Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ 1.2563 (รวมเล่ม)

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ 1.2563 (รวมเล่ม)

Published by Tanapat Issarangkul Na Ayutthaya, 2020-12-15 04:29:17

Description: แผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ 1.2563 (รวมเล่ม)

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรยี นรู้ ฟิสกิ ส์ 1 (ว 31201) ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 หนว่ ยการเรียนรู้ การศึกษาวิชาฟสิ กิ ส์ การเคล่ือนทใ่ี นแนวตรง แรงและกฎการเคล่อื นท่ี การเคลอ่ื นท่แี นวโคง้ ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 นายธนพัฒนน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครูผูช้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่ สานักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 1 การออกแบบการจัดการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ รายวิชา ฟสิ ิกส์ 1 รหสั วชิ า ว 31201 ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่ ตำบลช่างเค่งิ อำเภอแม่แจ่ม จังหวดั เชียงใหม่ สำนักบรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ สำนักงานการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ูช้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 4 2 คำอธิบายรายวชิ า รายวชิ า ฟสิ กิ ส์ 1 รหัสวชิ า ว 31201 ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 เวลา 80 ชัว่ โมง จำนวน 2.0 หนว่ ยกติ คำอธิบายรายวิชา ศึกษาความรู้ทางฟิสิกส์ ประวัติความเป็นมา พัฒนาการของหลักการและแนวคิดทางฟิสิกส์ การวัดปริมาณ ทางฟิสิกส์ ความคลาดเคลื่อนในการวัด การแสดงผลการทดลองในรูปของกราฟ ความหมายจากกราฟเส้นตรง ความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่ง การกระจัด ความเร็ว ความเร่งของการเคลือ่ นทขี่ องวัตถุในแนวตรงทม่ี ีความเร่งคงตัว จากกราฟและสมการ ค่าความเร่งโน้มถ่วงของโลก แรงลัพธ์ของแรงสองแรงท่ีทำมุมต่อกัน กฎการเคลื่อนท่ีของนิวตัน กฎความโน้มถ่วงสากล การใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันกับสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ แรงเสียดทานระหว่าง ผิวสัมผัสของวัตถุคู่หน่ึง ๆ ในกรณีท่ีวัตถุหยุดน่ิงและวัตถุเคล่ือนที่ สัมประสิทธ์ิความเสียดทานระหว่างผิวสัมผัสของ วตั ถุคู่หนึง่ ๆ และนำความรเู้ ร่ืองแรงเสียดทานไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน การเคลอื่ นที่แบบโพรเจกไทล์ และปรมิ าณต่าง ๆ ของการเคล่ือนท่ีแบบโพรเจกไทล์ ความสัมพันธ์ระหว่างแรงสู่ศูนย์กลาง รัศมีของการเคล่ือนท่ี อัตราเร็วเชิงเส้น อัตราเร็วเชิงมุม มวลของวัตถุในการเคลื่อนท่ีแบบวงกลมในระนาบระดับ การประยุกต์ใช้ความรู้การเคล่ือนท่ีแบบ วงกลมในการอธบิ ายการโคจรของดาวเทียม โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วิเคราะห์ การอธิปราย การอธิบายและการสรุปผล เพ่อื ให้ผ้เู รยี นเกิดความรู้ ความคิด และความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิง่ ทเี่ รียนรแู้ ละนำ ความรูไ้ ปใช้ในชีวิตตนเอง ตลอดจนมจี ิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านยิ มที่ถูกต้อง ผลการเรียนรู้ 1. สบื ค้นและอธบิ ายการคน้ หาความรทู้ างฟสิ ิกส์ ประวตั ิความเป็นมา รวมทง้ั พฒั นาการของหลักการและแนวคิด ทางฟิสิกส์ทม่ี ผี ลตอ่ การแสวงหาความรใู้ หม่และการพฒั นาเทคโนโลยีได้ 2. วัดและรายงานผลการวัดปริมาณทางฟิสิกส์ได้ถูกต้องเหมาะสม โดยนำความคลาดเคลื่อนในการวัดมา พิจารณาในการนำเสนอผล รวมทั้งแสดงผลการทดลองในรูปของกราฟ วิเคราะห์และแปลความหมายจาก กราฟเส้นตรงได้ 3. ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่ง การกระจัด ความเรว็ และความเร่งของการเคลื่อนท่ีของ วตั ถุในแนวตรงที่มีความเร่งคงตัวจากกราฟและสมการ รวมทั้งทดลองหาค่าความเร่งโน้มถ่วงของโลก และ คำนวณปริมาณตา่ ง ๆ ท่เี กย่ี วขอ้ งได้ 4. ทดลองและอธิบายการหาแรงลพั ธข์ องแรงสองแรงท่ที ำมุมต่อกนั ได้ จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 3 5. เขยี นแผนภาพของแรงทกี่ ระทำต่อวตั ถุอิสระ ทดลองและอธบิ ายกฎการเคล่อื นท่ขี องนวิ ตันและการใช้กฎการ เคลอื่ นทขี่ องนวิ ตนั กับสภาพการเคลอ่ื นทีข่ องวตั ถุ รวมทง้ั คำนวณปรมิ าณต่าง ๆ ทีเ่ กย่ี วขอ้ งได้ 6. อธบิ ายกฎความโน้มถ่วงสากลและผลของสนามโน้มถว่ งทีท่ ำให้วัตถมุ ีนำ้ หนัก รวมทั้งคำนวณปริมาณตา่ ง ๆ ท่ี เกี่ยวขอ้ งได้ 7. วิเคราะห์ อธิบาย และคำนวณแรงเสียดทานระหวา่ งผิวสัมผัสของวตั ถคุ ่หู น่ึง ๆ ในกรณีที่วตั ถหุ ยุดน่ิงและวัตถุ เคล่ือนที่ รวมท้ังทดลองหาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่างผวิ สัมผัสของวัตถคุ ู่หนึ่ง ๆ และนำความรูเ้ รือ่ ง แรงเสียดทานไปใช้ในชวี ิตประจำวันได้ 8. อธิบาย วิเคราะห์ และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการเคลอ่ื นท่ีแบบโพรเจกไทล์ และทดลองการ เคล่อื นที่แบบโพรเจกไทลไ์ ด้ 9. ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแรงสู่ศูนย์กลาง รัศมีของการเคลื่อนท่ี อัตราเร็วเชิงเส้น อัตราเร็ว เชิงมมุ และมวลของวัตถุในการเคล่อื นทีแ่ บบวงกลมในระนาบระดับ รวมทั้งคำนวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง และประยกุ ตใ์ ชค้ วามรกู้ ารเคลื่อนทแ่ี บบวงกลมในการอธิบายการโคจรของดาวเทียมได้ รวมท้ังหมด 9 ผลการเรียนรู้ จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 4 โครงสร้างรายวชิ า รายวชิ า ฟสิ กิ ส์ 1 รหัสวิชา ว31201 หน่วยกติ 2.0 ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี กจิ กรรมการเรียนรู้ จำนวน น้ำหนักคะแนน ชวั่ โมง (ในการประเมนิ ) 1. การศึกษาวิชาฟิสิกส์ (8) 1. ธรรมชาติและสาขาความร้ขู องฟิสกิ ส์ 2 2. การวัดปริมาณและหนว่ ยทางฟสิ ิกส์ 3 3. เลขนัยสำคญั 3 2. การเคลอ่ื นท่ใี นแนวตรง (20) 1. ปริมาณที่เกี่ยวกับการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุ 2 2. เครอื่ งเคาะสัญญาณเวลา 2 3. ความเร่ง 3 4. กราฟแสดงความสัมพนั ธ์ ระหว่างปรมิ าณ 3 ต่าง ๆ ของการเคลื่อนที่แนวตรง 5. การเคลอ่ื นท่ีของวัตถกุ รณีความเร่งมีคา่ คง 3 ตัว 6. วัตถุตกแบบอิสระดว้ ยความเร่งคงตัว 5 7. ความเรว็ สมั พัทธ์ 2 3. แรงและกฎการเคลอ่ื นท่ี (28) 1. แรงและแรงลัพธ์ 3 2. กฎการเคลื่อนท่ีของนวิ ตัน 8 3. กฎแรงดึงดดู ระหว่างมวลของนวิ ตัน 6 4. แรงปฏิกริ ิยาต้งั ฉากและแรงเสียดทาน 6 5. การประยุกตใ์ ชก้ ฎการเคล่อื นท่ีของนวิ ตนั 5 4. การเคลอ่ื นที่แนวโค้ง 1. การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ 12 2. การเคลอื่ นท่ีแบบวงกลม 12 รวม 80 100 จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 5 ผลการเรียนรู้และสาระการเรียนร้เู พิม่ เติม สาระฟสิ ิกส์ * สาระฟิสิกส์ ชน้ั ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นร้เู พ่มิ เติม ม.4 1. สืบคน้ และอธิบายการค้นหาความรูท้ างฟิสิกส์ • ฟิสิกส์เป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งท่ีศึกษาเกี่ยวกับสสาร พลังงาน อันตรกิริยา ประวัติความเป็นมา รวมทั้งพัฒนาการของ ระหวา่ งสสารกับพลงั งาน และแรงพืน้ ฐานในธรรมชาติ หลักการและแนวคิดทางฟิสิกส์ที่มีผลต่อ • การค้นคว้าหาความรู้ทางฟิสิกส์ได้มาจากการสังเกต การทดลอง และเก็บ การแสวงหาความรู้ใหม่และการพัฒ นา รวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์ หรือจากการสร้างแบบจำลองทางความคิด เทคโนโลยี เพ่ือสรุปเป็นทฤษฎี หลักการหรือกฎ ความรู้เหล่าน้ีสามารถนำไปใช้อธิบาย ปรากฏการณธ์ รรมชาติ หรือทำนายสิง่ ทีอ่ าจจะเกิดขน้ึ ในอนาคต • ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของหลักการและแนวคิดทางฟิสิกส์เป็น พ้นื ฐานในการแสวงหาความรู้ใหมเ่ พิ่มเติม รวมถงึ การพฒั นาและความก้าวหน้า ทางเทคโนโลยีก็มีส่วนในการค้นหาความรูใ้ หม่ทางวิทยาศาสตรด์ ้วย 2. วดั และรายงานผลการวัดปรมิ าณทางฟิสิกสไ์ ด้ • ความรู้ทางฟิสกิ สส์ ว่ นหนึ่งได้จากการทดลอง ซึ่งเก่ยี วขอ้ งกับกระบวนการวัด ถกู ต้องเหมาะสม โดยนำความคลาดเคลื่อนใน ปรมิ าณทางฟสิ กิ ส์ ซึง่ ประกอบด้วยตัวเลข และหนว่ ยวัด การวัดมาพิจารณาในการนำเสนอผล รวมทั้ง • ปริมาณทางฟิสิกส์สามารถวัดได้ด้วยเคร่ืองมือต่าง ๆ โดยตรงหรือทางอ้อม แสดงผลการทดลองในรูปของกราฟ วิเคราะห์ หน่วยที่ใช้ในการวัดปริมาณทางวิทยาศาสตร์ คือ ระบบหน่วยระหว่างชาติ และแปลความหมายจากกราฟเสน้ ตรง เรียกยอ่ ว่า ระบบเอสไอ • ปริมาณทางฟิสิกส์ท่ีมีค่าน้อยกว่าหรือมากกว่า 1 มาก ๆ นิยมเขียนในรูป ของสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ หรือเขียนโดยใช้คำนำหน้าหน่วยของระบบ เอสไอ การเขียนโดยใช้สัญกรณ์วิทยาศาสตร์เป็นการเขียนเพื่อแสดง จำนวนเลขนัยสำคัญท่ีถูกตอ้ ง • การทดลองทางฟิสิกส์เกี่ยวกับการวัดปริมาณต่าง ๆ การบันทึกปริมาณท่ีได้ จากการวัดด้วยจำนวนเลขนัยสำคัญที่เหมาะสมและค่าความคลาดเคลื่อน การวิเคราะห์และการแปลความหมายจากกราฟ เช่น การหาความชันจาก กราฟเส้นตรง จดุ ตัดแกน พ้ืนทใ่ี ต้กราฟ เป็นต้น • การวัดปริมาณต่าง ๆ จะมีความคลาดเคลื่อนเสมอขึ้นอยู่กับเครื่องมือ วิธีการวัด และประสบการณ์ของผู้วัด ซึ่งค่าความคลาดเคลื่อนสามารถ แสดงในการรายงานผลทั้งในรูปแบบตวั เลขและกราฟ • การวัดควรเลือกใช้เคร่ืองมือวัดให้เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด เช่น การวัด ความยาวของวัตถุท่ีต้องการความละเอียดสูง อาจใช้เวอร์เนียร์แคลลิเปิร์ส หรือไมโครมเิ ตอร์ • ฟิสิกสอ์ าศัยคณติ ศาสตรเ์ ปน็ เคร่ืองมอื ในการศึกษาคน้ คว้า และการสอ่ื สาร จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครผู ู้ชว่ ย กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 6 ชน้ั ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรเู้ พิม่ เตมิ 3. ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง • ปริมาณที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ ได้แก่ ตำแหน่ง การกระจัด ความเร็ว ม.4 ตำแหน่ง การกระจัด ความเร็ว และความเร่ง และความเร่ง โดยความเร็วและความเร่งมีทั้งค่าเฉลี่ยและค่าขณะหนึ่ง ของการเคล่ือนที่ของวัตถุในแนวตรงท่ีมี ซ่ึงคิดในช่วงเวลาสั้น ๆ สำหรับปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนท่ี ความเร่งคงตัวจากกราฟและสมการ รวมท้ัง แนวตรงด้วยความเร่งคงตัวมีความสัมพันธต์ ามสมการ ทดลองหาค่าความเร่งโน้มถ่วงของโลก และ v = u + at คำนวณปริมาณตา่ ง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง u+v ∆x = ( 2 ) t ∆x = ut + 1 at2 2 v2 = u2 + 2a∆x • การอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุสามารถเขียนอยู่ในรูปกราฟตำแหน่งกบั เวลา กราฟความเร็วกับเวลา หรือกราฟความเร่งกับเวลา ความชันของ เสน้ กราฟตำแหน่งกับเวลาเป็นความเร็ว ความชันของเส้นกราฟความเรว็ กับ เวลาเป็นความเร่ง และพื้นที่ใต้เส้นกราฟความเร็วกับเวลาเป็นการ กระจัด ในกรณีที่ผู้สังเกตมีความเร็ว ความเร็วของวัตถุที่สังเกตได้เป็น ความเรว็ ที่เทียบกบั ผู้สงั เกต • การตกแบบเสรีเป็นตัวอย่างหน่ึงของการเคลื่อนท่ีในหน่ึงมิติท่ีมีความเร่ง เทา่ กบั ความเรง่ โนม้ ถ่วงของโลก 4. ทดลองและอธิบายการหาแรงลัพธ์ของแรง • แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์จึงมีท้ังขนาดและทิศทางกรณีท่ีมีแรงหลาย ๆ แรง สองแรงท่ที ำมมุ ต่อกนั กระทำต่อวัตถุสามารถหาแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุโดยใช้วิธีเขียนเวกเตอร์ ของแรงแบบหางต่อหัว วธิ ีสร้างรูปส่เี หลยี่ มดา้ นขนานของแรงและวธิ ีคำนวณ จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 7 ชน้ั ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรเู้ พม่ิ เตมิ 5. เขียนแผนภาพของแรงท่ีกระทำต่อวัตถุอิสระ • สมบัติของวัตถุที่ต้านการเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ เรียกว่า ความเฉื่อย ม.4 ทดลองและอธิบายกฎการเคล่ือนทขี่ องนิวตัน มวลเป็นปรมิ าณทีบ่ อกใหท้ ราบวา่ วตั ถุใดมีความเฉือ่ ยมากหรอื นอ้ ย และการใช้กฎการเคล่ือนท่ีของนิวตันกับ • การหาแรงลัพธ์ทก่ี ระทำต่อวัตถุสามารถเขียนเป็นแผนภาพของแรงทก่ี ระทำ สภาพการเคล่ือนที่ของวัตถุ รวมท้ังคำนวณ ตอ่ วัตถุอิสระได้ ปริมาณตา่ ง ๆ ทเ่ี ก่ียวข้อง • กรณีท่ีไม่มีแรงภายนอกมากระทำ วัตถุจะไม่เปล่ียนสภาพการเคลื่อนท่ีซึ่ง เปน็ ไปตามกฎการเคล่ือนท่ีขอ้ ทหี่ นึง่ ของนวิ ตนั • กรณีท่ีมีแรงภายนอกมากระทำโดยแรงลพั ธท์ ีก่ ระทำตอ่ วัตถุไม่เป็นศูนย์ วัตถุ จะมคี วามเรง่ โดยความเร่งมที ศิ ทางเดยี วกับแรงลพั ธ์ ความสัมพันธร์ ะหวา่ ง แรงลัพธ์ มวลและความเรง่ เขียนแทนได้ด้วยสมการ n ∑ F⃑ i = m⃑a i=0 ตามกฎการเคล่ือนท่ีข้อที่สองของนวิ ตัน • เมื่อวัตถุสองก้อนออกแรงกระทำต่อกัน แรงระหว่างวัตถุทั้งสองจะมี ขนาดเท่ากัน แต่มีทศิ ทางตรงข้ามและกระทำต่อวัตถคุ นละก้อน เรียกว่า แรงคู่กิริยา-ปฏิกิริยา ซึ่งเป็นไปตามกฎการเคล่ือนที่ข้อท่ีสามของนิวตัน และเกดิ ข้ึนได้ทัง้ กรณที ี่วตั ถุท้ังสองสมั ผัสกันหรอื ไมส่ ัมผัสกนั ก็ได้ 6. อธิบายกฎความโน้มถ่วงสากลและผลของ • แรงดึงดูดระหว่างมวลเป็นแรงท่ีมวลสองก้อนดึงดูดซ่ึงกันและกันด้วย สนามโน้มถ่วงท่ีทำให้วัตถุมีน้ำหนัก รวมทั้ง แรงขนาดเท่ากันแต่ทิศทางตรงข้ามและเป็นไปตามกฎความโน้มถ่วงสากล คำนวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ท่เี ก่ียวขอ้ ง เขยี นแทนได้ดว้ ยสมการ FG = G m1m2 R2 • รอบโลกมีสนามโน้มถ่วงทำให้เกิดแรงโน้มถ่วง ซ่ึงเป็นแรงดึงดูดของโลกที่ กระทำตอ่ วตั ถุ ทำให้วตั ถมุ นี ้ำหนกั 7. วิเคราะห์ อธิบาย และคำนวณแรงเสียดทาน • แรงท่ีเกิดขึ้นท่ีผิวสัมผัสระหว่างวัตถุสองก้อนในทิศทางตรงข้ามกับทิศทาง ระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุคู่หน่ึง ๆ ในกรณีท่ี การเคล่ือนท่ี หรือแนวโน้มที่จะเคลื่อนที่ของวัตถุ เรียกว่า แรงเสียดทาน วัตถุหยุดนิ่งและวัตถุเคล่ือนท่ี รวมท้ังทดลอง แรงเสียดทานระหว่างผิวสัมผัสคู่หน่ึง ๆ ขึ้นกับสัมประสิทธ์ิความเสียดทาน หาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่าง และแรงปฏกิ ิริยาต้ังฉากระหวา่ งผิวสมั ผัสค่นู น้ั ๆ ผวิ สัมผัสของวตั ถุคูห่ นง่ึ ๆ และนำความรเู้ รอ่ื ง • ขณะออกแรงพยายามแต่วัตถุยังคงอยู่น่ิงแรงเสียดทานมีขนาดเท่ากับ แรงเสียดทานไปใช้ในชวี ิตประจำวัน แรงพยายามที่กระทำตอ่ วัตถุนน้ั และแรงเสียดทานมีค่ามากท่ีสดุ เม่ือวตั ถุเริ่ม เคลื่อนที่ เรียกแรงเสียดทานนี้ว่า แรงเสียดทานสถิต แรงเสียดทานที่ กระทำต่อวัตถุขณะกำลังเคลื่อนที่ เรียกว่า แรงเสียดทานจลน์ โดยแรง เสยี ดทานท่ีเกิดระหว่างผวิ สัมผสั ของวตั ถคุ ่หู นึง่ ๆ คำนวณไดจ้ ากสมการ fs ≤ μsN fk = μkN • การเพิ่มหรือลดแรงเสียดทานมีผลต่อการเคลื่อนที่ของวัตถุ ซึ่งสามารถ จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 8 ชน้ั ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู้เพ่ิมเติม นำไปใช้ในชวี ติ ประจำวัน ม.4 16. อธิบาย วิเคราะห์ และคำนวณปริมาณต่าง ๆ •การเคลอื่ นทีแ่ นวโค้งพาราโบลาภายใตส้ นามโน้มถ่วง โดยไม่คิดแรงต้านของ ท่ีเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนท่ีแบบโพรเจกไทล์ อากาศเปน็ การเคล่ือนท่แี บบโพรเจกไทล์ วตั ถมุ ีการเปลี่ยนตำแหนง่ ในแนวด่ิง และทดลองการเคลอ่ื นทแ่ี บบโพรเจกไทล์ และแนวระดับพร้อมกัน และเป็นอิสระต่อกัน สำหรับการเคล่ือนที่ในแนวด่ิง เปน็ การเคล่อื นที่ท่ีมีแรงโนม้ ถว่ งกระทำจึงมีความเร็วไม่คงตัว ปริมาณต่าง ๆ มคี วามสมั พนั ธ์ตามสมการ vy = uy + ayt ∆y = (uy+vy) t 2 ∆y = uyt + 1 ayt2 2 vy2 = uy2 + 2ay∆y • ส่วนการเคล่ือนที่ในแนวระดับไม่มีแรงกระทำจึงมีความเร็วคงตัว ตำแหน่ง ความเรว็ และเวลา มีความสัมพันธ์ตามสมการ ∆x = uxt 17. ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแรง •วัตถุที่เคลื่อนที่เป็นวงกลมหรือส่วนของวงกลม เรียกว่า วัตถุนั้นมีการ สู่ศูนย์กลาง รัศมีของการเคลื่อนที่ อัตราเร็ว เคลื่อนที่แบบวงกลม ซึ่งมีแรงลัพธ์ที่กระทำกับวัตถุในทิศเข้าสู่ศูนย์กลาง เชิงเส้น อัตราเร็วเชิงมุม และมวลของวัตถุใน เรียกว่า แรงสู่ศูนย์กลาง ทำให้เกดิ ความเร่งสู่ศูนยก์ ลางที่มีขนาดสัมพันธ์กับ การเคล่อื นทแ่ี บบวงกลมในระนาบระดบั รัศมีของการเคลื่อนท่ีและอัตราเร็วเชิงเส้นของวัตถุ ซึ่งแรงสู่ศูนย์กลาง รวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง คำนวณได้จากสมการ Fc = mv2 แ ล ะ ป ร ะ ยุ ก ต์ ใช้ ค ว า ม รู้ ก า ร เค ลื่ อ น ท่ี แ บ บ r •นอกจากน้ีการเคลอ่ื นทีแ่ บบวงกลมยังสามารถอธบิ ายได้ด้วยอัตราเรว็ เชิงมุม วงกลมในการอธิบายการโคจรของดาวเทยี ม ซึ่งมีความสัมพันธ์กับอัตราเร็วเชิงเส้นตามสมการ v = ωr และแรงสู่ ศูนย์กลางมีความสมั พันธก์ ับอตั ราเรว็ เชิงมมุ ตามสมการ Fc = mω2r •ดาวเทียมทโี่ คจรในแนววงกลมรอบโลกมีแรงดึงดูดท่ีโลกกระทำต่อดาวเทียม เป็นแรงสศู่ ูนย์กลาง ดาวเทยี มท่ีโคจรค้างฟา้ ในระนาบของเส้นศนู ยส์ ูตรมีคาบ การโคจรเท่ากับคาบการหมุนรอบตัวเองของโลก หรือมีอัตราเร็วเชิงมุม เท่ากับอัตราเร็วเชิงมุมของตำแหน่งบนพ้ืนโลก ดาวเทียมจึงอยู่ตรงกับ ตำแหน่งทก่ี ำหนดไว้บนพื้นโลก * สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, ตัวชี้วดั และสาระการเรียนร้แู กนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พ.ศ. 2551. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพช์ ุมนุม สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย, 2560) จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 9 ผังมโนทศั น์ รายวชิ า ฟสิ ิกส์ 1 รหสั วชิ า ว 31201 ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2562 ชอ่ื หนว่ ยท่ี 1 การศึกษาวิชาฟสิ ิกส์ ชือ่ หนว่ ยที่ 2 การเคลอ่ื นทใ่ี นแนวตรง จำนวน 8 ชว่ั โมง : ….. คะแนน จำนวน 20 ชั่วโมง : ….. คะแนน รายวิชาฟิสิกส์ 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 จำนวน 80 ชว่ั โมง ช่ือหน่วยท่ี 3 แรงและกฎการเคล่อื นที่ ช่อื หน่วยที่ 4 การเคล่อื นที่แนวโคง้ จำนวน 28 ช่ัวโมง : ….. คะแนน จำนวน 24 ชัว่ โมง : ….. คะแนน จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผ้ชู ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 10 ผงั มโนทัศน์ 1 รายวิชา ฟิสกิ ส์ 1 รหัสวชิ า ว 31201 ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 เร่ือง การศึกษาวิชาฟิสกิ ส์ จำนวน 8 ช่วั โมง : .................... คะแนน 1. ช่ือเรอ่ื ง ธรรมชาตขิ องฟิสิกส์ จำนวน 2 ชัว่ โมง : ….. คะแนน หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 เรอื่ ง การศึกษาวิชาฟสิ กิ ส์ จำนวน 8 ช่วั โมง 2. ชื่อเรือ่ ง การวัดปริมาณและหน่วยทางฟิสิกส์ 3. ชื่อเร่อื ง เลขนยั สำคญั จำนวน 3 ชัว่ โมง : ….. คะแนน จำนวน 3 ชั่วโมง : ….. คะแนน จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 11 ผังมโนทัศน์ 2 รายวชิ า ฟสิ กิ ส์ 1 รหสั วชิ า ว 31201 ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 เรอ่ื ง การเคลอื่ นทใี่ นแนวตรง จำนวน 20 ชั่วโมง : .................... คะแนน หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 เรือ่ ง การเคลือ่ นท่ใี นแนวตรง จำนวน 20 ช่วั โมง 1. ชื่อเรื่อง ปรมิ าณทีเ่ กี่ยวกบั การ 4. ช่ือเร่ือง กราฟแสดงความสมั พันธร์ ะหวา่ ง เคล่ือนท่ีของวัตถุ ปรมิ าณต่าง ๆ ของการเคลือ่ นทแี่ นวตรง จำนวน 2 ช่ัวโมง : ….. คะแนน จำนวน 3 ชวั่ โมง : ….. คะแนน 2. ชื่อเรือ่ ง เคร่อื งเคาะสญั ญาณเวลา จำนวน 2 ชั่วโมง : ….. คะแนน 5. ช่ือเรือ่ ง การเคลอ่ื นท่ีของวัตถุกรณี ความเรง่ คงตัว จำนวน 3 ช่ัวโมง : ….. คะแนน 3. ช่ือเรือ่ ง ความเร่ง 6. ชือ่ เรอื่ ง วตั ถุตกแบบอสิ ระดว้ ย จำนวน 3 ชว่ั โมง : ….. คะแนน ความเรง่ คงตัว จำนวน 5 ช่ัวโมง : ….. คะแนน 7. ชอื่ เรอ่ื ง ความเรว็ สมั พทั ธ์ จำนวน 2 ชวั่ โมง : ….. คะแนน จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 12 ผังมโนทศั น์ 3 รายวิชา ฟิสกิ ส์ 1 รหสั วชิ า ว 31201 ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง แรงและกฎการเคลือ่ นที่ จำนวน 28 ช่วั โมง : .................... คะแนน หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3 เรือ่ ง แรงและกฎการเคลอ่ื นท่ี จำนวน 28 ชัว่ โมง 1. ช่ือเรื่อง แรงและแรงลัพธ์ 3. ช่ือเร่อื ง กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนวิ ตัน จำนวน 3 ชว่ั โมง : ….. คะแนน จำนวน 6 ชว่ั โมง : ….. คะแนน 2. ช่ือเรื่อง กฎการเคล่อื นทข่ี องนิวตัน 4. ช่ือเร่อื ง แรงต้งั ฉากและแรงเสยี ดทาน จำนวน 8 ชั่วโมง : ….. คะแนน จำนวน 6 ชว่ั โมง : ….. คะแนน 5. ชื่อเร่ือง การประยกุ ตใ์ ชก้ ฎการเคลื่อนท่ีของนวิ ตัน จำนวน 5 ชั่วโมง : ….. คะแนน จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 4 13 ผังมโนทัศน์ 4 รายวชิ า ฟสิ ิกส์ 1 รหัสวชิ า ว 31201 ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 เรือ่ ง การเคลอ่ื นทแ่ี นวโค้ง จำนวน 24 ชั่วโมง : .................... คะแนน หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การเคล่ือนทแี่ นวโคง้ จำนวน 24 ชว่ั โมง 1. ชื่อเร่ือง การเคล่ือนทแ่ี บบโพรเจคไทล์ 2. ชื่อเร่ือง การเคลื่อนท่ีแบบวงกลม จำนวน 12 ช่วั โมง : ….. คะแนน จำนวน 12 ชวั่ โมง : ….. คะแนน จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 14 โครงสร้างรายวิชา ฟสิ ิกส์ 1 ม.4 เลม่ 1 ลำดับ ชอื่ หน่วยการ ผลการเรียนรู้ สาระสำคญั เวลา เรียนรู้ (ชม.) 1. การศึกษาวิชา 1. สบื ค้นและอธิบายการค้นหาความรู้ ฟิสิกส์เป็นวิทยาศาสตร์แขนงหน่ึงที่ศึกษาเก่ียวกับ 8 ฟสิ กิ ส์ ทางฟิสิกส์ ประวัติความเป็นมา สสาร พลังงาน อันตรกิริยาระหว่างสสารกับพลังงาน รวมท้ังพัฒนาการของหลักการและ และแรงพืน้ ฐานในธรรมชาติ แนวคิดทางฟิสิกส์ท่ีมีผลต่อการ การค้นควา้ หาความรู้ทางฟิสิกส์ได้มาจากการสงั เกต แสวงหาความรู้ใหม่และการพัฒนา การทดลอง และเก็บรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์ หรือ เทคโนโลยไี ด้ จากการสร้างแบบจำลองทางความคิด เพื่อสรุปเป็น 2. วดั และรายงานผลการวัดปริมาณทาง ทฤษฎี หลักการหรือกฎ ซึ่งสามารถนำไปใช้อธิบาย ฟิสิกส์ได้ถูกต้องเหมาะสม โดยนำ ปรากฏการณธ์ รรมชาติหรือทำนายสิ่งท่ีอาจจะเกดิ ขึน้ ใน ความคลาดเคล่ือนในการวัดมา อนาคต โดยประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของ พิจารณาในการนำเสนอผล รวมท้ัง หลักการ และแนวคิดทางฟิสิกส์เป็นพื้นฐานในการ แสดงผลการทดลองในรูปของกราฟ แสวงหา ความรู้ใหม่เพ่ิมเติม รวมถึงการพัฒนาและ วิเคราะห์และแปลความหมายจาก ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยีก็มีส่วนในการค้นหาความรู้ กราฟเสน้ ตรงได้ ใหม่ทางวทิ ยาศาสตรด์ ้วย ความรู้ทางฟิสิกส์ส่วนหนึ่งได้จากการทดลอง ซ่ึง เกี่ยวข้องกับกระบวนการวัดปริมาณ ทางฟิสิกส์ ประกอบด้วยค่าท่ีเป็นตัวเลขและหน่วยวัด โดยสามารถ วัดได้ด้วยเครื่องมือต่าง ๆ โดยตรง หรือทางอ้อม หน่วย ที่ใช้ในการวัดปริมาณทางวิทยาศาสตร์ คือ หน่วยใน ระบบเอสไอ ปริมาณท่ีมีค่าน้อยหรือมากกว่า 1 มาก ๆ นยิ มเขียนในรูปของสัญกรณ์วทิ ยาศาสตร์ การเขียนโดย ใช้ สัญกรณ์วิทยาศาสตร์เป็นการเขียนเพื่อแสดงจำนวน เลขนยั สำคัญท่ีถูกตอ้ ง การทดลองทางฟิสิกส์จะเก่ียวกบั การวัดปริมาณต่าง ๆ การวัดจะมีความคลาดเคลื่อนเสมอ ซึ่งข้ึนอยู่กับ เคร่อื งมือ วิธกี ารวัด และประสบการณ์ของผู้วดั ในการ บันทกึ ปริมาณทไี่ ด้จากการวัดดว้ ยจำนวนเลขนัยสำคัญที่ เหมาะสมและค่าความคลาดเคล่ือน เพ่ือการนำเสนอผล การเขียนกราฟ และลงข้อสรุป รวมทั้งมีทักษะในการ รายงานการทดลอง โดยการวัดควรเลือกใช้เคร่ืองมือวัด ใหเ้ หมาะสมกบั ส่งิ ท่ตี ้องการวัด 2. การเคลื่อนท่ี 3. ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ ปริมาณท่ีเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ ได้แก่ 20 ในแนวตรง ระหว่างตำแหน่ง การกระจัด ความเร็ว ตำแหน่ง การกระจัด ความเร็วและความเร่ง โดย และความเร่งของการเคล่ือนท่ีของวัตถุ ความเร็วและความเร่งมีท้ังค่าเฉลี่ยและค่าขณะหนึ่ง ซึ่ง จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครูผู้ชว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 15 ลำดับ ช่อื หน่วยการ ผลการเรียนรู้ สาระสำคัญ เวลา เรยี นรู้ (ชม.) ในแนวตรงท่ีมีความเร่งคงตัวจากกราฟ คดิ ในช่วงเวลาส้ันมาก ๆ เขา้ ใกลศ้ ูนย์ และสมการ รวมทั้งทดลองหาค่ า การอธิบายการเคล่ือนที่ของวัตถุสามารถเขียนอยู่ใน ความเร่งโน้มถ่วงของโลก และคำนวณ รูปกราฟตำแหน่งกับเวลา ความเร็วกั บเวลา หรือ ปรมิ าณตา่ ง ๆ ท่ีเก่ยี วข้องได้ ความเร่งกบั เวลา โดยความชันของเสน้ กราฟตำแหน่งกับ เวลาเป็นความเร็ว ความชันของเส้นกราฟความเร็วกับ เวลาเป็นความเร่ง และพ้ืนที่ใต้เส้นกราฟความเร็วกับ เวลาเป็นการกระจัด ในกรณีที่ผู้สังเกตมีความเร็ว ความเร็วของวัตถุท่ีสังเกตได้เป็นความเร็วที่เทียบกับ ผู้ สังเกต ส่วนการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวตรงกรณีท่ีมี ความเร่งคงท่ี สามารถอธิบายได้โดยใช้สมการจลน์ ศาสตร์ 4 สมการ การตกแบบเสรีเป็นตัวอย่างหน่ึงของการเคลื่อนท่ีใน หนงึ่ มิตทิ มี่ คี วามเรง่ เทา่ กับความเร่งโน้มถว่ งของโลก 3. แรงและกฎการ 4. ทดลองและอธิบายการหาแรงลัพธ์ แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์จึงมีทั้งขนาด และทิศทาง 28 เคลื่อนท่ี ของแรงสองแรงท่ีทำมุมต่อกนั ได้ กรณีที่มีแรงหลาย ๆ แรงกระทำต่อวตั ถุ สามารถหาแรง 5. เขียนแผนภาพของแรงที่กระทำต่อ ลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุโดยใช้วิธีเขียนเวกเตอร์ของแรง วัตถุอิสระ ทดลองและอธิบายกฎ แบบหางต่อหัว วิธีสร้างรูปส่ีเหล่ียมด้านขนานของแรง การเคลื่อนที่ของนิวตันและการใช้ และวธิ คี ำนวณ กฎการเคล่ือนท่ีของนิวตันกับสภาพ ความเฉ่ือยเป็นสมบัติของวัตถุท่ีต้านการเปล่ียนสภาพ การเค ลื่อ นที่ ของวัตถุ รวม ท้ั ง การเคลื่อนท่ีของวัตถุ โดยมีมวลเป็นปริมาณที่บอกให้ คำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทราบว่าวัตถใุ ดมคี วามเฉ่ือยมากหรือน้อย ได้ 6. อธิบายกฎความโน้มถ่วงสากลและ การหาแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุสามารถเขียนเป็น แผนภาพของแรงท่กี ระทำต่อวัตถอุ ิสระได้ ในกรณีทไ่ี ม่มี ผลของสนามโน้มถ่วงที่ทำให้วัตถุมี แรงภายนอกมากระทำต่อวัตถุ หรือแรงท่ีกระทำต่อวัตถุ นำ้ หนัก รวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง เป็นศูนย์ วัตถุจะไม่เปล่ียนสภาพการเคลื่อนที่ซึ่งเป็นไป ๆ ทเ่ี กยี่ วข้องได้ ตามกฎการเคล่ือนท่ีข้อท่ีหน่ึงของนิวตัน แต่ถ้ามีแรง 7. วิเคราะห์ อธิบาย และคำนวณแรง ภายนอกมากระทำต่อวัตถุ โดยแรงลัพธ์ท่ีกระทำต่อวัตถุ เสียดทานระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุ ไม่เป็นศูนย์ วัตถุจะมีความเร่ง โดยความเร่งมีทิศทาง คู่หน่ึง ๆ ในกรณีที่วัตถุหยุดน่ิงและ เดียวกบั แรงลพั ธ์ ซึ่งเปน็ ไปตามกฎการเคล่ือนทขี่ ้อทสี่ อง วัตถุเคลื่อนท่ี รวมทั้งทดลองหา ของนวิ ตนั สมั ประสิทธคิ์ วามเสียดทานระหว่าง ผิวสัมผัสของวัตถุคู่หนึ่ง ๆ และนำ เมื่อวัตถุสองก้อนออกแรงกระทำต่อกัน จะเกิดแรง ความรู้เร่ืองแรงเสียดทานไปใช้ใน กิรยิ าและแรงปฏกิ ิริยา โดยแรงทั้งสองจะมีขนาดเท่ากัน แต่มีทิศทางตรงข้ามและกระทำต่อวัตถุคนละก้อน ชีวติ ประจำวนั ได้ เรียกว่า แรงคู่กิริยา-ปฏิกิริยา ซ่ึงเป็นไปตามกฎการ เคลอื่ นท่ขี ้อที่สามของนวิ ตนั และเกิดข้ึนได้ทั้งกรณีท่วี ตั ถุ จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครผู ้ชู ่วย กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 16 ลำดับ ช่ือหน่วยการ ผลการเรียนรู้ สาระสำคัญ เวลา เรยี นรู้ (ชม.) ท้งั สองสมั ผัสกันหรอื ไมส่ ัมผสั กนั ก็ได้ วัตถุคู่หน่ึงจะมีแรงกระทำต่อกัน แรงนี้เป็นแรงดึงดูด ระหวา่ งมวลเป็นแรงท่ีมวลสองก้อนดึงดูดซ่ึงกันและกัน ด้วยแรงขนาดเท่ากันในแนวเดียวกันแต่ทิศทางตรงข้าม และเปน็ ไปตามกฎความโนม้ ถว่ งสากล แรงที่เกิดข้ึนที่ผิวสัมผัสระหว่างวัตถุสองก้อนในทิศ ทางตรงข้ามกับทิศทางการเคลื่อนท่ี หรือแนวโน้มที่จะ เคล่ือนที่ของวัตถุ เรียกว่า แรงเสียดทาน ซ่ึงแรงเสียด ทานระหว่างผิวสัมผัสคู่หนึ่ง ๆ จะขึ้นอยู่กับสัมประสิทธ์ิ ความเสยี ดทานและแรงปฏกิ ริ ิยาตัง้ ฉากระหว่างผวิ สัมผสั คู่นน้ั ๆ ขณะวตั ถุยังคงอยู่นิ่ง แรงเสียดทานมีขนาดเพม่ิ ข้ึนตาม แรงท่ีกระทำต่อวัตถุนั้น และจะมีค่ามากที่สุด เม่ือวัตถุ เร่ิมเคลื่อนที่ เรียกแรงเสียดทานที่กระทำตอ่ วัตถขุ ณะอยู่ น่ิงว่า แรงเสียดทานสถิต และเรียกแรงเสียดทานที่ กระทำต่อวตั ถุขณะกำลังเคล่ือนท่วี า่ แรงเสยี ดทานจลน์ 4 การเคลือ่ นที่แนว 8. อธิบาย วิเคราะห์ และคำนวณ การเคล่ือนที่ของวัตถุท่ีมีเส้นทางเป็นโค้งพาราโบลา 24 โคง้ ปริมาณต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการ ภายใตส้ นามโน้มถ่วง โดยไม่คิดแรงต้านของอากาศเป็น เคล่ือนท่ีแบบโพรเจกไทล์ และ การเคล่ือนท่ีแบบโพรเจกไทล์ ซ่ึงพิจารณาได้ว่าวัตถุมี ทดลองการเคลื่อนท่ีแบบโพรเจก การเปล่ียนตำแหน่งในแนวดิ่งและแนวระดับพร้อมกัน ไทล์ได้ และเป็นอิสระตอ่ กัน ส่วนการเคล่ือนท่ีใน แนวระดบั ไม่มี 9. ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ แรงกระทำจงึ เปน็ การเคล่อื นท่ีท่ีมคี วามเรว็ คงตัว ระหว่างแรงสู่ศูนย์กลาง รัศมีของการ วัตถุท่ีเคล่ือนท่ีเป็นวงกลมหรือส่วนของวงกลม เคล่ือนที่ อัตราเร็วเชิงเส้น อัตราเร็ว เรียกว่า เป็นการเคล่ือนท่ีแบบวงกลม ซึ่งมีแรงลัพธ์ที่ เชิงมุ ม และมวลของวัตถุในการ กระทำกับวัตถุในทิศเข้าสู่ศูนย์กลาง เรียกว่า แรงสู่ เคลื่อนท่ีแบบวงกลมในระนาบระดับ ศูนย์กลาง ทำให้เกิดความเร่งสู่ศูนย์กลางที่มีขนาด รวมท้ังคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่ สัมพันธ์กับรัศมีของการเคล่ือนท่ี และอัตราเร็วเชิงเส้น เก่ียวข้อง และประยุกต์ใช้ความรู้การ ของวัตถุ เคลื่อนที่แบบวงกลมในการอธิบายการ นอกจากนี้ การเคล่ือนที่แบบวงกลมยังสามารถ โคจรของดาวเทยี มได้ อธิบายได้ด้วยอัตราเร็วเชิงมุม ซึ่งมีความสัมพันธ์กับ อตั ราเร็วเชิงเส้น และแรงสู่ศูนย์กลางมีความสมั พันธ์กับ อัตราเร็วเชิงมุม การเคลื่อนที่ในแนววงกลม ได้แก่ การ เคล่ือนที่ของรถบนถนนโค้ง และดาวเทียมท่ีโคจรเป็น แนววงกลมรอบโลก จำนวนชว่ั โมงเรยี น รวมท้ังหมด 80 จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครูผู้ชว่ ย กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

โครงสรา้ งแผนการจัดการเรยี นรู้ ฟิสิกส์ หน่วยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ แนวคดิ /รปู แบบการสอ 1. การศึกษาวิชาฟิสกิ ส์ วธิ กี ารสอน/เทคนคิ แผนที่ 1 ธรรมชาติและสาขา ความรูข้ องฟิสกิ ส์ แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) แผนท่ี 2 การวัดปรมิ าณและ แบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es หนว่ ยทางฟิสิกส์ (5Es Instructional Model) กลุ่มส

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 4 17 1 ม.4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 เวลา 80 ชว่ั โมง อน/ ทกั ษะทไ่ี ด้ การประเมนิ เวลา (ชั่วโมง) - ทกั ษะการวเิ คราะห์ - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น 2 ) - ทักษะการสือ่ สาร - สังเกตการอภิปรายเกย่ี วกบั - ทกั ษะการทำงานรว่ มกนั ธรรมชาติของฟิสิกส์ - ตรวจใบงานที่ 1.1 เร่ือง ธรรมชาติ ของฟสิ ิกส์ - ตรวจผงั มโนทัศน์ เร่ือง ธรรมชาติ ของฟสิ ิกส์ - ตรวจการทำแบบฝกึ หดั จาก Unit Question 1 เรอ่ื ง ธรรมชาตขิ อง ฟสิ ิกส์ - ตรวจแบบฝกึ หดั ท่ี 1.1 เร่ือง ธรรมชาตขิ องฟสิ กิ ส์ - ตรวจแบบฝึกหดั ท่ี 2.1 เรอ่ื ง สาขาความรูข้ องวิชาฟสิ ิกส์ - ทกั ษะการวิเคราะห์ - ตรวจการนำเสนอขอ้ มูลระบบ 3 ) - ทกั ษะการสือ่ สาร หน่วยที่ใช้ในทางฟสิ กิ ส์ท่ีได้จาก - ทกั ษะการทำงานรว่ มกัน การสบื ค้น - ทกั ษะการนำความรู้ไปใช้ - ตรวจผังมโนทัศน์ เร่อื ง การวดั ปรมิ าณและหนว่ ยทางฟิสิกส์ จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ูช้ ่วย สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ แนวคิด/รูปแบบการสอ วธิ กี ารสอน/เทคนคิ แผนที่ 3 เลขนัยสำคัญ แบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) กลมุ่ ส

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 18 อน/ ทกั ษะที่ได้ การประเมิน เวลา (ช่ัวโมง) - ตรวจใบงานที่ 1.2 เร่อื ง หนว่ ย ของการวัด - ตรวจการทำแบบฝึกหดั จาก Unit Question 1 เร่ือง การวดั ปริมาณ และหน่วยทางฟสิ กิ ส์ - ตรวจแบบฝกึ หดั ท่ี 3.1 เร่ือง การ วัดปริมาณทางกายภาพในเชิง ฟสิ ิกส์ - ทักษะการวิเคราะห์ - ตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี น 3 ) - ทักษะการสงั เกต - ตรวจการนำเสนอข้อมลู เก่ียวกับ - ทักษะการสื่อสาร เลขนัยสำคญั - ทกั ษะการทำงานรว่ มกัน - สงั เกตการทำกิจกรรมการหา - ทักษะการนำความรไู้ ปใช้ ปริมาตรของหนังสือเรียน - ทักษะการคิดอยา่ งมี - ตรวจผงั มโนทัศน์ เรือ่ ง เลข วิจารณญาณ นัยสำคญั - ตรวจใบงานท่ี 1.3 - ตรวจการทำแบบฝึกหดั จาก Unit Question 1 เร่ือง เลขนยั สำคญั - ตรวจแบบฝึกหดั ที่ 4.1-4.5 เรื่อง เลขนยั สำคญั และความ คลาดเคลอื่ น - ตรวจแบบบันทกึ กิจกรรม เรอื่ ง จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ แนวคดิ /รูปแบบการสอ วิธีการสอน/เทคนิค 2. การเคลื่อนท่ใี นแนวตรง แผนที่ 1 ปริมาณทเ่ี กยี่ วกับ แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es การเคล่ือนทข่ี องวตั ถุ (5Es Instructional Model) แผนท่ี 2 เครื่องเคาะ แบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es สัญญาณเวลา (5Es Instructional Model) กลุม่ ส

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 19 อน/ ทกั ษะที่ได้ การประเมนิ เวลา (ชวั่ โมง) การหาปรมิ าตรของหนงั สอื เรียน - ทกั ษะการวิเคราะห์ - ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรียน 2 ) - ทักษะการสังเกต - สังเกตการอภปิ รายเก่ียวกับ - ทักษะการส่ือสาร ความเรว็ และอัตราเรว็ - ทกั ษะการทำงานรว่ มกัน - ตรวจผังมโนทศั น์ เรือ่ ง ปรมิ าณท่ี - ทกั ษะการนำความรู้ไปใช้ เกยี่ วกับการเคลอ่ื นทข่ี องวัตถุ - ตรวจใบงานที่ 2.1 เรอ่ื ง ปรมิ าณที่ เกยี่ วกับการเคลอ่ื นทข่ี องวัตถุ - ตรวจการทำแบบฝึกหัดจาก Unit Question 2 เร่ือง ปริมาณที่ เก่ียวกับการเคลื่อนทีข่ องวัตถุ - ตรวจแบบฝกึ หดั ท่ี 1.1-1.3 เร่ือง ปรมิ าณทเ่ี กี่ยวกับการเคลื่อนท่ีของ วัตถุ - ทกั ษะการวเิ คราะห์ - สังเกตการทำกจิ กรรมการวัด 2 ) - ทกั ษะการสังเกต อตั ราเรว็ โดยใชเ้ ครื่องเคาะ - ทักษะการสื่อสาร สญั ญาณเวลา - ทักษะการทำงานร่วมกัน - ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง เครื่อง เคาะสญั ญาณเวลา - ตรวจการทำแบบฝึกหัดจาก Unit Question 2 เรื่อง เคร่ือง เคาะสัญญาณเวลา จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครูผชู้ ่วย สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ แนวคดิ /รูปแบบการสอ วิธีการสอน/เทคนคิ แผนที่ 3 ความเรง่ แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) แผนท่ี 4 กราฟแสดง แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es ความสมั พันธ์ ระหวา่ ง (5Es Instructional Model) ปริมาณตา่ ง ๆ ของ การเคลอ่ื นที่แนวตรง กล่มุ ส

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 20 อน/ ทกั ษะที่ได้ การประเมิน เวลา (ชวั่ โมง) - ตรวจแบบฝึกหัดที่ 2.1-2.2 เรอ่ื ง เครอื่ งเคาะสัญญาณเวลา - ตรวจแบบบันทึกกจิ กรรม เรอ่ื ง การวัดอัตราเรว็ โดยใช้เคร่อื งเคาะ สญั ญาณเวลา - ทกั ษะการวเิ คราะห์ - สังเกตการอภิปรายเกยี่ วกับ 3 ) - ทักษะการสังเกต ความเร่งและความหน่วง - ทกั ษะการส่อื สาร - ตรวจผงั มโนทศั น์ เร่ือง ความเร่ง - ทกั ษะการทำงานรว่ มกนั - ตรวจใบงานท่ี 2.3 เร่ือง ความเรง่ - ทักษะการนำความรไู้ ปใช้ - ตรวจการทำแบบฝกึ หดั จาก Unit Question 2 เรอ่ื ง ความเร่ง - ตรวจแบบฝึกหัดที่ 3.1-3.2 เร่อื ง ความเรง่ - ทกั ษะการวเิ คราะห์ - ตรวจการนำเสนอกราฟแสดง 3 ) - ทกั ษะการสงั เกต ความสัมพันธ์ ระหวา่ งปริมาณต่าง - ทักษะการสอ่ื สาร ๆ ของการเคลอ่ื นที่แนวตรง - ทักษะการทำงานรว่ มกัน - ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง กราฟ แสดงความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง ปรมิ าณต่าง ๆ ของการเคลอื่ นที่ แนวตรง - ตรวจการทำแบบฝึกหัดจาก Unit Question 2 เรื่อง กราฟแสดง จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ้ชู ว่ ย สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ แนวคดิ /รูปแบบการสอ วธิ กี ารสอน/เทคนิค แผนที่ 5 การเคล่ือนท่ีของวัตถุ แบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es กรณีความเร่งมีค่าคง (5Es Instructional Model) ตัว แผนท่ี 6 วัตถุตกแบบอสิ ระด้วย แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es ความเรง่ คงตวั (5Es Instructional Model) กลุม่ ส

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 21 อน/ ทักษะทไ่ี ด้ การประเมนิ เวลา (ชั่วโมง) ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งปริมาณตา่ ง ๆ ของการเคล่อื นท่ีแนวตรง - ตรวจแบบฝกึ หัดที่ 4.1-4.2 เรอื่ ง กราฟแสดงความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง ปรมิ าณตา่ ง ๆ ของการเคลื่อนที่ แนวตรง - ทกั ษะการวเิ คราะห์ - ตรวจการนำเสนอผงั มโนทศั น์ 3 ) - ทกั ษะการสงั เกต เร่อื ง การเคลือ่ นที่ของวัตถุกรณี - ทกั ษะการสอ่ื สาร ความเรง่ มีค่าคงตัว - ทกั ษะการทำงานรว่ มกนั - ตรวจใบงานท่ี 2.5 เรอื่ ง การ - ทักษะการนำความรูไ้ ปใช้ เคลอื่ นที่ของวัตถกุ รณคี วามเร่งมี ค่าคงตวั - ตรวจการทำแบบฝกึ หัดจาก Unit Question 2 เร่อื ง การเคล่ือนท่ี ของวตั ถุกรณีความเรง่ มคี า่ คงตัว - ตรวจแบบฝกึ หัดที่ 5.1 เร่อื ง การ เคลอ่ื นท่ีของวัตถุกรณีความเรง่ มี ค่าคงตัว - ทักษะการวิเคราะห์ - สงั เกตการทำกจิ กรรมการ 5 ) - ทกั ษะการสงั เกต เคลื่อนทขี่ องวัตถุท่ีตกแบบอิสระ - ทกั ษะการสอื่ สาร - สังเกตการอภปิ รายเกยี่ วกับวัตถุ - ทักษะการทำงานรว่ มกนั ตกแบบอสิ ระดว้ ยความเรง่ คงตัว จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ แนวคดิ /รปู แบบการสอ วิธีการสอน/เทคนิค แผนที่ 7 ความเรว็ สมั พทั ธ์ แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) 3. แรงและกฎการเคล่อื นที่ แผนท่ี 1 แรงและแรงลพั ธ์ แบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) กลุม่ ส

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 22 อน/ ทักษะท่ีได้ การประเมิน เวลา (ช่ัวโมง) - ทกั ษะการนำความรไู้ ปใช้ ในชวี ิตประจำวนั - ตรวจใบงานท่ี 2.6 เรือ่ ง วตั ถุตกแบบ อิสระด้วยความเรง่ คงตวั - ตรวจการทำแบบฝกึ หัดจาก Unit Question 2 เร่ือง วตั ถตุ กแบบ อิสระดว้ ยความเร่งคงตัว - ตรวจแบบฝึกหดั ท่ี 6.1-6.2 เรอ่ื ง วัตถุตกแบบอิสระด้วยความเร่งคงตัว - ตรวจแบบบนั ทึกกิจกรรม เรอ่ื ง การเคลือ่ นท่ีของวัตถุที่ตกแบบ อสิ ระ - ทกั ษะการวิเคราะห์ - ตรวจแบบทดสอบหลังเรยี น 2 ) - ทกั ษะการสังเกต - สังเกตการอภปิ รายเก่ียวกับ - ทักษะการส่อื สาร ความเรว็ สมั พัทธ์ - ทกั ษะการทำงานรว่ มกนั - ตรวจผังมโนทัศน์ เรื่อง ความเรว็ - ทักษะการนำความรู้ไปใช้ สมั พทั ธ์ - ตรวจใบงานที่ 2.7 เร่อื ง ความเรว็ สมั พัทธ์ - ตรวจแบบฝึกหัดท่ี 7.1-7.3 เรอื่ ง ความเร็วสมั พทั ธ์ - ทกั ษะการวเิ คราะห์ - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น 3 ) - ทกั ษะการสังเกต - สงั เกตการทำกิจกรรมการหา จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครผู ู้ชว่ ย สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ แนวคดิ /รปู แบบการสอ วิธกี ารสอน/เทคนิค แผนที่ 2 กฎการเคลื่อนทข่ี อง แบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es นวิ ตัน (5Es Instructional Model) กลมุ่ ส

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 23 อน/ ทกั ษะท่ีได้ การประเมนิ เวลา (ชว่ั โมง) - ทักษะการส่อื สาร ขนาดและทิศทางของแรงลพั ธ์ - ทักษะการทำงานรว่ มกนั - ตรวจผังมโนทศั น์ เรือ่ ง แรง - ทกั ษะการนำความรู้ไปใช้ - สังเกตการอภปิ ราย เรอื่ ง มวลเฉื่อย - ตรวจใบงานที่ 3.1 เรอ่ื ง แรงและ แรงลพั ธ์ - ตรวจการทำแบบฝกึ หัดจาก Unit Question 3 - ตรวจแบบฝึกหัดท่ี 1.1-1.5 เรอื่ ง แรง - ตรวจแบบบนั ทึกกิจกรรม เรอ่ื ง การหาขนาดและทศิ ทางของ แรง ลพั ธ์ - ทกั ษะการวิเคราะห์ - สังเกตการทำกิจกรรมแรงกับ 8 ) - ทกั ษะการสังเกต ความเรง่ - ทักษะการสื่อสาร - ตรวจผังมโนทัศน์ เรอื่ ง กฎการ - ทักษะการทำงานรว่ มกัน เคลือ่ นทีข่ องนิวตัน - ทักษะการนำความร้ไู ปใช้ - สังเกตการอภปิ ราย เร่อื ง แรงดงึ - ทกั ษะการคิดอย่างมี ในเส้นเชือก วิจารณญาณ - ตรวจใบงานท่ี 3.2 เรือ่ ง กฎการ เคล่ือนท่ขี องนวิ ตัน - ตรวจการทำแบบฝกึ หัดจาก Unit Question 3 เรื่อง กฎการ จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผูช้ ว่ ย สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ แนวคดิ /รูปแบบการสอ วิธกี ารสอน/เทคนิค แผนท่ี 3 กฎแรงดงึ ดดู ระหวา่ ง แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es มวลของนิวตัน (5Es Instructional Model) แผนที่ 4 แรงปฏิกริ ิยาตง้ั ฉาก แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es และแรงเสยี ดทาน (5Es Instructional Model) กลุม่ ส

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 24 อน/ ทักษะที่ได้ การประเมิน เวลา (ชั่วโมง) เคลอ่ื นทข่ี องนิวตัน - ตรวจแบบฝกึ หัดที่ 2.1-2.2 เร่อื ง กฎการเคล่อื นทขี่ องนิวตนั - ตรวจแบบบนั ทกึ กิจกรรม เร่ือง แรงกบั ความเร่ง - ทกั ษะการวิเคราะห์ - ตรวจการนำเสนอขอ้ มลู การวัด 6 ) - ทกั ษะการสงั เกต ค่าแรงดงึ ดูดระหวา่ งมวลของ - ทักษะการส่อื สาร คาเวนดิช - ทักษะการทำงานรว่ มกนั - สงั เกตการอภิปรายเรอื่ งความเร่ง เน่อื งจากความโนม้ ถ่วงของโลก - ตรวจผังมโนทัศน์ เร่อื ง กฎแรง ดงึ ดดู ระหวา่ งมวลของนิวตัน - ตรวจใบงานที่ 3.3 เรื่อง กฎแรง ดงึ ดูดระหวา่ งมวลของนวิ ตนั - ตรวจการทำแบบฝกึ หดั จาก Unit Question 3 เรื่อง กฎแรงดงึ ดูด ระหว่างมวลของนวิ ตัน - ตรวจแบบฝึกหัดที่ 3.1 เร่ือง กฎแรงดงึ ดดู ระหวา่ งมวลของนิว ตนั - ทักษะการวิเคราะห์ - ตรวจการนำเสนอผลงานเรื่องแรง 6 ) - ทักษะการสงั เกต เสยี ดทานในชีวติ ประจำวัน จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ แนวคิด/รปู แบบการสอ วธิ กี ารสอน/เทคนคิ แผนที่ 5 การประยุกต์ใช้กฎการ แบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es เคลื่อนที่ของนวิ ตัน (5Es Instructional Model) กลมุ่ ส

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 25 อน/ ทกั ษะที่ได้ การประเมิน เวลา (ชวั่ โมง) - ทกั ษะการสื่อสาร - ตรวจผังมโนทัศน์ เรอื่ ง แรง - ทกั ษะการทำงานร่วมกัน ปฏิกริ ิยาตั้งฉากและแรงเสยี ดทาน - ทักษะการนำความร้ไู ปใช้ - สงั เกตการทำกจิ กรรมแรงเสยี ดทาน - ตรวจใบงานที่ 3.4 เรอ่ื ง แรงปฏิกริ ิยา ตงั้ ฉากและแรงเสยี ดทาน - ตรวจการทำแบบฝกึ หัดจาก Unit Question 3 เรือ่ ง แรงปฏกิ ิรยิ าต้ัง ฉากและแรงเสียดทาน - ตรวจแบบฝึกหดั ที่ 4.1-4.3 เรอ่ื ง แรงปฏกิ ริ ยิ าตั้งฉากและแรงเสยี ด ทาน - ตรวจแบบบันทกึ กิจกรรม เร่ือง แรงเสยี ดทาน - ทักษะการวิเคราะห์ - ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน 5 ) - ทกั ษะการสังเกต - สงั เกตการอภปิ รายเร่อื งการชง่ั - ทักษะการสือ่ สาร น้ำหนักในลิฟต์ - ทกั ษะการทำงานรว่ มกัน - ตรวจผังมโนทัศน์ เรอ่ื ง การ - ทักษะการนำความรู้ไปใช้ ประยุกต์ใช้กฎการเคลอื่ นทข่ี องนวิ ตนั - ตรวจใบงานที่ 3.5 เรอ่ื ง การ ประยกุ ต์ใช้กฎการเคลื่อนทข่ี องนวิ ตนั จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหน่ง ครูผ้ชู ่วย สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

หน่วยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ แนวคดิ /รูปแบบการสอ วธิ ีการสอน/เทคนคิ 4. การเคลอ่ื นท่ีแนวโคง้ แผนที่ 1 การเคลือ่ นท่ีแบบ แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es โพรเจกไทล์ (5Es Instructional Model) กลมุ่ ส

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 4 26 อน/ ทกั ษะทีไ่ ด้ การประเมิน เวลา (ชวั่ โมง) - ตรวจการทำแบบฝกึ หดั จาก Unit Question 3 เรอื่ ง การ ประยุกต์ใชก้ ฎการเคล่ือนท่ขี องนิว ตัน - ตรวจแบบฝกึ หัดท่ี 5.1-5.2 เรื่อง การประยุกตใ์ ชก้ ฎการเคลื่อนท่ี ของนวิ ตัน - ทักษะการวิเคราะห์ - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น 12 ) - ทักษะการสังเกต - ตรวจผลงานการนำเสนอเร่อื ง - ทกั ษะการสือ่ สาร การเคล่ือนทแี่ บบโพรเจกไทล์ใน - ทกั ษะการทำงานร่วมกนั ชีวติ ประจำวัน - ทกั ษะการนำความรู้ไปใช้ - สังเกตการทำกจิ กรรมการศกึ ษาการ - ทักษะการคิดอยา่ งมี เคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ วิจารณญาณ - ตรวจผงั มโนทศั น์ เรื่อง การ เคล่อื นทแ่ี บบโพรเจกไทล์ - ตรวจใบงานที่ 4.1 เร่อื ง การ เคลื่อนท่ีแบบโพรเจกไทล์ - ตรวจการทำแบบฝึกหัดจาก Unit Question 3 เรือ่ ง การเคล่อื นที่ แบบโพรเจกไทล์ - ตรวจแบบฝึกหัดท่ี 1.1-1.3 เรอื่ ง การ เคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

หน่วยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ แนวคดิ /รูปแบบการสอ วิธีการสอน/เทคนิค แผนที่ 2 การเคลอื่ นทแ่ี บบ แบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es วงกลม (5Es Instructional Model) กลุ่มส

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 27 อน/ ทกั ษะท่ีได้ การประเมิน เวลา (ชว่ั โมง) - ตรวจแบบบันทึกกิจกรรม เรอ่ื ง การศกึ ษาการเคลือ่ นทแี่ บบ โพรเจกไทล์ - ทักษะการวเิ คราะห์ - ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน 12 ) - ทักษะการสงั เกต - ตรวจผลงานการนำเสนอ เร่ือง - ทักษะการส่ือสาร การเคลอื่ นทแ่ี บบวงกลมใน - ทักษะการทำงานร่วมกนั ชีวติ ประจำวัน - ทักษะการนำความรไู้ ปใช้ - สงั เกตการทำกิจกรรมการศกึ ษาการ - ทักษะการคิดอยา่ งมี เคลื่อนท่แี บบวงกลม วิจารณญาณ - ตรวจผงั มโนทัศน์ เรื่อง การ เคลื่อนที่แบบวงกลม - ตรวจใบงานท่ี 4.2 เรอ่ื ง การ เคลอื่ นที่แบบวงกลม - ตรวจการทำแบบฝึกหัดจาก Unit Question 3 เรื่อง การเคล่ือนท่ี แบบวงกลม - ตรวจแบบฝกึ หัดที่ 2.1-2.3 เรือ่ ง การเคลื่อนท่ีแบบวงกลม - ตรวจแบบบันทึกกิจกรรม เรอื่ ง การศึกษาการเคลือ่ นท่ีแบบวงกลม จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหน่ง ครผู ู้ชว่ ย สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 1 หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1 การศกึ ษาวิชาฟิสกิ ส์ เวลา 8 ชั่วโมง 1. ผลการเรียนรู้ เขา้ ใจธรรมชาติทางฟิสิกส์ ปรมิ าณและกระบวนการวัด การเคลื่อนท่ีแนวตรง แรงและกฎการเคลอื่ นที่ ของนิวตัน กฎความโน้มถ่วงสากล แรงเสียดทาน สมดุลกลของวัตถุ งานและกฎการอนุรักษ์พลังงานกล โมเมนตมั และกฎการอนุรกั ษโ์ มเมนตมั การเคล่ือนทีแ่ นวโค้ง รวมทงั้ นำความร้ไู ปใช้ประโยชน์ได้ 1) สืบค้นและอธบิ ายการค้นหาความรู้ทางฟิสิกส์ ประวตั ิความเป็นมา รวมท้ังพัฒนาการของหลักการ และแนวคดิ ทางฟสิ กิ สท์ มี่ ผี ลต่อการแสวงหาความรู้ใหมแ่ ละการพฒั นาเทคโนโลยีได้ 2) วัดและรายงานผลการวัดปริมาณทางฟิสิกสไ์ ดถ้ ูกต้องเหมาะสม โดยนำความคลาดเคลื่อนในการวัด มาพิจารณาในการนำเสนอผล รวมทั้งแสดงผลการทดลองในรูปของกราฟ วิเคราะห์และแปลความหมาย จากกราฟเสน้ ตรงได้ 2. สาระการเรียนรู้ 2.1 สาระการเรียนรู้เพ่ิมเติม 1) ฟิสิกส์เป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งท่ีศึกษาเก่ียวกับสสาร พลังงาน อันตรกิริยาระหว่างสสารกับพลังงาน และแรงพืน้ ฐานในธรรมชาติ 2) การค้นคว้าหาความรู้ทางฟิสิกส์ได้มาจากการสังเกต การทดลอง และเก็บรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์ หรือจากการสร้างแบบจำลองทางความคิด เพื่อสรุปเป็นทฤษฎี หลักการหรือกฎ ความรู้เหล่านี้สามารถ นำไปใช้อธิบายปรากฏการณธ์ รรมชาติ หรือทำนายสิง่ ท่ีอาจจะเกิดขน้ึ ในอนาคต 3) ประวัตคิ วามเป็นมาและพัฒนาการของหลักการและแนวคดิ ทางฟิสกิ ส์เปน็ พนื้ ฐานในการแสวงหาความรู้ ใหม่เพ่ิมเติม รวมถึงการพัฒนาและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีก็มีส่วนในการค้นหาความรู้ใหม่ทาง วิทยาศาสตรด์ ว้ ย 4) ความรู้ทางฟิสิกส์ส่วนหนึ่งได้จากการทดลอง ซ่ึงเก่ียวข้องกับกระบวนการวัดปริมาณทางฟิสิกส์ ซึ่ง ประกอบดว้ ยตัวเลขและหนว่ ยวัด 5) ปริมาณทางฟิสิกส์สามารถวัดได้ด้วยเคร่ืองมือต่าง ๆ โดยตรงหรือทางอ้อมหน่วยท่ีใช้ในการวัดปรมิ าณ ทางวทิ ยาศาสตรค์ ือระบบหน่วยระหวา่ งชาติ เรียกยอ่ ว่า ระบบเอสไอ 6) ปริมาณทางฟิสิกส์ที่มคี ่าน้อยกว่าหรือมากกว่า 1 มาก ๆ นิยมเขยี นในรปู ของสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ หรือ เขียนโดยใช้คำนำหน้าหน่วยของระบบเอสไอ การเขียนโดยใช้สัญกรณ์วิทยาศาสตร์เป็นการเขียนเพ่ือ แสดงจำนวนเลขนัยสำคัญทถ่ี ูกต้อง จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผูช้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 2 7) การทดลองทางฟิสิกส์เก่ียวกับการวัดปริมาณต่าง ๆ การบันทึกปริมาณท่ีได้จากการวัดด้วยจำนวนเลข นัยสำคัญที่เหมาะสมและค่าความคลาดเคล่ือน การวิเคราะห์และการแปลความหมายจากกราฟ เช่น การหาความชันจากกราฟเสน้ ตรง จดุ ตดั แกนพน้ื ท่ีใต้กราฟ เปน็ ตน้ 8) การวัดปริมาณต่าง ๆ จะมีความคลาดเคลอ่ื นเสมอข้ึนอยู่กับเครื่องมือ วิธีการวดั และประสบการณ์ของ ผวู้ ดั ซึง่ คา่ ความคลาดเคล่อื นสามารถแสดงในการรายงานผลทัง้ ในรูปแบบตัวเลขและกราฟ 9) การวัดควรเลือกใช้เคร่ืองมือวัดให้เหมะสมกับส่ิงท่ีต้องการวัด เช่น การวัดความยาวของวัตถุท่ีต้องการ ความละเอียดสงู อาจใชเ้ วอร์เนียรแ์ คลลเิ ปริ ส์ หรอื ไมโครมิเตอร์ 10) ฟิสกิ ส์อาศยั คณิตศาสตร์เป็นเครอ่ื งมอื ในการศกึ ษาค้นคว้า และการส่อื สาร 2.2 สาระการเรยี นรู้ท้องถิน่ (พจิ ารณาตามหลกั สตู รสถานศึกษา) 3. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด ฟิสิกส์เป็นวชิ าวทิ ยาศาสตร์กายภาพสาขาหนึ่งที่เน้นการศึกษาเชิงปรมิ าณ ซ่ึงเป็นวิทยาศาสตร์เชิงปฏิบัติ ทฤษฎี หรือกฎ หรือหลกั การฟิสิกส์ได้มาจากการทดลองและการสงั เกตปรากฏการณ์ธรรมชาติ แล้วพยายามหารูปแบบและ หลกั การท่ีเกี่ยวข้องกับปรากฏการณ์นนั้ ๆ จนเป็นท่ียอมรับและใชก้ ันอยา่ งกว้างขวาง เพอ่ื นำไปสู่การสร้างส่ิงใหม่ ๆ มาชว่ ยในการแก้ปญั หา การสรา้ งเครื่องอำนวยความสะดวก ท่เี รยี กวา่ เทคโนโลยี ปริมาณที่อธิบายปรากฏการณ์ทางฟิสิกส์ หรือการเปลี่ยนแปลงของปริมาณท่สี ังเกตอาจจะความยาว มวล เวลา ความเร่งและความดัน เปน็ ต้น ปริมาณเหล่านจี้ ะถูกแยกเป็นปรมิ าณฐานและปริมาณอนุพนั ธ์ การกำหนดหนว่ ยตา่ ง ๆ จึงต้องกำหนดให้เข้าใจตรงกันโดยใช้ระบบหน่วยระหว่างชาติ (SI Unit) ตัวพหุคูณที่ใช้เขียนแทนหน่วยฐานหรือ หน่วยอนพุ ันธท์ ี่มีคา่ มากหรอื น้อยเกินไป เรยี กวา่ คำอุปสรรค วิชาฟิสิกส์เป็นวิชาท่ีต้องทดลอง ค้นหาคำตอบและความจริงมาวิเคราะห์ อธิบาย ความสำคัญของการบันทึก ข้อมูลจึงนับว่าจำเป็น โดยตัวเลขที่ได้จากการวัดจึงมีความสำคัญ และมีความหมาย ตัวเลขเหล่าน้ีจึงมีนัยสำคัญ เรียกว่า เลขนัยสำคัญ แต่ความถูกต้องแม่นยำน้ันจะไม่ 100% เนื่องจากเครื่องมือและตัวผู้วัดเอง จึงต้องมีค่า คลาดเคลอ่ื น (คา่ ความไมแ่ น่นอนของการวดั ) จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 3 4. สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี นและคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. มวี นิ ยั 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 1) ทักษะการคิดวเิ คราะห์ 3. มงุ่ ม่ันในการทำงาน 2) ทักษะการสงั เกต 3) ทกั ษะการสอ่ื สาร 4) ทกั ษะการทำงานรว่ มกนั 5) ทกั ษะการนำความรู้ไปใช้ 3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต 5. ช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) - แบบบันทกึ กิจกรรม เร่ือง การหาปรมิ าตรของหนังสือเรยี น - ใบงานท่ี 1.1 เรอื่ ง ธรรมชาตขิ องฟสิ กิ ส์ - ใบงานท่ี 1.2 เร่ือง การวัดปริมาณและหน่วยทางฟิสิกส์ - ใบงานท่ี 1.3 เรือ่ ง เลขนยั สำคัญ - ผงั มโนทัศน์ เรื่อง ธรรมชาตแิ ละสาขาความรู้ของวชิ าฟิสกิ ส์ - ผังมโนทัศน์ เร่ือง การวัดปรมิ าณและหนว่ ยทางฟิสกิ ส์ - ผังมโนทศั น์ เร่ือง เลขนยั สำคญั 6. การวัดและการประเมินผล รายการวัด วิธีวดั เครอ่ื งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ แบบประเมนิ ชนิ้ งาน/ ระดบั คณุ ภาพ 2 6.1 การประเมนิ ช้นิ งาน/ - ตรวจผงั มโนทัศน์ ภาระงาน ผา่ นเกณฑ์ ภาระงาน (รวบยอด) เรอ่ื ง ธรรมชาตแิ ละ แบบทดสอบก่อนเรียน ประเมินตามสภาพจรงิ สาขาความรู้ของวิชา ฟิสิกส์ - ตรวจผังมโนทศั น์ เร่อื ง การวัดปริมาณ และหน่วยทางฟิสิกส์ - ตรวจผงั มโนทศั น์ เร่อื ง เลขนัยสำคญั 6.2 การประเมนิ ก่อนเรยี น ตรวจแบบทดสอบ จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผ้ชู ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 4 รายการวดั วธิ ีวัด เครอ่ื งมอื เกณฑ์การประเมนิ - แบบทดสอบกอ่ นเรียน กอ่ นเรียน หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ เร่อื ง การศกึ ษาวชิ า รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ฟิสกิ ส์ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 6.3 การประเมินระหว่างการ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ จัดกิจกรรม 1) ธรรมชาติและสาขา - ตรวจใบงานท่ี 1.1 - ใบงานที่ 1.1 ความร้ขู องวิชา - ตรวจแบบฝึกหดั ที่ - แบบฝกึ หัดท่ี 1.1, 2.1 ฟิสกิ ส์ 1.1, 2.1 2) การวัดปริมาณและ - ตรวจใบงานที่ 1.2 - ใบงานท่ี 1.2 หน่วยทางฟิสิกส์ - ตรวจแบบฝึกหดั ท่ี 3.1 - แบบฝึกหัดท่ี 3.1 3) เลขนยั สำคัญ - ตรวจใบงานที่ 1.3 - ใบงานที่ 1.3 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - แบบฝึกหัดท่ี 4.1-4.5 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ - ตรวจแบบฝกึ หัดท่ี - ผลงานที่นำเสนอ ระดบั คุณภาพ 2 4.1-4.5 ผา่ นเกณฑ์ - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2 3) การนำเสนอผลงาน - ประเมินการนำเสนอ การทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดบั คณุ ภาพ 2 ผลงาน การทำงานกล่มุ ผา่ นเกณฑ์ - แบบประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ 2 4) พฤตกิ รรม - สังเกตพฤตกิ รรม คณุ ลักษณะ ผา่ นเกณฑ์ อันพงึ ประสงค์ การทำงานรายบคุ คล การทำงานรายบคุ คล แบบทดสอบหลงั เรยี น รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 5) พฤตกิ รรม - สงั เกตพฤตกิ รรม การทำงานกลมุ่ การทำงานกลุ่ม 6) คณุ ลกั ษณะ - สังเกตความมีวนิ ัย อนั พงึ ประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมน่ั ในการทำงาน 6.4 การประเมินหลงั เรยี น ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบหลงั เรยี น หลงั เรยี น หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 เร่ือง การศกึ ษาทาง ฟิสิกส์ จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผ้ชู ว่ ย กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 5 7. กจิ กรรมการเรยี นรู้ เวลา 2 ช่วั โมง • แผนท่ี 1 : ธรรมชาติของฟสิ ิกส์ เวลา 3 ชวั่ โมง วิธสี อนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) เวลา 3 ช่ัวโมง • แผนท่ี 2 : การวัดปรมิ าณและหนว่ ยทางฟสิ ิกส์ (รวม 8 ชว่ั โมง) วธิ สี อนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) • แผนท่ี 3 : เลขนยั สำคญั วธิ ีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) 8. สื่อ/แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 สือ่ การเรยี นรู้ 1) หนังสอื เรียน รายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์ ม.4 เลม่ 1 หนว่ ยการเรียนท่ี 1 การศึกษาทางฟสิ ิกส์ 2) ใบงานท่ี 1.1 เรื่อง ธรรมชาตขิ องฟสิ ิกส์ 3) ใบงานท่ี 1.2 เรอ่ื ง การวัดปริมาณและหนว่ ยทางฟสิ กิ ส์ 4) ใบงานท่ี 1.3 เรื่อง เลขนยั สำคญั 5) แบบฝกึ หดั หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 1 การศกึ ษาทางฟสิ กิ ส์ 6) PowerPoint เรื่อง ฟสิ ิกส์ 8.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1) ห้องเรียน 2) หอ้ งสมดุ 3) แหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผูช้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 6 แบบทดสอบกอ่ นเรียน หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 1 คำช้แี จง : ใหน้ กั เรยี นเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดต่อไปน้ีเป็นส่ิงท่ีนักวิทยาศาสตร์ใช้พิสูจน์ 6. นักเรยี นคนหนง่ึ ใชไ้ มโครมิเตอร์วัดเสน้ ผ่านศูนย์กลางของเส้นผม ความจริงต่าง ๆ ได้ 3.004 มลิ ลเิ มตร คา่ ทว่ี ดั ได้จะมเี ลขนัยสำคัญก่ีตัว 1. ความเชอ่ื 2. ทฤษฎี 1. 1 ตวั 2. 2 ตัว 3. การสังเกต 4. การทดลอง 3. 3 ตัว 4. 4 ตัว 5. การบันทึกข้อมูล 5. 5 ตัว 2. ต้นวัดเส้นผ่านศูนย์กลางของเหรียญอันหน่ึง 3 คร้ัง 7. ข้อใดคือผลรวมของ 2.50 มิลลิเมตร และ 7.2 เซนติเมตร ได้เท่ากับ 2.542, 2.532 และ 2.54 เซนติเมตร ตามหลักเลขนยั สำคญั ค่าเฉลยี่ ของเหรียญเป็นเท่าไร 1. 7.4 เซนติเมตร 2. 7.45 เซนตเิ มตร 1. 2.54 เซนตเิ มตร 3. 7.450 เซนติเมตร 4. 7.5 เซนตเิ มตร 2. 2.542 เซนติเมตร 5. 7.55 เซนตเิ มตร 3. 2.53 เซนติเมตร 8. จงหาผลรวมของ 3.15 × 10-3 และ 7.54 × 10-2 ตามหลัก 4. 2.532 เซนติเมตร เลขนัยสำคญั 5. 2.538 เซนติเมตร 1. 7.855 × 10-3 2. 78.55 × 10-3 3. ขอ้ ใดคอื ปรมิ าณเวกเตอร์ท้ังหมด 3. 7.86 × 10-2 4. 10.94 × 10-2 1. มวล น้ำหนกั พลงั งาน 5. 7.855 × 10-4 2. ความเรว็ ความเร่ง การกระจัด 9. เลขนัยสำคญั คอื อะไร 3. โมเมนตมั แรง พลงั งาน 1. เลขที่วัดได้จรงิ ๆ จากเครอ่ื งมอื วดั 4. ความเร่ง การกระจัด ระยะทาง 2. เลขท่ีอ่านได้จากเคร่ืองมือวัดแบบขีดสเกลรวมกับตัวเลขท่ี 5. เวลา ปรมิ าตร ความหนาแน่น ประมาณอกี 1 ตัว 4. ความยาว 0.000007 เมตร มีคา่ ตรงกับขอ้ ใด 3. เลขท่ปี ระมาณขึ้นมาในการวัด 1. 7 ไมโครเมตร 2. 7.0 × 10-5 เมตร 4. เลขท่บี อกความละเอียดของเครอื่ งมือวดั 3. 7 นาโนเมตร 4. 7.0 × 10-4 เมตร 5. ข้อ 1. และ 2. ถูก 5. 7 เมกะเมตร 10. นำแผน่ ไมส้ เ่ี หลีย่ มผืนผ้ามาวัดความกว้างได้ 12.5 ± 0.1 เมตร 5. การอ่านค่าจากเคร่ืองวัดแบบแสดงผลด้วยตัวเลขมี และวดั ความยาวได้ 20.0 ± 0.2 เมตร จงหาพน้ื ที่ของแผ่นไม้ หลักการอย่างไร 1. (2.50 ± 0.05) × 102 ตารางเมตร 1. ประมาณความคลาดเคลอ่ื นทกุ ครงั้ 2. (2.80 ± 0.03) × 102 ตารางเมตร 2. อา่ นตามทเี่ หน็ จรงิ ๆ จากจอภาพ 3. (2.50 × 102 ± 0.05) ตารางเมตร 3. ต้องประมาณตวั เลขตัวสดุ ท้าย 1 ตวั 4. (2.80 × 102 ± 0.03) ตารางเมตร 4. ต้องวัดหลายครัง้ แลว้ หาค่าเฉลี่ย 5. (2.50 ± 0.03) × 102 ตารางเมตร 5. ให้หนา้ จอแสดงผลอย่ใู นระดบั สายตา เฉลย 1. 4 2. 5 3. 2 4. 1 5. 2 6. 4 7. 4 8. 3 9. 2 10. 1 จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 7 แบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 คำช้แี จง : ใหน้ ักเรยี นเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ต้นวัดเส้นผ่านศูนย์กลางของเหรียญอันหนึ่ง 3 6. นาแผ่นไมส้ ่เี หลยี่ มผนื ผ้ามาวดั ความกวา้ งได้ 12.5 ± 0.1 เมตร ค รัง้ ได้เท่ ากับ 2.542 , 2.532 แ ละ 2.54 และวดั ความยาวได้ 20.0 ± 0.2 เมตร จงหาพน้ื ทขี่ องแผน่ ไม้ เซนตเิ มตร คา่ เฉลย่ี ของเหรยี ญเป็นเท่าไร 1. (2.80 ± 0.03) × 102 ตารางเมตร 1. 2.538 เซนตเิ มตร 2. (2.50 ± 0.05) × 102 ตารางเมตร 2. 2.532 เซนตเิ มตร 3. (2.50 × 102 ± 0.05) ตารางเมตร 3. 2.53 เซนตเิ มตร 4. (2.80 × 102 ± 0.03) ตารางเมตร 4. 2.542 เซนตเิ มตร 5. (2.50 ± 0.03) × 102 ตารางเมตร 5. 2.54 เซนตเิ มตร 7. นกั เรยี นคนหน่งึ ใชไ้ มโครมเิ ตอรว์ ดั เส้นผา่ นศูนยก์ ลางของเส้น 2. ข้อใดต่อไปน้ีเป็ นส่ิงท่ีนักวิทยาศาสตร์ใช้พิสูจน์ ผม ได้ 3.004 มลิ ลเิ มตร ค่าทว่ี ดั ไดจ้ ะมเี ลขนยั สาคญั กตี่ วั ความจรงิ ตา่ ง ๆ 1. 5 ตวั 2. 4 ตวั 1. การทดลอง 2. การบนั ทกึ ขอ้ มูล 3. 3 ตวั 4. 2 ตวั 3. ความเช่อื 4. ทฤษฎี 5. 1 ตวั 5. การสงั เกต 8. จงหาผลรวมของ 3.15 × 10-3 และ 7.54 × 10-2 ตาม 3. ขอ้ ใดคอื ปรมิ าณเวกเตอรท์ งั้ หมด หลัก เลขนยั สาคญั 1. โมเมนตมั แรง พลงั งาน 1. 7.855 × 10-3 2. 78.55 × 10-3 2. เวลา ปรมิ าตร ความหนาแน่น 3. 7.86 × 10-2 4. 10.94 × 10-2 3. ความเร่ง การกระจดั ระยะทาง 4. มวล น้าหนัก พลงั งาน 5. 7.855 × 10-4 5. ความเรว็ ความเรง่ การกระจดั 4. การอา่ นค่าจากเครอ่ื งวดั แบบแสดงผลดว้ ยตวั เลขมี 9. ข้อใดคือผลรวมของ 2.50 มิลลิเมตร และ 7.2 เซนติเมตร หลกั การอย่างไร 1. ประมาณความคลาดเคลอ่ื นทุกครงั้ ตามหลกั เลขนัยสาคญั 1. 7.4 เซนตเิ มตร 2. 7.45 เซนตเิ มตร 3. 7.450 เซนตเิ มตร 4. 7.5 เซนตเิ มตร 5. 7.55 เซนตเิ มตร 2. อา่ นตามทเี่ หน็ จรงิ ๆ จากจอภาพ 10. เลขนยั สาคญั คอื อะไร 1. เลขทว่ี ดั ไดจ้ รงิ ๆ จากเครอ่ื งมอื วดั 3. ตอ้ งประมาณตวั เลขตวั สดุ ทา้ ย 1 ตวั 2. เลขทอ่ี า่ นไดจ้ ากเครอ่ื งมอื วดั แบบขดี สเกลรวมกบั ตวั เลขที่ ประมาณอกี 1 ตวั 4. ต้องวดั หลายครงั้ แลว้ หาค่าเฉลยี่ 3. เลขทปี่ ระมาณขน้ึ มาในการวดั 4. เลขทบี่ อกความละเอยี ดของเครอ่ื งมอื วดั 5. ใหห้ น้าจอแสดงผลอยใู่ นระดบั สายตา 5. ขอ้ 1. และ 2. ถกู 5. ความยาว 0.000007 เมตร มคี ่าตรงกบั ขอ้ ใด 1. 7 ไมโครเมตร 2. 7.0 × 10-5 เมตร 3. 7 นาโนเมตร 4. 7.0 × 10-4 เมตร 5. 7 เมกะเมตร เฉลย 1. 1 2. 1 3. 5 4. 1 5. 1 6. 2 7. 2 8. 3 9. 4 10. 2 จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 8 แบบประเมินชนิ้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ แบบประเมินผลงานผังมโนทศั น์ คำชแี้ จง : ให้ผสู้ อนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนกั เรียนตามรายการที่กำหนด แลว้ ขดี ✓ลงในช่องท่ตี รงกบั ระดบั คะแนน ลำดบั ที่ รายการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ 4 3 21 1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์ 2 ความถกู ตอ้ งของเนอื้ หา 3 ความคิดสร้างสรรค์ 4 ความตรงตอ่ เวลา รวม ลงชอื่ ................................................... ผปู้ ระเมิน ............../................./................ จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 9 เกณฑ์ประเมินผงั มโนทัศน์ ประเด็นทป่ี ระเมิน 4 ระดับคะแนน 1 32 1. ผลงานตรงกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผ ล งานไม่ส อดค ล้อ ง จดุ ประสงคท์ ่กี ำหนด จุดประสงคท์ กุ ประเดน็ จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงคบ์ างประเด็น กบั จุดประสงค์ 2. ผลงานมคี วาม เนื้อหาสาระของผลงาน เน้ือหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เน้ือหาสาระของผลงาน ถกู ตอ้ งสมบูรณ์ ถูกตอ้ งครบถว้ น ถูกตอ้ งเป็นส่วนใหญ่ ถูกตอ้ งเป็นบางประเด็น ไม่ถูกตอ้ งเปน็ สว่ นใหญ่ 3. ผลงานมคี วามคดิ ผ ล งานแส ดงออกถึง ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่แสดงแนวคิด สรา้ งสรรค์ ค วามคิด ส ร้างส รรค์ ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิดแปลก ใหม่ แ ป ล ก ให ม่ แ ล ะ เป็ น ใหม่ ระบบ 4. ผลงานมคี วามเปน็ ผ ล ง า น มี ค ว า ม เป็ น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผ ล ง า น มี ค ว า ม เป็ น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป็ น ระเบี ยบ แต่ ยังมี ระเบยี บแตม่ ีขอ้ บกพร่อง ร ะ เบี ย บ แ ล ะ มี ข้ อ ความประณตี ข้อบกพรอ่ งเลก็ นอ้ ย บางส่วน บกพรอ่ งมาก เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ 14–16 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตำ่ กว่า 8 ปรับปรงุ จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผ้ชู ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 10 แบบประเมินการปฏิบตั ิการ คำช้ีแจง : ใหผ้ ู้สอนประเมินการปฏบิ ัตกิ ารของนักเรยี นตามรายการทก่ี ำหนด แลว้ ขีด ✓ ลงในชอ่ งที่ตรงกบั ระดับคะแนน ลำดบั ที่ รายการประเมิน ระดบั คะแนน 4321 1 การปฏิบตั ิการทดลอง 2 ความคลอ่ งแคล่วในขณะปฏบิ ัตกิ าร รวม 3 การนำเสนอ ลงชอ่ื ................................................... ผูป้ ระเมนิ ................./................../.................. จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 11 เกณฑ์การประเมนิ การปฏิบัตกิ าร ประเด็นทีป่ ระเมนิ 4 ระดับคะแนน 1 ทำการทดลองตาม 32 1. การปฏิบัติการ ข้นั ตอน และใชอ้ ุปกรณ์ ทำการทดลองตาม ตอ้ งให้ความชว่ ยเหลอื ตอ้ งให้ความชว่ ยเหลือ ทดลอง ได้อยา่ งถูกต้อง ข้ันตอน และใชอ้ ปุ กรณ์ บา้ งในการทำการ อยา่ งมากในการทำการ ได้อยา่ งถูกต้อง แต่อาจ ทดลอง และการใช้ ทดลอง และการใช้ ต้องไดร้ บั คำแนะนำบา้ ง อุปกรณ์ อุปกรณ์ 2. ความ มีความคลอ่ งแคลว่ มีความคล่องแคล่ว ขาดความคล่องแคล่ว ทำการทดลองเสร็จไม่ คลอ่ งแคล่ว ในขณะทำการทดลอง ในขณะทำการทดลอง ในขณะทำการทดลอง ทนั เวลา และทำ ในขณะ โดยไมต่ อ้ งได้รับคำ แต่ต้องได้รับคำแนะนำ จึงทำการทดลองเสรจ็ อปุ กรณเ์ สยี หาย ปฏิบัตกิ าร ชแี้ นะ และทำการ บ้าง และทำการทดลอง ไมท่ ันเวลา เสร็จทนั เวลา ตอ้ งใหค้ วามชว่ ยเหลือ ทดลองเสร็จทนั เวลา ตอ้ งใหค้ ำแนะนำในการ อยา่ งมากในการบนั ทกึ บนั ทกึ และสรปุ ผลการ บนั ทกึ สรปุ และ สรุป และนำเสนอผล 3. การบนั ทึก สรุป บันทกึ และสรปุ ผลการ ทดลองได้ถูกต้อง แต่ นำเสนอผลการทดลอง การทดลอง และนำเสนอผล ทดลองได้ถกู ต้อง รัดกุม การนำเสนอผลการ การทดลอง นำเสนอผลการทดลอง ทดลองยงั ไมเ่ ป็น เป็นข้ันตอนชดั เจน ข้ันตอน เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 10-12 ดีมาก 7-9 ดี 4-6 พอใช้ 0-3 ปรบั ปรงุ จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook