Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ 1.2563 (รวมเล่ม)

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ 1.2563 (รวมเล่ม)

Published by Tanapat Issarangkul Na Ayutthaya, 2020-12-15 04:29:17

Description: แผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ 1.2563 (รวมเล่ม)

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 12 แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน คำชแี้ จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ✓ลงในชอ่ งที่ ตรงกับระดบั คะแนน ลำดับท่ี รายการประเมิน ระดับคะแนน 1 32 1 ความถูกตอ้ งของเน้อื หา   2 ความคดิ สร้างสรรค์   3 วธิ กี ารนำเสนอผลงาน   4 การนำไปใชป้ ระโยชน์   5 การตรงต่อเวลา   รวม ลงชือ่ ................................................... ผปู้ ระเมิน ............/................./................... เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ สมบรู ณช์ ดั เจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมินเป็นส่วนใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมินบางส่วน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ำกว่า 8 ปรับปรงุ จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4 13 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล คำชแี้ จง : ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ✓ลงในชอ่ งท่ี ตรงกับระดับคะแนน ลำดบั ที่ รายการประเมนิ ระดับคะแนน 1 32 1 การแสดงความคิดเห็น   2 การยอมรับฟังความคดิ เห็นของผอู้ ื่น   3 การทำงานตามหน้าทีท่ ี่ได้รบั มอบหมาย   4 ความมนี ำ้ ใจ   5 การตรงต่อเวลา   รวม เกณฑก์ ารให้คะแนน ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมนิ ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ............/.................../................ ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครงั้ ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบางครัง้ ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14–15 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตำ่ กวา่ 8 ปรับปรุง จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 14 แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกล่มุ คำช้ีแจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ✓ลงในชอ่ งที่ ตรงกับระดบั คะแนน ลำดับท่ี ชอ่ื –สกุล การแสดง การยอมรับ การทำงาน ความมนี ้ำใจ การมี รวม ของนกั เรียน ความคดิ เห็น ฟังคนอนื่ ตามที่ไดร้ บั ส่วนรว่ มใน 15 มอบหมาย การปรบั ปรงุ คะแนน ผลงานกล่มุ 321321321321321 เกณฑ์การใหค้ ะแนน ลงชอื่ ................................................... ผ้ปู ระเมนิ ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมำ่ เสมอ ............./.................../............... ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครงั้ ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบางครัง้ ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ำกว่า 8 ปรบั ปรงุ จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ูช้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 15 แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คำชแี้ จง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในชอ่ งที่ ตรงกับระดบั คะแนน คุณลักษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน อนั พึงประสงค์ด้าน 321 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ 1.1 ยนื ตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาตไิ ด้ 1.2 เข้าร่วมกิจกรรมท่ีสรา้ งความสามัคคีปรองดอง และเป็นประโยชน์ ตอ่ โรงเรียน 1.3 เข้ารว่ มกจิ กรรมทางศาสนาที่ตนนบั ถอื ปฏิบัติตามหลักศาสนา 1.4 เขา้ ร่วมกจิ กรรมท่เี กยี่ วกับสถาบันพระมหากษตั ริยต์ ามทโ่ี รงเรยี นจดั ขนึ้ 2. ซือ่ สตั ย์ สจุ รติ 2.1 ให้ข้อมลู ทถี่ ูกตอ้ งและเปน็ จรงิ 2.2 ปฏิบตั ใิ นสง่ิ ทีถ่ กู ต้อง 3. มีวินัย รับผิดชอบ 3.1 ปฏิบัตติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คบั ของครอบครวั มคี วามตรงต่อเวลาในการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมตา่ ง ๆ ในชีวิตประจำวนั 4. ใฝเ่ รียนรู้ 4.1 รูจ้ กั ใชเ้ วลาวา่ งให้เปน็ ประโยชน์ และนำไปปฏบิ ัติได้ 4.2 รจู้ ักจัดสรรเวลาให้เหมาะสม 4.3 เช่ือฟงั คำสัง่ สอนของบดิ า-มารดา โดยไม่โต้แยง้ 4.4 ต้ังใจเรียน 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง 5.1 ใช้ทรพั ย์สินและสงิ่ ของของโรงเรียนอยา่ งประหยัด 5.2 ใชอ้ ปุ กรณ์การเรยี นอยา่ งประหยัดและรูค้ ุณคา่ 5.3 ใชจ้ า่ ยอย่างประหยดั และมกี ารเกบ็ ออมเงนิ 6. ม่งุ ม่ันในการทำงาน 6.1 มีความตั้งใจและพยายามในการทำงานท่ไี ดร้ บั มอบหมาย 6.2 มคี วามอดทนและไม่ทอ้ แท้ต่ออุปสรรคเพ่อื ให้งานสำเรจ็ 7. รกั ความเปน็ ไทย 7.1 มีจติ สำนึกในการอนุรักษ์วฒั นธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย 7.2 เห็นคณุ คา่ และปฏิบตั ิตนตามวัฒนธรรมไทย 8. มจี ิตสาธารณะ 8.1 รจู้ กั ชว่ ยพ่อแม่ ผปู้ กครอง และครทู ำงาน 8.2 รจู้ กั การดูแลรักษาทรพั ยส์ มบตั ิและสิง่ แวดลอ้ มของห้องเรียนและโรงเรียน ลงชอ่ื .................................................. ผูป้ ระเมนิ ............/.................../................ เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ พฤตกิ รรมท่ปี ฏิบตั ิชัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน 51–60 ดีมาก พฤตกิ รรมทีป่ ฏิบตั ิชัดเจนและบอ่ ยครัง้ ให้ 1 คะแนน 41–50 ดี พฤตกิ รรมที่ปฏิบตั บิ างครง้ั 30–40 พอใช้ ต่ำกวา่ 30 ปรบั ปรุง จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 16 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 1/2563 กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า ฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 การศกึ ษาวิชาฟิสกิ ส์ เรอ่ื ง ธรรมชาตขิ องฟิสิกส์ จำนวนเวลาที่สอน 2 ชว่ั โมง ผูส้ อน นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา 1. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด (ความเข้าใจท่คี งทน) ฟิสิกส์เป็นวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพสาขาหนึ่งที่เน้นการศึกษาเชิงปริมาณ ซ่ึงเป็นวิทยาศาสตร์เชิงปฏิบัติ ทฤษฎี หรือกฎ หรอื หลักการฟิสกิ ส์ได้มาจากการทดลองและการสังเกตปรากฏการณ์ธรรมชาติ แล้วพยายามหา รปู แบบและหลักการที่เกีย่ วข้องกบั ปรากฏการณ์นัน้ ๆ จนเปน็ ท่ยี อมรบั และใชก้ นั อย่างกว้างขวาง เพ่อื นำไปสู่การ สร้างส่งิ ใหม่ ๆ มาชว่ ยในการแกป้ ัญหา การสร้างเครื่องอำนวยความสะดวก ทเ่ี รยี กว่า เทคโนโลยี 2. ผลการเรียนรู้ สืบค้นและอธิบายการค้นหาความรู้ทางฟิสิกส์ ประวัติความเป็นมา รวมทั้งพัฒนาการของหลักการ และแนวคิดทางฟสิ กิ ส์ทีม่ ผี ลตอ่ การแสวงหาความรูใ้ หมแ่ ละการพฒั นาเทคโนโลยีได้ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ (Knowledge) 1) อธบิ ายเกย่ี วกับธรรมชาตวิ ิชาฟิสกิ ส์ และสาขาความร้ขู องวชิ าฟิสิกส์ได้ 3.2 ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ (Skill/Process) 2) แสดงการบนั ทึกปรมิ าณที่มีค่ามากหรือนอ้ ย แสดงผลการทดลองในรปู ของกราฟได้ถกู ตอ้ ง 3.3 ด้านเจตคติ (Attitude) 3) เหน็ คุณประโยชนข์ องการเรยี นวชิ าฟิสกิ ส์ ตระหนักในคณุ คา่ ของความรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ใช้ใน ชวี ติ ประจำวัน 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 เนือ้ หาสาระหลกั : Knowledge (ผ้เู รยี นตอ้ งรู้อะไร) - ฟิสกิ ส์เปน็ วิทยาศาสตร์แขนงหน่งึ ที่ศกึ ษาเก่ยี วกบั สสาร พลังงาน อนั ตรกริ ยิ าระหว่างสสารกบั พลงั งานและแรงพน้ื ฐานในธรรมชาติ - การค้นคว้าหาความรู้ทางฟสิ ิกสไ์ ด้มาจากการสงั เกต การทดลอง และเกบ็ รวบรวมข้อมลู มา วเิ คราะห์ หรือจากการสรา้ งแบบจำลองทางความคิด เพอื่ สรุปเป็นทฤษฎี หลักการหรอื กฎ ความรู้เหลา่ นีส้ ามารถ นำไปใช้อธบิ ายปรากฏการณธ์ รรมชาติ หรอื ทำนายส่ิงท่อี าจจะเกดิ ข้ึนในอนาคต จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผูช้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 17 - ประวตั ิความเป็นมาและพัฒนาการของหลกั การและแนวคิดทางฟสิ กิ ส์เป็นพ้นื ฐานในการ แสวงหาความร้ใู หมเ่ พ่ิมเตมิ รวมถึงการพฒั นา และความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยีกม็ ีส่วนในการคน้ หาความรใู้ หมท่ าง วิทยาศาสตร์ดว้ ย 4.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (ผเู้ รยี นสามารถปฏบิ ตั ิอะไรได)้ - ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะการสงั เกต - ทักษะการสื่อสาร - ทกั ษะการทำงานรว่ มกนั 4.3 คุณลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ : Attitude (ผ้เู รยี นควรแสดงพฤตกิ รรมการเรยี นอะไรบ้าง) - มวี ินัย - ใฝเ่ รียนรู้ - มงุ่ มน่ั ในการทำงาน - อยู่อย่างพอเพียง 5. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี นและคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสอื่ สาร 1. มีวนิ ัย 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรยี นรู้ 1) ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ 3. มงุ่ ม่ันในการทำงาน 2) ทักษะการสงั เกต 4. อยู่อย่างพอเพียง 3) ทกั ษะการส่อื สาร 4) ทกั ษะการทำงานร่วมกนั 3. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 18 6. กจิ กรรมการเรียนรู้  แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนคิ : สบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ช่ัวโมงท่ี 1 ขน้ั นำ กระตุน้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูเปิดประเด็นและชักชวนนักเรียนให้ร่วมกันอภิปราย โดยใช้คำถามเกี่ยวกับการเกิดปรากฏการณ์ทาง ธรรมชาติ เช่น ฝนตก ฟ้ารอ้ ง ฟ้าผา่ แผน่ ดนิ ไหว และภูเขาไฟระเบดิ ว่าสิ่งเหลา่ น้เี กิดจากสาเหตุใด 2. ในระหวา่ งอภปิ รายครชู ี้ใหน้ ักเรยี นเห็นวา่ มนษุ ยใ์ นสมัยโบราณเชือ่ วา่ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาตเิ ป็นฝมี ือ ของเทพเจา้ หรือภูตผปี ีศาจ แต่ต่อมาเม่อื มีการสังเกตและบนั ทกึ ข้อมูลอยา่ งมีหลักเกณฑ์ จึงเกดิ การพัฒนา ความรู้และสรา้ งเป็นองค์ความรูข้ ึน้ มา เพอื่ พยายามหาคำตอบในสงิ่ ท่เี กิดข้นึ ทย่ี งั อธบิ ายไมไ่ ด้ 3. ครใู หน้ ักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี น 4. ครูถามคำถามกระตุ้นนกั เรยี นว่า วิทยาศาสตรค์ ืออะไร และชปี้ ระเด็นเพอื่ นำให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่า วิชาฟสิ กิ ส์ เคมี ชีววิทยา เหมอื นหรอื แตกต่างกนั อย่างไร โดยที่ครูใหน้ กั เรยี นอภปิ รายร่วมกนั อย่างอสิ ระ 5. ครูถามคำถาม BIG QUESTION จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 หน้า 2 ว่า ฟิสิกส์ คอื อะไร และเกยี่ วขอ้ งกับชวี ิตประจำวันของนกั เรียนไดอ้ ย่างไร (แนวตอบ : ฟิสิกส์ (Physics) เป็นศาสตร์วิชาท่ีว่าด้วยกฎเกณฑ์หรือปรากฏการทางธรรมชาติของ สง่ิ ที่ไมม่ ีชีวิต ท่ีจะมุ่งเน้นศึกษาในเรื่องอนั ตรกิริยา (interaction) ระหว่างอนุภาคของสสารและพลังงาน ซ่ึงฟิสิกส์เป็นวิทยาศาสตร์กายภาพ และเก่ียวข้องกับชีวิตประจำวันอยู่มากมายหลายด้าน เช่น การนำ ความรู้ทางฟสิ ิกส์ไปประยุกต์ในดา้ นการแพทย์ เชน่ การใชร้ ังสเี อกซ์ เครือ่ งวัดความดนั โลหติ การประยุกต์ ในด้านเคมี ฟิสิกส์ช่วยให้เข้าใจปฏิกิริยาในระดับโมเลกุลและอะตอม โดยอาศัยความรู้พื้นฐานด้านฟิสิกส์ อะตอมและฟสิ กิ สน์ วิ เคลยี ร์ รวมถงึ อธบิ ายการเกิดพันธะเคมี) 6. ครูให้นกั เรียนร่วมแสดงความคิดเห็นกับคำถามที่ครูถาม ขน้ั สอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครูใหน้ ักเรยี นจับคกู่ บั เพอื่ นร่วมชัน้ เรียน แล้วให้นกั เรียนรว่ มกันศกึ ษาและสบื ค้นข้อมลู เกยี่ วกบั วิทยาศาสตร์ ธรรมชาตวิ ่ามีความหมายว่าอย่างไรและแบง่ ไดเ้ ป็นก่กี ล่มุ 2. ครใู หน้ กั เรียนแตล่ ะครู่ ว่ มสรุปขอ้ มลู ขอ้ มูลท่ีสบื ค้นไดล้ งในกระดาษ A4 แล้วนำมาส่งครเู พอื่ ใหค้ รูตรวจสอบ ความถูกตอ้ ง จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 19 3. ครถู ามนกั เรียนวา่ วิธีการค้นหาความรูท้ างฟสิ ิกสว์ ่ามีก่ีแนวทาง อะไรบา้ ง โดยท่คี รูคอยกระตุ้นให้นักเรียน ในช้ันเรียนรว่ มกนั หาคำตอบ (แนวตอบ : 2 แนวทาง คือ 1) การสงั เกต บันทกึ ทดลอง วิเคราะห์ข้อมูล และสรุปตงั้ เปน็ กฎต่าง ๆ 2) การสรา้ งแบบจำลองทางความคิดอยา่ งมเี หตผุ ลเพอ่ื ตง้ั เป็นทฤษฎี) 4. ครถู ามคำถาม Prior knowledge จากหนังสือเรียน รายวชิ าพื้นฐาน ฟิสิกส์ ม.4 เลม่ 1 หน้า 3 ว่า ในการ เรียนวชิ าฟสิ ิกส์ จำเปน็ ต้องทำการทดลองหรือไม่ อยา่ งไร (แนวตอบ : ในวิชาฟิสกิ ส์ การทดลองเป็นส่วนสำคัญในการฝึกทักษะและคดิ หาเหตผุ ลโดยใชท้ กั ษะ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ แล้วนำผลการทดลองน้ันมาวเิ คราะห์และสรุปเป็นหลักการและทฤษฎีทาง ฟิสิกส์ เพ่ือนำไปส่ขู อ้ สรปุ ทม่ี คี วามเชื่อถือได้) ชัว่ โมงที่ 2 สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครทู บทวนความรูเ้ ดมิ โดยครูนำนักเรยี นอภปิ รายและได้ข้อสรปุ เก่ียวกับวิชาฟิสิกส์ 2. ครูถามนักเรียนว่า วชิ าฟิสกิ สต์ อ้ งอาศัยศาสตรห์ รือสาขาใดเปน็ พน้ื ฐาน (แนวตอบ : วิชาคณิตศาสตร์) 3. ครูถามนักเรยี นต่อไปว่า ทำไมการเรยี นฟิสกิ สถ์ ึงตอ้ งใช้คณิตศาสตร์ 4. ครูถามนักเรียนต่อไปว่า ทำไมการเรียนฟิสิกส์ถึงต้องใช้คณิตศาสตร์ จากนั้นจัดกลุ่มให้นักเรียน โดยคละ ความสามารถ (เก่ง–ปานกลาง–อ่อน) ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น หนงั สอื เรียน อนิ เทอร์เน็ต หนังสืออ้างอิงตา่ ง ๆ จากห้องสมุด และร่วมกันวิเคราะห์และสรุปในประเด็น ตอ่ ไปน้ี • วชิ าฟสิ กิ สเ์ กย่ี วข้องกบั คณติ ศาสตร์อยา่ งไร • ฟิสกิ ส์ได้ใชห้ ลักคณิตศาสตร์เรอ่ื งใดบ้าง • ยกตวั อยา่ งทฤษฎฟี สิ กิ ส์ท่อี ธิบายด้วยหลักคณิตศาสตร์ 5. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายภายในกลุ่ม จากนั้นแต่ละกลุ่มสง่ ตัวแทน นำเสนอข้อมูลท่ีได้จากการ สืบคน้ 6. นักเรียนและครูรว่ มกันวพิ ากษ์เกย่ี วกบั การสืบคน้ ข้อมลู ต่าง ๆ เพ่อื ความเขา้ ใจตรงกนั โดยนักเรยี นและครู ควรได้ข้อสรุปร่วมกันวา่ ฟิสิกส์เป็นวิทยาศาสตร์ท่ีศึกษาปรากฏการณ์ธรรมชาติในเชิงปริมาณ คำอธิบาย ปรากฏการณ์ต่าง ๆ จึงอยู่ในรูปของกฎซ่ึงเขียนอยู่ในรูปสมการคณิตศาสตร์ และกฎต่าง ๆ ก็ได้รับการ พิสูจน์จากสมการคณิตศาสตร์ การวิเคราะห์ผลการทดลองทางฟิสิกส์ เช่น กฎการเคล่ือนที่ของนิวตัน ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์ การวัด การเก็บและบันทึกข้อมูลอย่างถูกต้องตามหลักการทำการ ทดลอง รวมทง้ั การวเิ คราะห์และประเมนิ ข้อมูลขั้นฐาน การเขียนรายงาน สรุปและวิจารณ์ผลการทดลอง จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 20 จะต้องใช้วิธีทางคณิตศาสตร์เข้ามาช่วยในการคำนวณ เช่น การแสดงข้อมูลด้วยค่าเฉล่ีย ( Mean) และค่าเบยี่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) 7. ครูถามนักเรียนว่า นอกจากการบันทึกข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบของตารางบันทึกผลการทดลองและ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉล่ียและค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานแล้ว นักเรียนสามารถนำเสนอข้อมูล ในรูปแบบใดอีก เพ่ือให้เข้าใจความหมายของข้อมูลได้ง่ายยิ่งขึ้น โดยให้นักเรียนแต่ละคนร่วมกันศึกษา หาคำตอบจากหนังสอื เรียน รายวิชาพนื้ ฐาน ฟสิ ิกส์ ม.4 เล่ม 1 หน้า 5 8. ครูต้ังคำถามว่า สมการ y = mx + c มีความหมายว่าอย่างไร นักเรียนสามารถนำความรู้มาเช่ือมโยง ในวิชาฟิสิกส์อย่างไร (แนวคำตอบ : เช่น การเขียนกราฟแสดงความสัมพันธร์ ะหว่างระยะทางกับเวลาที่ได้จากการทดลอง การบนั ทึกขอ้ มูลเขียนกราฟแสดงความสัมพันธร์ ะหวา่ งน้ำหนักกบั แรง เพ่ือหาความชันของกราฟ) 9. ครูนำนักเรียนสรุปคำถามร่วมกันว่า การทดลองทางฟิสิกส์จะได้ข้อมูลเป็นตัวเลขที่เกิดจากความสัมพันธ์ ของปริมาณต่าง ๆ ที่ศึกษา จากน้ันจึงนำสมการทางคณิตศาสตร์มาช่วยอธิบายความสัมพันธ์ของปริมาณ นั้นออกมาในรูปของสมการ ซึ่งความสัมพนั ธเ์ หล่านี้มกั ใช้เป็นแนวทางในการวิเคราะห์เชิงทฤษฎี และการ นำเสนอขอ้ มูลยงั มีอีกหลายรูปแบบ เชน่ แผนภูมแิ ท่ง แผนภูมวิ งกลม เป็นตน้ อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูให้นักเรียนกลับเข้าสู่กลุ่มเดิมแล้วให้ร่วมกันศึกษาการนำข้อมูลมาวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย ค่า เบี่ยงเบนมาตรฐาน และการเขียนกราฟความสัมพันธ์ในช่วงเวลาต่าง ๆ จากตัวอย่างท่ี 1.1 และ 1.2 ใน หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 หน้า 6 – 7 เพ่ือให้ช่วยเข้าใจการนำเสนอข้อมูลได้มาก ย่ิงขึ้น ซึ่งครูให้นักเรยี น ทำตามขนั้ ตอนการแกโ้ จทย์ปัญหา ดงั นี้ • ข้นั ที่ 1 ทำความเขา้ ใจโจทยต์ ัวอย่าง • ข้นั ท่ี 2 ส่ิงที่โจทยต์ อ้ งการถามหา และจะหาสง่ิ ท่โี จทย์ตอ้ งการ ต้องทำอย่างไร • ขัน้ ท่ี 3 ดำเนนิ การ • ขั้นที่ 4 ตรวจสอบคำตอบของโจทยต์ ัวอย่าง 2. ครูสุ่มนักเรียนให้กออกมานำเสนอวิธีการแก้ปัญหาโจทย์ตัวอย่างตามข้ันตอนในแต่ละข้ัน โดยท่ีครูคอย แนะนำและเสริมข้อมูลทีถ่ ูกต้องใหน้ ักเรยี น ขน้ั สรุป ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครูนำนักเรยี นอภิปรายและสรปุ เก่ียวกับฟสิ กิ ส์ ดงั น้ี • ฟิสิกส์คืออะไร ยกตัวอย่างและอธบิ ายสถานการณ์ หรือปรากฏการณ์ ทตี่ ้องใชฟ้ ิสกิ ส์ไปประยุกต์ใช้ ในชวี ติ ประจำวัน จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 21 • ฟสิ ิกสต์ อ้ งอาศยั ศาสตรห์ รือสาขาใดเปน็ พ้ืนฐาน • ฟิสกิ ส์และเทคโนโลยสี ัมพันธ์กันอยา่ งไร 2. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเนื้อหาเรื่อง ธรรมชาติของฟิสิกส์ ว่ามีส่วนไหนที่ยังไม่เข้าใจและให้ ความรเู้ พม่ิ เติมในสว่ นน้นั โดยที่ครอู าจจะใช้ PowerPoint เรอ่ื ง ฟิสกิ ส์ ช่วยในการอธบิ าย 3. ครูให้นกั เรียนทำใบงานท่ี 1.1 เรอ่ื ง ธรรมชาตขิ องฟสิ กิ ส์ 4. ครใู ห้นกั เรียนทำแบบทดสอบหลงั เรียน 5. ครมู อบหมายให้นกั เรยี นสรปุ ผังมโนทัศน์ (Mind Mapping) เรื่อง ธรรมชาติของฟิสกิ ส์ และใหน้ ักเรียนทำ Unit Question 1 ส่งเป็นการบา้ นชว่ั โมงถัดไป ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครตู รวจสอบผลการทำแบบทดสอบก่อนเรยี น 2. ครปู ระเมินผล โดยการสังเกตการตอบคำถาม การร่วมกันทำผลงาน และจากการนำเสนอผลงาน 3. ครวู ัดและประเมนิ การปฏบิ ัตกิ าร จากการทำใบงานที่ 1.1 เร่อื ง ธรรมชาติของฟิสกิ ส์ 4. ครตู รวจสอบผลการทำแบบทดสอบหลงั เรียน 5. ครวู ัดและประเมนิ ผลจากการทำ Unit Question 1 ในหนงั สอื เรียน ฟิสิกส์ เล่ม 1 6. ครูวัดและประเมินผลจากผงั มโนทศั น์ทีน่ กั เรยี นไดส้ ร้างขึ้นจากขน้ั ขยายความร้ขู องนกั เรยี นเปน็ รายบุคคล 7. การวดั และประเมินผล รายการวดั วิธีวดั เคร่อื งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ แบบทดสอบก่อนเรียน ประเมินตามสภาพจริง 7.1 การประเมินกอ่ นเรียน ตรวจแบบทดสอบ - ใบงานท่ี 1.1 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - แบบทดสอบกอ่ น ก่อนเรยี น - ผลงานทนี่ ำเสนอ - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ 2 เรียน หน่วยการ การทำงานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์ ระดบั คุณภาพ 2 เรยี นรู้ที่ 1 เรือ่ ง ผา่ นเกณฑ์ การศึกษาวิชาฟิสิกส์ 7.2 การประเมนิ ระหว่าง การจัดกิจกรรม 1) ธรรมชาติและ - ตรวจใบงานที่ 1.1 สาขาความรู้ของ วชิ าฟิสกิ ส์ 2) การนำเสนอ - ประเมินการนำเสนอ ผลงาน ผลงาน 3) พฤติกรรมการ - สังเกตพฤตกิ รรม ทำงานรายบคุ คล การทำงานรายบคุ คล จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ้ชู ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 22 รายการวัด วธิ วี ัด เคร่อื งมือ เกณฑ์การประเมนิ 4) พฤติกรรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดบั คุณภาพ 2 การทำงานกลมุ่ การทำงานกลมุ่ ผา่ นเกณฑ์ ทำงานกลมุ่ - สังเกตความมวี นิ ยั - แบบประเมนิ ระดับคณุ ภาพ 2 5) คุณลกั ษณะ ใฝ่เรยี นรู้ และม่งุ มนั่ คณุ ลักษณะ ผา่ นเกณฑ์ ในการทำงาน อันพึงประสงค์ อันพงึ ประสงค์ 8. ส่ือ/แหลง่ การเรียนรู้ 8.1 ส่ือการเรียนรู้ 1) หนังสอื เรยี น รายวิชาพ้ืนฐาน ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 2) ใบงานที่ 1.1 เรอ่ื ง ธรรมชาตขิ องฟสิ ิกส์ 3) PowerPoint เรือ่ ง ฟิสิกส์ 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) หอ้ งเรียน 2) ห้องสมุด 3) แหล่งข้อมลู สารสนเทศ จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผูช้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 23 9. การบูรณาการตามจดุ เนน้ ของโรงเรียน : ความหลากหลายทางชีวภาพ หลักปรัชญา ครู ผู้เรียน ของเศรษฐกจิ พอเพียง 1. ความพอประมาณ พอดดี า้ นเทคโนโลยี พอดีด้านจิตใจ รจู้ กั ใช้เทคโนโลยมี าผลิตส่อื ท่ี มจี ติ สำนกึ ที่ดี จติ สาธารณะรว่ ม เหมาะสมและสอดคลอ้ งเนื้อหาเปน็ อนุรกั ษ์ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ ประโยชน์ตอ่ ผเู้ รยี นและพฒั นาจากภมู ิ สง่ิ แวดลอ้ ม ปญั ญาของผเู้ รยี น 2. ความมีเหตุผล - ยึดถอื การประกอบอาชีพดว้ ยความ ไมห่ ยุดนง่ิ ทีห่ าหนทางในชีวติ หลุดพ้น ถูกต้อง สุจรติ จากความทกุ ขย์ าก (การค้นหาคำตอบ เพื่อให้หลุดพ้นจากความไมร่ ู)้ 3. มภี มู คิ มุ กันในตวั ท่ดี ี ภูมปิ ัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ภูมปิ ญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ ระมัดระวงั รบั ผดิ ชอบ ระมดั ระวงั สรา้ งสรรค์ 4. เงื่อนไขความรู้ ความรอบรู้ เรอื่ ง ธรรมชาติของ ความรอบรู้ เรื่อง ธรรมชาตขิ อง ฟิสกิ ส์ ที่เกยี่ วข้องรอบด้าน นำความรู้ ฟสิ ิกส์ สามารถนำความรู้เหล่าน้นั มา มาเชื่อมโยงประกอบการวางแผน การ พิจารณาให้เกดิ ความเชื่อมโยง ดำเนนิ การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ให้กบั สามารถประยกุ ต์ ผเู้ รยี น ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ได้ 5. เงอ่ื นไขคณุ ธรรม มคี วามตระหนักใน คณุ ธรรม มี มคี วามตระหนักใน คณุ ธรรม มีความ ความซ่อื สตั ย์สุจริตและมคี วามอดทน ซื่อสตั ย์สุจรติ และมคี วามอดทน มี มคี วามเพียร ใช้สตปิ ัญญาในการ ความเพียร ใช้สตปิ ัญญาในการดำเนนิ ดำเนนิ ชวี ติ ชวี ิต สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ครู ผูเ้ รียน ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - ความหลากหลายทางชีวภาพ - สำรวจความหลากหลายทาง - สำรวจความหลากหลายทางชวี ภาพ ชีวภาพในโรงเรียน (กำหนดจดุ ให้ ในโรงเรยี น (ตามจดุ ท่ไี ด้รบั มอบหมาย) ผเู้ รียนสำรวจ) ส่ิงแวดล้อม ครู ผเู้ รยี น ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - การอนุรักษค์ วามหลากหลาย - การอนรุ ักษค์ วามหลากหลายทาง - สืบคน้ ข้อมลู การอนุรกั ษค์ วาม ทางชีวภาพ ชวี ภาพ (กำหนดหวั ข้อใหผ้ ้เู รยี น หลากหลายทางชีวภาพ (ตามหัวขอ้ ที่ สบื คน้ ) ไดม้ อบหมาย) จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 24 10. ความเห็น/ขอ้ เสนอแนะ ของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาหรอื ผูท้ ีไ่ ด้รบั มอบหมาย 10.1 หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชือ่ …………………………………………. (นางกมลชนก เทพบุ) ………./……………./…………. 10.2 ผู้ชว่ ยผ้อู ำนวยการฝ่ายบรหิ ารวิชาการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื …………………………………………. (นางสาวรัตตกิ าล ยศสุข) ………./……………./…………. 10.3 ผู้อำนวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………. (นางวิลาวลั ย์ ปาลี) ………./……………./…………. จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 25 11. บันทึกผลหลังการสอน  ดา้ นความรู้  ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน  ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์  ดา้ นความสามารถทางวิทยาศาสตร์  ดา้ นอ่ืน ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤติกรรมท่ีมปี ญั หาของนักเรยี นเปน็ รายบุคคล (ถา้ มี))  ปัญหา/อุปสรรค  แนวทางการแก้ไข ลงชื่อ.........................................................ครูผ้สู อน (นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา) ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4 26 ใบงานท่ี 1.1 เร่ือง ธรรมชาติของฟิสกิ ส์ คำชแ้ี จง : ให้เติมขอ้ ความหรอื ความหมายของคำต่อไปนใี้ ห้สมบูรณ์ 1. ฟสิ กิ ส์มคี วามหมายว่าอย่างไร 2. วทิ ยาศาสตรธ์ รรมชาตปิ ระกอบดว้ ยอะไรบา้ ง 3. วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตรเ์ ป็นอยา่ งไร 4. เทคโนโลยีมีความหมายว่าอย่างไร จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 27 ใบงานที่ 1.1 เฉลย เรอ่ื ง ธรรมชาติของฟิสิกส์ คำชี้แจง : ใหเ้ ติมข้อความหรือความหมายของคำต่อไปนี้ให้สมบรู ณ์ 1. ฟสิ ิกสม์ คี วามหมายวา่ อยา่ งไร ฟิสิกสเ์ ป็นศาสตร์วิชาท่ีว่าดว้ ยกฎเกณฑ์หรอื ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติของสิ่งท่ีไม่มีชวี ิตในเร่ืองอันตรกิริยา (interaction) ของอนภุ าคของสสารและพลังงาน 2. วิทยาศาสตรธ์ รรมชาติประกอบด้วยอะไรบา้ ง วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (natural science) คือ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ท่ีบรรยายถึงความเป็นไปของ ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในธรรมชาติ อันประกอบไปด้วย ข้อเท็จจรงิ หลักการ ทฤษฎี กฎ และสูตรต่าง ๆ เป็นความรู้ พืน้ ฐานของนักวิทยาศาสตร์ ซึ่งได้มาเพื่อสนองความต้องการอยากรู้อยากเห็น โดยไม่คำนึงถงึ ประโยชนข์ องการ ค้นหา สามารถแบ่งออกเปน็ กลุ่มยอ่ ยไดอ้ ีก 3 แขนง คือ 1. วิทยาศาสตร์กายภาพ (physical science) คือ วิทยาศาสตร์ท่ีว่าด้วยเร่ืองราวต่าง ๆ ของส่ิงไม่มีชีวิต เชน่ เคมี ฟิสิกส์ คณติ ศาสตร์ ดาราศาสตร์ 2. วิทยาศาสตร์ชีวภาพ (biological science) คือ วิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยเร่อื งราวต่าง ๆ ของส่ิงมีชีวิต เชน่ สตั ววทิ ยา จุลชีววิทยา 3. วิทยาศาสตร์สังคม (social science) คือ วิทยาศาสตร์ที่ศึกษาหาความรู้ เพ่ือจัดระบบให้มนุษย์มี การดำรงชวี ิตอยู่ดว้ ยกันอยา่ งมีแบบแผน เพื่อความสงบสุขของสังคม ประกอบดว้ ย วิชาจิตวิทยา วิชารัฐศาสตร์ วชิ าเศรษฐศาสตร์ เป็นต้น 3. วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์เป็นอยา่ งไร วิธีการทางวิทยาศาสตร์ คือ การแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์อย่างมีกระบวนการท่ีเป็นแบบแผนมี ขั้นตอนที่สามารถปฏิบัติตามได้ โดยข้ันตอนวิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นเคร่ืองมือสำคัญของนักวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย 5 ข้ันตอน คือ การกำหนดปัญหา การตั้งสมมติฐาน การตรวจสอบสมมติฐาน การวเิ คราะห์ข้อมูล และการสรปุ ผลการทดลอง 4. เทคโนโลยมี ีความหมายวา่ อย่างไร เทคโนโลยี คือ การนำความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์และศาสตร์อ่ืน ๆ มาผสมผสาน ประยุกต์ เพ่ือสนองเปา้ หมาย เฉพาะตามความต้องการของมนุษย์ ดว้ ยการนำทรัพยากรตา่ ง ๆ มาใช้ในการผลิต จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 26 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1/2563 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา ฟิสกิ ส์ 1 (ว31201) หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 การศึกษาวชิ าฟิสิกส์ จำนวนเวลาที่สอน 3 ชัว่ โมง เร่อื ง การวัดปริมาณและหนว่ ยทางฟิสิกส์ ครูผู้สอน นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา 1. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด (ความเขา้ ใจทค่ี งทน) ปริมาณท่ีอธิบายปรากฏการณ์ทางฟิสิกส์ หรือการเปล่ียนแปลงของปริมาณท่ีสังเกตอาจจะความยาว มวล เวลา ความเร่งและความดัน เป็นต้น ปริมาณเหล่านี้จะถูกแยกเป็นปริมาณฐานและปริมาณอนุพันธ์ การกำหนด หน่วยต่าง ๆ จึงต้องกำหนดให้เข้าใจตรงกันโดยใช้ระบบหน่วยระหว่างชาติ (SI Unit) ตัวพหุคูณที่ใช้เขียนแทน หนว่ ยฐานหรือหนว่ ยอนุพันธท์ ่มี คี ่ามากหรอื น้อยเกนิ ไป เรียกวา่ คำอปุ สรรค 2. ผลการเรยี นรู้ วัดและรายงานผลการวัดปริมาณทางฟิสิกส์ได้ถูกต้องเหมาะสม โดยนำความคลาดเคลื่อนในการวัด มาพิจารณาในการนำเสนอผล รวมท้ังแสดงผลการทดลองในรูปของกราฟ วิเคราะห์และแปลความหมายจาก กราฟเส้นตรงได้ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ (Knowledge) 1) อธบิ ายปริมาณกายภาพ ระบบหน่วยระหว่างชาติได้ 2) อธิบายการเปลี่ยนแปลงของปริมาณที่สงั เกตไดจ้ ากการวดั ได้ 3.2 ด้านทกั ษะและกระบวนการ (Skill/Process) 3) แสดงการเปล่ยี นหนว่ ยทักษะการทดลอง การใช้เครอื่ งมอื การวดั และการนำเสนอขอ้ มูลได้ถูกต้อง 3.3 ดา้ นเจตคติ (Attitude) 4) ทำงานร่วมกบั ผ้อู ื่นอย่างสร้างสรรค์ ยอมรับความคิดเหน็ ของผู้อื่นได้ 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 เนื้อหาสาระหลัก : Knowledge (ผเู้ รียนตอ้ งรูอ้ ะไร) - ความรู้ทางฟสิ ิกส์ส่วนหนึ่งได้จากการทดลอง ซ่ึงเก่ียวขอ้ งกับกระบวนการวัดปริมาณทางฟสิ ิกส์ ซ่งึ ประกอบดว้ ยตวั เลข และหน่วยวดั จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ้ชู ว่ ย กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 27 - ปรมิ าณทางฟิสกิ ส์สามารถวัดได้ด้วยเครื่องมอื ตา่ ง ๆ โดยตรงหรอื ทางอ้อม หน่วยทใี่ ชใ้ นการวัด ปรมิ าณทางวิทยาศาสตร์ คอื ระบบหนว่ ยระหวา่ งชาติ เรยี กย่อว่า ระบบเอสไอ - ปรมิ าณทางฟิสกิ ส์ทม่ี คี า่ น้อยกว่าหรอื มากกว่า 1 มาก ๆ นิยมเขยี นในรปู ของสัญกรณ์วทิ ยาศาสตร์ หรอื เขยี นโดยใช้คำนำหน้าหนว่ ยของระบบเอสไอ การเขียนโดยใชส้ ัญกรณว์ ทิ ยาศาสตร์เปน็ การเขียนเพอ่ื แสดง จำนวนเลขนัยสำคญั ท่ีถกู ตอ้ ง - การทดลองทางฟิสกิ ส์เกยี่ วกับการวดั ปริมาณตา่ ง ๆ การบนั ทึกปรมิ าณทีไ่ ดจ้ ากการวัดดว้ ยจำนวน เลขนยั สำคัญทีเ่ หมาะสมและคา่ ความคลาดเคลือ่ น การวเิ คราะห์และการแปลความหมายจากกราฟ เชน่ การหา ความชนั จากกราฟเส้นตรง จุดตดั แกน พืน้ ทใ่ี ตก้ ราฟ เป็นต้น - การวดั ปริมาณตา่ ง ๆ จะมคี วามคลาดเคล่อื นเสมอข้ึนอยกู่ บั เครอ่ื งมอื วธิ กี ารวดั และ ประสบการณ์ของผูว้ ดั ซงึ่ ค่าความคลาดเคลอื่ นสามารถแสดงในการรายงานผลท้ังในรปู แบบตวั เลขและกราฟ - การวัดควรเลือกใชเ้ ครื่องมือวดั ใหเ้ หมาะสมกับส่ิงท่ีต้องการวดั เช่น การวดั ความยาวของวตั ถุท่ี ต้องการความละเอียดสงู อาจใช้เวอร์เนยี ร์แคลลเิ ปริ ส์ หรอื ไมโครมิเตอร์ - ฟสิ ิกสอ์ าศยั คณติ ศาสตรเ์ ปน็ เครื่องมอื ในการศึกษาคน้ ควา้ และการสอ่ื สาร 4.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (ผเู้ รียนสามารถปฏิบตั อิ ะไรได้) - ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ - ทกั ษะการสอ่ื สาร - ทกั ษะการทำงานร่วมกนั - ทกั ษะการนำความรไู้ ปใช้ 4.3 คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ : Attitude (ผู้เรยี นควรแสดงพฤติกรรมการเรียนอะไรบา้ ง) - มวี นิ ยั - ใฝเ่ รยี นรู้ - มุ่งม่ันในการทำงาน 5. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียนและคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มีวนิ ัย 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 1) ทักษะการคิดวเิ คราะห์ 3. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน 2) ทักษะการส่ือสาร 3) ทกั ษะการทำงานรว่ มกัน จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 28 สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 4) ทกั ษะการนำความรไู้ ปใช้ 3. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ 6. กิจกรรมการเรยี นรู้  แนวคิด/รปู แบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ช่วั โมงที่ 1 ขน้ั นำ กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันสนทนาเกย่ี วกับปริมาณทางฟสิ ิกส์ 2. ครูถามนกั เรียนวา่ ปริมาณทางฟสิ ิกส์แบ่งออกเป็นปรมิ าณได้บา้ ง นกั เรียนร่วมกนั ตอบคำถาม 3. ครูถามคำถาม Prior Knowledge “การบอกปรมิ าณในทางฟสิ ิกส์จำเป็นต้องมกี ารบอกหน่วยกำกบั ไวด้ ว้ ย หรอื ไม่อยา่ งไร” เพื่อเป็นการกระตุน้ ให้นักเรียนร่วมกนั คดิ (แนวตอบ : ฟิสิกส์เป็นวิชาที่เน้นศึกษาในเชิงปริมาณทางกายภาพ เช่น มวล แรง ความยาว เวลา อณุ หภูมิ เป็นต้น และข้อมูลท่ีได้จะเป็นตวั เลข ดังน้ันเพ่ือใหส้ ่ือสารในสิ่งท่ีต้องการศกึ ษาให้ผู้อ่นื เข้าใจง่าย ต่อการนำไปใชป้ ระโยชน์ จึงจำเปน็ ต้องมหี น่วยกำกับในการวดั ปริมาณนั้น ๆ ดว้ ย) 4. นักเรียนร่วมช่วยกนั ตอบคำถาม ครอู าจจะเลอื กคำตอบที่ไมช่ ัดเจน มาอภปิ รายร่วมกัน 5. ครอู าจอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับปริมาณท่ีเกี่ยวข้องกับวิชาฟิสิกส์ อีก 2 ปริมาณ คือ เวกเตอร์และสเกลาร์ ซง่ึ ปริมาณสเกลาร์ คือ ปริมาณท่ีกำหนดแต่เพียงขนาด กม็ ีความหมายสเกลาร์ เช่น ระยะทาง เวลา พ้ืนท่ี ส่วนปริมาณเวกเตอร์ คือ ปริมาณท่ีต้องกำหนดท้ังขนาดและทิศทาง จึงจะมีความหมาย เช่น แรง การ กระจดั เปน็ ตน้ ขน้ั สอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครใู หน้ กั เรียนแบง่ กลมุ่ แตล่ ะกลมุ่ สบื คน้ ขอ้ มูลเก่ียวกบั ระบบหนว่ ยท่ใี ชส้ ำหรบั การวดั ปรมิ าณในทางฟิสกิ ส์ วา่ มีหนว่ ยอะไรบา้ ง จากแหล่งการเรียนรู้ตา่ ง ๆ เช่น หนงั สอื เรียน อินเตอรเ์ น็ต หนงั สอื อ้างองิ ต่างๆ ใน ห้องสมุด 2. นักเรียนแตก่ ลุม่ ร่วมกนั วเิ คราะหผ์ ลจากการสบื ค้นข้อมลู 3. ครูสุม่ นกั เรียนจากกลุ่มต่างๆ เพอ่ื นำเสนอผลจากการสืบคน้ ข้อมูลเกี่ยวกบั ระบบหน่วยทใี่ ช้ในทางฟสิ กิ ส์ 4. ครแู ละนักเรียนรว่ มกันอภิปรายเพอ่ื ให้ได้ขอ้ สรุปท่ีว่า ระบบเอสไอหรือหนว่ ยเอสไอ เพ่ือใช้เป็นหนว่ ยกลาง ท่ที กุ ประเทศใช้เปน็ มาตรฐานในการระบหุ น่วยการวัดทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 29 (หมายเหตุ : ครเู รมิ่ ประเมินนกั เรยี น โดยใช้แบบสงั เกตการณ์ทำงานกลุ่ม) 5. ครูและนกั เรียนร่วมกนั อภิปรายตอ่ วา่ หนว่ ยเอสไอ มอี ยู่ 4 หนว่ ย 6. ครูอธิบายไปทีละหน่วย โดยเริ่มจากหน่วยฐาน หน่วยเสริม หน่วยอนุพัทธ์ และคำอุปสรรค • หน่วยฐานประกอบด้วย 7 หน่วย ได้แก่ หน่วยท่ีใช้วัดความยาว มวล เวลา กระแสไฟฟ้า อุณหภูมิ ความเข้มแห่งการสอ่ งสว่าง ปริมาณของสาร โดยแต่ละหน่วยต่างเปน็ อิสระต่อกัน และใช้เปน็ หนว่ ย พ้ืนฐานของหนว่ ยอนื่ แสดงดังตารางในหนงั สอื เรยี นหน้า 11 • หน่วยเสริม มี 2 หน่วย คือ เรเดียน เป็นหน่วยวัดมุมในระนาบ โดย 1 เรเดียน คือ มุมท่ีจุด ศูนย์กลางของวงกลมท่ีรองรับ ความยาวส่วนโค้งท่ีมีความยาวเท่ากับรัศมี และสเตอเรเดียน เป็น หน่วยวัดมุมตัน โดย 1 สเตอเรเดียน คือ มุมท่ีจุดศูนย์กลางของทรงกลมที่รองรับพ้ืนที่ผิวโค้งที่มี พ้ืนท่เี ปน็ รปู สเี่ หล่ยี มจตั ุรัสทมี่ ีความยาวด้านเทา่ กบั รศั มี • หน่วยอนุพันธ์ เกิดจากการนำหน่วยพื้นฐานมาสร้างความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ แล้วได้เป็น ปริมาณท่ีมคี วามสัมพันธ์กันมากกว่า 1 ปริมาณ เช่น ความเร็วเป็นความสัมพันธ์ระหว่างระยะทาง ต่อเวลา 7. ครูใหค้ วามรู้เพิม่ เติมเก่ยี วกบั การใชค้ ำอุปสรรคและตัวพหุคูน ตวั อย่างเช่น การเติมคำอุปสรรค เรามกั จะไว้ ข้างหน้าหน่วยพ้ืนฐาน เพ่ือใช้แทนตัวคูณเพ่ิมหรือตัวคูณลด แล้วทำให้หน่วยพื้นฐานนั้นมีขนาดใหญ่ข้ึน หรือลดลงเหมาะแก่การนำไปประยุกตใ์ ช้คำอุปสรรค หรอื อาจบอกความหมายของตัวพหคุ นู คอื เลขสิบยก กำลังบวกหรือลบ 8. ครูอาจให้นกั เรยี นทอ่ งจำคำอุปสรรคในระบบเอสไอและเน้นคำอปุ สรรคที่นยิ มใช้ในวิชาฟสิ ิกส์ 9. ครูอธิบายเพ่ิมเติมเกย่ี วการเปล่ยี นหน่วยโดยใชค้ ำอุปสรรค เช่น คำอุปสรรคนิยมใชก้ ับหน่วยของเวลา เช่น นาที ช่ัวโมง ยกเว้นช่วงเวลาท่ีสนั้ กว่าวนิ าที เช่น 10-6 s = μs และเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัย ท่ีนักเรียนยงั ไมเ่ ขา้ ใจเก่ียวกบั เรอ่ื งท่เี รียน 10.ครูยกตัวอย่างโจทย์จากตัวอย่างที่ 1.3 ในหนังสือเรียนหน้า 14 และให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดจาก Unit Question 1 ข้อ 5. และข้อ 6. จากหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 เพื่อเป็น การทบทวนความเข้าใจในเนื้อหาที่เรียนมา ชัว่ โมงที่ 2 ขน้ั สอน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูส่งเสริมให้นักเรียนได้เข้าใจในเรื่องคำอุปสรรคและการเปลี่ยนหน่วยมากขึ้น โดยให้นักเรียน แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ เพื่อศึกษาให้ได้มาซึ่งคำตอบจากตัวอย่างที่ 1.4 และ 1.5 ให้นักเรียนได้ วิเคราะห์โจทย์ตามขั้นตอนการแก้โจทย์ปัญหา ดังน้ี จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 30 • ขน้ั ที่ 1 ทำความเข้าใจโจทย์ตวั อย่าง • ขั้นท่ี 2 สิ่งทโ่ี จทย์ต้องการถามหา และจะหาส่ิงทโ่ี จทย์ต้องการ ตอ้ งทำอย่างไร • ขัน้ ท่ี 3 ดำเนินการ หาคำตอบ • ขัน้ ท่ี 4 ตรวจสอบคำตอบของโจทยต์ วั อย่าง 2. ครูตรวจสอบการแทนคา่ การเปลีย่ นหน่วย การคำนวณ ว่าตรงกบั โจทย์กำหนดให้หรือไม่ และคำตอบถูก หรือไม่ ถา้ ตรงกัน สรปุ ได้วา่ คำตอบนน้ั ถูกตอ้ ง 3. เมอ่ื นักเรียนท้งั 2 กล่มุ ทำความเข้าใจของโจทย์ตัวอย่างแล้ว ส่งตัวแทนมาอธบิ ายวธิ กี ารเปลีย่ นหนว่ ย การ คำนวณ การหาคำตอบของโจทยต์ วั อย่างท้ัง 2 ขอ้ 4. ครอู ธบิ ายสรุปเก่ยี วกับเนื้อหา หรือเปิดโอกาสให้นกั เรยี นได้สอบถามในสว่ นทมี่ ีขอ้ สงสัย 5. จากนั้น ครอู ธิบายความรู้ให้กับนักเรียนว่า ความรู้ต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างย่ิงความรูท้ าง ฟิสิกส์ จำเป็นต้องใช้เครื่องมือต่าง ๆ มาเก่ียวข้อง โดยเฉพาะเคร่ืองมือในการวัดปริมาณต่างๆ การเลือก เคร่ืองมือวัด และการอ่านค่าที่ได้จากการวัดจึงเป็นสิ่งสำคัญในการศึกษาวิชาฟิสิกส์ เพ่ือนำข้อมูลมา คำนวณ พิสูจน์ หรือหาผลสรุป ซ่ึงหากผู้ทำการทดลองวัดและอา่ นคา่ จากเคร่ืองมอื ผิดพลาด อาจส่งผลต่อ ความถูกต้องและความแม่นยำของผลการทดลองได้ 6. ครูให้นักเรียนอ่านทำความเข้าใจเนื้อหาจากหนังสือเรียนหน้า 17 จากน้ันนักเรียนทุกคนช่วยกันสรุป เช่อื มโยงเกีย่ วกับหน่วยต่าง ๆ ของการวัด คำอปุ สรรค และการอา่ นค่าจากเคร่ืองมอื วัด ชว่ั โมงท่ี 3 ขน้ั สรปุ ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครูนำนกั เรยี นอภปิ รายและสรปุ เกีย่ วกบั การวดั ปริมาณทางกายภาพในเชงิ ฟสิ กิ ส์ ดังนี้ • ฟิสิกส์เป็นวิชาที่มุ่งเน้นการศึกษาในเชิงปริมาณ ประกอบด้วย 2 สิ่งที่ต้องคำนึงถึง คือ ปริมาณ ตัวเลขที่ไดจ้ ากการวัด และหนว่ ยของการวัด • คำอุปสรรค เป็นคำท่ีไว้ขา้ งหน้าหน่วยเอสไอ เพ่ือใช้แทนตัวคูณเพ่ิมหรือตัวคูณลด แล้วทำใหห้ น่วย พ้นื ฐานนัน้ มขี นาดใหญข่ ึน้ หรือลดลงเหมาะแกก่ ารนำไปประยกุ ตใ์ ช้ • การอ่านผลจากเคร่ืองวัดท้ังแบบสเกล และแบบตัวเลข ค่าท่ีอ่านได้จะเป็นตัวเลขแล้ว ตามด้วย หน่วยของการวัด 2. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเน้ือหาเร่ือง การวัดปริมาณทางกายภาพในเชิงฟิสกิ ส์ ว่ามีส่วนไหนที่ยัง ไม่เข้าใจและให้ความรเู้ พิม่ เติมในสว่ นน้ัน 3. ครูให้นกั เรยี นทำใบงานท่ี 1.2 เร่อื ง หน่วยของการวดั แล้วมอบหมายใหน้ ักเรยี นทำแบบฝึกหัดที่ 3.1 เรอ่ื ง การวดั ปริมาณและหนว่ ยทางฟิสกิ ส์ ส่งเปน็ การบ้านในชวั่ โมงถัดไป จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 31 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครตู รวจการนำเสนอข้อมลู ระบบหนว่ ยที่ใชใ้ นทางฟสิ กิ สท์ ไ่ี ดจ้ ากการสืบคน้ 2. ครูประเมนิ ผลโดยการสงั เกตพฤตกิ รรมการตอบคำถาม พฤติกรรมการทำงานกลุ่ม และพฤติกรรมการ ทำงานรายบคุ คล 3. ครูตรวจสอบผลจากการทำใบงานที่ 1.2 เรื่อง หนว่ ยของการวัด 4. ครูตรวจสอบผลการทำแบบฝกึ หัดท่ี 3.1 เรอื่ ง การวดั ปริมาณทางกายภาพในเชิงฟสิ กิ ส์ 7. การวดั และประเมนิ ผล รายการวดั วธิ วี ัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมนิ 7.1 การประเมินระหว่าง - ใบงานท่ี 1.2 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ การจดั กิจกรรม - ตรวจใบงานที่ 1.2 - ผลงานท่นี ำเสนอ ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 1) หนว่ ยของการวัด - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดบั คณุ ภาพ 2 การทำงานรายบคุ คล ผ่านเกณฑ์ 2) การนำเสนอ - ประเมนิ การนำเสนอ - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดบั คณุ ภาพ 2 ผลงาน ผลงาน การทำงานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์ - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบประเมนิ ระดับคุณภาพ 2 3) พฤตกิ รรมการ การทำงานรายบคุ คล คุณลกั ษณะ ผ่านเกณฑ์ ทำงานรายบคุ คล - สงั เกตพฤตกิ รรม อันพึงประสงค์ การทำงานกลมุ่ 4) พฤตกิ รรมการ - สังเกตความมวี ินัย ทำงานกลุ่ม ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งม่ัน ในการทำงาน 5) คุณลักษณะ อนั พงึ ประสงค์ 8. สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้ 8.1 สื่อการเรยี นรู้ 1) หนงั สือเรยี น รายวิชาเพิ่มเตมิ ฟสิ กิ ส์ ม.4 เลม่ 1 2) ใบงานที่ 1.2 เรอ่ื ง หนว่ ยของการวัด 3) แบบฝึกหัดที่ 3.1 เรือ่ ง การวดั ปรมิ าณทางกายภาพในเชงิ ฟสิ กิ ส์ 3) PowerPoint หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 เรื่อง การศึกษาวิชาฟิสิกส์ 8.2 แหลง่ การเรียนรู้ 1) ห้องเรยี น 2) หอ้ งสมุด 3) แหล่งขอ้ มลู สารสนเทศ จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 32 9. การบรู ณาการตามจุดเน้นของโรงเรยี น : ความหลากหลายทางชวี ภาพ หลกั ปรัชญา ครู ผูเ้ รยี น ของเศรษฐกิจพอเพียง 1. ความพอประมาณ พอดีด้านเทคโนโลยี พอดดี า้ นจติ ใจ ร้จู กั ใชเ้ ทคโนโลยมี าผลิตสือ่ ที่ มีจติ สำนึกทดี่ ี จิตสาธารณะร่วม 2. ความมีเหตผุ ล อนุรกั ษ์ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ เหมาะสมและสอดคล้องเน้อื หาเปน็ ส่งิ แวดล้อม ประโยชนต์ ่อผ้เู รยี นและพฒั นาจากภูมิ ปัญญาของผเู้ รยี น ไมห่ ยุดนง่ิ ทหี่ าหนทางในชวี ิต หลุดพน้ - ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความ จากความทุกขย์ าก (การคน้ หาคำตอบ ถูกต้อง สุจริต เพ่ือให้หลดุ พ้นจากความไม่รู)้ ภมู ิปญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ 3. มภี มู ิคุมกนั ในตัวท่ีดี ภูมปิ ัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ รบั ผิดชอบ ระมดั ระวัง สร้างสรรค์ ระมัดระวงั ความรอบรู้ เรอ่ื ง การวัดปรมิ าณ และหนว่ ยทางฟิสกิ ส์ สามารถนำ 4. เงือ่ นไขความรู้ ความรอบรู้ เร่อื ง การวัดปริมาณ ความรเู้ หลา่ นั้นมาพิจารณาให้เกิด ความเช่อื มโยง สามารถประยกุ ต์ และหน่วยทางฟสิ ิกส์ ท่เี กี่ยวข้องรอบ ใชใ้ นชวี ติ ประจำวันได้ มีความตระหนกั ใน คณุ ธรรม มคี วาม ด้าน นำความร้มู าเชือ่ มโยง ซอื่ สตั ยส์ จุ ริตและมคี วามอดทน มี ความเพยี ร ใช้สตปิ ญั ญาในการดำเนิน ประกอบการวางแผน การดำเนินการ ชีวติ จดั กจิ กรรมการเรยี นรใู้ หก้ บั ผู้เรยี น ผูเ้ รยี น ความหลากหลายทางชีวภาพ 5. เง่อื นไขคณุ ธรรม มีความตระหนกั ใน คุณธรรม มี - สำรวจความหลากหลายทางชีวภาพ ในโรงเรยี น (ตามจุดทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย) ความซือ่ สตั ย์สุจริตและมีความอดทน ผู้เรียน มคี วามเพยี ร ใช้สตปิ ัญญาในการ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สืบคน้ ข้อมลู การอนุรกั ษค์ วาม ดำเนนิ ชีวติ หลากหลายทางชีวภาพ (ตามหัวขอ้ ท่ี ได้มอบหมาย) สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ครู ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - ความหลากหลายทางชีวภาพ - สำรวจความหลากหลายทาง ชวี ภาพในโรงเรียน (กำหนดจดุ ให้ ผูเ้ รยี นสำรวจ) สิ่งแวดล้อม ครู ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - การอนุรักษค์ วามหลากหลาย - การอนุรักษค์ วามหลากหลายทาง ทางชีวภาพ ชวี ภาพ (กำหนดหัวข้อให้ผเู้ รยี น สืบคน้ ) จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 33 10. ความเห็น/ขอ้ เสนอแนะ ของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาหรือผู้ท่ไี ดร้ บั มอบหมาย 10.1 หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………. (นางกมลชนก เทพบุ) ………./……………./…………. 10.2 ผู้ชว่ ยผ้อู ำนวยการฝ่ายบรหิ ารวิชาการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่อื …………………………………………. (นางสาวรตั ตกิ าล ยศสุข) ………./……………./…………. 10.3 ผู้อำนวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นางวิลาวัลย์ ปาลี) ………./……………./…………. จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 34 11. บันทึกผลหลังการสอน  ดา้ นความรู้  ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน  ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์  ดา้ นความสามารถทางวิทยาศาสตร์  ดา้ นอ่ืน ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤติกรรมท่ีมปี ัญหาของนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล (ถ้ามี))  ปัญหา/อุปสรรค  แนวทางการแก้ไข ลงชอื่ .........................................................ครูผู้สอน (นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา) ตำแหน่ง ครูผชู้ ่วย จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 35 ใบงานท่ี 1.2 เรื่อง หน่วยของการวดั คำชแี้ จง : จงหาคำตอบและแสดงวธิ ีทำอยา่ งละเอียด 1. วตั ถมุ วล 500 กรมั มคี ่ากก่ี โิ ลกรมั ก่ไี มโครกรมั กมี่ ิลลกิ รัม 2. ระยะทาง 90 กิโลเมตร มคี า่ กีเ่ มตร กี่นาโนเมตร 3. เรอื ลำหนึ่งแลน่ ด้วยความเรว็ 72 กิโลเมตร/ชว่ั โมง มีค่ากีเ่ มตร/วนิ าที จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผูช้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 36 ใบงานท่ี 1.2 เฉลย เรือ่ ง หนว่ ยของการวัด คำชแ้ี จง : จงหาคำตอบและแสดงวธิ ีทำอยา่ งละเอียด 1. วตั ถมุ วล 500 กรัม มีค่ากีก่ ิโลกรัม ก่ีไมโครกรัม กีม่ ลิ ลกิ รัม วัตถุมวล 500 กรมั มีค่ากี่กโิ ลกรมั จะได้ 500 = 500 × 10−3 kg 103 วัตถมุ วล 500 กรัม มคี ่ากี่ไมโครกรมั จะได้ 500 = 500 × 106 μg 10−6 วัตถมุ วล 500 กรัม มีค่ากีม่ ิลลิกรัม จะได้ 500 = 500 × 103 mg 10−3 2. ระยะทาง 90 กิโลเมตร มคี า่ กเี่ มตร ก่นี าโนเมตร ระยะทาง 90 กิโลเมตร มีคา่ กี่เมตร ดงั นน้ั ระยะทาง 90 กิโลเมตร เท่ากับ 90 × 103 เมตร ระยะทาง 90 กิโลเมตร มีคา่ ก่นี าโนเมตร ระยะทาง 90 กโิ ลเมตร เท่ากับ 90 × 103 = 90 × 103 × 109 10−9 ดงั นนั้ ระยะทาง 90 กโิ ลเมตร เท่ากบั 90 × 1012 นาโนเมตร 3. เรือลำหนงึ่ แลน่ ดว้ ยความเรว็ 72 กโิ ลเมตร/ช่วั โมง มคี า่ กี่เมตร/วนิ าที เรอื ลำหนง่ึ แล่นดว้ ยความเรว็ 72 กโิ ลเมตร/ชั่วโมง ดงั น้ัน ความเร็ว 72 กิโลเมตร/ช่ัวโมง เทา่ กบั 72 × 103 = 19.44 เมตร/วนิ าที 60 ×60 จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 36 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรียนที่ 1/2563 กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา ฟสิ ิกส์ 1 (ว31201) หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การศึกษาวิชาฟสิ ิกส์ เรอ่ื ง เลขนัยสำคญั จำนวนเวลาทส่ี อน 3 ช่วั โมง ครูผู้สอน นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา 1. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (ความเข้าใจที่คงทน) การทดลองทางฟิสิกส์เกี่ยวกับการวัดปริมาณตา่ ง ๆ และการแสดงความเที่ยงตรงของผลการวัดท่ีไดจ้ ากการ วัดโดยตรง หรือผลทค่ี ำนวณมาจากผลการวัดจะใชค้ ำเรียกว่า เลขนัยสำคัญ ซึง่ ประกอบด้วยตัวเลขที่แสดงความ แน่นอนรวมกบั ตัวเลขท่แี สดงความไมแ่ น่นอน การวัดปริมาณต่าง ๆ จะมีความคลาดเคล่อื นเสมอข้นึ อยกู่ ับเครื่องมือ วธิ กี ารวดั และประสบการณ์ของผู้วดั ซงึ่ ค่าความคลาดเคล่ือนสามารถแสดงในการรายงานผลทั้งในรูปแบบตัวเลขและกราฟ 2. ผลการเรยี นรู้ วัดและรายงานผลการวัดปริมาณทางฟิสิกส์ได้ถูกต้องเหมาะสม โดยนำความคลาดเคล่ือนในการวัด มาพิจารณาในการนำเสนอผล รวมท้ังแสดงผลการทดลองในรูปของกราฟ วิเคราะห์และแปลความหมายจาก กราฟเส้นตรงได้ 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ (Knowledge) 1) อธิบายเกยี่ วกับเลขนยั สำคญั และคา่ ความคลาดเคลือ่ นได้ 3.2 ด้านทกั ษะและกระบวนการ (Skill/Process) 2) แสดงทกั ษะการคำนวณการบันทกึ ข้อมลู ได้ถูกต้อง 3.3 ด้านเจตคติ (Attitude) 3) ทำงานรว่ มกับผูอ้ ืน่ อยา่ งสรา้ งสรรค์ ยอมรับความคดิ เหน็ ของผูอ้ ่นื ได้ 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 เนื้อหาสาระหลัก : Knowledge (ผูเ้ รยี นตอ้ งรอู้ ะไร) - ความรู้ทางฟิสิกส์ส่วนหน่งึ ได้จากการทดลอง ซ่ึงเก่ยี วขอ้ งกับกระบวนการวัดปรมิ าณทางฟิสิกส์ ซงึ่ ประกอบดว้ ยตวั เลข และหนว่ ยวัด - ปรมิ าณทางฟสิ กิ ส์สามารถวัดได้ดว้ ยเครื่องมือตา่ ง ๆ โดยตรงหรือทางอ้อม หน่วยทใ่ี ช้ในการวดั ปรมิ าณทางวทิ ยาศาสตร์ คือระบบหน่วยระหวา่ งชาติ เรยี กยอ่ วา่ ระบบเอสไอ จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กลุม่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 37 - ปริมาณทางฟิสิกส์ท่มี คี า่ นอ้ ยกว่าหรือมากกว่า 1 มาก ๆ นยิ มเขียนในรูปของสัญกรณว์ ิทยาศาสตร์ หรอื เขยี นโดยใช้คำนำหน้าหนว่ ยของระบบเอสไอ การเขียนโดยใชส้ ญั กรณว์ ิทยาศาสตร์เป็นการเขียนเพอ่ื แสดงจำนวนเลขนัยสำคัญท่ถี กู ต้อง - การทดลองทางฟสิ ิกสเ์ กี่ยวกบั การวัดปริมาณตา่ ง ๆ การบันทึกปริมาณท่ีไดจ้ ากการวัดด้วยจำนวน เลขนัยสำคัญทเ่ี หมาะสมและค่าความคลาดเคลือ่ น การวเิ คราะหแ์ ละการแปลความหมายจากกราฟ เช่น การหาความชนั จากกราฟเสน้ ตรง จดุ ตดั แกน พ้ืนทีใ่ ตก้ ราฟ เป็นต้น - การวัดปรมิ าณต่าง ๆ จะมคี วามคลาดเคล่อื นเสมอขนึ้ อยู่กับเครื่องมอื วธิ กี ารวดั และ ประสบการณข์ องผวู้ ดั ซึ่งคา่ ความคลาดเคลอื่ นสามารถแสดงในการรายงานผลทั้งในรปู แบบตวั เลขและ กราฟ - การวดั ควรเลือกใช้เครอื่ งมอื วดั ให้เหมาะสมกบั สิ่งท่ีต้องการวัด เช่น การวัดความยาวของวตั ถทุ ่ี ตอ้ งการความละเอยี ดสูง อาจใช้เวอรเ์ นียรแ์ คลลเิ ปิร์ส หรอื ไมโครมเิ ตอร์ - ฟิสิกสอ์ าศยั คณิตศาสตรเ์ ปน็ เครื่องมอื ในการศกึ ษาค้นควา้ และการส่อื สาร 4.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process (ผู้เรยี นสามารถปฏิบตั ิอะไรได)้ - ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ - ทกั ษะการสอื่ สาร - ทกั ษะการทำงานร่วมกนั - ทักษะการนำความร้ไู ปใช้ 4.3 คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ : Attitude (ผูเ้ รยี นควรแสดงพฤตกิ รรมการเรียนอะไรบ้าง) - มีวนิ ยั - ใฝ่เรยี นรู้ - ม่งุ มน่ั ในการทำงาน - อยู่อย่างพอเพียง 5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี นและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสอื่ สาร 1. มีวนิ ยั 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรยี นรู้ 1) ทักษะการคดิ วิเคราะห์ 3. มุ่งมน่ั ในการทำงาน 2) ทักษะการสอ่ื สาร 4. อยู่อย่างพอเพียง 3) ทกั ษะการทำงานร่วมกัน 4) ทักษะการนำความรู้ไปใช้ 3. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 38 6. กจิ กรรมการเรียนรู้  แนวคิด/รูปแบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชว่ั โมงที่ 1 ขน้ั นำ กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครูและนักเรยี นร่วมกันสนทนาเก่ียวกับปริมาณตัวเลขที่ได้จากการวัด หน่วยของการวดั คำอปุ สรรค และ การอ่านผลจากเครื่องมือวัด เพ่ือเป็นการทบทวนความรู้ของนักเรียนจากคาบเรียนท่ีผ่านมา และนำไปสู่ หวั ข้อตอ่ ไป 2. ครูถามนกั เรียนว่า “การทดลองมคี วามสำคญั อย่างไร” นักเรียนร่วมกนั ตอบคำถาม (แนวตอบ : เพื่อได้เรียนรเู้ น้ือหาของวชิ านั้นมากขน้ึ และเพ่ือให้นักเรียนได้สามารถพฒั นาทักษะใน เชงิ ปฏิบตั )ิ 3. ครถู ามคำถาม Prior Knowledge “นักเรียนควรใชเ้ ครอ่ื งมอื ใด ในการวดั ความหนาของเหรยี ญ 10 บาท” เพอื่ เป็นการกระตุ้นให้นักเรยี นรว่ มกันคดิ (แนวตอบ : เวอรเ์ นียหรอื ไมโครมเิ ตอรเ์ พราะเป็นเครอ่ื งมอื ทเี่ หมาะสำหรบั วัดความหนาของวัตถุ) 4. นักเรียนร่วมช่วยกนั ตอบคำถาม และรว่ มกนั อภปิ ราย 5. ครูถามคำถามนกั เรียนเพอื่ เข้าสู่เน้ือหาว่า การบนั ทึกค่าที่ได้จากการทดลองทางฟิสิกส์น้ัน จะต้องคำนึงถึง สิง่ ใด (แนวตอบ : เลขนัยสำคญั ) ขน้ั สอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครใู ห้นกั เรียนแบ่งกล่มุ กลมุ่ ละ 4 – 5 คน แลว้ ให้ช่วยกันศึกษาหลกั การนับและการพิจารณาจำนวนเลข นยั สำคัญ จากหนงั สอื เรยี นหนา้ 20 โดยครูคอยให้ข้อเสนอแนะคำปรึกษาแก่นักเรยี น ซงึ่ นกั เรยี นรว่ มกนั วเิ คราะหแ์ ละสรุปในประเด็นตอ่ ไปนี้ • เลขนัยสำคัญคอื อะไร • การนับจำนวนเลขนัยสำคัญ นับอย่างไร • ยกตวั อยา่ งหลักการนบั เลขนยั สำคญั 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายภายในกลุ่ม ตรวจสอบและรวบรวมข้อมูล และทุกคนต้องทำความ เขา้ ใจใหต้ รงกัน 3. ครสู มุ่ ตวั แทนของนักเรียนแต่ละกลุ่ม เพอ่ื นำเสนอขอ้ มลู ท่แี ต่ละกลุ่มได้ไปสืบคน้ ข้อมลู มา จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย กล่มุ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 39 4. ครสู อบถามข้อสรปุ ของแต่ละกลุ่ม โดยครูตรวจสอบขอ้ มลู จากการนำเสนอเพ่ือความถกู ตอ้ ง (หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมินนกั เรยี น โดยใช้แบบสงั เกตการณ์ทำงานกลมุ่ ) 5. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกัน ศึกษาหาคำตอบจากตัวอย่างท่ี 1.7 ในหนังสือเรียนหน้า 21 เพื่อให้เกิด ความเข้าใจในเรือ่ งเลขนัยสำคญั ทไ่ี ดจ้ ากการวดั ตามขัน้ ตอนการแกโ้ จทย์ปญั หา ดงั นี้ • ข้นั ที่ 1 ทำความเขา้ ใจโจทยต์ วั อยา่ ง • ขั้นที่ 2 ส่ิงที่โจทย์ต้องการถามหา (ความยาว) และจะหาส่ิงท่ีโจทย์ต้องการ ต้องทำอย่างไร (อ่าน จากขดี สเกลของไมบ้ รรทัด) • ขน้ั ที่ 3 ดำเนินการ (ดคู วามละเอียดของไม้บรรทดั อา่ นคา่ ความยาวของดนิ สอ) • ข้ันท่ี 4 ตรวจสอบคำตอบของโจทย์ตัวอย่าง (ความยาวของดินสอ จำนวนเลขนัยสำคัญ และค่า ความละเอียดของไม้บรรทดั ) 6. ให้นักเรียนได้วิเคราะห์โจทย์จากตัวอย่างท่ี 1.8 โดยใช้ข้ันตอน เหมือนกับตัวอย่างที่ 1.7 7. นักเรียนและครรู ว่ มกันอภิปรายเก่ียวกับการนบั เลขนัยสำคญั เพือ่ ใหน้ กั เรียนสรปุ สาระสำคัญลงในสมดุ จด บนั ทกึ 8. ครใู ห้นักเรียนทำแบบฝึกหัดจาก Unit Question 1 ข้อ 3. และ 4. ในหนังสือเรยี นหน้า 28 เพ่ือเป็นการ ตรวจสอบความเข้าใจของนกั เรยี น 9. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันทบทวนหลักการนบั จำนวนเลขนัยสำคญั 10. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาหลักการคำนวณเลขนัยสำคัญ แล้วชักชวนให้นักเรียนอภิปรายร่วมกัน เพื่อให้ได้ข้อสรุป ดังนี้ • การบวกลบเลขนัยสำคัญ โดยจะบวกลบเลขนัยสำคัญก่อน เมื่อได้ผลลัพธ์ ให้มีจำนวนทศนิยม เทา่ กบั จำนวนท่ีทศนิยมน้อยท่สี ดุ • การคูณหารเลขนัยสำคญั โดยจะคูณหารเลขนัยสำคัญก่อน เม่ือได้ผลลพั ธ์ ให้พิจารณาจำนวนเลข นยั สำคญั เท่ากับตวั เลขท่นี ยั สำคญั นอ้ ยที่สุดทคี่ ูณหารกนั 11. ครูให้นักเรียนร่วมกันตอบคำถามท้าทายการคิดขั้นสูง H.O.T.S. “เหตุใดผลลัพธ์ที่ได้จากการคำนวณ ข้อมูลท่ีไดจ้ ากการวัดจะตอ้ งพิจารณาตามหลักนัยสำคญั ” (แนวตอบ : การคำนวณข้อมูลที่ได้จากการวัดเคร่ืองวัด ผลลัพธ์ท่ีได้ จะต้องมีความถูกต้องไม่เกิน ความละเอียดของเครื่องวัดท่ีใช้ ซึ่งเลขนัยสำคัญจะบอกถึงความละเอียดของช่องสเกลของเครื่องวัด และ ยงั ช่วยให้ผู้วัดทราบว่า ผลการทดลองควรจะบันทึกผลดว้ ยตัวเลขกีห่ ลกั จึงจะเหมาะสม) 12. ครูให้นกั เรียนร่วมกนั ทำโจทยต์ วั อย่างของการคำนวณเลขนยั สำคญั จากตวั อย่างท่ี 1.9 13. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาตัวอย่างที่ 1.10 และ 1.11 ในหนังสือเรียนหน้า 23 ตามข้ันตอนการแก้ โจทยป์ ัญหา ดังนี้ • ขั้นท่ี 1 ครูใหน้ กั เรยี นทกุ คนทำความเข้าใจโจทย์ตัวอย่าง • ข้นั ที่ 2 ครูถามนักเรยี นว่า ส่ิงที่โจทยต์ ้องการถามหาคืออะไร และจะหาส่ิงที่โจทย์ต้องการ ตอ้ งทำ อยา่ งไร จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 40 • ขนั้ ที่ 3 ครูใหน้ ักเรียนดวู ิธที ำในการคำนวณหาคำตอบ • ขั้นท่ี 4 ตรวจสอบคำตอบของโจทย์ตวั อยา่ งวา่ ถกู ตอ้ ง และตามหลักนัยสำคัญหรือไม่ 14. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการคำนวณเลขนัยสำคัญ เพ่ือให้นักเรียนสรุปสาระสำคัญลงใน สมดุ จดบนั ทึก 15. ครใู ห้นกั เรียนทำแบบฝึกหัดจาก Unit Question 1 ข้อ 8. และ 9. ในหนังสือเรียนหน้า 29 เพื่อเปน็ การ ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน ช่วั โมงที่ 2 ขน้ั สอน อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครใู หน้ ักเรียนจบั ค่กู บั เพ่ือนรว่ มชนั้ เรยี นเพ่อื ปฏบิ ตั กิ ารทดลอง การหาปรมิ าตรของหนังสอื เรียน ในหนังสือ เรียนหน้า 24 แลว้ บันทึกผลการทดลอง พร้อมตอบคำถามท้ายการทดลองลงในแบบบันทกึ กิจกรรมท่ีอยู่ ในแบบฝกึ หัดฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 หน้า 12 2. ครูอาจจะสุ่มถามนักเรียน ด้วยคำถามต่อไปน้ี • นักเรียนวัดความกว้าง ความยาว และความหนา ของหนงั สอื เรียนไดเ้ ท่าไร • คา่ เฉล่ียของความกว้าง ความยาว และความหนา ของหนงั สอื เรยี น เป็นเทา่ ไร • นักเรยี นหาปรมิ าตรของหนงั สือเรยี นได้เทา่ ไร 3. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกัน อภิปราย สรุปผลการทดลองและเขียนรายงานการทดลองจากการ ปฏิบัติการทดลอง แล้วแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอหน้าช้ันเรียน โดยครูช่วยอธิบายความรู้เพิ่มเติมเพื่อให้ นกั เรยี นเกิดความเขา้ ใจมากขึน้ 4. ครอู ธิบายเพมิ่ เติมหลังจากทำการทดลองว่า การวัดทุกรปู แบบจะมีความคลาดเคลอ่ื นหรือความไมแ่ นน่ อน เกิดขึ้นเสมอ ค่าต่างๆ ท่ีวัดได้จากการทดลอง หากเราไม่มีค่าความคลาดเคลื่อนกำกับ ค่าน้ันจะไม่มี ความหมายแต่อย่างใด การบันทึกค่าความคลาดเคล่ือนถือเป็นสง่ิ สำคัญยิง่ อย่างหน่ึง ที่จะทำให้วิเคราะห์ ส่ิงท่ีเก่ียวข้องได้อย่างถูกต้อง ซึ่งขนาดของความคลาดเคล่ือนจะเป็นตัวสะท้อนถึงความละเอียดของ เครือ่ งมือหรือเทคนคิ ทใี่ ชใ้ นการทดลองนั้นๆ 5. ครูถามคำถามนักเรียนต่อว่า แล้วความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้นจากสาเหตุใดบ้าง โดยให้นักเรียนอภิปราย ร่วมกนั เพอ่ื หาคำตอบ จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ้ชู ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 41 ชั่วโมงท่ี 3 ขน้ั สรุป ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครใู ห้นกั เรียนศึกษาการคำนวณความคลาดเคลื่อนทไ่ี ด้จากการวัดในตัวอยา่ งท่ี 1.12 1.13 และ 1.14 จาก หนงั สือเรียนหน้า 25 – 26 แล้วใหน้ ักเรยี นร่วมกนั ทำใบงานท่ี 1.3 เรอื่ ง เลขนยั สำคัญ 2. จากนั้นครใู หน้ ักเรียนรว่ มกันสรปุ เป็นผงั มโนทัศน์ เร่ือง เลขนยั สำคัญ โดยอาจยกคำถามมาถามตอบ หรือ นำผลการทดลองที่ได้จากการวัดมาสรปุ ผลการทดลอง เพื่อเป็นการสรุปสาระสำคญั ของเน้ือหา เช่น เลข นยั สำคญั คอื อะไร และมคี วามสำคัญอยา่ งไรต่อการทดลอง ความคลาดเคล่อื นเกิดข้นึ ไดอ้ ยา่ งไร เปน็ ตน้ 3. ครมู อบหมายให้นักเรียนแต่ละคนทำแบบฝกึ หัดจาก Unit Question 1 ข้อ 10 – 15 ในหนังสอื เรียนหน้า 29 เป็นการบ้าน ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูตรวจการนำเสนอขอ้ มูลเกี่ยวกบั เลขนัยสำคัญ 2. ครูสงั เกตการทำกจิ กรรม การหาปรมิ าตรของหนงั สอื เรยี น 3. ครตู รวจสอบผลจากใบงานที่ 1.3 เรือ่ ง เลขนยั สำคญั 5. ครตู รวจการทำแบบฝึกหัดจาก Unit Question 1 เร่อื ง เลขนยั สำคญั 6. ตรวจแบบฝึกหดั ที่ 4.1 - 4.5 เรอื่ ง เลขนยั สำคัญและความคลาดเคลอ่ื น 7. ตรวจแบบบนั ทกึ กิจกรรม เร่ือง การหาปรมิ าตรของหนงั สือเรียน 8. ครูประเมินผลชนิ้ งาน/ผลงานจากผงั มโนทศั น์ที่นักเรียนไดส้ รา้ งขึ้นจากข้ันขยายความรู้ 7. การวดั และประเมนิ ผล รายการวดั วิธวี ดั เครอ่ื งมอื เกณฑ์การประเมิน 7.1 การประเมนิ ระหว่าง - ใบงานที่ 1.3 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ การจดั กจิ กรรม - ตรวจใบงานที่ 1.3 - ผลงานท่นี ำเสนอ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 1) เลขนัยสำคัญ - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดับคุณภาพ 2 การทำงานรายบคุ คล ผ่านเกณฑ์ 2) การนำเสนอ - ประเมินการนำเสนอ - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2 ผลงาน ผลงาน การทำงานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์ - สงั เกตพฤตกิ รรม 3) พฤติกรรมการ การทำงานรายบุคคล ทำงานรายบคุ คล - สงั เกตพฤติกรรม การทำงานกลมุ่ 4) พฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กล่มุ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 42 รายการวดั วธิ วี ัด เคร่อื งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ 5) คณุ ลกั ษณะ - สงั เกตความมีวนิ ยั - แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ 2 ใฝ่เรยี นรู้ และมงุ่ มน่ั คณุ ลกั ษณะ ผา่ นเกณฑ์ อันพงึ ประสงค์ ในการทำงาน อันพงึ ประสงค์ ตรวจแบบทดสอบหลงั แบบทดสอบหลังเรียน ประเมนิ ตามสภาพจรงิ 6) แบบทดสอบหลงั เรียน เรียน หนว่ ยการ เรียนร้ทู ่ี 1 เรือ่ ง การศึกษาวิชา ฟิสิกส์ 8. สื่อ/แหลง่ การเรียนรู้ 8.1 ส่ือการเรยี นรู้ 1) หนงั สือเรยี น รายวชิ าพื้นฐาน ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 2) ใบงานท่ี 1.3 เรอื่ ง เลขนัยสำคญั 3) แบบฝึกหัดท่ี 4.1 - 4.5 เรอ่ื ง เลขนัยสำคัญและความคลาดเคลอ่ื น 3) PowerPoint หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรอื่ ง การศกึ ษาวิชาฟสิ กิ ส์ 8.2 แหลง่ การเรียนรู้ 1) หอ้ งเรียน 2) แหล่งข้อมลู สารสนเทศ จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 43 9. การบูรณาการตามจดุ เน้นของโรงเรยี น : ความหลากหลายทางชีวภาพ หลักปรัชญา ครู ผ้เู รยี น ของเศรษฐกิจพอเพียง 1. ความพอประมาณ พอดดี า้ นเทคโนโลยี พอดีดา้ นจิตใจ รู้จกั ใช้เทคโนโลยีมาผลิตสอื่ ที่ มจี ติ สำนกึ ท่ีดี จิตสาธารณะรว่ ม เหมาะสมและสอดคล้องเนอ้ื หาเปน็ อนรุ กั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและ ประโยชนต์ อ่ ผเู้ รยี นและพัฒนาจากภูมิ สิ่งแวดลอ้ ม ปัญญาของผูเ้ รียน 2. ความมีเหตผุ ล - ยดึ ถอื การประกอบอาชพี ดว้ ยความ ไมห่ ยุดนิ่งทีห่ าหนทางในชวี ติ หลุดพ้น ถกู ต้อง สจุ รติ จากความทุกข์ยาก (การค้นหาคำตอบ เพ่ือใหห้ ลดุ พ้นจากความไมร่ ู้) 3. มีภูมคิ มุ กันในตัวท่ดี ี ภูมปิ ญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ภูมปิ ญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ ระมัดระวงั รบั ผิดชอบ ระมดั ระวัง สรา้ งสรรค์ 4. เงื่อนไขความรู้ ความรอบรู้ เรื่อง เลขนยั สำคัญ ท่ี ความรอบรู้ เรอื่ ง เลขนยั สำคญั เกย่ี วข้องรอบด้าน นำความร้มู า สามารถนำความรู้เหล่าน้ันมาพิจารณา เชือ่ มโยงประกอบการวางแผน การ ใหเ้ กดิ ความเชอ่ื มโยง สามารถ ดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ใหก้ บั ประยกุ ต์ ผู้เรียน ใช้ในชีวติ ประจำวนั ได้ 5. เงอื่ นไขคุณธรรม มคี วามตระหนักใน คุณธรรม มี มีความตระหนักใน คณุ ธรรม มีความ ความซือ่ สัตยส์ ุจรติ และมคี วามอดทน ซื่อสัตย์สุจรติ และมคี วามอดทน มี มคี วามเพียร ใช้สติปญั ญาในการ ความเพยี ร ใช้สตปิ ัญญาในการดำเนนิ ดำเนนิ ชีวติ ชีวิต สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ครู ผ้เู รียน ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - ความหลากหลายทางชีวภาพ - สำรวจความหลากหลายทาง - สำรวจความหลากหลายทางชวี ภาพ ชวี ภาพในโรงเรยี น (กำหนดจดุ ให้ ในโรงเรียน (ตามจดุ ทไี่ ด้รับมอบหมาย) ผเู้ รยี นสำรวจ) สิง่ แวดลอ้ ม ครู ผเู้ รียน ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - การอนรุ ักษค์ วามหลากหลาย - การอนรุ ักษค์ วามหลากหลายทาง - สืบค้นขอ้ มูลการอนรุ ักษ์ความ ทางชวี ภาพ ชีวภาพ (กำหนดหัวข้อใหผ้ ้เู รียน หลากหลายทางชวี ภาพ (ตามหวั ข้อที่ สบื คน้ ) ได้มอบหมาย) จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผ้ชู ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 44 10. ความเห็น/ขอ้ เสนอแนะ ของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาหรอื ผู้ทไี่ ดร้ บั มอบหมาย 10.1 หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………. (นางกมลชนก เทพบุ) ………./……………./…………. 10.2 ผู้ชว่ ยผ้อู ำนวยการฝ่ายบรหิ ารวิชาการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………. (นางสาวรัตติกาล ยศสุข) ………./……………./…………. 10.3 ผู้อำนวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื …………………………………………. (นางวลิ าวัลย์ ปาลี) ………./……………./…………. จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 45 11. บันทึกผลหลังการสอน  ดา้ นความรู้  ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน  ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์  ดา้ นความสามารถทางวิทยาศาสตร์  ดา้ นอ่ืน ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤติกรรมท่ีมปี ัญหาของนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล (ถ้ามี))  ปัญหา/อุปสรรค  แนวทางการแก้ไข ลงชอื่ .........................................................ครูผู้สอน (นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา) ตำแหน่ง ครูผชู้ ่วย จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 46 ใบงานท่ี 1.3 เร่อื ง เลขนัยสำคญั คำชีแ้ จง : จงหาคำตอบและแสดงวิธีทำอย่างละเอยี ด 1. จงหาปริมาตรของเหลก็ ที่มีขนาด 36 เซนตเิ มตร × 20.2 เซนตเิ มตร × 9 มิลลเิ มตร ในหน่วยลกู บาศกม์ ลิ ลิเมตร เมตร (mm3) ลกู บาศกเ์ ซนตเิ มตร (cm3) และลูกบาศกเ์ มตร (m3) 2. แผน่ พลาสติกรปู สเี่ หลย่ี มผืนผ้า มดี ้านกว้าง 36.20 ± 0.05 เซนติเมตร และยาว 96.45 ± 0.05 เซนติเมตร แผน่ พลาสติกนี้จะมพี นื้ ทเ่ี ปน็ เทา่ ไร 3. จงหาผลลพั ธข์ อง 3.50 + 4.95 – 2.52 ตามหลกั เลขนัยสำคญั 7.0 จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 47 ใบงานท่ี 1.3 เฉลย เรื่อง เลขนยั สำคญั คำชแ้ี จง : จงหาคำตอบและแสดงวิธีทำอย่างละเอียด 1. จงหาปริมาตรของเหลก็ ที่มขี นาด 36 เซนตเิ มตร × 20.2 เซนตเิ มตร × 9 มิลลเิ มตร ในหน่วยลกู บาศก์มลิ ลิเมตร เมตร (mm3) ลูกบาศก์เซนตเิ มตร (cm3) และลกู บาศกเ์ มตร (m3) ปรมิ าตรของเหลก็ ในหน่วย mm3 = 36 cm × 20.2 cm × 9 mm = 36 × 10 mm × 20.2 × 10 mm × 9 mm = 65448 mm3 = 7×104 mm3 ปรมิ าตรของเหลก็ ในหนว่ ย cm3 = 36 cm × 20.2 cm × 9 mm = 36 cm × 20.2 cm × 9 ×10-1 cm = 65448 cm 3 = 7×102 cm3 ปรมิ าตรของเหลก็ ในหน่วย m3 = 36 cm × 20.2 cm × 9 mm = 36 × 10-2 m × 20.2 × 10-2 m × 9 × 10-3 m = 6544.8 m3 = 7×10-3 m3 2. แผ่นพลาสตกิ รปู ส่ีเหล่ยี มผนื ผ้า มีด้านกว้าง 36.20 ± 0.05 เซนตเิ มตร และยาว 96.45 ± 0.05 เซนตเิ มตร แผ่น พลาสตกิ นี้จะมพี ืน้ ท่เี ป็นเทา่ ไร แผน่ พลาสตกิ นีจ้ ะมพี ืน้ ทเ่ี ปน็ (A  A) • (B  B) = (A • B)  (∆A x 100 % + ∆B x 100 %) (36.20  0.05) • (96.45 0.05) A B ( 0.05 x 0.05 = (36.20 • 96.45)  100 % + 96.45 x 100 %) 36.20 = 3491.49  (0.19 %) = 3491  6.63 cm2 ดงั นั้น พ้ืนท่แี ผ่นพลาสติกจะมีพ้ืนท่ี 3491  6.63 ลกู บาศก์เซนตเิ มตร 3. จงหาผลลัพธ์ของ 3.50 + 4.95 – 2.52 ตามหลักเลขนัยสำคัญ 7.0 3.50 + 4.95 – 2.52 = (0.5) + 4.95 – 2.52 7.0 = 2.93 ดงั นนั้ ผลลัพธ์ตามหลักเลขนัยสำคญั เท่ากับ 2.9 จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ูช้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 46 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การเคลอื่ นท่ใี นแนวตรง เวลา 20 ชวั่ โมง 1. ผลการเรียนรู้ เข้าใจธรรมชาติทางฟิสิกส์ ปริมาณและกระบวนการวัด การเคล่ือนท่ีแนวตรง แรงและกฎการเคลอื่ นที่ ของนิวตัน กฎความโน้มถ่วงสากล แรงเสียดทาน สมดุลกลของวัตถุ งานและกฎการอนรุ ักษพ์ ลังงานกล โม เมนตมั และกฎการอนรุ ักษโ์ มเมนตมั การเคล่ือนทีแ่ นวโคง้ รวมท้งั นำความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ได้ 3) ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่ง การกระจัด ความเร็ว และความเร่งของการ เคลื่อนท่ีของวัตถุในแนวตรงท่ีมีความเร่งคงตัวจากกราฟและสมการ รวมท้ังทดลองหาค่าความเร่งโน้มถ่วง ของโลก และคำนวณปริมาณตา่ ง ๆ ทเ่ี ก่ียวข้องได้ 2. สาระการเรียนรู้ 2.1 สาระการเรียนรู้เพ่มิ เติม 1) ปริมาณท่ีเก่ียวกับการเคลื่อนท่ี ได้แก่ ตำแหน่ง การกระจัด ความเร็ว และความเร่ง โดยความเร็วและ ความเร่งมที ั้งค่าเฉล่ียและค่าขณะหน่ึงซึ่งคิดในช่วงเวลาสั้น ๆ สำหรบั ปริมาณต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการ เคลื่อนที่แนวตรงดว้ ยความเร่งคงตัวมคี วามสมั พนั ธต์ ามสมการ v = u + at u+v ∆x = ( 2 ) t ∆x = ut + 1 at2 2 v2 = u2 + 2a∆x 2) การอธิบายการเคลื่อนท่ีของวัตถุสามารถเขียนอยู่ในรูปกราฟตำแหน่งกับเวลา กราฟความเร็วกับเวลา หรอื กราฟความเร่งกบั เวลา ความชนั ของเส้นกราฟตำแหนง่ กับเวลาเป็นความเร็ว ความชนั ของเสน้ กราฟ ความเร็วกับเวลาเปน็ ความเร่ง และพ้ืนที่ใตเ้ สน้ กราฟความเร็วกับเวลาเปน็ การกระจัด ในกรณีที่ผู้สงั เกตมี ความเรว็ ความเร็วของวัตถุท่ีสังเกตไดเ้ ป็นความเรว็ ท่เี ทียบกบั ผู้สังเกต 3) การตกแบบเสรีเป็นตวั อย่างหนงึ่ ของการเคลือ่ นที่ในหนงึ่ มิติทม่ี คี วามเรง่ เท่ากบั ความเร่งโนม้ ถว่ งของโล 2.2 สาระการเรียนรูท้ อ้ งถ่ิน (พิจารณาตามหลกั สูตรสถานศึกษา) จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 47 3. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด การเคลื่อนท่ีแนวตรงทั้งในแนวระดับและแนวดิ่ง เป็นการเคลื่อนท่ีภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลก แนวดิ่ง การ เคลอื่ นท่ขี องวตั ถุจะมคี วามสมั พันธ์กบั ระยะทาง การกระจดั เวลา อตั ราเรว็ ความเร็ว ความเรง่ และทศิ ทาง การเคลื่อนท่ีของวตั ถุแนวตรงในกรณีความเร่งมคี ่าคงตวั คือ การท่ีวตั ถเุ คลื่อนที่ด้วยความเรง่ โดยมที ั้งขนาดและ ทศิ ทางเหมอื นเดิมตลอดเวลาของการเคลอ่ื นท่ี โดยสมการการเคล่อื นท่ขี องวตั ถทุ ี่เก่ยี วข้องมีความสัมพันธต์ ามสมการ v = u + at u+v ∆x = ( 2 ) t ∆x = ut + 1 at2 2 v2 = u2 + 2a∆x 4. สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี นและคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการส่ือสาร 1. มวี ินัย 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรยี นรู้ 1) ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ 3. มุ่งมัน่ ในการทำงาน 2) ทักษะการสังเกต 4. อยู่อย่างพอเพียง 3) ทักษะการสือ่ สาร 4) ทกั ษะการทำงานร่วมกัน 5) ทกั ษะการนำความรู้ไปใช้ 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ 5. ชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) - ใบงานที่ 2.1 เร่ือง ระยะทางและการกระจัด - ใบงานที่ 2.2 เร่ือง อัตราเรว็ และความเร็ว - ใบงานที่ 2.3 เรอ่ื ง เคร่อื งเคาะสัญญาณเวลา - ใบงานท่ี 2.4 เร่อื ง ความเรง่ - ใบงานที่ 2.5 เรื่อง กราฟความสัมพนั ธ์ระหวา่ งระยะทาง ความเรว็ กบั เวลา - ใบงานท่ี 2.6 เรอ่ื ง การเคลอื่ นท่ีดว้ ยความเรง่ คงตัว - ใบงานที่ 2.7 เรือ่ ง วตั ถุตกแบบอิสระดว้ ยความเรง่ คงตัว - ใบงานที่ 2.8 เร่อื ง ความเร็วสมั พัทธ์ จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 48 - ผังมโนทศั น์ เรอื่ ง ระยะทางและการกระจัด - ผังมโนทศั น์ เรื่อง อัตราเร็วและความเรว็ - ผงั มโนทศั น์ เรอ่ื ง การเคล่อื นท่ดี ้วยความเรง่ คงตัว - ผงั มโนทัศน์ เรือ่ ง วตั ถตุ กแบบอิสระ 6. การวัดและการประเมนิ ผล รายการวัด วิธวี ัด เครอื่ งมือ เกณฑ์การประเมนิ ระดับคณุ ภาพ 2 6.1 การประเมินชิน้ งาน/ - ตรวจผังมโนทศั น์ แบบประเมินชน้ิ งาน/ ผ่านเกณฑ์ ภาระงาน (รวบยอด) เรื่อง ระยะทางและ ภาระงาน ประเมนิ ตามสภาพจริง การกระจดั ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - ตรวจผังมโนทศั น์ รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ เรื่อง อัตราเร็วและ ความเรว็ - ตรวจผังมโนทศั น์ เรือ่ ง การเคลื่อนที่ ด้วยความเร่งคงตวั - ตรวจผงั มโนทัศน์ เรื่อง วตั ถตุ กแบบ อิสระ 6.2 การประเมนิ ก่อนเรยี น ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น - แบบทดสอบกอ่ นเรียน กอ่ นเรยี น หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 เรอื่ ง การเคล่อื นทีใ่ น แนวตรง 6.3 การประเมนิ ระหว่างการ จดั กิจกรรม 1) ปริมาณทเ่ี กี่ยวกบั - ตรวจใบงานท่ี 2.1-2.2 - ใบงานที่ 2.1-2.2 การเคลอ่ื นท่ีของวตั ถุ - ตรวจแบบฝึกหัดท่ี - แบบฝึกหัดท่ี 1.1, 1.2 1.1, 1.2 2) เครื่องเคาะ - ตรวจใบงานที่ 2.3 - ใบงานที่ 2.3 สัญญาณเวลา - ตรวจแบบฝึกหัดท่ี 2.1 - แบบฝกึ หดั ที่ 2.1 จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 49 รายการวัด วิธวี ดั เคร่ืองมือ เกณฑก์ ารประเมิน - ใบงานที่ 2.4 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 3) ความเร่ง - ตรวจใบงานท่ี 2.4 - แบบฝกึ หดั ท่ี 3.1-3.3 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - ตรวจแบบฝึกหดั ที่ - ใบงานที่ 2.5 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ - แบบฝกึ หัดท่ี 4.1 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 3.1-3.3 - ใบงานที่ 2.6 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 4) กราฟความสมั พนั ธ์ - ตรวจใบงานที่ 2.5 - แบบฝึกหดั ที่ 5.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ระหวา่ งระยะทาง - ตรวจแบบฝกึ หัดท่ี - ใบงานที่ 2.7 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - แบบฝึกหัดท่ี 6.1-6-3 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ความเรว็ กับเวลา 4.1 - ใบงานที่ 2.8 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 5) การเคล่อื นทด่ี ว้ ย - ตรวจใบงานท่ี 2.6 - แบบฝกึ หัดที่ 7.1 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ความเร่งคงตวั - ตรวจแบบฝกึ หดั ที่ - ผลงานทน่ี ำเสนอ ระดับคณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 5.1 - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดับคุณภาพ 2 การทำงานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์ 6) วตั ถุตกแบบอิสระ - ตรวจใบงานท่ี 2.7 - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดบั คณุ ภาพ 2 การทำงานกลมุ่ ผา่ นเกณฑ์ ด้วยความเร่งคงตัว - ตรวจแบบฝกึ หัดที่ - แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ 2 คุณลักษณะ ผา่ นเกณฑ์ 6.1-6-3 อันพึงประสงค์ แบบทดสอบหลงั เรียน รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 7) ความเรง่ - ตรวจใบงานท่ี 2.8 - ตรวจแบบฝกึ หดั ที่ 7.1 8) การนำเสนอผลงาน - ประเมินการนำเสนอ ผลงาน 9) พฤตกิ รรม - สงั เกตพฤตกิ รรม การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล 10) พฤติกรรม - สงั เกตพฤตกิ รรม การทำงานกลมุ่ การทำงานกลุม่ 11) คุณลักษณะ - สงั เกตความมีวินยั อนั พึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และมงุ่ มนั่ ในการทำงาน 6.4 การประเมินหลงั เรยี น ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบหลงั เรียน หลงั เรยี น หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เร่อื ง การเคลอ่ื นทใ่ี น แนวตรง จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4 50 7. กิจกรรมการเรยี นรู้ • แผนท่ี 1 : ปรมิ าณที่เกยี่ วกบั การเคลื่อนท่ขี องวัตถุ วธิ ีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) เวลา 2 ชั่วโมง • แผนท่ี 2 : เครอ่ื งเคาะสญั ญาณเวลา วิธสี อนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) เวลา 2 ชั่วโมง • แผนท่ี 3 : ความเร่ง วธิ สี อนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) เวลา 3 ช่ัวโมง • แผนท่ี 4 : กราฟแสดงความสมั พนั ธ์ระหว่างปริมาณต่าง ๆ ของการเคลอ่ื นทีแ่ นวตรง วิธสี อนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) เวลา 3 ชวั่ โมง • แผนท่ี 5 : การเคลอ่ื นท่ีของวตั ถุกรณีความเร่งคงตวั วธิ ีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) เวลา 3 ชั่วโมง • แผนท่ี 6 : วัตถุตกแบบอสิ ระดว้ ยความเร่งคงตวั วิธสี อนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) เวลา 5 ชว่ั โมง • แผนท่ี 7 : ความเร็วสมั พทั ธ์ วธิ ีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) เวลา 2 ชว่ั โมง (รวม 8 ชว่ั โมง) 8. ส่ือ/แหลง่ การเรียนรู้ 8.1 ส่ือการเรียนรู้ 1) หนงั สือเรียน รายวชิ าเพ่ิมเตมิ ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 หนว่ ยการเรียนท่ี 2 การเคล่อื นที่แนวตรง 2) ใบงานท่ี 2.1 เรื่อง ระยะทางและการกระจดั 3) ใบงานที่ 2.2 เรือ่ ง อตั ราเร็วและความเรว็ 4) ใบงานที่ 2.3 เรื่อง เครือ่ งเคาะสัญญาณเวลา 5) ใบงานท่ี 2.4 เรอ่ื ง ความเรง่ 6) ใบงานท่ี 2.5 เรอื่ ง กราฟความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งระยะทาง ความเรว็ กบั เวลา 7) ใบงานที่ 2.6 เร่อื ง การเคล่อื นทีด่ ว้ ยความเรง่ คงตวั 8) ใบงานที่ 2.7 เรอื่ ง วตั ถตุ กแบบอิสระด้วยความเร่งคงตัว 9) ใบงานที่ 2.8 เรื่อง ความเร็วสัมพทั ธ์ 10) แบบฝกึ หดั หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 การเคล่ือนทใี่ นแนวตรง 11) PowerPoint เรือ่ ง การเคล่อื นท่ีในแนวตรง 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) หอ้ งเรียน 2) ห้องสมดุ และแหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ูช้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 51 แบบทดสอบก่อนเรียน หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 2 คำชี้แจง : ใหน้ ักเรยี นเลือกคำตอบที่ถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว 1. ต้นเดินรอบสนามซ่ึงมีรศั มี 7 เมตร โดยเขาเดินไดค้ รบ 6. การคำนวณหาความเร็วเฉลยี่ ของวตั ถุ จะตอ้ งได้ขอ้ มลู อะไรบา้ ง 3 รอบ พอดี การกระจัดทต่ี น้ เคลอ่ื นที่ได้เป็นเทา่ ใด 1. ระยะทางทง้ั หมดและเวลาท้งั หมด 1. 0 เมตร 2. 7 เมตร 2. การกระจัดท้งั หมดและเวลาท้งั หมด 3. 10 เมตร 4. 21 เมตร 3. ระยะทางและความเร่ง 5. 303 เมตร 4. การกระจดั และความเรง่ 2. โยนส้มผลหน่ึงขึ้นไปในแนวดิ่ง ความเร็วและความเร่ง 5. ความเร่งและความเรว็ ของสม้ เป็นอย่างไร ขณะถึงจดุ สูงสุด 7. จบิ๊ ขับรถออกจากไฟแดงด้วยความเร่ง 4 m/s2 อยากทราบ 1. ทั้งความเรว็ และความเร่งเปน็ ศูนย์ ว่าในเวลา 5 s ต่อมารถจะมีขนาดของความเร็วเท่าใด 2. ทง้ั ความเร็วและความเรง่ ไมเ่ ป็นศนู ย์ 1. 5 m/s 2. 10 m/s 3. ความเรว็ เป็นศนู ย์ แตค่ วามเร่งไมเ่ ป็นศูนย์ 3. 15 m/s 4. 20 m/s 4. ความเร่งเป็นศูนย์ แตค่ วามเร็วไมเ่ ป็นศนู ย์ 5. 25 m/s 5. ความเร่งและความเร็วมคี ่าเท่ากนั 8. โยนลูกบอลขึ้นไปในแนวดิ่ง ความเร็วของก้อนหินเป็นไป 3. วตั ถใุ ดต่อไปนี้กำลงั เคลือ่ นท่โี ดยไม่มคี วามเรง่ ตามข้อใด ถ้า g = 10 m/s2 1. บอลลูนลอยขนึ้ ในแนวดิ่งด้วยความเร็วคงตัว 1. เพิม่ ขึ้นวินาทลี ะ 10 m/s 2. ลดลงวินาทีละ 10 m/s 2. รถยนต์กำลังแล่นด้วยอตั ราเร็วสมำ่ เสมอในทางโค้ง 3. เปน็ ศนู ยเ์ มอ่ื ถงึ จดุ สงู สุด 4. ข้อ 2 และ 3 ถกู 3. รถยนต์กำลังถอยหลังเข้าจอดในโรงรถ 5. ขอ้ 1 2 และ 3 ถูก 4. ยิงปนื จากหนา้ ผาข้ึนไปในแนวดงิ่ 9. ระยะทางและการกระจดั แตกต่างกันอย่างไร 5. ขนนกกาลงั ปลวิ ลงในแนวดง่ิ 1. มีหน่วยการวัดแตกต่างกัน 4. ขอ้ ใดตอ่ ไปนี้ไมจ่ ัดเปน็ ปริมาณเวกเตอร์ 2. ระยะทางเป็นปริมาณสเกลาร์ การกระจัดเป็นปริมาณ 1. ความเร็ว 2. ความเรง่ เวกเตอร์ 3. การกระจดั 4. อัตราเร็ว 3. การกระจัดเป็นปริมาณสเกลาร์ ระยะทางเป็นปริมาณ 5. แรง เวกเตอร์ 5. วัตถุเคล่ือนท่ีด้วย “ความเร่งคงตัว” หมายความว่า 4. ระยะทางมคี า่ มากกวา่ การกระจดั เสมอ อยา่ งไร 5. ข้อ 2. และ 4. ถกู 1. ความเร็วต้นและความเร็วปลายของวัตถุเป็นศูนย์ 10. ปล่อยกอ้ นหินใหต้ กลงมาจากตึก ความเรว็ ของกอ้ นหินเป็นไป 2. ความเร็วต้นและความเร็วปลายมีขนาดเท่ากนั ตามขอ้ ใด ถา้ g = 10 m/s2 3. ความเร็วของวัตถุเปล่ียนแปลงตลอดเวลา 1. เพม่ิ ขนึ้ วินาทลี ะ 10 m/s 2. เปน็ ศูนย์ ณ จุดปลอ่ ย 4. ความเรว็ ของวัตถุทีเ่ ปล่ียนไปมคี า่ เทา่ กันทุกๆ วินาที 3. มากท่ีสดุ ขณะกระทบพนื้ 4. ข้อ 1 และ 3 ถกู 5. ขอ้ 2. และ 4. ถกู 5. ถูกทั้งข้อ 1 2 และ 3 เฉลย 1. 1 2. 3 3. 1 4. 4 5. 4 6. 2 7. 4 8. 4 9. 2 10. 5 จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 4 52 แบบทดสอบหลงั เรยี น หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 คำชี้แจง : ใหน้ กั เรยี นเลือกคำตอบท่ีถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว 1. ตน้ เดินรอบสนามซึ่งมีรัศมี 7 เมตร โดยเขาเดินไดค้ รบ 6. การคำนวณหาความเรว็ เฉลี่ยของวตั ถุ จะต้องได้ขอ้ มูลอะไรบ้าง 3 รอบ พอดี การกระจัดทต่ี ้นเคล่อื นทไ่ี ด้เป็นเท่าใด 1. ระยะทางทัง้ หมดและเวลาทั้งหมด 1. 0 เมตร 2. 7 เมตร 2. การกระจัดทัง้ หมดและเวลาทงั้ หมด 3. 10 เมตร 4. 21 เมตร 3. ระยะทางและความเรง่ 5. 303 เมตร 4. การกระจัดและความเรง่ 2. วัตถุเคล่ือนท่ีด้วย “ความเร่งคงตัว” หมายความว่า 5. ความเร่งและความเรว็ อย่างไร 7. โยนลูกบอลขึ้นไปในแนวดงิ่ ความเร็วของก้อนหินเป็นไปตามข้อ 1. ความเร็วต้นและความเร็วปลายของวัตถเุ ป็นศนู ย์ ใด ถา้ g = 10 m/s2 2. ความเรว็ ต้นและความเร็วปลายมีขนาดเทา่ กัน 1. เพิ่มขนึ้ วนิ าทีละ 10 m/s 2. ลดลงวนิ าทีละ 10 m/s 3. ความเร็วของวัตถุเปล่ียนแปลงตลอดเวลา 3. เป็นศูนย์เมือ่ ถึงจดุ สูงสุด 4. ขอ้ 2 และ 3 ถูก 4. ความเร็วของวตั ถุท่ีเปลีย่ นไปมคี ่าเทา่ กันทกุ ๆ วินาที 5. ข้อ 1 2 และ 3 ถูก 5. ขอ้ 2. และ 4. ถกู 8. จิ๊บขับรถออกจากไฟแดงด้วยความเร่ง 4 m/s2 อยากทราบ 3. วัตถุใดต่อไปน้ีกำลังเคลือ่ นท่โี ดยไม่มีความเรง่ ว่าในเวลา 5 s ต่อมารถจะมีขนาดของความเร็วเท่าใด 1. บอลลนู ลอยขน้ึ ในแนวดิง่ ด้วยความเรว็ คงตวั 1. 5 m/s 2. 10 m/s 2. รถยนต์กำลังแลน่ ดว้ ยอตั ราเร็วสมำ่ เสมอในทางโค้ง 3. 15 m/s 4. 20 m/s 3. รถยนต์กำลังถอยหลังเขา้ จอดในโรงรถ 5. 25 m/s 4. ยงิ ปืนจากหน้าผาข้ึนไปในแนวด่ิง 9. ระยะทางและการกระจัดแตกต่างกันอย่างไร 5. ขนนกกาลังปลวิ ลงในแนวดิง่ 1. มีหน่วยการวดั แตกต่างกนั 4. ข้อใดตอ่ ไปนี้ไม่จัดเปน็ ปรมิ าณเวกเตอร์ 2. ระยะทางเป็นปริมาณสเกลาร์ การกระจัดเป็นปริมาณ 1. ความเรว็ 2. ความเร่ง เวกเตอร์ 3. การกระจัด 4. อัตราเร็ว 3. การกระจัดเป็นปริมาณสเกลาร์ ระยะทางเป็นปริมาณ 5. แรง เวกเตอร์ 5. โยนส้มผลหน่ึงข้ึนไปในแนวดิ่ง ความเรว็ และความเร่ง 4. ระยะทางมคี ่ามากกว่าการกระจดั เสมอ ของส้มเป็นอยา่ งไร ขณะถงึ จุดสงู สุด 5. ข้อ 2. และ 4. ถกู 1. ทง้ั ความเรว็ และความเร่งเปน็ ศนู ย์ 10. ปลอ่ ยก้อนหนิ ให้ตกลงมาจากตึก ความเรว็ ของกอ้ นหินเป็นไป 2. ท้ังความเรว็ และความเร่งไมเ่ ปน็ ศูนย์ ตามข้อใด ถ้า g = 10 m/s2 3. ความเร็วเป็นศูนย์ แต่ความเร่งไมเ่ ปน็ ศนู ย์ 1. เพมิ่ ขึ้นวินาทีละ 10 m/s 2. เปน็ ศูนย์ ณ จุดปลอ่ ย 4. ความเร่งเปน็ ศนู ย์ แตค่ วามเร็วไม่เป็นศูนย์ 3. มากทีส่ ุดขณะกระทบพน้ื 4. ขอ้ 1 และ 3 ถูก 5. ความเรง่ และความเรว็ มีคา่ เทา่ กัน 5. ถูกท้งั ข้อ 1 2 และ 3 เฉลย 1. 1 2. 4 3. 1 4. 4 5. 3 6. 2 7. 4 8. 4 9. 2 10. 5 จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 53 แบบประเมนิ ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ แบบประเมินผลงานผงั มโนทัศน์ คำชแี้ จง : ให้ผูส้ อนประเมินผลงาน/ช้นิ งานของนักเรยี นตามรายการที่กำหนด แลว้ ขดี ✓ลงในช่องที่ตรงกับระดับ คะแนน ลำดบั ที่ รายการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ 4 3 21 1 ความสอดคลอ้ งกับจุดประสงค์ 2 ความถูกตอ้ งของเน้อื หา 3 ความคิดสรา้ งสรรค์ 4 ความตรงต่อเวลา รวม ลงชอื่ ................................................... ผูป้ ระเมิน ............../................./................ จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ูช้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 54 เกณฑ์ประเมนิ ผงั มโนทัศน์ ประเดน็ ทป่ี ระเมนิ 4 ระดบั คะแนน 1 32 1. ผลงานตรงกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผ ล งานไม่ส อดค ล้อ ง จุดประสงคท์ ่ีกำหนด จดุ ประสงค์ทุกประเดน็ จุดประสงค์เปน็ สว่ นใหญ่ จุดประสงค์บางประเดน็ กับจดุ ประสงค์ 2. ผลงานมคี วาม เนื้อหาสาระของผลงาน เน้ือหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เน้ือหาสาระของผลงาน ถูกตอ้ งสมบูรณ์ ถกู ตอ้ งครบถ้วน ถูกตอ้ งเป็นสว่ นใหญ่ ถกู ต้องเป็นบางประเดน็ ไม่ถูกต้องเปน็ สว่ นใหญ่ 3. ผลงานมคี วามคิด ผ ล งานแส ดงออกถึง ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่แสดงแนวคิด สร้างสรรค์ ค วามคิด ส ร้างส รรค์ ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิดแปลก ใหม่ แ ป ล ก ให ม่ แ ล ะ เป็ น ใหม่ ระบบ 4. ผลงานมคี วามเปน็ ผ ล ง า น มี ค ว า ม เป็ น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผ ล ง า น มี ค ว า ม เป็ น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป็ น ระเบี ยบ แต่ ยังมี ระเบยี บแตม่ ีขอ้ บกพรอ่ ง ร ะ เบี ย บ แ ล ะ มี ข้ อ ความประณีต ข้อบกพร่องเล็กนอ้ ย บางส่วน บกพรอ่ งมาก เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14–16 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตำ่ กว่า 8 ปรบั ปรงุ จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย กล่มุ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 55 แบบประเมินการปฏิบตั ิการ คำช้ีแจง : ใหผ้ ู้สอนประเมินการปฏบิ ัตกิ ารของนักเรยี นตามรายการทก่ี ำหนด แลว้ ขีด ✓ ลงในชอ่ งที่ตรงกบั ระดับคะแนน ลำดบั ที่ รายการประเมิน ระดบั คะแนน 4321 1 การปฏิบตั ิการทดลอง 2 ความคลอ่ งแคล่วในขณะปฏบิ ัตกิ าร รวม 3 การนำเสนอ ลงชอ่ื ................................................... ผูป้ ระเมนิ ................./................../.................. จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 56 เกณฑ์การประเมนิ การปฏิบัตกิ าร ประเด็นทีป่ ระเมนิ 4 ระดับคะแนน 1 ทำการทดลองตาม 32 1. การปฏิบัติการ ข้นั ตอน และใชอ้ ุปกรณ์ ทำการทดลองตาม ตอ้ งให้ความชว่ ยเหลอื ตอ้ งให้ความชว่ ยเหลือ ทดลอง ได้อยา่ งถูกต้อง ข้ันตอน และใชอ้ ปุ กรณ์ บา้ งในการทำการ อยา่ งมากในการทำการ ได้อยา่ งถูกต้อง แต่อาจ ทดลอง และการใช้ ทดลอง และการใช้ ต้องไดร้ บั คำแนะนำบา้ ง อุปกรณ์ อุปกรณ์ 2. ความ มีความคลอ่ งแคลว่ มีความคล่องแคล่ว ขาดความคล่องแคล่ว ทำการทดลองเสร็จไม่ คลอ่ งแคล่ว ในขณะทำการทดลอง ในขณะทำการทดลอง ในขณะทำการทดลอง ทนั เวลา และทำ ในขณะ โดยไมต่ อ้ งได้รับคำ แต่ต้องได้รับคำแนะนำ จึงทำการทดลองเสรจ็ อปุ กรณเ์ สยี หาย ปฏิบัตกิ าร ชแี้ นะ และทำการ บ้าง และทำการทดลอง ไมท่ ันเวลา เสร็จทนั เวลา ตอ้ งใหค้ วามชว่ ยเหลือ ทดลองเสร็จทนั เวลา ตอ้ งใหค้ ำแนะนำในการ อยา่ งมากในการบนั ทกึ บนั ทกึ และสรปุ ผลการ บนั ทกึ สรปุ และ สรุป และนำเสนอผล 3. การบนั ทึก สรุป บันทกึ และสรปุ ผลการ ทดลองได้ถูกต้อง แต่ นำเสนอผลการทดลอง การทดลอง และนำเสนอผล ทดลองได้ถกู ต้อง รัดกุม การนำเสนอผลการ การทดลอง นำเสนอผลการทดลอง ทดลองยงั ไมเ่ ป็น เป็นข้ันตอนชดั เจน ข้ันตอน เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 10-12 ดีมาก 7-9 ดี 4-6 พอใช้ 0-3 ปรบั ปรงุ จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook