Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ 1.2563 (รวมเล่ม)

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ 1.2563 (รวมเล่ม)

Published by Tanapat Issarangkul Na Ayutthaya, 2020-12-15 04:29:17

Description: แผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ 1.2563 (รวมเล่ม)

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 143 รายการวัด วิธวี ดั เครอื่ งมือ เกณฑ์การประเมิน 4) แรงต้ังฉากและแรง - ตรวจใบงานท่ี 3.4 - ใบงานท่ี 3.4 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ เสยี ดทาน - ตรวจแบบฝึกหัดท่ี - แบบฝกึ หดั ท่ี 6.1-7.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 6.1-7.1 5) การประยุกตใ์ ชก้ ฎ - ตรวจใบงานท่ี 3.5 - ใบงานที่ 3.5 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ - แบบฝึกหัดท่ี 8.1 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ การเคล่อื นที่ของ - ตรวจแบบฝกึ หดั ท่ี นิวตัน 8.1 6) พฤติกรรม - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคณุ ภาพ 2 การทำงานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์ การทำงานรายบคุ คล การทำงานรายบคุ คล - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดบั คณุ ภาพ 2 การทำงานกลุ่ม ผา่ นเกณฑ์ 7) พฤติกรรม - สงั เกตพฤติกรรม - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ 2 คณุ ลักษณะ ผ่านเกณฑ์ การทำงานกลุม่ การทำงานกลมุ่ อนั พงึ ประสงค์ แบบทดสอบหลังเรียน รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 8) คุณลกั ษณะ - สงั เกตความมีวินยั อันพงึ ประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น ในการทำงาน 6.4 การประเมนิ หลังเรยี น ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบหลังเรียน หลังเรยี น หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 3 เรอ่ื ง แรงและกฎการ เคล่ือนที่ 7. กจิ กรรมการเรยี นรู้ เวลา 3 ชว่ั โมง • แผนท่ี 1 : แรงและแรงลัพธ์ เวลา 8 ช่ัวโมง วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) เวลา 6 ชว่ั โมง • แผนท่ี 2 : กฎการเคลื่อนทข่ี องนวิ ตนั วิธสี อนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) เวลา 6 ชว่ั โมง • แผนท่ี 3 : กฎแรงดงึ ดูดระหว่างมวลของนิวตัน เวลา 5 ช่ัวโมง วิธสี อนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) รวม 28 ชัว่ โมง • แผนท่ี 4 : แรงต้งั ฉากและแรงเสยี ดทาน วิธีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) • แผนท่ี 5 : การประยุกตใ์ ช้กฎการเคลือ่ นทขี่ องนิวตัน วธิ สี อนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 144 8. สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้ 8.1 สือ่ การเรียนรู้ 1) หนังสือเรยี น รายวิชาเพม่ิ เติม ฟสิ กิ ส์ ม.4 เล่ม 1 หน่วยการเรยี นที่ 3 แรงและกฎการเคลอื่ นท่ี 2) ใบงานที่ 3.1 เร่ือง แรงและแรงลพั ธ์ 3) ใบงานท่ี 3.2 เรื่อง กฎการเคลอ่ื นทขี่ องนวิ ตนั 4) ใบงานท่ี 3.3 เรื่อง กฎแรงดงึ ดูดระหว่างมวลของนิวตนั 5) ใบงานที่ 3.4 เรอ่ื ง แรงต้งั ฉากและแรงเสียดทาน 6) ใบงานท่ี 3.5 เรอ่ื ง การประยุกต์ใช้กฎการเคลือ่ นท่ขี องนิวตนั 10) แบบฝกึ หดั หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 3 แรงและกฎการเคล่อื นท่ี 11) PowerPoint เร่ือง แรงและกฎการเคลื่อนท่ี 8.2 แหลง่ การเรียนรู้ 1) ห้องเรยี น 2) หอ้ งสมุด 3) แหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 145 แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 3 คำชีแ้ จง : ใหน้ ักเรยี นเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ขอ้ ใดเป็นหน่วยค่าคงตวั โน้มถ่วงสากล 6. ขอ้ ใดกลา่ วเกยี่ วกบั แรงไดถ้ ูกต้องทสี่ ดุ 1. m/s2 2. km/s2 1. เป็นปรมิ าณเวกเตอร์ เพราะมแี ตข่ นาด 3. N/m2kg2 4. m3s2/kg 2. เป็นปรมิ าณเวกเตอร์ เพราะมขี นาดและทศิ ทาง 5. m2/kg2 3. เป็นปรมิ าณสเกลาร์ เพราะมแี ต่ขนาด 2. กฎขอ้ ที่ 3 ของนิวตนั พดู ถงึ แรงคู่กริ ยิ าและปฏกิ ริ ยิ า 4. เป็นปรมิ าณสเกลาร์ เพราะมแี ต่ทศิ ทาง ขอ้ ใดกลา่ วถงึ แรงคนู่ ้ีไมถ่ ูกต้อง 5. เป็นปรมิ าณสเกลาร์ เพราะมขี นาดและทศิ ทาง 1. แรงคูน่ ้เี กดิ ทเ่ี วลาเดยี วกนั 7. ในระบบเอสไอแรงมหี น่วยเป็นอะไร 2. แรงคนู่ ้มี ขี นาดเท่ากนั 1. กโิ ลกรมั 2. นวิ ตนั 3. แรงคนู่ ้จี ะต้องกระทบบนวตั ถุคนละกอ้ น 3. กรมั 4. ตนั 4. แรงคนู่ ้จี ะตอ้ งมที ศิ ตรงกนั ขา้ มเสมอ 5. เมตร 5. แรงคูน่ ้มี ขี นาดเท่ากนั และมที ิศตรงกนั ขา้ ม 8. ในขณะที่ดึงมวลข้นึ ในแนวดิ่ง สามารถหาค่าแรงดึงเชอื ก ดงั นนั้ วตั ถุจงึ อยใู่ นสภาพสมดุล ได้จากสมการใด 3. ขอ้ ใดตอ่ ไปน้ีไมถ่ ูกต้อง 1. ∑ F⃑ = 0 2. ∑ ⃑F = 1 1. แรงเสยี ดทานเป็นปรมิ าณเวกตอร์ 3. ∑ F⃑ = m⃑g 4. ∑ F⃑ = m⃑a 2. แรงเสยี ดทานมที ศิ ทางเดยี วกบั การเคลอ่ื นที่ 5. ∑ F⃑ = − ∑ ⃑F เสมอ 9. แรงลัพธ์ที่กระทาให้วัตถุเคลื่อนที่นัน้ จะมขี นาดของแรง 3. รถยนต์มกั ลน่ื ไถลบนถนนทม่ี นี ้ามนั หกรดถนน มากหรือน้อยข้นึ อยู่กบั ส่ิงใด 4. แรงเสยี ดทานเกดิ ขน้ึ เมอ่ื วตั ถุ 2 ชน้ิ สมั ผสั กนั 1. มวลของวตั ถกุ บั ความเรง่ ของวตั ถุ 5. พน้ื ถนนเปียกมแี รงเสยี ดทานน้อยกวา่ พน้ื ถนน 2. น้าหนกั ของวตั ถุกบั ความเรว็ ของวตั ถุ แหง้ 3. ปรมิ าตรของวตั ถุ 4. ขอ้ ใดไมเ่ กยี่ วขอ้ งกบั แรงเสยี ดทานระหว่างลอ้ กบั 4. ความหนาแน่นของวตั ถุกบั ความเรว็ ของวตั ถุ ถนน 5. มวลของวตั ถุกบั ความเรว็ ของวตั ถุ 1. พน้ื ทหี่ น้ายาง 2. น้าหนักของรถ 10. ตน้ ยนื อยู่บนตาชงั่ ในลฟิ ต์ทกี่ าลงั เคล่อื นทล่ี ง น้าหนักของตน้ 3. ลกั ษณะพน้ื ผวิ ถนน 4. ลกั ษณะของดอกยาง มคี า่ เทา่ กบั เท่าใด 5. ไมม่ ขี อ้ ถกู 1. N⃑⃑ − mg⃑ = 0 2. N⃑⃑ − m⃑g = m⃑a 5. ขอ้ ใดต่อไปน้ใี หค้ วามหมายของแรงไดถ้ ูกตอ้ งทส่ี ดุ 3. mg − ⃑N = ma 4. N⃑⃑ = mg⃑ 1. สภาพการเคล่อื นทข่ี องวตั ถุ 5. ⃑N⃑ = −m⃑g 2. ปรมิ าณทม่ี แี ต่ขนาด 3. ปรมิ าณทที่ าใหว้ ตั ถรุ กั ษาสภาพการเคลอ่ื นท่ี 4. ปรมิ าณเวกเตอรท์ จ่ี ะเปลยี่ นสภาพ 5. ขอ้ 2. และ 4. ถกู เฉลย 1. 1 2. 5 3. 2 4. 1 5. 4 6. 2 7. 2 8. 1 9. 1 10. 3 จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 146 แบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 3 คำชีแ้ จง : ใหน้ ักเรยี นเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ในระบบเอสไอแรงมหี น่วยเป็นอะไร 6. ขอ้ ใดกลา่ วเกย่ี วกบั แรงไดถ้ กู ตอ้ งทสี่ ดุ 1. กโิ ลกรมั 2. นวิ ตนั 1. เป็นปรมิ าณเวกเตอร์ เพราะมแี ต่ขนาด 3. กรมั 4. ตนั 2. เป็นปรมิ าณเวกเตอร์ เพราะมขี นาดและทศิ ทาง 5. เมตร 3. เป็นปรมิ าณสเกลาร์ เพราะมแี ต่ขนาด 2. กฎขอ้ ท่ี 3 ของนิวตนั พดู ถงึ แรงคู่กริ ยิ าและปฏกิ ริ ยิ า 4. เป็นปรมิ าณสเกลาร์ เพราะมแี ต่ทศิ ทาง ขอ้ ใดกลา่ วถงึ แรงคู่น้ีไมถ่ ูกตอ้ ง 5. เป็นปรมิ าณสเกลาร์ เพราะมขี นาดและทศิ ทาง 1. แรงคนู่ ้เี กดิ ทเี่ วลาเดยี วกนั 7. ขอ้ ใดเป็นหน่วยค่าคงตวั โนม้ ถ่วงสากล 2. แรงคู่น้มี ขี นาดเทา่ กนั 1. m/s2 2. km/s2 3. แรงค่นู ้จี ะต้องกระทบบนวตั ถคุ นละกอ้ น 3. N/m2kg2 4. m3s2/kg 4. แรงคนู่ ้จี ะต้องมที ศิ ตรงกนั ขา้ มเสมอ 5. m2/kg2 5. แรงคูน่ ้มี ขี นาดเทา่ กนั และมที ิศตรงกนั ขา้ ม 8. ตน้ ยนื อย่บู นตาชงั่ ในลฟิ ต์ทกี่ าลงั เคลอ่ื นทล่ี ง น้าหนกั ของต้น ดงั นนั้ วตั ถุจงึ อยูใ่ นสภาพสมดลุ มคี ่าเท่ากบั เท่าใด 3. ขอ้ ใดตอ่ ไปน้ีไมถ่ ูกต้อง 1. N⃑⃑ − m⃑g = 0 2. N⃑⃑ − mg⃑ = ma⃑ 1. แรงเสยี ดทานเป็นปรมิ าณเวกตอร์ 3. mg − N⃑ = ma 4. N⃑⃑ = m⃑g 2. แรงเสยี ดทานมที ศิ ทางเดยี วกบั การเคล่อื นที่ 5. N⃑⃑ = −mg⃑ เสมอ 9. แรงลัพธ์ที่กระทาให้วตั ถุเคลื่อนที่นัน้ จะมขี นาดของแรง 3. รถยนตม์ กั ลน่ื ไถลบนถนนทม่ี นี ้ามนั หกรดถนน มากหรอื น้อยข้นึ อยู่กบั สง่ิ ใด 4. แรงเสยี ดทานเกดิ ขน้ึ เม่อื วตั ถุ 2 ชน้ิ สมั ผสั กนั 1. มวลของวตั ถุกบั ความเรง่ ของวตั ถุ 5. พน้ื ถนนเปียกมแี รงเสยี ดทานนอ้ ยกวา่ พน้ื ถนน 2. น้าหนักของวตั ถุกบั ความเรว็ ของวตั ถุ แหง้ 3. ปรมิ าตรของวตั ถุ 4. ขอ้ ใดไมเ่ กยี่ วขอ้ งกบั แรงเสยี ดทานระหว่างลอ้ กบั 4. ความหนาแน่นของวตั ถุกบั ความเรว็ ของวตั ถุ ถนน 5. มวลของวตั ถุกบั ความเรว็ ของวตั ถุ 1. พน้ื ทห่ี นา้ ยาง 2. น้าหนกั ของรถ 10. ในขณะที่ดึงมวลข้นึ ในแนวดิ่ง สามารถหาค่าแรงดึงเชือก 3. ลกั ษณะพน้ื ผวิ ถนน 4. ลกั ษณะของดอกยาง ได้จากสมการใด 5. ไม่มขี อ้ ถูก 1. ∑ F⃑ = 0 2. ∑ ⃑F = 1 5. ขอ้ ใดต่อไปน้ใี หค้ วามหมายของแรงไดถ้ กู ตอ้ งทส่ี ดุ 3. ∑ F⃑ = m⃑g 4. ∑ F⃑ = m⃑a 1. สภาพการเคลอ่ื นทข่ี องวตั ถุ 5. ∑ F⃑ = − ∑ ⃑F 2. ปรมิ าณทมี่ แี ต่ขนาด 3. ปรมิ าณทท่ี าใหว้ ตั ถุรกั ษาสภาพการเคล่อื นที่ 4. ปรมิ าณเวกเตอรท์ จ่ี ะเปลย่ี นสภาพ 5. ขอ้ 2. และ 4. ถูก เฉลย 1. 2 2. 5 3. 2 4. 1 5. 4 6. 2 7. 1 8. 3 9. 1 10. 1 จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 147 แบบประเมนิ ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ แบบประเมินผลงานผงั มโนทัศน์ คำชแ้ี จง : ให้ผู้สอนประเมนิ ผลงาน/ชน้ิ งานของนักเรยี นตามรายการท่กี ำหนด แลว้ ขดี ✓ลงในช่องที่ตรงกบั ระดับ คะแนน ลำดบั ที่ รายการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ 4 3 21 1 ความสอดคล้องกับจดุ ประสงค์ 2 ความถกู ต้องของเน้ือหา 3 ความคดิ สรา้ งสรรค์ 4 ความตรงต่อเวลา รวม ลงชอ่ื ................................................... ผปู้ ระเมิน ............../................./................ จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 148 เกณฑ์ประเมนิ ผงั มโนทัศน์ ประเด็นทปี่ ระเมิน 4 ระดบั คะแนน 1 32 1. ผลงานตรงกบั ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผ ล งานไม่ส อดค ล้อ ง จดุ ประสงค์ทกี่ ำหนด จุดประสงคท์ กุ ประเดน็ จดุ ประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น กับจุดประสงค์ 2. ผลงานมคี วาม เน้ือหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เน้ือหาสาระของผลงาน เน้ือหาสาระของผลงาน ถูกตอ้ งสมบูรณ์ ถูกตอ้ งครบถว้ น ถกู ตอ้ งเปน็ ส่วนใหญ่ ถกู ตอ้ งเปน็ บางประเด็น ไม่ถกู ตอ้ งเป็นสว่ นใหญ่ 3. ผลงานมคี วามคดิ ผ ล งานแส ดงออกถึง ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่แสดงแนวคิด สรา้ งสรรค์ ค วามคิด ส ร้างส รรค์ ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิดแปลก ใหม่ แ ป ล ก ให ม่ แ ล ะ เป็ น ใหม่ ระบบ 4. ผลงานมีความเป็น ผ ล ง า น มี ค ว า ม เป็ น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผ ล ง า น มี ค ว า ม เป็ น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป็ น ระเบี ยบ แต่ ยังมี ระเบียบแตม่ ขี อ้ บกพร่อง ร ะ เบี ย บ แ ล ะ มี ข้ อ ความประณีต ขอ้ บกพร่องเล็กน้อย บางส่วน บกพร่องมาก เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 14–16 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ำกวา่ 8 ปรับปรุง จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผ้ชู ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 149 แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน คำชี้แจง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ ตรงกับระดับคะแนน ลำดับท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1 32 1 ความถูกตอ้ งของเนอ้ื หา   2 ความคดิ สรา้ งสรรค์   3 วธิ ีการนำเสนอผลงาน   4 การนำไปใช้ประโยชน์   5 การตรงต่อเวลา   รวม ลงชื่อ ................................................... ผปู้ ระเมนิ ............/................./................... เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ สมบรู ณ์ชดั เจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมินเป็นสว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมินบางสว่ น เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 14–15 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตำ่ กวา่ 8 ปรับปรงุ จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผูช้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 150 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล คำช้ีแจง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในชอ่ งท่ี ตรงกับระดบั คะแนน ลำดับท่ี รายการประเมิน ระดับคะแนน 1 32 1 การแสดงความคิดเหน็   2 การยอมรับฟงั ความคิดเห็นของผูอ้ ืน่   3 การทำงานตามหนา้ ทท่ี ่ไี ดร้ บั มอบหมาย   4 ความมนี ้ำใจ   5 การตรงตอ่ เวลา   รวม เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ลงชอ่ื ................................................... ผู้ประเมนิ ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ ............/.................../................ ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบอ่ ยครงั้ ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตำ่ กวา่ 8 ปรับปรงุ จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4 151 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุม่ คำชแ้ี จง : ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในชอ่ งที่ ตรงกับระดับคะแนน ลำดับที่ ชอ่ื –สกุล การแสดง การยอมรับ การทำงาน ความมีน้ำใจ การมี รวม ของนกั เรียน ความคดิ เหน็ ฟังคนอืน่ ตามทไ่ี ด้รบั สว่ นร่วมใน 15 มอบหมาย การปรับปรุง คะแนน ผลงานกลุม่ 321321321321321 เกณฑ์การใหค้ ะแนน ลงช่ือ ................................................... ผูป้ ระเมิน ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ............./.................../............... ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครง้ั ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบางครงั้ ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตำ่ กว่า 8 ปรับปรงุ จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผ้ชู ่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 152 แบบประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ คำชีแ้ จง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ✓ลงในช่องท่ี ตรงกบั ระดับคะแนน คุณลักษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน อันพงึ ประสงค์ดา้ น 321 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 1.1 ยนื ตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาติได้ 1.2 เข้ารว่ มกิจกรรมท่สี รา้ งความสามคั คีปรองดอง และเปน็ ประโยชน์ ต่อโรงเรียน 1.3 เข้ารว่ มกจิ กรรมทางศาสนาทต่ี นนบั ถอื ปฏิบัตติ ามหลกั ศาสนา 1.4 เขา้ รว่ มกจิ กรรมทเี่ กีย่ วกับสถาบันพระมหากษัตรยิ ต์ ามทีโ่ รงเรียนจดั ขึ้น 2. ซอ่ื สัตย์ สจุ ริต 2.1 ใหข้ อ้ มูลทถ่ี ูกตอ้ งและเปน็ จรงิ 2.2 ปฏบิ ตั ใิ นสิ่งทถ่ี กู ตอ้ ง 3. มีวนิ ัย รับผดิ ชอบ 3.1 ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บงั คบั ของครอบครวั มคี วามตรงตอ่ เวลาในการปฏบิ ตั ิกิจกรรมตา่ ง ๆ ในชวี ิตประจำวนั 4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 รจู้ ักใช้เวลาว่างให้เปน็ ประโยชน์ และนำไปปฏิบัตไิ ด้ 4.2 รู้จกั จัดสรรเวลาใหเ้ หมาะสม 4.3 เช่ือฟังคำสง่ั สอนของบดิ า-มารดา โดยไมโ่ ต้แย้ง 4.4 ตั้งใจเรียน 5. อยู่อย่างพอเพียง 5.1 ใชท้ รพั ยส์ ินและสิ่งของของโรงเรยี นอยา่ งประหยดั 5.2 ใชอ้ ปุ กรณก์ ารเรียนอยา่ งประหยดั และร้คู ณุ คา่ 5.3 ใช้จา่ ยอย่างประหยดั และมีการเกบ็ ออมเงนิ 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 6.1 มีความต้ังใจและพยายามในการทำงานทีไ่ ด้รับมอบหมาย 6.2 มคี วามอดทนและไม่ท้อแท้ตอ่ อปุ สรรคเพ่อื ใหง้ านสำเร็จ 7. รกั ความเปน็ ไทย 7.1 มีจิตสำนึกในการอนุรกั ษว์ ัฒนธรรมและภูมิปญั ญาไทย 7.2 เหน็ คณุ คา่ และปฏบิ ัตติ นตามวฒั นธรรมไทย 8. มจี ติ สาธารณะ 8.1 รจู้ ักชว่ ยพ่อแม่ ผ้ปู กครอง และครูทำงาน 8.2 ร้จู กั การดูแลรกั ษาทรัพยส์ มบตั แิ ละสิง่ แวดลอ้ มของห้องเรียนและโรงเรยี น ลงชอื่ .................................................. ผูป้ ระเมิน ............/.................../................ เกณฑ์การให้คะแนน พฤติกรรมทป่ี ฏิบัตชิ ัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ พฤติกรรมท่ปี ฏิบตั ชิ ัดเจนและบ่อยครง้ั ให้ 2 คะแนน 51–60 ดีมาก พฤตกิ รรมท่ปี ฏิบตั บิ างครั้ง ให้ 1 คะแนน 41–50 ดี 30–40 พอใช้ ต่ำกวา่ 30 ปรับปรุง จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 61 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นที่ 1/2563 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา ฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 3 แรงและกฎการเคลื่อนท่ี เรือ่ ง แรงและแรงลัพธ์ จำนวนเวลาท่ีสอน 3 ชวั่ โมง ครูผู้สอน นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา 1. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด (ความเขา้ ใจท่ีคงทน) แรง (force) หมายถึง สิ่งที่สามารถทำให้วัตถุที่อยู่นิ่งเคลื่อนที่หรือทำให้วัตถุที่กำลังเคลื่อนที่มีความเร็ว เพิ่มขน้ึ หรอื ช้าลง หรอื เปลย่ี นทิศทางการเคล่อื นทข่ี องวตั ถไุ ด้ แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์ท่ีต้องบอกทั้งขนาดและทิศทาง ดังนั้นการหาผลของแรงลพั ธ์ท่ีกระทำต่อวัตถุจาก การรวมกนั ระหว่างแรงย่อย 2 แรงขนึ้ ไป เราสามารถคำนวณแบบเวกเตอร์ได้ โดยตอ้ งรวมเวกเตอรข์ องแรงยอ่ ยท่ี มีอย่ใู ห้เปน็ ปรมิ าณเดียวกนั เน่อื งจากปริมาณเวกเตอร์มที งั้ ขนาดและทิศทาง ในการรวมเวกเตอร์ของแรงย่อยแต่ ละแรงจึงตอ้ งวเิ คราะห์ทั้งขนาดและทศิ ทางขณะทน่ี ำมารวมกนั เพอ่ื หาค่าของแรงลพั ธ์ 2. ผลการเรยี นรู้ 4. ทดลองและอธิบายการหาแรงลพั ธข์ องแรงสองแรงท่ีทำมมุ ตอ่ กนั ได้ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ (Knowledge) 1) อธิบายความหมายของแรงและแรงลัพธ์ได้ 3.2 ด้านทกั ษะและกระบวนการ (Skill/Process) 2) สามารถเขยี นเวกเตอร์แทนแรงและหาแรงลัพธ์โดยการสร้างรูปได้ 3) มที ักษะการคำนวณหาปรมิ าณตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวข้องกบั การเคลือ่ นท่ีได้ 3.3 ด้านเจตคติ (Attitude) 4) เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นมเี จตคตติ อ่ วชิ าฟสิ ิกส์ ในด้านคุณภาพการสอน ด้านเน้อื หา ดา้ นกิจกรรมการเรียนรู้ และ ด้านบรรยากาศการเรียนรู้ จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4 62 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 เนื้อหาสาระหลกั : Knowledge (ผู้เรยี นตอ้ งรอู้ ะไร) - แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์จึงมีทั้งขนาดและทิศทาง กรณีที่มีแรงหลาย ๆ แรงกระทำต่อวัตถุ สามารถหาแรงลัพธท์ ่กี ระทำต่อวัตถุ โดยใช้วธิ ีเขียนเวกเตอรข์ องแรงแบบหางต่อหวั วธิ ีสร้างรปู ส่ีเหลี่ยมด้าน ขนานของแรงและวิธีคำนวณ 4.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (ผเู้ รยี นสามารถปฏบิ ัตอิ ะไรได)้ - ทกั ษะการวเิ คราะห์ - ทักษะการสงั เกต - ทกั ษะการสือ่ สาร - ทักษะการทำงานรว่ มกนั - ทกั ษะการนำความรู้ไปใช้ 4.3 คณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ : Attitude (ผ้เู รยี นควรแสดงพฤติกรรมการเรียนอะไรบา้ ง) - มวี นิ ยั - ใฝ่เรยี นรู้ - มุ่งมัน่ ในการทำงาน - มคี วามซอ่ื สัตย์ 5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี นและคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. มวี นิ ัย 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝเ่ รียนรู้ 1) ทักษะการวิเคราะห์ 3. มุ่งมนั่ ในการทำงาน 2) ทักษะการสังเกต 4. มีความซื่อสัตย์ 3) ทักษะการสอื่ สาร 4) ทักษะการทำงานรว่ มกนั 5) ทักษะการนำความรู้ไปใช้ 3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผูช้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 63 6. กิจกรรมการเรยี นรู้  แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ช่ัวโมงที่ 1 ขน้ั นำ กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 จำนวน 10 ข้อ โดยใช้เวลา 30 นาที เพ่ือ นำไปสู่การศกึ ษาในเร่ือง แรงและกฎการเคลื่อนที่ 2. ครขู ออาสาสมัคร 1 คนออกมายนื หน้าห้องเรียน และใหอ้ อกแรงผลกั โต๊ะ และประตู แลว้ ให้นกั เรยี นสังเกต พร้อมถามคำถามกระตนุ้ ความสนใจ - นักเรียนสังเกตเห็นอะไร (โต๊ะเคลอื่ นท่ี ประตเู ปดิ ออก) - นักเรียนคดิ วา่ การท่ีเพ่อื นผลกั โต๊ะและประตู ทำให้โต๊ะและประตูเคลือ่ นท่ไี ด้เพราะเหตุใด (เพราะเพ่ือน ออกแรงในการผลัก) - นกั เรยี นคดิ วา่ ความหมายของ แรง คืออะไร (แรง คือ สง่ิ ท่สี ามารถทำให้วตั ถทุ ่ีอยู่น่งิ เคลอื่ นที่หรือทำให้ วตั ถทุ ีก่ ำลังเคลอ่ื นท่ีมคี วามเร็วเพ่ิมข้นึ หรอื ชา้ ลง หรือเปลย่ี นทิศทางการเคลื่อนท่ขี องวัตถุได้) 3. ครูใหน้ ักเรยี นดภู าพหนา้ หน่วย จากนนั้ ร่วมกันสนทนากบั นกั เรียนถึงเรื่อง การเคลือ่ นทีข่ องวตั ถุ เกี่ยวข้อง กับส่ิงใด โดยใชค้ ำถามเพ่อื เช่ือมโยงใหน้ กั เรียนเกิดการเรยี นรู้ในประเด็นต่อไปนี้ • การท่ีวตั ถุจะเคลื่อนที่หรอื ไม่เคลือ่ นที่ แรงต้องมสี ว่ นเก่ียวข้องทกุ คร้ังหรือไม่ อยา่ งไร • ครูถามคำถาม Big Question ว่า “ถ้านักเรียนออกแรงกระทำต่อวตั ถุ เพอ่ื ใหว้ ัตถเุ คลอื่ นที่ แต่วัตถุ นน้ั กลับไมเ่ คล่ือนท่ี เพราะเหตุใดจงึ เป็นเชน่ นน้ั ” (แนวตอบ : การออกแรงกระทำต่อวัตถุอาจทำให้วัตถุเคลื่อนที่ได้ หรือวัตถุอาจไม่เคลื่อนที่ เนื่องจากมีแรงย่อยอื่นมาร่วมกระทำ ทำให้เกิดการหักล้างของแรงในปริมาณเวกเตอร์ ดังนั้นวัตถุที่จะ เคลอ่ื นทีไ่ ด้หรอื ไมไ่ ด้ ขน้ึ อยกู่ บั แรงลัพธท์ ม่ี ากระทำตอ่ วัตถุ) 4. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั อภิปรายคำตอบของนักเรยี นเพ่อื เชอ่ื มโยงไปส่กู ารจัดการเรยี นรู้ เรอ่ื ง แรง และแรง ลพั ธ์ 5. ครูถามคำถาม Prior knowledge จากหนังสือเรียน หน้า 87 ว่า เมื่อนักเรียนเข็นรถแล้วรถนั้นเคลื่อนท่ี ทราบหรอื ไมว่ ่า สงิ่ ใดท่ที ำใหร้ ถเคล่อื นที่ (แนวตอบ : สิง่ ใดท่ีทำให้รถเคลือ่ นท่ี คือ แรง) 6. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนา เกี่ยวกับ เรื่อง การที่วัตถุจะเคลื่อนที่หรือไม่เคลื่อนที่ แรงต้องมีส่วน เกีย่ วขอ้ งทุกคร้งั หรอื ไม่ อย่างไร 7. ครถู ามนกั เรียนเพ่อื สร้างความสนใจว่า การท่วี ัตถจุ ะเคล่ือนท่ีหรอื ไม่เคล่อื นที่ แรงต้องมีส่วนเกี่ยวข้องทุก คร้ังหรอื ไม่ และการหาแรงลัพธ์หาไดก้ วี่ ิธี อะไรบ้าง อยา่ งไร” (ท้งิ ชว่ งให้นักเรียนคิด) จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผูช้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 64 8. นักเรียนร่วมกันอภปิ รายในแต่ละกลุ่ม ครูอาจเปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็น โดยยังไม่เนน้ ถูกผดิ 9. ตัวแทนนกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ นำเสนอความเหน็ ของกลมุ่ 10. ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั อภปิ รายเกย่ี วกับ การทวี่ ัตถจุ ะเคลอ่ื นที่หรือไม่เคลื่อนที่ แรงต้องมีส่วนเกี่ยวข้อง ทกุ ครงั้ หรือไม่ และการหาแรงลพั ธห์ าได้กว่ี ิธี อะไรบ้าง อยา่ งไร จากแนวคำตอบของนกั เรียน โดยครูยังไม่ เนน้ คำตอบที่ถูกต้อง 11. ครแู จ้งจุดประสงค์ในการเรยี นหัวขอ้ น้ีให้นกั เรยี นทราบ โดยบอกนักเรยี นว่า วนั นน้ี ักเรียนต้องสรุปให้ได้ ว่าแรงคอื อะไร แรงลพั ธ์คอื อะไร และเราสามารถการหาแรงลัพธ์ไดอ้ ยา่ งไร ขน้ั สอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครูให้นักเรียนค้นคว้าหาความรู้เกี่ยวกับแรงและแรงลัพธ์ จากหนังสือเรียน เพื่อเป็นการทำความเข้าใจ เนือ้ หาดว้ ยตนเองในเบือ้ งต้น 2. ครเู น้นให้นกั เรยี นทราบวา่ ถา้ มีแรงหลาย ๆ แรง มากระทำตอ่ วัตถเุ ดยี วกนั ในเวลาเดยี วกนั เสมือนกับว่า มีแรงเพียงแรงเดียวมากระทำต่อวัตถุนั้น เรียกแรงเสมือนแรงเดียวนี้ว่า แรงลัพธ์ และอธิบายเพิ่มเติมวา่ แรงลัพธ์ คือ ผลรวมของแรงหลาย ๆ แรงท่ีกระทำต่อวัตถุนนั้ 3. ครูถามนักเรยี นว่า นกั เรยี นสามารถหาแรงลพั ธไ์ ด้อย่างไร โดยถามวธิ ีการหาแรงลัพธ์ 4. ครนู ำอภิปรายเร่อื งวิธีการหาแรงลัพธ์ โดยอธิบายวา่ วธิ ีการหาแรงลพั ธ์นัน้ มี 2 วธิ ี คอื วิธีการสรา้ งรูป และ วธิ กี ารคำนวณ 5. ครูสาธิตวิธกี ารหาแรงลพั ธ์จากวธิ ีแรก คอื วิธกี ารสร้างรูป จากตัวอย่างที่ 3.1 และวิธที ่ี 2 วธิ ีการคำนวณ จากตวั อยา่ งที่ 3.2 และ 3.3 ในหนงั สอื เรยี น หน้า 89-92 6. จากนน้ั ครถู ามคำถาม H.O.T.S วา่ การหาแรงลพั ธ์ โดยการคำนวณจะต้องนำหลักการใดทางคณิตศาสตร์ มาใช้ (แนวตอบ : ทฤษฎีของพีธากอรัส ทฤษฎีส่ีเหลย่ี มด้านขนาน กฎของไซน์ และกฎของโคไซน)์ 7. ครูอธิบายการหาแรงลัพธ์ในกรณีมี 2 แรงทำมุมใด ๆ ตอ่ กนั โดยจะใช้ความสัมพนั ธ์ทางคณิตศาสตรใ์ น หนงั สือเรยี น หน้า 93 และสาธติ วิธีการหาแรงลพั ธ์จากตวั อย่างที่ 3.4 8. ครอู ธบิ ายเพิม่ เติมว่า ถ้ามีแรงหลาย ๆ แรงมากระทำกับวตั ถุ การหาแรงลัพธ์ สามารถหาไดโ้ ดยวิธกี ารแตก แรงหรอื แยกแรง ซงึ่ การแตกแรงหรอื แยกแรง คอื การแยกแรง 1 แรง ออกเปน็ แรงองคป์ ระกอบ 2 แรง ซงึ่ ต้ังฉากอยู่ตามแนวแกน x และแกน y ดงั ภาพประกอบในหนังสอื เรียน หนา้ 95 จากนั้นครแู ละนกั เรยี น ศกึ ษาการหาแรงลพั ธ์ โดยวิธีการแตกแรงหรือแยกแรงร่วมกนั จากตวั อย่างที่ 3.5 ในหนังสอื เรยี น หน้า 97 จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ้ชู ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 65 ช่วั โมงท่ี 2 ขน้ั สอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครทู บทวนบทเรียนที่เรยี นมาแล้ว ดว้ ยการซักถามและอธบิ าย ตอบขอ้ สงสยั ของนักเรยี น แลว้ ให้นกั เรยี น แบ่งกลุม่ ซึง่ ครูอาจใช้เทคนคิ การแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธ์ิ (STAD) คือ การจัดกิจกรรมการเรยี นรทู้ ่ีมีสมาชิก กลุ่ม 4–5 คน มีระดบั สติปัญญาแตกต่างกัน คือ เก่ง 1 คน: ปานกลาง 2–3 คน: ออ่ น 1 คน พรอ้ มท้ัง เลอื กประธานกลมุ่ รองประธานกล่มุ เลขานุการกลุ่ม และสมาชิกกลุ่ม โดยสับเปล่ยี นหนา้ ทใ่ี นการทำ กจิ กรรมกลุ่ม (หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมนิ นักเรียน โดยใช้แบบสังเกตการณ์ทำงานกล่มุ ) 2. ครูช้แี จงจุดประสงคก์ ารทดลองให้นกั เรียนทราบ ดงั น้ี - หาขนาดและทิศทางของแรงลพั ธข์ องแรงสองแรงที่ทำมุมตอ่ กนั - หาแรงลัพธข์ องแรงทงั้ สามดว้ ยวธิ กี ารเขยี นเวกเตอร์แบบหางตอ่ หัว 3. นักเรยี นทำกจิ กรรมการทดลอง เรือ่ ง การหาขนาดและทศิ ทางของแรงลัพธ์ 4. ครูใหค้ วามรู้ท่จี ำเปน็ ต่อการทดลอง ให้ขนั้ ตอนและรายละเอียดในการทดลองแก่นกั เรียน โดยใชว้ ิธกี ารตา่ ง ๆ ตามความเหมาะสม 5. นกั เรียนลงมือทดลองตามข้ันตอนการทดลองที่กำหนดในหนังสือเรยี น หนา้ 98 และบันทึกผลการทดลอง ช่วั โมงที่ 3 ขน้ั สอน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอ และสรุปผลการทำกิจกรรม การหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์หน้าชั้น เรียน 2. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั อภิปรายและหาข้อสรปุ จากการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม โดยใช้คำถามต่อไปน้ี • เวกเตอรข์ องแรงลัพธจ์ ะมขี นาดเท่ากับเวกเตอร์ของแรงทส่ี ามหรอื ไม่ และทศิ ทางเปน็ อยา่ งไร 3. ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั สรปุ ผลจากการปฏิบตั ิกิจกรรม โดยใหไ้ ดข้ ้อสรปุ ว่า ขณะกระดาษอยู่นิง่ แรงลัพธ์ท่ี กระทำต่อกระดาษเป็นศูนย์ ซึ่งแสดงให้เห็นได้ดว้ ยการใช้วิธีหางเวกเตอร์ต่อหัวเวกเตอร์ (โดยให้นักเรียน วาดรปู แรงทง้ั สามแรง) จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 66 ขน้ั สรุป ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครูอภิปรายองค์ความรู้จากการทำกิจกรรมว่า การหาขนาดและแรงลัพธ์สองแรงสามารถหาได้กี่กรณี อะไรบ้าง 2. ครชู ว่ ยอธบิ ายสรปุ เพ่อื ให้นักเรยี นเขา้ ใจดังนี้ • แรง (Force) คือ สิ่งที่กระทำต่อวัตถุในรปู ของการพยายามดงึ หรือดัน ที่จะทำให้วัตถุนัน้ เคล่อื นที่ และเมื่อแรงมากระทำต่อวตั ถุ วัตถุอาจจะเคลื่อนทีห่ รือไมก่ ็ได้ ทั้งน้ี เพราะอาจมีแรงอ่ืนกระทำตอ่ วัตถุด้วย เช่น ถ้าวัตถุวางอยูบ่ นพื้น แรงเสียดทานระหว่างพ้ืนกับวัตถุก็จะกระทำตอ่ วัตถุด้วย หาก แรงท่ีกระทำต่อวตั ถุไมม่ ากพอทจี่ ะเอาชนะแรงเสยี ดทาน วัตถุก็จะไมเ่ คล่ือนที่ (ซง่ึ แรงเสียดทานเรา จะเรยี นให้หัวข้อต่อไป) • แรงลัพธ์ คือ ผลรวมของแรงหลาย ๆ แรงที่กระทำต่อวัตถุนั้น และการรวมแรงเป็นการหาค่าแรง ลัพธ์ ทำได้โดยวธิ ีการวาดรปู และวิธกี ารคำนวณ ใช้หาแรงลัพธข์ องแรงย่อยที่มี 2 แรง 2. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเนื้อหาเรื่อง แรงและแรงลัพธ์ ว่ามีส่วนไหนที่ยังไม่เขา้ ใจและให้ความรู้ เพมิ่ เตมิ ในสว่ นน้นั 3. ครใู หน้ กั เรยี นร่วมกันทำใบงานท่ี 3.1 เรื่อง แรงและแรงลัพธ์ 4. ครูมอบหมายใหน้ กั เรียนแต่ละคนทำแบบฝึกหัดจาก Unit Question 3 ข้อ 18 ในหนังสือเรียนหน้า 141 เป็นการบา้ น ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูตรวจสอบผลการทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น 2. ครสู งั เกตการตอบคำถามของนกั เรียน 3. ครตู รวจสอบผลจากใบงานที่ 3.1 เร่ือง แรงและแรงลพั ธ์ 4. ครูตรวจการทำแบบฝึกหดั จาก Unit Question 3 5. ครตู รวจแบบฝกึ หัดที่ 1.1 – 1.2 เรอ่ื ง แรงและแรงลพั ธ์ 6. ครตู รวจสอบผลการใบกิจกรรม เรอ่ื ง การหาขนาดและทศิ ทางของแรงลพั ธ์ จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 67 7. การวดั และประเมินผล รายการวดั วธิ วี ัด เครอ่ื งมือ เกณฑ์การประเมนิ 7.1 การประเมนิ กอ่ นเรยี น ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน ประเมินตามสภาพจริง - แบบทดสอบก่อน กอ่ นเรยี น เรียน หน่วยการ เรยี นรู้ที่ 3 เร่อื ง แรงและกฎการ เคลื่อนท่ี 7.2 การประเมนิ ระหว่าง การจดั กจิ กรรม 1) แรงและแรงลพั ธ์ - ตรวจใบงานท่ี 3.1 - ใบงานที่ 3.1 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 2) การนำเสนอ - ประเมนิ การนำเสนอ - ผลงานท่นี ำเสนอ ระดบั คุณภาพ 2 ผลงาน ผลงาน ผ่านเกณฑ์ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดบั คณุ ภาพ 2 3) พฤตกิ รรมการ การทำงานรายบคุ คล การทำงานรายบคุ คล ผา่ นเกณฑ์ ทำงานรายบุคคล 4) พฤตกิ รรมการ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดับคุณภาพ 2 ทำงานกลุ่ม การทำงานกลุ่ม การทำงานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์ - สงั เกตความมีวินยั - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ 2 5) คุณลักษณะ ใฝ่เรียนรู้ และม่งุ ม่นั คุณลกั ษณะ ผา่ นเกณฑ์ อนั พงึ ประสงค์ ในการทำงาน อนั พงึ ประสงค์ 8. สือ่ /แหล่งการเรยี นรู้ 8.1 สื่อการเรยี นรู้ 1) หนังสอื เรียน รายวชิ าเพมิ่ เติม ฟสิ ิกส์ ม.4 เลม่ 1 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 3 แรงและกฎการเคล่ือนท่ี 2) ใบงานท่ี 3.1 เร่อื ง แรงและแรงลัพธ์ 3) ชุดการทดลอง เรือ่ ง การหาขนาดและทศิ ทางของแรงลัพธ์ 4) PowerPoint เรอื่ ง แรงและกฎการเคล่ือนท่ี 8.2 แหลง่ การเรียนรู้ 1) หอ้ งเรียน 2) ห้องสมุด จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผ้ชู ว่ ย กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 68 3) แหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ 9. การบรู ณาการตามจุดเนน้ ของโรงเรียน : ความหลากหลายทางชีวภาพ หลักปรชั ญา ครู ผเู้ รยี น ของเศรษฐกิจพอเพยี ง 1. ความพอประมาณ พอดีด้านเทคโนโลยี พอดดี ้านจิตใจ รู้จักใช้เทคโนโลยมี าผลติ สอ่ื ท่ี มีจติ สำนกึ ท่ีดี จติ สาธารณะร่วม เหมาะสมและสอดคลอ้ งเน้ือหาเปน็ อนุรกั ษ์ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ ประโยชน์ต่อผูเ้ รียนและพัฒนาจากภมู ิ สง่ิ แวดลอ้ ม ปญั ญาของผเู้ รียน 2. ความมเี หตุผล - ยดึ ถือการประกอบอาชพี ดว้ ยความ ไม่หยดุ นงิ่ ทหี่ าหนทางในชวี ิต หลุดพ้น ถูกต้อง สุจรติ จากความทกุ ข์ยาก (การค้นหาคำตอบ เพ่ือให้หลดุ พน้ จากความไม่ร้)ู 3. มภี มู ิคุมกนั ในตวั ทีด่ ี ภูมิปัญญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ ภมู ปิ ญั ญา : มคี วามรู้ รอบคอบ ระมัดระวงั รบั ผดิ ชอบ ระมดั ระวัง สร้างสรรค์ 4. เง่อื นไขความรู้ ความรอบรู้ เรือ่ ง แรงและแรงลัพธ์ ความรอบรู้ เร่อื ง แรงและแรงลัพธ์ ท่ีเกย่ี วข้องรอบดา้ น นำความรมู้ า สามารถนำความร้เู หลา่ น้ันมาพิจารณา เช่ือมโยงประกอบการวางแผน การ ใหเ้ กิดความเช่อื มโยง สามารถ ดำเนินการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ให้กับ ประยกุ ต์ ผู้เรียน ใชใ้ นชีวติ ประจำวันได้ 5. เง่อื นไขคณุ ธรรม มีความตระหนกั ใน คณุ ธรรม มี มคี วามตระหนกั ใน คณุ ธรรม มคี วาม ความซื่อสตั ย์สุจรติ และมีความอดทน ซอ่ื สัตยส์ จุ รติ และมคี วามอดทน มี มคี วามเพียร ใช้สตปิ ญั ญาในการ ความเพียร ใช้สตปิ ญั ญาในการดำเนนิ ดำเนนิ ชวี ิต ชีวิต สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ครู ผู้เรยี น ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - ความหลากหลายทางชีวภาพ - สำรวจความหลากหลายทาง - สำรวจความหลากหลายทางชีวภาพ ชีวภาพในโรงเรยี น (กำหนดจุดให้ ในโรงเรยี น (ตามจดุ ทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย) ผูเ้ รยี นสำรวจ) สิง่ แวดลอ้ ม ครู ผเู้ รียน ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - การอนรุ กั ษค์ วามหลากหลาย ทางชีวภาพ จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กล่มุ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 69 หลกั ปรชั ญา ครู ผูเ้ รยี น ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง - การอนรุ ักษ์ความหลากหลายทาง - สืบค้นขอ้ มูลการอนุรักษค์ วาม ชีวภาพ (กำหนดหวั ขอ้ ให้ผเู้ รยี น หลากหลายทางชีวภาพ (ตามหัวขอ้ ที่ สืบค้น) ได้มอบหมาย) 10. ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของผบู้ ริหารสถานศึกษาหรือผูท้ ่ไี ดร้ บั มอบหมาย 10.1 หวั หน้ากล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ…………………………………………. (นางกมลชนก เทพบุ) ………./……………./…………. 10.2 ผูช้ ว่ ยผอู้ ำนวยการฝ่ายบริหารวิชาการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชือ่ …………………………………………. (นางสาวรัตติกาล ยศสขุ ) ………./……………./…………. 10.3 ผู้อำนวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 70 ลงช่อื …………………………………………. (นางวิลาวัลย์ ปาลี) ………./……………./…………. 11. บันทกึ ผลหลงั การสอน  ด้านความรู้  ด้านสมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น  ด้านคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์  ด้านความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์  ด้านอ่นื ๆ (พฤตกิ รรมเดน่ หรือพฤตกิ รรมที่มปี ญั หาของนักเรียนเปน็ รายบุคคล (ถ้ามี))  ปัญหา/อปุ สรรค  แนวทางการแกไ้ ข จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 71 ลงชือ่ .........................................................ครูผู้สอน (นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา) ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย ใบงานที่ 3.1 เรือ่ ง แรงและแรงลพั ธ์ คำชแี้ จง : ให้นกั เรยี นตอบคำถามต่อไปนี้และแสดงวธิ ีทำให้ถกู ต้อง 1. แรงมคี วามหมายว่าอย่างไร 2. จงหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์ (⃑R) ของแรงยอ่ ยที่มีขนาดและทิศทางตามรปู โดยการคำนวณ จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 4 72 ใบงานท่ี 3.1 เรอื่ ง แรงและแรงลัพธ์ คำช้ีแจง : ให้นักเรยี นตอบคำถามต่อไปน้แี ละแสดงวิธที ำใหถ้ ูกตอ้ ง 3. จงหาขนาดและทิศทางของแรงลพั ธ์ ของแรงตา่ ง ๆ ท่ีมากระทำร่วมกนั โดยมขี นาดและทิศทางตามรูป จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 4 73 ใบงานท่ี 3.1 เฉลย เร่อื ง แรงและแรงลัพธ์ คำช้แี จง : ใหเ้ ตมิ ขอ้ ความหรอื ความหมายของคำตอ่ ไปนใ้ี หส้ มบูรณ์ 1. แรงมคี วามหมายว่าอย่างไร แรง (force) หมายถึง สิ่งที่สามารถทำให้วัตถุที่อยู่นิ่งเคลื่อนที่หรือทำให้วัตถุที่กำลังเคลื่อนที่มีความเร็ว เพิ่มขึ้นหรอื ช้าลง หรือเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุได้ แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์ทีต่ ้องบอกทั้งขนาดและ ทิศทาง ดังนั้นการหาผลของแรงลัพธท์ ีก่ ระทำตอ่ วตั ถจุ ากการรวมกันระหว่างแรงยอ่ ย 2 แรงขนึ้ ไป 2. จงหาขนาดและทิศทางของแรงลพั ธ์ (R⃑ ) ของแรงย่อยทีม่ ีขนาดและทิศทางตามรูป โดยการคำนวณ จากสมการ R⃑ = √F12 + F22 + 2F1F2 cos θ F1 = 900 N F2 = 400 N θ = 60° R⃑ = √(900)2 + (400)2 + (2)(400)(900) cos 60 = √1330000 = 1153.25 N จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 74 จากสมการ tan α = F1 sin θ F2+F1 cos θ tan α = 400 sin 60 900+400 cos 60 α = 17.48° ดงั นัน้ แรงลพั ธ์มีขนาด 1153.25 N มที ิศทามุมกับแนวนอน 17.48° ใบงานท่ี 3.1 เฉลย เรือ่ ง แรงและแรงลพั ธ์ คำชีแ้ จง : ใหเ้ ติมข้อความหรือความหมายของคำต่อไปนีใ้ ห้สมบรู ณ์ 3. จงหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์ ของแรงตา่ ง ๆ ทมี่ ากระทำรว่ มกันโดยมีขนาดและทิศทางตามรูป แยกแรง 400 N ไปตามแกน X = 400 cos 45° แยกแรง 400 N ไปตามแกน Y = 400 sin 45° แยกแรง 900 N ไปตามแกน X = 900 cos 60° แยกแรง 900 N ไปตามแกน Y = 900 sin 60° รวมแรงตามแกน x, ∑Fx = 900 cos 60° – 400 cos 45° รวมแรงตามแกน X; ∑Fx = 900 cos 60° – 400 cos 45° ∑Fx = 167.15 N รวมแรงตามแกน Y; ∑Fy = 900 sin 60° – 400 sin 45° ∑Fy = 1062.2 N R = √(∑ Fx)2 + (∑ Fy)2 จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 75 = √(167)2 + (1062)2 R = 1,075 N หาทศิ ทางของแรงลพั ธ์ จากสมการ tan α = ∑ Fy ∑ Fx = 1062 167 = 6.36 tan α = 81.05° ดงั นั้น แรงลัพธม์ ีขนาด 1075 นวิ ตัน มีทิศทามมุ กับแกน X 81.05° จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 61 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นที่ 1/2563 กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา ฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 แรงและกฎการเคล่อื นท่ี จำนวนเวลาท่สี อน 8 ช่วั โมง เรือ่ ง กฎการเคลอ่ื นทีข่ องนิวตัน ครูผู้สอน นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา 1. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด (ความเขา้ ใจท่คี งทน) มวล (mass) เป็นสมบัติประจำตัวของวัตถุอย่างหนึ่งโดยเป็นสมบัติทางความเฉื่อย (inertia) ตอการ เปลี่ยนแปลงการเคล่อื นทข่ี องวตั ถุ โดยท่ีมวลเป็นปรมิ าณสเกลาร ในระบบเอสไอมหี นว่ ยเปน็ กิโลกรัม (kg) กฎข้อที่หนึ่งของนิวตัน หรือกฎแห่งความเฉื่อย กล่าวว่า \"วัตถุทุกชนิดจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงท่ี นอกจากมแี รงมากระทำต่อวตั ถุ\" กฎข้อที่สองของนิวตัน กล่าวว่า \"ความเร่งของของวัตถุจะแปลผันตรงกับแรงสุทธิท่ีกระทำต่อวัตถุ และ แปรผกผันกับมวลของวัตถุ\" ทิศของความเร่งจะมีทิศเดยี วกับแรงสุทธิที่กระทำบนวัตถุ สามารถเขียนอยู่ในรูป ของสมการทางคณิตศาสตรไ์ ด้ดงั น้ี n ∑ F⃑ i = ma⃑ i=0 กฎขอ้ ทสี่ ามของนวิ ตัน - กฎของแรงกริ ยิ าและแรงปฏกิ ิริยา กล่าวว่า \"เมือ่ วตั ถชุ น้ิ หนงึ่ ออกแรง (แรงกิริยา , action) กระทำต่อวัตถุอีกชิ้นหนึ่ง วัตถุอันหลังจะออกแรงด้วยขนาดทีเ่ ท่ากันแต่ทิศตรงกันข้าม (แรงปฏิกิริยา - reaction) กับแรงท่ีเกดิ จากวตั ถุอันแรก\" 2. ผลการเรียนรู้ 5. เขียนแผนภาพของแรงท่กี ระทำต่อวตั ถอุ ิสระ ทดลองและอธบิ ายกฎการเคลอ่ื นท่ขี องนิวตนั และการใช้กฎ การเคลือ่ นทข่ี องนวิ ตันกับสภาพการเคลอ่ื นทข่ี องวัตถุ รวมทัง้ คำนวณปรมิ าณต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ งได้ 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ (Knowledge) 1) สามารถบอกความหมายของมวลและกฎการเคลอ่ื นทีข่ องนวิ ตันทั้งสามข้อได้ 3.2 ด้านทักษะและกระบวนการ (Skill/Process) 2) มีทักษะการคำนวณหากฎการเคลือ่ นท่ีของนวิ ตันได้ถกู ต้อง 3.3 ด้านเจตคติ (Attitude) 3) เพื่อให้มีเจตคตติ ่อวิชาฟิสกิ ส์ ในดา้ นคุณภาพการสอน ด้านเน้ือหา ด้านกิจกรรมการเรยี นรู้ และด้าน บรรยากาศการเรียนรู้ จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 62 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 เนอื้ หาสาระหลัก : Knowledge (ผเู้ รยี นตอ้ งรูอ้ ะไร) - สมบัตขิ องวัตถทุ ต่ี ้านการเปล่ียนสภาพการเคลื่อนท่ี เรียกวา่ ความเฉื่อย มวลเปน็ ปริมาณท่ีบอกให้ ทราบวา่ วัตถใุ ดมคี วามเฉ่อื ยมากหรือนอ้ ย - การหาแรงลพั ธ์ทีก่ ระทำตอ่ วัตถุสามารถเขียนเป็นแผนภาพของแรงทกี่ ระทำต่อวัตถอุ สิ ระได้ - กรณที ี่ไม่มีแรงภายนอกมากระทำ วตั ถจุ ะไมเ่ ปลยี่ นสภาพการเคล่ือนท่ีซง่ึ เปน็ ไปตามกฎการเคล่ือนท่ี ขอ้ ทห่ี นึ่งของนวิ ตัน - กรณีที่มีแรงภายนอกมากระทำโดยแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุ ไม่เป็นศูนย์ วัตถุจะมีความเร่ง โดย ความเร่งมีทิศทางเดียวกับแรงลัพธ์ ความสัมพันธ์ระหว่างแรงลัพธ์ มวลและความเร่ง เขียนแทนได้ด้วย สมการ n ∑ F⃑ i = m⃑a i=0 ตามกฎการเคล่ือนทีข่ ้อทหี่ น่ึงของนิวตัน - เม่ือวตั ถุสองกอ้ นออกแรงกระทำตอ่ กนั แรงระหวา่ งวัตถทุ ั้งสองจะมขี นาดเท่ากนั แต่มีทิศทางตรงขา้ ม และกระทำต่อวัตถุคนละก้อน เรียกว่า แรงคูก่ ริ ยิ า-ปฏิกริ ิยา ซึ่งเป็นไปตามกฎการเคลอื่ นที่ข้อที่สามของนิว ตัน และเกดิ ขึ้นได้ทง้ั กรณที ่ีวตั ถทุ ้ังสองสัมผัสกันหรอื ไม่สัมผสั กันก็ได้ 4.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process (ผูเ้ รยี นสามารถปฏบิ ตั อิ ะไรได)้ - ทักษะการวเิ คราะห์ - ทกั ษะการสงั เกต - ทักษะการสอื่ สาร - ทักษะการทำงานร่วมกนั - ทกั ษะการนำความร้ไู ปใช้ 4.3 คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ : Attitude (ผู้เรยี นควรแสดงพฤตกิ รรมการเรียนอะไรบา้ ง) - มวี นิ ยั - ใฝเ่ รียนรู้ - มงุ่ ม่ันในการทำงาน - มคี วามซอื่ สัตย์ จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 63 5. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี นและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. ความสามารถในการส่ือสาร 1. มีวนิ ัย 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรียนรู้ 1) ทกั ษะการวเิ คราะห์ 3. มุง่ ม่ันในการทำงาน 2) ทกั ษะการสงั เกต 4. มคี วามซอ่ื สตั ย์ 3) ทักษะการส่ือสาร 4) ทักษะการทำงานรว่ มกัน 5) ทักษะการนำความรไู้ ปใช้ 3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต 6. กิจกรรมการเรยี นรู้  แนวคิด/รูปแบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ช่ัวโมงที่ 1 ขน้ั นำ กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั ทบทวนความรเู้ ดิมเกย่ี วกับแรง เพ่ือเปน็ ความรู้พ้นื ฐานนำไปสู่การศกึ ษา เร่อื ง มวล 2. จากคำถาม Prior Knowledge มวลมีผลตอ่ การเคลอ่ื นทห่ี รือไม่ อยา่ งไร (แนวตอบ วัตถุใดที่มีมวลมาก จะต้านการเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่มาก ในทางกลับกัน วัตถุใดมี มวลน้อยจะต้านการเปลีย่ นสภาพการเคล่ือนที่น้อย) 3. ครูเปดิ ประเด็นและนำอภปิ รายโดยคำถามที่เช่ือมโยงสู่ชีวิตประจำวันว่า ระหวา่ งรถยนต์กับรถบรรทุก ถ้า เคลื่อนท่ีด้วยความเร็วคงตัวเท่ากัน เมื่อเบรกอยา่ งกะทันหันรถคันไหนสามารถหยุดน่ิงได้ก่อน เพราะเหตุ ใด (รถยนต์ เพราะว่า รถยนต์มีมวลนอ้ ย ยอ่ มมีความเฉอื่ ยนอ้ ยกวา่ ) 4. ครูให้นักเรียนจับคู่ทดลอง โดยการนำไม้บรรทัดมาดีดให้เคลื่อนที่กลับไปกลับมา แล้วช่วยกันสังเกตการ เคลือ่ นท่ขี องไม้บรรทัด จากน้ันนำดนิ น้ำมัน มาตดิ ไวท้ ่ีปลายไมบ้ รรทัด แล้วดีดไม้บรรทดั เหมอื นเดมิ อีกคร้ัง สังเกตการเคลื่อนที่ของไม้บรรทัด แล้วให้นักเรียนทุกคนช่วยกันตอบคำถามโดยใช้คำถามว่า จากการ ทดลองท้ัง 2 กรณี การเคลือ่ นทตี่ ่างกนั หรอื ไม่ อยา่ งไร (เคลอื่ นท่ตี ่างกัน ไมบ้ รรทดั ทไ่ี ม่มีมวลดินน้ำมันติด จะเคลื่อนที่ครบวงรอบโดยใช้เวลาในการเคลื่อนที่กลับไปกลับมาแล้วจึงหยุด ส่วนไม้บรรทัดที่มีมวลดิน นำ้ มนั ตดิ อยู่ จะเคล่ือนท่ีใช้เวลานานกว่าไม้บรรทัดทไี่ ม่มมี วลดนิ น้ำมันตดิ อยูจ่ ึงจะหยดุ นงิ่ จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 64 5. ครูถามนักเรียนต่อไปว่า เพราะเหตุใด ไม้บรรทัดที่มีมวลดินน้ำมันติดอยู่ ให้เวลาเคลื่อนที่นานกว่าจึงจะ หยุดนิง่ (เปน็ เพราะมีมวลเขา้ มาเก่ียวข้อง ถ้ามีมวลมากความเฉื่อยกจ็ ะมาก จึงทำใหไ้ มบ้ รรทัดท่ีมีมวลของ ดนิ น้ำมนั ติดอยู่ จึงใชเ้ วลานานกวา่ ไม้บรรทดั เปลา่ จงึ จะหยดุ เคลอื่ นท)ี่ 6. ครูชี้ให้นักเรียนเห็นว่า การเคลื่อนที่มีความเฉื่อยมาเกี่ยวข้อง แล้วถามนักเรียนว่า ความเฉื่อย คืออะไร (ความเฉือ่ ย คือ สมบตั ิของวตั ถุทพ่ี ยายามรักษาสภาพการเคลื่อนที่ ดงั น้นั การทว่ี ตั ถุมีมวลมาก ๆ วัตถุนั้น จะมีความเฉื่อยมาก การเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ทำได้ยากกว่าวัตถุที่มีมวลน้อย หรือวัตถุมีมวลมากมี ความเฉื่อยมากทำให้วัตถุนั้นเคลื่อนที่ยาก ต้องใช้แรงมาก วัตถุที่มีมวลน้อยมีความเฉื่อยน้อยทำให้วัตถุ เคลอื่ นที่งา่ ย ใชแ้ รงน้อย) 7. นกั เรยี นชว่ ยกนั ตอบคำถาม แสดงความคิดเห็นตามความรู้และประสบการณ์ของนักเรียน โดยครูยังไมเ่ น้น คำตอบท่ีถกู ต้อง ครูและนกั เรยี นอภิปรายสรปุ ร่วมกัน ชั่วโมงท่ี 2 ขน้ั สอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครถู ามคำถาม Prior Knowledge เพ่อื นำไปสกู่ ารศึกษา เร่อื ง กฎการเคล่อื นทขี่ องนวิ ตนั วา่ ถา้ นักเรียน ออกแรงเขน็ รถ แต่รถไมเ่ คลอ่ื นที่ นกั เรยี นคิดวา่ เป็นเพราะเหตุใด (แนวตอบ วัตถุคงสภาพอยู่นิ่ง หรือสภาพการเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว ซึ่งเป็นไปตามกฎการ เคลื่อนท่ีข้อทหี่ นง่ึ ของนวิ ตัน) 2. ครูให้นกั เรยี นแบ่งเปน็ กลุ่ม กลมุ่ ละ 4-5 คน ให้สมาชิกในกลุ่มเลือกหวั หน้ากลุ่มเพือ่ ประสานงานกลุ่มและ มอบหมายหน้าที่ให้สมาชิกในกลุ่มตามความสามารถ (พอประมาณ) ไปสืบค้นข้อมูลหรือกิจกรรมที่ เกยี่ วข้องกบั กฎการเคลือ่ นท่ีขอ้ ทหี่ นงึ่ ของนิวตนั จากแหลง่ เรียนรูต้ ่าง ๆ เพอื่ นำมาจดั ปา้ ยนเิ ทศ 3. นักเรยี นนำข้อมลู ที่ได้จากการสืบค้นมาวเิ คราะห์และเรยี บเรยี งเนื้อหาเพอ่ื ใช้สำหรับการนำเสนอโดย แลกเปล่ียนความคดิ เห็นกนั ภายในกลุม่ (หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมินนกั เรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตการณ์ทำงานกลมุ่ ) 4. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกนั คิดวิเคราะห์ คน้ หาวธิ ีการ การจัดป้ายนเิ ทศเรอ่ื ง กฎการเคล่อื นท่ีข้อที่หน่ึงของ นิวตัน เพื่อนำเสนอประกอบการรายงานหน้าชั้นเรียน โดยนักเรียนทุกคนต้องใช้วัสดุ อุปกรณ์ หรือวัสดุ เหลอื ใช้ (เชน่ หนังสอื พิมพ์) ทมี่ ใี นโรงเรียนเทา่ นนั้ สำหรับตกแตง่ ป้ายนเิ ทศสำหรับใชน้ ำเสนอ จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผูช้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 65 ชั่วโมงที่ 3 ขน้ั สอน อธบิ ายความรู้ (Explain) 5. ครูให้นักเรียนแต่กลุม่ ส่งตัวแทน 2 คน แต่ละกลุ่มนำเสนอหน้าชั้นเรียน พร้อมป้ายนิเทศของกลุ่มตนเอง โดยครูและนกั เรียนกลุ่มอืน่ ๆ ชว่ ยกันประเมนิ การอภปิ รายและการนำเสนอ ขน้ั สรุป ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. หลกั จากท่ที ุกคนนำเสนอหนา้ ช้ันเรียนครบแล้ว ครูนำนักเรียนอภิปรายสรปุ เกย่ี วกับกฎการเคลื่อนท่ีข้อที่ หน่ึงของนวิ ตัน ดงั น้ี กฎการเคลอ่ื นท่ีขอ้ ท่หี นงึ่ ของนวิ ตัน หรอื อาจเรยี กว่า กฎแห่งความเฉือ่ ย (inertia law) กล่าววา่ “วตั ถจุ ะคงสภาพอยู่น่งิ หรอื สภาพเคลื่อนทด่ี ว้ ยความเรว็ คงตัวในแนวตรง นอกจากจะมแี รงลพั ธซ์ ึง่ มคี า่ ไม่ เป็นศนู ยม์ ากระทำ” หรือสรุปเปน็ สมการ ∑F = 0 2. ครูนำส่ือ power point เร่อื ง กฎการเคลอื่ นท่ีขอ้ ทหี่ นึ่งของนวิ ตนั ให้นกั เรียนศึกษา พรอ้ มทั้งอภปิ ราย รว่ มกับนักเรยี นเพอื่ สรุป กฎการเคลื่อนทีข่ อ้ ทหี่ นึ่งของนวิ ตนั 3. ครูนำอภปิ รายและใหค้ วามร้เู ก่ียวกับการนำกฎการเคลอื่ นที่ข้อท่ีหนึ่งของนิวตันไปอธบิ ายปรากฎการณ์ ต่าง ๆ ทเี่ กดิ ข้ึนในชีวติ ประจำวนั โดยนำอภิปรายโดยคำถามทวี่ า่ เพราะเหตใุ ด เมื่อรถที่กำลงั เคลื่อนทอ่ี ยู่ คนขบั รถเหยยี บเบรกกะทันหัน เพ่อื จะหยุดรถ ตวั เราจึงถกู ผลักมาขา้ งหนา้ กเ็ พราะวตั ถตุ ้องการรกั ษา สภาพการเคลอ่ื นทีเ่ ดิม ซึง่ เปน็ ไปตามกฎขอ้ ที่หนึง่ ของนวิ ตัน 4. ครูเปิดโอกาสให้นักเรยี นสอบถามเน้อื หาเร่ือง กฎข้อทหี่ น่งึ ของนวิ ตนั ว่ามสี ่วนไหนทย่ี งั ไม่เข้าใจและให้ ความร้เู พ่มิ เติมในส่วนน้ัน ชว่ั โมงท่ี 4 ขน้ั นำ กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูทบทวนความรเู้ ดิมเก่ียวกับเรอื่ งกฎการเคล่ือนทีข่ อ้ ท่หี นงึ่ ของนิวตนั เพอ่ื จะไดเ้ ชื่อมโยงเน้ือหา 2. ครถู ามนักเรียนวา่ ถา้ วัตถุเคลอ่ื นท่ีโดยมีแรงลัพธ์มากระทำทม่ี ีค่ามากกว่าศนู ย์ วตั ถจุ ะเคลือ่ นท่ีอยา่ งไร และจะมีปรมิ าณใดบา้ งเกิดข้ึนขณะวัตถุเคลอ่ื นที่ (ท้งิ ชว่ งให้นกั เรียนคดิ ) เพ่อื นำไปสกู่ ารศกึ ษา เรื่อง กฎ การเคลื่อนทีข่ ้อทสี่ องของนวิ ตนั จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 66 3. นกั เรยี นชว่ ยกนั ตอบคำถาม แสดงความคดิ เห็นตามความรูแ้ ละประสบการณ์ของนกั เรียน โดยครยู งั ไมเ่ นน้ คำตอบท่ีถูกต้อง ครแู ละนักเรียนอภิปรายสรุปร่วมกัน ขน้ั สอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครูทบทวนความร้เู ดิมเกยี่ วกบั กฎการเคลอ่ื นที่ขอ้ ทหี่ นึ่งของนวิ ตัน เพ่อื จะได้เชอื่ มโยงเน้ือหา 2. นักเรียนสืบค้นข้อมูลเพื่อหาคำตอบจากหนังสือเรียน หน้า 102 และเพื่อนำไปสู่เนื้อหาเกี่ยวกับกฎการ เคล่ือนท่ีขอ้ ทีส่ องของนิวตัน 3. ครูอธิบายว่า เมื่อมีแรงลัพธ์คงตัวและมีคา่ มากกว่าศูนย์มากระทำต่อวัตถุจะเคลื่อนท่ีตามทิศของแรงลัพธ์ ด้วยความเร่งโดยความเร่งแปรผันตรงกับแรงลัพธแ์ ละแปรผกผันกบั มวล หรือสรุปเป็นสมการ ∑F = ma เราเรียกสมการนีว้ ่า กฎการเคลื่อนทข่ี อ้ ที่สองของนิวตนั 4. ครยู กตวั อย่างเพ่ือใหน้ ักเรียนเขา้ ใจมากขน้ึ สมมติว่านักเรียนมีมวล 50 กโิ ลกรมั และเดนิ ด้วยความเร่ง 1 เมตร/วนิ าที2 นกั เรียนสามารถหาแรงท่ีใช้ได้โดยการแทนคา่ มวลและความเร่งลงในสมการ นัน่ คือ แรง = 50 kg x 1 m/s2 แรง = 50 kg.m/s2 = 50 N 5. ครใู หน้ กั เรยี นศึกษาตัวอย่างการคำนวณเกี่ยวกับกฎการเคลือ่ นท่ขี ้อท่ีสองของนิวตนั พร้อมท้ังให้นักเรียน ฝกึ แกโ้ จทย์ปญั หาในหนงั สือเรยี น หนา้ 103-104 ตามข้ันตอนการแกโ้ จทย์ปญั หา ดังนี้ • ขน้ั ที่ 1 ครใู หน้ ักเรยี นทุกคนทำความเขา้ ใจโจทย์ตัวอยา่ ง • ขน้ั ที่ 2 ครูถามนักเรียนว่า สิ่งที่โจทยต์ ้องการถามหาคืออะไร และจะหาส่ิงทโี่ จทย์ต้องการ ต้องทำ อย่างไร • ข้ันท่ี 3 ครใู หน้ ักเรียนดูวิธที ำในการคำนวณหาคำตอบ • ข้นั ที่ 4 ตรวจสอบคำตอบของโจทยต์ ัวอย่างวา่ ถูกตอ้ ง หรือไม่ 6. ครูให้นักเรียนทำแบบฝกึ หดั เรื่อง กฎการเคล่ือนทีข่ องนวิ ตนั เปน็ การบา้ นสง่ ในช่วั โมงตอ่ ไป ชั่วโมงที่ 5 ขน้ั สอน สำรวจคน้ หา (Explore) 7. ครถู ามนักเรียนวา่ ถา้ นกั เรยี นจะทำการทดลอง เพ่อื ศกึ ษาการเคลอื่ นท่ีของวตั ถุ เมอื่ มีแรง 2 แรงทีม่ ีขนาด ของแรงแตกตา่ งกัน และมีทศิ ทางตรงกันข้ามกระทำตอ่ วตั ถุช้นิ เดียวกัน นกั เรยี นจะกำหนดปญั หานไี้ ด้วา่ จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 67 อยา่ งไร โดยใหน้ ักเรียนแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกันกำหนดปัญหา หลังจากน้ันครูนำขอ้ ปญั หาของแตล่ ะกลุ่มเขียน ไวบ้ นกระดาน เพื่อให้นักเรยี นรว่ มกนั วิเคราะห์และสรปุ รว่ มกนั 8. ครูใหน้ กั เรยี นแบง่ กลุ่ม ซ่ึงครอู าจใชเ้ ทคนคิ การแบ่งกลุม่ ผลสัมฤทธ์ิ (STAD) คอื การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ที่มีสมาชิกกลุม่ 4–5 คน มีระดบั สติปญั ญาแตกตา่ งกนั คอื เก่ง 1 คน: ปานกลาง 2–3 คน: ออ่ น 1 คน พรอ้ มทัง้ เลือกประธานกลุ่ม รองประธานกลุ่ม เลขานกุ ารกลุม่ และสมาชกิ กลมุ่ โดยสับเปล่ยี นหนา้ ท่ีใน การทำกิจกรรมกลุ่ม (หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมินนักเรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตการณ์ทำงานกลุ่ม) 9. ครูชแ้ี จงจุดประสงคก์ ารทดลองใหน้ ักเรียนทราบ ดงั น้ี - เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงที่กระทำต่อวัตถุกับความเร่งของวัตถุที่เกิดจากแรงนั้น เมื่อมวลของ วัตถุที่พจิ ารณามคี ่าคงตวั 10. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมการทดลอง เรื่อง แรงและความเรง่ 11. ครูใหค้ วามร้ทู จ่ี ำเปน็ ตอ่ การทดลอง แนะนำการจดั เตรยี มอปุ กรณ์ แนะนำให้ข้นั ตอน และรายละเอยี ดใน การทดลองแก่นักเรยี น โดยใช้วธิ ีการตา่ ง ๆ ตามความเหมาะสม 12. ครูอาจถามกระต้นุ ให้นกั เรียนไดค้ ิด ด้วยตวั อยา่ งคำถามตอ่ ไปนี้ • ถ้ามวลสองขา้ งเท่ากัน รถทดลองจะมกี ารเคลือ่ นทห่ี รือไม่ • รถทดลองเคล่ือนที่ด้วยความเรง่ หรอื ไม่ อยา่ งไร 13. นกั เรยี นลงมือทดลองตามขนั้ ตอนการทดลองทกี่ ำหนดในหนงั สือเรียน หนา้ 105-106 และบันทึกผลการ ทดลอง 14. นักเรียนแต่ละกลุ่มวิเคราะห์สรปุ ผลการทดลอง วิธีการหาค่าความเร่งของการตกอย่างอิสระของถุงทราย จากการทำกิจกรรมโดยใช้เครื่องเคาะสัญญาณเวลาและนำแสนอหน้าชั้นเรียน ครูและนักเรียนร่วม อภิปรายการทดลองตามแนวคำถามท้ายการทดลอง สรุปการเรียนรู้ 15. ครเู ชื่อมโยงความรจู้ ากการทดลองให้นักเรียนไดร้ ่วมกนั วิเคราะห์ถงึ ความสัมพันธ์ของปริมาณต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้องกับกฎการเคลอ่ื นที่ข้อที่สองของนิวตนั 16. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั อภปิ รายเกยี่ วกับกฎการเคล่ือนทขี่ ้อท่ีสองของนิวตนั ช่ัวโมงที่ 6 ขน้ั สอน อธิบายความรู้ (Explain) 1. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกันวิเคราะห์ผลการทดลองและสรุปผลการทดลอง 2. ครูใหต้ ัวแทนแต่ละกลมุ่ นำเสนอผลการทดลอง จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 68 3. นักเรียนบนั ทึกผลการทดลองในใบงานกิจกรรม เรื่อง แรงและความเรง่ เขียนกราฟความสัมพันธ์จากผล การทดลองทีไ่ ด้ แล้ววเิ คราะห์ผล และสรปุ ผลทดลองจากกราฟความสัมพนั ธ์ ขน้ั สรปุ ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. หลักจากที่ทุกคนนำเสนอหน้าชัน้ เรียนครบแล้ว ครูนำนักเรียนอภิปรายและสรปุ เกี่ยวกับกฎการเคลื่อนที่ ข้อที่สองของนวิ ตนั ดังน้ี กฎข้อที่สองของนิวตนั กล่าวว่า \"ความเร่งของของวัตถุจะแปลผันตรงกับแรงสุทธิที่กระทำต่อวัตถุ และแปรผกผันกับมวลของวัตถ\"ุ ทิศของความเร่งจะมีทิศเดียวกับแรงสุทธิทกี่ ระทำบนวัตถุ สามารถเขียน อยใู่ นรปู ของสมการทางคณติ ศาสตรไ์ ด้ คือ ∑F = ma 2. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเนื้อหาเรื่อง กฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตัน ว่ามีส่วนไหนที่ยังไม่ เข้าใจและใหค้ วามรเู้ พิ่มเติมในสว่ นน้นั และนักเรียนสามารถดจู ากส่ือดจิ ทิ ัล เรอ่ื ง กฎการเคลอื่ นที่ขอ้ ทสี่ อง จากหนงั สือเรยี น หนา้ 104 ด้วยวธิ ีการสแกน QR Code 3. ครูนำอภิปรายและให้นักเรียนร่วมกันยกตัวอย่าง อธิบายปรากฎการณ์ หรือเทคโนโลยีต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง กับกฎการเคลอื่ นท่ขี ้อทสี่ องของนวิ ตัน 4. ครูและนกั เรยี นร่วมกนั เฉลยคำถามจาก Unit Question 3 และแบบฝึกหัด เรื่อง กฎการเคลื่อนทีข่ องนวิ ตัน 5. ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละคนทำแผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) แล้วส่งเป็นการบ้านในคาบ เรยี นต่อไป ชว่ั โมงท่ี 7-8 ขน้ั นำ กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูทบทวนความรู้เดิมเกีย่ วกบั เรอ่ื งกฎการเคลื่อนทข่ี ้อท่หี นงึ่ และขอ้ ทสี่ องของนิวตนั เพอื่ จะได้เชอ่ื มโยง เน้ือหา 2. ครูอาจจะสาธิตหรือถามนกั เรียนวา่ การปล่อยลูกปงิ ปองหรอื ลูกเทนนสิ บนพ้ืนโต๊ะ ใหน้ ักเรยี นสังเกตและ ร่วมกันอภปิ รายว่า เหตุใดลกู ปงิ ปองหรือลูกเทนนิสจึงกระดอนขึน้ จากพื้นโต๊ะ โดยให้นักเรยี นแสดงความ คิดเหน็ 3. ครตู ้งั คำถามวา่ ทิศทางของแรงเน่อื งจากการตกของลกู ปิงปองหรือลูกเทนนิสกับทศิ ทางของแรงที่พ้นื โต๊ะ กระทำตอบโต้ลกู ปิงปองหรือลกู เทนนิส มีทิศทางอยา่ งไร จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 69 4. นักเรียนช่วยกนั ตอบคำถาม แสดงความคิดเห็นตามความรแู้ ละประสบการณ์ของนกั เรยี น โดยครูยงั ไมเ่ นน้ คำตอบทีถ่ กู ต้อง 5. ครอู ธิบายเพิม่ เตมิ วา่ แรงที่ลกู ปิงปองหรือลูกเทนนิสพุ่งชนพน้ื เรียกว่า แรงกริ ิยา สว่ นแรงที่พน้ื ออกแรงตอบ โต้ เรียกวา่ แรงปฏกิ ริ ยิ า ขน้ั สอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. นักเรยี นสืบคน้ ขอ้ มูลเพอื่ หาคำตอบจากหนังสือเรยี น หน้า 107 และเพ่ือนำไปสู่เน้ือหาเกยี่ วกบั กฎการ เคลือ่ นทข่ี อ้ ทส่ี ามของนิวตนั 2. ครอู ธิบายวา่ เราไม่ได้ออกแรงกระทำตอ่ วัตถุเพียงฝา่ ยเดยี วเทา่ น้ัน เมื่อวตั ถหุ นงึ่ ออกแรงกระทำกับอีกวัตถุ หนึ่ง วัตถุที่สองก็จะออกแรงกระทำกลับไปยังวัตถุแรก โดยที่แรงกระทำกลับนี้จะมีขนาดเท่ากันแต่มีทิศ ตรงกันข้ามกับแรงแรก ซึง่ นวิ ตันเรยี กแรงทงั้ สองน้วี ่าเป็นแรงกิรยิ า (action) และแรงปฏิกริ ิยา (reaction) กฎข้อที่สามของนิวตนั ได้กล่าวไว้ว่า ถ้าวัตถุหนึ่งออกแรงกระทำกับอีกวัตถุหนึ่ง วัตถุที่ถูกกระทำจะออก แรงทม่ี ีขนาดเท่ากนั แตม่ ที ิศทางตรงกนั ขา้ มกระทำกลับต่อวตั ถแุ รก 3. ครูยกตัวอย่างเพ่ือใหน้ ักเรยี นเข้าใจมากขึ้น สมมตวิ า่ นักเรียนใช้ค้อนออกแรงตอกตะปเู ข้าไปในเน้ือไม้ ใน ขณะเดยี วกัน ตะปกู ็ออกแรงกระทำกลับไปยังค้อน ซงึ่ ทำให้คอ้ นหยุดเคลอ่ื นทเี่ ทา่ กันแต่ตรงกันข้าม 4. ครถู ามนกั เรียนวา่ แรงกิรยิ าและแรงปฏกิ ิรยิ าหักล้างกันหรือไม่ (ท้ิงชว่ งใหน้ ักเรียนคดิ ) 5. ครูนำอภิปรายว่า ในเรื่องแรง แรงสมดุล คือ แรงที่เทา่ กันแต่มที ิศทางตรงกนั ข้าม เมื่อนำมารวมกนั จะได้ แรงลพั ธเ์ ปน็ ศนู ย์ คอื แรงหักลา้ งกนั ทำใหว้ ัตถไุ ม่เปลีย่ นการเคลื่อนที่ ดังน้ัน แรงกริ ิยาและแรงปฏิกริ ยิ าใน กฎขอ้ ท่สี ามของนิวตนั จงึ ไมห่ ักล้างกันเมอื่ แรงท้ังสองมีขนาดเท่ากนั แตม่ ที ศิ ตรงกนั ข้าม 6. ครูให้นักเรยี นพิจารณาเหตกุ ารณ์ทก่ี ำหนดให้ แลว้ บอกวา่ อาศยั กฎขอ้ ที่สามของนิวตันอยา่ งไร • ลกู บอลทีต่ กอสิ ระ (แรงโน้มถ่วงกระทำต่อลูกบอล อาศัยกฎขอ้ ที่สามของนิวตัน โลกจะออกแรงนี้ ซ่ึงมีค่าเท่ากับแรง ท่ลี ูกบอลกระทำตอ่ โลก) • กล่องวางนิ่งอยูบ่ นโตะ๊ (โลกออกแรงโน้มถว่ งกระทำต่อกล่อง ดังนั้นกล่องจะถูกผลักขึ้น โต๊ะออกแรงขึ้นในทิศตั้งฉากกบั ผวิ โตะ๊ อาศยั กฎขอ้ ทส่ี ามของนวิ ตนั จะได้วา่ กล่องจะออกแรงในทศิ ลงกระทำต่อโต๊ะ) • เม่ือรบั ลูกบอล (เมื่อรับลกู บอลมือจะออกแรงกระทำต่อลูกบอลอาศัยกฎขอ้ ท่ีสามของนวิ ตัน ลูกบอลจะออกแรง ขนาดเท่ากนั ในทศิ ตรงขา้ มกระทำกับมอื ) 7. ครูถามคำถาม H.O.T.S ว่า ในชีวิตประจำวัน เห็นได้ว่า มีแต่วัตถุเคลื่อนที่เข้าหาโลก เหตุใดโลกจึงไม่ เคล่ือนทหี่ าวัตถุ จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 70 (แนวตอบ วัตถุจะตกสู่พื้นโลกเนื่องจากโลกมีสนามโน้มถ่วง (gravitational field) อยู่รอบโลก สนามโน้มถ่วงทำให้เกิดแรงดึงดูดกระทำต่อมวลของวัตถุทั้งหลาย แรงดึงดูดนี้เรียกว่า แรงโน้มถ่วง (gravitational force) และสนามมีทศิ พุ่งสู่ศนู ย์กลางของโลก แต่วตั ถไุ มม่ ี) ขน้ั สอน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. นกั เรยี นร่วมกันวิเคราะห์ผลการทดลองและอภปิ รายสรปุ 2. ครูถามคาถาม Prior Knowledge ว่า ตุ๊กตาผูกเชอื กแขวนกบั เพดานห้องในแนวดง่ิ มีแรงชนิดใด กระทาบา้ ง (แนวตอบ แรงดงึ ในเสน้ เชอื ก) 3. ครูนำอภิปรายว่า แรงตึงเชือก (Tension) คือ แรงที่เกิดขึ้นในเส้นเชือก ลวด และอื่น ๆ ซึ่งแรงจะเกิด เฉพาะตามแนวเส้นเชอื กเทา่ นัน้ และมที ศิ พ่งุ ออกจากระบบที่เรากำลังพิจารณาเสมอ ซ่งึ แรงดึงเชอื กน้ี เป็น แรงที่ใช้กฎข้อทส่ี ามของนวิ ตันมากท่ีสดุ 4. ครูให้นักเรียนศึกษาข้อมูลเก่ียวกบั แรงดงึ ในเส้นเชือกในแต่ละกรณี จากนั้นครูสุม่ นักเรียนให้ออกมาสรุป หน้าชั้นเรียน พรอ้ มทั้งอธิบายเพมิ่ เตมิ ในสว่ นที่นักเรยี นยงั ไมเ่ ขา้ ใจ 5. ครูถามคำถาม Prior Knowledge ว่า น้ำหนักที่อ่านได้จากเครื่องชั่งน้ำหนัก เป็นค่าน้ำหนักจริงหรือไม่ อยา่ งไร (แนวตอบ เครอื่ งชงั่ น้ำหนักจะบอกมวล มหี น่วยเป็นกิโลกรมั (kg) เช่น เด็กชำยปอชงั่ น้ำหนัก ตวั เองได้ 54 kg ตวั เลข 54 คอื คำ่ มวลของเดก็ ชำยปอ ส่วนน้ำหนักจะเทำ่ กบั 540 นวิ ตนั (N) 6. ครใู ห้ความร้เู พ่มิ เตมิ เกย่ี วกับเรื่องน้ำหนักกับนักเรียนว่า น้ำหนกั หมายถงึ แรงบนวัตถอุ นั เนือ่ งมาจากความ โน้มถ่วง ขนาดของน้ำหนักในปรมิ าณสเกลาร์ เขียนแทนด้วย W คือผลคูณของมวลของวัตถุ mกับขนาด ของความเรง่ เนื่องจากความโนม้ ถว่ ง g นัน่ คือ W = mg หน่วยวัดของน้ำหนกั ใช้อย่างเดียวกันกับหน่วยวัด ของแรง ซง่ึ ก็คอื นวิ ตัน 7. ครูยกตวั อย่างว่า วตั ถหุ นึง่ มีมวลเท่ากบั 1 กิโลกรมั มนี ้ำหนักประมาณ 9.8 นิวตนั บนพน้ื ผวิ โลก มีน้ำหนัก ประมาณหนงึ่ ในหกเทา่ บนพื้นผวิ ดวงจันทร์ และมนี ้ำหนกั ท่ีเกือบจะเปน็ ศนู ย์ในห้วงอวกาศทไ่ี กลออกไป 8. ครูอธิบายเพ่ิมเตมิ ว่า ในการตกอย่างอิสระของวัตถุใกล้ผิวโลก พบว่า วัตถุจะเคล่ือนที่ด้วยความเร่งคงตวั ถา้ เราใช้กฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตนั จะสามารถอธิบายได้วา่ ในขณะทีว่ ตั ถุตกจะต้องมีแรงกระทำ ต่อวัตถุ จึงทำให้วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเรง่ ซึ่งมีแรงมากระทำต่อวัตถุก็คือ แรงดึงดดู ของโลกทีก่ ระทำตอ่ วตั ถุ จะเรียกแรงน้ีว่า น้ำหนัก นน่ั เอง 9. ครูให้นักเรียนตอบคำถามจาก Unit Question 3 จากหนังสอื เรยี น เรือ่ ง กฎการเคลื่อนท่ขี องนิวตัน จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 71 ขน้ั สรุป ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครนู ำนกั เรียนอภิปรายและสรปุ เกีย่ วกับกฎการเคลื่อนท่ีของนวิ ตัน ดังน้ี กฎข้อที่หนึ่ง ∑F = 0 เป็นกฎของการเคลื่อนที่ของวัตถุ โดยที่เมื่อวัตถุมีการเคลื่อนที่ก็จะเกิด ความเร่ง แต่ถ้าวัตถุมีความเร็วคงที่ ก็จะทาให้ความเร่งเป็น 0 ถึงแม้ว่า วัตถุจะมีความเร็ว แต่ถ้าหาก ความเร่งเปน็ 0 กจ็ ะไม่มีการเพมิ่ ความเรว็ ทำให้วตั ถุเหมอื นอยู่ในสภาพหยดุ นิ่ง กฎข้อท่ีสอง ∑F = ma ถา้ หากมีแรงมากระทำกับวัตถุ ทำให้วตั ถเุ คลือ่ นทีด่ ว้ ยความเร่ง โดยความเรง่ จะแปรผนั กับแรงที่กระทำ กฎข้อทสี่ อง ∑F = -∑F แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์ ดังนนั้ แรงจงึ มที ิศทางท่ีแรงไปทุกทิศทางจะมีแรง สวนทศิ ทางของแรงนนั้ เสมอ 2. ครูเปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นสอบถามเน้อื หาเร่ือง กฎการเคลื่อนท่ีของนิวตนั วา่ มีส่วนไหนทีย่ งั ไม่เขา้ ใจและให้ ความรเู้ พมิ่ เตมิ ในส่วนนัน้ และนกั เรยี นสามารถดจู ากสอ่ื ดจิ ิทัล เรื่อง กฎการเคล่ือนท่ีข้อทสี่ าม จากหนงั สือ เรยี น หน้า 103 ดว้ ยวิธีการสแกน QR Code 3. ครูนำอภิปรายและให้นักเรยี นร่วมกันยกตัวอย่าง อธิบายปรากฎการณ์ หรือเทคโนโลยีต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง กบั กฎการเคล่ือนทขี่ องนิวตัน 4. ครใู หน้ กั เรยี นทำใบงานที่ 3.2 เรือ่ ง กฎการเคลอ่ื นท่ีของนวิ ตัน 5. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั เฉลยคำถามจาก Unit Question 3 และแบบฝึกหัด เรื่อง กฎการเคลื่อนที่ของนิว ตัน 6. ครมู อบหมายใหน้ กั เรียนแต่ละคนทำแผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) เรอื่ ง กฎการเคลื่อนท่ีของนิว ตนั แล้วสง่ เปน็ การบ้านในคาบเรียนต่อไป ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูประเมนิ ผล โดยการสังเกตการตอบคำถาม การรว่ มกันทำผลงาน และจากการนำเสนอผลงาน 2. ครสู งั เกตความสนใจ ความกระตอื รอื รน้ ในการเรยี นรู้ของนักเรยี น 3. ครตู รวจสอบผลการใบกจิ กรรม เรอ่ื ง แรงและความเร่ง 4. ครูวดั และประเมนิ ผลจากใบงานท่ี 3.2 เรื่อง กฎการเคล่ือนท่ีของนวิ ตัน 5. ครูตรวจการทำแบบฝกึ หดั จาก Unit Question 3 6. ครตู รวจแบบฝกึ หดั ท่ี 3.1 - 3.3 เรือ่ ง กฎการเคลื่อนทีข่ องนวิ ตนั 7. ครูประเมินผลงานจากแผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) ท่ีนักเรยี นไดส้ รา้ งขึน้ จากข้นั ขยายความ เขา้ ใจของนกั เรยี นเป็นรายบุคคล จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 72 7. การวัดและประเมินผล วิธวี ัด เครอ่ื งมือ เกณฑก์ ารประเมิน รายการวัด - ตรวจใบงานท่ี 3.2 - ใบงานที่ 3.2 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 7.1 การประเมนิ ระหว่าง การจดั กิจกรรม 1) กฎการเคลื่อนท่ี ของนิวตนั 2) การนำเสนอ - ประเมินการนำเสนอ - ผลงานทีน่ ำเสนอ ระดบั คุณภาพ 2 ผลงาน ผลงาน ผ่านเกณฑ์ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดับคณุ ภาพ 2 3) พฤติกรรมการ การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบคุ คล ผา่ นเกณฑ์ ทำงานรายบคุ คล 4) พฤตกิ รรมการ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดับคุณภาพ 2 ทำงานกลุ่ม การทำงานกลุ่ม การทำงานกล่มุ ผา่ นเกณฑ์ - สังเกตความมีวนิ ัย - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ 2 5) คณุ ลักษณะ ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งมัน่ คุณลักษณะ ผา่ นเกณฑ์ อันพงึ ประสงค์ ในการทำงาน อนั พึงประสงค์ 8. สือ่ /แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 ส่อื การเรยี นรู้ 1) หนงั สือเรียน รายวชิ าเพมิ่ เตมิ ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 3 แรงและกฎการเคล่อื นที่ 2) ใบงานท่ี 3.2 เรอื่ ง กฎการเคลอ่ื นที่ของนวิ ตนั 3) ชดุ การทดลองเครื่องเคาะสญั ญาณเวลา 4) PowerPoint เร่ือง กฎการเคล่อื นทข่ี องนิวตนั 8.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1) ห้องเรยี น 2) หอ้ งสมดุ 3) แหล่งขอ้ มลู สารสนเทศ จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผูช้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 73 9. การบรู ณาการตามจดุ เนน้ ของโรงเรยี น : ความหลากหลายทางชีวภาพ หลกั ปรัชญา ครู ผ้เู รียน ของเศรษฐกิจพอเพยี ง 1. ความพอประมาณ พอดีดา้ นเทคโนโลยี พอดดี า้ นจติ ใจ รจู้ กั ใชเ้ ทคโนโลยมี าผลติ สอ่ื ท่ี มจี ติ สำนึกท่ดี ี จติ สาธารณะรว่ ม 2. ความมเี หตผุ ล อนุรกั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ เหมาะสมและสอดคล้องเนอื้ หาเปน็ สง่ิ แวดลอ้ ม ประโยชน์ต่อผู้เรยี นและพฒั นาจากภมู ิ ปญั ญาของผเู้ รยี น ไมห่ ยดุ นงิ่ ทีห่ าหนทางในชวี ิต หลุดพ้น - ยึดถือการประกอบอาชพี ดว้ ยความ จากความทุกข์ยาก (การค้นหาคำตอบ ถูกต้อง สจุ รติ เพ่อื ให้หลดุ พ้นจากความไม่ร)ู้ ภมู ปิ ญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ 3. มีภูมคิ ุมกันในตวั ท่ีดี ภมู ปิ ัญญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ รับผดิ ชอบ ระมัดระวงั สรา้ งสรรค์ ระมดั ระวงั ความรอบรู้ เรอ่ื ง กฎการเคล่อื นที่ ของนวิ ตัน สามารถนำความรูเ้ หล่านนั้ 4. เงอื่ นไขความรู้ ความรอบรู้ เรอ่ื ง กฎการเคลอ่ื นท่ี มาพิจารณาให้เกดิ ความเชอื่ มโยง สามารถประยกุ ต์ ของนวิ ตัน ทเี่ กยี่ วข้องรอบด้าน นำ ใชใ้ นชีวิตประจำวนั ได้ มคี วามตระหนักใน คณุ ธรรม มคี วาม ความร้มู าเชอ่ื มโยงประกอบการ ซ่อื สตั ย์สจุ ริตและมีความอดทน มี ความเพยี ร ใช้สตปิ ัญญาในการดำเนนิ วางแผน การดำเนนิ การจัดกจิ กรรม ชีวิต การเรยี นรใู้ ห้กบั ผู้เรยี น ผู้เรยี น ความหลากหลายทางชีวภาพ 5. เงอื่ นไขคณุ ธรรม มคี วามตระหนกั ใน คุณธรรม มี - สำรวจความหลากหลายทางชวี ภาพ ในโรงเรยี น (ตามจดุ ทไี่ ด้รบั มอบหมาย) ความซอ่ื สัตยส์ ุจรติ และมีความอดทน ผู้เรยี น มคี วามเพยี ร ใช้สตปิ ญั ญาในการ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สืบคน้ ขอ้ มูลการอนุรักษ์ความ ดำเนนิ ชีวติ หลากหลายทางชีวภาพ (ตามหวั ขอ้ ที่ ได้มอบหมาย) สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ครู ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - ความหลากหลายทางชีวภาพ - สำรวจความหลากหลายทาง ชวี ภาพในโรงเรยี น (กำหนดจุดให้ ผู้เรยี นสำรวจ) สงิ่ แวดล้อม ครู ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - การอนรุ ักษค์ วามหลากหลาย - การอนรุ ักษค์ วามหลากหลายทาง ทางชีวภาพ ชวี ภาพ (กำหนดหวั ข้อให้ผู้เรยี น สบื คน้ ) จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผ้ชู ว่ ย กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 74 10. ความเหน็ /ข้อเสนอแนะ ของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาหรือผ้ทู ่ไี ดร้ ับมอบหมาย 10.1 หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชือ่ …………………………………………. (นางกมลชนก เทพบุ) ………./……………./…………. 10.2 ผชู้ ่วยผู้อำนวยการฝ่ายบรหิ ารวิชาการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ…………………………………………. (นางสาวรตั ตกิ าล ยศสขุ ) ………./……………./…………. 10.3 ผู้อำนวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื …………………………………………. (นางวิลาวลั ย์ ปาลี) ………./……………./…………. จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 75 11. บันทึกผลหลังการสอน  ดา้ นความรู้  ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน  ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์  ดา้ นความสามารถทางวิทยาศาสตร์  ดา้ นอ่ืน ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤตกิ รรมท่มี ีปัญหาของนักเรียนเปน็ รายบุคคล (ถา้ ม)ี )  ปัญหา/อุปสรรค  แนวทางการแก้ไข ลงชอ่ื .........................................................ครูผสู้ อน (นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา) ตำแหน่ง ครูผชู้ ่วย จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 76 ใบงานท่ี 3.2 เรอื่ ง กฎการเคลอ่ื นทข่ี องนิวตนั ตอนที่ 1 คำช้ีแจง : ให้เติมขอ้ ความหรือความหมายของคำตอ่ ไปน้ใี หส้ มบรู ณ์ จากกฎการเคล่ือนท่ีขอ้ ทห่ี นึ่งของนิวตนั จงอธิบาย 1. เม่ือรถหยุดอยา่ งกะทันหัน ทำไมคนถงึ พงุ่ ไปขา้ งหนา้ 2. คนในรถเปน็ อย่างไรเมื่อรถเลย้ี วขวา ตอนท่ี 2 คำชแี้ จง : จงแสดงวิธีทำอยา่ งละเอียด 1. แรง F กระทำบนวตั ถมุ วล m1 ทำใหเ้ กิดความเร่ง 3 m/s2 และถา้ แรง F ดงั กลา่ ว กระทำวตั ถมุ วล m2 จะทำให้ เกิดความเรง่ 1 m/s2 จงหา ก) อัตราสว่ นระหว่างมวล m1 และ m2 ข) ถ้านามวล m1 ผกู ตดิ กับมวล m2 แรง F ดงั กล่าว จะทำใหม้ วลเหลา่ นเ้ี กิดความเรง่ เท่าใด จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 77 ใบงานที่ 3.2 เรือ่ ง กฎการเคลื่อนท่ีของนิวตนั ตอนท่ี 2 คำชแี้ จง : จงแสดงวิธที ำอย่างละเอยี ด (ต่อ) 2. รถกระบะมวล 1.2 × 103 กิโลกรมั ถกู เรง่ ให้เปลย่ี นแปลงความเรว็ จาก 60 กโิ ลเมตรตอ่ ชว่ั โมง เป็น 80 กิโลเมตร ตอ่ ชว่ั โมง ด้วยแรงขับสมำ่ เสมอในเวลา 20 วินาที จงหาแรงทำตอ่ รถกระบะ เมื่อไมค่ ำนึงถึงแรงต้านอากาศ 3. ลิฟตม์ มี วล 500 กโิ ลกรมั ต้องการบรรทกุ คนคร้งั ละ 8 คน โดยเฉลีย่ คนหนงึ่ คนมมี วล 80 กโิ ลกรัม โดยลฟิ ตจ์ ะ เคล่อื นที่ดว้ ยอัตราเร็ว 10 เมตรต่อวินาที หลังจากเร่มิ เคลือ่ นท่ไี ด้ 25 เมตร วศิ วกรจะต้องออกแบบใหเ้ คเบิลรบั แรง ไดเ้ ป็น 2 เท่า เขาจะตอ้ งใชส้ ายเคเบิลท่รี บั แรงไดถ้ ึงเท่าไร 4. นักตกปลาออกแรงดงึ ปลาขนาด 1.2 กโิ ลกรัม โดยใช้เชือกซึง่ ทนแรงไดส้ งู สุด 20 นวิ ตนั จงหาความเร่งสงู สุด ขณะท่ดี งึ ปลาข้นึ ในแนวด่ิง จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 78 ใบงานท่ี 3.2 เฉลย เรื่อง กฎการเคลอ่ื นทขี่ องนวิ ตนั ตอนที่ 1 คำชี้แจง : ใหเ้ ติมข้อความหรอื ความหมายของคำตอ่ ไปนใ้ี ห้สมบรู ณ์ จากกฎการเคล่ือนที่ขอ้ ทหี่ น่งึ ของนิวตัน จงอธบิ าย 1. เมอื่ รถหยดุ อยา่ งกะทนั หัน ทำไมคนถึงพุ่งไปข้างหน้า เมื่อรถหยุดอย่างกะทันหนั จะทำให้คนที่อยู่ในรถจึงพงุ่ ไปข้างหน้า เนอื่ งจากในขณะท่ีรถเคลอ่ื นท่ไี ปขา้ งหนา้ คนท่ีอยู่ในรถจะเคล่ือนที่ด้วยความเรว็ เดยี วกนั กับรถ หากรถเบรกกะทนั หนั รถจะเปลย่ี นความเรว็ เปน็ ศูนย์ แต่ คนในรถยงั คงเคล่อื นที่ด้วยความเร็วเดมิ จงึ ทำให้ยังคงเคลือ่ นท่ีตอ่ ไปขา้ งหนา้ 2. คนในรถเป็นอย่างไรเม่ือรถเลีย้ วขวา เม่อื รถเลีย้ วขวา คนจะเอยี งไปด้านซา้ ย เนอ่ื งจากในขณะท่ีรถเคลื่อนท่ีไปข้างหนา้ คนทอ่ี ยใู่ นรถ จะเคลื่อนท่ี ดว้ ยความเรว็ เดียวกันกบั รถ ขณะท่รี ถเลี้ยวขวา รถจะเปล่ยี นทิศทางของการเคลอื่ นท่ี แต่คนยังคงมีความเร็วไป ทิศทางเดิม ทำใหม้ องเห็นคนเอียงไปทางซ้าย แต่ถ้ามองจากดา้ นนอกตวั รถจะมองเห็นคนเคลื่อนที่ไปยงั เส้นตรง เหมอื นเดิม ตอนที่ 2 คำชแี้ จง : จงแสดงวธิ ีทำอย่างละเอยี ด 1. แรง F กระทำบนวัตถุมวล m1 ทำใหเ้ กิดความเรง่ 3 m/s2 และถา้ แรง F ดงั กลา่ ว กระทำวตั ถุมวล m2 จะทำให้ เกดิ ความเรง่ 1 m/s2 จงหา ก) อตั ราสว่ นระหวา่ งมวล m1 และ m2 จากกฎข้อท่ีสองของนิวตัน จะไดว้ า่ F1 = m1a1 (1) และ F2 = m2a2 (2) นำสมการ (1)/(2) จะได้วา่ m1 = a1 = 1 m2 a2 3 ข) ถา้ นามวล m1 ผกู ตดิ กบั มวล m2 แรง F ดงั กล่าว จะทำให้มวลเหลา่ นี้เกดิ ความเร่งเท่าใด จาก F = (m1 + m2)a = m1a2 3 N = (1 + 3)a a = 0.75 m/s2 จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 79 ใบงานที่ 3.2 เฉลย เรื่อง กฎการเคลอ่ื นทขี่ องนิวตัน ตอนท่ี 2 คำชี้แจง : จงแสดงวิธีทำอย่างละเอยี ด (ตอ่ ) 2. รถกระบะมวล 1.2 × 103 กโิ ลกรมั ถกู เร่งใหเ้ ปลี่ยนแปลงความเรว็ จาก 60 กโิ ลเมตรต่อชวั่ โมง เป็น 80 กโิ ลเมตร ตอ่ ช่วั โมง ดว้ ยแรงขับสม่ำเสมอในเวลา 20 วินาที จงหาแรงทำต่อรถกระบะ เมื่อไม่คำนึงถึงแรงต้านอากาศ จากสมการ a = ∆v ∆t = 8060××16003sm−6600××16003sm 20s 20×103m = 60×60s 20s =5 18 = 0.28 m/s2 จากสมการ ∑F = ma = (1.2 × 103 kg)(0.28 m/s2) = 333 N ดังนน้ั แรงทำตอ่ รถกระบะเท่ากบั 333 นวิ ตนั 3. ลิฟต์มมี วล 500 กิโลกรัม ต้องการบรรทุกคนครัง้ ละ 8 คน โดยเฉลี่ยคนหนงึ่ คนมีมวล 80 กโิ ลกรัม โดยลฟิ ต์จะ เคลอ่ื นทดี่ ว้ ยอตั ราเร็ว 10 เมตรตอ่ วินาที หลงั จากเร่มิ เคลือ่ นทีไ่ ด้ 25 เมตร วิศวกรจะต้องออกแบบใหเ้ คเบิลรับแรง ไดเ้ ปน็ 2 เท่า เขาจะตอ้ งใชส้ ายเคเบลิ ที่รับแรงได้ถึงเทา่ ไร จากสมการ v2 = u2 + 2ax 102 = 0 + 2a (25) a = 2 m/s2 จากสมการ ∑F = ma F – mg = ma F – [500 + (8 × 80)](10) = [500 + (8 × 80)](2) F = 27,360 N จากโจทย์ สายเคเบิลรับแรง 2 เท่า จะได้ F = (2)(27,360) = 54,720 N ดังนน้ั วศิ วกรจะตอ้ งใช้สายเคเบิลท่รี บั แรงได้ถึง 54,720 นิวตนั จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 80 ใบงานท่ี 3.2 เฉลย เรอ่ื ง กฎการเคลอื่ นทีข่ องนวิ ตนั ตอนท่ี 2 คำช้ีแจง : จงแสดงวธิ ีทำอย่างละเอยี ด (ตอ่ ) 4. นักตกปลาออกแรงดงึ ปลาขนาด 1.2 กิโลกรัม โดยใชเ้ ชือกซ่ึงทนแรงได้สงู สุด 20 นิวตนั จงหาความเรง่ สงู สุด ขณะท่ีดงึ ปลาขน้ึ ในแนวด่งิ จากสมการ ∑F = ma FT – Fg = ma a = FT−Fg m = FT−mg m = FT − g m = 20N − 9.8 m/s2 1.2kg = 6.87 m/s2 ดังนน้ั ความเร่งสูงสุดขณะที่ดงึ ปลาขน้ึ ในแนวดิ่ง เทา่ กบั 6.87 เมตรต่อวนิ าที2 จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 61 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่ ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 1/2563 กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า ฟิสิกส์ 1 (ว31201) หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3 แรงและกฎการเคล่อื นที่ จำนวนเวลาทสี่ อน 6 ชว่ั โมง เรอ่ื ง กฎแรงดงึ ดดู ระหวา่ งมวลของนิวตนั ครูผู้สอน นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา 1. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด (ความเข้าใจทค่ี งทน) กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน วัตถุทั้งหลายในเอกภพจะออกแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน โดยขนาดของ แรงดึงดูดระหว่างวัตถุคู่หน่ึง ๆ จะแปรผันตรงกับผลคูณระหว่างมวลวัตถุทั้งสอง และจะแปรผกผนั กับกำลังสอง ของระยะทางระหว่างวัตถทุ งั้ สองนน้ั สามารถเขยี นอยู่ในรปู ของสมการทางคณิตศาสตรไ์ ด้ ดงั นี้ FG = G m1m2 R2 2. ผลการเรียนรู้ อธบิ ายกฎความโน้มถ่วงสากลและผลของสนามโนม้ ถว่ งท่ีทำใหว้ ัตถุมีนำ้ หนกั รวมท้ังคำนวณปริมาณต่าง ๆ ท่ีเกยี่ วข้องได้ 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ (Knowledge) 1) อธบิ ายเกยี่ วกับแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตนั แรงดงึ ดูดที่โลกกระทำต่อวัตถุและนำ้ หนักของวตั ถุ ความสัมพันธร์ ะหว่างขนาดของ g และระยะหา่ งระหว่างจุดศูนยก์ ลางของโลกได้ 3.2 ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ (Skill/Process) 2) คำนวณหาปรมิ าณที่เกย่ี วกบั แรงดงึ ดดู ระหวา่ งมวลของนิวตนั ได้ 3.3 ด้านเจตคติ (Attitude) 3) เพ่อื ใหม้ ีเจตคติต่อวชิ าฟสิ กิ ส์ ในด้านคณุ ภาพการสอน ดา้ นเนอ้ื หา ด้านกิจกรรมการเรยี นรู้ และด้าน บรรยากาศการเรยี นรู้ 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 เนือ้ หาสาระหลกั : Knowledge (ผเู้ รียนตอ้ งรู้อะไร) - แรงดงึ ดดู ระหว่างมวลเปน็ แรงทมี่ วลสองก้อนดงึ ดูดซึ่งกันและกนั ดว้ ยแรงขนาดเท่ากนั แต่ทิศทางตรง ขา้ มและเป็นไปตามกฎความโนม้ ถ่วงสากล เขยี นแทนไดด้ ้วยสมการ จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 62 - รอบโลกมสี นามโน้มถ่วงทำให้เกิดแรงโน้มถว่ ง ซึง่ เป็นแรงดึงดดู ของโลกทก่ี ระทำต่อวัตถุ ทำให้วัตถุมี น้ำหนัก FG = G m1m2 R2 4.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (ผเู้ รยี นสามารถปฏิบตั ิอะไรได)้ - ทกั ษะการวเิ คราะห์ - ทักษะการสงั เกต - ทักษะการสื่อสาร - ทกั ษะการทำงานร่วมกนั - ทักษะการนำความรูไ้ ปใช้ 4.3 คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ : Attitude (ผู้เรียนควรแสดงพฤตกิ รรมการเรียนอะไรบา้ ง) - มีวินยั - ใฝ่เรียนรู้ - มุง่ ม่นั ในการทำงาน - มีความซือ่ สัตย์ 5. สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี นและคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 1. มีวนิ ยั 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรียนรู้ 1) ทกั ษะการวเิ คราะห์ 3. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน 2) ทกั ษะการสงั เกต 4. มีความซ่ือสัตย์ 3) ทักษะการสื่อสาร 4) ทักษะการทำงานร่วมกนั 5) ทักษะการนำความรู้ไปใช้ 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 63 6. กิจกรรมการเรยี นรู้  แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธกี ารสอน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ช่ัวโมงท่ี 1-2 ขน้ั นำ กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน เพื่อเป็นความรู้พื้นฐาน นำไปสกู่ ารศึกษา เรือ่ ง กฎแรงดึงดูดระหวา่ งมวลของนวิ ตนั 2. ครูถามคำถาม Prior Knowledge ว่า เหตุใดดวงจันทร์จึงโคตรรอบโลก และโลกจึงโคจรรอบดวงอาทิตย์ (ท้งิ ชว่ งใหน้ กั เรยี นคดิ ) (แนวตอบ การโคจรของดวงจันทรร์ อบโลก เกดิ จากแรงดึงดดู ระหวา่ งมวลโลกและมวลดวงจันทร์ทำ หน้าที่เป็นแรงสู่ศูนย์กลาง ให้ดวงจันทร์สามารถโคจรรอบโลกเป็นวงกลมได้ โลกกับดวงอาทิตย์ก็เช่นกนั ปรากฎการณ์นี้อธบิ ายได้ดว้ ยกฎแหง่ ความโนม้ ถ่วง (The law of gravity)) 3. นักเรยี นรว่ มกันอภปิ รายในแต่ละกลมุ่ 4. ครรู ว่ มสนทนากับนกั เรยี น เร่ือง นำ้ หนกั ของวัตถแุ ละการเดนิ บนโลก และดาวเคราะห์ เพือ่ นำไปสู่คำถาม ทว่ี า่ “ทำไมนำ้ หนักของวตั ถุบนโลกและดวงจนั ทร์จงึ หนักไมเ่ ทา่ กนั ” 5. ครูให้คำถามกับนักเรียนว่า “ทำไมน้ำหนักของวัตถุบนโลกและดวงจันทร์จึงหนักไม่เท่ากัน” (ทิ้งช่วงให้ นักเรียนคิด) 6. นักเรียนร่วมกนั อภปิ รายในแตล่ ะกลุ่ม พรอ้ มท้งั บันทกึ ความเห็นของกลุ่ม 7. ครูให้ตวั แทนนักเรียนแตล่ ะกล่มุ นำเสนอความเห็นของกลุ่ม (ของแต่ละคนในกล่มุ โดยตวั แทนของกลุม่ และ ขอ้ สรุปของกลุ่ม) 8. ครูและนกั เรยี นร่วมกนั อภปิ รายเกี่ยวกบั “ทำไมน้ำหนักของวตั ถุบนโลกและดวงจันทร์จงึ หนักไมเ่ ทา่ กนั ” 9. ครนู ำนกั เรียนสรุปวา่ วตั ถชุ นิ้ เดยี วกนั ถ้านำไปชงั่ หานำ้ หนักโดยเปรยี บเทยี บกนั ระหวา่ งบนโลกกับบนดวง จนั ทร์ หรอื บนโลกกบั บนดาวเคราะหอ์ นื่ หรอื แม้แต่บนโลกเหมือนกันแตอ่ ยูค่ นละแหง่ กนั เชน่ ทพ่ี ้นื ผวิ โลก เทยี บกับบนภูเขาสูง น้ำหนกั ของวตั ถทุ ี่ไดก้ ็จะไมเ่ ทา่ กัน 10. ครูทบทวนเขา้ ใจใหน้ กั เรยี นกอ่ นวา่ “มวล” กบั “นำ้ หนกั ” ไม่เหมือนกัน ไม่ว่าจะอยทู่ ี่ใดมวลของวัตถุจะ ไม่มกี ารเปล่ยี นแปลง ซึง่ มวลกค็ ือเนอ้ื สารนัน่ เอง แต่น้ำหนัก คือ แรงทโ่ี ลกกระทำกับวัตถุ หรือแรงที่วัตถุ นั้นถูกโลกดึงดูด ซึ่งแรงและมวลมคี วามสัมพันธ์กนั ตาม กฎของนิวตัน โดยนิวตันได้ค้นพบกฎนี้ จากการ สังเกตเห็นลูกแอปเปิลหล่นลงมาจากต้นไม้ ทำให้เขาเกิดความสงสัยว่า “ทำไมวัตถุจึงตกลงสู่พื้นโลก ไม่ ลอยข้ึนไปในอากาศ” และได้แสดงเปน็ สมการ ∑F = ma 11. ครชู ใี้ ห้นักเรียนเหน็ ว่า ถา้ เราต้องการเรง่ วัตถุหนงึ่ เราต้องใชแ้ รง ทำนองเดยี วกัน เมื่อวัตถุตกลงสู่พ้ืนดิน เกดิ ความเร่งเนอ่ื งจาก แรงโนม้ ถ่วงของโลก วตั ถุตง้ั น่ิงอยูบ่ นพ้นื จงึ มีแรง (หรอื นำ้ หนัก) เป็นผลคณู ระหว่าง จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 64 มวล (m) กับความเรว็ เนอ่ื งจากความโนม้ ถ่วงของโลก (g) ดงั สมการ w = mg ดงั นน้ั เมื่อแรงโน้มถ่วงของ โลกกับของดวงจันทร์ไม่เท่ากนั (ค่า g ต่างกัน) จึงทำให้น้ำหนักของวัตถุที่ได้แตกต่างกันน่ันเอง และค่า g อาจมีคา่ แปรผันบ้างเล็กนอ้ ย ขนึ้ อยู่กบั วา่ วัตถนุ นั้ อยแู่ ห่งใดบนผิวโลก 12. ครูแจ้งให้นกั เรียนทราบว่า จะได้ศึกษาเกีย่ วกบั แรงดงึ ดูดระหวา่ งมวลของนิวตัน และสนามโนม้ ถ่วง ช่ัวโมงที่ 3-4 ขน้ั สอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูทบทวนบทเรยี นท่เี รียนมาแลว้ ด้วยการซักถามและอธิบาย ตอบขอ้ สงสัยของนกั เรียน แล้วให้นกั เรียน แบง่ กลมุ่ ซ่งึ ครูอาจใช้เทคนิคการแบง่ กลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) คือ การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ทมี่ ีสมาชกิ กล่มุ 4–5 คน มีระดบั สติปญั ญาแตกต่างกนั คอื เก่ง 1 คน: ปานกลาง 2–3 คน: ออ่ น 1 คน พร้อมทั้ง เลอื กประธานกลุ่ม รองประธานกลุ่ม เลขานุการกลุ่ม และสมาชิกกล่มุ โดยสับเปลีย่ นหน้าที่ในการทำ กจิ กรรมกลมุ่ (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรยี น โดยใช้แบบสังเกตการณ์ทำงานกลุ่ม) 2. ครใู ห้นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ สบื คน้ ข้อมูลเกี่ยวกับ กฎแรงดงึ ดดู ระหวา่ งมวลของนวิ ตัน ตามรายละเอียดใน หนงั สอื เรยี น หน้า 112-117 หรอื จากแหลง่ เรยี นรู้ตา่ ง ๆ แลว้ สรุปสาระสำคญั บันทึกลงในสมดุ จดบันทึก 3. นักเรยี นนำขอ้ มูลท่ีได้จากการสบื คน้ มาวเิ คราะห์และเรยี บเรียงเน้ือหาเพ่ือใช้สำหรบั การนำเสนอโดย แลกเปล่ียนความคิดเหน็ กนั ภายในกล่มุ จากน้ันอธบิ ายซกั ถามกนั ภายในกลุ่มจนเขา้ ใจตรงกัน 4. ใหน้ ักเรยี นนำข้อมูลเกี่ยวกับกฎแรงดึงดดู ระหวา่ งมวลของนวิ ตนั สนามโน้มถ่วง และความเร่งโนม้ ถ่วง มา วิเคราะห์นำเสนอในรูปของแผนผงั ความคิด จากนั้นตกแตง่ ให้สวยงามในกระดาษฟลิปชาร์ต ชว่ั โมงท่ี 5-6 ขน้ั สอน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ใหแ้ ต่ละกลุ่มนำแผนผงั ความคดิ และแผนภาพไปติดท่ผี นงั หอ้ ง 2. ครูสุ่มตัวแทนนักเรียนจากกลุ่มต่าง ๆ ประมาณ 1-2 กลุ่ม จากนั้นร่วมกันอภิปรายสรุปจนเป็นที่เข้าใจ ตรงกัน โดยนักเรียนสามารถเขา้ ใจถึงกฎแรงดงึ ดูดระหว่างมวลของนิวตัน ความเรง่ เน่อื งจากความโน้มถ่วง และใหน้ กั เรียนแตล่ ะกลุ่มผลัดเปล่ียนกันตรวจผลงาน จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผ้ชู ่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 65 3. ครูนำนักเรียนอภิปรายและสรุปเก่ียวกับกฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน โดยครูอธิบายความสัมพันธ์ ของสมการ FG = G m1m2 R2 4. ครูให้ความรู้เพิม่ เตมิ วา่ กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน ชว่ ยใหส้ ามารถคำนวณหาแรงดึงดูดระหว่าง วตั ถคุ ู่หนึง่ ๆ ได้ เม่อื ทราบค่าคงตวั G 5. ครูชี้ให้นักเรียนเห็นว่า มวลที่ใช้ในห้องปฏิบัติการโดยทั่วไปแล้วจะทำให้เกิดแรงดึงดูดน้อยมาก การจัด ขนาดแรงดึงดดู FG จึงทำได้ยากมาก แต่มีนักวทิ ยาศาสตร์ชาวองั กฤษ ชื่อว่า คาเวนดิช สามารถคิดวิธีวดั แรงดึงดูดน้อย ๆ นี้ได้ โดยใช้เครื่องชั่งแบบแรงบิด (torsion balance) และสามารถหาค่าของ G ได้ ซึ่ง ประมาณ 100 ปี หลงั จากนิวตนั ได้ตงั้ กฎนี้ขึ้น ขน้ั สรุป ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครูให้นักเรียนศึกษาตวั อย่างการคำนวณจากโจทยป์ ัญหาในตวั อย่างท่ี 3.12-3.14 พร้อมท้ังให้นักเรียนฝึก แกโ้ จทยป์ ญั หาในหนงั สอื เรยี น หนา้ 115-117 ตามขนั้ ตอนการแก้โจทยป์ ัญหา ดงั น้ี • ข้นั ท่ี 1 ครใู หน้ ักเรียนทุกคนทำความเข้าใจโจทยต์ ัวอยา่ ง • ขน้ั ท่ี 2 ครูถามนักเรยี นวา่ สิ่งทโี่ จทยต์ ้องการถามหาคอื อะไร และจะหาสิ่งที่โจทย์ต้องการ ต้องทำ อย่างไร • ขั้นท่ี 3 ครูให้นักเรยี นดวู ธิ ที ำในการคำนวณหาคำตอบ • ขั้นที่ 4 ตรวจสอบคำตอบของโจทย์ตัวอยา่ งว่าถกู ต้อง หรอื ไม่ 2. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันเฉลยคำถามจาก Unit Question 3 เรอ่ื ง กฎแรงดงึ ดูดระหวา่ งมวลของนิวตัน ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูประเมนิ ผล โดยการสังเกตการตอบคำถาม การร่วมกนั ทำผลงาน และจากการนำเสนอผลงาน 2. ครูสังเกตความสนใจ ความกระตือรอื ร้นในการเรียนรขู้ องนักเรยี น 3. ครูวดั และประเมินผลจากใบงานท่ี 2.7 เรอื่ ง กฎแรงดงึ ดดู ระหวา่ งมวลของนวิ ตัน 4. ครูตรวจการทำแบบฝกึ หัดจาก Unit Question 3 5. ครูตรวจแบบฝึกหดั ที่ 5.1 เรอื่ ง กฎแรงดงึ ดดู ระหวา่ งมวลของนิวตัน 6. ครูประเมนิ ผลงานจากแผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) ทน่ี ักเรียนได้สร้างขึ้นจากข้ันสำรวจค้นหา ของนักเรยี นเป็นรายกลุ่ม จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook