Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ 1.2563 (รวมเล่ม)

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ 1.2563 (รวมเล่ม)

Published by Tanapat Issarangkul Na Ayutthaya, 2020-12-15 04:29:17

Description: แผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ 1.2563 (รวมเล่ม)

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 57 แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน คำชแี้ จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ✓ลงในชอ่ งที่ ตรงกับระดบั คะแนน ลำดับท่ี รายการประเมิน ระดับคะแนน 1 32 1 ความถูกตอ้ งของเน้อื หา   2 ความคดิ สร้างสรรค์   3 วธิ กี ารนำเสนอผลงาน   4 การนำไปใชป้ ระโยชน์   5 การตรงต่อเวลา   รวม ลงชือ่ ................................................... ผปู้ ระเมิน ............/................./................... เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ สมบรู ณช์ ดั เจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมินเป็นส่วนใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมินบางส่วน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ำกว่า 8 ปรับปรงุ จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4 58 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล คำชแี้ จง : ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ✓ลงในชอ่ งท่ี ตรงกับระดับคะแนน ลำดบั ที่ รายการประเมนิ ระดับคะแนน 1 32 1 การแสดงความคิดเห็น   2 การยอมรับฟังความคดิ เห็นของผอู้ ื่น   3 การทำงานตามหน้าทีท่ ี่ได้รบั มอบหมาย   4 ความมนี ำ้ ใจ   5 การตรงต่อเวลา   รวม เกณฑก์ ารให้คะแนน ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมนิ ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ............/.................../................ ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครงั้ ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบางครัง้ ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14–15 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตำ่ กวา่ 8 ปรับปรุง จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 59 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ คำชแ้ี จง : ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในชอ่ งที่ ตรงกับระดบั คะแนน ลำดับท่ี ชอ่ื –สกลุ การแสดง การยอมรับ การทำงาน ความมีนำ้ ใจ การมี รวม ของนกั เรียน ความคดิ เหน็ ฟังคนอ่ืน ตามทไี่ ดร้ ับ ส่วนร่วมใน 15 มอบหมาย การปรบั ปรงุ คะแนน ผลงานกล่มุ 321321321321321 เกณฑ์การให้คะแนน ลงชอื่ ................................................... ผปู้ ระเมนิ ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่ำเสมอ ............./.................../............... ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครง้ั ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางครัง้ ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ 14–15 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ำกว่า 8 ปรบั ปรุง จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 60 แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คำชแี้ จง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ ตรงกับระดบั คะแนน คุณลักษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน อนั พึงประสงค์ด้าน 321 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ 1.1 ยนื ตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาตไิ ด้ 1.2 เข้าร่วมกิจกรรมท่ีสรา้ งความสามัคคีปรองดอง และเปน็ ประโยชน์ ตอ่ โรงเรียน 1.3 เข้ารว่ มกจิ กรรมทางศาสนาที่ตนนบั ถอื ปฏิบัติตามหลักศาสนา 1.4 เขา้ ร่วมกจิ กรรมท่เี กยี่ วกับสถาบันพระมหากษตั ริยต์ ามท่โี รงเรียนจัดขึน้ 2. ซือ่ สตั ย์ สจุ รติ 2.1 ให้ข้อมลู ทถี่ ูกตอ้ งและเปน็ จรงิ 2.2 ปฏิบตั ใิ นสง่ิ ทีถ่ กู ต้อง 3. มีวินัย รับผิดชอบ 3.1 ปฏิบัตติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คบั ของครอบครัว มคี วามตรงต่อเวลาในการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมตา่ ง ๆ ในชวี ิตประจำวัน 4. ใฝเ่ รียนรู้ 4.1 รูจ้ กั ใชเ้ วลาวา่ งให้เปน็ ประโยชน์ และนำไปปฏบิ ัติได้ 4.2 รจู้ ักจัดสรรเวลาให้เหมาะสม 4.3 เช่ือฟงั คำสัง่ สอนของบดิ า-มารดา โดยไม่โต้แยง้ 4.4 ต้ังใจเรียน 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง 5.1 ใช้ทรพั ย์สินและสงิ่ ของของโรงเรียนอยา่ งประหยัด 5.2 ใชอ้ ปุ กรณ์การเรยี นอยา่ งประหยัดและรูค้ ุณคา่ 5.3 ใชจ้ า่ ยอย่างประหยดั และมกี ารเกบ็ ออมเงนิ 6. ม่งุ ม่ันในการทำงาน 6.1 มีความตั้งใจและพยายามในการทำงานท่ไี ดร้ บั มอบหมาย 6.2 มคี วามอดทนและไม่ทอ้ แท้ต่ออุปสรรคเพ่อื ให้งานสำเรจ็ 7. รกั ความเปน็ ไทย 7.1 มีจติ สำนึกในการอนุรักษ์วฒั นธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย 7.2 เห็นคณุ คา่ และปฏิบตั ิตนตามวัฒนธรรมไทย 8. มจี ิตสาธารณะ 8.1 รจู้ กั ชว่ ยพ่อแม่ ผปู้ กครอง และครทู ำงาน 8.2 รจู้ กั การดูแลรักษาทรพั ยส์ มบตั ิและสิง่ แวดลอ้ มของหอ้ งเรยี นและโรงเรยี น ลงชอ่ื .................................................. ผ้ปู ระเมนิ ............/.................../................ เกณฑก์ ารให้คะแนน พฤตกิ รรมท่ปี ฏิบตั ิชัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ พฤตกิ รรมทีป่ ฏิบตั ิชัดเจนและบอ่ ยครัง้ ให้ 2 คะแนน 51–60 ดีมาก พฤตกิ รรมที่ปฏิบตั บิ างครง้ั ให้ 1 คะแนน 41–50 ดี 30–40 พอใช้ ต่ำกว่า 30 ปรับปรุง จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 4 61 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรยี นท่ี 1/2563 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า ฟสิ ิกส์ 1 (ว31201) หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การเคล่ือนทีใ่ นแนวตรง จำนวนเวลาท่สี อน 2 ชว่ั โมง เร่อื ง ปริมาณทเ่ี กิดจากการเคลอื่ นทข่ี องวัตถุ ครูผู้สอน นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา 1. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด (ความเข้าใจที่คงทน) การเคลื่อนที่แนวตรงทั้งในแนวระดับและแนวดิง่ เปน็ การเคลอื่ นท่ีภายใต้แรงโนม้ ถ่วงของโลก แนวดงิ่ การ เคลอ่ื นทข่ี องวตั ถจุ ะมีความสมั พนั ธ์กับระยะทาง การกระจัด เวลา อัตราเรว็ ความเร็ว ความเรง่ และทศิ ทาง ระยะทางกับการกระจัดเป็นปริมาณท่ีต่างกัน โดยระยะทางเป็นระยะตามเส้นทางการเคล่ือนท่ีจรงิ ของวัตถุ และเป็นปริมาณสเกลาร์ ส่วนการกระจัดเป็นระยะทางตามแนวเส้นตรงจากตำแหน่งเดิมไปยังตำแหน่งใหม่ และ เปน็ ปรมิ าณเวกเตอร์ ความเร็วกบั อตั ราเรว็ เป็นปรมิ าณที่ต่างกนั โดยความเรว็ คือการเปลี่ยนแปลงการกระจดั ของวตั ถุกบั ช่วงเวลา นั้น เป็นปริมาณเวกเตอร์ ส่วนอัตราเร็วเป็นการเปลี่ยนแปลงของระยะทางของวัตถุกับช่วงเวลาน้ันเช่นกันและ เปน็ ปรมิ าณสเกลาร์ พนื้ ที่ใต้กราฟความเรว็ –เวลาในช่วงเวลาที่กำหนดของการเคล่ือนท่ีแนวตรง คือ ระยะทางที่วัตถุเคลือ่ นท่ไี ด้ หรอื การกระจดั ท่เี ปลี่ยนไปในชว่ งเวลานั้น 2. ผลการเรยี นรู้ 3. ทดลองและอธบิ ายความสัมพันธ์ระหวา่ งตำแหน่ง การกระจัด ความเร็ว และความเร่งของการเคล่ือนที่ ของวัตถุในแนวตรงที่มีความเร่งคงตัวจากกราฟและสมการ รวมทั้งทดลองหาค่าความเร่งโน้มถ่วงของโลก และคำนวณปริมาณตา่ ง ๆ ท่เี กีย่ วข้องได้ 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ (Knowledge) 1) เกดิ ความรูค้ วามเข้าใจเกย่ี วกับความหมายของปริมาณตา่ ง ๆ ท่เี กย่ี วข้องกบั การเคล่ือนท่ี 2) อธบิ ายความสมั พันธข์ องปริมาณ ท่ีเกย่ี วข้องกับการเคลื่อนที่จากกราฟและสมการได้ 3.2 ด้านทักษะและกระบวนการ (Skill/Process) 3) มีทักษะการคำนวณหาปริมาณตา่ ง ๆ ทเ่ี กีย่ วข้องกบั การเคล่ือนท่ีได้ 3.3 ด้านเจตคติ (Attitude) 4) เหน็ คุณประโยชนข์ องการเรียนวชิ าฟิสิกส์ ตระหนกั ในคุณคา่ ของความร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยที ใ่ี ชใ้ น ชวี ิตประจำวัน จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 62 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 เนื้อหาสาระหลัก : Knowledge (ผเู้ รยี นตอ้ งรอู้ ะไร) - ปรมิ าณที่เกย่ี วกบั การเคลอ่ื นที่ ได้แก่ ตำแหน่ง การกระจดั ความเร็ว และความเร่ง โดยความเร็ว และความเร่งมีทั้งค่าเฉล่ียและค่าขณะหนึ่งซึ่งคิดในช่วงเวลาสั้น ๆ สำหรับปริมาณต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการ เคลอื่ นทแ่ี นวตรงด้วยความเรง่ คงตัวมคี วามสัมพันธ์ตามสมการ v = u + at ……………………………. (1) ∆x = (u+v) t …………………………. (2) 2 ∆x = ut + 1 at2 ……………………. (3) 2 v2 = u2 + 2a∆x ………………..…. (4) 4.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process (ผู้เรียนสามารถปฏบิ ัตอิ ะไรได)้ - ทกั ษะการวเิ คราะห์ - ทักษะการสงั เกต - ทกั ษะการสอ่ื สาร - ทกั ษะการทำงานร่วมกนั - ทักษะการนำความร้ไู ปใช้ 4.3 คุณลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ : Attitude (ผูเ้ รยี นควรแสดงพฤติกรรมการเรยี นอะไรบา้ ง) - มวี ินยั - ใฝเ่ รยี นรู้ - ม่งุ ม่นั ในการทำงาน - มคี วามซ่ือสัตย์ - อยู่อย่างพอเพียง 5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียนและคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มวี ินัย 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรียนรู้ 1) ทักษะการวเิ คราะห์ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน 2) ทักษะการสงั เกต 4. มีความซอ่ื สัตย์ 3) ทักษะการส่ือสาร 5. อยู่อย่างพอเพียง จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 63 สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 4) ทักษะการทำงานร่วมกัน 5) ทกั ษะการนำความรู้ไปใช้ 3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต 6. กิจกรรมการเรียนรู้  แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชวั่ โมงท่ี 1 ขน้ั นำ กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครนู ำภาพการเคลอ่ื นทขี่ องวตั ถตุ ่าง ๆ ที่ไดเ้ ตรียมไว้ จำนวน 10-12 ภาพ ใหน้ ักเรียนจำแนกว่าภาพใดบ้าง เป็นการเคลือ่ นท่ีแนวตรง ซึ่งประกอบด้วยภาพตวั อย่าง ดังต่อไปน้ี • ภาพชงิ ชา้ สวรรค์ • ภาพผลไมต้ กสูพ่ นื้ ดิน • ภาพรถวง่ิ ตามถนนเส้นตรง • ภาพรถเล้ียวโคง้ • ภาพคนวิง่ แข่ง 100 เมตร • ภาพลกู ตมุ้ นาฬิกา • ภาพการแกวง่ ชงิ ช้า • ภาพรถไต่ถัง • ภาพคนยิงธนู • ภาพดาวเทียมโคจรรอบโลก • ภาพการเคลอื่ นทขี่ องลกู บาสเกตบอล • ภาพนกั กฬี าวา่ ยนำ้ ในลขู่ องสระวา่ ยน้ำ 2. ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงวิธีการพิจารณาว่าภาพใดบ้าง ท่ีเป็นภาพการเคล่ือนที่แนวตรง เพื่อ นำไปสู่ความเข้าใจลักษณะของการเคล่ือนท่ีแนวตรงว่า “การเคลื่อนที่แนวตรง เป็นการเคลื่อนท่ีที่มี ระยะทางและการกระจดั อยูใ่ นแนวเสน้ ตรงเดียวกนั ” 3. นกั เรยี นชว่ ยกนั อภิปรายและแสดงความคดิ เหน็ คำตอบจากภาพตัวอย่าง 4. ครูถามนักเรียนว่า ภาพแต่ละภาพมีลักษณะการเคลื่อนที่เหมือนกันหรือแตกต่างกัน หรือไม่ อย่างไร นกั เรยี นสงั เกตลกั ษณะการเคลื่อนทีข่ องวัตถนุ ั้นอย่างไร (ทง้ิ ชว่ งใหน้ ักเรียนคิด) จากนน้ั ครูอธิบายลกั ษณะ การเคล่อื นทท่ี ลี ะภาพ จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 64 5. ครูถามคำถาม BIG QUESTION จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 หน้า 30 ว่า ใน ชีวิตประจำวันมีกิจกรรมใดบ้าง ท่ีเก่ียวข้องกับการเคลื่อนท่ี และให้ยกตัวอย่าง (เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ แสดงความคิดเห็นโดยไม่เน้นถูกผิด) (แนวตอบ : ในชีวติ ประจำวัน เราพบเห็นการเคลื่อนที่ของสิง่ ตา่ งๆ เช่น นกบิน รถยนต์แล่นบนถนน ลูกฟุตบอลเคลื่อนทีใ่ นอากาศ ใบพัดลมหมนุ เดก็ แกวง่ ชงิ ชา้ ผลไม้หล่นจากตน้ เปน็ ต้น) 6. นักเรียนช่วยกันอภิปรายและแสดงความคิดเห็นคำตอบจากคำถาม เพ่ือเช่ือมโยงไปสู่การเรียนในเรื่อง ตำแหน่ง ระยะทาง และการกระจัด 7. ครใู ห้นักเรียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น ขน้ั สอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูถามคำถาม Prior knowledge จากหนังสือเรียน หน้า 31 ว่า เราจะทราบได้อย่างไรว่าวัตถุเกิดการ เคล่ือนที่ (แนวตอบ : วัตถมุ ีการเปลีย่ นตำแหนง่ จากจุดหนง่ึ ไปอกี จุดหนึ่ง) 2. ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า การเคลื่อนท่ีของวัตถุเป็นผลมาจากการท่ีมีแรงไปกระทำต่อวัตถุ ทำให้วัตถุ เปล่ียนแปลงสภาพโดยเปล่ียนตำแหน่งจากจุดท่ี 1 ไปยังจดุ ที่ 2 โดยการเปล่ียนตำแหน่งของวัตถุจะทำให้ เกดิ ปริมาณท่ีเกี่ยวข้องกบั การเคลือ่ นที่ 3. ครูแจ้งใหน้ กั เรียนทราบว่า จะไดศ้ กึ ษาเรอ่ื ง ตำแหน่ง ระยะทาง และการกระจดั 4. ครเู ข้าสบู่ ทเรียน เรมิ่ จากใหน้ กั เรียนเขา้ ใจจุดอ้างอิงหรือตำแหน่งอา้ งองิ โดยการต้งั ประเดน็ คำถาม เช่น • นักเรยี นจะบอกตำแหน่งของบ้านนกั เรียนให้เพอ่ื นเข้าใจไดอ้ ย่างไร (ข้นึ อยู่กับคำตอบของนักเรยี น เชน่ ชอ่ื ถนน ช่ือซอย เป็นตน้ ) • นกั เรียนเดินทางจากบ้านถึงโรงเรียนเป็นได้อย่างไร (ขึน้ อยกู่ ับคำตอบของนักเรียน เชน่ เดินออก จากบ้านมาโรงเรยี นโดยที่เดินตรงไปทางทิศเหนือ 180 เมตร จากนั้นเล้ียวซ้ายมุ่งหน้าไปทางทิศ ตะวนั ตก 240 เมตร แลว้ เดินตอ่ ไปทางทศิ ตะวันออกเฉยี งเหนอื อกี 200 เมตร จึงจะถึงโรงเรียน) • นักเรียนมีวิธีอย่างไร สำหรับการเดินทางมาโรงเรียนท่ีใช้เวลาน้อยท่ีสุด (ข้ึนอยู่กับคำตอบของ นกั เรยี น) 5. ครแู ละนักเรียนชว่ ยกนั อภิปรายถึงระยะทางในการเดนิ ความเร็วในการเดิน และระยะทางในการเดินนอ้ ย ทส่ี ุดเพ่ือให้นกั เรียนเขา้ ใจมากขึ้น 6. ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า การศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุเป็นการศึกษาการเปล่ียนแปลงตำแหน่งของวัตถุ (position) การที่จะบอกการเปล่ียนตำแหน่งต้องมีการระบุตำแหน่งเพ่ือให้ส่ือความหมายได้ตรงกันและ เป็นระบบเดียวกัน โดยกำหนดจุดอ้างอิงหรือตำแหน่งอ้างอิง (reference point) ซึ่งเป็นจุดท่ีบอกพิกัดที่ แน่นอน และเป็นตัวเปรียบเทียบในการบอกตำแหน่งของวัตถุที่อยู่ภายในกรอบอ้างอิง (reference frame) จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ูช้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 65 7. ครูให้นักเรียนแต่ละคนวิเคราะห์และอธิบายเกี่ยวกับจุดอ้างอิงและตำแหน่งของรถชนิดต่าง ๆ เทียบกับ ท่ตี ง้ั ของป้ายรถประจำทาง จากภาพในหนังสอื เรยี นหน้า 31 8. ครูให้นักเรียนรว่ มกันสรุปความสัมพันธ์ระหวา่ งจดุ อ้างองิ กบั ตำแหน่งของรถในภาพ โดยกำหนดจุดอา้ งอิง และอธิบายทิศทางของวตั ถุเทยี บกับจุดอ้างอิง จากนั้นครูสรปุ เร่ืองจุดอ้างอิงกับตำแหน่งของวัตถุ เพ่ือให้ นกั เรียนมคี วามเขา้ ใจในเน้อื หามากย่ิงขน้ึ 9. ครูเข้าสู่เนื้อหาเร่ือง ระยะทางและการกระจัด โดยครูช่วยเช่ือมโยงความรู้ใหม่จากเน้ือหาความรู้เดิมท่ี เรียนรู้มาแลว้ ด้วยการให้นักเรียนแต่ละคนบอกตำแหน่งของเพ่ือน และระยะห่างระหว่างตัวนักเรียนกับ เพ่ือน เพือ่ ให้เขา้ ใจความแตกต่างระหว่างระยะทางกบั การกระจดั 10. ครูกล่าวตอ่ วา่ การเคล่ือนท่ีของวตั ถเุ ปน็ การเปลยี่ นตำแหนง่ ของวัตถุ ซ่ึงจะพจิ ารณาไดจ้ ากระยะทางและ การกระจัด แล้วครูอาจถามด้วยคำถาม เพ่ือให้นักเรียนตอบจากความรู้และประสบการณ์ของนักเรียน ดังนี้ • ระยะทางกบั การกระจัดมคี วามหมายและแตกต่างกันอย่างไร • ระยะทางและการกระจัดมีความสมั พนั ธ์กันหรอื ไม่ อย่างไร • ระยะทางจะมีคา่ เท่ากบั การกระจดั ในกรณีใด 11. ครูท้ิงชว่ งให้นักเรยี นแต่ละไดค้ ดิ จากนัน้ อาจสมุ่ นักเรยี นใหอ้ อกมาตอบคำถามทีค่ รูได้ถามไว้หนา้ ช้นั เรียน 12. หลังจากนั้นครูอธิบายสรุปจากคำถามเกี่ยวกับระยะทางกับการกระจัดว่า ระยะทาง (distance) คือ ระยะท้ังหมดที่วัดได้ตามแนวการเคลื่อนท่ี ระยะทางจะระบุแต่ขนาดเพียงอย่างเดียว จึงจัดว่าเป็น ปริมาณสเกลาร์ หน่วยเป็นเมตร (m) ส่วนการกระจัด (displacement) คือ ระยะท่ีวัดได้ในแนวเส้นตรง จากตำแหน่งเริม่ ต้นไปยังตำแหน่งสุดท้าย ซ่ึงเป็นปริมาณเวกเตอร์ท่ตี ้องระบุทั้งขนาดและทิศทาง มีหน่วย เป็นเมตร (m) ครอู ธิบายชีใ้ ห้นักเรียนเห็นว่า ระยะทางข้ึนอย่กู ับเสน้ ทางการเคลื่อนทีจ่ รงิ ส่วนการกระจัด จะขึ้นอยู่กับตำแหน่งเร่ิมต้นและตำแหน่งสุดท้ายของการเคลื่อนที่ และระยะทางจะมีขนาดเท่ากับการ กระจดั ในกรณที ีว่ ัตถุเคลือ่ นท่ีเปน็ เสน้ ตรงและไม่เปล่ียนแปลงทศิ ทาง 13. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน กำหนดให้แต่ละกลุ่มสืบค้นในหัวข้อ การคำนวณหา ระยะทางและการกระจัด โดยให้นักเรียนแต่ละร่วมกันวางแผนการสืบค้นทั้งจากหนังสือเรียน (หน้า 33- 34) เอกสารอ้างอิง และแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ตามข้ันตอนทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้ทักษะหรือกระบวนการ สงั เกต จากน้นั นำข้อมูลทีไ่ ดม้ าอภปิ รายรว่ มกันหน้าชัน้ เรยี น ขน้ั สอน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาตัวอย่างที่ 2.1-2.2 จากหนังสือเรียนหน้า 33-34 โดยให้ร่วมกันศึกษา ความแตกต่างระหว่างระยะทางและการกระจัด วิธีการหาระยะทางและการกระจัด โดยครูใช้คำถาม นำเพื่อหาข้อสรุป ดังน้ี จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 66 • จากโจทย์ตัวอย่างที่ 2.1 การเคล่ือนท่ีของวัตถุแต่ละครั้งระยะทางและการกระจัดท่ีเกิดข้ึนมี ลักษณะอย่างไร (แนวตอบ : ระยะทางและการกระจัดในการเคล่ือนท่ีมี 2 ลักษณะ คือ ระยะทางมากกว่าการ กระจัด และระยะเทา่ กบั และการกระจัด แต่จากตัวอย่างระยะทางมากกวา่ การกระจดั ) • จากโจทย์ตัวอย่างที่ 2.2 เด็กชายเอเดินเป็นแนววงกลมครบ 1 รอบ จะได้ระยะทาง 88 เมตร และทำไมการกระจัดถึงมคี ่าเปน็ ศูนย์ (แนวตอบ : การกระจัดมีค่าเป็นศูนย์ เนื่องจากเม่ือส้ินสุดการเคลื่อนท่ีแล้วจะไม่มีการ เปลีย่ นแปลง) 2. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มออกมานำเสนอวธิ กี ารแกป้ ญั หาโจทยต์ วั อย่างให้เพื่อน ๆ ทราบหน้าห้องเรยี น 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มสรุปผลการสืบเสาะหาความรู้เกี่ยวกับประเด็นคำถามต่าง ๆ ท่ีครูกำหนดไว้ (อาจ นำเสนอในรปู ของเอกสาร) แล้วนำมาอภิปรายและแลกเปลย่ี นความคดิ เห็นกับกลมุ่ อนื่ ๆ 4. นักเรยี นร่วมกันเขียนแผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) เก่ียวกับระยะทางและการกระจัด เพ่ือเป็น การสรุปความคิดความเข้าใจทีไ่ ดใ้ นช้ันเรียน แล้วส่งเป็นการบา้ นในคาบเรียนต่อไป ขน้ั สรุป ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครนู ำนกั เรียนอภิปรายและสรปุ เกย่ี วกับเรอ่ื ง ระยะทางและการกระจัด ดังน้ี • ความหมายของระยะทางและการกระจดั • การคำนวณหาระยะทางและการกระจดั • การกระจดั จะมคี ่าเทา่ กับระยะทางในกรณีใด 2. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเนื้อหาเรื่อง ตำแหน่ง ระยะทาง และการกระจัด ว่ามีส่วนไหนท่ียังไม่ เข้าใจและให้ความรู้เพ่ิมเติมในส่วนนั้น โดยท่ีครูอาจจะใช้ PowerPoint เร่ือง ระยะทางและการกระจัด ช่วยในการอธบิ าย 3. ครูให้นักเรยี นทำใบงานที่ 2.1 เร่ือง ระยะทางและการกระจดั 4. ครูให้นักเรียนทำ Unit Question 2 เร่ือง ระยะทางและการกระจัด จากหนังสือเรียน หน้า 79 ส่งเป็น การบา้ นในช่วั โมงถัดไป ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูตรวจสอบผลการทำแบบทดสอบก่อนเรียน 2. ครูประเมินผล โดยการสังเกตการตอบคำถาม การร่วมกนั ทำผลงาน และจากการนำเสนอผลงาน 3. ครูวัดและประเมนิ การปฏบิ ัติการ จากการทำใบงานที่ 2.1 เรือ่ ง ระยะทางและการกระจดั 4. ครตู รวจสอบผลการทำแผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) 5. ครวู ดั และประเมนิ ผลจากการทำ Unit Question 2 เรื่อง ระยะทางและการกระจดั จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 67 6. ครูวัดและประเมนิ ผลจากแผนผังมโนทัศน์ท่ีนักเรยี นได้สร้างขึน้ จากขน้ั อธบิ ายความรู้ของนักเรยี นเป็น รายบุคคล ช่ัวโมงที่ 2 ขน้ั นำ กระตุน้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูและร่วมกันทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับ เรือ่ ง ระยะทางและการกระจัด เพื่อเป็นความรู้พื้นฐานนำไปสู่ เนื้อหา เรื่อง อัตราเรว็ และความเรว็ 2. ครถู ามคำถามกระตนุ้ ใหน้ กั เรียนแสดงความคดิ เหน็ ว่า • ในการเคลอื่ นท่ี นอกจากจะมรี ะยะทางและการกระจดั แลว้ ยงั มปี ริมาณใดอกี • การบอกวา่ วัตถใุ ดเคล่อื นท่เี ร็วหรอื ช้า จะพจิ ารณาจากระยะทางหรอื การกระจดั เทียบกบั สิ่งใด 3. นักเรียนร่วมกนั อภปิ รายหาคำตอบเกี่ยวกับคำถามตามความคดิ เห็นของแต่ละคน หลังจากนักเรียนรว่ มกัน อภิปรายแล้ว ครูอธิบายเพ่ิมเตมิ เพื่อให้นักเรียนเข้าใจมากขึ้นว่า การเคล่อื นท่ีจากจุดหน่งึ ไปยังจุดหนึ่งนั้น นอกจากจะมรี ะยะทางและการกระจัดแลว้ ยังมีเวลาที่ใช้เคลื่อนท่ีด้วย และการบอกว่าวตั ถุใดเคลื่อนที่เร็ว หรือชา้ จะพจิ ารณาจากระยะทางหรือการกระจัดเทียบกบั เวลาทีใ่ ช้ในการเคลือ่ นที่ ซง่ึ เกี่ยวกับปรมิ าณการ เคลอื่ นท่ขี องวตั ถุ คือ อตั ราเรว็ และความเร็ว 4. ครูแจ้งใหน้ ักเรยี นทราบวา่ จะไดศ้ ึกษาเรอื่ ง อัตราเรว็ และความเร็ว ขน้ั สอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครใู ห้นกั เรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกบั อตั ราเร็วและความเรว็ จากหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์ เล่ม 1 หนา้ 35-36 โดยถามคำถามใหน้ ักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น ดังน้ี • นักเรียนคิดวา่ ความเร็วตา่ งจากอตั ราเรว็ หรอื ไม่ อยา่ งไร (แนวตอบ ตา่ งกัน โดยอัตราเร็วเป็นระยะทางที่เปลีย่ นแปลงใน 1 หน่วยเวลา เป็นปรมิ าณสเกลาร์ สว่ นความเร็วเปน็ การกระจัดทเ่ี ปลย่ี นแปลงในหนงึ่ หนว่ ยเวลา เปน็ ปรมิ าณเวกเกอร์) • นกั เรียนพิจารณา สมการของอตั ราเรว็ และความเร็ว นักเรียนจะสามารถหาปริมาณอนื่ ได้หรือไม่ เช่น การกระจัด ระยะทาง หรอื เวลา (แนวตอบ สามารถหาปริมาณอ่ืนได้ โดยการปรับรูปสมการ ดังสมการความสัมพันธ์ในหนังสือ เรียนหนา้ 38) 2. ครูให้ผู้แทนนักเรียนออกมานำอธิบายความแตกต่างระหว่างอัตราเร็วกับความเร็ว จากน้ันครูอธิบาย เพมิ่ เตมิ ถงึ ความแตกตา่ งของท้งั สองปริมาณ พร้อมบอกเหตผุ ล จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 68 3. ครูถามคำถาม H.O.T.S จากหนังสือเรยี นหน้า 36 เพื่อเป็นการตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนว่า “ถ้า พูดว่า โดยปกติโปเต้ขับรถเร็วประมาณ 70 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และวนั น้ีโปเตข้ ับรถมาทำงานเร็วถึง 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง” นักเรยี นคดิ วา่ มคี วามแตกตา่ งกนั หรือไม่ อย่างไร (แนวตอบ : มีความแตกต่างกัน เน่ืองจากข้อความแรกกล่าวถึงอัตราเร็วโดยเฉล่ียในการเดินทาง ของโปเต้ ขณะอีกขอ้ ความหนึ่ง คือความเร็วซึ่งเปน็ ปริมาณเวกเตอร์ โดยมกี ารระบุทศิ ทางมายังท่ที ำงานไว้ ด้วย ทำใหป้ รมิ าณทั้งสองมีความแตกตา่ งกนั ) 4. ครูอาจให้ความรู้เสริมว่า อัตราเร็วท่ีอ่านได้จากมาตรวัดบนหน้าปัดรถยนต์จะแสดงว่าอัตราเร็ว ณ ขนาด น้ัน แต่ถ้าพิจารณาถึงทิศทางของการเคล่ือนที่จะได้รถเคล่ือนท่ีด้วยความเร็ว และถ้ามีการเปล่ียนแปลง ความเรว็ จะกลา่ วได้ว่า รถเคล่ือนทด่ี ว้ ยความเรง่ 5. ครูถามนักเรียนต่อไปว่า ความเร็วกับความเร็วเฉลี่ย เหมือนหรือแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร และ อัตราเร็วกับอัตราเร็วเฉล่ีย เหมือนหรือแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร (ท้ิงช่วงให้นักเรียนคิด) 6. ครูให้ผู้แทนนักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอความรู้ตามท่ีนักเรียนเข้าใจ 7. นักเรยี นและครูรว่ มกนั วิพากษเ์ กี่ยวกบั ขอ้ มูลการนำเสนอของแตล่ ะคนต่าง ๆ เพือ่ ความเข้าใจตรงกนั โดย นกั เรียนและครูควรได้ขอ้ สรุปรว่ มกนั ดงั นี้ • ความเร็ว เป็นการกระจัดของวัตถุในหน่ึงหน่วยเวลา เป็นปริมาณเวกเตอร์ มีหน่วยเป็นเมตรต่อ วินาที ส่วนความเร็วเฉลี่ย เป็นการกระจัดระหว่างจุดเร่ิมต้นกับจุดสุดท้ายของการเคลื่อนท่ีต่อ เวลาทใี่ ช้ในการเคลอ่ื นทท่ี ้ังหมด • อัตราเร็ว เป็นระยะทางท่ีวัตถุเคล่ือนที่ในหนึ่งหน่วยเวลา เป็นปรมิ าณสเกลาร์ มีหน่วยเป็นเมตร ต่อวนิ าที ส่วนอตั ราเรว็ เฉลี่ย เปน็ อัตราการเคลอื่ นทต่ี ามระยะทางจริงในหนงึ่ หน่วยเวลา 8. จากนั้นครูให้ความรู้เร่ืองอัตราเร็วขณะหนึ่ง (instantaneous speed) ตามรายละเอียดในหนังสือเรียน หนา้ 40-41 โดยท่ีนักเรยี นมสี ่วนรว่ มในการอภปิ รายหรือสอบถาม ซง่ึ นักเรียนจะเข้าใจมากยง่ิ ขึน้ ในหัวข้อ ตอ่ ไป เรอ่ื ง เครอ่ื งเคาะสญั ญาณเวลา ขน้ั สอน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูให้นักเรียนแต่ละคนร่วมกันศึกษาทำความเข้าใจโจทย์ เร่ือง อัตราเร็วและความเร็ว และลองหา คำตอบจากตัวอย่างด้วยตนเอง จากตัวอย่างที่ 2.3-2.5 ในหนังสือเรียน หน้า 37 และ 39 เพื่อให้ช่วย เข้าใจการนำเสนอข้อมูลได้มากยิ่งข้ึน ครูควรให้นักเรยี นทำโจทย์ตามข้ันตอนการแก้โจทย์ปญั หา ดังน้ี • ข้นั ท่ี 1 ทำความเขา้ ใจโจทย์ตวั อยา่ ง • ข้ันท่ี 2 สิ่งทโี่ จทยต์ อ้ งการถามหา และจะหาสงิ่ ที่โจทย์ตอ้ งการ ต้องทำอย่างไร • ขนั้ ที่ 3 ดำเนนิ การหาคำตอบ • ข้นั ท่ี 4 ตรวจสอบคำตอบของโจทย์ตัวอยา่ ง จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผูช้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 69 2. ครูสุ่มนักเรียนให้ออกมานำเสนอวิธีการแก้ปัญหาโจทย์ตัวอย่างตามขั้นตอนในแต่ละขั้น โดยที่ครูคอย แนะนำและเสรมิ ข้อมูลทถ่ี กู ตอ้ งให้นักเรยี น ขน้ั สรุป ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครนู ำนักเรียนอภิปรายและสรุปเก่ียวกับวิธีการหาอัตราเร็วและความเร็ว แล้วให้นักเรียนรว่ มกันวิเคราะห์ และสรุปความแตกต่างระหวา่ งอัตราเรว็ และความเร็ว 2. ครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมลู จากอินเทอร์เน็ต และยกตัวอย่างเพ่ิมเติมเกี่ยวกับความเร็วเฉล่ีย และอัตราเร็ว เฉลี่ยในชีวิตประจำวัน และการนำไปใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจำวนั ไดอ้ ยา่ งไร เช่น การวเิ คราะห์เสน้ ทางที่ เหมาะสมจะชว่ ยประหยดั เวลา นำไปใชใ้ นระบบ GPS เพ่อื คำนวณเส้นทางการเดินทาง 3. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเนื้อหาเรื่อง อัตราเร็วและความเร็ว ว่ามีส่วนไหนท่ียังไม่เข้าใจและให้ ความรเู้ พ่ิมเตมิ ในส่วนน้นั โดยทคี่ รอู าจจะใช้ PowerPoint เรือ่ ง อตั ราเร็วและความเรว็ ชว่ ยในการอธิบาย 4. ครูใหน้ กั เรียนทำใบงานท่ี 2.2 เรอื่ ง อัตราเรว็ และความเรว็ 5. ครูมอบหมายใหน้ ักเรียนสรุปแผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) เร่ือง อัตราเรว็ และความเร็ว และให้ นักเรยี นทำ Unit Question 2 เรอ่ื ง อัตราเรว็ และความเรว็ ส่งเป็นการบ้านชัว่ โมงถัดไป ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครตู รวจสอบผลการทำแบบทดสอบก่อนเรยี น 2. ครูประเมนิ ผล โดยการสงั เกตการตอบคำถาม การร่วมกันทำผลงาน และจากการนำเสนอผลงาน 3. ครวู ัดและประเมินการปฏิบัตกิ าร จากการทำใบงานท่ี 2.2 เรอ่ื ง อัตราเร็วและความเร็ว 4. ครูวดั และประเมนิ ผลจากการทำ Unit Question 2 เรือ่ ง อัตราเรว็ และความเร็ว 5. ครูวดั และประเมนิ ผลจากผงั มโนทัศน์ทน่ี กั เรียนไดส้ รา้ งขึน้ จากข้นั ขยายความเขา้ ใจของนกั เรยี นเป็น รายบุคคล 7. การวดั และประเมนิ ผล รายการวัด วิธีวดั เครอ่ื งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ประเมินตามสภาพจรงิ 7.1 การประเมนิ กอ่ นเรียน ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบกอ่ น ก่อนเรยี น เรยี น หนว่ ยการ เรียนรู้ท่ี 1 เรอ่ื ง การ เคล่ือนทแ่ี นวตรง จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 70 รายการวัด วธิ ีวดั เครือ่ งมือ เกณฑ์การประเมนิ 7.2 การประเมินระหว่าง - ตรวจใบงานท่ี 2.1-2.2 - ใบงานท่ี 2.1-2.2 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ การจัดกิจกรรม 1) ปรมิ าณท่เี กิดจาก - ประเมนิ การนำเสนอ - ผลงานทน่ี ำเสนอ ระดับคุณภาพ 2 ผลงาน ผา่ นเกณฑ์ การเคล่อื นทีข่ อง - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดับคณุ ภาพ 2 วตั ถุ การทำงานรายบคุ คล การทำงานรายบคุ คล ผา่ นเกณฑ์ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดบั คณุ ภาพ 2 2) การนำเสนอ การทำงานกลุ่ม การทำงานกลมุ่ ผา่ นเกณฑ์ ผลงาน - สงั เกตความมีวนิ ัย - แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ 2 ใฝ่เรียนรู้ และม่งุ ม่ัน คุณลกั ษณะ ผ่านเกณฑ์ 3) พฤตกิ รรมการ ในการทำงาน อันพงึ ประสงค์ ทำงานรายบคุ คล 4) พฤตกิ รรมการ ทำงานกลุ่ม 5) คุณลักษณะ อนั พงึ ประสงค์ 8. สื่อ/แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 ส่อื การเรยี นรู้ 1) หนงั สือเรียน รายวิชาเพ่มิ เตมิ ฟิสกิ ส์ ม.4 เล่ม 1 หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 2 เรอื่ ง การเคลอ่ื นที่แนวตรง 2) ใบงานท่ี 2.1 เรือ่ ง ระยะทางและการกระจดั 3) ใบงานที่ 2.2 เรอื่ ง อัตราเร็วและความเร็ว 4) PowerPoint เรือ่ ง ปรมิ าณทเ่ี กิดจากการเคลื่อนที่ของวัตถุ 8.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1) หอ้ งเรียน 2) ห้องสมุด 3) แหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผ้ชู ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 71 9. การบรู ณาการตามจดุ เน้นของโรงเรียน : ความหลากหลายทางชวี ภาพ หลกั ปรัชญา ครู ผ้เู รียน ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 1. ความพอประมาณ พอดดี ้านเทคโนโลยี พอดีด้านจติ ใจ รู้จกั ใช้เทคโนโลยมี าผลิตส่อื ท่ี มจี ิตสำนึกทีด่ ี จิตสาธารณะรว่ ม เหมาะสมและสอดคลอ้ งเนอื้ หาเป็น อนรุ ักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและ ประโยชนต์ อ่ ผู้เรียนและพฒั นาจากภูมิ สิ่งแวดลอ้ ม ปญั ญาของผู้เรยี น 2. ความมเี หตุผล - ยดึ ถอื การประกอบอาชพี ด้วยความ ไมห่ ยุดนิ่งทห่ี าหนทางในชีวติ หลุดพน้ ถูกตอ้ ง สุจริต จากความทกุ ข์ยาก (การค้นหาคำตอบ เพือ่ ใหห้ ลดุ พ้นจากความไมร่ )ู้ 3. มภี มู คิ ุมกันในตวั ทด่ี ี ภูมปิ ญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ภมู ิปัญญา : มคี วามรู้ รอบคอบ ระมัดระวงั รบั ผิดชอบ ระมัดระวัง สร้างสรรค์ 4. เง่ือนไขความรู้ ความรอบรู้ เรื่อง ปริมาณทีเ่ กิดจาก ความรอบรู้ เรอื่ ง ปริมาณทเี่ กดิ การเคลือ่ นท่ขี องวัตถุ ที่เกี่ยวข้องรอบ จากการเคลอื่ นท่ขี องวตั ถุ สามารถนำ ดา้ น นำความรูม้ าเช่ือมโยง ความร้เู หลา่ น้นั มาพจิ ารณาให้เกิด ประกอบการวางแผน การดำเนินการ ความเช่อื มโยง สามารถประยุกต์ จัดกิจกรรมการเรยี นร้ใู หก้ บั ผ้เู รยี น ใช้ในชีวติ ประจำวันได้ 5. เงื่อนไขคณุ ธรรม มคี วามตระหนักใน คณุ ธรรม มี มคี วามตระหนกั ใน คุณธรรม มคี วาม ความซื่อสตั ย์สุจริตและมคี วามอดทน ซอ่ื สัตย์สจุ รติ และมคี วามอดทน มี มคี วามเพียร ใช้สติปัญญาในการ ความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนิน ดำเนนิ ชวี ติ ชีวติ สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ครู ผู้เรยี น ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - ความหลากหลายทางชีวภาพ - สำรวจความหลากหลายทาง - สำรวจความหลากหลายทางชีวภาพ ชวี ภาพในโรงเรียน (กำหนดจุดให้ ในโรงเรยี น (ตามจดุ ทไ่ี ด้รับมอบหมาย) ผเู้ รยี นสำรวจ) ส่ิงแวดล้อม ครู ผู้เรยี น ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - การอนรุ ักษ์ความหลากหลาย - การอนรุ กั ษค์ วามหลากหลายทาง - สืบค้นข้อมูลการอนุรกั ษค์ วาม ทางชีวภาพ ชวี ภาพ (กำหนดหวั ข้อใหผ้ ู้เรียน หลากหลายทางชีวภาพ (ตามหัวข้อที่ สืบคน้ ) ได้มอบหมาย) จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 72 10. ความเห็น/ขอ้ เสนอแนะ ของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาหรอื ผู้ทไี่ ด้รบั มอบหมาย 10.1 หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………. (นางกมลชนก เทพบุ) ………./……………./…………. 10.2 ผู้ชว่ ยผ้อู ำนวยการฝา่ ยบริหารวชิ าการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชือ่ …………………………………………. (นางสาวรัตตกิ าล ยศสุข) ………./……………./…………. 10.3 ผู้อำนวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่อื …………………………………………. (นางวลิ าวลั ย์ ปาลี) ………./……………./…………. จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผ้ชู ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 73 11. บันทึกผลหลังการสอน  ดา้ นความรู้  ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน  ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์  ดา้ นความสามารถทางวิทยาศาสตร์  ดา้ นอ่ืน ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤติกรรมท่ีมปี ญั หาของนักเรยี นเปน็ รายบุคคล (ถา้ มี))  ปัญหา/อุปสรรค  แนวทางการแก้ไข ลงชื่อ.........................................................ครูผ้สู อน (นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา) ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 74 ใบงานที่ 2.1 เร่ือง ระยะทางและการกระจัด คำชีแ้ จง : ให้นกั เรยี นตอบคำถามต่อไปน้ี 1. จงอธบิ ายความหมายของตำแหน่ง ระยะทาง และการกระจดั 2. ถ้าเหวยี่ งกอ้ นหินไปเปน็ รปู วงกลมรัศมี 3 เซนตเิ มตรกอ้ นหนิ จะเคลอ่ื นที่ได้ระยะทางและการกระจดั เท่าไร 3. เดก็ ชายคนหน่งึ เดนิ ทางไปทางทิศตะวนั ออก 150 เมตร แลว้ เดนิ กลับทางเดิม 30 เมตร ไปทางทศิ ตะวนั ตก จงหา การกระจัดของเดก็ คนน้ี 4. โยนกอ้ นหินข้นึ ไปจากยอดตึกสงู 100 เมตร ก้อนหินเคล่อื นที่ไปไดส้ ูงสดุ 50 เมตร จึงตกกลับลงมายังพ้นื ดิน จงหาวา่ กอ้ นหินเคลือ่ นทีไ่ ดร้ ะยะทางและการกระจัดท้ังหมดเทา่ ไร จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 75 ใบงานท่ี 2.1 เฉลย เรื่อง ระยะทางและการกระจดั คำช้ีแจง : ให้นักเรยี นตอบคำถามตอ่ ไปนี้ 1. จงอธบิ ายความหมายของตำแหน่ง ระยะทาง และการกระจดั ตำแหนง่ คอื การบอกให้ทราบวา่ วัตถุหรอื สงิ่ ของท่ีเราพจิ ารณาอยทู่ ่ีใด และเพอื่ ความชัดเจนการบอกตำแหนง่ ของ วัตถุจะต้องเทียบกบั จุดอา้ งองิ หรอื ตำแหนง่ อ้างอิง (reference point) ระยะทาง คอื ระยะท้งั หมดท่วี ดั ไดต้ ามแนวการเคลือ่ นท่ี ระยะทางจะระบุแต่ขนาดเพียงอยา่ งเดยี ว จึงจัดว่า เป็นปรมิ าณสเกลาร์ หน่วยเป็นเมตร (m) การกระจัด คอื ระยะทว่ี ัดไดใ้ นแนวเส้นตรงจากตำแหน่งเรม่ิ ตน้ ไปยงั ตำแหน่งสุดทา้ ย ซ่งึ เปน็ ปริมาณ เวกเตอรท์ ตี่ ้องระบทุ ั้งขนาดและทิศทาง มหี นว่ ยเป็นเมตร (m) 2. ถา้ เหวี่ยงกอ้ นหนิ ไปเป็นรูปวงกลมรัศมี 3.0 เมตร ก้อนหินจะเคลือ่ นทไ่ี ดร้ ะยะทางและการกระจดั เท่าไร วิธีทำ ก้อนหินเคลอื่ นที่ไดร้ ะยะทาง = เส้นรอบวง = 2r = 2 (3.0) = 18.8 การกระจดั = 0 (จดุ เริ่มตน้ กับจุดสดุ ท้ายอยู่จุดเดยี วกนั ) ดังนนั้ ระยะทางเท่ากบั 18.8 เมตร และการกระจัดเท่ากับ 0 3. เดก็ ชายคนหน่งึ เดินทางไปทางทิศตะวันออก 150 เมตร แล้วเดินกลบั ทางเดมิ 30 เมตร ไปทางทิศตะวันตก จงหา การกระจดั ของเด็กคนนี้ วิธีทำ กำหนดให้ทิศทางตะวนั ออกมีค่าเปน็ บวก และทิศทางตะวันตกมีคา่ เป็นลบ การกระจดั ทเ่ี ด็กเดินได้ = 150 + (-30) = 120 เมตร ดังนนั้ การกระจัดของเด็กชายเป็น 120 เมตร ไปทางทศิ ตะวันออก 4. โยนกอ้ นหนิ ขึ้นไปจากยอดตึกสงู 100 เมตร ก้อนหินเคลื่อนท่ไี ปได้สงู สดุ 50 เมตร จึงตกกลบั ลงมายงั พนื้ ดนิ จงหาว่าก้อนหินเคล่ือนที่ไดร้ ะยะทางและการกระจดั ท้ังหมดเทา่ ไร วิธีทำ ระยะทางทก่ี อ้ นหนิ เคล่อื นท่ี = 50 + 50 + 100 = 200 กำหนดให้ ทิศทางขึน้ จากพน้ื ดินมคี ่าเปน็ บวก และทิศทางลงสพู่ ้นื ดินมคี า่ เปน็ ลบ การกระจัด = 50 + (-50) + (-100) = 100 เมตร มีทศิ จาก A ไป C ดงั นั้น กอ้ นหนิ เคลือ่ นท่ไี ด้ระยะทาง 200 เมตร และการกระจัด 100 เมตรทิศจาก A ไป C จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 76 ใบงานท่ี 2.2 เรื่อง อตั ราเร็วและความเรว็ คำชแ้ี จง : ให้นักเรยี นตอบคำถามตอ่ ไปน้ี 1. ความหมายของความเร็ว ความเรว็ เฉลีย่ และความเร็วขณะใดขณะหนึง่ 2. ลิงกำลังปีนข้นึ ตน้ มะพร้าว ถ้าในทุก ๆ 30 วินาที สามารถปีนขึน้ ไปไดส้ งู 10 เมตร แตจ่ ะลนื่ ไถลลงมาอีก 1 เมตร เสมอ จงหาระยะทาง การกระจดั อัตราเรว็ เฉล่ีย และความเร็วเฉลย่ี 3. ชายคนหนึ่งว่ิงออกกำลังกายด้วยอัตราเร็วคงตัว 5 เมตรต่อวินาที เมื่อวิ่งได้ระยะทาง 100 เมตร เขารู้สึกเหนื่อย จึงเปลี่ยนมาเป็นเดินด้วยอัตราเร็วคงตัว 1 เมตรต่อวินาที ในระยะทาง 100 เมตรต่อมา อัตราเร็วเฉล่ียในการ เคลื่อนทขี่ องชายคนนมี้ ีคา่ เท่าใด จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 77 ใบงานท่ี 2.2 เฉลย เรอ่ื ง อัตราเร็วและความเร็ว คำชแ้ี จง : ใหน้ ักเรยี นตอบคำถามตอ่ ไปนี้ 1. จงอธิบายความหมายของความเรว็ ความเร็วเฉลย่ี และความเร็วขณะใดขณะหนง่ึ ความเร็ว คือ การเปลย่ี นแปลงการกระจัดหรอื การเปลี่ยนตำแหน่งทเ่ี กิดขึน้ ในหนงึ่ หน่วยเวลา เป็นปรมิ าณ เวกเตอร์ มีหนว่ ยเป็นเมตรตอ่ วินาที (m/s) ความเร็วเฉลยี่ คือ กระจัดของการเคลอ่ื นทท่ี ้งั หมดตอ่ ช่วงเวลาทใ่ี ชใ้ นการเคลือ่ นท่ี ความเรว็ ขณะใดขณะหนึง่ คือ ความเรว็ ของวตั ถุขณะผา่ นจุดใดจดุ หนง่ึ หรอื ทเ่ี วลาใดเวลาหนึง่ 2. ลิงกำลงั ปนี ขึน้ ตน้ มะพร้าว ถา้ ในทุก ๆ 30 วินาที สามารถปีนข้ึนไปได้สูง 10 เมตร แต่จะลน่ื ไถลลงมาอกี 1 เมตร เสมอ จงหาระยะทาง การกระจัด อตั ราเร็วเฉลี่ย และความเร็วเฉล่ยี วธิ ีทำ ระยะทาง = 10 + 1 = 11 เมตร การกระจัด = 10 + (-1) = 9 เมตร อัตราเร็วเฉลย่ี = ระยะทาง = 11 = 0.37 เมตรตอ่ วนิ าที เวลา 30 = 18.84 ความเร็วเฉล่ยี = การกระจัด = 9 = 0.3 เมตรตอ่ วนิ าที เวลา 30 ดงั น้นั ระยะทาง การกระจดั อัตราเร็วเฉล่ีย และความเรว็ เฉลย่ี เท่ากบั 11 เมตร 9 เมตร 0.37 เมตรตอ่ วนิ าที 0.3 เมตรตอ่ วนิ าที ตามลำดบั 3. ชายคนหน่ึงว่ิงออกกำลังกายด้วยอัตราเร็วคงตวั 5 เมตรต่อวินาที เมื่อวงิ่ ได้ระยะทาง 100 เมตร เขารูส้ ึกเหนื่อย จึงเปล่ียนมาเป็นเดินด้วยอัตราเร็วคงตัว 1 เมตรต่อวินาที ในระยะทาง 100 เมตรต่อมา อัตราเร็วเฉลี่ยในการ เคล่อื นทีข่ องชายคนน้ีมคี ่าเทา่ ใด วิธีทำ เวลาที่ชายคนนใ้ี ช้ในการเคล่อื นท่ีในแต่ละชว่ ง = ระยะทาง อตั ราเร็ว เวลาที่ใช้ในระยะ 100 เมตรแรก = 100 = 20 วินาที 5 เวลาท่ีใชใ้ นระยะ 100 เมตรต่อมา = 100 = 100 วินาที 1 เวลาทง้ั หมดท่ีใช้ในการเคลอ่ื นท่ี = 20 + 100 = 120 วินาที อัตราเร็วเฉล่ยี = ระยะทาง = 100+100 = 1.67 เมตรต่อวนิ าที เวลา 120 ดังนั้น อตั ราเรว็ เฉลีย่ ของชายคนนีเ้ ป็น 1.67 เมตรต่อวินาที จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 76 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรยี นท่ี 1/2563 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา ฟสิ ิกส์ 1 (ว31201) หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 การเคลื่อนทีใ่ นแนวตรง จำนวนเวลาทีส่ อน 2 ชวั่ โมง เร่ือง เคร่อื งเคาะสญั ญาณเวลา ครูผู้สอน นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา 1. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด (ความเขา้ ใจทค่ี งทน) เคร่ืองเคาะสัญญาณเวลา เป็นอุปกรณ์ที่ใช้หาอัตราเร็วของวัตถุในช่วงเวลาสั้น ๆ เมื่อต่อเคร่ืองเคาะ สัญญาณเวลาเข้ากับความต่างศักย์ไฟฟ้า 4-6 โวลต์ของหม้อแปลงโวลต์ต่ำ จะทำให้คันเคาะส่ันด้วยความถี่ของ ไฟฟ้ากระแสสลบั ทีใ่ ช้ คือ 50 ครั้งต่อวินาที เมอื่ ดึงแถบกระดาษที่สอดใตก้ ระดาษคาร์บอน จะทำให้เกดิ จดุ ต่าง ๆ เรยี งกันบนแถบกระดาษ จุดเหล่านี้ช่วยให้ทราบระยะทางและเวลาที่ใช้ในการเคลือ่ นที่ เพราะเวลาระหวา่ งจุด 2 จุด ที่เรียงกนั เทา่ กบั 1/50 วินาที ข้อมูลเวลาและระยะทางช่วยให้วเิ คราะหห์ าอัตราเร็วได้ 2. ผลการเรยี นรู้ 3) ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่ง การกระจัด ความเร็ว และความเรง่ ของการเคลือ่ นที่ ของวัตถุในแนวตรงท่ีมีความเร่งคงตัวจากกราฟและสมการ รวมท้ังทดลองหาค่าความเร่งโน้มถ่วงของโลก และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวขอ้ งได้ 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ (Knowledge) 1) อธิบายเกีย่ วกับเครือ่ งเคาะสัญญาณและข้อมูลท่ไี ดจ้ ากเครอื่ งเคาะสญั ญาณเวลาได้ 3.2 ดา้ นทักษะและกระบวนการ (Skill/Process) 2) มที ักษะการใช้เครอ่ื งเคาะสัญญาณเวลาเบ้อื งต้น 3) มีทักษะการทดลอง สามารถสรุป และอภิปรายผลการทดลองได้ 3.3 ด้านเจตคติ (Attitude) 4) ทำงานร่วมกับผอู้ ืน่ อยา่ งสร้างสรรค์ ยอมรับความคดิ เหน็ ของผูอ้ ่ืนได้ จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 77 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 เน้ือหาสาระหลัก : Knowledge (ผเู้ รียนตอ้ งรู้อะไร) - ปริมาณทเ่ี กย่ี วกับการเคล่ือนท่ี ได้แก่ ตำแหนง่ การกระจัด ความเร็ว และความเร่ง โดยความเร็ว และความเร่งมีทั้งค่าเฉล่ียและค่าขณะหนึ่งซ่ึงคิดในช่วงเวลาส้ัน ๆ สำหรับปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ เคลื่อนท่แี นวตรงดว้ ยความเร่งคงตัวมคี วามสมั พนั ธต์ ามสมการ v = u + at u+v ∆x = ( 2 ) t ∆x = ut + 1 at2 2 v2 = u2 + 2a∆x 4.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process (ผู้เรียนสามารถปฏบิ ัตอิ ะไรได้) - ทกั ษะการวิเคราะห์ - ทกั ษะการสงั เกต - ทักษะการส่ือสาร - ทักษะการทำงานร่วมกนั - ทกั ษะการนำความร้ไู ปใช้ 4.3 คุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ : Attitude (ผู้เรียนควรแสดงพฤติกรรมการเรยี นอะไรบ้าง) - มีวนิ ัย - ใฝเ่ รยี นรู้ - ม่งุ ม่นั ในการทำงาน - มคี วามซอื่ สตั ย์ - อยู่อย่างพอเพียง จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 78 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี นและคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มีวินยั 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรยี นรู้ 1) ทกั ษะการวเิ คราะห์ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน 2) ทกั ษะการสงั เกต 4. มีความซ่ือสัตย์ 3) ทกั ษะการสอื่ สาร 5. อยูอ่ ยา่ งพอเพียง 4) ทกั ษะการทำงานรว่ มกนั 5) ทกั ษะการนำความร้ไู ปใช้ 3. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต 6. กิจกรรมการเรียนรู้  แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนคิ : สืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชว่ั โมงที่ 1 ขน้ั นำ กระต้นุ ความสนใจ (Engage) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนความรู้เดิม เกี่ยวกับปริมาณต่าง ๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ ได้แก่ ระยะทาง การกระจดั อตั ราเร็วเฉล่ยี อัตราเรว็ ขณะหนงึ่ ความเร็วเฉล่ยี ความเร็วขณะหนึง่ • เม่ือวัตถุเคลื่อนท่ีจากท่ีหนึ่งไปยังท่ีใด ๆ ระยะตามเส้นทางการเคลื่อนที่ คือ ระยะทาง ซ่ึงเป็นปริมาณส เกลาร์ • เม่ือวัตถุทีเปล่ียนตำแหน่งจากตำแหน่งหน่ึงไปยังอีกตำแหน่งหน่ึง ระยะทางตามแนวเส้นตรง จากตำแหน่งเดิมไปยงั ตำแหน่งใหม่ เรยี กว่า การกระจดั ซึง่ เป็นปริมาณเวกเตอร์ • อัตราเร็วเฉลี่ย เป็นอัตราส่วนระหว่างระยะทางท่ีวัตถุเคล่ือนท่ีไปได้กับช่วงเวลาท่ีใช้ในการ เคล่ือนที่และเป็นปริมาณสเกลาร์ • อัตราเรว็ ขณะหน่งึ เป็นอัตราเร็วเฉลย่ี ในช่วงใดช่วงหน่ึงของการเคลอื่ นท่ี • ความเร็วเฉล่ีย เป็นอัตราส่วนระหว่างการกระจัดของวัตถุกับช่วงเวลาของการกระจัดนั้น และ เปน็ ปรมิ าณเวกเตอร์ • ความเร็วขณะหนง่ึ เปน็ ความเรว็ เฉล่ียในชว่ งเวลาสน้ั มาก ๆ และเป็นปริมาณเวกเตอร์ 2. ครูเช่ือมโยงเนื้อหาโดยนักเรียนร่วมกันตอบคำถาม Prior knowledge จากหนังสือเรียน หน้า 43 ว่า นักเรียนสามารถเห็นความเร็วของวัตถุท่ีเคลื่อนท่ีในแนวตรงได้อย่างไร โดยให้นักเรยี นร่วมกันหาคำตอบ อย่างอสิ ระ จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครูผูช้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 79 (แนวตอบ : ใชเ้ คร่ืองเคาะสัญญาณเวลาชว่ ยในการพจิ ารณา) 3. ครอู าจเสริมนักเรียนวา่ เครอ่ื งเคาะสญั ญาณเวลา เปน็ อุปกรณ์ทใี่ ช้วัดความเร็วของวตั ถุ หรอื ใชห้ าอัตราเร็ว ของวัตถทุ ่ีเคลอื่ นทใ่ี นชว่ งเวลานั้น ๆ เนื่องจากสามารถบันทึกตำแหนง่ เวลา และตำแหน่งวัตถุที่สัมพันธก์ ัน ได้ 4. ครูถามคำถามกับนักเรียนว่า เครื่องเคาะสัญญาณเวลามีการทำงานอย่างไร โดยให้คำแนะนำเก่ียวกับการ ทำงานของเครื่องเคาะสัญญาณเวลา ตามรายละเอียดในหนังสือเรียนหน้า 43 5. ครูและนักเรียนช่วยกันอภิปรายคำตอบ เพื่อเช่ือมโยงไปสู่การเรียนในเร่ือง การวิเคราะห์จุดบนแถบ กระดาษเคาะสญั ญาณเวลา ขน้ั สอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูให้นักเรียนพิจารณาลักษณะจุดบนแถบกระดาษเคาะสัญญาณเวลาในหนังสือเรียน หน้า 44 แล้วถาม คำถามว่า จดุ ทปี่ รากฏบนแถบกระดาษจากเครอื่ งเคาะสัญญาณเวลา สามารถบอกลกั ษณะการเคล่อื นท่ีได้ อย่างไร (แนวตอบ : ถา้ ระยะห่างระหวา่ งจุดเพ่ิมข้ึนเร่ือย ๆ แสดงว่าแถบกระดาษเคลือ่ นท่ีด้วยความเรง่ ถ้า ระยะห่างระหวา่ งจุดคงท่ี แสดงวา่ แถบกระดาษเคล่ือนทดี่ ว้ ยความเรว็ คงที่ ไมม่ ีความเร่ง และถา้ ระยะห่าง ระหวา่ งจดุ ลดลงเร่อื ย ๆ แสดงวา่ แถบกระดาษเคลอื่ นที่ด้วยความเรว็ ลดลง มคี วามหน่วง) 2. ครูอธบิ ายเพมิ่ เติมโดยเน้นว่า จดุ 2 จดุ ทถี่ ัดกันจะมรี ะยะเวลาหา่ งกันเทา่ ๆ กัน เท่ากบั 1 วินาที 50 3. ครูให้นักเรียนศึกษาตัวอย่างที่ 2.7 และกรอบ Physics Focus เรื่อง การหาความเรว็ จากจากเคร่ืองเคาะ สัญญาณเวลา ในหนงั สือเรยี นหน้า 45 4. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน ให้แต่ละกลุ่มศึกษา อภิปราย และคำนวณเกี่ยวอัตราเร็ว เฉลย่ี และอัตราเร็วขณะใดขณะหนง่ึ 5. ให้ผู้แทนแต่ละกลุ่มออกมาสรุปความรู้เก่ียวกับการคำนวณวิธีการหาค่าอัตราเร็วเฉล่ีย จากนั้นครูและ นักเรียนร่วมกันสรุปแต่ละขั้นตอนของการคำนวณ เพ่ือให้นักเรียนสามารถสรุปสาระสำคัญลงในสมุดจด บันทึก 6. ครูให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดจาก Unit Question 2 ข้อ 20. ในหนังสือเรียนหน้า 82 เพื่อเป็นการ ตรวจสอบความเขา้ ใจของนกั เรียน จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 80 ชั่วโมงที่ 2 ขน้ั สอน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูให้นักเรียนกลุ่มเดิม ทำกิจกรรม เร่ือง การวัดอัตราเร็วโดยใช้เครื่องเคาะสัญญาณเวลา จากหนังสือ เรียนหน้า 46 เพื่อหาอัตราเร็วเฉลี่ย และอัตราเร็วขณะหนึ่ง พร้อมให้ข้อแนะนำก่อนการทำกิจกรรม กับนักเรียน 2. ครูอธิบายวิธีใช้เคร่ืองเคาะสัญญาณเวลา พร้อมท้ังอธิบายการทำงานว่าเคร่ืองเคาะสัญญาณเวลาจะเคาะ 50 คร้ัง ในเวลา 1 วินาที กล่าวคือถ้าดึงแถบกระดาษผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลา คันเคาะจะเคาะบน กระดาษคาร์บอนท่ีอยูบ่ นแถบกระดาษ ทำให้เกิดจุดบนแถบกระดาษ 50 จุด ในเวลา 1 วนิ าที หรอื เวลาท่ี ใชจ้ ากจดุ หน่ึงไปยังอีกจดุ หน่ึงทอี่ ยู่ถดั กันจะเทา่ กับ 1 วนิ าที 50 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มทำการทดลองหาอัตราเร็วเฉลี่ย และอัตราเร็วขณะหน่ึง โดยใช้เคร่ืองเคาะ สัญญาณเวลา (หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมนิ นักเรียน โดยใช้แบบสงั เกตการณท์ ำงานกล่มุ ) 4. นักเรียนจดั เตรียมอุปกรณแ์ ละทำการทดลองตามวิธีทำการทดลอง 5. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกนั วิเคราะห์ อธิบายผล และสรุปผลการทดลอง แล้วนำผลการทดลองมานำเสนอ หน้าช้นั เรียน โดยครชู ่วยอธบิ ายเพมิ่ เติมเพ่ือให้ไดข้ อ้ สรปุ ท่ถี กู ตอ้ ง ขน้ั สรปุ ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครใู ห้ความรู้เพม่ิ เตมิ โดยการอธบิ ายเกีย่ วกับความเรว็ เฉลย่ี และอตั ราเร็วเฉลยี่ 2. ครูเปิดโอกาสใหน้ ักเรียนสอบถามจากกิจกรรมการทดลอง ว่ามีส่วนไหนทย่ี ังไมเ่ ข้าใจและให้ความรเู้ พิ่มเติม ในสว่ นน้ัน โดยทคี่ รูอาจจะใช้ PowerPoint เรอื่ ง เครื่องเคาะสัญญาณเวลา ชว่ ยในการอธบิ าย 3. ครูให้นกั เรยี นทำใบงานท่ี 2.3 เรอ่ื ง เคร่อื งเคาะสญั ญาณเวลา 4. ครใู หน้ กั เรยี นทำ Unit Question 2 สง่ เป็นการบา้ นในชว่ั โมงถัดไป ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูประเมนิ ผล โดยการสังเกตการตอบคำถาม การร่วมกนั ทำผลงาน และจากการนำเสนอผลงาน 2. ครวู ัดและประเมินการปฏบิ ตั ิการ จากการทำใบงานที่ 2.3 เรอื่ ง เคร่อื งเคาะสญั ญาณเวลา 3. ครตู รวจสอบผลการทำกจิ กรรม เรือ่ ง การวัดอตั ราเรว็ โดยใช้เครอื่ งเคาะสัญญาณเวลา จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 81 7. การวัดและประเมนิ ผล รายการวดั วิธีวัด เคร่อื งมือ เกณฑ์การประเมิน - ใบงานที่ 2.3 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 7.1 การประเมินระหว่าง การจัดกจิ กรรม 1) เครอ่ื งเคาะ - ตรวจใบงานที่ 2.3 สัญญาณเวลา 2) การนำเสนอ - ประเมินการนำเสนอ - ผลงานท่นี ำเสนอ ระดับคณุ ภาพ 2 ผลงาน ผลงาน ผา่ นเกณฑ์ - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดบั คณุ ภาพ 2 3) พฤติกรรมการ การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบคุ คล ผา่ นเกณฑ์ ทำงานรายบุคคล - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2 การทำงานกลุ่ม การทำงานกล่มุ ผา่ นเกณฑ์ 4) พฤตกิ รรมการ - สงั เกตความมวี นิ ยั - แบบประเมนิ ระดับคณุ ภาพ 2 ทำงานกลมุ่ ใฝ่เรยี นรู้ และมงุ่ มนั่ คณุ ลักษณะ ผา่ นเกณฑ์ ในการทำงาน อันพงึ ประสงค์ 5) คุณลกั ษณะ อันพงึ ประสงค์ 8. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้ 8.1 สอ่ื การเรยี นรู้ 1) หนังสือเรยี น รายวชิ าเพิ่มเติม ฟิสิกส์ ม.4 เลม่ 1 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 การเคล่อื นทใ่ี นแนวตรง 2) ใบงานท่ี 2.3 เร่ือง เครื่องเคาะสัญญาณเวลา 3) ชุดการทดลองเคร่อื งเคาะสัญญาณเวลา 4) PowerPoint เรอื่ ง เครอ่ื งเคาะสัญญาณเวลา 8.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1) หอ้ งเรียน 2) หอ้ งสมดุ 3) แหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ เช่น การเคล่อื นที่หนึ่งมิติ http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/73/one-dimension-motion.htm สืบค้นวนั ท่ี 20 มกราคม 2561 จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 82 9. การบูรณาการตามจดุ เน้นของโรงเรียน : ความหลากหลายทางชวี ภาพ หลักปรชั ญา ครู ผู้เรียน ของเศรษฐกิจพอเพยี ง 1. ความพอประมาณ พอดดี ้านเทคโนโลยี พอดดี า้ นจิตใจ รจู้ กั ใชเ้ ทคโนโลยีมาผลิตสอื่ ที่ มจี ิตสำนกึ ทดี่ ี จติ สาธารณะร่วม 2. ความมีเหตผุ ล อนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ เหมาะสมและสอดคลอ้ งเน้อื หาเปน็ สงิ่ แวดล้อม ประโยชนต์ ่อผูเ้ รียนและพฒั นาจากภมู ิ ปญั ญาของผเู้ รียน ไมห่ ยดุ น่ิงท่หี าหนทางในชวี ติ หลุดพน้ - ยดึ ถือการประกอบอาชพี ดว้ ยความ จากความทกุ ขย์ าก (การค้นหาคำตอบ ถกู ต้อง สุจริต เพอ่ื ให้หลดุ พน้ จากความไม่รู)้ ภมู ปิ ัญญา : มีความรู้ รอบคอบ 3. มภี ูมิคมุ กันในตวั ทด่ี ี ภูมิปญั ญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ รบั ผดิ ชอบ ระมดั ระวัง สร้างสรรค์ ระมัดระวงั ความรอบรู้ เรอ่ื ง เครอ่ื งเคาะ สญั ญาณเวลา สามารถนำความรู้ 4. เงอื่ นไขความรู้ ความรอบรู้ เร่อื ง เครอ่ื งเคาะ เหล่านั้นมาพจิ ารณาใหเ้ กิดความ เช่ือมโยง สามารถประยกุ ต์ สัญญาณเวลา ทเ่ี กีย่ วข้องรอบด้าน ใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้ มคี วามตระหนกั ใน คณุ ธรรม มีความ นำความรมู้ าเชอ่ื มโยงประกอบการ ซ่ือสัตย์สุจรติ และมคี วามอดทน มี ความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนิน วางแผน การดำเนินการจดั กิจกรรม ชีวติ การเรียนรูใ้ หก้ บั ผ้เู รียน ผูเ้ รียน ความหลากหลายทางชีวภาพ 5. เงอ่ื นไขคณุ ธรรม มีความตระหนักใน คณุ ธรรม มี - สำรวจความหลากหลายทางชวี ภาพ ในโรงเรียน (ตามจุดท่ีได้รับมอบหมาย) ความซ่อื สัตย์สุจรติ และมีความอดทน ผู้เรยี น มคี วามเพียร ใช้สติปัญญาในการ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สืบค้นขอ้ มูลการอนรุ ักษค์ วาม ดำเนนิ ชีวิต หลากหลายทางชีวภาพ (ตามหัวข้อท่ี ไดม้ อบหมาย) สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ครู ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - ความหลากหลายทางชีวภาพ - สำรวจความหลากหลายทาง ชวี ภาพในโรงเรยี น (กำหนดจุดให้ ผเู้ รียนสำรวจ) ส่งิ แวดลอ้ ม ครู ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - การอนรุ กั ษค์ วามหลากหลาย - การอนุรกั ษค์ วามหลากหลายทาง ทางชวี ภาพ ชวี ภาพ (กำหนดหวั ขอ้ ให้ผเู้ รียน สืบค้น) จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4 83 10. ความเห็น/ขอ้ เสนอแนะ ของผู้บรหิ ารสถานศึกษาหรือผ้ทู ี่ได้รบั มอบหมาย 10.1 หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………. (นางกมลชนก เทพบุ) ………./……………./…………. 10.2 ผู้ชว่ ยผ้อู ำนวยการฝา่ ยบริหารวชิ าการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นางสาวรตั ติกาล ยศสุข) ………./……………./…………. 10.3 ผู้อำนวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ…………………………………………. (นางวลิ าวลั ย์ ปาลี) ………./……………./…………. จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครูผ้ชู ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 84 11. บันทึกผลหลังการสอน  ดา้ นความรู้  ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน  ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์  ดา้ นความสามารถทางวิทยาศาสตร์  ดา้ นอ่ืน ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤติกรรมทม่ี ีปญั หาของนกั เรียนเป็นรายบคุ คล (ถา้ มี))  ปัญหา/อุปสรรค  แนวทางการแก้ไข ลงชอ่ื .........................................................ครูผู้สอน (นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา) ตำแหน่ง ครูผูช้ ว่ ย จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ูช้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 85 ใบงานท่ี 2.3 เร่อื ง เคร่อื งเคาะสญั ญาณเวลา คำชีแ้ จง : ใหน้ กั เรยี นตอบคำถามต่อไปน้ี 1. ระยะห่างระหว่างจุดบนแถบกระดาษต่างกนั อย่างไร เมื่อวัตถดุ ึงแถบกระดาษช้า ๆ กับเมื่อวัตถุดึงแถบกระดาษเร็ว ๆ 2. ระยะหา่ งระหว่างจดุ บนแถบกระดาษต่างกนั อย่างไร เม่อื เปรยี บเทยี บการดงึ แถบกระดาษด้วยอตั ราเร็วสม่ำเสมอ กบั อตั ราเร็วไม่สม่ำเสมอ 3. เวลาท่วี ัตถใุ ช้เคลอ่ื นท่ีทำใหป้ รากฏจุดแต่ละชว่ งจุดเท่ากนั หรอื ไม่ เพราะเหตุใด 4. จากรูป แสดงแถบกระดาษท่ไี ด้จากการทดลองดึงผ่านเครอื่ งเคาะสญั ญาณเวลาเคาะ 50 ครั้ง ต่อ 1 วินาที จงหา ความเรว็ เฉลย่ี ของแถบกระดาษในชว่ ง AD และช่วง จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครูผูช้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 4 86 ใบงานท่ี 2.3 เฉลย เร่อื ง เครือ่ งเคาะสญั ญาณเวลา คำช้แี จง : ใหน้ ักเรยี นตอบคำถามตอ่ ไปนี้ 1. การดงึ แถบกระดาษช้า ๆ กับการดึงแถบกระดาษเร็ว ๆ ระยะห่างระหว่างจุดบนแถบกระดาษต่างกันอยา่ งไร ถา้ ดงึ แถบกระดาษช้า ๆ จุดท่ีปรากฏบนแถบกระดาษจะอยู่ชิด ๆ กัน แตถ่ ้าดึงแถบกระดาษเร็ว ๆ จุดที่ ปรากฏบนแถบกระดาษจะอย่หู า่ ง ๆ กัน 2. เม่อื เปรยี บเทยี บการดงึ แถบกระดาษด้วยอัตราเร็วสม่ำเสมอ กับอตั ราเรว็ ไม่สม่ำเสมอ ระยะหา่ งระหวา่ งจดุ บน แถบกระดาษต่างกนั อย่างไร ถา้ ดงึ แถบกระดาษด้วยอตั ราเรว็ สม่ำเสมอ จุดท่ีปรากฏบนแถบกระดาษหา่ งจากกันเท่ากัน แต่ถา้ ดึงแถบ กระดาษด้วยอตั ราเรว็ ไมส่ ม่ำเสมอ จดุ ทีป่ รากฏบนแถบกระดาษห่างจากกนั ไมเ่ ทา่ กัน 3. เวลาทีว่ ัตถุใช้เคลื่อนที่ทำให้ปรากฏจดุ แต่ละช่วงจุดเท่ากันหรือไม่ เพราะเหตใุ ด เวลาทว่ี ัตถใุ ช้เคลื่อนที่ทาใหป้ รากฏจุดแต่ละช่วงจุดเท่ากัน เพราะเคร่ืองเคาะสัญญาณเวลาเคาะดว้ ยความถี่ 50 ครงั้ ใน 1 วนิ าที นั่นคือ แต่ละช่วงจุดใช้เวลา 1/50 วนิ าที 4. จากรปู แสดงแถบกระดาษทีไ่ ดจ้ ากการทดลองดงึ ผา่ นเครอื่ งเคาะสัญญาณเวลาเคาะ 50 คร้ัง ต่อ 1 วินาที จงหา ความเรว็ เฉลยี่ ของแถบกระดาษในชว่ ง AD และช่วง BC วิธีทำ อตั ราเรว็ เฉลย่ี ในชว่ ง AD = ระยะทาง เวลา = 8.2×10−2 10/50 = 0.41 m/s อตั ราเรว็ เฉลี่ยในช่วง BC = ระยะทาง เวลา = 3.6×10−2 3/50 = 0.6 m/s ดงั นนั้ อัตราเร็วเฉล่ียในช่วง AD มีค่า 0.41 เมตรตอ่ วนิ าที และอัตราเร็วเฉล่ียในชว่ ง BC มีค่า 0.6 เมตรต่อวินาที จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ้ชู ว่ ย กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 16 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 3 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรยี นที่ 1/2563 กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า ฟิสิกส์ 1 (ว31201) หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 การเคลื่อนทใ่ี นแนวตรง เร่อื ง ความเรง่ จำนวนเวลาทีส่ อน 3 ชั่วโมง ครูผ้สู อน นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา 1. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด (ความเขา้ ใจทค่ี งทน) การเคลื่อนที่ของวัตถุใด ๆ มีการเคลื่อนที่เร็วขึ้นหรือช้าลง และบางครั้งมีการเปลี่ยนแปลงทิศทางการ เคล่อื นที่ การเคลอื่ นท่ที ม่ี ีขนาดหรือทิศทางของความเรว็ เปล่ียนแปลงไป เรียกวา่ การเคลือ่ นท่ีแบบมคี วามเรง่ ความเร่ง เป็นความเร็วที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหน่วยเวลา หรืออัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็ว ซึ่งเป็นปริมาณ เวกเตอร์ แต่ถา้ ถา้ หากพิจารณาเฉพาะขนาดของความเร่ง โดยไมค่ ำนึงถงึ ทศิ ทางของการเคลอ่ื นทแี่ ลว้ จะเรยี กว่า อตั ราเรง่ ซึ่งเป็นปรมิ าณสเกลาร์ ความเร่งเฉลี่ย เป็นอัตราส่วนระหว่างความเร็วที่เปลี่ยนไปทั้งหมด กับช่วงเวลาที่เกิดการเปลี่ยนแปลง ความเร็วน้ัน 2. ผลการเรยี นรู้ 3. ทดลองและอธบิ ายความสมั พันธ์ระหวา่ งตำแหน่ง การกระจดั ความเรว็ และความเร่งของการเคล่ือนท่ี ของวัตถใุ นแนวตรงที่มีความเรง่ คงตวั จากกราฟและสมการ รวมท้ังทดลองหาค่าความเรง่ โนม้ ถว่ งของโลก และ คำนวณปริมาณตา่ ง ๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งได้ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ (Knowledge) 1) อธิบายเกย่ี วกับความเร่งได้ 3.2 ด้านทักษะและกระบวนการ (Skill/Process) 2) มที กั ษะการคำนวณหาความเรง่ และปรมิ าณที่เกีย่ วข้องกับการเคล่อื นท่ไี ด้ 3.3 ดา้ นเจตคติ (Attitude) 3) ทำงานร่วมกบั ผู้อนื่ อยา่ งสร้างสรรค์ ยอมรับความคิดเห็นของผ้อู ืน่ ได้ จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 17 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 เน้ือหาสาระหลัก : Knowledge (ผ้เู รยี นตอ้ งรู้อะไร) - ปริมาณที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ ได้แก่ ตำแหน่ง การกระจัด ความเร็ว และความเร่ง โดยความเรว็ และความเร่งมีทั้งค่าเฉลี่ยและค่าขณะหนึ่งซึ่งคิดในช่วงเวลาสั้น ๆ สำหรับปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ เคลือ่ นที่แนวตรงดว้ ยความเร่งคงตวั มคี วามสัมพันธ์ตามสมการ v = u + at u+v ∆x = ( 2 ) t ∆x = ut + 1 at2 2 v2 = u2 + 2a∆x - การอธบิ ายการเคลอื่ นท่ขี องวัตถุสามารถเขียนอยใู่ นรปู กราฟตำแหนง่ กบั เวลา กราฟความเรว็ กบั เวลา หรอื กราฟความเรง่ กับเวลา ความชันของเสน้ กราฟตำแหนง่ กบั เวลาเปน็ ความเร็ว ความชนั ของ - การอธบิ ายการเคลื่อนทขี่ องวตั ถุสามารถเขียนอยใู่ นรปู กราฟตำแหนง่ กบั เวลา กราฟความเร็วกับเวลา หรอื กราฟความเร่งกับเวลา ความชันของเส้นกราฟตำแหน่งกบั เวลาเปน็ ความเร็ว ความชันของเสน้ กราฟความเรว็ กับ เวลาเปน็ ความเรง่ และพน้ื ท่ีใตเ้ สน้ กราฟความเร็วกับเวลาเปน็ การกระจัด ในกรณีท่ผี ู้สังเกตมีความเร็ว ความเรว็ ของวตั ถุ ท่ีสังเกตไดเ้ ปน็ ความเรว็ ที่เทียบกับผสู้ ังเกต 4.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (ผเู้ รียนสามารถปฏบิ ตั ิอะไรได)้ - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะการสังเกต - ทักษะการสือ่ สาร - ทกั ษะการทำงานรว่ มกัน - ทักษะการนำความรู้ไปใช้ 4.3 คณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ : Attitude (ผเู้ รยี นควรแสดงพฤตกิ รรมการเรยี นอะไรบา้ ง) - มีวนิ ัย - ใฝ่เรยี นรู้ - ม่งุ มั่นในการทำงาน - อยู่อย่างพอเพียง จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 4 18 5. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียนและคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 1. มีวินยั 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรียนรู้ 1) ทกั ษะการวเิ คราะห์ 3. มุ่งมน่ั ในการทำงาน 2) ทกั ษะการสงั เกต 4. มคี วามซอื่ สตั ย์ 3) ทักษะการส่ือสาร 4) ทักษะการทำงานรว่ มกัน 5) ทกั ษะการนำความรูไ้ ปใช้ 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต 6. กิจกรรมการเรียนรู้  แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชว่ั โมงท่ี 1 ขน้ั นำ กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูและนักเรียนรว่ มกันทบทวนความรูเ้ ดิม เกี่ยวกับ เรื่อง ระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว และความเรว็ เพื่อเชื่อมโยงความคิดนักเรยี นสู่เนื้อหาโดยให้นักเรียนร่วมกันสนทนา เกี่ยวกับ การเคลื่อนที่ว่ามีปริมาณ ใดบ้าง ที่เป็นปริมาณสเกลาร์และปริมาณเวกเตอร์ (ทิ้งช่วงให้นักเรียนคิด) เพื่อเปน็ ความรู้พื้นฐานนำไปสู่ การศกึ ษา เร่อื ง ความเร่ง 2. ครสู นทนากับนักเรียนถงึ เรือ่ งการเคลอื่ นทตี่ ่าง ๆ โดยซักถามนักเรยี นในประเด็นตอ่ ไปนี้ • การทรี่ ถยนต์แลน่ ใช้ความเร็วเทา่ กัน หรือไม่ • การข่รี ถจักรยานของนักเรียนใช้ความเร็วเทา่ กัน หรือไม่ 3. ครูถามคำถาม Prior Knowledge จากหนงั สือเรียนหนา้ 47 วา่ “นกั เรยี นรู้ได้อยา่ งไรวา่ วัตถเุ คลอื่ นทีแ่ บบ มคี วามเร่ง” เพ่ือเปน็ การกระต้นุ ให้นกั เรยี นร่วมกนั คิด (แนวตอบ : ความเรว็ ของวตั ถกุ ารเปล่ยี นแปลงไป ซ่ึงความเรง่ อาจมีคา่ เป็นบวกหรือลบก็ได้) 4. นักเรยี นช่วยกนั อภปิ รายและแสดงความคดิ เหน็ คำตอบจากคำถาม 5. ครอู าจจะยกตวั อย่างการเคล่อื นท่ีทีม่ ีความเร่ง แลว้ อธิบายว่าการเคลื่อนทนี่ ้นั เปน็ อยา่ งไร อะไรบ่งบอกว่า การเคลื่อนที่นั้น ๆ มีความเร่ง เช่น นักวิ่งเพิ่มความเร็วในการวิง่ เพ่ือแซงคู่แข่งขัน ซึ่งทำให้เกิดความเรง่ เปน็ ตน้ จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 19 ขน้ั สอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครูให้ความร้เู กีย่ วกับความหมายของความเรง่ เพอ่ื ให้นกั เรยี นเขา้ ใจมากขึ้นว่า ในการเคลื่อนท่ีของวตั ถุ บาง ช่วงเวลาขนาดของความเร็วและทิศทางการเคล่อื นท่ขี องวตั ถุไมเ่ ปลย่ี นแปลง ซึ่งกล่าวได้ว่าวตั ถุมคี วามเรว็ คงตัว แต่ถา้ ขนาดของความเร็วเปล่ยี น หรือทศิ การเคล่อื นท่เี ปลี่ยน หรือเปลี่ยนท้ังขนาดของความเร็ว และ ทศิ การเคลื่อนที่ เราเรยี กว่าวัตถุมี “ความเร่ง” เช่น รถท่เี ลย้ี วโคง้ ดว้ ยขนาดของความเรว็ คงตวั กถ็ อื วา่ รถมี ความเร่ง เพราะทิศการเคลื่อนทขี่ องรถเปลย่ี นแปลงตลอดเวลา 2. ครูนำเสนอวิธกี ารคำนวณหาค่าความเร่งจากสมการความเรง่ (ในหนงั สือเรยี น หนา้ 47) ในความหมาย ของอัตราส่วนระหวา่ งความเร็วท่ีเปล่ียนไปกับช่วงเวลาหนง่ึ 3. ครใู ห้ความร้เู กยี่ วกบั การเขียนกราฟความสัมพันธ์ของความเรว็ กับเวลาของการเคลื่อนทีข่ องวตั ถุแนวตรง พรอ้ มทัง้ รว่ มอภปิ รายกับนักเรียนให้ได้ขอ้ สรุปดงั น้ี • ถา้ ความเร็วคงท่ี ลักษณะของกราฟระหว่างความเรว็ กบั เวลาเป็นเสน้ ตรงขนานกบั แกนเวลา โดยมี ความชันเป็นศูนย์ • ถา้ วตั ถเุ คลือ่ นที่ดว้ ยความเร็วท่ีเปลีย่ นแปลงสม่ำเสมอ ลักษณะของกราฟระหว่างความเร็วกับเวลา เป็นเส้นตรงมคี วามชันคา่ หนึ่ง 4. ครูให้นกั เรียนพจิ ารณาความหมายของความเรง่ กับความหน่วง จากรายละเอยี ดในหนังสือเรียนหน้า 48 โดยพจิ ารณาสถานการณก์ ารเกดิ ความเร่งและความหนว่ งของรถจกั รยานยนต์ 5. ครแู ละนกั เรียนร่วมกันอภปิ ราย สรุปได้ว่า รถจักรยานยนต์เคล่ือนท่ีเป็นเส้นตรงมกี ารเคลือ่ นท่ี 2 แบบ คอื • แบบแรก รถจักรยานยนต์มีความเร็วเพม่ิ ข้ึน เรียกว่า รถมคี วามเรง่ • แบบสอง รถจักรยานยนตม์ คี วามเรว็ ลดลง เรยี กวา่ รถมีความหนว่ ง ชั่วโมงที่ 2 ขน้ั สอน สำรวจค้นหา (Explore) 6. ครถู ามนกั เรียนว่าความเรง่ และความหนว่ งมที ิศทางอย่างไร 7. ให้นกั เรยี นแบง่ กลุ่มกลุ่มละ 4 – 5 คน แลว้ ช่วยกันเขยี นแผนภาพเวกเตอรแ์ สดงทศิ ทางการเปลย่ี นความเร็ว ลงในกระดาษ A4 (หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมนิ นกั เรียน โดยใชแ้ บบสังเกตการณ์ทำงานกลมุ่ ) 8. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ นำแผนภาพและคำตอบทค่ี ิดได้ มารว่ มกันอภิปรายภายในกลมุ่ ตรวจสอบและรวบรวม ข้อมูล และทกุ คนต้องทำความเข้าใจให้ตรงกัน จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ูช้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 20 9. ครูสุม่ ตวั แทนของนักเรยี นแตล่ ะกลุม่ เพอื่ นำเสนอแผนภาพท่แี ต่ละกลมุ่ ได้ไปสรุปเปน็ แผนท่ีความคิด 10. ครูสอบถามข้อสรุปของแต่ละกลุ่ม โดยครูตรวจสอบข้อมูลจากการนำเสนอเพื่อความถูกต้อง แล้วสรุป ดงั นี้ • ถ้า V2 มากกวา่ V1 แสดงว่าความเรง่ (a) เป็น + (V2 – V1 > 0) ซงึ่ หมายถงึ a มีทศิ เดยี วกับทิศการ เคลื่อนทีข่ องวัตถซุ ึ่งมีความเร็วเพิม่ ขึน้ • ถ้า V2 น้อยกว่า V1 แสดงว่าความเร่ง (a) เป็น – (V2 – V1 < 0) ซึ่งหมายถึง a มีทิศตรงข้ามกับทิศ การเคลือ่ นทีข่ องวตั ถุ ในกรณีนีว้ ตั ถุจะเคลือ่ นท่ชี ้าลง 11. จากนั้นครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกัน ศึกษาการหาความเร่งเฉลี่ยและความเร่งขณะหนึ่งของวัตถจุ าก เครือ่ งเคาะสัญญาณเวลา จากหนงั สือเรียนหน้า 49 12. ครูเชื่อมโยงการหาอัตราเร็วของแถบกระดาษจากเครื่องเคาะสัญญาณ ซึ่งหากดึงแถบกระดาษด้วย อัตราเร็วที่ต่างกันจะพบว่า บางครั้งกระดาษเคล่ือนท่ีด้วยความเร็วท่ีสม่ำเสมอและไม่สม่ำเสมอ ลักษณะ ของการเคล่ือนที่ท่ีมีการเปลี่ยนแปลงความเร็วและทิศทาง เรียกว่า การเคลื่อนที่แบบมีความเร่ง 13. ครูอธิบายเพิม่ เติมเก่ียวกับวิธีการหาอัตราเร็วเฉลีย่ จากแถบกระดาษเครื่องเคาะสัญญาณเวลา รวมทั้ง การแปลความหมายจุดบนกระดาษ โดยการนำแถบกระดาษท่ีปรากฏจุดแตกต่างกัน มาให้นักเรียนสังเกต และรว่ มกันสรุปผล ช่วั โมงท่ี 3 ขน้ั สอน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูให้นักเรยี นร่วมกันศึกษาโจทย์ตัวอยา่ งของวิธีการคำนวณความเร่งเฉลีย่ จากตวั อย่างที่ 2.8 ในหนังสือ เรียนหน้า 50 โดยครอู ธบิ ายเสรมิ เพอ่ื ให้นกั เรยี นเข้าใจมากขน้ึ 2. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศกึ ษาตัวอย่างที่ 2.9 และ 2.10 ในหนังสือเรียนหน้า 51-52 ตามขั้นตอนการแก้ โจทย์ปญั หา ดังน้ี • ขน้ั ท่ี 1 ครใู ห้นักเรียนทกุ คนทำความเขา้ ใจโจทยต์ วั อยา่ ง • ขั้นที่ 2 ครถู ามนักเรยี นว่า ส่งิ ที่โจทยต์ ้องการถามหาคืออะไร และจะหาสง่ิ ท่ีโจทย์ต้องการ ต้องทำ อยา่ งไร • ขน้ั ท่ี 3 ครูใหน้ ักเรยี นดวู ธิ ที ำในการคำนวณหาคำตอบ • ข้ันท่ี 4 ตรวจสอบคำตอบของโจทย์ตัวอยา่ งวา่ ถกู ต้อง หรอื ไม่ 3. นกั เรียนและครูรว่ มกันอภิปรายเกี่ยวกบั วธิ ีการคำนวณความเรง่ เพือ่ ใหน้ ักเรียนสรุปสาระสำคัญลงในสมุด จดบนั ทึก จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 4 21 ขน้ั สรุป ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครนู ำนักเรียนอภปิ รายและสรปุ เก่ียวกบั ความเรง่ ดังนี้ • ในชวี ิตประจำวนั ของนักเรียนได้เกยี่ วขอ้ งกับอัตราเรว็ หรือความเร็ว ด้านใดบา้ ง • ความเร่งกบั ความหนว่ งแตกตา่ งกันอย่างไร 2. ครเู ปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนสอบถามเน้อื หาเรื่อง ความเรง่ ว่ามสี ว่ นไหนที่ยังไม่เข้าใจและใหค้ วามร้เู พิ่มเติมใน ส่วนนนั้ โดยทคี่ รอู าจจะใช้ PowerPoint เรอื่ ง ความเรง่ ช่วยในการอธบิ าย 3. ครูใหน้ ักเรยี นรว่ มกันทำใบงานที่ 2.4 เร่ือง ความเรง่ 4. ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละคนทำแบบฝึกหัดจาก Unit Question 2 ข้อ 15–19 ในหนังสือเรียนหนา้ 81-82 เปน็ การบา้ น ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูประเมินการนำเสนอข้อมูลเก่ียวกับแผนภาพเวกเตอรแ์ สดงทิศทางการเปลี่ยนความเรว็ 2. ครสู งั เกตการตอบคำถามของนักเรยี น 3. ครตู รวจสอบผลจากใบงานท่ี 2.4 เรือ่ ง ความเรง่ 4. ครูตรวจการทำแบบฝึกหัดจาก Unit Question 2 5. ครูประเมนิ ผลงานจากแผนภาพเวกเตอร์ท่นี กั เรยี นได้สร้างขนึ้ จากขน้ั สำรวจคน้ หา จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 22 7. การวัดและประเมนิ ผล วิธวี ดั เครอ่ื งมือ เกณฑก์ ารประเมิน รายการวัด - ตรวจใบงานที่ 2.4 - ใบงานท่ี 2.4 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 7.1 การประเมินระหว่าง การจดั กจิ กรรม 1) ความเร่ง 2) แผนภาพเวกเตอร์ - ประเมินการนำเสนอ - ผลงานที่นำเสนอ ระดับคณุ ภาพ 2 ผลงาน ผา่ นเกณฑ์ - ผลงานทน่ี ำเสนอ ระดับคณุ ภาพ 2 3) การนำเสนอ - ประเมินการนำเสนอ ผา่ นเกณฑ์ ผลงาน ผลงาน - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคณุ ภาพ 2 การทำงานรายบคุ คล ผา่ นเกณฑ์ 4) พฤตกิ รรมการ - สังเกตพฤติกรรม ทำงานรายบุคคล การทำงานรายบคุ คล 5) พฤติกรรมการ - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดับคณุ ภาพ 2 ทำงานกลุม่ การทำงานกล่มุ การทำงานกล่มุ ผา่ นเกณฑ์ - สังเกตความมีวนิ ัย - แบบประเมิน ระดับคณุ ภาพ 2 6) คณุ ลกั ษณะ ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น คุณลกั ษณะ ผา่ นเกณฑ์ อนั พงึ ประสงค์ ในการทำงาน อันพึงประสงค์ 8. ส่ือ/แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 สอื่ การเรียนรู้ 1) หนังสอื เรยี น รายวิชาเพ่มิ เติม ฟสิ กิ ส์ ม.4 เล่ม 1 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 การเคลื่อนท่ีในแนวตรง 2) ใบงานท่ี 2.4 เรอ่ื ง ความเรง่ 3) ชุดการทดลองเคร่อื งเคาะสัญญาณเวลา 4) PowerPoint เรอ่ื ง ความเรง่ 8.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1) ห้องเรียน 2) ห้องสมุด 3) แหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 23 9. การบูรณาการตามจุดเนน้ ของโรงเรียน : ความหลากหลายทางชวี ภาพ หลักปรัชญา ครู ผ้เู รียน ของเศรษฐกจิ พอเพียง 1. ความพอประมาณ พอดีด้านเทคโนโลยี พอดดี า้ นจติ ใจ รู้จกั ใช้เทคโนโลยมี าผลติ สือ่ ที่ มีจิตสำนกึ ท่ีดี จิตสาธารณะรว่ ม เหมาะสมและสอดคล้องเนื้อหาเป็น อนรุ ักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ ประโยชนต์ ่อผเู้ รียนและพัฒนาจากภูมิ ส่งิ แวดลอ้ ม ปัญญาของผ้เู รยี น 2. ความมเี หตผุ ล - ยึดถอื การประกอบอาชพี ดว้ ยความ ไมห่ ยุดนง่ิ ทีห่ าหนทางในชวี ติ หลุดพ้น ถกู ตอ้ ง สุจรติ จากความทุกขย์ าก (การคน้ หาคำตอบ เพ่ือให้หลดุ พ้นจากความไมร่ )ู้ 3. มีภมู ิคมุ กันในตัวท่ีดี ภูมิปัญญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ ภมู ิปญั ญา : มคี วามรู้ รอบคอบ ระมดั ระวงั รับผดิ ชอบ ระมัดระวัง สรา้ งสรรค์ 4. เงอ่ื นไขความรู้ ความรอบรู้ เรื่อง ความเร่ง ที่ ความรอบรู้ เรื่อง ความเร่ง เกีย่ วข้องรอบดา้ น นำความร้มู า สามารถนำความรู้เหล่าน้นั มาพิจารณา เชอ่ื มโยงประกอบการวางแผน การ ให้เกิดความเช่ือมโยง สามารถ ดำเนินการจดั กิจกรรมการเรยี นรูใ้ ห้กบั ประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจำวันได้ ผู้เรยี น 5. เงือ่ นไขคณุ ธรรม มคี วามตระหนักใน คุณธรรม มี มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความ ความซ่อื สัตย์สุจรติ และมคี วามอดทน ซือ่ สตั ยส์ จุ ริตและมคี วามอดทน มี มคี วามเพียร ใช้สติปัญญาในการ ความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนิน ดำเนินชวี ติ ชีวติ สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ครู ผเู้ รยี น ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - ความหลากหลายทางชวี ภาพ - สำรวจความหลากหลายทาง - สำรวจความหลากหลายทางชีวภาพ ชวี ภาพในโรงเรยี น (กำหนดจุดให้ ในโรงเรียน (ตามจดุ ทีไ่ ด้รบั มอบหมาย) ผูเ้ รยี นสำรวจ) ส่ิงแวดลอ้ ม ครู ผเู้ รยี น ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - การอนุรักษค์ วามหลากหลาย - การอนุรักษค์ วามหลากหลายทาง - สืบค้นขอ้ มลู การอนุรกั ษค์ วาม ทางชวี ภาพ ชวี ภาพ (กำหนดหวั ข้อใหผ้ เู้ รียน หลากหลายทางชีวภาพ (ตามหัวขอ้ ที่ สบื ค้น) ไดม้ อบหมาย) จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 24 10. ความเหน็ /ข้อเสนอแนะ ของผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาหรอื ผู้ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย 10.1 หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………. (นางกมลชนก เทพบุ) ………./……………./…………. 10.2 ผชู้ ่วยผู้อำนวยการฝ่ายบรหิ ารวิชาการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื …………………………………………. (นางสาวรัตตกิ าล ยศสขุ ) ………./……………./…………. 10.3 ผู้อำนวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………. (นางวิลาวลั ย์ ปาลี) ………./……………./…………. จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 25 11. บันทึกผลหลังการสอน  ดา้ นความรู้  ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน  ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์  ดา้ นความสามารถทางวิทยาศาสตร์  ดา้ นอ่ืน ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤตกิ รรมท่มี ีปัญหาของนักเรียนเปน็ รายบุคคล (ถา้ ม)ี )  ปัญหา/อุปสรรค  แนวทางการแก้ไข ลงชอ่ื .........................................................ครูผสู้ อน (นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา) ตำแหน่ง ครูผชู้ ่วย จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 26 ใบงานที่ 2.4 เรอื่ ง ความเร่ง คำชแี้ จง : ให้นกั เรียนตอบคำถามตอ่ ไปน้ี กราฟระหวา่ งความเรว็ (v⃑ ) กบั เวลา (t) ของวัตถุที่เคลอื่ นท่ีเป็นเส้นตรงดงั รูป จงหา 1. ระยะทางที่เคลื่อนที่ทั้งหมด 2. การกระจดั ท่ีไดท้ งั้ หมด (x⃑ ) 3. อตั ราเร็วเฉลี่ยของการเคล่อื นทีท่ งั้ หมด (vav) 4. ความเร็วเฉลยี่ ของการเคลอ่ื นท่ที ัง้ หมด (⃑vav) 5. ความเรง่ ท่ีวินาทที ี่ 1 และ 7 (⃑a1, ⃑a7) จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 4 27 ใบงานที่ 2.4 เฉลย เรื่อง ความเร่ง คำช้ีแจง : ให้นักเรียนตอบคำถามตอ่ ไปนี้ กราฟระหวา่ งความเร็ว (v⃑ ) กับเวลา (t) ของวตั ถุท่ีเคลอื่ นทเ่ี ป็นเสน้ ตรงดงั รูป จงหา 1. ระยะทางที่เคลื่อนทท่ี ง้ั หมด ระยะทางทเ่ี คลื่อนที่ทัง้ หมด หาได้จากผลรวม ของขนาดการกระจัดในแต่ละช่วง = พืน้ ท่ีใตก้ ราฟ พื้นทใ่ี ต้กราฟ = x1 + x2 + x3 + x4 = (1⁄2 × 2 × 15) + (1⁄2 × 2 × 15) + (1⁄2 × (20 + 15) × 2) + (1⁄2 × 2 × 20) = 85 เมตร 2. การกระจดั ทไี่ ดท้ ง้ั หมด การกระจัด = พนื้ ทใ่ี ตก้ ราฟ = x1 + x2 + x3 + x4 = (-15) + 15 + 35 + 20 = 55 เมตร 3. อัตราเร็วเฉล่ยี ของการเคลื่อนทท่ี งั้ หมด (vav) vav = ระยะทางทงั้ หมด = 85 = 10.6 เมตรตอ่ วนิ าที เวลาทัง้ หมด 8 4. ความเรว็ เฉลีย่ ของการเคลอื่ นทที่ ง้ั หมด (⃑vav) v⃑ av = ระยะทางทั้งหมด = 55 = 6.9 เมตรตอ่ วินาที เวลาท้ังหมด 8 5. ความเร่งที่วนิ าทีที่ 1 และ 7 ( ∆⃑v ) ∆t ความเรง่ a⃑ = ความชนั ของกราฟ (⃑v) กับ (t) = ∆v⃑ ∆t วินาทที ี่ 1, ⃑a1 = ∆v⃑ = (0−(−15) = 7.5 เมตรตอ่ วินาที2 ∆t (2−0) วินาทที ี่ 7, a⃑ 1 = ∆v⃑ = (0−20) = -10 เมตรต่อวินาที2 ∆t (8−6) จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 16 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 4 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรยี นท่ี 1/2563 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา ฟิสกิ ส์ 1 (ว31201) หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การเคลื่อนท่ีในแนวตรง จำนวนเวลาทสี่ อน 3 ช่ัวโมง เรอ่ื ง กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปรมิ าณต่าง ๆ ครูผ้สู อน นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา 1. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด (ความเข้าใจทค่ี งทน) กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง การกระจัด (Δx) ความเร็ว (v) ความเร่ง (a) และเวลา (t) เพื่อให้เข้าใจได้ง่าย จะใชก้ ราฟเสน้ ตรงหาความสมั พนั ธ์ระหว่างสองปริมาณที่เป็นปฏิภาคกัน ส่วนกราฟเส้นโคง้ ใช้ดูการเปลี่ยนแปลง ไดแ้ ต่ไมส่ ามารถพิสูจน์ความสมั พนั ธ์ไดช้ ดั เจน 2. ผลการเรยี นรู้ 3. ทดลองและอธิบายความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งตำแหนง่ การกระจัด ความเรว็ และความเรง่ ของการเคลอ่ื นที่ ของวัตถุในแนวตรงท่มี คี วามเร่งคงตัวจากกราฟและสมการ รวมทง้ั ทดลองหาค่าความเรง่ โน้มถว่ งของโลก และ คำนวณปริมาณตา่ ง ๆ ทีเ่ กีย่ วขอ้ งได้ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ (Knowledge) 1) อธิบายกราฟแสดงความสมั พนั ธ์ระหวา่ งระยะทาง ความเรว็ กับเวลา สำหรับการเคลื่อนท่ใี นแนวตรงได้ 3.2 ด้านทกั ษะและกระบวนการ (Skill/Process) 2) มีทักษะการคำนวณหาระยะทาง ความเร็ว กับเวลา จากกราฟแสดงความสมั พนั ธ์ได้ 3.3 ดา้ นเจตคติ (Attitude) 3) ทำงานร่วมกับผูอ้ นื่ อยา่ งสรา้ งสรรค์ ยอมรบั ความคดิ เห็นของผู้อื่นได้ 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 เนอื้ หาสาระหลัก : Knowledge (ผ้เู รยี นตอ้ งร้อู ะไร) - ปริมาณที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ ได้แก่ ตำแหน่ง การกระจัด ความเร็ว และความเร่ง โดยความเรว็ และความเร่งมีทั้งค่าเฉลี่ยและค่าขณะหนึ่งซึ่งคิดในช่วงเวลาสั้น ๆ สำหรับปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ เคล่อื นทแ่ี นวตรงด้วยความเร่งคงตวั มีความสมั พนั ธ์ตามสมการ จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ้ชู ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 17 v = u + at u+v ∆x = ( 2 ) t ∆x = ut + 1 at2 2 v2 = u2 + 2a∆x - การอธบิ ายการเคล่อื นท่ขี องวตั ถุสามารถเขยี นอยูใ่ นรูปกราฟตำแหนง่ กับเวลา กราฟความเรว็ กบั เวลา หรอื กราฟความเร่งกบั เวลา ความชนั ของเสน้ กราฟตำแหนง่ กับเวลาเป็นความเร็ว ความชนั ของเส้นกราฟความเร็วกบั เวลาเป็นความเรง่ และพืน้ ทีใ่ ต้เส้นกราฟความเร็วกบั เวลาเป็นการกระจดั ในกรณีทผ่ี ู้สังเกตมคี วามเร็ว ความเร็วของวัตถุ ที่สงั เกตไดเ้ ป็นความเร็วท่ีเทียบกับผสู้ ังเกต 4.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process (ผู้เรียนสามารถปฏบิ ัตอิ ะไรได้) - ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ - ทักษะการสงั เกต - ทักษะการสอ่ื สาร - ทักษะการทำงานรว่ มกัน - ทักษะการนำความรู้ไปใช้ 4.3 คุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ : Attitude (ผูเ้ รียนควรแสดงพฤตกิ รรมการเรยี นอะไรบา้ ง) - มีวินัย - ใฝเ่ รียนรู้ - มุ่งมัน่ ในการทำงาน - อยู่อย่างพอเพียง 5. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี นและคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มีวนิ ัย 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรียนรู้ 1) ทักษะการวเิ คราะห์ 3. มุง่ มนั่ ในการทำงาน 2) ทกั ษะการสงั เกต 4. มคี วามซ่ือสัตย์ 3) ทักษะการสอ่ื สาร 4) ทักษะการทำงานร่วมกนั 5) ทกั ษะการนำความร้ไู ปใช้ 3. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ูช้ ว่ ย กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 18 6. กิจกรรมการเรียนรู้  แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชั่วโมงที่ 1 ขน้ั นำ กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนความรู้เดิม เกี่ยวกับ ระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว ความเร็ว และ ความเร่ง เชื่อมโยงเนื้อหาโดยนักเรียนร่วมกันตอบคำถาม เกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ระหว่างระยะทาง การ กระจัด อัตราเร็ว ความเร็ว และความเร่ง (ทิ้งช่วงให้นักเรียนคิด) เพื่อนำไปสู่การศึกษา เรื่องกราฟ ความสมั พันธร์ ะหวา่ งการกระจัด (Δx) ความเร็ว (v) ความเรง่ (a) และเวลา (t) 2. ครูแจ้งให้นักเรียนทราบว่า จะได้ศึกษาเรื่อง กราฟความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัด (Δx) ความเร็ว (v) ความเรง่ (a) และเวลา (t) 3. ครถู ามคำถาม Prior Knowledge วา่ “กราฟระยะทางกบั เวลาสามารถบง่ บอกถงึ ปริมาณใดได้” เพื่อเป็น การกระตนุ้ ใหน้ ักเรยี นร่วมกนั คดิ (แนวตอบ : จากกราฟความสัมพนั ธร์ ะหว่างการกระจัดกับเวลาสามารถหาคา่ ความเร็ว (v) จากค่า ความชันของกราฟได)้ 4. ครูและนกั เรยี นช่วยกนั อภิปรายและแสดงความคดิ เหน็ คำตอบจากคำถาม 5. ครูยกตวั อย่างการเคลือ่ นท่ีของรถยนต์ในแต่ละวนิ าที (หนังสือเรียน หนา้ 53) แล้วอธบิ ายว่าการเคล่ือนท่ี ของวัตถุอธิบายได้ด้วยปริมาณต่าง ๆ ดังที่นักเรียนทราบมาแล้ว เช่น ระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว ความเร็ว และความเร่ง ถ้านำปริมาณต่าง ๆ ในการเคลื่อนที่ของวตั ถุกบั เวลาทีว่ ัตถุใช้ในการเคลื่อนที่มา เขียนเป็นกราฟ จะได้กราฟความสัมพันธ์ของปริมาณดังกล่าวในลักษณะต่าง ๆ ซึ่งสามารถใช้กราฟดัง กล่าวหาปริมาณต่าง ๆ ทีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั การเคลอ่ื นท่นี ้ันได้ ขน้ั สอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครใู หน้ กั เรยี นพิจารณาการเคล่ือนทข่ี องรถยนตใ์ นหนงั สือเรยี น หนา้ 53 ทแ่ี สดงการกระจดั ทร่ี ถยนต์ เคล่อื นท่ีไดใ้ นแต่ละวนิ าที ซงึ่ จากภาพการเคล่ือนท่ขี องรถยนต์ สามารถเขยี นกราฟความสัมพนั ธข์ องการ กระจัดกับเวลาได้ ทม่ี ีความเร็วคงตวั 5 m/s 2. ครอู ธบิ ายวิธกี ารคำนวณหาคา่ ความเร็วจากกราฟความสัมพันธ์ของการกระจัดกับเวลาไดว้ า่ เป็นกราฟ เสน้ ตรงเฉียงขน้ึ แสดงว่าเมอ่ื เวลาเพิ่มขน้ึ การกระจัดท่ีรถยนตเ์ คล่ือนทีไ่ ดจ้ ะเพ่มิ ข้ึนตามไปดว้ ยในอัตราคง ตวั หรอื แปรผันตรงซงึ่ กนั และกนั เมื่อหาความชันของกราฟในชว่ งเวลา 1 – 3 วินาที จะได้ว่า จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ูช้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 19 ความชนั ของกราฟ = 15−5 = 5 m/s 3−1 3. ครอู ธบิ ายให้นกั เรียนเข้าใจมากขึน้ ว่าค่าความชันของกราฟระหวา่ งการกระจดั กบั เวลาท่ีหาได้ ก็คือ ความเร็วของรถยนตม์ คี า่ เท่ากับ 5 m/s จากสมการเสน้ ตรงทว่ั ไป คอื y = mx + c เม่อื m คือ ความชนั ของเสน้ ตรง มคี ่าเทา่ กบั ∆y ∆x c คือ จุดตัดบนแกน y จากสมการ v = ∆x หรอื ∆x = vt ∆t เมื่อเทยี บกับ y = mx + c แลว้ กราฟระหว่างการกระจัด (Δx) กบั เวลา (t) จะได้ความชนั เท่ากับ ความเรว็ (v) และจดุ ตดั บนแกน Δx เทา่ กับ 0 (c = 0) 4. ครใู ห้นกั เรียนพิจารณาความหมายของกราฟการกระจดั กับเวลาของรถยนตท์ ี่เคลื่อนท่ีในแนวตรงจาก ตารางในหนังสือเรียน หนา้ 54 ซงึ่ ทำให้ทราบความเรว็ ของการเคลอ่ื นทข่ี องวัตถจุ ากความชนั ของ เส้นกราฟ แลว้ ยังบอกถงึ ลกั ษณะการเคลือ่ นที่ของวัตถุไดอ้ ีกดว้ ย 5. ครูและนกั เรียนรว่ มกันสรุปเกี่ยวกบั กราฟการกระจดั กับเวลา ดังนี้ • ความชนั ของกราฟการกระจดั กับเวลาแทนความเร็วเฉลีย่ ของการเคลอื่ นที่ • เมื่อความเร็วคงตัว ความเร็วเฉลีย่ เท่ากับความเรว็ ขณะหน่ึง • การหาความเรว็ เฉลยี่ ระหว่าง 2 จดุ ใด ๆ หาจากความชันของเสน้ ตรงทล่ี ากจากจุดทั้งสองบนกราฟ ตรงช่วงเวลานั้น ความชันจะแทนความเรว็ เฉล่ยี และแทนความเรว็ ขณะหนงึ่ ตรงจุดกง่ึ กลางชว่ งเวลา น้ัน ชวั่ โมงที่ 2 ขน้ั สอน สำรวจค้นหา (Explore) 6. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกลุ่มละ 4 – 5 คน แล้วให้นักเรียนเขียนกราฟการกระจัดกับเวลาจากสถานการณ์ที่ กำหนดให้ คือ รถคนั หน่งึ เคลื่อนท่ใี นแนวตรงไดค้ า่ การกระจัดกบั เวลาเปน็ ดังตารางด้านล่าง ให้นักเรยี นเขียน กราฟความสัมพันธ์การกระจัดกับเวลา โดยให้แกน y เปน็ การกระจัด แกน x เป็นเวลา การกระจัด (เมตร) เวลา (วินาที) 31 62 93 12 4 15 5 (หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนกั เรียน โดยใช้แบบสังเกตการณ์ทำงานกลุ่ม) จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ้ชู ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 20 7. ครูถามนักเรียนแตล่ ะกล่มุ ว่า ลกั ษณะกราฟทีไ่ ด้เป็นเช่นใด อธิบายความหมายของกราฟได้ว่าอย่างไร (ทงิ้ ช่วงใหน้ ักเรียนแต่ละกลมุ่ คดิ ) (แนวตอบ : ลักษณะเป็นกราฟเส้นตรงเฉยี งขึ้น แสดงว่าเมอ่ื เวลาเพิ่มข้นึ การกระจดั ท่ีรถเคล่ือนท่ีได้ จะเพิ่มข้ึนตามไปด้วยในอัตราคงตัวหรอื แปรผนั ตรงซง่ึ กนั และกัน) 8. ครูสุ่มตัวแทนของนักเรียนแต่ละกลุ่ม เพื่อนำเสนอคำตอบที่แต่ละกลุ่มได้ไปสรุปเป็นความคิดของแต่ละ กลมุ่ 9. ครตู รวจสอบขอ้ มูลจากการนำเสนอเพ่อื ความถูกต้อง แล้วสรุปดงั นี้ • ลักษณะเป็นกราฟเส้นตรงเฉยี งขึ้น แสดงว่าเมื่อเวลาเพิ่มขึน้ การกระจัดทีร่ ถเคลือ่ นที่ได้จะเพิ่มขึ้น ตามไปด้วยในอตั ราคงตวั หรือแปรผันตรงซง่ึ กันและกัน 10. ครถู ามคำถามต่อเพ่อื ใหน้ ักเรียนแตล่ ะกลุ่มร่วมกนั คิดและสรปุ จากคำถามตอ่ ไปน้ี • ความชนั ของกราฟได้อยา่ งไร • ความชันของกราฟทไี่ ด้แทนปรมิ าณใดของการเคลือ่ นท่ี 11. ครแู ละนกั เรียนอภิปราย สรปุ ไดว้ ่า กราฟการกระจัดกบั เวลาท่ีได้ มีลักษณะเปน็ เสน้ ตรงเฉยี งขนึ้ และเมื่อ เวลาเพิม่ ข้ึนการกระจดั ทร่ี ถเคลื่อนทไ่ี ด้จะเพิ่มขึ้นตามไปดว้ ยในอัตราคงตัว ความชันของกราฟ (m) หาได้ จาก ∆y = ∆x = 6−3 = 3 m/s แสดงว่าความชันของกราฟท่ีไดแ้ ทนความเร็วเฉล่ียของรถ ซงึ่ มีค่าเทา่ กบั 3 ∆x ∆t 3−1 m/s 12. จากนั้นครูให้นักเรียนพิจารณาการเคลื่อนที่ของรถยนต์ที่ช่วงเวลาต่าง ๆ กัน ในหนังสือเรียน หน้า 55 เพื่อศกึ ษากราฟแสดงความสมั พันธ์ระหว่างความเร็วเวลา เมอ่ื วัตถเุ คลื่อนท่ีแล้วเกิดความเร็วท่ีเวลาต่าง ๆ จะสามารถนำไปเขยี นกราฟแสดงความสมั พันธ์ระหว่างความเร็วกับเวลา (v – t) ที่แสดงถึงความสมั พันธ์ ของปริมาณความเร็ว ความเร่ง กับเวลา ดงั ภาพแสดงการเคลือ่ นทขี่ องรถยนต์ในแต่ละชว่ งเวลาเวลา และ สามารถเขยี นกราฟความสมั พันธ์ความเรว็ กับเวลาได้ 13. ครูอธิบายว่าจากกราฟจะเห็นว่ากราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วกับเวลาเป็นกราฟเส้นตรง เฉยี งข้ึน น่ันคือ คา่ บนแกนความเร็วของรถเปลย่ี นแปลง เราทราบแล้วว่าถ้าวัตถเุ คลอื่ นที่ด้วยความเร็วคง ตัว แสดงว่าวัตถุนั้นไม่ได้เคลื่อนที่ด้วยความเร่ง หรือความเร่งของวัตถุเป็น 0 แต่ถ้ามีการเปลี่ยนแปลง ความเร็ว แสดงว่าวัตถุนั้นเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง พิจารณาจากกราฟจะพบว่าความชันของกราฟเป็น ∆v ∆t ซึ่งก็คือ ความเร่งของการเคลื่อนที่ หาได้จาก ∆v = v3−v1 = 15−5 = 5 m/s2 กล่าวได้ว่า ความชันของ ∆t t3−t1 3−1 กราฟความเร็วกับเวลาแทนความเร่งเฉลี่ยของการเคลอ่ื นที่ 14. ครถู ามกับนักเรยี นว่าจากกราฟแสดงความสมั พันธ์ระหวา่ งความเร็วกบั เวลา เราสามารถหาการกระจัดได้ หรือไม่ อยา่ งไร (ท้ิงชว่ งใหน้ กั เรียนคิด) 15. ครูอธิบายว่า เราสามารถหาการกระจัดได้จากพื้นที่ใต้กราฟ ความชันของกราฟจะบ่งบอกถึงความเร่ง ของการเคลื่อนที่และเมื่อนักเรียนหาพื้นที่ใต้กราฟออกมา ซึ่งหาได้จาก พื้นที่ใต้กราฟ = พื้นที่รูป สามเหลยี่ ม = 1 × ฐาน × สูง = 1 × 3 × 15 = 22.5 m พื้นท่ใี ตก้ ราฟจะมคี ่าเท่ากับการกระจัดที่รถยนต์ 22 จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 21 คันนี้เคลื่อนที่ได้ในเวลา 3 s จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันศึกษากราฟความเร็วกับเวลาในแต่ละกรณีจาก ตารางในหนงั สือเรียน หน้า 56 16. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันสรุปเกยี่ วกบั กราฟความเร็วกบั เวลา ดงั น้ี • ความชนั ของกราฟความเร็วกับเวลาแทนความเร่งเฉลีย่ ของการเคลื่อนท่ี • เม่ือความเรว็ คงตัว ความเรว็ เฉล่ียเท่ากับความเรว็ ขณะหนึง่ • การหาความเรง่ ขณะหนงึ่ ตรงตำแหนง่ เวลาใด หาจากความชันของเสน้ ตรงทีล่ ากสัมผัสกบั กราฟตรง ตำแหนง่ เวลาน้นั • พ้ืนท่ใี ตก้ ราฟความเร็วกับเวลาแทนการกระจดั ของการเคลือ่ นที่ 17. ครสู รุปเพ่มิ เตมิ เกี่ยวกบั กราฟแสดงความสมั พนั ธร์ ะหว่างการกระจัดกับเวลา (Δx – t) ความเร็วกับเวลา (v – t) ความเร่งกบั เวลา (a – t) ดงั นี้ ถ้าความชันเพิม่ ขึ้น → ความเรว็ เพิม่ สม่ำเสมอ → ความเร่งคงตวั มีคา่ เป็นบวก ถา้ ความชันเลดลง → ความเร็วลดลงมำ่ เสมอ → ความเร่งคงตวั มคี ่าเปน็ ลบ ช่วั โมงที่ 3 ขน้ั สอน อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครทู บทวนความรใู้ หก้ บั นกั เรียนเกี่ยวกบั กราฟความสมั พันธ์สำหรบั การเคลื่อนที่ในแนวตรง ดังน้ี • กราฟระหว่างการกระจดั กับเวลา (Δx – t) ความชันของกราฟน้ี คอื ความเรว็ • กราฟระหว่างความเร็วกบั เวลา (v – t) ความชนั ของกราฟนี้ คือ ความเร่ง • ความชันของกราฟ ถ้าความชันเป็นศูนย์ กราฟจะขนานแกน x ถ้าความชันคงตัว กราฟจะเป็น เส้นตรง ในกรณีความชันไม่คงตัว ถ้าความชันเพิ่มขึ้น กราฟจะโค้งหงาย และถ้าความชันลดลง กราฟจะโค้งคว่ำ 2. ครใู หน้ ักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาตวั อย่างที่ 2.11 และ 2.12 ในหนังสอื เรียนหนา้ 58-59 ตามข้นั ตอนการแก้ โจทยป์ ญั หา ดงั น้ี • ขน้ั ท่ี 1 ครใู ห้นักเรียนทกุ คนทำความเข้าใจโจทยต์ ัวอยา่ ง และพจิ ารณากราฟความสัมพนั ธ์ • ขั้นท่ี 2 ครถู ามนกั เรียนว่า จากกราฟความสมั พันธ์ สงิ่ ทีโ่ จทย์กำหนดคอื อะไร สิง่ ทโ่ี จทยต์ ้องการคือ อะไร และต้องทำอยา่ งไร • ข้นั ท่ี 3 ครใู หน้ ักเรยี นดูวิธที ำในการคำนวณหาคำตอบ • ขนั้ ท่ี 4 ตรวจสอบคำตอบของโจทย์ตวั อยา่ งวา่ ถกู ต้อง หรือไม่ จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook