แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 232 แบบประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ คำชีแ้ จง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ✓ลงในช่องท่ี ตรงกบั ระดับคะแนน คุณลักษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน อันพงึ ประสงค์ดา้ น 321 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 1.1 ยนื ตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาติได้ 1.2 เข้ารว่ มกิจกรรมท่สี รา้ งความสามคั คีปรองดอง และเปน็ ประโยชน์ ต่อโรงเรียน 1.3 เข้ารว่ มกจิ กรรมทางศาสนาทต่ี นนบั ถอื ปฏิบัตติ ามหลกั ศาสนา 1.4 เขา้ รว่ มกจิ กรรมทเี่ กีย่ วกับสถาบันพระมหากษัตรยิ ต์ ามทีโ่ รงเรียนจดั ขึ้น 2. ซอ่ื สัตย์ สจุ ริต 2.1 ใหข้ อ้ มูลทถ่ี ูกตอ้ งและเปน็ จรงิ 2.2 ปฏบิ ตั ใิ นสิ่งทถ่ี กู ตอ้ ง 3. มีวนิ ัย รับผดิ ชอบ 3.1 ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บงั คบั ของครอบครวั มคี วามตรงตอ่ เวลาในการปฏบิ ตั ิกิจกรรมตา่ ง ๆ ในชวี ิตประจำวนั 4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 รจู้ ักใช้เวลาว่างให้เปน็ ประโยชน์ และนำไปปฏิบัตไิ ด้ 4.2 รู้จกั จัดสรรเวลาใหเ้ หมาะสม 4.3 เช่ือฟังคำสง่ั สอนของบดิ า-มารดา โดยไมโ่ ต้แย้ง 4.4 ตั้งใจเรียน 5. อยู่อย่างพอเพียง 5.1 ใชท้ รพั ยส์ ินและสิ่งของของโรงเรยี นอยา่ งประหยดั 5.2 ใชอ้ ปุ กรณก์ ารเรียนอยา่ งประหยดั และร้คู ณุ คา่ 5.3 ใช้จา่ ยอย่างประหยดั และมีการเกบ็ ออมเงนิ 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 6.1 มีความต้ังใจและพยายามในการทำงานทีไ่ ด้รับมอบหมาย 6.2 มคี วามอดทนและไม่ท้อแท้ตอ่ อปุ สรรคเพ่อื ใหง้ านสำเร็จ 7. รกั ความเปน็ ไทย 7.1 มีจิตสำนึกในการอนุรกั ษว์ ัฒนธรรมและภูมิปญั ญาไทย 7.2 เหน็ คณุ คา่ และปฏบิ ัตติ นตามวฒั นธรรมไทย 8. มจี ติ สาธารณะ 8.1 รจู้ ักชว่ ยพ่อแม่ ผ้ปู กครอง และครูทำงาน 8.2 ร้จู กั การดูแลรกั ษาทรัพยส์ มบตั แิ ละสิง่ แวดลอ้ มของห้องเรียนและโรงเรยี น ลงชอื่ .................................................. ผูป้ ระเมิน ............/.................../................ เกณฑ์การให้คะแนน พฤติกรรมทป่ี ฏิบัตชิ ัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ พฤติกรรมท่ปี ฏิบตั ชิ ัดเจนและบ่อยครง้ั ให้ 2 คะแนน 51–60 ดีมาก พฤตกิ รรมท่ปี ฏิบตั บิ างครั้ง ให้ 1 คะแนน 41–50 ดี 30–40 พอใช้ ต่ำกวา่ 30 ปรับปรุง จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่
แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 61 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรยี นที่ 1/2563 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า ฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 4 การเคล่ือนทแ่ี นวโค้ง จำนวนเวลาทีส่ อน 12 ช่ัวโมง เรอ่ื ง การเคลอื่ นทแี่ บบโพรเจกไทล์ ครูผสู้ อน นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา 1. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด (ความเขา้ ใจท่ีคงทน) การเคล่ือนท่แี บบโพรเจกไทล์ เปน็ การเคลือ่ นท่เี ป็นแนววิถโี คง้ ภายใตแ้ รงเนื่องจากสนามโน้มถ่วงของโลก ท่ี วตั ถเุ คลื่อนทใี่ นสองแนวพรอ้ ม ๆ กนั คือการเคล่ือนท่ีในแนวระดับและแนวดง่ิ แรงทกี่ ระทำตอ่ วตั ถมุ ีทิศทางคงตัว ตลอดเวลา โดยทำมุมใด ๆ กบั ทศิ ของความเร็ว 2. ผลการเรยี นรู้ อธิบาย วิเคราะห์ และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ และทดลอง การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ได้ 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ (Knowledge) 1) อธิบายความหมาย ลกั ษณะของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทลไ์ ด้ 3.2 ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ (Skill/Process) 2) ทำการทดลองหาแนวทางการเคลือ่ นทแ่ี บบโพรเจกไทลไ์ ด้ 3) เขียนกราฟระหว่างแนวทางการเคลอ่ื นทใ่ี นแนวระดบั และแนวด่ิงของการเคลื่อนทแ่ี บบโพรเจกไทลไ์ ด้ 3.3 ด้านเจตคติ (Attitude) 4) มที ักษะการทำงานร่วมกับผู้อน่ื และมเี จตคติทางวิทยาศาสตร์ 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 เน้ือหาสาระหลกั : Knowledge (ผเู้ รียนตอ้ งรู้อะไร) - การเคล่ือนที่แนวโค้งพาราโบลาภายใต้สนามโน้มถ่วง โดยไมค่ ดิ แรงต้านของอากาศเป็นการเคลื่อนที่แบบ โพรเจกไทล์ วัตถุมีการเปล่ียนตำแหนง่ ในแนวดงิ่ และแนวระดับพร้อมกัน และเปน็ อิสระต่อกัน สำหรับการเคล่ือนที่ ในแนวด่ิงเป็นการเคลือ่ นท่ที ี่มีแรงโนม้ ถว่ งกระทำจึงมีความเรว็ ไม่คงตวั ปริมาณตา่ ง ๆ มคี วามสัมพันธ์ตามสมการ vy = uy + ayt ∆y = (uy+vy) t 2 จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่
แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 62 ∆y = uyt + 1 ayt2 2 vy2 = u2y + 2ay∆y ส่วนการเคลื่อนที่ในแนวระดับไม่มีแรงกระทำจึงมีความเร็วคงตัว ตำแหน่ง ความเร็ว และเวลา มี ความสมั พันธ์ตามสมการ ∆x = uxt 4.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process (ผู้เรียนสามารถปฏบิ ัติอะไรได)้ - ทกั ษะการวเิ คราะห์ - ทักษะการสงั เกต - ทักษะการสอ่ื สาร - ทักษะการทำงานรว่ มกัน - ทักษะการนำความรูไ้ ปใช้ - ทกั ษะการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ 4.3 คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ : Attitude (ผเู้ รยี นควรแสดงพฤตกิ รรมการเรียนอะไรบา้ ง) - มีวินยั - ใฝเ่ รียนรู้ - มงุ่ มั่นในการทำงาน 5. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียนและคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. ความสามารถในการส่อื สาร 1. มีวนิ ยั 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรียนรู้ 1) ทักษะการคดิ วิเคราะห์ 3. มุ่งมนั่ ในการทำงาน 2) ทกั ษะการสงั เกต 3) ทกั ษะการสือ่ สาร 4) ทักษะการทำงานรว่ มกัน 5) ทักษะการนำความร้ไู ปใช้ 6) ทกั ษะการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ 3. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 4 63 6. กิจกรรมการเรียนรู้ แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธกี ารสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชั่วโมงท่ี 1 ขน้ั นำ กระต้นุ ความสนใจ (Engage) 1. ครูตรวจสอบความพร้อมของนักเรียน โดยให้ทำแบบทดสอบก่อนเรยี นจำนวน 10 ข้อ แล้วแจง้ จุดประสงค์ การเรียนรูใ้ ห้นกั เรียนทราบ ก่อนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 2. ครกู ระต้นุ ความสนใจของนักเรยี นโดยพูดคยุ สนทนาประสบการณ์เกี่ยวกบั การเคลอ่ื นทขี่ องวตั ถุต่าง ๆ ใน ชีวิตประจำวัน ทัง้ ท่เี ป็นไปโดยธรรมชาติ และทม่ี นษุ ย์ทำให้เกดิ ขน้ึ เชน่ ใบไม้ไหว ลกู บาสบอลท่ีกำลังลอย เข้าห่วง สายน้ำที่พุ่งออกจากหัวฉีด รถเลี้ยวโค้งในถนนโค้ง การหมุนของพัดลม ล้อรถกำลังหมุน การ เคล่อื นทีข่ องดาวเทยี ม เป็นต้น 2. ครูถามคำถามกระตุ้นนักเรียนจากภาพหน้าหน่วย โดยถามคำถาม BIG QUESTION จากหนังสือเรียน หน้า 146 ว่า การยิงธนูไปยังเป้า เป็นการลักษณะการเคลื่อนที่แบบใด (เปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดง ความคิดเห็นโดยไม่เน้นถูกผิด) (แนวตอบ : เปน็ ลกั ษณะการเคลื่อนทเี่ ป็นแนวโคง้ หรอื เป็นการเคล่ือนทีแ่ บบโพรเจกไทล์) 3. นักเรียนช่วยกันอภิปรายและแสดงความคิดเห็นคำตอบจากคำถาม เพื่อเชื่อมโยงไปสู่การจัดการเรียนรู้ เรอื่ งการเคลอ่ื นที่แบบโพรเจกไทล์ ชว่ั โมงท่ี 2 ขน้ั สอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูถามคำถาม Prior Knowledge ว่า ลักษณะการเคลื่อนที่ของลูกบาสเกตบอลที่ถูกโยนลงห่วงเป็น อยา่ งไร โดยครใู ห้นกั เรียนดภู าพการเคล่ือนทข่ี องลูกบาสเกตบอล ในหนงั สือเรยี น หน้า 147 (แนวตอบ : การเคลอื่ นทข่ี องวัตถุในลกั ษณะเปน็ แนวโคง้ หรือแบบโพรเจกไทล)์ 2. ครูถามนักเรียนด้วยคำถามตอ่ ไปนี้ - เหตุใดเม่อื โยนลกู บาสเกตบอลออกไปแลว้ ลกู จึงโค้งตกลงมาเสมอ (แนวตอบ : มแี นวโน้มถว่ งของโลกกระทำ) - วตั ถทุ ี่มีลักษณะการเคลอ่ื นทีเ่ ชน่ เดียวกบั ลูกบาสเกตบอลมอี ะไรอกี บา้ ง (แนวตอบ : การรดนำ้ ตน้ ไม้ การโยนวัตถใุ นแนวโค้ง และการเล่นกีฬาหลายชนิด เชน่ วอลเลย์บอล ฟตุ บอล เทนนิส แชรบ์ อล ฯลฯ) จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผ้ชู ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่
แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 64 3. ครตู รวจสอบความรู้พ้ืนฐานเดมิ ของนกั เรยี น โดยให้ทำใบงานที่ 4.1 เรอื่ ง ทบทวนความรู้พื้นฐานเก่ียวกับ การเคล่อื นที่ 4. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั เฉลยใบงาน เพอื่ เปน็ การทบทวนความรพู้ ืน้ ฐานทเี่ ก่ียวข้องกับการเคล่อื นที่ แล้วจัด กิจกรรมการเรียนต่อไป ขน้ั สอน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ โดยชี้ให้เห็นว่า การเคลื่อนที่แบบโพรเจก ไทล์ คือ การเคลื่อนท่ีของวัตถุในลักษณะเป็นแนวโค้งพาราโบลาตัวอย่าง เช่น การเคลื่อนท่ีของลูกธนู การเคลื่อนท่ีของลูกบาสเกตบอล เป็นต้น โดยเป็นการเคลื่อนท่ีในลักษณะ 2 มิติ คือเคล่ือนที่ในแนว ระดับและแนวดิ่งพร้อมกันและในเวลาที่เท่ากัน โดยการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเป็นการเคลื่อนที่ที่มี ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก ในขณะท่ีการเคลื่อนท่ีในแนวระดับไม่มีความเร่ง 2. ครเู ปดิ โอกาสให้นกั เรียนได้สอบถามในส่วนท่มี ีขอ้ สงสัยเก่ยี วกบั การเคลอื่ นทีแ่ บบโพรเจกไทล์ในเบอื้ งต้น ขน้ั สรุป ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครนู ำนักเรยี นอภปิ รายและสรปุ เกีย่ วกบั การเคลอ่ื นทีแ่ บบโพรเจกไทล์ ดังน้ี • การเคล่ือนทีแ่ บบโพรเจกไทล์ คอื การเคลอ่ื นทขี่ องวตั ถทุ เ่ี ป็นแนวโค้งพาราโบลา • การเคลื่อนที่สองแนวตั้งฉากกันและเกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน ได้แก่ การเคลื่อนที่ในแนวระดับและ การเคลื่อนทีใ่ นแนวดง่ิ • กิจกรรมหลายอยา่ งที่เห็นในชีวิตประจำวัน เช่น การโยนผลไม้ของชาวสวน การโยนและรับถังปนู ของช่างก่อสร้าง และการเล่นกีฬาหลายชนิด เช่น วอลเลย์บอล ฟุตบอล เทนนิส แชร์บอล หรือ กจิ กรรมทีต่ อ้ งมีการโยนหรือขว้างวัตถุ 2. ครเู ปิดโอกาสใหน้ ักเรียนสอบถามเนื้อหาเรื่อง การเคลือ่ นท่ีแบบโพรเจกไทล์ วา่ มสี ่วนไหนทย่ี งั ไมเ่ ขา้ ใจและ ใหค้ วามร้เู พม่ิ เติมในส่วนน้นั เพอ่ื เป็นความรนู้ ำไปสูก่ ารศกึ ษาเกี่ยวกับเงื่อนไงของการเคล่อื นที่แบบโพรเจก ไทล์ 3. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยคำถามจาก Unit Question 4 และทำแบบฝึกหัด เรื่อง การเคลื่อนที่แบบ โพรเจกไทล์ จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 65 ชั่วโมงท่ี 3-4 3-4ขน้ั นำ กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครทู บทวนความรเู้ ก่ยี วกับลักษณะของการเคลอื่ นทแี่ บบโพรเจกไทล์ 2. ครูใหน้ กั เรียนพิจารณาภาพแสดงลูกบอลทต่ี กในแนวระดบั และในแนวดง่ิ ตามรายละเอียดในหนังสือเรียน หนา้ 148 3. ครูตง้ั คำถาม ดังตอ่ ไปนี้ • การเคลอ่ื นทข่ี องลูกบอลในแนวระดับและในแนวดง่ิ มีปริมาณใดใชร้ ว่ มกัน (เวลา) • การกระจัดในแนวระดับและในแนวดิ่ง แตกต่างกันหรือไม่อย่างไร (ลูกบอลที่ปล่อยในแนวดิง่ จะมี การกระจัดในแนวดิง่ เพียงแนวเดียว ลูกบอลที่ถกู ขว้างออกไปจะมกี ารกระจัดทัง้ ในแนวด่ิงและแนว ระดบั ) • ลูกบอลทั้งสองกรณี ถ้าไม่คำนงึ ถึงแรงตา้ นอากาศจะมีความเรง่ ในแนวด่ิงเท่ากันหรอื ไม่ อย่างไร (ลูก บอลทัง้ สอง มีความเร่งในแนวดิ่งเท่ากนั นัน่ คอื ���⃑���) 4. แจ้งใหน้ กั เรยี นทราบว่า จะไดศ้ ึกษาเกีย่ วกับเงอ่ื นไงของการเคลือ่ นทีแ่ บบโพรเจกไทล์ ขน้ั สอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครูให้นกั เรียนแต่ละคนสบื คน้ ขอ้ มูลเพอ่ื หาคำตอบจากรายละเอียดในหนงั สือเรียน หนา้ 148 เพอ่ื สรุปเป็น ความเขา้ ใจของตนเอง 2. ครชู ้ีในนกั เรยี นเหน็ ว่า การศกึ ษาปริมาณต่าง ๆ ของการเคลอ่ื นทีแ่ บบโพรเจกไทล์ โดยการปลอ่ ยวตั ถุใหต้ ก อย่างอิสระพร้อมกับการขว้างวัตถุออกไปในแนวระดับจากจุดเดียวกัน ซึ่งอยู่สูงจากพื้นระยะหนึ่ง แล้ว บนั ทึกภาพอยา่ งต่อเน่อื งนบั ตงั้ แตเ่ รมิ่ เคลอื่ นท่ี ดงั ภาพประกอบลกู บอลสีแดงและสเี หลือง หน้า 148 3. ครูและนักเรยี นร่วมกันอภปิ รายและสรปุ เก่ยี วกับการเคล่อื นทขี่ องลูกบอล ขน้ั สอน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูอธิบายเปรียบเทียบการเคล่ือนท่ีของลูกบอลทั้งสองกรณี ดังน้ี • ลกู บอลทั้งสองมกี ารกระจดั ในแนวดงิ่ เท่ากัน เพราะตกถงึ พน้ื พร้อมกนั ในช่วงเวลาเดียวกัน จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่
แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 66 • ลกู บอลทปี่ ล่อยในแนวดง่ิ จะมีการกระจดั ในแนวดง่ิ เพียงแนวเดียว ลูกบอลที่ถกู ขวา้ งออกไปจะมกี าร กระจัดท้ังในแนวดง่ิ และแนวระดบั • ลกู บอลท้งั สอง มีความเรง่ ในแนวด่ิงเท่ากันนน่ั คือ ���⃑��� • ลูกบอลที่ตกในแนวดิ่งเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง ลูกบอลที่ถูกขว้างเคลื่อนที่เป็นแนวโค้งในระนาบด่ิง แบบพาราโบลา เรียกวา่ การเคล่อื นท่ีแบบโพรเจกไทล์ 2. ครูเปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นสอบถามเนอ้ื หาเรื่อง เง่อื นไงของการเคลอื่ นท่ีแบบโพรเจกไทล์ ว่ามสี ว่ นไหนท่ียัง ไม่เขา้ ใจและให้ความรู้เพมิ่ เติมในสว่ นนน้ั เพอ่ื เปน็ ความรนู้ ำไปสู่การศกึ ษาเกี่ยวกับความแตกต่างของการ เคล่อื นที่ในแนวระดับและแนวด่ิงของการเคล่ือนทแ่ี บบโพรเจกไทล์ ขน้ั สรปุ ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครใู ห้นักเรยี นศกึ ษาความรู้เพิม่ เตมิ จากกรอบ Physics Focus เร่อื ง พาราโบลา 2. ครเู ปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นสอบถามเนอื้ หาเรื่อง วา่ มสี ว่ นไหนท่ียังไมเ่ ข้าใจและให้ความรู้เพ่ิมเติมในสว่ นนน้ั 3. ครูให้นักเรียนตอบคำถามจาก Unit Question 4 และทำแบบฝึกหัด เรื่อง เงื่อนไงของการเคลื่อนท่ีแบบ โพรเจกไทล์ ช่ัวโมงท่ี 5-6 ขน้ั นำ กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครทู บทวนเกี่ยวกบั เง่อื นไงของการเคล่อื นท่ีแบบโพรเจกไทล์ 2. ครูเนน้ ใหน้ กั เรียนทราบวา่ การเคลื่อนทแี่ บบโพรเจกไทล์ เปน็ การเคลอ่ื นท่ีแนวพรอ้ มกันในแนวระดับและ แนวดิ่ง โดยการเคลื่อนที่ในแนวดิง่ เป็นการเคลื่อนทีท่ ี่มีความเร่งเนือ่ งจากแรงโนม้ ถ่วงของโลก ในขณะท่ี การเคล่ือนทีใ่ นแนวระดับไมม่ คี วามเร่ง 3. ครถู ามคำถามกระตนุ้ กบั นกั เรียนวา่ การเคลื่อนที่ในแนวระดบั และในแนวด่ิงของการเคลอื่ นท่ีแบบโพรเจก ไทล์ มีความแตกต่างกันอยา่ งไร (แนวตอบ : การเคลอื่ นท่ีแบบโพรเจกไทล์มีความเร็วเริม่ ต้นในแนวระดบั ไม่เป็นศูนย์ และความเร็ว ต้นในแนวด่ิงเป็นศูนย)์ 4. แจ้งให้นกั เรยี นทราบว่า จะได้ศกึ ษาเกย่ี วกับความแตกต่างกันของการเคลื่อนท่ีในแนวระดับและในแนวด่ิง ของการเคล่ือนทแ่ี บบโพรเจกไทล์ จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่
แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 4 67 ขน้ั สอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูให้ศึกษาเกี่ยวกับความแตกต่างของการเคลื่อนที่ในแนวระดับและในแนวดิ่งของการเคลื่อนที่แบบ โพรเจกไทล์ หนา้ 149-150 2. ครูถามคำถาม H.O.T.S. กับนักเรยี นวา่ เมื่อวตั ถเุ คล่ือนที่ขนึ้ ถงึ จดุ บนสดุ ของแนววิธี ความเร็วของวัตถุท้ัง ในแนวระดับและแนวดิ่งจะเปน็ อย่างไร (แนวตอบ : วัตถุเคลื่อนที่ขึ้นจุดสูงสุดของการเคลื่อนที่ ความเร็วของวัตถุจะเท่ากับความเร็วของ แนวระดบั เพราะของแนวดงิ่ เท่ากับศูนย)์ 3. นกั เรียนรว่ มกนั สืบค้นขอ้ มูล จากหนังสือเรียน อินเตอร์เน็ต หรือจากแหล่งเรยี นรู้ต่าง ๆ เชน่ ห้องสมดุ ขน้ั สอน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูสุ่มนักเรียนให้ออกมาอภิปรายร่วมกับครูเกี่ยวกับความแตกต่างของการเคลื่อนที่ในแนวระดับและใน แนวด่งิ ของการเคลอื่ นทีแ่ บบโพรเจกไทล์ 2. ครอู ธิบายเพ่ิมเติมดงั น้ี • กรณกี ารเคลอื่ นทใ่ี นแนวระดบั วตั ถุเคล่อื นที่อยู่ในอากาศจะมแี รงดงึ ดดู ของโลก mg กระทำเพียง แรงเดียวเท่านนั้ โดยในแนวระดบั แรงกระทำต่อวัตถุมีค่าเป็นศูนย์ (∑Fx = 0) ซึง่ จากกฎข้อที่สอง ของนิวตัน เมอ่ื ∑Fx = 0 จะไดก้ ารกระจัดในแนวระดับเปน็ ∆x = uxt • กรณีการเคลอื่ นที่ในแนวดิ่ง วตั ถุเคล่ือนทอี่ ย่ใู นอากาศจะมแี รงดึงดดู ของโลก mg กระทำเพยี งแรง เดียว ความเร่งของวัตถุในแนวดิ่ง คือ ความเร่งโน้มถ่วง โดยนักเรียนสามารถหาความเร็วใน แนวดิ่ง และการกระจดั ในแนวดง่ิ ไดจ้ ากสมการ ดังน้ี vy = uy + ayt ∆y = (uy + vy) t 2 ∆y = uyt + 1 ayt2 2 vy2 = u2y + 2ay∆y • เม่อื วตั ถุเคลือ่ นท่ีขนึ้ ไปในอากาศ ความเร็วในแนวดิ่งจะมขี นาดลดลง ซงึ่ จะขนาดความเร็วลัพธ์ได้ จากสมการ v = √vx2 + vy2 จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผูช้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 4 68 3. ครูยกตัวอย่างท่ี 4.1-4.2 จากหนังสือเรียน หน้า 151-152 เพื่อเสรมิ ความเข้าในการใชส้ มการที่ใช้คำนวณ ทเ่ี รียนมา 4. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเนื้อหาเรื่อง การเคลื่อนที่ในแนวระดบั และในแนวดิ่งของการเคลื่อนที่ แบบโพรเจกไทล์ วา่ มีส่วนไหนทย่ี ังไมเ่ ข้าใจและใหค้ วามร้เู พิ่มเติมในส่วนน้ัน 5. ครใู หน้ ักเรียนตอบคำถามจาก Unit Question 4 ขน้ั สรุป ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครนู ำอภิปรายและสรุปเก่ียวกับการเคลื่อนที่ในแนวระดับและในแนวดิง่ ของการเคล่ือนทแ่ี บบโพรเจกไทล์ โดยอภิปรายร่วมกับนักเรียน ดังนี้ • การเคลอ่ื นทใี่ นแนวระดับ ความเรว็ คงตวั ความเร่งเทา่ กบั ศนู ย์ • การเคลื่อนท่ีในแนวดิง่ ความเร็วไม่คงตัว ความเรง่ คงตัวเทา่ กบั g • ที่จุดสูงสุดของการเคลื่อนที่ อัตราเร็วหรือความเร็ว จะเท่ากับอัตราเร็วหรือความเร็วของแนว ระดับ เพราะของแนวดิง่ เท่ากับศนู ย์ 2. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั เฉลยคำถามจาก Unit Question 4 ชั่วโมงท่ี 7-9 ขน้ั นำ กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครูทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับเรื่อง สมการการเคลือ่ นท่ีในแนวระดบั และในแนวดิ่งของการเคลือ่ นท่แี บบ โพรเจกไทล์ 2. ครูนำเข้าสู่บทเรียน โดยครูถามคำถาม ดงั น้ี • นกั เรียนสามารถคำนวณระยะทางสูงสดุ ทวี่ ตั ถขุ ึ้นไปไดต้ ามแนวระนาบได้อย่างไร • นักเรียนสามารถคำนวณระยะทางที่วตั ถุเคลื่อนท่ีได้ในแนวระดับจากจุดเริ่มตน้ ถึงจุดสุดท้ายของ วตั ถไุ ดอ้ ย่างไร 3. ครูแจ้งให้นักเรียนทราบว่า จะได้ศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ที่มีแนววิถีเป็นแบบ พาราโบลาคว่ำ จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่
แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 69 ขน้ั สอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูใหน้ ักเรียนแบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ 4-5 คน เพื่อใหน้ ักเรยี นร่วมกันอภิปรายเกีย่ วการนำวิธกี ารทางคณติ ศาสตร์ มาพสิ จู นใ์ หเ้ ห็นว่า การเคล่ือนที่แบบโพรเจกไทล์มแี นววิธเี ป็นรูปพาราโบลาคว่ำ 2. ครูแนะนำให้นักเรยี นเรม่ิ ตน้ จากสมการ ∆x = uxt และ ∆y = uyt + 1 ayt2 จนสามารถได้สมการ 2 H = uy2 = u2sin2θ0 เพ่อื ใหน้ ักเรยี นได้มโี อกาสฝึกคดิ โดยใชว้ ิธกี ารทางคณติ ศาสตร์ 2g 2g 3. ครูให้นักเรียนแต่กลุ่มศึกษารายละเอียดการพิสูจน์สมการการเคลื่อนที่จากหนังสือเรียน หน้า 153-154 หรอื จากแหลง่ เรยี นรตู้ า่ ง ๆ เชน่ อินเตอรเ์ นต็ หอ้ งสมดุ เปน็ ตน้ 4. นักเรียนนำข้อมลู ทีไ่ ด้จากการสืบค้นมาวเิ คราะห์และเรยี บเรียงเน้อื หาเพ่อื ใช้สำหรบั การนำเสนอโดย แลกเปลีย่ นความคดิ เหน็ กันภายในกลุ่ม จากนน้ั อธบิ ายซักถามกนั ภายในกลุม่ จนเขา้ ใจตรงกัน (หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมนิ นกั เรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตการณ์ทำงานกลุ่ม) 5. นกั เรียนนำขอ้ มลู เกย่ี วกบั การพิสจู นส์ มการ มาวิเคราะห์และนำเสนอหน้าชั้นเรยี น ขน้ั สอน อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูสุ่มตัวแทนนักเรียนจากกลุ่มต่าง ๆ ประมาณ 1-2 กลุ่ม จากนั้นร่วมกันอภิปรายสรุปจนเป็นที่เข้าใจ ตรงกนั 2. ครูนำนกั เรียนอภปิ รายและสรุปเก่ยี วกบั การพสิ ูจนส์ มการสำหรบั การหาความสงู ทข่ี น้ึ ไปไดส้ ูงสดุ 3. ครูให้ความรูเ้ พ่มิ เติมเกี่ยวกบั การพสิ จู น์สมการ ดงั นี้ ท่ีตำแหนง่ สูงสุดความเร็วตามแนวดงิ่ จะเปน็ ศนู ย์ แต่ความเร็วของวตั ถุไม่จำเปน็ ตอ้ งเปน็ ศนู ย์ เพราะ มีความเร็วตามแนวนอน vx = u cos θ วัตถุมีความเร็วในแนวดิ่งลดลงจาก u sin θ เป็นศูนย์ที่จุดสูงสุด ด้วยอัตรา g จะไดเ้ วลาท่ใี ชข้ ึน้ ไปจนถงึ ตำแหน่งสูงสดุ คือ u sin θ g จากสมการของการกระจัดในแนวราบและแนวดิ่ง จะได้ว่าในช่วงเวลานี้ วัตถุมีการกระจัดตาม แนวดง่ิ เท่ากบั 1 (u sin θ + 0) (usin θ) = u2sin2θ ซึ่งจะเป็นระยะทางสูงสงู ในแนวด่งิ 2 g 2g 4. ครถู ามนกั เรียนตอ่ ว่า นักเรยี นสามารถหาระยะทางทว่ี ัตถเุ คล่ือนทีไ่ ปไดต้ ามแนวระดับไดอ้ ย่างไร (ทิ้งช่วง ให้นักเรยี นคิด) 5. ครูอธิบายวา่ เมื่อวตั ถุตกกลับลงมาท่ีความสูงเดิมตอนต้น การกระจัดตามแนวดิ่งมคี ่าเปน็ ศูนย์ ดังนัน้ ถ้า ∆t เป็นเวลาทง้ั หมดท่ีวัตถุเคล่ือนท่ีต้ังแตเ่ รม่ิ ตน้ จนกลับมาทส่ี ูงเดมิ จะได้ ∆y = uy∆t + 1 ay∆t2 2 ดงั นั้น 0 = u sin θ ∆t + 1 (−g)∆t2 หรือ ∆t = 2usin θ 2g จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่
แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 70 6. ครชู ้ใี หน้ กั เรยี นเหน็ วา่ เวลาที่เคลอื่ นท่ขี ้นึ ไปแล้วกลบั มาทีค่ วามสงู เดมิ เปน็ สองเท่าของเวลาท่ีวัตถุข้ึนไปถึง จุดสูงสุด ดังนั้น เวลาลงจากจุดสูงสุดกลับมาที่พื้นนานเท่ากับเวลาขึ้นไปถึงจุดสูงสุด ในระหว่างเวลา ∆t = 2u sin θ วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วตามแนวนอนคงตัว u cos θ จะได้ระยะตามแนวนอนที่ g เคล่ือนทีไ่ ปได้เท่ากบั u cos θ × ∆t = 2u2 sin θ cos θ = u2 sin 2θ g g ขน้ั สรุป ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครูอธิบายความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกบั กราฟแสดงความสมั พันธร์ ะหว่างตำแหน่งในแนวดิง่ และแนวระดับของ วัตถุทท่ี ำมุม θ ต่าง ๆ กบั แนวระดับ 2. จากนั้นครใู ห้นักเรียนศึกษาตวั อยา่ งการคำนวณจากโจทย์ปญั หา พร้อมท้ังให้นักเรยี นฝึกแกโ้ จทย์ปัญหาใน หนังสือเรียน หนา้ 156-157 ตามขนั้ ตอนการแกโ้ จทยป์ ญั หา ดงั น้ี • ขนั้ ท่ี 1 ครใู ห้นกั เรยี นทกุ คนทำความเข้าใจโจทย์ตวั อยา่ ง • ขน้ั ที่ 2 ครถู ามนกั เรยี นวา่ สิ่งทโ่ี จทยต์ ้องการถามหาคืออะไร และจะหาสิ่งท่ีโจทย์ต้องการ ต้องทำ อย่างไร • ขั้นที่ 3 ครใู หน้ กั เรยี นดูวิธีทำในการคำนวณหาคำตอบ • ข้นั ท่ี 4 ตรวจสอบคำตอบของโจทย์ตวั อยา่ งวา่ ถกู ต้อง หรอื ไม่ 3. ครูและนกั เรียนร่วมกันเฉลยคำถามจาก Unit Question 4 ช่วั โมงท่ี 10-12 ขน้ั นำ กระต้นุ ความสนใจ (Engage) 1. ครทู บทวนเก่ยี วกับการเคลื่อนทแ่ี บบโพรเจกไทล์ ดังน้ี • การเคลอ่ื นทแ่ี บบโพรเจกไทล์ มแี นวโค้งเปน็ รูปพาราโบลา • การเคลอ่ื นที่แบบโพรเจกไทล์ มกี ารเคลือ่ นท่ีทัง้ ในแนวดง่ิ และแนวระดบั พรอ้ ม ๆ กัน 2. ครถู ามคำถามกอ่ นทำกิจกรรมการทดลอง เพือ่ เป็นการกระตนุ้ นกั เรยี น ดังน้ี • การเคลอ่ื นที่แบบโพรเจกไทล์มลี กั ษณะการเคล่ือนทเี่ ปน็ อยา่ งไร • ความสัมพนั ธ์ของปริมาณการเคลอื่ นทใ่ี นแนวด่งิ และแนวระดับสัมพนั ธ์กันหรอื ไม่ อยา่ งไร จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผ้ชู ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 71 ขน้ั สอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครใู หน้ กั เรียนแบ่งกลุ่ม ซง่ึ ครูอาจใช้เทคนิคการแบ่งกล่มุ ผลสมั ฤทธิ์ (STAD) คือ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ทมี่ สี มาชกิ กลุ่ม 4–5 คน มรี ะดับสตปิ ัญญาแตกต่างกนั คือ เกง่ 1 คน: ปานกลาง 2–3 คน: อ่อน 1 คน พร้อมทงั้ เลอื กประธานกลุ่ม รองประธานกลมุ่ เลขานกุ ารกลมุ่ และสมาชิกกลุม่ โดยมีหน้าท่ี ดงั นี้ - ประธานกลมุ่ มหี น้าท่ีควบคมุ การทำกิจกรรมการทดลอง - รองประธานกล่มุ มีหน้าที่ วางแผนในการทำกจิ กรรมทดลอง - เลขานุการกลุม่ มหี น้าที่ อำนวยความสะดวกในการทำกจิ กรรมการทดลอง - สมาชิกกลุ่ม มีหน้าท่ี นำเสนอผลการทำกิจกรรม - สมาชกิ กลุ่ม มีหนา้ ท่ี รวบรวมองคค์ วามรูแ้ ละผลงานกลุ่ม 2. ครชู ้ีแจงจดุ ประสงคก์ ารทดลองให้นกั เรียนทราบ ดังนี้ • เพอื่ ศกึ ษาลักษณะการเคล่ือนทแี่ บบโพรเจกไทล์ • เพอื่ ศึกษาความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งการกระจัดในแนวระดบั และการกระจดั แนวดิ่ง 3. ครูใหส้ มาชิกภายในกลุ่มเปิดการระดมความคิดระบปุ ัญหาของกจิ กรรมการทดลอง ใหห้ นา้ ทป่ี ระธานเปดิ การระดมความคดิ ระบุปญั หาของกจิ กรรมตอนที่ 1 พร้อมตง้ั สมมตฐิ านและกำหนดตวั แปรใหช้ ัดเจน และ ให้เลขานกุ ารกลมุ่ จัดการความรูร้ วบรวมแลว้ บนั ทกึ ผล 4. ครูให้ความรู้ที่จำเป็นต่อการทดลอง จากนั้นให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทำการทดลองตามขั้นตอนและ รายละเอยี ดในในหนงั สือเรยี น หนา้ 158-159 (หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมนิ นกั เรยี น โดยใช้แบบสังเกตการณท์ ำงานกล่มุ ) 5. ครอู าจถามกระตนุ้ ให้นักเรียนได้คิด ด้วยตัวอยา่ งคำถามต่อไปน้ี • เหตุใดจงึ ต้องปลอ่ ยลูกโลหะกลมจากตำแหนง่ เดียวกนั ทุกครัง้ ทที่ ำการทดลอง • ขณะทดลองแผน่ เปา้ ควรอยู่กบั ทีห่ รือไม่ เพราะเหตใุ ด • แนวการเคลื่อนที่ของลูกโลหะกลมจากกระดาษกราฟบนแป้นไมห้ รือเมื่อนำค่าการกระจัดในแนว ระดบั และการกระจดั ในแนวดงิ่ มาเขยี นกราฟจะมลี ักษณะใด 6. นักเรียนแต่ละกลุ่มวิเคราะห์สรุปผลการทดลอง ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายการทดลองตามแนวคำถาม ท้ายการทดลอง และสรุปผลการเรียนรู้จากการทดลอง จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่
แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 72 ขน้ั สอน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูให้สมาชิกแต่ละกลมุ่ ออกมานำเสนอผลการทดลอง และสรปุ รว่ มกนั 2. ครูและนักเรียนจะสรุปผลการทดลองร่วมกันวา่ การเคลื่อนที่ของลูกโลหะกลมที่เคลื่อนที่ในแนวโคง้ แบบ โพรเจกไทล์ มีแนวการเคลื่อนที่เป็นเส้นโค้งพาราโบลา โดยลูกโลหะกลมจะมีทั้งการกระจัดในแนวระดบั และแนวดงิ่ พรอ้ มกัน ขน้ั สรปุ ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายยกตัวอย่างการใช้ประโยชน์ของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ใน ชวี ิตประจำวัน เชน่ ด้านการกฬี า การทมุ่ น้าหนกั การพุ่งแหลน การชูทลูกบาสเกตบอล เปน็ ตน้ 2. ครใู หค้ วามรเู้ พม่ิ เตมิ เกีย่ วกับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ โดยใชส้ ือ่ power point และสื่อ animation 3. ครูใหน้ กั เรยี นสรปุ เปน็ แผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) เรอ่ื ง การเคลื่อนทแี่ บบโพรเจกไทล์ 4. ครูและนักเรียนรว่ มกนั เฉลยคำถามจาก Unit Question 4 เร่ือง การเคล่อื นทแ่ี บบโพรเจกไทล์ 5. ครใู ห้นักเรียนตัง้ คำถามที่นักเรียนอยากรู้เพ่มิ เตมิ หรือร่วมกันสรปุ เช่อื มโยงความคิดเกี่ยวกับการเคล่ือนที่ แบบโพรเจคไทล์ ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูตรวจสอบผลการทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน 2. ครูประเมินผล โดยการสงั เกตการตอบคำถาม การรว่ มกันทำผลงาน และจากการนำเสนอผลงาน 3. ครูสังเกตความสนใจ ความกระตือรือรน้ ในการเรยี นรู้ของนักเรียน 4. ครตู รวจใบงานที่ 4.1 เรอ่ื ง ทบทวนความรู้พื้นฐานเกีย่ วกบั การเคล่ือนที่ 4. ครูตรวจจากใบงานท่ี 4.2 เร่ือง การเคลือ่ นทีแ่ บบโพรเจกไทล์ 5. ครตู รวจการทำแบบฝึกหดั จาก Unit Question 4 เรอื่ ง การเคลอื่ นท่แี บบโพรเจกไทล์ 6. ครตู รวจแบบฝึกหดั เรอื่ ง การเคลอ่ื นที่แบบโพรเจกไทล์ 7. ครูประเมนิ ผลงานจากแผนผงั มโนทัศน์ (Concept Mapping) ที่นักเรยี นได้สรา้ งขึน้ จากขัน้ ขยายความ เข้าใจของนักเรียนเปน็ รายบุคคล จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 4 73 7. การวดั และประเมนิ ผล รายการวดั วิธีวัด เครอื่ งมอื เกณฑ์การประเมนิ แบบทดสอบก่อนเรยี น ประเมนิ ตามสภาพจรงิ 7.1 การประเมนิ กอ่ นเรียน ตรวจแบบทดสอบ - ใบงานที่ 4.1-4.2 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - แบบทดสอบกอ่ น ก่อนเรียน เรียน หนว่ ยการ เรยี นรทู้ ่ี 1 เรื่อง การเคลอื่ นทแ่ี นว โค้ง 7.2 การประเมินระหว่าง การจดั กจิ กรรม 1) การเคล่ือนทแ่ี บบ - ตรวจใบงานท่ี 4.1-4.2 โพรเจกไทล์ 2) การนำเสนอ - ประเมนิ การนำเสนอ - ผลงานท่นี ำเสนอ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผลงาน ผลงาน ผ่านเกณฑ์ - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ 2 3) พฤติกรรมการ การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ ทำงานรายบคุ คล 4) พฤติกรรมการ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ 2 ทำงานกลมุ่ การทำงานกล่มุ การทำงานกลมุ่ ผ่านเกณฑ์ - สังเกตความมีวนิ ยั - แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ 2 5) คุณลักษณะ ใฝ่เรียนรู้ และมงุ่ ม่นั คุณลักษณะ ผา่ นเกณฑ์ อันพงึ ประสงค์ ในการทำงาน อันพงึ ประสงค์ 8. สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้ 8.1 ส่อื การเรียนรู้ 1) หนังสือเรยี น รายวชิ าเพ่ิมเติม ฟสิ กิ ส์ ม.4 เล่ม 1 2) ใบงานท่ี 4.1 เร่ือง ทบทวนความรพู้ ้นื ฐานเก่ียวกับการเคลอื่ นที่ 3) ใบงานท่ี 4.2 เรอ่ื ง การเคลือ่ นที่แบบโพรเจกไทล์ 3) PowerPoint เร่อื ง การเคลอื่ นท่แี บบโพรเจกไทล์ 8.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1) หอ้ งเรียน/ห้องสมุด 2) แหล่งข้อมลู สารสนเทศ จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่
แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 74 9. การบูรณาการตามจุดเนน้ ของโรงเรยี น : ความหลากหลายทางชวี ภาพ หลกั ปรชั ญา ครู ผ้เู รยี น ของเศรษฐกิจพอเพียง 1. ความพอประมาณ พอดีด้านเทคโนโลยี พอดีด้านจติ ใจ รจู้ กั ใช้เทคโนโลยีมาผลติ สือ่ ท่ี มจี ติ สำนึกท่ดี ี จิตสาธารณะร่วม เหมาะสมและสอดคล้องเนื้อหาเปน็ อนุรกั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและ ประโยชน์ต่อผูเ้ รยี นและพฒั นาจากภมู ิ สงิ่ แวดล้อม ปญั ญาของผ้เู รียน 2. ความมเี หตผุ ล - ยดึ ถอื การประกอบอาชีพดว้ ยความ ไมห่ ยดุ นง่ิ ทีห่ าหนทางในชวี ิต หลุดพน้ ถูกต้อง สจุ รติ จากความทุกข์ยาก (การคน้ หาคำตอบ เพื่อให้หลดุ พ้นจากความไมร่ ู้) 3. มีภมู ิคุมกนั ในตวั ทีด่ ี ภมู ิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ภูมปิ ญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ ระมัดระวงั รับผดิ ชอบ ระมัดระวัง สรา้ งสรรค์ 4. เงอ่ื นไขความรู้ ความรอบรู้ เรือ่ ง การเคลอื่ นท่ีแบบ ความรอบรู้ เร่ือง การเคล่อื นที่ โพรเจกไทล์ ท่ีเกี่ยวข้องรอบดา้ น นำ แบบโพรเจกไทล์ สามารถนำความรู้ ความรู้มาเชื่อมโยงประกอบการ เหล่าน้ันมาพจิ ารณาให้เกิดความ วางแผน การดำเนนิ การจดั กจิ กรรม เชือ่ มโยง สามารถประยุกต์ การเรียนรใู้ ห้กบั ผู้เรียน ใช้ในชีวิตประจำวันได้ 5. เง่ือนไขคุณธรรม มคี วามตระหนักใน คุณธรรม มี มคี วามตระหนกั ใน คณุ ธรรม มีความ ความซื่อสตั ย์สุจริตและมคี วามอดทน ซ่อื สตั ย์สจุ รติ และมคี วามอดทน มี มคี วามเพยี ร ใช้สตปิ ัญญาในการ ความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนนิ ดำเนนิ ชีวิต ชีวติ สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ครู ผู้เรียน ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - ความหลากหลายทางชีวภาพ - สำรวจความหลากหลายทาง - สำรวจความหลากหลายทางชีวภาพ ชีวภาพในโรงเรยี น (กำหนดจุดให้ ในโรงเรียน (ตามจดุ ท่ไี ด้รับมอบหมาย) ผู้เรยี นสำรวจ) สงิ่ แวดลอ้ ม ครู ผู้เรยี น ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - การอนรุ ักษค์ วามหลากหลาย - การอนุรกั ษ์ความหลากหลายทาง - สืบคน้ ข้อมูลการอนรุ ักษค์ วาม ทางชีวภาพ ชวี ภาพ (กำหนดหวั ข้อให้ผูเ้ รยี น หลากหลายทางชีวภาพ (ตามหัวข้อที่ สบื คน้ ) ไดม้ อบหมาย) จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 75 10. ความเหน็ /ข้อเสนอแนะ ของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาหรือผ้ทู ่ไี ดร้ ับมอบหมาย 10.1 หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชือ่ …………………………………………. (นางกมลชนก เทพบุ) ………./……………./…………. 10.2 ผชู้ ่วยผู้อำนวยการฝ่ายบรหิ ารวิชาการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ…………………………………………. (นางสาวรตั ตกิ าล ยศสขุ ) ………./……………./…………. 10.3 ผู้อำนวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื …………………………………………. (นางวิลาวลั ย์ ปาลี) ………./……………./…………. จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่
แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 76 11. บันทึกผลหลังการสอน ดา้ นความรู้ ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ดา้ นความสามารถทางวิทยาศาสตร์ ดา้ นอ่ืน ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤตกิ รรมท่มี ีปัญหาของนักเรียนเปน็ รายบุคคล (ถา้ ม)ี ) ปัญหา/อุปสรรค แนวทางการแก้ไข ลงชอ่ื .........................................................ครูผสู้ อน (นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา) ตำแหน่ง ครูผชู้ ่วย จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่
แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 77 ใบงานที่ 4.1 เรื่อง ทบทวนความรู้พื้นฐานเกี่ยวกบั การเคลอ่ื นที่ คำชี้แจง : ใหน้ กั เรยี นเตมิ คำลงในช่องว่างให้ถกู ต้องสมบรู ณ์ 1. ให้นักเรยี นเติมคำลงในชอ่ งว่างให้ถกู ต้อง 1. ระยะทาง คือ ............................................................................................................... ใช้สัญลกั ษณ์ ............ เปน็ ปรมิ าณ ........................................หน่วยเอสไอ คอื ................... 2. การกระจดั คอื ............................................................................................................... ใชส้ ัญลักษณ์ ............ เป็นปริมาณ ........................................หน่วยเอสไอ คอื ................... 3. อตั ราเรว็ คอื ............................................................................................................... ใช้สัญลักษณ์ ............ เปน็ ปรมิ าณ ........................................หน่วยเอสไอ คอื ................... 4. ความเรว็ คอื ............................................................................................................... ใช้สญั ลกั ษณ์ ............ เปน็ ปริมาณ ........................................หนว่ ยเอสไอ คอื ................... 5. อตั ราเรง่ คือ ............................................................................................................... ใช้สญั ลกั ษณ์ ............ เปน็ ปริมาณ ........................................หนว่ ยเอสไอ คอื ................... 6. ความเร่ง คอื ............................................................................................................... ใชส้ ญั ลกั ษณ์ ............ เปน็ ปริมาณ ........................................หน่วยเอสไอ คือ ................... 2. ใหน้ กั เรยี นเติมตัวแปรในชอ่ งวา่ งให้สมบูรณ์ ความเร็วคงท่ี ความเรง่ คงท่ี การเคล่ือนท่ีแนวระดบั (a คงที่) การเคลื่อนท่ีแนวดิ่ง (a = g) v = u + ___ vy = uy + ___ x 1 1 u = ___ x = ___ + 2 ___ ∆y = ___ + 2 ___ v2 = ___ + 2a___ v2y = ___ + 2ay___ u + ___ ∆y = [uy + ___ ___ x = [ 2 ] ___ 2 ] จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผูช้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่
แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 78 ใบงานท่ี 4.1 เฉลย เรื่อง ทบทวนความร้พู ้นื ฐานเก่ยี วกับการเคล่อื นที่ คำช้ีแจง : ให้นักเรียนเตมิ คำลงในช่องว่างให้ถูกตอ้ งสมบรู ณ์ 1. ระยะทาง คอื ความยาวตามเสน้ ทางท่ีวัตถุเคลือ่ นท่ีไป ใชส้ ัญลักษณ์ ������ เปน็ ปริมาณ สเกลาร์ มหี นว่ ยเปน็ เมตร 2. การกระจดั คอื ความยาวของเสน้ ตรงที่ลากระหว่างจดุ เร่มิ ต้นและจดุ สดุ ท้าย ใชส้ ญั ลักษณ์ ���⃑��� เป็นปรมิ าณ เวกเตอร์ มีหนว่ ยเป็น เมตร 3. อัตราเรว็ คือ ระยะทางทเ่ี คลอ่ื นที่ได้ในหน่ึงหนว่ ยเวลา ใช้สัญลักษณ์ v เป็นปรมิ าณ สเกลาร์ มีหน่วยเปน็ เมตร/วนิ าที 4. ความเร็ว คอื ระยะกระจัดท่เี ปล่ียนไปในหนึ่งหนว่ ยเวลา ใช้สัญลกั ษณ์ ⃑v⃑ เปน็ ปริมาณ เวกเตอร์ มหี น่วยเปน็ เมตร/วินาที 5. อัตราเรง่ คอื อตั ราเร็วที่เปล่ยี นไปในหนึ่งหนว่ ยเวลา ใชส้ ญั ลักษณ์ a เปน็ ปริมาณ สเกลาร์ มีหนว่ ยเป็น เมตร/วนิ าที2 6. ความเรง่ คอื ความเร็วท่ีเปลีย่ นไปในหนง่ึ หน่วยเวลา มหี น่วยเป็น เมตร/วินาที2 ใช้สัญลักษณ์ ⃑a⃑ เป็นปรมิ าณ เวกเตอร์ 2. ใหน้ ักเรยี นเติมตวั แปรในช่องวา่ งให้สมบูรณ์ ความเรว็ คงตวั ความเร่งคงตัว การเคลือ่ นท่แี นวระดับ (a คงตัว) การเคล่ือนทแี่ นวดงิ่ (a = g) vx = ux + at v������ = u������ + gt ∆x ∆x = uxt + 1 at2 ∆y = u������t + 1 gt2 ux = t 2 2 v2 = u2x + 2a∆x v2������ = u2������ + 2g∆y ∆x = [ux + vx] t ∆y = [u������ + v������ ] t 2 2 จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผ้ชู ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่
แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 79 ใบงานท่ี 4.2 เร่ือง การเคลอื่ นท่ีแบบโพรเจกไทล์ คำชแี้ จง : จงแสดงวิธีทำอยา่ งละเอียด 1. กอ้ นหนิ ก้อนหนึ่งถกู ขวา้ งออกจากหนา้ ผาในแนวระดบั ด้วยความเรว็ ตน้ 10 เมตร/วินาที ก้อนหิน ตกถึงพ้ืนดินใน เวลา 8 วนิ าที ก้อนหนิ จะตกห่างจากจดุ ขว้างในแนวระดบั เทา่ ใด 2. ลูกบอลลกู หนึง่ กล้ิงลงมาจากโต๊ะซึง่ สูง 1.25 เมตร ถ้าลูกบอลตกกระทบพืน้ ตรงจุดทห่ี ่างจากขอบโต๊ะ ตามแนว ระดับ 4.0 เมตร ความเรว็ ของลกู บอลขณะหลุดจากขอบโตะ๊ มีค่าเท่าใด 3. วัตถถุ กู ขา้ งออกไปจากยอดตึกด้วยความเร็วต้น 20 m/s ทำมมุ 30 องศากับแนวระดบั ขณะทว่ี ัตถุหลดุ จากมอื อยู่ สูงจากพนื้ 400 เมตร จงหาเวลาทวี่ ตั ถอุ ยู่ในอากาศและระยะทางในแนวระดับของโพรเจกไทล์ จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่
แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 80 ใบงานท่ี 4.2 เร่ือง การเคล่อื นท่แี บบโพรเจกไทล์ คำชีแ้ จง : จงแสดงวธิ ที ำอย่างละเอียด 4. ยิงจรวดขวดน้ำขนึ้ จากพนื้ หน้าผาสงู 80 เมตร ดว้ ยความเรว็ ระดับหนึง่ และทามมุ 37 องศากบั แนวระดับ โดยจุด ยิงหา่ งจากขอบหนา้ ผา 240 เมตร พบว่าจรวดขวดนา้ เฉยี ดขอบหน้าผาพอดี จงหาความเรว็ ของจรวดขวดน้ำและ จรวดขวดน้ำตกถงึ พ้นื หา่ งจากตนี หน้าผาก่ีเมตร จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่
แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 4 81 ใบงานที่ 4.2 เฉลย เรอ่ื ง การเคลื่อนทแ่ี บบโพรเจกไทล์ คำชีแ้ จง : จงแสดงวิธีทำอยา่ งละเอียด 1. ก้อนหนิ ก้อนหนึง่ ถูกขว้างออกจากหน้าผาในแนวระดบั ด้วยความเรว็ ตน้ 10 เมตร/วนิ าที ก้อนหนิ ตกถึงพ้ืนดินใน เวลา 8 วินาที ก้อนหินจะตกห่างจากจดุ ขว้างในแนวระดับเท่าใด จากสมการ x = uxt = (10)(8) = 80 m ดังนั้น ก้อนหนิ จะตกห่างจากจดุ ขวา้ งในแนวระดบั เทา่ กบั 80 เมตร 2. ลกู บอลลกู หน่ึงกลง้ิ ลงมาจากโตะ๊ ซ่ึงสูง 1.25 เมตร ถ้าลกู บอลตกกระทบพืน้ ตรงจดุ ท่ีหา่ งจากขอบโต๊ะ ตามแนว ระดับ 4.0 เมตร ความเร็วของลูกบอลขณะหลดุ จากขอบโตะ๊ มคี า่ เทา่ ใด จากสมการ ∆y = uyt + 1 ayt2 2 1.25 = (0)t + 1 (10)t2 2 t = 0.5 s โจทยต์ อ้ งการหาความเร็วในแนวระดบั จากสมการ ∆x = uxt 4 = ux(0.5) ux = 8 m/s ดังนัน้ ความเร็วของลกู บอลขณะหลุดจากขอบโต๊ะมคี ่าเท่ากับ 8 เมตรตอ่ วินาที 3. วตั ถถุ ูกข้างออกไปจากยอดตกึ ดว้ ยความเรว็ ตน้ 20 m/s ทำมุม 30 องศากบั แนวระดบั ขณะทว่ี ัตถุหลุดจากมอื อยู่ สงู จากพืน้ 400 เมตร จงหาเวลาทวี่ ตั ถุอยูใ่ นอากาศและระยะทางในแนวระดบั ของโพรเจกไทล์ จากสมการ ∆y = uyt + 1 ayt2 2 (-400) = (10)t + 1 (−10)t2 2 t2 – 2t – 80 = 0 t = 10 วินาที จากสมการ ∆x = uxt = (10√3)(10) = 1,732 m ดังน้นั เวลาทว่ี ตั ถุลอยในอากาศ 10 วินาที ในระยะทาง 1,732 เมตร จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่
แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 82 ใบงานท่ี 4.2 เฉลย เร่อื ง การเคล่ือนทแ่ี บบโพรเจกไทล์ คำชีแ้ จง : จงแสดงวิธที ำอย่างละเอียด 4. ยิงจรวดขวดน้ำขึ้นจากพ้ืนหนา้ ผาสูง 80 เมตร ดว้ ยความเร็วระดบั หนง่ึ และทามุม 37 องศากับแนวระดบั โดยจดุ ยงิ หา่ งจากขอบหน้าผา 240 เมตร พบวา่ จรวดขวดนา้ เฉียดขอบหน้าผาพอดี จงหาความเร็วของจรวดขวดน้ำและ จรวดขวดน้ำตกถงึ พ้นื หา่ งจากตนี หนา้ ผากเี่ มตร 1) หาความเร็วของจรวดขวดน้ำ จากสมการ R = 2u2 sin θ cos θ g 240 = 2u2 sin 37 cos 37 g 240 = 2u2(315)(415) 10 u = √2500 = 50 ดงั นน้ั ความเรว็ ของจรวดขวดน้ำเท่ากบั 50 เมตรต่อวินาที 2) หาห่างจากตนี หนา้ ผา จากสมการ ∆y = uyt + 1 ayt2 2 (-80) = (50) sin 37 t + 1 (−10)t2 2 (-80) = 30t − 5t2 t2 – 6t – 16 = 0 t = 8 วินาที จากสมการ ∆x = uxt = 50 cos 37 (t) = 50 (4/5)(8) = 320 m ดังนัน้ จรวดขวดน้ำตกถึงพนื้ หา่ งจากตนี หน้าผาเท่ากบั 320 – 240 = 80 เมตร จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 61 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นที่ 1/2563 กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา ฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) หน่วยการเรยี นรู้ที่ 4 การเคลอ่ื นทแี่ นวโค้ง เร่อื ง การเคล่อื นที่แบบวงกลม จำนวนเวลาทสี่ อน 12 ช่ัวโมง ครูผ้สู อน นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา 1. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (ความเข้าใจทีค่ งทน) การเคลอ่ื นท่ีของวตั ถุจะมีลักษณะเป็นแนวตรง หรือแนวโค้ง ขึ้นอยกู่ ับทศิ ของแรงท่มี ากระทำกับทิศของการ เคลอ่ื นที่ โดยทิศของแรงอยู่ในแนวเดียวกับทิศการเคลือ่ นท่ี วัตถุจะเคลือ่ นที่เปน็ แนวตรง ทิศของแรงทำมุมใด ๆ กับทิศการเคลอ่ื นทตี่ ลอดเวลา วัตถจุ ะเคลอื่ นที่เป็นแนวโคง้ สว่ นการเคลือ่ นท่แี บบวงกลมนั้นแรงจะทามุมตั้งฉาก กบั ทิศการเคลอ่ื นที่ตลอดเวลาการเคลอื่ นท่ี และแรงท่ีกระทาจะมีทิศเข้าสูศ่ ูนย์กลางเรยี กแรงนว้ี ่า แรงสศู่ ูนย์กลาง 2. ผลการเรยี นรู้ ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแรงสู่ศูนย์กลาง รัศมีของการเคลื่อนที่ อัตราเร็วเชิงเส้น อัตราเร็วเชิงมุม และมวลของวัตถุในการเคลื่อนที่แบบวงกลมในระนาบระดับรวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และประยุกต์ใช้ความรู้การเคล่ือนที่แบบวงกลมในการอธิบายการโคจรของดาวเทียมได้ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ (Knowledge) 1) อธบิ ายความหมาย ลักษณะของการเคลอ่ื นที่แบบวงกลมได้ 3.2 ดา้ นทักษะและกระบวนการ (Skill/Process) 2) ทำการทดลอง และสรุปความสัมพันธร์ ะหวา่ งแรงสู่ศนู ยก์ ลาง รัศมีวงกลม อัตราเรว็ ของการเคล่ือนที่เปน็ วงกลมได้ 3) มที ักษะการคำนวณหาปริมาณทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับการเคล่อื นที่แบบวงกลมได้ 4) ยกตัวอยา่ งการเคล่ือนทแี่ บบวงกลมไปใช้ในชวี ติ ประจาวันได้ 3.3 ด้านเจตคติ (Attitude) 5) มที กั ษะการทำงานร่วมกบั ผอู้ น่ื และมเี จตคติทางวิทยาศาสตร์ จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 62 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 เนอ้ื หาสาระหลกั : Knowledge (ผูเ้ รียนตอ้ งรู้อะไร) - วัตถุทีเ่ คล่ือนท่ีเป็นวงกลมหรือส่วนของวงกลม เรียกว่า วัตถนุ นั้ มกี ารเคล่ือนท่ีแบบวงกลม ซ่ึงมีแรงลัพธ์ ทกี่ ระทำกับวัตถุในทิศเข้าสศู่ ูนย์กลาง เรยี กวา่ แรงสู่ศูนย์กลาง ทำให้เกิดความเร่งสศู่ ูนยก์ ลางท่ีมีขนาดสัมพันธ์กับรัศมีของ การเคล่อื นที่และอัตราเร็วเชงิ เส้นของวตั ถุ ซึ่งแรงสูศ่ นู ยก์ ลางคำนวณได้จากสมการ mv2 Fc = r นอกจากนีก้ ารเคลื่อนท่ีแบบวงกลมยังสามารถอธิบายได้ด้วยอัตราเร็วเชิงมุม ซึ่งมีความสัมพันธ์กับอัตราเร็วเชิง เส้นตามสมการ v = ωr และแรงสู่ศนู ยก์ ลางมคี วามสมั พันธก์ บั อตั ราเรว็ เชงิ มุมตามสมการ Fc = mω2r 4.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (ผเู้ รยี นสามารถปฏิบัติอะไรได้) - ทักษะการวิเคราะห์ - ทกั ษะการสงั เกต - ทักษะการสื่อสาร - ทกั ษะการทำงานร่วมกัน - ทักษะการนำความรไู้ ปใช้ - ทักษะการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ 4.3 คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ : Attitude (ผู้เรยี นควรแสดงพฤตกิ รรมการเรียนอะไรบา้ ง) - มวี ินยั - ใฝเ่ รียนรู้ - ม่งุ มั่นในการทำงาน 5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี นและคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มีวินัย 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรียนรู้ 1) ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ 3. มงุ่ ม่ันในการทำงาน 2) ทักษะการสังเกต 3) ทักษะการสื่อสาร 4) ทกั ษะการทำงานร่วมกนั 5) ทักษะการนำความรู้ไปใช้ 6) ทักษะการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่
แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 63 6. กิจกรรมการเรียนรู้ แนวคิด/รูปแบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชั่วโมงที่ 1 ขัน้ นำ กระต้นุ ความสนใจ (Engage) 1. นักเรียนและครูร่วมกันทบทวนความรู้เดิมเกีย่ วกับ เรื่อง ลักษณะการเคลื่อนท่ีแบบโพรเจกไทล์ เชื่อมโยง เนื้อหาโดยนักเรียนร่วมกันสนทนา เกี่ยวกับ การเคลื่อนที่ในลักษณะการเคลื่อนที่แบบวงกลม ลอง ยกตัวอย่าง (ทิง้ ชว่ งให้นกั เรียนคิด) เพื่อเป็นความรู้พ้นื ฐานนาไปสู่การศึกษา เร่อื ง การเคลอ่ื นท่ีแบบวงกลม 2. ครกู ระตุน้ ความสนใจของนกั เรียนโดยพดู คุยสนทนาประสบการณเ์ กี่ยวกบั การเคล่ือนท่ีหลายอย่างรอบตัว เรา เช่น รถยนต์หรือรถจักรยานยนต์กำลังเลี้ยวโค้ง การเคลื่อนที่ของรถไฟเหาะตีลังกาในสวนสนุก การ เคลื่อนที่ของชิงช้าสวรรค์ นักเรยี นคิดวา่ การเคลอ่ื นทล่ี ักษณะนวี้ า่ เปน็ การเคล่อื นทีแ่ บบใด 2. ครูถามคำถามกระตุ้นนักเรียนจากคำถาม Prior Knowledge จากหนังสือเรียน หน้า 160 ว่า การหมุน ของเข็มนาฬิกาเป็นการเคลื่อนที่แบบใด (เปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็นโดยไม่เน้นถูกผิด) (แนวตอบ : เป็นการเคลื่อนทที่ ่มี ีแนวการเคลอื่ นท่เี ป็นวงกลมหรือสว่ นของวงกลม เรียกการเคลอ่ื นที่ ลักษณะน้วี ่า การเคลือ่ นที่แบบวงกลม (circular motion)) 3. นักเรียนช่วยกันอภิปรายและแสดงความคิดเห็นคำตอบจากคำถาม เพื่อเชื่อมโยงไปสู่การจัดการเรียนรู้ เรอื่ งการเคลือ่ นทีแ่ บบวงกลม 4. ครูกลา่ วกบั นกั เรียนวา่ รถยนต์ รถจกั รยานยนต์ และดาวเทียม เคล่อื นทีใ่ นแนววงกลมหรอื ส่วนของวงกลม ได้อย่างไร หรือทำไมการเคลอ่ื นทจ่ี ึงเป็นแบบนนั้ นักเรยี นจะไดท้ ำการศึกษาตอ่ ไป ชวั่ โมงที่ 2 ขัน้ สอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครูให้นักเรียนจบั คูก่ ัน เพ่อื ชว่ ยกันตอบคำถามจากทคี่ รถู าม 2. ครูถามคำถามกับนักเรียนว่า ลักษณะการเคลื่อนที่ของรถไฟเหาะตีลังกาในสวนสนุก การเคลื่อนที่ของ ชิงชา้ สวรรค์เปน็ อยา่ งไร โดยครูให้นกั เรยี นดภู าพลกั ษณะการเคลือ่ นท่ี ในหนังสือเรียน หนา้ 160 (แนวตอบ : การเคล่ือนทขี่ องวัตถุในลกั ษณะเปน็ แนววงกลม หรอื แบบวงกลม) 3. ครูถามนักเรยี นตอ่ ว่า วัตถุสามารถเคลอ่ื นท่ีเป็นวงกลมไดอ้ ยา่ งไร (แนวตอบ : วตั ถมุ กี ารเคล่อื นทตี่ ามแนวโค้ง โดยมีแรงท่มี ีแนวทางต้ังฉากกับความเร็วมากระทำ ตลอดเวลา วตั ถุจึงเคลือ่ นที่แบบวงกลม) จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่
แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 64 4. ครูยกตวั อยา่ งว่า ถ้าเราใช้เชือกผูกวัตถุก้อนหนึ่งไว้ แล้วจบั ปลายอีกดา้ นหน่งึ ของเชือกเหวย่ี งใหว้ ตั ถุที่ผูกไว้ เคล่อื นทต่ี ามแนวโค้งจนอยู่ในลักษณะวงกลม ครูถามนกั เรยี นวา่ เกดิ แรงอะไรบ้าง และมที ศิ ทางใด (แนวตอบ : ขณะทว่ี ัตถเุ คลอื่ นท่ีเป็นวงกลม จะมีแรงตึงในเสน้ เชอื กดงึ วตั ถเุ ขา้ หาตัวเรา ถา้ เชือกท่ี ผกู วตั ถขุ าดขณะเหวี่ยง วตั ถจุ ะเคล่อื นทพ่ี ุ่งจากตวั เราเปน็ เส้นตรง แสดงวา่ แรงตงึ ในเส้นเชือกมีทิศเข้าสู่ ศนู ย์กลางทำใหว้ ัตถุเคล่อื นทเี่ ปน็ วงกลมได้) 5. ครูถามนักเรียนตอ่ ว่า การเคลื่อนที่แบบวงกลมจะมีแรงกระทำต่อวัตถุในทิศพุ่งเข้าหาศูนย์กลางของการ เคลื่อนที่ เรียกแรงนี้ว่าแรงอะไร (แนวตอบ : แรงสู่ศนู ยก์ ลาง) ข้นั สอน อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับแรงสู่ศูนย์กลาง คือ ความเร่งที่เกิดจากทิศทางของความเร็วตามแนวเส้น รอบวงท่ีเปลี่ยนแปลง โดยแรงสู่ศูนย์กลางมีทิศตั้งฉากกับความเร็วของวัตถุตลอดเวลา 2. ครูอธิบายต่อว่า การเคลื่อนที่แบบวงกลมแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ การเคลื่อนที่แบบวงกลมอย่าง สม่ำเสมอ และการเคลอ่ื นทแ่ี บบวงกลมอย่างไมส่ ม่ำเสมอ 3. ครเู ปิดโอกาสให้นักเรียนได้สอบถามในส่วนท่ีมีขอ้ สงสัยเกย่ี วกับการเคลื่อนท่ีแบบวงกลมในเบือ้ งต้น ขัน้ สรปุ ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครนู ำนักเรียนอภปิ รายและสรุปเกี่ยวกบั การเคล่ือนทแ่ี บบวงกลม วา่ เป็นการเคลื่อนท่มี ีการเปลี่ยนทิศทาง ตลอดเวลา ขณะวตั ถุเคลื่อนท่ีในแนววงกลม ต้องมีแรงกระทำกบั วัตถใุ นทิศพงุ่ เขา้ หาจดุ ศูนย์กลาง ซึ่งเรยี ก แรงลพั ธ์นว้ี ่า แรงสู่ศูนย์กลาง (⃑Fc) โดยแรงส่ศู ูนย์กลางมที ิศตั้งฉากกับความเรว็ ของวัตถุตลอดเวลา 2. ครเู ปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเนื้อหาเรื่อง การเคลื่อนทแี่ บบวงกลม ว่ามสี ่วนไหนท่ียงั ไม่เข้าใจและให้ ความรเู้ พิม่ เติมในส่วนนั้น เพอ่ื เป็นความรูน้ ำไปสู่การศกึ ษาเกย่ี วกับเงือ่ นไงของการเคล่ือนทีแ่ บบวงกลมใน ลกั ษณะต่าง ๆ 3. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยคำถามจาก Unit Question 4 และทำแบบฝึกหัด เรื่อง การเคลื่อนที่แบบ วงกลม จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่
แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 65 ชวั่ โมงที่ 3-4 3-4ขน้ั นำ กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครทู บทวนความรเู้ ก่ียวกบั ลักษณะของการเคลือ่ นท่แี บบวงกลม 2. ครตู ้งั คำถามเพอ่ื กระตุ้นกบั นกั เรียนว่า • การเคล่อื นท่แี บบวงกลมอย่างสมำ่ เสมอ มีลักษณะการเคลือ่ นที่อยา่ งไร • การเคลื่อนทแี่ บบวงกลมอย่างสม่ำเสมอสามารถอธบิ ายได้โดยอาศัยกฎของนวิ ตันไดอ้ ย่างไร 3. แจง้ ใหน้ ักเรียนทราบว่า จะไดศ้ กึ ษาเกีย่ วกบั การเคล่อื นท่แี บบวงกลมอยา่ งสม่ำเสมอ ข้ันสอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครูให้นักเรียนแต่ละคนสืบค้นข้อมูลเพื่อหาคำตอบจากรายละเอียดในหนังสือเรียน หน้า 161-163 เพ่ือ สรุปเปน็ ความเขา้ ใจของตนเอง 2. ครชู ีใ้ นนักเรยี นเหน็ วา่ การเคลอื่ นท่ีแบบวงกลมสม่ำเสมอ คอื การเคลอ่ื นท่ีที่มีขนาดของความเร็วเท่าเดิม สม่ำเสมอแต่ทิศทางเปลี่ยนไปทีละน้อย และเป็นการเคลื่อนที่แบบวงกลมที่มีอัตราเร็วคงตัว ดัง ภาพประกอบ หนา้ 162 แสดงวตั ถเุ คลอื่ นทจ่ี ากตำแหนง่ A ไป B ในแนวรัศมวี งกลมอตั ราเร็วคงตัว 3. ครูให้นักเรียนพิจารณาการเคลื่อนที่ของวัตถุจากตำแหน่ง A ไปยังตำแหน่ง B ในช่วงเวลา ∆t ตาม รายละเอยี ดในหนังสอื หนา้ 162 เพือ่ หาความสมั พันธข์ องความเรง่ สศู่ นู ย์กลาง 3. ครูและนักเรียนรว่ มกันอภิปรายและสรปุ เกยี่ วกับการเคล่อื นทีแ่ บบวงกลมอย่างสมำ่ เสมอ t ข้นั สอน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูอธิบายว่าการเคลื่อนที่แบบวงกลมแบบสม่ำเสมอ สามารถอธิบายได้โดยอาศัยกฎของนิวตัน ดังน้ี • จากกฎขอ้ ท่ีหน่งึ อธิบายได้ว่า มวลยังคงหมุนไมเ่ ปลี่ยนแปลงจนกวา่ จะมแี รงมากระทำ ดังน้นั มวลก็ ยังคงสภาพหมุนต่อไป • จากกฎข้อท่ีสอง อธิบายได้วา่ แรงและความเร่งจำเป็นต้องรักษาตำแหนง่ ในการเคลื่อนที่ เมื่อมวล เคลื่อนที่เป็นวงกลมสม่ำเสมอ (ความเร็วคงตัว) ความเร่งมีทิศเข้าสู่ศูนย์กลาง เรียกว่า ความเร่งสู่ ศูนย์กลาง ดังนั้นต้องมีแรงกระทำสู่ศูนย์กลางเพื่อทำให้มวลเคลื่อนที่เป็นวงกลมในกรณีนี้แรงสู่ จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผูช้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่
แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 66 ศนู ยก์ ลาง คือ แรงตงึ เชอื ก และจากนยิ ามของความเรง่ ∆v นักเรียนจะไดค้ วามสัมพันธ์ของสมการ ∆t v2 คือ ac = r ซงึ่ r คือ รศั มีการเคลอ่ื นทใ่ี นแนววงกลม • แรงเข้าสู่ศูนย์กลาง (Fc) คือ แรงที่กระทำต่อวตั ถุในการเคลื่อนที่แบบวงกลมมิทิศเดียวกับทิศของ ความเรง่ • จากกฎข้อที่สอง ถา้ มแี รงลพั ธ์ท่ีมากระทำต่อวัตถกุ ับความเร่งของวัตถุจะมีทิศทางเดียวกัน คือ ทิศ พุง เขา้ หาจดุ ศูนย์กลาง สามารถเขียนเปน็ สมการได้ว่า Fc = mac = mv2 r 2. ครูเปิดโอกาสให้นักเรยี นสอบถามเนือ้ หาเรื่อง การเคลื่อนทีแ่ บบวงกลมแบบสม่ำเสมอ วา่ มสี ว่ นไหนทย่ี ังไม่ เข้าใจและให้ความรู้เพิ่มเติมนส่วนนั้น เพื่อเป็นความรู้นำไปสู่การศกึ ษาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบวงกลม แบบไม่สม่ำเสมอ ขั้นสรุป ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครใู ห้นกั เรียนศกึ ษาตวั อย่างที่ 4.5 เกย่ี วกับการคำนวณหาความเร่งสู่ศูนยก์ ลาง พรอ้ มท้ังให้นักเรียนฝึกแก้ โจทยป์ ัญหาในหนงั สือเรียน หนา้ 163 ตามขั้นตอนการแก้โจทยป์ ญั หา ดงั นี้ • ขนั้ ที่ 1 ครูใหน้ กั เรยี นทกุ คนทำความเขา้ ใจโจทย์ตวั อยา่ ง • ข้ันท่ี 2 ครูถามนกั เรียนวา่ สิง่ ท่ีโจทย์ต้องการถามหาคืออะไร และจะหาส่งิ ท่ีโจทย์ต้องการ ต้องทำ อยา่ งไร • ขนั้ ที่ 3 ครูใหน้ กั เรยี นดูวธิ ที ำในการคำนวณหาคำตอบ • ขน้ั ท่ี 4 ตรวจสอบคำตอบของโจทย์ตัวอย่างวา่ ถกู ตอ้ ง หรอื ไม่ 2. ครูเปิดโอกาสใหน้ กั เรยี นสอบถามเนื้อหาเรือ่ ง การเคลื่อนที่แบบวงกลมแบบสมำ่ เสมอ ความเร่งสูศ่ นู ย์กลาง และแรงเข้าสศู่ ูนยก์ ลาง ว่ามสี ว่ นไหนท่ียังไม่เขา้ ใจและใหค้ วามรู้เพม่ิ เตมิ ในส่วนน้ัน 3. ครูใหน้ กั เรียนตอบคำถามจาก Unit Question 4 และทำแบบฝึกหัด เรื่อง การเคลอื่ นที่แบบวงกลม 4. ครูยกตัวอย่างแรงสู่ศูนย์กลางในชีวิตประจำวัน เช่น การขี่จักรยาน เมื่อเลี้ยวจักรยานไปทางซ้าย เราจะ รู้สึกว่ามีแรง F ดึงเราไปทางขวา เรียกว่า แรงเฉื่อย เราจึงต้องเอียงรถไปทางซ้ายเพื่อสรา้ งสมดุลกันแรง เฉอ่ื ยท่เี กิดขึน้ ทำใหแ้ รง F กบั น้ำหนกั W เกดิ เปน็ แรงลพั ธ์ R ผา่ นลอ้ รถไปสมั ผัสกับพ้ืน ในเวลานั้นเราจะ รสู้ กึ เหมอื นนัง่ ตวั ตรงเปน็ แนวดิง่ กดลงบนอานรถ โดยไม่รู้สกึ วา่ ตัวเอยี ง และจักรยานรกั ษาความเอียงเป็น มุม θ เลีย้ วไปตามทางโคง้ ได้อย่างต่อเนอื่ ง จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่
แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 67 ช่ัวโมงท่ี 5-6 ขน้ั นำ กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูทบทวนเก่ียวกับการเคลื่อนทีแ่ บบวงกลมแบบสม่ำเสมอ ความเร่งสู่ศูนย์กลาง และแรงเข้าสู่ศูนย์กลาง เพอ่ื นำไปสู่การเรยี นเรื่อง ความสัมพนั ธร์ ะหว่างอตั ราเรว็ เชงิ เสน้ (v) และอตั ราเรว็ เชิงมุม (ω) 2. ครูเน้นให้นักเรียนทราบว่า การเคลื่อนที่แบบวงกลมแบบสม่ำเสมอ คือ การเคลื่อนที่แบบวงกลมที่มี อัตราเรว็ คงตวั น่นั คอื การเคลอื่ นท่ที ่มี ขี นาดของความเรว็ เท่าเดมิ สมำ่ เสมอ แต่ทิศทางเปลีย่ นไปทีละน้อย 3. ครูถามคำถามกระตุน้ กบั นักเรียน ดังนี้ • อตั ราเร็วเชิงเสน้ (v) และอตั ราเร็วเชิงมุม (ω) มีความหมายแตกต่างกันอย่างไร (แนวตอบ : อตั ราเร็วเชงิ เสน้ (v) คอื ระยะทางที่วตั ถเุ คลื่อนท่ีได้ตามแนวเสน้ รอบวงในหน่ึงหน่วย เวลา ส่วนอัตราเรว็ เชงิ มมุ (ω) คอื มุมที่รศั มีของการเคลื่อนทกี่ วาดไปในหนงึ่ หนว่ ยเวลา) • คาบ (T) และความถ่ี (f) เก่ียวขอ้ งกับการเคลอื่ นท่แี บบวงกลมอยา่ งไร (แนวตอบ : เวลาที่วัตถุใชใ้ นการเคลื่อนทคี่ รบ 1 รอบ เรยี กว่า คาบ มีหนว่ ยเปน็ วนิ าที ส่วนความถ่ี จำนวนรอบทว่ี ตั ถเุ คลือ่ นทีไ่ ด้ (จะก่รี อบก็ตาม) ใน 1 วินาที มีหนว่ ยเป็นรอบตอ่ วินาที) 4. แจง้ ใหน้ ักเรียนทราบว่า จะไดศ้ ึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธร์ ะหว่างอัตราเร็วเชงิ เส้น (v) และอัตราเร็วเชิงมุม (ω) ของการเคลื่อนท่แี บบวงกลม ขัน้ สอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูให้นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับความแตกต่างของอัตราเร็วเชิงเส้น (v) และอัตราเร็วเชิงมุม (ω) ตาม รายละเอียดจากหนังสือเรียน หนา้ 164 2. นักเรียนรว่ มกนั สบื คน้ ขอ้ มลู จากหนงั สอื เรียน หรือจากแหล่งเรียนรตู้ า่ ง ๆ เช่น อนิ เตอรเ์ นต็ ขนั้ สอน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. สุ่มนักเรียนให้ออกมาอภิปรายร่วมกับครูเกี่ยวกับความแตกต่างของอัตราเร็วเชิงเส้น (v) และอัตราเร็ว เชงิ มมุ (ω) โดยพจิ ารณาวัตถุที่เคลื่อนท่แี บบวงกลมในระนาบด้วยอัตราเรว็ คงตวั และมีรัศมีการเคลื่อนท่ี ในแนววงกลมเท่ากบั r ดงั ภาพจากหนงั สอื เรยี น หนา้ 164 จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่
แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 68 2. ครูนำนกั เรียนอภิปราย ดังน้ี • เมือ่ วตั ถุมีการเคล่ือนที่ครบ 1 รอบ และชว่ งเวลาท่ีใช้ในการเคลื่อนท่ีใน 1 รอบ คือ T ดังน้ัน เม่ือ นำระยะทางเชิงเส้นทวี่ ัตถเุ คลอ่ื นทไ่ี ดใ้ น 1 รอบไปเทียบกบั เวลาที่ใช้ในการเคล่ือนท่จี ะเกิดปริมาณ ที่เรียกวา่ อัตราเรว็ เชิงเสน้ (v) เป็นระยะทางตามแนวเส้นรอบวงของวงกลมที่วัตถุเคล่ือนท่ีได้ใน หน่ึงหน่วยเวลา สามารถเขยี นในรูปสมการ คอื ������ = 2������rf • เมื่อเราพิจารณาที่ระยะเชิงมมุ ที่เปลี่ยนไปตอ่ เวลาจะเกิดปริมาณที่เรียกว่า อัตราเร็วเชิงมมุ (ω) เป็นมุมที่จุดศนู ย์กลางของวงกลมท่ีรัศมีกวาดไปได้ในหนึง่ หน่วยเวลา สามารถเขียนในรูปสมการ คือ ω = θ = 2π = 2πr = v TT r 3. ครูอธิบายว่า การบอกมุมนอกจากจะมีหน่วยเป็นองศาแล้ว ยังอาจใช้หน่วยเรเดียน (radian) ซึ่งนักเรียน จะได้ศกึ ษาความรเู้ พิม่ เติมได้จากกรอบ Physics Focus เร่อื ง เรเดียน 4. ครยู กตวั อย่างที่ 4.7 จากหนังสือเรยี น หน้า 166 เพ่อื เสรมิ ความเข้าใจในการใช้สมการท่ีใช้สำหรับคำนวณ ที่เรียนมา 5. ครูเปิดโอกาสให้นักเรยี นสอบถามเนอ้ื หาเรอื่ ง อัตราเร็วเชิงเส้น (v) และอัตราเร็วเชิงมมุ (ω) วา่ มสี ว่ นไหน ที่ยังไม่เข้าใจและให้ความรู้เพ่ิมเติมในสว่ นนนั้ 6. ครูใหน้ ักเรียนตอบคำถามจาก Unit Question 4 เรอื่ ง การเคลอ่ื นที่แบบวงกลม ขัน้ สรุป ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครูนำอภปิ รายและสรุปเก่ียวกับความสัมพนั ธ์ระหวา่ งอตั ราเร็วเชงิ เส้น (v) และอัตราเร็วเชิงมุม (ω) ของ การเคลื่อนท่ีแบบวงกลมทมี่ อี ัตราเร็วคงตวั 2. จากนั้นครูให้นักเรียนศึกษาตัวอย่างที่ 4.8 การคำนวณจากโจทย์ปญั หา พร้อมทั้งให้นักเรียนฝึกแก้โจทย์ ปัญหาในหนังสือเรยี น หน้า 167 ตามขนั้ ตอนการแก้โจทยป์ ัญหา ดังน้ี • ขนั้ ท่ี 1 ครูใหน้ กั เรยี นทุกคนทำความเขา้ ใจโจทยต์ วั อย่าง • ขั้นท่ี 2 ครถู ามนักเรียนวา่ ส่ิงทีโ่ จทย์ต้องการถามหาคอื อะไร และจะหาสง่ิ ท่ีโจทย์ต้องการ ต้องทำ อยา่ งไร • ขั้นท่ี 3 ครใู หน้ ักเรยี นดวู ธิ ีทำในการคำนวณหาคำตอบ • ขน้ั ที่ 4 ตรวจสอบคำตอบของโจทย์ตวั อยา่ งว่าถูกตอ้ ง หรือไม่ 3. ครูสุ่มนักเรยี น 1 คนมาอธบิ ายวธิ ีการคำนวณหนา้ ช้ันเรียน 4. ครูให้นกั เรียนตอบคำถามจาก Unit Question 4 จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผ้ชู ่วย กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่
แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 69 ช่ัวโมงที่ 7-8 ขนั้ นำ กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครทู บทวนความร้เู ดิมเกยี่ วกับเรอ่ื ง การเคล่ือนท่แี บบวงกลมอย่างสม่ำเสมอ 2. ครนู ำเข้าสู่บทเรยี น โดยครถู ามคำถาม ดังน้ี • การเคลอื่ นทแ่ี บบวงกลมอยา่ งไมส่ มำ่ เสมอ มีลกั ษณะการเคลอ่ื นท่ีอย่างไร (แนวตอบ : การเคล่ือนท่ีแบบวงกลมดว้ ยความเร็วไม่คงท่ี) • ให้นกั เรียนยกตัวอย่างการเคลอ่ื นท่ีแบบวงกลมอย่างไมส่ ม่ำเสมอ (แนวตอบ : การเคลอ่ื นท่ขี องสเกตบอร์ดบนอปุ กรณ์) 3. ครูแจ้งใหน้ กั เรียนทราบวา่ การเคลอื่ นท่แี บบวงกลมอยา่ งไมส่ ม่ำเสมอ ขัน้ สอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครูให้นักเรียนจับคู่กัน และปรึกษากันว่า การเคลื่อนที่แบบวงกลมอย่างสม่ำเสมอกับการเคลื่อนที่แบบ วงกลมอย่างไมส่ ม่ำเสมอ แตกต่างกนั อยา่ งไร 2. ครูให้นักเรียนศึกษารายละเอยี ดของสมการจากหนงั สือเรยี น หนา้ 168 3. นักเรียนนำข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นมาวิเคราะห์และเรียบเรียงเนื้อหาเพื่อใช้สำหรับการนำเสนอโดย แลกเปล่ยี นความคดิ เหน็ กนั ในแตล่ ะคู่ จากนนั้ อธบิ ายซักถามกันจนเข้าใจตรงกัน 4. ครูสมุ่ เรยี กนักเรียนมา 1 คู่ ออกมาวเิ คราะห์และนำเสนอหน้าช้นั เรยี น ข้นั สอน อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูอธิบายเกยี่ วกบั การเคล่อื นทแี่ บบวงกลมอยา่ งไม่สม่ำเสมอวา่ เปน็ การเคล่อื นทีแ่ บบวงกลมด้วยอตั ราเร็ว ไมค่ งตัว ซ่ึงขนาดและทศิ ของความเรว็ ของวตั ถจุ ะไมค่ งตัว 2. ครูให้นักเรียนพิจารณาภาพการเคลื่อนที่ของสเกตบอร์ดบนอุปกรณ์ที่มีลักษณะเป็นห่วงแนวตั้ง ซึ่งเม่ือ พิจารณา free-body diagram จะมแี รงอย่างน้อย 2 แรงกระทำตอ่ วัตถุตลอดเวลา คอื - แรงเนอ่ื งจากนำ้ หนักของวัตถุ W = mg - แรงตงั้ ฉาก N จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่
แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 70 ข้นั สรุป ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครใู ห้นักเรียนศกึ ษาตวั อยา่ งการคำนวณจากโจทย์ปญั หา พร้อมท้งั ใหน้ กั เรียนฝึกแกโ้ จทย์ปญั หาในหนังสือ เรยี น หนา้ 169 ตามข้ันตอนการแก้โจทย์ปัญหา ดงั น้ี • ขั้นที่ 1 ครใู หน้ กั เรยี นทกุ คนทำความเข้าใจโจทยต์ วั อย่าง • ขัน้ ที่ 2 ครถู ามนกั เรียนว่า ส่ิงท่ีโจทย์ต้องการถามหาคอื อะไร และจะหาสิง่ ที่โจทย์ต้องการ ต้องทำ อย่างไร • ขนั้ ท่ี 3 ครูใหน้ ักเรียนดวู ธิ ีทำในการคำนวณหาคำตอบ • ขนั้ ท่ี 4 ตรวจสอบคำตอบของโจทยต์ ัวอยา่ งวา่ ถูกตอ้ ง หรือไม่ 2. ครูถามคำถาม H.O.T.S กับนักเรียนว่า ปัจจัยใดบ้างท่ีมผี ลทำให้อัตราเร็วของการเคลือ่ นทีแ่ บบวงกลมไม่ สามารถรักษาสภาพการเคลื่อนท่ใี หค้ งทอ่ี ย่ไู ด้ (แนวตอบ: แรงลพั ธท์ ี่มากระทำต่อวตั ถุ) 3. ครูให้นกั เรียนตอบคำถามจาก Unit Question 4 เร่อื งการเคล่อื นทแ่ี บบวงกลม ชั่วโมงท่ี 9-10 ข้นั นำ กระตุน้ ความสนใจ (Engage) 1. ครทู บทวนเกี่ยวกับการเคลอื่ นท่ีแบบวงกลมอยา่ งสมำ่ เสมอและไมส่ มำ่ เสมอ 2. ครูถามคำถามเพื่อเป็นการกระตุ้นนกั เรียนว่า การที่เราขับรถไปเมือ่ ถึงทางโค้งแล้วเลี้ยวโค้งได้ เนื่องจาก แรงใด 3. ครแู จ้งหวั ขอ้ ในการเรียนใหน้ กั เรียนทราบว่า จะไดศ้ ึกษาเกี่ยวกบั การเคลือ่ นที่ของรถยนตบ์ นถนนโคง้ โดย บอกนักเรียนวา่ นักเรยี นตอ้ งสรุปให้ได้ว่า รถเลย้ี วโคง้ ไดเ้ นอื่ งจากแรงใด ขั้นสอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูสนธนาพูดคุยกับนักเรียนว่า ในชีวิตประจำวันของนักเรียนคงคุ้นเคยกบั การนั่งรถ ไม่ว่าจะเปน็ รถยนต์ รถประจำทาง หรอื รถจักรายานยนต์ ในขณะท่ีรถวิง่ ไปบนถนนที่เปน็ ทางโค้ง คนขับจะต้องลดความเร็วลง เพ่ือใหเ้ ข้าโคง้ ได้อยา่ งปลอดภัย นักเรียนอาจสังเกตเห็นวา่ รถจักรยานยนตบ์ างคันต้องเอียงทำมุมกับถนน จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่
แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 71 ราบในขณะที่เข้าโค้ง หรืออาจสังเกตเห็นบริเวณทางโค้งพื้นถนนจะยกตัวให้ลาดเอียง เนื่องจากรถวิ่งบน ทางโค้งเป็นการเคลอ่ื นที่แบบวงกลม จึงมีแรงส่ศู นู ยก์ ลางมากระทำต่อรถ 2. ครชู ้แี จงใหน้ ักเรยี นทราบวา่ นักเรยี นจะได้เรยี นรู้เก่ียวกับแรงท่เี ก่ียวขอ้ งกบั การเคลื่อนท่บี นทางโคง้ และการ ขบั ข่ีท่ีปลอดภยั บนทางโค้ง 3. ครูถามนกั เรียนว่า รถยนต์เลีย้ วโคง้ ได้เน่อื งจากแรงใด โดยครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษารายละเอียดจากหนังสือ เรียน หนา้ 171 (แรงเสียดทานระหวา่ งยางถนนในแนวด้านข้าง) 4. ครูอธบิ ายเพม่ิ เตมิ ว่า ขณะรถยนตเ์ ลีย้ วโค้งบนถนนโค้งราบ ซึ่งมแี นวทางการเคลอ่ื นทเี่ ป็นวงกลม (ดังภาพ หนา้ 171) ขณะทรี่ ถยนตว์ ง่ิ บนทางโค้ง ซงึ่ เป็นการเคล่อื นที่แบบวงกลม ดังนน้ั ตอ้ งมแี รงส่ศู นู ย์กลางกระทำ ต่อรถ เมอ่ื พิจารณาแรงท่ีกระทำตอ่ รถ พบวา่ ขณะทรี่ ถยนตเ์ ล้ียวโค้งรถจะพยายามไถลออกจากโค้ง จึงมี แรงเสยี ดทานที่พ้ืนกระทำต่อลอ้ รถในทิศทางพุง่ เขา้ ในแนวผา่ นจดุ ศนู ย์กลางความโค้ง ดังนน้ั แรงเสียดทาน ท่ีพนื้ กระทำตอ่ ล้อรถคือแรงสู่ศนู ยก์ ลาง 5. ครูถามนกั เรยี นตอ่ วา่ แรงเสยี ดทานทเี่ กิดข้ึน คอื แรงเสยี ดทานชนดิ ใด (แรงเสียดทานสถติ ) 6. ครูให้นักเรียนพิจารณาภาพรถยนต์เล้ียงบนพื้นถนนเอียงโดยไม่มแี รงเสียดทาน โดยถามนกั เรียนวา่ มแี รง อะไรเกิดข้นึ บ้าง 7. นกั เรียนช่วยกนั ตอบคำถาม ขน้ั สอน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูสุ่มนกั เรียนเพ่อื ตอบคำถาม โดยครูอธิบายความรู้เพ่มิ เติม เพอ่ื ให้นกั เรยี นเกิดความเข้าใจข้นึ 2. ครูอธบิ ายกบั นักเรียนวา่ ขณะเล้ยี วรถแรงกระทำตอ่ รถมนี ำ้ หนกั ของรถและคนขับ (mg) และแรงปฏิกิริยา ตั้งฉาก (N) รถจะเลย้ี วได้เรว็ หรือช้าอยา่ งปลอดภัย ขน้ึ อย่กู บั คา่ สัมประสิทธ์ขิ องความเสยี ดทานระหว่างพื้น กับล้อ ถ้ามีมากรถเลี้ยวได้ด้วยอัตราเร็วสูง แต่ถ้ามีน้อย รถเลี้ยวด้วยอัตราเร็วตำ่ และถ้าสัมประสิทธิ์ของ ความเสียดทานระหวา่ งพ้ืนเอยี งกบั ลอ้ เปน็ ศูนย์ รถไม่สามารถเลยี้ วโคง้ ไดเ้ ลย ดังน้นั จึงมกี ารแก้ไขโดยการ เอียงพ้ืนถนน เพอ่ื อาศยั แรงปฏกิ ริ ิยาท่พี ื้นกระทำต่อรถเป็นแรงสศู่ ูนยก์ ลาง โดยไม่อาศยั แรงเสยี ดทาน 3. ครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ ว่า ไมว่ า่ รถจะเลี้ยวโค้งแล้วเอียงรถ หรือโคง้ บนพ้นื เอยี งลืน่ แล้วทำมุม θ ท่ีเกิดจากการ เอียงของทั้งสองกรณีคอื มุมเดียวกัน จะใช้สมการเดยี วกนั คอื tan θ = v2 gr จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่
แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 72 ข้ันสรปุ ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครูใหน้ ักเรียนศึกษาตวั อยา่ งการคำนวณจากโจทย์ปัญหา พรอ้ มทงั้ ใหน้ กั เรยี นฝกึ แก้โจทย์ปญั หาในหนังสือ เรยี น หน้า 172 ตามข้นั ตอนการแกโ้ จทยป์ ัญหา ดังน้ี • ขน้ั ท่ี 1 ครูให้นักเรยี นทกุ คนทำความเขา้ ใจโจทย์ตัวอย่าง • ขัน้ ที่ 2 ครถู ามนกั เรยี นว่า สิ่งท่ีโจทย์ต้องการถามหาคอื อะไร และจะหาสงิ่ ที่โจทย์ต้องการ ต้องทำ อยา่ งไร • ขั้นท่ี 3 ครูใหน้ กั เรยี นดูวธิ ที ำในการคำนวณหาคำตอบ • ข้ันท่ี 4 ตรวจสอบคำตอบของโจทยต์ ัวอย่างว่าถูกต้อง หรอื ไม่ 2. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเก่ียวกับการเคลือ่ นที่แบบโพรเจกไทล์ โดยใช้สื่อ power point และสื่อ animation จากหนงั สือเรยี น หนา้ 171 3. ครใู หน้ กั เรียนตอบคำถามจาก Unit Question 4 4. ครใู ห้นกั เรียนตง้ั คาถามทน่ี ักเรยี นอยากรเู้ พิ่มเตมิ ช่ัวโมงท่ี 11 ขน้ั นำ กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครูทบทวนเกยี่ วกบั การเคล่ือนท่ีของรถยนตบ์ นถนนโค้ง 2. ครถู ามคำถามเพ่ือเปน็ การกระตุ้นนักเรียน ดังน้ี • ดาวเทยี ม คืออะไร (แนวตอบ : ดาวเทียม คือ สง่ิ ที่เกิดจากการประดิษฐข์ ึ้นของมนุษย์ เป็นการเลยี นแบบดาวบริวาร ของดาวเคราะห์ สามารถลอยอยู่ในอวกาศและโคจรรอบโลกโดยไม่หลุดจากวงโคจร มีอุปกรณ์ สำหรบั รวบรวมขอ้ มูลเกยี่ วกบั อวกาศ และถา่ ยทอดข้อมลู น้นั มายังโลก) • เหตุใดดาวเทียมจึงโคจรรอบโลกไดโ้ ดยไม่ตกลงสพู่ นื้ ผิวโลก (แนวตอบ : ดาวเทียมโคจรรอบโลกได้โดยแรงโน้มถ่วงของโลกดึงดาวเทียมให้ตกลงพื้น แต่ ดาวเทียมมีความเร็วในแนวขนานพื้นโลกมาก มากจนแนวตกของดาวเทียมมันโค้งพอดีกับส่วนโค้ง ของโลกดาวเทยี มจงึ มแี นวการเคลอ่ื นทีข่ นานกับพ้ืนตลอดเวลา ทำใหม้ นั โคจรรอบโลกได)้ 3. ครูแจ้งหัวข้อในการเรียนให้นักเรียนทราบว่า จะได้ศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของดาวเทียม โดยบอก นกั เรยี นวา่ นักเรียนต้องสรุปให้ได้วา่ ดาวเทยี มเคลื่อนที่อย่างไร แลว้ ทำไมไม่ตกลงมาสู่พน้ื ผิวโลก จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่
แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 73 ข้ันสอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครใู หน้ กั เรยี นแบ่งกล่มุ กลมุ่ ละ 4 คน ตามความสมัครใจ เพ่อื ศกึ ษาความรจู้ ากหนงั สอื เรียน หรอื จากแหล่ง เรยี นรู้ตา่ ง ๆ ตามประเด็นทคี่ รกู ำหนด ดงั น้ี • ดาวเทียม คืออะไร มีประโยนช์อยา่ งไร • เพราะเหตใุ ดดาวเทียมจึงขึ้นไปโคจรรอบโลกได้ 2. ให้นักเรียนแตล่ ะครู่ ว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ และสรปุ ความรู้ทไ่ี ดศ้ กึ ษาจนเกดิ ความเข้าใจทีถ่ กู ต้อง แล้วเข้า รวมกลุม่ ใหญ่ตามเดิม เพอื่ สรปุ ประเดน็ ความรู้และแลกเปลี่ยนความรู้ทไ่ี ด้ศึกษา 3. ครูอธบิ ายใหน้ กั เรียนเขา้ ใจเก่ยี วกบั การโคจรของดาวเทยี มรอบโลก 4. ครตู ้งั ประเดน็ คำถามเพอื่ ประเมินความรูค้ วามเข้าใจของนกั เรยี นในเบ้อื งต้น ขั้นสอน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกตัวแทนกลุม่ ละ 1 คน ออกมาร่วมกันอภปิ ราย และสรุปประเด็นความรู้ที่ นักเรยี นไดร้ ว่ มกนั ศกึ ษา 2. ครรู ่วมแสดงความคดิ เหน็ และเสนอแนะเพ่ิมเตมิ ในส่วนทีย่ ังมีความไมช่ ดั เจนอยู่ 3. ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั สรุปความรู้เร่ือง การโคจรของดาวเทยี มรอบโลกว่า ดาวเทียมโคจรรอบโลกได้โดย แรงโน้มถว่ งของโลกดงึ ดาวเทยี มใหต้ กลงพืน้ แต่ดาวเทยี มมคี วามเร็วในแนวขนานพนื้ โลกมาก มากจนแนว ตกของดาวเทยี มมนั โค้งพอดีกบั สว่ นโคง้ ของโลกดาวเทยี มจึงมีแนวการเคล่ือนท่ขี นานกับพื้นตลอดเวลา ทำ ใหม้ นั โคจรรอบโลกได้ ขั้นสรปุ ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครูอธิบายว่า จากกฎข้อที่สองของนิวตัน แรงเนื่องจากความโน้มถ่วงก็คือ แรงสู่ศูนย์กลาง ที่กระทำต่อ ดาวเทยี มใหเ้ คล่ือนทเ่ี ปน็ วงกลมอยไู่ ด้ ดังสมการ v2 = GME โดยสมการแสดงถึงความเร็วของดาวเทียม r ทใ่ี ช้โคจรรอบโลก สังเกตวา่ ณ ตำแหน่งทีด่ าวเทยี มอย่หู า่ งจากผวิ โลกข้ึนไป ความเร็วของดาวเทียมท่ีใช้ใน การโคจรรอบโลกจะลดลง 2. ครูให้นักเรียนศึกษาตัวอย่างการคำนวณจากโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับการโคจรของดาวเทียม พร้อมทั้งให้ นักเรียนฝึกแกโ้ จทย์ปญั หาในหนงั สอื เรียน หนา้ 177-178 ตามขั้นตอนการแก้โจทย์ปญั หา ดังนี้ จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่
แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 74 • ขน้ั ที่ 1 ครูใหน้ กั เรียนทุกคนทำความเขา้ ใจโจทยต์ ัวอยา่ ง • ข้นั ที่ 2 ครถู ามนักเรียนวา่ สิง่ ทีโ่ จทยต์ ้องการถามหาคืออะไร และจะหาสงิ่ ท่ีโจทย์ต้องการ ต้องทำ อย่างไร • ขั้นท่ี 3 ครูให้นกั เรียนดวู ิธีทำในการคำนวณหาคำตอบ • ขั้นท่ี 4 ตรวจสอบคำตอบของโจทยต์ ัวอยา่ งวา่ ถูกต้อง หรือไม่ 3. ครูให้ความรู้เพ่ิมเตมิ เกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ โดยใช้สื่อ power point และสื่อ animation จากหนงั สือเรยี น หนา้ 176 4. ครใู ห้นักเรยี นตอบคำถามจาก Unit Question 4 เรือ่ ง การเคลือ่ นทขี่ องดาวเทยี ม 5. ครใู ห้นักเรียนทำแบบฝกึ หดั เร่ือง การเคล่อื นทข่ี องดาวเทียม 6. ครใู ห้นกั เรียนตัง้ คาถามท่ีนกั เรยี นอยากรู้เพมิ่ เตมิ ช่วั โมงท่ี 12 ข้ันนำ กระต้นุ ความสนใจ (Engage) 1. ครูทบทวนเกย่ี วกับการเคลอื่ นท่ีแบบวงกลม ดังน้ี การเคลอื่ นที่แบบวงกลม คอื การเคลอื่ นที่ที่มเี ส้นทางการเคล่ือนทีเ่ ป็นรูปวงกลม เน่อื งจากแรงทม่ี ี ทิศเข้าสู่ศูนยก์ ลางของการเคลื่อนท่ี เรียกแรงนี้วา่ แรงสู่ศูนย์กลาง แรงนี้ทำให้ความเร็วของวัตถุเปลี่ยนทศิ ตลอดเวลาโดยทีค่ วามเรว็ มีทศิ ตามเส้นสมั ผัสเส้นโค้ง 2. ครูถามคำถามกอ่ นทำกจิ กรรมการทดลอง เพือ่ เป็นการกระต้นุ นกั เรียน ดังน้ี • การเคล่อื นท่ีแบบวงกลมมลี ักษณะเปน็ อยา่ งไร • ปรมิ าณการเคลื่อนทีแ่ บบวงกลมมีอะไรบา้ ง และแตล่ ะปริมาณมคี วามสมั พนั ธ์กันอยา่ งไร ขั้นสอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครูใหค้ วามร้กู ับนกั เรียนเรอ่ื ง แรงสศู่ ูนย์กลาง คาบ ความถ่ี ความสัมพนั ธ์ระหว่างคาบกบั ความถ่ี อัตราเร็ว กบั คาบ และอัตราเรว็ กบั ความถี่ 2. ครใู หน้ ักเรยี นแบง่ กลุ่ม ซง่ึ ครูอาจใชเ้ ทคนคิ การแบ่งกลมุ่ ผลสัมฤทธ์ิ (STAD) คอื การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ท่มี สี มาชกิ กล่มุ 4–5 คน มรี ะดับสตปิ ญั ญาแตกตา่ งกนั คือ เก่ง 1 คน: ปานกลาง 2–3 คน: ออ่ น 1 คน พร้อมท้ังเลอื กประธานกล่มุ รองประธานกลุ่ม เลขานุการกล่มุ และสมาชิกกล่มุ โดยมีหนา้ ท่ี ดงั นี้ - ประธานกลุ่ม มีหน้าทีค่ วบคมุ การทำกิจกรรมการทดลอง - รองประธานกลุ่ม มีหนา้ ที่ วางแผนในการทำกิจกรรมทดลอง จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่
แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 75 - เลขานกุ ารกล่มุ มหี น้าที่ อำนวยความสะดวกในการทำกิจกรรมการทดลอง - สมาชิกกลุ่ม มีหนา้ ที่ นำเสนอผลการทำกจิ กรรม - สมาชิกกลุ่ม มหี นา้ ที่ รวบรวมองคค์ วามรู้และผลงานกลมุ่ 3. ครชู แี้ จงจดุ ประสงค์การทดลองให้นักเรียนทราบ ดังน้ี • เพ่ือศึกษาลักษณะการเคลื่อนท่แี บบวงกลม • เพ่ือสังเกตความสมั พนั ธ์ของแรงสศู่ ูนยก์ ลางคาบและรัศมีของการเคลอ่ื นทีแ่ บบวงกลม 4. ครูให้ความรู้ที่จำเป็นต่อการทดลอง จากนั้นให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทำการทดลองตามขั้นตอนและ รายละเอียดในในหนังสอื เรยี น หนา้ 179-180 5. ครอู าจถามกระตนุ้ ใหน้ กั เรียนได้คดิ ดว้ ยตัวอย่างคำถามต่อไปน้ี • เมื่อขนาดของแรงดึงในเส้นเชอื กและรศั มีของการเคล่อื นที่เพม่ิ ข้นึ ช่วงเวลาในการเคล่อื นที่ ครบรอบของจกุ ยางเปน็ อย่างไร • เพราะเหตุใดนักเรยี นจงึ ไมค่ วรทำปมบนเส้นเชอื กท่ีอยูต่ ดิ กับปลายล่างของท่อพวี ีซีเพอ่ื ให้รัศมีเท่า เดมิ ตลอดการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม • เมื่อขนาดของแรงดงึ ในเสน้ เชอื กเพมิ่ ข้นึ ชว่ งเวลาในการเคลื่อนท่ีครบรอบของจกุ ยางเป็นแบบใด 6. นักเรียนแต่ละกลุ่มวิเคราะห์สรุปผลการทดลอง ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายการทดลองตามแนวคำถาม ท้ายการทดลอง และสรุปผลการเรียนรู้จากการทดลอง ขน้ั สอน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูให้สมาชกิ แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลการทดลอง และสรุปร่วมกัน 2. ครูและนักเรยี นจะสรปุ ผลการทดลองร่วมกันว่า ตอนที่ 1 เมอ่ื รัศมขี องการเคลื่อนท่ีคงตวั ขนาดของแรงสศู่ นู ย์กลางเพม่ิ ขึ้น คาบของการเคลือ่ นทข่ี อง จกุ ยางจะลดลง และกราฟระหว่างขนาดของแรงดงึ ในเส้นเชือก F กับสว่ นกลับของคาบกำลงั สอง 1 เป็น T2 1 กราฟเสน้ ตรงผ่านจดุ กำเนิด แสดงว่า F แปรผันตรงกับ T2 ตอนที่ 2 ขณะแรงดึงในเสน้ เชือกคงตัว คาบของการเคล่ือนที่ของจุกยางจะเพิ่มข้ึน ถ้ารัศมีของการ เคล่อื นที่เพม่ิ และกราฟระหว่างรศั มี r ของการเคลอื่ นทีก่ ับคาบกำลังสอง T2 เปน็ กราฟเส้นตรงแสดงว่า r แปรผนั ตรงกบั T2 จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ูช้ ่วย กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่
แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 76 ขนั้ สรปุ ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครูและนกั เรยี นร่วมกันอภปิ รายยกตัวอย่างการใช้ประโยชน์ของการเคลื่อนที่แบบวงกลมในชีวิตประจำวัน เชน่ การเคลอื่ นทบ่ี นทางโคง้ การโคจรของดาวเทียมรอบโลก รถไต่ถัง เป็นตน้ 2. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเกีย่ วกับการการเคลื่อนท่แี บบวงกลม โดยใช้ส่อื power point และสื่อ animation 3. ครูใหน้ กั เรยี นสรปุ เป็นแผนผงั มโนทัศน์ (Concept Mapping) เร่อื ง การเคล่ือนท่ีแบบวงกลม 4. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั เฉลยคำถามจาก Unit Question 4 5. ครูให้นกั เรียนตั้งคาถามท่ีนักเรียนอยากรู้เพิ่มเติม ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครตู รวจสอบผลการทำแบบทดสอบหลังเรียน 2. ครปู ระเมินผล โดยการสังเกตการตอบคำถาม การร่วมกันทำผลงาน และจากการนำเสนอผลงาน 3. ครูสังเกตความสนใจ ความกระตือรือร้นในการเรยี นรูข้ องนักเรยี น 4. ครูวัดและประเมินผลจากใบงานท่ี 4.3 เรื่อง การเคลอ่ื นที่แบบวงกลม 5. ครตู รวจการทำแบบฝกึ หัดจาก Unit Question 4 เรอื่ ง การเคล่อื นทีแ่ บบวงกลม 6. ครตู รวจแบบฝกึ หดั เรือ่ ง การเคล่ือนที่แบบวงกลม 7. ครูประเมินผลงานจากแผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) ที่นักเรียนได้สร้างข้นึ จากขั้นขยายความ เขา้ ใจของนักเรยี นเปน็ รายบุคคล จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผ้ชู ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 77 7. การวัดและประเมินผล รายการวดั วิธีวดั เคร่ืองมือ เกณฑ์การประเมนิ - ใบงานที่ 4.3 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 7.1 การประเมนิ ระหว่าง การจัดกิจกรรม 1) การเคลื่อนทแ่ี บบ - ตรวจใบงานท่ี 4.3 วงกลม 2) การนำเสนอ - ประเมนิ การนำเสนอ - ผลงานท่นี ำเสนอ ระดับคุณภาพ 2 ผลงาน ผลงาน ผา่ นเกณฑ์ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดบั คณุ ภาพ 2 3) พฤติกรรมการ การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์ ทำงานรายบคุ คล 4) พฤตกิ รรมการ - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดับคณุ ภาพ 2 ทำงานกลมุ่ การทำงานกลุม่ การทำงานกล่มุ ผา่ นเกณฑ์ - สงั เกตความมีวินัย - แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ 2 5) คุณลกั ษณะ ใฝ่เรียนรู้ และม่งุ มั่น คณุ ลกั ษณะ ผ่านเกณฑ์ อนั พึงประสงค์ ในการทำงาน อนั พึงประสงค์ ตรวจแบบทดสอบหลัง แบบทดสอบหลงั เรียน ประเมนิ ตามสภาพจริง 6) แบบทดสอบหลงั เรยี น เรียน หน่วยการ เรียนรูท้ ่ี 4 เรื่อง การเคล่อื นทแี่ นว โคง้ 8. สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ 8.1 สอื่ การเรยี นรู้ 1) หนงั สือเรียน รายวชิ าเพม่ิ เติม ฟิสิกส์ ม.4 เลม่ 1 2) ใบงานท่ี 4.3 เร่ือง การเคลื่อนทีแ่ บบวงกลม 3) PowerPoint เรอื่ ง การเคลือ่ นทีแ่ บบต่าง ๆ 8.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1) ห้องเรียน 2) ห้องสมุด 3) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ้ชู ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่
แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 78 9. การบูรณาการตามจดุ เนน้ ของโรงเรียน : ความหลากหลายทางชวี ภาพ หลกั ปรชั ญา ครู ผ้เู รยี น ของเศรษฐกิจพอเพียง 1. ความพอประมาณ พอดีดา้ นเทคโนโลยี พอดีดา้ นจติ ใจ รู้จกั ใช้เทคโนโลยมี าผลิตสือ่ ที่ มจี ิตสำนึกทด่ี ี จติ สาธารณะรว่ ม เหมาะสมและสอดคลอ้ งเน้อื หาเปน็ อนรุ กั ษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติและ ประโยชน์ต่อผู้เรียนและพัฒนาจากภูมิ สิ่งแวดลอ้ ม ปัญญาของผู้เรยี น 2. ความมเี หตผุ ล - ยดึ ถอื การประกอบอาชีพดว้ ยความ ไม่หยุดนง่ิ ทห่ี าหนทางในชีวติ หลุดพ้น ถกู ตอ้ ง สจุ รติ จากความทกุ ข์ยาก (การค้นหาคำตอบ เพือ่ ให้หลดุ พน้ จากความไมร่ ้)ู 3. มภี ูมิคุมกนั ในตวั ท่ดี ี ภูมิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ภูมปิ ัญญา : มีความรู้ รอบคอบ ระมัดระวงั รับผิดชอบ ระมดั ระวัง สร้างสรรค์ 4. เง่อื นไขความรู้ ความรอบรู้ เรือ่ ง การเคลื่อนที่แบบ ความรอบรู้ เรือ่ ง การเคลอ่ื นท่ี วงกลม ท่ีเกยี่ วขอ้ งรอบด้าน นำความรู้ แบบวงกลม สามารถนำความรู้ มาเชื่อมโยงประกอบการวางแผน การ เหลา่ น้นั มาพิจารณาให้เกดิ ความ ดำเนนิ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ให้กับ เชอ่ื มโยง สามารถประยุกต์ ผเู้ รยี น ใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ได้ 5. เง่ือนไขคณุ ธรรม มคี วามตระหนักใน คุณธรรม มี มคี วามตระหนักใน คณุ ธรรม มคี วาม ความซอื่ สัตย์สุจริตและมีความอดทน ซ่อื สัตยส์ จุ รติ และมคี วามอดทน มี มคี วามเพียร ใช้สติปัญญาในการ ความเพียร ใช้สตปิ ญั ญาในการดำเนิน ดำเนนิ ชีวติ ชีวติ สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ครู ผเู้ รยี น ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - ความหลากหลายทางชวี ภาพ - สำรวจความหลากหลายทาง - สำรวจความหลากหลายทางชีวภาพ ชีวภาพในโรงเรยี น (กำหนดจุดให้ ในโรงเรยี น (ตามจดุ ที่ไดร้ บั มอบหมาย) ผเู้ รยี นสำรวจ) ส่ิงแวดลอ้ ม ครู ผู้เรียน ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - การอนุรักษ์ความหลากหลาย - การอนุรักษค์ วามหลากหลายทาง - สืบค้นขอ้ มูลการอนุรกั ษ์ความ ทางชีวภาพ ชีวภาพ (กำหนดหัวข้อใหผ้ ้เู รยี น หลากหลายทางชีวภาพ (ตามหวั ข้อท่ี สบื ค้น) ไดม้ อบหมาย) จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่
แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 79 10. ความเหน็ /ข้อเสนอแนะ ของผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาหรอื ผู้ท่ไี ดร้ บั มอบหมาย 10.1 หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื …………………………………………. (นางกมลชนก เทพบุ) ………./……………./…………. 10.2 ผชู้ ่วยผู้อำนวยการฝ่ายบรหิ ารวิชาการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ…………………………………………. (นางสาวรตั ตกิ าล ยศสุข) ………./……………./…………. 10.3 ผู้อำนวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชือ่ …………………………………………. (นางวลิ าวัลย์ ปาลี) ………./……………./…………. จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่
แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 80 11. บันทึกผลหลังการสอน ดา้ นความรู้ ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ดา้ นความสามารถทางวิทยาศาสตร์ ดา้ นอ่ืน ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤตกิ รรมท่มี ีปัญหาของนักเรียนเปน็ รายบุคคล (ถา้ ม)ี ) ปัญหา/อุปสรรค แนวทางการแก้ไข ลงชอ่ื .........................................................ครูผสู้ อน (นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา) ตำแหน่ง ครูผชู้ ่วย จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 81 ใบงานที่ 4.3 เร่ือง การเคลอ่ื นทีแ่ บบวงกลม ตอนที่ 1 คำช้แี จง : ให้เติมขอ้ ความหรือความหมายของคำตอ่ ไปนใ้ี หส้ มบรู ณ์ 1. ลักษณะของการเคลอ่ื นที่แบบวงกลม 2. ความถี่ (frequency: f) 3. คาบ (period: T) 4. อัตราเร็วเชิงเสน้ (linear speed: v) 5. อตั ราเร็วเชิงมมุ (angular speed: ω) ตอนที่ 2 คำชแี้ จง : จงแสดงวิธีทำอย่างละเอียด 1. วตั ถุผูกเชอื กยาง 1.2 m แกวง่ เปน็ วงกลมมีความถี่ 14 Hz ความเร็วเชิงเสน้ ของวตั ถมุ คี ่าเท่าไร 2. แผน่ เครอ่ื งเสยี งหมุนด้วยความถี่ 14 รอบ/วินาที จะมีอตั ราเรว็ เชงิ มุมเทา่ ไร จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่
แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 82 ใบงานที่ 4.3 เร่ือง การเคลอื่ นทแี่ บบวงกลม ตอนที่ 2 คำช้ีแจง : จงแสดงวิธที ำอยา่ งละเอียด 3 เชือกเส้นหนึ่งยาว 2 เมตร ทนแรงดึงได้สูงสุด 200 นิวตัน เมื่อนามวล 4 กิโลกรัม มาผูกที่ปลายเชือกข้างหนึ่ง สว่ นปลายอกี ขา้ งของเชือกตรงึ ไวก้ บั จดุ บนพ้นื ท่ีไม่มีแรงเสยี ดทาน ถ้าทาใหม้ วลนเ้ี คลอ่ื นทีเ่ ป็นวงกลมบนพ้ืนราบนี้ จง หาความเร็วสงู สุดของวัตถทุ ี่เชอื กยังไม่ขาด 4. รถยนตค์ นั หนึง่ กำลังวิ่งเลี้ยวโคง้ บนถนนระดับ ซงึ่ มีรัศมีความโคง้ ท่ากับ 5 เมตร ถา้ จดุ ศูนย์ถ่วงของรถยนต์อยู่สูง จากถนน 0.5 เมตร ปรากฏว่ารถยนตว์ ่ิงดว้ ยอตั ราเรว็ สูงสดุ ทจ่ี ะไม่พลิกคว่ำเท่ากับ 10 เมตร/วินาที อยากทราบว่ารถ คนั น้จี ะมีระยะห่างระหวา่ งล้อทงั้ สองเป็นเทา่ ใด 5. ดาวเทียมดวงหนึ่งโคจรรอบโลกที่ความสูง 600 กิโลเมตร จากผิวโลกและมีอตั ราเรง่ เน่ืองจากความโน้มถว่ งเปน็ 8.2 เมตรตอ่ วนิ าที2 จงหาอัตราเร็วของดาวเทียม (กำหนดใหร้ ศั มขี องโลกคอื 6,400 กโิ ลเมตร) จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ้ชู ว่ ย กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่
แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 83 ใบงานท่ี 4.3 เฉลย เรอื่ ง การเคลอื่ นท่ีแบบวงกลม ตอนท่ี 1 คำชแี้ จง : ใหเ้ ติมข้อความหรอื ความหมายของคำตอ่ ไปนใี้ หส้ มบูรณ์ 1. ลักษณะของการเคล่ือนทแี่ บบวงกลม ลักษณะการเคลื่อนที่ของวตั ถุจะมีแรงกระทำตั้งฉากกับเวกเตอรค์ วามเร็วเสมอตลอดการเคลื่อนที่ วัตถุจะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัวในแนววงกลม แต่ยังคงมีความเร่งเกดิ ขึ้น ซึ่งความเร่งจะขึ้นกบั การเปลี่ยนเวกเตอร์ ความเร็ว ซึ่งเวกเตอร์ความเรว็ จะมีทิศสัมผัสกับเส้นทางการเคลื่อนท่ีของวตั ถแุ ละมที ศิ ตัง้ ฉากกบั แนวรศั มวี งกลม 2. ความถ่ี (frequency: f) จำนวนรอบทว่ี ตั ถุเคลอ่ื นทไ่ี ด้ในเวลา 1 วนิ าที มหี นว่ ย รอบตอ่ วนิ าที หรือเฮริ ตซ์ (Hz) 3. คาบ (period: T) เวลาที่วัตถุใช้ในการเคลื่อนทีค่ รบ 1 รอบ มีหน่วย วินาที (s) ความสัมพันธ์ระหว่างความถี่กับคาบของการ เคล่อื นท่ี 4. อัตราเรว็ เชงิ เสน้ (linear speed: v) ระยะทางที่วัตถเุ คล่อื นท่ไี ด้ตามแนวเสน้ รอบวงในหนง่ึ หน่วยเวลา 5. อัตราเร็วเชิงมมุ (angular speed: ω) มุมทร่ี ศั มีของการเคลอื่ นทก่ี วาดไปในหนึ่งหนว่ ยเวลา อัตราเรว็ เชงิ มุมมหี นว่ ย เรเดยี นตอ่ วนิ าที (rad/s) ตอนที่ 2 คำช้แี จง : จงแสดงวิธที ำอย่างละเอยี ด 1. วัตถุผูกเชือกยาง 1.2 m แกวง่ เป็นวงกลมมีความถ่ี 14 Hz ความเร็วเชิงเสน้ ของวัตถุมคี ่าเท่าไร จากสมการ V = 2πRf = (2)(3.14)(1.2)(14) = 105.60 m/s ดังนน้ั ความเร็วเชงิ เสน้ ของวัตถุเท่ากับ 105.60 เมตรต่อวินาที 2. แผน่ เครอื่ งเสียงหมนุ ดว้ ยความถี่ 14 รอบ/วนิ าที จะมอี ตั ราเร็วเชงิ มมุ เท่าไร จากสมการ ω = 2πf = (2)(3.14)(14) = 77.92 เรเดียน/วนิ าที ดังนัน้ อัตราเร็วเชงิ มมุ เทา่ กับ 77.92 เรเดียน/วินาที จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 84 ใบงานที่ 4.3 เฉลย เรื่อง การเคล่อื นที่แบบวงกลม ตอนที่ 2 คำช้ีแจง : จงแสดงวธิ ที ำอยา่ งละเอยี ด 3 เชือกเส้นหนึ่งยาว 2 เมตร ทนแรงดึงได้สูงสุด 200 นิวตัน เมื่อนามวล 4 กิโลกรัม มาผูกที่ปลายเชือกข้างหน่ึง ส่วนปลายอกี ขา้ งของเชือกตรงึ ไวก้ ับจดุ บนพน้ื ทีไ่ ม่มแี รงเสยี ดทาน ถา้ ทาใหม้ วลนเ้ี คลอื่ นท่ีเป็นวงกลมบนพื้นราบนี้ จง หาความเร็วสงู สดุ ของวตั ถทุ ่ีเชอื กยังไมข่ าด จากสมการ T = Fc T = mv2 r 200 = 4v2 2 v2 = 200 = 100 m/s 2 ดงั นนั้ ความเร็วสูงสดุ ของวัตถุทีเ่ ชอื กยงั ไม่ขาดมีค่าเท่ากับ 100 เมตรต่อวนิ าที 4. รถยนต์คันหนง่ึ กำลงั วิ่งเล้ียวโค้งบนถนนระดับ ซ่ึงมีรศั มคี วามโค้งท่ากับ 5 เมตร ถ้าจดุ ศูนย์ถ่วงของรถยนต์อยู่สูง จากถนน 0.5 เมตร ปรากฏวา่ รถยนตว์ ิ่งด้วยอตั ราเรว็ สงู สุดทจ่ี ะไม่พลิกควำ่ เท่ากับ 10 เมตร/วนิ าที อยากทราบว่ารถ คนั นจ้ี ะมรี ะยะหา่ งระหวา่ งล้อท้ังสองเป็นเทา่ ใด จากสมการ v = √LRg 2h 10 = √L2(5()0(.51)0) 10 = 5L L =2 ดงั นน้ั ระยะหา่ งระหวา่ งล้อทั้งสอง 2 เมตร 5. ดาวเทียมดวงหนึ่งโคจรรอบโลกที่ความสูง 600 กิโลเมตร จากผิวโลกและมีอัตราเร่งเน่ืองจากความโน้มถว่ งเปน็ 8.2 เมตรต่อวินาที2 จงหาอัตราเร็วของดาวเทยี ม (กำหนดใหร้ ศั มีของโลกคือ 6,400 กโิ ลเมตร) รัศมวี งโคจร = 6,400 + 600 km = 7000 km = 7000 x 103 m จาก Fเขา้ = Fออก mg = mv2 r gr = v2 v = √gr v = √(8.2)(7,000)(103) = 7,580 m/s = 7.58 km/s ดงั นน้ั อัตราเร็วของดาวเทยี มทโี่ คจรรอบโลกเท่ากับ 7.58 กโิ ลเมตรต่อวนิ าที จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผ้ชู ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347