Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ 1.2563 (รวมเล่ม)

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ 1.2563 (รวมเล่ม)

Published by Tanapat Issarangkul Na Ayutthaya, 2020-12-15 04:29:17

Description: แผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ 1.2563 (รวมเล่ม)

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 66 7. การวดั และประเมินผล วิธีวัด เครื่องมอื เกณฑ์การประเมนิ รายการวดั - ตรวจใบงานท่ี 3.3 - ใบงานท่ี 3.3 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 7.2 การประเมนิ ระหว่าง การจัดกิจกรรม - ประเมินการนำเสนอ - ผลงานทน่ี ำเสนอ ระดบั คณุ ภาพ 2 1) กฎแรงดงึ ดดู ผลงาน - แบบสังเกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์ ระหวา่ งมวลของ - สังเกตพฤติกรรม การทำงานรายบคุ คล ระดับคณุ ภาพ 2 นิวตัน การทำงานรายบคุ คล ผา่ นเกณฑ์ 2) การนำเสนอ ผลงาน 3) พฤตกิ รรมการ ทำงานรายบุคคล 4) พฤตกิ รรมการ - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดับคุณภาพ 2 ทำงานกล่มุ การทำงานกลมุ่ การทำงานกลมุ่ ผ่านเกณฑ์ - สังเกตความมวี นิ ัย - แบบประเมิน ระดับคณุ ภาพ 2 5) คุณลักษณะ ใฝ่เรยี นรู้ และมงุ่ มน่ั คุณลักษณะ ผา่ นเกณฑ์ อันพงึ ประสงค์ ในการทำงาน อนั พึงประสงค์ 8. สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้ 8.1 สือ่ การเรียนรู้ 1) หนงั สือเรยี น รายวชิ าเพ่ิมเตมิ ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 แรงและกฎการเคลอื่ นท่ี 2) ใบงานที่ 3.3 เรื่อง กฎแรงดงึ ดูดระหว่างมวลของนิวตนั 3) PowerPoint เรอ่ื ง กฎแรงดึงดดู ระหวา่ งมวลของนิวตนั 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องเรยี น 2) หอ้ งสมดุ 3) แหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4 67 9. การบูรณาการตามจดุ เนน้ ของโรงเรียน : ความหลากหลายทางชวี ภาพ หลักปรชั ญา ครู ผูเ้ รยี น ของเศรษฐกิจพอเพียง 1. ความพอประมาณ พอดีด้านเทคโนโลยี พอดีดา้ นจติ ใจ รูจ้ กั ใช้เทคโนโลยมี าผลติ สือ่ ที่ มีจติ สำนึกที่ดี จติ สาธารณะรว่ ม 2. ความมเี หตุผล อนรุ กั ษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติและ เหมาะสมและสอดคล้องเนอ้ื หาเปน็ สิ่งแวดล้อม ประโยชนต์ ่อผู้เรยี นและพฒั นาจากภูมิ ปัญญาของผูเ้ รียน ไมห่ ยุดน่ิงทีห่ าหนทางในชีวติ หลุดพ้น - ยึดถอื การประกอบอาชีพดว้ ยความ จากความทุกข์ยาก (การค้นหาคำตอบ ถูกต้อง สจุ รติ เพือ่ ให้หลดุ พน้ จากความไม่ร)ู้ ภมู ิปญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ 3. มีภมู ิคุมกันในตวั ทดี่ ี ภมู ิปญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ และ รบั ผิดชอบ ระมัดระวงั สร้างสรรค์ ระมัดระวงั ความรอบรู้ เร่อื ง กฎแรงดงึ ดดู ระหว่างมวลของนิวตัน สามารถนำ 4. เงอื่ นไขความรู้ ความรอบรู้ เรอ่ื ง กฎแรงดึงดูด ความรู้เหลา่ นั้นมาพจิ ารณาให้เกิด ความเช่ือมโยง สามารถประยกุ ต์ ระหวา่ งมวลของนิวตัน ที่เกย่ี วขอ้ ง ใช้ในชวี ติ ประจำวันได้ มีความตระหนกั ใน คณุ ธรรม มคี วาม รอบด้าน นำความรูม้ าเชอ่ื มโยง ซ่อื สัตย์สจุ ริตและมคี วามอดทน มี ความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนนิ ประกอบการวางแผน การดำเนินการ ชวี ติ จัดกิจกรรมการเรยี นรูใ้ หก้ ับผูเ้ รยี น ผ้เู รียน ความหลากหลายทางชีวภาพ 5. เงื่อนไขคุณธรรม มคี วามตระหนกั ใน คุณธรรม มี - สำรวจความหลากหลายทางชวี ภาพ ในโรงเรียน (ตามจดุ ท่ีได้รบั มอบหมาย) ความซื่อสตั ย์สุจรติ และมีความอดทน ผู้เรียน มคี วามเพยี ร ใช้สติปัญญาในการ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สืบค้นขอ้ มูลการอนุรกั ษค์ วาม ดำเนนิ ชวี ิต หลากหลายทางชีวภาพ (ตามหวั ขอ้ ท่ี ได้มอบหมาย) สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ครู ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - ความหลากหลายทางชีวภาพ - สำรวจความหลากหลายทาง ชวี ภาพในโรงเรียน (กำหนดจุดให้ ผู้เรยี นสำรวจ) สิ่งแวดลอ้ ม ครู ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - การอนรุ กั ษ์ความหลากหลาย - การอนรุ ักษค์ วามหลากหลายทาง ทางชีวภาพ ชวี ภาพ (กำหนดหวั ขอ้ ใหผ้ ู้เรยี น สบื คน้ ) จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 68 10. ความเหน็ /ข้อเสนอแนะ ของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาหรอื ผู้ทไี่ ดร้ บั มอบหมาย 10.1 หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื …………………………………………. (นางกมลชนก เทพบุ) ………./……………./…………. 10.2 ผชู้ ่วยผู้อำนวยการฝ่ายบรหิ ารวิชาการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นางสาวรตั ติกาล ยศสขุ ) ………./……………./…………. 10.3 ผู้อำนวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่อื …………………………………………. (นางวลิ าวัลย์ ปาลี) ………./……………./…………. จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผูช้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 69 11. บันทึกผลหลังการสอน  ดา้ นความรู้  ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน  ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์  ดา้ นความสามารถทางวิทยาศาสตร์  ดา้ นอ่ืน ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤติกรรมทีม่ ปี ัญหาของนกั เรียนเป็นรายบคุ คล (ถา้ ม)ี )  ปัญหา/อุปสรรค  แนวทางการแก้ไข ลงชือ่ .........................................................ครูผสู้ อน (นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา) ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 70 ใบงานที่ 3.3 เรอ่ื ง กฎแรงดงึ ดดู ระหวา่ งมวลของนวิ ตนั คำชี้แจง : จงแสดงวธิ ที ำอย่างละเอียด 1. ดาวเคราะหด์ วงหนึง่ มมี วล และรศั มีเปน็ 2 เท่าของโลกจะมีความเร่งโนม้ ถ่วงเปน็ ก่ีเทา่ ของโลก 2. 1 มวล 5 กโิ ลกรัม และ 10 กโิ ลกรมั อยู่หา่ งกัน 10 เมตร จะมีแรงดึงดูดระหวา่ งมวลเทา่ ไร กำหนดให้ G = 6.67 x 10-11 Nm2/kg2 จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 71 ใบงานที่ 3.3 เร่อื ง กฎแรงดงึ ดูดระหว่างมวลของนิวตัน 3. ดาวเคราะหส์ มมติดวงหนง่ึ มมี วล 1/100 เท่าของโลก และมีรศั มี 1/4 เท่าของโลก ถา้ คนหนึง่ หนัก 600 นวิ ตันบน โลก เขาจะหนักเท่าใดบนดาวเคราะห์สมมติดวงนี้ จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 72 ใบงานที่ 3.3 เฉลย เรอ่ื ง กฎแรงดึงดดู ระหว่างมวลของนวิ ตนั คำชี้แจง : จงแสดงวิธีทำอยา่ งละเอยี ด 1. ดาวเคราะหด์ วงหนง่ึ มมี วล และรศั มีเป็น 2 เทา่ ของโลกจะมคี วามเรง่ โน้มถ่วงเปน็ กี่เทา่ ของโลก จากสมการ g= Gme Re2 m = 2me r = 2Re จะได้ g= G2me (2Re)2 g= 1 Gme 2 Re2 g = 0.5ge ดงั นัน้ ความเร่งโนม้ ถว่ งเป็น 0.5 เท่าของโลก 2. 1 มวล 5 กิโลกรมั และ 10 กโิ ลกรัม อยหู่ ่างกัน 10 เมตร จะมีแรงดงึ ดดู ระหวา่ งมวลเท่าไร กำหนดให้ G = 6.67 x 10-11 Nm2/kg2 จากสมการ FG = Gm1m2 R2 = (6.67×10−11)(10)(10) (10)2 = 3.34 × 10−11 N ดังนั้น แรงดึงดดู ระหว่างมวลเทา่ กบั 3.34 x 10-11 นวิ ตนั จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 73 ใบงานท่ี 3.3 เฉลย เรอ่ื ง กฎแรงดงึ ดดู ระหว่างมวลของนวิ ตนั 3. ดาวเคราะห์สมมติดวงหนงึ่ มีมวล 1/100 เท่าของโลก และมรี ัศมี 1/4 เท่าของโลก ถ้าคนหน่งึ หนัก 600 นวิ ตนั บน โลก เขาจะหนักเทา่ ใดบนดาวเคราะห์สมมติดวงนี้ จากสมการ g= Gme , m = 1 me , r = 1 Re R2e 100 4 จะได้ g= G(me/100) (14Re)2 g= 16 Gme 100 Re2 g = 0.16ge w = g = 0.16 we ge w = 0.16we w = 0.16(600) = 96 N ดงั นน้ั เขาจะหนกั 96 นิวตัน บนดาวเคราะห์สมมติดวงนี้ จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 61 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 4 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นที่ 1/2563 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า ฟิสิกส์ 1 (ว31201) หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 3 แรงและกฎการเคลอื่ นท่ี จำนวนเวลาที่สอน 6 ช่ัวโมง เรอ่ื ง แรงตง้ั ฉากและแรงเสยี ดทาน ครูผู้สอน นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา 1. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (ความเข้าใจทค่ี งทน) แรงต้งั ฉากหรอื แรงปฏิกิริยาตั้งฉาก (normal force) คือ แรงทวี่ ตั ถุ 2 ส่ิงทก่ี ระทำซงึ่ กันและกนั จะเกิดแรง นี้ขึ้นเกอื บทุกคร้ังท่ีวัตถุสัมผัสกัน (แรงน้ีจะไมเ่ กิดในกรณี เช่น ยกกล่องใหล้ อยจากพื้นพอดี ผิวของกล่องกบั พ้นื สัมผสั กันแต่มันไมม่ แี รงต่อกัน) ซึ่งแรงนม้ี ีทศิ ทางต้ังฉากกับผวิ สมั ผัสเสมอ แรงเสียดทาน (friction force) เป็นแรงที่ต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุ เกิดขึ้นระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุ แรง เสียดทานมี 2 ชนิด ดงั นี้ แรงเสยี ดทานสถิติ (static friction) แทนดว้ ย fs คือ แรงเสียดทานที่เกดิ ในสภาวะวัตถุอยูน่ ่ิง แรงเสียดทาน สถิตจิ ะมคี ่าไม่คงที่ จะมคี า่ เพม่ิ ข้ึนหรือลดลงตามแรงที่กระทำตอ่ วัตถุ แรงเสียดทานจลน์ (kinetic friction) แทนด้วย fk คือ แรงเสียดทานทีเ่ กิดในสภาวะวัตถุกำลังเคล่ือนที่ 2. ผลการเรียนรู้ วิเคราะห์ อธิบาย และคำนวณแรงเสียดทานระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุคู่หนึ่ง ๆ ในกรณีที่วัตถุหยุดนิ่งและ วัตถเุ คลื่อนที่ รวมทง้ั ทดลองหาสมั ประสิทธ์ิความเสียดทานระหว่างผวิ สมั ผัสของวตั ถุค่หู นง่ึ ๆ และนำความรู้ เรือ่ งแรงเสียดทานไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้ 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ (Knowledge) 1) สามารถบอกความหมายแรงตง้ั ฉากและแรงเสียดทานได้ 3.2 ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ (Skill/Process) 2) มีทกั ษะการคำนวณหาแรงต้ังฉากและแรงเสียดทานไดถ้ กู ตอ้ ง 3.3 ดา้ นเจตคติ (Attitude) 3) เพ่ือใหม้ เี จตคติตอ่ วิชาฟิสกิ ส์ ในดา้ นคณุ ภาพการสอน ด้านเนื้อหา ด้านกิจกรรมการเรยี นรู้ และดา้ น บรรยากาศการเรยี นรู้ จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 62 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 เนอื้ หาสาระหลัก : Knowledge (ผูเ้ รยี นตอ้ งรู้อะไร) - แรงทีเ่ กิดขนึ้ ที่ผวิ สมั ผัสระหว่างวตั ถุสองก้อนในทิศทางตรงข้ามกบั ทิศทาง การเคล่ือนที่ หรอื แนวโน้ม ที่จะเคลื่อนที่ของวัตถุ เรียกว่า แรงเสียดทานแรงเสียดทานระหว่างผิวสัมผัสคู่หนึ่ง ๆ ขึ้นกับสัมประสิทธิ์ความ เสียดทาน และแรงปฏกิ ริ ิยาตั้งฉากระหว่างผิวสัมผัสคู่นั้น ๆ ขณะออกแรงพยายามแตว่ ตั ถยุ งั คงอยู่น่ิงแรงเสียด ทานมีขนาดเทา่ กบั แรงพยายามทีก่ ระทำต่อวตั ถุนั้น และแรงเสียดทานมีค่ามากที่สุดเมื่อวตั ถุเร่ิมเคลื่อนที่ เรียก แรงเสียดทานนี้วา่ แรงเสียดทานสถิต แรงเสียดทานที่กระทำต่อวัตถุขณะกำลังเคล่ือนท่ี เรียกวา่ แรงเสียดทาน จลน์ โดยแรงเสียดทานทเ่ี กดิ ระหวา่ งผิวสมั ผสั ของวตั ถคุ หู่ นึง่ ๆ คำนวณไดจ้ ากสมการ fs ≤ μsN fk = μkN - การเพ่มิ หรอื ลดแรงเสียดทานมีผลต่อการเคลอ่ื นท่ขี องวตั ถุ ซ่งึ สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวนั 4.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (ผู้เรียนสามารถปฏิบตั ิอะไรได)้ - ทกั ษะการวเิ คราะห์ - ทักษะการสังเกต - ทักษะการส่อื สาร - ทกั ษะการทำงานรว่ มกนั - ทกั ษะการนำความรู้ไปใช้ 4.3 คณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ : Attitude (ผเู้ รียนควรแสดงพฤตกิ รรมการเรยี นอะไรบา้ ง) - มวี นิ ัย - ใฝเ่ รียนรู้ - มุ่งม่นั ในการทำงาน - มคี วามซอื่ สตั ย์ จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 63 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี นและคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการส่ือสาร 1. มีวินยั 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรียนรู้ 1) ทักษะการวเิ คราะห์ 3. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน 2) ทักษะการสังเกต 4. มีความซอื่ สัตย์ 3) ทักษะการส่ือสาร 4) ทักษะการทำงานรว่ มกัน 5) ทักษะการนำความร้ไู ปใช้ 3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ 6. กิจกรรมการเรยี นรู้  แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชัว่ โมงท่ี 1 ขน้ั นำ กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั ทบทวนความรูเ้ ดิมเก่ยี วกบั แรงและกฎการเคลื่อนท่ขี องนิวตนั 2. ครูถามคำถาม Prior Knowledge ว่า “เหตุใดเวลาที่นักเรียนนั่งบนเก้าอี้ จึงรู้สึกว่ามีแรงมากระทำที่กน้ ของนกั เรียน” (ทิ้งชว่ งใหน้ กั เรียนได้คดิ ) (แนวตอบ เพราะเกิดแรงตั้งฉากหรือแรงปฏิกิริยาตั้งฉากระหว่างเก้าอี้ที่นักเรียนนั่งกับก้นของ นักเรียน) 3. ครูถามนักเรียนตอ่ ว่า นักเรยี นรจู้ กั แรงปฏิกิรยิ าตัง้ ฉากหรือไม่ แรงนี้มคี วามหมายวา่ อยา่ งไร (แนวตอบ แรงปฏิกิริยาตั้งฉาก เป็นแรงคู่กิริยาที่วัตถุ 2 สิ่ง กระทำซึ่งกันและกัน จะเกิดแรงนี้ขนึ้ เกอื บทุกครงั้ ทวี่ ัตถสุ ัมผสั กนั ) 4. นักเรียนช่วยกันอภิปรายและแสดงความคิดเห็นคำตอบจากคำถาม เพื่อเชื่อมโยงไปสู่การเรียนในเรื่อง เรอ่ื ง แรงปฏกิ ิรยิ าตง้ั ฉาก จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 64 ขน้ั สอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครอู ธิบายความหมายแรงปฏกิ ริ ิยาตั้งฉากวา่ เป็นแรงคกู่ ิรยิ าโดยมขี นาดเท่ากับแรงกิรยิ าแตท่ ิศตรงกันข้าม จากที่นักเรียนนั่งบนเก้าอี้ นักเรียนมวล m นั่งอยู่บนเก้าอ้ี โดยนักเรียนนั่งดว้ ยแรงเนื่องจากน้ำหนักของ นกั เรียน คอื mg พืน้ เก้าอี้ออกแรงต้านน้ำหนักของนกั เรียน ด้วยแรง N ซึ่งเปน็ แรงปฏิกิริยา จะได้สมการ ความสมั พนั ธ์ N = mg 2. ครูให้นกั เรยี นศกึ ษาตวั อย่างเพ่ิมเตมิ เกี่ยวกับแรงปฏิกิริยาต้งั ฉาก จากภาพตวั อย่างแรงปฏิกิริยาตั้งฉากใน หนงั สือเรยี นหน้า 118 3. ครยู กตวั อยา่ งภาพรถไฟเหาะตลี งั กา แลว้ ถามนกั เรียนวา่ จากภาพเกิดแรงปฏกิ ิรยิ าตง้ั ฉากหรือไม่ อยา่ งไร 3. นกั เรยี นช่วยกันคดิ วเิ คราะหเ์ พ่ือตอบคำถาม ขน้ั สอน อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครอู ธิบายเกี่ยวกบั ภาพรถไฟเหาะตีลังกาว่า ภาพแสดงแรงปฏกิ ิริยาต้งั ฉากท่ีกระทำกับวตั ถุมีทิศตั้งฉากกับ ผิวสัมผัสและสามารถเกิดขน้ึ ในทิศทางใดกไ็ ด้ 2. จากน้นั ครใู ห้นักเรยี นศึกษาตวั อย่างการคำนวณจากโจทย์ปญั หา พรอ้ มทั้งให้นักเรียนฝึกแก้โจทย์ปัญหาใน หนังสอื เรยี น หนา้ 119 ตามข้ันตอนการแก้โจทย์ปัญหา ดงั นี้ • ข้ันท่ี 1 ครใู ห้นกั เรียนทกุ คนทำความเข้าใจโจทยต์ วั อยา่ ง • ขน้ั ที่ 2 ครถู ามนักเรียนว่า สงิ่ ทีโ่ จทย์ต้องการถามหาคอื อะไร และจะหาสิ่งที่โจทย์ต้องการ ต้องทำ อย่างไร • ขัน้ ท่ี 3 ครใู หน้ ักเรียนดูวธิ ที ำในการคำนวณหาคำตอบ • ขน้ั ท่ี 4 ตรวจสอบคำตอบของโจทย์ตวั อยา่ งว่าถูกต้อง หรือไม่ 3. ใหน้ ักเรียนทำแบบฝึกหดั เรื่อง แรงปฏกิ ิรยิ าตง้ั ฉาก จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 65 ขน้ั สรุป ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครูนำนกั เรยี นอภปิ รายและสรุปเก่ยี วกบั แรงปฏิกริ ยิ าตง้ั ฉาก ดงั นี้ • แรงปฏิกริ ยิ าตง้ั ฉากสามารถเกิดข้นึ ได้ เมอ่ื มจี ดุ สมั ผัสระหวา่ งวตั ถุสองอยา่ ง • แรงปฏกิ ิรยิ าตง้ั ฉากสามารถเกดิ ข้ึนในทศิ ทางใดกไ็ ด้ • แรงปฏิกริ ยิ าตง้ั ฉากไมจ่ ำเป็นตอ้ งมขี นาดเท่ากับนำ้ หนักของวตั ถุทก่ี ดทบั อยูเ่ สมอไป 2. ครเู ปิดโอกาสให้นกั เรยี นสอบถามเนื้อหาเร่ือง แรงปฏิกิริยาตัง้ ฉาก วา่ มีสว่ นไหนท่ียงั ไม่เข้าใจและให้ความรู้ เพิ่มเตมิ ในสว่ นน้นั 3. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั เฉลยคำถามจาก Unit Question 3 และแบบฝกึ หัด เร่อื ง แรงปฏิกิริยาตง้ั ฉาก ช่ัวโมงท่ี 2-3 ขน้ั นำ กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันทบทวนความรู้เดมิ เกี่ยวกับ แรงปฏิกิริยาตงั้ ฉาก 2. ครูถามคำถาม Prior Knowledge ว่า “เหตุใดเมื่อฝนตก แล้วถนนจงึ ลื่นกว่าปกต”ิ (ทิ้งช่วงให้นักเรียนได้ คดิ ) (แนวตอบ สิ่งสำคญั ท่ีอยู่ตรงกลางระหว่างตวั รถกบั ถนนก็คือยางรถยนต์ ยางรถยนตโ์ ดนกดทับด้วย น้ำหนักอยู่ตดิ กบั พน้ื ถนน ก็เกิดแรงเสยี ดทานขับเคลื่อนไปได้ปรกติ แตถ่ ้ามอี ะไรมาแทรกตรงกลางระหว่าง ยางกบั พืน้ แลว้ ทำใหแ้ รงเสยี ดทานนัน้ หายไป ถนนจึงลื่นกว่าปกติ) 3. ครใู หน้ ักเรียนสังเกตเวลาเดินตามบริเวณต่าง ๆ ของโรงเรยี น เชน่ พ้นื ทราย พนื้ ดนิ พ้ืนไม้ พื้นยาง และพื้น กระเบ้อื ง แล้วถามว่า ลักษณะของพืน้ ผวิ สัมผสั ต่างกันหรอื ไม่ (ทงิ้ ชว่ งให้นกั เรยี นได้คิด) 4. ครูถามนกั เรียนต่อว่า นกั เรียนร้จู ักแรงเสยี ดทานหรือไม่ แรงน้มี ีความหมายวา่ อยา่ งไร (แนวตอบ แรงเสียดทาน คือ แรงที่ต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุซึ่งเกิดขึ้นระหว่างผิววัตถุกับพื้นท่ี สมั ผัสและมีทิศตรงกนั ข้ามกบั ทิศการเคลื่อนทีข่ องวัตถเุ สมอ) 5. นักเรยี นชว่ ยกนั อภปิ รายและแสดงความคิดเหน็ คำตอบจากคำถาม เพื่อเชื่อมโยงไปส่กู ารเรียนในเร่ือง เรือ่ ง แรงเสยี ดทาน จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 4 66 ขน้ั สอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครูอธิบายความหมายแรงเสียดทานว่า เป็น แรงที่ต้านการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุซึ่งเกิดขึ้นระหว่างผวิ วัตถกุ ับ พน้ื ท่สี มั ผสั และมีทิศตรงกนั ข้ามกับทศิ การเคลอื่ นทข่ี องวัตถเุ สมอ 2. ครใู หน้ ักเรยี นศกึ ษาตวั อย่างแรงเสียดทาน จาก Physics Focus แรงเสียดทานช่วยใหม้ นุษยเ์ ดนิ ไดอ้ ย่างไร ตามรายละเอยี ดในหนงั สือเรียน หน้า 120 3. นักเรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเกยี่ วกับแรงเสียดทาน ในประเด็นว่า ในชีวิตประจำวนั จะพบว่า เมอื่ เดนิ บนพ้ืนผิว ทีม่ ลี กั ษณะต่างกัน เช่น ผิวเรียบ ผวิ ล่นื ผิวขรขุ ระจะมีผลต่อการเดินแตกตา่ งกัน ลักษณะของผิวสมั ผสั มีผล ต่อการเคลอื่ นท่อี ยา่ งไร 4. ครูนำอภิปรายเรื่องลักษณะของผิวสัมผัส โดยอธิบายว่าลักษณะของพืน้ ผิวสัมผัสเปน็ ปัจจยั หนึ่งที่มผี ลต่อ แรงเสยี ดทาน ถ้าพืน้ ผวิ เรียบ เช่น กระเบื้อง กระจก พลาสติก เป็นตน้ จะเกิดแรงเสยี ดทานนอ้ ย เน่ืองจาก พน้ื ผวิ เรียบ มกี ำรเสียดสรี ะหวา่ งกันนอ้ ย ในทางกลบั กนั ถ้าพน้ื ผวิ ขรขุ ระ จะเกดิ แรงเสยี ดทานมาก 5. ครูอาจยกตัวอย่างเพิ่มเติม เช่น การเตะฟุตบอล เวลาที่เราเตะลูกฟุตบอลไปบนสนามหญ้า จะเกิดแรง เสียดทานระหวา่ พ้ืนผวิ ของลูกฟุตบอลและพ้ืนสนาม โดยทิศทางของแรงเสียดทานจะตรงข้ามกับทิศทีล่ ูก ฟุตบอลเคลอ่ื นที่ไป จงึ ตา้ นการเคลอ่ื นทข่ี องลูกฟุตบอล ทำใหล้ ูกฟตุ บอลเคลื่อนท่ีช้าลงจนกระทั่งหยุดนงิ่ 6. ให้นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ สืบคน้ ข้อมูลเก่ียวกับแรงเสียดทาน ความหมายของแรงเสียดทาน ชนดิ ของแรงเสียด ทาน การหาค่าแรงเสียดทาน ประโยชน์ของแรงเสียดทาน จากแหล่งสืบค้นต่าง ๆ เช่น หนังสือเรียน หนังสืออ้างอิงต่าง ๆ อินเทอร์เน็ต เป็นต้น แล้วสรุปผลการสืบค้นในรูปของแผนผังความคิด ซึ่งนักเรียน สามารถใช้การวาดรูปประกอบเพ่ือสือ่ ความหมายลงในกระดาษฟลปิ ชาร์ต และตกแต่งให้สวยงาม (หมายเหตุ : ครูเริม่ ประเมินนกั เรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตการณท์ ำงานกลุ่ม) ชวั่ โมงที่ 3-4 ขน้ั สอน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันนำข้อมูลที่รวบรวมที่ได้จากการศึกษามาวิเคราะห์ และหาลงข้อสรุป รว่ มกันอภิปรายซักถามกันภายในกลุม่ จนเป็นท่ีเขา้ ใจตรงกัน 2. ครใู ห้นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ นำแผนผังความคิดออกมานำเสนอผลงานหนา้ ชัน้ เรยี น 3. ครูและนกั เรยี นรว่ มกันอภปิ รายสรุปเกย่ี วกับแรงเสยี ดทาน จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 67 ขน้ั สรปุ ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับชนิดของแรงเสียดทาน แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ แรงเสียดทานสถิต และ แรงเสยี ดทานจลน์ ซ่งึ นักเรียนสามารถศกึ ษาได้จากตัวอย่างการผลักตู้ทีว่ างอยบู่ นพน้ื ไม้ ตามรายละเอียด ในหนังสือเรียน หน้า 121 2. ครใู ห้ความรเู้ พ่ิมเติมเกีย่ วกบั การคำนวณหาคา่ แรงเสียดทาน และอธิบายคำว่าสมั ประสิทธิ์ของความเสียด ทาน ตามรายละเอียดในหนงั สือเรียน หน้า 122-124 3. ครูอธิบายเกี่ยวกับการนำแรงเสียดทานไปใช้ประโยชน์ ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันได้ มากมาย เชน่ ทำให้วัตถุหยุดนง่ิ ไม่เคล่ือนที่ เช่น ช่วยหยุดรถยนต์ที่กำลังเคลือ่ นที่ ยางรถที่มีดอกยางช่วย ให้รถ เป็นต้น 4. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเน้ือหาเรื่อง ชนิดและประโยชน์ของแรงเสียดทาน ว่ามีส่วนไหนท่ยี งั ไม่ เข้าใจและให้ความรูเ้ พ่มิ เตมิ ในส่วนน้นั 5. ครแู ละนักเรียนร่วมกนั เฉลยคำถามจาก Unit Question 3 และแบบฝึกหัด เร่อื ง แรงเสียดทาน ชวั่ โมงที่ 5-6 ขน้ั นำ กระต้นุ ความสนใจ (Engage) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนความรู้เดิมเกีย่ วกบั แรงเสียดทาน ความหมายของแรงเสยี ดทาน ชนิดของ แรงเสยี ดทาน การหาค่าแรงเสียดทาน ประโยชน์ของแรงเสียดทาน 2. ครูตั้งคำถามเพื่อนำเข้าสู่การค้นหาคำตอบ แรงเสียดทานเกิดได้อย่างไร และแรงเสียดทานส่งผลให้เกิด อะไรได้บ้าง 3. นกั เรียนแต่ละกลุ่มศึกษากจิ กรรม เรอ่ื ง แรงเสียดทาน จากหนงั สอื เรียน หน้า 126-127 ขน้ั สอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครใู หน้ ักเรยี นแบ่งกลุ่ม ซงึ่ ครูอาจใช้เทคนิคการแบ่งกลุม่ ผลสัมฤทธิ์ (STAD) คอื การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ท่ีมสี มาชิกกล่มุ 4–5 คน มรี ะดับสติปญั ญาแตกตา่ งกนั คอื เกง่ 1 คน: ปานกลาง 2–3 คน: อ่อน 1 คน พร้อมทง้ั เลือกประธานกลุม่ รองประธานกลุ่ม เลขานุการกลุ่ม และสมาชิกกลมุ่ โดยสับเปล่ยี นหน้าที่ใน การทำกจิ กรรมกลมุ่ (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนกั เรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตการณ์ทำงานกลมุ่ ) จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 68 2. ครชู แี้ จงจดุ ประสงคก์ ารทดลองให้นกั เรยี นทราบ ดงั น้ี • เพอื่ ศึกษาแรงเสียดทานที่ผลตอ่ การเคลอ่ื นที่ • บอกและอธบิ ายความหมายของแรงเสยี ดทานสถิตและแรงเสียดทานจลนไ์ ด้ 3. ครูให้นักร่วมกนั วางแผนทำการทดลอง การบันทกึ ผลการทดลอง ตลอดจนการกำหนดสมมุติฐาน และตัว แปรทเ่ี กีย่ วข้อง เพื่อนำไปร่วมกันวเิ คราะห์ อภปิ รายและลงขอ้ สรปุ ปฏิบัตกิ ารทดลองตามท่ีกลุ่มนักเรียน ได้วางแผนไว้ ซง่ึ นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มต้องมีการแบ่งหน้าท่ีกนั ทำงานโดยไม่ใหซ้ ้ำกับหน้าท่ีเดิมที่เคยปฏิบัติ มาแลว้ 4. ครอู าจถามกระตุ้นให้นักเรยี นไดค้ ดิ ดว้ ยตัวอย่างคำถามตอ่ ไปนี้ • ค่าของแรงเสียดทานขึน้ อยกู่ บั สงิ่ ใด • แรงเสยี ดทานมขี นาดและทิศทางเท่าใด 5. ครูให้นกั เรยี นลงมอื ทดลองตามขน้ั ตอนการทดลองทก่ี ำหนดในหนังสือเรยี น หนา้ 126-127 และบันทึกผล การทดลอง 6. นักเรียนแต่ละกลุ่มวิเคราะห์สรุปผลการทดลอง และนำแสนอหน้าชั้นเรียน ครูและนักเรียนร่วมอภิปราย การทดลองตามแนวคำถามท้ายการทดลอง สรุปการเรียนรู้ 7. หลงั จากท่ไี ด้รว่ มกันอภปิ รายขอ้ มูลจากการทดลองแลว้ ครตู ้งั คำถามเพอ่ื เข้าส่กู ารอภปิ รายเพมิ่ เตมิ ดังนี้ • แรงเสียดทานเกดิ ขึน้ บรเิ วณใด (ผิวสมั ผัสของวตั ถุกบั พ้นื ผวิ น้นั ) • นักเรยี นแรงเสยี ดทานสง่ ผลใหเ้ กดิ อะไรขึ้น (ตา้ นการเคลื่อนทข่ี องวัตถ)ุ • นักเรียนคิดว่าลักษณะทิศทางของแรงเสยี ดทานเป็นอย่างไร (ตรงขา้ มกบั แรงที่กระทำกบั วัตถ)ุ ขน้ั สอน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูและนักเรียนช่วยกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับแรงเสียดทานว่า แรงเสียดทานสถิตเป็นแรงเสียดทานที่ กระทำต่อวตั ถขุ ณะหยดุ นิ่ง ส่วนแรงเสยี ดทานจลนเ์ ปน็ แรงเสียดทานทีก่ ระทำตอ่ วัตถขุ ณะเคลอ่ื นที่ 2. ครตู ัง้ คำถามเพอื่ อภิปรายกบั นกั เรียนเพ่ิมเติมเพอื่ หาขอ้ สรปุ ดังนี้ • แรงเสียดทานมีความหมายวา่ อยา่ งไร (ผิวสัมผัสของวัตถุกับพื้นผิวนน้ั ) • นักเรยี นแรงเสยี ดทานสง่ ผลใหเ้ กิดอะไรขนึ้ (ตา้ นการเคลอื่ นท่ีของวัตถ)ุ • นักเรียนคดิ ว่าลกั ษณะทศิ ทางของแรงเสียดทานเปน็ อย่างไร (ตรงขา้ มกับแรงที่กระทำกบั วตั ถ)ุ 3. จากน้นั ครูใหน้ กั เรยี นศึกษาตัวอยา่ งการคำนวณจากโจทย์ปัญหา พรอ้ มทงั้ ให้นกั เรยี นฝึกแกโ้ จทย์ปัญหาใน หนังสอื เรียน หนา้ 125 ตามข้ันตอนการแกโ้ จทยป์ ญั หา ดงั น้ี • ขัน้ ท่ี 1 ครูใหน้ กั เรียนทุกคนทำความเขา้ ใจโจทย์ตัวอย่าง • ขนั้ ที่ 2 ครถู ามนกั เรยี นว่า ส่ิงท่โี จทย์ต้องการถามหาคืออะไร และจะหาสงิ่ ท่ีโจทย์ต้องการ ต้องทำ อย่างไร จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ้ชู ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 69 • ขน้ั ที่ 3 ครใู ห้นักเรยี นดวู ิธีทำในการคำนวณหาคำตอบ • ข้ันที่ 4 ตรวจสอบคำตอบของโจทย์ตวั อย่างวา่ ถูกต้อง หรือไม่ 4. ครูใหน้ ักเรยี นทำแบบฝึกหัด เรอ่ื ง แรงเสยี ดทาน ขน้ั สรุป ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. นักเรยี นจะนำความรู้เรอ่ื งแรงเสียดทานไปอธิบายอะไรได้บ้าง (การเคลอื่ นทข่ี องวัตถุ การสัมผสั ต่าง ๆ) 2. ในชีวิตประจำวันนกั เรียนพบเห็นการนำความรู้เรื่องแรงเสียดทานไปใช้ประโยชนอ์ ย่างไรบา้ ง (ทำให้วัตถุ หยดุ น่งิ ไม่เคล่อื นที่ เชน่ ช่วยหยดุ รถยนต์ท่ีกำลงั เคลือ่ นท่ี ยางรถท่ีมีดอกยางช่วยให้รถเกาะถนนได้ดี เป็น ตน้ ) 3. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเนื้อหาเรื่อง ค่าแรงเสียดทาน ว่ามีส่วนไหนที่ยังไม่เข้าใจและใหค้ วามรู้ เพิ่มเติมในสว่ นนั้น 4. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยคำถามจาก Unit Question 3 และแบบฝึกหัด เรื่อง การคำนวณหาค่าแรง เสยี ดทาน ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครปู ระเมินผล โดยการสังเกตการตอบคำถาม การร่วมกันทำผลงาน และจากการนำเสนอผลงาน 2. ครวู ดั และประเมินจากการทำใบงานท่ี 3.4 เร่ือง แรงต้งั ฉากและแรงเสยี ดทาน 3. ครตู รวจสอบผลการใบกจิ กรรม เร่ือง แรงเสยี ดทาน 4. ครูวัดและประเมนิ ผลจากการทำ Unit Question 3 ในหนังสือเรยี น ฟสิ ิกส์ เล่ม 1 5. ครวู ัดและประเมนิ ผลจากแผนผังมโนทศั นท์ นี่ กั เรยี นไดส้ รา้ งขนึ้ จากข้นั อธบิ ายความร้ขู องนกั เรียนเปน็ รายบุคคล จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 70 7. การวดั และประเมนิ ผล วิธวี ัด เครื่องมือ เกณฑก์ ารประเมนิ รายการวดั - ตรวจใบงานท่ี 3.4 - ใบงานที่ 3.4 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 7.1 การประเมินระหว่าง การจดั กิจกรรม 1) แรงตงั้ ฉากและ แรงเสียดทาน 2) การนำเสนอ - ประเมินการนำเสนอ - ผลงานที่นำเสนอ ระดับคุณภาพ 2 ผลงาน ผลงาน ผา่ นเกณฑ์ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดบั คุณภาพ 2 3) พฤติกรรมการ การทำงานรายบคุ คล การทำงานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์ ทำงานรายบคุ คล 4) พฤตกิ รรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2 ทำงานกลมุ่ การทำงานกลุม่ การทำงานกล่มุ ผา่ นเกณฑ์ - สงั เกตความมีวินยั - แบบประเมิน ระดบั คณุ ภาพ 2 5) คุณลกั ษณะ ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น คณุ ลักษณะ ผา่ นเกณฑ์ อันพึงประสงค์ ในการทำงาน อันพึงประสงค์ 8. สือ่ /แหลง่ การเรียนรู้ 8.1 สอ่ื การเรียนรู้ 1) หนงั สอื เรยี น รายวิชาเพมิ่ เติม ฟิสกิ ส์ ม.4 เลม่ 1 2) ใบงานที่ 3.4 เร่อื ง แรงตง้ั ฉากและแรงเสียดทาน 3) ชดุ การทดลอง เร่อื ง แรงเสียดทาน 4) PowerPoint เรื่อง แรงตั้งฉากและแรงเสียดทาน 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องเรียน 2) หอ้ งสมดุ 3) แหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4 71 9. การบรู ณาการตามจุดเน้นของโรงเรียน : ความหลากหลายทางชีวภาพ หลักปรัชญา ครู ผ้เู รียน ของเศรษฐกจิ พอเพียง 1. ความพอประมาณ พอดดี า้ นเทคโนโลยี พอดดี ้านจิตใจ รจู้ กั ใชเ้ ทคโนโลยมี าผลติ สอื่ ท่ี มีจิตสำนึกที่ดี จิตสาธารณะรว่ ม เหมาะสมและสอดคล้องเนอ้ื หาเปน็ อนุรักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ ประโยชนต์ อ่ ผูเ้ รยี นและพัฒนาจากภมู ิ สง่ิ แวดลอ้ ม ปัญญาของผ้เู รียน 2. ความมเี หตุผล - ยดึ ถือการประกอบอาชพี ด้วยความ ไมห่ ยดุ นิ่งทหี่ าหนทางในชวี ิต หลุดพ้น ถูกต้อง สจุ ริต จากความทุกขย์ าก (การค้นหาคำตอบ เพื่อให้หลดุ พ้นจากความไมร่ ู)้ 3. มีภูมคิ ุมกันในตัวที่ดี ภมู ิปญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ภูมปิ ญั ญา : มคี วามรู้ รอบคอบ ระมดั ระวงั รบั ผดิ ชอบ ระมัดระวัง สร้างสรรค์ 4. เงอื่ นไขความรู้ ความรอบรู้ เรอ่ื ง แรงต้ังฉากและ ความรอบรู้ เรื่อง แรงต้ังฉากและ แรงเสียดทาน ที่เกีย่ วขอ้ งรอบดา้ น นำ แรงเสยี ดทาน สามารถนำความรู้ ความรมู้ าเชื่อมโยงประกอบการ เหลา่ น้นั มาพิจารณาให้เกดิ ความ วางแผน การดำเนนิ การจดั กจิ กรรม เชอื่ มโยง สามารถประยุกต์ การเรียนรใู้ หก้ ับผ้เู รียน ใชใ้ นชวี ิตประจำวันได้ 5. เงือ่ นไขคุณธรรม มีความตระหนกั ใน คณุ ธรรม มี มคี วามตระหนักใน คุณธรรม มีความ ความซื่อสัตยส์ ุจริตและมคี วามอดทน ซอ่ื สัตยส์ ุจริตและมคี วามอดทน มี มคี วามเพียร ใช้สตปิ ญั ญาในการ ความเพยี ร ใช้สติปญั ญาในการดำเนนิ ดำเนินชีวติ ชีวิต สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ครู ผู้เรยี น ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - ความหลากหลายทางชีวภาพ - สำรวจความหลากหลายทาง - สำรวจความหลากหลายทางชวี ภาพ ชีวภาพในโรงเรียน (กำหนดจุดให้ ในโรงเรยี น (ตามจุดทไ่ี ด้รบั มอบหมาย) ผูเ้ รยี นสำรวจ) สิง่ แวดลอ้ ม ครู ผเู้ รียน ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - การอนรุ กั ษค์ วามหลากหลาย - การอนรุ ักษค์ วามหลากหลายทาง - สืบค้นขอ้ มลู การอนรุ กั ษ์ความ ทางชวี ภาพ ชวี ภาพ (กำหนดหัวขอ้ ให้ผเู้ รียน หลากหลายทางชีวภาพ (ตามหัวขอ้ ท่ี สบื ค้น) ได้มอบหมาย) จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 72 10. ความเหน็ /ข้อเสนอแนะ ของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาหรอื ผู้ทไี่ ดร้ บั มอบหมาย 10.1 หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื …………………………………………. (นางกมลชนก เทพบุ) ………./……………./…………. 10.2 ผชู้ ่วยผู้อำนวยการฝ่ายบรหิ ารวิชาการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นางสาวรตั ติกาล ยศสขุ ) ………./……………./…………. 10.3 ผู้อำนวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่อื …………………………………………. (นางวลิ าวัลย์ ปาลี) ………./……………./…………. จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผูช้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 73 11. บันทึกผลหลังการสอน  ดา้ นความรู้  ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน  ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์  ดา้ นความสามารถทางวิทยาศาสตร์  ดา้ นอ่ืน ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤติกรรมทีม่ ปี ัญหาของนกั เรียนเป็นรายบคุ คล (ถา้ ม)ี )  ปัญหา/อุปสรรค  แนวทางการแก้ไข ลงชือ่ .........................................................ครูผสู้ อน (นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา) ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 74 ใบงานท่ี 3.4 เรื่อง แรงตั้งฉากและแรงเสยี ดทาน คำชี้แจง : จงตอบคำถามและแสดงวธิ ีทำอย่างละเอียด 1. แรงเสยี ดทานสถิตและแรงเสยี ดทานจลน์ เหมือนหรือแตกตา่ งกัน อยา่ งไร 2. จงหาคา่ สัมประสทิ ธ์ิของแรงเสยี ดทานระหวา่ งผิววัตถุที่วางอยูบ่ นโต๊ะกับวตั ถหุ นัก 12 กิโลกรมั ออกแรงดงึ 30 นิวตนั ในแนวราบใหว้ ตั ถเุ คล่อื นทไี่ ด้ 3. ฉุดลากเลอ่ื นมวล 300 กโิ ลกรมั ด้วยมา้ เชือกลากทำมมุ 35o กับแนวระดับ ถา้ สัมประสทิ ธ์ิความเสียดทานเทา่ กับ 0.10 จงหาขนาดของแรงฉุดทน่ี ้อยท่ีสุดทท่ี ำใหเ้ ลื่อนเคล่อื นที่ จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ้ชู ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 4 75 ใบงานท่ี 3.4 เฉลย เร่ือง แรงตั้งฉากและแรงเสยี ดทาน คำช้ีแจง : จงตอบคำถามและแสดงวธิ ที ำอยา่ งละเอยี ด 1. แรงเสยี ดทานสถิตและแรงเสยี ดทานจลน์ เหมือนหรอื แตกต่างกนั อยา่ งไร แรงเสียดทานสถิต (static friction) คอื แรงเสียดทานที่เกิดข้ึนระหวา่ งผวิ สมั ผัสของวัตถุ ในสภาวะที่วัตถุ ได้รับแรงกระทำแล้วอยู่นงิ่ แรงเสียดทานจลน์ (kinetic friction) คอื แรงเสยี ดทานทีเ่ กดิ ข้นึ ระหว่างผิวสมั ผสั ของวัตถุ ในสภาวะทว่ี ตั ถุ ได้รับแรงกระทำแล้วเกิดการเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็วคงตวั 2. จงหาคา่ สมั ประสทิ ธ์ขิ องแรงเสยี ดทานระหวา่ งผิววตั ถุทวี่ างอยู่บนโต๊ะกับวตั ถหุ นกั 12 กิโลกรัม ออกแรงดงึ 30 นิวตัน ในแนวราบให้วตั ถุเคล่ือนที่ได้ จากสมการ F = fs,max = µsN เม่อื 1 กิโลกรมั = 9.8 นวิ ตัน แรงกดของวตั ถุ = 12 × 9.8 = 117.6 นิวตนั และแรงดงึ = 30 นวิ ตนั แทนคา่ µs = 30 = 0.255 117.6 ดังนั้น สมั ประสทิ ธิข์ องแรงเสียดทานระหวา่ งผิววัตถุ 0.255 3. ฉุดลากเลือ่ นมวล 300 กโิ ลกรัม ด้วยม้า เชอื กลากทำมุม 35o กับแนวระดับ ถา้ สมั ประสทิ ธ์ิความเสยี ดทานเท่ากับ 0.10 จงหาขนาดของแรงฉดุ ที่นอ้ ยที่สุดทท่ี ำใหเ้ ลื่อนเคลื่อนที่ จาก แรงลากเล่อื นในแนวระดับ = แรงเสยี ดทาน F cos θ = (mg - F sin θ) F= µmg µ sin θ+ cos θ = (0.10)(300)(9.8) (0.10) sin 35°+ cos 35° = 335 N ดังนัน้ ขนาดของแรงฉุดทนี่ อ้ ยท่ีสุดทท่ี ำใหเ้ ลื่อนเคลอื่ นท่ีเท่ากับ 335 นิวตนั จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 61 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 5 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 1/2563 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา ฟิสิกส์ 1 (ว31201) หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 3 แรงและกฎการเคลื่อนท่ี จำนวนเวลาทีส่ อน 5 ชวั่ โมง เรอื่ ง การประยกุ ตใ์ ชก้ ฎการเคล่อื นท่ขี องนวิ ตนั ครูผู้สอน นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา 1. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (ความเขา้ ใจที่คงทน) กฎการเคล่ือนที่ของนิวตันทั้งสามขอ้ เปน็ ความร้พู ืน้ ฐานท่ีสำคญั มากในวิชาฟสิ ิกส์ ซึง่ สามารถทำให้เข้าใจหรือ ใช้อธิบายสาเหตุของการเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุทุกชนิดและทุกกรณี ทั้งการเคลื่อนที่บนโลก นอกโลก และในเอกภพ และยังสามารถอธิบายเร่ืองสมดุลและการเคล่อื นที่ของวัตถตุ ่าง ๆ ได้ทุกลักษณะ และยังเป็นพื้นฐาน สำหรับนำไปใชศ้ กึ ษาเร่ืองอื่น ๆ เช่น งาน พลังงาน โมเมนตัม เปน็ ต้น 2. ผลการเรยี นรู้ เขียนแผนภาพของแรงที่กระทำต่อวัตถุอิสระ ทดลองและอธิบายกฎการเคลื่อนที่ของนิวตนั และการใช้กฎ การเคลอ่ื นทข่ี องนวิ ตนั กับสภาพการเคลือ่ นที่ของวัตถุ รวมทัง้ คำนวณปรมิ าณต่าง ๆ ท่ีเกยี่ วข้องได้ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ (Knowledge) 1) เข้าใจกฎการเคล่ือนทีข่ องนิวตันได้ดขี ้ึนและสามารถนำไปประยกุ ตอ์ ธบิ ายปรากฏการณต์ ่าง ๆ ได้ 3.2 ด้านทักษะและกระบวนการ (Skill/Process) 2) มีทักษะการคำนวณหากฎการเคล่อื นที่ของนิวตันไดถ้ ูกตอ้ ง 3.3 ดา้ นเจตคติ (Attitude) 3) เพ่ือใหม้ เี จตคตติ อ่ วชิ าฟสิ กิ ส์ ในด้านคณุ ภาพการสอน ดา้ นเนอ้ื หา ด้านกจิ กรรมการเรียนรู้ และด้าน บรรยากาศการเรียนรู้ 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 เน้อื หาสาระหลัก : Knowledge (ผ้เู รียนตอ้ งรู้อะไร) - สมบัติของวัตถทุ ี่ตา้ นการเปล่ียนสภาพการเคลื่อนท่ี เรียกว่า ความเฉื่อย มวลเป็นปริมาณทีบ่ อกให้ ทราบว่าวตั ถุใดมีความเฉอื่ ยมากหรอื นอ้ ย - การหาแรงลัพธ์ท่กี ระทำต่อวตั ถุสามารถเขยี นเป็นแผนภาพของแรงทีก่ ระทำต่อวตั ถอุ ิสระได้ จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ูช้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 62 - กรณที ี่ไมม่ ีแรงภายนอกมากระทำ วตั ถจุ ะไม่เปลีย่ นสภาพการเคล่อื นที่ซ่ึงเปน็ ไปตามกฎการเคลื่อนที่ ขอ้ ทห่ี นึ่งของนิวตนั - กรณีทม่ี แี รงภายนอกมากระทำโดยแรงลัพธ์ทก่ี ระทำตอ่ วตั ถุ ไมเ่ ปน็ ศนู ย์ วตั ถุจะมีความเร่ง โดย ความเร่งมีทิศทางเดียวกับแรงลัพธ์ ความสัมพันธ์ระหว่างแรงลัพธ์ มวลและความเร่ง เขียนแทนได้ด้วย สมการ n ∑ ⃑Fi = ma⃑ i=0 ตามกฎการเคล่อื นทข่ี อ้ ทหี่ นึ่งของนิวตัน - เมอ่ื วัตถสุ องกอ้ นออกแรงกระทำต่อกัน แรงระหว่างวตั ถทุ ้ังสองจะมีขนาดเทา่ กนั แตม่ ที ศิ ทางตรง ขา้ มและกระทำต่อวัตถุคนละก้อน เรยี กว่า แรงคู่กริ ิยา-ปฏกิ ริ ยิ า ซ่ึงเป็นไปตามกฎการเคลือ่ นท่ีข้อที่สามของ นิวตัน และเกิดข้ึนไดท้ ั้งกรณีที่วตั ถทุ ้งั สองสมั ผสั กันหรอื ไม่สัมผสั กนั กไ็ ด้ 4.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process (ผู้เรียนสามารถปฏิบตั อิ ะไรได้) - ทักษะการวเิ คราะห์ - ทักษะการสงั เกต - ทกั ษะการส่ือสาร - ทกั ษะการทำงานร่วมกนั - ทกั ษะการนำความรไู้ ปใช้ 4.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ : Attitude (ผู้เรียนควรแสดงพฤติกรรมการเรียนอะไรบา้ ง) - มวี นิ ยั - ใฝเ่ รยี นรู้ - มุ่งมนั่ ในการทำงาน - มคี วามซ่อื สัตย์ 5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี นและคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 1. มวี ินยั 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรยี นรู้ 1) ทักษะการวเิ คราะห์ 3. มุ่งมัน่ ในการทำงาน 2) ทักษะการสงั เกต 4. มีความซือ่ สตั ย์ 3) ทกั ษะการสอื่ สาร 4) ทกั ษะการทำงานรว่ มกนั จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ูช้ ว่ ย กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 63 สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 5) ทักษะการนำความรู้ไปใช้ 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ 6. กิจกรรมการเรียนรู้  แนวคิด/รปู แบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนคิ : สบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ช่วั โมงที่ 1 ขน้ั นำ กระต้นุ ความสนใจ (Engage) 1. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั ทบทวนความรเู้ ดิมเกยี่ วกบั เรื่อง แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน 2. ครถู ามคำถาม Prior Knowledge วา่ “ถา้ ชงั่ น้ำหนักในลิฟตท์ ก่ี ำลังเคล่อื นที่ น้ำหนักจะเปน็ อย่างไร” (แนวตอบ : เมื่อวัตถุและเครื่องชั่งน้ำหนักเคลื่อนที่ขึ้นลงไปด้วยกันด้วยความเร็วคงตัว (ไม่มี ความเร่ง) แรงที่วัตถุกระทำต่อเครื่องชั่งน้ำหนักจะยังคงเท่ากับในขณะหยุดนิ่ง แต่ถ้าวัตถุและเครื่องชั่ง นำ้ หนกั เคลื่อนที่ขนึ้ ลงไปดว้ ยกันโดยมคี วามเร่ง แรงกระทำระหว่างกันของท้ังสองส่ิงจะแตกต่างกับเมื่ออยู่ ในขณะหยุดนง่ิ หรอื เคลือ่ นที่ด้วยความเร็วคงตัว ในขณะน้ันเข็มชี้บอกนำ้ หนักเรียกว่าเป็น นำ้ หนักปรากฏ (apparent weight)) 3. นักเรยี นแต่ละคนช่วยกนั ตอบคำถาม ขน้ั สอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูอธิบายให้นักเรียนทราบวา่ การเคลื่อนที่ของวัตถุในชีวิตประจำวัน สามารถนำกฎการเคลือ่ นที่ของนวิ ตนั และการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ (Free-body diagram) มาช่วยสรา้ งความเขา้ ใจในการเปลี่ยนแปลง สภาพการเคล่ือนที่ทเ่ี กิดจากแรงทมี่ ากระทำกับวัตถใุ นแต่ละกรณี 2. ครูให้นักเรียนศกึ ษาการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระเพื่อใช้สำหรบั การแก้ปญหา ตามรายละเอียดในหนังสอื เรียน หน้า 129 3. ครชู ใี้ หเ้ ห็นว่าการเขียนแผนภาพวตั ถอุ สิ ระของแต่ละปญั หา เปน็ กระบวนการเริม่ ตน้ กอ่ นเข้าสู่กระบวนการ วิเคราะห์ปญั หาและแก้ปญั หา ดงั นัน้ นกั เรยี นจะต้องเข้าใจองค์ประกอบต่าง ๆ ก่อนจะเข้าสูห่ ลักการเขียน แผนภาพ คือ จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 64 ส่วนแรก คือ ชนิดของแรก ได้แก่ แรงกระทำหรือน้ำหนักที่มากระทำ ส่วนน้ีเป็นส่วนสำคัญท่ี นกั เรยี นสมารถเขยี นสญั ลกั ษณ์หรอื ลกู ศร ทแ่ี สดงความหมายของแรงในแผนภาพวัตถุอิสระไดอ้ ย่างถูกต้อง ส่วนที่สอง คือ แกนอ้างอิง นักเรียนต้องตัง้ แกนอา้ งองิ ให้สมั พันธก์ ับปญั หา และเป็นแนวเริ่มต้นใน การแกป้ ญั หาน้ัน ๆ สว่ นท่สี าม คอื ขอบเขตของวตั ถุ เช่น ลกั ษณะการเคลื่อนที่ ขน้ั สอน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูอธิบายเพิ่มเติมในเรื่องของการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ (Free-body diagram) คือ การเขียน แผนภาพแทนวัตถุเพ่ือแสดงให้เห็นเวกเตอร์ของแรงภายนอกท่ีกระทำต่อวัตถุ ซ่ึงมีข้ันตอน ดังน้ี 1) วาดรูปร่างของวัตถุ โดยนิยมเขียนเป็นโครงรูปโดยสังเขป หรือแทนด้วยจุดก็ได้ 2) แสดงแรงทั้งหมดท่ีกระทำกับวัตถุ 3) เขียนตัวเลขหรือสัญลักษณ์แทนแรงแต่ละแรง และเขียนลูกศรแสดงทิศของแรง 2. ครอู ธิบายสรปุ เกีย่ วกับเนอ้ื หา หรอื เปิดโอกาสให้นกั เรียนได้สอบถามในส่วนที่มีข้อสงสยั ขน้ั สรปุ ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครนู ำนกั เรียนอภปิ รายและสรปุ เกีย่ วกบั การเขียนแผนภาพวตั ถอุ สิ ระ ดงั นี้ • เขยี นภาพของปัญหาแลว้ ใส่แรงกระทาทเ่ี ป็นไปไดท้ งั้ หมด • นาวตั ถทุ เ่ี ป็นปัญหามาเขยี นแยกอสิ ระพรอ้ มทงั้ ใส่กรอบอา้ งองิ ทเ่ี หมาะสม • ถา้ แรงกระทาไม่ไดอ้ ยใู่ นแนวแกนของระบบ ใหแ้ ตกเป็นแรงย่อย • เขยี นเป็นสมการของแรงลพั ธใ์ นแตล่ ะแกน - แนวการเคล่อื นทท่ี ม่ี คี วามเรง่ : ∑F = ma (กฎขอ้ ทส่ี อง) - วตั ถุอยู่น่งิ หรอื มคี วามเร่งคงตวั : ∑F = 0 (กฎขอ้ ทห่ี น่งึ ) 2. ครเู ปิดโอกาสใหน้ กั เรยี นสอบถามเนื้อหาเรอ่ื ง การเขยี นแผนภาพวตั ถุอสิ ระ ว่ามสี ่วนไหนที่ยงั ไมเ่ ข้าใจและ ให้ความรู้เพ่มิ เตมิ ในสว่ นนนั้ 3. ครแู ละนักเรียนรว่ มกันเฉลยคำถามจาก Unit Question 3 จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผ้ชู ่วย กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 65 ช่ัวโมงที่ 2 ขน้ั นำ กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครทู บทวนความรู้เกี่ยวกับการเขียนแผนภาพวตั ถอุ ิสระ เพ่อื เป็นแนวทางใช้การแก้ปญั หาโดยใช้โดยใช้กฎ การเคลอื่ นท่ีของนิวตัน 2. ครถู ามคำถามกระตนุ้ ความสนใจกบั นักเรียน (ทงิ้ ชว่ งให้นักเรียนคดิ ) - สมการใดสามารถนำมาคำนวณหาน้ำหนกั ของวตั ถใุ นขณะท่ีลฟิ ต์กำลังเคลือ่ นที่ (แนวตอบ : ∑F = ma (กฎขอ้ ทสี่ องของนิวตัน)) - ถ้านักเรียนยืนบนตาชง่ั น้ำหนกั ซงึ่ อยู่ในลฟิ ต์ท่หี ยุดน่งิ นกั เรยี นจะใช้สมการใดในการคำนวณน้ำหนัก (แนวตอบ : ∑F = 0 (กฎข้อท่ีหน่ึงของนวิ ตัน)) 3. แจ้งใหน้ กั เรยี นทราบว่า จะได้ศกึ ษาเกีย่ วกับการหาแรงปฏิกิรยิ าและการชั่งนำ้ หนักในลิฟต์ ขน้ั สอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูอธิบายเกี่ยวกบั แรงปฏิกิรยิ าว่า ค่าน้ำหนักของวัตถุที่อ่านจากตาชั่งสปริง จะเท่ากับค่าแรงตึงเชือกใน สปริง หรอื แรงตึงในเสน้ เชือกท่ีผกู ระหว่างวัตถุกับสปรงิ โดยต้องใชส้ ปริงเบา คา่ นำ้ หนักของวัตถุที่อ่านได้ จากตาชง่ั สปริงจะเท่ากบั ค่าแรงปฏิกริ ยิ าท่ตี าช่ังสปริงกระทำตอ่ วัตถุ 2. ครูถามนักเรยี นว่า วตั ถทุ วี่ างอยู่ในลิฟต์ หรอื ชงั่ น้ำหนักวตั ถุโดยใช้ตาชง่ั สปรงิ ในลฟิ ต์ นักเรียนจะสามารถ หาแรงทีก่ ระทำตอ่ วัตถุไดอ้ ยา่ งไร 3. ครใู หน้ ักเรยี นช่วยกันคิดเพือ่ หาคำตอบ โดยนักเรยี นสามารถศกึ ษารายละเอียดจากหนงั สือเรยี น ขน้ั สอน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูสุ่มให้นักเรียนออกมาอธิบายหน้าชั้นเรียน 2. จากนั้นครูอธิบายเพิ่มเติมว่า วัตถุที่วางอยู่ในลิฟต์ หรือการชั่งน้ำหนักวัตถุโดยใช้ตาชั่งสปริงในลิฟต์ ถ้า ต้องการหาแรงที่กระทำต่อวัตถุ นักเรียนต้องใส่แรงที่กระทำต่อวัตถุนั้นให้ครบ แล้วพิจารณาทิศการ เคลอ่ื นทีข่ องวัตถุ โดยแรงใดมีทิศทางเดยี วกับการเคลื่อนที่ให้มีค่าเปน็ บวก (+) ส่วนแรงใดท่ีมีทิศทางตรง ขา้ มกับทศิ การเคลือ่ นท่ีให้มคี า่ เปน็ ลบ (-) แลว้ ใช้กฎการเคลื่อนท่ีของนิวตนั ในการแกโ้ จทยป์ ญั หา 3. ครูเปิดโอกาสให้นกั เรียนสอบถามเนอื้ หา วา่ มสี ่วนไหนทย่ี ังไม่เขา้ ใจและให้ความรู้เพ่มิ เตมิ ในสว่ นนนั้ จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 66 ขน้ั สรปุ ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครูนำนกั เรยี นอภิปรายและสรุปเกยี่ วกบั การช่งั นำ้ หนกั ในลฟิ ต์ ดังน้ี • ถ้าลิฟตเ์ คลอ่ื นทล่ี งดว้ ยความเร่ง a = g ตาช่ังอา่ นน้ำหนกั ได้เท่ากบั 0 (เสมอื นไรน้ ำ้ หนัก) • การช่งั นำ้ หนกั ในลิฟต์ ใช้การคำนวณเหมอื นการดงึ มวล แตเ่ ปลีย่ นคา่ แรงดงึ เชือก T เปน็ คา่ น้ำหนัก ทอี่ า่ นได้จากตาชัง่ N เทา่ นนั้ 2. ครูให้นักเรียนศึกษาตัวอยา่ งการคำนวณจากโจทย์ปญั หา พร้อมทง้ั ให้นกั เรยี นฝึกแกโ้ จทย์ปัญหาในหนังสือ เรียน หน้า 130 ตามข้นั ตอนการแก้โจทยป์ ัญหา ดังน้ี • ข้นั ท่ี 1 ครใู ห้นักเรยี นทกุ คนทำความเข้าใจโจทยต์ วั อยา่ ง • ขั้นที่ 2 ครูถามนักเรียนว่า สง่ิ ท่ีโจทย์ต้องการถามหาคืออะไร และจะหาสิง่ ที่โจทย์ต้องการ ต้องทำ อยา่ งไร • ขั้นท่ี 3 ครใู ห้นกั เรยี นดวู ธิ ีทำในการคำนวณหาคำตอบ • ขน้ั ท่ี 4 ตรวจสอบคำตอบของโจทยต์ วั อย่างว่าถกู ต้อง หรือไม่ 3. ครูอธิบายเพิม่ เติมเกี่ยวกบั นำ้ หนักปรากฏว่า เมื่อวัตถุและเครื่องชั่งนำ้ หนักเคลือ่ นที่ขึ้นลงไปด้วยกันด้วย ความเร็วคงตัว (ไม่มีความเร่ง) แรงที่วัตถุกระทำต่อน้ำหนักปรากฏจะยังคงเท่ากบั เมื่ออยู่ในขณะหยดุ นิ่ง แต่ถ้าวัตถุและนำ้ หนกั ปรากฏเคล่ือนท่ีขน้ึ ลงไปด้วยกันโดยมีความเรง่ แรงกระทำระหว่างกนั ของทั้งสองสิ่ง จะแตกต่างกับเมื่อขณะหยุดนิ่งหรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว ในขณะนั้นเข็มชี้บอกน้ำหนัก เรียกว่า นำ้ หนักปรากฏ (apparent weight) 4. ครเู ปดิ โอกาสให้นักเรียนสอบถามเนอ้ื หาเร่อื ง การหาแรงปฏกิ ิรยิ าและการช่งั น้ำหนักในลฟิ ต์ วา่ มสี ่วนไหน ท่ียงั ไมเ่ ขา้ ใจและให้ความรเู้ พิม่ เติมในส่วนนนั้ 5. ครูและนักเรยี นรว่ มกนั เฉลยคำถามจาก Unit Question 3 และทำแบบฝกึ หัด เร่อื ง การชง่ั นำ้ หนกั ในลิฟต์ ชว่ั โมงที่ 3 ขน้ั นำ กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูทบทวนเก่ยี วกับการชง่ั น้ำหนกั ในลฟิ ต์ และการคำนวณโดยใช้กฎของนวิ ตนั 2. ครูถามคำถามให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นว่า การคำนวณวัตถุบนพื้นเอียง ใช้กฎของนวิ ตันข้อใดในการ คำนวณ (แนวตอบ : ∑F = ma (กฎขอ้ ทสี่ องของนวิ ตัน)) 3. แจ้งใหน้ ักเรียนทราบวา่ จะไดศ้ ึกษาเกี่ยวกบั การคำนวณในกรณกี ารเคลื่อนท่ีของวัตถพุ ืน้ เอยี ง จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4 67 ขน้ั สอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครูให้ความรู้เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุพื้นเอียงตามรายละเอียดในหนังสือเรียน หน้า 131 โดยให้ นักเรยี นพจิ ารณาการแยกองค์ประกอบเวกเตอรข์ องนำ้ หนักของวัตถุท่วี างอยบู่ นพ้ืนเอ้ียง 2. ครูถามนักเรียนว่า วัตถุกำลังจะเริ่มเคลื่อนที่กับวัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว ค่าสัมประสิทธิ์ความ เสียดทานแตกต่างกันหรอื ไม่ อย่างไร 3. นักเรยี นทุกคนช่วยกนั คิดเพอ่ื ตอบคำถาม ขน้ั สอน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครนู ำอภิปรายเก่ยี วกบั การเคล่ือนทีข่ องวตั ถุพ้ืนเอียง ดังนี้ เม่อื วตั ถอุ ยูบ่ นพนื้ เอียงจะมแี รงเนอื่ งจากนำ้ หนกั ของวตั ถุ (mg) แรงเสียดทาน (f) และแรงทพี่ ืน้ เอียง กระทำกับวัตถุ (N) หากแตกแรง mg แล้ว นักเรียนสามารถจะหาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณต่าง ๆ ในขณะทีว่ ัตถกุ ำลงั จะเรม่ิ เคลอ่ื นที่ไดจ้ าก ������������ = ������������ = ������������ sin ������ = tan ������ ������ ������������ cos ������ ในลกั ษณะเดียวกนั ขณะทว่ี ตั ถุเคลอื่ นที่ด้วยความเรว็ คงตวั เราสามารถหาค่าสมั ประสิทธ์ิความเสียดทาน จลน์ได้จากสมการ ������������ = ������������ = ������������ sin ������ = tan ������ ������ ������������ cos ������ 2. ครใู หน้ กั เรียนลองหาคำตอบจากตวั อย่างท่ี 3.20 และ 3.21 จากหนงั สอื เรียน หนา้ 131-132 ด้วยตนเอง เพ่ือเสริมความเข้าในการใชส้ มการทใี่ ชค้ ำนวณทเี่ รียนมา 3. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเนื้อหาเรื่อง การเคลื่อนที่ของวัตถุพื้นเอียง ว่ามีส่วนไหนที่ยังไม่เข้าใจ และให้ความรู้เพม่ิ เตมิ ในส่วนนนั้ ขน้ั สรปุ ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครูให้นักเรียนยกตวั อย่างโจทย์คำนวณหาปริมาณอื่น ๆ โดยอาจปรับตัวอย่างจากหนงั สอื เรียน ครูอาจจะ เพ่มิ เติมมวลของวตั ถุ ความตึงในเสน้ เชือก เปน็ ตน้ 2. ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั เฉลยคำถามจาก Unit Question 3 จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผูช้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 68 ชัว่ โมงที่ 4-5 ขน้ั นำ กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูทบทวนความรเู้ ดมิ เก่ียวกับเรอ่ื ง การเคลอ่ื นทข่ี องวัตถพุ ้ืนเอยี ง 2. ครถู ามนกั เรยี นวา่ นกั เรยี นรู้จักหรอื เคยเหน็ รอกในชีวิตประจำวันบา้ งหรือเปลา่ แลว้ ครถู ามนกั เรียนวา่ รอก คืออะไร (แนวตอบ : รอก เป็นเครื่องกลทีใ่ ช้สำหรับยกของขึ้นที่สูงหรือหย่อนลงไปในที่ต่ำ รอกมีลักษณะ เปน็ ล้อมหมุนได้คล่องรอบตัว และมเี ชือกพาดล้อสำหรับยกตัวและดงึ วัตถุ) 3. ครูแจง้ ให้นักเรียนทราบวา่ จะไดศ้ ึกษาเก่ยี วกับ แรงดึงในเสน้ เชอื กเบาและรอก ขน้ั สอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครใู หน้ กั เรยี นแบ่งกลมุ่ กลุ่มละ 4-5 คน แลว้ รว่ มกันศึกษาตัวอยา่ งท่ี 3.22 2. ครูถามคำถามนักเรียนว่า การคำนวณการดึงของวัตถุด้วยรอก เหมือนหรือแตกต่างกับการคำนวณการ เคล่อื นที่บนพน้ื เอียงหรือไม่ อยา่ งไร 3. ครใู หน้ ักเรยี นแต่กลมุ่ ศกึ ษาเก่ียวกับการคำนวณจากโจทยต์ วั อย่าง 4. นกั เรยี นนำข้อมลู ท่ไี ด้จากการสืบคน้ มาวเิ คราะห์และเรียบเรยี งเน้ือหาเพือ่ ใช้สำหรับการนำเสนอโดย แลกเปล่ียนความคิดเหน็ กันภายในกลมุ่ จากน้ันอธิบายซักถามกันภายในกลุม่ จนเข้าใจตรงกนั (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมนิ นักเรียน โดยใชแ้ บบสังเกตการณ์ทำงานกลมุ่ ) 5. ครูให้ตวั แทนนกั เรยี นออกมาสาธติ แสดงวธิ ีการคำนวณทห่ี นา้ ชั้นเรียน จากนน้ั นกั เรยี นชว่ ยกนั สรุป ขน้ั สอน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูนำนักเรียนอภิปรายและสรุปวา่ แรงทก่ี ระทำใหร้ ะบบเคลอื่ นท่ี คือ น้ำหนกั ของ M คือ mg สว่ นนำ้ หนกั ท่ี m ไม่มีผลตอ่ การเคลือ่ นที่ (เพราะตั้งฉากกบั การเคล่ือนที่) และแรงตึงเชอื ก T เป็นแรงภายในระบบไม่มี ผลต่อการเคลือ่ นที่ จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 69 2. ครูให้ความรู้ตามรายละเอียดในหนังสือเรียน หน้า 134 ว่า แรงดึงในเส้นเชือกมีมวลที่ถูกแขวนในแนวด่ิง จะมวี ิธีท่ีวับซอ้ นกว่าการคำนวณในเสน้ เชือกเบา เพราะมวลของเชอื กจะมผี ลตอ่ แรงดงึ ในแตล่ ะส่วนของตัว เชอื ก ดงั น้ัน เพอ่ื งา่ ยตอ่ การคำนวณจะสามารถหาไดจ้ ากสมการความสมั พนั ธ์ ความหนาแน่นเชิงเส้นของเชือก = มวลเชือก ความยาวเชือก ขน้ั สรุป ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. นกั เรยี นทำแบบทดสอบหลังเรยี นหนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 เรื่อง แรงและกฎการคลื่อนท่ี จำนวน 10 ข้อ โดย ใชเ้ วลา 30 นาที และอธิบายเพม่ิ เติมในส่วนทีเ่ หน็ ว่า นกั เรยี นส่วนมากไมผ่ า่ นการประเมิน เพอื่ แกข้ อ้ สงสัย และความไมเ่ ขา้ ใจของนักเรยี นเมือ่ ตรวจแบบทดสอบแลว้ แจ้งคะแนนใหน้ ักเรยี นทราบ เพอ่ื ปรบั ปรงุ แกไ้ ข 2. ครูเปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนสอบถามเนอ้ื หาเร่ือง การประยุกต์ใช้กฎการเคลอ่ื นท่ีของนวิ ตนั วา่ มสี ่วนไหนท่ียัง ไมเ่ ขา้ ใจและใหค้ วามรู้เพิม่ เติมในส่วนนนั้ 3. ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละคนทำแผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) แล้วส่งเป็นการบ้านในคาบ เรยี นตอ่ ไป 4. ครแู ละนกั เรียนร่วมกันเฉลยคำถามจาก Unit Question 3 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูตรวจสอบผลจากแบบทดสอบหลังเรยี น หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 3 2. ครูสังเกตการตอบคำถามของนกั เรยี น 3. ครูตรวจสอบผลจากใบงานท่ี 3.5 เร่อื ง การประยกุ ตใ์ ชก้ ฎการเคลื่อนที่ของนวิ ตัน 4. ครตู รวจการทำแบบฝกึ หดั จาก Unit Question 3 5. ครูตรวจแบบฝกึ หัดท่ี 8.1 - 8.3 เรอื่ ง การประยกุ ต์ใช้กฎการเคลอื่ นที่ของนิวตัน 6. ครปู ระเมนิ ผลงานจากแผนผังมโนทศั น์ (Concept Mapping) ที่นักเรยี นไดส้ ร้างข้ึนจากข้นั ขยายความ เข้าใจของนกั เรยี นเป็นรายบุคคล จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 70 7. การวัดและประเมนิ ผล วธิ วี ดั เครือ่ งมือ เกณฑก์ ารประเมิน รายการวัด - ตรวจใบงานที่ 3.5 - ใบงานที่ 3.5 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 7.1 การประเมินระหว่าง การจดั กิจกรรม - ประเมินการนำเสนอ - ผลงานท่นี ำเสนอ ระดับคณุ ภาพ 2 1) การประยุกต์ใช้ ผลงาน - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ผา่ นเกณฑ์ กฎการเคล่ือนที่ - สังเกตพฤตกิ รรม การทำงานรายบคุ คล ระดับคุณภาพ 2 ของนิวตนั การทำงานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์ 2) การนำเสนอ ผลงาน 3) พฤติกรรมการ ทำงานรายบุคคล 4) พฤตกิ รรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดบั คุณภาพ 2 ทำงานกลมุ่ การทำงานกลุ่ม การทำงานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์ - สงั เกตความมวี นิ ัย - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ 2 5) คุณลกั ษณะ ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งม่ัน คุณลักษณะ ผา่ นเกณฑ์ อันพึงประสงค์ ในการทำงาน อันพงึ ประสงค์ ตรวจแบบทดสอบหลงั แบบทดสอบหลงั เรียน ประเมนิ ตามสภาพจรงิ 6) แบบทดสอบหลงั เรียน เรยี น หนว่ ยการ เรยี นรทู้ ่ี 3 การ ประยกุ ตใ์ ชก้ ฎ การเคลอ่ื นทีข่ อง นิวตนั 8. สือ่ /แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 ส่อื การเรยี นรู้ 1) หนงั สือเรยี น รายวิชาเพมิ่ เติม ฟสิ กิ ส์ ม.4 เล่ม 1 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 3 แรงและกฎการเคลอื่ นที่ 2) ใบงานท่ี 3.5 เรอื่ ง การประยกุ ต์ใชก้ ฎการเคล่อื นทขี่ องนิวตนั 3) PowerPoint เรือ่ ง แรงและกฎการเคลือ่ นที่ 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) หอ้ งเรยี น 2) ห้องสมดุ 3) แหล่งขอ้ มลู สารสนเทศ จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผ้ชู ่วย กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 71 9. การบูรณาการตามจดุ เนน้ ของโรงเรียน : ความหลากหลายทางชีวภาพ หลักปรชั ญา ครู ผเู้ รียน ของเศรษฐกิจพอเพียง 1. ความพอประมาณ พอดดี า้ นเทคโนโลยี พอดีด้านจติ ใจ รจู้ ักใชเ้ ทคโนโลยมี าผลิตส่อื ท่ี มจี ิตสำนึกท่ดี ี จติ สาธารณะรว่ ม เหมาะสมและสอดคล้องเน้อื หาเป็น อนุรกั ษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติและ ประโยชนต์ ่อผ้เู รยี นและพฒั นาจากภูมิ สง่ิ แวดลอ้ ม ปัญญาของผเู้ รยี น 2. ความมเี หตุผล - ยึดถอื การประกอบอาชพี ด้วยความ ไม่หยุดน่ิงทห่ี าหนทางในชีวติ หลุดพ้น ถกู ตอ้ ง สุจรติ จากความทกุ ข์ยาก (การค้นหาคำตอบ เพอ่ื ใหห้ ลุดพ้นจากความไมร่ )ู้ 3. มีภมู ิคุมกันในตวั ทดี่ ี ภูมิปญั ญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ ภูมิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ ระมัดระวงั รับผิดชอบ ระมัดระวงั สรา้ งสรรค์ 4. เงอื่ นไขความรู้ ความรอบรู้ เรอ่ื ง การประยุกตใ์ ช้ ความรอบรู้ เรอ่ื ง การประยุกตใ์ ช้ กฎการเคลือ่ นทข่ี องนิวตนั ทีเ่ กี่ยวข้อง กฎการเคลื่อนที่ของนวิ ตนั สามารถ รอบด้าน นำความรูม้ าเชอ่ื มโยง นำความร้เู หลา่ น้ันมาพจิ ารณาให้เกิด ประกอบการวางแผน การดำเนินการ ความเชอื่ มโยง สามารถประยุกต์ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ใหก้ บั ผเู้ รยี น ใช้ในชีวติ ประจำวันได้ 5. เงื่อนไขคุณธรรม มคี วามตระหนกั ใน คณุ ธรรม มี มีความตระหนกั ใน คณุ ธรรม มีความ ความซอ่ื สตั ย์สุจริตและมีความอดทน ซ่อื สตั ย์สุจรติ และมีความอดทน มี มีความเพียร ใช้สตปิ ัญญาในการ ความเพียร ใช้สตปิ ญั ญาในการดำเนิน ดำเนินชวี ิต ชีวติ สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ครู ผู้เรียน ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - ความหลากหลายทางชีวภาพ - สำรวจความหลากหลายทาง - สำรวจความหลากหลายทางชีวภาพ ชวี ภาพในโรงเรียน (กำหนดจุดให้ ในโรงเรียน (ตามจุดทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย) ผู้เรียนสำรวจ) สิ่งแวดลอ้ ม ครู ผเู้ รียน ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - การอนรุ กั ษ์ความหลากหลาย - การอนรุ กั ษ์ความหลากหลายทาง - สืบคน้ ขอ้ มลู การอนรุ ักษ์ความ ทางชีวภาพ ชวี ภาพ (กำหนดหัวข้อให้ผเู้ รยี น หลากหลายทางชวี ภาพ (ตามหวั ขอ้ ท่ี สืบค้น) ไดม้ อบหมาย) จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 72 10. ความเหน็ /ข้อเสนอแนะ ของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาหรอื ผู้ทไี่ ดร้ บั มอบหมาย 10.1 หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื …………………………………………. (นางกมลชนก เทพบุ) ………./……………./…………. 10.2 ผชู้ ่วยผู้อำนวยการฝ่ายบรหิ ารวิชาการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นางสาวรตั ติกาล ยศสขุ ) ………./……………./…………. 10.3 ผู้อำนวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่อื …………………………………………. (นางวลิ าวัลย์ ปาลี) ………./……………./…………. จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผูช้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 73 11. บันทึกผลหลังการสอน  ดา้ นความรู้  ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน  ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์  ดา้ นความสามารถทางวิทยาศาสตร์  ดา้ นอ่ืน ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤติกรรมทีม่ ปี ัญหาของนกั เรียนเป็นรายบคุ คล (ถา้ ม)ี )  ปัญหา/อุปสรรค  แนวทางการแก้ไข ลงชือ่ .........................................................ครูผสู้ อน (นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา) ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟิสิกส์ 1 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 74 ใบงานที่ 3.5 เร่อื ง การประยกุ ตใ์ ช้กฎการเคล่ือนที่ของนิวตัน คำชี้แจง : จงแสดงวิธที ำอยา่ งละเอียด ชายคนหนงึ่ มีมวล 60 กิโลกรมั ยนื อยู่ในลฟิ ต์ จงหาแรงทพ่ี ื้นกระทำตอ่ ชายคนน้ี ในกรณี 1. ลฟิ ต์เคล่ือนที่ขนึ้ ดว้ ยความเร่ง 5 เมตรต่อวนิ าที2 2. ลฟิ ต์เคลอ่ื นท่ีข้ึนดว้ ยความหนว่ ง 5 เมตรต่อวนิ าที2 3. ลฟิ ตเ์ คลื่อนท่ลี งด้วยความเร่ง 5 เมตรตอ่ วนิ าที2 4. ลฟิ ต์เคลือ่ นท่ีลงด้วยความหนว่ ง 5 เมตรต่อวนิ าที2 จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 75 ใบงานที่ 3.5 เฉลย เรือ่ ง การประยุกต์ใชก้ ฎการเคล่อื นที่ของนิวตัน คำชี้แจง : จงแสดงวิธที ำอยา่ งละเอยี ด ชายคนหน่งึ มมี วล 60 กโิ ลกรมั ยืนอยใู่ นลฟิ ต์ จงหาแรงทพ่ี ้ืนกระทำตอ่ ชายคนนี้ ในกรณี 1. ลฟิ ต์เคลอ่ื นท่ีขน้ึ ด้วยความเร่ง 5 เมตรตอ่ วนิ าที2 ให้ลฟิ ต์เคลื่อนทดี่ ว้ ยความเรง่ a ให้ N1 เปน็ แรงที่พืน้ ทล่ี ฟิ ตก์ ระทำตอ่ ชายคนนี้ และ mg เปน็ น้ำหนกั ของ ชายคนน้ี จากสมการ ∑F = ma N1 – mg = ma N1 = m(g + a) = 900 N ดังนั้น กรณที ี่พื้นลฟิ ตอ์ อกแรงกระทำ 900 นิวตนั 2. ลฟิ ต์เคล่ือนที่ขน้ึ ดว้ ยความหน่วง 5 เมตรตอ่ วนิ าที2 ให้ลิฟตเ์ คลอื่ นทด่ี ้วยความหนว่ ง -a ให้ N2 เปน็ แรงท่ีพืน้ ทลี่ ิฟต์กระทำตอ่ ชายคนน้ีเชน่ เดยี วกับขอ้ 1 จากสมการ ∑F = ma N2 – mg = ma N2 = m(g - a) = 300 N ดงั นน้ั กรณีท่พี ้ืนลฟิ ต์ออกแรงกระทำ 300 นวิ ตนั จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 76 ใบงานที่ 3.5 เฉลย เร่ือง การประยกุ ตใ์ ช้กฎการเคล่อื นที่ของนิวตนั คำชีแ้ จง : จงแสดงวธิ ีทำอย่างละเอียด 3. ลิฟต์เคลื่อนทีล่ งด้วยความเร่ง 5 เมตรต่อวนิ าที2 ให้ลิฟตเ์ คล่อื นที่ด้วยความหน่วง a ให้ N3 เปน็ แรงทพ่ี น้ื ทล่ี ิฟต์กระทำตอ่ ชายคนนี้ จากสมการ ∑F = ma mg – N3 = ma N3 = m(g - a) = 300 N ดังน้นั กรณีท่พี ้นื ลฟิ ต์ออกแรงกระทำ 300 นวิ ตนั 4. ลฟิ ต์เคลอื่ นที่ลงด้วยความหนว่ ง 5 เมตรตอ่ วินาที2 ใหล้ ิฟต์เคลอ่ื นทดี่ ว้ ยความหนว่ ง -a ให้ N4 เปน็ แรงทีพ่ ้นื ท่ีลิฟตก์ ระทำตอ่ ชายคนน้ี จากสมการ ∑F = ma mg – N4 = ma N3 = m(g + a) = 900 N ดังนน้ั กรณที พ่ี ืน้ ลิฟต์ออกแรงกระทำ 900 นิวตนั จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 221 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 4 การเคลอ่ื นท่ีแนวโค้ง เวลา 24 ชัว่ โมง 1. ผลการเรียนรู้ เขา้ ใจธรรมชาติทางฟิสิกส์ ปรมิ าณและกระบวนการวัด การเคล่ือนที่แนวตรง แรงและกฎการเคลื่อนท่ี ของนิวตัน กฎความโน้มถว่ งสากล แรงเสียดทาน สมดลุ กลของวัตถุ งานและกฎการอนุรักษพ์ ลังงานกล โม เมนตมั และกฎการอนุรักษโ์ มเมนตมั การเคล่ือนที่แนวโค้ง รวมท้งั นำความรู้ไปใช้ประโยชนไ์ ด้ 8) อธิบาย วิเคราะห์ และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนท่ีแบบโพรเจกไทล์ และ ทดลองการเคลอ่ื นทีแ่ บบโพรเจกไทลไ์ ด้ 9) ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแรงสู่ศูนย์กลาง รัศมีของการเคลื่อนที่ อัตราเร็วเชิงเส้น อตั ราเร็วเชิงมุม และมวลของวัตถุในการเคล่ือนที่แบบวงกลมในระนาบระดับรวมท้ังคำนวณปริมาณต่าง ๆ ท่เี กย่ี วขอ้ ง และประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้การเคล่ือนทแี่ บบวงกลมในการอธิบายการโคจรของดาวเทียมได้ 2. สาระการเรยี นรู้ 2.1 สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม 1) การเคล่ือนทีแ่ นวโคง้ พาราโบลาภายใต้สนามโนม้ ถ่วง โดยไม่คิดแรงต้านของอากาศเปน็ การเคล่ือนท่แี บบ โพรเจกไทล์ วัตถุมีการเปลี่ยนตำแหน่งในแนวดิ่งและแนวระดับพร้อมกัน และเป็นอิสระต่อกัน สำหรับ การเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเป็นการเคลื่อนท่ีที่มีแรงโน้มถ่วงกระทำจึงมีความเร็วไม่คงตัว ปริมาณต่าง ๆ มี ความสมั พนั ธต์ ามสมการ vy = uy + ayt ∆y = (uy + vy) t 2 ∆y = uyt + 1 ayt2 2 vy2 = uy2 + 2ay∆y ส่วนการเคลื่อนท่ีในแนวระดับไม่มีแรงกระทำจึงมีความเร็วคงตัว ตำแหน่ง ความเร็ว และเวลา มี ความสัมพันธต์ ามสมการ ∆x = uxt 2) วัตถุท่ีเคลอ่ื นทีเ่ ป็นวงกลมหรือสว่ นของวงกลม เรียกวา่ วัตถนุ น้ั มีการเคลอ่ื นทแ่ี บบวงกลม ซึ่งมีแรงลัพธ์ท่ี กระทำกับวัตถุในทิศเข้าสู่ศูนย์กลาง เรียกว่า แรงสู่ศูนย์กลาง ทำให้เกิดความเร่งสู่ศูนย์กลางท่ีมีขนาด สมั พนั ธก์ ับรศั มขี องการเคลอื่ นท่แี ละอัตราเร็วเชิงเส้นของวตั ถุ ซ่งึ แรงสู่ศูนยก์ ลางคำนวณได้จากสมการ จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 222 mv2 Fc = r นอกจากนกี้ ารเคลื่อนท่ีแบบวงกลมยงั สามารถอธิบายไดด้ ว้ ยอตั ราเรว็ เชิงมุม ซ่ึงมีความสัมพันธ์กับ อัตราเร็วเชิงเส้นตามสมการ v = ωr และแรงส่ศู ูนยก์ ลางมีความสัมพันธ์กบั อตั ราเร็วเชิงมุมตาม สมการ Fc = mω2r 2.2 สาระการเรยี นรู้ท้องถิ่น (พจิ ารณาตามหลกั สูตรสถานศึกษา) 3. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด การเคลื่อนทแ่ี บบโพรเจกไทล์ เป็นการเคล่ือนที่เปน็ แนววถิ ีโค้งภายใต้แรงเนื่องจากสนามโน้มถ่วงของโลก ท่ี วตั ถุเคลื่อนที่ในสองแนวพร้อม ๆ กัน คือการเคลื่อนท่ีในแนวระดับและแนวดิ่ง แรงท่ีกระทำต่อวตั ถุมีทิศทางคงตัว ตลอดเวลา โดยทำมุมใด ๆ กับทิศของความเร็ว การเคลื่อนที่ของวัตถุจะมีลักษณะเปน็ แนวตรง หรอื แนวโคง้ ขนึ้ อยู่กบั ทิศของแรงที่มากระทำกับทศิ ของการ เคลอื่ นที่ โดยทิศของแรงอยู่ในแนวเดียวกับทิศการเคลอ่ื นที่ วัตถุจะเคล่ือนทเ่ี ป็นแนวตรง ทิศของแรงทำมุมใด ๆกับ ทศิ การเคล่ือนทีต่ ลอดเวลา วัตถุจะเคล่อื นทีเ่ ป็นแนวโค้ง สว่ นการเคล่ือนที่แบบวงกลมนั้นแรงจะทามุมต้ังฉากกบั ทิศ การเคล่ือนท่ีตลอดเวลาการเคล่ือนที่ และแรงทก่ี ระทาจะมีทศิ เข้าสศู่ ูนยก์ ลางเรยี กแรงน้ีว่า แรงส่ศู ูนย์กลาง 4. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี นและคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ความสามารถในการส่ือสาร 1. มีวินัย 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝเ่ รียนรู้ 1) ทกั ษะการวเิ คราะห์ 3. มุง่ ม่ันในการทำงาน 2) ทกั ษะการสงั เกต 3) ทกั ษะการสื่อสาร 4) ทักษะการทำงานร่วมกนั 5) ทกั ษะการนำความรู้ไปใช้ 6) ทกั ษะการคิดอย่างมวี ิจารณญาณ 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ชนิ้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) - แบบบนั ทึกกิจกรรม เร่อื ง การศึกษาการเคล่ือนท่แี บบโพรเจคไทล์ - แบบบนั ทกึ กิจกรรม เรอื่ ง การศึกษาการเคลือ่ นทแ่ี บบวงกลม จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 223 - ใบงานท่ี 4.1 เรอ่ื ง ทบทวนความรพู้ ื้นฐานเกี่ยวกับการเคล่ือนท่ี - ใบงานท่ี 4.2 เรือ่ ง การเคลือ่ นที่แบบโพรเจคไทล์ - ใบงานที่ 4.3 เรื่อง การเคลอ่ื นทแ่ี บบวงกลม - ผงั มโนทศั น์ เรื่อง การเคลือ่ นทแ่ี บบโพรเจคไทล์ - ผังมโนทัศน์ เรื่อง การเคลื่อนที่แบบวงกลม 6. การวดั และการประเมนิ ผล รายการวัด วิธีวดั เคร่ืองมือ เกณฑ์การประเมิน ระดบั คุณภาพ 2 6.1 การประเมินช้นิ งาน/ - ตรวจผังมโนทศั น์ เรอ่ื ง แบบประเมินช้นิ งาน/ ผ่านเกณฑ์ ภาระงาน (รวบยอด) การเคลื่อนที่แบบโพร ภาระงาน ประเมินตามสภาพจริง เจคไทล์ รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - ตรวจผงั มโนทศั น์ เรื่อง รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ การเคล่ือนทแี่ บบวงกลม 6.2 การประเมินก่อนเรียน ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน - แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ก่อนเรียน หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 4 เรอื่ ง การเคลือ่ นท่ีแบบ ต่าง ๆ 6.3 การประเมินระหวา่ งการ จดั กจิ กรรม 1) การเคลอื่ นทแี่ บบ - ตรวจใบงานท่ี 4.1-4.2 - ใบงานท่ี 4.1-4.2 โพรเจคไทล์ - ตรวจแบบฝกึ หัดที่ 1.1- - แบบฝึกหดั ท่ี 1.1-1.2 1.2 2) การเคล่อื นทแ่ี บบ - ตรวจใบงานท่ี 4.3 - ใบงานที่ 4.3 วงกลม - ตรวจแบบฝกึ หดั ท่ี 2.1- - แบบฝกึ หัดท่ี 2.1-2.2 2.2 3) พฤติกรรม - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดับคุณภาพ 2 การทำงานรายบคุ คล ผ่านเกณฑ์ การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดบั คณุ ภาพ 2 การทำงานกลมุ่ ผ่านเกณฑ์ 4) พฤติกรรม - สงั เกตพฤติกรรม - แบบประเมิน ระดบั คุณภาพ 2 การทำงานกลุม่ การทำงานกลมุ่ 5) คุณลักษณะ - สังเกตความมีวินัย จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครผู ูช้ ่วย กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 224 รายการวัด วธิ ีวดั เครือ่ งมือ เกณฑก์ ารประเมิน อันพงึ ประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และม่งุ มนั่ คณุ ลักษณะ ผ่านเกณฑ์ ในการทำงาน อนั พงึ ประสงค์ 6.4 การประเมินหลังเรียน ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบหลงั เรียน ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - แบบทดสอบหลงั เรยี น หลงั เรยี น หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 4 เรอื่ ง การเคล่อื นท่แี บบ ต่าง ๆ 7. กจิ กรรมการเรยี นรู้ เวลา 12 ชวั่ โมง • เรอื่ งท่ี 1 : การเคลื่อนทีแ่ บบโพรเจคไทล์ เวลา 12 ชวั่ โมง วิธสี อนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) (รวมเวลา 24 ชวั่ โมง) • เรอื่ งท่ี 2 : การเคลื่อนที่แบบวงกลม วธิ สี อนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) 8. สือ่ /แหล่งการเรยี นรู้ 8.1 ส่ือการเรียนรู้ 1) หนงั สือเรียน รายวิชาเพิม่ เตมิ ฟิสิกส์ ม.4 เลม่ 1 หนว่ ยการเรียนที่ 4 การเคลอ่ื นท่ีแบบตา่ ง ๆ 2) ใบงานที่ 4.1 เร่ือง ทบทวนความรพู้ นื้ ฐานเกี่ยวกบั การเคลือ่ นที่ 3) ใบงานท่ี 4.2 เรื่อง การเคลอ่ื นท่ีแบบโพรเจคไทล์ 4) ใบงานท่ี 4.3 เรอ่ื ง การเคลอื่ นท่แี บบวงกลม 5) แบบฝึกหดั หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 แรงและกฎการเคลื่อนท่ี 6) PowerPoint เร่ือง การเคล่ือนทแี่ บบต่าง ๆ 8.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1) หอ้ งเรียน 2) หอ้ งสมุด 3) แหลง่ ขอ้ มูลสารสนเทศ จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผูช้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 225 แบบทดสอบก่อนเรยี น หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 4 คำชแี้ จง : ใหน้ ักเรยี นเลือกคำตอบท่ีถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ขวา้ งวตั ถุดว้ ยอตั ราเรว็ คงตวั ค่าหนง่ึ จะไดร้ ะยะทาง 6. การเคล่อื นทแ่ี บบโพรเจกไทล์เป็นการเคลอ่ื นทลี่ กั ษณะใด ตามแนวระดบั มากทสี่ ุดเม่อื ขวา้ งทามุมกอี่ งศา 1. เป็นเสน้ โคง้ ทมี่ คี วามเรว็ คงตวั 1. 30 2. 45 2. เป็นเสน้ โคง้ ทม่ี คี วามเร่งคงตวั ทงั้ สองแกน 3. 53 4. 60 3. เป็นเสน้ โคง้ พาราโบลา 5. 90 4. มคี วามเร่งคงตวั ในแนวระดบั 2. คาบของการเคล่อื นทมี่ คี วามหมายตรงกบั ขอ้ ใด 5. เป็นเสน้ จานวนรอบทเี่ คล่อื นทไี่ ดใ้ น 1 วนิ าที 1. เวลาทใ่ี ชใ้ นการเคล่อื นท่คี รบ 1 รอบ 7. วตั ถุท่ีกาลังเคล่ือนที่เป็นวงกลมด้วยอตั ราเร็วสม่าเสมอ มี 2. จานวนรอบทเี่ คล่อื นทไี่ ดใ้ น 1 วนิ าที ความเรง่ หรอื ไม่ 3. ระยะทางในการเคล่อื นทไี่ ดใ้ น 1 รอบ 1. ไม่มี 2. มี ทศิ เขา้ สศู่ นู ยก์ ลาง 4. ความเรว็ ของวตั ถใุ นการเคล่อื นที่ 3. มี ทศิ ออกจากศูนยก์ ลาง 4. มี ทศิ สมั ผสั กบั เสน้ รอบวง 5. ความเร่งของวตั ถุในการเคลอ่ื นที่ 5. มี ทศิ สมั ผสั กบั เสน้ รอบวงและออกจากศูนยก์ ลาง 3. ความถ่ขี องการเคล่อื นทมี่ คี วามหมายตรงกบั ขอ้ ใด 8. การเคลื่อนที่ของวตั ถุเป็นวงกลมด้วยอัตราเร็วสม่าเสมอ 1. เวลาทใ่ี ชใ้ นการเคลอ่ื นท่คี รบ 1 รอบ ถ้ารศั มีข อง การเคลื่อ น ที่เพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า โดย ที่ 2. จานวนรอบทเี่ คล่อื นทไ่ี ดใ้ น 1 วนิ าที อัตราเร็วยงั คงเท่าเดิม จะต้องใช้แรงเข้าสู่ศูนย์กลาง 3. ระยะทางในการเคล่อื นทไ่ี ดใ้ น 1 รอบ เท่าใด 4. ความเรว็ ของวตั ถุในการเคล่อื นท่ี 1. เท่ากบั ครง่ึ หนงึ่ ของค่าเดมิ 2. เทา่ เดมิ 5. ความเร่งของวตั ถุในการเคล่อื นท่ี 3. เพม่ิ ขน้ึ เป็น 2 เทา่ 4. เพม่ิ ขน้ึ เป็น 3 เท่า 4. ขว้างก้อนหินด้วยความเรว็ 15 เมตร/วินาที ตาม 4. เพม่ิ ขน้ึ เป็น 4 เท่า แนวระดบั จากยอดตึกสูง 100 เมตร เม่อื เวลาผ่าน 9. รถเล้ียวโค้งได้เน่ืองจากแรงใด ไป 4 วนิ าที วตั ถุมขี นาดการกระจดั เทา่ ใด 1. แรงเสียดทานสถิตระหว่างยางกับถนนในแนวเดียวกับการ 1. 100 เมตร 2. 145 เมตร เคลอ่ื นที่ 3. 150 เมตร 4. 160 เมตร 2. แรงเสียดทานจลน์ระหว่างยางกับถนนในแนวเดียวกับการ 5. 190 เมตร เคล่อื นที่ 5. ขอ้ ใดกลา่ วถกู ตอ้ งกบั การเคล่อื นทแี่ บบโพรเจกไทล์ 3. แรงเสยี ดทานสถติ ระหว่างยางกบั ถนนในแนวดา้ นขา้ ง 1. แรงและความเร่งมคี ่าคงตวั เสมอ 4. แรงเสยี ดทานจลน์ระหวา่ งยางกบั ถนนในแนวดา้ นข้าง 2. วตั ถุตกไกลสุดเมอ่ื มุมยงิ 60 องศา 5. แรงเสยี ดทานสถติ ระหวา่ งยางกบั ถนนในแนวดา้ นหลงั 3. ณ ตาแหน่งสงู สดุ วตั ถุไม่มคี วามเร่ง 10. การทจ่ี ะทาใหว้ ตั ถุเคลอ่ื นทเี่ ป็นวงกลมไดน้ นั้ สงิ่ จาเป็นทต่ี อ้ ง 4. ณ ตาแหน่งสูงสุด ความเรว็ มคี า่ เป็นศนู ย์ ใหแ้ กว่ ตั ถุคอื อะไร 5. ขอ้ 1. และ 4. ถูก 1. แรงเสยี ดทาน 2. แรงแมเ่ หลก็ 3. แรงโน้มถ่วง 4. แรงเรม่ิ ต้น 5. แรงทต่ี งั้ ฉากกบั ทศิ การเคล่อื นทข่ี องวตั ถตุ ลอดเวลา เฉลย 1. 2 2. 1 3. 2 4. 1 5. 1 6. 3 7. 2 8. 1 9. 3 10. 5 จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 226 แบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 4 คำชแี้ จง : ใหน้ ักเรยี นเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ขว้างก้อนหินด้วยความเรว็ 15 เมตร/วินาที ตาม 6. การเคล่อื นทแ่ี บบโพรเจกไทล์เป็นการเคลอ่ื นทลี่ กั ษณะใด แนวระดบั จากยอดตกึ สูง 100 เมตร เม่อื เวลาผ่าน 1. เป็นเสน้ โคง้ ทม่ี คี วามเรว็ คงตวั ไป 4 วนิ าที วตั ถมุ ขี นาดการกระจดั เท่าใด 2. เป็นเสน้ โคง้ ทม่ี คี วามเร่งคงตวั ทงั้ สองแกน 1. 100 เมตร 2. 145 เมตร 3. เป็นเสน้ โคง้ พาราโบลา 3. 150 เมตร 4. 160 เมตร 4. มคี วามเรง่ คงตวั ในแนวระดบั 5. 190เมตร 5. เป็นเสน้ จานวนรอบทเี่ คล่อื นทไ่ี ดใ้ น 1 วนิ าที 2. ความถ่ขี องการเคลอ่ื นทมี่ คี วามหมายตรงกบั ขอ้ ใด 7. วตั ถุที่กาลงั เคล่ือนที่เป็นวงกลมด้วยอตั ราเรว็ สม่าเสมอ มี 1. เวลาทใี่ ชใ้ นการเคลอ่ื นทค่ี รบ 1 รอบ ความเรง่ หรอื ไม่ 2. จานวนรอบทเ่ี คลอ่ื นทไี่ ดใ้ น 1 วนิ าที 1. ไมม่ ี 2. มี ทศิ เขา้ สศู่ นู ยก์ ลาง 3. ระยะทางในการเคลอ่ื นทไ่ี ดใ้ น 1 รอบ 3. มี ทศิ ออกจากศนู ยก์ ลาง 4. มี ทศิ สมั ผสั กบั เสน้ รอบวง 4. ความเรว็ ของวตั ถใุ นการเคล่อื นท่ี 5. มี ทศิ สมั ผสั กบั เสน้ รอบวงและออกจากศูนยก์ ลาง 5. ความเร่งของวตั ถุในการเคลอ่ื นที่ 8. การเคลื่อนที่ของวตั ถุเป็นวงกลมด้วยอัตราเร็วสม่าเสมอ 3. คาบของการเคล่อื นทมี่ คี วามหมายตรงกบั ขอ้ ใด ถ้ารศั มขี อง การเคลื่อ น ที่เพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า โดย ที่ 1. เวลาทใ่ี ชใ้ นการเคลอ่ื นทคี่ รบ 1 รอบ อัตราเร็วยังคงเท่าเดิม จะต้องใช้แรงเข้าสู่ศูนย์กลาง 2. จานวนรอบทเ่ี คล่อื นทไ่ี ดใ้ น 1 วนิ าที เท่าใด 3. ระยะทางในการเคลอ่ื นทไ่ี ดใ้ น 1 รอบ 1. เท่ากบั ครง่ึ หนึ่งของค่าเดมิ 2. เทา่ เดมิ 4. ความเรว็ ของวตั ถุในการเคลอ่ื นท่ี 3. เพม่ิ ขน้ึ เป็น 2 เท่า 4. เพม่ิ ขน้ึ เป็น 3 เท่า 5. ความเร่งของวตั ถใุ นการเคล่อื นท่ี 4. เพม่ิ ขน้ึ เป็น 4 เทา่ 4. ขวา้ งวตั ถดุ ว้ ยอตั ราเรว็ คงตวั ค่าหนึง่ จะไดร้ ะยะทาง 9. รถเล้ียวโค้งได้เน่ืองจากแรงใด ตามแนวระดบั มากทส่ี ุดเม่อื ขวา้ งทามุมกอ่ี งศา 1. แรงเสียดทานสถิตระหว่างยางกับถนนในแนวเดียวกับการ 1. 30 2. 45 เคล่อื นที่ 3. 53 4. 60 2. แรงเสียดทานจลน์ระหว่างยางกับถนนในแนวเดียวกับการ 5. 90 เคลอ่ื นท่ี 5. ขอ้ ใดกล่าวถูกต้องกบั การเคลอ่ื นทแ่ี บบโพรเจกไทล์ 3. แรงเสยี ดทานสถติ ระหว่างยางกบั ถนนในแนวดา้ นขา้ ง 1. แรงและความเร่งมคี า่ คงตวั เสมอ 4. แรงเสยี ดทานจลน์ระหวา่ งยางกบั ถนนในแนวดา้ นข้าง 2. วตั ถตุ กไกลสุดเม่อื มุมยงิ 60 องศา 5. แรงเสยี ดทานสถติ ระหวา่ งยางกบั ถนนในแนวดา้ นหลงั 3. ณ ตาแหน่งสูงสุด วตั ถุไม่มคี วามเร่ง 10. การทจ่ี ะทาใหว้ ตั ถเุ คลอ่ื นทเี่ ป็นวงกลมไดน้ นั้ สงิ่ จาเป็นทต่ี อ้ ง 4. ณ ตาแหน่งสงู สุด ความเรว็ มคี ่าเป็นศูนย์ ใหแ้ ก่วตั ถคุ อื อะไร 5. ขอ้ 1. และ 4. ถกู 1. แรงเสยี ดทาน 2. แรงแมเ่ หลก็ 3. แรงโนม้ ถ่วง 4. แรงเรม่ิ ต้น 5. แรงทตี่ งั้ ฉากกบั ทศิ การเคล่อื นทขี่ องวตั ถตุ ลอดเวลา เฉลย 1. 1 2. 2 3. 1 4. 2 5. 1 6. 3 7. 2 8. 1 9. 3 10. 5 จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 227 แบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ แบบประเมินผลงานผังมโนทศั น์ คำชแ้ี จง : ให้ผู้สอนประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรยี นตามรายการทีก่ ำหนด แล้วขดี ✓ลงในชอ่ งที่ตรงกบั ระดับ คะแนน ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับคณุ ภาพ 4 3 21 1 ความสอดคล้องกบั จดุ ประสงค์ 2 ความถกู ต้องของเนื้อหา 3 ความคดิ สร้างสรรค์ 4 ความตรงตอ่ เวลา รวม ลงช่อื ................................................... ผปู้ ระเมิน ............../................./................ จัดทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 228 เกณฑ์ประเมนิ ผงั มโนทัศน์ ประเด็นทปี่ ระเมิน 4 ระดบั คะแนน 1 32 1. ผลงานตรงกบั ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผ ล งานไม่ส อดค ล้อ ง จดุ ประสงค์ทกี่ ำหนด จุดประสงคท์ กุ ประเดน็ จดุ ประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น กับจุดประสงค์ 2. ผลงานมคี วาม เน้ือหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เน้ือหาสาระของผลงาน เน้ือหาสาระของผลงาน ถูกตอ้ งสมบูรณ์ ถูกตอ้ งครบถว้ น ถกู ตอ้ งเปน็ ส่วนใหญ่ ถกู ตอ้ งเปน็ บางประเด็น ไม่ถกู ตอ้ งเป็นสว่ นใหญ่ 3. ผลงานมคี วามคดิ ผ ล งานแส ดงออกถึง ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่แสดงแนวคิด สรา้ งสรรค์ ค วามคิด ส ร้างส รรค์ ใหม่แต่ยังไม่เป็นระบบ แต่ยังไม่มีแนวคิดแปลก ใหม่ แ ป ล ก ให ม่ แ ล ะ เป็ น ใหม่ ระบบ 4. ผลงานมีความเป็น ผ ล ง า น มี ค ว า ม เป็ น ผลงานส่วนใหญ่มีความ ผ ล ง า น มี ค ว า ม เป็ น ผลงานส่วนใหญ่ไม่เป็น ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป็ น ระเบี ยบ แต่ ยังมี ระเบียบแตม่ ขี อ้ บกพร่อง ร ะ เบี ย บ แ ล ะ มี ข้ อ ความประณีต ขอ้ บกพร่องเล็กน้อย บางส่วน บกพร่องมาก เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 14–16 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ำกวา่ 8 ปรับปรุง จดั ทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครูผ้ชู ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 229 แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน คำชี้แจง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ ตรงกับระดับคะแนน ลำดับท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1 32 1 ความถูกตอ้ งของเนอ้ื หา   2 ความคดิ สรา้ งสรรค์   3 วธิ ีการนำเสนอผลงาน   4 การนำไปใช้ประโยชน์   5 การตรงต่อเวลา   รวม ลงชื่อ ................................................... ผปู้ ระเมนิ ............/................./................... เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ สมบรู ณ์ชดั เจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมินเป็นสว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมินบางสว่ น เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 14–15 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตำ่ กวา่ 8 ปรับปรงุ จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผูช้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาฟิสิกส์ 1 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 230 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล คำช้ีแจง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในชอ่ งท่ี ตรงกับระดบั คะแนน ลำดับท่ี รายการประเมิน ระดับคะแนน 1 32 1 การแสดงความคิดเหน็   2 การยอมรับฟงั ความคิดเห็นของผูอ้ ืน่   3 การทำงานตามหนา้ ทท่ี ่ไี ดร้ บั มอบหมาย   4 ความมนี ้ำใจ   5 การตรงตอ่ เวลา   รวม เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ลงชอ่ื ................................................... ผู้ประเมนิ ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ ............/.................../................ ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบอ่ ยครงั้ ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตำ่ กวา่ 8 ปรับปรงุ จัดทำโดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 231 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ คำชแ้ี จง : ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ✓ลงในชอ่ งที่ ตรงกับระดับคะแนน ลำดับที่ ชอ่ื –สกุล การแสดง การยอมรับ การทำงาน ความมนี ำ้ ใจ การมี รวม ของนกั เรียน ความคิดเหน็ ฟังคนอืน่ ตามท่ีไดร้ ับ ส่วนร่วมใน 15 มอบหมาย การปรบั ปรงุ คะแนน ผลงานกล่มุ 321321321321321 เกณฑ์การใหค้ ะแนน ลงช่ือ ................................................... ผ้ปู ระเมิน ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมอยา่ งสมำ่ เสมอ ............./.................../............... ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครงั้ ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบางครัง้ ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตำ่ กว่า 8 ปรับปรุง จดั ทำโดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook