงบา่ ยตา่ งกันหรือไม่ (แนวตอบ ต่างกนั โดยความชน้ื สัมพทั ธ์ในช่วงเช้ามีคา่ มากกว่าความชืน้ สมั พัทธใ์ นช่วงบ่าย) - นักเรียนคิดวา่ สาเหตทุ ที่ ำใหค้ วามชืน้ สัมพัทธ์ในช่วงเช้าและช่วงบ่ายมีความแตกตา่ งกนั คืออะไร โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 199 (แนวตอบ ความช้ืนสัมพทั ธ์ในช่วงเช้ามีค่ามากกวา่ ช่วงบ่าย เนื่องจากในช่วงเช้ามอี ุณหภูมอิ ากาศ ต่ำกว่าช่วงบ่าย ทำให้อากาศสามารถรอบรับไอน้ำได้น้อย ปริมาณไอน้ำอิ่มตัวจึงน้อย ซึ่งเม่ือ ปริมาณไอนำ้ อมิ่ ตัวในอากาศลดลง จงึ ส่งผลให้ความช้นื สมั พทั ธส์ งู ข้ึน) ช่วั โมงที่ 3 ขน้ั สอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูใหน้ ักเรียนศึกษาไฮกรอมเิ ตอรแ์ บบเส้นผม ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 หนา้ 47 2. ครถู ามคำถามนกั เรียนวา่ ในวนั ท่ีมีความชนื้ อากาศสูงและต่ำจะมผี ลตอ่ การเปลีย่ นแปลงของเสน้ ผม หรอื ไม่ อยา่ งไร (แนวตอบ พิจารณาตามคำตอบของนักเรยี น โดยให้อยใู่ นดลุ ยพนิ ิจของครผู ูส้ อน ตวั อย่างเชน่ มีผล ต่อเส้นผม โดยความชน้ื อากาศที่เปลีย่ นแปลงทำใหเ้ ส้นผมยดื หรือหดตวั ไดแ้ ตกต่างกัน) 3. ครมู อบหมายใหน้ กั เรียนออกแบบเคร่ืองมอื วดั ความชน้ื อากาศไฮกรอมิเตอรแ์ บบเส้นผมโดยแสดงถงึ การนำวัสดุอุปกรณ์ในชวี ติ ประจำวันมาประยกุ ตใ์ ช้ อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ นำเสนอเครอื่ งมอื วดั ความชน้ื อากาศของตนเอง พร้อมทั้งอธิบายวัสดุอุปกรณ์ท่ี นำมาใช้ รวมทัง้ อธิบายหลักการทำงานของเคร่ืองมือวัดความช้ืนอากาศของกล่มุ ตนเอง 2. ครเู พมิ่ เตมิ ความรู้ หรือข้อมูลให้กบั การนำเสนอเคร่อื งมือแต่ละกล่มุ 3. ครูและนักเรยี นร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชนท์ ี่ได้รับจากการทำกิจกรรม และการนำ ความรู้ที่ได้ไปใชป้ ระโยชน์ 4. ครถู ามคำถามเพอื่ ทดสอบความเข้าใจของนกั เรยี น ดงั นี้ - ความชนื้ อากาศคอื อะไร (แนวตอบ ความช้นื อากาศ คอื ปรมิ าณไอน้ำทีม่ อี ย่ใู นอากาศในแต่ละวัน) - ใหอ้ ธิบายหลกั การทำงานของไซครอมเิ ตอร์ (แนวตอบ น้ำในกระเปาะจะระเหยโดยดูดความร้อนจากกระเปาะของเทอร์มอมิเตอร์ทำให้ อุณหภูมิท่ีอ่านได้จากเทอร์มอมิเตอร์กระเปาะเปียกมีค่าต่ำลง ทำให้อุณหภูมิที่อ่านได้จากเทอร์ มอมิเตอร์กระเปาะเปียกมีค่าต่ำกว่ากระเปาะแห้ง จากน้ันนำค่าผลต่างอุณหภูมินี้ไปอ่านค่า ความช้ืนสมั พทั ธใ์ นตาราง) - ความชืน้ สมั พัทธ์คืออะไร (แนวตอบ ความชนื้ สัมพัทธ์ (relative humidity) คือ อัตราสว่ นระหว่างมวลของไอน้ำทมี่ อี ยจู่ ริง ในอากาศขณะน้ัน กับมวลของไอน้ำที่อากาศซ่ึงมีปริมาตรและอุณหภูมิเดียวกันจะรับได้เต็มที่ (อากาศอ่ิมตวั ) มีหนว่ ยวดั เปน็ เปอร์เซน็ ต์) - ปจั จยั ทีม่ ีผลต่อการเปล่ียนแปลงความช้ืนอากาศได้แก่อะไรบา้ ง (แนวตอบ ปัจจัยท่ีมผี ลต่อการเปล่ียนแปลงความช้ืนอากาศ ได้แก่ ลักษณะพื้นท่ีในแต่ละบริเวณ และอณุ หภูมิ) โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 1 200 - คา่ ความชน้ื อากาศท่ีนิยมใช้คือค่าความช้ืนอากาศใด และสามารถคำนวณหาค่าความช้ืนอากาศ ดงั กล่าวไดอ้ ยา่ งไร (แนวคำตอบ ค่าความช้ืนอากาศที่นิยมใช้ คือ ค่าความช้ืนสัมพัทธ์ คำนวณได้จากค่าความช้ืน อากาศในอากาศที่มีอยู่ ณ ขณะนั้น หารด้วยค่าความชื้นอากาศท่ีมากท่ีสุดที่อากาศบริเวณนั้น สามารถรบั ได้ และคณู ดว้ ย 100) - ปัจจัยใดที่ส่งผลต่อค่าความช้ืนสัมพัทธ์ และหากปัจจัยดังกล่าวมีค่าสูงขึ้น จะส่งผลต่อความชื้น สมั พทั ธอ์ ย่างไร (แนวตอบ ปัจจัยท่ีมีผลต่อค่าความช้ืนสัมพัทธ์คือ อุณหภูมิ หากอุณหภูมิสูงขึ้นจะทำให้ ความสามารถในการรองรบั ความชน้ื อากาศของอากาศสูงขน้ึ ทำให้คา่ ความชน้ื สัมพทั ธล์ ดตำ่ ลง) - เครื่องมือใดนำมาหาคา่ ความชนื้ อากาศ และมหี ลกั การในการวดั ความชน้ื อากาศอยา่ งไร (แนวตอบ สามารถหาค่าความชื้นอากาศได้โดยใช้ไฮกรอมิเตอร์แบบกระเปาะเปียก-กระเปาะ แห้ง มีหลักการในการวัดคือ วัดจากความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิท่ไี ด้จากเทอรม์ อมิเตอร์ปกติ และอุณหภูมิจากเทอร์มอมิเตอร์ที่มีผ้าเปียกหุ้มกระเปาะ หากอากาศมีความชื้นอากาศน้อย น้ำ จากผ้าเปียกจะระเหยทำให้วัดค่าอุณหภูมิของกระเปาะท่ีมีผ้าเปียกได้ต่ำลง ผลต่างระหว่าง อณุ หภูมิท้ังสองกระเปาะจึงมีค่ามากขน้ึ เมื่ออุณหภูมิต่ำ จากนั้นนำผลตา่ งอุณหภูมิที่ไดไ้ ปอ่านค่า ในตาราง) ขน้ั สรุป ขยายความรู้ (Expand) 1. นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มศกึ ษาผลกระทบของความชน้ื อากาศที่มีตอ่ การดำรงชวี ติ เพิ่มเติมจากหนงั สอื เรียน วิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 หรอื จากแหลง่ การเรียนรู้อน่ื ๆ จากนนั้ ทำแผนผงั สรุปเกยี่ วกับ ความช้ืน อากาศมีผลต่อการดำรงชวี ิตของมนษุ ยอ์ ย่างไรบา้ ง โดยยกตัวอยา่ งและอธิบายผลของความช้นื อากาศทีม่ ีต่อการเปลยี่ นแปลงต่าง ๆ 2. ครใู หน้ กั เรยี นทำแบบฝกึ หดั ในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูตรวจใบงานที่ 5.4 เรอ่ื ง ความชน้ื อากาศ 2. ครตู รวจแบบฝกึ หัดในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 3. ครูประเมนิ การนำเสนอใบงานที่ 5.4 เรื่อง ความช้ืนอากาศ โดยใช้แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน 3. ครูประเมินนักเรียนจากการสืบค้นข้อมูล และการตอบคำถามในช้ันเรียน โดยใช้แบบสังเกต พฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล 4. ครปู ระเมินการออกแบบเคร่ืองมือวัดความชื้นอากาศแบบเส้นผม โดยใช้แบบประเมินการนำเสนอ ผลงาน 5. ครูประเมินการปฏิการจากการทำกิจกรรม การหาความช้ืนสัมพัทธ์ โดยใช้แบบประเมินการ ปฏบิ ัตกิ าร 6. ครปู ระเมนิ นกั เรียนจากการทำงานกล่มุ โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายกลมุ่ 7. ครูประเมินแผนผังสรุป เรือ่ ง ผลของความช้นื อากาศต่อการดำรงชวี ติ ของมนุษย์ โดยใช้แบบประเมิน ชนิ้ งาน/ภาระงานรวบยอด โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 201 7. การวดั และประเมินผล รายการวัด วธิ ีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมนิ 7.1 การประเมินระหวา่ ง - ตรวจใบงานที่ 5.4 เรื่อง - เฉลยใบงานท่ี 5.4 เรื่อง รอ้ ยละ 60 การจดั กิจกรรม ความชืน้ อากาศ ความชนื้ อากาศ ผา่ นเกณฑ์ 1) ความชืน้ อากาศ - แผนผังสรุป เรอื่ ง ผลของ ระดบั คุณภาพ 2 ความช้นื อากาศต่อการ - แบบประเมนิ ชิ้นงาน/ ผ่านเกณฑ์ 2) การปฏบิ ัติการ ดำรงชวี ิตของมนษุ ย์ ภาระงานรวบยอด - ตรวจแบบฝึกหดั ระดบั คุณภาพ 2 3) การนำเสนอ - แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ผ่านเกณฑ์ ผลงาน - แบบประเมินการปฏิบัติการ ม.1 เลม่ 2 ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 4) พฤติกรรมการ - ประเมนิ การนำเสนอใบงาน - แบบประเมินการปฏบิ ัติการ ระดับคุณภาพ 2 ทำงานรายบคุ คล ท่ี 5.4 ผา่ นเกณฑ์ - เครือ่ งมือวดั ความช้นื - แบบประเมินการนำเสนอ ระดบั คณุ ภาพ 2 5) พฤตกิ รรมการ แบบเสน้ ผม ผลงาน ผ่านเกณฑ์ ทำงานรายกลมุ่ ระดับคณุ ภาพ 2 - สงั เกตพฤติกรรม - แบบประเมนิ การนำเสนอ ผา่ นเกณฑ์ 6) คุณลักษณะอนั การทำงานรายบคุ คล ผลงาน ระดับคุณภาพ 2 พงึ ประสงค์ - สงั เกตพฤตกิ รรม ผา่ นเกณฑ์ การทำงานรายกลุ่ม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดบั คุณภาพ 2 - สังเกตความมีวินัย การทำงานรายบคุ คล ผ่านเกณฑ์ ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งม่ัน - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ในการทำงาน การทำงานรายกลมุ่ - แบบประเมิน คณุ ลกั ษณะอัน พงึ ประสงค์ 8. ส่ือ/แหลง่ การเรียนรู้ 8.1 ส่อื การเรียนรู้ 1) หนงั สอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 2) แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 3) ใบงานท่ี 5.4 เรื่อง ปัจจยั ทม่ี ผี ลต่อการเปลย่ี นแปลงความชืน้ อากาศ 4) PowerPoint เร่ือง ความช้ืนอากาศ 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ส่ิงแวดล้อมท่ีอยู่ใกล้ตัวนักเรียน โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 202 9. การบูรณาการตามจุดเนน้ ของโรงเรยี น : ความหลากหลายทางชวี ภาพ หลกั ปรชั ญา ครู ผ้เู รียน ของเศรษฐกิจพอเพียง 1. ความพอประมาณ พอดดี ้านเทคโนโลยี พอดีด้านจิตใจ 2. ความมีเหตผุ ล รจู้ กั ใชเ้ ทคโนโลยีมาผลิตสอ่ื ที่ มจี ิตสำนึกที่ดี จิตสาธารณะร่วม 3. มีภมู ิคมุ กนั ในตวั ทีด่ ี เหมาะสมและสอดคลอ้ งเน้อื หาเป็น อนรุ ักษ์ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ 4. เง่อื นไขความรู้ ประโยชน์ตอ่ ผู้เรียนและพฒั นาจากภูมิ สิ่งแวดล้อม ปัญญาของผเู้ รยี น - ยึดถือการประกอบอาชพี ดว้ ยความ ไม่หยดุ นิง่ ทห่ี าหนทางในชีวติ หลุดพ้น ถกู ตอ้ ง สุจรติ จากความทุกขย์ าก (การคน้ หาคำตอบ เพ่ือใหห้ ลุดพ้นจากความไมร่ )ู้ ภมู ิปัญญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ ภูมปิ ญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ ระมดั ระวงั รบั ผดิ ชอบ ระมดั ระวงั สร้างสรรค์ ความรอบรู้ เรื่อง ความชน้ื อากาศ ความรอบรู้ เรอื่ ง ความชืน้ อากาศ ทเ่ี ก่ียวขอ้ งรอบด้าน นำความรู้มา สามารถนำความรเู้ หล่านนั้ มาพิจารณา เช่อื มโยงประกอบการวางแผน การ ให้เกิดความเชอื่ มโยง สามารถ ดำเนนิ การจัดกิจกรรมการเรยี นรใู้ หก้ บั ประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจำวนั ได้ ผเู้ รียน 5. เง่อื นไขคุณธรรม มีความตระหนักใน คณุ ธรรม มี มคี วามตระหนกั ใน คณุ ธรรม มคี วาม ความซอื่ สตั ย์สุจรติ และมคี วามอดทน ซือ่ สตั ย์สจุ รติ และมคี วามอดทน มี มคี วามเพียร ใช้สติปัญญาในการ ความเพียร ใช้สตปิ ญั ญาในการดำเนนิ ดำเนนิ ชีวิต ชีวติ สวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น ครู ผู้เรียน ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สำรวจความหลากหลายทางชีวภาพ ในโรงเรยี น (ตามจดุ ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย) - ความหลากหลายทางชวี ภาพ - สำรวจความหลากหลายทาง ผู้เรยี น ชีวภาพในโรงเรียน (กำหนดจดุ ให้ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สืบค้นขอ้ มูลการอนุรกั ษค์ วาม ผ้เู รียนสำรวจ) หลากหลายทางชีวภาพ (ตามหวั ข้อท่ี ไดม้ อบหมาย) ส่งิ แวดล้อม ครู ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - การอนรุ ักษ์ความหลากหลาย - การอนรุ ักษ์ความหลากหลายทาง ทางชวี ภาพ ชวี ภาพ (กำหนดหัวขอ้ ให้ผเู้ รียน สืบคน้ ) โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 203 10. ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารสถานศกึ ษาหรือผูท้ ีไ่ ดร้ ับมอบหมาย 10.1 หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถึง) ………./……………./…………. 10.2 รองผู้อำนวยการฝา่ ยบรหิ ารวชิ าการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่อื …………………………………………. (นายวิเศษ ฟองตา) ………./……………./…………. 10.3 ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นางวลิ าวลั ย์ ปาลี) ………./……………./…………. โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 204 11. บันทึกผลหลงั การสอน  ดา้ นความรู้  ด้านสมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน  ด้านคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์  ดา้ นความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์  ด้านอ่ืน ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรือพฤติกรรมทม่ี ปี ญั หาของนักเรยี นเป็นรายบคุ คล (ถา้ มี))  ปัญหา/อปุ สรรค  แนวทางการแกไ้ ข ลงชื่อ.........................................................ผู้สอน (นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา) ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 205 ใบงานที่ 5.4 เรอ่ื ง ปจั จยั ทมี่ ีผลต่อการเปลยี่ นแปลงความชืน้ อากาศ คำชี้แจง ใหน้ กั เรียนศกึ ษาชุดสาธิตที่ครเู ตรียมมาให้ แลว้ บนั ทกึ ผลลงในตารางและตอบคำถามท้ายกิจกรรม วสั ดุอปุ กรณ์ (ชดุ สาธติ ) วธิ ีทำ 1. ตวั แทนกล่มุ ออกมาจับตวั อย่างผา้ จากชุดสาธิต โดยเปรยี บเทียบความแห้งของผ้าเปน็ คู่ ดงั นี้ ผ้าชุดท่ี 1 กบั ผ้าชดุ ท่ี 2 และ ผา้ ชุดที่ 3 กบั ผา้ ชุดที่ 4 2. ตวั แทนกลมุ่ กลบั มาอธบิ ายความแหง้ ของผ้าให้สมาชกิ ในกลุ่มฟงั และบันทกึ ผลลงตาราง 3. นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ รว่ มกันอภปิ รายสาเหตทุ ที่ ำให้ผ้ามีความแห้งแตกตา่ งกนั 4. ตอบคำถามท้ายกิจกรรม ตารางบนั ทกึ ผลเปรยี บเทียบความแห้งของผา้ ชุดที่ 1 กบั ผ้าชุดท่ี 2 ชดุ สาธติ ภาพประกอบ คำอธบิ ายชุดสาธิต ความแหง้ ของผ้า (มากกวา่ /นอ้ ยกว่า) 1 เป็นการจำลองการตากผ้า ในพน้ื ท่ีท่ีมแี หลง่ นำ้ 2 เปน็ การจำลองการตากผ้า ในพืน้ ท่ีท่ไี ม่มีแหลง่ นำ้ ตารางบันทกึ ผลเปรยี บเทยี บความแหง้ ของผ้าชดุ ที่ 3 กบั ผา้ ชดุ ท่ี 4 ชดุ สาธิต ภาพประกอบ คำอธิบายชุดสาธิต ความแห้งของผ้า (มากกว่า/น้อยกวา่ ) 3 เป็นการจำลองการตากผ้า ในบรเิ วณทมี่ ีอุณหภูมิสงู 4 เป็นการจำลองการตากผ้า ในบริเวณทมี่ ีอณุ หภูมิต่ำ โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 206 คำถามท้ายกจิ กรรม 1. กระบวนการเปลี่ยนสถานะของนำ้ ท่ที ำให้ผา้ แห้งคืออะไร ........................................................................................................................................................... 2. สาเหตุท่ีทำให้ผา้ มีความแหง้ แตกต่างกนั คืออะไร ........................................................................................................................................................... 3. สาเหตุทที่ ำให้น้ำในผ้ามกี ารระเหยแตกตา่ งกันคอื อะไร ........................................................................................................................................................... 4. จากชดุ สาธติ ชุดที่ 1 และ ชุดที่ 2 ตอบคำถาม ดังน้ี 4.1 ชดุ ใดมีความช้นื อากาศมากกวา่ กนั ..................................................................................................................................................... 4.2 ปัจจยั ใดทีท่ ำให้ความชื้นอากาศทงั้ สองชดุ นี้แตกต่างกนั ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... 5. จากชดุ สาธิตชุดที่ 3 และ ชุดที่ 4 ตอบคำถาม ดังน้ี 5.1 ชุดใดมีความช้นื อากาศมากกว่ากนั ..................................................................................................................................................... 5.2 ปจั จัยใดทที่ ำให้ความชน้ื อากาศทั้งสองชดุ นแี้ ตกต่างกัน ..................................................................................................................................................... โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 207 ใบงานท่ี 5.4 เฉลย เรือ่ ง ปจั จัยท่มี ผี ลต่อการเปล่ยี นแปลงความชืน้ อากาศ คำชี้แจง ใหน้ กั เรยี นศึกษาชุดสาธติ ทคี่ รเู ตรียมมาให้ แล้วบันทกึ ผลลงในตารางและตอบคำถามท้ายกิจกรรม วัสดอุ ปุ กรณ์ (ชดุ สาธติ ) วิธที ำ 1. ตัวแทนกลุ่มออกมาจบั ตัวอยา่ งผา้ จากชดุ สาธติ โดยเปรียบเทยี บความแห้งของผ้าเป็นคู่ ดังนี้ ผา้ ชุดที่ 1 กับ ผ้าชดุ ที่ 2 และ ผ้าชดุ ท่ี 3 กับ ผ้าชุดท่ี 4 2. ตวั แทนกลุ่มกลับมาอธิบายความแห้งของผา้ ให้สมาชิกในกลมุ่ ฟัง และบันทกึ ผลลงตาราง 3. นักเรยี นแต่ละกล่มุ ร่วมกันอภิปรายสาเหตุที่ทำให้ผ้ามคี วามแห้งแตกต่างกัน 4. ตอบคำถามทา้ ยกิจกรรม ตารางบันทึกผลเปรียบเทยี บความแห้งของผ้าชุดที่ 1 กบั ผา้ ชุดท่ี 2 ชดุ สาธิต ภาพประกอบ คำอธิบายชุดสาธติ ความแห้งของผา้ (มากกวา่ /นอ้ ยกว่า) 1 เป็นการจำลองการตากผ้า มากกว่า ในพนื้ ท่ที ม่ี แี หล่งนำ้ 2 เป็นการจำลองการตากผ้า นอ้ ยกวา่ ในพนื้ ที่ท่ีไม่มีแหล่งน้ำ ความแห้งของผา้ ตารางบนั ทกึ ผลเปรยี บเทยี บความแหง้ ของผ้าชุดท่ี 3 กบั ผ้าชดุ ท่ี 4 (มากกวา่ /น้อยกว่า) ชุดสาธติ ภาพประกอบ คำอธบิ ายชุดสาธิต นอ้ ยกวา่ 3 เปน็ การจำลองการตากผ้า ในบรเิ วณที่มีอณุ หภมู ิสงู 4 เปน็ การจำลองการตากผ้า มากกว่า ในบรเิ วณทมี่ ีอณุ หภมู ิต่ำ โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 208 คำถามทา้ ยกจิ กรรม 1. กระบวนการเปลย่ี นสถานะของนำ้ ท่ที ำให้ผ้าแหง้ คืออะไร ...........ก...ร..ะ..บ..ว...น..ก..า..ร..ร..ะ...เ.ห..ย.................................................................................................................... 2. สาเหตุทีท่ ำให้ผา้ มคี วามแห้งแตกต่างกนั คืออะไร ...........ก...า.ร..ร..ะ...เ.ห...ย..ข..อ..ง..น...้ำ..ใ.น...ผ..้า..ท...่ีแ..ต...ก..ต..่า..ง..ก...นั ......................................................................................... 3. สาเหตุท่ที ำให้น้ำในผ้ามีการระเหยแตกต่างกนั คอื อะไร ............ค..ว..า..ม...ช..ื้น...อ..า..ก..า..ศ....ณ.....บ..ร..เิ.ว...ณ...น..้ัน................................................................................................... 4. จากชุดสาธติ ชุดท่ี 1 และ ชดุ ที่ 2 ตอบคำถาม ดังน้ี 4.1 ชุดใดมีความชื้นอากาศมากกว่ากัน .....ช..ุด..ท...ี่ .1....ม..คี...ว..า..ม..ช..น้ื...อ..า..ก...า..ศ..ม...า..ก..ก..ว..่า....ช..ุด..ท...่ี.2.................................................................................. 4.2 ปัจจัยใดท่ที ำให้ความชืน้ อากาศท้งั สองชุดนี้แตกต่างกัน ....ล..ัก...ษ..ณ....ะ..พ...้นื ..ท...ี่ .ณ.....บ..ร..ิเ..ว..ณ...น...ั้น....โ.ด..ย...พ...ืน้ ..ท...ท่ี ..่มี...แี..ห...ล..ง่..น...ำ้ ..จ..ะ..ม...ีค..ว..า..ม..ช...นื้ ..อ...า..ก..า..ศ..ส...ูง..ก..ว..่า..พ...น้ื ..ท...่ีท...่ไี .ม...่ม..แี...ห..ล..ง่. นำ้ ....เ.น...อื่ ..ง..จ..า..ก..พ...้ืน...ท..ท่ี...มี่...ีแ..ห...ล..่ง..น..ำ้..จ..ะ...ม..กี...า.ร..ร...ะ..เ.ห...ย..ไ.ด...้ม..า..ก...ก..ว..า่................................................................. 5. จากชดุ สาธิตชุดที่ 3 และ ชุดที่ 4 ตอบคำถาม ดงั น้ี 5.1 ชดุ ใดมีความชนื้ อากาศมากกวา่ กัน .....ช...ดุ ..ท...ี่ .4...ม...คี..ว..า..ม...ช..ืน้...อ..า..ก...า.ศ...ม..า..ก...ก..ว..า่...ช...ุด..ท...ี่ .3................................................................................. 5.2 ปจั จยั ใดที่ทำให้ความชน้ื อากาศท้ังสองชุดนี้แตกต่างกัน .....อ...ุณ...ห...ภ..มู...ขิ ..อ..ง..พ...น้ื...ท..ี่..ณ....บ...ร..ิเ.ว..ณ....น..ัน้....โ..ด..ย..พ...ืน้...ท..ี่ท...ม่ี..ีอ...ุณ...ห...ภ..มู...ิส..งู..ก..ว...่า.จ...ะ..ม..ีค...ว..า..ม..ช...น้ื ..อ...า..ก..า..ศ..ต...่ำ..ก..ว..า่..พ...ื้น..ท. ่ีท่ีมี .....อ...ุณ...ห...ภ..มู...ิต..่ำ..ก..ว...า่ ......................................................................................................................... โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 209 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 7 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2/2562 กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วิทยาศาสตร์ (ว21102) หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 บรรยากาศ เร่อื ง ลม จำนวนเวลาทส่ี อน 3 ชว่ั โมง ผสู้ อน นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา 1. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (ความเขา้ ใจท่คี งทน) ความชืน้ อากาศเป็นปริมาณไอน้ำที่มีอยู่ในอากาศ ซง่ึ ปัจจัยท่ีมีผลต่อความชื้นอากาศ ได้แก่ อุณหภูมิ อากาศและลักษณะพ้ืนท่ี ความช้ืนอากาศสามารถตรวจวัดได้โดยใช้ไฮกรอมิเตอร์ และนำมาใช้ในการ พยากรณ์อากาศ 2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชีว้ ัดชัน้ ป/ี ผลการเรยี นรู้/เป้าหมายการเรยี นรู้ 2.1 ตวั ชว้ี ัด ว 3.2 ม.1/2 อธิบายปจั จัยทม่ี ีผลตอ่ การเปล่ียนแปลงองคป์ ระกอบของลมฟ้าอากาศจากขอ้ มูลท่ี รวบรวมได้ 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 ด้านความรู้ (Knowledge) 1) อธิบายปัจจัยท่ีมีผลตอ่ การเกิดลมในแตล่ ะบรเิ วณได้ 3.2 ด้านทักษะและกระบวนการ (Skill/Process) 2) นำเสนอแผนภาพการเกดิ ลมได้ 3.3 ดา้ นเจตคติ (Attitude) 3) รับผดิ ชอบต่อหน้าท่แี ละงานทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 เนื้อหาสาระหลกั : Knowledge (ผเู้ รียนตอ้ งรูอ้ ะไร) ลมฟ้าอากาศ เป็นสภาวะของอากาศในเวลาหนึ่งของพื้นที่หน่ึงที่มีการเปลี่ยนแปลง ตลอดเวลาขนึ้ อยู่กบั องค์ประกอบลมฟ้าอากาศ ไดแ้ ก่ อุณหภูมิของอากาศ ความกดอากาศ ลม ความช้ืน เมฆ และหยาดน้ำฟ้า โดยหยาดน้ำฟ้าทพ่ี บบ่อยในประเทศไทย ได้แก่ ฝน องค์ประกอบลมฟ้าอากาศเปล่ียนแปลง ตลอดเวลาขน้ึ อยูก่ ับปจั จัยต่าง ๆ เชน่ ปริมาณรงั สีจากดวงอาทิตยแ์ ละลกั ษณะพ้ืนผิวโลกสง่ ผลต่ออุณหภูมิของ อากาศ อุณหภูมิของอากาศและปริมาณไอน้ำส่งผลต่อความช้นื ความกดอากาศส่งผลต่อลม ความชืน้ และลม สง่ ผลตอ่ เมฆ 4.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (ผู้เรยี นสามารถปฏบิ ัติอะไรได)้ 1) ความสามารถในการสอ่ื สาร 2) ความสามารถในการคิด 2.1) ทักษะการสังเกต โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 210 2.2) ทักษะการสำรวจคน้ หา 2.3) ทักษะการคิดวิเคราะห์ 3) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 4.3 คุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ : Attitude (ผ้เู รยี นควรแสดงพฤตกิ รรมการเรียนอะไรบา้ ง) 1) มีวนิ ัย 2) ใฝ่เรยี นรู้ 3) มุ่งมนั่ ในการทำงาน 5. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี นและคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. ความสามารถในการส่ือสาร 1. มวี ินยั 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรยี นรู้ 1) ทักษะการสังเกต 3. มุง่ ม่นั ในการทำงาน 2) ทักษะการสำรวจค้นหา 3) ทักษะการคดิ วิเคราะห์ 3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. กจิ กรรมการเรยี นรู้  วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ช่วั โมงที่ 1 ขน้ั นำ กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครแู จง้ ผลการเรยี นรู้ให้นกั เรยี นทราบ 2. ครกู ระตนุ้ ความสนใจของนักเรียนเก่ียวกับเร่ือง ลม โดยครถู ามนักเรยี นวา่ เคยสังเกตเห็นใบไม้ไหว หรือไม่ และคิดวา่ เกิดขึ้นได้อย่างไร (แนวตอบ พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยใู่ นดุลยพนิ ิจของครผู ู้สอน ตัวอย่างเช่น เคย สังเกตเห็นใบไมไ้ หว ซึง่ เกิดจากการเคลือ่ นท่ีของอากาศ เปน็ ต้น) 3. ครูเช่ือมโยงคำตอบ พร้อมยกข่าวเกี่ยวกับการเกิดลมแรงให้นักเรียนฟัง แล้วให้นักเรียนช่วยกัน แสดงความคดิ เห็นว่า ลมแรงเกิดจากสาเหตใุ ด 4. ครูให้นักเรียนแต่ละคนรว่ มกนั อภปิ รายหาคำตอบเก่ียวกับการเกิดลม และโยงไปสู่ความหมายของ ลม โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 211 ขน้ั สอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครูเตรยี มชดุ การทดลองสาธติ โดยจดั ตง้ั อปุ กรณ์ตามรปู โดยมีข้นั ตอน ดงั น้ี 1.1 ตัดก้นขวดพลาสตกิ ใส 2 ขวด แล้วนำปากของขวดหนึ่งต่อกับดา้ นข้างของอกี ขวดหน่ึงโดยให้มี ช่องเช่ือมต่อกัน 1.2 นำชดุ ขวดพลาสติกทต่ี อ่ กันนไี้ ปครอบบนเทยี นทีจ่ ุดไฟ 1.3 นำธปู มาจอ่ ในขวดท่วี างแนวนอน ขวดพลาสติกใส เทียน ขวดพลาสตกิ ใส ธปู 2. ครถู ามนักเรยี นวา่ จากชุดการทดลองสาธิตท่ีครูเตรยี ม นักเรยี นคิดวา่ เมอ่ื ครูนำธปู ทจี่ ุดไฟมาจ่อใน ขวดแนวนอน จะเกดิ การเปลย่ี นแปลงอยา่ งไร (แนวตอบ พจิ ารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยใหอ้ ยูใ่ นดลุ ยพินจิ ของครูผสู้ อน ตวั อย่างเชน่ ควัน ธูปจะลอยไปยงั ขวดในแนวต้งั แล้วลอยขน้ึ ออกจากปากขวดแนวต้ัง เป็นตน้ ) 3. ครใู ห้นกั เรียนแบ่งกล่มุ กลมุ่ ละประมาณ 5 คน จากน้ันส่งตัวแทนกลุ่มออกมารบั ใบงานท่ี 5.5 เรือ่ ง ลม 4. ครูให้นกั เรยี นแต่ละกล่มุ สืบคน้ ขอ้ มลู เกย่ี วกับเรอื่ ง การเกดิ ลม จากหนงั สือเรยี น หน้า 48 หรือ สบื คน้ จากแหล่งเรียนรู้อ่นื ๆ แลว้ บนั ทึกผลการสืบค้นลงในใบงานที่ 5.5 เรื่อง ลม ในตอนท่ี 1 5. ครถู ามนกั เรยี นต่อว่า เราจะทราบความเร็วและทิศทางลมในชวี ิตประจำวนั ได้อยา่ งไร (แนวตอบ พจิ ารณาตามคำตอบของนักเรยี น โดยใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพนิ จิ ของครผู ู้สอน ตวั อยา่ งเช่น ทราบความเร็วลมได้จากอุปกรณ์ทมี่ ีลักษณะเหมือนธนูชไี้ ปยงั ทศิ ทางทลี่ มพัดมา ทราบความเรว็ ลม ไดจ้ ากความเรว็ ของกงั หนั เปน็ ตน้ ) 6. ครใู หน้ ักเรียนสืบค้นข้อมูลการวดั ความเร็วและทิศทางลม จากหนงั สอื เรียน หน้า 49 หรือสบื ค้น จากแหลง่ เรียนรูอ้ ่ืน ๆ ภายในหอ้ งเรยี น แลว้ บันทึกผลการสืบคน้ ลงใบงานท่ี 5.5 เรื่อง ลม ในตอนท่ี 2 โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 212 ช่วั โมงที่ 2 ขน้ั สอน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครใู หน้ ักเรียนแต่ละกลมุ่ ส่งตวั แทนกลมุ่ เพ่อื ออกมานำเสนอผลการบันทกึ กิจกรรมลงในใบงานท่ี 5.5 เร่อื ง ลม 2. ครเู ฉลยคำตอบ โดยนำธปู ที่จดุ ไฟมาจ่อในขวดแนวนอน เพ่อื ใหน้ กั เรยี นมีความเข้าใจมากข้นึ 3. ครแู ละนักเรียนรว่ มกันอภิปรายและหาขอ้ สรปุ จากการปฏิบตั ิกจิ กรรม โดยใช้แนวคำถามตอ่ ไปน้ี ­ เม่อื จุดนำขวดไปครอบเทยี นทีจ่ ดุ ไฟ มกี ารเปลย่ี นแปลงอะไรเกดิ ขน้ึ (แนวตอบ มีการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมใิ นอากาศที่แตกต่างกัน ทำใหค้ วามดันอากาศแตกตา่ ง กันด้วย) ­ การเคล่อื นท่ขี องอากาศในเกิดข้ึนในทิศทางใด และสังเกตจากชดุ สาธติ การทดลองไดอ้ ย่างไร (แนวตอบ อากาศจะเคล่ือนท่ีจากบริเวณท่ีมีความดันอากาศสูง (อุณหภูมิต่ำ) ไปยังบริเวณท่ีมี ความดัน อากาศต่ำ (อุณหภูมิสูง) สังเกตได้จากการเคลื่อนที่ของควันธูปจากขวดที่ไม่มีเทียนจุด ไฟไปยังขวดทีม่ ีเทียนทีจ่ ดุ ไฟไว)้ ­ ผลสรปุ ของการทดลองนค้ี อื อะไร (แนวตอบ นกั เรียนควรสรุปได้วา่ เม่ืออากาศได้รับอุณหภูมสิ ูงหรือได้รบั ความร้อนจะขยายตวั ทำ ให้ความหนาแน่นของอากาศลดลง จะมีความดันอากาศต่ำ เม่ือความดันอากาศในสองบริเวณมี ความแตกต่างกัน จะทำให้เกิดการเคล่อื นท่ีจากบริเวณทีม่ ีความดันอากาศสูงกว่า ไปยังบรเิ วณท่ี มคี วามดนั อากาศตำ่ กวา่ การเคลอ่ื นท่ีของอากาศลักษณะนี้เรียกวา่ ลม) ­ เคร่ืองมือที่ใช้ในการวดั อตั ราเร็วและทศิ ทางลม ไดแ้ ก่อะไรบา้ ง (แนวตอบ ศรลม ใช้วัดทศิ ทางลม แอนิมอมเิ ตอร์ ใช้วัดอัตราเร็วลม และแอโรแวน สามารถวัดได้ ทั้งทศิ ทางและอตั ราเร็วลม) ช่ัวโมงท่ี 3 ขน้ั สอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครูใหน้ ักเรียนสังเกตภาพการทดลองต่อไปน้ี โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 213 ภาพการทดลอง 2. ครูถามคำถามนักเรยี น จากการสังเกตภาพการทดลอง ดงั นี้ ­ หากจุดไฟทต่ี ะเกยี ง จะเกดิ การเปล่ียนแปลงใดข้นึ (แนวตอบ ใบพัดจะหมนุ เน่อื งจากอากาศเกดิ การเคลอ่ื นท่ีลอยตัวสูงขึน้ ในบรเิ วณทม่ี อี ุณหภูมิสูง ซ่งึ เป็นบริเวณตะเกยี งแอลกอฮอล์ อากาศบริเวณรอบขา้ งที่มอี ุณหภูมติ ่ำกว่าจะเคลื่อนทีเ่ ข้ามา แทนทอี่ ากาศเหนือตะเกยี งแอลกอฮอลท์ ี่ลอยตวั สูงขนึ้ ) ­ การเกิดลมมอี ิทธิพลต่อส่งิ มีชวี ิตและสิง่ แวดลอ้ มอย่างไร (แนวตอบ พจิ ารณาตามคำตอบของนกั เรยี น โดยให้อยใู่ นดุลยพนิ ิจของครูผู้สอน ตัวอยา่ งเช่น ส่งผลต่อความรสู้ กึ รอ้ นเยน็ หากลมพดั จะทำใหเ้ หงือ่ จากร่างกายระเหยได้ดี จงึ ชว่ ยระบายความ ร้อนออกจากร่างกาย เป็นตน้ ) 3. ครูให้นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มสบื คน้ เก่ยี วกับการเกิดลมทีม่ ผี ลต่อส่งิ มีชวี ิตและสงิ่ แวดล้อมในหนังสอื เรยี น หน้า 48 หรือสบื ค้นจากแหลง่ การเรียนรู้อืน่ ๆ อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครใู ห้นักเรยี นแตล่ ะกล่มุ ส่งตวั แทนออกมานำเสนอเกย่ี วกบั การเกิดลมท่ีมีผลต่อสิง่ มีชวี ติ และ ส่งิ แวดล้อม 2. ครทู ดสอบความเขา้ ใจของนกั เรียนโดยการใชแ้ นวคำถาม ดงั น้ี ­ ลมเกิดขึน้ ไดอ้ ย่างไร (แนวตอบ เกดิ จากความแตกตา่ งของอุณหภมู ิ) ­ ลมมีประโยชนแ์ ละโทษอะไรบา้ ง (แนวตอบ ประโยชน์คือทำให้รสู้ ึกเยน็ ทำให้ผ้าแห้ง โทษ คือ ถ้าลมแรงเกนิ ไป อาจทำใหบ้ ้านเรอื น เสยี หายได)้ ­ ความกดอากาศสงู และความกดอากาศต่ำหมายถงึ อะไร (แนวตอบ ความกดอากาศสูง หมายถึง บรเิ วณทมี่ ีปริมาณของอากาศอยมู่ าก ทำใหอ้ ากาศหนกั และลอยตัวอยตู่ ำ่ สว่ นความกดอากาศตำ่ หมายถึง บรเิ วณทม่ี ีปรมิ าณของอากาศอยู่นอ้ ย ทำให้ อากาศเบาและลอยตวั สงู ) ­ ลมมที ิศทางการพดั ในลักษณะใดในบรเิ วณชายหาด (แนวตอบ ในตอนกลางวนั พน้ื ดินจะมอี ุณหภูมสิ ูงกวา่ พื้นน้ำ อณุ หภมู ิของอากาศเหนือพืน้ ดินจึงสูง กว่าอณุ หภูมขิ องอากาศเหนือพน้ื นำ้ ส่วนในตอนกลางคนื พ้ืนน้ำจะคายความร้อนอยา่ งชา้ ๆ ทำให้ โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 214 อากาศเหนอื พืน้ นำ้ มอี ุณหภูมสิ งู กวา่ อากาศเหนอื พืน้ ดนิ โดยลมจะพดั จากบรเิ วณที่มคี วามกด อากาศสงู ไปยงั บรเิ วณทีม่ คี วามกดอากาศต่ำ) ขน้ั สรุป ขยายความรู้ (Expand) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลจากการทำกิจกรรมว่า เมื่ออากาศได้รับอุณหภูมิสูงหรือได้รับความ รอ้ นจะขยายตวั ทำใหค้ วามหนาแน่นของอากาศลดลง จะมคี วามดนั อากาศตำ่ เมื่อความดันอากาศ ในสองบรเิ วณมคี วามแตกต่างกนั จะทำใหเ้ กิดการเคล่ือนท่ีจากบริเวณที่มีความดนั อากาศสูงกว่า ไป ยงั บรเิ วณท่ีมีความดันอากาศตำ่ กว่า การเคลอ่ื นท่ีของอากาศลักษณะนี้เรียกวา่ ลม 2. ครใู หน้ ักเรียนทำแบบฝกึ หดั ในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 2. ครตู รวจใบงานที่ 5.5 เร่อื ง ลม 3. ครปู ระเมินการนำเสนอใบงานท่ี 5.5 เร่ือง ลม โดยใช้แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน 4. ครูประเมนิ นักเรียนจากการสืบค้นข้อมลู และการตอบคำถามในชั้นเรียน โดยใช้แบบสงั เกต พฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล 5. ครปู ระเมินนกั เรียนจากการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมกล่มุ โดยใช้แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายกลุม่ 7. การวัดและประเมินผล วธิ ีวัด เครือ่ งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ รายการวดั - ตรวจใบงานที่ 5.5 - เฉลยใบงานที่ 5.5 เรื่อง ร้อยละ 60 7.1 การประเมินระหว่าง เรอื่ ง ลม การจัดกิจกรรม ลม ผ่านเกณฑ์ 1) ลม - ตรวจแบบฝกึ หดั - แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ รอ้ ยละ 60 2) การนำเสนอผลงาน - ประเมนิ การนำเสนอ ใบงานที่ 5.5 เรอื่ ง ลม ม.1 เล่ม 2 ผ่านเกณฑ์ 3) พฤติกรรมการ - สงั เกตพฤติกรรม ทำงานรายบุคคล การทำงานรายบคุ คล - แบบประเมนิ การ ระดับคณุ ภาพ 2 - สงั เกตพฤติกรรม 4) พฤติกรรมการ การทำงานรายกลุ่ม นำเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์ ทำงานรายกลมุ่ - สงั เกตความมวี นิ ัย ใฝ่เรียนรู้ และมงุ่ มั่น - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดับคณุ ภาพ 2 5) คณุ ลักษณะอนั พึง ในการทำงาน ประสงค์ การทำงานรายบคุ คล ผา่ นเกณฑ์ - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดับคณุ ภาพ 2 การทำงานรายกลมุ่ ผ่านเกณฑ์ - แบบประเมิน ระดับคณุ ภาพ 2 คุณลักษณะ ผา่ นเกณฑ์ อันพึงประสงค์ โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 215 8. สอื่ /แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 สื่อการเรยี นรู้ 1) หนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 2) แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 3) ใบงานที่ 5.5 เรื่อง ลม 4) PowerPoint เร่ือง ลม 5) อุปกรณส์ าธิตการทดลอง 6) ภาพการทดลอง 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องเรียน 2) ห้องสมุด 3) สื่ออินเทอร์เน็ต 4) สิ่งแวดล้อมท่ีอยู่ใกล้ตัวนักเรียน 9. การบรู ณาการตามจดุ เน้นของโรงเรียน : ความหลากหลายทางชวี ภาพ หลักปรชั ญา ครู ผ้เู รียน ของเศรษฐกิจพอเพียง 1. ความพอประมาณ พอดีดา้ นเทคโนโลยี พอดดี า้ นจิตใจ รจู้ กั ใช้เทคโนโลยมี าผลติ สอ่ื ที่ มจี ติ สำนึกท่ดี ี จติ สาธารณะร่วม 2. ความมีเหตผุ ล อนุรักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ เหมาะสมและสอดคล้องเนอื้ หาเป็น สง่ิ แวดล้อม 3. มภี ูมิคุมกนั ในตัวทีด่ ี ประโยชน์ต่อผู้เรยี นและพฒั นาจากภูมิ 4. เงอ่ื นไขความรู้ ปญั ญาของผู้เรียน ไมห่ ยดุ นิง่ ทีห่ าหนทางในชวี ิต หลุดพ้น - ยดึ ถือการประกอบอาชพี ด้วยความ จากความทกุ ขย์ าก (การคน้ หาคำตอบ ถูกตอ้ ง สุจริต เพื่อใหห้ ลดุ พ้นจากความไมร่ ู้) ภมู ิปญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ ภูมิปัญญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ รับผดิ ชอบ ระมัดระวงั สรา้ งสรรค์ ระมดั ระวงั ความรอบรู้ เร่ือง ลม สามารถนำ ความรอบรู้ เรื่อง ลม ท่ีเกยี่ วขอ้ ง ความรูเ้ หลา่ นั้นมาพิจารณาให้เกิด รอบดา้ น นำความรมู้ าเช่ือมโยง ความเช่อื มโยง สามารถประยุกตใ์ ช้ใน ประกอบการวางแผน การดำเนินการ ชวี ติ ประจำวันได้ จัดกจิ กรรมการเรียนรใู้ หก้ บั ผู้เรยี น 5. เงื่อนไขคณุ ธรรม มคี วามตระหนักใน คุณธรรม มี มคี วามตระหนกั ใน คณุ ธรรม มีความ ความซือ่ สัตยส์ ุจรติ และมคี วามอดทน ซ่ือสตั ยส์ ุจริตและมคี วามอดทน มี มีความเพียร ใช้สตปิ ญั ญาในการ ความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนนิ ดำเนินชีวติ ชวี ติ โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 216 สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ครู ผ้เู รียน ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สำรวจความหลากหลายทางชีวภาพ ในโรงเรยี น (ตามจุดทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย) - ความหลากหลายทางชีวภาพ - สำรวจความหลากหลายทาง ผู้เรยี น ชีวภาพในโรงเรียน (กำหนดจดุ ให้ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สืบค้นขอ้ มลู การอนุรกั ษ์ความ ผู้เรียนสำรวจ) หลากหลายทางชวี ภาพ (ตามหัวขอ้ ที่ ไดม้ อบหมาย) ส่งิ แวดลอ้ ม ครู ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - การอนุรกั ษค์ วามหลากหลาย - การอนุรักษ์ความหลากหลายทาง ทางชีวภาพ ชีวภาพ (กำหนดหัวข้อใหผ้ ู้เรยี น สบื คน้ ) โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 217 10. ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารสถานศกึ ษาหรือผู้ท่ไี ดร้ บั มอบหมาย 10.1 หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ…………………………………………. (นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถึง) ………./……………./…………. 10.2 รองผู้อำนวยการฝา่ ยบรหิ ารวชิ าการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชือ่ …………………………………………. (นายวิเศษ ฟองตา) ………./……………./…………. 10.3 ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นางวลิ าวลั ย์ ปาลี) ………./……………./…………. โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 218 11. บันทึกผลหลงั การสอน  ดา้ นความรู้  ด้านสมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน  ด้านคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์  ดา้ นความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์  ด้านอ่ืน ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรือพฤติกรรมทม่ี ปี ญั หาของนักเรยี นเป็นรายบคุ คล (ถา้ มี))  ปัญหา/อปุ สรรค  แนวทางการแกไ้ ข ลงชื่อ.........................................................ผู้สอน (นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา) ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 219 ใบงานท่ี 5.5 เร่อื ง ลม ตอนท่ี 1 ขนั้ ตอนการทำกจิ กรรม 1. ใหน้ ักเรยี นสบื คน้ ขอ้ มูลเก่ยี วกับการเกิดลม จากนนั้ ระบุผลการทดลองจากรปู ที่คาดวา่ นา่ จะเกดิ ขึ้น และ สาเหตุที่คิดวา่ เปน็ เช่นน้ัน 2. ให้นักเรยี นแต่ละกลุม่ ส่งตัวแทนออกมานำเสนอผลการทดลองทคี่ าดว่าน่าจะเกิดขนึ้ และสาเหตุท่คี ิดว่าเปน็ เชน่ นั้น 3. ใหน้ กั เรยี นสังเกตผลการทดลองท่ีเกิดขึน้ จรงิ เมอ่ื ครนู ำธูปไปจ่อภายในขวดแนวนอน 4. ให้นกั เรยี นบันทกึ ผลการทดลองลงในใบงาน และเขยี นสรุปและอภิปรายผล ขวดพลาสติกใส เทยี น ขวดพลาสตกิ ใส ธปู ผลการทดลองที่คาดว่าน่าจะเกิดข้ึน และสาเหตุที่คดิ วา่ เปน็ เชน่ น้นั .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ผลการทดลองที่เกดิ ข้นึ จริง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. สรุปผลและอภิปรายผลการทดลอง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 220 ตอนที่ 2 ข้ันตอนการทำกิจกรรม 1. ใหน้ ักเรยี นสืบค้นขอ้ มูลเกย่ี วกบั เครื่องมือวดั ทศิ ทาง และอตั ราเรว็ ลมในหนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 หรอื จากแหลง่ เรยี นรู้อืน่ ๆ 2. บันทกึ ผลการสืบคน้ ลงในตารางบนั ทกึ ผล ดังนี้ ชอื่ เครอ่ื งมือ ลักษณะ หน้าท่ี/การทำงาน ศรลม คลา้ ยลกู ดอกธนู ส่วนหวั เปน็ ปลาย ใช้วดั ทิศทางลม โดยหาก แหลม ส่วนท้ายจะเปน็ ครบี แบน หัวลูกศรช้ีไปทิศใด แสดงว่า กระแสลมมาจากทศิ นนั้ ประกอบด้วยถ้วยทีเ่ ปน็ โลหะ ใช้วดั ความเร็วลม โดยความเรว็ ใน แอนมี อมเิ ตอร์ น้ำหนักเบาจำนวน 3 – 4 อนั อยู่ การหมุนของถ้วยแสดงถึงขนาด ตรงปลายก้านที่หมุนไดอ้ ยา่ งอสิ ระ ของความเรว็ ลม ซ่งึ สามารถอ่าน ค่าความเรว็ ลมได้ทห่ี นา้ ปดั เครือ่ ง แอโรแวน มลี ักษณะคล้ายเครอื่ งบนิ โดยสว่ น ใชว้ ดั ความเร็วและทศิ ทางลม โดย หัวจะเปน็ ใบพดั และส่วนหางจะ ส่วนหวั มใี บพดั วัดความเร็วลม แบน สว่ นหางจะมลี กั ษณะแบนชว่ ยให้ แอโรแวนช้ีไปทางทศิ ท่ีลมพัดมา โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 221 ใบงานท่ี 5.5 เฉลย เรือ่ ง ลม ตอนที่ 1 ข้ันตอนการทำกิจกรรม 1. ให้นักเรียนสบื คน้ ข้อมลู เกย่ี วกับการเกดิ ลม จากนนั้ ระบุผลการทดลองจากรปู ทค่ี าดวา่ น่าจะเกดิ ข้นึ และ สาเหตุทค่ี ิดวา่ เป็นเชน่ นนั้ 2. ให้นกั เรยี นแต่ละกล่มุ สง่ ตวั แทนออกมานำเสนอผลการทดลองท่คี าดว่านา่ จะเกดิ ข้นึ และสาเหตุทคี่ ิดว่าเปน็ เช่นน้นั 3. ใหน้ กั เรียนสงั เกตผลการทดลองที่เกิดข้ึนจรงิ เมื่อครนู ำธปู ไปจ่อภายในขวดแนวนอน 4. ให้นักเรยี นบนั ทึกผลการทดลองลงในใบงาน และเขียนสรปุ และอภปิ รายผล ขวดพลาสติกใส เทยี น ขวดพลาสติกใส ธปู ผลการทดลองท่คี าดวา่ น่าจะเกิดขน้ึ และสาเหตทุ ี่คดิ วา่ เปน็ เชน่ น้ัน .........ข..้ึน...อ..ย..กู่...บั ..ค...ำ..ต..อ..บ...ข..อ...ง..น..ัก...เ.ร..ยี ..น.......................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ผลการทดลองทเ่ี กิดข้นึ จริง ........ค...ว..ัน..ธ..ปู...จ..ะ..ล...อ..ย..จ...า..ก..ข..ว..ด...แ..น...ว..น..อ...น..ไ..ป...ย..งั ..ข..ว..ด...แ..น...ว..ต..ั้ง..แ..ล..้ว...ล..อ..ย...อ..อ..ก...จ..า..ก..ป...า..ก..ข...ว..ด..แ..น...ว..ต..ง้ั...................................... .............................................................................................................................................................................. สรปุ ผลและอภิปรายผลการทดลอง .........จ...า..ก..ผ..ล...ก..า..ร..ท...ี่ล..อ..ง..ท...วี่ ..า่ ...ค...ว..นั ..ธ..ูป...จ..ะ..ล...อ..ย..จ...า..ก..ข..ว...ด..แ..น...ว..น...อ..น...ไ.ป...ย..งั..ข..ว..ด...แ..น...ว..ต..้งั...เ.น...่อื..ง..จ..า..ก...อ..า..ก..า..ศ...ใ.น...ข..ว..ด...แ..น...ว..ต..้ัง..ม..ี. .อ...ณุ ...ห...ภ..มู...สิ ..งู..ก..ว..่า..อ..า..ก...า..ศ..ใ..น..ข...ว..ด..แ..น...ว..น...อ..น....อ..า..ก...า..ศ..ท...ี่ม..ีอ...ุณ...ห...ภ..มู...ิส..งู..แ..ล..ะ...ม..ีค..ว...า..ม..ด..ัน...อ..า..ก...า..ศ..ต...่ำ..ใ.น...ข..ว..ด..แ...น..ว..ต...ั้ง..จ..ะ..ล...อ..ย..ต...วั .. .ส...งู .ข...นึ้ ..อ...อ..ก..ไ..ป...จ..า..ก..ป...า..ก..ข..ว..ด...แ..น...ว..ต..ั้ง...ส...่ว..น..อ...า..ก..า..ศ..จ...า..ก..ข..ว...ด..แ..น...ว..น...อ..น...ท..ี่ม...ีอ..ณุ...ห...ภ...มู ..ิต..ำ่..ก...ว..่า..ห..ร..อื...ม..คี...ว..า..ม..ด..ัน...อ..า...ก..า..ศ..ต...่ำ....... .ก...ว..่า..จ..ะ..ไ..ห..ล..เ..ข..้า..ม..า..แ...ท..น...ท...ี่ .ก..า..ร..เ..ค..ล..่อื...น..ท...ี่ข..อ...ง.อ...า..ก..า..ศ...น..เ้ี.ร..ีย...ก..ว..า่...ล...ม.............................................................................. โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 222 ตอนที่ 2 ขั้นตอนการทำกิจกรรม 1. ใหน้ กั เรยี นสืบค้นขอ้ มลู เกี่ยวกบั เคร่อื งมือวัดทิศทางและอัตราเร็วลมในหนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 หรือจากแหล่งเรียนรู้อน่ื ๆ 2. บันทึกผลการสืบคน้ ลงในตารางบนั ทกึ ผล ดังน้ี ชื่อเครอื่ งมอื ลกั ษณะ หน้าท/ี่ การทำงาน คลา้ ยลูกดอกธนู ส่วนหัวเป็นปลาย ใช้วดั ทิศทางลม โดยหากหวั ลูกศร ศรลม แหลม สว่ นท้ายจะเป็นครีบแบน ชไ้ี ปทิศใด แสดงวา่ กระแสลมมา จากทศิ นัน้ ประกอบดว้ ยถว้ ยทเ่ี ป็นโลหะ ใช้วดั ความเรว็ ลม โดยความเรว็ ใน แอนีมอมิเตอร์ น้ำหนกั เบาจำนวน 3–4 อนั อยู่ การหมนุ ของถว้ ยแสดงถงึ ขนาด ตรงปลายก้านทีห่ มุนได้อย่างอสิ ระ ของความเรว็ ลม ซ่ึงสามารถอา่ น ค่าความเร็วลมไดท้ ่หี น้าปดั เคร่อื ง มีลกั ษณะคล้ายเครอ่ื งบิน โดยสว่ น ใชว้ ดั ความเรว็ และทศิ ทางลม โดย แอโรแวน หัวจะเปน็ ใบพดั และสว่ นหางจะ สว่ นหัวมีใบพดั วดั ความเรว็ ลม แบน ส่วนหางจะมีลกั ษณะแบนชว่ ยให้ แอโรแวนช้ีไปทางทิศทีล่ มพัดมา โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 223 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 8 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ภาคเรยี นที่ 2/2562 กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วิทยาศาสตร์ (ว21102) หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 2 บรรยากาศ เรอื่ ง เมฆและฝน จำนวนเวลาท่ีสอน 3 ชัว่ โมง ผู้สอน นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา 1. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด (ความเข้าใจทคี่ งทน) เมฆและฝน เป็นละอองนำ้ ในอากาศ โดยเมฆและฝนเกดิ จากการรวมตวั ของไอน้ำในอากาศ ปัจจยั ท่ีสง่ ผล ต่อปริมาณเมฆและฝน ได้แก่ ความชืน้ อากาศ และความกดอากาศ การวัดปรมิ าณเมฆ สามารถวัดได้โดยการ สงั เกตสัดสว่ นปรมิ าณเมฆต่อพืน้ ที่ทอ้ งฟ้า 10 ส่วน สว่ นการวัดปริมาณฝนใช้ภาชนะทรงกระบอกวดั ระดบั น้ำฝน 2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วัดชั้นป/ี ผลการเรียนรู้/เป้าหมายการเรียนรู้ 2.1 ตวั ชว้ี ัด ว 3.2 ม.1/2 อธิบายปจั จัยทม่ี ีผลต่อการเปลี่ยนแปลงองคป์ ระกอบของลมฟา้ อากาศจากข้อมลู ที่ รวบรวมได้ 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 ด้านความรู้ (Knowledge) 1) อธบิ ายปัจจัยทม่ี ีผลต่อการเปลี่ยนแปลงเมฆและฝนได้ 3.2 ด้านทกั ษะและกระบวนการ (Skill/Process) 2) นำเสนอปัจจยั ที่ผลต่อการเปลี่ยนแปลงปรมิ าณเมฆและฝนและเครือ่ งมอื วัดปริมาณเมฆและฝนได้ 3.3 ด้านเจตคติ (Attitude) 3) รับผิดชอบต่อหนา้ ที่และงานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 เนื้อหาสาระหลกั : Knowledge (ผู้เรียนตอ้ งร้อู ะไร) ลมฟ้าอากาศ เป็นสภาวะของอากาศในเวลาหนึ่งของพ้ืนท่ีหน่ึงที่มีการเปลี่ยนแปลง ตลอดเวลาข้นึ อยู่กับองค์ประกอบลมฟ้าอากาศ ไดแ้ ก่ อุณหภูมขิ องอากาศ ความกดอากาศ ลม ความช้ืน เมฆ และหยาดน้ำฟ้า โดยหยาดน้ำฟ้าที่พบบ่อยในประเทศไทย ได้แก่ ฝน องค์ประกอบลมฟ้าอากาศเปลี่ยนแปลง ตลอดเวลาขน้ึ อยู่กับปัจจยั ต่าง ๆ เชน่ ปริมาณรังสีจากดวงอาทิตย์และลกั ษณะพ้ืนผิวโลกส่งผลต่ออณุ หภมู ิของ อากาศ อุณหภูมิของอากาศและปริมาณไอน้ำส่งผลต่อความชื้น ความกดอากาศส่งผลตอ่ ลม ความชนื้ และลม ส่งผลต่อเมฆ 4.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process (ผูเ้ รยี นสามารถปฏิบัติอะไรได)้ 1) ความสามารถในการส่อื สาร 2) ความสามารถในการคิด โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 224 2.1) ทักษะการระบุ 2.2) ทักษะการเปรยี บเทียบ 2.3) ทกั ษะการประเมนิ 3) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 4.3 คณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ : Attitude (ผเู้ รียนควรแสดงพฤตกิ รรมการเรียนอะไรบ้าง) 1) มีวินัย 2) ใฝ่เรยี นรู้ 3) มุ่งมัน่ ในการทำงาน 5. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียนและคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มีวินยั 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรียนรู้ 1) ทกั ษะการระบุ 3. มุ่งม่นั ในการทำงาน 2) ทักษะการเปรียบเทยี บ 3) ทกั ษะการประเมิน 3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. กจิ กรรมการเรียนรู้  วิธสี อนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชั่วโมงท่ี 1 ขน้ั นำ กระต้นุ ความสนใจ (Engage) 1. ครูแจง้ ผลการเรียนรู้ ให้นกั เรียนทราบ 2. ครกู ระตุ้นความสนใจของนกั เรียนเกยี่ วกับเรื่อง เมฆและฝน โดยใชค้ ำถามเพือ่ กระตนุ้ นักเรยี น ดงั น้ี - ครูให้นักเรียนสังเกตลักษณะและปริมาณของเมฆที่ลอยอยู่บนท้องฟ้า แล้วถามนักเรียนว่า เมฆมี รปู ร่างลักษณะเป็นอย่างไร (แนวตอบ พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยใู่ นดุลยพินจิ ของครผู ู้สอน ตัวอย่างเช่น มี ลักษะเป็นกอ้ น มลี กั ษณะเปน็ แผน่ หนาสีเทา เปน็ ตน้ ) - ครูถามนักเรยี นว่า เมฆทำใหเ้ กิดฝนตกไดอ้ ยา่ งไร (แนวตอบ พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดลุ ยพินิจของครูผูส้ อน ตัวอยา่ งเช่น เมฆ มีละอองนำ้ อยู่ ละอองน้ำเหล่าน้ีจะรวมตัวใหญข่ ้นึ จนตกลงมาเปน็ ฝน) - ครถู ามนักเรียนวา่ การเกดิ เมฆและฝนมคี วามสัมพันธ์กันหรือไม่ อยา่ งไร โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 225 (แนวตอบ พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน ตัวอย่างเช่น สมั พันธ์กนั หากเกดิ เมฆมากกจ็ ะมีโอกาสเกดิ ฝนมากดว้ ย เป็นตน้ ) 3. ครูให้นักเรียนแต่ละคนร่วมกันอภิปรายหาคำตอบเก่ียวกับ เมฆและฝน และโยงไปสู่การเกิดเมฆ การเกิดฝน และการวัดปรมิ าณน้ำฝน ขน้ั สอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูให้นกั เรียนแบง่ กลุ่ม กลมุ่ ละ 5 คน แล้วส่งตัวแทนกล่มุ ออกมารับใบงานท่ี 5.6 เรื่อง เมฆและฝน 2. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสังเกตรูปร่างลักษณะของเมฆ โดยให้นักเรียนถ่ายรูปหรือวาดรูปเมฆ ลักษณะต่าง ๆ มาอย่างน้อย 3 รูป รูปละ 1 ลักษณะ แล้วนำรูปมาแปะบนใบงานท่ี 5.6 เรื่อง เมฆ และฝน ตอนท่ี 1 ในช่องบนั ทกึ ผลรปู ภาพเมฆ 3. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาเก่ียวกับเร่ือง เมฆและฝน จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 หน้า 50-51 หรอื สืบคน้ จากแหล่งเรียนรู้อน่ื ๆ แล้วบันทึกผลการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับรูปภาพเมฆท่ี นักเรียนแปะบนใบงานท่ี 5.6 เรอ่ื ง เมฆและฝน ตอนที่ 1 ลงในชอ่ งตารางบนั ทึกผลการสืบคน้ 4. ครูถามนกั เรยี นต่อวา่ นกั เรียนคดิ ว่า เมฆและฝนมคี วามสัมพนั ธก์ นั หรือไม่ อย่างไร 5. ครูจัดเตรียมชดุ การทดลองสาธติ โดยนำบกี เกอรท์ ่ีมีน้ำตั้งบนทีบ่ งั ลม ดงั นี้ แผ่นกระจก บกี เกอรใ์ สน่ ้ำ ตะเกียงแอลกอฮอล์ 6. ครใู ห้นกั เรียนปฏบิ ัติ ดงั น้ี 1. นกั เรียนคาดคะเนผลการทดลองกอ่ นการทดลอง 2. นักเรียนสังเกตผลการทดลองเม่ือครูจุดไฟท่ีตะเกียง แล้วนำไปวางใต้บีกเกอร์เพื่อต้มน้ำในบีก เกอรใ์ หเ้ ดอื ด 3. นกั เรียนสังเกตน้ำในบกี เกอรเ์ มื่อเร่มิ เดือดให้นำแผ่นกระจกมาอังไว้เหนอื บีกเกอร์ จากนั้นดบั ไฟ แล้ว และบนั ทึกผลการเปลย่ี นแปลง 4. นักเรียนสืบค้นเกี่ยวกับการเกิดเมฆและฝนในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 หน้า 52–53 หรือสบื คน้ จากแหล่งเรยี นรู้อืน่ ๆ จากน้นั สรุปและอภิปรายผลการทดลอง โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 226 ชัว่ โมงท่ี 2 อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนกลุ่ม เพ่ือออกมานำเสนอผลการทำกิจกรรมของแต่ละกลุ่มหน้า ชั้นเรียน 2. ครูและนักเรียนรว่ มกนั อภิปรายและหาขอ้ สรุปจากการปฏบิ ัติกิจกรรมในใบงานที่ 5.6 เรอื่ ง เมฆและ ฝน ตอนท่ี 1 โดยร่วมกันอภิปรายว่ารูปภาพเมฆของกลุ่มเพื่อนท่ีนำเสนอควรเป็นเมฆชนิดใด อยู่ใน ชนั้ ระดบั ความสูงใด และมีลักษณะอย่างไร 3. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั อภิปรายและหาข้อสรุปจากการปฏบิ ัติกจิ กรรมในใบงานท่ี 5.6 เร่ือง เมฆและ ฝน ตอนที่ 2 โดยใช้แนวคำถามตอ่ ไปน้ี - เมอ่ื จุดไฟตะเกียง มีการเปล่ียนแปลงอะไรเกิดขนึ้ (แนวตอบ มีการเปล่ียนแปลงของอุณหภูมใิ นอากาศที่แตกต่างกัน ทำใหค้ วามดันอากาศแตกตา่ ง กันด้วย) - มีการเปล่ียนแปลงของนำ้ ในบกี เกอร์อยา่ งไรบา้ ง (แนวตอบ น้ำในบีกเกอร์ระเหยข้นึ ไปกระทบกบั แผน่ กระจกข้างบน รวมกันเป็นหยดน้ำแลว้ หยด ตกลงมาทีบ่ กี เกอรอ์ ีกครง้ั ) - ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มรว่ มกันสรปุ วฏั จักรการเกดิ เมฆและฝน - ครูให้นักเรียนสรุปปัจจัยที่ทำให้เกิดวัฏจักรการเกิดเมฆและฝน ซ่ึงหากขาดปัจจัยบางตัวไป อาจจะส่งผลกระทบตอ่ การเกิดเมฆและฝน - ผลสรปุ ของการทดลองน้ีคอื อะไร (แนวตอบ นักเรียนควรสรุปได้ว่า เมื่อน้ำได้รับอุณหภูมิสูงหรือได้รับความร้อน น้ำจะระเหย กลายเป็นไอน้ำข้ึนไปในอากาศ จนถึงระดับท่อี ากาศมอี ุณหภูมิต่ำ เสมอื นอากาศอิ่มตัวด้วยไอน้ำ จะเกิดการควบแน่นเป็นละอองน้ำรวมตัวกันเรียกว่า เมฆ และเม่ือละอองน้ำมีขนาดใหญ่ข้ึนจน เมฆไม่สามารถพยงุ นำ้ ไว้ได้ จะตกลงมาในรปู ของ นำ้ ฝน) - ปัจจัยท่มี ีผลตอ่ การเกิดเมฆและฝน คอื อะไรบา้ ง (แนวตอบ ปัจจยั ที่มผี ลต่อการเกดิ เมฆและฝน ได้แก่ ความชื้นอากาศ และความดันอากาศ) ขน้ั สรุป ขยายความรู้ (Expand) 1. ครูและนักเรียนรว่ มกันสรุปผลจากการทำกจิ กรรม เพื่อใหไ้ ดแ้ นวข้อสรุป ดังน้ี เมือ่ นำ้ ได้รับอณุ หภูมิ สงู หรือได้รบั ความร้อน น้ำจะระเหยกลายเป็นไอน้ำข้ึนไปในอากาศ จนถึงระดับทอี่ ากาศมีอุณหภูมิ ตำ่ เสมือนอากาศอ่มิ ตัวด้วยไอนำ้ จะเกดิ การควบแนน่ เป็นละอองนำ้ รวมตวั กันเรียกว่า เมฆ และเมื่อ ละอองน้ำมีขนาดใหญข่ ึ้นจนเมฆไมส่ ามารถพยงุ น้ำไว้ได้ จะตกลงมาในรปู ของ น้ำฝน โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 1 227 ช่ัวโมงท่ี 3 ขน้ั สอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูถามนักเรยี นว่า เมฆและฝนมอี ทิ ธิพลต่อสิ่งมชี วี ติ และสิง่ แวดลอ้ มอย่างไร (แนวตอบ พิจารณาตามคำตอบของนักเรยี น โดยใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพินจิ ของครูผ้สู อน ตวั อยา่ งเช่น ส่งผล ตอ่ การเลอื กถิ่นทีอ่ ยู่อาศัยของมนษุ ย์ ส่งผลตอ่ การตัดสนิ ใจปลกู พืชผกั ทางการเกษตร เป็นตน้ ) 2. ครใู ห้นักเรียนแตล่ ะกลุ่มสืบค้นเกีย่ วกบั การเกิดเมฆและฝนทมี่ ผี ลต่อสง่ิ มีชวี ิตและสิ่งแวดล้อม อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานำเสนอเก่ียวกับการเกิดลมท่ีมีผลต่อสิ่งมีชีวิตและ สงิ่ แวดล้อม 2. ครูถามนักเรียนว่า หยาดน้ำฟ้าคืออะไร จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายและสืบค้นข้อมูล แล้ว สรุปว่า หยาดนำ้ ฟ้า คือ นำ้ หรือน้ำแข็งที่เกิดจากการควบแน่นของไอนำ้ บนฟ้าแล้วตกลงมาสพู่ ้นื ดิน 3. ครถู ามนกั เรยี นว่า เพราะเหตุใดประเทศไทยจงึ ไม่มีหมิ ะตก (แนวตอบ เพราะอณุ หภมู ิอากาศบรเิ วณประเทศไทยสงู กว่าจุดเยอื กแขง็ ) 4. ครทู ดสอบความเขา้ ใจของนักเรยี นโดยการใชแ้ นวคำถาม เชน่ – ใช้เกณฑ์อะไรในการแบง่ ชนดิ ของเมฆ (แนวตอบ ระดับความสูงของเมฆ รูปรา่ งเมฆ เปน็ ต้น) – การเกิดเมฆเก่ียวขอ้ งกบั การเกิดฝนอย่างไร (แนวตอบ เมฆเกิดจากไอนำ้ ทเ่ี กิดจากการระเหยและการคายน้ำของพืชรวมตัวกันเป็นละอองน้ำ ลอยอยู่ในอากาศ หากละอองน้ำในเมฆรวมตัวและมีขนาดใหญ่จนอากาศไม่สามารถพยุงไว้ได้ ละอองน้าจะตกลงมาเป็นฝน) 5. ครูถามนักเรียนเกี่ยวกับคำถามท้าทายความคิดข้ันสูง (H.O.T.S.) ว่า จงเปรียบเทียบความแตกต่าง ระหวา่ งการเกิดเมฆและการเกิดฝน (แนวตอบ เมฆเกิดจากการระเหยของน้ำจากแหล่งน้ำ ไอน้ำจะรวมกลุ่มกันเป็นละอองนำ้ กลายเป็น เมฆ ซ่ึงอากาศพยุงไว้อยู่ได้ ส่วนฝนเกิดจากละอองน้ำในก้อนเมฆรวมกลมุ่ กัน ทำให้มีขนาดใหญ่ขึ้น จนอากาศไม่สามารถพยุงไว้ได้ จึงตกลงมา ดังน้ัน ขนาดของละอองน้ำฝนจึงใหญ่กว่าละอองน้ำใน ก้อนเมฆ) ขน้ั สรปุ ขยายความรู้ (Expand) 1. ครูให้นักเรยี นอ่านสรุปทบทวนประจำหน่วยการเรียนรู้ แล้วถามคำถามเพื่อทดสอบความเข้าใจของ นักเรียนเกี่ยวกับความหมายของบรรยากาศ องค์ประกอบบรรยากาศ ชั้นบรรยากาศและของ ประโยชน์ของบรรยากาศแตล่ ะชน้ั องค์ประกอบของลมฟา้ อากาศ ปจั จยั ทม่ี ีผลต่อองค์ประกอบของ ลมฟา้ อากาศ และเคร่ืองมือวัดองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 228 2. ครูใหน้ กั เรยี นทำแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 3. ครูให้นกั เรียนทำแบบทดสอบหลังเรยี นหนว่ ยที่ 2 บรรยากาศ ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี น 2. ครูตรวจแบบฝึกหดั ในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 3. ครูตรวจใบงานท่ี 5.6 เรอ่ื ง เมฆและฝน 4. ครูประเมนิ การนำเสนอใบงานท่ี 5.6 เรอื่ ง เมฆและฝน โดยใช้แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน 5. ครูประเมินนักเรยี นจากการสบื ค้นและการตอบคำถามในชัน้ เรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการ ทำงานรายบคุ คล 6. ครูประเมินนักเรียนจากการทำใบงาน และการทำงานกลุ่ม โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน รายกลมุ่ 7. การวัดและประเมินผล วิธวี ัด เครอ่ื งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ รายการวดั - ตรวจใบงานที่ 5.6 - แบบประเมนิ ชิ้นงาน/ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 7.1 การประเมินระหวา่ ง เรอ่ื ง เมฆและฝน การจัดกจิ กรรม - ตรวจแบบฝึกหัด ภาระงาน 1) เมฆและฝน - ประเมนิ การนำเสนอ - แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 2) การนำเสนอผลงาน ใบงานที่ 5.6 เรอ่ื ง เมฆและฝน ม.1 เลม่ 2 3) พฤติกรรมการทำงาน รายบุคคล - สังเกตพฤติกรรม - แบบประเมินการ ระดับคณุ ภาพ 2 การทำงานรายบุคคล 4) พฤติกรรมการทำงาน - สังเกตพฤติกรรม นำเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์ รายกลุ่ม การทำงานรายกลุ่ม - สงั เกตความมวี ินยั - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดบั คุณภาพ 2 5) คณุ ลกั ษณะอนั พึง ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งมนั่ การทำงานรายบคุ คล ผ่านเกณฑ์ ประสงค์ ในการทำงาน - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดับคุณภาพ 2 7.2 ประเมินหลังเรยี น - ตรวจแบบทดสอบ การทำงานรายกล่มุ ผา่ นเกณฑ์ - แบบทดสอบหลังเรียน หลงั เรียน หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 - แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ 2 เรอ่ื ง บรรยากาศ คณุ ลกั ษณะ ผา่ นเกณฑ์ อันพงึ ประสงค์ - แบบทดสอบหลงั เรียน ประเมนิ ตามสภาพจริง โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 229 8. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้ 8.1 ส่อื การเรียนรู้ 1) หนังสอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 2) แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 3) ใบงานที่ 5.6 เรื่อง เมฆและฝน 4) PowerPoint เรอ่ื ง เมฆและฝน 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องเรียน 2) ส่ิงแวดล้อมท่ีอยู่ใกล้ตัวนักเรียน 9. การบูรณาการตามจุดเนน้ ของโรงเรียน : ความหลากหลายทางชวี ภาพ หลกั ปรชั ญา ครู ผ้เู รยี น ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 1. ความพอประมาณ พอดีด้านเทคโนโลยี พอดดี า้ นจิตใจ 2. ความมีเหตผุ ล รูจ้ กั ใชเ้ ทคโนโลยีมาผลิตส่ือที่ มจี ติ สำนกึ ท่ดี ี จติ สาธารณะร่วม 3. มีภมู ิคุมกนั ในตัวทด่ี ี เหมาะสมและสอดคลอ้ งเน้อื หาเปน็ อนุรักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติและ 4. เงื่อนไขความรู้ ประโยชนต์ ่อผูเ้ รยี นและพัฒนาจากภมู ิ สง่ิ แวดลอ้ ม ปญั ญาของผูเ้ รยี น - ยึดถือการประกอบอาชพี ดว้ ยความ ไม่หยดุ นง่ิ ที่หาหนทางในชีวิต หลุดพ้น ถกู ตอ้ ง สจุ รติ จากความทุกขย์ าก (การค้นหาคำตอบ เพื่อใหห้ ลุดพน้ จากความไม่รู้) ภมู ิปญั ญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ ภมู ปิ ัญญา : มีความรู้ รอบคอบ ระมัดระวงั รับผดิ ชอบ ระมดั ระวัง สร้างสรรค์ ความรอบรู้ เรอื่ ง เมฆและฝน ที่ ความรอบรู้ เร่อื ง เมฆและฝน เก่ียวขอ้ งรอบดา้ น นำความร้มู า สามารถนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณา เช่อื มโยงประกอบการวางแผน การ ให้เกดิ ความเช่อื มโยง สามารถ ดำเนนิ การจัดกจิ กรรมการเรียนรูใ้ หก้ บั ประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวันได้ ผู้เรียน 5. เง่อื นไขคณุ ธรรม มีความตระหนักใน คุณธรรม มี มคี วามตระหนกั ใน คณุ ธรรม มีความ ความซือ่ สตั ยส์ ุจรติ และมคี วามอดทน ซ่อื สตั ยส์ ุจริตและมคี วามอดทน มี มีความเพียร ใช้สตปิ ัญญาในการ ความเพยี ร ใช้สตปิ ัญญาในการดำเนิน ดำเนินชวี ิต ชวี ติ โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 230 สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ครู ผ้เู รียน ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สำรวจความหลากหลายทางชีวภาพ ในโรงเรยี น (ตามจุดทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย) - ความหลากหลายทางชีวภาพ - สำรวจความหลากหลายทาง ผู้เรยี น ชีวภาพในโรงเรียน (กำหนดจดุ ให้ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สืบค้นขอ้ มลู การอนุรกั ษ์ความ ผู้เรียนสำรวจ) หลากหลายทางชวี ภาพ (ตามหัวขอ้ ที่ ไดม้ อบหมาย) ส่งิ แวดลอ้ ม ครู ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - การอนุรกั ษค์ วามหลากหลาย - การอนุรักษ์ความหลากหลายทาง ทางชีวภาพ ชีวภาพ (กำหนดหัวข้อใหผ้ ู้เรยี น สบื คน้ ) โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 231 10. ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของผู้บริหารสถานศกึ ษาหรือผู้ท่ไี ดร้ บั มอบหมาย 10.1 หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ…………………………………………. (นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถึง) ………./……………./…………. 10.2 รองผู้อำนวยการฝา่ ยบรหิ ารวชิ าการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชือ่ …………………………………………. (นายวิเศษ ฟองตา) ………./……………./…………. 10.3 ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นางวลิ าวลั ย์ ปาลี) ………./……………./…………. โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 232 11. บันทึกผลหลงั การสอน  ดา้ นความรู้  ด้านสมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน  ด้านคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์  ดา้ นความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์  ด้านอ่ืน ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรือพฤติกรรมทม่ี ปี ญั หาของนักเรยี นเป็นรายบคุ คล (ถา้ มี))  ปัญหา/อปุ สรรค  แนวทางการแกไ้ ข ลงชื่อ.........................................................ผู้สอน (นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา) ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 233 ใบงานท่ี 5.6 เร่อื ง เมฆและฝน ตอนที่ 1 ชนิดของเมฆ ขนั้ ตอนการทำกจิ กรรม 1. ใหน้ ักเรยี นถา่ ยภาพหรือวาดรูปเมฆที่สงั เกตเห็นไดอ้ ยา่ งน้อย 3 ลักษณะ แล้วสบื คน้ หาชอื่ ชนิดเมฆ ประเภท ของเมฆแบง่ ตามระดับความสงู และรูปรา่ งลกั ษณะของเมฆ จากนั้นบันทึกลงในตารางบันทึกผล ดงั นี้ ชอ่ื เมฆ ภาพประกอบ ประเภทของเมฆแบ่ง รปู ร่างลักษณะของเมฆ ตามระดับความสูง โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 234 ตอนท่ี 2 การเกิดเมฆและฝน ขั้นตอนการทำกจิ กรรม 1. ให้นักเรียนสบื คน้ ขอ้ มูลเกยี่ วกับการเกดิ เมฆและฝน จากน้นั ระบผุ ลการทดลองจากรปู ท่คี าดว่านา่ จะเกิดข้นึ และสาเหตุทีค่ ิดวา่ เป็นเช่นน้นั 2. ให้นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มส่งตัวแทนออกมานำเสนอผลการทดลองทค่ี าดว่านา่ จะเกดิ ขึ้น และสาเหตุท่คี ิดว่าเป็น เชน่ นัน้ 3. ใหน้ ักเรยี นสังเกตผลการทดลองทีเ่ กดิ ข้นึ จริงเมื่อครูจุดตะเกียงแอลกอฮอล์ 4. ให้นกั เรียนบันทึกผลการทดลองลงในใบงาน และเขยี นสรปุ และอภปิ รายผลเปรียบเทยี บกับการเกิดเมฆและ ฝน แผ่นกระจก บีกเกอร์ใส่น้ำ ผลการทดลองทคี่ าดวา่ นา่ จะเกดิ ขนึ้ และสาตเหะเตกุทยี งี่คิดวา่ เป็นเชน่ นั้น .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ผลการทดลองที่เกดิ ข้นึ จรงิ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. สรุปผลและอภิปรายผลการทดลอง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. คำถามท้ายกจิ กรรม ปจั จยั ที่มีผลต่อการเกดิ เมฆและฝน ได้แกอ่ ะไรบา้ ง และมผี ลตอ่ การเกิดเมฆและฝนอย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 235 ใบงานที่ 5.6 เฉลย เรื่อง เมฆและฝน ตอนที่ 1 ชนดิ ของเมฆ ข้ันตอนการทำกจิ กรรม 1. ใหน้ กั เรยี นถ่ายภาพหรอื วาดรูปเมฆที่สงั เกตเห็นได้อยา่ งน้อย 3 ลกั ษณะ แล้วสืบคน้ หาชือ่ ชนดิ เมฆ ประเภท ของเมฆแบ่งตามระดบั ความสงู และรูปรา่ งลกั ษณะของเมฆ จากนั้นบนั ทกึ ลงในตารางบนั ทึกผล ดังน้ี ชอ่ื เมฆ ภาพประกอบ ประเภทของเมฆแบ่ง รปู รา่ งลักษณะของเมฆ ตามระดับความสูง โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 236 ตอนที่ 2 การเกดิ เมฆและฝน ข้นั ตอนการทำกิจกรรม 1. ใหน้ กั เรยี นสืบคน้ ข้อมลู เก่ียวกับการเกิดเมฆและฝน จากนนั้ ระบผุ ลการทดลองจากรปู ที่คาดว่านา่ จะเกดิ ข้นึ และสาเหตทุ ี่คิดวา่ เปน็ เชน่ น้ัน 2. ให้นักเรียนแต่ละกลมุ่ สง่ ตวั แทนออกมานำเสนอผลการทดลองท่คี าดวา่ นา่ จะเกดิ ขน้ึ และสาเหตุทีค่ ิดวา่ เปน็ เชน่ นั้น 3. ให้นกั เรยี นสงั เกตผลการทดลองที่เกิดข้ึนจริงเม่อื ครูจดุ ตะเกียงแอลกอฮอล์ 4. ใหน้ ักเรียนบันทึกผลการทดลองลงในใบงาน และเขยี นสรุปและอภิปรายผลเปรยี บเทียบกบั การเกดิ เมฆและ ฝน แผน่ กระจก บกี เกอรใ์ ส่น้ำ ตะเกียง ผลการทดลองท่ีคาดว่านา่ จะเกิดขนึ้ และสาเหตุท่ีคดิ ว่าเปน็ เช่นนั้น ..................ข..ึ้น...อ..ย..ู่ก...ับ..ค...ำ..ต..อ...บ..ข..อ...ง..น..ัก...เ.ร..ีย..น................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ผลการทดลองทีเ่ กิดขึ้นจรงิ .................เ.ม...่อื ..จ..ุด...ต..ะ...เ.ก..ีย...ง.แ...อ..ล..ก...อ..ฮ..อ...ล..์ .น...้ำ..จ..ะ..ม...อี ..ุณ....ห..ภ...ูม..สิ...ูง..ข..นึ้ ...จ..น..เ..ด..ือ..ด...แ..ล..ะ...ร..ะ..เ.ห...ย..ก..ล...า..ย..เ.ป...น็ ...ไ.อ..น...้ำ...ไ..อ..น...้ำ..จ..ะ............. ...ล...อ..ย..ไ..ป...ย..ดึ ..เ.ก...า..ะ..แ..ล...ะ..ร..ว..ม..ก...ล..ุ่ม...ก..นั...บ..ร..เิ.ว...ณ...แ..ผ..่น...ก..ร..ะ...จ..ก....ห..า..ก...ไ.อ...น..ำ้..ร..ว..ม...ก..ล..ุ่ม...ก..นั...จ..น...ม..ีข..น...า..ด..ห...ย..ด...น..ำ้..ใ..ห..ญ....่ม..า..ก..จ...ะ..ต..ก....... ...ล...ง.ม...า.................................................................................................................................................................... สรปุ ผลและอภปิ รายผลการทดลอง ...............จ...า..ก..ผ...ล..ก...า..ร..ท...ด..ล...อ..ง....ก..า..ร..ะ...เ.ห...ย..ข...อ..ง..น...้ำ..ใ..น..บ...ีก...เ.ก...อ..ร..์เ..ป..ร..ี.ย..บ...เ.ส...ม..ือ...น...ก..า..ร..ะ...เ.ห...ย..ข...อ..ง..น...้ำ..จ..า..ก...แ..ห...ล...่ง..น..้.ำ..บ..น...... .พ...น้ื...ผ..ิว..โ..ล..ก....ร..ว..ม...ถ..ึง..ก...า.ร...ค..า..ย..น...้ำ..ข..อ...ง..พ...ืช...จ...า..ก..น...ั้น..ไ..อ..น...้ำ..จ..ะ...ร..ว..ม..ก...ล..ุ่ม...ก..ัน...บ...ร..ิเ.ว..ณ....แ..ผ..น่...ก..ร..ะ...จ..ก....ซ..่ึง..เ.ป...ร..ีย...บ..เ.ส...ม..ือ...น...ก..า..ร..... .ก...่อ..ต...ัว..ข..อ...ง..เ.ม...ฆ...แ...ล..ะ...เ.ม..ื่อ...ไ.อ...น..้.ำ..ร..ว..ม..ก...ล..ุ่ม...ก..ัน...จ..น...ม..ีข...น...า..ด..ใ.ห...ญ...่.ม..า..ก..จ...น..ต...ก..ล...ง..ม..า..เ..ป..็น...ห...ย..ด..น...้ำ...จ...ะ..เ.ป...ร..ีย...บ..เ.ส...ม..ือ...น...ก..า..ร..... ..เ.ก..ดิ...ฝ..น.................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. คำถามท้ายกจิ กรรม ปัจจัยท่ีมีผลต่อการเกิดเมฆและฝน ไดแ้ กอ่ ะไรบ้าง และมีผลตอ่ การเกิดเมฆและฝนอย่างไร .................ป...ัจ..จ..ัย...ท..่ี.ม..ีผ...ล..ต..่.อ..ก...า..ร..เ.ก..ิ.ด..เ.ม...ฆ...แ..ล...ะ..ฝ..น....ไ..ด...้แ..ก..่..ค..ว...า..ม..ช...้ืน....แ..ล...ะ..ค...ว..า..ม..ด...ัน...อ..า..ก...า..ศ....ถ..้า..อ...า..ก..า..ศ...ม..ีค...ว..า..ม...ช..้ืน....... ...อ...า.ก...า..ศ..ส...ูง...ค...ว..า..ม..ด...ัน..อ...า..ก..า..ศ...ต..่ำ....จ..ะ..ท...ำ..ใ.ห...้เ.ก...ิด..เ..ม..ฆ...แ..ล...ะ..ฝ..น...ป...ร..ิม..า..ณ....ม..า..ก....ถ..้า..อ...า..ก..า..ศ...ม..ีค...ว..า..ม..ช...้ืน...อ..า..ก..า..ศ...ต..่ำ....ค..ว..า..ม....... ...ด...ัน..อ..า..ก...า..ศ..ส..งู....จ..ะ..ท...ำ..ใ.ห...้เ.ก..ิด...เ.ม..ฆ...แ..ล...ะ..ฝ..น...ป..ร..ิม...า..ณ...น...้อ..ย............................................................................................... โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 237 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 6 บรรยากาศ 2 เวลา 16 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชว้ี ดั ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบ และความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลย่ี นแปลงภายในโลก และ บนผิวโลก ธรณพี บิ ตั ิภยั กระบวนการเปลยี่ นแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมทงั้ ผลต่อสิ่งมีชีวิตและสง่ิ แวดล้อม ว 3.2 ม.1/3 เปรียบเทียบกระบวนการเกดิ พายุฝนฟ้าคะนองและพายุหมุนเขตร้อน และผลท่มี ี ตอ่ ส่ิงมีชีวิตและสงิ่ แวดล้อม รวมท้ังนำเสนอแนวทางการปฏิบตั ติ นให้เหมาะสมและปลอดภยั ว 3.2 ม.1/4 อธบิ ายการพยากรณอ์ ากาศ และพยากรณ์อากาศอยา่ งงา่ ยจากขอ้ มลู ทีร่ วบรวมได้ ว 3.2 ม.1/5 ตระหนักถึงคุณค่าของการพยากรณ์อากาศ โดยนำเสนอแนวทางการปฏิบัติตน และการใชป้ ระโยชน์จากคำพยากรณ์อากาศ ว 3.2 ม.1/6 อธิบายสถานการณ์และผลกระทบ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกจากข้อมูลท่ี รวบรวมได้ ว 3.2 ม.1/7 ตระหนักถึงผลกระทบของการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศโลกโดยนำเสนอแนว ทางการปฏิบัติตนภายใตก้ ารเปล่ียนแปลงภมู อิ ากาศโลก 2. สาระการเรยี นรู้ 2.1 สาระการเรียนร้แู กนกลาง 1) พายุฝนฟ้าคะนอง เกดิ จากการท่ีอากาศท่ีมีอุณหภูมิและความช้ืนสูงเคล่อื นท่ีข้นึ สูร่ ะดับความสูงท่ี มอี ุณหภูมิต่ำลง จนกระทั่งไอน้ำในอากาศเกิด การควบแน่นเป็นละอองน้ำ และเกิดต่อเน่ืองเป็น เมฆขนาดใหญ่ พายุฝนฟ้าคะนองทำให้เกิดฝนตกหนัก ลมกระโชกแรง ฟ้าแลบฟ้าผ่า ซ่ึงอาจ กอ่ ใหเ้ กดิ อันตรายต่อชวี ติ และทรัพยส์ นิ 2) พายุหมุนเขตร้อนเกิดเหนือมหาสมุทร หรือทะเล ที่น้ำมีอุณหภูมิสูงต้ังแต่ 26-27 องศาเซลเซียส ข้นึ ไป ทำให้อากาศท่ีมีอุณหภูมิและความชน้ื สงู บรเิ วณน้ันเคล่ือนทส่ี ูงข้นึ อย่างรวดเร็วเป็นบริเวณ กว้าง อากาศจากบริเวณอื่นเคล่ือนเข้ามาแทนท่ีและพัดเวียนเข้าหาศูนย์กลางของพายุ ย่ิงใกล้ ศนู ย์กลาง อากาศจะเคล่อื นที่พัดเวียนเกือบเป็นวงกลมและมีอัตราเรว็ สูงที่สุด พายุหมุนเขตร้อน ทำใหเ้ กิดคลน่ื พายซุ ดั ฝ่ัง ฝนตกหนัก ซ่ึงอาจก่อใหเ้ กิดอันตรายต่อชีวิตและทรัพยส์ ิน จึงควรปฏบิ ัติ ตนให้ปลอดภัยโดยติดตามข่าวสารการพยากรณ์อากาศ และไม่เข้าไปอยใู่ นพ้ืนที่ทเี่ สี่ยงภัย 3) การพยากรณ์อากาศเป็นการคาดการณ์ลมฟ้าอากาศท่ีจะเกิดขึ้นในอนาคตโดยมีการตรวจวัด องค์ประกอบลมฟ้าอากาศ การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลองค์ประกอบลมฟ้าอากาศระหว่างพ้ืนที่ การวิเคราะหข์ อ้ มูลและสรา้ งคำพยากรณอ์ ากาศ 4) การพยากรณ์อากาศสามารถนำมาใช้ประโยชน์ด้านต่าง ๆ เช่น การใช้ชีวิตประจำวัน การ คมนาคม การเกษตร การปอ้ งกนั และเฝา้ ระวังภัยพบิ ัตทิ างธรรมชาติ โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 238 5) ภูมิอากาศโลกเกิดการเปล่ียนแปลงอย่างต่อเน่ืองโดยปัจจัยทางธรรมชาติ แต่ปัจจุบันการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วเนื่องจากกิจกรรมของมนุษย์ในการปลดปล่อยแก๊ส เรือน ก ระจก สู่บรรยาก าศ แก๊ สเรือ น กระจกท่ี ถูกป ลดป ล่อยมากท่ีสุด ได้แก่ แก๊ ส คารบ์ อนไดออกไซด์ซง่ึ หมุนเวยี นอยู่ในวฏั จักรคาร์บอน 6) การเปล่ียนแปลงภูมิอากาศโลกก่อให้เกิดผลกระทบต่อส่ิงมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม เช่น การ หลอมเหลวของน้ำแข็งข้ัวโลก การเพิ่มข้ึนของระดับทะเล กาเปลี่ยนแปลงวัฏจักรน้ำ การเกิดโรค อุบัตใิ หม่และอุบตั ิซ้ำ และการเกิดภัยพิบตั ิ ทางธรรมชาตทิ ี่รุนแรงขึ้น มนุษยจ์ ึงควรเรียนรูแ้ นวทาง การปฏบิ ัตติ นภายใต้สถานการณ์ดังกล่าว ทั้งแนวทางการปฏิบัติตนให้เหมาะสมและแนวทางการ ลดกจิ กรรมทส่ี ง่ ผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงภมู อิ ากาศโลก 2.2 สาระการเรียนร้ทู ้องถนิ่ (พิจารณาตามหลกั สตู รสถานศึกษา) 3. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด ลมฟ้าอากาศท่ีส่งผลต่อส่ิงมีชีวติ และสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย เช่น พายุฟ้าคะนอง พายุหมุนเขต ร้อน โดยพายุฟ้าคะนอง เป็นลมฟ้าอากาศรูปแบบหน่ึงซ่ึงเกิดขึ้นเม่ือมีเมฆคิวมูโลนิมบัส ส่วนใหญ่เกิดใน เฉพาะถ่ินในระยะเวลาส้ัน ส่วนพายุหมุนเขตร้อน เกิดขึ้นบริเวณมหาสมุทรและทะเลในเขตร้อนเท่านั้น ทำให้เกดิ คลื่นขนาดใหญ่ในทะเล มผี ลตอ่ การเดนิ เรือ การพยากรณ์อากาศ เป็นการคาดคะเนสภาพลมฟ้าอากาศท่ีจะเกิดข้ีนล่วงหน้าจากการเฝ้าสังเกต บันทกึ วเิ คราะหข์ อ้ มูลแล้วนำมาจดั ทำเป็นแผนทอ่ี ากาศ สว่ นการเปลี่ยนแปลงอณุ หภมู ิของโลก ส่วนหน่ึงมา จากผลการทำกิจกรรมของมนุษย์ ทำให้เกิดฝุ่นละออง และมีแก๊สเรีอนกระจกในบรรยากาศ เพ่ิมมากข้ึน อยา่ งรวดเรว็ สง่ ผลทำใหอ้ ุณหภมู ิอากาศของโลกสูงข้นึ และมีแนวโนม้ สงู ขึ้นเรอื่ ย ๆ 4. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียนและคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสอื่ สาร 1. มีวินยั 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรยี นรู้ 1) ทกั ษะการสงั เกต 3. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน 2) ทกั ษะการจดั กลุ่ม 3) ทกั ษะการเปรียบเทียบ 4) ทักษะการจำแนกประเภท 5) ทักษะการสำรวจ 6) ทกั ษะการเชอ่ื มโยง 7) ทกั ษะการระบุ 8) ทักษะการสำรวจคน้ หา 9) ทกั ษะการสรุปย่อ 10) ทกั ษะการนำความรไู้ ปใช้ โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 239 สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 11) ทกั ษะการรวบรวมข้อมูล 12) ทกั ษะการใหเ้ หตุผล 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ 5. ช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) - ผงั มโนทศั น์ เรือ่ ง พายุฟ้าคะนอง - ปา้ ยนิเทศ เร่อื ง ความรุนแรงของพายุฟ้าคะนอง - ปา้ ยนเิ ทศ เร่ือง ความรุนแรงของพายุหมุนเขตรอ้ น 6. การวัดและการประเมนิ ผล รายการวัด วธิ วี ดั เครอื่ งมอื เกณฑ์การประเมิน - แบบประเมนิ ชิน้ งาน/ ระดบั คณุ ภาพ 2 6.1 การประเมินชนิ้ งาน/ - ผงั มโนทัศน์ เร่อื ง ผ่านเกณฑ์ ภาระงานรวบยอด ระดับคณุ ภาพ 2 ภาระงาน (รวบยอด) พายฟุ า้ คะนอง - แบบประเมนิ ชน้ิ งาน/ ผ่านเกณฑ์ - ป้ายนิเทศ เรอ่ื ง ภาระงานรวบยอด ระดับคณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ความรนุ แรงของพายุ - แบบประเมินชน้ิ งาน/ ภาระงานรวบยอด ประเมนิ ตามสภาพจรงิ ฟ้าคะนอง แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - ปา้ ยนเิ ทศ เรอ่ื ง - แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ความรุนแรงของพายุ ม.1 เลม่ 2 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - เฉลยใบงานท่ี 6.1 หมนุ เขตร้อน - แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ม.1 เล่ม 2 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 6.2 การประเมนิ กอ่ นเรียน - เฉลยใบงานท่ี 6.2 - แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ - แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ตรวจแบบทดสอบ ม.1 เล่ม 2 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - เฉลยใบงานที่ 6.3 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 6 กอ่ นเรยี น - แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ เรอ่ื ง บรรยากาศ 2 6.3 การประเมินระหว่าง การจดั กจิ กรรม 1) พายฟุ า้ คะนอง - ตรวจแบบฝึกหัด 2) พายุหมุนเขตร้อน - ตรวจใบงานท่ี 6.1 - ตรวจแบบฝกึ หัด 3) เกณฑ์การรายงาน - ตรวจใบงานที่ 6.2 พยากรณ์อากาศ - ตรวจแบบฝึกหดั 4) แผนท่ีอากาศ - ตรวจใบงานท่ี 6.3 - ตรวจแบบฝึกหัด โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 240 รายการวดั วธิ ีวัด เครื่องมือ เกณฑก์ ารประเมนิ ม.1 เล่ม 2 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 5) ก ารเป ล่ีย น แป ล ง - ตรวจใบงานท่ี 6.4 - เฉลยใบงานท่ี 6.4 ระดับคณุ ภาพ 2 อุณหภูมิอากาศของ - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ผ่านเกณฑ์ ระดับคณุ ภาพ 2 โลก ม.1 เลม่ 2 ผ่านเกณฑ์ ระดับคุณภาพ 2 6) การนำเสนอผลงาน - ประเมนิ การนำเสนอ - ผลงานท่นี ำเสนอ ผ่านเกณฑ์ ระดับคณุ ภาพ 2 ผลงาน ผา่ นเกณฑ์ 7) พฤตกิ รรมการทำงาน - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ รายบคุ คล การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบคุ คล 8) พฤติกรรม - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤติกรรม การทำงานกล่มุ การทำงานกลุ่ม การทำงานกลุม่ 9) คุณลักษณะ - สงั เกตความมวี ินยั - แบบประเมนิ อนั พึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมน่ั คุณลักษณะ ในการทำงาน อันพึงประสงค์ 6.4 การประเมินหลังเรียน - แบบทดสอบหลังเรียน ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 หลงั เรยี น เรื่อง บรรยากาศ 2 7. กจิ กรรมการเรยี นรู้ เวลา 3 ชวั่ โมง เวลา 3 ช่ัวโมง นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี น หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 6 เรอ่ื ง บรรยากาศ 2 เวลา 3 ชวั่ โมง • แผนฯ ท่ี 1 : พายฟุ า้ คะนอง เวลา 3 ช่วั โมง เวลา 4 ช่ัวโมง วธิ ีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) • แผนฯ ที่ 2 : พายุหมนุ เขตร้อน วิธสี อนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) • แผนฯ ท่ี 3 : เกณฑ์การรายงานพยากรณอ์ ากาศ วธิ ีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) • แผนฯ ท่ี 4 : แผนทอี่ ากาศ วิธสี อนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) • แผนฯ ที่ 5 : การเปล่ียนแปลงอณุ หภูมิอากาศของโลก วธิ สี อนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่